ปี ท่ี 22 ฉบับที่ 4 ประจําเดือน เมษายน 2557
ROYAL PROJECT FOUNDATION
พิธีลงนามความร่วมมือ การสนับสนุนสินค้าโครงการหลวง
โดย บริษัทการบินไทย จํากัด (มหาชน)
วันที่ 4 มีนาคม 2557 หมอมเจาภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง รวมลงนาม ความรวมมือในการสนับสนุน สินคาโครงการหลวง กับ บริษัทการบินไทย จํากัด (มหาชน) ณ หองประชุม มูลนิธิโครงการหลวง อ.เมือง จ.เชียงใหม โดย ดร.อําพน กิตติอําพน ประธานกรรมการบริษัทการบินไทย จํากัด (มหาชน) เปนผูแทนฝายการบินไทย โดยมี ศ.ดร. กําพล อดุลวิทย ผูอํานวยการฝายตลาด มูลนิธิโครงการหลวง และ เรืออากาศโท สุรพล อิศรางกูร ณ อยุธยา กรรมการ ผูจัดการครัวการบิน บริษัทการบินไทย จํากัด (มหาชน) รวมเปนสักขีพยาน ในการลงนาม ในการนี้ เรืออากาศโท สุรพล อิศรางกูร ณ อยุธยา กรรมการผูจัดการครัวการบิน บริษัทการบินไทย จํากัด (มหาชน) ไดกลาวถึง นโยบายที่ทางประธานกรรมการ ไดมอบหมายใหฝายครัวการบินเพิ่มการสนับสนุนแกโครงการหลวง โดยการ ผลิตสินคาเพื่อจําหนายภายใตตราสินคาของฝายครัวการบิน นอกเหนือจากที่บริษัทฯ ไดใชผลผลิตพืชผักเมืองหนาว เพื่อ นําไปปรุงประกอบอาหารสําหรับใหบริการผูโดยสารบนเครื่องบินและลูกคาโดยทั่วไปของบริษัทฯ แลวยังเปนการสรางและสงเสริมผลิตภัณฑภายในประเทศใหกาวไปสูระดับสากลในอนาคต อันใกลตอไป ปจจุบันผลผลิตที่มียอดการนําไปใชสูงสุด ไดแก กลุมผักสดประกอบดวย ผักกาดหอมหอ พริกหวาน 3 สี แตงกวา ซูกินี กะหลํ่าปลีแดง และสลัดคอสอันดับ รองลงมา ไดแก ฟกทองหั่นเตา ซึ่งเปนกลุมผักพรอมปรุง
่ ข่าวทัวไป
NEWS
ผลการออกปฏิบัติงาน
มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่-ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง ครัง้ ที่ 330/48
15 MARCH 2014
มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง นํ า โดย รศ.นพ.นิ เ วศ นั น ทจิ ต อธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม (ประธานคณะทํางาน) และมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก พรอมดวย คณะแพทย ทันตแพทย พยาบาล เภสัชกร และขาราชการหนวยงานตางๆ ไดออกปฏิบตั งิ านบริการ หนวยแพทยเคลื่อนที่ใหแกราษฎรชนเผา มง หมูบานบวกจั่น ณ ศาลาเอนกประสงค บานบวกจั่น ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงเรา ตําบลสะเมิงใต อําเภอสะเมิงใต จังหวัด เชียงใหม เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2557 โดยการประสานงานของงานพัฒนาการศึกษา และสาธารณสุข ไดใหบริการตรวจรักษา จายยาและใหคําปรึกษาในการดูแลสุขภาพ อนามัย 60 ราย ฝงเข็มรักษาตามอาการโรค 12 ราย ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็ง เตานม 35 ราย ทันตกรรม 32 ราย ตัดผม 53 ราย แจกเครื่องอุปโภค บริโภค 150 ราย จัดยาใหโรงเรียน วัดและศูนยฯ จํานวน 10 ชุด มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม - ประชา อาสาพัฒนาโครงการหลวงกําหนดจะออก ปฏิบัติงานครั้งตอไป และพิธีทําบุญประจํา ปพระบรมธาตุดอยอางขาง ในวันที่ 19-20 เมษายน 2557 ณ สถานีเกษตรหลวงอางขาง ตําบลมอนปน อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม
