บัณฑิตอาสา สะพานเชื่อมชุมชน
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.) สนับสนุนโดย สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ (วพส.)
สนับสนุนโดย สถาบันวิจัยและพัฒนา สุขภาพภาคใต้ (วพส.)
ผู้จัดท�ำ ที่ปรึกษา
ศ.นพ.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย ผศ.ทพญ.อังคณา เธียรมนตรี
บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ
พิกุล สิทธิประเสริฐกุล นิพนธ์ รัตนาคม
ปีที่พิมพ์ จำ�นวน ออกแบบ-จัดพิมพ์
ธันวาคม 2552 2,000 เล่ม ไอคิว มีเดีย 130/42 ถ.กาญจนวนิช ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โทร. 074-216480, 089-4660752 978-616-7375-03-8
ISBN
วัลภา ฐาน์กาญจน์ อานัติ หวังกุหลำ�
สมทบทุนเพื่อสนับสนุนการดำ�เนินงานโครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ (บอ. มอ.) ได้ที่ ชื่อบัญชี : ʶҺѹÇÔ¨ÑÂáÅоѲ¹ÒÊØ¢ÀÒ¾ÀÒ¤ãµé (¾ÔàÈÉ) ¸¹Ò¤ÒÃä·Â¾Ò³ÔªÂì ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ÊÒ¢ÒÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤ÃÔ¹·Ãì ºÑญªÕÍÍÁ·ÃѾÂì àÅ¢·Õè 565-433693-4
h t t p : / / v o l u n t e e r . p s u . a c .t h
โครงการºÑ³±ÔµÍÒÊÒ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤ÃÔ¹·Ãì (ºÍ.ÁÍ.) â·Ã. 0-7445-5149, 081-1877804 สำ�นักงานภาคใต้โซนกลาง
ªÑé¹ 6 ÍÒ¤ÒúÃÔËÒà ¤³Ðá¾·ÂÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤ÃÔ¹·Ãì ÇÔ·ÂÒࢵËÒ´ãËญ่
สำ�นักงานภาคใต้โซนบน
ªÑé¹ 1 ÇÔ·ÂÒÅѪØÁª¹ÊØÃÒÉ®Ãì¸Ò¹Õ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤ÃÔ¹·Ãì ÇÔ·ÂÒࢵÊØÃÒɯÃì¸Ò¹Õ
สำ�นักงานภาคใต้โซนล่าง
ªÑé¹ 2 ÍÒ¤Òà 2 ¡Í§ºÃÔ¡ÒáÒÃÈÖ¡ÉÒ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤ÃÔ¹·Ãì ÇÔ·ÂÒࢵ»ÑµµÒ¹Õ
ส า ร บั ญ
รู้จัก ‘บัณฑิตอาสา’ คำ�นิยม ใครคือบัณฑิตอาสา พัฒนาการของโครงการ บอ.มอ. ใครเป็นใครของโครงการ บอ.มอ. ภารกิจ 12 เดือน ภารกิจเพื่อชุมชน 5 รุ่น 94 โครงการ กับผลงานในชุมชน ประสบการณ์ชีวิต ‘บัณฑิตอาสา’ โอกาสและความท้าทาย ตามติดศิษย์เก่าบัณฑิตอาสา
7 8 10 14 20 24 30 57 83 86
โครงการ
บัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
(บอ.ม.อ.)
6
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
บัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานคริินทร์ รุ่นที่ 1 รุ่นที่ 2 รุ่นที่ 3 รุ่นที่ 4 รุ่นที่ 5 รุ่นที่ 6
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
7
รู้จัก ‘บัณฑิตอาสา’ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องความยากลำ�บากและความปลอดภัยในการลงพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ในปี 2547 สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ได้ริเริ่มจัดตั้งโครงการ บัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ. มอ.) โดยเน้นรับบัณฑิตจากพื้นที่สาม จังหวัดฯ ให้กลับไปทำ�งานในบริเวณนัน้ แต่ไม่ใช่บา้ นเกิดของตน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนา ศักยภาพของบัณฑิต พัฒนาชุมชน และเป็นกลไกเชื่อมต่อระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชน ต่อมาเกิดภัยพิบัตสิ ึนามิ จึงได้จัดสรรบัณฑิตอาสาไปทำ�งานช่วยชาวบ้านในพื้นที่ภยั พิบัติในอำ�เภอคุระบุรี จังหวัดพังงา จากประสบการณ์การทำ�งานในรุ่นที่ 1 ทำ�ให้โครงการบัณฑิตอาสาเข้มแข็งขึ้น ใน ปีต่อมาจึงขยายพื้นที่ไปครอบคลุมทั่วภาคใต้ หลักสูตรบัณฑิตอาสามีระยะเวลาฝึกอบรม 1 ปี อบรมจบไปแล้ว 5 รุ่นรวม 104 คน ปัจจุบันทำ�งานอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ ทั่วภาคใต้ ทั้งภาครัฐและเอกชน บัณฑิตอาสาเป็นที่ต้องการของหน่วยงานที่มีหน้าที่โดยตรงกับการ พัฒนาสังคมอย่างมาก เครือข่ายบัณฑิตอาสามีการชุมนุมกันปีละ 1 ครั้ง เพื่อติดตามความก้าวหน้า และแลกเปลีย่ นประสบการณ์ในการทำ�งานของแต่ละคน นอกจากนัน้ ผลพลอยได้ทสี่ ำ�คัญของ โครงการฯ คือ มีอาจารย์จากมหาวิทยาลัยช่วยเป็นที่ปรึกษาให้กับบัณฑิตและชาวบ้าน ซึ่ง ถือเป็นความสำ�เร็จในการเชือ่ มโยงชาวบ้านในพืน้ ทีก่ บั มหาวิทยาลัย ปัจจุบนั กำ�ลังดำ�เนินงาน อยู่ในรุ่นที่ 6 มีบัณฑิตอาสาคงอยู่ในโครงการ 30 คน โดยสรุปการดำ�เนินงานที่ผ่านมามีพื้นที่ดำ�เนินงานกว่า 70 ชุมชน ใน 13 จังหวัด มีโครงการกว่า 90 โครงการ มีอาจารย์เข้าร่วมในโครงการกว่า 70 คน ทางโครงการฯ ได้ จั ด ทำ � เอกสารฉบั บ นี้ เ พื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ นให้ กั บ องค์ ก ร และหน่วยงานต่าง ๆ มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนในชุมชน และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ทั้งนี้เพื่อสร้างความร่วมมือใน การดำ�เนินงานของโครงการฯ ให้สามารถเพิ่มจำ�นวนการพัฒนาบัณฑิตควบคู่กับการขยาย การพัฒนาชุมชนให้ครอบคลุมพื้นที่ในภูมิภาคนี้
8
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
คำ�นิยม สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวอันเป็นฉายานามแห่งมหาวิทยาลัยแห่งนี้นับได้ว่าเป็นหนึ่งในแบบอย่างของ วงการอาสาสมัครไทย ดังจะเห็นจากพระจริยาวัตรที่มุ่งมั่นอุทิศตนเพื่อผู้คนที่เจ็บป่วยและ ลำ�บากยากไร้ดว้ ยการเสด็จไปเป็นแพทย์ประจำ�สถานรักษาพยาบาลผูป้ ว่ ยโรคเรือ้ นทีเ่ ชียงใหม่ จนสิ้นพระชนม์ชีพด้วยเหตุแห่งการเป็น “หมอเจ้าฟ้า” ยากลำ�บากในการทำ�หน้าที่แพทย์อยู่ ในมหานครทีเ่ ต็มไปด้วยขัน้ ตอนจารีตและประเพณีพธิ กี าร โดยในระหว่างนัน้ ได้ทรงสนับสนุน ทุนการศึกษาแก่กุลบุตรกุลธิดาไทย ด้วยพระกระแสรับสั่งที่ฝังจิตฝังใจชาวไทยเสมอมาว่า
“ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตนเป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง”
ทุกมหาวิทยาลัย ไม่เพียงแต่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ควรสร้างเสริมสำ�นึก เช่นนี้แก่บุคคลที่กำ�ลังจะได้ชื่อว่า “บัณฑิต” เพราะหากทั้งสังคมล้วนเต็มไปด้วยผู้เห็นแต่ ประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง อนาคตของบ้านเมืองรวมทั้งแต่ละบุคคลย่อมพอทำ�นายได้
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
9
เมื่อมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ริเริ่มโครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ เพื่อเพาะบ่มหมู่บัณฑิตให้ “หน่อสำ�นึกสาธารณะในส่วนรวม” ที่มนุษย์ทุกคนล้วน มีอยู่แล้วให้งอกงามจำ�เริญ ไม่ถูกปล่อยปละละเลยมาเอาตัวรอดก่อน เพื่อนมนุษย์อื่นว่า ทีหลังกันมากขึ้น ๆ จนหน่อสำ�นึกนั้นกำ�ลังลีบตีบและแห้งเหี่ยวลงทุกที จนทั้งสังคมเต็มไป ด้วยดอกต้นแห่งความ “เห็นแก่ตวั ” ดกดืน่ อยูท่ วั่ ไปนัน้ ทัว่ ทัง้ ชุมชนในภาคใต้จงึ รูส้ กึ นิยมยินดี ที่มีลูกหลานนิสิตนักศึกษากลับไปช่วยไปหาพ่อแม่พี่น้อง “อาสา” ชวนคิดช่วยทำ�ตามกำ�ลัง และสติปัญญานำ�พาเพื่อนพ้องวิชาและอาจารย์ออกไปสู่สังคมซึ่งไม่ใช่ใครที่ไหนอื่น แต่คือ ชุมชนท้องถิ่นที่นักศึกษาและอาจารย์ทั้งหลายฝังกายเกาะเกี่ยวและเติบโตมาด้วยกันและยัง จะต้องอยู่ร่วมกันต่อตลอดไปทั้งนั้น สมเด็จพระราชบิดาพระบรมราชชนกทรงย้ำ�เตือนแก่นักศึกษาที่รับทุนพระราชทาน จากท่านว่า “ความสำ�เร็จของการศึกษาที่แท้จริงไม่ได้ขึ้นอยู่กับการมีความรู้มาก แต่ขึ้นอยู่ กับการนำ�เอาความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้เกิดประโยชน์แก่สังคมได้มากเพียงไร” ผมเห็นว่าไม่ได้หมายเพียงว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว บัณฑิตนั้นจะเติบใหญ่ก้าวหน้า ไปทำ�ประโยชน์อะไรได้บา้ งหรอก หากอยูท่ ใี่ นระหว่างศึกษานัน้ เขาได้บม่ เพาะ “หน่อเนือ้ ของ ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์พร้อมทั้งส่วนตัวและส่วนรวม” ไว้ได้ประมาณไหน โครงการบั ณ ฑิ ต อาสา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จึ ง ไม่ ค วรเป็ น เพี ย ง โครงการน้อย ๆ ชั่วขณะ แต่เป็นโครงการเพื่อเติมเต็มศักยภาพของความเป็นมนุษย์ ให้กับนิสิตนักศึกษา และบัณฑิตที่ควรขยายตัวให้กว้างขวางในแวดวงการศึกษาที่ทุกฝ่ายพึง ช่วยกันสนับสนุนส่งเสริม และที่ สำ � คั ญ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ที่ มี เ กี ย รติ สู ง ยิ่ ง ด้ ว ยการนำ � ฉายา พระนามของพระผู้เป็นแบบอย่างมาเป็นชื่อมหาวิทยาลัย ควรจะได้มุ่งมั่นผลักดันสานต่อให้ สำ�เร็จสมบูรณ์เสมือนเป็น “อนุสาวรีย์มีชีวิต” แห่งองค์พระผู้เป็นเสมือนพระบิดาของ มหาวิทยาลัยสืบไป บัญชา พงษ์พานิช อาสาสมัครอิสระสาธารณประโยชน์ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ และ เครือข่ายความร่วมมือฟื้นฟูชุมชนชายฝั่งอันดามัน ๔ มกราคม ๒๕๕๑
10
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
ใครคือบัณฑิตอาสา? ผู้คนจำ�นวนมากยังไม่เข้าใจคำ�ว่า “บัณฑิตอาสา” บางคนยังดูแคลนเป็นบัณฑิต ตกงาน ผิดจากคุณค่าและความหมายแท้จริง ศ.ดร.วิจิตร ศรีสะอ้าน เคยกล่าวปาฐกถาเรื่องอุดมการณ์อาสาสมัครกับการศึกษา และบริการสังคม ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่อ พ.ศ.2524 ตอนหนึ่งว่า ‘นิสิตนักศึกษา สมัยก่อนนัน้ เมือ่ จบเป็นบัณฑิตกลัวชนบทมาก คิดว่าประเทศไทยคือกรุงเทพฯ การทีต่ อ้ งถูก ทำ�งานในชนบทเป็นเรือ่ งเคราะห์กรรม กลัวมาก ... ประชาชนมองนิสติ นักศึกษาว่าเป็นพวก นั่งโต๊ะ พวกจับปากกาถือดินสอ นั่งโต๊ะ ...เกิดปัญหาช่องว่างระหว่างสิ่งที่เรียนกับสิ่งที่ต้อง ใช้ไปทำ�มาก เพราะการเรียนการสอนในชั้นเรียน กับเรื่องที่เป็นไปในสังคมนั้นเกือบจะไม่มี ความสัมพันธ์อะไรกันเลย’ งานอาสาสมัคร อุดมการณ์อาสาสมัคร บริการสังคม และการศึกษา เรื่องทั้งสาม ควรจะประสานเข้ามาภายใต้ภารกิจของมหาวิทยาลัย ทางด้านการสอน การวิจยั และบริการ แก่ชุมชน โดยมีการเลือกกิจกรรมแต่ว่ารักษาแนวคิดพื้นฐานด้านอาสาสมัครไว้ มีผใู้ ห้ความหมายบัณฑิตอาสาว่า ผูจ้ บการศึกษาปริญญาตรีหรือเรียกว่า “บัณฑิต” อาสาตัวดำ�รงชีวิตอยู่ในชนบท เพื่อศึกษาเรียนรู้และเป็นกำ�ลังหนึ่งในการพัฒนาหรือทำ� สาธารณประโยชน์ในชนบท ที่ต้องเป็นบัณฑิตมาอาสาเพราะถือเป็นผู้มีความรู้ของสังคมที่มี โอกาสมากว่าคนอื่นๆ
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
11
ชนบทมีมิติ เรื่องราว และความรู้ต่างๆ อยู่มากมายที่บัณฑิตไม่เคยรู้ ไม่อาจรู้ หรือ ไม่มีความรู้ สิ่งเหล่านี้จึงเป็นสิ่งที่บัณฑิตจะต้องปรับตัว แลกเปลี่ยน และเรียนรู้เพื่อนำ�กลับ มาเป็นความรู้ความเข้าใจติดตัวไว้ตลอดชีวิต เพื่อจะได้ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาและทำ � ประโยชน์ให้กับสังคมในภายภาคหน้าต่อไป สิ่งที่บัณฑิตฝากไว้กับชุมชน อาจจุดประกายการพัฒนาบางอย่างที่นำ�มาสู่ความ เปลี่ยนแปลงหรือมอดหายไปในเวลาไม่นาน แต่สิ่งที่บัณฑิตได้กลับมาเป็นมิตรภาพของ ครอบครัวและชุมชนที่ไปอาศัยอยู่ วิถีชีวิตชุมชน กระทั่งธรรมชาติอันงดงามแปลกตาในถิ่นที่ ไปอยู่ เหนือสิง่ อืน่ ใดคือความรูแ้ ละประสบการณ์จากชีวติ จริง การทีบ่ ณ ั ฑิตอาสามีสว่ นช่วย พัฒนาชุมชนและชุมชนพัฒนาบัณฑิตจึงเอื้อต่อกันทั้งสองฝ่าย ผู้ที่จะเป็นบัณฑิตอาสาสมัคร ต้องมีจติ ใจอาสาสมัคร มีความรูใ้ นศาสตร์หรือศิลป์ตา่ ง ๆ ทีต่ นเองเชีย่ วชาญ ความรูค้ วาม เข้าใจต่อชนบท และ ความพร้อมที่จะปรับตัวและเรียนรู้ เป็นต้น ดูเหมือนว่าคำ�ว่าบัณฑิตอาสาเกิดขึ้นในช่วงที่สังคมไทยมีความเหลื่อมล้ำ�ต่ำ�สูง ระหว่างเมืองกับชนบทรุนแรง อย่างไรก็ตามแม้เวลาผ่านมาหลายทศวรรษ สภาพสังคมไทย เปลีย่ นแปลงไปมาก ไม่ได้หมายความว่าปัญหาเชิงโครงสร้างแบบเดิมจะหายไปไหน เพียงแต่ เปลี่ยนมาเป็นรูปแบบอันสลับซับซ้อนยิ่งขึ้นเท่านั้น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ตระหนักเรื่องนี้และนับเป็นพันธกิจสำ�คัญประการหนึ่ง จึงให้สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ (วพส.) เป็นผู้รับผิดชอบดำ�เนินโครงการบัณฑิต อาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.) คัดเลือกอบรม ส่งบัณฑิตอาสาลงสู่ชุมชน ภาคใต้ และประเมินผล เป็นโครงการต่อเนื่องที่ดำ�เนินงานมาแล้ว 5 รุ่น (พฤษภาคม 2547มีนาคม 2553) และกำ�ลังดำ�เนินการรุ่นที่ 6 คำ�ถามว่าบัณฑิตอาสาคืออะไรข้างต้นจึงอาจตอบให้เข้าใจง่าย ๆ สำ�หรับคนทั่วไป ว่าคือบัณฑิตทีอ่ อกไปทำ�งานพัฒนาพร้อมกับเรียนรูน้ นั่ เอง บทบาทหลักของพวกเขาคือ การ ใช้ชีวิตอยู่ในชุมชนเป้าหมาย เป็นที่ปรึกษาของชุมชน และร่วมพัฒนาโครงการต่าง ๆ ใน พื้นที่ร่วมกับชุมชน เชื่อมต่อกับมหาวิทยาลัย
“สามเหลี่ยมเขยื้อนชุมชน” ชุมชน
สถาบันการศึกษา
บัณฑิตอาสา
แนวคิดการพัฒนาบัณฑิตอาสา มีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ ชุมชน บัณฑิตอาสา และสถาบันการศึกษา โดยบัณฑิตอาสาเป็นผู้เชื่อมโยงและเป็นผู้นำ� การเปลี่ยนแปลงผ่านประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัยและพัฒนาร่วม กับชุมชน และมีเป้าหมายสูงสุดคือ บัณฑิตอาสาเป็นผู้นำ�การเปลี่ยนแปลงใน ชุมชนหรือสังคม
14
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
พัฒนาการของ โครงการ บอ.มอ. 5 รุ่น ที่ผ่านมา ถือได้ว่าโครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มี พั ฒ นาการมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง แม้ ใ นช่ ว งรุ่ น แรก ๆ จะยั ง ไม่ สำ � เร็ จ ผล ทันตา เพราะยังเป็นย่างก้าวแรกของคณะทำ�งาน ต้องลองผิดลองถูกหลายครั้ง แต่อย่างน้อยผลสำ�เร็จทีเ่ กิดขึน้ แน่นอนมาตัง้ แต่แรกเริม่ ก็คอื บัณฑิตทีเ่ ข้าร่วมโครงการ ได้รบั การพัฒนาทัง้ ทางด้านทักษะความสามารถในการทำ�งานร่วมกับชุมชน บุคลิกภาพ ที่แปรเปลี่ยนอย่างเหมาะสม ตลอดจนทัศนคติที่ดีต่อการทำ�งานภาคประชาสังคมและ เพื่อชุมชน จึงอาจสรุปได้ว่า ผลจากการดำ�เนินงานหลายปีผ่านมา เริ่มเห็นผลชัดอย่าง เป็นรูปธรรมมากขึ้นตามกาลเวลาที่ผ่านไป สามารถตอบโจทย์ใหญ่ของโครงการฯ ได้ ทั้ง 3 มิติ คือ พัฒนาบัณฑิต พัฒนาชุมชน เชื่อมโยงมหาวิทยาลัย ดังจะนำ�เสนอ พัฒนาการของแต่ละรุ่น ดังนี้
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
15
รุ่นที่ 1 (ธันวาคม 2547 – ธันวาคม 2548) โครงการ บอ.มอ.มีสำ�นักงานโครงการอยู่ที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) วิทยาเขตปัตตานี สำ�นักงานประสานงานโครงการอยู่ที่สถาบันวิจัยและพัฒนา สุขภาพภาคใต้ (วพส.) ม.อ. วิทยาเขตหาดใหญ่ คณะกรรมการของโครงการประกอบ ด้วย คณะกรรมการที่ปรึกษาหลักของโครงการ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร คณะ กรรมการประเมินผล และคณะกรรมการคัดเลือก พื้นที่ปฏิบัติงานใช้ฐานการทำ�งาน ของ สำ�นักงานสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ท้องถิ่นภาคใต้ เป็นหลัก และเมื่อเกิดกรณี ภัยพิบตั คิ ลืน่ ยักษ์สนึ ามิ ทางโครงการได้สง่ บัณฑิตอาสาส่วนหนึง่ ไปปฏิบตั งิ านเพือ่ ช่วย เหลือฟื้นฟูผู้ประสบภัยที่บ้านปากเตรียม ต.คุระ อ.คุระบุรี จ.พังงา ด้วย โดยภาพรวมพบว่า บัณฑิตอาสา รุน่ แรกนีส้ ามารถพัฒนาตนเองในด้านความ สามารถในการทำ�งานร่วมกับชุมชน แต่เนื่องจากเป็นช่วงแรกเริ่ม ผลงานการพัฒนา ชุมชนจึงยังมีน้อย รุ่นที่ 2 (ธันวาคม 2548 – พฤศจิกายน 2549) ในรุ่นต่อมานี้ มีการขยายพื้นที่ปฏิบัติงานครอบคลุมทั้งภาคใต้ตามคำ�แนะนำ� ของคณะกรรมการอำ�นวยการ วพส. และมีสำ�นักงานโครงการประจำ�โซน โซนภาคใต้ตอนบน สำ�นักงานอยู่ที่ ม.อ. เขตการศึกษาสุราษฎร์ธานี มี ผศ. สอรัฐ มากบุญ เป็นอาจารย์ผู้จัดการประจำ�โซน พื้นที่รับผิดชอบตั้งแต่จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี กระบี่ ระนองและพังงา ใช้ฐานการปฏิบัติงานในเครือข่ายงานวิจัยและ พัฒนาของ ผศ.สอรัฐ โซนภาคใต้ตอนกลาง สำ�นักงานอยู่ที่ วพส. ม.อ. วิทยาเขตหาดใหญ่ มีคุณ วัลภา ฐาน์กาญจน์ ผูจ้ ดั การแผนงานพัฒนา ของ วพส. เป็นผูจ้ ดั การประจำ�โซน และ เป็ น ผู้ ป ระสานงานภาพรวมอี ก ด้ ว ย มี พื้ น ที่ รั บ ผิ ด ชอบประกอบด้ ว ยจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช สงขลา ตรัง พัทลุงและสตูล ใช้ฐานการปฏิบตั งิ านของเครือข่ายงาน วิจัย สกว. ท้องถิ่น สมาคมหยาดฝน จ.ตรัง และเครือข่ายชุมชนเป็นสุข (โครงการ ดับบ้านดับเมือง) โซนภาคใต้ตอนล่าง สำ�นักงานอยู่ที่ มอ. วิทยาเขตปัตตานี มีคุณวิรัช
16
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
เอี่ยมปลัด ผู้ประสานงานของ สกว.ท้องถิ่นภาคใต้รับหน้าที่เป็นผู้จัดการประจำ�โซน และส่งต่อให้ อ.สนัน่ เพ็งเหมือน รับช่วงดูแลในรุน่ ถัดมา พืน้ ทีร่ บั ผิดชอบประกอบด้วย จังหวัดปัตตานี ยะลาและนราธิวาส ทั้งนี้ด้วยเหตุผลหลักเพื่อความปลอดภัยในการ ปฏิบัติงานของบัณฑิตอาสา จึงเปลี่ยนฐานการปฏิบัติงานจากเดิมที่ใช้พื้นที่ของ สกว. ท้องถิ่น มาเป็นพื้นที่โรงพยาบาลชุมชน และขอความร่วมมือจากพยาบาลในฝ่ายส่ง เสริมสุขภาพของโรงพยาบาลเป็นพี่เลี้ยงดูแลบัณฑิตอาสา นอกจากนี้ ยังได้คัดเลือกบัณฑิตอาสาที่จบหลักสูตรในรุ่นที่ 1 เป็นพี่เลี้ยง ภาคสนามเป็นบุคลากรประจำ�โครงการ การจัดระบบดังกล่าวทำ�ให้การนิเทศบัณฑิต อาสาในพื้นที่ทำ�ได้ใกล้ชิดและสม่ำ�เสมอ ในรุ่นที่ 2 นี้ได้บทสรุปที่น่าสนใจว่า นอกจากบัณฑิตได้พัฒนาตนเองแล้ว เริ่ม มีชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมและเกิดผลต่อการพัฒนาชุมชนมากขึ้นกว่ารุ่นแรก รุ่นที่ 3 (เมษายน 2550 – มีนาคม 2551) ในรุน่ นีเ้ องทีท่ างโครงการฯ ได้สนับสนุนให้บณ ั ฑิตอาสามีอาจารย์ทปี่ รึกษาเป็น รายบุคคลทัง้ อาจารย์ทเี่ ชีย่ วชาญด้านการทำ�งานชุมชน และอาจารย์ทเี่ ชีย่ วชาญเฉพาะ สาขา บัณฑิตอาสามีผลงานการทำ�งานและประสานงานเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัย มากขึ้น เช่น มีการนำ�เสนอโจทย์วิจัย ปัญหาและความต้องการของกลุ่มต่าง ๆ จาก ชุมชนเพื่อประสานความช่วยเหลือผ่านทางเครือข่ายวิจัยชุมชนของมหาวิทยาลัย เป็นต้น นอกจากนีค้ ณะทำ�งานได้เพิม่ กรรมการทีป่ รึกษาของโครงการให้มคี วามหลาก หลายมากขึน้ โดยเชิญตัวแทนจากพีเ่ ลีย้ งในพืน้ ทีเ่ ข้าร่วมเป็นกรรมการของโครงการด้วย รุ่นที่ 4 (เมษายน 2551 – มีนาคม 2552) โครงการฯ เปิดรับบัณฑิตจากสถาบันอุดมศึกษาหลักทั่วภาคใต้ พร้อมทั้งปรับ กระบวนการคัดเลือกจากการสัมภาษณ์ เป็นการนำ�ผูท้ ผี่ า่ นการคัดเลือกในรอบบทความ ไปร่วมกิจกรรมเข้าค่ายค้นพบตัวเอง จากการปรับเปลีย่ นดังกล่าวทำ�ให้บณ ั ฑิตเข้าใจ แนวคิดการทำ�งานและบทบาทของบัณฑิตอาสามากขึ้น
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
17
รุ่นที่ 5 (เมษายน 2552 – เมษายน 2553) โครงการฯ ได้จดั ขยายระยะเวลาการเข้าค่ายค้นพบตัวเองให้นานขึน้ เปิดโอกาส ให้ผู้สนใจเหล่านี้ได้สัมผัสและแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับบัณฑิตอาสารุ่นพี่มากขึ้น ส่งผลให้มีบัณฑิตที่มีคุณภาพและมีความกระตือรือร้นในการทำ�งานร่วมกับชุมชนให้ ความสนใจมากขึ้น ทางโครงการฯ จึงพิจารณารับบัณฑิตอาสาเพิ่มจาก 30 คน เป็น 36 คน และอัตราการลาออกระหว่างการปฏิบัติงานน้อยกว่ารุ่นที่ผ่านมา รุ่นที่ 6 (เมษายน 2553 – มีนาคม 2554) โครงการฯ ขยายโอกาสเพื่อเปิดรับบัณฑิตจากสถาบันอุดมศึกษาหลักทั่ว ประเทศที่มีภูมิลำ�เนาอยู่ในภาคใต้ และพัฒนากิจกรรมเข้าค่ายค้นพบตัวเองให้เข้มข้น ขึ้น
18
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
สรุป การทำ�งานทีผ่ า่ นมาของทัง้ 5 รุน่ ทีส่ �ำ เร็จหลักสูตรไปแล้ว กับอีก 1 รุน่ ทีก่ �ำ ลัง ปฏิบัติหน้าที่ มีบัณฑิตอาสารวมทั้งสิ้น 134 คน มีโครงการร่วมกับชุมชนจำ�นวน 94 โครงการ มีการเชื่อมโยงนักวิชาการ จำ�นวน 58 ท่าน เพื่อทำ�งานร่วมกับโครงการ และชุมชน มีครูพี่เลี้ยงในพื้นที่จำ�นวน 99 คน ใน 70 ชุมชน 39 อำ�เภอ 13 จังหวัด บัณฑิตอาสาเหล่านี้มีงานทำ�ร้อยละ 90 ในหน่วยงานของภาครัฐและภาค ประชาชน 23 แห่งมีคุณสมบัติเป็นที่ต้องการของหน่วยงานด้านการพัฒนาสังคมเป็น อย่างมาก บัณฑิตอาสาทีจ่ บไปแล้วยังมีการเชือ่ มโยงเป็นเครือข่ายโดยมีการชุมนุมและ ทำ�กิจกรรมเพื่อชุมชนเป็นประจำ�ทุกปี คณะทำ�งานโครงการฯ ได้ปรับปรุงหลักสูตรให้มีเนื้อหา การจัดอบรม การทำ� กิจกรรม และเกณฑ์การวัดผลการปฏิบตั งิ านในแต่ละช่วงเวลาของการปฏิบตั งิ านของ บัณฑิตอาสาให้มีความชัดเจนมากขึ้น ปัญหา/อุปสรรคสำ�คัญในการทำ�งาน เช่น สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต้เป็นอุปสรรคต่อการทำ�งานทำ�ให้บัณฑิตไม่สามารถลงพื้นที่ได้บ่อยนัก และนักวิชาการจำ�นวนน้อยมากทีก่ ล้าลงเยีย่ มในพืน้ ที่ ส่งผลให้การพัฒนาโครงการใน พื้นที่ล่าช้า และทำ�ได้ยาก ปัญหาทีมงานประจำ�ของโครงการด้อยประสบการณ์ในการทำ�งานพัฒนาชุมชน จึงต้องใช้การพัฒนางานควบคู่กับการพัฒนาตนเอง และพัฒนาบัณฑิตไปพร้อม ๆ กัน อย่างไรก็ตามจากการพิจารณาผลดำ�เนินงานในภาพรวมพบว่า การทำ�งาน ของบัณฑิตอาสา และการดำ�เนินโครงการฯ มีแนวโน้มดีขึ้นเป็นลำ�ดับ
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
19
20
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
ใครเป็นใคร ของโครงการ บอ.มอ. เพื่อให้บัณฑิตอาสาสามารถทำ�งานและใช้เวลา 12 เดือนในชุมชนได้อย่างเห็น ผลคุม้ ค่า โครงการ บอ.มอ. จึงพัฒนาโครงสร้างการทำ�งานเพือ่ ให้เอือ้ ต่อการสนับสนุน การปฏิบัติงานของบัณฑิตอาสาในทุกขั้นตอนและช่วงเวลา
องค์กร สนับสนุน (สสส., สกว., มอ.)
