ข่าวทั่วไป N E W S
ROYAL
Project Foundation
6 NOVEMBER 2013
ประชุมวิชาการ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง เป็นประธาน เปิดการประชุมวิชาการ “ผลงานวิจยั ของมูลนิธิ โครงการหลวง ประจำ� ปี 2556” ซึ่งจัดขึ้น ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เพื่อให้นักวิจัยมีโอกาสนำ�เสนอผล สำ�เร็จและความก้าวหน้าของการดำ�เนินงานวิจยั ของมูลนิธิโครงการหลวง ประจำ�ปี 2556 เพื่อ เผยแพร่ผลงานวิจัยและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ด้านงานวิชาการของมูลนิธิโครงการหลวง โดย นำ�เสนอในรูปแบบการบรรยายพิเศษ และการนำ� เสนอผลงานวิจัยภาคบรรยายและภาพโปสเตอร์
2
“ผลงานวิจัยของ มูลนิธิโครงการหลวง ประจำ�ปี 2556”
รวมประมาณ 50 เรื่อง ผู้เข้าร่วมการประชุม ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารมูลนิธิฯ ผู้ ป ระสานงานวิ จั ย และพั ฒ นาด้ า นต่ า งๆ ผู้อำ�นวยการศูนย์พัฒนาฯ และหัวหน้าศูนย์ พั ฒ นาฯ นั ก วิ ช าการและเจ้ า หน้ า ที่ มู ล นิ ธิ โครงการหลวง นักวิจัยและนักวิชาการจาก หน่วยงานเครือข่าย จำ�นวน 150 คน
สัมมนาวิชาการ
“ผลการปฏิบัติงานพัฒนา และส่งเสริมผัก ปี 2556 และแผนการปฏิบัติการ ปี 2557” วันที่ 28 พฤศจิกายน 2556 งานพัฒนาและส่งเสริมผัก มูลนิธโิ ครงการหลวง ได้จัดสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “ผลการปฏิบัติงานพัฒนาและส่งเสริมผัก ปี 2556 และแผนปฏิบัติงานปี 2557” ขึ้น ณ ห้องสวรรคโลก โรงแรม คุม้ ภูค� ำ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เพือ่ สรุปผลการดำ�เนินงาน ปัญหา และอุปสรรค ทีผ่ า่ นมา พร้อมทัง้ นำ�เสนอตัวชีว้ ดั แผนปฏิบตั งิ านและการปรับปรุงการดำ�เนินงาน
ด้ า น ก า ร ผ ลิ ต พื ช ผั ก ข อ ง นั ก วิ ช าการ และเจ้ า หน้ า ที่ ส่งเสริมผัก ในการวัดประสิทธิผล ของการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าที่ ที่ ชั ด เจนมากขึ้ น รวมถึ ง การ เตรียมความพร้อมในด้านทิศทาง การตลาดของพืชผักในอนาคต ผู้ เข้ า ร่ ว มสั ม มนาประกอบด้ ว ย ผู้อำ�นวยการสถานี/ศูนย์ หัวหน้า สถานี / ศู น ย์ นั ก วิ ช าการผั ก เจ้ า หน้ า ที่ ส่ ง เสริ ม ผั ก และ เจ้าหน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้อง รวม 200 คน
อบรมมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว
มาตรฐานโฮมสเตยไ์ ทย ตามมาตรฐาน กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2566 มูลนิธโิ ครงการหลวงร่วมกับสถาบันวิจยั และพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ได้จัดโครงการอบรมมาตรฐาน แหล่งท่องเที่ยว มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ตามมาตรฐานกระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา ขึ้น ณ โรงแรมคุ้มภูคำ� จ. เชียงใหม่ เพื่อพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวและบริการการท่องเที่ยวในพื้นที่โครงการหลวงให้ เป็นการท่องเทีย่ วทีม่ มี าตรฐานและเป็นทีย่ อมรับเชือ่ มัน่ ต่อนักท่องเทีย่ ว เพื่อพัฒนาบุคลากรที่ให้บริการด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่โครงการ หลวงให้เกิดทักษะความรู้ในการให้บริการที่มีมาตรฐาน และสร้างความ น่าเชือ่ ถือแก่นกั ท่องเทีย่ ว และเตรียมความพร้อมของชุมชนในการจัดการ การท่องเที่ยวของชุมชน เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีมาตรฐาน และ
