เพื่อเสริมสร้ างแรงบันดาลใจและความสุขในการทางาน
ปี ที่25 ฉบับที่2: กรกฎาคม 2558
สนับสนุนการจัดพิมพ์ วารสารทันตภูธร ด้ วยการสั่งซือ้ สินค้ าสาหรั บ ใช้ ในงานทันตสาธารณสุข เพื่อสร้ างเสริมสุขภาพช่ องปากของ ประชาชนทุกกลุ่มวัย ใน www.tuntapootorn.com
ทักทายบรรณาธิการ
ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์
สวัสดีค่ะ ชาวทันตภูธรทุกท่ าน วารสารทันตภูธร ขอเเสดงความยินดีกับทันตแพทย์ ทันตาภิบาล ผู้ช่วยทันตแพทย์ ทุกรุ่ น ทุกสังกัด ที่สาเร็จการศึกษาในปี นีน้ ะคะ โลกแห่ งการศึกษาไม่ ได้ อยู่แค่ ในตารานะคะ เรายังต้ องเรี ยนรู้ ต่ อไปตลอดชีวิตค่ ะ นานแสนนานกว่ าจะได้ อ่านวารสารทันตภูธรสักฉบับ วันนีเ้ รามาคุยกันเรื่ องงบประมาณการจัดพิมพ์ ให้ ชัดๆเลย นะคะ เนื่องจากงบประมาณการจัดพิมพ์ วารสารทันตภูธร มาจากการจาหน่ ายสินค้ าใน www.tuntapootorn.com ดังนัน้ การพิมพ์ วารสารทันตภูธรแต่ ละฉบับ จึงกาหนดเวลาจัดพิมพ์ ท่ แี น่ นอนค่ อนข้ างยาก พูดกันตามตรงก็คือ ต้ องรอเก็บเงิน ได้ พอค่ าพิมพ์ ค่ าส่ ง ค่ าแพ็ค ค่ าซอง ค่ าลาเบล ค่ าฯลฯ จนครบแล้ วจึงจัดพิมพ์ วารสารทันตภูธรออกมาล่ ะค่ ะ หลาย หน่ วยงานที่ได้ รับจดหมายแจ้ งค้ างชาระค่ าสินค้ า ก็อย่ างอนกันเลยนะคะ บางหน่ วยงานค้ างจ่ ายตัง้ แต่ ปี 57 นี่ปี 58 กลาง ปี แล้ วยังไม่ จ่าย ก็ต้องไถ่ ถามกันบ้ างนะคะ ระยะหลังนีไ้ ด้ รับความกรุ ณา เมตตาจากพี่ๆ สสจ. ประสานงานโดย คุณหมอ แพร ทพญ.แพร จิตตินันทน์ แห่ งรพ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี ช่ วยติดตามหนีค้ ้ างชาระให้ ด้วยอีกทาง ต้ องกราบขอบพระคุณ พี่ๆทุกท่ าน มา ณ.โอกาสนีด้ ้ วยค่ ะ นอกจากนี ้ ขอขอบคุณ บริษัทชูมิตรจากัด ที่ช่วยลงโฆษณาในฉบับนีด้ ้ วยค่ ะ ปั จจุบันการสั่งซือ้ สินค้ ากับทันตภูธร มีความเปลี่ยนแปลงไปค่ อนข้ างมาก ตามคาแนะนาของสรรพากร ดังนั น้ ขอความร่ วมมื อ ทุกท่ า นที่ส นใจสนั บ สนุ นค่ า พิม พ์ ว ารสารทันตภู ธ ร กรุ ณ าทาตามคาแนะนาในการสั่ งซื อ้ ที่ หน้ า 81 ตามลาดับขัน้ ตอน เพื่อให้ การซือ้ ขายถูกระเบียบราชการ เบิกจ่ ายชาระเงินค่ าสินค้ าได้ การจาหน่ ายสินค้ ากับหน่ วยงาน รั ฐ บาลนั น้ มี ขั น้ ตอนการเบิก จ่ า ยที่ใ ช้ เ วลานานหลายเดื อ น กว่ า หน่ ว ยงานจะช าระค่ า สิ นค้ า จึง ต้ องขอข้ อมู ล ของ หน่ วยงานและผู้ประสานงานมากกว่ าเดิม ทัง้ นีบ้ ริษัทไม่ มีกาไรมากพอจะทอนเงินหรื อให้ ส่วนลด ได้ โปรดเห็นใจด้ วยค่ ะ ส าหรั บ การสื่ อ สารกั บ ที ม งานแม่ ค้ า ขอความร่ วมมื อ ให้ วิ ธี ไ ลน์ ที่ tuntapootorn_online หรื อ อี เ มลเข้ า มาที่ tuntapootorn@hotmail.com การโทรศั พท์ อาจต้ องรอให้ ทีมงานโทรกลั บค่ ะ ใจเย็นๆนะคะ หลั งจากเปลี่ ยนระบบใหม่ ตัง้ แต่ เดือนมีนาคม 2558 สินค้ าหลายอย่ างในทันตภูธร ออนไลน์ มีราคาถูกลง และมีหลากหลายมากขึน้ เพื่อให้ ท่าน สามารถช่ วยสนั บ สนุ นการจัดพิมพ์ วารสารทันตภูธรได้ ง่ายขึน้ เรี ยนเชิญทุกท่ านเข้ าไปพิจารณาราคาสินค้ าปั จจุ บั น ในเวบไซต์ www.tuntapootorn.com ที่เดียวเท่ านัน้ สนใจสั่งซือ้ ก็ทาตามขัน้ ตอนเข้ ามาได้ ค่ะ จ่ ายเงินสด ได้ สินค้ าก่ อนค่ ะ วารสารทันตภูธร ยืนยันจัดพิมพ์ เป็ นรู ปเล่ มกระดาษ เพื่อให้ สามารถสื่อสาร อ่ านวารสารทันตภูธรกันได้ ทุกที่ ทุ ก เวลา จั บ ต้ อ งได้ ไม่ ต้ อ ง Log in แม้ ต้ น ทุ น จะสู ง กว่ าการอาศั ย เครื อ ข่ า ย social media แต่ บ รรณาธิ ก ารเชื่ อ ว่ า การเชื่อมโยงทันตบุ คลากรอย่ างหลวมๆ ผ่ านวารสารทันตภูธรในแบบฉบับรู ปเล่ ม จับต้ องได้ จะช่ วยสร้ างเครื อข่ าย ทันตบุคลากรแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ งานทันตสาธารณสุขที่กว้ างขวาง มีรูปธรรม และยั่งยืนมากกว่ าค่ ะ ขอขอบพระคุณท่ านนักเขียนทุกท่ านจากทั่วประเทศที่ช่วยกันส่ งต้ นฉบับ ขอบพระคุณทุกๆกาลังใจ ทุกๆท่ านที่ ให้ ความร่ วมมือช่ วยเหลือ ทาให้ มีวารสารทันตภูธรฉบับนี ้ ส่ งถึงมือท่ านในวันนี ้ และด้ วยเหตุผลทัง้ หมดทัง้ ปวงที่กล่ าว มาแล้ วนัน้ วารสารทันตภูธร ขอฟั นธงว่ า สามารถตีพิมพ์ ได้ เพียงปี ละ 2 ฉบับเท่ านัน้ แล้ วพบกันใหม่ ฉบับต้ อนรั บปี ใหม่ ปี 2559 นะคะ ขอบพระคุณค่ ะ ต้ องการส่ งต้ นฉบับ หรื อเปลี่ยนที่อยู่ กรุ ณาอีเมลมาที่ tuntapootorn@hotmail.com วารสารทันตภูธร
1
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วารสารทันตภูธร ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558 เป็นกิจกรรมหนึ่งของ ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร
● ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร : ทพ.กิตติคุณ บัวบาน
ที่อยู่ โรงพยาบาลแม่ระมาด 251 ม.4 ต.แม่ระมาด อ.แม่ระมาด จ.ตาก 63140 เบอร์โทร : 055-581229 ● วารสารทันตภูธร : บรรณาธิการ : ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ ที่อยู่ 42/198 ซ.ติวานนท์ 38 ถ.ติวานนท์ ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 tuntapootorn@hotmail.com ● กองบรรณาธิการวารสารทันตภูธร : ทพ.กิตติคุณ บัวบาน, ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์ ● ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ : ทพญ.แพร จิตตินันทน์ ● ผู้สนับสนุนงบประมาณ จัดพิมพ์ จัดส่ง : บริษัท ทันตภูธรและเพื่อน จากัด www.tuntapootorn.com ที่อยู่ 119/887 ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 ● สนับสนุนการจัดพิมพ์ และ จัดส่ง วารสารทันตภูธร : สั่งซื้อสินค้า ทางเวบไซต์ ทันตภูธร Online
www.tuntapootorn.com สอบถามเพิ่มเติมทางไลน์ tuntapootorn_online
บทความทั้งหมดรับผิดชอบโดยผู้เขียนบทความนั้นๆ มิได้เกี่ยวข้องกับชมรมทันตสาธารณสุขภูธร หรือ วารสารทันตภูธร
วารสารทันตภูธร
2
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
