QSMT Batik

Page 1


ผานุง (โสรง) แบบบัง บิรู อูงัน เมืองลาเซ็ม เขียนลายดวยมือและยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๑๐๘.๔ x ๙๖.๖ ซม. (ความยาวโดยรอบ ๑๙๓.๒ ซม.) สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๒๗๓ ผาบาติกแบบบัง บิรู อูงัน หมายถึงผาบาติกที่ยอมสีแดง สี นํ้ า เงิ น และสี ม  ว ง ลายปลาคาร ป ที่ ป รากฏบนผ า ผื น นี้ สันนิษฐานวามาจากคติความเชือ่ ของชาวจีนเรือ่ ง “ปลาคารป กระโดดขามประตูมงั กร” ซึง่ เปนสัญลักษณของการเอาชนะ อุปสรรคในการสอบเขารับราชการ นอกจากนี้ยังมีลายสัตว มงคลอื่นๆ เชน นกฟนิกซคู ไกฟา ผีเสื้อ และกิเลน


ผานุง (โสรง) โรงเขียนผาของนาง เอ. เจ. เอฟ. ยานส มีลายเซ็น “J. Jans” เมืองเปอกาลองงัน เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๑๐๖.๘ x ๒๑๖.๓ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๑๒๔ ลายดอกไมบนผาผืนนีม้ ลี วดลายทีเ่ ปนเอกลักษณของโรงเขียนผาของนางยานส เชน ชอดอกไมและพวงดอกไม แสดงถึงการผสมผสานระหวางศิลปะในชวง ปลายยุควิกตอเรียกับศิลปะแบบอารตนูโว โดยเฉพาะที่บริเวณหัวผาในขณะ ที่ทองผาเปนลายชอดอกไมกระจายอยูทั่วทั้งผืน


ผานุง (โสรง) แบบบัง บิรู อูงัน เมืองลาเซ็ม เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๑๑๒.๗ x ๑๙๓ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๑๗๕

ผาบาติกผืนนีเ้ ปนแบบ บัง บิรู อูงนั หมายถึงผาบาติกทีย่ อ มดวยสีแดง สีนาํ้ เงิน และสีมวง ผาผืนนี้แสดงถึงเอกลักษณของผาบาติกเมืองลาเซ็มไดเปนอยางดี ลวดลายสื่อความหมายถึงความอุดมสมบูรณ เปนที่นิยมในกลุมลูกคาสตรี เชื้อสายจีนและยุโรป ลายเถาไมที่เลื้อยขึ้นมาจากดานลางมีลักษณะคลาย ลายสาหราย (กังเกง) นิยมทํามากในเมืองลาเซ็มชวงกลางศตวรรษที่ ๒๐


ผานุง (โสรง) เมืองเปอกาลองงัน เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๕๙ x ๙๙ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๖๓

ผาบาติกแบบจลัมปรัง (Jlamprang) เปนที่นิยมในชวงศตวรรษที่ ๑๙ ลายบริเวณทองผามีชือวา ลิมารัน (Limaran) เกิดจากการใชจันติง หัวเหลี่ยมคอยๆ จุด หรือขีดเสนสั้นๆ ลงบนผืนผา เปนลวดลายที่ได รับแรงบันดาลใจมาจากผาทอ เชน ผามัดหมี่


ผานุง (โสรง) โรงเขียนผาของนางแวน ลาวิก แวน แพบสต เมืองยอกยาการตา เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๑๐๖.๕ x ๒๒๐.๔ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๙๗

ผาจากโรงเขียนผาของนางแวน ลาวิก แวน แพบสต ทีม่ ฝี ม อื การยอมคราม ทีส่ วยงามและเขียนลวดลายละเอียดประณีต ในชวงปลายศตวรรษที่ ๑๙ โรงเขียนหลายแหงโดยเฉพาะในพื้นที่ชายฝงตอนเหนือของชวากลาง นิย มเขี ย นลายทแยงบริ เวณหั ว ผ า เช น เดี ย วกั บ ผ า ผื น นี้ ส ว นท อ งผ า เขียนลายชอดอกไมแบบยุโรป และบริเวณเชิงผาไดรับแรงบันดาลใจ มาจากลวดลายของผาลูกไมแบบยุโรป นํามาผสมผสานใหเกิดลวดลาย ที่สวยงาม


