เบาหวานความดันโลหิต

Page 1



เบาหวาน (diabetes)

เบาหวาน เกิดจากความผิดปกติของร่างกายที่มีการ ผลิตฮอร์โมนอินซูลินไม่เพียงพอ อันส่งผลทำ�ให้ระดับน้ำ�ตาลใน กระแสเลือดสูงเกิน โรคเบาหวานจะมีอาการเกิดขึ้นเนื่องมาจาก การที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำ�ตาลได้อย่างเหมาะสม ซึ่งโดย ปกติน้ำ�ตาลจะเข้าสู่เซลล์ร่างกายเพื่อใช้เป็นพลังงานภายใต้การ ควบคุมของฮอร์โมนอินซูลิน ซึ่งผู้ที่เป็นโรคเบาหวานร่างกายจะ ไม่สามารถนำ�น้ำ�ตาลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลที่เกิด ขึ้นทำ�ให้ระดับน้ำ�ตาลในเลือดสูงขึ้น ในระยะยาวจะมีผลในการ ทำ�ลายหลอดเลือด ถ้าหากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม อาจนำ�ไปสู่สภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ โรคเบาหวานนี้เปรียบเทียบได้ง่ายๆ โดยเปรียบร่างกาย เราเป็นระบบปั๊มน้ำ� และน้ำ�ในระบบก็คือเลือดของเราโดยปรกติ แล้วปั๊มน้ำ�ก็จะทำ�งานอย่างปรกติ แต่เมื่อมีการทำ�ให้น้ำ�ในระบบ เกิดความข้นขึ้น(ก็คือการเติมน้ำ�ตาลลงไปในน้ำ�) น้ำ�ในระบบก็จะมีความหนืดขึ้น ปั๊ม(หัวใจ)ก็จะต้องทำ�งานหนัก ขึ้น ท่อน้ำ�(หลอดเลือด)ก็ต้องรับแรงดันที่มากขึ้น ดังนั้นคนที่เป็นโรคเบาหวานก็จะมีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อน กับอวัยวะต่างๆเพิ่มขึ้นได้ ปี 2550 พบผู้ป่วยเบาหวานแล้วถึง 246 ล้านคน โดยผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลก 4 ใน 5 เป็นชาวเอเชีย เบาหวาน เป็นโรคที่เป็นกันมากขึ้นทุกปีจนมีการกำ�หนดให้วันที่ 14 พฤษจิกายน ของทุกปีเป็นวันเบาหวาน โลกเพื่อให้มีการรณรงค์ป้องกันให้เป็นที่แพร่หลายขึ้น

อิ น ซู ล ิ น กั บ เบาหวาน อินซูลิน เป็นฮอร์โมนที่สร้างขึ้นโดยกลุ่มเซลล์ภายในตับอ่อน มีหน้าที่ในการนำ�น้ำ�ตาลในเลือดไปสู่ เนื้อเยื่อต่างๆทั่วร่างกายเพื่อใช้ในการสร้างพลังงานและสร้างเซลล์ต่างๆ โดยปรกติแล้วเมื่อมีน้ำ�ตาลเข้าสู่ กระแสเลือดตับอ่อนก็จะถูกกระตุ้นให้หลั่ง อินซูลิน แล้วอินซูลินก็จะเข้าจับน้ำ�ตาลเพื่อนำ�ไปเลี้ยงส่วนต่างๆของ ร่างกาย แต่ในผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน ซึ่งร่างกายมี อินซูลิน ไม่เพียงพอก็จะทำ�ให้มีน้ำ�ตาลในเลือดสูงขึ้น

ประเภทของเบาหวาน เบาหวาน สามารถแบ่งออกได้เป็น2ชนิด ได้แก่ โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เกิ ด จากภู มิ ต้ า นทานของร่ า งกาย อ่อนทำ�ให้ร่างกายหยุดสร้างอินซูลิน หรือ ต้านทานตัวเอง หรือ ออโตอิมมูน(auto1 จึงจำ�เป็นต้องฉีดอินซูลิน เพื่อควบคุม รุนแรง จะมีการคั่งของสารคีโตน(ketones) สติถึงตายได้

ทำ�ลายเซลล์ ซึ่งสร้างอินซูลินในส่วนของตับ สร้างได้น้อยมาก ดังที่เรียกว่า โรคภูมิ immune) ดังนั้นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ น้ำ�ตาลในเลือดระยะยาว และถ้าเป็น สารนี้จะเป็นพิษต่อระบบประสาททำ�ให้หมด


โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็น เบาหวาน ที่พบเห็นกัน ชัดเจน แต่มีส่วนเกี่ยวกับ พันธุกรรม ตัวมาก และขาดการออกกำ�ลัง ป่วยยังคงมีการสร้างอินซูลินแต่ อินซูลิน ทำ�ให้เซลล์ที่สร้างอินซู แทรกซ้อนโดยไม่รู้ตัว โดยอาจจะ อินซูลินชนิดฉีด เพื่อควบคุมน้ำ�ตาลใน นอกจากนี้ เบาหวาน ยังมีสาเหตุ ปัสสาวะ ยาเม็ดคุมกำ�เนิด

เป็นส่วนใหญ่ สาเหตุที่แท้จริงนั้นยังไม่ทราบ นอกจากนี้ ยังมีความสัมพันธ์กับภาวะ น้ำ�หนัก กาย มีลูกดก อีกทั้งวัยที่เพิ่มขึ้น เซลล์ของผู้ ทำ�งานไม่เป็นปกติ เนื่องจากมีภาวะดื้อต่อ ลินค่อยๆถูกทำ�ลายไป บางคนเริ่มมีภาวะ ใช้ยาในการรับประทาน และบางรายต้องใช้ เลือด มาจากการใช้ยาด้วย เช่น สเตอรอยด์ ยาขับ

อาการเบื ้ อ งต้ น ของเบาหวาน มี

ผู ้ เ ป็ น โรคเบาหวานจะมี อ าการเบื ้ อ งต้ น คื อ 1. ปวดปัสสาวะบ่อย ครั้งขึ้น เนื่องจากในกระแสเลือดและอวัยวะต่างๆ น้ำ�ตาลค้างอยู่มาก ไตจึงทำ�การกรองออกมาในปัสสาวะ ทำ�ให้ปัสสาวะ หวาน สังเกตุจากการที่มีมดมาตอมปัสสาวะ จึงเป็นที่มาของการ เรียก เบาหวาน 2. ปัสสาวะกลางคืนบ่อยขึ้น 3. กระหายน้ำ� และดื่มน้ำ�ในปริมาณมากๆต่อครั้ง 4. อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายไม่มีเรี่ยวแรง 5. เบื่ออาหาร 6. น้ำ�หนักตัวลดโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยเฉพาะถ้าหากน้ำ�หนักเคยมากมาก่อน อัน เนื่องมาจาก ร่างกายไม่สามารถนำ�น้ำ�ตาลไปสร้างพลังงานได้เต็มที่จึงต้องนำ�ไขมันและโปรตีนจากกล้ามเนื้อ มาใช้ทดแทน 5. ติดเชื้อบ่อยกว่าปรกติ เช่นติดเชื้อทางผิวหนังและกระเพาะอาหาร สังเกตุได้จากเมื่อ เป็นแผลแล้วแผลจะหายยาก 6. สายตาพร่ามองไม่ชัดเจน 7 อาการชาไม่ค่อยมีความรู้สึก เนื่องมาจากเบาหวานจะทำ�ลายเส้นประสาทให้เสื่อม สมรรถภาพลงความสามารถในการรับรู้ความรู้สึกจึงถดถอยลง 8. อาจจะมีอาการของโรคหัวใจ และโรคไต

อาการแทรกซ้ อ นของ โรคเบาหวาน ภาวะแทรกซ้ อ นทางสายตา (Diabetic retinopathy) เ กิ ด จ า ก ก า ร ที่ น้ำ�ตาลเข้าไปใน endothelium ของ หลอดเลือดเล็กๆ ในลูกตา ทำ�ให้ หลอดเลือดเหล่านี้มีการสร้างไกลโค โปรตี น ซึ่ ง จะถู ก ขนย้ า ยออกมา เป็น Basement membrane มากขึ้น ทำ�ให้ Basement membrane หนา แต่เปราะ หลอดเลือดเหล่านี้จะ