สารบัญ ทันตภูธร ทักทาย บรรณาธิการ โดย ทพญ. นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ ธรรมะ สวัสดี ข่าวสั้นติวานนท์ โดย ทพ. วีระ อิสระธานันท์ รพ.แม่จัน จ.เชียงราย สิ่งดีๆ ที่อยู่ในใจ เก็บเรื่องมาเล่า โดย ผศ.ดร.ปิยะนารถ จาติเกตุ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แม่แจ่ม “โรงพยาบาลสีเขียว” โดย ทพญ. วรดนู ภักดี รพ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ ตามไปเยี่ยมน้องๆทันตแพทย์ชายแดนใต้ โดย ทพญ.พัชรี กัมพลานนท์ (ทันตแพทย์เกษียณ รพ.หาดใหญ่) หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่ประเทศเมียนมาร์: มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง โดย ทพญ.พิไลวรรณ กองมา รพ.ป่าแดด หมอฟันเสื้อเทากระเป๋าเขียว(ภาคพื้นดิน) โดย ทพญ.คนึงนิตย์ ตั้งเสงี่ยมวิสัย ทันตาภิบาลรุ่นใหม่...เป็นไงกันบ้าง โดย ทพญ.แพร จิตตินันทน์ รพ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี หมอฟันครอบครัว หมายถึงอะไร โดย ทพ.ดร.ธงชัย วชิรโรจน์ไพศาล คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Dent Script ผลงานจากความพากเพียร โดย ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี บุหรี่… อุปสรรคของการมีสุขภาพช่องปากดี โดย ทพญ.วิกุล วิสาลเสสถ์ สานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย วายร้าย หวาน........เย็น โดย ทพญ. ปิยะดา ประเสริฐสม ผู้จัดการเครือข่ายรณรงค์เพื่อเด็กไทยไม่กินหวาน การประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพ โดย รศ.ทพญ.ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนึ่งสตางค์...ที่มีความต้องการเป็นพิเศษ ตอน...การเดินทางที่แสนพิเศษ... โดย จารีย์ เกร็ดความรู้ของภูธร dentist โดย ทพญ.เมธ์ ชวนคุณากร รพ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี เก็บตกจากโต๊ะบรรณาธิการ เรื่อง การคัดลอกผลงานทางวิชาการ โดย ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวฒ ั น์, รศ.ทพญ.ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ ภาพเป็นข่าว: เคล็ดไม่ลับสั้นๆ สาหรับงานทันตสาธารณสุข โดย ทพ.ประเวทย์ สุทธิไชยากุล เมื่อหมอฟันภูธร…อยากมีสามีเป็นฝาหรั่ง!!! โดย ทพญ.จริญญา เชลลอง รพ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด เพาะรัก สร้างศรัทธา โดย Paramitta Plukponyarm ประธานขอพูด (อีกที) โดย ทพ.กิตติคุณ บัวบาน ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร จากพี่ๆทันตแพทย์โรงพยาบาลชุมชน ถึงน้องๆทันตแพทย์ ทันตาภิบาลจบใหม่ ขั้นตอนการสั่งซื้อสินค้า บริษัท ทันตภูธรและเพื่อน จากัด www.tuntapootorn.com เพื่อสนับสนุนค่าพิมพ์ วารสารทันตภูธร
3
1 4 6 7 10 15 22 24 26 33 36 42 44 46 50 54 61 65 66 69 70 72 81
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ธรรมะ สวัสดี บันทึกความทรงจาของ พล.ต.อ.วสิษฐ เดชกุญชร ที่มา http://www.dek-d.com/board/view/1472976/
ในคืนวันหนึ่งของปี พ.ศ. 2510 (ยศในขณะนัน้ พันตำรวจโท)....หลังจำกได้รบั พระรำชทำนเลีย้ งอำหำรค่ำแล้วใน วังไกลกังวล....ผมจำได้ว่ำ คืนนัน้ ผูท้ โ่ี ชคดีได้เข้ำเฝ้ ำฯ รับพระรำชทำนพระจิตรลดำเป็ นนำยตำรวจ 8 นำย และนำยทหำร เรือ 1 นำย........พระเจ้ำอยู่หวั เสด็จลงมำพร้อมด้วยกล่องใส่พระเครือ่ งในพระหัต ถ์ทรงอยูใ่ นฉลองพระองค์ชุดลำลอง....... ขณะทีท่ รงวำงพระลงบน ฝ่ ำมือทีผ่ มแบรับอยู่นนั ้ ผมมีควำมรูส้ กึ ว่ำองค์พระร้อนเหมือนเพิง่ ออกจำกเตำ
วารสารทันตภูธร
4
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
........ภำยหลัง เมื่อมีโอกำสกรำบบังคมทูลถำม จึงได้ทรำบว่ำ พระเจ้ำอยู่หวั ทรงสร้ำงพระเครื่ององค์นัน้ ด้ว ยกำรนำเอำวัต ถุ มงคลหลำยชนิดผสมกัน เช่น ดิน จำกปูชนียสถำนต่ำงๆทัวประเทศ ่ ดอกไม้ทป่ี ระชำชนทูล เกล้ำถวำยในโอกำสต่ำงๆ และเส้นพระเจ้ำ(เส้นผม)ของ พระองค์เอง เมื่อผสมกันโดยใช้กำวลำเท็กซ์เป็ นตัว ยึด แล้วจึงทรงกดลงในพิมพ์ (อ.ไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ ซึ่ง ต่อมำเป็ นศิลปิ นแห่งชำติ เป็ นผูแ้ กะถวำย) โดยไม่ได้เอำ เข้ำเตำเผำ............. หลังจำกที่ได้รบั พระรำชทำนแล้ว ทรงพระกรุณำพระรำชทำนพระบรมรำโชวำทมีควำมว่ำ ........พระที่ใ ห้ ไ ปน่ ะ ก่ อ นจะเอำไปบู ช ำ ให้ ปิ ด ทอง เสี ย ก่ อ นแต่ ใ ห้ ปิ ดเฉพำะข้ ำ งหลัง พระเท่ ำ นั ้ น ........ พระรำชทำนพระบรมรำชำธิบำยด้วยว่ำ ที่ ใ ห้ ปิ ดทองหลัง พระก็เ พื่ อ เตื อ นตัว เองว่ า การทาความดี ไม่จาเป็ น ต้ องอวดใครหรือประกาศ ใ ห้ ใ ค ร รู้ ใ ห้ ท า ห น้ า ที่ เ พื่ อ ห น้ า ที่ แ ล ะ ถื อ ว่ า ความสาเร็จ ในการทาหน้ าที่ เป็ นบาเหน็ จรางวัลที่ สมบูรณ์แล้ว........ ผมเอำพระเครื่องพระรำชทำนไป ปิ ดทองทีห่ ลัง พระแล้ว ก็ซอ้ื กรอบใส่ หลัง จำกนัน้ มำสมเด็จ จิต รลดำหรือ พระก ำลัง แผ่นดินองค์นัน้ ก็เป็ นพระเครื่อง เพียงองค์เดียวที่ห้อย คอผม.............หลังจำกที่ไปเร่ร่อนปฏิบตั หิ น้ำที่อยู่ไกล ห่ำงพระยุคลบำท ผมได้มโี อกำสกลับไปเฝ้ ำฯ ที่วงั ไกล
วารสารทันตภูธร
5
กังวลอีก.....ควำมรูส้ กึ เมื่อได้เฝ้ ำฯ นอกจำกจะเป็ นควำม ปี ติย ิน ดีท่ีไ ด้พ ระยุ ค ลบำทอีก ครัง้ หนึ่ ง แล้ว ก็ม ีค วำม น้อยใจ ทีป่ ฏิบตั หิ น้ำทีด่ ว้ ยควำมตัง้ ใจ ลำบำกและเผชิญ อันตรำยนำนำชนิด บำงครัง้ จนแทบเป็ นอันตรำยถึงชีวติ แต่ปรำกฏว่ำกรมตำรวจมิได้ตอบแทนด้วย บำเหน็จใดๆ ทัง้ สิน้ ก่ อ นเสด็จขึ้นคืนนัน้ ผมจึงก้มลงกรำบบนโต๊ ะ เสวย แล้วกรำบบังคมทูลว่ำ ใคร่ขอพระรำชทำนอะไร สัก อย่ ำ งหนึ่ ง ................พระเจ้ำ อยู่ ห ัว ตรัส ถำมว่ ำ “จะเอำอะไร?” และผมก็กรำบบังคมทูลอย่ำงกล้ำหำญ ชำญชัยว่ำ ...... จะขอพระบรมรำชำนุ ญำตปิ ดทองบน หน้ำพระทีไ่ ด้รบั พระรำชทำนไป พระเจ้ำอยู่หวั ตรัส ถำม เหตุผลที่ผมขอปิ ดทองหน้ำพระ............ผมกรำบบังคม ทูลอย่ำงตรงไปตรงมำว่ำ....พระสมเด็จจิตรลดำหรือพระ กำลังแผ่นดินนัน้ นับตัง้ แต่ได้รบั พระรำชทำนไปห้อยคอ แล้ว ต้องทำงำนหนักและเหนื่อยเป็ นที่สุด เกือบได้รบั อัน ตรำยร้ำ ยแรงก็ห ลำยครัง้ มิห น ำซ้ ำ กรมต ำรวจยัง ไม่ ใ ห้เ งิน เดือ น ขึ้น แม้แ ต่ บ ำทเดีย วอีก ด้ว ย........... พระเจ้ำอยู่หวั ทรงแย้มพระสรวล (ยิ้ม) ก่อนที่จะมีพ ระ รำชดำรัสตอบด้วยพระสุรเสียงที่ส่อพระเมตตำและพระ กรุณำว่ำ ".......ปิ ดทองไปข้างหลังพระเรื่อยๆ แล้ว ทองจะล้นออกมาที่หน้ าพระเอง......."
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
17 เมษำยน 2558 เนื่องในเทศกำลสงกรำนต์ ดร. นพ. พรเทพ ศิรวิ นำรังสรรค์ อธิบดีกรมอนำมัยและ ทันตแพทย์ สุธำ เจียรมณีโชติชยั รองอธิบดีกรมอนำมัย น ำพวกเรำพี่ ๆ น้ องๆทั น ตบุ ค ลำกรในกระทรว ง สำธำรณสุข สำนักทันตสำธำรณสุข ตัวแทน ทันตแพทย์ จำก ส ำนัก งำนสำธำรณสุ ข จัง หวัด โรงพยำบำลศู น ย์ โรงพยำบำลทัวไป ่ โรงพยำบำลชุมชน ร่วมรดน้ ำขอพร ศำสตรำจำรย์พเิ ศษ ทันตแพทย์หญิง ท่ำนผูห้ ญิง เพ็ชรำ เตชะกั ม พุ ช เพื่ อ เป็ น ศิ ร ิ ม งคลแก่ พ วกเรำชำว ทันตบุคลำกรทุกคน ในโอกำสนี้ท่ำนผู้หญิง ได้ฝำกให้ พวกเรำชำวทันตบุคลำกร ช่วยกันสร้ำงงำนในกำรดูแล สุขภำพช่องปำกของผูส้ งู อำยุ เพรำะในอีกไม่กป่ี ี ขำ้ งหน้ำ