ผานุง (โสรง) ลายตัมบัล มิริง เมืองอินดรามายู เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๑๐๔.๒ x ๑๙๗ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๑๘๓ ผาบาติกลายตัมบัลของชวาโดดเดนในเรื่องของการใชสีและแสงเงา ลายหลักของผาบาติกผืนนี้ เปนลายสี่เหลี่ยมขนาดใหญ ซึ่งภายในมีลายปกครุฑและลายแจกันดอกไมอยูดานใน สวนบริเวณ มุมทัง้ สีด่ า น มีกรอบสีเ่ หลีย่ มขนาดเล็กตกแตงและรายลอมดวยกรอบสีเ่ หลีย่ มผืนผา ทีม่ เี สนทแยง ดานในดูคลายลายสวัสดิกะ


ผานุง (โสรง) สันนิษฐานวามาจากโรงเขียนผาของ นางแคโรลินา โจเซฟนา วอน แฟรงเคอมองต เมืองเซมารัง เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติ และแตมสี บนผาฝาย ๑๑๑.๒ x ๑๐๖ ซม. (ความยาวโดยรอบ ๒๑๒ ซม.) สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๒๔๘ สันนิษฐานวาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงซื้อผาบาติกผืนนี้ เมื่อคราว เสด็จเยือนชวาครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๔๑๓ คาดวาผาบาติกแบบนี้ผลิตขึ้นเพื่อจําหนายให ลูกคาชาวชวาเชื้อสายจีนและชาวชวาเชื้อสายยุโรป เพราะมีลายที่มาจากความเชื่อเรื่อง สวนอีเดน เชน งูและเถาองุน นอกจากนี้ยังปรากฏลวดลายตามความเชื่อของจีน เชน ผีเสื้อหมายถึงอายุยืนยาวและความรัก และลายตะขาบ ที่เชื่อวาชวยปกปองผูสวมใสจาก ภัยอันตราย


ผานุง (กายน ปนจัง) ลายกาวุง โรงเขียนผาของ แวน ลาวิก แวน แพบสต เมืองยอกยาการตา เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติ บนผาฝาย ๑๐๗๘ x ๒๖๐.๗ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๒๕๕ ลายกาวุง (Kawung) มีที่มาจากผลของพืชในตระกูลลูกตาล ที่ผาซีก เกิดจากการเขียนรูปวงรีสวี่ งวางตอกัน ทําใหดเู หมือน ลายดอกไมสกี่ ลีบลอมรอบวงกลม ในราชสํานักยอกยาการตา ถือเปนลายสําหรับผูที่มีชั้นยศลําดับสูงเทานั้น แตสําหรับ ราชสํานักสุราการตาลายดังกลาวใชสําหรับขาราชบริพาร


ผานุง (กายน ปนจัง) ลายปนจี โรงเขียนผาของ แวน ลาวิก แวน แพบสต เมืองยอกยาการตา เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติ บนผาฝาย ๑๐๗ x ๒๗๐ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๒๒๔ ตัวอยางผาบาติกอีกหนึง่ ผืนทีม่ ฝี ม อื การเขียนอันยอดเยีย่ มและบงบอก ถึงลักษณะเฉพาะของผาบาติกในราชสํานักของยอกยาการตา ลาย หลักคือลายประแจจีนหรือเรียกวาลายปนจี ซึง่ ผสมผสานลายปารังไว ถึง สองแบบคื อ ลายปารั ง รื อ สั ก (แถบสี อ  อ น) และลายปารั ง สู ลิ (แถบสีเขม) ลวดลายนี้จํากัดการใชงานเฉพาะในราชสํานักเทานั้น


ผานุง (กายน ปนจัง) ลายเซปล็อก เมืองสุราการตา เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๑๑๐.๕ x ๒๕๑.๓ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๑๐๐ ลายเซปล็อก (Ceplok) เปนลายเรขาคณิตทีว่ างตอเนือ่ งกันในแนวทแยง มีลกั ษณะ คลายลายกานแยงของไทย สามารถมองไดหลายแบบ ทั้งลายที่เปนกรอบลอม รอบเกสรดอกไมตรงกลางหรือเกสรอยูท มี่ มุ ทัง้ สีด่ า นของกรอบลายก็ได ลายเซป ล็อกถือเปนหนึ่งในกลุมลายที่มีความหลากหลาย สามารถนําไปประยุกตได หลากหลายรูปแบบ