สถาบันวิจัยและพัฒนา สุขภาพภาคใต้ (วพส.) สำ�นักงานกลาง บอ. มอ. ประสานงานภาพรวม
คณะกรรมการ
ภาคใต้ตอนบน อาจารย์ ภาคใต้ตอนกลาง อาจารย์ ภาคใต้ตอนล่าง อาจารย์ ที่ปรึกษา ผู้จัดการโซน ที่ปรึกษา ผู้จัดการโซน ผู้จัดการโซน ที่ปรึกษา ประจำ � โซน ประจำ � โซน พี่เลี้ยงภาคสนาม พี่เลี้ยงภาคสนาม พี่เลี้ยงภาคสนาม ประจำ�โซน ครูพี่เลี้ยงในพื้นที่ เครือข่าย
ครูพี่เลี้ยงในพื้นที่ เครือข่าย
ครูพี่เลี้ยงในพื้นที่ เครือข่าย
บัณฑิตอาสา
บัณฑิตอาสา
บัณฑิตอาสา
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
21
หน้าที่รับผิดชอบของทีมงานโครงการ บอ.มอ.
ผู้ประสานงานโครงการภาพรวม ในด้านนโยบาย ผู้ประสานงานโครงการภาพรวมเป็นผู้ร่วมกำ�หนดยุทธศาสตร์ นโยบายและการวางแผนงานของโครงการ ประสานงานกับหน่วยงานเครือข่ายอื่น ๆ เพื่อให้การดำ�เนินงานของแต่ละโซนเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ตลอดจนประสานงาน กับนักวิชาการและเครือข่ายองค์กรต่าง ๆ เพื่อเสริมการทำ�งนของบัณฑิตอาสา และ พัฒนาศักยภาพทีมงานโครงการฯ นอกจากนี้ ผูป้ ระสานงานโครงการภาพรวมยังอำ�นวยการจัดอบรมและการจัด ประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพ และวางแผนการเยี่ยมบัณฑิตอาสา และการนิเทศงาน พี่เลี้ยงภาคสนามอีกด้วย ผู้จัดการสำ�นักงานประจำ�โซน ผูจ้ ดั การสำ�นักงานประจำ�โซน ทัง้ 3 ท่านจะร่วมกันกับผูป้ ระสานงานโครงการ ภาพรวมกำ�หนดยุทธศาสตร์ แผนงานและนโยบายของโครงการ จัดระบบบริหารจัดการ
22
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
โครงการ ประสานงานกับนักวิชาการทัง้ ภายในและภายนอกวิทยาเขต ตลอดจนหน่วย ราชการและเครือข่ายองค์กรต่าง ๆ นอกจากนีย้ งั ติดตามประเมินผล/นิเทศการทำ�งานของบัณฑิตอาสาในพืน้ ที่ และ ชีแ้ จงทำ�ความเข้าใจโครงการกับพีเ่ ลีย้ ง และชาวบ้านในพืน้ ที่ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพ บุคลากรของสำ�นักงานและแก้ปัญหาฉุกเฉินของบัณฑิตอาสา พี่เลี้ยงภาคสนาม พีเ่ ลีย้ งภาคสนามเป็นเจ้าหน้าทีป่ ระจำ�ทีม่ บี ทบาททัง้ ด้านนโยบายและด้านปฏิบตั ิ สำ�หรับด้านนโยบาย ได้แก่ ร่วมกำ�หนดนโยบาย แผนงานและหลักสูตรของโครงการ จัดประชุมและจัดทำ�รายงานต่าง ๆ จัดประชุม และจัดทำ�รายงานสรุปต่าง ๆ นอกจากนี้ พี่เลี้ยงภาคสนามยังเป็นบุคคลสำ�คัญที่มีบทบาทในการสนับสนุน การทำ�งานของบัณฑิตอาสาในพืน้ ทีข่ องตนเอง ได้แก่ ประสานพีเ่ ลีย้ งในพืน้ ที่ อาจารย์ ที่ปรึกษา และหน่วยงานต่าง ๆ ในแต่ละโซน ติดตามให้คำ�ปรึกษา ประเมินผลการ พัฒนาศักยภาพของบัณฑิตอาสา ช่วยงานประชาสัมพันธ์สสู่ าธารณะ และช่วยดำ�เนิน การคัดเลือกบัณฑิตอาสา
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
23
ครูพี่เลี้ยงในพื้นที่ ครูพเี่ ลีย้ งในพืน้ ทีเ่ ป็นบุคคลทีท่ างโครงการฯ ได้คดั สรร ทาบทามและมอบหมาย หน้าที่ในการดูแล ให้คำ�ปรึกษา พัฒนาและประเมินผลบัณฑิตอาสาในพืน้ ทีข่ องตนเอง นอกจากนี้ข้อเสนอแนะความคิดเห็นของพี่เลี้ยงในพื้นที่ยังเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อ โครงการเพื่อนำ�ไปพัฒนาการทำ�งานอีกด้วย อาจารย์ที่ปรึกษา ให้คำ�แนะนำ�บัณฑิตอาสาในการจัดทำ�โครงการวิจัยและพัฒนาชุมชนอย่างมี ส่วนร่วม และร่วมนิเทศการทำ�งานของบัณฑิตอาสาในพื้นที่ พร้อมทั้งให้คำ�ปรึกษา ในการจัดทำ�สารนิพนธ์หรือชุดความรู้ นักวิชาการ เป็นนักวิชาการทัง้ จากในพืน้ ที่ นักวิชาการในสถาบันการศึกษาและจากหน่วยงานอื่น ซึ่งบัณฑิตอาสาและทีมงานในโครงการเป็นผู้แสวงหา ติดต่อประสานงานเพื่อ ขอคำ�ปรึกษาหรือร่วมแก้ปญ ั หาหรือให้ความช่วยเหลือตามความเชีย่ วชาญเฉพาะสาขา
24
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
ภารกิจ 12 เดือน ภารกิจเพื่อชุมชน ราวเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ (บอ. มอ.) จะเปิดรับสมัครบัณฑิตหนุม่ สาวรุน่ ใหม่จากสาขาวิชาในทุกสถาบัน การศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีใจต่อชุมชน รักการเรียนรู้ และชื่นชอบประสบการณ์ ใหม่ ๆ ในชีวิต เข้าร่วมโครงการฯ จากผู้สนใจร่วมพันคน จะมีเพียง 30 คน เท่านั้นที่ผ่านการคัดเลือกที่เข้มข้น ทั้งในรอบข้อเขียน และรอบเข้าค่ายค้นพบตัวเอง ที่แต่ละด่านจะวัดความสนใจและ ความสามารถของแต่ละบุคคลเพื่อเฟ้นหาบัณฑิตที่มีใจต่องานพัฒนานี้อย่างแท้จริง เพื่อร่วมเป็นหนึ่งใน ‘บัณฑิตอาสา’ แต่ละรุ่น และรับหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างชุมชน กับมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งพัฒนาตนเองสู่บุคคลที่มีศักยภาพต่อไป ระยะเวลา 12 เดือนของการทำ�หน้าที่บัณฑิตอาสาถูกแบ่งเป็น 3 ช่วงสำ�คัญ ได้แก่ 3 เดือนแรกแห่งการเรียนรู้และปรับตัว 3 เดือนต่อมา คือการศึกษาโจทย์ใน ชุมชน และ 6 เดือนสุดท้ายเป็นการแก้ปัญหา/พัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชน ก่อนจะ สรุปเป็นรายงานผลการทำ�งานในช่วงปลายโครงการ
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
25
ทางโครงการฯ ได้ยึดแนวคิด ‘บัณฑิตพลัดถิ่น’ โดยจะจัดสรรพื้นที่ทำ�งานที่แตกต่างจากภูมิลำ�เนาเดิม ของบัณฑิตอาสา มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักพัฒนาแต่ละ รายได้เรียนรู้สิ่งใหม่ในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรม ค่านิยม ตลอดจนสภาพชุมชน เพื่อให้เกิดแนวคิดใหม่ ในการทำ�งาน 3 เดือนแห่งการเรียนรู้และปรับตัว ทันทีที่ ‘บัณฑิตทั่วไป’ ผ่านการคัดเลือกหลายด่านจนได้รับการยอมรับให้เข้า ร่วมเป็น ‘บัณฑิตอาสา’ ในปีนั้น ๆ ก่อนที่บัณฑิตอาสารุ่นใหม่ทั้ง 30 ชีวิตจะได้เลือก และลงสูช่ มุ ชน โครงการฯ ได้เตรียมกิจกรรมปฐมนิเทศเพือ่ เตรียมบัณฑิตอาสาแต่ละ รุ่นให้มีความพร้อมทั้งกาย ใจ และทักษะ โดยขั้นตอนในกิจกรรมปฐมนิเทศใช้ระยะ เวลาร่วมสัปดาห์ อัดแน่นไปด้วยกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การพัฒนาบุคลิกภาพ การ พัฒนากระบวนการคิด การวินจิ ฉัยชุมชน และการทำ�งานท่ามกลางความขัดแย้ง ฯลฯ ในช่ ว งเวลานี้ เ อง ที่ นั ก พั ฒ นาชุ ม ชนหน้ าใหม่ จ ะได้ มี โ อกาสสำ� รวจจิ ตใจ ตนเองอีกครั้งว่ามีความพร้อมมากน้อยแค่ไหนต่อการทำ�งานในเบื้องหน้า นอกจากนี้ ยังเป็นช่วงเวลาที่ทางโครงการจะได้จัดสรรพื้นที่ที่เหมาะสมกับบัณฑิตอาสาแต่ละคน อีกด้วย สำ�หรับการจัดสรรพืน้ ทีก่ ารทำ�งานของบัณฑิตอาสานัน้ ทางโครงการฯ มีพนื้ ที่ ปฏิบัติงานอยู่ในเกือบทุกจังหวัดทั่วภาคใต้ โดยในแต่ละชุมชนจะมีผู้นำ�ชุมชน หรือผู้ที่ ชุมชนให้การยอมรับเป็น ‘พี่เลี้ยงในพื้นที่’ รับหน้าที่ดูแลบัณฑิตอาสาทั้งในเรื่องที่พัก อาหารการกิน พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะต่อการปฏิบัติตัวในชุมชน และการทำ�หน้าที่ บัณฑิตอาสา อย่างไรก็ตาม ทางโครงการฯ ได้ยึดแนวคิด ‘บัณฑิตพลัดถิ่น’ โดยจะ จัดสรรพืน้ ทีท่ ำ�งานทีแ่ ตกต่างจากภูมลิ ำ�เนาเดิมของบัณฑิตอาสา มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ให้ นักพัฒนาแต่ละรายได้เรียนรู้สิ่งใหม่ในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรม ค่านิยม ตลอด
26
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
จนสภาพชุมชน เพื่อให้เกิดแนวคิดใหม่ในการทำ�งานต่อไป เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมปฐมนิเทศ บัณฑิตอาสาเลือดใหม่ไฟแรงที่มีใจทำ�งานจะ ได้รับการนำ�ส่งลงพื้นที่ โดยตัวแทนของโครงการฯ ประกอบด้วยผู้จัดการประจำ�โซน และพี่เลี้ยงภาคสนามจะแนะนำ�บัณฑิตอาสาแก่พี่เลี้ยงภาคสนาม หลังจากฝากฝังส่ง ต่อกันเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ชีวิต 12 เดือนในชุมชนของบัณฑิตอาสาก็เริ่มนับ 1 สู่โลก ใบใหม่ห่างไกลบ้านเกิด 90 วันแรกนี้เองที่หนุ่มสาวแปลกหน้าในชุมชนจะเริ่มมีโอกาสได้เรียนรู้สังคม ใหม่ เริ่มจากการทำ�ความรู้จักกับความเป็นอยู่ร่วมกับพี่เลี้ยงในพื้นที่ จากที่พำ�นักใหม่ ขยายความคุ้นเคยเพิ่มไปยังบ้านใกล้เรือนเคียง จนท้ายที่สุดบัณฑิตอาสาจะต้องรู้จัก กับทุกหลังคาเรือน คำ�ว่า “รู้จัก” ในมุมมองของบัณฑิตอาสา มีความหมายมากกว่าเพียงการรู้ ว่าใครอยูบ่ า้ นไหน หรือเรือนใดมีกคี่ น แต่จากทักษะทีไ่ ด้รบั เมือ่ ครัง้ อบรมเตรียมพร้อม ก่อนลงพืน้ ทีท่ �ำ ให้บณ ั ฑิตอาสาสามารถมองทะลุไปถึงสถานะ การประกอบอาชีพ สภาพ ทางสังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ของแต่ละครัวเรือน อีกทั้งทะลวงไปสู่โอกาส ทีต่ นเองจะได้ใช้ความรูค้ วามสามารถและช่องทางไปสูก่ ารแก้ปญ ั หาหรือพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของชุมชนต่อไป นอกจากการเรียนรู้ชุมชนแล้ว บัณฑิตอาสาซึ่งเริ่มเป็นคนแปลกหน้าในพื้นที่ อาจจะต้องเผชิญกับความไม่คุ้นเคยในความต่างทางวัฒนธรรมหรือภาษา อีกทั้งยัง ต้องผจญกับความเหงาหรือความเป็นอยู่ที่ขาดความสะดวกผิดจากชีวิตเดิม ทั้งหมด นี้จะเป็นปราการด่านแรกในช่วง 3 เดือน ที่จิตใจของหนุ่มสาวเหล่านี้ต้องฝ่าฟันและ เติบโตขึ้น เพื่อพร้อมต่อการปฏิบัติงานในถัดไป 3 เดือนของความคิดวิเคราะห์ หลังจากผ่านพ้นวิกฤติ 90 วัน ของการปรับตัวและเรียนรู้ชุมชนใหม่ไปแล้ว บัณฑิตอาสาจะพบว่าตนเองเริ่มคุ้นเคยและได้รับความไว้วางใจจากคนในพื้นที่ไม่ต่าง กับลูกหลานของตำ�บลนั้น ๆ และเป็นโอกาสให้หนุ่มสาวเหล่านี้เริ่มเห็นช่องทางในการ กระตุ้นประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการวิเคราะห์ชุมชนร่วมกัน
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
27
ขัน้ ตอนนีเ้ องทีบ่ ณ ั ฑิตอาสาจะได้น�ำ เอาความรูเ้ รือ่ งการพัฒนาอย่างมีสว่ นร่วม และการจัดการประชุมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ การทำ�งาน สนับสนุนให้เกิดการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระดมสมองกลั่นกรองความคิด ตลอดจนหนุนเสริมให้ชาว บ้านเริม่ ตระหนักถึงปัญหาใดปัญหาหนึง่ หรือโอกาสในการสร้างเสริมคุณภาพชีวติ โดย ชุมชนเอง แต่มีบัณฑิตอาสาเป็นกองหลัง ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือ นักวิชาการในมหาวิทยาลัย ช่วยสร้างความมัน่ ใจว่าชุมชนสามารถร่วมกันคลายปัญหา ต่าง ๆ ได้ จนในที่สุด ชุมชนจะเริ่มเห็นความสำ�คัญต่อการทำ�โครงการใดโครงการหนึ่ง และตระหนักถึงการมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง 6 เดือนของความทุ่มเท ครึ่งทางแรกผ่านไปกับการเรียนรู้ชุมชน พร้อมทั้งวิเคราะห์ปัญหาหรือโอกาส ในการทำ�โครงการ ครึ่งหลังต่อมาคือการทำ�งานตามแนวทางที่ได้จากการมีส่วนร่วม ของผูเ้ กีย่ วข้องโดยการสนับสนุนจากนักวิชาการและหน่วยงานต่าง ๆ ซึง่ ในส่วนนีเ้ อง ที่บัณฑิตอาสาเริ่มเข้ามามีบทบาทสำ�คัญอย่างเห็นได้ชัด ตามแนวคิ ด ที่ ค วรจะเป็ น บั ณ ฑิ ต อาสาไม่ ใ ช่ ผู้ ที่ จ ะเข้ า ไปแก้ ปั ญ หาใน ชุมชน แต่นักพัฒนารุ่นใหม่เหล่านี้คือผู้จุดประกายให้ท้องถิ่นมองเห็นและตระหนักถึง ปัญหานั้นๆ อย่างจริงจัง ตลอดจนเป็นตัวกลางเชื่อมประสานกับหน่วยงานต่าง ๆ และผลักดันให้ชุมชนไขว่คว้าสู่ทางออกนั้นด้วยตนเอง เคยมีผู้ยกตัวอย่างการทำ�งานของบัณฑิตอาสาไว้อย่างเห็นภาพชัดเจนว่า ‘หากมีชาวบ้านเจ็บป่วย บัณฑิตอาสาไม่ได้มีหน้าที่แบกคนเจ็บไปหาหมอด้วยตนเอง แต่ควรแนะนำ�ว่าชาวบ้านควรไปหาหมออะไร ทีไ่ หน เดินทางอย่างไร เพือ่ ให้เขามีทกั ษะ ติดตัวว่าควรแก้ปัญหาของตนเอง ด้วยตนเองอย่างไร’ บัณฑิตอาสาจึงเป็นเพียงผู้ ชี้แนะหนทางและวิธีการแก้ปัญหาโดยมีหน่วยงานวิชาการอย่างมหาวิทยาลัยและนัก วิชาการเป็นคลังความรู้ เป็นที่ปรึกษา นอกจากนี้ยังต้องคำ�นึงว่าเมื่อบัณฑิตอาสาสิ้น สุดภารกิจ 12 เดือนในชุมชนนั้น ๆ แล้ว กลุ่มแกนนำ�ที่เกี่ยวข้องยังสามารถดำ�เนิน โครงการต่อไปอย่างยั่งยืนได้อีกด้วย
28
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
เคยมีผู้ยกตัวอย่างการทำ�งานของบัณฑิตอาสา ไว้อย่างเห็นภาพชัดเจนว่า ‘หากมีชาวบ้านเจ็บป่วย บัณฑิตอาสาไม่ได้มีหน้า ที่แบกคนเจ็บไปหาหมอด้วยตนเอง แต่ควรแนะนำ�ว่า ชาวบ้านควรไปหาหมออะไร ที่ไหน เดินทางอย่างไร เพื่อให้เขามีทักษะติดตัวว่าควรแก้ปั ญหาของ ตนเอง ด้วยตนเองอย่างไร’
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
29
สานต่ออย่างยั่งยืน ในแต่ละรุ่น โครงการจำ�นวนไม่น้อยที่บัณฑิตอาสาได้ริเริ่มจุดประกายไว้ยังไม่ สามารถเห็นผลได้ในระยะสัน้ หรือหลายโครงการยังสามารถพัฒนาต่อยอดได้อกี หลาย ขั้น ดังนั้นช่วงหนึ่งหรือสองเดือนก่อนสิ้นสุดกำ�หนดการทำ�งานบัณฑิตอาสาจะเริ่ม คิดถึงความเป็นไปได้ในการสานต่อโครงการหรือกิจกรรมให้เห็นผลระยะยาว และ สามารถพัฒนาต่อไปได้อย่างยั่งยืนบนพื้นฐานของการรวมกลุ่มของชุมชนเอง การประชุ ม นำ � เสนอผลการทำ � งานแก่ ชุ ม ชน ตลอดจนหาแนวทางร่ ว ม กันเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องจึงเป็นเรื่องสำ�คัญที่จะช่วยให้โครงการที่ได้ ดำ�เนินไว้ได้รบั การสานต่อด้วยคนในพืน้ ทีเ่ อง อย่างไรก็ตามทาง โคงการฯ ยังได้ก�ำ หนด กิจกรรมติดตามผลและให้การสนับสนุนแต่ละพื้นที่อยู่อย่างสม่ำ�เสมออีกด้วย จะเห็นได้วา่ การทำ�งานทุกขัน้ ทุกตอนของบัณฑิตอาสาอยูบ่ นพืน้ ฐานของการ พัฒนาทั้งสามด้านตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ได้แก่ การพัฒนาศักย-ภาพบัณฑิต ทัง้ ทางด้านทักษะการทำ�งานชุมชน บุคลิกภาพทีเ่ หมาะสมและจริย-ธรรมในการทำ�งาน ร่วมกับผู้อื่น การพั ฒ นาชุ ม ชน โดยชุ ม ชนได้ รั บ การกระตุ้ นให้ ส ามารถรวมกลุ่ ม อย่ า ง เข้มแข็ง จุดประกายให้มองเห็นภาวะคุกคามหรือโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนมีศักยภาพในการทำ�งานร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาบทบาทของมหาวิทยาลัย โดยนักวิชาการและหน่วยงานในสถาบัน การศึกษา รวมถึงหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องได้รับการประสานงานเพื่อร่วมแก้ปัญหาใน ชุมชน เกิดการเรียนรู้ร่วมกันทั้งนักวิชาการ และคนในพื้นที่ ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ และผลประโยชน์ที่เหมาะสมร่วมกันอีกด้วย
30
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
5 รุ่น 94 โครงการ กับผลงานร่วมกับชุมชน การดำ�เนินงานอย่างต่อเนือ่ งของโครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัย สงขลา นครินทร์ ที่ได้เปิดโอกาสให้บัณฑิตได้เรียนรู้ชีวิตจริงในชุมชน เข้าใจความต้องการของ พืน้ ที่ จนพัฒนาโจทย์ปญ ั หาเป็นโครงการพัฒนาเพือ่ ตอบสนองความต้องการของชุมชน เอง การทำ�งานอย่างทุ่มเทตลอดระยะเวลา 12 เดือน ของบัณฑิตอาสารุ่นแล้วรุ่น เล่ า ส่ ง ผลให้ เ กิ ดโครงการและกิ จ กรรมต่ า ง ๆ มากมาย หลายกรณี อ าจจะ สำ�เร็จเห็นผลจนชุมชนสานต่อและยั่งยืนในระยะยาว ในขณะบางกรณีก็เป็นเพียง กิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้แก่ชุมชน ไม่สามารถวัดผลได้ในระยะสั้น อย่างไร ก็ตามทุกโครงการ ทุกกิจกรรมล้วนมีความหมายทั้งต่อบัณฑิตที่ได้รับการพัฒนา ศักยภาพหลายด้าน และต่อชุมชนที่เริ่มเห็นช่องทางสะสางปัญหาได้ชัดเจนมากขึ้น เราจึงพอสรุปผลการดำ�เนินงานทั้ง 94 โครงการและกิจกรรมในชุมชนแยก ออกเป็นประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
31
โครงการหรือกิจกรรมที่มีประเด็นด้านสุขภาพ - กิจกรรมพัฒนาการดูแลสุขภาพตนเองของผูผ้ ลิตหมวกกะปิเยาะห์ บ้าน กะมิยอ ต.กะมิยอ อ.เมือง จ.ปัตตานี โดยนางสาวฟิรดาวส์ เง๊าะ และนายพงศกร วงศ์หงส์ (รุ่นที่ 1) ประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ เช่น สถานีอนามัยกะมิยอ ศูนย์วัณโรคที่ 12 จังหวัดยะลา เข้ามาจัดกิจกรรมเสริมความรู้ด้านสุขภาพแก่ชุมชน ทำ�ให้ชาวบ้าน ตระหนักในเรื่องการดูแลสุขภาพมากขึ้น - กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กเล็ก บ้านอุเป ต.กรงปินงั อ.กรง ปินัง จ.ปัตตานี โดยนายมูฮำ�หมัดอาลี วาเต๊ะ (รุ่นที่ 1) ประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ ให้ความรู้แก่ครูและเด็กเล็ก เช่น สาเหตุของ ฟันผุและการแปรงฟันทีถ่ กู วิธี เมือ่ เสร็จสิน้ โครงการ ครูและผูป้ กครองต่างร่วมกันดูแล ในเรื่องการรับประทานอาหาร เครื่องดื่มและขนมว่างของเด็กมากยิ่งขึ้น เป็นผลให้ เด็กในศูนย์เด็กเล็กมีฟันผุน้อยลง - โครงการส่งเสริมสุขภาพเพือ่ ลดปัจจัยเสีย่ งจากโรคความดันโลหิตสูงของ ชุมชน บ้านปลักแตน ต.ไทรทอง อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี โดยนางสาวปราณี กาเด และ นางสาวมารียะ ตาเยะ (รุ่นที่ 2) ส่งเสริมให้ชาวบ้านทราบถึงปัจจัยเสีย่ งของโรคความดันโลหิตสูงและรูแ้ นวทาง ลดความเสี่ยง จนชาวบ้านเกิดการรวมกลุ่มและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี - โครงการเยาวชนคนทำ�ดี : การส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างวัยเพือ่ ดูแล ผู้ป่วยอัมพาตอัมพฤกษ์ หมู่ที่ 4 บ้านนาค้อใต้ ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี โดย นาวสาวรอฮายู อูเซ็ง (รุ่นที่ 2) กระตุ้ นให้ เ ยาวชนในหมู่ บ้ า นรวมกลุ่ ม และมี โ อกาสเรี ย นรู้ ทั ก ษะการฟื้ น ฟู สมรรถภาพผู้ป่วยอัมพาต-อัมพฤกษ์ จนสามารถนำ�ไปปฏิบัติและสามารถถ่ายทอดให้ กับผู้อื่นได้ และที่สำ�คัญยังสามารถช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างเยาวชน และผู้สูงอายุได้อีกด้วย
32
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
- กิจกรรมศึกษาปัจจัยส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-6 ปี บ้านฮู ยงบาโร๊ะ ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน จ.ยะลา โดยนางสาวสะดีเยาะ จาหลง (รุ่นที่ 2) สร้างการมีส่วนร่วมระหว่างผู้ปกครอง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ�หมู่บ้าน (อสม.) บุคลากรของโรงพยาบาลและชุมชนในการดูแลเฝ้าระวังด้านโภชนาการเด็กอายุ ระหว่าง 0 – 72 เดือน จนเข้าใจปัจจัยเสี่ยงด้านโภชนาการเด็ก และป้องกันได้อย่าง ถูกต้อง - โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กของชุมชน บ้านศาลาแม็ง ต.คลองเฉลิม อ.กงหรา จ.พัทลุง โดยนางสาวเจ๊ะมารีนิง ยามา (รุ่นที่ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างครูพี่เลี้ยงในศูนย์เด็กเล็ก ผู้ปกครอง ร้านค้า และ หน่วยงานท้องถิ่นเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็ก จนเห็นผลการเปลี่ยนแปลง อย่างชัดเจน เช่น เด็กเล็กสามารถปรับเปลีย่ นพฤติกรรมไม่รบั ประทานขนมหวาน และ ขนมขบเคี้ยว รายจ่ายของผู้ปกครองลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจน และร้านค้าในชุมชนลด การขายน้ำ�อัดลมและขนมหวานที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในช่องปาก - กิจกรรมศึกษาข้อมูลผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตเพิ่มเติม โดยอาศัยฐานข้อมูลจากเทศบาล หมู่บ้านสันติสุข อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี โดย นางสาววลีพร หมานระโต๊ะ และนางสาวอามีเนาะ ซาและ (รุ่นที่ 2) ศึกษาข้อมูลผูป้ ว่ ยเรือ้ รังและผูป้ ว่ ยอัมพฤกษ์และนำ�ข้อมูลทีไ่ ด้สง่ ต่อไปยังหน่วย งานสาธารณสุขในพื้นที่เพื่อนำ�ไปใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพคนในชุมชนต่อไป - โครงการการดูแลสุขภาพสตรีสงู อายุทเี่ ป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบา หวานและที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิต บ้านท่ากระจาย ต.ท่าชนะ อ.ท่าชนะ จ.สุราษฎร์ธานี โดยนางสาวพาตือเมาะ อูแล (รุ่นที่ 2) ร่วมมือกับทีมงาน อสม. ส่งเสริมให้เกิดกระแสการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกัน การเกิดโรคความดันโลหิตสูง เช่น การปรับพฤติกรรมการกินและการออกกำ�ลังกาย ที่เหมาะสม - โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กนู รนดีนา ต.เกาะหมาก อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง โดยนางสาวอัญชลี หมัดเลียด (รุน่ ที่ 3) แก้ปญ ั หาสุขภาพช่องปากในเด็กทีศ่ นู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก และสามารถปรับเปลีย่ น พฤติกรรมการบริโภค เช่น ลดการกินขนมที่ไม่มีประโยชน์ มีความสนใจในเรื่องการ