ฉีกขาดง่าย เลือดและสารบางอย่างที่อยู่ในเลือดจะรั่วออกมา และมีส่วนทำ�ให้ Macula บวม ซึ่งจะทำ�ให้เกิด Blurred vision หลอดเลือดที่ฉีกขาดจะสร้างแขนงของหลอดเลือดใหม่ออกมามากมายจนบดบังแสงที่มาตกกระ ทบยัง Retina ทำ�ให้การมองเห็นของผู้ป่วยแย่ลง ตาหรือจอตาเสื่อม หรือมองเห็นจุดดำ�ลอยไปมา และอาจจะ ทำ�ให้ตาบอดได้ในที่สุด ภาวะแทรกซ้ อ นทางไต (Diabetic nephropathy) ไตมักจะเสื่อม จนเกิดภาวะไตวาย พยาธิสภาพ ของหลอดเลือดเล็กๆ ที่ Glomeruli จะทำ�ให้ Nephron ยอมให้ albumin รั่วออกไปกับ filtrate ได้ Proximal tubule จึงต้องรับ ภาระในการดูดกลับสารมากขึ้น ซึ่งถ้าเป็นนานๆ ก็จะทำ�ให้เกิด Renal failure ได้ ซึ่งผู้ป่วยมักจะเสียชีวิตภายใน 3 ปี นับจาก แรกเริ่มมีอาการ ภาวะแทรกซ้ อ นทางระบบประสาท (Diabetic neuropathy) เบาหวาน จะทำ�ให้หลอดเลือดเล็กๆ ที่มาเลี้ยงเส้น ประสาทบริเวณปลายมือปลายเท้าเกิดพยาธิสภาพ ก็จะทำ�ให้ เส้นประสาทนั้นไม่สามารถนำ�ความรู้สึกต่อไปได้ เช่นรู้สึกชา หรือปวดแสบปวดร้อนตามปลายมือ เมื่อผู้ป่วยมีแผล ผู้ป่วย ก็จะไม่รู้ตัว และไม่ดูแลแผลดังกล่าว ประกอบกับเลือดผู้ป่วย มีน้ำ�ตาลสูง จึงเป็นอาหารอย่างดีให้กับเหล่าเชื้อโรค และแล้ว แผลก็จะเน่า และนำ�ไปสู่ Amputation ในที่สุด ในผู้ชายอาจมี ภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ(impotence) โรคหลอดเลื อ ดหั ว ใจ (Coronary vascular disease) เบาหวาน เป็นตัวการที่จะเร่งให้เกิดการเสื่อมของหลอดเลือดทั่วร่างกายและเมื่อหลอดเลือดที่ เลี้ยงหัวใจเสื่อมสภาพจาก เบาหวาน ประกอบกับการมีไขมันในเลือดสูง ก็จะส่งผลให้มีการตีบของหลอดเลือด หัวใจ ทำ�ให้เกิด โรคหัวใจ ขาดเลือด แต่หากหลอด เลือดเกิดอุดตัน ก็จะเกิด อาการ กล้ามเนื้อหัวใจ ตาย ในผู้ป่วย เบาหวาน บางราย กล้ามเนื้อหัวใจ มีการทำ�งานน้อยกว่า ปกติ คือ มีการบีบตัว น้อยกว่าปกติอันเนื่องมา จาก เส้นเลือดฝอยเล็กๆ ที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจผิด ปกติจาก เบาหวาน ซึ่งจะ ทำ�การรักษาได้ยาก การ รักษาที่ดีที่สุดคือ การ ผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ ปัญหา ที่สำ�คัญมากอีกประการ หนึ่งของผู้เป็น เบาหวาน คือผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจจะไม่แสดงอาการผิดปกติซึ่งจะบ่งชี้ว่าเป็น โรคหัวใจให้เห็นก่อน เช่นอาการเจ็บหน้าอก อันเป็นอาการเบื้องต้นของผู้ป่วยโรคหัวใจทั่วไป ดังนั้นผู้เป็น เบา หวาน บางรายอาจจะแสดงอาการครั้งแรกด้วยอาการที่รุนแรง เช่น กล้ามเนื้อหัวใจตาย หรือ หัวใจล้ม เหลว ทำ�ให้แพทย์วินิจฉัยโรคได้ช้ากว่าปกติ ซึ่งอาจเป็นอันตรายได


โรคหลอดเลื อ ดสมอง (Cerebrovascular disease) ผู้เป็น เบาหวาน จะมีอัตราเสี่ยงในการเกิดอัมพาตชนิดหลอดเลือดตีบได้สูง เพราะ เบาหวาน ทำ�ให้เกิดภาวะหลอดเลือดแข็งได้ง่าย โดยจะมีหลอดเลือดแข็งทั่งร่างกายและถ้าเป็นที่หลอดเลือดของสมอง ก็ จะเกิดอัมพาตขึ้น โดยอัตราเสี่ยงของผู้ป่วยที่เป็น โรคเบา หวาน จะมีโอกาสเป็นอัมพาตได้สูงกว่าผู้ป่วยปกติ 2-4 เท่า โดยจะมีอาการเบื้องต้นสังเกตุได้จาก กล้ามเนื้อแขน ขาอ่อนแรงครึ่งซีกอย่างทันทีทันใดหรือเป็นครั้งคราว ใบหน้าชาครึ่งซีกใดซีกหนึ่ง พูดกระตุกกระตัก สับสนหรือ พูดไม่ได้เป็นครั้งคราว ตาพร่าหรือมืดมองไม่เห็นไปชั่วครู่ เห็นแสงผิดปกติ วิงเวียน เดินเซไม่สามารถทรงตัวได้ กลืนอาหารแล้วสำ�ลักบ่อยๆ มีอาการปวดศรีษะอย่าง รุนแรงโดยอาการปวดมักจะเกิดในขณะที่เคร่งเครียด หรือมีอารมณ์รุนแรง โรคของหลอดเลื อ ดส่ ว นปลาย (Peripheral vascular disease) แผลเรื ้ อ รั ง จากเบาหวาน (Diabetic ulcer)

ผู ้ ท ี ่ ม ี โ อกาสเป็ น โรคเบาหวาน เบาหวาน พบได้ในคนทุกเพศทุกวัย แต่จะพบมากในคนอายุกว่า 40 ปี ขึ้นไป คนที่อยู่ในเมืองมีโอกาสเป็น เบาหวาน มากกว่าคนในชนบท คนอ้วนที่น้ำ�หนัก เกิน โดยดูจากดัชนีมวลกาย ผู้ที่ขาดการออกกำ�ลังกาย และหญิงที่มีลูกดกโดยเฉพาะ ผู้มีประวัติคลอดบุตรมีน้ำ�หนักแรกคลอดมากกว่า4กิโลกรัม จะมีโอกาสเป็น เบาหวาน ได้ มากขึ้น แต่ในปัจจุบันลักษณะการบริโภค และกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำ�วัน ส่งผล ให้มีคนเป็น เบาหวาน เพิ่มมากขึ้น และการพบผู้ป่วยที่อายุน้อยที่เป็น เบาหวาน ก็เพิม่ สูงขึ้น 1. บุคคลที่มี พ่อ แม่ พี่ น้อง เป็นโรคเบาหวาน 2. คนที่อ้วน กินจุ มีความเครียดมากๆ และไม่ออกกำ�ลังกาย 3. อายุ พบว่ายิ่งมีอายุมากขึ้นจะมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานมากขึ้น 4. ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์หลายครั้งหรือเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ มีโอกาสเป็นโรคเบาหวานได้ง่าย 5. ผู้ที่ดื่มสุรามากและดื่มเป็นประจำ�จะทำ�ให้ตับอ่อนเสื่อมสภาพ 6. ผู้ที่ได้รับยาบางชนิดหรือผู้ที่มีการติดเชื้อโรคบางชนิดจะทำ�ให้ ตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้

