การพัฒนา Application Shopping Store บนสมาร์ ทโฟน ด้ วยโปรแกรม ibuildapp
นางสาวพิชยา
แก้วมรกฎ
นางสาวธนวรรณ สุ จริตธุระการ
โครงการนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาหลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม (3204-2005) และวิชาโครงงาน (3210-6001) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2557 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การพัฒนา Application Shopping Store บนสมาร์ ทโฟน ด้ วยโปรแกรม ibuildapp
เสนอ อาจารย์ นวภรณ์ แซ่ ต้งั
จัดทาโดย นางสาวพิชยา
แก้วมรกฎ
นางสาวธนวรรณ สุ จริตธุระการ
โครงการนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาหลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม (3204-2005) และวิชาโครงงาน (3210-6001) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2557 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
ก
ใบรับรองโครงการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา เรื่อง
การพัฒนาแอพพลิเคชัน่ Shopping Store
โดย
นางสาวพิชยา
แก้วมรกฎ
นางสาวธนวรรณ
สุ จริ ตธุระการ รหัส 562021
รหัส 562019
ได้รับอนุมตั ิให้นบั เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ………………………………………….หัวหน้าแผนกวิชา (…………………...…………….......… ) วันที่.........เดือน..............................พ.ศ............... คณะกรรมการสอบโครงการ .......................................................... (
) ประธานกรรมการ
.......................................................... (
) กรรมการ
.......................................................... (
) กรรมการ
ข
ชื่อ
: นางสาวพิชยา แก้วมรกฎ นางสาวธนวรรณ สุ จริ ตธุ ระการ
ชื่อเรื่ อง
: การพัฒนาแอพพลิเคชัน่ Shopping Store
สาขา
: คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ
ที่ปรึ กษา
: อาจารย์นวภรณ์ แซ่ต้ งั
ปี การศึกษา
: 2557
บทคัดย่ อ การจัดทาโครงงานในครั้ งนี้ มีวตั ถุ ประสงค์ เพื่อสร้ างแอพพลิ เคชั่นบนสมาร์ ทโฟน ที่ รองรับทั้งระบบปฏิบตั ิการ iOS และ Android เป็ นการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ ขึ้นเพื่อนาเสนอการซื้ อขายสิ นค้าออนไลน์ โดยเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนนาความรู้ที่ได้ศึกษาในเรื่ องของการนาหลักของการ ออกแบบและพัฒ นาโปรแกรม มาพัฒ นานวัต กรรมทางด้ า นแอพพลิ เ คชั่ น ด้ ว ยตัว เอง ใน แอพพลิเคชัน่ ชุ ดนี้ ประกอบด้วย ภาพสิ นค้าต่างๆ ราคาของสิ นค้า ผูใ้ ช้สามารถทาการสั่งซื้ อสิ นค้า ผ่านระบบออนไลน์ดว้ ยแอพพลิ เคชั่น Shopping Store ได้ ซึ่ งเป็ นอี กช่ องทางหนึ่ งที่ เพิ่มความ สะดวก สบายและประหยัดเวลาในการ Shopping สิ นค้าที่เราต้องการ และการทาโครงงานชุ ดนี้ ยงั มี ประโยชน์กบั ผูจ้ ดั ทารวมถึงบุคคลทัว่ ไปที่สนใจในการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ สามารถนาความรู้ ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันพร้อมทั้งยังสามารถพัฒนาต่อยอดให้สามารถสร้างรายได้อีกทางหนึ่ง อีกด้วย ทางผูจ้ ดั ทาจึงจัดทาแอพพลิเคชัน่ Shopping Store ขึ้น เพื่อสะดวกในการช้อปปิ้ งของผูใ้ ช้ และพัฒนาความรู ้ของผูจ้ ดั ทาให้สร้างงานที่มีประสิ ทธิ ยงิ่ ขึ้น
ค
กิตติกรรมประกาศ โครงการนี้สาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ผูจ้ ดั ทาโครงการต้องขอขอบพระคุณ คณะอาจารย์ที่ ปรึ กษาโครงการได้แก่ อาจารย์นวภรณ์ แซ่ต้ งั
ตาแหน่ งอาจารย์ผสู้ อน เป็ นอย่างยิ่งที่คอยให้
คาปรึ กษาและชี้แนะกระบวนการทางานในแต่ละส่ วน ตลอดระยะเวลาการจัดทาโครงการดังกล่าว จนบรรลุเป้ าหมายที่วางไว้ สุ ดท้ายนี้ผจู ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า โครงการนี้ จะเป็ นประโยชน์ต่อการศึกษาของผูส้ นใจ และเป็ นประโยชน์ต่อผูส้ อน หากมีขอ้ บกพร่ องประการใดทางผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับไว้ดว้ ยความยินดี ยิง่ และจะนาไปปรับปรุ งในโอกาสต่อไป
ผูจ้ ดั ทา นางสาวพิชยา แก้วมรกฎ นางสาวธนวรรณ สุ จริ ตธุระการ
ง
สารบัญ หน้า บทคัดย่อ
ข
กิตติกรรมประกาศ
ค
บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาของของโครงการ
1
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
1
1.3 ขอบเขตของโครงการ
2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
2
1.5 วิธีการดาเนินการ
2
1.6 นิยามศัพท์
3
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 แอยดรอยด์และiOS
4
2.2 ภาษาจาวา
8
2.3 XML
10
2.4 โปรแกรม ibuildapp
15
2.5 สมาร์ทโฟน
27
2.6 ช้อปปิ้ งออนไลน์
29
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ 3.1 นาเสนอโครงการ
31
3.2 ทาการวางแผน
31
3.3 ทาการสร้างแอพพลิเคชัน่
31
3.4 นาเสนอผลงาน
37
3.5 นาไปทดลองใช้
37
3.6 จัดทาคู่มือ
37
จ
สารบัญ(ต่อ) หน้า บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 4.1 ผลการดาเนินงาน
37
บทที่ 5 สรุ ปผลโครงงาน 5.1 สรุ ปผล
47
5.2 ข้อเสนอแนะระหว่างทาโครงงาน
47
5.3 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข
48
บรรณานุกรม ภาคผนวก
ฉ
สารบัญภาพ หน้า รู ปที่ 1.1 หน้าต่างของตัวแอพพลิเคชัน่
38
รู ปที่ 1.2 หน้าโหลดหน้าต่างของแอพพลเคชัน่
39
รู ปที่ 1.3 หน้าโหลดหน้าต่างของแอพพลิเคชัน่
39
รู ปที่ 1.4 ปุ่ มหมวดสิ นค้าผูช้ าย
40
รู ปที่ 1.5 แสดงรายการสิ นค้าในหมวดผูช้ าย
40
รู ปที่ 1.6 ปุ่ มหมวดสิ นค้าผูห้ ญิง
40
รู ปที่ 1.7 แสดงหน้ารายการสิ นค้าหมวดผูห้ ญิง
41
รู ปที่ 1.8 แสดงหน้าที่จะเลือกสิ นค้าหยิบใส่ ตะกร้า
41
รู ปที่ 1.9 หน้า continue ว่าต้องการสิ นค้าใส่ ตะกร้าใช่ไหม
42
รู ปที่ 1.10 แสดงรายการสิ นค้าที่เลือกไว้ในตะกร้าเรี ยบร้อยแล้ว
42
รู ปที่ 1.11 หน้ายืนยันสิ นค้าที่เลือก
43
รู ปที่ 1.12 หย้ายืนยันสิ นค้าที่เลือกโดยใส่ e-mail
43
รู ปที่ 1.13 จะโชว์สินค้าที่เลือกพร้อมวัน เดือน ปี ที่สั่งซื้ อ
44
รู ปที่ 1.14 ปุ่ มสิ นค้ามาใหม่ล่าสุ ด
44
รู ปที่ 1.15 แสดงรายการสิ นค้าที่โพสต์ใหม่
45
รู ปที่ 1.16 แสดงลิงก์กบั facebook
45
รู ปที่ 1.17 แสดงหน้าที่จะลิงก์ไปยังแผนที่
46
1
บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการ ในปั จจุบนั เทคโนโลยีได้พฒั นาออกมาอย่างต่อเนื่ องและรวดเร็ วจึ งจัดอยู่ในรู ปแบบอัน หลากหลาย โดยเทคโนโลยีที่ได้น้ นั เกิดขึ้นมาจาก สมาร์ ทโฟนและแทบเล็ตด้วยระบบอัจฉริ ยะและ ความสามารถต่างๆที่เกิดขึ้นมากมายด้วยความรอบด้านของสมาร์ ทโฟนและแทบเล็ต จึงทาให้มีการ กระจายไปสู่ ผใู ้ ช้ทุกเพศทุกวัย ซึ่ งระบบปฏิบตั ิการบนสมาร์ ทโฟนที่นิยมใช้ส่วนใหญ่มี2 ประเภท คื อ ระบบปฏิ บ ัติ ก ารแอนดรอยด์ แ ละระบบปฏิ บ ัติ ก าร iOS
ซึ่ งระบบปฏิ บ ัติ ก ารดัง กล่ า วมี
แอพพลิเคชัน่ ในการทางานหรื อใช้ได้งานได้หลายรู ปแบบ เช่ น แอพพลิเคชัน่ สอนพดู ภาษาต่างๆ แอพพลิเคชัน่ พจนานุกรมภาษาต่างๆ เป็ นต้น ซึ่ งในอนาคตแอพพลิเคชัน่ บทสมาร์ ทโฟนอาจจะถูก พัฒนาไปในหลายรู ปแบบและมีมากขื้น ในภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2557 ได้มีจดั การเรี ยนการสอนวิชาโครงการ ซึ่ งทาง กลุ่มของข้าพเจ้าเล็งเห็นความสาคัญและต้องการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ ขึ้นมา โดยการนาความรู ้ที่ได้ เรี ยนจากรายวิชาหลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 มา พัฒนาต่อยอดสร้ างนวัตกรรม การสร้ างแอพพลิ เคชัน่ บนสมาร์ ทโฟน เรื่ อง Shopping Store ที่ สามารถรองรับระบบปฏิบตั ิการ iOS และ Android โดยภายในแอพพลิ เคชัน่ ชุ ดนี้ จะมีภาพสิ นค้า ต่างๆ ให้ผซู ้ ้ื อที่สนใจสามารถเลือกสิ นค้าที่ตอ้ งการผ่านระบบตะกร้ าสิ นค้า มีการรวมจานวนและ ราคาที่สั่งซื้ อจากผูซ้ ้ื อให้เรี ยบร้ อย ซึ่ งเหมาะกับในยุคปั จจุบนั ที่เน้นความสะดวกสบายในการซื้ อ ขายผ่านระบบ Online ได้ดว้ ยตนเองที่ไหนก็ได้ เพียงแค่มีสมาร์ โฟน ทาให้ผใู้ ช้มีความสุ ข สนุกกับ การเลือกซื้ อสิ นค้า 1.2. วัตถุประสงค์ ของโครงการ 1.2.1 เพื่อสร้างแอพพลิเคชัน่ Shopping Store บนสมาร์ทโฟน 1.2.2 เพื่อได้แอพพลิเคชัน่ ที่มีประโยชน์ และสามารถนาไปใช้งานได้จริ ง 1.2.3 เพื่อนาความรู้ที่ได้ศึกษาในรายวิชาหลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมมา ประยุกต์และสร้างแอพพลิเคชัน่ บนสมาร์ ทโฟนได้ดว้ ยตนเอง
2
1.2 ขอบเขตของโครงการ สามารถเลือกซื้ อสิ นค้าได้ในแอพพลิเคชัน่ - สามารถเลือกได้เป็ นหมวดชัดเจนตามที่แอพพลิเคชัน ่ แบ่งไว้ - สามารถกดปุ่ มเพื่อสัง่ ซื้ อสิ นค้า และมีคานวณคิดราคาสิ นค้าได้ - สามารถกดปุ่ มเพื่อดูรายละเอียดของสิ นค้าได้ -
1.4. ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1.4.1 ได้แอพพลิเคชัน่ Shopping Store 1.4.2 ได้แอพพลิเคชัน่ ที่มีประโยชน์ และสามารถนาไปใช้งานได้จริ ง 1.4.3 ผูเ้ รี ยนได้นาความรู้ในรายวิชาหลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมมาประยุกต์และ สร้างแอพพลิเคชัน่ ได้ดว้ ยตนเอง 1.5. วิธีการดาเนินการ เวลา ขั้นตอน
1.เสนอหัวข้อโครงงาน 2.ศึกษาค้นคว้าข้อมูล 3.ออกแบบแอพพลิเคชัน่ 4.สร้างแอพพลิเคชัน่ 5.ทดสอบแอพพลิเคชัน่ 6.นาเสนอแอพพลิเคชัน่ 7.ส่งแอพพลิเคชัน่ พร้อมนาเสนอ แอพพลิเคชัน่ ที่สมบูรณ์
พ.ศ.2557 พฤศจิกายน 57
ธันวาคม 57
พ.ศ.2558 มกราคม 58
กุมภาพันธ์ 58
3
1.6. นิยามศัพท์ -
แอปพลิเคชัน่ บนสมาร์ ทโฟน คือแอปพลิเคชัน่ Shopping Store ประเภทหนึ่งสาหรับ
ใช้งานเฉพาะทางด้านการสั่งซื้ อสิ นค้า ที่รองรับทั้งระบบปฏิบตั ิการ iOS และ Android สามารถใช้ งานได้บนสมาร์ทโฟน -
โปรแกรมพัฒนาแอปพลิ เคชัน่ บนสมาร์ ทโฟน คือโปรแกรม ibuildapp ที่ใช้ในการ
สร้างแอปพลิเคชัน่ บนสมาร์ทโฟน iOS
Shopping Store คือ การช้อปสิ นค้าออนไลน์ผา่ นแอพพลิ เคชัน่ บนสมาร์ ทโฟนและ
4
บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วข้ อง ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2557 ในรายวิชาหลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมและวิชา โครงการ กลุ่มของข้าพเจ้าได้สร้างแอพพลิเคชัน่ Shopping Storeที่สร้างด้วยโปรแกรม ibuildapp มี เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. แอยดรอยด์(Android) และ iOS 2. ภาษาจาวา 3. XML 4. โปรแกรม ibuildapp 5. สมาร์ทโฟน 6. ช้อปปิ้ งออนไลน์ 2.1. แอนดรอยด์ (Android) และ iOS แอนดรอยด์ (Android) เป็ นระบบปฏิ บตั ิ การสาหรั บอุ ปกรณ์ พกพา เช่ น โทรศัพท์มือถื อ แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ เน็ตบุค๊ ทางานบนลินุกซ์ เคอร์ เนล เริ่ มพัฒนาโดยบริ ษทั แอนดรอยด์ (Android Inc.) จากนั้นบริ ษทั แอนดรอยด์ถูกซื้ อโดยกูเกิล และนาแอนดรอยด์ไปพัฒนาต่อ ภายหลังถูกพัฒนา ในนามของ Open Handset Alliance ทางกูเกิ ลได้เปิ ดให้นักพัฒนาสามารถแก้ไขโค้ดต่างๆ ด้วย ภาษาจาวา และควบคุมอุปกรณ์ผา่ นทางชุด Java libraries ที่กเู กิลพัฒนาขึ้น โดยแอนดรอยด์เป็ นระบบปฏิบตั ิการ (OS) หรื อแพลตฟอร์ ม ที่จะใช้ควบคุมการทางานบน อุปกรณ์อีเล็คทรอนิกส์ต่างๆ สาหรับโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์พกพา โดยมี กูเกิล อิงก์, ที-โมบาย, เอชทีซี, ควอลคอมม์, โมโตโรลา และบริ ษทั ชั้นนาอีกมากมายร่ วมพัฒนาโปรเจ็กต์ แอนดรอยด์ ผ่านกลุ่มพันธมิตรเครื่ องมือสื่ อสารระบบเปิ ด (Open Handset Alliance) ซึ่ งเป็ นกลุ่มพันธมิตรชั้นนา ระดับ นานาชาติ ด้า นเทคโนโลยีและเครื่ องมื อสื่ อสารเคลื่ อนที่ ซึ่ ง Android ประกอบด้ว ย ระบบปฏิบตั ิการ ไลบรารี เฟรมเวิร์ค และซอฟต์แวร์ อื่นๆ ที่จาเป็ นในการพัฒนา ซึ่ งเทียบเท่ากับ Windows Moble, Palm OS, Symbian, OpenMoko และ Maemo ของโนเกีย โดยใช้องค์ประกอบที่ เป็ นโอเพนซอร์ สหลายอย่าง เช่น Linux Kernel, SSL, OpenGL, FreeType, SQLite, WebKit และ เขียนไลบรารี เฟรมเวิร์คของตัวเองเพิ่มเติม ซึ่ งทั้งหมดจะโอเพนซอร์ ส ใช้ (Apache License)
5
ความร่ วมมือครั้งนี้ มีเป้ าหมายในการส่ งเสริ มนวัตกรรมบนเครื่ องมือสื่ อสารเพื่อให้ได้รับ ประสบการณ์ที่เหนื อกว่าแพลตฟอร์ มโมบายทัว่ ไปที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั ทั้งนี้ การนาเสนอมิติใหม่ของ แพลตฟอร์ มระบบเปิ ดให้แก่นกั พัฒนาจะทาช่วยให้กลุ่มคนเหล่านี้ ทางานร่ วมกันได้มีประสิ ทธิ ภาพ ยิง่ ขึ้น โดย แอนดรอยด์ จะช่วยเร่ งและผลักดันบริ การระบบสื่ อสารรู ปแบบใหม่ไปสู่ ผบู ้ ริ โภคได้ อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน กูเกิลแอนดรอยด์ เป็ นชื่ อเรี ยกอย่างเป็ นทางการของแอนดรอยด์ เนื่ องจากปั จจุบนั นี้ บริ ษทั กูเกิ ล เป็ นผูท้ ี่ถือสิ ทธิ บตั รในตราสัญญาลักษณ์ ชื่ อ และ รหัสต้นฉบับ (Source Code) ของแอน ดรอยด์ ภายใต้เงื่อนไขการพัฒนาแบบ GNL โดยเปิ ดให้นกั พัฒนา (Developer) สามารถนารหัส ต้นฉบับ ไปพัฒนาปรับแต่งได้อย่างเปิ ดเผย (Open source) ทาให้แอนดรอยด์มีผเู ้ ข้าร่ วมพัฒนาเป็ น จานวนมาก และพัฒนาไปได้อย่างรวดเร็ ว