3
สามารถพั ฒนาให้เป็น ศูนย์ เรี ย นรู้ ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว โดยชุ ม ชนได้ ผู้ เข้ า รั บ การ อบรมประกอบด้วย หัวหน้า ศูนย์ฯ และผูแ้ ทนศูนย์พฒ ั นา โครงการหลวง, นักพัฒนา สั ง คม ประจำ � ศู น ย์ พั ฒ นา โครงการหลวงเจ้ า หน้ า ที่ ฝ่ า ยประชาสั ม พั น ธ์ แ ละ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว มู ล นิ ธิ โครงการหลวง เจ้ า หน้ า ที่ โครงการขยายผลโครงการหลวง และเจ้ า หน้ า ที่ ส ถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาพื้ น ที่ สู ง รวม 60 คน
Google บันทึกภาพมุมมอง 360 องศา
ในพื้นที่โครงการหลวง
วันที่ 14-20 ตุลาคม 2556 คณะทำ�งาน บริษัท Google ประเทศไทย ได้เข้าบันทึกภาพถ่ายในมุมมอง 360 องศา (Google street view) ใน พื้นที่ของมูลนิธิโครงการหลวง (สถานีฯ อินทนนท์, ศูนย์ฯ ขุนวาง, ศูนย์ฯ หนองหอย, ศูนย์ฯ ตีนตก, สถานีฯ อ่างขาง) เพื่อเป็นการส่งเสริมการ ท่องเทีย่ ว โดยการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึง่ มีประสิทธิภาพและเป็นประโยชน์ ต่อผู้ใช้งานแผนที่ในการเดินทางไปในพื้นที่โครงการหลวง
ข่าวเยี่ยมชม
ดูงานโครงการกองทุนปุ๋ยอินทรีย์ ไฮโดรโพนิกส์
R O YA L
Project Foundation
4
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 ผูอ้ �ำ นวยการ สำ�นักงานทรัพยากรนํ้าบาดาล เขต 1 (ลำ�ปาง) พร้อมคณะ จำ�นวน 6 คน เข้ า เยี่ ย มชม การเลี้ ย งไส้ เ ดื อ นดิ น เพื่อผลิตปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน เพื่อ เสริ ม สร้ า งองค์ ค วามรู้ แ ละเพิ่ ม พู น ประสบการณ์ ใ นการทำ � งานให้ มี ประสิทธิภาพต่อไป
R O YA L
Project Foundation
วันที่ 8 พฤศจิกายน 2556 คณะบุคลากรจากศูนย์ฝึก และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 7 จ.เชียงใหม่ จำ�นวน 6 คน ในโครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเด็ก และเยาวชนส่ ง เสริ ม สร้ า งองค์ ค วามรู้ แ ละเพิ่ ม พู น ประสบการณ์ในทำ�งาน เข้าศึกษาเรียนรู้ เรือ่ ง การเลีย้ ง ไส้เดือนดินกำ�จัดขยะอินทรีย์ ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนา ไส้เดือนดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2556 โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ ต.แม่คะ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ได้นำ�คณะนักเรียนในโครงการเกษตรอินทรีย์ของโรงเรียน จำ�นวน 30 คน เข้าศึกษาดูงาน เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนดินกำ�จัดขยะ อินทรีย์ เพื่อนำ�องค์ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในโรงเรียน ต่อไป
