สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
วัฒนธรรมการแกะสลักผักผลไม้ไทย : การประกวดแข่งขัน
อาจารย์ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
การเตรี ย มความพร้ อ มในการ แ ข่ ง แ ก ะ ส ลั ก ผั ก ผ ล ไ ม้ การแข่ ง ขั น การแกะสลั ก ผั ก ผลไม้ให้ประสบความสาเร็จ นั้นจาเป็น ต้องมีการฝึกซ้อมและการเตรียมความ พร้ อ มที่ ดี จากความคิ ด เห็ น ส่ ว นตั ว และประสบการณ์ ด้ า นการสอนการ ตัดสินงานแกะสลักผักผลไม้ ข้าพเจ้ามี ข้อเสนอแนะในรายละเอียดต่างๆจาก รายละเอี ย ด เกณฑ์ ก ารประกวด แข่ ง ขั น แกะสลั ก ผั ก และผลไม้ งาน ศิ ล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ย น ครั้ ง ที่ 69 ปีการศึกษา 2562 เพื่อเป็นประโยชน์ ส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาหรื อ บุ ค คลที ส นใจ
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
1. หั ว ข้ อ ผลงาน คณะกรรมการ จะแจ้ง ให้ท ราบในวั น แข่ ง ในการกาหนด แนวคิดหัวข้อ คงไม่ไกลไปกว่าเอกลักษณ์ วัฒนธรรมไทย เพราะการแกะสลักของไทย เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าสืบทอด กันมาช้ านาน จากรุ่นสู่ รุ่น และในการจั ด แข่ ง ขั น ก็ เ พื่ อ การส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาการ แกะสลักผักผลไม้ของไทยมิให้สูญหาย การ ส่งเสริมการเรี ย นรู้ ซึ่งในข้อนี้ นัก เรี ย นก็ มี การฝึ ก ซ้ อ มแกะสลั ก การวางแผนมา ล่วงหน้าก่อนแล้ว
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
1.1วั สดุ ที่ใ ช้ใ นการแกะสลัก การเตรีย มผั ก และ ผลไม้ในการแกะสลัก นักแกะสลักจาเป็นต้องมีความรู้ใน การเลือ กซื้อ ผัก ผลไม้ ที่เหมาะสมในการแกะสลัก เช่ น การแกะสลักผักผลไม้เพื่อสาหรับรับประทาน หรือการ ตกแต่ ง ควรเลื อ กให้ เ หมาะสมกั บ การน าไปใช้ การ พิจารณาลักษณะเฉพาะของผักผลไม้นั้น ๆ ความอ่อนแก่ ความสดใหม่ ฤดูกาล ขนาด รูปทรง
ผักเครื่องจิ้ม
ผลไม้สาหรับรับประทาน
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
1.2 ผู้เข้าแข่งขันสามารถล้าง ท าความสะอาดผั ก ผลไม้ ม าก่ อ น ล่ ว งหน้ า ได้ ทั้ ง นี้ อ าจมี เ ศษดิ น สารพิ ษ ที่ ป ะปนมากั บ ผั ก ผล นั ก แกะสลักควรล้างให้สะอาดทุกครั้ง เ น้ น ค ว า ม ส ะ อ า ด แ ล ะ ค ว า ม ปลอดภัยในการนามารับประทาน
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
1.3 ไม่อนุญาตให้เกลา คว้าน ร่างและขึ้นรูปลวดลายมาก่อน ในการแข่งขัน คณะกรรมการจะมีการตรวจวัสดุและจะไม่อนุญาตให้เตรียมมาล่วงหน้า เช่น การหั่น ฟักทองเป็นชิ้น การปอก การวาดวงกลม วาดลายลงบนผักผลไม้ หากพบเจอจะมีการยึด หรือนาออกจากสนามแข่ง
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
1.4 มีดแกะสลักและอุปกรณ์ในการแกะสลักสามารถนามาใช้ได้ แต่จะไม่อนุญาตให้ ใช้เครื่องที่ใช้แกะสาเร็จรูปเช่น สิ่ว และมีดหั่นที่มีลวดลายในการแกะสลักหรือรูปทรง
ไม่อนุญาต
อนุญาต
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