ประเภทของชุ ดซอฟท์ แวร์ เนื่ องจากแอนดรอยด์น้ นั เปิ ดให้นัก พัฒนาเข้า ไปชมรหัส ต้นฉบับได้ ทาให้มีผพู ้ ฒั นาจากหลายฝ่ ายนาเอารหัสต้นฉบับมาปรับแต่ง และสร้างแอนดรอยด์ใน แบบฉบับของตนเองขึ้น เราจึงแบ่งประเภทของแอนดรอยด์ออกได้เป็ น 3 ประเภท ดังต่อไปนี้ 2.1.1 Android Open Source Project (AOSP) เป็ นแอนดรอยด์ประเภทแรกที่กูเกิลเปิ ดให้ สามารถนา“ต้นฉบับแบบเปิ ด” ไปติดตั้งและใช้งานในอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้โดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายได ๆ 2.1.2 Open Handset Mobile (OHM) เป็ นแอนดรอยด์ที่ได้รับการพัฒนาร่ วมกับกลุ่ม บริ ษทั ผูผ้ ลิตอุปกรณ์พกพา ที่เข้าร่ วมกับกูเกิลในนาม Open Handset Alliances (OHA) ซึ่ งบริ ษทั เหล่ านี้ จะพัฒนาแอนดรอยด์ในแบบฉบับของตนออกมา โดยรู ปร่ างหน้าตาการแสดงผล และ ฟั งค์ชนั่ การใช้งาน จะมีความเป็ นเอกลักษณ์ และมีลิขสิ ทธิ์ เป็ นของตน พร้ อมได้รับสิ ทธิ์ ในการมี บริ การเสริ มต่าง ๆ จากกูเกิล ที่เรี ยกว่า Google Mobile Service (GMS) ซึ่ งเป็ นบริ การเสริ มที่ทาให้ แอนดรอยด์มีประสิ ทธิ ภาพ เป็ นไปตามจุดประสงค์ของแอนดรอยด์ แต่การจะได้มาซึ่ ง GMS นั้น ผูผ้ ลิตจะต้องทาการทดสอบระบบ และขออนุญาตกับทางกูเกิลก่อน จึงจะนาเครื่ องออกสู่ ตลาดได้ 2.1.3 Cooking หรื อ Customize เป็ นแอนดรอยด์ที่นกั พัฒนานาเอารหัสต้นฉบับจากแหล่ง ต่าง ๆ มาปรับแต่ง ในแบบฉบับของตนเอง โดยจะต้องทาการปลดล๊อคสิ ทธิ์ การใช้งานอุปกรณ์ หรื อ Unlock เครื่ องก่ อน จึงจะสามารถติ ดตั้งได้ โดยแอนดรอยด์ประเภทนี้ ถือเป็ นประเภทที่ มี ความสามารถมากที่สุด เท่าที่อุปกรณ์เครื่ องนั้น ๆ จะรองรับได้ เนื่ องจากได้รับการปรับแต่งให้เข้า กับอุปกรณ์น้ นั ๆ จากผูใ้ ช้งานจริ ง สิ ทธิ์ ในการใช้งานระบบ เช่นเดียวกับระบบปฏิบตั ิการทัว่ ไป ที่มีการจากัดการใช้งาน และ การเข้าถึ งส่ วนต่าง ๆภายในระบบ เพื่อความปลอดภัยของระบบ และ ผูใ้ ช้งาน อุปกรณ์ ที่ติดตั้ง
6
ระบบแอนดรอยด์จึงมีการจากัดสิ ทธิ์ ไว้ (เว้นแต่ได้ทาการปลดล๊อคสิ ทธิ์ หรื อ root เครื่ องแล้ว) สามารถแบ่งสิ ทธิ์ ของผูใ้ ช้ในการเข้าถึงระบบคร่ าว ๆ ได้ดงั ต่อไปนี้ - สิ ทธิ์ root สิ ท ธ์ การใช้ใช้งานระดับราก ซึ่ งถื อว่าเป็ นรากฐานของระบบ จึงมี ความสามารถในการเข้าถึงทุก ๆ ส่ วนของระบบ - สิ ทธิ์ ADB (Android Develop Bridge) นักพัฒนาสามารถเข้าถึงส่ วนต่าง ๆ ของระบบได้ ผ่านสิ ทธิ์ น้ ี - Application & System สิ ทธิ์ ของโปรแกรมในการเข้าถึงระบบ และสิ ทธิ์ ของระบบในการ เข้าถึงอุปกรณ์ โดยสิ ทธิ์ เหล่านี้ ตัวระบบจะเป็ นตัวจัดการมอบและถอนสิ ทธิ์ ตามเงื่อนไขที่กาหนด ซึ่ งจะถูกแบ่งย่อยออกเป็ นหลายหัวข้อ - End-user ผูใ้ ช้งานขั้นสุ ดท้าย ซึ้ งก็คือ คุณ และ คุณ ทั้งหลาย ที่ใช้การเข้าถึงส่ วนต่าง ๆ ของระบบผ่านช่ องทางสิ ท ธิ์ ที่ โปรแกรมได้รับอี กที โดยจะถู กจากัดไม่ให้เข้าถึ งในส่ วนที่ เป็ น อันตรายต่อแกนระบบและอุปกรณ์ จากด้านบนจึงเป็ นที่มาของคาว่า “รู ธเครื่ อง” ซึ่ งหมายถึงการทาให้ End-user สามารถใช้ งานระบบได้ในถานะ root ผ่านแอพพลิเคชัน่ Superuser permission การรู ธจึงเปรี ยบเสมือนดาบ สองคม ซึ่ งผูใ้ ช้ที่ตอ้ งการจะรู ธเครื่ องตนเองนั้น ควรจะมีความรู ้ เกี่ ยวกับแอนดรอยด์ในระดับสู ง และมีความชานาญในการใช้งานตัวเครื่ องเสี ยก่อน ไม่เช่ นนั้นอาจเป็ นการเปิ ดทางให้โปรแกรม บุคคลที่สามสร้างความเสี ยหายให้แก่เครื่ อง และระบบได้ ข้อจากัดของแอนดรอยด์ แอนดรอยด์ที่ดีน้ นั จะต้องมี GMS ซึ่ งก็จะต้องขึ้นอยูก่ บั กูเกิลว่า ผูผ้ ลิตเครื่ องไหน สามารถสาเอา GMS ไปใช้ได้บา้ ง โดยจะต้องได้รับการยอมรับ และอนุมตั ิเป็ น ลายลักษณ์อกั ษร จากผูถ้ ือสิ ทธิ บตั รซึ่ งก็คือ กูเกิล เสี ยก่อน หลังจากนั้นจึงจะเผยแพร่ ได้ หากแต่เป็ น การเผยแพร่ ในเชิงพัฒนา หรื อแจกฟรี น้ นั ไม่จาเป็ นต้องรอให้ทางกูเกิลอนุ มตั ิก็ได้ ส่ งผลให้อุปกรณ์ บางรุ่ นถูกจากัดความสามารถในการใช้งาน แต่อย่างไรก็ตาม ภายใต้ GNL สิ ทธิ บตั ร จึงเป็ นการเปิ ด โอกาศให้มีการพัฒนาได้อย่างอิสระ ทาให้ขอ้ จากัดต่าง ๆ หมดไป เมื่อมีคนใช้ก็ยอ่ มมีคนแก้ ยิ่งใช้ เยอะยิง่ มีคนช่วยแก้เยอะ แอนดรอยด์ได้เป็ นที่รู้จกั ต่อสาธารณชนเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยทางกูเกิลได้ ประกาศก่อตั้ง Open Handset Allianc กลุ่มบริ ษทั ฮาร์ ดแวร์ , ซอฟต์แวร์ และการสื่ อสาร 48 แห่ ง ที่
7
ร่ วมมือกันเพื่อพัฒนา มาตราฐานเปิ ด สาหรับอุปกรณ์มือถือ ลิขสิ ทธิ์ ของโค้ดแอนดรอยด์น้ ี จะใช้ใน ลักษณะของซอฟต์แวร์เสรี โทรศัพท์เครื่ องแรกที่สามารถใช้งานระบบปฏิ บตั ิก ารแอนดรอยด์ได้คื อ HTC Dream ออกจาหน่ายเมื่อ 22 ตุลาคม 2551 ไอโอเอส (ก่อนหน้านี้ ใช้ชื่อ ไอโฟนโอเอส) คือระบบปฏิบตั ิการบนอุปกรณ์พกพา (สมาร์ ต โฟน,แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ) พัฒนาและจาหน่ ายโดยแอปเปิ ล (บริ ษทั ) เปิ ดตัวครั้งแรกในปี 2007 เพื่อใช้บนไอโฟน และได้มีการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อใช้บนอุปกรณ์ พกพาอื่นๆ ของแอปเปิ ล เช่ น ไอ พอดทัช(ในเดือนกันยายน 2007), ไอแพด (ในเดือนมกราคม 2010), ไอแพด มินิ (พฤศจิกายน 2012) และ แอปเปิ ลทีวี รุ่ นที่ 2 (ในเดื อนกันยายน 2010) ไอโอเอสแตกต่า งจากวินโดวส์ โฟนของ ไมโครซอฟท์และแอนดรอยด์ (ระบบปฏิ บตั ิการ)ของกูเกิ ล ตรงที่แอปเปิ ลไม่อนุ ญาตให้นาไอโอ เอสไปติ ดตั้งบนอุ ป กรณ์ ที่ ไม่ ใ ช่ อุปกรณ์ ของแอปเปิ ล ในเดื อนสิ ง หาคม 2013 แอปสโตร์ ของ แอปเปิ ลมี แอปพลิ เคชันมากกว่า 900,000 แอปพลิ เคชัน และ 375,000 ที่ ออกแบบมาเพื่ อ ไอ แพด แอปพลิ เคชันเหล่านี้ มียอดดาวโหลดน์รวมกันมากกว่า 5 หมื่นล้านครั้ง ไอโอเอสมีส่วนแบ่ง 21% ของส่ วนแบ่งระบบปฏิบตั ิการบนอุปกรณ์พกพาในไตรมาสที่ 4 ของปี 2012 ซึ่ งเป็ นรองจาก แอนดรอยของกูเกิ ลเท่านั้น ในเดื อนมิถุนายน 2012 ไอโอเอสมี ส่วนแบ่งคิ ดเป็ น 65% ของการ บริ โภคข้อมูลบนอุปกรณ์พกพา (ซึ่ งรวม ไอพอดทัช และ ไอแพด) ในกลางปี 2012 มีอุปกรณ์ไอโอ เอสมากกว่า 410 ล้านเครื่ องที่เปิ ดใช้งาน จากการอ้างอิงจากงานแถลงเปิ ดตัวต่อสื่ อโดยแอปเปิ ลใน วันที่ 12 กันยายน 2012 มีอุปกรณ์ไอโอเอส 400 ล้านตัวที่จาหน่ายไปแล้วในเดือนมิถุนายน 2012 ส่ วนต่อประสานกับผูใ้ ช้ (user interface) ของไอโอเอสมีพ้ืนฐานแนวคิดมาจาก "การควบคุม โดยตรง" (direct manipulation) ด้วยการใช้มลั ติทชั องค์ประกอบของการควบคุ มก็คือการใช้นิ้ว เลื่ อน, สวิท ช์ และปุ่ ม เพื่อเป็ นการควบคุ ม อุ ป กรณ์ รวมถึ ง ท่า ทางอย่า งอื่ น เช่ น การนานิ้ วมื อ (มากกว่า สองนิ้ ว) บี บเข้าหาศูนย์กลาง (swipe), แตะเบาๆ (tap), การนานิ้ วสองนิ้ วบี บเขาหา ศูนย์กลาง (pinch), การนานิ้ วสองนิ้ วกางออกจากศูนย์กลาง (reverse pinch) ซึ่ ง ทั้งหมดนี้ มี ความหมายที่เจาะจงในบริ บทต่างๆ ของไอโอเอสและถือเป็ นการใช้งานแบบส่ วนต่อประสานกับ ผูใ้ ช้แบบมัลติทชั ภายในอุปกรณ์ ที่ติดตั้งไอโอเอสจะมีเซนเซอร์ ตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อใช้กบั บางแอปพลิเคชันเพื่อตอบสนองการสั่นของอุปกรณ์ หรื อการหมุนอุปกรณ์ที่คานวณในรู ปแบบสาม มิติ