5
ข่าวจากดอย N E W S
วันที่ 30 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน 2556 คณะเทศบาล ต.ขาณุวรลักษณ์ จ.กำ�แพงเพชร จำ�นวน 50 คน เข้าศึกษา ดูงานด้านเกษตร การทำ�ปุ๋ยหมัก การฝึกอาชีพ และ เข้ า ฟั ง บรรยายเกี่ ย วกั บ ไม้ ผ ลเมื อ งหนาว ในสถานี ฯ อ่างขาง
อ่ า ง ข า ง
A n g k h a n g
วันที่ 31 ตุลาคม 2556 คณะกรรมการศูนย์บริการ สำ�นักงานเกษตรอำ�เภอสบเมย จ.แม่ฮ่องสอน จำ�นวน10 ท่าน เข้าศึกษาดูงานด้านการเกษตรบนพื้นที่สูง ได้แก่ การเลี้ยงไส้เดือนดินเพื่อกำ�จัดขยะอินทรีย์, การเลี้ยงหมูหลุม ณ สถานีฯ อ่างขาง เพื่อเป็นข้อมูลในการส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการเกษตรในพื้นที่สูงและ พัฒนาพื้นที่ของตนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น วันที่ 7-8 พฤศจิกายน 2556 นิตยสาร Gourmet & Cuisine เข้ า มาถ่ า ยภาพกิ จ กรรมต่ า งๆ ของสถานี ฯ อ่างขาง โดยเน้นผลิตภัณฑ์พืชผักเมืองหนาว, สมุนไพร เมื อ งหนาว, ผลไม้ เ มื อ งหนาว, ไร่ ช า และถ่ า ยภาพ อาหารจานเด่นของสโมสรอ่างขาง รวมถึงการ สัมภาษณ์เชฟ ในการนำ�วัถตุดิบมาประกอบ อาหารและกรรมวิ ธี ก ารทำ � อาหาร รวมทั้ ง เคล็ดลับต่างๆ เพือ่ นำ�ลงเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ในหนังสือฉบับ เดือนธันวาคม 2556 เนื่องใน โอกาส วันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 6
วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 เอกอัครราชทูต ณ กรุงเวียนนา ประเทศ ออสเตรีย ได้นำ�เชฟที่มีชื่อเสียงคือ นายโอลิเว่อร์ โฮฟลิงเกอร์ และทีมงาน จำ�นวน 4 คน เข้าถ่ายทำ�รายการและศึกษาดูงาน ณ สถานีเกษตรหลวง อ่างขาง เพือ่ ถ่ายทำ�รายการอาหาร เชิงท่องเทีย่ ว ศึกษาพืชผักไม้เมืองหนาว ของไทย เพื่อเผยแพร่อาหารไทยและประเทศไทยให้เป็นที่รู้จัก รวมทั้ง O YA L ยังเป็นโอกาสในการขยายตลาดของสินค้าประเภทอาหารและเครื่องปรุง R Project Foundation ผักและผลไม้ เพื่อสร้างความนิยมให้แก่ร้านอาหารไทยในออสเตรีย วันที่ 8-9 พฤศจิกายน 2556 คณะกรรมการ หมูบ่ า้ น และคณะกรรมการกลุม่ พืชผักปลอด สารพิษ บ้านเตาปูน จ.ลำ�พูน จำ�นวน 32 คน ได้เข้าศึกษาดูงานด้านการจัดการผักปลอด สารพิษของสถานีฯ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2556 รายการครอบ จักรวาล ซึง่ ดำ�เนินรายการโดยหม่อมราชวงศ์ ถนัดศรี สวัสดิวัฒน์และหม่อมหลวงภาสันต์ สวัสดิวัฒน์ เข้าถ่ายทำ�รายการ ณ สถานี เกษตรหลวงอ่างขาง
วันที่ 15 พฤศจิกายน 25565 พนักงานจัดหาพัสดุ จากบริษัทในกลุ่ม ปตท. จำ�นวน 25 คน เข้าศึกษาดูงานและร่วมกิจกรรมเกษตรลอง DO ในกิจกรรม ปลูกผักไฮโดรโพรนิกส์และชงชาสมุนไพร ภายในสถานีฯ อ่างขาง
7
อิI nนt ทh นa นn oท์ n