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
33
ดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ ช่องปากของบุตรดีขึ้น - โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการออกกำ�ลังกายของกลุ่มคนรักษ์ สุขภาพ บ้านท่าทองใหม่ ต.ท่าทองใหม่ อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี โดยนางสาว นอรีดา สูหลง (รุ่นที่ 3) ส่งเสริมการทำ�งานแบบมีส่วนร่วมของกลุ่มคนรักษ์สุขภาพและเป็นกลุ่มที่เข้ม แข็ง ที่มีใจรักและตระหนักถึงสุขภาพของตนเองให้มีสุขภาพดี - โครงการป้องกันโรคระบบทางเดินหายใจและโรคที่เกิดจากฝุ่นละออง อย่างมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน บ้านบางสำ�โรง ต.ท่าทองใหม่ อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี โดยนางสาววิไลวรรณ จันทรอุทัย (รุ่นที่ 3) กระตุน้ ให้ชาวบ้านทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากฝุน่ ละอองตระหนักถึงปัญหาสุขภาพที่ อาจเกิดขึ้น มีการป้องกันฝุ่น เช่น คนในชุมชนมีการปิดผ้าปิดจมูก และมีการปลูก ต้นไม้ภายในชุมชน - โครงการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างวัยเพื่อดูแลสุขภาพผูส้ งู อายุ บ้าน ฮูมอลานัส ต.เจ๊ะเห อ.ตากใบ จ.นราธิวาส โดยนางสาวพาอีซะ หะระตี (รุ่นที่ 3) ส่งเสริมให้เยาวชนมีความรูเ้ กีย่ วกับการดูแลสุขภาพผูส้ งู อายุ เยาวชนสามารถ ถ่ายทอดความรู้ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุให้แก่ผู้อื่นในชุมชนได้ อีกทั้งเยาวชนมี ส่วนร่วมในการพัฒนาและทำ�กิจกรรมกับชุมชนอีกด้วย - โครงการศึกษาวิถีชีวิตเพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของชุมชน บ้านตอ แล (กาแฮ) ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน จ.ยะลา โดยนางสาวเจ๊ะรอฮานิม ลอเด็งและ นางสาวซูฮัยดา นาโด (รุ่นที่ 3) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อถ่ายทอดความรู้ในการดูแลสุขภาพ และการออกกำ�ลังกายแก่ผู้สูงอายุ จนสามารถนำ�ไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำ�วันได้ - โครงการการส่งเสริมการออกกำ�ลังกายที่เหมาะสมสำ�หรับผูส้ งู อายุ หมู่ ที่ 2 บ้าน สารวัน ต.ไทรทอง อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี โดยนายอาดัม เจ๊ะอามิ (รุ่นที่ 3) จัดกิจกรรมเพือ่ ฟืน้ ฟูและส่งเสริมการออกกำ�ลังกายทีเ่ หมาะสมสำ�หรับผูส้ งู อายุ โดยถ่ายทอดการรำ�ไม้พลองและรำ�ไทเก๊กให้กับชมรมกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชน
34
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
- โครงการสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพผู้ สู ง อายุ ใ นชุ ม ชนฮู ม อลานั ส หมู่ ที่ 6 ต.เจ๊ะเห อ.ตากใบ จ.นราธิวาส โดยนางสาวยูนัยนะห์ หะยีเจ๊ะมะ (รุ่นที่ 3) ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ สู ง อายุ มี ค วามกระตื อ รื อ ร้ นในการดู แ ลสุ ข ภาพมากขึ้ น และมี พฤติกรรมการบริโภคเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น - โครงการส่งเสริมการออกกำ�ลังกายทีเ่ หมาะสมสำ�หรับผูส้ งู อายุ บ้านสระ บัว อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช โดยนายมัรวาน แวฮามะ (รุ่นที่ 3) กระตุน้ ให้กลุม่ สตรีมสุ ลิมรวมกลุม่ เพือ่ ออกกำ�ลังกาย ทำ�ให้กลุม่ สตรีมสี ขุ ภาพ ดีขึ้น เช่นน้ำ�หนักลดลง จำ�นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น และคนในชุมชนตื่นตัวใน เรื่องของการออกกำ�ลังมากขึ้น - โครงการการฝึกทักษะวอลเลย์บอลเชือ่ มความสัมพันธ์เด็กโรงเรียนบ้าน ลางาสุขภาพดี ห่างไกลยาเสพติด ชุมชนท่าชะมวง ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา โดยนายแวอุเซ็ง ดาโอะ (รุ่นที่ 3) กระตุน้ และสนับสนุนให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านลางามีความสัมพันธ์เชิงบวก และมีความสามารถในการดูแลสุขภาพของตัวเอง โดยใช้กจิ กรรมทางด้านกีฬาเป็นสือ่ กลาง - โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยชุมชนมีส่วนร่วม บ้านป่ากอ ม.5 ต.เทพา อ.เทพา จ.สงขลา โดยนางสาวมารีย๊ะ มนตรี (รุ่นที่ 3) กระตุน้ และสนับสนุนให้ผสู้ งู อายุหนั มาสนใจการดูแลสุขภาพมากขึน้ มีกจิ กรรม การออกกำ�ลังกายและแลกเปลีย่ นความคิดเห็นเกีย่ วกับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนือ่ ง - โครงการกีฬาส่งเสริมสุขภาพเพื่อสร้างเกราะคุ้มกันบ้านฮูมอลานัส อ.ตากใบ จ.นราธิวาส โดยนายอิสมัต มามะ (รุ่นที่ 4) กลุ่มวัยรุ่นให้ความสำ�คัญกับการเล่นกีฬาอย่างสม่ำ�เสมอ เป็นการสร้างเกราะ ภูมิคุ้มกันในกลุ่มวัยรุ่น ทำ�ให้เกิดความสามัคคีและใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ - โครงการการพัฒนารูปแบบและวิธกี ารสร้างความตระหนักของครอบครัว และชุมชนในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดนูรุล อิสลาม บ้านหัวเลน ต.พุมเรียง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี โดยนายอับดุลเลาะ ตีซา (รุ่นที่ 4)
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
35
กระตุน้ ให้เด็กและผูป้ กครองเห็นความสำ�คัญการดูแลสุขภาพช่องปากผูป้ กครอง และศูนย์เด็กเล็กได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก - โครงการส่งเสริมการออกกำ�ลังกายสำ�หรับผู้สูงอายุบ้านพงจือนือเระ ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน จ.ยะลา โดยนางสาวมารีนา หะยีดามะ (รุ่นที่ 4) ส่งเสริมให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของผูส้ งู อายุ ได้รู้ และเข้าใจวิธกี ารบริโภคอาหารและวิธกี ารออกกำ�ลังกายทีถ่ กู ต้อง รวมถึงวิธกี ารป้องกัน โรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน - โครงการส่งเสริมการออกกำ�ลังกายสำ�หรับผูส้ งู อายุบา้ นสวนหมากด้วย ไม้พลอง ต.ท่าข้าม อ.ปะนาเระ จ.ปัตตานี โดยนางสาวนุรฮายาตี ซามะเฮง (รุน่ ที่ 4) ผูส้ งู อายุมคี วามรูเ้ รือ่ งการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิต สามารถปรับเปลีย่ น พฤติกรรมสุขภาพตามนโยบาย 10 อ. และท่าการบริหารร่างกายสำ�หรับผู้สูงอายุ ทำ�ให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี เกิดชมรมผู้สูงอายุ เพื่อการออกกำ�ลัง กายอย่างถูกต้อง - โครงการแกนนำ�สุขภาพจิตและผู้ดูแลผู้พิการในชุมชนบ้านพงจือนือเระ ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน จ.ยะลา โดยนางสาวรูฮานา สุดามิง (รุ่นที่ 4) แกนนำ�สุขภาพจิตและผู้ดูแลผู้พิการในชุมชนรู้และเข้าใจปัญหาสุขภาพจิต สามารถเยียวยาตนเองได้เบือ้ งต้น เกิดการเปลีย่ นแปลงในตนเองและชุมชนได้ทพี่ งึ่ แห่ง ใหม่ในการเยียวยา - โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรังชุมชน แฟลตการเคหะแห่งชาติ อ.หาดใหญ่ ต.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดยนางสาวพัชรี โค แหละ (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสา และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแฟลตร่วมกัน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การกินและการดูแลสุขภาพของผูส้ งู อายุ จำ�นวน 129 คน โดยการออกกำ�ลังกายเล่น โยคะ สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ต่อมาผู้สูงอายุ และ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง บางส่วนยอมรับว่า สุขภาพของตนเองดีขึ้นมากกว่าเดิมจากเมื่อก่อน เช่น ผู้ป่วยที่ปวดเข่ามีอาการดีขึ้น พร้อมทั้งยังสามารถพัฒนาแกนนำ� 2 คน เพื่อสานต่อโครงการอย่างต่อเนื่อง
36
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
- โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ความดันโลหิตสูง หมู่ 4 บ้านนาค้อใต้ ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี โดยนางสาว พาตีเมาะ ดวงจินดา (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสาร่วมกับพี่เลี้ยงและอาสาสมัครหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ กินของผูท้ มี่ คี วามเสีย่ งต่อโรคความดันโลหิตสูง เช่น ลดอาการเบาหวาน มัน ส่งเสริม การออกกำ�ลังกายด้วยไม้พลองและกะลา จากการติดตามพบว่าผู้ที่มีความเสี่ยง 13 คน ใน 20 คน มีสุขภาพที่ดีขึ้นและอาสาสมัครหมู่บ้านร่วมดำ�เนินโครงการต่อ - โครงการศึกษาพฤติกรรมเด็กขาดสารอาหาร อายุ 3-5 ปี ในศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กนูรุลยาบาล หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ ต.มูโนะ อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส โดย นางสาวซากีเต๊าะ วามะ (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสา ผู้ปกครองของเด็กจำ�นวน 26 คน และพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนา เด็กเล็กนูรุลยาบาล ร่วมกันพัฒนาการมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนทัศนคติและ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็ก โดยการอบรมให้ความรู้และสาธิตการประกอบ อาหาร เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการเด็ก อีกทั้งยังสามารถเชื่อมโยงให้มี เครือข่ายกับสถานีอนามัยตำ�บลมูโนะ ในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่อ - โครงการส่งเสริมสุขภาพผูส้ งู อายุดว้ ยศาสนบำ�บัด (ฟังธรรม) บ้านปลัก แตน ต.ไทรทอง อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี โดย นางสาวมูนีเราะ อูมา (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสา กลุ่มอาสาสมัครประจำ�หมู่บ้าน และผู้สูงอายุ จำ�นวน 50 คน ได้ขบั เคลือ่ นกิจกรรม ประสานกับผูน้ �ำ ศาสนาในชุมชนมาถ่ายทอดความรูเ้ รือ่ ง คำ�สอน ของศาสนาอิสลามต่างๆ เช่น ข้อปฏิบัติในการเป็นบ่าวที่ดี ผลบุญของผู้ที่ปฏิบัติตาม หลักศาสนาอย่างเคร่งครัด ทุกวันเสาร์ของสัปดาห์ จากการติดตามพบว่า ผู้สูงอายุ ร้อยละ 70 มีสุขภาพทางจิตใจที่ดีขึ้น เช่น มีเสียงหัวเราะ ทั้งนี้ยังมีกลุ่มอาสาสมัคร ประจำ�หมู่บ้านและประชาชนในชุมชนร่วมขับเคลื่อนกิจกรรมต่อกิจกรรมต่อ
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
37
- โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยงและการควบคุมโรคเบาหวานบ้านปลักแตน ต.ไทรทอง อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี โดย นางสาวซูฮาดา สาและ (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสา ครูพเี่ ลีย้ งในพืน้ ทีโ่ รงพยาบาลไม้แก่น และกลุม่ อาสาสมัครประจำ� หมูบ่ า้ น ร่วมกันปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการบริโภคอาหารและส่งเสริมการออกกำ�ลังกาย ของกลุ่มที่มีแนวโน้มเป็นโรคเบาหวาน และกลุ่มเป็นโรคเบาหวานจำ�นวน 25 คน โดย การอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนสุขภาพและการออกกำ�ลังกาย เช่น การบริหาร ร่างกายด้วยท่าฤาษีดัดตน การนวดฝ่าเท้า การกดจุดตามร่างกาย การควบคุมระดับ น้ำ�ตาล จากการติดตามและประเมินผล กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 70 มีสุขภาพร่างกาย ที่ดีขึ้น เช่น ระดับน้ำ�ตาลในเลือดลดลง คลายความปวดเมื่อยของร่างกาย - โครงการศึกษาการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพในผูป้ ว่ ยทีเ่ ป็นโรคความ ดันโลหิตสูงบ้านบูเกะ ต.มูโนะ อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส โดย นางสาวคอลีเยาะ ลาเตะ (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสา ร่วมกับกลุ่มอาสาสมัครประจำ�หมู่บ้าน ได้ขับเคลื่อนโครงการ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพของผูป้ ว่ ยโรคความดันโลหิตสูง โดยการสร้างความเข้าใจ เกีย่ วกับหลักการดูแลสุขภาพร่างกายของผูป้ ว่ ยโรคความดันโลหิตสูง จากการติดตาม อย่างต่อเนื่อง พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 70 มีสุขภาพร่างกายที่แข็ง แรง เช่น ความดันโลหิตอยู่ในระดับปกติ - โครงการศึกษาภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-27 เดือน บ้านฮูยงบาโร๊ะ หมู่ที่ 5 ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน จ.ยะลา โดย นางสาวแวปาตีเมาะ เจะปูเตะ (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสา ครูพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กลุ่มอาสาสมัครประจำ�หมู่บ้าน และผูป้ กครอง ได้รว่ มแก้ปญ ั หาเด็กขาดสารอาหาร โดยการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการ บริโภค เช่น ลดขนมกรุบกรอบ และบริโภคอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ จากการดำ�เนินกิจกรรม พบว่า ร้อยละ 70 มีน�้ำ หนักผ่านเกณฑ์ และทางกลุม่ อาสาสมัครรับขับเคลือ่ นกิจกรรม ของโครงการต่อ
38
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
- โครงการส่งเสริมการออกกำ�ลังกายเพือ่ สุขภาพสำ�หรับผูส้ งู อายุบา้ นสวน หมาก ต.ท่าข้าม อ.ปะนาเระ จ.ปัตตานี โดย นางสาวสุไหลา มะนอส (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสา ร่วมกับแกนนำ�อาสาสมัครประจำ�หมู่บ้าน ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ ออกกำ�ลังกาย โดยการใช้ยางยืด จำ�นวน 30 คน สามารถออกกำ�ลังกายอย่างต่อ เนื่อง สัปดาห์ละ 3 วัน ส่งผลทำ�ให้กลุ่มผู้สูงอายุมีจิตใจที่เบิกบาน และมีสุขภาพ ร่างกายที่แข็งแรง - โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการปฏิบัติตัวของกลุ่มแนวโน้มเป็น โรคความดันโลหิตสูงบ้านสวนหมาก ต.ท่าข้าม อ.ปะนาเระ จ.ปัตตานี โดย นางสาว นูรีฮา แวมูซอ (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสา และโรงพยาบาลปะนาเระ ร่วมรณรงค์ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการ บริโภคและการดูแลสุขภาพของกลุ่มแนวโน้มเป็นโรคความดันโลหิตสูง ส่งผลให้ชาว บ้านจำ�นวน 30 คน จากจำ�นวน 45 คน มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ลดเค็ม หวาน มัน และทางโรงพยาบาลได้ทำ�การต่อยอดเป็นแผนปฏิบตั งิ านของฝ่ายเวชปฏิบตั ิ ครอบครัวและชุมชน - โครงการอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญาการใช้กะลาในการดูแลสุขภาพผูส้ งู อายุ บ้าน ฮูยงบาโร๊ะ ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน จ.ยะลา โดย นางสาวนาดียะห์ เจ็ะโซะ (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสา กลุ่มอาสาสมัครประจำ�หมู่บ้าน และแกนนำ�ในชุมชน ได้ส่งเสริม ให้ผู้สูงอายุดูแลสุขภาพโดยการเดินกะลา จำ�นวน 30 คน ทำ�ให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ การนวดกดจุดฝ่าเท้าด้วยกะลา วิธีการเดินกะลาที่ถูกต้อง มีการจัดทำ�ลานกะลาใน ชุมชนจำ�นวน 10 จุด ส่งผลทำ�ให้ผสู้ งู เห็นความสำ�คัญในการออกกำ�ลังกายและยอมรับ ว่าการเดินกะลาทำ�ให้สุขภาพดีขึ้น - โครงการส่งเสริมการออกกำ�ลังกายตามวิถีมุสลิมกลุ่มผู้ป่วยความดัน โลหิตสูงและโรค/เบาหวาน บ้านตาบาปาเร๊ะ ต.เจ๊ะเห อ.ตากใบ จ.นราธิวาส โดย อัสรี สะนิ (รุ่นที่ 5)
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
39
บัณฑิตอาสา ร่วมกับกลุ่มอาสาสมัครประจำ�หมู่บ้าน ช่วยกันปรับเปลี่ยน พฤติกรรมควบคุมโรคเรื้อรัง โดยมีการออกกำ�ลังกายด้วยผ้าขนหนู 40 คน 3 วันต่อ สัปดาห์ ต่อมากิจกรรมได้รบั การยอมรับจากคณะกรรมการผูน้ ำ�ศาสนามัสยิดยาแม๊ะ อำ�เภอตากใบ และจัดตั้งเป็นชมรมออกกำ�ลังกายของมุสลิมแห่งแรกในอำ�เภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส “ร่วมใจต้านภัยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน” ขยายสูช่ มุ ชน มุสลิมอื่นๆ - โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดอัตราการเกิดโรคและลด เสีย่ งต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชน ตาบาปาเร๊ะ ต.เจ๊ะเห อ.ตากใบ จ.นราธิวาส โดยนายมูฮัมหมัด เจ๊ะดอเล๊าะ (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสา ร่วมกับอาสาสมัครประจำ�หมู่บ้านได้ขับเคลื่อนโครงการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำ�นวน 20 คน โดยการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการบริโภคอาหารที่เหมาะสม จาก การติดตามพบว่า กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 70 มีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น และอาสาสมัคร รับเป็นแกนนำ�ในการดำ�เนินโครงการต่อสุขภาพดีขึ้น - โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพปากและฟันของเด็กปฐมวัย (ช่วง อายุ 3-5 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาค้อใต้ ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี โดย นางสาวฟาตีมะฮ์ เจะยิ (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสา ครูพเี่ ลีย้ งในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ผูป้ กครอง และกลุม่ อาสาสมัคร ประจำ�หมู่บ้าน ร่วมปลูกฝังพฤติกรรมการดูแลความสะอาดช่องปากของเด็ก จากการ ติดตามพบว่า ผู้ปกครองมีความรู้เพิ่มมากขึ้นจากเดิมร้อยละ 40 เป็นร้อยละ 70 และเด็กสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มที่มีประโยชน์ เช่น ไม่บริโภคขนมกรุบกรอบ - โครงการคลินิกลดน้ำ�หนักเพื่อสุขภาพบ้านแหลมหญ้า ต.บางน้ำ�จืด อ.หลังสวน จ.ชุมพร โดยนายพรพิงค์ โลจลไพบูรณ์ (รุ่นที่ 5)
40
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
การทำ�งานร่วมกันระหว่างบัณฑิตอาสา อาจารย์ในมหาวิทยาลัยและเจ้าหน้าที่ สถานีอนามัยบ้านแหลมหญ้าสามารถดำ�เนินโครงการโดยการออกกำ�ลังกายด้วยยาง ยืดและห่วงฮูลาฮูป ทำ�ให้ทกุ ฝ่ายเกิดฝ่ายเกิดความตระหนักในปัญหาของโรคทีเ่ กิดจาก ความอ้วนในชุมชน และขยายผลสู่หมู่บ้านใกล้เคียงได้เป็นผลสำ�เร็จ
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
41
โครงการหรือกิจกรรมที่มีประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม - โครงการส่งเสริมเยาวชนอนุรักษ์สมุนไพร บ้านศาลาแม็ง ต.คลองเฉลิม อ.กงหรา จ.พัทลุง โดยนางสาวอามีเนาะ บาระตายะ (รุ่นที่ 2) ประสานงานกับโครงการครอบครัวเข้มแข็งจัดกิจกรรมเสริมความรู้เรื่อง สมุนไพรในหมู่บ้านแก่เยาวชนในพื้นที่ - โครงการการจัดการขยะหน้าบ้านในชุมชนอย่างมีส่วนร่วมของเยาวชน บ้านบาตูปเู ต๊ะ ต.เกาะลิบง อ.กันตัง จ.ตรัง โดยนางสาวกัญนภัสน์ จันทร์ทอง (รุน่ ที่ 2) สร้างกระบวนการทำ�งานให้เยาวชน ชาวบ้าน ผู้นำ�ในชุมชนเห็นความสำ�คัญ และตื่นตัวในเรื่องการจัดการขยะ - โครงการการจัดการขยะอย่างมีส่วนร่วม บ้านร่อน ต.เขาแก้ว อ.ลาน สกา จ.นครศรีธรรมราช โดยนางสาวอภิรดี มาลายา (รุ่นที่ 2) จัดกิจกรรมให้ครูและนักเรียนเกิดความรูแ้ ละเห็นความสำ�คัญในเรือ่ งการจัดการ ขยะ จนเกิดโครงการธนาคารขยะขึ้นในโรงเรียน - โครงการชมรมวัยใสร่วมใจพัฒนา บ้านเกาะมุกด์ ต.ประสงค์ อ.ท่าชนะ จ.สุราษฎร์ธานีโดยนางสาวอารีย์ คงรอด และนางสาวไซนะ สาอิ (รุ่นที่ 2) กระตุ้นให้เยาวชนและชุมชนตื่นตัวและเห็นคุณค่าของผักพื้นบ้านและพืช สมุนไพรในท้องถิ่นมากขึ้น ส่งผลให้เกิดศูนย์เรียนรู้พืชพื้นบ้านขึ้น ณ โรงเรียนบ้าน เกาะมุกด์ เพื่อใช้เป็นสถานที่ศึกษาและรวบรวมพืชพื้นบ้านในชุมชน - โครงการการมีส่วนร่วมฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน บ้านถ้ำ�เล่ย์ ต.คลองชะอุ่น อ.พนม จ.สุราษฎร์ธานี โดยนางสาวหยาดพิรุณ ทอง จันทร์ (รุ่นที่ 2) ส่งเสริมให้ชมุ ชนตระหนักถึงสาเหตุของปัญหาทีท่ ำ�ให้แหล่งน้�ำ เสือ่ มโทรม และ เล็งเห็นถึงผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ต่อแหล่งน้ำ�ของชุมชน ส่งผลให้เกิดการรวมตัวกันแก้ไข ปัญหาและร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชนขึ้นอีกครั้งหนึ่ง โดยชุมชนยังได้กำ�หนด หลักเกณฑ์ตา่ งๆ ขึน้ มาเพือ่ ใช้ในการคุม้ ครองป่าทีเ่ หลืออยูแ่ ละป่าทีป่ ลูกเพิม่ เติมอีกด้วย - โครงการการเสริมสร้างศักยภาพกลุ่มเยาวชนในการมีส่วนร่วมอนุรักษ์