ผานุง (โสรง) สันนิษฐานวามาจากโรงเขียนผาของนาง เอ. เจ. เอฟ. ยานส เมืองเปอกาลองงัน เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๑๐๙ x ๒๑๙ ซม.สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๒๗ สันนิษฐานวามาจากโรงเขียนผาของนางเจ ยานส เนื่องจากสีสัน และลวดลายที่ใชทั้งบริเวณหัวผาและทองผาลวนเปนเอกลักษณ ของโรงเขียนแหงนี้ ปจจุบันผาบาติกลายดอกไมในลักษณะนี้มัก รูจกั กันในชือ่ โบเกตัน (Boketan) ซึง่ มาจากคําวา บูเกต (Bouguet) สันนิษฐานวาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงซื้อ จากพอคาผาที่มาจากเมืองเปอกาลองงัน ระหวางที่ประทับ ณ เมืองบันดุง เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๔๔๔


ผานุง (โสรง) เมืองการุตหรือทาสิกมาลายา (จิปเดส) เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติ บนผาฝาย ๑๐๔ x ๒๐๕ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๓๓ บริเวณทองผาเปนลายกระเบื้อง หรือสิราปน (sirapan) ในขณะที่หัวผาเปนลายเฟรนซึ่งเปนพืชที่พบเห็นไดใน ทอ งถิ่ น ผสมผสานลายผ า ลู ก ไม ที่ บ ริ เ วณหั ว ผ า ได แรงบั น ดาลใจมาจากโรงเขี ย นผ า ของชวาเชื้ อ สาย ตะวันตกในเมืองเปอกาลองงัน เนื่องจากโรงเขียนผา จากเปอกาลองงันนิยมเขียนลายดังกลาวในชวงกลาง ศตวรรษที่ ๑๙


ผานุง (กายน ปนจัง) ลายจัมบลัง โรงเขียนผาของนางแวน ลาวิก แวน แพบสต เมืองยอกยาการตา เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๑๐๘.๔ x ๒๗๑.๔ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๑๕๓ ลายจัมบลัง (Jamblang) มีลักษณะของลายที่คลายกับรูปทรงของตะกราสาน แมวาโรงเขียนแหงนี้จะตั้งอยูที่เมืองยอกยาการตา แตจากสีเหลืองของพื้นหลัง แสดงใหเห็นถึงอิทธิพลของผาบาติกจากเมืองบันยูมาสที่นิยมยอมสีเหลือง ลักษณะนี้


ผานุง (โสรง) ลายเซเมน ซิโดรายา (ซิโดโรโย) เมืองสุราการตา เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๑๐๕ x ๑๙๙ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๘๒ ลายเซเมน ซิโดรายา (Semen Sidoraja) หรือซิโดโรโย (Semen Sidorojo) ในภาษา ชวาปจจุบัน สันนิษฐานวาเริ่มทําขึ้นในชวงปลายคริสตศตวรรษที่ ๑๘ หลังจากอาณา จักรอิสลามมะตะรัมแยกดินแดนออกเปนสุราการตาและยอกยาการตา กรอบลายรูป สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนขนาดใหญดานในมีลายเซเมน สื่อความหมายถึงการปกปอง คุมครอง และลายคลายเมล็ดขาวทีพ่ นื้ หลัง สือ่ ความหมายถึงความมัง่ คัง่ และอุดมสมบูรณ


ผานุง (โสรง) เมืองจิเรบอน เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๑๐๗.๒ x ๒๐๘.๕ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๑๗๔ บริเวณหัวผาเขียนลายนกสลับกับลายนกคูอยูทามกลางลาย พรรณพฤกษา ทองผาเขียนลายนกชนิดตางๆ รวมไปถึงผีเสื้อ และแมลง หากย อมด วยสีแดงลวดลายบนผาผื นนี้ จะสื่ อถึ ง ความหมายอันเปนมงคล สามารถใชในโอกาสงานแตงงานได แตผา บาติกผืนนีใ้ ชโทนสีนาํ้ เงินและขาว ซึง่ เปนสีทใี่ ชในโอกาสไวทกุ ข จึงสันนิษฐานวาเปนผานุงสําหรับเจาสาวในคืนกอนวันที่จะยาย ออกจากบานไปอยูกับครอบครัวเจาบาว


ผานุง (กายน ปนจัง) ลายปารัง รือสัก บารอง โรงเขียนผาของนางแวน ลาวิก แวน แพบสต เมืองยอกยาการตา เขียนลายดวยมือ ยอมสีธรรมชาติบนผาฝาย ๑๐๘.๗ x ๒๗๐ ซม. สํานักพระราชวัง ผาหมายเลข ๒๒๑ ลายปารัง รือสัก จัดอยูใ นกลุม ลายชัน้ สูงของผาบาติก สวมใสได เฉพาะพระบรมวงศานุวงศและขุนนางชั้นสูง ถือเปนสัญลักษณ ของพลังอํานาจ ลายปารังไดรบั แรงบันดาลใจมาจากรูปทรงของ กริช มักทําเปนลักษณะแถวแนวทแยง แตละแถวจะแทรกดวย ลายสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนขนาดเล็กที่เรียกวามิลิยง ลายปารัง รือสัก บารอง ที่ปรากฏบนผาผืนนี้หมายถึงลายปารัง ที่มีขนาด ใหญ (ขนาด ๘ ซม.ขึน้ ไป) สงวนไวใชเฉพาะสุลตานหรือเจานาย ชั้นสูงเทานัน้ ทัง้ นีก้ ลุม ลายปารังเปนทีน่ ยิ มในพืน้ ทีช่ วากลางโดย เฉพาะเมืองยอกยาการตาและเมืองสุราการตา


ผาบาติกในพระปยมหาราช: สายสัมพันธสยามและชวา พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๑๓ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู  หั ว รั ช กาลที่ ๕ เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น เยื อ นชวาอย า งเป น ทางการ ซึ่ ง ถื อ เป น การเสด็ จ ฯ ไปทรงเจริ ญ สั ม พั น ธไมตรี กั บ ต า งประเทศเป น ครั้ ง แรก ต อ มาได เ สด็ จ ฯ เยื อ นชวาอี ก สองครั้ ง ในพุ ท ธศั ก ราช ๒๔๓๙ และ ๒๔๔๔ โดยระหว า งการเสด็ จ เยื อ นชวา พระองค ไ ด เ สด็ จ พระราชดํ า เนิ น ไปทอดพระเนตรการเขี ย นผ า บาติ ก อั น เป น หั ต ถศิ ล ป ที่ เ ลื่ อ งชื่ อ และเป น ที่ พ อพระราชหฤทั ย อย า งยิ่ ง จึ ง ทรง ซื้ อ ผ า บาติกกลับมาเปนจํานวนมาก และมีผูทูลเกลาฯ ถวาย รวมทั้งสิ้นกวา ๓๐๐ ผืน ซึ่งมีความโดดเดนทั้งในแงความงดงามของศิลปะและองคความรู ทางประวั ติ ศ าสตร ก ารแต ง กายของชวา พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ผ  า ในสมเด็ จ พระนางเจ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ได ข อพระราชทานพระบรมราชานุ ญ าตพระบาทสมเด็ จ พระวชิ ร เกล า เจ า อยู  หั ว เชิ ญ ผ า บาติ กดั งกล าวออกมาเพื่ อศึ กษาและจั ดแสดงนิ ทรรศการ ณ พิ พิธภั ณฑ ผ าในสมเด็ จพระนางเจ าสิ ริกิติ์ พระบรมราชิ นีนาถ เพื่ อให คนทั่ วไปได ร วมระลึ ก ถึงพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ในการเสด็จฯ ไปทรงเจริญสัมพันธไมตรีกับชวา ซึ่งเปนรากฐานสําคัญในการพัฒนา ประเทศอั น ยั่ ง ยื น มาจนถึ ง ป จ จุ บั น และเพื่ อ เรี ย นรู  วั ฒ นธรรมการใช ผ  า บาติ ก ในประเทศอิ น โดนี เซี ย

Queen Sirikit Museum of Textiles Tel: 02-225-9430 www.qsmtthailand.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.