สกัดความรู้ : การแกะสลักผักเครื่องจิ้ม

Page 1

การแกะสลักผักเครื่องจิ้ม วิชาการแกะสลักเชิงธุรกิจ สอนโดยอาจารย์ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์



การแกะสลักผักเครื่องจิ้มเป็นงานศิลปะอย่างหนึ่งที่ต้องอาศัย ทักษะความชานาญ เพื่อให้ เกิดการแกะสลักที่มีความสวยงาม และน่ารับประทาน ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่งของ การตกแต่งอาหารไทย ทีต่ ้องมีความสวยงามที่เกิดจากความตั้งใจ ในการประดิษฐ์ประดอย การปรุง แต่งอาหาร ที่ได้ทั้งอาหารตา และอาหารใจ


ผักเครื่องจิ้ม คือผักสดต่าง ๆ ที่รับประทานคู่กับเครื่องจิ้ม เช่น หลน หรือน้าพริก เวลารับประทานจะต้องทานด้วยกันถึงจะ อร่อยและส่งเสริมรสชาติกันและกัน หรือลดทอนคความจัดจ้าน ในตัวเครื่องจิ้มให้กลมกล่อม


วัตถุประสงค์ของการแกะสลักผักเครื่องจิ้ม มีวัตถุประสงค์อยู่ 2 ลักษณะ ดังนี้ เพื่อความสะดวกในการรับประทาน การแกะสลักช่วยให้การรับประทานได้สะดวก เช่น เพราะผักแต่ละชนิดจะมีขนาด และวิธีการที่รับประทานที่แตกต่างกัน ผักบางชนิดรับประทานได้ทั้งผลแต่มีขนาดใหญ่ เช่น แตงร้าน แครอท หรือ บางชนิด รับประทานได้เพียงแต่เปลือกและเนื้อ ไม่สามารถรับประทานเมล็ดหรือเม็ดได้ เช่น ฟักทอง มะเขือบางชนิด เพื่อความสวยงามในการรับประทาน การแกะสลักสามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ลักษณะของผักให้เป็นรูปแบบต่าง ๆ ที่ สวยงามน่ารับประทานได้


แกะสลักมะเขือชนิดต่างๆ


แกะสลักกระชาย

แกะสลักมะระขี้นก


แกะสลักแตงร้าน


แกะสลักฟักทอง

แกะสลักแครอท


แกะสลักพริกชี้ฟ้า


แกะสลักถั่วฝักยาว


แกะสลักขมิ้นขาว

แกะสลักขิงอ่อน


หลักการจัดผักเครื่องจิ้ม โดยมีหลักการจัดตกแต่งผักเครื่องจิ้ม ดังนี้ รู ป ร่ า งและรู ปทรง ใช้ ในการพิจ ารณาการเลือกภาชนะ สาหรับจั ด และการจัดให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ รวมถึง การจั ดมี ระดับความสูงต่าต่างระดับกัน ขนาดและสั ด ส่ ว น จะมี ค วามส าคั ญ ตั้ ง แต่ ก ารเลื อ ก ภาชนะ รูปแบบการจัดเพราะจะเป็นสิ่งที่กาหนดขนาดปริมาณ ของผักที่แกะสลักที่ใช้ในการจัด สีสนั มักจะเป็นสีจากผักที่มีตามธรรมชาติ หรือการเลือกสี ของภาชนะเพื่อช่วยให้มีสีสันที่ชวนรับประทานมากยิ่งขึ้น การ จัดวางเป็นกลุ่มจะทาให้ดูสวยงามมากว่าการจัดแบบกระจาย


เส้นและทิศทาง การจัดให้มีทิศทางเดียวกัน เช่น การจัดช่อโค้ง จะต้องมีทิศทางที่โค้งไปทางเดียวกันและสิ่งที่จัดร่วมอยู่เช่นใบไม้ก็ต้อง เลือกที่มีรูปร่างโค้งไปทางเดียวกัน จึงจะช่วยให้รูปแบบของการจัดอ่อน ช้อยสวยงามขึ้น จุดเด่น จะเป็นสิ่งที่ช่วยดึงดูดความสนใจ อาจจะใช้สิ่งที่เป็นจุดเด่น เช่น ภาชนะจากผอบน้าพริกที่แกะสลักอย่างสวยงามอยู่ตรงกลาง ความกลมกลืน คือความรู้สึกที่แสดงความเป็นหนึ่งเดียวกันในการ จัด เช่นความกลมกลืนของภาชนะ รูปแบบการแกะสลัก




ผลงานการแกะสลักโดย นักศึกษารุ่น 63 ตบค.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.