อั น ตรายที ่ เ กิ ด จากโรคเบาหวาน บุคคลทั่วไปหรือผู้ที่เป็นโรคเบาหวานอาจจะคิดว่าโรคเบาหวานเป็นโรคที่ไม่อันตรายร้ายแรง ซึ่งหากผู้ ที่เป็นโรคเบาหวานละเลยการดูแลสุขภาพของตนเองอย่างสม่ำ�เสมอ ก็จะทำ�ให้เกิดปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ตาม มาได้

ปั ญ หาสุ ข ภาพที ่ เ กิ ด ขึ ้ น เฉี ย บพลั น

1. การติดเชื้อและเกิดการอักเสบตามอวัยวะต่าง


เช่น ปอด ไต กระเพาะปัสสาวะ ผิวหนัง 2. ภาวะน้าตาลในเลือดต่า พบได้บ่อยในผู้ที่รับประทานอาหารไม่ตรงเวลาหรือกินยาลดน้ำ�ตาลมากเกินไป โดยจะมีอาการ มือสั่น หัวใจเต้นแรง เหงื่อ ออก อ่อนเพลีย ง่วงนอน ตามัว ปวดศีรษะ ซึ่งถ้า น้ำ�ตาลในเลือดต่ำ�มาก ๆ อาการทางสมองจะปรากฏ ขึ้น เช่น ความคิดสับสน อาละวาด โวยวาย ซึมลง จนถึงขั้นหมดสติ วิธีแก้ไข - ถ้ารู้สึกตัว ให้รีบอมน้ำ�ตาลหรือทอฟฟี่ หรือดื่มน้ำ�หวานประมาณ ครึ่งแก้ว - ถ้าไม่รู้สึก ตัว ให้จับผู้ป่วยนอนตะแคง ค่อยๆ กรอกน้ำ�หวานหรือ น้ำ�เชื่อมและรีบนำ�ส่งโรง พยาบาล 3. ภาวะน้าตาลในเลือดสูง พบได้ในผู้ที่ขาดยาหลายๆ วัน หรือผู้ที่ไม่ควบคุมอาหารผู้ป่วยจะมีอาการกระหายน้ำ�มาก ปากคอแห้ง ปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ คลื่นไส้อาเจียน อ่อนเพลียมากและอาจหมดสติได้ วิธีแก้ไข ให้ดื่มน้ำ�มากๆ พักผ่อน งดออกกำ�ลังกาย และไปพบแพทย์

ปั ญ หาสุ ข ภาพที ่ เ กิ ด เรื ้ อ รั ง

ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นเรื้อรังนั้นส่วนมากจะพบในผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมานาน กว่า 5 ปี ซึ่งได้แก - โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน ซึ่งทำ�ให้กล้ามเนื้อหัวใจตายและเสียชีวิต - ความดันโลหิตสูง จนทำ�ให้สมองพิการและเป็นอัมพาต - ตาพร่ามัวหรือต้อกระจก ซึ่งอาจทำ�ให้ตาบอด - ไตอักเสบหรือไตวายเรื้อรัง - ชาบริเวณปลายมือปลายเท้า - เป็นแผลเรื้อรังที่เท้าจนเกิดอาการแผลเน่า เนื้อตายและถูกตัดขาในที่สุด

่ก ารป้ อ งกั น การเป็ น เบาหวาน 1. ควบคุมน้ำ�ตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ และแก้ไขปัจจัยเสี่ยงอื่นๆอันจะก่อให้เกิดโรคเบาหวาน 2. ควบคุมโภชนาการ ให้มีความสมดุลทั้งในด้านโภชนาการ การออกกำ�ลังกาย รวมไปจนถึงการใช้ ยารักษาโรค 3.ควรตรวจเช็คระดับน้ำ�ตาลในเลือดสม่ำ�เสมอ โดยปรึกษาแพทย์ว่าควรตรวจเช็คเมื่อใด และ ระยะ


เวลาห่างในการตรวจที่เหมาะสม 4.ยาบางชนิดหรือยาสมุนไพร อาจมีผลต่อการควบคุมน้ำ�ตาลในเลือด จะต้องปรึกษาแพทย์และ เภสัชกรก่อนใช้ยา หรือ สมุนไพร เหล่านี้

สิ ่ ง ที ่ ต รวจพบเมื ่ อ เป็ น เบาหวาน เบาหวานชนิดที่ 1 มักพบในคนที่ มีรูปร่างซูบผอม ไม่มีไขมัน กล้ามเนื้อลีบฝ่อ เบาหวานชนิดที่ 2 อาจมีรูปร่างอ้วน บางรายตรวจไม่พบสิ่งผิดปกติตามร่างกาย การตรวจ ปัสสาวะมักจะพบน้ำ�ตาลในปัสสาวะขนาด มากกว่าหนึ่งบวกขึ้นไป การตรวจน้ำ�ตาลใน เลือดหลังอดอาหาร 6 ชั่วโมง (fasting plasma glucose/FPG) มักพบว่ามีค่าเท่ากับ หรือมากกว่า 126 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 มิลลิลิตร

การวิ น ิ จ ฉั ย เบาหวาน หากสงสัยว่าเป็น เบาหวาน ควรไป ตรวจเลือดที่โรงพยาบาลโดย อดอาหารและ เครื่องดื่มทุกชนิด ตั้งแต่เที่ยงคืน แล้วไปเจาะ เลือดในตอนเช้า เพื่อดูระดับน้ำ�ตาลในเลือดหลัง อดอาหาร6ชั่วโมง (FPG) ซึ่งคนปกติจะมีค่าต่ำ� กว่า 110 มิลลิกรัม ต่อเลือด 100 มิลลิลิตร หากพบมีค่า เท่ากับหรือมากกว่า 126 มิลลิกรัม ในการตรวจ อย่างน้อย 2ครั้ง ก็วินิจฉัยได้ว่าเป็นเบาหวาน และยิ่งมีค่าสูงเท่าใดก็แสดงว่ามีความรุนแรงของการเป็นเบา หวาน เพิ่มมากขึ้น

คำ � แนะนำ � เกี ่ ย วกั บ เบาหวาน 1. เบาหวาน เป็นโรคเรื้อรัง ต้องใช้เวลาการรักษานานหรือตลอดชีวิต หากไม่ได้รับการปฏิบัติที่ถูก ต้องก็อาจมีอันตรายจากโรคแทรกซ้อนได้มาก 2. ผู้ที่กินยาหรือฉีดยารักษาเบาหวานอยู่ บางครั้งอาจเกิดภาวะน้ำ�ตาลในเลือดต่ำ� อาการได้แก่ ใจ สั่น หน้ามืด ตาลาย ตัวเย็น เหงื่อออก ถ้าเป็นมากๆ อาจเป็นลม หมดสติ และอาจจะชักได้ ควรจะต้อง พก น้ำ�ตาลหรือของหวานติดตัวไว้ ถ้ารู้สึกมีอาการก็ให้รีบรับประทาน แล้วทบทวนดูว่าเกิดอาการเหล่านี้ได้ อย่างไร โดยสังเกตุตัวเองจากการบริโภคอาหารเมื่อเป็นเบาหวานเช่น กินอาหารน้อยไปหรือไม่ ออกกำ�ลัง มากเกินไปหรือไม่ กินหรือฉีดยาเบาหวาน เกินขนาดไปหรือไม่ แล้วควมคุมทั้ง 3 อย่างนี้ให้พอดีกัน สำ�หรับ ผู้ที่กินอาหารผิดเวลาก็อาจเกิดภาวะนี้ได้เช่นกัน ดังนั้นจึงควร รับประทานอาหารให้ตรงเวลาทุกมื้อด้วย 3. อย่าซื้อยากินเอง เนื่องจากยาบางประเภทมีผลต่อค่าน้ำ�ตาลในเลือดได้ เช่น สเตอรอยด์ ยาขับ ปัสสาวะ และยาบางประเภทก็อาจทำ�ให้ฤทธิ์ของยารักษาเบาหวาน แรงขึ้นได้ ก็จะมีผลให้น้ำ�ตาลในเลือดต่ำ� อย่าซื้อยากินเอง เนื่องจากยาบางประเภทมีผลต่อค่าน้ำ�ตาลในเลือดได้ เช่น สเตอรอยด์ ยาขับปัสสาวะ และ ยาบางประเภทก็อาจทำ�ให้ฤทธิ์ของยารักษาเบาหวาน แรงขึ้นได้ ก็จะมีผลให้น้ำ�ตาลในเลือดต่ำ�กว่าปกติ เช่น


