การร้อยอุบะ

Page 1

สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาการร้อยมาลัย (Garland Making) รหัสวิชา HE 2042208 หัวข้อ การร้อยอุบะ

อาจารย์ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร การประดิษฐ์ดอกข่า ดอกข่า คือ ดอกไม้ที่ประดิษฐ์จาก กลีบดอกไม้ให้ มีรูปร่างลัก ษณะเป็นตุ้มค่อ นข้ า ง ยาวปลายรีแหลมคล้ายกับดอกข่าจริง ใช้สาหรับ ทาดอกตุ้มของอุบะ วิธีการทาดอกข่ามี 2 วิธี คือ การเย็บ และการมัด


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร ดอกไม้ที่นิยมใช้ทาดอกข่า เช่น ดอกกุหลาบ ดอกพุด มะลิ ดอกกล้วยไม้ ดอกไม้อื่นบางชนิด ก็สามารถนามาประดิษฐ์ดอกข่าได้ เช่น ดอกเฟื่องฟ้า ดอกบัว ดอกดาวเรือง ดอกหงอนไก่ แต่ว่า ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย เนื่องจากไม่ทนต่อการใช้เท่าที่ควร


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

การประดิษฐ์ดอกข่า การมัดดอกข่าจากกลีบดอกกุหลาบมอญ


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร การมัดดอกข่าจากกลีบดอกกล้วยไม้


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร การร้อยอุบะ อุบะ คือ ดอกไม้ ที่ร้อยเป็นสายแล้วเข้า พวงอย่างพู่ สาหรับ ห้อยกับมาลัย ห้อยระหว่างเฟื่อง หรือห้อยประดับข้างหู เป็นต้น หน้าที่และประโยชน์ ผูกส่วนปลายของพวงมาลัย ผูกตาม มุม ดอกไม้ ค ลุม ไตร และช่ว งมุ ม เฟื่ อ ง ผู ก ห้ อ ยหรื อ มั ด ที่ ป ากพาน ดอกไม้ เช่น พานรองรับนาพระพุทธมนต์ พุ่มคู่สวด กรวยอุปัชฌาย์ ผูกตามมุมเครื่องแขวนดอกไม้สด หรือตามที่ผูกรวม สายโยงมุม เป็น ต้น


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร ส่วนประกอบของอุบะ 1. ส่วนปลายล่างสุดเรียกว่า ดอกตุ้ม 2. ถัดขึนมาเรียกว่า ดอกครอบ 3. เหนือกลีบเลียงเรียกว่า ดอกสวม

3 2

1

ดอกตุ้ม ได้แก่ จาปี จาปา บานไม่รู้โรย ชบาหนู ดอกกุหลาบ ดอกกล้วยไม้ หรือมีการนากลีบ ดอกไม้มาประดิษฐ์ไนรูปทรงดอกตุ้ม ดอกครอบ ดอกตุ้มทีก่ ลีบเลียงโดยธรรมชาติก็ใช้ได้โดยไม่ต้องปริดอก เช่น ชบา แต่ดอกอื่นที่ไม่มี กลีบเลียงควรใช้กลีบเลียงของชบากลีบเลียงดอกรัก เพื่อช่วยเพิ่มสีสันให้สวยงามและยังช่วยปิดรอย ด้ายที่ไม่เรียบร้อยจากการมัดดอกตุ้ม ดอกสวม ใช้ดอกรัก ดอกมะลิ ดอกขจร ดอกพุ ด ดอกบานไม่รู้โ รย จะร้อยจานวนกี่ด อกก็ได้ แล้วแต่ความเหมาะสม ควรเรียงแถวจากดอกใหญ่ ขึนไปเล็ก


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร หลักทั่วไปในการร้อยอุบะ 1. เลือกดอกตุ้มให้มีขนาดเท่ากัน 2. ตุ้งติง ใช้ด้ายคู่เพื่อง่ายต่อการผูก ส่วนอุบะอื่นต้องใช้หลายขาใน หนึ่งพวงจึงควรจะใช้ด้ายเดี่ยว เมื่อผูกรวมเป็นพวงแล้วจะได้ปมขนาด เล็ก 3. ทาปมด้ายขนาดใหญ่กว่าก้นเข็มจึงจะไม่หลุดง่าย 4. ซ่อนปมไว้ในซอกกลีบดอกไม้อย่าให้มองเห็น 5. ร้อยดอกสวมเรียงจากดอกใหญ่ไปหาดอกเล็ก 6. อย่ารูดดอกสวมเบียดก้านแน่น


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร อุบะแบบต่างๆ 1. อุบะขาเดียว หรือตุ้งติง เป็นส่วนประกอบของอุบะอื่นๆ ใช้ผูกเฟื่อง ผูกตามมุมเครื่องแขวนดอกไม้ คลุมไตร ระย้า และตกแต่งสถานที่ต่างๆ


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร 2. อุแขกหรืออุบะพวงเต่ารั้ง ร้อยเช่นเดียวกับอุบะตุ้งติง ร้อยตังแต่ 3 สายขึนไป แล้วนามาผูกรวมกันให้ ปลายดอกตุ้มเสมอกัน อุบะแขกใช้ผูกตามมุมเฟื่อง มุมโครงเครื่องแขวน คลุมไตร และชายพวงมาลัย


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร 3. อุบะไทยธรรมดา มีรูปทรงกรวยจอมแห ลักษณะการใช้งาน ผูกตามมุมเครื่องแขวนดอกไม้ผูกตามมุมเฟื่อง ดอกไม้คลุมไตร และตกแต่งสถานที่


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร 4. อุบะทรงเครื่องไทย อุบะทรงเครื่องไทยมีลักษณะคล้ายกับ อุบะไทยธรรมดา ต่างกันเฉพาะต้องร้อยดอกตุ้มทุก ครังที่ผูกรวบขาตุ้งติงที่เข้าพวงใช้ผูกตามมุมเครื่อง แขวนดอกไม้ ผูกตามรอยหยักของเฟื่องและระย้า ผูกมุมดอกไม้คลุมไตร


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร 5. อุบะพู่ อุ บ ะพู่ มี ลัก ษณะเรีย วปลายคล้ า ยพู่เรื อ สุ พ รรณหงส์ ดอกตุ้มต่างระดับกันเป็นชันๆ 2-3-4 ชัน ใช้เป็นส่วนประกอบและ ตกแต่งชินงานเหมือนกับอุบะชนิดอื่นๆ


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร 6. อุบะแตระ อุบะแตระหรืออุบะสร้อย สนต่างจากอุบะ ชนิดอื่นคือ เป็นอุบะที่ใช้ดอกจาปา หรือจาปี ใช้วิธีการ ร้อ ยโดยการ ผ่ า กลีบ หนึ่ งให้ เป็ น สองกลี บ แล้ว เจาะที่ ปลายกลีบเพื่อคล้องต่อกลีบให้มากที่สุดและยาวขึนไม่ เป็นที่นิยมเพราะทายากเหยี่ยวง่ายบอบบาง


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

จบการนาเสนอ Thank you


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.