วันที่ 7-8 พฤศจิกายน 2556 บริษทั เอสแอลอาร์ที จำ�กัด (ซิซซ์เลอร์) โดย บริษัท ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป โดยการนำ�ของ นายศิริชัย กิมสวัสดิ์ ผู้ จั ด การทั่ ว ไป บริ ษั ท เอสแอลอาร์ ที จำ � กั ด และคุ ณ ครรชิ ต ฉัตรตระกูล ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านผลิตภัณฑ์ ได้นำ�คณะสื่อมวลชน และลูกค้าสมาชิกซิซซ์เลอร์ กว่า 20 คน เข้าเยี่ยมชมการผลิตผักสด และการเพาะเลี้ยงปลาเทร้าท์ ของมูลนิธิโครงการหลวง ซึ่งได้นำ�ไป
วันที่ 7-8 พฤศจิกายน 2556 รายการ Living in Shape ซึ่งออก อากาศเป็นประจำ�ทุกวันเสาร์ ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เวลา 07.40 น. นำ�โดย คุณนก ชลิดา เถาว์ชาลี ตันติพิภพ พิธีกร และคุณจ๊ะจ๋า พริมรตา เดชอุดม แขกรับเชิญ พร้อมทีม งานเข้าถ่ายทำ�รายการ พร้อมประกอบอาหารโดยใช้ผลผลิตจาก โครงการหลวง ณ สโมสรอินทนนท์ สถานีฯ อินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชี ย งใหม่ เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ผ ลผลิ ต ผั ก สด กุ้ ง ก้ า มแดง ปลาเทร้าท์ และแหล่งท่องเทีย่ วทีน่ า่ สนใจ โดยมีก�ำ หนดแพร่ภาพ ออกอากาศในวันเสาร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2556
ประกอบเมนูอาหารของ ซิซซ์เลอร์ ณ สถานีฯ อินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ พร้ อ มกั น นี้ ยั ง ได้ นำ � อุ ป กรณ์ ก ารศึ ก ษา ตามโครงการซิซซ์เลอร์ส่งมอบรอยยิ้ม และความสุข ไปมอบให้แก่เด็กนักเรียน โรงเรียนบ้านแม่กลางหลวง ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กบ้านหนองหล่ม และศูนย์พัฒนา เด็กเล็กธมมวิตกโก หรือบ้านอ่างกาน้อย ด้วย
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2556 ผู้บัญชาการ ทหารอากาศพร้อมคณะ วปอ.๔๘ จำ�นวน 40 ท่าน เข้าเยี่ยมชมสถานีฯ อินทนนท์ โดย นายสมชาย เขียวแดง ผู้อำ�นวยการสถานี เกษตรหลวงอินทนนท์กล่าวต้อนรับ และ นำ�เยี่ยมชมภายในบริเวณสวน 80 พรรษา
R O YA L
Project Foundation
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2556 บริษัทเมืองไทย ประกันชีวิต โดยการนำ�ของ นายเผ่าทอง ทองเจือ พร้อมคณะ ได้เข้าชมกิจกรรมการ ดำ�เนินงานของสถานีฯ อินทนนท์ ณ สถานี วันที่ 16 พฤศจิกายน 2556 นายนิวัติ สุธีมีชัย อธิบดีกรมประมง วิจัยประมงพื้นที่สูง สวน 80 พรรษา และ พร้อมคณะ จำ�นวน 20 ท่าน ได้เข้าเยี่ยมชมการดำ�เนินงานของ รั บ ประทานอาหารกลางวั น บริ เวณนํ้ า ตก สถานีฯ อินทนนท์ พร้อมเยี่ยมชมสวน 80 พรรษา สิริภูมิ 8
ขุ น ว า ง
K h u n w a n g
วันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ได้จัดพิธีส่งมอบ โรงเรื อ นเพาะเห็ ด และโรงอบผลิ ต ผล ทางการเกษตร ตามโครงการและ กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราช พิธีมหามงคลพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวา โดยดำ�เนินการก่อสร้างโรงเรือน เพาะเห็ ด และโรงอบผลิ ต ผลทางการ เกษตร “โครงการผลิตพืชผลการเกษตร ต้ น แบบด้ ว ยพลั ง งานสะอาด กฟภ.