แอสไพริน ดังนั้นเมื่อเป็น เบาหวาน ก่อนทานยาประเภทใดควรจะต้องแน่ใจว่ายานั้นไม่มีผลต่อค่าน้ำ�ตาลใน เลือด กว่าปกติ เช่น แอสไพริน ดังนั้นเมื่อเป็น เบาหวาน ก่อนทานยาประเภทใดควรจะต้องแน่ใจว่ายานั้นไม่มีผลต่อ ค่าน้ำ�ตาลในเลือด 4. ผู้ที่มีญาติพี่น้องเป็นเบาหวาน ควรตรวจระดับน้ำ�ตาลในเลือดเป็นครั้งคราว เพื่อป้องกันตั้งแต่ ระยะแรกเริ่ม

การบริ โ ภคอาหารเมื ่ อ เป็ น เบาหวาน 1. เลือกบริโภคอาหารให้ครบ 5หมู่ โดยคำ�นึงถึงพลังงานที่ได้จากอาหารโดยประมาณจากคาร์โบไฮเดรต (แป้ง) ประมาณ 55-60%โปรตีน (เนื้อสัตว์) ประมาณ 15-20%ไขมัน ประมาณ 25% 2. ผู้ที่มีน้ำ�หนักตัวมากควรจะต้องลดปริมาณการรับประทานลง โดยอาจจะค่อยๆลดลงให้เหลือเพียง ครึ่งหนึ่งของปริมาณที่เคยรับประทานปรกติ และพยายามงด อาหารมันๆ ทอดๆ 3. รับประทานอาหารที่มีกากใยมากเพื่อช่วยในการขับถ่าย 4. หลีกเลี่ยงการรับประทานจุกจิกและรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา 5. พยายามรับประทานอาหารในปริมาณที่สม่ำ�เสมอกันในทุกมื้อ 6. หากมีอาการเกี่ยวกับโรคไตหรือความดันโลหิตสูง ควรหลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม 7. แม้ระดับน้ำ�ตาลในเลือดจะปรกติดีแล้วก็ควรจะต้องควบคุมอาหารตลอดไป

อาหารที ่ ห ้ า มรั บ ประทานเมื ่ อ เป็ น เบาหวาน diabetes อาหารที ่ ท าให้ ไ ขมั น ในเลื อ ดสู ง

-

น้ำ�มันสัตว์และน้ำ�มันพืชบางชนิด เช่น น้ำ�มันมะพร้าว น้ำ�มันปาล์ม กะทิ เนื้อสัตว์ติดมัน เช่น เนื้อวัวหรือเนื้อหมูติดมัน ไส้กรอกอีสาน ขาหมู ข้าวมันไก่ อาหารจำ�พวกผัดหรือทอด เช่น ผัดซีอิ้วใส่ไข่ ผัดหมี่โคราช หนังไก่ทอด แคบหมู เนย เค้กที่ราดครีมมาก ๆ เครื่องในสัตว์ สมองสัตว์ เครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ เช่น เหล้า เบียร์


อาหารผู ้ ป ่ ว ยโรคเบาหวานรั บ ประทานได้ บ ้ า งแต่ ต ้ อ งจากั ด ปริ ม าณ - อาหารจำ�พวกแป้ง เช่น ข้าว ข้าวเหนียว ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ขนมปัง - อาหารจำ�พวกพืช เช่น มันเทศ มันฝรั่ง ข้าวโพดหวาน ถั่วเหลือง ถั่วลิสง - ผลไม้ที่ไม่หวาน เช่น - กล้วยน้ำ�ว้า มื้อละ 1 ผล - ฝรั่ง มื้อละ ½ ผล - กล้วยหอม มื้อละ ½ ผล - เงาะ มื้อละ 3 – 4 ผล - มะม่วง มื้อละ ½ ผล - ลิ้นจี่ มื้อละ 4 ผล - พุทรา มื้อละ 2 ผล - แตงโม มื้อละ 6 – 8 คำ� - องุ่น มื้อละ 10 – 12 ผล - ลางสาด มื้อละ 5 – 6 ผล - มังคุด มื้อละ 2 ผล - ชมพู่ มื้อละ 2 ผล - มะละกอสุก มื้อละ 5 คำ� - ส้มโอ มื้อละ 3 กลีบ - ส้มเขียวหวาน มื้อละ 1 ผล

อาหารผู ้ ป ่ ว ยโรคเบาหวานรั บ ประทานได้ บ ้ า งแต่ ต ้ อ งจากั ด ปริ ม าณ - นม ควรเป็นนมจืดพร่องมันเนย ถ้าเป็นนมเปรี้ยวหรือโยเกิร์ตควร เป็นชนิดไม่ปรุงแต่งรส ผู้ป่วยเบาหวานสามารถรับประทานนมได้วันละ 1 – 2 กล่อง อาหารผู ้ ป ่ ว ยโรคเบาหวานรั บ ประทานได้ โ ดยไม่ จ ากั ด ปริ ม าณ - ผักเป็นใบทุกชนิด เช่น ผักกาด ผักคะน้า กะหล่ำ�ปลี ผักกระเฉด ผักขม คึ่นใช่ ต้นกระเทียม บรอคเคอรี่ หอม ผักชี ฯลฯ - ผักที่มีส่วนประกอบของน้​้ามาก เช่น น้ำ�เต้า มะเขือเทศ มะเขือยาว แตงกวา หน่อไม้ฝรั่ง ดอกกะหล่ำ� หัวไชเท้า เห็ด ฯลฯ อาหารเหล่านี้ นอกจากจะมีสารอาหารต่ำ�แล้ว ยังมีกากอาหารที่เรียกว่า ไฟเบอร์ ซึ่งช่วยให้ ร่างกายดูดซึมน้ำ�ตาลได้ช้าลง

การออกกาลั ง กาย ประโยชน์ ข องการออกกาลั ง กายสาหรั บ ผู ้ ป ่ ว ยโรคเบาหวาน 1. ทำ�ให้ค่าน้ำ�ตาลในเลือดลดลง เป็นการชะลอหรือยับยั้งการเกิดโรคแทรกซ้อน 2. ช่วยลดไขมันในเลือด (ลดโอกาสการเกิดโรคเส้นเลือดหัวใจอุดตัน) 3. ช่วยลดความดันโลหิต


4. ช่วยลดความอ้วน 5. ทำ�ให้อวัยวะต่างๆ เช่น ปอด หัวใจ กระดูก กล้ามเนื้อและข้อต่อต่างๆ ทำ�งานได้ดีขึ้น

การออกกาลั ง กายที ่ เ หมาะสม

1. เนื่องจากผู้ป่วยส่วนมากมีอายุและน้ำ�หนักตัวมากจึงควรเลือกการออกกำ�ลังกายที่เหมาะสม กับสภาพร่างกาย เช่น การเดิน วิ่งเหยาะๆ ว่ายน้ำ� 2. ควรออกกำ�ลังกายทุกวัน ครั้งละ 15 – 20 นาที 3. ควรออกกำ�ลังกายให้มีความหนักพอ ซึ่งสังเกตได้จากการที่เริ่มมีอาการหอบน้อยๆ และ เหงื่อซึม ไม่ควรให้เหนื่อยมากจนหอบ พูดอะไรไม่ออกและหากรู้สึกเจ็บหน้าอกให้หยุดออกกำ�ลังกายทันที ข้ อ ควรระวั ง ในการออกกาลั ง กาย - ขณะออกกำ�ลังกาย ควรสวมใส่รองเท้าผ้าใบ และถุงเท้าเพื่อให้เกิดความ ยืดหยุ่นและช่วย ป้องกันไม่ให้เกิดการบาดเจ็บบริเวณเท้า - การอบอุ่นร่างกาย หมายถึง การอบอุ่นร่างกายเพื่อป้องกันการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อข้อ ต่อและเย็น เช่น การเดินช้าๆ ประมาณ 5 นาที - การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ หมายถึง การผ่อนคลายกล้ามเนื้อและระบบไหลเวียนโลหิตให้ค่อย ๆ กลับสู่สภาพเดิม ซึ่งกระทำ�ได้ด้วยการเดินช้า ๆ ประมาณ 5 นาที - สำ�หรับผู้ที่เริ่มออกกำ�ลังกาย ควรออกกำ�ลังกายประมาณ 6 นาที แล้วจึงเพิ่มเวลาขึ้น - อย่าออกกำ�ลังกายภายใน 1 ชั่วโมงก่อนจะถึงเวลาอาหาร - หยุดการออกกำ�ลังกายทันทีที่มีอาการผิดปกติ เช่น มือสั่น หัวใจเต้นแรง เหงื่อออกมาก