42
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
สิ่งแวดล้อมลุ่มน้ำ�คลองยัน บ้านปากหาร ต.บ้านยาง อ.คีรีรัฐนิคม จ.สุราษฎร์ธานี โดยนายญัตติพงศ์ แก้วทอง (รุ่นที่ 2) จากความต้องการของเยาวชนในพื้นที่ที่ได้มองเห็นสภาพแวดล้อมในลุ่มน้ำ� เปลีย่ นแปลงไป บัณฑิตอาสาจึงได้สร้างกระบวนการทำ�งานอย่างมีสว่ นร่วมจนเกิดเป็น กิจกรรมการอนุรักษ์ลุ่มน้ำ�ฯ ขึ้น - โครงการเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนหลักสูตรท้องถิน่ ของกลุม่ อนุรกั ษ์พนั ธุพ์ ชื บ้านสระขาว ต.ละแม อ.ละแม จ.ชุมพร โดยนางสาวขนิษฐา มานะ การ (รุ่นที่ 2) ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายในพื้นที่เห็นความสำ�คัญและร่วมกำ�หนดหลักสูตรการเรียน การสอนในท้องถิ่นเพื่อการอนุรักษ์พันธุ์พืช - โครงการยุวมัคคุเทศก์เรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ บ้านปากบารา ต.ปากน้ำ� อ.ละงู จ.สตูล โดยนางสาวเมษยา มะประสิทธิ์ (รุ่นที่ 3) ทำ�ให้เยาวชนในชุมชนสามารถเรียนรู้เรื่องราวชุมชนของตนเองมากขึ้น เกิด ชมรมยุวมัคคุเทศก์ภายในโรงเรียนบ้านปากบารา กลุ่มผู้นำ�ชุมชนและคนในชุมชนหัน มาให้ความสำ�คัญในเรื่องการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ภายในชุมชน - โครงการส่งเสริมอนุชนเรียนรูก้ ารงานอาชีพและสิง่ แวดล้อม บ้านคูเหนือ ต.คลองเฉลิม อ.กงหรา จ.พัทลุง โดยนายมูฮัมหมัดรุสดี นาคอ (รุ่นที่ 3) รวมกลุม่ เยาวชนและส่งเสริมเรียนรูก้ ารงานอาชีพและสิง่ แวดล้อม จนเกิดพืน้ ที่ สาธิตการเรียนรู้การงานและสิ่งแวดล้อม เช่น แปลงเกษตรสาธิต และบ่อเลี้ยงปลาดุก - โครงการศึกษาพันธ์สัตว์น้ำ�และอาหารธรรมชาติที่ปลากินในทะเลทราบ สงขลาตอนกลางของเยาวชน บ้านช่องฟืน ต.เกาะหมาก อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง โดย นางสาวฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ (รุ่นที่ 3) กระตุน้ ให้เยาวชนบ้านช่องฟืนได้รจู้ กั สัตว์น้ำ�ทีไ่ ด้ในทะเลสาบตอนกลาง ได้รว่ ม ดูแลรักษาน้ำ�ในทะเลสาบ เพื่อทำ�ให้อาหารในทะเลเพิ่มขึ้นและคนในชุมชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการปล่อยของเสียลงสู่แหล่งน้ำ� - โครงการส่งเสริมการจักสานและเย็บจากโดยใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ในชุมชน บ้านคลองลำ�ชาน อ.นาโยง จ.ตรัง โดยนางสาวอมรพรรณ คงชู (รุ่นที่ 3)
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
43
สร้างความตระหนักในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติของคนในชุมชน เยาวชน ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีสว่ นร่วมในการสืบทอดภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ งานจักสาน เป็นที่รู้จักมากขึ้น จนในที่สุดเกิดกลุ่มเยาวชนรักษ์จักสานชุมชนคลองลำ�ชาน - โครงการวิจัยและพัฒนากระบวนการเด็กและเยาวชนในการจัดการ ปัญหามลพิษทางน้ำ�คลองท่าทอง ต.ท่าทองใหม่ อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี โดยนางสาวมารียะห์ โหรา (รุ่นที่ 4) นักเรียนกลุ่มอนุรักษ์โรงเรียนบ้านบางสำ�โรงทำ�ให้เยาวชนได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการดูแลคลองท่าทองใหม่ เยาวชนได้ทราบสภาพน้ำ�คลองท่าทองใหม่ว่ายังอยู่ใน ระดับพอใช้ ได้สะท้อนสภาพปัญหาให้ทาง อบต.ท่าทองใหม่ และเทศบาลท่าทองใหม่ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ และชุมชนได้เฝ้าระวังสภาพน้ำ�คลองท่าทองใหม่ - โครงการปากน้ำ�สดใสชุมชนใส่ใจสิ่งแวดล้อม บ้านปากบาง ต.เทพา อ.เทพา จ.สงขลาโดยนางสาวสุไรณี ตาเห (รุ่นที่ 4) คณะกรรมการชุมชนมีความรู้เรื่องแนวคิดอิสลามกับการจัดการสิ่งแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะ การรักษาความสะอาดของชุมชน จนสามารถ ทำ�ให้ขยะในชุมชนลดลง - โครงการการจัดการขยะชุมชนเชิงบูรณาการบ้านบางติบ ต.บางวัน อ.คุระบุรี จ.พังงา โดยนางสาววาสนา สูน่าหู (รุ่นที่ 4) กระตุ้นให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะ โดยการวางเตาเผา เพือ่ ป้องกันการกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสุขภาพของคนในชุมชน ซึง่ ทำ�ให้คนในชุมชน มีความรู้และสามารถคัดแยกขยะได้ - โครงการปลูกพืชผักสวนครัว บ้านช่องฟืน ต. เกาะหมาก อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง โดยนางสาวบุปผา บุญพรหม (รุ่นที่ 4) ในชุมชนเกิดครอบครัวตัวอย่างด้านเกษตรอินทรย์ 20 ครัวเรือน และคนใน ชุมชนมีความตืน่ ตัวและได้ใช้ประโยชน์จากการปลูกผักสวนครัว นอกจากนีบ้ ณ ั ฑิตอาสา นำ�เด็ก ๆ เดินเก็บขยะในชุมชน - โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มลางาเอกภาพด้วยเกษตร อินทรีย์ บ้านลางา ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา โดยนายแคมิง เจะและ (รุ่นที่ 4)
44
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
กลุ่มเยาวชนมีแนวทางในการดำ�เนินงาน ได้เลี้ยงปลาดุกและเพาะถั่วงอก มี กิจกรรมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง และทำ�ให้เยาวชนเห็นคุณค่าตัวเองและเพื่อนในกลุ่มมาก ขึ้น นอกจากนี้ได้มีการเชื่อมต่อทำ�งานร่วมกับทีมงาน สกว. สงขลา - โครงการศึกษาและพัฒนาสมุนไพรบ้านกำ�พวน ต.กำ�พวน อ.สุขสำ�ราญ จ.ระนอง โดยนางสาวนัสรินทร์ แซสะ (รุ่นที่ 4) สร้างการเรียนรู้รว่ มกันของเยาวชนในการศึกษา รวบรวม และทดลองแปรรูป สมุนไพรทีม่ อี ยูใ่ นชุมชนบ้านกำ�พวน เช่น สบูจ่ ากมะขาม และจัดกิจกรรมร่วมกับสภา วัฒนธรรม ต.กำ�พวน ในการทำ�ดอกไม้ใบเตยหอมจนสามารถขึ้นทะเบียนเป็น วัฒนธรรมของ ตำ�บลกำ�พวน อำ�เภอสุขสำ�ราญ จังหวัดระนอง - โครงการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์พื้นที่บ้านปากบารา ต.ปากน้ำ� อ.ละงู จ.สตูล โดยนายสัญชัย บือราเฮง (รุ่นที่ 4) กลุม่ ท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ในชุมชนได้รบั ความรูเ้ รือ่ งการบริหารจัดการท่องเทีย่ ว เชิงอนุรักษ์ ได้มีการวางรูปแบบของกระชังปลาเพื่อเป็นสถานที่ท่องเที่ยว มีการ ประชาสัมพันธ์โครงการในงานบาราฟิชชิ่งคับ ในรูปแบบการแจกโบรชัวร์ และจัดทำ�ไว นิลประชาสัมพันธ์ นอกจากนี้ได้ชักชวนเยาวชนเก็บขยะบริเวณชายหาดบ้านปากบา รา และมีการเขียนชื่อพันธุ์ไม้ในบริเวณป่าจากของชุมชนเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ระบบ นิเวศและใช้เป็นที่ท่องเที่ยวของชุมชน ปัจจุบันทางกลุ่มสามารถรับนักท่องเที่ยวได้ - โครงการเตาอบพลังงานแสงอาทิตย์บา้ นหลักเหล็ก ต.ปากทรง อ.พะโต๊ะ จ.ชุมพร โดย นางสาวธนิดา รัตนสุวรรณ (รุ่นที่ 4) ศึกษารูปแบบของเตาอบที่เหมาะสมกับชุมชน ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการเลือก รูปแบบเตาอบที่ตรงกับความต้องการและเหมาะสมกับสภาพชุมชนบ้านหลักเหล็ก - โครงการศึกษาพัฒนาการมีสว่ นร่วมในการดูแลรักษาเขตอนุรกั ษ์พนั ธุส์ ตั ว์ น้ำ�ชุมชนเทศบาล ต.ปากพะยูน อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง โดยนายพัทพงษ์ หวันประ รัตน์ (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสาร่วมกับแกนนำ�ชุมชน 8 คน พัฒนาการมีส่วนร่วมในการดูแล รักษาเขตอนุรักษ์สัตว์น้ำ� โดยการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการการดูแลรักษา
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
45
อีกทั้งสามารถเชื่อมโยงให้มีเครือข่ายกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อการเสริมสร้างความ รู้ด้านวิชาการในการขับเคลื่อนกิจกรรม - โครงการการจัดการขยะในชุมชนเทศบาล ต.ปากพะยูน อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง โดย นายรชดี้ บินหวัง (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสาขับเคลื่อนโครงการร่วมกับเทศบาล ต.ปากพะยูนและเยาวชนต้น กล้า ช่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการจัดการขยะในครัวเรือนของคนในชุมชน จน สามารถสร้างแกนนำ�อาสารุ่นแรกได้ 20 ครัวเรือน และทุกครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ พร้อมนำ�ขยะอินทรียม์ าทำ�น้�ำ หมักชีวภาพ ต่อมาได้รบั การสานต่อโครงการโดยเทศบาล ตำ�บลปากพะยูนให้มีการพัฒนาแกนนำ�จัดการขยะรุ่นที่ 2 อีก 20 ครัวเรือน
46
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
โครงการหรือกิจกรรมทีม่ ปี ระเด็นด้านเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของกลุม่ - กิจกรรมถอดบทเรียนประสบการณ์กลุม่ เลีย้ งปลาทับทิมและกลุม่ ทำ�ยาง แผ่น บ้านทุ่งเค็จ ต.ปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี โดยนางสาวกูรอฮานิง ปิ และ นางสาวกัลโซม มะ (รุ่นที่ 1) ส่งเสริมให้กลุ่มอาชีพทั้งสองกลุ่มเกิดการทบทวนการทำ�งานของตนเอง เพื่อ พิจารณาถึงปัญหาและช่องทางในการพัฒนา จนสามารถหาแนวทางการแก้ไขปัญหา ร่วมกันได้ อีกทั้งยังเพิ่มสายสัมพันธ์ของชาวบ้านในชุมชนได้อีกด้วย - กิจกรรมศึกษาคุณค่าของลวดลายผลิตภัณฑ์จากกระจูดของกลุม่ แม่บา้ น สานผลิตภัณฑ์กระจูด บ้านทอน ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส โดย นางสาว ดารณี อีลา และนางสาวแวรอฮานา แปเฮาะอีเล (รุ่นที่ 1) กระตุ้นให้ชาวบ้านศึกษาลายกระจูดและสามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ได้ - กิ จ กรรมรวมกลุ่ ม แม่ บ้ า นสร้ า งอาชี พ เสริ ม รายได้ บ้ า นฮู ม อลานั ส ต.เจ๊ะเห อ.ตากใบ โดยนางสาวรูซณานี ลือแบซา และนางสาวอาอีซะห์ สาและ (รุน่ ที่ 1)
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
47
รวมกลุ่มชาวบ้านผลิตโรตีกรอบเพื่อจำ�หน่ายสร้างรายได้เสริมแก่ครอบครัว และยังช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีของคนในชุมชน - โครงการพัฒนาความเข้มแข็งของกลุม่ แม่บา้ นทำ�ผลิตภัณฑ์เปลือกหอย ชักตีน บ้านโคกสะท้อน ต.เกาะลิบง อ.กันตัง จ.ตรัง โดยนายอับดุลคอวี เจ๊ะโอ๊ะ (รุ่น ที่ 1) ส่งเสริมชาวบ้านให้เกิดการรวมกลุ่มเพื่อสร้างอาชีพเสริมจากเปลือกหอยชัก ตีน เช่น ดอกไม้ ของที่ระลึก ทำ�ให้สมาชิกในกลุ่มมีรายได้เสริม โดยโครงการดังกล่าว มีหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาสนับสนุน เช่น มูลนิธิศุภนิมิตสนับสนุนอุปกรณ์ในการผลิต ดอกไม้ เป็นต้น - กิจกรรมพัฒนาความเข้มแข็งของกลุ่มปลูกพืชผักปลอดสารพิษ บ้าน คลองใหญ่ใต้ ต.คลองเฉลิม อ.กงหรา จ.พัทลุง โดยนางสาวอาซีซะ๊ และมินา (รุน่ ที่ 1) เสริมความรู้ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม ช่วยให้ชาวบ้านใช้พื้นที่ของตนเองให้ เกิดประโยชน์มากขึ้นโดยการหันมาปลูกผักกินเองและขายในหมู่บ้าน นอกจากนี้ยัง ประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน เช่น นักวิชาการ จากมหาวิทยาลัยและเจ้าหน้าที่จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ลงพื้นที่ให้คำ�ปรึกษา ด้านการเกษตร จนกลุ่มฯ สามารถดำ�เนินการได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน จนเป็นต้น แบบการดำ�เนินงานแก่พื้นที่อื่นได้ - กิจกรรมพัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มกองทุนฟื้นฟูพัฒนาอาชีพและ กองทุนการศึกษาชุมชน บ้านปากเตรียม ต.คุระ อ.คุระบุรี จ.พังงา โดยนายอานัติ หวังกุหลำ� และนางสาวขนิษฐา หะยีมะแซ (รุ่นที่ 1) คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการกลุ่มกองทุนฟื้นฟูพัฒนาอาชีพและได้ใช้ ประโยชน์อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังสามารถประสานงานให้ความช่วยเหลือเยาวชน ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ธรณีพิบัติสึนามิให้ได้รับสิทธิตามที่ควรได้รับ - โครงการสืบสานภูมิปัญญาจักสานและทดลองแก้ปัญหาการขึ้นราใน ผลิตภัณฑ์จักสานของกลุ่มจักสานบ้านทุ่ง ต.ท่าข้าม อ.ปะนาเระ จ.ปัตตานี (รุ่นที่ 2) โดยนางสาวเจ๊ะ นุรุหดา ยามา กระตุน้ ให้ชาวบ้านและเยาวชนได้รว่ มกันหาวิธกี ารแก้ปญ ั หาการขึน้ ราในเครือ่ ง จักสานผ่านกระบวนการทดลองต่าง ๆ จนสามารถหาทางออกได้ นอกจากนี้ชุมชน
48
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
และเยาวชนในโรงเรียนยังได้ร่วมสืบสานภูมิปัญญาการจักสานอีกด้วย - โครงการฟื้ น ฟู ศั ก ยภาพการปลู ก แตงโมปลอดสารพิ ษ ต.เกาะสุ ก ร อ.ปะเหลียน จ.ตรัง โดยนางสาวปัตตีเมาะ หูเขียว (รุ่นที่ 2) ส่งเสริมให้ชาวบ้านรวมกลุ่ม และตระหนักในการทำ�งานร่วมกัน - โครงการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพความเข้มแข็งของกลุม่ ประมงออม ทรัพย์ บ้านสระบัว ต.ท่าศาลา อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช โดยนางสาวศิริษา โต๊ะ ปะ (รุ่นที่ 2) เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนในการพัฒนาศักยภาพในการดำ�เนิน งานของกลุม่ ออมทรัพย์ชุมชน หลังจากผ่านกระบวนการทำ�งานอย่างมีสว่ นร่วมแล้ว กรรมการและสมาชิกสามารถดำ�เนินงานกลุ่มออมทรัพย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ชาวบ้านยังสามารถพึ่งพิงทางกลุ่มเมื่อยามเดือดร้อนได้ - โครงการศึกษาแนวทางการผลิตอาหารปลาทับทิมจากวัตถุดบิ ในท้องถิน่ และแสวงหาตลาด กลุม่ เลีย้ งปลาในกระชังแม่น�้ำ เทพา อ.เทพา จ.สงขลา โดยนางสาว รุสวีรา เส็ง (รุ่นที่ 3) ทำ�ให้กลุม่ เลีย้ งปลาทับทิมสามารถผลิตอาหารปลาโดยใช้วตั ถุดบิ ทีม่ อี ยูใ่ นชุมชนได้ - โครงการศึกษาและพัฒนาระบบการบริหารการจัดการสหกรณ์ร้านค้า ของสหกรณ์ร้านค้า หมู่ 5 บ้านบาราเฮาะ ตำ�บลปูยุด อำ�เภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยนายวันชาติ มาทา (รุ่นที่ 3) สนับสนุนให้ชุมชนศึกษาและเข้าใจระบบการบริหารการจัดการสหกรณ์ร้านค้า ได้และสามารถนำ�ความรูด้ งั กล่าวมาประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสมของชุมชนด้วยตัวเอง - โครงการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพสตรีและเยาวชน (ผลิตเครื่องแกง) เพื่อการพัฒนา ชุมชนบางแดด หมู่ที่ 7 ตำ�บลแม่นางขาว อำ�เภอคุระบุรี จังหวัด พังงา โดยนางสาวสุภาพร สาแม (รุ่นที่ 3) กระตุ้นให้เกิดการรวมกลุ่มเพื่อผลิตเครื่องแกงจำ�หน่ายในหมู่บ้านของตัวเอง และหมูบ่ า้ นใกล้เคียง นอกจากนีค้ นทีป่ ลูกวัตถุดบิ ทีใ่ ช้ในการทำ�เครือ่ งแกง เช่น ตะไคร้ พริก ขมิน้ สามารถนำ�วัตถุดบิ มาขายให้กบั กลุม่ เครือ่ งแกง สร้างชือ่ เสียงให้กบั ชุมชน และสามารถเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนอื่นๆ
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
49
- โครงการศึกษาและจัดตั้งกลุ่มผลิตของชำ�รวยเพื่อพิธีแต่งงาน ต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานีโดยนายอดุลย์ ดารากัย (รุ่นที่ 3) กระตุ้นให้เกิดการรวมตัวเพื่อผลิตของชำ�ร่วย และจำ�หน่ายได้ - โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเยาวชนผูส้ บื สาน มหาวิทยาลัยสไตล์ ชีวิต ชุมชนเขาคราม ต.เขาคราม อ.เมือง จ.กระบี่ โดยนายมีเดียน จูมะ (รุ่นที่ 3) สามารถฟื้นฟูสภาผู้นำ�เยาวชนตำ�บลเขาครามให้เกิดขึ้นใหม่ได้และพัฒนา ศักยภาพของสภาผู้นำ�เยาวชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน - โครงการส่ ง เสริ ม กลุ่ ม ปุ๋ ย หมั ก เยาวชน บ้ า นปากหาร ต.บ้ า นยาง อ.คีรีรัฐนิคม จ.สุราษฎร์ธานี โดยนายอภิเชษฐ์ ศิริวัฒน์ (รุ่นที่ 3) ก่อตั้งกลุ่มชาวบ้าน และเชื่อมชุมชนกับนักวิชาการและหน่วยงานในท้องถิ่น และมีการนำ�เอาความรูจ้ ากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุม่ ปุย๋ หมัก ไปผลิตปุย๋ หมักใช้เอง เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ - โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบการกระจายผลิตภัณฑ์อาหารชุมชน กลุ่มพัฒนาสตรี บ้านบางเบน ต.ม่วงกลวง อ.กะเปอร์ จ.ระนอง โดยนางสาวรีสัน กาเจ (รุ่นที่ 4)
50
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
กลุ่มพัฒนาสตรีบ้านบางเบนมีความรู้เบื้องต้นในการบริหารจัดการกลุ่มและ ระบบบัญชีของกลุ่ม มีช่องทางการกระจายสินค้าเพิ่มขึ้น จนสามารถสร้างรายได้ให้ กับกลุ่มเพิ่มขึ้น - โครงการศึกษาทางเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับสตรีและกลุ่มแม่บ้านบ้าน ชีมี ต.กะเปอร์ อ.กะเปอร์ จ.ระนอง โดยนางสาวรูสนา เซ็ง (รุ่นที่ 4) ศึกษาทรัพยากาทางธรรมชาติของบ้านชีมจี นสามารถสร้างเป็นปฏิทนิ ทรัพยากร ชุมชน ทดลองผลิตอาหารจากวัตถุดบิ ในชุมชนตามฤดูกาล จนได้สนิ ค้าทีส่ ามารถสร้าง รายได้และเป็นอาชีพเสริมให้กับกลุ่มแม่บ้าน - โครงการส่งเสริมอาชีพเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสวนหมาก ต.ท่าข้าม อ.ปะนาเระ จ.ปัตตานี โดยนางสาวนุรไอดา สะมะแอเจ๊ะมะ (รุ่นที่ 4) คนในชุมชนได้รับความรู้เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการทำ�บัญชีครัว เรือน เกิดการจัดตั้งกลุ่มสมาชิกส่งเสริมอาชีพเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสวนหมากที่ ชัดเจนขึน้ ในชุมชน รวมถึงเกิดผลิตภัณฑ์ขน้ึ ในชุมชน อาทิ น้�ำ ยาล้างจาน น้�ำ ยาซักผ้า - โครงการศึกษาและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ประมงพื้นบ้าน บ้านสำ�นัก ต.ม่วงกลวง อ.กะเปอร์ จ.ระนอง โดยนายมูฮัมหมัดสรูย์ สาแม็ง (รุ่นที่ 4) เยาวชนในชุมชนได้เข้ามามีสว่ นร่วมในการเรียนรูแ้ ละใช้ประโยชน์จากศูนย์เรียน รู้ประมงพื้นบ้านบ้านสำ�นักมากขึ้น - โครงการส่งเสริมอาชีพการทำ�ขนมพื้นบ้านของกลุ่มสตรีชุมชน บ้าน ท่าช้าง ต.ไทรทองอ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี โดยนางสาวนูรนาบีฮ๊ะ เว๊าะบ๊ะ (รุ่นที่ 4) เกิดการจัดตัง้ กลุม่ สตรีขนึ้ ในชุมชน โดยกลุม่ สตรีเกิดทักษะการทำ�ขนมพืน้ บ้าน มากขึ้น สามารถทำ�ขนมพื้นบ้านได้ เพื่อการบริโภคในครัวเรือน และเสริมรายได้ให้กับ ครอบครัว นอกจากนี้ยังเกิดความรักความสามัคคีในชุมชนมากขึ้น - โครงการส่งเสริมอาชีพ : การจัดตั้งศูนย์จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน บ้าน ตะโละใส ต.ปากน้ำ� อ.ละงู จ.สตูล โดยนางสาวซูวายบะห์ อามะ (รุ่นที่ 4) กลุ่มอาชีพเสริมในชุมชนได้แนวทางการดำ�เนินโครงการจัดตั้งและพัฒนาศูนย์ จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ชมุ ชน มีโครงสร้างการบริหารจัดการศูนย์ ฯ และสามารถจำ�หน่าย สินค้าในชุมชนได้ นอกจากนี้ได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตำ�บลปากน้ำ� ให้ใช้สถานที่ในการจัดตั้งศูนย์จำ�หน่ายสินค้า
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
51