สังคมไทยจะมีผู้สูงอำยุเพิม่ มำกขึน้ บรรยำกำศกำรเข้ำ รดน้ ำขอพร เป็ นบรรยำกำศที่อบอวลไปด้ วยมิต รภำพ ของพวกเรำชำวทันตบุคลำกร ท่ำนได้เล่ำเรื่องรำวต่ำงๆ ให้เด็กรุ่นหลังอย่ำงเรำฟั ง กำรพูดคุยแบบมิตรทำให้เรำ ได้ควำมคิดและเเรงบันดำลใจในกำรทำงำนเพื่อ สังคม และคนไข้ อนำคตของงำนทันตะเรำต้องช่วยกันพัฒนำ หำแนวร่ ว มในกำรท ำงำนมำกๆ ท่ ำ นผู้ห ญิง บอกว่ ำ ทันตแพทย์อย่ำทำงำนอยู่ในห้องอย่ำงเดียว ต้องพัฒนำ และเข้ำหำผู้ป่วย สร้ำงควำมรูค้ วำมเข้ำใจ ให้กบั ผู้ป่วย และชุ ม ชน ท่ ำ นเป็ นผู้ รู้จ ริง ในกำรพัฒ นำงำนทัน ต สำธำรณสุ ข ท่ ำ นฝำกพวกเรำร่ ว มแรงร่ ว มใจในกำร ทำงำนเพื่อผูป้ ่ วยต่อไปอย่ำงมีพลังและแรงบันดำลใจ
ข่าวสั้นติวานนท์ รายงานโดย ทพ. วีระ อิสระธานันท์ รพ.แม่จัน จ.เชียงราย วารสารทันตภูธร
6
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
สิ่งดีๆ ที่อยู่ในใจ เก็บเรื่องมาเล่าโดย ผศ.ดร. ปิยะนารถ จาติเกตุ pichatiketu@yahoo.com
ก่อนเข้าเรื่อง Viola Spolin เขียนไว้ในหนังสือ “Improvisation for the Theater” ว่ ำ “We learn through experience and experiencing, and no one teaches anyone anything….If the environment permits it, anyone can learn whatever he chooses to learn; and if the individual permits it, the environment will teach him everything it has to teach”....อืม จะแปลว่ำยังไงดีน ะ เอำเป็ นว่ ำ “เราเรีย นรู้ผ่ า นประสบการณ์ แ ละการมี ประสบการณ์ และไม่มใี ครสอนใครในเรือ่ งต่างๆ ได้...ถ้า สิง่ แวดล้อมเปิ ดโอกาสให้ ใครๆ ก็สามารถเรียนรูอ้ ะไรก็ วารสารทันตภูธร
7
ตามทีเ่ ขาเลือกทีจ่ ะเรียนรูไ้ ด้ และถ้าแต่ละคนเปิดโอกาส ให้ตวั เอง สิง่ แวดล้อมนัน่ แหละก็จะสอนเขาในทุกๆ เรือ่ ง ทีต่ อ้ งสอน” Viola Spolin เป็ นบุคคลสำคัญของวงกำรละคร เวทีในศตวรรษที่ 20 ของอเมริกำ เป็ นคนทีส่ ร้ำงเทคนิค “Theater Games” ที่ช่วยให้นักแสดงเพ่งควำมสนใจไป ที่ก ำรแสดง ณ ขณะเวลำนั ้น ท ำให้ ก ำรแสดงเป็ น ธรรมชำติเหมือนในชีวติ จริง โดยนัยยะแล้วก็คอื กำรดึง สิง่ ทีอ่ ยูใ่ นตัวออกมำใช้ในขณะแสดงให้ได้นนั ่ เอง ในชีวติ จริง ทีโ่ ลกนี้คอื โรงละครโรงใหญ่ เรำทุกคนก็คอื นักแสดง และเมื่ อ เรำต้ อ งเผชิ ญ สถำนกำรณ์ ต่ ำ งๆ แม้ บ ำง ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
สถำนกำรณ์ เ รำอำจคำดเดำได้ บ้ ำ ง แต่ ก็ ไ ม่ ใ ช่ ทุ ก สถำนกำรณ์ เรำจึง ไม่ส ำมำรถเตรี ย มตัว มำก่ อ นเพื่อ รับมือกับสถำนกำรณ์ทค่ี ำดเดำไม่ได้นนั ้ ๆ กำรแสดงออก ของเรำจึงเป็ นธรรมชำติ และสะท้อน “วิธคี ดิ ” ของเรำได้ เรื่องรำว “สิง่ ดีๆ ทีอ่ ยู่ในใจ” ทีจ่ ะเก็บมำเล่ำต่อไปนี้ เป็ น ฉำกหนึ่งในละครโรงใหญ่ ที่มตี วั ละครหลำยตัวที่ “เล่น” ได้อย่ำง “ธรรมชำติ” ในสถำนกำรณ์และสิง่ แวดล้อมทีไ่ ม่ สำมำรถคำดเดำได้ เรำมำลองติดตำมละครฉำกนี้กนั เลย ดีกว่ำ
เข้าเรื่อง “เสื้อฟุตบอล” โดย ทพ.ธนวัต นิ้ มเจริ ญ เรื่ อ งที่ ข้ ำ พเจ้ ำ จะเล่ ำ ต่ อ ไปนี้ อ ำจจะไม่ ไ ด้ เกี่ยวกับกำรทำงำนในฐำนะทันตแพทย์เสียทีเดียว แต่ก็ เป็ นเรือ่ งทีเ่ กิดตอนทีข่ ำ้ พเจ้ำเป็ นทันตแพทย์ใช้ทุนปี แรก ในตอนนัน้ ข้ำพเจ้ำจับฉลำกได้ไ ปใช้ทุนที่โรงพยำบำล สำมเงำ จัง หวัด ตำก ซึ่ง เขื่อ นภูม ิพ ลก็อ ยู่ใ นอ ำเภอนี้ เช่นกัน ก่อนจะเริม่ เรื่องข้ำพเจ้ำขอบอกข้อมูลบำงอย่ำง เล็กน้อยตำมปกติแล้วข้ำพเจ้ำเป็ นคนที่ย้ิมง่ำย ชอบยิม้ ทักทำยคนอื่น เพรำะบำงทีเรำพบปะผู้ค นเยอะอำจจะ หลงลืมบ้ำง บำงคนเห็นหน้ ำแล้ว รู้ส ึก คุ้นๆ เหมือ นจะ รู้จกั แต่ก็ไม่แน่ ใจ ข้ำพเจ้ำก็ย้มิ ไปให้ก่อนเพรำะอย่ำง น้อยเค้ำก็จะได้รวู้ ่ำเรำทักทำยเค้ำ ถึงจะทักคนผิดกำรยิม้ ให้มนั ก็ไม่ได้เสียหำยอะไร และยิง่ ถ้ำเป็ นคนที่รู้จกั และ จำได้ดขี ้ำพเจ้ำก็จะยกมือไหว้ทุกครัง้ ไหว้ตงั ้ แต่คนไข้ พี่ห มอ พี่พ ยำบำล พี่เ ภสัช ผู้ ช่ ว ย พนั ก งำนขับ รถ เจ้ำหน้ำทีก่ ำรเงิน ช่ำง แม่ครัว คนสวน
วารสารทันตภูธร
8
เรื่อ งมีอ ยู่ว่ ำ ข้ำ พเจ้ำ ชอบกีฬ ำฟุ ต บอล หำกมี เวลำว่ำงทีไ่ ม่มเี วรก็จะเข้ำไปเล่นฟุตบอลทีส่ นำมฟุตบอล ในเขื่อนภูมพิ ลทุกครัง้ ตอนแรกๆ ก็ไม่ค่อยรูจ้ กั ใครพอ เล่นไปเรือ่ ยๆ ก็เริม่ รูจ้ กั คนมำกขึน้ ทัง้ เด็ก ทัง้ ผูใ้ หญ่ คน จำกโรงพยำบำลมำเล่นก็ม ี คนทีอ่ ำศัยอยู่ในเขื่อนก็เยอะ หรือชำวบ้ำนทัวไปที ่ อ่ ยู่ใกล้ก็มำเล่นด้วยกันหมด พอถึง ตอนที่ข้ำพเจ้ำจะต้องย้ำยโรงพยำบำล พวกพี่ๆ ที่เตะ ฟุตบอลด้วยกันนัน้ เคยบอกข้ำพเจ้ำไว้ก่อนหน้ำนี้ว่ำหำก จะย้ำยให้มำบอกก่อน พอข้ำพเจ้ำไปบอกว่ำจะต้องย้ำย พวกพีๆ่ ก็เลยบอกว่ำจะจัดฟุตบอลแมตช์อำลำให้ ตอน นัน้ ข้ำพเจ้ำตกใจปนกับตื่นเต้นไปด้วยเพรำะไม่เ คยคิด ว่ำจะมีแบบนี้มำก่อน พอถึงวันทีจ่ ดั งำนจริงคนทีข่ ำ้ พเจ้ำ เคยเล่ นฟุ ต บอลด้ว ยก็มำกันค่ อ นข้ำงเยอะ สิ่งที่เ หนื อ ควำมคำดหมำยคือนอกจำกจะเตะบอลปกติแล้ว พวก พี่ ๆ ยั ง จั ด โต๊ ะ ยำวข้ ำ งสนำม มี อ ำหำรเครื่ อ งดื่ ม เหมือนกับงำนเลี้ยงย่อ มๆ เลยทีเดียว ข้ำพเจ้ำไม่เ คย คำดคิดมำก่ อ นเลย เพรำะเข้ำใจว่ำคงเตะฟุ ตบอลเล่น ตำมปกติ สิ่ง ที่เ หนื อ ควำมคำดหมำยยัง ไม่ห มดเพียง เท่ำนี้ ก่อนทีจ่ ะเริม่ เล่นกันพีค่ นหนึ่งก็เรียกทุกคนมำเข้ำ แถวหน้ ำ กระดำน และเรีย กข้ำ พเจ้ำ ออกมำหน้ ำ แถว พร้อ มกับ มอบของสิ่ง หนึ่ ง สิ่ง นั น้ คือ เสื้อ และกำงเกง ฟุตบอลทีม่ สี กรีนด้ำนหน้ำและด้ำนหลังว่ำ EGAT ซึง่ ย่อ ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
มำจำก Electricity Generating Authority of Thailand หรือ กำรไฟฟ้ ำฝ่ ำยผลิตแห่ งประเทศไทย ณ เวลำนัน้ ข้ำพเจ้ำดีใ จจนพูดไม่อ อกเลยทีเ ดียว พอหลังจำกเตะ ฟุตบอลเสร็จก็มำนัง่ สังสรรค์กนั ตอนนัน้ มีพ่ที ่ที ำงำนที่ โรงพยำบำลคนหนึ่งเดินเข้ำมำหำข้ำพเจ้ำและพูดว่ำ “หมอรู้มยั ้ ครับว่านีเ่ ป็ นครัง้ แรกทีม่ งี านแบบนี้ หมอเป็ นคนแรกทีส่ ามารถรวมคนจากโรงพยาบาลและ เขือ่ นมาได้มากขนาดนี้ ผมรูส้ กึ ดีกบั หมอมาก ตอนอยู่ใน โรงพยาบาลผมเป็ นคนสวนนัง่ ตัดหญ้าอยู่ แต่หมอก็เดิน เข้ามาแล้วก็ยกมือไหว้คนสวนอย่างผม ผมซึ้งจนไม่รู้จะ ว่ายังไงเลย อีกเดี๋ยวหมอก็จะไปแล้ว ผมไม่รู้จะเอาให้ อะไรหมอดี งัน้ เอาอย่างนี้ละกันครับ ” พอพูดจบพี่เค้ำก็ ถอดเสื้อฟุตบอลตัวที่ใส่อยู่ตอนนัน้ ให้ข้ำพเจ้ำ พอพี่คน อื่นเห็นก็เอำบ้ำงถอดเสือ้ ให้กนั หลำยคนทีเดียว บำงคน กลัว ว่ำจะเหม็นเหงื่อ ถึงกับไปเอำตัวใหม่มำให้เ ลยก็ม ี เหตุกำรณ์น้ีคงเป็ นเหตุกำรณ์ทจ่ี ะอยู่ในควำมทรงจำของ ข้ำพเจ้ำตลอดไป กำรที่เรำมีฐำนะทันตแพทย์บำงครัง้ อำจถู กท ำ ให้อ ยู่สูงกว่ำคนอื่น ทัง้ จำกตนเองและคนรอบข้ำ ง แต่ ข้ำพเจ้ำคิดว่ำกำรอยู่สูงมันไม่ได้ดเี ลย ถึงเรำจะอยู่ใกล้ คนอื่นแค่ไหนแต่ถ้ำเรำอยู่สูงมันจะทำให้เรำมองสิง่ ทีอ่ ยู่ ใกล้ๆ ได้น้อยลง เปลี่ยนมำอยู่ใกล้กนั ในระดับที่เท่ำกัน จะท ำให้ เ รำได้ พ บเห็น สิ่ง ดีๆ ที่ม ีค่ ำ รอบๆ ตัว เรำอีก มำกมำย เสื้อทุกตัวที่ขำ้ พเจ้ำได้รบั มำในวันนัน้ ข้ำพเจ้ำ