8
ไอโอเอสมีตน้ กาเนิ ดมาจากแมคโอเอสเท็นซึ่ งได้รากฐานมาจากดาร์ วินและแอปพลิ เคชัน เฟรมเวริ คต์ ่างๆ ไอโอเอสคือรุ่ นพกพาของแมคโอเอสเท็นที่ใช้บนคอมพิวเตอร์ของแอปเปิ ล 2.2 ภาษาจาวา (Java programming language) ภาษาจาวา (Java programming language) เป็ นภาษาโปรแกรมเชิ งวัตถุ (Object Oriented Programming) พัฒนาโดย เจมส์ กอสลิง และวิศวกรคนอื่นๆ โดยบริ ษทั ซัน ไมโครซิ สเต็มส์ ภาษา จาวาถูกพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) โดยเป็ นส่ วนหนึ่ งของ โครงการกรี น (the Green Project) และสาเร็ จออกสู่ สาธารณะในปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ซึ่ งภาษานี้ มีจุดประสงค์เพื่อใช้แทน ภาษาซี พลัสพลัส (C++) โดยรู ปแบบที่เพิ่มเติมขึ้นคล้ายกับภาษาอ็อบเจกต์ทีฟซี (Objective-C) แต่ เดิ มภาษานี้ เรี ยกว่า ภาษาโอ๊ก (Oak) ซึ่ งตั้งชื่ อตามต้นโอ๊กใกล้ที่ทางานของ เจมส์ กอสลิ ง แต่ว่ามี ปัญหาทางลิขสิ ทธิ์ จึงเปลี่ยนไปใช้ชื่อ "จาวา" ซึ่ งเป็ นชื่อกาแฟแทน และแม้ว่าจะมี ชื่อคล้ายกัน แต่ภาษาจาวาไม่มีความเกี่ ยวข้องใด ๆ กับภาษาจาวาสคริ ปต์ (JavaScript) ปั จ จุ บ ัน มาตรฐานของภาษาจาวาดู แ ลโดย Java Community Process ซึ่ งเป็ น กระบวนการอย่า งเป็ นทางการ ที่ อ นุ ญ าตให้ ผู ้ที่ ส นใจเข้า ร่ ว มก าหนดความสามารถในจาวา แพลตฟอร์มได้ เทคโนโลยีจาวา มีองค์ประกอบหลักที่ สาคัญสองอย่าง ที่ทาให้โปรแกรมจาวาสามารถ ทางานได้มากกว่าหนึ่ง Platform คือ - ภาษาจาวา ซึ่งเป็ นภาษาแบบวัตถุที่ใช้ในการเขียนและพัฒนาโปรแกรมจาวา - Java platform คือ platform หรื อสภาพแวดล้อ มที่ ใช้ในการรันโปรแกรมจาวา โปรแกรมจาวาจะทางานบน Java platform เท่านั้น Java platform จะประกอบไปด้วย สองอย่าง คือ Java VM (JVM) และ runtime library โปรแกรมจาวาที่เราเขียนขึ้นจะ ทางานบน platform ใดก็ได้ที่มี Java platform ทางานอยู่ 2.2.1 จุดมุ่งหมายหลัก 4 ประการ ในการพัฒนาจาวา คือ -
ใช้ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ ไม่ข้ ึนกับแพลตฟอร์ ม (สถาปั ตยกรรม และ ระบบปฏิบตั ิการ) เหมาะกับการใช้ในระบบเครื อข่าย พร้อมมีไลบรารี สนับสนุน เรี ยกใช้งานจากระยะไกลได้อย่างปลอดภัย
2.2.2 จาวาแพลตฟอร์ม และ ภาษาจาวา
9
เนื่ องจากชื่ อที่เหมือนกัน และการเรี ยกขานที่มกั จะพูดถึ งพร้ อมกันบ่อยๆ ทาให้คนทัว่ ไป มักสับสนว่า ภาษาจาวา และ จาวาแพลตฟอร์ ม เป็ นสิ่ งเดียวกัน ในความเป็ นจริ งนั้น ทั้งสองสิ่ ง แม้จะทางานเสริ มกัน แต่ก็เป็ นสิ่ งที่แยกออกจากกัน โดย ภาษาจาวานั้น คือภาษาสาหรับใช้เขี ยนโปรแกรมภาษาหนึ่ ง ดังที่ได้อธิ บายไปข้างต้น ส่ วน จาวา แพลตฟอร์ มนั้น คือสภาพแวดล้อมสาหรับการใช้งานโปรแกรมจาวา โดยมีองค์ประกอบหลักคือ จา วาเวอร์ชวลแมชีน (Java virtual machine) และ ไลบรารี มาตรฐานจาวา (Java standard library) โปรแกรมที่ ทางานบนจาวาแพลตฟอร์ ม นั้น ไม่จาเป็ นจะต้องสร้ า งด้วยภาษาจาวา เช่ น อาจจะใช้ ภาษาไพทอน (Python) หรื อ ภาษาอื่นๆ ก็ได้ ส่ ว นภาษาจาวานั้น ก็ ส ามารถน าไปใช้ พ ัฒ นาโปรแกรมส าหรั บ แพลตฟอร์ ม อื่ น ได้ เช่นเดียวกัน เช่น คอมไพเลอร์ gcj สามารถคอมไพล์โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาจาวา ให้ทางานได้ โดยไม่ตอ้ งใช้ จาวาเวอร์ ชวลแมชีน 2.2.3 ข้อดีของภาษาจาวา โปรแกรมจาวาที่ เขียนขึ้นสามารถทางานได้หลาย platform โดยไม่จาเป็ นต้อง แก้ไขหรื อ compile ใหม่ ทาให้ช่วยลดค่าใช้จ่ายและเวลาที่ ตอ้ งเสี ยไปในการ port หรื อทาให้ โปรแกรมใช้งานได้หลาย platform ภาษาจาวาเป็ นภาษาเชิงวัตถุ ซึ่ งเหมาะสาหรับพัฒนาระบบที่มีความซับซ้อน การ พัฒนาโปรแกรมแบบวัตถุจะช่วยให้เราสามารถใช้คาหรื อชื่อ ต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ นระบบงานนั้นมาใช้ใน การออกแบบโปรแกรมได้ ทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ภาษาจาวามีความซับซ้อนน้อยกว่าภาษา C++ ทาให้ใช้งานได้ง่ายกว่าและลดความ ผิดพลาดได้มากขึ้น ภาษาจาวามีการตรวจสอบข้อผิดพลาดทั้งตอน compile time และ runtime ทาให้ ลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในโปรแกรม และช่วยให้ debug โปรแกรมได้ง่าย ภาษาจาวาถูกออกแบบมาให้มีความปลอดภัยสู งตั้งแต่แรก ทาให้โปรแกรมที่เขียน ขึ้นด้วยจาวามีความปลอดภัยมากกว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาอื่น มี IDE, application server, และ library ต่าง ๆ มากมายสาหรับจาวาที่เราสามารถ ใช้งานได้โดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่าย ทาให้เราสามารถลดค่าใช้จ่ายที่ตอ้ งเสี ยไปกับการซื้ อ tool และ s/w ต่าง ๆ 2.2.4 ข้อเสี ยของภาษาจาวา
10
ท างานได้ช้า กว่า native code (โปรแกรมที่ compile ให้ อ ยู่ใ นรู ป ของ ภาษาเครื่ อง) หรื อโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาอื่น อย่างเช่น C หรื อ C++ ทั้งนี้ ก็เพราะว่าโปรแกรม ที่ เขี ยนขึ้ นด้วยภาษาจาวาจะถู ก แปลงเป็ นภาษากลางก่ อน แล้วเมื่ อโปรแกรมท างานค าสั่งของ ภาษากลางนี้ จะถูกเปลี่ยนเป็ นภาษาเครื่ องอีกทีหนึ่ ง ทีล่ะคาสั่ง (หรื อกลุ่มของคาสั่ง) ณ runtime ทา ให้ทางานช้ากว่า native code ซึ่ งอยูใ่ นรู ปของภาษาเครื่ องแล้วตั้งแต่ compile โปรแกรมที่ตอ้ งการ ความเร็ วในการทางานจึงไม่นิยมเขียนด้วยจาวา tool ที่ มี ใ นการใช้พ ฒ ั นาโปรแกรมจาวามัก ไม่ ค่ อยเก่ ง ท าให้ห ลายอย่า ง โปรแกรมเมอร์ จะต้องเป็ นคนทาเอง ทาให้ตอ้ งเสี ยเวลาทางานในส่ วนที่ tool ทาไม่ได้ ถ้าเราดู tool ของ MS จะใช้งานได้ง่ายกว่า และพัฒนาได้เร็ วกว่า (แต่เราต้องซื้ อ tool ของ MS และก็ตอ้ งรันบน platform ของ MS) 2.3 XML (Extensive Markup Language) XML ย่อมาจาก Extensive Markup Language เป็ นตัวกลางที่ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่ งมี ความยืดหยุน่ สู ง โดยการแลกเปลี่ ยนข้อมูลนี้ จะไม่ข้ ึนอยู่กบั แพลตฟอร์ มใด XML เป็ นส่ วนเสริ ม ของ HTML กล่าวคือตัว XML ไม่สามารถแสดงผลได้ในตัวของมันเอง หากต้องการแสดงผลที่ ถูกต้อง จะต้องมีการใช้ร่วมกับภาษาอื่น เช่น HTML, JSP, PHP, ASP, VB,*.NET หรื อภาษาอื่น ๆ ที่สนับสนุ น โดย XML นั้นเป็ นภาษาหนึ่ งที่ ใช้ในการแสดงผลข้อมูล ถ้าเปรี ยบเที ยบกับภาษา HTML จะแตกต่างกันที่ HTML ถูกออกแบบมาเพื่อการแสดงผลอย่างเดียวเท่านั้น เช่นให้แสดงผล ตัวเล็ก ตัวหนา ตัวเอียง เหมือนที่คุณเคยเห็นในเวบเพจทั้วไป แต่ภาษา XML นั้นถูกออกแบบมาเพื่อ เก็บข้อมูล โดยทั้งข้อมูลและโครงสร้างของข้อมูลนั้นๆไว้ดว้ ยกัน ส่ วนการแสดงผลก็จะใช้ภาษา เฉพาะซึ่ งก็คือ XSL (Extensible Stylesheet Language) Extensive Markup Language เป็ นฟอร์แมตที่อธิบายถึงรายละเอียดของโครงสร้างและแบบ ของข้อมูลเป็ นภาษาหรื อชุ ดคาสั่งเกี่ยวกับข้อมูลบนเว็บ ที่ให้การพัฒนาและมีศกั ยภาพในส่ วนของ โครงสร้างข้อมูลจากหลากหลายแอพพลิเคชันมานาเสนอบนเครื่ องเดสก์ทอป ด้วย XML จะทาให้ การจัดการข้อมูลหรื อเรี ยกใช้ขอ้ มูลจากแอพพลิเคชันต่างๆ จะเข้าสู่ มาตรฐานเดียวกัน XML จะเป็ นส่ วนหนึ่งของ HTML ซึ่ ง XML จะให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล เช่น ชื่ อเมือง อุณหภูมิ ความกดอากาศ ส่ วน HTML เป็ นการกาหนด tag ต่างๆ ที่จะทาให้ขอ้ มูลแสดงออกมาใน รู ป แบบไหน ซึ่ งข้อ มู ล จะสามารถแสดงออกมาได้ห ลายรู ป แบบ ไม่ ว่า จะเป็ นตารางหรื อ text ธรรมดา ขึ้นอยูก่ บั การกาหนดของ HTML และในปั จจุบนั นี้ ด้วย XML จะมีการให้รายละเอียดของ
11
เนื้ อหาเอกสารที่เรี ยกว่า Document Type Definition (DTD) ที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับตัวเอกสารว่า จะแสดงหรื อซ่ อนส่ วนไหนของเอกสารบ้าง ซึ่ ง DTD จะเป็ นส่ วนที่เพิ่มเติมสาหรับ XML ถ้าหากมี การส่ งข้อมูลในรู ปแบบ DTD ก็จะรู ้กนั ว่าเป็ น XML มีความหมายหลาย ๆ คาที่ อธิ บายลักษณะของ XML Richard Baldwinนิยามความหมายของ XML ไว้ดงั นี้ "XML ทาให้ผใู้ ช้สามารถสร้างและดูแล structured documents (เอกสารที่มีโครงสร้าง) ที่บรรจุ plain text (ตัวอักษร) โดยทาให้สามารถ rendered หรื อปรับเปลี่ ยนการแสดง ผลในรู ปแบบที่ หลากหลาย จุดประสงค์หลักของ XML คือการแยกส่ วน ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการแสดงผล" XML เป็ น จะมีนามสกุลเป็ น *.XML สามารถสร้างขึ้นจากโปรแกรมประเภท Text Editor ใด ก็ได้ เช่น Notepad, Edit plus, DreamWeaver, MS Word เป็ นต้น XML อาศัยโปรโตคอลที่ชื่อว่า SOAP (Simple Object Access Protocal) ซึ่ งเป็ นข้อตกลงใน การสื่ อสารระหว่างกัน 2.3.1 ความเป็ นมาของ XML (Extensive Markup Language) โปรโตคอลอินเตอร์ เน็ต (Internet Protocol-IP), Hypertext Markup Language และ Hypertext Transport Protocol (HTTP) ได้เป็ นการปฏิวตั ิและสร้างมิติใหม่ในการกระจายข้อมูลและ สารสนเทศ การนาเสนอ ตลอดจนการค้นคืน โดยให้ ผใู ้ ช้สามารถใช้สารสนเทศที่ตอ้ งการได้ง่าย ด้วยเบราวเซอร์ และมี search engine หรื อเครื่ องมือในการช่วยค้นหา นอกจากนั้นยังมีการประยุกต์ ไปใช้กบั เครื อข่ายในสานักงานหรื ออินเตอร์ เน็ต และใช้สาหรับการบริ การข้อมูลสาหรับลูกค้าและคู่ ค้าให้สามารถตอบสนองทางด้านสารสนเทศที่ตอ้ งการ ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น สาหรับ Extensive Markup Language จะให้ประโยชน์อย่างเต็มที่เมื่อทางานร่ วมกับ HTML ด้วยเหตุที่ว่า XML ได้มีความพร้ อมในแง่ของรายละเอี ยด และการนาข้อมูลตลอดจนโครงสร้ าง ข้อมูลมาแสดงได้ในรู ปแบบ Text ผ่านทาง HTTP ที่เปิ ดให้ขอ้ มูลขึ้นใหม่และมีความสามารถใน การจัดข้อมูลได้อีกด้วย ในการเขียนเว็บเพจเมื่อใช้ HTML ผูพ้ ฒั นาสามารถกาหนดได้วา่ ส่ วนไหน จะเป็ นตัวหนา ตัวเอียง หรื อตัวอักษรเป็ นแบบไหน ส่ วน XML นั้นจะเป็ นการเตรี ยมส่ วนของข้อมูล ที่จะนาไปใส่ ในช่องที่กาหนดตามการเขียนของ HTML ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลด้านราคา หรื อราคา ที่ต้ งั สาหรับการจัดรายการส่ งเสริ มการขาย อัตราภาษี ค่าขนส่ ง เป็ นต้น XML ถื อได้ว่าเป็ นส่ วนหนึ่ งของ Standard Generalized Language Markup Language (SGML) ที่เป็ นข้อกาหนดในการสร้ างหรื อจัดทาเอกสารในรู ปแบบอิเล็กทรอนิ กส์ ที่กาหนดโดย
12
W3C หรื อ World Wide Web Consortium สามารถดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้จ าก http://www.w3.org/TR/REC-xmlที่มีโครงสร้ างและรู ปแบบที่ เปิ ดให้แอพพลิ เคชันต่างๆ สามารถ เรี ยกไปใช้งานได้ เช่ น บนเว็บไซต์ต่างๆ เป็ นต้น และทางไมโครซอฟท์ได้มีการทางานร่ วมกับ W3C เพื่อพัฒนามาตรฐานข้อมูลบนเว็บที่ให้ HTML สามารถแสดงข้อมูลที่ XML ได้เตรี ยมไว้ และ ทางไมโครซอฟท์เองได้มีการเปิ ดตัว เบราว์เซอร์ ต้ งั แต่ IE 4.0 เป็ นต้นไป ที่สามารถเรี ยกดูและ ประมวลผลข้อ มู ล ได้ และเป็ นข้อ ก าหนดให้ เบราว์เ ซอร์ เ วอร์ ชัน ใหม่ ข องค่ า ยไมโครซอฟท์ สนับสนุน XML สิ่ งที่ ถือได้ว่าเป็ นเสน่ ห์ของ XML นั้นจะเป็ นความสะดวกในการจัดการด้านระบบการ ติ ด ต่ อ กับ ผูใ้ ช้จ ากโครงสร้ า งของข้อ มู ล เราสามารถน าข้อมู ล จากหลายแหล่ ง มาแสดงผลและ ประมวลผลร่ วมกันได้ ไม่วา่ จะเป็ นข้อมูลลูกค้า รายการสั่งซื้ อ ผลการวิจยั รายการรับชาระเงินข้อมูล เวชระเบียน รายการสิ นค้าหรื อข้อมูลสารสนเทศอื่นๆ ก็สามารถแปลงให้เป็ น XML ได้ และในส่ วน ของข้อมูลสามารถปรับให้เป็ น HTML ได้ สาหรับประโยชน์ในการใช้งานนั้น เราจะสามารถนามาใช้สาหรับการเข้าถึ งระบบข้อมูล ขนาดใหญ่ใช้กบั ระบบเครื อข่ายในองค์กร หรื ออินเตอร์ เน็ตเพื่อดูขอ้ มูลหรื อเรี ยกใช้ขอ้ มูลที่ให้การ แสดงผลทางหน้าจอที่รวดเร็ วและง่ายในการจัดการ 2.3.2 วัตถุประสงค์หลักของ XML ความหมายของ XML ก่อนหน้านี้ ได้บอกเอาไว้วา่ "จุดประสงค์หลักของ XML คือการ แยกส่ วน ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการแสดงผล" นัน่ คือ เอกสาร XML ใช้สาหรับควบคุม ตัวอักษร (plain text) โดยยึดเอาข้อมูลที่มีใจความเหมือนกัน แต่สามารถนาเอาไปแสดงผล ให้ผใู ้ ช้หรื อผูอ้ ่าน หลายคนได้รับรู ้ ขอ้ มูลใจความเดี ยวกัน เมื่อมองผ่านอุปกรณ์ แสดงผลลัพธ์ที่ต่างกัน ซึ่ งลักษณะ เหล่ านี้ ไม่เกิ ดขึ้นจริ งกับ เอกสารประเภทประมวลผลคาอื่นๆ word processing หลากหลาย คอมพิวเตอร์ และหลากหลายระบบปฏิบตั ิการ นี้ ไม่ใช้สิ่งที่ควรจะละเลยได้เลย เห็นได้ชดั ว่าหลายๆ ปี ที่ ผ่า นมา คอมพิ วเตอร์ หลากหลายชนิ ดถู ก ผลิ ตออกมาเป็ นจานวนมาก เพื่ อใช้งาน รวมถึ ง ระบบปฏิบตั ิการ(Operation System) ก็ยงั มีความแตกต่างกันออกไปด้วย นัน่ คือคอมพิวเตอร์ รุ่น ใหม่ๆจึงมีความหลากหลาย และยุง่ ยากในการทาให้เข้าใจข้อมูลเดียวกัน ซึ่ งเปรี ยบแล้วเหมือนกับ ภาษามนุษย์ที่ใช้สื่อสารกัน มีมากมายหลายร้อยภาษา W3C ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายหลักไว้ 10 หัวข้อ ดังนี้