2
ผลการออกปฏิบัติงาน
มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่-ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง ครัง้ ที่ 329/47
24
FEBRUARY 2014
มหาวิท ยาลั ย เชี ย งใหม -ประชา อาสา พั ฒ นาโครงการหลวง นํ า โดย ศ.ดร.พงษศักดิ์ อังกสิทธิ์ ประธานคณะ ทํางาน รศ.นพ.นิเวศ นันทจิต อธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมูลนิธิโรง พยาบาลสวนดอก พรอมดวย คณะแพทย ทันตแพทย พยาบาล เภสัชกร และ ขาราชการหนวยงานตางๆ ไดออกปฏิบัติงานบริการหนวยแพทยเคลื่อนที่ ใหแก ราษฎรชนเผา กะเหรี่ยง หมูบานแมหยอด ณ โรงเรียนบานแมหยอด ศูนยฯ ปางอุง ตําบลแมศึก อําเภอแมแจม จังหวัด เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2557 โดยการประสาน งานของงานพัฒนาการศึกษาและสาธารณสุข ไดใหบริการตรวจรักษา จายยาและ ใหคําปรึกษาในการดูแลสุขภาพอนามัย 84 ราย ฝงเข็มรักษาตามอาการโรค 36 ราย ตรวจมะเร็ง ปากมดลูกและมะเร็งเตานม 31 ราย ทันตกรรม 76 ราย ตัดผม 61 ราย แจกเครื่องอุปโภค บริโภค 150 ราย แจกแวนสายตายาว 46 ราย จัดยาให โรงเรียน วัด และศูนยฯ จํานวน 8 ชุด
3
A Royal Trial Inspiration Trip วันที่ 17-19 มีนาคม 2557 สายการบินบาง กอกแอร์เวย์ส น�ำคณะสื่อมวลชน รวม 13 คนเข้าร่วม กิจกรรม A ROYAL TRIAL INSPIRATION TRIP เพื่อ เก็บและชิมสตรอเบอรี่พันธุ์พระราชทาน 80 สดๆ จาก แปลงปลูก เยี่ยมชมพร้อมเก็บผักจากโรงเรือนปลูกผัก ไฮโดรโพนิคส์เพื่อน�ำไปประกอบอาหาร ณ สถานีเกษตร หลวงอินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ พร้อมสัมผัสเส้น ทางประวัตศิ าสตร์กาแฟอราบิกา้ และธรรมชาติอนั รืน่ รมย์ กับที่พักริมล�ำธารแห่งใหม่ ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ตีนตก อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่
ROYAL
PROJECT FOUNDATION
17-19 MARCH 2014
4
ข่าวจากดอย
อ่างขาง
Angkhang
01
4-5 MARCH 2014
02
วั น ที่ 4-5 มี น าคม 2557 บริ ษั ท เอ็กแซ็กท์ จ�ำกัด โดย คุณถกลเกียรติ วีรวรรณ พร้อมด้วยคณะนักแสดงน�ำ อาทิ เต๋อ ฉันทวิชช์, สน ยุกต์ ส่งไพศาล, ชาคริต แย้มนาม, รถเมล์ คะนึงนิจ ฯลฯ เดินทางเข้าถ่ายท�ำละคร เรื่อง “น่ารัก” บางส่วน ใน บริเวณ แปลงชา 2000 และ หอดอกไม้ สถานีเกษตรหลวง อ่างขาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม่
03
04
13 MARCH 2014
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ภ า วิ จั ย แ ห ่ ง ช า ติ ส า ข า วิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ ส�ำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จ�ำนวน 15 คน เข้าศึกษาการด�ำเนินงานของสถานีเกษตรหลวง อ่างขาง ในวันที่ 13 มีนาคม 2557 เพื่อน�ำข้อมูล ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการวางแผนการด�ำเนินงาน ของคณะกรรมการ สาขาฯ ในระยะต่อไป