วารสารทันตภูธร
9
ยังเก็บไว้อย่ำงดีจนถึงวันนี้ ทุกครัง้ ทีม่ องเสือ้ แต่ละตัวมัน ทำให้ขำ้ พเจ้ำรูส้ กึ ดีอย่ำงบอกไม่ถูกแม้ว่ำเสื้อบำงตัวจะ เป็ นเสือ้ ของทีมคู่อริกบั ทีมทีข่ ำ้ พเจ้ำเชียร์กต็ ำม เข้าใจ ละครฉำกนี้ ตัวละครทุกตัวแสดงในบทบำทของ ตัวเองได้อย่ำงเป็ นธรรมชำติทส่ี ุด บทบำททีต่ วั ละครตัว เอกแสดงออกมำนัน้ สำมำรถสะท้อน “วิธคี ดิ ” ของเขำได้ เป็ นอย่ำงดี ไม่ได้มกี ำรเสแสร้ง ไม่ได้มกี ำรปรุงแต่ง เรือ่ ง เล็กๆ ฉำกเล็กๆ ในชีวติ ทีผ่ ่ำนมำของเขำซึง่ ดูเหมือนมัน เล็กมำกๆ แต่ผลของกำรแสดงที่เป็ นธรรมชำติของเขำ กลับสร้ำงประสบกำรณ์ทส่ี ่งผลทีย่ งิ่ ใหญ่มำกๆ เกินควำม คำดหมำย แล้วผูอ้ ่ำนหล่ะ ในเมือ่ ทุกคนอยูใ่ นโลกของโรงละครโรงใหญ่ใบนี้ เคยถำมหรือทบทวนตัวเองบ้ำงไหมว่ำ บทบำททีเ่ รำเล่น อยู่น้ี กับฉำกชีวติ ทีห่ มุนเวียนเปลีย่ นไป มีตวั ละครอื่น ๆ ผ่ำนเข้ำมำมำกมำย เรำแสดงไว้อย่ำงไร เป็ นธรรมชำติ อย่ำงไร มี “วิธคี ดิ ” อย่ำงไร ผลของกำรแสดงนัน้ ๆ เป็ น อย่ ำ งไรกัน บ้ำ งกำรแสดงที่ผ่ ำ นมำของคุ ณ สำมำรถ สะท้อนสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นตัวคุณหรือยัง ถ้ำยังสำมำรถเรียนรูจ้ ำก ประสบกำรณ์ แล้วนำมำปรับปรุงกำรแสดงของตัวเองกัน หรือยัง ก็เ พรำะ“เราเรียนรูผ้ ่านประสบการณ์และการมี ประสบการณ์ และไม่มใี ครสอนใครในเรือ่ งต่างๆ ได้” แล้วพบกันใหม่กบั เรื่องรำวดีๆ ที่จะเก็บมำเล่ำ ให้อ่ำนกันอีกในฉบับหน้ำนะคะ
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
แม่แจ่ม “โรงพยาบาลสีเขียว” ทพญ. วรดนู ภักดี โรงพยาบาลเทพรัตนเวชชานุกูล เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา จ.เชียงใหม่
โรงพยำบำลเทพรัต นเวชชำนุ กู ล เฉลิม พระ เกียรติ 60 พรรษำ เชื่ อ ว่ ำ ทุ ก คนคงรู้ จ ัก ภู เ ขำ (ดอยในภำษำ ภำคเหนือ ) ที่สูงที่สุ ดในประเทศไทย “ดอยอินทนนท์” แต่ ห ลำยคนคงไม่รู้ว่ ำ ระหว่ ำ งทำงขึ้น ดอยอิน ทนนท์ บริเวณกิโลเมตรที่ 31 เป็ นทำงเข้ำอำเภอแม่แจ่ม อำเภอ เล็ก ๆ ในอ้อ มกอดของหุบเขำ มีว ิถีชีว ิต อันเรีย บง่ำ ย กำรเดินทำงมำแม่แจ่มค่อนข้ำงลำบำก ถนนหนทำงคด เคี้ยวไปตำมไหล่เขำกว่ำ 30 กิโลเมตร เจอโค้งหักศอก เป็ นระยะ จนถูกเรียกว่ำเป็ นเมืองลับแลในหุบเขำ รวม ระยะห่ำงจำกตัวเมืองเชียงใหม่ถงึ 127 กิโลเมตร ลองมำ รูจ้ กั อำเภอเล็ก ๆ กลำงหุบเขำ ซึ่งมีเรื่องรำวที่น่ำสนใจ คือ รพ.สีเขียว ทำไมต้องรพ.สีเขียว เรำมำติดตำมกันดู นะคะ แ ม่ แ จ่ ม มี พ้ื น ที่ ก ว้ ำ ง ถึ ง 3,361.15 ต ำ ร ำ ง กิโลเมตร ส่วนใหญ่เป็ นป่ ำไม้และภูเขำสูงชัน ชำวบ้ำนที่ วารสารทันตภูธร
10
อำศัยอยูท่ น่ี ่มี หี ลำยเชือ้ ชำติ เกินครึง่ เป็ นชำวเขำ ทีส่ ร้ำง บ้ำนเรือ นอยู่กลำงดอยสูง ห่ำงไกลจำกตัว อ ำเภอและ ทุรกันดำร เส้นทำงทีใ่ ช้เดินทำงมำโรงพยำบำลค่อนข้ำง ลำบำก ส่วนใหญ่เป็ นเส้นทำงสำรอง (รำดยำงเพียงบำง ๆ หรือบำงครัง้ เทคอนกรีตเพียงสองเส้นให้พอดีกบั ล้อรถ เท่ำนัน้ ) สลับกับทำงดินลูกรัง และมีส ภำพสูงชัน เมื่อ เจ็บป่ วยอำจไม่สำมำรถมำโรงพยำบำลได้ทนั ท่วงที โดยเฉพำะในฤดูฝนจะยิง่ เดินทำงลำบำกมำกขึน้ เพรำะถนนดินลูกรังจะกลำยสภำพเป็ นโคลน บำงครัง้ ที่ รถติ ด หล่ ม ใช้ เ วลำนำนหลำยชั ว่ โมงกว่ ำ จะมำถึ ง โรงพยำบำล หรือไม่สำมำรถมำได้เลย ในช่วงหน้ำฝนนี้ ชำวบ้ำนทีม่ ำโรงพยำบำลส่วนมำกจะมำในสภำพที่เลอะ โคลนบ้ำง บำดเจ็บจำกกำรทำรถมอเตอร์ไซค์ล้มกลำง ทำงบ้ำ ง โรงพยำบำลแม่ แ จ่ ม เองก็ไ ม่ ไ ด้นิ่ ง นอนใจ พยำยำมที่จะแก้ไขปั ญ หำนี้โดยกำรออกหน่ ว ยบริก ำร สุขภำพอย่ำงสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
แต่ด้วยเส้นทำงที่ลำบำก รถโรงพยำบำลเองก็ ต้องใช้เวลำหลำยชัวโมงเพื ่ ่อเข้ำไปให้บริกำร หลำยครัง้ ที่เจ้ำหน้ ำที่โรงพยำบำลต้องลุยโคลนลงไปเข็นรถที่ตดิ หล่ม ลงไปตัดต้นไม้ท่ลี ้มขวำงทำงรถ หรือบำงครัง้ ก็ไม่ สำมำรถไปต่อได้ ต้องเลี้ยวรถกลับโรงพยำบำล แม้จะ ออกเดินทำงมำเกินครึง่ ทำงแล้วก็ตำม โ ร ง พ ย ำ บ ำ ล แ ม่ แ จ่ ม แ ต่ เ ดิ ม เ ป็ น เ พี ย ง โรงพยำบำลขนำด 30 เตี ย ง แต่ ม ีจ ำนวนผู้ ป่ วยใน มำกกว่ำ 30 เตียงต่ อ วันมำเป็ นเวลำกว่ำ 8 ปี แล้ว หอ ผู้ป่วยในจึงคับแคบ ไม่เพียงพอต่อจำนวนผู้ป่วย ผู้ป่วย ในล้นเตียงล้นห้อง แม้จะมีกำรต่อเติมขยำยหอผูป้ ่ วยใน ให้มพี ้นื ที่รองรับมำกขึ้น แต่ก็ยงั ไม่เพียงพอต่อจำนวน ผูป้ ่ วยทีเ่ ข้ำมำรับบริกำรอยู่ดี ประกอบกับโรงพยำบำลมี เนื้อที่เพียง 4 ไร่เศษ ตัง้ อยู่ท่ำมกลำงชุมชน อยู่ในซอย ลึก ห่ ำ งจำกถนนสำยหลัก ประมำณ 200 เมตร จึง ไม่ สำมำรถขยำยต่อเติมอำคำรให้เพียงพอกับปริมำณผู้ป่วย ในที่เ พิ่มมำกขึ้นได้ ผู้ป่วยในจึงต้อ งนอนตำมระเบีย ง ทำงเดิน ทำงลำดขึ้นอำคำร หรือ หัว บันได แม้แต่ ห้อง พิเศษบำงครัง้ ต้องเอำเตียงออก และปูเสื่อให้ผู้ป่วยใน วารสารทันตภูธร
11
นอนห้องละประมำณ 4-5 คน เพื่อทีจ่ ะสำมำรถให้บริกำร ผู้ป่ วยในได้อ ย่ำ งทัว่ ถึง แม้จ ะได้ร บั กำรยกฐำนะเป็ น โรงพยำบำล 60 เตียง เมือ่ วันที่ 30 สิงหำคม พ.ศ. 2556 แล้วก็ตำม ควำมเดือดร้อนได้ทรำบถึงพระเนตรพระกรรณ เมื่อครัง้ ออกหน่ วยแพทย์พระรำชทำน ทีโ่ รงเรียนตำรวจ ตระเวนชำยแดนบ้ำนแม่ลองและโรงเรียนตำรวจตระเวน ชำยแดนบ้ำนใหม่พฒ ั นำสันติ ในวันที่ 18 มกรำคม พ.ศ. 2555 นพ.สมมิตร สิงห์ใจ ผู้อำนวยกำรโรงพยำบำลแม่ แจ่ม ได้มโี อกำสเข้ำเฝ้ ำถวำยรำยงำนเกี่ยวกับผู้ป่วย ใน พระรำชำนุ เ ครำะห์แ ด่ ส มเด็จ พระเทพรัต นรำชสุ ด ำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี พระองค์ทรงให้ควำมสนพระทัยเป็ น อย่ำงยิง่ ทรงรับทรำบถึงปั ญหำควำมเดือนร้อน และทรง ห่วงใยประชำชนทีม่ ำรับบริกำรทีโ่ รงพยำบำลแม่แจ่ม จึง ทรงมีพ ระกรุ ณ ำธิคุ ณ พระรำชทำนก่ อ สร้ ำ งอำคำร พระรำชทำนผู้ ป่ วยในจ ำนวน 2 อำคำร คือ อำคำร พระรำชทำน 7 และอำคำรพระรำชทำน 8 พร้อ มทัง้ มี กำรย้ำยทีต่ งั ้ โรงพยำบำลใหม่ไปในพืน้ ทีท่ ก่ี ว้ำงขวำงขึน้ ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ข้ำพเจ้ำ ทพญ. วรดนู ภักดี ได้เริม่ ปฏิบตั งิ ำนที่ โรงพยำบำลเทพรัต นเวชชำนุ กูล เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษำ ในปี พ.ศ.2557 โดยพื้น ฐำนข้ำ พเจ้ำ เป็ น คน จัง หวัด เชี ย งใหม่ กำรท ำงำนทัน ตสำธำรณสุ ข นั ้น โรงพยำบำลของเรำได้ร บั พระกรุณ ำธิคุ ณ จำกสมเด็จ พระเทพรัต นรำชสุ ด ำฯ สยำมบรมรำชกุ ม ำรี ได้ท รง พระรำชทำนรถยนต์เ อนกประสงค์ เพื่อ ใช้อ อกหน่ ว ย แพทย์เคลื่อนที่ ทำให้เรำสำมำรถเดินทำงไปให้บริกำร ทำงทันตกรรมแก่ โรงเรียนในพื้น ที่อ ำเภอแม่แ จ่ม ที่ม ี ทัง้ หมด 126 แห่ง ได้สะดวกและครอบคลุมยิง่ ขึน้