13
1. XML มีการใช้งานโดยตรงบนเครื อข่าย Internet โดย XML จะถูกออกแบบมาสาหรับจัดเก็บ และจัดส่ งข้อมูลบนเว็บ 2. XML มีการสนับสนุนโปรแกรมที่หลากหลาย 3. XML จะต้องเข้ากันได้กบั SGML 4. XML จะต้องง่ายต่อการเขียนโปรแกรมเพื่อประมวลผลเอกสาร 5. จานวนของทางเลือกเฉพาะของ XML ควรมีจานวนน้อยที่สุดหรื อไม่ควรมีเลย 6. เอกสาร XML จะต้องอ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจน 7. XML ออกแบบมาเพื่อให้พฒั นาโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ ว 8. การออกแบบ XML ต้องมีรูปแบบที่เหมาะสมและกะทัดรัด 9. สามารถสร้างเอกสาร XML ได้ง่าย 10. Markup ของ XML ต้องไม่รวบรัดมากเกินไป ถึงแม้วา่ วัตถุประสงค์ที่สาคัญคือ การจัดส่ งข้อมูลบนเว็บผ่านทางเซิ ร์ฟเวอร์ และโปรแกรม เบราว์เซอร์ XML จะถู กออกแบบมาเพื่อใช้กบั โปรแกรมที่ มีรูปแบบต่าง ๆ ตัวอย่างเช่ น การ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างโปรแกรมทางด้านการเงิน การเผยแพร่ และปรับปรุ งโปรแกรมให้ทนั สมัย และการเขียน Voice Script ให้สื่อสารได้ดว้ ยโทรศัพท์ 2.3.3 ภาษาสาหรับจัดการโครงสร้างเอกสาร XML พยายามลดข้อจากัดของความแตกต่าง ทางด้านระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างเป็ นภาษาที่ใช้ กาหนดโครงสร้างของเอกสาร ให้สามารถเข้าใจกันได้ในทุก ๆ ระบบ XML คือภาษาที่มีลกั ษณะ เมต้า (meta language) หมายถึงรู ปแบบการรวบรวมข้อมูลข่าวสาร ที่นามาจากแหล่งข้อมูลข่าวสาร อื่นๆ เช่น บทอ้างอิงในหนังสื อสามารถบอกผูอ้ ่านได้ ถ้าถูกรวบรวมเนื้ อหาไว้ดว้ ย XML ผูอ้ ่านจะ สามารถรู ้วา่ หัวข้อที่ตวั เองสนใจ จะไปอยูท่ ี่หน้าที่เท่าไหร่ ของหนังสื อ ซึ่ งเมื่อเปิ ดไปยังหน้าดังกล่าว แล้ว จะได้รับข้อมูลที่อา้ งไปถึ งจากหัวข้อในบทอ้างอิงนัน่ เอง ดังนั้นแต่ละหัวข้อในบทอ้างอิงจึง เป็ น ข้อมูล ที่ได้รวบรวมมาจากข้อมูลในเนื้ อหา บทอ้างอิงจะสามารถบอกข้อมูลเกี่ยวกับ element (elements) และแอตทริ บิวต์ (attributes) ซึ่ งจะมีเนื้อหาต่อไปได้ เราจึงใช้ XML เป็ นภาษาเมต้า
14
2.3.4 ส่ วนประกอบของข้อมูล XML เป็ นการทางานในระดับกลาง middle tier ที่สามารถเรี ยกใช้ฐานข้อมูลได้หลากหลาย ระบบฐานข้อมูลและโอนข้อมูลให้อยู่ในรู ปแบบของ XML และมีการให้รายละเอียดเกี่ยวกับตัว ข้อมูล โครงสร้างต่างๆ ของระบบฐานข้อมูลได้ XML เป็ นระบบเปิ ดที่นาเสนอข้อมูลในรู ป แบบ text ผ่านทาง HTTP เหมือนกับ HTML แต่จะมีคุณสมบัติในการให้ขอ้ มูลแบบ real time อัพเดท หรื อเปลี่ยนแปลงได้ตามข้อกาหนด การแสดงข้อมูลจาก XML ใน HTML จะเป็ นการเพิ่มในส่ วน ของรายละเอียดข้อมูล ที่มีการเรี ยกใช้จากแหล่งหรื อฐานข้อมูลที่เชื่ อมโยงกันในหลายแหล่ง เพื่อให้ HTML มีความสมบูรณ์มากขึ้น ในอนาคตการพัฒนาเว็บหรื อการเขียนและสร้าง HTML ไม่จาเป็ นต้องมีการเขียนชุ ดคาสั่ง ที่ยงุ่ ยากซับซ้อนมากก็สามารถทางานร่ วมกับระบบข้อมูลได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ XML จะทาการ กาหนดค่า ส าหรั บโครงสร้ า งข้อมู ลที่ จะนาไปแสดงใน HTML นอกจากนั้นยัง สามารถนาไป สนับสนุ นระบบการแลกเปลี่ ยนข้อมูลข่าวสารทาง Electronic ได้อย่างดีอีกด้วยเครื่ องมือและการ สนับสนุน เครื่ องมือที่ใช้ในการสนับสนุนการพัฒนาระบบที่ใช้มาตรฐาน XML ได้รับการสนับสนุน จากคู่คา้ หลายราย นอกจากนั้นได้มีการร่ วมมือเพื่อกาหนดมาตรฐานในการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ ให้ รองรับการทางาน ไม่ว่าจะเป็ นทางด้านระบบข้อมูล ระบบสารสนเทศ ข่าวสารที่ตอ้ งการความ รวดเร็ ว เพื่อทันต่อเวลาการนาเสนอ 2.3.5 ประโยชน์จาก XML สาหรับประโยชน์ของ XML นั้น เป็ นด้านความยืดหยุน่ ในการใช้งานสาหรับแอพพลิเคชัน ที่อิงกับ Web Base ที่ใช้ง่ายในการค้นหาข้อมูล มีความยืดหยุน่ ในการพัฒนาเว็บ สามารถผสมผสาน ข้อมูลจากหลายแหล่ ง จากแอพพลิ เคชันที่ต่างกัน สามารถแสดงข้อมูลแบบต่างๆ และสามารถ update ข้อมูลให้ทนั สมัยเสมอ และคาดว่าจะเป็ นมาตรฐานใหม่ของระบบเปิ ด ซึ่ งนับเป็ น format ใหม่สาหรั บการส่ งข้อมูลบนเว็บที่มากด้วยข้อมูลหลายแบบ แต่ส่งผ่านด้วยเทคโนโลยีที่บีบอัด ข้อมูลที่ให้ความเร็ วได้รับการสนับสนุนจากผลิตภัณฑ์ไมโครซอฟต์
15
2.4. โปรแกรม ibuildapp ibuildapp.com คือบริ การสร้าง App สาหรับ Android iPhone iPad แบบสาเร็ จรู ป ทาให้ทุก คนสามารถสร้างได้ แม้ไม่มีทกั ษะการเขียนโปรแกรม และที่น่าสนใจหลังจากสร้างเสร็ จก็อพั โหลด ขึ้น Android Market ได้เลย 2.4.1. ขั้นตอนการสร้าง App ด้วย ibuildapp สามารถทาได้ดงั นี้ เข้าเว็บไซต์ http://www.ibuildapp.com เลือกชนิดของ App ที่ตอ้ งการ และคลิกปุ่ ม Create App Now
16
คลิกปุ่ ม CREATE MY APP
เลือก Native iPhone/Android App
17
Log in เข้าใช้งานด้วย User ของ Facebook
เลือกประเภทของ App จะเห็นว่ามีมาให้เลือกหลายประเภท แต่สามารถนามาประยุกต์ให้ เป็ นแบบอื่นได้
18
19
ใส่ ชื่อแอพที่ตอ้ งการ แล้วเลือก Android และคลิกปุ่ ม Create
2.4.2. การใส่ Content
คลิกทีป่ ้ าย Build your App เข้ามาหน้าแรกเป็ นหน้า Cover ประกอบไปด้วยเมนู Home Photo Blog Contact ซึ่งสามารถ เปลี่ยนใหม่ได้
20
ส่ วนประกอบที่อยูใ่ นหน้า Cover ถ้าเห็นว่ารก ไม่ตอ้ งเอาก็ได้ ด้วยการกด X ถ้าจะเปลี่ยนพื้นหลัง เลือกข้อ 1 แล้วใส่ ภาพที่มีขนาด 320×480
เข้ามาที่เมนู Home เดิมทีเป็ นหน้า HTML แต่ทาการเปลี่ยนประเภทเมนูได้ โดยกดที่ Change page type
21
ประเภทของเมนูมีให้เลือกหลายอย่าง เช่น HTML, Audio Stream, Google Map, Contact, RSS, Events,Twitter, Facebook, News, Web ฯลฯ
22
หลังจากใส่ ค่าต่างๆแล้วกด Save
หลังจาก Save จะเกิดการแสดงผลที่จอ ซึ่งถ้าเป็ นเว็บจะแสดงแบบเว็บเต็ม แต่ถา้ เอามาเปิ ด บนมือถือหน้าเว็บก็จะเป็ นปกติตามที่เราตั้งค่าไว้บนเว็บ
23
2.4.3. การเปลี่ยนชื่อและไอคอนเมนู กลับมาที่หน้า Cover เมนู Customize bottom tabs กดปุ่ ม Edit
เปลี่ยนชื่อเป็ นภาษาไทยก็ได้ แล้วเลือกไอคอน