12 MARCH 2014
วันที่ 12 มีนาคม 2557 คณะครูและนักเรียน จากโรงเรี ย นเตรี ย มอุ ด มศึ ก ษาพั ฒ นาการ กรุงเทพฯ จ�ำนวน 24 คน เข้าศึกษาดูงาน ณ สถานี เ กษตรหลวงอ่ า งขาง อ.ฝาง จ.เชี ย งใหม่ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งประสบการณ์ การเรียนรู้นอกห้องเรียนในแก่นักเรียน และ เรียนรู้โครงการของพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวฯ
18 MARCH 2014
คณะนั ก เรี ย นจากโรงเรี ย นด� ำ รงราษฎร์ ส งเคราะห์ จ.เชียงราย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในกลุ่มสาระการเรียน รู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนพิเศษ จ�ำนวน 30 คน เข้าศึกษา ดูงานด้านการเกษตรของสถานีฯ อ่างขาง พร้อมทั้งร่วม กิจกรรมเกษตรลอง DO (ห่อผลพีช) ในวันที่ 18 มีนาคม 2557 ซึ่งความรู้ที่ได้รับจากการเข้าศึกษาดูงานในครั้งนี้จะ ได้น�ำไปท�ำโครงงานพิเศษต่อไป 5
อินทนนท์
Inthanon
01
02
5 MARCH 2014
11 MARCH 2014
วันที่ 5 มีนาคม 2557 ส�ำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย (กศน) เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ ได้ น� ำ คณะผู ้ ป ระกอบการสาขาอาชี พ ต่ า งๆ ในพื้นที่รับผิดชอบ เขตคลองสามวา จ�ำนวน 90 คน เข้าศึกษาดูงาน ณ สถานีเกษตรหลวง อินทนนท์ เพื่อเรียนรู้การด�ำเนินงานของมูลนิธิ โครงการหลวง
วันที่ 11 มีนาคม 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ น�ำคณะนักเรียนจ�ำนวน 30 คน เข้าศึกษาดูงาน ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ เพื่อให้ นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ถึงการด�ำเนินงานของมูลนิธิโครงการ หลวง พร้อมเปิดโลกทัศน์การเรียนรู้นอกห้องเรียนให้มากขึ้น
17 MARCH 2014
ปางดะ
Pang Da
วันที่ 17 มีนาคม 2557 ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน น�ำคณะเกษตรกรและเจ้าหน้าทีบ่ รู ณาการโครงการ เพิ่มพูนความมั่นคงทางอาหารพื้นที่จังหวัดน่าน ในพื้นที่ลุ่ม น�้ำมีด อ�ำเภอเชียงกลาง พื้นที่ลุ่มน�้ำสมุน อ�ำเภอเมืองน่าน และ พื้นที่ลุ่มน�้ำหวะน�้ำจ�ำ อ�ำเภอภูเพียง จ�ำนวน 50 คน เข้าศึกษา ดูงาน ด้านการปลูกไม้ผล การขยายพันธุ์ไม้ผล การผลิตกล้า พืชผัก และงานอารักขาพืช ณ สถานีเกษตรหลวงปางดะ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ 6
แม่ทาเหนือ
Mae Tha Nuier
01
27 FEBRUARY 2014
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2557 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่ ทาเหนือ ร่วมกับสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การ มหาชน) องค์การบริหารส่วนต�ำบลทาเหนือ และหน่วย งานในพืน้ ที่ ได้จดั กิจกรรมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ณ บริเวณห้วยผักหละ บ้านป่างิ้ว ต�ำบล ทาเหนือ อ�ำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีนาย อดิศร ก�ำเนิดศิริ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่เป็น ประธานในพิธีเปิด มีผู้ร่วมงานทั้งสิ้น 456 คน กิจกรรม ภายในงานประกอบด้วย การจัดนิทรรศการการจัดการ