1.5 การปฎิ บั ติ ง านอย่ า งถู ก สุ ข ลั ก ษณะ สะอาด ปลอดภัย และไม่ใช้วัสดุที่ไม่ปลอดภัยต่อการ บริ โ ภค สิ่ ง ที่ แ สดงถึ ง สุ ข ลั ก ษณะที่ ดี ความสะอาด ความปลอดภัย เพราะการแกะสลักจะมีในส่วนของ การรับประทาน ดั้งนั้น ควรมีการทาความสะอาดผัก ผลไม้ และนัก แกะสลั ก สลั ก ควรปฎิ บัติ ง านอย่ า งมี สุขลักษณะที่ดี ได้แก่ ถาดสาหรับใส่ผักผลไม้เพื่อรอ การแกะสลั ก ถาดส าหรั บ รองรั บ เศษผั ก ผลไม้ ที่ แกะสลักแล้ว ผ้าเช็ดมือ ผ้ากันเปื้อน ถังขยะและควร ปฎิบัติบนโต๊ะเพื่อสุขลักษณะที่ดีในการทางาน
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
สาหรับการแกะสลักเพื่อรับประทานอาจจะต้องใส่ถุงมือ และวิธีการแกะควรใช้ระยะเวลา ในการแกะสลักสั้นๆ ควรรักษาคุณค่าของอาหารไม่ควรล้างน้าหรือแช่น้านานเกินไป ยึดหลักการ ประหยัด มีความสะอาด น่ารับประทาน ไม่ใช้วัสดุที่เป็นอันตรายในการตกแต่ง ได้แก่ กาวชนิด ต่างๆ สีเคมีต่างๆ
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
1.6 ผักผลไม้จะต้องปอกคว้าน หรือตัด หั่น แต่ง หรือแกะสลักให้ สวยงามเพื่ อ การรั บ ประทาน และการตกแต่ ง ดั้ ง นั้ น การแข่ ง ขั น แกะสลักผักผลไม้ ผู้แข่งขันต้องมีการนาวิธีการที่หลากหลายมาใช้ เช่น การปอกคว้านผลไม้ การตัดแต่งผักผลไม้ การหั่น ผักผลไม้ ซึ่งวิธีการ เหล่ านี้เ ป็น ทัก ษะพื้น ฐานของการฝึ ก ฝนที่สาคัญ ของงานแกะสลั ก ผั ก ผลไม้ แล้วจึงฝึกแกะสลักขั้นที่สูงขึ้นซึ่งมีความยากและวิจิตรมากขึ้น
จากที่ ผ่ า นมาโดยส่ ว นใหญ่ ผู้แข่งขันจะเน้นแกะให้ได้ปริมาณ ของจ านวนลูกแตงโม แคนตาลู ป ม ะ ล ะ ก อ โ ด ย ไ ม่ ค า นึ ง ถึ ง วัตถุประสงค์ ของการแกะสลักใน การแข่ ง ขั น เพื่ อ รั บ ประทานและ เพื่อการตกแต่ง
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
1.7 การจัดตกแต่งใส่ในภาชนะที่ สามารถเตรียมมาล่วงหน้าได้ และควรมี ความเหมาะสมกับผลงานและการใช้งาน ในบางครั้งการจัดเตรียมภาชนะทีมีขนาด ใหญ่ เ กิ น ความจ าเป็ น เมื่ อ น ามาวางบน โต๊ ะ และอาจมี ก ารปฎิ บั ติ ง านในพื้ น ที่ เดียวกันจะทาให้เกิดความลาบากในการ ปฎิบัติงาน และอาจทาให้ผลงานนั้นดูเกิด ช่องว่างเยอะเกินไป
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
8. ผู้แข่งขันต้องปฎิบัติงานที่โต๊ะ เก้าอี้ที่กาหนดให้ ในบางเขตหรือบางภาคมีพื้นที่การแข่งขัน จากัดผู้จัดอาจเตรียมโต๊ะกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 120 เซนติเมตร จานวน 1 ตัว เก้าอี้ตามจานวน ผู้เข้าร่วมแข่งขันสาหรับปฎิบัติงาน และอาจไม่อนุญาตให้นาโต๊ะมาเพิ่มเติม เนื่องจากพื้นที่คับแคบ และความเสมอภาคของทุก ทีม และไม่อนุญาตให้มีการแกะสลักบนพื้นเพื่อให้ การแกะสลักถูก สุขลักษณะที่ดี
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
1.9 ห้ามนาอุปกรณ์สื่อสารทุกชนิดเข้าในสนามแข่ง เพราะการแกะสลักผักผลไม้จะต้องมีสมาธิ ไม่เช่นนั้นอาจเกิดอุบัติเหตุจากมีดที่ใช้ในการแกะสลักได้ และอาจเป็นการทาลายสมาธิของผู้อื่น 1.10 ห้ามนาของตกแต่งที่เป็นวัสดุ ธรรมชาติหรือวัสดุประดิษฐ์มาตกแต่ง ล่วงหน้ายกเว้นตกแต่งในเวลาสาหรับ ภาชนะสามารถเตรียมมาล่วงหน้าได้ (ภาชนะหมายถึง เครื่องใช้สาหรับใส่ผัก ผลไม้แกะสลัก) เกณฑ์ในข้อนี้คือห้ามนา ใบไม้ ต้นไม้ กิ่งไม้ มาจัดตกแต่งก่อนการ แข่งขันสามารถนามาตกแต่งในเวลา
สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร
จบการนาเสนอ Thank you