ประกอบกับ กระทรวงสำธำรณสุ ข ได้ จ ัด สรร งบประมำณเพื่อก่อสร้ำงอำคำรบริกำรในส่วนที่จำเป็ น เพิม่ เติม ซึง่ ทีต่ งั ้ ของโรงพยำบำลแม่แจ่มแห่งใหม่อยู่ห่ำง จำกโรงพยำบำลเดิมประมำณ 1 กิโลเมตร โดยได้รบั พระรำชทำนนำมว่ำ “โรงพยำบำลเทพรัตนเวชชำนุ กูล เฉลิม พระเกีย รติ 60 พรรษำ” เมื่อ เริ่ม ก่ อ สร้ำ งนัน้ มี ประชำชนชำวแม่แจ่มกว่ำ 2,000 คน ได้พร้อมใจกันมำ ช่วยปรับพืน้ ทีเ่ พื่อก่อสร้ำงโรงพยำบำลแห่งใหม่ โดยในวัน ที่ 21 มกรำคม พ.ศ. 2557 สมเด็จ พระเทพรัต นรำชสุ ด ำ ฯ สยำมบรมรำชกุ ม ำรี เสด็จ ทอดพระเนตรกำรก่อสร้ำงอำคำรพระรำชทำนผู้ป่วยใน ณ โรงพยำบำลแม่แจ่มแห่งใหม่ด้วยพระองค์เอง อีกทัง้ ทัง้ เสด็จพระรำชดำเนินมำทรงเปิ ดโรงพยำบำล ในวัน อัง คำรที่ 20 มกรำคม 2558 ที่ผ่ ำ นมำ เป็ น กำรส่ ว น พระองค์ สร้ ำ งควำมปลำบปลื้ ม และสำนึ ก ในพระ กรุณำธิคุณเป็ นล้นพ้นแก่พสกนิกรชำวแม่แจ่ม วารสารทันตภูธร
12
กำรเดินทำงไปออกหน่ วยทันตกรรมในพื้นที่ท่ี ไกลจำกโรงพยำบำลมำก ไปเช้ ำ – เย็น กลับ ไม่ ไ ด้ จำเป็ นต้องไปนอนค้ำง หรือเส้นทำงทุรกันดำรมำก ไม่ สำมำรถเอำรถธรรมดำไปได้ ต้องใช้รถทีข่ บั เคลื่อนสี่ล้อ เท่ำนัน้ โดยเฉพำะกำรออกหน่ ว ยอนำมัยโรงเรีย นใน หน้ ำ ฝน บำงครัง้ ก็ม ีปั ญ หำในกำรวำงแผนออกพื้น ที่ เนื่องจำกเมื่อก่อนรถโรงพยำบำลที่สำมำรถออกหน่ วย บนดอยได้ม ีเ พีย งไม่ก่ีค ัน เท่ ำ นัน้ หำกมีฝ่ ำยอื่น ๆ ใน โรงพยำบำลต้อ งกำรใช้รถเช่นกัน เรำก็ไม่ส ำมำรถไป นอนค้ำงได้ นอกจำกนี้เรำยังได้รบั พระรำชทำนยูนิตทำ ฟั น เคลื่อ นที่พ ร้อ มกับ เครื่อ งมือ ทำงทัน ตกรรมหลำย อย่ำง ทำให้ทำงำนได้รวดเร็วและมีประสิทธิภำพมำกขึน้ เนื่องจำกยูนิตทำฟั นเคลื่อนที่ของเรำเก่ำมำกแล้ว เสีย บ่อย ซ่อมแล้วซ่อมอีกก็ไม่สำมำรถใช้ได้ดเี หมือนเดิม สำหรับภำวะสุขภำพช่องปำกของนักเรียนและชำวบ้ำน ในพื้นที่ห่ำงไกลของแม่แจ่มนัน้ ในตอนนี้กระแสบริโภค นิยมเข้ำมำมีอิทธิพลมำกขึ้น กำรนำอำหำร ขนม และ เครื่องดื่ม จำกในเมืองขึ้นมำขำยบนดอยทำได้ง่ำยและ สะดวก เด็กบนดอยก็หำขนมถุงและน้ำหวำนทำนเหมือน เด็กในเมืองได้งำ่ ยๆ ดังนัน้ ถึงแม้จะอยูบ่ นดอยทีห่ ่ำงไกล และทุรกันดำร แต่เด็กนักเรียนที่น่ีก็มปี ั ญ หำฟั น ผุ ม ำก เช่นกัน ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
กระเหรี่ยงและเผ่ำม้ง 5 คน ที่เมื่อเรียนจบแล้ว ก็กลับ เข้ำมำทำงำนในพืน้ ทีบ่ ำ้ นเกิด ซึ่ ง กำรที่ ไ ด้ ท ั น ตำภิ บ ำลที่ เ ป็ นชำวเขำมำ ช่ว ยงำนนี้ส ำมำรถช่ว ยเรำได้มำก เพรำะเค้ำสำมำรถ เข้ำ ถึง ชำวบ้ำ นซึ่ง เป็ น ชำวเขำเผ่ ำ เดีย วกัน สำมำรถ สื่อสำร ให้ควำมรู้ ให้กำรดูแลสุขภำพช่องปำกเป็ นภำษำ เผ่ำได้ แม้ว่ำเด็กชำวเขำรุ่นใหม่ส่วนใหญ่จะสำมำรถพูด และเข้ำใจภำษำไทย แต่ ก็มคี นแก่ ค นเฒ่ำบำงคนที่ไม่ สำมำรถฟั งและพู ด ภำษำไทยได้ นอกจำกนี้ ท ำง โรงพยำบำลยังมีโครงกำรออกหน่ วยเยี่ยมบ้ำน เพื่อไป ดู แ ลสุ ข ภำพของผู้ สู ง อำยุ แ ละผู้ พิก ำรที่เ ดิ น ทำงมำ โรงพยำบำลไม่สะดวก โดยฝ่ ำยทันตกรรมก็รว่ มเป็ นส่วน หนึ่งในกำรออกเยีย่ มเพื่อให้ควำมรูเ้ รื่องกำรดูแลสุขภำพ ช่องปำก รวมถึงให้กำรรักษำง่ำย ๆ ทีส่ ำมำรถทำได้
นอกจำกให้บ ริก ำรทัน ตกรรมแก่ นั ก เรีย นได้ สะดวกขึน้ แล้ว เรำยังสำมำรถออกให้ควำมรูแ้ ละบริกำร ทันตกรรมเชิงรุก แก่ ประชำชนทัวไปที ่ ่ อ ยู่ห่ำงไกล ซึ่ง ส่ ว นมำกจะเป็ นชำวเขำ สำมำรถช่ว ยลดปั ญ หำควำม ยำกลำบำกในกำรเดินทำงเข้ำมำรับบริกำรทันตกรรมใน โรงพยำบำลได้ ทำให้สำมำรถให้กำรรักษำและส่งเสริม สุ ขภำพช่อ งปำกได้อ ย่ำงทันเวลำและต่ อ เนื่อ งมำกขึ้น และในปั จจุบ ันชำวเขำมีทศั นคติท่ีดีต่ อ กำรรัก ษำด้ว ย กำรแพทย์แผนปั จจุบนั มำกขึน้ นับเป็ นโอกำสทีด่ ตี ่อกำร พัฒนำงำนด้ำนทันตสำธำรณสุข นอกจำกนี้ในส่วนกำร ดูแลสุขภำพช่องปำกสำหรับประชำชนทีอ่ ยู่ห่ำงไกล และ ไม่สำมำรถเดินทำงมำโรงพยำบำลได้นนั ้ เขตอำเภอของ เรำมีโ รงพยำบำลส่ ง เสริม สุ ข ภำพส่ ว นต ำบลในพื้น ที่ จ ำนวน 11 แห่ ง โดยมีเ จ้ำ พนัก งำนทัน ตสำธำรณสุ ข ประจ ำอยู่ 7 แห่ ง ในจ ำนวนนี้ ม ีเ จ้ ำ พนั ก งำนทัน ตสำธำรณสุ ข หรือ ทัน ตำภิบ ำลที่เ ป็ นชำวเขำทัง้ เผ่ ำ วารสารทันตภูธร
13
โรงพยำบำลเทพรัต นเวชชำนุ กู ล เฉลิม พระ เกียรติ 60 พรรษำ ได้รบั กำรออกแบบสิง่ แวดล้อมและ ภู ม ิท ัศ น์ ใ ห้ เ ป็ น ตำมแนวพระรำชด ำริข องสมเด็ จ พระเทพรัตนรำชสุดำ ฯ สยำมบรมรำชกุมำรี โดยได้รบั กำรสนับสนุนจำกกรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำ และพันธุ์ พืช กระทรวงทรัพ ยำกรธรรมชำติ แ ละสิ่ง แวดล้ อ ม ร่ ว มกั บ กรมป่ ำไม้ โครงกำรหลวงอิ น ทนนท์ และ มหำวิทยำลัยแม่โจ้ ช่ว ยดำเนินกำรออกแบบและปรับ ส ภ ำ พ ภู ม ิ ท ั ศ น์ ทั ้ง ภ ำ ย ใ น แ ล ะ บ ริ เ ว ณ โ ดย รอ บ โรงพยำบำล โดยใช้แนวควำมคิดกำรเป็ นโรงพยำบำลสี เขียว ทีม่ ุ่งเน้นสร้ำงควำมเป็ นธรรมชำติให้เกิดขึน้ ในเขต โรงพยำบำล ให้ ม ีค วำมร่ ม รื่น สวยงำม ลดกำรใช้ พลังงำน มีองค์ประกอบทุกอย่ำงทีเ่ หมำะสม สอดคล้อง กันโดยใช้แนวคิดภำยใต้ช่อื “สวนธรรมชำติบำบัดและ สิง่ แวดล้อมศึกษำ”
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
โดยได้ผสมผสานแนวคิ ด 4 ส (Scek) มาใช้ เป็ นกรอบในการดาเนิ นงาน ดังนี้ 1. เสียง (Sound) เป็ นกำรสร้ำงบรรยำกำศจำก เสียงธรรมชำติเพื่อกำรผ่อนคลำย เช่น เสียงของน้ ำตก เสียงน้ำไหลในลำธำรเล็ก ๆ โดยมีกำรสร้ำงน้ ำตกจำลอง และลำธำรในสวนหย่อมหน้ำอำคำรพระรำชทำน 7 และ 8 เสียงนก เสียงของแมลงต่ำง ๆ จำกกำรปลูกพันธุไ์ ม้ท่ี เป็ นพืชอำหำรของสัตว์ในพื้นที่ เพื่อให้ผมู้ ำรับบริกำรจะ ได้ม ีโ อกำสพัก ผ่ อ นหย่อ นใจ รู้ส ึก ผ่ อ นคลำยจำกกำร ดำเนินชีวติ ประจำวันทีเ่ คร่งเครียด 2. สังคม (Community) มุง่ เน้นควำมสอดคล้อง กับวิถีชวี ติ ชุมชนท้องถิ่น ที่เป็ นสังคมเอื้ออำทร สังคม แห่งกำรช่วยเหลือเกื้อกูล พึ่งพำอำศัยซึ่งกันและกัน ให้ ควำมรูส้ กึ แก่ผเู้ ข้ำรับบริกำรว่ำเป็ นเสมือนกำรอยู่ท่บี ้ำน หรือกำรใช้ชวี ติ ประจำวันตำมปกติ โดยมีหอพักสำหรับ ญำติผู้ ป่ วยที่ต้ อ งอยู่ เ ฝ้ ำไข้เ ป็ นระยะเวลำนำน หรือ สำหรับญำติผปู้ ่ วยทีเ่ ดินทำงมำไกล ไม่สำมำรถกลับบ้ำน ได้ทนั ให้มกี จิ กรรมกำรทำนำขัน้ บันได กำรปลูกพืชผัก สวนครัว ในบริเ วณหอพัก และมีส นำมเด็ก เล่ น บริก ำร สำหรับลูกหลำนทีต่ ดิ ตำมมำเฝ้ ำไข้ 3. สิ่ งแวดล้ อม (Environment) กำรค ำนึ ง ถึง สภำพแวดล้อ มทำงธรรมชำติดงั ้ เดิมที่มคี วำมเขียวขจี ร่มรืน่ และสวยงำมของพืน้ ทีป่ ่ ำต้นน้ ำลำธำรในอำเภอแม่ แจ่ม ด้วยกำรปลูกพันธุ์ไม้หลำกหลำยชนิด ที่มลี กั ษณะ ใกล้เคียงป่ ำธรรมชำติ ซึ่งนอกจำกเป็ นกำรเพิม่ พื้นที่ส ี เขียว ช่วยเพิม่ ออกซิเจน และอำกำศบริสุทธิ ์ในพืน้ ทีแ่ ล้ว พันธุ์ไม้เหล่ำนี้ยงั เป็ นแหล่งที่อยู่อำศัยและแหล่งอำหำร ของนก สัตว์ป่ำขนำดเล็ก แมลงชนิดต่ำง ๆ ก่อให้เกิด จิตสำนึกอนุ รกั ษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและสิง่ แวดล้อมแก่ ผูเ้ ข้ำรับบริกำร และเจ้ำหน้ำทีโ่ รงพยำบำลเองด้วย