02
28 FEBRUARY 2014
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง แม่ทาเหนือและสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การ มหาชน) ได้ เ ข้ า ร่ ว มประชาคมจั ด ท� ำ แผนชุ ม ชน ของ หมู่บ้านแม่วอง หมู่ที่ 4 และหมู่บ้านขุนทา หมู่ที่ 9 ซึ่งจัด โดย องค์การบริหารส่วนต�ำบลออนเหนือ อ�ำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ ผูเ้ ข้าร่วมประชาคมท�ำแผนชุมชน ประกอบ ด้วย ผู้น�ำหมู่บ้านและราษฎรทุกครัวเรือน ของบ้านแม่วอง จ�ำนวน 26 ครัวเรือน และบ้านขุนทา จ�ำนวน 31 ครัวเรือน 7
ทรัพยากรธรรมชาติของหน่วยงาน/องค์กร จ�ำนวน 7 หน่วย งาน การท�ำปุย๋ อินทรียเ์ พือ่ ลดการเผา จ�ำนวน 2 กอง ปริมาณ 3 ตัน การท�ำฝายชะลอน�้ำโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น จ�ำนวน 1 แห่ง และร่วมกันจัดท�ำแนวกันไฟรอบป่าชุมชนต�ำบลทา เหนือเป็นระยะทาง 13 กิโลเมตร การจัดกิจกรรมครั้งนี้ เป็นการจัดกิจกรรมต่อเนือ่ งทุกปีโดยชุมชนและหน่วยงาน/ องค์กรทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ อนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเป็นการเสริมสร้างจิตส�ำนึกของชุมชนใน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เชื่ อ มโยงและบู ร ณาการแผน ของศูนย์ฯกับแผนขององค์การบริหารส่วนต�ำบลออนเหนือ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขยายองค์ความรู้โครงการ หลวงให้ครอบคลุมหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ สามารถแก้ไข ปัญหาและเป็นไปตามความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง แผนการจัดกิจกรรมที่ส�ำคัญได้แก่ การส่งเสริมการผลิต กาแฟคุณภาพ โดยปรับปรุงสวนกาแฟเดิมและสนับสนุน อุปกรณ์การแปรรูปกาแฟ การส่งเสริมการปลูกอโวกาโด การรวมกลุ่มและเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ปลูก อโวกาโด การส่งเสริมกิจกรรมหมู่บ้านสะอาด และเสริม สร้างจิตส�ำนึกในความเป็นไทย รวมทั้งการส่งเสริมการปลูก ป่าชาวบ้าน และการสร้างฝายชะลอน�้ำเพิ่มในพื้นที่เป็นต้น
03
แนะน�ำร้านจ�ำหน่ายผลิตผลโครงการหลวงแม่ทาเหนือ ศูนย์พฒ ั นาโครงการหลวงแม่ทาเหนือจ�ำหน่าย ไม้กระถาง ผักปลอดภัย ผักอินทรีย์ สมุนไพร กาแฟ ชา น�้ำผลไม้ดอย ค� ำ และสิ น ค้ า หั ต ถกรรมของชุ ม ชน บริเวณด้านหน้าศูนย์ฯ บรรยากาศร่มรืน่ สวยงาม ที่จอดรถสะดวก
ห้วยลึก
Huay Lueg
01
02
10 MARCH-11 APRIL 2014
1 MARCH 2014
วันที่ 1 มีนาคม 2557 นายอดิศักดิ์ ค�ำมาบุตร์ หัวหน้าศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยลึก ให้ การต้ อ นรั บ คณาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา จากมหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ ้ า หลวง จ.เชียงราย จ�ำนวน 5 คน เข้าศึกษาดูงานและ เรี ย นรู ้ เ รื่ อ งการเพาะกล้ า ผั ก การปลู ก พื ช ผั ก เมืองหนาว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ของศูนย์พัฒนาฯ ห้วยลึก เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์แก่นักศึกษา
คณะนักศึกษาภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ�ำนวน 5 คน เข้าฝึกงาน ด้านการปลูกพืชผัก ไม้ดอก ไม้ผล และ การจัดการหลังการเก็บเกีย่ ว ของศูนย์พฒ ั นาโครงการ หลวงห้วยลึก อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ ในระหว่างวันที่ 10 มีนาคม ถึง 11 เมษายน 2557
บริษัท เอ็นพีเอส สยาม สอบบัญชี จ�ำกัด www.npssiam.co.th Tel. 02-711-5300 8
ขุนวาง
Khun Wang
01
22 FEBRUARY 2014 วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2557 ฝ่ายการเกษตรประจ�ำสถานกงสุล ใหญ่ ณ นครกว่างโจว ได้น�ำคณะผู้บริหารจาก Guangdong Academy of Agricultural Sciences สาธารณรัฐประชาชน จีน จ�ำนวน 6 ท่าน เข้าเยี่ยมชมกิจกรรมการด�ำเนินงานของ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง
ROYAL PROJECT FOUNDATION
02
8-9 MARCH 2014
วันที่ 8-9 มีนาคม 2557 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ขุนวางร่วมกับหน่วยงานราชการ ผูน้ ำ� ชุมชน เกษตรกร บ้านป่ากล้วย ในพื้นที่ความรับผิดชอบของศูนย์ฯ ขุน วาง ก�ำหนดจัดงานเครือข่ายกองบุญข้าวสนับสนุน วิถีเกษตร-วัฒนธรรมรากฐานแห่งการก่อเกิดความ สัมพันธ์ฯ โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน 250 คน กิจกรรมก�ำหนดจัดเป็นประจ�ำทุกปีหมุนเปลีย่ นกันใน แต่ละหมู่บ้าน มีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือหมู่บ้านที่ ขาดแคลน, สืบทอดวัฒนธรรม และให้การศึกษาเรียน รู้แก่คนรุ่นใหม่ ณ บ้านป่ากล้วย หมู่ 17 ต�ำบลแม่วิน อ�ำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่
03
12 MARCH 2014
วันที่ 12 มีนาคม 2557 คณะเจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริม การเกษตรที่สูงจังหวัดล�ำพูน จ�ำนวน 48 คน เข้าเยี่ยม ชมกิจกรรมการด�ำเนินงานของศูนย์พัฒนาโครงการ หลวงขุนวาง
9
FCM วัสดุสัมผัสอาหาร…. ส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว
วัสดุสัมผัสอาหาร (Food Contact Materials : FCM) คือ วัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ ทั้ ง หมดที่ นํ า ไปใช้ ใ นกระบวนการผลิ ต หรื อ สั ม ผั ส กั บ อาหาร ตั้ ง แต่ อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ กระบวนการผลิต บรรจุภณ ั ฑ์ ตลอดจนอุปกรณ์ ที่ใช้เสริฟบนโต๊ะอาหาร โดยจะครอบคลุม วัสดุ ต ่ างๆ ได้ แ ก่ พลาสติก กระดาษ ยาง ซิลิโคน จุกคอร์ก หมึกพิมพ์ โลหะ สารเคลือบ ผิว สารเคลือบเงา ฯลฯ วัสดุเหล่านี้มักใช้รวม กันกลายเป็นหนึ่งผลิตภัณฑ์ เช่น กล่องบรรจุ น�้ำผลไม้ จะประกอบด้วยพลาสติก กระดาษ อลู มิ เ นี ย ม กาว สารเคลื อ บและหมึ ก พิ ม พ์ เนื่องจาก วัตถุดิบดังกล่าวจะต้องสัมผัสกับ อาหาร จึงเป็นแหล่งที่อาจมีการเคลื่อนย้าย ของสารเข้าไปในอาหารได้ วัสดุสัมผัสอาหาร