- โครงการส่งเสริมการถ่ายทอดความรู้การแกะสลักภาพลายไทยโดยผู้รู้ ในชุมชนสู่เยาวชน บ้านลำ�ขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง โดยนางสาวชญา ดา เนียมเปีย (รุ่นที่ 4) เยาวชนได้ความรู้และทักษะการแกะสลักภาพลายไทย เช่น สามารถวาดภาพ และแกะสลักได้ เกิดการเรียนรูอ้ ย่างมีความสนุกและเยาวชนมีภมู ใิ จในการทำ�กิจกรรม กลุ่ม ทำ�ให้ได้เรียนรู้การทำ�งานเป็นทีม มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนมากขึ้น รู้จักเสีย สละ อดทน นอกจากนี้ กิจกรรมกลุ่มของเยาวชนยังมีความต่อเนื่องอีกด้วย - โครงการส่งเสริมการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยการแกะสลักหนัง ตะลุงสู่เยาวชนบ้านลำ�ขนุน ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง โดยนายพิทติยา จันทร์สุข (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสาร่วมกับทีมผู้นำ�ชุมชน โรงเรียน ผู้ปกครอง ได้ประสานให้ปราชญ์ ในชุมชน ถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับเยาวชน เรื่องการแกะสลักมีสถิติการเข้าร่วม กิจกรรมเยาวชน 25 ครั้ง ร่วมกิจกรรมต่อเรื่อง 27 คนจาก 30 คน เกิดผลิตภัณฑ์ รูปหนังตะลุง กรอบรูป จนปัจจุบันได้รับการสนับสนุนให้เข้าสู่แผนพัฒนาชุมชนของ อบต. และบรรจุเป็นหลักสูตรท้องถิ่นในโรงเรียน - โครงการแนวทางเกษตรกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพของคนในชุมชน หมู่ที่ 1, 11, 12 ต.ขุนทะเล อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช โดยนายอรุณ หวังหมัด (รุ่นที่ 5) หน่วยงานภาครัฐและเอกชนร่วมกันส่งเสริมให้กลุม่ เกษตรกร จาก 3 หมูบ่ า้ น รวม 40 ครัวเรือน นำ�แนวทางเกษตรกรรมแบบชีวภาพมาใช้ในการเกษตร เช่น การ ทำ�เกษตรแบบผสมผสาน การผลิตปุ๋ยชีวภาพใช้เอง ต่อมาสภาหมู่บ้านได้ร่วมกันขับ เคลื่อนกิจกรรมการตรวจเลือดเพื่อหาความเสี่ยงในทุก 3 เดือน - โครงการพัฒนาการท่องเทีย่ วโดยชุมชนแบบโฮมสเตย์บา้ นเกาะมุกด์ ต.เกาะ ลิบง อ.กันตัง จ.ตรัง โดยนายรุ่งสุริยา ตาวิน (รุ่นที่ 5) ชาวประมงขับเคลือ่ นโครงการร่วมกับองค์กรทางภาครัฐและเอกชนจึงทำ�ให้เกิด
52
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
กลุ่มเกาะมุกด์โฮมสเตย์และมีกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ภายใน 1 ปี ที่ผ่านมามีกลุ่มนักท่องเที่ยวจำ�นวน 25 กลุ่มเข้ามาใช้บริการ ทำ�ให้ทางกลุม่ เกิดรายได้คดิ เป็นจำ�นวนเงิน 60,000 บาท และส่งผลให้ภาคีทเี่ กีย่ วข้อง ได้รับประโยชน์จาการท่องเที่ยว และสิ่งที่สำ�คัญชุมชนมีความภาคภูมิใจในการเป็น เจ้าของกิจการการท่องเที่ยว - โครงการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น ชุมชนบ้านเกาะแรต ต.ดอนสัก อ.ดอนสัก จ.สุราษฎร์ธานี โดยนายธนิน แซ่ลก (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสาร่วมกับคนในชุมชน และคณะกรรมการศาลเจ้าได้ศึกษาข้อมูล วัฒนธรรมประเพณีของชุมชน วีถีชีวิตของชุมชนเชื้อสายจีน ทำ �ให้คนในชุมชน ร้อยละ 60 เกิดความสนใจที่จะใช้ข้อมูลที่ได้ นำ�ไปสู่การท่องเที่ยวของชุมชนต่อไปใน อนาคต - โครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชนบ้านเฉงอะ หมู่ที่ 4 ต.ตะเคียนทอง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี โดยนายวัชรินทร์ รุ่งทอง (รุ่นที่ 5) กลุ่มเยาวชน คนวัยทำ�งาน ผู้สูงอายุ ช่วยกันขับเคลื่อนกลุ่มโดยใช้กิจกรรมที่ เหมาะสำ�หรับกลุ่ม เช่น กีฬา การทำ�เตาเผาถ่าน และกิจกรรมทางศาสนา นำ�ไปสู่ กระบวนการเชื่อมโยงประสานความร่วมมือของทั้ง 3 กลุ่ม ซึ่งทำ�ให้หน่วยงานภาครัฐ และองค์กรต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำ�เนินงานของกลุ่ม - โครงการส่งเสริมการเรียนรูก้ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิน่ สำ�หรับเยาวชนเชิงบูรณาการ ชุมชนบ้านดอนหาร หมู่ 2 ต.ดอนสัก อ.ดอนสัก จ.สุราษฎร์ธานี โดยนางสาวอัญชลี มัดถารักษ์ (รุ่นที่ 5) บั ณ ฑิ ต อาสาร่ วมกับเยาวชนบ้านดอนหาร 17 คน เรี ย นรู้ ก ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่นจากผู้รู้ในชุมชน เช่น ประวัติชุมชน การทำ� กะปิ ป่าชายเลน และปุ๋ยหมักชีวภาพ จนสามารถเก็บข้อมูลความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และได้ถ่ายทอดข้อมูลสู่ชุมชนโดยผ่านกระบวนการจากเยาวชน
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
53
- โครงการพัฒนาการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการศูนย์ OVC (OTOP Village Champion) บ้านตะโละใส ต.ปากน้ำ� อ.ละงู จ.สตูล โดยนายพีซาม หะแว (รุ่นที่ 5) กลุ่มอาชีพจำ�นวน 5 กลุ่ม ได้ร่วมกับจัดตั้งศูนย์ OVC (OTOP village champion) เพือ่ จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ของชุมชน จากนัน้ บันฑิตอาสาได้ประสาน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งให้กลุ่ม ด้านอบรมทำ�ขนม และ การพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ ทำ�ให้ได้รบั ความรูแ้ ละทักษะในการเพิม่ ความเข้มแข็งในกลุม่ ต่อ อบต. เห็นความสำ�คัญของโครงการได้มอบงบประมาณ 300,000 บาท เพื่อปรับปรุง ศูนย์ OVC และรับภาระในการดูแลต่อไป - โครงการศึกษาและส่งเสริมการผลิตผลิตภัณฑ์จากกระดาษทางจาก บ้านนายอดทอง อ.กันตัง จ.ตรัง โดยนางสาวผกามาศ ทองคำ� (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสาร่วมกับสมาชิกกลุม่ ในชุมชนจำ�นวน 21 คน ได้รวมตัวกันคิดและ ทดลองการแปรรูปกระดาษทางจาก โดยทางกลุ่มได้ประสานงานกับหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องเพือ่ ให้ความรูใ้ นการพัฒนาผลิตภัณฑ์และสนับสนุนงบประมาณ ปัจจุบนั ทาง กลุ่มสามารถแปรรูปผลิตภัณฑ์ได้หลายรูปแบบ เช่น พวงหรีด ถุงกระดาษ เป็นต้น ขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างการจดอนุสทิ ธิบตั รเรือ่ งกรรมวิธกี ารผลิตกระดาษโดยใช้ทางจากเป็น วัตถุดิบ - โครงการศึกษาระบบการบริหารและเชื่อมโยงการบริหารที่มีประสิทธิภาพ ของเครือข่ายวิสาหกิจ ชุมชนบ้านแหลมสันติ ต.ละแม อ.ละแม จ.ชุมพร โดยนางสาว สุจิตรา หนูชู (รุ่นที่ 5) คณะกรรมการบริหารกลุม่ ประมงพืน้ บ้าน กลุม่ แปรรูปอาหาร และกลุม่ ปุย๋ หมัก ชีวภาพ ซึง่ เป็นเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนช่วยกันค้นหาแนวทางการเชือ่ มโยงการบริหาร ที่มีประสิทธิภาพ จึงได้แนวทางที่หลากหลาย คือ การประชุม การมีระเบียบร่วมกัน และการจัดตัง้ กองทุนร่วมกัน เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่าย วิสาหกิจชุมชนต่อไป
54
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
- โครงการเสริมศักยภาพกลุ่มทำ�ขนมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและวัฒนธรรม บ้านขุนสมุทร ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โดยนางสาวแวซูรายนะห์ ดาแต สาตู (รุ่นที่ 5) กลุ่มแม่บ้านร่วมกับเยาวชนค้นหาสูตรสำ�หรับผลิตไส้ขนม เพื่อหาเอกลักษณ์ เฉพาะของชุมชน จนสามารถพัฒนาสูตรได้ 6 ชนิด ซึ่งใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ในชุมชน ต่อ มาได้รับการสนับสนุนจากศูนย์พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และวาง จำ�หน่ายตามแหล่งท่องเที่ยวของอำ�เภอเกาะลันตา จ.กระบี่ ต่อไป - โครงการบูรณาการกองทุนหมู่บ้านและกองทุนพัฒนาประมงทะเลชายฝั่ง เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ชาวประมงพืน้ บ้าน บ้านโฉลกหลำ� ต.เกาะพะงัน อ.เกาะพะงัน จ.สุราษฎร์ธานี โดยนายจรูญ พลายด้วง (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสาได้ศึกษา และถอดบทเรียนกลุ่มกองทุนหมู่บ้านและกลุ่มกองทุน พัฒนาประมงทะเลชายฝั่ง ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม และได้แนวทางบูรณาการ กองทุนที่เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มประมงพื้นบ้าน 3 รูปแบบ คือ ทุนในการดูแลทรัพยากร ทางทะเล ทุนในการประกอบอาชีพ และสวัสดิการที่เหมาะสมกับชาวประมงพื้นบ้าน นำ�ไปสู่การออมเงินของเยาวชนในชุมชน - โครงการศึกษาพัฒนาและสืบสานภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากต้นเตย ปาหนัน บ้านร่าหมาด ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โดยนางสาวนูรอามีนี สา และ (รุ่นที่ 5) กลุม่ จักสานเตยปาหนันและบัณฑิตอาสาร่วมกันถ่ายทอดองค์ความรู้ เรือ่ งการ ใช้ประโยชน์จากเตยปาหนันให้แก่เด็กและเยาวชนในชุมชนบ้านร่าหมาด ทำ�ให้กลุ่ม จักสานเตยปาหนันและกลุ่มเยาวชนได้พัฒนาและสืบสานภูมิปัญญาแนวทางการใช้ ประโยชน์จากต้นเตยปาหนันในรูปแบบใหม่และภูมปิ ญ ั ญาการจักสานเตยปาหนันคงอยู่ กับชุมชนต่อไป - โครงการศึกษาผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ประจำ�ชุมชน ต.ลีเล็ด อ.พุนพิน จ.สุราษฏร์ธานี โดยนางสาวพุทธิดา แก้วเอก (รุ่นที่ 5)
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
55
สมาชิกแกนนำ�ในกลุ่มท่องเที่ยวลีเล็ด และบัณฑิตอาสาร่วมกันศึกษาและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกสำ�หรับชุมชนที่เป็นเอกลักษณ์ทางการท่องเที่ยว จน สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก 4 ชนิด ได้แก่ การทำ�พวงกุญแจจากรากลำ�พู น้�ำ มันมะพร้าวเย็น กระดาษจาก และเสือ้ พิมพ์ลายทีเ่ ป็นสัญลักษณ์และเอกลักษณ์ของ ชุมชน - โครงการศึกษาอาชีพเสริมที่เหมาะสมกับชาวประมงพื้นบ้าน บ้านปากน้ำ� ละแม ต.ละแม อ.ละแม จ.ชุมพร โดยนางสาวเดือนเพ็ญ เพ็งพารา (รุ่นที่ 5) บัณฑิตอาสาร่วมกับเยาวชนโรงเรียนวัดปากน้ำ�ละแม 19 คน ได้ทดลองอาชีพ เสริมทีเ่ หมาะสมต่อชุมชนเรียนรูก้ ารปลูกผัก การทำ�ปุย๋ หมักชีวภาพ ทีส่ ร้างรายได้และ บริโภคในครัวเรือน พบว่าเยาวชนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เช่น ใช้เวลาว่างให้ เป็นประโยชน์ มีความรับผิดชอบ และเรียนรู้การแก้ปัญหา เป็นต้น ต่อมาได้ขยายผล ไปยังบ้านเรือนให้แก่ครอบครัวชาวประมง
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
57
ประสบการณ์ชีวิต ‘บัณฑิตอาสา’
คลื่นในใจ จุดอับสัญญาณโทรศัพท์เป็นอาณาจักรลึกลับน่ากลัวสำ�หรับคนรุน่ ใหม่ ดินแดน อันเคว้งคว้าง โดดเดี่ยว การเดินทางลงไปยังพื้นที่ปฏิบัติงานของบัณฑิตอาสา ‘สุภาพร สาแม’ ถูก ต้อนรับด้วยภาวะดังกล่าว เธอยังจำ�วินาทีนนั้ ได้ดที เี ดียว ริมฝัง่ อันดามัน ณ ตำ�แหน่ง ไม่มีคลื่นโทรศัพท์ โลกมืดมนเพราะขาดการติดต่อ สุภาพรจบเศรษฐศาสตร์และการจัดการในอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เธอเป็นคนตำ�บลโล๊ะจูด อำ�เภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส เดินทางไป เป็นอาสาสมัครที่บ้านบางแดด ตำ�บลแม่นางขาว อำ�เภอคุระบุรี จังหวัดพังงา “ช่วงหางานเพือ่ นมาบอกว่าโครงการบัณฑิตอาสาเปิดรับสมัคร พอสมัครแล้ว มาสืบว่างานนี้เป็นแบบไหน รู้ว่าเป็นงานที่เข้าไปศึกษาชุมชน อยู่ในชุมชน แล้วมานำ�
58
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
เสนอ สงสัยว่าตัวเองจะทำ�ได้มั้ย เพราะเป็นคนที่พูดไม่เป็น จะพรีเซนต์งานยังไง ตอน เรียนจะเป็นคนทำ�งานให้เพื่อนพรีเซนต์ตลอด เราไม่ถนัด” การต่อสูท้ างความคิดส่วนตัวอย่างสับสนว่าจะเอาไม่เอา ทีส่ ดุ เธอพบข้อยุตเิ อง ว่าน่าจะใช้โอกาสตรงนี้พัฒนาตนเอง ความคิดดีๆกระซิบบอกเธอว่าน่าจะทำ�ได้ เธอ จะต้องเข้าชุมชน เป็นผู้นำ�พูดคุยกับชาวบ้าน วันแรกของการเดินทางไปสู่บ้านบางแดด ทุลักทุเลเอาการ “พี่เลี้ยง อาจารย์ทปี่ รึกษาไปส่ง แต่พาไปอีกที่ เป็นชุมชนพุทธ ห่างจากชุมชน มุสลิมที่เราจะทำ�งานประมาณ 8 กิโล” การเดินทางวันแรกจึงยังไปไม่ถงึ จุดหมายปลายทางตามประสงค์ เหตุผลหนึง่ เพราะพี่เลี้ยงยังไม่มีการติดต่อคนในชุมชนเป้าหมายเอาไว้ล่วงหน้า “คืนนัน้ เราต้องนอนคนเดียวในบ้านทีพ่ เี่ ลีย้ งจัดให้ บ้านแข็งแรงดีหรอกแต่ไม่มี คนอยูเ่ ลย พอกลางคืนรูส้ กึ ว่าอยูค่ นเดียว ทุกบ้านปิดไฟนอนหมด นอนไม่หลับทัง้ คืน” สาวแปลกหน้ากับถิน่ อันไม่คนุ้ บ้านพักใกล้เมรุเผาศพ แถมได้ยนิ เพลงจังหวะ เอื่อย ๆ คล้ายเพลงประกอบหนังนางนาคลอยมาตามลม นับว่าเป็นช่วงเวลาตกหล่ม เคราะห์กรรมโดยแท้ ใครไม่เจอกับตัวเองคงยากอธิบาย หนึ่งคืนที่เหมือนหนึ่งปี “ยอมรับว่ากลัวมาก ร้องไห้ทั้งคืน หิวมากเพราะไม่ได้กินข้าวเลย ได้มากินอีก ทีตอนบ่ายอีกวัน” เธอเล่าว่าอยู่ในบ้าน รอจนอีกวันจนเลยเที่ยง จึงตัดสินใจลงมาขอช่วยเด็ก ข้างบ้านคนหนึ่งช่วยถีบจักรยานพาไปหาร้านอาหารมุสลิม กว่าจะเจอก็พบว่าอยู่ไกล เหลือเกิน “พอได้กนิ อิม่ ก็ดขี นึ้ เริม่ คิดอะไรออก แต่ไม่ได้คดิ จะถอยกลับนราธิวาส อยาก ทำ�ให้ถึงที่สุดอยากรู้ว่ามันจะมีปัญหาอะไร” เป็นอีกครั้งที่เธอตัดสินใจ อย่างเด็ดเดี่ยว เป็นไงเป็นกัน บ่ายนั้นสุภาพรรีบโทรศัพท์หาพี่เลี้ยงในพื้นที่ เพื่อให้นำ�ส่งชุมชนเป้าหมาย การเข้าสู่ชุมชนเป้าหมาย ยังเป็นอีกขั้นตอนต้องฝ่าด่านลำ�บาก ต้องตระเวน ไปทั่วหาว่ามีบ้านไหนอยากรับบัณฑิตอาสาเข้าพัก “โครงการไม่ได้หาบ้านพักไว้ก่อน มีสองบ้านที่สนใจ แต่เป็นบ้านผู้ชายทั้งคู่
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
59
เขาบอกให้เราไปอยู่ได้” เธอเล่า แต่ในที่สุดพี่เลี้ยงตัดสินใจพาไปอยู่บ้านอีกหลังหนึ่ง เป็นครอบครัวสามีภรรยาที่ไม่มีลูก “ตอนท้ายเพิง่ ทราบเหตุผลลึกๆ ว่าทำ�ไมม๊ะจึงเข้ามาอาสารับเราไปอยูด่ ว้ ย ม๊ะ เห็นเราถูกห้อมล้อมด้วยผู้ชายเลยสงสาร ด้วยความที่เขาไม่มีลูก เขาก็ดูแลอย่างดี อำ�นวยความสะดวกทุกอย่าง อยู่แล้วมีความสุข” เธอพูดถึงเจ้าของบ้านหลังที่สามที่ เธอตัดสินใจอยู่ด้วย เอ่ยถึงเจ้าของบ้านว่าม๊ะ (แม่) กับป๊ะ (พ่อ) ที่รักเธอเหมือนลูก จริงๆได้อย่างเต็มปาก เริ่มเดินทางด้วยความคับข้องใจ เมื่อมาพบพวกเขาเธอรู้สึกสบายใจขึ้น “เราลงชุมชนคนเดียวก็เหงาบ้าง ต้องปรับตัว เรียนรู้ โดยเฉพาะเรื่องภาษา เราพูดภาษาใต้ไม่ได้ แต่ต้องตั้งใจฟังให้ได้ ถึงวันนี้ก็ฟังรู้เรื่องแล้ว พูดได้นิดหน่อย” ช่วงสามเดือนแรก สุภาพรขอให้คนในชุมชนพาไปแนะนำ�แต่ละบ้าน ราว 50 -60 หลังคาเรือน บ้านบางแดด หมู่ที่ 7 ตำ�บลแม่นางขาว อำ�เภอคุระบุรี จังหวัดพังงา มี 139 ครัวเรือนประชากร 574 คน อยู่ท่ามกลางทรัพยากรธรรมชาติที่ยังอุดมสมบูรณ์ ไม่ ว่าดิน ป่าไม้ ป่าชายเลนและชายฝั่งทะเล ผู้คนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตร เช่น ทำ�สวนยางพารา สวนปาล์ม สวนมะม่วงหิมพานต์ ปลูกผัก และสวนผลไม้ ยังมีอาชีพ รับจ้างทั่วไป เช่น รับจ้างเก็บยาง รับจ้างตัดปาล์ม รับจ้างเก็บเม็ดมะม่วงหิมพานต์ รับจ้างถางป่า ส่วนที่รองลงไปอีก พวกประมง ค้าขาย รับราชการ เลี้ยงปลากระชัง เลี้ยงสัตว์ ชาวชุมชนมีฐานะอยูร่ ะดับปานกลาง ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนก็จะมีความ สัมพันธ์แบบครือญาตินับถือศาสนาอิสลาม 93.21% ที่เหลือนับถือศาสนาพุทธ คน อ่านออกเขียนได้ ไม่เป็นอุปสรรคใดๆต่อการสื่อสารและการใช้ชีวิตประจำ�วัน ความ สัมพันธ์แบบเครือญาติ ทำ�ให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สภาพฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม ชาวบ้านประสบปัญหาในการ ออกทะเลเพือ่ ทำ�ประมงเนือ่ งจากทะเลมีคลืน่ ลมแรงส่งผลให้เรือเล็กไม่สามารถออกจาก ฝั่งได้ ชุมชนที่ประกอบอาชีพทำ�สวนยางก็ไม่สามารถกรีดยางได้ในช่วงฤดูฝน ช่วงดัง กล่าวเป็นช่วงที่ชุมชนมีรายได้ลดลงทำ�ให้รายได้กับรายจ่ายไม่สมดุลกัน
60
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
อยู่บางแดดจนปรับตัวเรียนรู้ชุมชน ระยะหนึ่ง สุภาพรเริ่มจัดเวทีประชาคม ชักชวนชาวบ้านมาพูดคุย เธอพบว่าชาวบ้านทีน่ อี่ ยากใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ผลิต สินค้าวางจำ�หน่ายในตลาด เป็นรายได้เสริมให้กบั ครอบครัว โดยใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ น ชุมชนเป็นวัตถุดิบ “มีคนเสนอเรือ่ งกลุม่ แม่บา้ น อยากจัดกลุม่ แม่บา้ นผลิตอะไรก็ได้ให้ใช้ทรัพยากร ในชุมชนมีคนบอกอยากทำ�กล้วยฉาบ เราถามเค้าว่ามีอะไรอีกมั้ย อะไรที่ทำ�แล้วขาย ได้ เค้าว่าเครื่องแกงดีเหมือนกันนะ ทุกครอบครัวใช้เครื่องแกง เดี๋ยวนี้ซื้อที่ตลาด” ข้อสรุปร่วมว่าจะมีการผลิตเครือ่ งแกง เหตุทกุ ครัวเรือนต้องบริโภคเครื่องแกง เป็นประจำ�ทุกวัน จากข้อสรุปมาสู่การรวมกลุ่มส่งเสริมอาชีพสตรีและเยาวชน เพื่อ การพัฒนาชุมชนบางแดด โครงการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพสตรีและเยาวชน (ผลิตเครื่องแกง) เพื่อ การพัฒนาชุมชนบางแดด จึงได้เริ่มต้นด้วยวัตถุประสงค์ว่า - เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มขึ้นมาเป็นกลุ่มส่งเสริมอาชีพสตรีและเยาวชน - เพื่อการพัฒนาชุมชนบางแดด - เพื่อให้กลุ่มส่งเสริมอาชีพสตรีและเยาวชน - เพื่อการพัฒนาชุมชนบางแดด มีความเข้มแข็งและยั่งยืน - เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มส่งเสริมอาชีพสตรีและเยาวชน - เพื่อการพัฒนาชุมชนบางแดด มีคุณภาพมากขึ้น “เริ่มด้วยจากการประชุมก่อน หาพรรคพวกได้ 20 คนที่สนใจ วางแผนงาน ว่าจะทำ�อะไรบ้าง เราจะเป็นคนแนะว่าวันที่เท่าไรทำ�อะไร วันไหนไปสำ�รวจวัตถุดิบใน ชุมชน อย่างตะไคร้ ขมิ้น พอสำ�รวจเสร็จก็ไปซื้อวัตถุดิบอื่น ๆ มาอีก เช่น พริกแห้ง พริกไทยดำ� หอม กระเทียม จึงจะลงมือทำ�ได้ วิธที �ำ ก็ใช้ครกตำ�มือ ครัง้ แรกทำ�ประมาณ 10 กิโล ทั้งแกงส้ม แกงกะทิ แกงเผ็ด ลองไปขาย สนุกมาก” สุภาพรเล่าถึงการพยายามจัดตั้งกลุ่ม คำ�ถามที่ตามมาทันที สำ�หรับเธอคือ กลุ่มต้องมีส่วนประกอบอะไรบ้าง ? โชคดีชาวบ้านเข้าใจ เพราะชุมชนเคยมีการตั้ง กลุ่มผลิตมันปูมาแล้วก่อนเกิดเหตุการณ์สึนามิ แต่ล้มเลิกไป ส่วนสำ�คัญอย่างหนึ่งของกลุ่มคือการระดมเงินทุน
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
61
“เค้ารู้มากกว่าเราอีกว่าต้องมีการลงหุ้นระดมทุน สรุปว่าลงหุ้นคนละ 200 บาท 20 คนก็ 4 พันกว่าบาท เอาทุนตรงนี้ไปซื้อวัตถุดิบ แต่เค้ายังไม่รู้เรื่องการแบ่ง ผลประโยชน์” ทางการตลาดและการจำ�หน่ายสินค้าชาวบ้านเดินไปถามร้านค้าในชุมชนเองว่า ถ้ากลุ่มผลิตเครื่องแกงทางร้านจะรับซื้อหรือไม่ ? เนื่องจากเป็นคนในชุมชนเองก็พูด ตกลงกันไม่ยาก ปรับตัวนิดเดียว แต่เดิมซื้อของในตลาด แล้วเปลี่ยนมาเป็นซื้อของ ชุมชน สุภาพรเล่าว่าชาวบ้านบางแดดมีความพร้อมระดับหนึ่ง มีทุนทางสังคมที่ สามารถเข้าใจการบริหารจัดการอยูบ่ า้ ง รูจ้ กั การพัฒนาผลิตภัณฑ์มคี วามรูก้ ระบวนการ ผลิต อย่างสูตรของชาวบ้านเองว่าวัตถุดบิ ทีจ่ ะใช้ผลิตเครือ่ งแกงต้องล้างสะเด็ดน้�ำ ก่อน ตำ� ทำ�ให้เครื่องแกงเก็บได้ประมาณ 10 วัน โดยไม่ต้องแช่เย็น “เค้ามีความรูเ้ รือ่ งนีอ้ ยูแ่ ล้ว ทำ�ให้ท�ำ กลุม่ ได้งา่ ย เค้ายังบอกว่าตราบใดทีค่ นไม่
62
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
เลิกบริโภคเครื่องแกง ตราบนั้นกลุ่มจะยังอยู่” สุภาพรพบบทเรียนนอกตำ�รามากมายในการทำ�งานกับชุมชน เรื่องใหญ่ ๆ เช่น ชาวบ้านมักพอใจในความรู้เดิม ไม่อยากจะพัฒนาอะไร แม้วิถีชาวบ้านบางแดดรวมกลุ่มในนาม การช่วยงานทำ�บุญ การละหมาดวัน ศุกร์ของมุสลิมแต่จากความเป็นมาชุมชนพบว่า การจัดตัง้ กลุม่ ทำ�กิจกรรมร่วมกันของ ชุมชนทำ�มาแล้วหลายกลุม่ แต่ตอ้ งยกเลิกไป อันเนือ่ งจากชาวบ้านไม่มคี วามรูเ้ กีย่ วกับ การจัดตั้งกลุ่ม และไม่เห็นความสำ�คัญของการตั้งกลุ่ม “พอบอกจะพัฒนาเค้าก็จะไม่อยากฟัง ถ้าจะอบรมใช้เวลาเป็นวันเค้าก็ไม่อยาก มา มันน่าเบือ่ อย่างทีเ่ ราบอกว่าอยากจัดอบรมการบริหารกลุม่ การจัดการตลาด การ บัญชี เค้าก็พูดกันลับหลังว่ามันน่าเบื่อ ไม่อยากฟัง เสียเวลา แต่พอถึงงานก็ร่วมมือดี พอประเมินผลเค้าก็บอกว่าก็โอเค วิทยากรพูดเข้าใจ เป็นกันเอง บรรยากาศไม่ซีเรียส อย่างทีค่ ดิ ” เธอเองก็งงๆ ในสมมติฐานอันวกไปวนมา เมือ่ นึกถึงกิจกรรมทีเ่ คยติดต่อ พัฒนาการอำ�เภอมาพูดเรื่องการจัดการกลุ่ม ปัญหาในกลุม่ บางทีดไู ร้สาระ แค่มกี ารนำ�เรือ่ งไม่เป็นเรือ่ งมาพูดเสีย ๆ หาย ๆ “อย่างคนอื่นที่ไม่มาเข้ากลุ่มเขามาพูดว่าไม่ต้องทำ�กลุ่มมันอยู่ไม่ได้หรอกต้อง พังอยู่แล้ว คือมันมีความคิดเดิมอยู่” ทุกครัง้ ทีเ่ กิดเรือ่ งทำ�นองนีเ้ ธอบอกสมาชิกว่าไม่ตอ้ งฟังคนข้างนอกกลุม่ ให้มา ประชุมกันหาทางออก ให้สติว่าคนข้างนอกอยากให้เราพังอยู่แล้ว เมื่อเจอปัญหาต้อง ประชุมพูดคุยเปิดอก ไม่ต้องพูดลับหลัง “ปัญหานี้ประธานกลุ่มมาหาเราก็ต้องเรียกประชุมฉุกเฉินเพื่อทำ�ความเข้าใจ เรื่องนี้ พอประชุมก็คลี่คลายไปได้” ปัญหาคนเป็นเรื่องยิบย่อย สมาชิกบางคนอารมณ์ร้อน ทะเลาะจนบาดหมาง กัน ทำ�ให้เสียบรรยากาศทำ�งาน จนผู้รับผิดชอบไม่ทำ�งาน มีคนมาสั่งเครื่องแกง 5 โล 10 โล กลับบอกว่าไม่รู้ ไม่สนใจ แล้วกลายเป็นประเด็นสืบเนื่องต่อไปอีก “อย่างนี้นิสัยส่วนตัวเราก็พยายามบอกคนอื่นว่า ให้เข้าใจเค้า พูดกันด้วย เหตุผล” จากทำ�งานกับกลุ่มชาวบ้าน เธอถอดบทเรียนการทำ�งานได้ว่า