ถวายเจ้าพ่อหลวง” ให้แก่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง เพื่อ เป็นโครงการต้นแบบใช้พลังงานสะอาดจากธรรมชาติ เช่น พลังงาน แสงอาทิตย์ ทีป่ ระยุกต์ใช้เทคโนโลยีดา้ นพลังงานทดแทน ซึง่ เป็นการ พัฒนาด้านการศึกษาและเรียนรู้ ของเกษตรกรในพื้นที่ส่งเสริมของ โครงการหลวง และประชาชนผูส้ นใจทัว่ ไป โดย นายสาธิต รุง่ จิรธนานนท์ รองผู้ว่าการกิจการสังคมและสิ่งแวดล้อมการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็นประธานเปิดในพิธี ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง ต.แม่วิน อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ มีผู้เข้าร่วมงานกว่า 120 คน
วันที่ 25 ตุลาคม 2556 ศูนย์พัฒนาโครงการ หลวงตี น ตกได้ จั ด การอบรม เรื่ อ ง การ บริหารจัดการร้านที่ดี ให้แก่ พนักงานร้าน โครงการหลวงตีนตก เจ้าหน้าทีป่ ระจำ�ศูนย์ฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายชายกร สินธุสัย นั ก วิ ช าการ ศู น ย์ พั น ธุ วิ ศ วกรรมและ เทคโนโลยี ชี ว ภาพแห่ ง ชาติ (ไบโอเทค) เป็นวิทยากรให้ความรู้
ปางดะ
P a n g d a
ตี น ต ก
T e e n t o k
วันที่ 31 ตุลาคม 2556 คณะ ทำ � งานนิ ต ยสาร คอมพาส จำ�นวน 3 คน เข้าบันทึกภาพ และรวบรวมข้ อ มู ล เพื่ อ นำ � เผยแพร่ตีพิมพ์ ในนิตยสาร COMPASS GOURMET & CUISINE ฉบับประจำ�ปี 2014 (2557)
วันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 ศูนย์วจิ ยั เกษตรหลวงเชี ย งใหม่ นำ � คณะของ Dr.Tomio Shimura ผู้เชี่ยวชาญด้าน องุน่ จาก Honorary Agricultural Doctorate Shimura Grape Research Institute และเจ้าหน้าที่จาก บริษัท Inoue Calcium Crop ประเทศญี่ปุ่น จำ�นวน 6 คน เยี่ยมชมการดำ�เนินงานด้านระบบการปลูกและการปรับตัว ขององุ่นสายพันธุ์รับประทานสด ณ สถานีเกษตรหลวงปางดะ 9
คลินิกพืช
PLANT CLINIC NPV ของดีสำ�หรับกำ�จัดหนอน ไวรัส (Virus) เป็นจุลินทรีย์ประเภทหนึ่ง ที่สามารถก่อ โรคกับสิง่ มีชวี ติ หลายชนิด เช่น มนุษย์, สัตว์, พืช รวมถึงแมลง ซึ่งในปัจจุบันมีการนำ�ไวรัสมาใช้ในการกำ�จัดแมลงมากขึ้น เนือ่ งจากเป็นเชือ้ ทีม่ คี วามจำ�เพาะเจาะจงในการทำ�ลายแมลง ศัตรูพืชเป้าหมายสูง จึงเหมาะต่อการนำ�มาใช้ในการควบคุม แมลงศัตรูพืช และเพื่อลดการใช้สารเคมีกำ�จัดศัตรูพืช รวมถึง ลดอั น ตรายจากการใช้ ส ารเคมี กำ � จั ด แมลงต่ อ เกษตรกร นอกจากนัน้ ยังช่วยให้แมลงไม่สามารถสร้างความต้านทานได้ สำ�หรับไวรัสที่นิยมนำ�มาใช้ในการควบคุมแมลงศัตรูพืช คือ เชื้อนิวเคลียร์โพลิฮีไวรัส (Nuclear Polyhedrosis Virus: NPV) หรือ เรียกว่า ไวรัส NPV ไวรัส NPV คืออะไร เชือ้ นิวเคลียร์โพลิฮไี วรัส (Nuclear Polyhedrosis Virus: NPV) เป็นไวรัสที่เกิดโรคกับแมลงชนิดหนึ่ง สามารถทำ�ลาย แมลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความจำ�เพาะเจาะจงในการ ทำ�ลายสูงโดยเฉพาะหนอนผีเสือ้ ปลอดภัยต่อมนุษย์ สัตว์ และ สิ่งแวดล้อม ขบวนการเกิดโรคจากไวรัส NPV เริม่ จากหนอนต้องกินผลึกโปรตีนของไวรัสเข้าไป จากนัน้ นํ้ า ย่ อ ยในท่ อ อาหารส่ ว นกลางของแมลง ซึ่ ง มี ส ภาพเป็ น ด่างจัดและมีเอนไซม์ proteases จะย่อยสลายผลึกโปรตีน ปล่ อ ยอนุ ภ าคไวรั ส ออกมาเป็ น อิ ส ระซึ่ ง สามารถผ่ า นผนั ง บุท่ออาหารเข้าไปภายในเซลล์ท่ออาหารได้ อนุภาคไวรัส