4. สร้างความรู้ (Knowledge) กำรให้ค วำมรู้ เพื่อก่อให้เกิดจิตสำนึกอนุ รกั ษ์ทรัพยำกรป่ ำไม้และสัตว์ ป่ ำ จึงเป็ นสิ่งสำคัญ ที่ต้อ งค ำนึงถึง กำรออกแบบด้ว ย ป้ ำยสื่อ ควำมหมำย ป้ ำยชื่อพันธุไ์ ม้ พันธุส์ ตั ว์ แมลงใน ป่ ำ รวมถึงกำรให้ควำมรู้ด้ำนกำรอนุ รกั ษ์สภำพป่ ำตำม แนวพระรำชด ำริ ในกำรให้ค นสำมำรถอยู่ร่ว มกับ ป่ ำ อย่ำงเกือ้ กูลกัน พึง่ พำอำศัยซึง่ กันและกัน ไม่เบียดเบียน ทำลำยกัน จะช่ว ยเสริมสร้ำงควำมรู้แ ละภูมปิ ั ญ ญำแก่ รำษฎรทีเ่ ข้ำมำรับบริกำร และมีควำมคำดหวังว่ำสถำนที่ แห่ ง นี้ จ ะเป็ นแหล่ ง เรีย นรู้ท ำงธรรมชำติท่ีส ำคัญ ใน อนำคต ในกำรแสดงให้เห็นถึงควำมเชื่อมโยงระบบนิเวศ แวดล้อมกับควำมเป็ นอยู่ของชุมชนที่อำศัยอยู่ในพื้นที่ อย่ำงกลมกลืนและยังยื ่ น แนวคิดโรงพยำบำลสีเขียวนี้อำศัยต้นแบบจำก โรงพยำบำล Khoo Teck Puat ประเทศสิงคโปร์ และได้ น ำ ม ำ ป รั บ ใ ห้ เ ห ม ำ ะ ส ม กั บ ส ภ ำ พ แ ว ด ล้ อ ม ขอ ง โรงพยำบำลเทพรัต นเวชชำนุ กูล เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษำ โดย นพ.สมมิ ต ร สิ ง ห์ ใ จ ผู้ อ ำนวยกำร โรงพยำบำลและบุคลำกรของโรงพยำบำลทุกคนมีควำม คำดหวัง ว่ ำ โรงพยำบำลสีเ ขีย วนี้ ไม่ใ ช่ เ พีย งแค่ ป ลู ก ต้น ไม้เ พื่อ ให้ดูร่ม รื่น เท่ ำ นัน้ แต่ ย งั ต้อ งช่ ว ยลดกำรใช้ พลังงำนสิ้นเปลือง หันมำใช้พลังงำนทดแทน เป็ นมิตร กับชุมชน ไม่ปลดปล่ อ ยของเสียอันตรำยออกสู่ชุมชน และทีส่ ำคัญหวังว่ำโรงพยำบำลสีเขียวแห่งนี้จะสำมำรถ ให้กำรดูแลประชำชนได้อย่ำงทัวถึ ่ งและเท่ำเทียม โดย ไม่ ไ ด้ ดู แ ลแค่ สุ ข ภำพร่ ำ งกำยของผู้ ป่ วยที่เ ข้ำ มำรั บ บริกำรเท่ำนัน้ แต่ยงั คำดหวังทีจ่ ะดูแลสุขภำพจิตใจของ ผู้ป่ วย และญำติผู้ป่ วย ให้ม ีสุ ข ภำพจิต ที่ดี รวมไปถึง บุคลำกรทำงกำรแพทย์ และเจ้ำหน้ำที่ของโรงพยำบำล ทุกคน ให้ทำงำนอย่ำงมีควำมสุขภำยใต้สงิ่ แวดล้อมที่ดี เพื่อทีจ่ ะสำมำรถร่วมแรงร่วมใจกันสรรค์สร้ำงและพัฒนำ งำนด้ำนสำธำรณสุขอย่ำงเต็มกำลังควำมสำมำรถต่อไป
วารสารทันตภูธร
14
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ตามไปเยีย่ มน้องๆทันตแพทย์ชายแดนใต้ โดย ทพญ.พัชรี กัมพลานนท์ (ทันตแพทย์เกษียณ รพ.หาดใหญ่) “กริ๊ง ๆๆ......” “พีแ่ ป๊ วว่ า งพอจะไปเป็ น เพือ่ น พีโ่ สภา (พตอ.หญิงจากรพ.ตารวจ) เพือ่ ลงไปเยีย่ มน้องๆ ทั น ตแพทย์ ส ามจั ง หวั ด ชายแดนใต้ พ ร้ อ มกั บ ที ม ทันตแพทยสภาไหมครับ ” เสียงตำมสำยของนำยกทันต แพทยสภำหรือหมอตอน รุน่ น้องรพ.หำดใหญ่ของเรำ มีร ึท่ีจ ะบอกว่ ำ “ไม่ ว่ า ง” ดิน แดนใต้ ร่ ม เย็ น งดงำมด้วยธรรมชำติทเ่ี รำใฝ่ ฝันจะแวะไปเยีย่ มน้องๆมำ นำนแล้ว เพรำะมีลูกศิษย์ลูกหำ ที่เคยเป็ นเรสสิเดนท์ แม็กซิลโล รพ.หำดใหญ่ตงั ้ 3 คน ระหว่ำงทำงำนอยู่ใ น รพ.หำดใหญ่ ก็ ม ีโ อกำสต้ อ นรับ น้ อ งทัน ตแพทย์จ ำก สำมจังหวัดนี้แทบทุกปี ในกำรจัดอบรมวิชำกำรสำหรับ จีพี ครำวนี้ จ ะได้ แ วะไปเยี่ย มสัก ที ถำมว่ ำ กลัว ตำย หรือไม่ ตอบจริงๆนะ “เรากลัวโดนจี้ชงิ กระเป๋ าเวลาเดิน ในซอยหมู่บ้านทีก่ รุงเทพมากกว่า” “เกิดครัง้ เดียว ตาย ครัง้ เดียว” “กลัวแค่ลูกปื นอาจทาให้ต้องผ่าตัดทางแม็ก ซิลโลหลายครัง้ หน่อย เท่านัน้ เองจริงๆ” เชื่อ หรือ ไม่ว่ำ เรำที่ดูห น้ ำตำเป็ นเด็ก ชำวกรุง แถมจบมัธ ยมปลำยจำกโรงเรียนเตรียมอุดมฯ จะเป็ น เด็กนักเรียนทีจ่ บชัน้ มัธยมปี ทส่ี ำม จำกรร.สตรีนรำธิวำส เนื่องจำกติดตำมบิดำซึ่งเป็ นข้ำรำชกำรมำเรียนหนังสือ ที่น่ี แม้เพียงปี เดียวแต่เรำก็มกี ๊วนเพื่อนเก่ำม.ศ.3 จำก โรงเรียนแห่งนี้ หลำยคนยังทำงำนอยู่ในนรำธิวำส เป็ น ครู พยำบำล นักธุรกิจ บรรยำกำศเมื่อ สี่ส ิบ กว่ ำ ปี ท่ีแ ล้ว ยัง ระลึก ถึง ควำมน่ ำรักและอบอุ่นภำยในโรงเรียน ถีบจักรยำนไป โรงเรียนทุกเช้ำและเย็น เรียนภำษำอังกฤษกับมิส ซิส วารสารทันตภูธร
15
ฮอลล์ อำสำสมัครจำกอเมริกำ วันหยุดก็แวะไปหำข้ำว ยำอิสลำมทีต่ ลำดนัดใกล้บำ้ นมำรับประทำน กลิน่ น้ ำบูดู ที่มเี สน่ ห์ยวนใจ รำดบนข้ำวย้อมสมุนไพร คงมีส่วนทำ ให้เรำสุขภำพดีมำจนทุกวันนี้ เช้ำวันพุธที่ 25 มีนำคม 2558 ทีมทันตแพทยสภำ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ทพ.ธรณิ น ทร์ ( นำยกฯ) ทพ. โกเมศ วิชชำวุธ (เลขำธิกำรฯ) ทพ. จีรศักดิ ์ ทิพย์สุ นทรชัย(รองเลขำธิกำรฯ) พตอ.ทพญ.โสภำ ทัดศรี (อนุ กรรมกำรส่ ง เสริ ม จรรยำบรรณ) ทพ.วั ฒ นะ (อนุ กรรมกำรส่งเสริมจรรยำบรรณ และประชำสัมพันธ์) ทพ.ยุทธนำ คำนิล (อนุ กรรมกำรส่งเสริมจรรยำบรรณ) และทพ.วศิน มหำศรำนนท์ น้องทันตแพทย์รพ.หำดใหญ่ รวมทัง้ ตัว เรำ ขึ้น รถตู้ ข องสำธำรณสุ ข ปั ต ตำนี จ ำก โรงแรมในหำดใหญ่ แวะกิน ติม่ ซำอำหำรเช้ำเจ้ำดังแสน อร่อยตำมคำแนะนำของนำยกฯ อำกำศสดใสเหลือเกิน เหมือนจะบอกกลำยๆว่ำ ทริปนี้ต้องปลอดโปร่งแน่ ๆ ถนนสีเ่ ลนจำกหำดใหญ่มุ่งสู่ ดินแดนปลำยด้ำมขวำน รถรำไม่มำกนัก ขับเลียบทะเล แถวๆสะกอมเบย์รสี อร์ท แล้วเลีย้ วเข้ำทำงแยกไปยะลำ จุดมุ่งหมำยแรก ตำมแบบฉบับของคนไทยทีด่ ี คื อ กำรแว ะกรำบหลวงพ่ อ ทวด โดยมี ห มอ เป็ ด (ทพ.สมฤทธิ ์) เจ้ำพ่อปั ตตำนี น้องโก๋(ทพ.กันต์อริยธ์ ชั ) แห่งรพ.โคกโพธ์ มำต้อนรับ กรำบหลวงพ่อทวดพร้อม คำอธิษฐำน “สาธุ...ขอให้ท่านช่วยคุ้มครองสามจังหวัด ชายแดนใต้ ให้สงบสุขและปลอดภัยเถิด ” เรำไม่ได้ขอ สำหรับตัวเองจริงๆ ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
โรงพยำบำลกำบัง จังหวัดยะลำ เป็ นรพ.แรกที่ คณะเรำแวะเข้ ำ ไปเยี่ ย ม นั ย ว่ ำ เป็ นรพ.ที่ พ บกั บ เหตุกำรณ์น่ำกลัวต่ำงๆน้อยทีส่ ุด ผูช้ ่วยผูอ้ ำนวยกำรมำ ต้อนรับและบรรยำยสรุปให้พวกเรำฟั ง น้องทันตแพทย์ หมอรวิศุทธ์ และหมอพงศ์สณ ั ห์ จบจำกมอ.หน้ำตำสดใส ท่ำทำงทำงำนไปกับผู้อำนวยกำรได้ดี งำนที่ทำออกไป นอกแผนกเน้ น งำนทำงด้ ำ น well child care แผนก ทัน ตกรรมอำจจะดู ค ับ แคบไปบ้ ำ ง แต่ ก็ จ ัด ระบบดี พอควร ปั ญ หำก็ ค ือ เรื่อ งยู นิ ต ทัน ตกรรมที่ไ ม่ ค่ อ ยมี ประสิทธิภำพ เรียกว่ำไม่ถงึ ปี กแ็ ทบจะทำงำนไม่ได้แล้ว ซึง่ ก็พบในโรงพยำบำลเล็กๆอีกหลำยแห่งคล้ำยๆกัน ยูนิตที่มปี ั ญหำคือยูนิตที่ทำจำกประเทศจีน ได้ ผ่ำนกำรประมูลและจัดซื้อจำกระดับเขตโดยบุคลำกรที่ ไม่ ใ ช่ ท ัน ตแพทย์ พวกเรำทุ ก คนพยำยำมนึ ก ตำมว่ ำ ขณะนั น้ หำกเรำต้ อ งเป็ น กรรมกำรจัด ซื้อ เรำจะท ำ อย่ำงไรดี ในเมือ่ ยูนิตจีนนี้รำคำถูกกว่ำยูนิตอื่นๆสัก 1-2 แสนบำท ผูม้ ปี ระสบกำรณ์ได้บอกว่ำ หำกหำผูเ้ ชีย่ วชำญ เรื่องยูนิตมำเปิ ดดูระบบภำยในสักนิด จะเห็นว่ำท่อน้ ำ และอะไรต่ อ มิอ ะไรหลำยๆอย่ำง ไม่ได้มำตรฐำนเลย วารสารทันตภูธร