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
63
- การตั้งกลุ่มเป็นสิ่งที่ทำ�ยากที่สุด เพราะมากคนก็มากความ ในบางครั้งไม่ สามารถแก้ปัญหาได้ทุกอย่าง มิหนำ�ซ้ำ�ยิ่งจะทำ�ให้เกิดปัญหามากขึ้นกว่าเดิมด้วย - คำ�พูดเป็นสิง่ ทีส่ �ำ คัญมากและเป็นสิง่ ทีจ่ ะต้องระมัดระวังมากเช่นกัน เพราะ คำ�พูดเพียงคำ�เดียวที่ทำ�ให้การสื่อสารผิดพลาดหรือสื่อสารเข้าใจไม่ตรงกันจะเป็นการ จุดชนวนของความแตกแยกให้เกิดกับกลุ่มได้ - เงินสามารถทำ�ให้คนเปลีย่ นความคิดได้ จากคนดีกลับกลายมาเป็นตรงกัน ข้ามได้เสมอ เพราะฉะนั้น ต้องมีการตักเตือนซึ่งกันและกัน ความโลภคือไฟที่สุมอยู่ใน อกสามารถเผาไหม้ตัวเองให้วอดวายได้ - ปัญหาทุกอย่างย่อมมีทางออกเสมอ ทางออกของปัญหาคือการประชุม พูดคุยกัน - การใช้วธิ กี ารอบรมในการให้ความรูแ้ ก่กลุม่ เป็นสิง่ ทีม่ ปี ระโยชน์มากสำ�หรับ ผู้ที่ใฝ่เรียนรู้และตั้งใจเรียนจริง แต่ตรงกันข้ามหากนำ�มาใช้กับผู้ที่น้ำ�เต็มแก้วคิดว่าตัว เองเก่งแล้ว ไม่จำ�เป็นต้องหาความรู้เพิ่มอีก จะไม่เกิดประโยชน์อันใดเลยนอกจากจะ เสียค่าใช้จ่ายและเสียเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์ แม้เจออุปสรรคปัญหา แต่ผลจากการทีไ่ ด้ดำ�เนินกิจกรรมสุภาพรประเมินว่า เกิด 3 ด้าน 1. ผลต่อชุมชน ทำ�ให้บ้านบางแดดมีกลุ่มเกิดขึ้น มีกิจกรรมทำ�รวมกัน คือ การผลิตเครื่องแกงจำ�หน่ายในหมู่บ้านของตัวเองและหมู่บ้านใกล้เคียง ชาวบ้านได้ บริโภคเครื่องแกงที่ทำ�มาจากกลุ่มที่อยู่ในชุมชนของตัวเอง และคนที่ปลูกวัตถุดิบที่ใช้ ในการทำ�เครื่องแกง เช่น ตะไคร้ พริก ขมิ้น เป็นต้นทั้งสมาชิกกลุ่มและไม่ใช่สมาชิก สามารถนำ�วัตถุดบิ มาขายให้กบั กลุม่ เครือ่ งแกงได้ถอื ได้วา่ เป็นการช่วยเหลือซึง่ กันและ กัน ตลอดจนสามารถสร้างชือ่ เสียงให้กบั ชุมชนและสามารถเป็นแบบอย่างให้กบั ชุมชน อื่นๆ ด้วย 2. ผลต่อมหาวิทยาลัย ทำ�ให้ชุมชนรู้จักมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มากขึ้น 3. ผลต่อบัณฑิตอาสา สามารถที่จะใช้ชีวิตร่วมกับคนอื่น ได้มีโอกาสเรียนรู้ เพิ่มเติมนอกห้องเรียน ต่อไปสามารถที่จะใช้ความรู้และประสบการณ์ที่ได้ ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อสังคมต่อไป
64
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
หนึ่งปี ที่บ้านบางแดดสุภาพร บอกว่าได้อะไรมากกว่าที่คิด ตั้งแต่วันแรก เธอเรียนรู้ว่าความอดทนก็เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต การเดินทาง จากนราฯ ถึงคุระบุรีใช้เวลาสองวันทั้งร้อนทั้งเหนื่อย หิว กลัว ประสบการณ์สาหัส ของชีวติ ครัง้ หนึง่ ทีต่ อ้ งใช้ความพยายามเข้าสู้ ต่อมาเธอกลับประทับใจคนในชุมชนบาง แดด ที่ให้ความสำ�คัญกับบัณฑิตอาสา ได้ความร่วมมือ ความใจดี เอ็นดูเหมือนลูก หลาน วันเธอจากมาชาวบ้านจัดงานเลี้ยงส่งเล็ก ๆ ให้สองวันเต็ม “ส่วนตัวเป็นคนอัธยาศัยดีอยูแ่ ล้ว แต่เดิมไม่มคี วามมัน่ ใจในการพูด พูดต่อหน้า คนมากจะกดดัน กลัวไม่มีคนฟัง กลัวพูดผิด ไม่มีความมั่นใจ แต่จริงๆ แล้วได้เรียน รู้ว่าพูดในสิ่งที่รู้ ที่เห็น เรื่องใกล้ๆ ตัว ก็พูดได้มากขึ้น พูดขยายความได้ แต่ก่อนตื่น เต้น กลัวตอบผิดตอบถูก คิดไม่ทัน พอวันนี้ได้เรียนรู้บ้าง” เธอเล่าอย่างภูมใิ จทีต่ วั เองสามารถอดทนอยูไ่ ด้จนจบโครงการและสามารถอยู่ ร่วมกับคนอืน่ ได้อย่างมีความสุข ทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ภูมใิ จในความสามารถของตัวเองในการ จัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพสตรีและเยาวชน เพื่อการพัฒนาชุมชนบางแดดได้สำ�เร็จ ถึง แม้จะไม่ดที สี่ ดุ ในสายตาของคนอืน่ แต่ส�ำ หรับเธอแล้วมันคือสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ทีเ่ ธอได้ใช้ความ
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
65
สามารถที่ตัวเองมีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ จากเดิมทีเธออยากคิดหาประสบการณ์การทำ�งานในบริษัท อยากแข่งขันใน การทำ�งาน หนึ่งปีที่บางแดดทำ�ให้เธอคิดใหม่ อยากกลับไปพัฒนาบ้านเกิดตัวเอง “อาจจะลงสมัครเลือกตัง้ อบจ. หรือ สท. เพราะเทศบาลทีบ่ า้ นตัวเองไม่พฒ ั นา เท่าไหร่ ไม่คิดแก้ปัญหา อย่างน้ำ�ประปาไม่ไหล ก็ไม่เห็นคิดทำ�อะไรต่อ” แรงบันดาลใจที่ได้มาจากการเป็นอาสาสมัคร 1 ปี เธอรู้สึกขอขอบคุณบ้าน บางแดดซึง่ เป็นแหล่งเรียนรู้ ครอบครัวป๊ะกับม๊ะแห่งบางแดดทีด่ แู ลเสมือนลูกและคอย อำ�นวยความสะดวก เพื่อนๆ ที่คอยให้กำ�ลังใจ อาจารย์ที่ปรึกษาที่ได้ให้คำ�เสนอแนะ ดีๆ พี่เลี้ยงที่ให้คำ�ปรึกษา และสถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ที่ได้จัดตั้งโครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ขึ้นมา เพือ่ ให้บณ ั ฑิตได้มโี อกาสค้นหาตัวเอง และทำ�ในสิง่ ทีด่ ๆี เป็นประโยชน์ตอ่ ตัวเอง ชุมชน และมหาวิทยาลัย
66
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
มิตรภาพบนเส้นทางค้นหาตัวตน
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ท�ำ ให้ ‘เจ๊ะรอฮานิม ลอเด็ง’ และ ‘ซูฮัยดา นาโด’ มาพบกับความเป็นเพื่อนแท้ โชคชะตาพาสองคนมาอยู่บ้านเช่าหลังเดียวกันโดยเจ๊ะรอฮานิมลงพื้นที่ปฏิบัติ งานก่อน “เราเป็นตัวสำ�รองตามไปทีหลัง เรานิสัยร่าเริงขี้เล่นนิด ๆ คิดอยู่ว่าจะเข้ากัน ได้มั้ย โทรไปถามเพื่อนๆ ว่าเจ๊ะรอฮานิมนิสัยอย่างไร พอเจอตัวเข้าจริง ๆ ที่โรง พยาบาลเขาเข้ามาสลาม*” ซูฮัยดาเล่า ระยะแรกทั้งคู่อยู่ประจำ�โรงพยาบาลรามัน จังหวัดยะลา ซูฮัยดาดูจะชอบโรง พยาบาลมากกว่าอาจเพราะจบเอกสุขศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี “บางทีเราอยากเข้าชุมชน เขาอยากไปโรงพยาบาล ผิดใจจนไม่พูดกัน” เจ๊ะ รอฮานิมจบเอกพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ แม้จากสถาบัน เดียวกัน กลับมองเห็นชุมชนเป็นที่ทำ�งานมากกว่าพอมีปัญหาขัดแย้ง ระยะแรกต่าง ใช้ความเงียบมาสร้างกำ�แพงระหว่างกัน
* ‘สลาม’ คือการทำ�ความเคารพตามแบบมุสลิม
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
67
“แรกเริ่มตกลงกันว่าตอนเช้าเราเข้าโรงพยาบาลบ่ายลงชุมชน แต่เห็นใจ เจ๊ะรอฮานิมเค้าไม่ชอบโรงพยาบาลหลัง ๆ เริ่มปรับ ตกลงกันใหม่ว่ามาวางแผนด้วย กัน” อีกฝ่ายแสดงเหตุผลทะเลาะกันจนมาลงตัวด้วยวิธีปรึกษาแชร์ความคิดดูว่าอีก ฝ่ายจะเอายังไง หันมาพูด ยอมรับเหตุผลข้างหนึ่งที่ดีกว่า “ถกเถียงถึงขนาดเอามาลิสต์ลงกระดาษเลยว่าเธอมีเหตุผลอะไรบ้าง เป็นข้อ ๆ ดูกันทีละข้อ บางคราวเถียงดุเดือดออกทางสีหน้ากว่าเรียนรู้กันได้” ซูฮัยดาเป็นฝ่าย อธิบาย หลังผ่านช่วงศึกษาพื้นที่กับโรงพยาบาลรามัน พวกเธอตัดสินใจร่วมกันทำ� โครงการศึกษาวิถีชีวิตเพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านตอแล (กาแฮ) ตำ�บลกายูบอ เกาะ อำ�เภอรามัน จังหวัดยะลา หมูบ่ า้ นตอแล มีสภาพทุง่ นาสลับกับสวนยาง เป็นหมูบ่ า้ นหนึง่ จาก 6 หมูบ่ า้ น ในตำ�บลกายูบอเกาะ ตอแลยังประกอบด้วยหย่อมบ้านขนาดย่อยเรียกต่างกันอีกเป็น พงกูแม กา แช ตอแลนอก ตอแลใน ตอแลซ้าย ตอแลขวา ปาโร๊ะเปาะโมงและตอแลตะโล๊ะ ครั้งหนึ่งที่นี่เคยเป็นป่าเขาอุดมสมบูรณ์ด้วยลักษณะทางธรรมชาติ พบต้นไม้ ชนิดหนึ่งผึ้งชอบมาเกาะสร้างรังเรียกว่า “ตอแล” ชาวบ้านเรียกหมู่บ้านตามชื่อต้นไม้ นั้น แต่ทุกวันนี้ป่าหายไปกับการบุกเบิกทำ�สวนยาง “ทีน่ กี่ บั บ้านเกิดตัวเองไม่ตา่ งกันมาก อาจจะแตกต่างแค่ภาษาถิน่ มลายูบางคำ� อย่างการลงแขกเกี่ยวข้าว ปัตตานีเรียกว่า ‘ดือแง’ ที่นี่เรียก ‘เดอรา’ ” เจ๊ะรอฮา นิมซึ่งมีภูมิลำ�เนาเดิมอยู่ ตำ�บลประจัน อำ�เภอยะรัง จังหวัดปัตตานีเล่า ซูฮัยดาเป็นคนปัตตานีเหมือนกัน เธอมาจากตำ�บลเตราะบอน อำ�เภอสายบุรี แม้ทั้งคู่มาจากพื้นที่เหตุการณ์ความไม่สงบแต่ทุกย่างก้าวที่นี่ยิ่งต้องระวังมากขึ้น “บางวันเราตั้งใจลงพื้นที่ศึกษาชุมชนศึกษากรณีผู้สูงอายุ พี่เลี้ยงที่เป็น อสม. โทรมาบอกว่าลงพื้นที่ไม่ได้นะ วันนี้สถานการณ์หมู่บ้านใกล้เคียงไม่ดี”เจ๊ะรอฮานิมเล่า ซูฮัยดาเล่าเหตุการณ์จริงชีวิตของบัณฑิตอาสาที่นี่ เมื่อตื่นขึ้นมาวันหนึ่งพบ กล่องลึกลับ วางอยู่หน้าบ้าน ข้างกล่องยังเห็นเชือกชนวนเส้นยาวสำ�หรับประกอบ ระเบิดพร้อมสรรพติดอยู่พวกเธอตกใจมาก เธอบอกคนข้างบ้านซึ่งมีตำ�แหน่งผู้ช่วย
68
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
ผูใ้ หญ่บา้ น เมือ่ เขาเห็นเข้ายิง่ พากันตกใจ แต่หลังตรวจสอบแน่ชดั แล้วกลับไม่อนั ตราย เป็นเพียงฝีมือพวกกวนเมือง “เราคงไม่ใช่กลุม่ เป้าหมายก่อการร้าย” ซูฮยั ดามองในแง่ดตี อ่ ความทรงจำ�ครัง้ นั้น ชุมชนบ้านตอแลเป็นชุมชนที่มีจำ�นวนประชากรมากเป็นอันดับสองรองของ ตำ�บล คือ 1,309 คน จาก 22 หลังคาเรือน อาชีพหลักของชาวบ้าน คือกรีดยาง และทำ�นา จากการลงพื้นที่ศึกษาชุมชนแล้วพบว่าในหมู่บ้านมีจำ�นวนผู้สูงอายุมาก “นับว่าเป็นเรื่องแปลกอย่างหนึ่งของที่นี่ก็ว่าได้ หมู่บ้านมีแต่คนแก่” ซูฮัยดา เล่า งานหลัก ๆ ของบรรดาเฒ่าชราเหล่านี้คือกรีดยางและเลี้ยงวัว ภาพผู้สูงอายุมาจับกลุ่มนั่งคุยกันตามแคร่หน้าบ้านและร้านน้ำ�ชา ขัดแย้งกับ ท้องที่อื่นที่มักจะเป็นการรวมกลุ่มของวัยรุ่น ข้อมูลโรงพยาบาลรามันรายงานว่าหมู่บ้านกาแฮ มีผู้สูงอายุ 36 คน เป็นชาย 21 คนหญิง 15 คน สองบัณฑิตอาสาสาวมองว่าผู้สูงอายุ เป็นเหมือนร่มโพธิ์ร่มไทรของลูกหลาน ภูมปิ ญ ั ญาของสังคม ผูเ้ ชือ่ มต่อระหว่างยุคสมัย ตลอดจนลูกหลานต้องร่วมกันดูแลให้ มีคุณภาพชีวิตและสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ตรงกันข้ามผู้สูงอายุบาง รายที่นี่ต้องอยู่อย่างโดดเดี่ยว “จากการพูดคุยพวกเขายังไม่มคี วามรูใ้ นเรือ่ งการดูแลสุขภาพของตนเองพวก เราจึงได้มีการพูดคุยกับ อสม. ที่รับผิดชอบแต่ละพื้นที่และปรึกษาหารือกับเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลรามันฝ่ายเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนจนเห็นความสำ�คัญ ให้มาศึกษา วิถีชีวิตและหาแนวทางในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุนั่นเป็นที่มาของโครงการ” พวกเธอเขียนวัตถุประสงค์โครงการศึกษาวิถชี วี ติ เพือ่ ส่งเสริมสุขภาพผูส้ งู อายุ ของชุมชนบ้านตอแล (กาแฮ) ว่าเพื่อศึกษาวิถีชีวติ ของผู้สงู อายุและหาแนวทางในการ ส่งเสริมสุขภาพให้มีคุณภาพชีวิตและสุขภาวะที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ “ปัญหาอีกอย่างหนึง่ ทีม่ องเห็นตอนแรกเลยคือแม้ตอแลเป็นหมูบ่ า้ นเดียวแต่มี พืน้ ทีค่ าบเกีย่ ว มีทงั้ ส่วนทีเ่ ป็นการปกครองของเทศบาลและ อบต. สวัสดิการผูส้ งู อายุ เลยไม่เท่ากัน”
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
69
ชาวบ้านเองอาจไม่เข้าใจระบบการปกครองอันเหลือ่ มล้�ำ นัน้ มากนัก แต่ส�ำ หรับ บัณฑิตอาสาชาวบ้านไม่มีปัญหา พวกเขาให้ความร่วมมือร่วมประชุม 45 คน ต่าง กระตือรือร้นเสนอรูปแบบกิจกรรม “ชาวบ้านดีใจและยินดีที่มีโครงการประเด็นสุขภาพขึ้นในหมู่บ้าน พวกเขา สามารถร่วมกันนำ�เสนอความต้องการของเขา มาเป็นกิจกรรมความรูก้ ารดูแลสุขภาพ การออกกำ�ลังกาย การอ่านอัลกุรอานและเดินเหยียบกะลาเพื่อสุขภาพ” พวกเธอเล่าว่าการได้ลงไปพูดคุยกับชาวบ้านพบว่าหลายคนพออายุ 50 ปี เริม่ มีอาการเจ็บป่วย แต่มีอยู่คนหนึ่งเป็นหญิงชราอายุ 80 กว่าปียังไม่มีโรคภัยแผ้วพาน “เมาะอายุ 83 ปีแล้ว แต่กลับไม่เป็นโรคเลยเอาเรื่องนี้ไปปรึกษาเจ้าหน้าที่โรง พยาบาลเค้าก็สงสัยเหมือนกันว่าทำ�ไมยังแข็งแรง แกไม่ชอบอยู่กับที่ตั้งแต่สาวแล้ว ปลูกผักทำ�งานมาตลอดจนแก่ แกจะทำ�งานเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่ได้หวังขาย แกบอก ว่าปลูกเพือ่ ให้คนในหมูบ่ า้ นได้กนิ แกเอาผักไปแจกแล้วมานัง่ หัวเราะได้อย่างสบาย ไม่
70
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
นัง่ เศร้าเหมือนคนแก่อนื่ ๆ พูดถึงมรดกอะไรแกก็ให้ลกู ๆ หมดแล้วไม่หว่ งอะไร ชีวติ อยู่เพื่อปลูกผัก เลี้ยงแมว เลี้ยงหลาน” วิถีชีวิตและวิธีคิดแบบนั้นกระมังคือคำ�ตอบ พวกเธอเล่าว่าจากการศึกษาเกี่ยวกับอาหารการกินของผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี มักพบว่าเป็นคนที่รับประทานง่าย ๆ ผักที่ปลูกเอง ทำ�กับข้าวกินเองและไม่กินอาหาร ที่มีไขมัน ลดกำ�ลังการทำ�งานตามช่วงวัย ช่วงวัยรุ่นอาจกรีดยางมากพอถึงช่วงวัย กลางคนก็เริ่มลดน้อยลงจนมาถึงวัยสูงอายุบางคนเลิกกรีดยาง มาปลูกผักเล็กน้อย ๆ พอได้ออกกำ�ลัง เป็นความรู้ใหม่นอกทฤษฎีสำ�หรับพวกเธอทีเดียว แต่กว่าจะได้ข้อมูลมาไม่ใช่ เรื่องง่าย ลงหมู่บ้านตอนแรกเข้าใกล้ใครเขาก็เดินหนี “เพราะเราแปลกหน้าแถมยังขับรถมอไซค์ใส่หมวกกันน๊อก” ทั้งคู่ถูกเปิดตัวอย่างเป็นทางการต่อเมื่อ อสม. ช่วยประกาศแนะนำ�ทางหอ กระจายเสียงของหมู่บ้าน เมื่อชาวบ้านไว้ใจ ทุกอย่างเปลี่ยนจากหน้ามือเป็นหลังมือ พวกเขาเอาแต่ชวน แย่งตัวให้ไปกินข้าวที่บ้าน การลงไปใกล้ชิดคนชรา นอกจากเปิดมุมมองใหม่ ให้กับสองสาวยังได้ความ ผูกพันกับพวกเขาแบบลูกหลาน “บางครั้งเค้าจะบอกกับเราว่าลูกหลานแท้ ๆ ไม่ค่อยสนใจ ไปทำ�งานที่อื่น แต่งงานแล้วไปอยู่กับอีกฝ่าย เค้าเลยเอ็นดูเรา เค้ารักเรา เราเองก็รู้สึกเหมือนกับเป็น ครอบครัวที่สอง เราลงไปหมู่บ้านประมาณเที่ยง ๆ ได้กินข้าวด้วย พอถึงฤดูแตงโม เขาก็ให้แตงโมเป็นของฝาก” ซูฮัยดาเล่าทีเล่นทีจริงด้วยเสียงหัวเราะสะท้อนกลับเป็น รอยยิ้มกว้างในหน้าของเจ๊ะรอฮานิม ดูเหมือนว่าภาพความสุข ลอยกลับมาระหว่าง คนทั้งสอง กิจกรรมโครงการจริง ๆ นั้นเริ่มตั้งแต่เชิญเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลรามัน มาให้ ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารและดูแลสุขภาพ นายสอารี แวนาแว พยาบาลวิชาชีพ 6 และ นางกาญานา อาริยกุลนิมิต เจ้าหน้าที่ฝ่ายเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนจาก โรงพยาบาลรามันรับเป็นวิทยากร “อย่างกิจกรรมเอากะลามาเหยียบออกกำ�ลังกายคลายปวดเมื่อย วิธีนี้ได้มา จากชาวบ้านที่ท�ำ อยู่แล้วสอนให้คนอื่นทำ�มากขึ้น อันนี้เหมาะกับผู้สูงอายุเพราะจะให้
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
71
ออกกำ�ลังกายโดยการไปเต้นก็ไม่สมควรซึ่งเค้านำ�เสนอมาเอง” พวกเธอช่วยกันเล่า กิจกรรมอ่านอัลกุรอ่านช่วยส่งเสริมจิตใจ ผู้สูงอายุบางคนไม่มีลูกหลาน โดด เดี่ยวว้าเหว่ การอ่านอัลกุรอ่านทำ�ให้จิตใจเบิกบาน ซึ่งได้มาทำ�รวมกันวันจันทร์กับวัน ศุกร์ หลังละหมาด “ผู้สูงอายุรายหนึ่งที่เรียกกันว่าเมาะมือลอ มาบอกว่าเรียนอัลกุรอ่านแล้ว สบายใจและมีความสุข จากเคยทุกข์ทรมานกับโรคความดันโลหิตสูงมานาน” ทั้งหมดก็ได้มาพบปะพุดคุย เหยียบกะลาไปด้วย พวกเธอได้พบบทเรียนใหม่มากมาย อย่างรูว้ า่ ทำ�งานกับคนสูงอายุจะมีปญ ั หา อะไร “คนแก่อยู่ประชุมกับเราไม่นาน บางคนหิวข้าวเขาก็รีบกลับก่อน เราต้องแก้ ปัญหาเฉพาะหน้า” อย่างไรก็ตามถือว่าชาวบ้านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี “เราก็ผิดพลาดไปเหมือนกัน ตรงที่ทำ�กิจกรรมก่อนแล้วค่อยศึกษา อาจารย์ที่ ปรึกษาบอกว่าคนทุกคนมีศักยภาพ อย่ามองว่าคนแก่ไม่มีความรู้ ที่เค้าไม่พูดเพราะ เราไม่มีกระบวนการดีพอหรือเปล่า” พวกเธอยอมรับจุดบกพร่องว่าน่าจะมีกิจกรรม หลากหลายกว่านี้ การเร่งศึกษาวิถีชีวิตของผู้สูงอายุช่วง 3 เดือนสุดท้ายทำ�ให้ข้อมูล ไม่ลึกเท่าที่ควร แม้กิจกรรมจะน่าสนใจเพราะนำ�มาสู่ความเปลี่ยนแปลงเห็นได้ชัด “บางคนบอกว่าได้ความรู้นะ เค้าเลิกสูบบุหรี่แล้วเพราะเราเชิญวิทยากรมาให้ ความรู้ ถึงเป็นเรื่องเล็ก ๆ เราก็ดีใจที่เค้าเปลี่ยนไป สุขภาพเค้าจะดีขึ้น บางคนมา บอกว่าเพราะเรานะ เค้าเริ่มเดินเหยียบกะลา” ซูฮัยดาว่า “สุดท้ายเค้าไม่อยากให้เราจากมาด้วยการบอกว่าเค้าไม่สบู บุหรีแ่ ล้ว เค้าเหยียบ กะลาสม่ำ�เสมอ เค้าไม่เมื่อยแล้ว ตอนเราจะออกมาจากชุมชนเค้าขอดุอาห์ให้เราโชค ดี เราสัญญาว่าจะไปมาหาสูก่ ัน มีงานอะไรเค้าก็จะโทรมาบอกเรา เราก็จะมา แปลก ใจเหมือนกันว่าจากคนที่ไม่รู้จักกันมาก่อน แต่สามารถผูกพันกันได้มากขนาดนี้” เจ๊ะรอฮานิมเล่า หนึง่ ปีกลายเป็นประสบการณ์อนั ล้�ำ ค่า สำ�หรับบัณฑิตอาสาพวกเธอได้ฝกึ ความ กล้า กล้าพูด กล้าคิด กล้าตัดสินใจ สำ�หรับเจ๊ะรอฮานิมเธอยอมรับว่าความคิดเปลี่ยนที่รู้จักการพัฒนาชุมชนมา
72
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
บ้างในทฤษฎี แต่การทำ�งานจริง ลงมือจริง จัดเวที ประสานงาน แบ่งงาน ทำ�ให้กล้า มากขึ้น “เมื่อก่อนเราพูดไม่ออกต่อหน้าคนอื่น แต่ตอนนี้เราดำ�เนินการประชุมได้” ช่วงที่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเปิดโอกาสให้เรียนรู้ระบบการทำ�งานของห้องส่ง เสริมสุขภาพ ให้อยูช่ ว่ ยคลินกิ ให้ชว่ ยงานเอกสาร สามารถเก็บเกีย่ วความรูม้ าได้ ส่วน ของชุมชนซึ่งเป็นพื้นที่เข้าไปทำ�งาน ได้พบปะกับผู้คนมากหน้าหลายตา “กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุที่เราได้ไปศึกษาวิถีชีวิต ร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ทำ�ให้เรียนรู้อะไรที่ไม่เคยรู้มาก่อนจากคนยุคปัจจุบัน วิถีชีวิตแบบเรียบ ง่าย อยู่กับธรรมชาติ ภูเขา สายน้ำ� อาหารการกินที่เก็บตามรั้วบ้าน ถือได้ว่าพวกเขา ดำ�เนินตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมายาวนานแล้ว อย่างเมาะอายุ 80 กว่าปี ไม่มโี รค อะไรมารบกวนสัมผัสจริงๆ แล้วอึง้ ไปเหมือนกัน” เจ๊ะรอฮานิมเล่าแล้วยังกล่าวถึงซูฮยั ดา เพื่อนบัณฑิตอาสาที่ทำ�ให้เข้าใจคำ�ว่า รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา เข้าใจคำ�ว่าคน เดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
73
“เรารู้สึกอย่างนี้จริงๆ เรากอดคอกันยิ้มเมื่อเรามีความสุข ขณะเดียวกันเราก็ กอดคอกันร้องไห้เมือ่ เรามีปญ ั หาตลอดระยะเวลาเราได้อะไรหลาย ๆ อย่าง แต่สงิ่ หนึง่ ที่ตราตรึงในความทรงจำ� คือคำ�ว่ามิตรภาพที่เหนือคำ�บรรยาย” จากทีห่ ลายคนยังงงว่าสองคนนีจ้ ะอยูก่ นั ได้ไง เพราะนิสยั ต่างกันมากกลายมา เป็นเพื่อนแท้ “ถึงขนาดบางคนยังมาแซวว่าซูฮัยดาเป็นผู้ชายมาดูแลเจ๊ะรอฮานิม เราผ่าน ช่วงสุขช่วงทุกข์เรากอดคอร้องไห้ด้วยกัน มีปัญหาเพื่อนไม่นอนเราก็ไม่นอน สุขก็สุข ด้วยกัน” ซูฮัยดามองว่าการทำ�งานเป็นบัณฑิตอาสาเป็นการทำ�งานที่ท้าทายอย่างหนึ่ง สำ�หรับผู้หญิงตัวเล็ก ๆ “การทีเ่ ราได้ท�ำ งานเป็นบัณฑิตอาสาก็ดอี ย่างหนึง่ มันทำ�ให้เราได้รหู้ น้าที่ ทำ�ให้ เราได้ประสบการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่างานในโรงพยาบาล และงานในชุมชน มันทำ�ให้เราได้ รู้ถึงความรับผิดชอบในการทำ�งานร่วมกัน ได้รู้จักนิสัยใจคอของเพื่อนบัณฑิต ดีใจที่ได้ทำ�งานเป็นบัณฑิตอาสาร่วมกับเจ๊ะรอฮานิมเพราะเพื่อนคนนี้แหละที่ คอยให้ก�ำ ลังใจเราในยามทีม่ ปี ญ ั หา เพือ่ นคนนีท้ คี่ อยสอนเรา เวลาอยูด่ ว้ ยกันแล้วรูส้ กึ มีความสุข ผูกพันเหมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่พวกเราเพิ่งรู้จักกันตอนมา เป็นบัณฑิตอาสา” ซูฮัยดาเล่าด้วยน้ำ�เสียงสั่นเครือ อยากอธิบายว่านอกจากการเรียน การงาน คนเราต้องผ่านอะไรมามากมายกว่าจะมีใครมากอดคอเป็นเพื่อนตายจริงๆ สักคน
...การที่เราได้ทำ � งานเป็นบัณฑิตอาสาก็ดีอย่างหนึ่ง มันทำ�ให้เราได้รู้หน้าที่ ทำ�ให้เราได้ประสบการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่างานในโรงพยาบาล และงานในชุมชน มันทำ�ให้เรา ได้รู้ถึงความรับผิดชอบในการทำ�งานร่วมกัน...