เมื่อออกแบบเสร็ จแล้วขั้นตอนต่อไปคือการพร้อมส่ งออกเพื่อนาไปใช้งาน
24
2.4.4. ขั้นตอนการส่ งออก กดปุ่ ม Continue อยูข่ า้ งล่าง ทาการตั้งค่าที่ App Setting ดังนี้ 1. เลือก Android 2. ปรับโซนเวลา คนไทยใช้แบบ 24 hour
3. ใส่ Splash Screen ภาพที่มีขนาด 320 x 480
25
4. มีโฆษณาด้วยหรื อไม่
2.4.5. App info กรอกรายละเอียดให้ครบ แล้วใส่ ไอคอนขนาด 512 x 512
26
2.4.6. App Publishing
1. Generate Certificate แล้วจะได้โค้ด 2. Get your map API KEY เพื่อไปขอรหัส API
3. นาโค้ดที่ได้ในข้อหนึ่ง มาใส่ ในช่องว่าง แล้วกด Generate API Key
27
4. ก็อป API Key
5. นา API Key มาใส่ ใน step 2 แล้วกด Setup ก็จะได้ตามภาพ จากนั้นกดปุ่ ม Continue แล้วไม่เกิน 5-10 นาที
2.5. สมาร์ ทโฟน สมาร์ ท โฟน (Smartphone) หมายถึ ง โทรศัพ ท์เ คลื่ อนที่ ที่ มี ค วามสามารถที่ เ พิ่ ม เติ ม นอกเหนือจากโทรศัพท์มือถือทัว่ ไป ซึ่ งสมาร์ ทโฟนได้ถูกมองว่าเป็ นคอมพิวเตอร์ พกพาที่ทางานใน ลักษณะของโทรศัพท์เคลื่ อนที่ โดยสามารถเชื่ อมต่อความสามารถหลักของโทรศัพท์มือถื อ เข้า ร่ วมกับแอพพลิเคชัน่ ของโทรศัพท์เอง และสมาร์ ทโฟนยังสามารถให้ผใู ้ ช้งานติดตั้งโปรแกรมเสริ ม สาหรับเพิ่มความสามารถของศัพท์ของตนเอง โดยรู ปแบบนั้นขึ้นอยูก่ บั แพลตฟอร์ มของโทรศัพท์
28
และระบบปฏิบตั ิการ สมาร์ ทโฟนคือโทรศัพท์มือถือที่นอกเหนื อจากใช้โทรออก-รับสายแล้วยังมี แอพพลิเคชัน่ ให้ใช้งานมากมาย สามารถรองรับการใช้งานอินเทอร์ เน็ตผ่าน 3G, Wi-Fi และสามารถ ใช้งานโซเชี ยลเน็ตเวิร์คและแอพพลิเคชัน่ สนทนาชั้นนา เช่น LINE, Youtube, Facebook, Twitter ฯลฯ โดยที่ผใู ้ ช้สามารถปรับแต่งลูกเล่นการใช้งานสมาร์ ทโฟนให้ตรงกับความต้องการได้มากกว่า มือถือธรรมดา ผูผ้ ลิตสมาร์ ทโฟนรุ่ นใหม่ๆ นิ ยมผลิตสมาร์ ทโฟนที่มีหน้าจอระบบสัมผัส, ใส่ กล้อง ถ่ายรู ปที่ มีความละเอียดสู ง, ออกแบบดีไซน์ให้สวยงามทันสมัย , มี แอพพลิ เคชัน่ และลูกเล่นที่ น่าสนใจ
ฟี เจอร์ หลักทีม่ ีอยู่ในสมาร์ ทโฟน แม้ว่าในปั จจุบนั จะไม่มีการกาหนดมาตรฐานของ "สมาร์ ทโฟน" ออกมาอย่างชัดเจน แต่ แนวโน้มในภาคอุตสาหกรรมตลาดมือถือก็ได้ปรับตัวเข้าหาผูบ้ ริ โภคมากขึ้นและเรี ยนรู ้วา่ อะไรคือ สิ่ งที่ผใู ้ ช้งานสมาร์ ทโฟนต้องการ โดยสิ่ งที่จาเป็ นต้องมีอยูใ่ นสมาร์ ทโฟนนั้นได้แก่ Operating System (ระบบปฏิบัติการ) โดยทัว่ ไปสมาร์ ทโฟนแต่ละเครื่ องจะขึ้นกับระบบปฏิบตั ิการที่ใช้งาน ซึ่ งระบบปฏิบตั ิการ เหล่ า นั้นจะช่ วยให้ผูใ้ ช้งานสมาร์ ทโฟนสามารถเข้าถึ งแอพพลิ เคชัน่ ต่างๆ บนระบบนั้นได้ เช่ น iPhone ของ Apple รันระบบปฏิ บตั ิการ iOS, สมาร์ ทโฟน BlackBerry รันระบบปฏิ บตั ิการ BlackBerry OS, สมาร์ ทโฟนแอนดรอยด์รันระบบปฏิบตั ิการ Android OS, สมาร์ ทโฟน Windows Phone รันระบบปฏิบตั ิการ Windows Phone เป็ นต้น
29
2.6 ช้ อปปิ้ งออนไลน์ ร้ านค้าออนไลน์ถือเป็ นสื่ อกลางในการซื้ อขายสิ นค้าระหว่างผูป้ ระกอบการกับลู กค้าอี ก ช่ องทางหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ นสื่ อทางด้านระบบออนไลน์ กล่ า วคื อ มี เว็บ ไซต์ และระบบจัดการซื้ อขาย เพื่อให้ลูกค้าสามารถซื้ อสิ นค้าและบริ การจากผูป้ ระกอบการรายนั้นๆ ได้ตลอด 24 ชัว่ โมง ในที่น้ ี ร้านค้าออนไลน์จะถูกออกแบบให้เหมือนกับร้านค้าที่แสงดรายละเอียดสิ นค้า ราคา และการบริ การ ทั้งหมดที่ร้านนั้นๆมีอยู่ เพื่ออานวยความสะดวกให้ลูกค้าเข้ามาซื้ อผ่านเว็บไซต์ โดยไม่ตอ้ งมีการ เดิ นทาง เป็ นช่ องทางการจัดจาหน่ ายที่ ทนั สมัย สามารถขายของได้ตลอด 24 ชั่วโมง ประหยัด ค่าใช้จ่าย และลงทุนต่า ร้านค้าออนไลน์ถือเป็ น E-Commerce ที่มีระบบซื้ อขายสิ นค้า (Shopping Cart) อยู่บน เว็บไซต์ อีกทั้งยังมีระบบแสดงความคิดเห็นต่อสิ นค้า และบริ การเพื่อส่ งตรงถึงเจ้าของร้าน ซึ่ งทาให้ เจ้าของร้านได้รับ Feedback จากลูกค้าได้อย่างรวดเร็ ว ร้านค้าออนไลน์แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ใหญ่ๆ คือ 1. การจ้าง design เป็ นเว็บ ไซต์ที่จ้างออกแบบเพื่ อให้ไ ด้เว็บไซต์ใ นรู ปแบบที่ เจ้าของร้ านต้องการทุ ก ประการ ร้านค้าออนไลน์ประเภทนี้ ตอ้ งใช้เวลาในการ design การเขียน Code พอสมควร แต่ลูกค้าจะได้รับ ระบบเว็บไซต์ตามความต้องการ ซึ่ งราคาของร้านค้าออนไลน์ประเภทนี้ ข้ ึนอยู่กบั ระดับความยาก ง่าย และคุณสมบัติของเว็บไซต์น้ นั ๆ 2. ร้านค้าสาเร็ จรู ป เป็ นเว็บไซต์ที่ถูกออกแบบหน้าเว็บไซต์ไว้เรี ยบร้อยแล้ว เจ้าของร้านค้าสามารถเลือกใช้บริ การ ตามความต้องการของตนเองได้เลย โดยการเลือก Theme และทาการจัดรู ปแบบร้าน ลงรายละเอียด สิ นค้าได้เองในระยะเวลาอันสั้น โดยที่เจ้าของกิจการไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ทางด้านการทาเว็บไซต์ ก็สามารถสร้างร้านค้าออนไลน์ได้เองอย่างง่ายดาย ร้านค้าสาเร็ จรู ปนี้ได้รับความนิยมใน
30
ปัจจุบนั เนื่องจากเป็ นเว็บไซต์ที่ประหยัดต้นทุน เจ้าของร้านค้าสามารถจัดการข้อมูลร้านค้า ได้เองตลอดเวลา ราคาขึ้นอยูก่ บั ความต้องการระบบที่เจ้าของร้านต้องการใช้งาน สามารถลด หรื อ เพิ่มระดับความสามารถของระบบได้ในแต่ละปี
31
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2557 ในรายวิชาหลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมและวิชา โครงการ กลุ่มของข้าพเจ้าได้สร้างแอพพลิเคชัน่ Shopping Store ที่สร้างด้วยโปรแกรม ibuildapp มีวธิ ี ดาเนินการศึกษาค้นคว้าดังนี้ 3.1 นาเสนอโครงงานการสร้างแอพพลิเคชัน่ Shopping Store กับอาจารย์ปรึ กษาโครงการ 3.2 ทาการวางแผน ออกแบบแอพพลิเคชัน่ พร้อมทั้งค้นคว้าหาข้อมูล 3.3 ทาการสร้างแอพพลิเคชัน่ Shopping Store โดยมีข้ นั ตอนการสร้างแอปพลิเคชัน่ บนสมาร์ ทโฟน ดังนี้ 3.3.1 ทาการเข้าเว็บไซต์ ibuildapp.com
3.3.2 ต้องทาการ login ซึ่งการ Login สามารถ Login ได้ 2 แบบ คือ - แบบที่ 1 login ด้วย facebook - แบบที่ 2 login ด้วยการลงทะเบียน ( หากเป็ นแบบที่ 2 ต้องมีการลงทะเบียนโดยการ กรอก e-mail
32
3.3.3 คลิก ที่ Start You Own App
33
3.3.4 คลิกที่ คาว่า Commerce 3.3.5 คลิกคาว่า Quick View
34
3.3.6 คลิกที่ Go ก็จะปรากฏหน้าต่างนี้ข้ ึน
3.3.7 เลือก Background สามารถเลือกที่จะเปลี่ยนได้
35
3.3.8 เปลี่ยน icon ว่า เป็ น ญ/ช
- แก้ไขข้อความ ขนาด 3.3.9 เปลี่ยนแถบ โลโก้ ที่เตรี ยมไว้
36
3.3.10 คลิกที่ Test Your App
เมื่อทาการสร้างเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วก็จะทาการส่ งออก 3.3.11 กดปุ่ ม Continue อยูข่ า้ งล่าง ทาการตั้งค่าที่ App Setting
