แนวทางการจายคาตอบแทน ตามผลการปฏิบัติงาน (Pay for Performance:P4P)
นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
หลักการ }
} } } }
ออกแบบให ยืดหยุน สามารถปรับเขากับบริบทของโรงพยาบาลไดหลากหลาย จาก ประสบการณการออกแบบคาตอบแทนที่ผานมา และประสบการณในการจายคาตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน (P4P) มีความนิ่ง ในหลักการของการจายคาตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน ผลที่คาดวาจะเกิด คือ มีการพัฒนา ระบบการจายคาตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน ที่ เปนธรรม และตอบสนองการแกปญหาบุคลากรในโรงพยาบาล บุคลากรทุกคนในหนวยบริการมีสี ิทธิไดรับคาตอบแทน P4P แตไมจําเปนที่ทุกคนจะ ไดรับคาตอบแทน P4P ครอบคลุมงานบริการ บริหาร และวิชาการ
1
หลักการ กรอบแนวคิดการจ ายค าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน กรอบแนวคดการจายคาตอบแทนตามผลการปฏบตงาน ¾ ¾ ¾ ¾
ผลการปฏิบัตงิ านตามเกณฑ ขน ั ้ ตํ่า
ภาระงานเพิ่ม ผลงานเพิ่ม คุณภาพงานเพิ่ม ความชํานาญถึงระดับ
ผลการปฏิบัตงิ านเกิน เกณฑ ขน ั ้ ตํ่า
ผลลัพธของงาน บรรลุเปาหมาย องคกร
คาตอบแทนผันแปร
คาตอบแทนเสริ ม ผลประโยชนเกื ้อกูล
คาตอบแทนพื ้นฐาน คาตอบแทนพนฐาน
จูงใจให คนดี คนเกงมาทํางาน
หลักการ ปริมาณภาระงาน (Work load)
ผลการ ปฏิบัติงาน คุณภาพงาน
2
หลักการ โรงพยาบาล
เงินนอย
เงินมาก
งานนอย
ไมจาย
จาย??
งานมาก
จาย byy Approve pp
จาย
รายละเอียดในคูมือ } ระบุหลักการและทางเลือกในการปฏิบัติ } พยายามอธิบายหลักการและวิธีการ รวมถึงขอดี ขอเสีย
ของแตละทางเลือกในการ
ปฏิบัติ เพื่อประกอบการตัดสินใจ } ทางเลือกบางประการอาจไมไดรับความสนใจแลวในปจจุบัน } ตัวอยางพรอมใชงานของแตละทางเลือก สามารถนําไปปรับใชได
3
รายละเอียดคูมือ P4P
กําหนดคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ํา
การคิดคาคะแนน P4P
คะแนนตามปริมาณงาน คะแนนตามคุณภาพงาน
คูมือ
สัดสวนการเบิกจาย คะแนนผูบริหาร วงเงินที่เบิกจาย การมีสวนรวม กระบวนการภายใน การตรวจสอบ การอภิบาลระบบ
คาคะแนนประกันขั้นต่ํา } คะแนนจากการปฏิบัติงานที่เก็บไดมากกวาคะแนนประกันขั้นต่ํา จึงจะสามารถเบิก
คาตอบแทน P4P } มาตรฐานเวลาทําการที่นํามาคิดคะแนนประกันขั้นต่ํา คือ 20 วันตอเดือน มาจากคิดวัน ทํางานทั้งป มาหาคาเฉลี่ยเพื่อใหแตละเดือนใกลเคียงกัน และสะดวกในการจัดเก็บ ขอมูล และ 7 ชม.ตอวัน } ไมใหบุ ไมใหบคคลากรเก็ ลากรเกบคาคะแนนผลการปฏบตงาน(Work บคาคะแนนผลการปฏิบัติงาน(Work point) ในกจกรรมทมการจาย ในกิจกรรมที่มีการจาย คาตอบแทนรายกิจกรรมอยูแลว (เชน การจายคาตอบแทนในการผาตัดตอราย เปน ตน)
4