การดู แ ลรั ก ษาเท้ า เนื่องจากผู้ที่เป็นโรคเบาหวานเป็นระยะเวลานานๆ มักจะมีความผิดปกติของระบบประสาทร่วมกับการ ไหลเวียนของเลือดบริเวณปลายเท้า จะทำ�ให้เกิดอาการชาและการรับความรู้สึกน้อยลงมากและถ้าเป็นแผล บริเวณปลายเท้าก็จะรักษาให้หายได้ยาก มีผู้ป่วยจำ�นวนมากที่เป็นแผลเรื้อรังที่เท้า จนเกิดอาการแผลเน่า ตายและถูกตัดขาในที่สุด เท้า

9 ขั ้ น ตอนในการดู แ ลรั ก ษาเท้ า 1. ล้างเท้าให้สะอาด 2. เช็ดเท้าให้แห้ง 3. ทานวดน้ำ�มันทุกวัน 4. ตัดเล็บเท้าให้เป็น 5. ไม่เดินเท้าเปล่า 6. สวมถุงเท้าสั้น/ยาวเส้นตรง สะอาด ไม่คับ / รัดที่ข้อเท้า 7. หมั่นตรวจรองเท้า 8. ใส่รองเท้าที่พอเหมาะ 9. บริหารเท้าทุกวันก่อนสวม พอดี อย่างน้อย วันละ 15 นาที การบริ ห ารเท้ า การบริ ห ารเท้ า มี ท ั ้ ง หมด 10 ท่ า (ควรปฏิ บ ั ต ิ ท ุ ก วั น ) เริ่มต้น นั่งตัวตรงบนเก้าอี้ (ห้ามเอาหลังพิงพนักเก้าอี้) ท่าที่ 1 (ท้า 10 ครั้ง) งอนิ้วเท้าของเท้าทั้ง 2 ข้างขึ้นมาข้างบน (ตามรูป) แล้วเหยียดตรงลงข้างล่าง โดยที่ไม่ยกส้น ท่าที่ ท่าที่ ท่าที่ ท่าที่

2 (ท้า 10 ครั้ง) 1. ยกปลายเท้าทั้งหมดของเท้าทั้ง 2 ข้างขึ้นสูงจากพื้นที่สุดเท่าที่จะสูงได้ โดยที่ไม่ยกส้นเท้า 2. ยกส้นเท้าขึ้นโดยที่ปลายนิ้วยันอยู่ที่พื้น 3 (ท้า 10 ครั้ง) 1. ให้ส้นเท้าอยู่กับพื้น 2. ยกปลายเท้าของเท้าทั้ง 2 ข้าง 3. หมุนปลายเท้าเป็นวงกลมและกลับมาอยู่ตรงกลาง 4 (ท้า 10 ครั้ง) 1. ให้ปลายเท้าอยู่กับพื้น 2. ยกส้นเท้า 3. หมุนเท้าให้เป็นวงกลมและกลับมาอยู่ตรงกลาง 5 (ท้าข้างละ 10 ครั้ง ท้าทีละข้าง) 1. ยกเข่าขึ้น 2. ยืดขาทีละข้าง


3. เหยียดเท้า โดยให้ปลายนิ้วชี้เหยียดตรงข้ามกับตัวเราแล้วค่อย ๆ วางเท้าลงบนพื้นและทำ� อย่างนี้กับขาอีกข้างหนึ่ง ท่าที่ 6 (ท้าข้างละ 10 ครั้ง ท้าทีละข้าง) 1. ยืดขาทีละข้างออกไปขณะที่ส้นเท้ายึดอยู่ที่พื้น 2. ยกขาขึ้นมาให้ตรงขนานกับพื้น 3. งอฝ่าเท้าเข้ามาหาตัว 4. แล้วยึดกลับ ท่าที่ 7 (ท้า 10 ครั้ง) ทำ�เหมือนท่าที่ 6 แต่ทำ� 2 ข้างพร้อมกัน ท่าที่ 8 (ท้า 10 ครั้ง) ยืดและงอฝ่าเท้าสลับกัน โดยทำ�พร้อมกันของเท้าทั้ง 2 ข้าง โดยใช้ข้อเท้าขยับแต่ไม่ขยับขา ท่าที่ 9 (ท้าข้างละ 10 ครั้ง) 1. เหยียดขาให้ตรงแล้วยกขึ้นขนานกับพื้น 2. ใช้ข้อเท้าหมุนปลายเท้าเป็นวงกลม 3. นับ (ใช้เท้าเขียนเป็นตัวเลขในอากาศ ตั้งแต่เลข 1 ถึง 10) ท่าที่ 10 (ท้าครั้งเดียว) หยิบกระดาษหนังสือพิมพ์มา 1 หน้า วางลงบนพื้นและใช้เท้าทั้ง 2 ข้างทำ�กระดาษนั้นให้เป็นลูก กลมๆ เมื่อทำ�เสร็จแล้วให้คลี่ออกและฉีกกระดาษนั้นเป็นชิ้นๆ โดยใช้นิ้วเท้าทั้ง 2 ข้างฉีกออก

การรั บ ประทานยา ยาสำ�หรับผู้ป่วยโรคเบาหวานมี 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ 1. ยาก่อนอาหาร ยาประเภทนี้จะมีฤทธิ์ไปกระตุ้นตับอ่อนให้สร้างฮอร์โมนอินซูลิน เพื่อมาควบคุมน้ำ�ตาล ในเลือดที่สูงขึ้นเนื่องจากการรับประทานอาหาร ข้อควรระวัง ผู้ป่วยควรรับประทานอาหารหลังจากรับประทานยาเป็นเวลา 30 นาที เพราะถ้ารับประทาน อาหารช้ากว่านี้ อาจจะทำ�ให้เกิดภาวะน้ำ�ตาลในเลือดต่ำ�หมดสติได 2. ยารับประทานพร้อมอาหาร


ผู้ป่วยจะต้องรับประทานยาพร้อมรับประทานอาหารค้าแรกเพราะยาประเภทนี้จะไป ยับยั้งการดูดซึมของน้ำ�ตาลในลำ�ไส้ซึ่งถ้ารับประทานหลังอาหาร 1 – 2 ชั่วโมงจะไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร เพราะ น้ำ�ตาลถูกดูดซึมไปหมดแล้ว 3. ยาหลังอาหาร ในผู้ป่วยบางรายเมื่อรับประทานยาประเภทนี้แล้วอาจจะทำ�ให้มวนท้อง เพื่อป้องกันการ มวนท้องจึงต้องรับประทานหลังอาหารทันที

ข้ อ ควรปฏิ บ ั ต ิ ใ นการรั บ ประทานยา 1. รับประทานยาให้ครบตามที่แพทย์สั่ง ไม่ลดหรือเพิ่มยาเอง 2. รับประทานยาให้ตรงตามเวลาทุกครั้ง 3. ไม่ควรรับประทานยานอกเหนือจากที่แพทย์สั่ง ถ้าจำ�เป็นควรแจ้งให้แพทย์ทราบเพราะยา บางชนิดอาจมีฤทธิ์ทำ�ให้น้ำ�ตาลในเลือดต่ำ�ได้ ยาฉี ด อิ น ซู ล ิ น การรักษาโรคเบาหวานสามารถรักษาได้ 2 วิธี คือ การรักษาโดยใช้ยารับประทาน และรักษา โดยการใช้ยาฉีดอินซูลิน ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้ตัดสินใจว่า ผู้ป่วยเบาหวานรายใดสมควรใช้ยาฉีดอินซูลินและ เนื่องจากการฉีดยาอินซูลินจำ�เป็นต้องฉีดทุกวัน ผู้ป่วยจึงจำ�เป็นต้องฉีดอินซูลินด้วยตนเองและมีวิธีการฉีดที ถูกต้อง