จึงกลายเป็นแหล่งปนเปือ้ นทีส่ ําคัญของอาหาร ทุกชนิด และเป็นสาเหตุให้เกิดความเสี่ยงที่ ก่อให้เกิดอันตรายกับอาหารและสุขภาพของ ผู้บริโภคที่ทุกคนมักมองข้ามไป สารเคมี ที่ เ ป็ น องค์ ป ระกอบของวั ส ดุ ที่สัมผัสกับอาหารเช่น โมโนเมอร์ สารเติม แต่ง (additive) สารช่วยขึ้นรูป (processing aid) หรือปฏิกิริยาของผลผลิตพลอยได้ (by-product) พลาสติไซเซอร์ สารเพิ่มความ คงตัว (stabilizer) สารป้องกันยูวี สารเหล่านี้ สามารถซึมเข้าสู่อาหาร ซึ่งโอกาสที่สารเคมี
เหล่านี้จะแพร่ไปสู่อาหารได้มากน้อยนั้นขึ้นกับ อุณหภูมิ, ระยะ เวลาที่จัดเก็บ คุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ ขนาดของรูพรุน (pore size) ความหนา และบริเวณผิวสัมผัส และชนิดของอาหาร ปัจจุบันมีการพัฒนาวัสดุภัณฑ์ใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลให้เกิด ความเสี่ยงขึ้นด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะวัสดุบรรจุอาหารประเภทไขมัน น�้ำพริก เครื่องปรุงรส มักพบปัญหาในการปนเปื้อนกับสารพลาสติ ไซเซอร์ซึ่งเป็นส่วนผสมของแผ่นพลาสติกตัวรองใต้ฝาขวด โดยสารนี้ จะเคลื่อนย้าย (migration) ไปยังอาหาร ดังนั้น ในแต่ละประเทศจึง มีกฎระเบียบเกี่ยวกับการใช้ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร โดยเฉพาะ สหภาพยุโรปให้ความส�ำคัญและเข้มงวดกับการใช้ภาชนะพลาสติก บรรจุ อ าหาร หรื อ เรี ย กว่ า วั ส ดุ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ช้ สั ม ผั ส อาหาร (food contact materials) และมีการตรวจสอบหาสารที่ปนเปื้อน มาจากวัสดุสู่อาหารอยู่เป็นประจ�ำ ซึ่งในระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา สหภาพยุ โ รปได้ ต รวจพบการปนเปื ้ อ นของสารในกลุ ่ ม พทาเลต (phthalate) และ ESBO (epoxidised soy bean oil) จากแผ่น รองฝาพลาสติกประเภทโพลีไวนิลคลอไรด์ (PVC) ที่ใช้ปิดขวดแก้วที่ บรรจุอาหารประเภทน�้ำพริกเผา ซอสปรุงรส ประเภทต่างๆ น�้ำพริก แกง เป็นต้น ส�ำหรับวัสดุสัมผัสอาหารที่ผ่านการประเมินความปลอดภัย ตามข้อก�ำหนดของสหภาพยุโรป และได้รับการรับรองว่ามีความ ปลอดภัยต่อผู้บริโภคแล้ว จะได้รับอนุญาตให้มีการติดฉลากที่ผลิต ภัณฑ์สัญลักษณ์ดังภาพ (ภาพของแก้วไวน์และส้อม) ถึงแม้ว่าสารปนเปื้อนที่จะลงไปอยู่ในอาหารนั้นจะมีปริมาณ ต�่ำ แต่เมื่อค�ำนึงถึงระยะยาวแล้วอาจเกิดการสะสมในร่างกายของ มนุษย์เป็นปริมาณมาก ได้ โดยสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์กังวลเกี่ยวกับการ สารเคมีจากวัสดุสัมผัสอาหารก็คือ 1. ความรู้ในกฎหมายของสารพิษที่อนุญาตให้ใช้เป็นวัสดุสัมผัส อาหารในยุโรป สหรัฐฯ หรือประเทศอื่นๆ (ไม่รวมประเทศจีน) นั้นมี ความต่างกัน 10