รายละเอียดคูมือ P4P ตามฐานเงินเดือน
ใ ในเวลา กําหนด อัตรากลาง
กําหนด คะแนน ขั้นต่ํา
ทุกคนมีคะแนนขั้นต่ําเทากัน
ตามเวลาในการทํ างาน ใ Modify Hay Guide Chart
วิชาชีพมีคะแนนขัน้ ต่ําเทากัน
อัตราการทํางานลวงเวลา
คิดคาคะแนนทั้งหมด
นอกเวลา
ไมคดิ คาคะแนน คิด 25%
วิธีกําหนดคะแนนประกันขั้นต่ํา } 1. } }
การกําหนดคาคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ํา สามารถกําหนดไดหลายวิธี คิดตามฐานเงินเดือน กําหนดใหนําเงินเดือนที่ไดรับมาปรับเปนคะแนนประกันขั้นต่ํา ในอัตรา 10 บาทตอ 1 คะแนน ขอพึงระวัง ขาราชการอาวุโสคะแนนประกันขั้นต่ําสูงมาก หากเลือกใชวิธีนี้จําเปนตองมีการกําหนดคาคะแนนประสบการณเปนตัวคูณในการ เก็บคาคะแนนปฏิบัติงานตามระบบปกติดวย เกบคาคะแนนปฏบตงานตามระบบปกตดวย
5
วิธีกําหนดคะแนนประกันขั้นต่ํา 2. คิดตามอัตรากลางที่กําหนดไว มี 2 วิธียอย 2.1 กําหนดใหบุคลากรแตละคนมีคาคะแนนประกันขั้นต่ําเทากัน โดยคิดจากเวลาทํางานขั้นต่ําตอ วันของขาราชการทั่วไป = 8,400 นาทีตอเดือน } กําหนดให 1 นาที เทียบเทากับ 1 คะแนน } คาคะแนนประกันขั้นต่ําของทุกสาขาวิชาชีพจะเปน 8,400 คะแนนตอเดือนเทากัน } ใชกับการคิดคาคะแนนปฏิบัติงานแบบ Modify Hay Guide Chart } ขอ พึงึ ระวััง แมจ ะมีีระยะเวลาทํํางานเทากัน ั แตค วามยากงายของงานไม ไ เ ทา กันั } แนะนําใหแยกการจัดสรรเงินคาตอนแทนตามกลุมวิชาชีพ หรือตองมีคณะกรรมการกลางใน การวิเคราะหคางานของทุกวิชาชีพตามเกณฑเดียวกัน ทํารวมกันทุกวิชาชีพอีกระดับหนึ่ง
วิธีกําหนดคะแนนประกันขั้นต่ํา 2.2 กําหนดใหบุคลากรวิชาชีพเดียวกันมีคาคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ําเทากัน (แตบุคลากรตางวิชาชีพจะมีคาคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ําไมเทากัน) } อิงหลักการ แตละวิชาชีพมีความยากงายในการทํางานไมเทากัน วิชาชีพที่ยากกวาจะมี คาคะแนนปฏิบัติงานมากกวา คาคะแนนประกันขั้นต่ําที่สูงกวา } ใชวิธีเทียบเคียงจากคาตอบแทนลวงเวลาของแตละวิชาชีพนั้นๆ } นาอตรา นําอัตรา OT ของวชาชพนนๆ ของวิชาชีพนั้นๆ มากาหนดเปนคาคะแนนประกนใน มากําหนดเปนคาคะแนนประกันใน 1 วนคู วันคณด ณดวย วย 20 วันทําการ อัตราคะแนนละ 10 บาท เชน แพทย อัตรา OT = 1,100 บาท = 110 แตมตอวัน ดังนั้นคาคะแนนประกันขั้นต่ําของแพทย = 110x20 = 2,200 แตม
6
ระบบการคิดคาคะแนนปฏิบัติงาน (Work Point System) } คาคะแนนประกันผลการปฏิบต ั ิงานขั้นต่ํา ในเวลาราชการ กําหนดโดยใช OT
base ดังนี้ }