จะเข้าไปเพิ่มปริมาณในนิวเคลียส ของเซลล์ ไวรัส NPV ไม่สร้างผลึก โปรตี น ในเซลล์ ท่ อ อาหาร ดั ง นั้ น อนุ ภ าคไวรั ส ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น มาใหม่ จ ะ เป็ น อิ ส ระ สามารถผ่ า นออกจาก เซลล์ ท่ อ อาหารเข้ า ไปในเลื อ ด ของแมลงและแพร่กระจายเข้าไป ทำ�ลายเซลล์อื่นๆ ต่อไป ที่สำ�คัญ ได้แก่ เซลล์เม็ดเลือด เซลล์รอบท่อ อากาศ เซลล์ ไขมั น และเซลล์ ใ ต้ ผนังลำ�ตัวของแมลง ในเซลล์เหล่านี้ จะมีการสร้างผลึกโปรตีนล้อมรอบ อนุภาคไวรัสที่สร้างขึ้น แสดงว่าการ เข้ า ทำ � ลายแมลงตั ว นี้ สิ้ น สุ ด ทำ � ให้ แมลงตาย ภายในเวลา 2-7 วัน (ขึ้น อยู่กับขนาดของหนอนและไวรัสที่ กินเข้าไป) ขึน้ กับปัจจัยต่างๆ รวมทัง้ สภาพแวดล้อม เช่น อากาศร้อนและ ความชื้นสูง ทำ�ให้หนอนตายเร็วขึ้น อย่ า งไรก็ ต ามภายใน 24 ชั่ ว โมง หลังจากกินเชื้อเข้าไป แมลงจะหยุด กินอาหารเพราะกระเพาะอาหารไม่ ทำ�งาน ทำ�ให้แมลงไม่ทำ�ลายพืชผล อีกต่อไปแม้ตัวหนอนจะยังไม่ตาย ก็ตาม การแพร่กระจายของไวรัส NPV ลักษณะอาการของหนอนที่ถูก ไวรัส NPV เข้าทำ�ลาย คือ หนอนจะมี ลำ�ตัวสีขาวขุน่ หรือสีครีม ผนังลำ�ตัว จะแตกเละง่ า ย หนอนมั ก ตายใน ลักษณะห้อยหัวและส่วนท้องคล้าย
บริษัท เอ็นพีเอส สยาม สอบบัญชี จำ�กัด www.npssiam.co.th Tel. 02-711-5300
10
รูปตัว “วี” หัวกลับ โดยใช้ขาเทียม 1 คู่ เกาะต้นพืชเอาไว้ เมื่อหนอนตายเซลล์จะบวมและแตก ผนังลำ�ตัวจะแตก ปล่อยผลึกโปรตีนออกมาเพื่อแพร่กระจายไวรัสไปในธรรมชาติต่อไปโดย ลม นํ้า หรือสัตว์พาไป ทำ�ให้เกิดการ แพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัส NPV ในประชากรของหนอนชนิดนัน้ ๆ ได้และสามารถถ่ายทอดไปสูร่ นุ่ ลูกหลานต่อไปได้ การผลิตไวรัส NPV สำ�หรับกำ�จัดหนอนในรูปการค้าของประเทศไทย ปัจจุบันมี 3 ชนิด คือ 1. ไวรัส NPV สำ�หรับหนอนเจาะสมอฝ้าย Heliothis armigera 2. ไวรัส NPV สำ�หรับหนอนกระทู้หอม Spodoptera exigua 3. ไวรัส NPV สำ�หรับหนอนกระทู้ผัก Spodoptera litura การใช้ไวรัส NPV ให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดในการกำ�จัดหนอน เลือกใช้ไวรัส NPV ให้ตรงกับชนิดของหนอนผีเสื้อและผสมสารจับใบทุกครั้ง ต้องพ่นคลุมให้ทั่วบนใบและ ใต้ใบหรือบริเวณที่หนอนอาศัยกัดกินอยู่ เพื่อที่จะให้หนอนกินไวรัสได้มากที่สุด ควรพ่นไวรัสหลัง 15.00 น. ไปแล้ว เพราะไวรัส NPV มักถูกทำ�ลายได้ง่ายจากรังสีอุลตราไวโอเลต (UV) จากแสงแดด และที่สำ�คัญควร เขย่าขวดหัวเชื้อไวรัสก่อนใช้ทุกครั้ง สำ�หรับการใช้ไวรัส NPV ควรใช้ตามอัตราที่ฉลากระบุ และหมั่นสำ�รวจแปลงปลูก พลิกดูบนใบและใต้ใบ หากพบหนอนผีเสื้อ เริ่มทำ�ลายใช้พ่นไวรัส NPV ทุก 5-7 วัน ในอัตรา 10-20 มล./นํ้า 20 ลิตร สำ�หรับ หนอนกระทูห้ อม Spodoptera exigua, อัตรา 50 มล./นํา้ 20 ลิตร สำ�หรับหนอนกระทูผ้ กั Spodoptera litura และอัตรา 20-30 มล./นํ้า 20 ลิตร สำ�หรับหนอนเจาะสมอฝ้าย Heliothis armigera กรณีระบาดรุนแรง ให้พ่นติดต่อกัน 2-3 ครั้ง ห่าง 3-5 วัน ในการพ่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงให้สูงขึ้น สามารถ ผสมสารฆ่าแมลงชนิดอื่นได้ ในกรณีที่ต้องการควบคุมแมลงอื่นๆ เช่น เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน หรือแมลงปากดูด หรือ สารกำ�จัดโรคได้ โดยไม่ทำ�ให้ประสิทธิภาพของเชื้อไวรัส NPV ลดลง สามารถใช้ได้ดีในแหล่งที่พบปัญหา หนอนผีเสื้อสร้างความต้านทานต่อสารเคมี
ลักษณะหนอนที่ตายด้วย ไวรัส NPV
เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการเกษตร. 2556. การใช้ไวรัส เอ็น พี วี ควบคุมแมลงศัตรูพืช. (ระบบออนไลน์). แหล่ง ข้อมูล: http://it.doa.go.th/pibai/pibai/n12/v_4-may/kayaipon.html (13 พฤศจิกายน 2556) ทิพย์วดี อรรถธรรม. 2556. การใช้เชื้อไวรัสและเชื้อราควบคุมกำ�จัดแมลงศัตรูผัก. ใน: เอกสาร ประกอบการอบรมการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดนิ . (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://www. kmitl.ac.th/hydro/Hydr-Pest/TipwadeW.pdf (13 พฤศจิกายน 2556). ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดนครราชสีมา. 2556. คำ�แนะนำ�การใช้เชื้อไวรัส NPV ควบคุมแมลง ศัตรูพืช. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: www.pmc05.doae.go.th/NPV.pdf (13 พฤศจิกายน 2556) ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. 2556. ชีวินทรีย์ฆ่าหนอนดื้อยา ดีโอเอ ไบโอเทค วี-1. เอกสารแนะนำ�ผลิตภัณฑ์.กรุงเทพ. Anthony Hawes and the DEEDI. 2013. Early Season Helicoverpa issues and the use of NPV to control larvae . (Online). Available: http://thebeatsheet.com. au/sorghum/early-season-helicoverpa-issues-and-the-use-of-npv-to-control larvae (13 November 2013) Wikipedia. 2013. Diagram of a NPV life cycle . Online). Available: http://commons. wikimedia.org /wiki/File:Npv-life_cycle-en.jpg (13 November 2013)
11
เชียงใหม่ 1. ร้านโครงการหลวง สาขา ถนนสุเทพ ที่อยู่ 65 หมู่ 1 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 053-211-613, 053-944-087 2. ร้านโครงการหลวง สาขา ท่าอากาศยาน จ.เชียงใหม่ ที่อยู่ ในบริเวณสนามบินเชียงใหม่ เลขที่ 60 หมู่ 3 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0-5392-2127 3. ร้านโครงการหลวง สาขา เชียงใหม่ 89 พลาซ่า ที่อยู่ 25-26 เชียงใหม่พลาซ่า ถนนเชียงใหม่-ลำ�พูน ตำ�บลหนองหอย อำ�เภอเมือง จ. เชียงใหม่ 50000 โทรศัพท์ 0-5314-1855
