CREATIVE RESOURCE

Page 1


CREATIVE RESOURCE วัตถุดิบทางความคิด

BOOK

DOCUMENTARY ALONE TOGETHER Why We Expect More from Technology and Less from Each Other โดย Sherry Turkle

พลังกลุ่มไร้สังกัด เขียนโดย Clay Shirky แปลโดย สฤณี อาชวานันทกุล

แค่ชื่อหนังสือก็ตั้งค�ำถามชวนให้คิดว่า ท�ำไมเราถึงคาดหวังกับเทคโนโลยีมากขึ้น แต่กลับคาดหวังจากคนอื่นลดลง เชอร์ รี เทอร์เคิล ศาสตราจารย์ผู้เชี่ยวชาญ ด้ า นความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งมนุ ษ ย์ แ ละ เทคโนโลยีของสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชู เซตส์ (MIT) เขียนหนังสือเล่มนี้ขึ้นจาก ผลจากการศึกษายาวนานกว่า 15 ปี เท อร์เคิลอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง มนุ ษ ย์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปหลั ง จากที่ เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ�ำ วันเป็นอย่างมาก บางครั้งเราก็ห่างเหิน ความรู้สึกของการใช้เวลาร่วมกับผู้อื่น ซึ่งนับวันยิ่งท�ำให้เราประหลาดใจ เธอยก ตัวอย่างง่ายๆ ว่าปัจจุบันการโทรศัพท์ หากันหรือการพูดคุยแบบซึ่งหน้ากลาย เป็นเรื่องเคอะเขิน หรืออาจท�ำให้บางคน รู้สึกถูกรุกล�้ำความเป็นส่วนตัว แต่มันจะ สะดวกใจกว่าหากสื่อสารกันด้วยการส่ง ข้อความ (Text) ผ่านโปรแกรมสนทนา และเราก็ใช้วิธีนี้มากขึ้นเรื่อยๆ จนกลาย เป็นนิสัยโดยที่ไม่รู้ตัว จนอาจต้องให้ค�ำ จ�ำกัดความค�ำว่า “ความสันโดษ” กัน ใหม่แล้วจริงๆ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึง อาจไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งเกิ น คาดหมายส� ำ หรั บ ปรากฏการณ์ ก ารเชื่ อ มต่ อ กั น ทาง อินเทอร์เน็ต แต่ค�ำถามใหญ่หลังจากนั้น คื อ เทคโนโลยี เ หล่ า นี้ มี ผ ลต่ อ การ เปลี่ ย นแปลงวิ ถี ชี วิ ต และสั ง คมในภาพ รวมอย่างไร ในบทส่งท้ายของเล่มผู้เขียน ได้เล่าถึงเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่มณฑล เสฉวนในจีน ซึ่งมีการกระจายข่าวอย่าง รวดเร็ว โดยผู้รายงานคนแรกเป็นชาว เสฉวนที่ ร ายงานผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ชื่อคิวคิว จากนั้นมีการอัพโหลด ภาพการทวิตข้อมูลจนถึงสายข่าวบีบีซี ภายใน 40 นาที

2 l Creative Thailand l กุมพาพันธ์ 2558 l นิศาชล พรหมเกิด

G O O G L E THE WORLD BRAIN

A N D

มีการบันทึกข้อมูลในวิกิพีเดีย ไม่กี่ชั่วโมง ถัดมามีเว็บไซต์ช่วยค้นหาผู้คนที่สูญหาย และเริ่ม เปิ ด ช่ อ งทางการบริ จ าค แต่ ค วามเห็ น ใจก็ ไ ม่ สามารถทดแทนการสูญเสียขั้นรุนแรงนี้ได้ เพราะ ไม่นานหลังเหตุการณ์กลับมีการตีแผ่เรื่องราวการ คอร์รัปชั่นในการก่อสร้างอาคารเรียนจนเกิดเสียง วิพากษ์วิจารณ์บนโลกออนไลน์ต่อใน วงกว้าง แต่ละบทจากหนังสือเล่มนี้จะทยอยเล่าถึง แง่มุมของพลังกลุ่มคนที่ก�ำลังเลือนรางระหว่างภาพ ของสื่ อ และการสื่ อ สาร ไปจนถึ ง การบรรจบกั น ระหว่างแรง บันดาลใจส่วนตัวสู่เรื่องส่วนรวม การเคลื่อนไหว ท้าทาย รวมถึงการต่อรองในแต่ละมิติอย่างรอบ ด้านซึ่งจะท�ำให้เห็นว่าคนตัวเล็กจ�ำนวนมากสามารถ รวมตัวเป็นพลังในช่องทางที่มองไม่เห็นนี้ได้อย่างไร ก�ำ กับโดย Ben Lewis ในปี 2002 กูเกิลได้เริ่มโปรเจ็กต์ขนาดใหญ่ด้วยการ สแกนหนังสือจ�ำนวนกว่าล้านเล่มอย่างเงียบๆ เพื่อ เก็บไว้ในกูเกิลบุ๊ก อันเป็นความพยายามในการสร้าง ศูนย์กลางคลังความรู้ขนาดใหญ่ที่จะส่งตรงสู่ผู้ใช้ ผ่ า นระบบดิ จิ ทั ล สอดคล้ อ งกั บ งานเขี ย นแนว วิทยาศาสตร์ในปี 1937 ของ เอช.จี. เวลส์ (H.G.