ไตรบิวทิล-ทิน (tributyl-tin), ไตรโคลซาน (triclosan) และพทาเลธ (phthalate) ซึง่ สารเหล่านีถ้ กู ใช้เป็นวัสดุสมั ผัสอาหารอย่างถูกกฎหมาย ในยุโรปและสหรัฐอเมริกา 3. จ�ำนวนสารเคมีทั้งหมดที่ถูกน�ำมาใช้เป็นวัสดุสัมผัสอาหาร นั้นมีมากกว่า 4000 ชนิด ซึ่งวัสดุสัมผัสอาหารอาจท�ำให้เกิดปฏิกิริยา พอลิ เ มอร์ ไ รเซชั น (Polymerization) ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลอยได้ (by-product) ที่ไม่ทราบอยู่ด้วย หรือในวัสดุสัมผัสอาหารเองอาจมี สารปนเปื้อนอยู่ หรืออาจเกิดปฏิกิริยาที่ไปท�ำลายองค์ประกอบของ สารประกอบอื่นๆ ซึ่งท�ำให้มีสารที่ไม่ได้ต้องการปนเปื้อนอยู่ในอาหาร ในสหรัฐอเมริกา แร่ใยหิน (asbestos) เหตุการณ์นี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อของ non-intentionally added หลายชนิด ถูกจัดเป็น Indirect food ad- substances (NIAS) ditives คือเป็นสารปริมาณน้อยที่เจือปนใน NIAS อาหารเนื่องจากการบรรจุ การเก็บ เช่น สาร ที่เป็นส่วนประกอบของกาวหรือสารเคลือบ ในบรรจุภัณฑ์อาหารที่เจือปนในอาหาร สาร ฟอร์มัลดีไฮด์ (formaldehyde) หรือเป็นสาร Break-down Contaminants from Impurities Side products Products recycling processes ที่รู้กันดีว่าเป็นสารก่อมะเร็ง ถูกพบในขวดน�้ำ พลาสติกที่ท�ำจาก โพลิเอทิลีน เทเรฟทาเลต (Polyethylene Terepthalate) เรียกย่อ ว่า Degradation of Degradation of PET หรือ PETP และยังพบในภาชนะที่ท�ำจาก polymers additives เมลามีนอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ถึงแม้จะมีเทคโนโลยีในการตรวจสอบที่ดีเพียง 2. สารรบกวนฮอร์โมน Endocrine ใดก็ตาม เราก็ไม่อาจทราบได้ว่าสารเคมีจากวัสดุหีบห่อที่ปนเปื้อน Disrupting Substances หรือ EDS เป็นสาร ในอาหารนั้นเป็นสารอะไร และจะเป็นอย่างไรถ้าร่างกายได้รับสาร ที่มีผลกระทบต่อระบบสืบพันธุ์สารรบกวน เหล่านี้เข้าไปได้ทั้งหมด 100% จะเกิดการสะสมแล้วส่งผลต่อสุขภาพ การท�ำงานของต่อมไร้ท่อ (Endocrine disอย่างไร ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ได้นำ� สารเหล่านี้มาตรวจสอบวิจัย เพื่อจะ ruptor chemicals; EDC) เป็นสารที่เป็น ได้มีข้อก�ำหนดส�ำหรับ ความปลอดภัยของผู้บริโภค ฮอร์โมนปลอมคือท�ำงานเลียนแบบฮอร์โมน อ้างอิงจาก มีผลรบกวนต่อระบบสืบพันธุ์หรือพัฒนาการ ของสัตว์และมนุษย์ท�ำให้เกิดความผิดปกติ 1. Food and drug administration, department of health and human services ทางฮอร์โมนเพศ เกิดการเบี่ยงเบนเพศ เช่น โนนิล ฟีนอล (nonylphenol), บิสฟินอล-เอ 2. Koster, S. (2012). “Safety evaluation strategy of nonintentionally added substances (NIAS).” (Bisphenol A หรือ BPA) จากพอลีคาร์บอเนต (PC), styrene จาก พอลี ส ไตรี น (PS), 3. www.sciencedaily.com/releases/2014/02/140219205215
11
เชียงใหม่ 1. ร้านโครงการหลวง สาขา ถนนสุเทพ ที่อยู่ 65 หมู่ 1 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 053-211-613, 053-944-087 2. ร้านโครงการหลวง สาขา ท่าอากาศยาน จ.เชียงใหม่ ที่อยู่ ในบริเวณสนามบินเชียงใหม่ เลขที่ 60 หมู่ 3 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0-5392-2127 3. ร้านโครงการหลวง สาขา เชียงใหม่ 89 พลาซ่า ที่อยู่ 25-26 เชียงใหม่พลาซ่า ถนนเชียงใหม่-ล�ำพูน ต�ำบลหนองหอย อ�ำเภอเมือง จ. เชียงใหม่ 50000 โทรศัพท์ 0-5314-1855