แพทย คาคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ํา 2,200 คะแนน } ทันตแพทย คาคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ํา 2,200 คะแนน } เภสัชกร คาคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ํา 1,440 คะแนน } พยาบาลวิชาชีพ คาคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ํา 1,200 คะแนน } เจาพนักงานสาธารณสุข คาคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ํา 960 คะแนน } คาคะแนนประกันผลการปฏิบต ั ิงานขั้นต่ํา นอกเวลาราชการ กําหนดตามบริบท
โรงพยาบาล
วิธีกําหนดคะแนนประกันขั้นต่ํา 3. การกําหนดคาคะแนนประกันขั้นต่ําในสวนของการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 3.1 วิธีที่ 1 คิดคาคะแนนประกันขั้นต่ําสําหรับการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ } โดยนําคาตอบแทนที่ไดรับทั้งหมดมากําหนดเปนคาคะแนนประกันขั้นต่ํา เพิ่มจากคาคะแนน ประกันขั้นต่ําของการปฏิบัติงานในเวลาราชการ (ขอ 1 หรือ 2 ขางตน) ในอัตราคะแนนละ 10 บาท } ตัวอยางเชน แพทยไดรับ OT ในเดือนนั้นเปนเงินทั้งสิ้น 12,000 บาท ดังนั้นคาคะแนน ประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ําของแพทยรายนี้ = 2,200+(12,000/10) = 3,400 แตม } เหมาะสําหรับโรงพยาบาลที่มีปริมาณงานนอกเวลาราชการคอนขางมากในทุกกลุมงานที่ขึ้น ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
7
วิธีกําหนดคะแนนประกันขั้นต่ํา 3.2 วิธีที่ 2 ไมคิดคาคะแนนประกันขั้นต่ําสําหรับการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ และกําหนดให บุคลากรทั้งหมดที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ งดการเก็บคาคะแนนผลการปฏิบัติงาน (Work point) ในขณะที่ขึ้นปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการ } ยกเวน บุคลากรที่ขึ้นปฏิบัติงานในลักษณะเวรผลัด (ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกับพยาบาล ที่ขึ้นปฏิบตั ิงานในลักษณะเวรผลัด) บุคลากรกลุมนี้ใหนําคาตอบแทนที่ไดรับทั้งหมดมา กําหนดเปนคาคะแนนประกันขั้นต่ําเพิ่มจากเดิม และใหเก็บคาคะแนนผลการปฏิบัติงาน (Work point) ในขณะที่ขึ้นปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการได ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาการ กําหนดวันทําการในตารางปฏิ ใ บัติงาน) } เหมาะสําหรับโรงพยาบาลที่มีปริมาณงานนอกเวลาราชการไมมาก หรือโรงพยาบาลที่มี ปริมาณงานนอกเวลาราชการมากเฉพาะในบางกลุมงาน