CREATIVE RESOURCE วัตถุดิบทางความคิด

FETURED BOOK THE DIGITAL ECONOMY Rethinking Promise and Peril in the Age of Networked Intelligence โดย Don Tapscott Wells) ที่เขียน ถึงประเด็น World Brain หรือคลังสมองของโลกที่จะน�ำพามนุษย์ไปสู่ ปัญญาอันยิ่งใหญ่ แต่ความเป็นจริงหนังสือจ�ำนวนมากในโปรเจ็กต์ต่าง มีลิขสิทธิ์และกลายเป็นคดีฟ้องร้องอื้อฉาวในปี 2012 สารคดีเรื่องนี้จึง เป็นการน�ำเสนอการวิพากษ์อันเผ็ดร้อนของคณาจารย์บรรณารักษ์ รวมถึงผู้บริหารของกูเกิล ซึ่งต่างร่วมสร้างมุมมองที่น่าสนใจทั้งเรื่อง ลิขสิทธิ์ ขอบเขตของเทคโนโลยี ราคาค่างวดของความรู้ กระทั่งความ สามารถในการเข้าถึงแหล่งความรู้อย่างเสรี เสมือนเป็นการมอง หาความเป็นไปได้ที่เหมาะสมส�ำหรับผู้คนแต่ละกลุ่มในการสร้างสรรค์ และ ส่งต่อองค์ความรู้ส�ำหรับอนาคตโดยมีเครื่องมือส�ำคัญเป็นเทคโนโลยี เรื่อง: เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร และ กริยา บิลยะลา ไม่ว่าคุณจะคิดเห็นอย่างไร ขณะนี้เราก�ำลังอยู่ในยุคที่อินเทอร์เน็ตกลาย เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตและเป็นสาธารณูปโภคพื้นฐานที่ทุกคนถามหา แค่ ลองคิดว่าถ้าไม่มีอินเทอร์เน็ต การติดต่อสื่อสารระหว่างกันการรับรู้ ข้อมูลต่างๆ จะยากขึ้นเพียงใด หากย้อนกลับไปในวันที่โลกนี้เพิ่งรู้จัก อินเทอร์เน็ตได้ไม่นาน ดอน แทปสกอตต์ ได้เขียนหนังสือเล่มนี้ขึ้น ซึ่งนี่ เป็นหนึ่งในหนังสือที่ขายดีที่สุดในปี 1995 เขายังเป็นคนแรกที่ให้ค�ำจ�ำกัด ความค�ำว่า “เศรษฐกิจฐานดิจิทัล (Digital Economy)” ที่ ห ลายคนพู ด ถึ ง กั น อยู ่ ใ นทุ ก วั น นี้ ใ นยุ ค อุ ต สาหกรรม ต่างๆไม่ว่าจะต่อครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และหลักการ เทคโนโลยีเครื่องจักรกลเข้ามามีส่วนส�ำคัญในการสร้างมาตรฐานให้กับ ประชาธิปไตยในยุคดิจิทัล เพื่อให้เราได้ท�ำความเข้าใจและพร้อมที่จะรับมือ สิ่งต่างๆ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตให้กับธุรกิจ ขับเคลื่อนระบบ กับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เศรษฐกิจแบบทุนนิยม ที่มีแนวคิดมุ่งตอบสนองความต้องการระดับคาร์ล มาร์ ก ซ์ (Karl Marx)ไปแล้ ว ไม่ เ ช่ น นั้ น มั น อาจเป็ น ค� ำ ที่ ใ ช้ อ ธิ บ าย ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้ดีที่สุด ในวันที่เรามีสื่อสังคม (Social Media) เครือข่ายสังคม (Social Network) และธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)พร้อมสรรพ นั่นหมายความว่าอินเทอร์เน็ตได้สร้างการเข้าถึง อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน คนจะให้ความส�ำคัญกับการรวมกลุ่มมากขึ้น เป็น ยุคของการเป็นส่วนหนึ่ง ร่วมมือกันสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ลดความเป็น “ของ ฉัน”เพิ่มความเป็น “ของเรา” ไม่ใช่แค่การแชร์ข้อมูลระหว่างกัน แต่รวม ถึงการแชร์ภูมิปัญญาที่สั่งสมมาในกลุ่มที่มีความสนใจเรื่องเดียวกัน จน เกิดเป็นสังคมที่ระบบเศรษฐกิจในอนาคตจะถูกปรับเปลี่ยนไปเพื่อตอบสนอง ต่อความต้องการของกลุ่มสังคมมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อการสร้างความยั่งยืน ให้แก่ทุกคน ของโลกดิจิทัลได้อย่างถูกต้องแม่นย�ำ เขาตีพิมพ์หนังสือเล่มนี้อีกครั้ง พร้อมปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลเชิงลึกที่น่าสนใจและเหมาะกับสถานการณ์ ปัจจุบันนอกจากนี้ยังตั้งประเด็นให้ฉุกคิดถึงผลกระทบของเทคโนโลยีในด้าน

นิศาชล พรหมเกิด l กุมพาพันธ์ 2558 l Creative Thailand l 3


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.