74
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
ห้องแล็บชีวิต นอกจากไม่ได้เรียนสาขาวิชามาเพื่อมาทำ�งานชุมชนโดยตรง ระหว่างลงพื้นที่ บัณฑิตอาสาเพื่อนร่วมงานยังชิงลาออกก่อนเสียอีก นับเป็นการบั่นทอนความรู้สึก ‘เมษยา มะประสิทธิ์’ ไม่น้อย จากบ้านเกิดริมทะเลอ่าวไทย ตำ�บลสะกอม อำ�เภอเทพา จังหวัดสงขลา เธอ ต้องไปอยู่ริมฝั่งอันดามัน หมู่ 2 บ้านปากบารา อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล “เพื่อนอีกคนที่ทำ�งานด้วยกันลาออกช่วงเดือนที่4-5” เธอจบคณะวิทยาศาสตร์ เอกชีววิทยา ไม่ได้เรียนสายสังคมศาสตร์หรือพัฒนา สังคมมาเหมือนหลายคน จึงยอมรับว่าขาดความมั่นใจต่อการศึกษาชุมชน แม้ตอน เป็นนักศึกษาเธอเคยเข้าร่วมค่ายอาสาพัฒนาชุมชนมาแล้วก็ตาม “เป็นงานท้าท้าย เปิดโลกการเรียนรู้ได้กว้างขึ้น เรียนสายวิทย์ไม่ได้เน้นทาง สังคม เรียนแต่ในห้องแล็บ เราเองไม่ได้ชอบห้องสี่เหลี่ยม อยากรู้โลกข้างนอกบ้าง” เธอเข้าใจว่าเมื่อลงชุมชนจะได้พักอยู่บ้านเช่าอย่างอิสระเหมือนเพื่อนบางคน แต่กรณีของเธอต้องพักบ้านชาวบ้าน
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
75
“มีเจ้าของบ้าน มีญาติเขา เราจะอยู่ได้มั้ย เราไม่ใช่ลูกหลานเค้าไม่ใช่ญาติ ช่วงแรก ๆก็อึดอัด จนกระทั่งวันนั้นเราจะซักผ้า เค้าก็บอกช่วยซักให้มั้ย เราก็ดีใจว่า เค้าคงอยากให้เราอยู่จริง ๆ พอได้ทำ�อะไรร่วมกัน งานไหนเราช่วยได้ก็ช่วย ตื่นเช้า กวาดบ้าน ล้างจาน เค้าบอกไม่ต้องทำ� แต่เราคิดว่าเราไปอยู่บ้านเค้าก็ต้องช่วย ถึง เค้าบอกว่าไม่ต้องทำ� แต่เราก็ควรทำ�” อัธยาศัยที่ดีของเจ้าบ้าน เปลี่ยนทัศนคติอันคับข้องใจ กลับทำ�ให้เธอรู้สึกว่า คล้าย ๆ อยู่บ้านตัวเองแถมมีคนรู้จัก ญาติพี่น้องเพิ่มขึ้นอีกต่างหาก ปากบาราห่างจากอำ�เภอละงูประมาณ 10 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพประมง รับจ้าง และค้าขาย ทีน่ ี่มชี ายหาดสวยงาม และป่าชายเลนอุดม สมบูรณ์ หลังจากศึกษาความเป็นไปของชุมชน ระยะแรกเมษยาคิดทำ�โครงการนักวิจัย รุ่นจิ๋ว แนวคิดใกล้เคียงกับสาขาวิชาที่ร่ำ�เรียนมา “บ้านที่เราไปอยู่แถวนั้นเด็ก ๆ เยอะ 10 กว่าคน อยู่ ป.5 - ม.ต้น เราตีสนิท กับเด็ก เย็น ๆ ชวนน้อง ๆ ไปเล่นเกมชายทะเล เราก็คิดว่าน่าจะใช้น้องกลุ่มนี้มา เป็นกลุ่มเป้าหมายในการทำ�โครงการ” ก่อนหน้าเมษยาลงมาอยู่ที่นี่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เคยลงมาทำ�โครงการ จัดกิจกรรมให้เด็กถ่ายภาพในชุมชนแล้วมาเล่าเรือ่ งโดยใช้ภาพเป็นสือ่ นัน่ ถือว่าเป็นทุน เดิมทีด่ ที �ำ ให้เด็กหลายคนเข้าใจ อยากร่วมทำ�โครงการและทำ�กิจกรรมกับบัณฑิตอาสา “อยากทำ�โครงการนักวิจัยรุ่นจิ๋ว อยากเชื่อมกับโรงเรียน ให้ทำ�งานวิจัยใน ชุมชน เช่น การศึกษากลุ่มอาชีพในชุมชน ฝึกให้เค้าหาข้อมูล” เธอวางแผนเอาไว้พอควร แต่พอนำ�ประเด็นเสนออาจารย์ที่ปรึกษา ได้รับการ ชี้แนะว่ายังมีจุดอ่อน เพราะผลที่เกิดขึ้นกับชุมชนไม่ชัดเจน อาจส่งผลเฉพาะโรงเรียน กับเด็กกลุ่มย่อย ๆ อาจารย์ที่ปรึกษาเสนอโครงการยุวมัคคุเทศก์ เพราะพื้นที่เป็น สถานที่ท่องเที่ยว ทั้งเคยมีมติชุมชนบอกว่าอยากทำ�การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ แต่ไม่รู้ จะเริ่มต้นอย่างไร ? การจัดตั้งการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถกระตุ้นการ อนุรักษ์ทรัพยากรที่มีอยู่ให้มีความยั่งยืน พร้อม ๆ กับการพัฒนาศักยภาพของคนใน
76
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
ชุมชนแนวคิดของเมษยาจึงเห็นด้วยมาลงตัวที่โครงการยุวมัคคุเทศก์เรียนรู้การท่อง เที่ยวเชิงอนุรักษ์ เพือ่ ส่งเสริมให้เยาวชนในชุมชนเรียนรูถ้ งึ ความสำ�คัญของทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยู่ในชุมชน เสริมทักษะการสื่อสาร แนวทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ส่งเสริมให้ เกิดการจัดตั้งการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โดยชุมชน โดยการนำ�เอาทรัพยากรธรรมชาติ ทีม่ อี ยูใ่ นท้องถิน่ ด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นธรรมชาติ ประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตชุมชนมาใช้เป็นต้นทุนหรือปัจจัยในการท่องเที่ยวอย่างเหมาะสม รวมทั้งมีการ พัฒนาศักยภาพของคนในชุมชนให้มคี วามรูค้ วามสามารถในเรือ่ งดังกล่าว ถ้าทำ�ได้จริง จะเป็นการกระตุ้นให้คนในชุมชนเห็นคุณค่าทางทรัพยากรธรรมชาติ “การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชนให้มีความยั่งยืน เพื่อสร้างความตระหนักและปลูกจิตสำ�นึก ของคนในท้องถิน่ ให้ชว่ ยกันดูแลรักษาทรัพยากรทีม่ อี ยู่ ให้ความรูค้ วามเข้าใจแก่นกั ท่อง เทีย่ วทีม่ าเยือนเพือ่ ตระหนักถึงคุณค่าและความสำ�คัญของสิง่ แวดล้อม ตลอดจนคำ�นึง ถึงความสามารถในการรองรับของธรรมชาติเป็นสำ�คัญ” เธอจุดประกายความคิดให้กับคนในชุมชน เริ่มจากกลุ่มเยาวชนภายในชุมชน และนักเรียนโรงเรียนบ้านปากบารา จำ�นวน 36 คน “เอาน้องๆทีส่ นิทก่อนบอกว่าเราอยากทำ�โครงการนีน้ ะ ให้เค้าไปถามเพือ่ น ๆ ว่าใครอยากทำ�บ้างจะรับประมาณ 36 คน ไม่อยากรับมากเกินไป” พอได้รายชื่อครบ เธอเรียกประชุมบนหาดทราย ที่นัดเล่นเกมกับเด็กอยู่เป็น ประจำ�อยู่แล้วนั่นเอง “ส่วนมากใช้เวลาหลังเลิกเรียนหรือเสาร์อาทิตย์ ทำ�ความรู้จัก จัดกิจกรรม กีฬาสัมพันธ์เพื่อให้ได้รู้จักกันดียิ่งขึ้น เรามาพร้อมของกินเล่นอย่างขนมปี๊บ และผลไม้ ใช้เป็นสีสันในขบวนการรุ่นจิ๋ว” อีกด้านหนึ่งในแต่ละวัน เธอประสานกับผู้นำ�ชุมชนและโรงเรียนว่าจะทำ� โครงการนี้ โดยแจ้งเป็นระยะ ๆ การเข้าไปติดต่อที่โรงเรียน ส่วนหนึ่งเธออยากได้ครูมาเป็นที่ปรึกษาโครงการ ด้วย ในที่สุดได้ครูสอนวิชาภาษาอังกฤษคนหนึ่งมาช่วย นับว่าเป็นการดี ได้เสริมการ
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
77
ใช้ภาษาอังกฤษในการท่องเทีย่ ว แนะนำ�นักท่องเทีย่ ว สร้างจิตสำ�นึกในการอนุรกั ษ์การ ท่องเที่ยว ผลพลอยได้ยังมีความคิดตั้งชมรมยุวมัคคุเทศก์ภายในโรงเรียนอีกด้วย “การที่น้องจะเป็นมัคคุเทศก์ ต้องเข้าใจในเรื่องชุมชน การท่องเที่ยว ความรู้ ที่เรามีคือเรื่องป่าชายเลน” เมษยาคิดว่ากำ�ลังจะได้ใช้วิชาชีววิทยาจากมหาวิทยาลัย อออกสู่ชุมชน ออกแบบแผนการทำ�งานโดยแบ่งสมาชิกเยาวชนออกเป็นสามกลุ่มย่อย มี โจทย์ต่างกัน ได้แก่ - กลุ่มที่หนึ่งศึกษาเรื่องการท่องเที่ยว - กลุ่มสองศึกษาเรื่องของดี ของเด่นในชุมชน - กลุ่มสามศึกษาป่าชายเลน “ให้น้องไปเก็บข้อมูลตามประเด็น เช่น พาไปดูว่านี่ต้นโกงกาง นี่ปลาตีน ตรง นี้เองเราเอาความรู้ที่เรียนมาเกี่ยวกับชีววิทยามาใช้ได้” หลังจากนั้นกิจกรรมต่างๆ จึงมีความชัดเจนมากขึ้นตามลำ�ดับ พอจะสรุปได้ ดังนี้ 1. กิจกรรมสำ�รวจป่าชายเลน วันที่ 16 ธันวาคม 2550 นำ�กลุ่มแกนนำ�เยาวชนในชุมชน มัคคุเทศก์ชุมชน บัณฑิตอาสาและพีเ่ ลีย้ งภาคสนาม ศึกษาสภาพทัว่ ไปของป่าชายเลนบริเวณปากคลอง พบว่าสภาพป่าชายเลนทั้งสองฝั่งคลองยังมีความอุดมสมบูรณ์ 2. กิจกรรมจัดอบรมโครงการยุวมัคคุเทศก์เรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จัดการอบรมให้กับกลุ่มเป้าหมาย มีวิทยากรมาให้ความรู้ในเรื่องต่างๆ คือ ทรัพยากรป่าชายเลน การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เรียนรู้การเป็นมัคคุเทศก์ที่ดี ตลอด จนความรู้ในเรื่องของภูมิปัญญาชาวบ้าน ประวัติชุมชน อาชีพของคนในชุมชน เพื่อ ให้เยาวชนได้เรียนรู้และเห็นคุณค่าของสิ่งดีๆ ที่มีในชุมชน โดยได้รับความร่วมมือจาก หน่วยงานต่างๆที่มีอยู่ในชุมชน ได้แก่ - สถานีพัฒนาป่าชายเลน ที่ 36 ต.ปากน้ำ� อ.ละงู จ.สตูล ให้ความรู้เรื่อง ทรัพยากรป่าชายเลนในบ้านเรา ในเรื่องของ พืชและสัตว์ ประโยชน์ของป่าชายเลน และความสำ�คัญของป่าชายเลน จัดกิจกรรมให้เด็กได้นำ�เสนอความคิดเห็นในเรื่องดัง
78
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
กล่าว และให้ความรู้ในภาคสนาม โดยลงศึกษาสภาพป่าชายเลน - อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะเภตรา ให้ความรูใ้ นเรือ่ งการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ จุดเด่นของการอบรมของวิทยากรคือ มีการเล่นดนตรี โดยร้องเพลงเป็นสื่อในการจัด กิจกรรม โดยมีเพลงที่มีเนื้อหาในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ทำ�ให้เด็กสนุกกับกิจกรรม ดังกล่าว - เจ้าหน้าที่อนามัยบ้านตะโละใส อบรมเรื่องการปฐมพยาบาล - สถานีพฒ ั นาประมงชายฝัง่ ทะเลอันดามัน น้องๆ ได้ศกึ ษาพันธ์ปลา การ เพาะเลีย้ งปลา และการทำ�หอยมุก เด็กร่วมให้อาหารปลากับเจ้าหน้าทีท่ กุ คนสนุกสนาน กับการให้อาหารปลา ได้เห็นพันธ์ปลาหายาก เช่น ปลาสิงห์โต ปลาช่อนทะเล ปลา ฉลาม ปลากะพง และแม่พนั ธุป์ ลาทีม่ ขี นาดใหญ่ทเี่ พาะเลีย้ งเพือ่ ขยายพันธ์ให้กบั ชุมชน ทีร่ บั ไปเลีย้ งต่อ กิจกรรมเรียนรูช้ มุ ชนและรีสอร์ทชุมชนบ้านบ่อเจ็ดลูก โดยการนำ�น้อง ๆ นักเรียนไปเรียนรูศ้ กึ ษาการจัดตัง้ รีสอร์ทชุมชน เนือ่ งจากสภาพชุมชนบ้านบ่อเจ็ดลูกมี ความใกล้เคียงกับบ้านปากบารา 3. กิจกรรมศึกษาสภาพป่าชายเลน จากกิจกรรมนีเ้ ด็กสามารถนำ�ความรูท้ ไี่ ด้จากการอบรมในวันแรกมาใช้ได้ โดย ความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่พัฒนาป่าชายเลนที่ 36 ต.ปากน้ำ� อ.ละงู จ.สตูล ในเรื่อง ของทรัพยากรป่าชายเลนในบ้านเรา การทีเ่ ด็กได้สมั ผัสกับสภาพพืน้ ทีจ่ ริงทำ�ให้เขาเรียน รู้ได้ดีกว่าการท่องจำ� สิ่งที่สังเกตเห็นได้คือ เด็กส่วนใหญ่จะรู้จักเฉพาะชื่อของต้นไม้ แต่ไม่แน่ใจว่าเป็นต้นไหน เมื่อเขาได้เข้ามาในพื้นที่จริงทำ�ให้เขาสามารถบอกได้ว่ามัน ต่างกันอย่างไร ในกิจกรรมนี้บัณฑิตอาสาแบ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยมีเรือ 3 ลำ� แต่ละลำ�จะมีเจ้าหน้าที่ป่าชายเลนให้ความรู้ในเรื่องดังกล่าว 4. กิจกรรมศึกษาเก็บข้อมูลภายในชุมชน ให้กลุม่ เยาวชนลงศึกษาและเก็บข้อมูลภายในชุมชน ในเรือ่ งของ ประวัตชิ มุ ชน ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณี ตลอดจนแหล่งท่องเที่ยวภายในชุมชน เพื่อ เป็นข้อมูลพืน้ ฐานในเรือ่ งของการจัดการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ พร้อมทัง้ รวบรวมข้อมูล ที่ได้ในแต่ละกลุ่มจัดทำ�รายงานส่ง ในการลงศึกษาจะแบ่งน้องๆออกเป็น 3 กลุ่ม โดย หัวข้อที่ให้น้องได้ร่วมกันศึกษาได้แก่ 1. เรื่องป่าชายเลน 2. แหล่งท่องเที่ยวและของดี
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
79
ในภายชุมชน และ 3. วัฒนธรรมประเพณีภายในชุมชน โดยแบ่งกลุ่มๆ ละ 12 คน ลงศึกษาและเก็บข้อมูลภายในชุมชน จากการสังเกต พูดคุย และสัมภาษณ์จากผู้รู้ ภายในชุมชน ทั้งในเรื่อง ของประวัติชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้าน วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ตลอดจนแหล่งท่องเที่ยวภายในชุมชน แต่ละกลุ่มจัดทำ�เป็นรายงานในเรื่อง ของตัวเองที่ได้ เมษยาได้สรุปผลจากการจัดทำ�โครงการมีประเด็นที่น่าสนใจกล่าวคือ 1. เยาวชนรู้ประวัติชุมชนของตัวเองมากขึ้น กิจกรรมสัมภาษณ์ผู้เฒ่าผู้แก่ ในชุมชน นอกจากถ่ายทอดเรื่องราวความเป็นมาของชุมชนหนหลังให้เยาวชน ยัง สามารถเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างคนต่างรุ่น 2. เยาวชนมีความรู้เรื่องทรัพยากรป่าชายเลน พืชและสัตว์ ที่พบภายใน ชุมชน ตลอดจนประโยชน์และความสำ�คัญ 3. คนในชุมชนเริ่มให้ความสนใจในโครงการดังกล่าว เพราะเป็นการปลูกจิต สำ�นึกที่ดีให้กับเยาวชน ให้เกิดความรักและหวงแหนทรัพยากรภายชุมชนของตัวเอง พวกเขายังมองว่าแนวทางในการพัฒนาศักยภาพคนในชุมชน เห็นได้จากมีกลุม่ ประมง พื้นบ้าน อนุรักษ์ป่าชายเลน ขอเข้าร่วมกลุ่มในการจัดกิจกรรม ด้วยตระหนักว่าหาก
80
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
โครงการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ประสบผลสำ�เร็จ สามารถเพิ่มช่องทางในการเพิ่ม รายได้จากนักท่องเที่ยวที่เข้ามาในชุมชนได้ ขณะที่ปัจจุบันนักท่องเที่ยวเข้ามาก็เดิน ทางผ่านไป ไม่ได้เข้ามาเที่ยวในชุมชนแห่งนี้ 4. กลุ่มผู้นำ�ชุมชนให้ความสำ�คัญและเข้ามามีส่วนร่วมในการทำ�โครงการ จากการจัดกิจกรรมอบรมในวันที่ 8-10 มกราคม 2551 กลุ่มผู้นำ�ชุมชนที่เข้าร่วม กิจกรรมในวันนั้นได้เล็งเห็นความสำ�คัญของโครงการ จึงได้มีการประชุมปรึกษาหารือ เพื่อเสนอเข้าแผนพัฒนาชุมชนในปี 2551 เพื่อของบประมาณในการจัดตั้งโครงการ และเพื่อให้เกิดการจัดกิจกรรมกับผู้เข้าร่วมโครงการโดยกลุ่มเป้าหมายที่เน้นคือกลุ่ม เยาวชนภายในชุมชน 5. เยาวชนในชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีขึ้น ระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง กลุ่ม เยาวชนในชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน การเข้าร่วมโครงการทำ�ให้กลุ่มเยาวชนมี ความสนิทสนมมีความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กันกันมากขึน้ และขยายวงกว้างเห็นได้จากกลุม่ เยาวชนที่เคยจบจากโรงเรียนบ้านปากบาราก็มีการร่วมจัดกิจกรรมกับน้องๆ “สิง่ ทีค่ นในชุมชนยังขาดอยูค่ อื ความรูค้ วามเข้าใจการจัดตัง้ โครงการท่องเทีย่ ว หากคนในชุมชนได้รับความรู้เพื่อให้เกิดการพัฒนาในด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์จะ เป็นผลดีตอ่ คนในชุมชนทัง้ ในเรือ่ งการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาศักยภาพ และสร้างจิตสำ�นึกของคนในชุมชน และนอกจากนี้ยังเป็นช่องทางในการเพิ่มรายได้ ด้วย” เมษยาว่า อย่างไรก็ตามการจัดกิจกรรมดังกล่าวเป็นแค่จุดเริ่มต้นของโครงการการท่อง เที่ยวเชิงอนุรักษ์ในภาพใหญ่กว่านี้ โครงการยุวมัคคุเทศก์จุดประกายความคิดของคนในชุมชน และเพื่อสร้าง จิตสำ�นึกให้กับกลุ่มเยาวชนทีเ่ ข้าร่วมโครงการ เรียนรู้ข้อมูลพื้นฐานด้านการท่องเทีย่ ว ภายในชุมชน และทักษะการสือ่ สารให้กบั เยาวชนทีเ่ ข้าร่วมโครงการ เป็นการจุดประกาย การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ภายใต้งบประมาณและเวลาจำ�กัด จึงส่งเสริมกลุ่มเยาวชน ก่อน เพื่อจุดประกายไปยังครู โรงเรียน และผู้นำ�ชุมชน “เดิมทีปากบาราเป็นทางผ่านนักท่องเที่ยวไปขึ้นเกาะ ชาวบ้านไม่ได้อะไรเลย มีแต่คนที่อื่นมาฉวยโอกาสค้าขาย ถ้าโครงการนี้สำ�เร็จจริงคนในชุมชนน่าจะมีรายได้
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
81
เข้ามา อาจเอาเรือของคนในชุมชนนำ�นักท่องเที่ยวไปเที่ยวในละแวกนั้น อย่างพาไป เที่ยวป่าชายเลนก่อนลงไปเที่ยวเกาะ” หนึง่ ปีของชีวติ บัณฑิตอาสา เมษยาบอกว่า ช่วงแรกมีความสุขดี ไม่รสู้ กึ แปลก แยกเพราะชุมชนที่ไปอยู่ติดทะเลคล้ายกับบ้านเกิด “เราเล่นกับเด็กได้ อยู่กับเด็กมีความสุข แต่ที่ทุกข์ใจคือเพื่อนที่อยู่ด้วยกันลา ออกกลางคัน ทำ�ให้เกิดคำ�ถามจากชาวบ้านว่าเพื่อนอีกคนหายไปไหน จากการที่เรา เคยทำ�มาด้วยกันต้องมาเริ่มใหม่ บางทีชาวบ้านคิดว่าเราเป็นบัณฑิตตกงาน เค้าถาม ว่าทำ�ไมไม่ไปทำ�อย่างอื่น” ความเข้าใจของชาวบ้านโครงการที่ทำ�อยู่สำ�หรับบัณฑิต ตกงาน “คำ�ถามนีเ่ องยิง่ ผลักดันให้คนอืน่ เห็นว่าไม่ได้มาทำ�เพราะตกงาน แต่อยากทำ� จริงๆ และต้องทำ�ให้สำ�เร็จให้ได้” ประสบการณ์คราวนัน้ ทำ�ให้เธอกล้าพูดได้เต็มปากว่า ผ่านจุดวิกฤติทางความ คิดที่ให้เธอไปอยู่ที่ไหน ทำ�อะไรก็ไม่กลัวอีกต่อไป “อยู่คนเดียวยังอยู่ได้ อยู่กับคนไม่รู้จัก คุยกับคนไม่รู้จักก็ทำ�ได้ ต่อไปจะกลัว อะไรอีก” ผ่านห้องทดลองแห่งชีวติ จริงเมือ่ เธอหันกลับมามองสีปใี่ นมหาวิทยาลัย กลาย เป็นอีกเรื่อง “มันเป็นการเรียนรู้แค่วา่ ทำ�ยังไงจะทำ�ให้เรียนจบ ไม่ได้สนใจสิ่งรอบข้าง เรียน ในห้องสีเ่ หลีย่ มของมหาวิทยาลัย รูส้ กึ เครียด คิดแต่วา่ เรารูเ้ ฉพาะทีเ่ รียนก็พอ แต่งาน บัณฑิตอาสาทำ�ให้คิดว่าต้องหาความรู้ให้เยอะ ๆ เพื่อทำ�งานได้” หนึ่งปีบณ ั ฑิตอาสา ทำ�ให้เธอเปิดความคิดสู่โลกกว้าง พร้อมมองเห็นสิ่งใหม่ๆ “อย่าเอาความคิดเราเป็นหลัก เมื่อก่อนเอาความคิดตัวเองถูกเสมอ แต่ตอน นี้รู้แล้วว่าคนอื่นคิดได้ดีกว่าเราก็เยอะ” เท่ากับว่าเป็นโอกาสพัฒนาตนเองครัง้ สำ�คัญ จนเธอมองถึงความเปลีย่ นแปลง ส่วนตัวหลายด้าน เช่น 1. กล้าตัดสินใจ ในการทำ�งานบางครัง้ เราต้องตัดสินใจด้วยตัวเอง การทำ�งาน สามารถฝึกให้เรามีความกล้าในการตัดสินใจมากขึ้น ด้วยเพราะหน้าที่ที่เราต้องรับผิด
82
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
ชอบ พยายามบอกตัวเองการตัดสินใจต้องเลือกในสิ่งที่ดีและถูกต้องที่สุด 2. รู้จักวางแผนการทำ�งาน การทำ�งานในชุมชนเราต้องมีการวางแผนที่ แน่นอน แม้บางครัง้ การทำ�งานอาจจะไม่เป็นไปตามแผน แต่อย่างน้อยหากเราวางแผน ไว้ล่วงหน้าจะไม่ทำ�ให้เราสับสนในการทำ�งาน 3. มีความอดทน เราต้องทำ�งานร่วมกับคนอืน่ บางครัง้ เมือ่ เกิดปัญหาในการ ทำ�งานเราต้องมีความอดทน เราต้องเปิดความคิดให้กว้างขึ้น ยอมรับความผิดพลาด ที่เกิดขึ้นในขณะทำ�งาน 4. รับฟังความคิดของคนอื่น ในการทำ�งานร่วมกับคนอื่นสิ่งสำ�คัญในการ ทำ�งาน คือ การรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น ไม่ยึดความคิดของตนใหญ่ บางครั้ง การคิดของคนหลายๆคนมีผลดีกว่าการคิดคนเดียวและตัดสินใจคนเดียว เธอกล่าวทิ้งท้ายว่า “อยากขอบคุณโครงการบอ.มอ. ที่ทำ�ให้เราโตขึ้น เปลี่ยนทัศนคติในการ ทำ�งาน เมื่อก่อนคิดแค่ว่าจบมาต้องอยู่ห้องแลบ คณะวิทยาศาสตร์ไม่ได้สอนว่า จบมาแล้วจะเอาความรู้มาใช้ในชุมชนยังไง ทำ�งานในชุมชนยังไง หนูเคยคิดว่าอาจจะ ทำ�ไม่ได้ แต่วันนี้ทำ�ได้ เพราะเพื่อน ๆ พี่ ๆ ที่คอยผลักดันให้เราโตขึ้นในเรื่องของ ความคิดและการทำ�งาน”
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
โอกาสและความท้าทาย ของโครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
83
โครงการบัณฑิตอาสาก่อกำ�เนิดขึน้ ตัง้ แต่ปลายปี 2547 ท่ามกลางสถานการณ์ วิกฤติชายแดนใต้ ด้วยความคาดหวังให้เป็นช่องทาง เชื่อมโยงระหว่างมหาวิทยาลัย กับชุมชน โครงการบัณฑิตอาสาได้พัฒนาการดำ�เนินงานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และปรับปรุงการทำ�งานให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ เป็นลำ�ดับ โดยมองวิกฤติให้เป็นโอกาส ดังนี้ การขยายฐานพื้นที่ในการปฏิบัติงาน ทางโครงการฯ มองว่า โอกาสในการขยายฐานพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านจะเพิม่ ขึน้ โดย ใช้พนื้ ทีบ่ า้ นเกิดของศิษย์เก่า พืน้ ทีใ่ นชุมชนทีท่ �ำ งานของศิษย์เก่า ซึง่ จะเป็นช่องทางให้ เกิดความสัมพันธ์ระหว่างศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันให้ได้ทำ�งานร่วมกัน นอกจากนี้ยัง มีโอกาสขยายฐานไปยังสถานีอนามัย และโรงพยาบาลตำ�บลที่จะมีต่อไปในอนาคต ความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) การดำ�เนินงานที่ผ่านมา มี อปท. ในบางพื้นที่ให้ความร่วมมือในโครงการของ บัณฑิตอาสา และบางแห่งร่วมให้การสนับสนุนงบประมาณ ทางโครงการฯ มองว่าใน อนาคต อปท. ควรจะเข้ามามีบทบาทที่สำ�คัญในการพัฒนาทางคุณภาพชีวิตของ