ชนิ ด ของอิ น ซู ล ิ น 1. ชนิดใส จะออกฤทธิ์และหมดฤทธิ์เร็ว ฉีดวันละ 3 – 4 ครั้งก่อนอาหารแต่ละมื้อ 2. ชนิดขุ่น จะออกฤทธิ์และหมดฤทธิ์ช้า ฉีดวันละ 1 หรือ 2 ครั้ง ขั ้ น ตอนการฉี ด ยาอิ น ซู ล ิ น รูปที่ 1 ล้างมือให้สะอาดแล้วเช็ดให้แห้งทุกครั้ง ก่อนฉีดกลิ้งขวดยาอินซูลินในฝ่ามือทั้ง สองข้าง อย่าเขย่าขวดอินซูลิน (ชนิดใสไม่ต้องกลิ้งขวด) รูปที่ 2 ใช้สำ�ลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดจุกยางของขวดอินซูลิน รูปที่ 3 ดูดลมเข้ามาในหลอดฉีดยาให้จำ�นวนเท่ากับปริมาณยา (หน่วยเป็นยูนิต) ที่ ต้องการ


รูปที่ 4 แทงเข็มฉีดยาให้ผ่านจุกยางเข้าไปในขวดยาแล้วดันอากาศเข้าไปในขวด 29 รูปที่ 5 คว่ำ�ขวดยาลงแล้วค่อยๆ ดูดยาอินซูลินเข้าหลอดฉีดยาในปริมาณที่ต้องการ รูปที่ 6 ใช้สำ�ลีชุบแอลกอฮอล์ทำ�ความสะอาดผิวหนังบริเวณที่ฉีด รูปที่ 7 ใช้มือข้างหนึ่งดึงผิวหนังบริเวณที่ฉีดให้สูงขึ้นเป็นลำ� แล้วแทงเข็มฉีดยาลงไป ตรงๆ ให้ตั้งฉากกับผิวหนังเข้าชั้นใต้ผิวหนังให้มิดเข็ม 30 รูปที่ 8 ถอนเข็มฉีดยาออกใช้สำ�ลีกดตำ�แหน่งที่ฉีดยาไว้ชั่วขณะ ถ้ามีเลือดออกไม่ควร คลึงหรือนวดบริเวณฉีด รูปที่ 9 เข็มฉีดยาใช้แล้วทิ้งหรือเก็บไว้ใช้ได้อีก 2 – 3 วัน โดยการสวมปลอกนำ�ไปไว้ใน ตู้เย็นและนำ�มาใช้อีกได้ (อย่าน้าเข็มไปล้างหรือเช็ด) ญาติ จ ะช่ ว ยดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยโรคเบาหวานได้ อ ย่ า ง 1. ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานเพื่อจะได้ช่วยดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง 2. ช่วยจัดเตรียมอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วย 3. สนับสนุนให้ผู้ป่วยได้ออกกำ�ลังกายอย่างสม่ำ�เสมอ และส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้ทำ�งานอดิเรก ตามที่ชอบ 4. ช่วยเตือนเรื่องการกินยาหรือฉีดยาให้ตรงเวลา รวมถึงการไปตรวจตามแพทย์นัด 5. พูดคุยให้กำ�ลังใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวและการดำ�รงชีวิตที่เหมาะสม 6. ช่วยดูแลทำ�ความสะอาดเสื้อผ้า เครื่องใช้ของผู้ป่วยให้สะอาดอยู่เสมอเพราะผู้ป่วยโรคเบา หวานมีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย (โรคเบาหวานไม่ใช่โรคติดต่อสามารถอยู่ร่วมกับบุคคลในครอบครัวโดยไม่ต้อง แยกของเครื่องใช้) 7. ช่วยดูแลตัดเล็บมือเล็บเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวานที่สูงอายุเพื่อป้องกันการเกิดบาดแผล 8. หมั่นสังเกตอาการแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย เช่น ภาวะน้ำ�ตาลในเลือดต่ำ� ภาวะ น้ำ�ตาลในเลือดสูง เพื่อจะได้ให้การช่วยเหลือได้ทันท่วงที 9. ช่วยทำ�แผลและใส่ยาให้ถูกต้องตามคำ�แนะนำ�ของแพทย์



ความดั น โลหิ ต สู ง (Hypertension)

เป็นภาวะทางการแพทย์อย่างหนึ่ง โดยจะตรวจพบความดันโลหิต อยู่ในระดับที่สูงกว่าปรกติเรื้อรังอยู่ เป็นเวลานาน ทั้งนี้องค์การอนามัยโลก กำ�หนดไว้ในปี 1999 ว่า ผู้ใดก็ตามที่มีความดันโลหิตวัดได้มากกว่า 140 /90 มม.ปรอทถือว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง และ การที่ความดันโลหิตสูงอยู่เป็นเวลานาน เพิ่มความ เสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคหลอดเลือดในสมองตีบ โรคหัวใจ โรคไตวาย เส้นเลือดแดงใหญ่โป่งพอง อัมพาต ฯลฯ โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน คนส่วนใหญ่ที่มีความดันโลหิตสูงมักจะไม่รู้ตัว ว่าเป็น เมื่อรู้ตัวว่าเป็นส่วนมากจะไม่ได้รับการดูแลรักษา ส่วนหนึ่งอาจจะเนื่องจากไม่มีอาการทำ�ให้คนส่วน ใหญ่ ไม่ได้ให้ความสนใจ เมื่อเริ่มมีอาการหรือภาวะแทรกซ้อนแล้วจึงจะเริ่มสนใจและรักษา ซึ่งบางครั้งก็อาจจะ ทำ�ให้ผลการรักษาไม่ดีเท่าที่ควร การควบคุมความดันโลหิตให้ปกติอย่างสม่ำ�เสมอ สามารถลดโอกาสเกิดโรค อัมพฤกษ์ อัมพาต หรือโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ได้อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ เป็นข้อเท็จจริงทางการ แพทย์ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ปั จ จั ย ที ่ ม ี ผ ลต่ อ ความดั น โลหิ ต

ความดันโลหิตเปลี่ยนแปลงได้ตามปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ดังนี้

1. อายุ ส่วนใหญ่เมื่ออายุมากขึ้น ความดันโลหิตจะสูงขึ้น ตัวอย่างเช่น ขณะอายุ 18 ปี ความ ดันโลหิต เท่ากับ 120/70 มม.ปรอท แต่พออายุ 60 ปี ความดันโลหิต อาจจะเพิ่มขึ้นเป็น 140/90 แต่ก็ไม่ได้ เป็นกฎตายตัวว่าอายุมากขึ้นความดันโลหิตจะสูงขึ้นเสมอไป อาจวัดได้ 120/70 เท่าเดิมก็ได้