16
ยูนิตเหล่ำนี้ต้องตัง้ เกะกะอยู่ในห้องทันตกรรม จะโยน ออกไปนอกแผนก ก็คงจะผิดระเบียบ เพรำะเพิง่ จัดซือ้ มำไม่ เ กิน 1 ปี เป็ น ปั ญ หำที่ค วรน ำไปบอกกล่ ำ วให้ รับทรำบกันอย่ำงแพร่หลำย รถตู้พ ำทีมทันตแพทยสภำขับเคลื่อนต่อไปยัง โรงพยำบำลสมเด็จพระยุพรำชยะหำ จังหวัดยะลำ เดิน ขึน้ ไปบนโรงพยำบำล นึกว่ำกำลังเข้ำมำในโรงพยำบำล เอกชนขนำดย่อม เพรำะเคำน์เตอร์ต้อนรับทันสมัยตัง้ เด่นอยู่หน้ำโอพีดี มีทนั ตแพทย์ 5 คนและทันตำภิบำล หลำยคน ห้องทันตกรรมขนำดเล็กๆ แต่กจ็ ดั ได้กะทัดรัด มีร ะบบรัก ษำควำมสะอำดที่ดี หัว หน้ ำ ทัน ตกรรมคือ คุณหมอหยำง (ทพญ.พำนิชนำถ) ทำงำนมำนำน จนทีม ที่มำเยี่ยมเชียร์ให้ทำซีเก้ำ “ขอเอาใจช่วยให้ผ่านด้วยดี ค่ะ” ชอบใจบัตรโอพีดที นั ตกรรม น้องๆพิมพ์ช่อื โรค ทำงระบบที่พบบ่อยถึง 7-8 โรค สำหรับให้คนตรวจกำ หน้ำชื่อโรคทีผ่ ปู้ ่ วยเป็ น มำกกว่ำจะทำเพียงช่องว่ำงให้ ผูต้ รวจกรอกเติม ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เที่ยงนี้มนี ัดกับน้ อ งๆทันตแพทย์โรงพยำบำล ยะลำก่อนเข้ำเยี่ยมโรงพยำบำล ภัตตำคำรธำรำกลำง เมืองยะลำ ภัตตำคำรอำหำรทะเล ทีม่ ชี ่อื เสียงและน้ ำจิม้ อร่อยสุดยอด ชนิดทีเ่ จ้ำของต้องแอบขึน้ ไปปรุงน้ ำจิม้ ชัน้ บนของร้ ำ น กลัว ลู ก จ้ ำ งจะจดจ ำสู ต รลับ ลวงพลำง นิยำยสนุ กๆเหล่ำนี้มกั ได้รบั ฟั งมำจำกหมอเป็ ด เจ้ำพ่อ ปั ตตำนี โรงพยำบำลยะลำ โรงพยำบำลศูนย์ขนำดใหญ่ ของชำยแดนใต้ ก่อนทีมดูงำนเข้ำประชิดตัว หัวหน้ำ ทันตกรรมออกตัวเหลือเกินว่ำ “แผนกกาลังปรับปรุงใช้ ชัวคราว ่ เพราะรอการก่อสร้างตึกใหม่ และทันตกรรมก็ ได้รบั อานิสงค์หนึง่ ชัน้ เต็ม ซึง่ จะเสร็จในอีก 5 ปีขา้ งหน้า” เรำกลับพบว่ำชัน้ ใต้ถุนของตึกศูนย์แพทยศำสตร์ศกึ ษำ ถูกแปลงร่ำงเป็ นกลุ่มงำนทันตกรรม มีกำรดีไซน์ แบ่ง ยูนิตวำงเป็ นสัดส่วน มีฉำกกัน้ ระหว่ำงยูนิตเรียบร้อย มี ห้องเก็บเครือ่ งมือ ผ้ำสะอำด สมแล้วทีท่ รำบว่ำสำมีของ ทันตแพทย์ท่ำนหนึ่งเป็ นวิศ วกร และได้เ ข้ำช่ว ยดูแ ล ออกแบบห้อ งท ำงำนในครัง้ นี้ กำรท ำงำนร่ว มกัน กับ หลำยสำขำก็ให้ผลดีดงั นี้แล
ได้เจอคุณหมอเป้ (ทพญ. กีรติกุล) แม็กซิลโลที่ เพิง่ จบเรสสิเดนท์จำกมอ.หำดใหญ่มำหมำดๆ ท่ำทำงดู จะยุ่ง แต่หน้ำตำยังยิม้ แย้มทำงำนด้วยควำมสุข เพรำะ มีพ่ีๆ ทัน ตแพทย์ใ นกลุ่ ม งำนให้ก ำรสนั บ สนุ น เต็ ม ที่ วารสารทันตภูธร
17
เผลอๆหน้ำตำดูจะสดใสกว่ำตอนเป็ นเรสสิเดนท์ เพรำะ ไม่ต้อ งโดนอำจำรย์ข ย้ำ เป็ น พัก ๆ งำนเต็ม มือ ไม่ไ ด้ม ี เฉพำะงำนแม็กซิลโลใน โออำร์ อีอำร์ หอผู้ป่วย และ ในแผนก แต่มงี ำนสอนนักศึกษำแพทย์รว่ มด้วย “ตัวเล็ก .. แจ๋วจริงๆ” ในห้อ งประชุ ม น้ อ งๆทัน ตแพทย์แ สดงควำม คิดเห็นที่น่ำสนใจมำกมำย “อยากให้ทนั ตแพทย์ทเี ่ พิง่ จบ และกาลังจะออกไปทางานในรพ.ชุมชนต่างๆ ได้ม ี โอกาสฝึ กงานหรือรับรู้ระบบทันตกรรมในรพ.ศูนย์หรือ รพ.จังหวัด อย่างน้ อ ยสัก 1-2 เดือ น ทัง้ นี้เ พือ่ ให้เ กิด ประโยชน์ในการทางานของน้องๆทันตแพทย์เหล่านัน้ ” ฟั งนำยกฯต อ บแล้ ว ดู เ หมื อ นจะยำกส์ เพรำะ โรงพยำบำลชุมชนต่ำงๆมักขำดแคลนทันตแพทย์ คน เก่ำอำจขอไปเรียนต่อ ซึง่ ต่ำงจำกแพทย์ ทีม่ คี นทำงำน อยูบ่ ำ้ งแล้ว แต่เป็ นเรือ่ งรำวทีน่ ่ำสนับสนุนให้เกิดขึน้ น้องทัง้ ทันตแพทย์ ทันตำภิบำลในจังหวัดยะลำ ดูจะมีควำมสุขและอบอุ่นพอควร ทีม่ พี ๆ่ี จำกทันตแพทย สภำมำเยี่ย มในครัง้ นี้ บ่ ำ ยสำมโมงครึ่ง ทีม เยี่ย มก็ไ ด้ อ ำลำเมือ งยะลำ เมือ งที่มภี ูมทิ ศั น์ งดงำมเป็ น ระเบีย บ และสะอำดสะอ้ำน มุ่งสู่จงั หวัดนรำธิวำส จังหวัดที่เรำ เคยเรียนหนังสือมำก่อน เย็นนี้คุณหมอพีระ หัวหน้ำกลุ่มงำนทันตกรรม แห่งโรงพยำบำลนรำธิวำส นำทีมทันตแพทย์น้องๆมำ เลี้ยงข้ำวเย็นที่ภตั ตำคำรมังกรทอง ภัต ตำคำรเก่ ำแก่ ริมแม่น้ ำนรำธิวำส แกงไตปลำหอมกรุ่น กินกับเส้นหมี่ ขำว ปลำจำระเม็ดนึ่ง ยำผักกูด และอีกพะเรอเกวียน ตำมปะสำกำรเลีย้ งไม่อนั ้ ของหมอผูช้ ำยทีด่ ูจะพิสมัยกำร กิน เรำต้องรีบ ลิมติ กำรกินไว้เงียบๆ ตำมปะสำป้ ำผู้รกั กำรออกกำลังกำย “ทริปคราวนี้ยงั ไม่มเี วลาตืน่ เช้าขึ้นมา ออกกาลังกายเลย” เช้ำทีส่ ดใสอีกวัน 26 มีนำคม ทีมเรำเริม่ ต้นด้วย กำรไปกรำบนมั ส กำรพระพุ ท ธ ทั ก ษิ ณ มิ่ ง มงคล ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
พระพุทธรูปคู่บ้ำนคู่เมืองนรำธิวำส ตัง้ อยู่บนยอดเขำไม่ สูงมำกนัก บันไดเดินขึน้ ไปกรำบพระพุทธรูป ดูชนั น้อย กว่ ำ สมัย ที่เ รำเป็ น เด็ก น้ อ ย เมื่อ สี่ส ิบ กว่ ำ ปี ท่ี ผ่ ำ นมำ บิดำมำรดำเคยพำมำกรำบ “ เอ๋...หรือเราจะต้องกลับมา นราธิวาสอีกครัง้ แล้วครัง้ เล่า” “ไม่มปี ั ญหา” รถตู้ น ำทีม เรำเข้ ำ เยี่ย มโรงพยำบำลระแงะ จังหวัดนรำธิวำส น่ ำทึง่ มำก ผูอ้ ำนวยกำรฯ นำยแพทย์ สมเกียรติ ทำงำนอยู่ในโรงพยำบำลแห่งนี้มำมำกกว่ำ 20 ปี ดูมคี วำมสุขและภำคภูมใิ จในกำรแนะนำบทบำท ของโรงพยำบำล เป็ นสถำนที่ต รวจพบและศึกษำโรค ชิกุนกุนย่ำ โรคคุดทะรำด โรคเรือ้ น ผู้อำนวยกำรยังได้ถำมถึงบทบำททันตแพทยสภำในกำรดูแลปั ญหำฟ้ องร้องทันตแพทย์ เพรำะหลำย ครัง้ ปั ญหำบำงอย่ำงเป็ นสิง่ ทีห่ ลีกเลีย่ งได้ยำก ไม่ได้เกิด จำกควำมประมำทเลิ น เล่ อ ของตั ว ทัน ตแพทย์ เ อง เช่นเดียวกับปั ญหำของแพทย์ท่ที ่ำนได้พบๆมำ นำยกฯ ของเรำก็รบี ตอบด้วยควำมภำคภูมใิ จว่ ำ dental safety goal คือ หลักกำรที่เ รำใช้ใ นกำรดูแ ลทันตแพทย์ท่ีถู ก ฟ้ องร้อง “ปฏิบตั ติ ามกฏเกณฑ์ ชีวติ น้องๆจะปลอดภัย” อย่ำลืมนะคะ นำเสนอผลกำรปฏิบตั ิงำนของ โรงพยำบำลเมือ่ ไหร่ ก็เอำเรือ่ ง dental safety goal เป็ น ตัว น ำ อ้ อ ..งำนกำรรัก ษำต้ อ งตำมด้ ว ยกำรส่ ง เสริม ป้ องกันโรคร่วมด้วยเสมอค่ะ เพรำะมิฉะนัน้ หน่ ว ยงำน ตนเองก็อ ำจเป็ น เพีย งโรงงำนนรก ผลิต ผลงำนมำก เท่ำไรก็ไม่สำมำรถช่วยทุเลำกำรเกิดโรคได้เลย (dental safety goal 2015 อ่ำนเพิม่ เติมได้ทเ่ี วบไซต์ทนั ตแพทยสภำ) ผู้อำนวยกำรโรงพยำบำลระแงะดูมคี วำมภูมใิ จ น ำเสนอคุ ณ หมอส้ ม ทัน ตแพทย์ สัม ฤทธิ ์ นั ก เรีย น เหรียญทองจำกมหิดล และผ่ำนชีวติ เรสสิเดนท์พรอสฯ จำกมอ.มำแล้ว ดูหน้ำตำก็มคี วำมสุขในกำรทำงำนและ วารสารทันตภูธร