วิธีกําหนดคะแนนประกันขั้นต่ํา 3.3 วิธีที่ 3 ปรับวิธีที่ 3.1 และ 3.2 เขาหากัน } คิดสัดสวนที่กําหนดกับคาตอบแทนที่ไดรับ มากําหนดเปนคาคะแนนประกันขั้นต่ําเพิ่มจากคา คะแนนประกันขั้นต่ําของการปฏิบัติงานในเวลาราชการ (เชน กําหนด 25 % ของคาตอบแทนนอก เวลาที่ไดรับมาเปนคาคะแนนประกันขั้นต่ําเพิ่มเติม) ในอัตราคะแนนละ 10 บาท } เชน แพทยไดรับ OT ในเดือน 12,000 บาท และโรงพยาบาลกําหนดใหคิด 25 % ของ คาตอบแทนนอกเวลาเปนคาคะแนนประกันขั้นต่ําเพิ่มเติม ดังนั้นคาคะแนนประกันขั้นต่ําของแพทย รายนี้ = 2,200+{(12,000x25/100)/10} , {( , ) } = 2,500 , แตม } อนุญาตใหบุคลากรทั้งหมดที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ จัดเก็บคาคะแนนผลการปฏิบัติงาน (Work point) ในขณะที่ขึ้นปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได } เหมาะสําหรับโรงพยาบาลที่มีปริมาณงานนอกเวลาราชการในระดับปานกลาง
8
รายละเอียดคูมือ P4P
แบบ Activity base approach แบบ Apply activity with time base approach
Activity base pp approach คะแนน ตาม ปริมาณ งาน การคิดคา คะแนน P4P
แบบ Job Evaluation by Modified Hay-Guide Chart Result base approach
แบบ Result base approach by DRG-RW
แบบผสม
แบบ Pieces Rate payment
คะแนนตามคุณภาพงาน คะแนนผูบริหาร
ระบบการคิดคาคะแนนปฏิบัติงาน (Work Point System) } การคิดคาคะแนน เนนคิดคาคะแนนสําหรับกิจกรรมที่เปน Value-added
activity }
การวัดปริมาณภาระงาน (Workload) มี 3 วิธีหลัก }
} }
Activity base approach
Result Base approach วิธีผสม
9
ระบบการคิดคาคะแนนปฏิบัติงาน (Work Point System) } }
การวัดปริมาณภาระงาน (Workload) แบบ Activity base approach
มีวิธีการกําหนดคาคะแนนของกิจกรรมจาก 3 วิธียอย Activity base approach กําหนดคาคะแนนรายกิจกรรมของทุกงาน โดยคํานึงถึง เวลาทีใ่ ชในการทํางานนั้นๆ คะแนนตอเวลาของแตละวิชาชีพ และคะแนนความยากงาย บุคลากรตองเก็บขอมูลการปฏิบตั ิงานทุกงาน โดยละเอียด } Apply activity base ปรับการเก็บขอมูลใหงายขึ้น เปนลักษณะเหมา รวมเชน ไมเก็บขอมูลรายกิจกรรมของพยาบาล แตเก็บขอมูลการจําแนก ประเภทผูป วยแลวปรับเปนคะแนนใหแทน เปนตน }
ระบบการคิดคาคะแนนปฏิบัติงาน (Work Point System) }
Job Evaluation by y Modified Hay-Guide y Chart ประเมิน
คางานจากการเปรียบเทียบปจจัยการปฏิบัติงาน 2 ดาน ไดแก }องคประกอบดานประสบการณ: ระดับความรูทางวิชาการ, การจัดการ,
มนุษยสัมพันธ, สภาพการปฏิบตั ิงาน }ดานความรับผิดชอบ: ระดับความรับผิดชอบตอผลสําเร็จ, ความยากงาย
, การมีสวนรวม,ลักษณะงาน ปริมาณภาระงาน = จํานวนหนวยบริการของงาน x เวลามาตรฐาน x ระดับ คางานจากการเปรียบเทียบ วิธีเหมาะกับทุกวิชาชีพ แตขณะนี้มเี กณฑที่จัดทําเสร็จแลวสําหรับ พยาบาล เภสัชกร และทันตแพทย
10
ตัวอยางคะแนน Job Evaluation by Modified Hay-Guide Chart
ลําดับ
กิจกรรมหลัก
หน่วย
เวลามาตรฐานต่อ 1 หน่วย (นาที)
น้ําหนักค่างาน
1
การตรวจคัดกรอง
ราย
5
1.5
2