2. เวลา ความดันโลหิตจะขึ้นๆ ลงๆ ไม่เท่ากัน ตลอดวัน ตัวอย่างเช่น ในตอนเช้าความดันซิสโตลิกอาจ จะวัดได้ 130 มม.ปรอท ขณะที่ ตอนช่วงบ่ายอาจวัดได้ ถึง 140 มม.ปรอท ขณะนอนหลับอาจวัดได้ต่ำ�ถึง 100 มม.ปรอท เป็นต้น 3. จิตใจและอารมณ์ พบว่ามีผลต่อความดัน โลหิตได้มาก ขณะที่ได้รับความเครียด อาจทำ�ให้ความ ดันโลหิตสูงกว่าปกติได้ถึง 30 มม.ปรอท ขณะที่พักผ่อน ความดันโลหิตก็จะสามารถกลับมาสู่ภาวะปกติได้ เมื่อรู้สึก เจ็บปวดก็เป็นเหตุหนึ่งที่ทำ�ให้ความดันโลหิตสูงขึ้นได้เช่นกัน 4.เพศ พบว่าเพศชายจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง ได้บ่อยกว่าเพศหญิง 5. พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ผู้ที่มีบิดาและมารดา เป็นโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มที่จะเป็น โรคนี้มากกว่าผู้ที่ไม่มีประวัติในครอบครัว สิ่งแวดล้อม ที่เคร่งเครียด ก็ทำ�ให้มีแนวโน้มการเป็นโรคความดันสูง ขึ้นด้วยเช่นกัน 6. สภาพภูมิศาสตร์ ผู้ที่อยู่ในสังคมเมืองจะพบภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่าในสังคมชนบท 7. เชื้อชาติ พบว่าชาวแอฟริกันอเมริกันมีความดันโลหิตสูงมากกว่าชาวอเมริกันผิวขาว ปริมาณเกลือที่รับประทาน ผู้ที่รับประทานเกลือมากจะมีโอกาสเกิดโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าผู้ ที่รับประทานเกลือน้อย ตัวอย่างเช่น ชาวญี่ปุ่นตอนเหนือรับประทานเกลือมากกว่า 27 กรัม/วัน มีผู้ป่วย ความดันโลหิตสูงถึง 39% ส่วนชาวญี่ปุ่นตอนใต้รับประทานเกลือวันละ 17 กรัม/วัน เป็นมีผู้ป่วยโรคความดัน โลหิตสูงเพียง 21%

ระดั บ ความรุ น แรง ระดับที่ 1 ความดันโลหิตสูงระยะเริ่มแรก ค่าความดันโลหิต ระหว่าง 140159/90-99 มม.ปรอท ระดับที่ 2 ความดันโลหิตสูงระยะปานกลาง ค่าความดันโลหิต ระหว่าง 160-179/100-109 มม.ปรอท ระดับที่ 3 ความดันโลหิตสูงระยะรุนแรง ค่าความดันโลหิต มากกว่า 180/110 มม.ปรอท การวัดความดันโลหิตควรจะวัดขณะนอนพัก ควรวัดซ้ำ� 2-3 ครั้ง เพื่อให้มั่นใจว่าเป็น ความดันโลหิตสูงจริงๆ อาการของผู ้ ป ่ ว ย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงอาจจะไม่มีอาการใดๆ เลย หรืออาจจะพบว่ามีอาการปวดศีรษะ มึนงง เวียน


ศีรษะ และเหนื่อยง่ายผิดปกติ อาจมีอาการแน่นหน้าอกหรือนอนไม่หลับ ความดันโลหิตสูงอาจทำ�ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ 2 กรณีด้วยกันคือ กรณีที่ 1 ภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูงโดยตรง ได้แก่ภาวะหัวใจวายหรือหลอดเลือดใน สมองแตก

กรณีที่ 2 ภาวะแทรกซ้อนจากหลอดเลือดแดงตีบหรือตัน เช่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หรือเรื้อรัง ทำ�ให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ อาจจะทำ�ให้ถึงแก่ชีวิตได้ หลอดเลือดสมองตีบ เกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือหลอดเลือดแดงในไตตีบมากถึงขั้นไตวายเรื้อรังได้ จากข้อมูลทางการแพทย์ระบุไว้ว่า ผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและไม่ได้รับการรักษาจะเสียชีวิต จากหัวใจวายถึง 60-75 % , เสียชีวิตจากเส้นเลือดในสมองอุดตัดหรือแตก 20-30 % และเสียชีวิตจากไต วายเรื้อรัง 5-10 % ภาวะแทรกซ้ อ น

-หัวใจทำ�งานหนักขึ้น ทำ�ให้ผนังหัวใจหนาตัวและถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง ผนังหัวใจจะยืดออกและ เสียหน้าที่ ทำ�ให้เกิดหัวใจโต และหัวใจวายได้ในที่สุด -อาจเกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบตันหรือแตก ทำ�ใหเป็นอัมพาตหรือเสียชีวิตได้ ถ้าเป็นเรื้อรัง อาจ กลายเป็นโรคความจำ�เสื่อม สมาธิลดลง -เลือดอาจไปเลี้ยงไตไม่พอ เนื่องจากหลอดเลือดเสื่อม ทำ�ให้ไตวายเรื้อรังและภาวะไตวายจะยิ่งทำ�ให้ ความดันโลหิตสูงขึ้นอีก -หลอดเลือดแดงในตาจะเสื่อมลงอย่างช้าๆ อาจมีเลือดที่จอตา ทำ�ให้ประสาทตาเสื่อม ตามัวลงเรื่อยๆ จนตาบอดได้


ข้ อ ควรปฏิ บ ั ต ิ เ มื ่ อ มี ค วามดั น โลหิ ต สู ง ระดับที่ 1 ความดันโลหิตสูงระยะเริ่มแรก ค่าความดันโลหิต ระหว่าง 140-159/90-99 มม.ปรอท ระดับที่ 2 ความดันโลหิตสูงระยะปานกลาง ค่าความดันโลหิต ระหว่าง 160-179/100-109 มม.ปรอท ระดับที่ 3 ความดันโลหิตสูงระยะรุนแรง ค่าความดันโลหิต มากกว่า 180/110 มม.ปรอท การวัดความดันโลหิตควรจะวัดขณะนอนพัก ควรวัดซ้ำ� 2-3 ครั้ง เพื่อให้มั่นใจว่าเป็นความดันโลหิตสูง จริงๆ

อาหารที ่ ค วรหลี ก เลี ่ ย งสำ � หรั บ ผู ้ ป ่ ว ยความดั น โลหิ ต สู ง ลดเค็มไว้ก่อน ถ้าพูดถึงอาหารสำ�หรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง คงได้ยินคำ�เตือนกันบ่อยๆ ว่าต้องระวัง อาหารรส “เค็ม” ที่มีปริมาณเกลือและโซเดียมสูง เนื่องจากจะทำ�ให้มีการสะสมน้ำ�ในร่างกาย ทำ�ให้เกิดภาวะ บวม และความดันโลหิตสูงขึ้นได้ บางคนแย้งว่าไม่เค็มมันไม่อร่อย หรือเป็นคนติดรสเค็มอยู่เดิม คงต้องเปลี่ยน ความเคยชินเสียใหม่ อย่าติดกับความอร่อยหรือรสชาติมากเกินไป เพราะ จะไม่เป็นผลดีกับโรคที่เป็น ควรหันมากินอาหารรสจืดๆ ถึงจะต้องฝืนใจใน ช่วงแรกๆ แต่ฝึกกินไปสักพัก เดี๋ยวก็เคยชินทีนี้มาดูกันว่ามีอาหารอะไรบ้าง ที่ต้องคิดก่อนใส่ปาก สารปรุงแต่งรส อย่างพวกน้ำ�ปลา ซอส ซีอิ๊วขาว ซอสหอยนางรม ซุปต่างๆ ทั้งชนิดก้อนและชนิดซอง เป็นต้น ควรใส่ปริมาณน้อย ๆ ไม่ต้องขยันเติมขยันเหยาะกันเยอะ ๆ เพราะสาร ปรุงรสเหล่านี้ มีส่วนประกอบของโซเดียมสูง ปกติในคนทั่วไปปริมาณโซเดียมที่แนะนำ�ให้กินในแต่ละวันไม่ควร เกิน 2,400 มก. เฉพาะน้ำ�ปลา 1 ช้อนโต๊ะ ก็มีโซเดียมสูงถึง 1,160- 1,490 มก.แล้ว ซีอิ๊วขาว 1 ช้อนโต๊ะ มี โซเดียม 960-1,460 มก. ส่วนเกลือปรุงอาหาร 1 ช้อนชามีโซเดียมสูงถึง 2,000 มก. นี่แค่ยกมาให้ดูเป็นน้ำ�


หรือน้ำ�จิ้มที่มีรสเปรี้ยว ๆ หวาน ๆ ก็ต้องระวังเช่นกัน เช่น ซอสมะเขือเทศ ซอสพริก อาจดูเหมือนไม่เค็มหรือเค็มน้อยเพราะปริมาณโซเดียมอาจไม่มาก เท่าน้ำ�ปลาหรือซีอิ๊ว แต่ก็หวานซ่อนโซเดียมนะคะ ต้องระวังไม่กินมากเกินไป เช่นกัน ผงชูรส ใส่เมื่อไหร่อาหารพลันอร่อยขึ้นทันตา แล้วจะขาดได้อย่างไร? อ๊ะ อ๊ะ หยุดความ คิดนี้ไปเลยค่ะ แม้ว่าผงชูรสจะเป็นสารปรุงรสที่ไม่มีรสเค็ม แต่ก็มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบ อยู่ด้วยประมาณร้อยละ 15 ถ้าเลี่ยงไม่ใส่ได้จะดีมาก (ผงชูรส 1 ช้อนชา มีโซเดียม 492 มก.) อาหารแปรรูปต่างๆ ของอร่อยที่ยากตัดใจจริง ๆ แต่อยากบอกว่าอาหาร แปรรูปเหล่านี้ ถ้าเลี่ยงได้ก็เลี่ยงเถอะค่ะ เพราะเป็นอาหารที่เค็มจัดหรือมีปริมาณ โซเดียมสูง อาทิ ไส้กรอก กุนเชียง แฮม หมูแผ่น หมูหยอง ผักดองต่าง ๆ ผลไม้ดอง เต้าหู้ยี้ เต้าเจี้ยว น้ำ�บูดู อาหารตากแห้ง เนื้อเค็ม ปลาเค็ม ปลาร้า กะปิ ไข่เค็ม น้ำ�พริกเผา น้ำ�พริกตาแดง เป็นต้น อาหารกระป๋อง อย่างพวกผลไม้กระป๋อง ปลากระป๋อง ก็ต้องกินอย่างระวังเช่นกัน เพราะอาหารเหล่านี้จะมีการ เติมเกลือหรือสารกันบูด ซึ่งมีโซเดียมในปริมาณที่สูงมากค่ะ อาหารกึ่งสำ�เร็จรูป ที่มักมีติดบ้านไว้กินยามหิว ไม่ว่าจะเป็นบะหมี่ โจ๊ก ข้าวต้ม ถึงจะทำ�กินง่ายอร่อย ถูกปาก แต่ต้องระวังไว้ด้วยเพราะมีปริมาณโซเดียมอยู่สูงไม่น้อยเช่นกัน ขนมหรือขนมกรุบกรอบต่างๆ เครื่องดื่มเกลือแร่ จะดื่มน้ำ�แก้กระหายเลือกเป็นน้ำ�เปล่า หรือน้ำ�ผลไม้สดจะดี กว่า เครื่องดื่มเกลือแร่ผลิตมาสำ�หรับคนที่สูญเสียเหงื่อมาก จึงต้องมีการ เติมสารประกอบของโซเดียมลงไปด้วย ส่วนน้ำ�ผลไม้เย็น ๆ หวานชื่นใจที่ บรรจุกล่อง ขวด หรือกระป๋อง ก็อย่าวางใจนะคะ เพราะมักมีการเติมสาร กันบูดซึ่งจะมีโซเดียมเป็นส่วนประกอบลงไปด้วยค่ะ อาหารมัน หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง ในที่นี้หมายถึง “ไขมันชนิดอิ่มตัว” ซึ่งเป็น ศัตรูตัวร้ายที่เพิ่มปริมาณคอเลสเตอรอลในร่างกาย โดยแหล่งที่มาของไขมันชนิด อิ่มตัวก็คือ เนื้อสัตว์ติดมันทั้งหลายที่เรานิยมนำ�มาปรุงอาหาร ไม่ว่าจะเป็นเนื้อวัว เนื้อหมู หรือเนื้อเป็ด ไก่ ในกรณีของเนื้อวัวกับเนื้อหมู ควรเลือกส่วนที่เป็นเนื้อสัน ซึ่งจะมีไขมันน้อยที่สุด ส่วนเนื้อเป็ด ไก่ ให้เลือกบริเวณส่วนอก ถ้ายังมีมันหลงติด มาก็พยายามแล่ออกให้มากที่สุด คงไม่ต้องถึงกับเลิกทานไปเลยแต่ให้ลดปริมาณลง หลีกเลี่ยงอาหารที่ใช้ปริมาณน้ำ�มันมาก ๆ เช่น ปาท่องโก๋ ไก่ทอด มันฝรั่งทอด เป็นต้น


หรือจำ�กัดน้ำ�มันในการประกอบอาหาร และควรเลือกใช้น้ำ�มันพืชในการประกอบอาหาร เช่น น้ำ�มันมะกอก น้ำ�มันรำ�ข้าว น้ำ�มันเมล็ดดอกทานตะวัน น้ำ�มันถั่วเหลือง เป็นต้น นมและผลิตภัณฑ์จากนม แม้จะเป็นแหล่งของแคลเซียมและโปรตีน แต่ก็ต้องระวัง เพราะมี คอเลสเตอรอลและไขมันชนิดอิ่มตัวอยู่มาก ฉะนั้นถ้าจะบริโภคนมหรือผลิตภัณฑ์จากนม เช่น โยเกิร์ต ไอศกรีม หรือโยเกิร์ตแช่แข็ง เนยแข็ง ซาวครีมหรือครีมชีส ควรเลือกที่ปลอดหรือพร่องไขมัน ผักผลไม้ ผักเป็นแหล่งของวิตามิน แร่ธาตุ คาร์โบไฮเดรต และใยอาหาร ที่ ร่างกายต้องการ การปรุงอาหารในแต่ละมื้อจึงควรมีผักเป็นส่วนประกอบหลัก อยู่ด้วย จะใช้วิธีปรุงให้สุกหรือกินแบบสดๆก็ได้ ซึ่งในบ้านเราผักแต่ละฤดูกาลจะมี ให้เลือกหลากหลายชนิด อย่าจำ�กัดแค่ชนิดใดชนิดหนึ่งเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ใคร ที่คิดจะนำ�ผักมาปรุงอาหาร ควรเลี่ยงเมนูที่เป็นการเพิ่มไขมันให้กับร่างกาย เช่น ผักชุบแป้งทอด ผัดผักโดยใส่น้ำ�มันมากๆ เปลี่ยนมาทานผักแบบดิบๆ หรือผัก ลวก หรือเวลาผัดให้ใส่น้ำ�มันในปริมาณน้อยๆ เป็นต้น แอลกอฮอล์ ใครที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ�ควรเพลา ๆ ปริมาณ การดื่มลงนะคะ ถ้าละเลิกได้ก็ยิ่งดี ส่วนช่วงเทศกาลต่าง ๆ ก็อย่าใช้เป็นข้ออ้างใน การดื่มเลยค่ะ เพราะมักจะทำ�ให้ดื่มมากกว่าปกติ ทราบหรือไม่ว่าร้อยละ 95 ของ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ดื่มเข้าไป จะซึมเข้าสู่กระแสเลือดผ่านทางเยื่อบุกระเพาะ อาหารและลำ�ไส้เล็กอย่างรวดเร็ว ฤทธิ์ของแอลกอฮอล์จะไปขยายหลอดเลือด ทำ�ให้ความดันโลหิตสูงมากขึ้น


บรรณานุกรม

กิจจา ฤดีขจร. 2550.ลดความดันโลหิตสูงอยางไดผล.กรุงเทพฯ : บริษัทรีดเดอรไดเจสท (ประเทศไทย) จํากัด. กองบรรณาธิการใกลหมอก. 2549. รูทันเบาหวาน1. กรุงเทพมหานคร : ใกลหมอ. กองบรรณาธิการใกลหมอข. 2549. รูทันเบาหวาน2. กรุงเทพมหานคร : ใกลหมอ. ศักดิ์ บวร. 2538. ใชชีวิร่วมกับความดันโลหิตสูง. กรุงเทพฯ : เจริญวทยิ การพิมพ. สุดารัตน _ _. 2538. ลดความดันโลหิตโดยวิธีธรรมชาต.ิ กรุงเทพฯ : สรอยทอง อภัสนี บุญญาวรกุล. 2545. “ภาวะแทรกซอนเฉ  ียบพลันในเบาหวาน”. เบาหวาน. 34 (มกราคม-มิถุนายน), 41-52.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.