เชียงราย โครงการหลวง สาขา เซ็นทรัลพลาซ่า เชียงราย ที่อยู่ ห้องเลขที่ G06 ชั้น G 99/9 หมู่ 13 ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย 57000 โทรศัพท์ 0-5317-9920
อุดรธานี ร้านโครงการหลวง สาขา เซ็นทรัลพลาซ่า อุดรธานี ที่อยู่ ชั้น G ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่า อุดรธานี เลขที่ 277/1-3.271/5 ถนนประจักษ์ศิลปาคม ตำ�บลหมากแข้ง อำ�เภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 โทรศัพท์ 0-4292-1275
กรุงเทพฯ 1. ร้านโครงการหลวง สาขา อ.ต.ก. ที่อยู่ ตลาด อ.ต.ก. ถนนกำ�แพงเพชร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2279-1551 2. ร้านโครงการหลวง สาขา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่อยู่ 50 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2942-5686-9 ต่อ 23 หรือเบอร์ตรง 0-2561-0197 3. ร้านโครงการหลวง สาขา ดิโอลด์สยามพลาซ่า ที่อยู่ อาคารดิโอลด์สยามพลาซ่า ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2225-0623 4. ร้านโครงการหลวง สาขา ท่าอากาศยานดอนเมือง ที่อยู่ ท่าอากาศยานดอนเมือง อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ อาคาร 2 ชั้น 3 เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2535-6112 5. ร้านโครงการหลวง สาขา ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต ที่อยู่ PLZ.B.SHP022A 94 ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต โซนเซ็นทรัล ถนนพหลโยธิน ตำ�บลประชาธิปัตย์ อำ�เภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130 โทรศัพท์ 0-2958-5925 6. ร้านโครงการหลวง สาขา บองมาร์เช่ ที่อยู่ ตลาดบองมาร์เช่ เลขที่ 105/1 (ห้อง ป.13) ถนนเทศบาลสงเคราะห์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2158-0673 7. ร้านโครงการหลวง สาขา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่อยู่ อาคารผู้โดยสารขาออกภายในประเทศ โทรศัพท์ 0-2134-8888 ต่อ 6260 เวลาเปิดทำ�การ เปิดทำ�การทุกวัน เวลา 06.00-22.00 น. 8. ร้านโครงการหลวงหัตถกรรม สาขา เซ็นทรัลเวิลด์ ที่อยู่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ 4.4/1-4/2.4/4 ชั้น 2 เซ็นทรัลเวิลด์ โซน D ติด Isetan ถนนราชดำ�ริ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2640-7000 ต่อ 7974 9. ร้านโครงการหลวง สาขา เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยาบีช ที่อยู่ ชั้น G ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยาบีช เลขที่ 333/99 หมู่ 9 ตำ�บลหนองปรือ อำ�เภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ 0-3804-3525 10. ร้านโครงการหลวง สาขา โรงพยาบาลรามาธิบดี ที่อยู่ พื้นที่จอดรถโรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2354-4720
ปีที่ 21 ฉบับที่ 12 ประจำ�เดือน ธันวาคม 2556