การให้คําปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพ และการดูแลตนเอง
ราย
15
1
6
การดูแลผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน(Nonurgent N1)
ราย
39
1.25
7
การดูแลผู้ป่วยไม่ ไ ฉ่ ุกเฉิิน(Nonurgent N2)
ราย
46
1.5
8
การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน(Urgent)
ราย
59
2
9
ผู้ป่วยฉุกเฉินมาก(Emergent)
ราย
65
2
ระบบการคิดคาคะแนนปฏิบัติงาน (Work Point System) }
Result Base approach by DRG-RW เปนการนํา DRG มาปรับใช กับกิจกรรมของแพทย จึงเก็บขอมูลเฉพาะผูปวย ไมตองเก็บขอมูลกิจกรรมละเอียด
RW P4P = RW - ตนทุนบริการ RW P4P = RW - Material cost B ratet per RW Base }
ใชกับการดูแลผูปวยใน ผูปวยนอก และกิจกรรมอื่นๆ ใชวิธี Activity base approach หรือ Apply Activity with time base approach
}
ใชไดเฉพาะแพทยเทานั้น
11
ระบบการคิดคาคะแนนปฏิบัติงาน (Work Point System) } Pieces Rate
payment จายคาตอบแทนตามปริมาณงานโดยการ มอบหมายงานใหทําใหสําเร็จเปนชิ้นงานในระยะเวลาที่กําหนด เหมาะกับงานที่มีลักษณะเปน ชิ้นงาน สามารถจัดทําใหแลวเสร็จเปนครั้งๆ ไป ไดแก งานสนับสนุน งานบริหาร งาน โครงการที่มีระยะเวลากําหนดชัดเจน เปนตน
ระบบการคิดคาคะแนนปฏิบัติงาน (Work Point System) } การจายคาตอบแทนตามปริมาณภาระงาน
สามารถเลือกใชระบบการคิดคาคะแนน ผสมผสานไดหลายวิธี เชน } 1. ใชวิธี Result base approach by DRG-RW สําหรับแพทย และใชวิธี Job evaluation by Modified Hay-Guide Chart สําหรับวิชาชีพ พยาบาล เภสัช กร ทันตแพทย ในสวนของงานบริหารใชวิธี Work piece เปนตน หรือ } 2 ใชวธ 2. ใชวิธี Result base approach by DRG DRG-RW RW สาหรบแพทย สําหรับแพทย บุบคลากร คลากร อื่นใชวิธี Activity base หรือ Apply Activity base เปนตน
12
ระบบการคิดคาคะแนนปฏิบัติงาน (Work Point System) การวัดคะแนนคุณภาพงาน(Quality Point) } } }
หลักการคิดคาคะแนนคุณภาพตองคํานึงถึง ผลงานคุณภาพทั้งเปนรายหนวยงาน ทีมงาน ทีม ครอมสายงาน และรายบุคคล กําหนดจัดเก็บคาคะแนนเปนรายกิจกรรม หรือ วัดตาม KPI ของโรงพยาบาลและของหนวยงาน }
}
อาจถวงน้ําหนักคาความมีสวนรวมในผลงานดังกลาวเปนรายบุคคล เชน 80% ของคะแนน คุณภาพที่ไดเฉลี่ยใหบุคลากรทุกคนในหนวยงาน 20% ที่เหลือแบงหัวหนาหนวยและ ผูรับผิิดชอบโดยตรงอี โ กี คนละ 10% %
คาคะแนนปฏิบัติงานตามคุณภาพ( Quality point) ที่ได นํามาจัดสรรเพิ่มเติมจากคาคะแนน ปฏิบัติงานตามปริมาณงานที่เก็บได หรืออาจนํามาเปนตัวคูณกับคาคะแนนผลการปฏิบัติงาน ตามปริมาณงานที่เก็บได
ระบบการคิดคาคะแนนปฏิบัติงาน (Work Point System) การคิดคะแนนสําหรับงานบริหารกลาง ของโรงพยาบาล } 1.
ปรับลดคาคะแนนประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ําของผูบริหารแตละระดับ เปน สัดสวน } 2. จัดสรรวงเงินคาตอบแทนสําหรับงานบริหารกลางของผูบริหารแตละระดับ แยก ออกจากคาตอบแทน P4P } }
2.1 2 1 เหมาจา ยเปปนรายเดืือนตามความรัับผิิดชอบในการบริ ใ ิหาร 2.2 จัดสรรตามผลการปฏิบัติงานในภาพรวมของฝายหรืองาน
} คาคะแนนกิจกรรมกลาง เชน การเขารวมประชุมกิจกรรมตางๆ ของโรงพยาบาล
13
รายละเอียดคูมือ P4P
คิดภาพรวม คิดแยกตามฝาย สัดสวนการเบิกจาย
คดแยกตามวชาชพ คิดแยกตามวิชาชีพ วงเงินที่เบิกจาย ผสม
คูมือ เงื่อนไขการเบิกจาย
จายรายบุคคล
การมีสวนรวม การมสวนรวม กระบวนการภายใน การตรวจสอบ การอภิบาลระบบ
วงเงินที่เบิกจาย }แหลงเงินจากเงินบํารุง + งบประมาณ }จากการบริการ }จากกองทุนตาง ๆ
}หลักการ:
วงเงินที่นํามาจายจะตองมากพอที่จะกระตุนใหเกิดการทํางาน และไม ดึงเงินออกมาจากระบบจนมากเกินไป คํานึงถึงตนทุนคาแรง รายได และตนทุน รวมของหนวยบริการ โดยสวนกลางจะกาหนดเพดานสู รวมของหนวยบรการ โดยสวนกลางจะกําหนดเพดานสงสดของวงเงิ งสุดของวงเงนทจาย นที่จาย คาตอบแทน P4P
14
ตัวอยางการคํานวณวงเงินที่เบิกจาย
} คํานวณแบบที่ 1 กรณี Labour
cost นอยกวารอยละ 50 ของรายรับ สามารถจัดสรรเงิน p4p แตรวมกับคาใชจายบุคลากรแลวจะตองไมเกินรอยละ 50 ของรายรับ
} คํานวณแบบที่ 2 รายไดทั้งหมดของหนวยบริการ ใหหักคาใชจายประจําดานบุคลากรและคาดําเนินการไว
กอน สวนที่เหลือคิดเปน 100% มากําหนดเปนคาตอบแทน P4P และหักไมนอยกวารอยละ 20 เปนงบ พัฒนาและการลงทุน
การจัดกระบวนการภายใน การมีสวนรวม การ ตรวจสอบ } คณะกรรมการพิจารณาคาคะแนนผลการปฏิบัติงาน } คณะกรรมการตรวจสอบคาคะแนนผลการปฏิบัติงาน } การประเมินผล } การบริหารผลการปฏิบัติงาน } การตรวจสอบ ส } การมีสวนรวมของเจาหนาที่
15
การอภิบาลระบบ กํากับและประเมินผล y y
y y
y
1. ตองมการกาหนดขอควรตระหนกสาหรบผู 1 ตองมีการกําหนดขอควรตระหนักสําหรับผบรหารในการวางระบบการจายคาตอบแทนตามผล ริหารในการวางระบบการจายคาตอบแทนตามผล การปฏิบัติงาน 2. รพ.ตองสงแผนเงินบํารุงที่มีประมาณการรายจายของ P4P ที่ชัดเจน เพื่อใชประกอบการ ติดตามกํากับ สงใหกลุมประกันของสสจ.และสป. (เพื่อใหเกิดความสอดคลองกับการรายงาน การเงินในระบบปกติ) 3. การ M&E ใหสสจ.และ CFO เขต เปนผูติดตามกํากับ 4. ควรมีระบบรายงานสงใหสวนกลางเปนผูประเมินในชวง 3-5 ปแรก เปนรายงวดๆละ 6 เดือื น (จากนั ( นั้ ก็ใ็ หเขตดูแลตอ ไป) รายงานประกอบด ป ว ย ขอมูล process indicator และ output indicator เชน งบที่ใชรวม, งบเฉลี่ยตอบุคลากร, CMI, total RW, คาเฉลี่ยตอpoint, ขอมูล Output เชน ผลงาน Quality ของหนวยงาน 5. หนวยงานภายนอก เปนผูประเมิน คุณภาพ ประสิทธิภาพ ขวัญกําลังใจ
16