84
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
ประชาชนในทุก ๆ ด้าน การสร้างความร่วมมือกับ อปท. จะเกิดประโยชน์ร่วมกันทั้ง สองฝ่าย กล่าวคือ อปท. ได้ทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า มีการเชื่อมโยงกับนักวิชาการ ทำ�งานบนฐานของข้อมูลและความรู้ ประชาชนมีส่วน ร่วม ทำ�ให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ขณะเดียวกันบัณฑิตอาสาก็ได้รับความร่วมมือ และการสนับสนุนด้านอื่น ๆ นอกจากนี้ อปท. อาจจะส่งเจ้าหน้าทีเ่ ข้ามาร่วมฝึกอบรมหรือร่วมแลกเปลีย่ น เรียนรูก้ บั บัณฑิตอาสาก็เกิดประโยชน์ตอ่ การทำ�งานพัฒนาชุมชนแบบมีสว่ นร่วมอีกทาง หนึ่ง การแสวงหาความร่วมมือจากแหล่งทุนอื่น ๆ โดยมีหน่วยงานหรือช่องทางที่คาดว่าสามารถขอรับการสนับสนุนได้ เช่น - สวทช. ซึง่ มีสว่ นงานทีใ่ ห้การสนับสนุนการพัฒนาชนบท เช่น การถ่ายทอด เทคโนโลยีให้เกิดการใช้ประโยชน์ได้จริงในชุมชน - องค์กรภาคเอกชนทีใ่ ห้ความสำ�คัญกับชุมชนและสังคม (CSR : Corporate Social Responsibility) หรือหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนงานในลักษณะอาสาสมัคร หรืองานพัฒนาเยาวชน เช่น ปตท. มูลนิธิสยามกัมมาจล เป็นต้น - หน่วยงานภาครัฐ เช่น พมจ. ศอ.บต. ก็มีนโยบายให้การสนับสนุนการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในด้านต่างๆ - สกว. ท้องถิ่นภาคใต้ โดยการพัฒนาโจทย์ประเด็นต่างๆ ในชุมชนให้มี ความชัดเจนในระดับหนึง่ แล้วสามารถส่งต่อไปยังทีมงานของ สกว. เพือ่ พัฒนาโครงการ ต่อได้อีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ยังมีโอกาสในการพัฒนาทีมงาน/โครงการ เช่น การถอดชุดความ รู้ทั้งในเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ ตลอดจนการสนับสนุนเจ้าหน้าที่ของโครงการให้มี โอกาสศึกษาต่อในระดับปริญญาโท เพือ่ สร้างเสริมความรูท้ เี่ ป็นประโยชน์ตอ่ การทำ�งาน สำ�หรับความท้าทายของโครงการ ทางโครงการมองว่าสถานการณ์วิกฤติใน สามจังหวัดชายแดนใต้ คือความท้าทายอย่างยิ่งของโครงการ เป็นการแปรวิกฤติให้ เป็นโอกาส กล่าวคือ ทำ�ให้มคี วามพยายามในการหาช่องทางการเข้าไปหาพืน้ ทีป่ ฏิบตั ิ งานในเครือข่ายที่หลากหลายมากขึ้น มีแหล่งทุนที่สนใจให้การสนับสนุนการทำ�งาน
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
85
มากขึ้นทั้งภายในและภายนอกประเทศ นอกจากนี้ยังต้องพัฒนากลยุทธ์ ตลอดจน เทคนิคในการศึกษาและพัฒนาชุมชนในพื้นที่เสี่ยง นับเป็นความท้าทายในการสร้าง ความรู้ในด้านดังกล่าว ความท้าทายในเรื่องต่อมา คือ การทำ�งานพัฒนาชุมชนเมือง ปี 2552 เป็น ปีแรกทีป่ ระชากรในชุมชนเมืองมีจ�ำ นวนเท่ากับชุมชนชนบท และเป็นปีแรกเช่นกันทีท่ าง โครงการได้ส่งบัณฑิตอาสาเข้าทำ�งานในพื้นที่ชุมชนเมืองในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งมีปัญหาที่ซับซ้อน ทำ�ให้ทางโครงการฯ ต้องพัฒนารูปแบบการทำ�งานให้สอดคล้อง กับสถานการณ์ทง้ั ทางด้านองค์ความรูแ้ ละการแสวงหาความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ทัง้ จากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เป็นความท้าทายทีจ่ ะดึงอาจารย์และนักศึกษา ให้เข้ามาร่วมกิจกรรมเพื่อพัฒนาชุมชนรอบรั้วมหาวิทยาลัย การดำ�เนินงานมาถึงรุ่นที่ 5 ทางโครงการเริ่มสั่งสมองค์ความรู้ในงานพัฒนา ชุมชนทัง้ เชิงประเด็นและเชิงพืน้ ทีใ่ นระดับหนึง่ ในก้าวต่อไปน่าจะถึงเวลาทีจ่ ะขับเคลือ่ น ต่ออีกในหลายชุมชนจนถึงระดับตำ�บลต่อไป สุดท้ายความท้าทายในรุ่นต่อไป คือการเปิดรับบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยทั่ว ประเทศที่มีภูมิลำ�เนาในภาคใต้ นับเป็นความท้าทายอย่างยิ่งของทีมงานในการพัฒนา ระบบคัดเลือกบัณฑิตอาสา และกระบวนการสนับสนุนการทำ�งานให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น โอกาสและความท้าทายเหล่านี้ คือ แรงจูงใจของทีมงานในการก้าวเดินต่อไป อย่างไม่หยุดยั้งด้วยความรักและความสามัคคี สู่อุดมการณ์การเดียวกัน นั่นคือ การ สร้างบัณฑิตของแผ่นดิน
86
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
ตามติดศิษย์เก่าบัณฑิตอาสา ทักษะที่ซ่อนเร้นของ ‘ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์’ ด๊ะ หรือ ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ พื้นเพเป็นคนนครศรีธรรมราช ที่พลัดถิ่นไป ปฏิบัติหน้าที่บัณฑิตอาสารุ่นที่ 3 เมื่อสองปีก่อนที่ อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง แม้ในช่วง แรกเริ่มทำ�งาน หญิงสาวร่างเล็กบอบบางคนนี้จะมีบุคลิกเนิบช้า และด้อยความมั่นใจ ในตัวเอง แต่ดว้ ยความตัง้ ใจเต็มเปีย่ มทำ�ให้ดะ๊ ทำ�หน้าทีบ่ ณ ั ฑิตอาสาจนครบหนึง่ ปีเต็ม ก่อนจะถอนตัวออกจากชุมชน เธอได้มอบผลงานพัฒนาชุมชนไว้ดูต่างหน้า ด้วยโครงการศึกษาพันธ์สัตว์น้ำ�และอาหาร ธรรมชาติที่ปลากินในทะเลทราบสงขลาตอน กลางของเยาวชน บ้านช่องฟืน ต.เกาะหมาก อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง ที่หนุนนำ�ให้เยาวชนใน พื้นทีเ่ ห็นคุณค่าทรัพยากรทางทะเลและร่วมกัน อนุรักษ์ดว้ ยกำ�ลังของชุมชนเอง ถือเป็นหนึ่งใน โครงการที่เข้าขั้น ‘บัวบาน’ ของรุ่นเดียวกัน
และสองปีก็ผ่านไป
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
87
วันนี้ ด๊ะกับภาพลักษณ์ใหม่ในฐานะผู้ช่วยผู้ประสานงานหน่วยประสานงาน วิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสงขลา สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) แม้เธอ จะยังมีบุคลิกบอบบาง แต่ทักษะการทำ�งาน และประสบการณ์ชีวิตที่เพิ่มขึ้นทำ�ให้ด๊ะ ในวันนี้ ดูแตกต่างจากวันแรกของการเป็นบัณฑิตอาสาอย่างสิ้นเชิง แม้ว่าชื่อตำ�แหน่งจะเป็นเพียง ‘ผู้ช่วย’ แต่ภาระงานล้นมือทำ�ให้เธอต้องปรับ เปลีย่ นบุคลิกใหม่ให้ทนั กับภาระงาน ไม่วา่ จะเป็นการสนับสนุนการจัดกระบวนการใน พื้นที่ งานสำ�นักงาน การเงิน บัญชี สรุปการประชุม ประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนงานฐานข้อมูล หรือแม้กระทัง่ การเขียนข่าวเพือ่ ลงหนังสือพิมพ์ ซึ่งทัง้ หมด นี้ล้วนเป็นทักษะที่ท้าทายสำ�หรับจบปริญญาด้านอิสลามศึกษาอย่างเธอ
88
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
งานบัณฑิตอาสาช่วยเติมเต็มทักษะของคนทำ�งาน หนึ่งปีของการทำ�หน้าที่บัณฑิตอาสา และขั้นตอนการบ่มเพาะหล่อหลอม ศักยภาพตลอดระยะเวลา 12 เดือน ทำ�ให้สาวร่างเล็กวัย 25 คนนี้ รับมือกับหน้าที่ ดังกล่าวได้อย่างไม่ย่อท้อ และในบางครั้งก็อดภูมใจกับก้าวพัฒนาเล็ก ๆ ของตนเอง ไม่ได้ “วันนั้น เป็นการจัดเวทีงานเครือข่ายนักวิจัยใต้ล่าง มีนักวิจัยจากทั่วภาค ใต้ตอนล่างเข้าเยอะมาก ภาคบ่ายมีการแบ่งกลุ่มเป็นประเด็นต่าง ๆ ฉันต้องเข้าไป ช่วยรุ่นพี่ชวนชาวบ้านพูดคุยในวงเสวนา ตอนนั้นไม่มีใครทำ�หน้าที่จับประเด็นการ พูดคุยขึ้นบนกระดาน ฉันจึงต้องทำ�เอง เป็นครั้งแรกที่ต้องจับประเด็นในวงที่เขา คุยกัน” แม้จะรับหน้าที่ฉุกเฉินด้วยความจำ�ยอม แต่เธอก็ยินดีเพราะรู้ว่าเป็นหน้าที่ สำ�คัญ ตอนแรกของสนทนา เธอฟังแล้วเขียนประเด็นสำ�คัญบนกระดานทีละบรรทัด ต่อมารุ่นพี่อีกคนบอกว่าของให้จับเนื้อหาออกมาเป็น Mind map “พอต้องทำ�เป็น mind map ก็ยิ่งเครียดใหญ่ แม้ว่าโครงการบัณฑิตอาสาจะเคย อบรมมาแล้ว แต่ยังไม่ค่อยมั่นใจฝีมือตัวเอง ลองทำ�เท่าที่ทำ�ได้ เวลาผ่านไปจนหมด
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
89
เวลาการประชุม มีอาจารย์คนหนึ่งมาถ่ายรูป Mind map ที่เราจับประเด็น ในใจก็ คิดว่าเขาจะถ่ายทำ�ไมเอาไปใช้ไม่ได้หรอก แล้วอาจารย์คนนั้นก็พูดว่า ‘หนูเรียนการ เขียน Mind map ที่ไหน เพราะทำ�ได้ดีมาก’ ตอนแรกคิดว่าเขาจะบอกวิธีการเขียน ที่ดีกว่านี้ แต่เขาชม เลยดีใจ” ประสบการณ์ครั้งนั้นทำ�ให้ด๊ะเข้าใจว่า ทุกคนยังมีความสามารถที่ซ่อนเร้นอยู่ เพียงมีโอกาสและความกล้าที่จะลงมือทำ� และสำ�หรับเธอเอง ความสามารถเหล่านี้ สั่งสมมาจากประสบการณ์การทำ�งานในโครงการบัณฑิตอาสา ม.อ. นั่นเอง ส่งแรงใจถึงบัณฑิตอาสารุ่นใหม่ ด๊ะเล่าอีกว่า ช่วงที่เป็นบัณฑิตอาสานั้น รู้สึกว่าตัวเองเก่งน้อยที่สุดในรุ่น น้อยใจที่ไม่สามารถทำ�ได้ดีเท่าเพื่อน แต่ก็คิดว่าเราทำ�ดีที่สุดแล้ว แต่เมือ่ ทำ�งานมาจนถึงวันสุดท้าย ดีใจมากทีอ่ ยูจ่ นครบ 1 ปี สิง่ ทีไ่ ด้จากการเป็นบัณฑิต อาสานั้นนอกจากทำ�ให้เก่งขึ้นทุกด้าน สิ่งที่ได้อีกหลายอย่างนั้นมากเกินที่จะบรรยาย ชนิดที่คนไม่เคยผ่านประสบการณ์นี้มาก่อนจะเข้าถึงชีวิตของบัณฑิตอาสา
มีอาจารย์คนหนึ่งมาถ่ายรูป Mind map ที่เรา จับประเด็น ในใจก็คิดว่าเขาจะถ่ายทำ�ไมเอาไปใช้ไม่ ได้หรอก แล้วอาจารย์คนนั้นก็พูดว่า ‘หนูเรียน การเขียน Mind map ที่ไหน เพราะทำ�ได้ดีมาก’ ตอนแรกคิดว่าเขาจะบอกวิธีการเขียนที่ดีกว่านี้ แต่ เขาชม เลยดีใจ”
90
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
ทุกครั้งที่ได้ข่าวว่ามีรุ่นน้องลาออกจากโครงการกลางคันทั้งที่ยังไม่ครบ 1 ปี รูส้ กึ เสียดายกับโอกาสในการเก็บเกีย่ วประสบการณ์ตา่ ง ๆ บางคนมีเหตุผลในการออก เช่น ต้องกลับไปดูแลพ่อแม่ที่บ้าน หรือแต่งงาน แต่บางคนลาออกเพราะท้อถอย งานทุกที่ต้องการคนทำ�งานจริงจัง เอาใจใส่ต่องาน ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เราก็จะไม่ทิ้ง มุง่ มัน่ ตัง้ ใจทำ�ให้จนเสร็จ เมือ่ เราไปสมัครงานทีไ่ หนใครก็อยากรับเราเข้าทำ�งาน แต่ถา้ เราท้อ เพราะคำ�ว่า ‘ทำ�ไม่ได้ งานหนัก’ แค่นี้บริษัทต่าง ๆ เขาก็คงมองว่าเราเป็นคน ไม่สู้งาน “คนที่ออกเพราะทำ�ไม่ได้ ไม่มีความอดทน ไม่รู้จะทำ�โครงการอย่างไร ตรงนี่แหละน่า เสียดาย จริงแล้วเรายังมีพี่เลี้ยงในพื้นที่ มีอาจารย์ที่ปรึกษา คอยให้ความช่วยเหลือ ไม่ใช่ทำ�งานคนเดียว จนครบ 1 ปี สิ่งที่ผ่านมาจะเป็นทักษะสำ�คัญของเราในการไป ทำ�งานที่อื่น” ข้อเสนอแนะต่อโครงการฯ จากเดิมที่โครงการบัณฑิตอาสา ม.อ. ส่งให้บัณฑิตอาสาไปทำ�งานในจังหวัด อืน่ ทีไ่ ม่ใช่ภมู ลิ �ำ เนาของตนเอง อยากเสนอให้โครงการฯ ทดลองให้บณ ั ฑิตอาสาทำ�งาน ในหมู่บ้านของตัวเองบ้าง เขาอาจจะทำ�ได้ดีกว่าพื้นที่อื่นก็ได้ ทำ�ให้ทำ�งานได้ครบตาม หลักสูตรพร้อม ๆ ไปกับดูแลพ่อแม่ไปด้วย และเมือ่ จบหลักสูตรหนึง่ ปีเขาก็ยงั สามารถ ดูแลโครงการได้ต่อไป อีกทั้งยังช่วยให้เขารักชุมชนตัวเองมากขึ้นด้วย
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
91
ชญาดา เนียมเปีย บัณฑิตอาสารุ่นที่ 4 ปัจจุบัน : โครงการฯจัดตั้งศูนย์บริการ เพื่อระงับข้อพิพาทของเด็กและเยาวชน สถานพินิจฯจังหวัด
“โครงการบัณฑิตอาสาฯ ช่วยให้เรามีความอ่อนน้อมถ่อมตนมากขึ้น ช่วยให้ มองโลกในแง่บวกและเข้าใจว่าเมือ่ เกิดปัญหาจะคิดว่าปัญหามีไว้ให้ใช้ปญ ั ญาแก้ไข และ ที่สำ�คัญคือ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เนื่องจากระหว่างการทำ�งานบัณฑิตอาสา เราต้องรับผิดชอบดูแลโครงการเองทั้งหมด หากไม่ตั้งใจให้ดี โครงการก็ไม่สำ�เร็จ นอกจากนี้ทักษะอื่น ๆ เช่น การจดบันทึก การรับฟังความเห็นของผู้อื่น การมีมนุษย์ สัมพันธ์ และการประสานงาน สุดท้ายทำ�ให้มีทัศนคติที่ดีต่อการทำ�งานที่ไม่เน้นผลตอบแทน สู้งาน มีความ ตั้งใจมุ่งมั่นในการทำ�งานที่ได้รับมอบหมายให้ดีที่สุด” ข้อเสนอแนะ ต่อโครงการฯ ควรมีกจิ กรรมบำ�เพ็ญประโยชน์เชือ่ มความสัมพันธ์ระหว่างบัณฑิตอาสาแต่ละ รุ่น อาจเป็นปีละ 1 ครั้ง เช่น มาร่วมกันบริจาคเลือด เยี่ยมเยียนผู้ประสบภัย หรือเยี่ยมให้กำ�ลังใจผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ 3 จังหวัด ทำ�ให้ช่วยสานสาย สัมพันธ์ของบัณฑิตอาสาแต่ละรุน่ ให้เหนียวแน่นและมีสว่ นร่วมในการสร้างสรรค์สงั คม อย่างสม่ำ�เสมอ
92
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
น.ส.อามีเนาะ บาระตายะ บัณฑิตอาสารุ่นที่ 2 ปัจจุบัน : เจ้าหน้าที่ภาคสนาม ศูนย์ประสานงานวิชาการให้ความช่วยเหลือ ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุความไม่สงบจังหวัด ชายแดนใต้” (ศวชต. ปัตตานี)
“ประสบการณ์และทักษะจากการทำ�งานบัณฑิตอาสาช่วยให้เราทำ�งานได้ง่าย ขึ้นมาก โดยเฉพาะการลงพื้นที่เข้าหาผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุความไม่สงบที่ต้อง พัฒนาบุคลิกเพื่อสร้างความไว้วางใจจากคนในพื้นที่ การยิ้มและการพูดคุยอย่างเป็นก็เป็นอีกทักษะหนึ่งที่ได้รับการอบรมเพื่อช่วย ให้เราปรับตัวให้เข้ากับชุมชนได้งา่ ยขึ้น ช่วยเปลีย่ นบุคลิกจากคนขี้อายให้มคี วามกล้า ทำ�ให้การพบปะพูดคุยและสนทนาราบรื่นขึ้น ทักษะการเขียนเป็นอีกส่วนสำ�คัญทีท่ �ำ ให้สามารถถ่ายทอดเรือ่ งราวของผูไ้ ด้รบั ผลกระทบไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือเขียนเป็นบทความเผยแพร่ได้ ซึ่งทักษะนี้ ก็ได้รับการอบรมมาจากการทำ�งานบัณฑิตอาเช่นกัน”
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
93
นางสมปอง อัดอินโหม่ง ครูพี่เลี้ยง ต.ท่าข้าม อ.ปะนาเระ จ.ปัตตานี
“รูส้ กึ ดีมาก ๆ ทีม่ โี ครงการบัณฑิตอาสา มอ. ลำ�ดับแรกคือทำ�ให้บณ ั ฑิตอาสา มอ.เองได้เข้ามาสัมผัสกับวิถชี วี ติ แบบชาวบ้านด้วยตัวเอง ได้มาเรียนรูค้ วามเป็นมาและ สภาพปัญหาของชุมชน สำ�หรับตัวของพี่ปองเองคิดว่า โครงการฯ นี้มีประโยชน์มาก ๆ เนื่องจากชาว บ้านไม่ค่อยมีความรู้ ไม่มีประสบการณ์ในพื้นที่ มีปัญหามากมาย แต่ไม่รู้จะประสาน งานหรือติดต่อผ่านทางหน่วยงานใด บัณฑิตอาสา เข้ามาช่วยในส่วนของการประสาน งานกับหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ให้ บัณฑิตอาสา เป็นเพือ่ นคูค่ ดิ ให้กบั คนในชุมชน ทัง้ ในยามทีม่ ปี ญ ั หาและไม่มปี ญ ั หา อย่างน้อยชาวบ้านกล้าทีจ่ ะเดินไปข้างหน้ามากยิง่ ขึ้น กล้าตัดสินใจทำ�สิ่งใดสิ่งหนึ่งลงไป เพราะอุ่นใจที่มีบัณฑิตอาสาอยู่ข้าง ๆ เช่น เรื่องปัญหาเรื่องตลาดของกลุ่มเครื่องจักสานไม้ไผ่ ทำ�ให้กลุ่มฯ ได้รู้จักขั้นตอน/ กระบวนการในการหาตลาดผลิตภัณฑ์ รูจ้ กั แหล่งจำ�หน่าย ได้ความรูใ้ หม่ ๆ อาทิกลุม่ ไม่ทราบเลยว่าตลาดจะมีทง้ั ราคาขายปลีกและราคาขายส่ง ทำ�ให้กลุม่ มองว่าไปถูกทางแล้ว อีกตัวอย่างคือ ได้ท�ำ วิจยั และทดลองปัญหาการขึน้ ราในผลิตภัณฑ์จกั สานไม้ไผ่ ซึ่งการได้ทดลองทำ�ให้กลุ่มได้รู้จักกระบวนการในการทดลอง โดยผู้เชี่ยวชาญมาให้คำ� แนะนำ� และวิธกี ารทดลอง ทำ�ให้กลุม่ มัน่ ใจยิง่ ขึน้ ในการขายผลิตภัณฑ์ ซึง่ จะช่วยยืนยัน ได้ พูดได้ บอกเล่าได้ถูก เพราะเรามีการทดลองมาแล้ว ขณะนี้ถึงแม้กลุ่มฯ จะไม่มี เงินมาก แต่อย่างน้อยกลุม่ ได้ความเชือ่ ถือ ได้ความเชือ่ ใจ ไว้วางใจจากบุคคลภายนอก และให้การยอมรับในผลิตภัณฑ์จักสานมากยิ่งขึ้น จนเป็นที่รู้จักแก่คนทั่วไป”
94
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
นายสมพร เหมรา ครูพี่เลี้ยงในพื้นที่/ครูโรงเรียนบ้านปากบารา ต.ปากน้ำ� อ.ปากบารา จ.สตูล
“ดีใจและยินดีที่ได้ร่วมงานกับบัณฑิตอาสา โครงการของน้องบัณฑิตอาสาที่ จัดทำ�ขึน้ โดยสนับสนุนการรวมกลุม่ ของเยาวชน กระตุน้ ให้เยาวชนได้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนมาก ขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพของเยาวชน และได้ให้เยาวชนได้ค้นคว้าว่าในชุมชนมีปัญหา อะไรบ้าง แต่ละปัญหามีความเป็นมาอย่างไร และหลังจากนั้นมาร่วมกันปรับปรุงและ นำ�มาแก้ไข และนำ�สิง่ เหล่านีน้ �ำ มาเป็นชิน้ งานให้กบั เยาวชน บัณฑิตอาสาต้องพยายาม สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ และชี้ให้เห็นว่าในปัจจุบันมีการเรียนรู้ไปในลักษณะใด โดยตรงนี้อาศัยภูมิปัญญาที่มีอยู่ในชุมชน ทำ�ให้เด็กได้เรียนรู้ และรักชุมชนมากขึ้น มี การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ในปัจจุบันการรักษ์บ้านเกิดเป็นสิ่งที่สำ�คัญที่สุด เพราะทำ�ให้เด็กรู้สึกหวงแหน ชุมชน”
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
95
นางซารีพ๊ะ กามาเซะ ครูพี่เลี้ยงในพื้นที่ บ้านฮูยงบาโร๊ะ ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน จ.ยะลา
“รู้สึกดีใจ ภูมิใจที่มีโครงการบัณฑิตอาสา มอ.เข้ามาในหมู่บ้านฮูยงบาโร๊ะ ถ้า ไม่มีโครงการฯ นี้เกิดขึ้น เราก็ไม่มีบทบาทในการให้ความช่วยเหลือกับชาวบ้านในชุม ชม ซึง่ หากเราทำ�กันเองโดยลำ�พังก็จะไม่คอ่ ยมีความคืบหน้า เนือ่ งจากไม่มคี นประสาน งานให้ หรือสานงานต่อให้สำ�เร็จ ทีม อสม. เองมีความตัง้ ใจอยากทีจ่ ะช่วยเหลือคนใน ชุมชน ก็ได้แต่คิด เมื่อโครงการฯ เข้ามาส่งผลให้เกิดความรู้ การสร้างเครือข่ายกับกลุ่มต่าง ๆ ที่อยู่นอกพื้นที่ การสร้างความสัมพันธ์ให้เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมทั้งในชุมชนเอง และนอกสถานที่ การได้รู้จักกับพื้นที่อื่น ๆ และการได้รู้สภาพปัญหา สภาพความเป็น มา เมื่อมีการประชุมหรือพบปะกัน”
96
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
เด็กฟันสวย ด้วยชุมชน ประสบการณ์การทำ�งานในชุมชนของบัณฑิอาสา “โครงการเรียนรู้ร่วมกันส่งเสริมและแก้ไขปัญหาสุขภาพช่อง ปากในเด็กศูนย์เด็กเล็กฯ” หนึ่งตัวอย่างของการมีส่วน ร่วมจากโครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
ร
จดหมายข่าว สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ (วพส.)
www.rdh.psu.ac.th
อบรู้สุขÀÒÇะãµé ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำาเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2552
เกาะติด-รู้ทัน
ต้านภัย บุหรี่
จดหมายข่าว รอบรู้สุขภาวะใต้ พบเรื่องราวการทำ�งานของบัณฑิตอาสา และความรู้จากงาน วิจัยได้ในจดหมายข่าวฯ
คนไทย 12.5 ล้านคน ยังเป็นทาสบุหรี่
ทารกไทยรับพิษบุหรี่มือสอง นักเรียนใต้ 1 ใน 4 เสี่ยงติดบุหรี่ การสูบบุหรี่เป็น ‘ฮาราม’ ตามบัญญัติอิสลาม ?? ¢¹Áบรรจุซอง
บั³±Ôµอ�Ê� รุ่¹ที่ 5
กระสุนนัดเดียว
¹้ำ�Áั¹ทอดซ้ำ�
ความสำาเร็จอย่างยั่งยืน
ร่วมเติมแรงใจ
ÀÑÂÃéÒÂã¡ÅéµÑÇà´ç¡
¡่อมะàÃçง อÑนµÃÒÂ
¡Ñบ 31 สะพÒนสู่ชุมชน
ของ¡Åุ่มผÑ¡ปÅอ´สÒÃพิษ
àปÅี่Âนไ´éทÑ้งชีÇิµ
สู่โÃงàÃีÂน ¡ÅÒง¡Ãุ่นไฟãµé
ศวชต. เยียวยากลับสู่สังคม ติดตามเรื่องราวการเยียวยา (ด้วยหัวใจ) ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุความไม่สงบ ได้ในหนังสือ ศวชต.เยียวยากลับสู่สังคม
ดาวน์โหลดสื่อความรู้ต่าง ๆ ได้ที่ http://volunteer.psu.ac.th และ www.rdh.psu.ac.th หรือ ติดต่อขอรับได้ที่ โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โทร. 074-455149-50
โครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.)
สื่อความรู้น่าสนใจ วีซีดีสื่อการสอนเพศศึกษา ‘ก้าวสู่วัยรุ่นของนูรีดา’
วีซีดีสาธิตการออกกำ�ลังกาย ด้วยการใช้ยางยืด
วีซีดีสาธิตการรำ�ตะบองชีวจิต
วีซีดีเชิดชูแนวทางการทำ�งาน นายแพทย์สุรินทร์ จุติดำ�รงค์พันธ์
ติดต่อขอรับได้ที่ ฝ่ายสื่อสารสาธารณะ วพส. โทร. 074-455150
97
สนับสนุนโดย สถาบันวิจัยและพัฒนา สุขภาพภาคใต้ (วพส.)