37
หลังจากนั้นเมื่อทาการตั้งค่าเรี ยบร้อยแล้วก็จะมาอยูใ่ นรู ปหน้าต่างแอพพลิเคชัน่ ดังนี้
3.4 นาเสนอผลงาน 3.5 นาไปทดลองใช้กบั กลุ่มผูใ้ ช้ที่สนใจต้องการจะเลือกซื้ อสิ นค้าผ่านแอพพลิเคชัน่ Shopping Store 3.6 จัดทาคู่มือการใช้งาน
38
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2557 ในรายวิชาหลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมและ รายวิชาโครงการ กลุ่มของข้าพเจ้าได้สร้างแอพพลิเคชัน่ Shopping Storeที่สร้างด้วยโปรแกรม ibuildapp มีผลการดาเนินงานดังนี้ 4.1 ผลการดาเนินงาน 4.1.1 ทาการเปิ ดแอพพลิเคชัน่ โดยคลิกที่ปุ่ม Shopping Store ดังรู ป
รู ปที่ 1.1 หน้าต่างของตัวแอพพลิเคชัน่
39
4.1.2 รอสักครู่ เพื่อจะเข้าไปในหน้าแอพพลเคชัน่
รู ปที่ 1.2 หน้าโหลดหน้าต่างของแอพพลเคชัน่ 4.1.3 จะปรากฎหน้าต่างนี้ข้ ึนเพื่อเลือกหมวดหมู่
รู ปที่ 1.3 หน้าโหลดหน้าต่างของแอพพลิเคชัน่
40
4.1.4 เข้ามาที่หน้าหมวดสิ นค้า เพื่อที่จะเลือกสิ นค้า - หมวดผูช้ าย
รู ปที่ 1.4 ปุ่ มหมวดสิ นค้าผูช้ าย
รู ปที่ 1.5 แสดงรายการสิ นค้าในหมวดผูช้ าย - หมวดผูห้ ญิง
รู ปที่ 1.6 ปุ่ มหมวดสิ นค้าผูห้ ญิง
41
รู ปที่ 1.7 แสดงหน้ารายการสิ นค้าหมวดผูห้ ญิง 4.1.5 หากต้องการเลือกสิ นค้าหยิบใส่ ตะกร้า
รู ปที่ 1.8 แสดงหน้าที่จะเลือกสิ นค้าหยิบใส่ ตะกร้า
42
- เมื่อเลือกสิ นค้าใส่ ตะกร้าแล้วแสดงหน้าต่างนี้
รู ปที่ 1.9 หน้า continue ว่าต้องการสิ นค้าใส่ ตะกร้าใช่ไหม - จะเห็นได้วา่ จะมีสินค้าที่เลือกไว้พร้อมกับราคา สามารถเปลี่ยนแปลงจานวนสิ นค้าได้
รู ปที่ 1.10 แสดงรายการสิ นค้าที่เลือกไว้ในตะกร้าเรี ยบร้อยแล้ว
43
- กดปุ่ ม order เพื่อยืนยันสิ นค้าที่เลือก
รู ปที่ 1.11 หน้ายืนยันสิ นค้าที่เลือก - จะขึ้นหน้าต่างนี้มาเพื่อให้เราใส่ ที่อยู่ Email ของลูกค้าเพื่อที่จะผูข้ ายได้ทราบข้อมูล
รู ปที่ 1.12 หย้ายืนยันสิ นค้าที่เลือกโดยใส่ e-mail
44
- จะโชว์สินค้า วันที่ เดือน ปี ที่สั่ง ต้องการออกจากหน้านี้ กด Back ได้เลย
รู ปที่ 1.13 จะโชว์สินค้าที่เลือกพร้อมวัน เดือน ปี ที่สั่งซื้ อ 4.1.6 กดปุ่ ม Our Phylsophy
รู ปที่ 1.14 ปุ่ มสิ นค้ามาใหม่ล่าสุ ด
45
- ต้องการที่จะโพสต์สินค้าใหม่สามารถโพสต์ได้
รู ปที่ 1.15 แสดงรายการสิ นค้าที่โพสต์ใหม่ 4.1.7 กด facebook จะเชื่อมต่อกับ facebook ของเราเอง
รู ปที่ 1.16 แสดงลิงก์กบั facebook
46
4.1.8 กดปุ่ ม Find US จะแสดงแผนที่อยูข่ องเจ้าของกิจการ
รู ปที่ 1.17 แสดงหน้าที่จะลิงก์ไปยังแผนที่
47
บทที่ 5 สรุปผลโครงงาน 5.1 สรุ ปผล การดาเนิ นโครงงานครั้ งนี้ คณะผูจ้ ดั ทาได้ทาการออกแบบและพัฒนาแอพพลิ เคชั่นโดย อาศัยการรวบรวมข้อมูลจากการสอบถามผูท้ ี่ตอ้ งการใช้งาน เพื่อช่วยในการเขียนออกแบบแอพพลb เคชัน่ ตัวแอพพลิเคชัน่ เป็ นการนาความรู้ที่ได้จากกการเรี ยนหลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม มาประยุ ก ต์ โดยการใช้โ ปรแกรม iBuildapp
หลัง จากพัฒ นาแอพพลิ เ คชั่น เสร็ จ สมบู ร ณ์
แอพพลิเคชัน่ ที่พฒั นาขึ้นสามารถใช้งานได้ดงั นี้ 1. 2. 3. 4. 5.
สามารถแสดงรายการสิ นค้าที่ตอ้ งการเลือกซื้ อ มีการสั่งซื้ อสิ นค้าที่ตอ้ งการ มีการหยิบสิ นค้าใส่ ตะกร้าเพื่อสัง่ ซื้ อได้ มีรายการสิ นค้าใหม่ๆ มาอัพเดต มีการเลือกสิ นค้าในหมวดหมู่ต่างๆ ได้
ซึ่งตัวแอพพลิเคชัน่ มีการใช้ภาพนิ่ ง การออกแบบต่างๆและการเชื่ อมต่ออินเตอร์ เน็ต ทาให้ แอพพลิเคชัน่ น่ าสนใจมากยิ่งขึ้น โดยตัวแอพพลิ เคชัน่ นั้นมีประโยชน์สามารถนาไปใช้งานได้จริ ง โดยจะทาการทดลองใช้กบั ผูใ้ ช้ที่สนใจจะสั่งซื้ อสิ นค้าออนไลน์ผ่านแอพพลิ เคชั่น โดยจะทาการ ทดลองใช้ในเดือน กุมภาพันธ์ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2557 ต่อไป 5.2 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ ไข 5.2.1 การเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ตทาให้โปรแกรมที่สร้างไม่สามารถสร้างต่อได้ 5.2.2 ปั ญหาในการส่ งออกแอพพลิเคชัน่
48
5.2 ข้ อเสนอแนะระหว่างการทาโครงงาน สาหรับข้อเสนอแนะในการออกแบบแอพพลิเคชัน่ ผูเ้ ขียนจะขอเสนอแนะแนวทางในการ ดาเนินงาน และการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ เพื่อให้แอพพลิเคชัน่ สมบูรณ์ยงิ่ ขึ้น 5.2.1 ศึกษาค้นคว้าข้อมูลของแอพพลิเคชัน่ ที่จะพัฒนาให้เข้าใจ 5.2.2 วิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงาน 5.2.3 วางแผนโครงงานอย่างเป็ นระบบและรู้ถึงแนวทางการพัฒนา 5.2.4 มีความขยันหมัน่ เพียรในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมอยูต่ ลอดเวลา
49
บรรณานุกรม ProsoftWeb Co., L. (2555, - -). http://about.sogoodweb.com. Retrieved มกราคม 19, 2558, from SoGoodWeb: http://about.sogoodweb.com/ArticleInfo.aspx?ArticleTypeID=185&ArticleID=299 คอม 5 ดาว. (- - 2556). www.com5dow.com/ไขปั ญหาศัพท์ -IT. เรี ยกใช้เมื่อ 22 ธันวาคม 2557 จาก คอม5ดาว: www.com5dow.com/ไขปัญหาศัพท์-IT/1284-java-คืออะไร.html มิเตอร์ . (20 กันยายน 2551). thaicss.com. เรี ยกใช้เมื่อ 20 ธันวาคม 2557 จาก ไทซีเอสเอส: thaicss.com/ความแตกต่างของxhtml-xml-html-css-และการ รองศาตราจารย์ ดร.เกียติศกั ดิ์ พันล่าเจียก. (- - 2556). www.gotoknow.org/posts. เรี ยกใช้เมื่อ 20 ธันวาคม 2557 จาก GotoKnow: www.gotoknow.org/posts/497253 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . (3 ธันวาคม 2557 ). http://th.wikipedia.org/wiki. เรี ยกใช้เมื่อ 20 ธันวาคม 2557 จาก ไอโอเอส: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%AD %E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA สยามโฟน คอท คอม. (19 มกราคม 2558). http://news.siamphone.com. เรี ยกใช้เมื่อ 20 มกราคม 2558 จาก สยามโฟน: http://news.siamphone.com/news-14121.html
50
ภาคผนวก
51
ข้ อมูลผู้จัดทา ชื่อ นางสาวธนวรรณ นามสกุล สุ จริ ตธุ ระการ อายุ 20 ปี ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชี พชั้นสู ง สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ทีอ่ ยู่ 61/1 ต.บ่อดาน อ.สทิงพระ จ.สงขลา 90190
ชื่อ นางสาวพิชยา นามสกุล แก้วมรกฎ อายุ 19 ปี ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชี พชั้นสู ง สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ทีอ่ ยู่ 114/1 ต.เขารู ปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 90000