เชียงราย โครงการหลวง สาขา เซ็นทรัลพลาซ่า เชียงราย ที่อยู่ ห้องเลขที่ G06 ชั้น G 99/9 หมู่ 13 ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย 57000 โทรศัพท์ 0-5317-9920
อุ ดรธานี ร้านโครงการหลวง สาขา เซ็นทรัลพลาซ่า อุดรธานี ที่อยู่ ชั้น G ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่า อุดรธานี เลขที่ 277/1-3.271/5 ถนนประจักษ์ศิลปาคม ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 โทรศัพท์ 0-4292-1275
กรุ งเทพฯ 1. ร้านโครงการหลวง สาขา อ.ต.ก. ที่อยู่ ตลาด อ.ต.ก. ถนนก�ำแพงเพชร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2279-1551 2. ร้านโครงการหลวง สาขา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่อยู่ 50 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2942-5686-9 ต่อ 23 หรือเบอร์ตรง 0-2561-0197 3. ร้านโครงการหลวง สาขา ดิโอลด์สยามพลาซ่า ที่อยู่ อาคารดิโอลด์สยามพลาซ่า ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2225-0623 4. ร้านโครงการหลวง สาขา ท่าอากาศยานดอนเมือง ที่อยู่ ท่าอากาศยานดอนเมือง อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ อาคาร 2 ชั้น 3 เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2535-6112 5. ร้านโครงการหลวง สาขา ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต ที่อยู่ PLZ.B.SHP022A 94 ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต โซนเซ็นทรัล ถนนพหลโยธิน ต�ำบลประชาธิปัตย์ อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130 โทรศัพท์ 0-2958-5925 6. ร้านโครงการหลวง สาขา บองมาร์เช่ ที่อยู่ ตลาดบองมาร์เช่ เลขที่ 105/1 (ห้อง ป.13) ถนนเทศบาลสงเคราะห์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2158-0673 7. ร้านโครงการหลวง สาขา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่อยู่ อาคารผู้โดยสารขาออกภายในประเทศ โทรศัพท์ 0-2134-8888 ต่อ 6260 เวลาเปิดท�ำการ เปิดท�ำการทุกวัน เวลา 06.00-22.00 น. 8. ร้านโครงการหลวงหัตถกรรม สาขา เซ็นทรัลเวิลด์ ที่อยู่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ 4.4/1-4/2.4/4 ชั้น 2 เซ็นทรัลเวิลด์ โซน D ติด Isetan ถนนราชด�ำริ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2640-7000 ต่อ 7974 9. ร้านโครงการหลวง สาขา เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยาบีช ที่อยู่ ชั้น G ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยาบีช เลขที่ 333/99 หมู่ 9 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ 0-3804-3525 10. ร้านโครงการหลวง สาขา โรงพยาบาลรามาธิบดี ที่อยู่ พื้นที่จอดรถโรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2354-4720
ปีที่ 22 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือน เมษายน 2557