18
บุคลิกเรียบง่ำยดี คงจะทำงำนทีน่ ่ีไปได้อกี นำน เพรำะ คู่สวีทเป็ น ทันตแพทย์ทท่ี ำงำนในตัวเมือง ออกจำกโรงพยำบำลระแงะ แวะเข้ำโรงพยำบำล ทีม่ ชี ่อื คล้ำยคลึงกัน คือโรงพยำบำลจะแนะ ผูอ้ ำนวยกำร มำกล่ ำ วต้ อ นรับ ด้ ว ยตนเอง และยัง บอกว่ ำ ควำม ปลอดภัยมำจำกกำรเข้ำช่วยเหลือชำวบ้ำน เพิง่ ได้ยนิ คำ ทันสมัย “สุขภาพวิถอี สิ ลาม” น้องทันตแพทย์หนึ่งเดียว ของทีน่ ่ี ทพญ.ณวันดำ อ่อนประเสริฐ หรือหมอเปำ บอก ว่ำได้นำไปใช้ในกำรดูแลสุขภำพช่องปำกเช่นกัน เช่ น กำรแปรงฟั นบ้วนปำกก่อนกำรละหมำด ซึ่งมีถงึ 5 ครัง้ ในแต่ละวัน นอกเหนือจำกกำรบ่นเรื่องยูนิตจำกจีนคุณภำพ ต่ ำ มำก ปั ญ หำที่ไ ด้ร บั กำรสอบถำมจำกโรงพยำบำล ต่ำงๆในครำวนี้ ซึ่งเป็ นปั ญหำท๊อปฮิทและนำยกฯตอบ ได้ย ำก นัน่ คือ ควำมก้ำ วหน้ ำ ทำงรำชกำรของทันตำภิบำลทีผ่ ่ำนหลักสูตร 4 ปี เนื่องจำกในอดีตนโยบำยของ กระทรวงสำธำรณสุขเพื่อผลิตทันตำภิบำลไม่ชดั เจน แม้ ปั จจุบนั จะมีเฉพำะหลักสูตรทันตำภิบำลสี่ปีแล้ว ก็ต ำม แต่ กำรขอต ำแหน่ งจำกก.พ. ต้อ งต่ อ สู้แ ย่งชิงกับสำขำ วิชำชีพอื่นๆมำกมำยภำยในกระทรวง นอกจำกนัน้ ก็ม ี ควำมพยำยำมที่จะจัดทำเกณฑ์กำรเทียบหลักสูต รต่ อ ยอดของทันตำภิบำล ทีไ่ ปศึกษำจบหลักสูตรปริญญำตรี ในสำขำที่เ กี่ย วข้อ งมำปรับ วุ ฒ ิ และด ำเนิ น กำรให้ม ี ตำแหน่ งทันตำภิบำลระดับอำวุโส ซึง่ เป็ นแนวทำงหนึ่ง ในกำรยกระดับควำมก้ำวหน้ ำ แต่ เ รำต้ อ งสูญเสียทัน ตำภิบ ำลคนแล้ ว คนเล่ ำ ในกำรย้ำ ยสำยงำนไปเป็ น นักวิชำกำรสำธำรณสุข เพื่อ ให้ม ีโ อกำสก้ำ วหน้ ำ ทำงรำชกำรมำกขึ้น เรื่อ ยๆ ทัน ตแพทย์ท่ีร ับ ผิด ชอบคงต้ อ งรวมพลัง กัน แก้ ปั ญ หำ เพรำะทัน ตำภิบ ำลเป็ นบุ ค คลที่ม ีคุ ณ ค่ ำ โดยเฉพำะกำรเข้ำช่วยงำนด้ำนชุมชน และงำนส่งเสริม ป้ องกัน ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วันนี้กนิ อำหำรเที่ยงเรียบง่ำยแต่อร่อยสุดๆ ที่โรงอำหำรของโรงพยำบำลจะแนะ หลังอำหำรเที่ยงรถตู้ มุ่งเข้ำสู่ โรงพยำบำลนรำธิว ำส โรงพยำบำลขนำดใหญ่ ที่มวี ทิ ยำลัยพยำบำลและศูนย์แพทยศำสตร์ศึกษำ ห้องประชุม โอ่ อ่ ำ งบประมำณแต่ละปี น่ำจะลงมำทีโ่ รงพยำบำลแห่งนี้มำกมำย ทันตแพทย์พีระ นำทีมน้ อ งๆของจังหวัด นรำธิวำสนำเสนอผลงำนที่น่ำสนใจ โดยเฉพำะกำรทำงำนส่งเสริม ป้ องกัน เช่นกำรจัดกิจกรรมออกไปดูแลสุขภำพช่องปำกคนพิกำร คนสูงอำยุ เด็กนักเรียน รวมทัง้ นอกโรงเรียนในช่วง ปิ ดเทอม ทันตแพทย์ศรีสุขจำกโรงพยำบำลยีง่ อ ยังได้เสนอโครงกำร dental nurse โดยกำรอบรมพยำบำลทีผ่ ่ำนกำรผลิต เพิม่ สำหรับจังหวัดชำยแดนใต้ ซึง่ ดูเหมือนจะมีงำนของพยำบำลให้ทำยังไม่เต็มไม้เต็มมือ โดยอบรมให้ช่วยดูแลช่องปำก ของเด็กเล็ก 1 ขวบ เป็ นนโยบำยของผูอ้ ำนวยกำรในกำรใช้บุคลำกรให้คุม้ ค่ำ เดินทำงย้อนกลับเข้ำสู่จงั หวัดปั ตตำนึ เช้ำวันที่ 27 มีนำคม คุณหมอเธียรชัย แม็กซิลโลแห่งโรงพยำบำลปั ตตำนี แวะมำรับเรำและพีโ่ สภำแต่เช้ำตรู่เพื่อ นำไปชมวิทยำเขตปั ตตำนี ของมหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ ได้เห็นแผ่นดินทีง่ อกเพิม่ ขึน้ มำเรือ่ ยๆ ทำให้วทิ ยำเขตแห่ง นี้มบี รรยำกำศดีมำก เห็นชำวเมืองปั ตตำนีทงั ้ พุทธและอิสลำมออกกำลังกำยกันแต่เช้ำ ในรูปแบบต่ำงๆ อยำกให้ค วำม งดงำมของชีวติ ยำมเช้ำเช่นนี้ ช่วยกล่อมเกลำให้ผู้ท่คี ดิ ร้ำย ช่วยกันคิดดีและพยุงประเทศชำติใ ห้รำบรื่ น เห็นภำพ พระสงฆ์ยนื รับบำตรกลำงเมือง จีวรสีเหลืองสว่ำงไสวกลับต้องมีสเี ขียวของทหำรถือปื นยืนจังก้ำอยูใ่ กล้ๆ สำหรับคนทีม่ ำ ใส่บำตรก็ดมู คี วำมสุขและปรำศจำกควำมวิตกกังวล ขอให้คุณควำมดีทท่ี ุกคนทำ จงคุม้ ครองทุกคนให้ปลอดภัยด้วยเถิด โรงพยำบำลปำนำเระ เป็ นสถำนที่แรกในจังหวัดปั ตตำนีท่คี ณะเข้ำตรวจเยี่ยม เมื่อเรำย่ำงกรำยกันขึ้นไปบน โรงพยำบำล ภำพของผูเ้ ข้ำประกวดนางสาวไทยปีไหนก็ไม่รู้ (เปรียบเทียบให้เห็นว่ำหุ่นเป๊ ะ ร่ำงสูงสมำร์ท) ใส่สะเกิต๊ สัน้ สีแดง ตัดกับเสือ้ กำวน์แบบสูตรสีขำว รองเท้ำส้นสูงปรีด๊ สีขำว ใบหน้ำเมคอัพอย่ำงดีเดินมำรับคณะเรำอย่ำงมันใจ ่
วารสารทันตภูธร
19
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เสียงทักทำยกับหนุ่ มๆทีมทันตแพทยสภำอย่ำงสนิทสนม..ไม่ใช่ใครอื่นหรอก ทันตแพทย์ห ญิงปณัฏ ปิ ยคุณำกร หรือว่ำหมอกิฟท์ ศิษย์เก่ำดีเด่นของคณะทันตแพทย์ ม.มหิดลเชียวหล่ ะ ทันตแพทย์หนึ่งในสำมของโรงพยำบำลแห่งนี้ แถมยัง ควบต ำแหน่ ง รัก ษำกำรผู้อ ำนวยกำรโรงพยำบำลร่ว มด้ว ย เรำยัง ไม่เ คยเห็น ทัน ตแพทย์ส วย หุ่ น เพอเฟค บวกควำมมันใจเต็ ่ มร้อยเช่นนี้ ในโรงพยำบำลแถบภำคใต้เลย น้องนำงงำม ได้นำเสนอเรื่องรำวที่น่ำสนใจของโรงพยำบำล แถมได้บอกทริกที่จะทำให้ชวี ติ รอดปลอดภัยของ กำรอยูใ่ นปำนำเระ หำกวันไหนทีค่ วิ ทันตกรรมไม่หมด ผูป้ ่ วยมำนังรอหน้ ่ ำแผนกไม่มำก ให้ตงั ้ ข้อสงสัยได้ว่ำ วันนัน้ อำจมี เหตุกำรณ์อะไรๆเกิดขึน้ สำหรับวันที่พวกเรำไปเยีย่ มเป็ นวันศุกร์ ซึ่งอิสลำมหลำยคนจะหยุดงำน โรงเรียนปอเนำะปิ ด เรียน เรำจึงเห็นผูป้ ่ วยมำขอรับบริกำรทันตกรรมเต็มไปหมด เรำรอดปลอดภัยแน่ๆแล้ว เดินทำงต่ อ ไปยังโรงพยำบำลยะหริง่ ทันตกรรมดูค ึกคักทีเ ดียว คงด้ว ยเหตุ ผ ลที่เ ป็ นวันศุ กร์เ ช่นเดีย วกับ โรงพยำบำลปำนำเระ หัวหน้ำแผนกทีโ่ รงพยำบำลยะหริง่ คือหมอตี (ทพญ.นำริศำ หีมสุหรี) ติดรำชกำรไม่อยู่ แต่น้องๆ ทันตแพทย์และทันตำภิบำลดูขยันขันแข็ง รับรูว้ ่ำงำนทีน่ ้องๆทำกันมีงำนส่งเสริมป้ องกันร่วมด้วยเสมอก็ดใี จแล้ว
มีผแู้ นะนำให้แวะเทีย่ ววังยะหริง่ วังของเจ้ำนำยสมัยก่อน ปั จจุบนั ยังมีลูกหลำนอำศัยอยู่บำ้ ง บรรยำกำศร่มรื่น วังเป็ นสไตล์โคโลเนียล ครึง่ ไม้ครึง่ ตึก มีช่องลมในห้องต่ำงๆที่แกะสลักเหมือนผ้ำลูกไม้ ห้องโถงใหญ่มชี ุดรับแขกหรู ดัง้ เดิม ตูโ้ ชว์ถว้ ยจำนสมัยโบรำณ ทุกคนนังแอ๊ ่ คชันถ่ ่ ำยรูปกันสนุกสนำน สำหรับป้ ำก็สนุกไปกับเค้ำด้วยจนลืมกระเป๋ ำ วารสารทันตภูธร
20
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เป้ ประจำตัว โชคดีท่สี ญ ั ชำตญำณของหำยมำเร็ว รถตู้ยงั ไม่ทนั จะเคลื่อนออกจำกวัง ได้อำศัยหมอวศินรุ่นน้ องวัย แข็งแรง ช่วยวิง่ กลับเข้ำไปเอำออกมำได้ “ไม่น่าเสียประวัตเิ ลย พับผ่าสิ” อำหำรเที่ย งวัน นี้ ม ีส ำธำรณสุ ข ปั ต ตำนี เ ป็ นเจ้ำ ภำพ ได้ม ีโ อกำสคุ ย กับ นำยแพทย์สุ ภ ำพ ผู้อ ำนวยกำร โรงพยำบำลปั ตตำนี อดีตเพื่อนรุ่นน้องทีเ่ คยร่วมงำนกันในโรงพยำบำลหำดใหญ่ ตำมประสำศัลยแพทย์และแม็กซิลโล ทีต่ อ้ งพึง่ พำอำศัยซึง่ กันและกันมำก่อน ดูเป็ นผูอ้ ำนวยกำรทีเ่ ข้ำใจบทบำททันตแพทย์ได้ดพี อควร ภัตตำคำรลอนดอนทีม่ ี ชื่อเสียงของปั ตตำนี รับรองควำมอร่อยของมือ้ เทีย่ งอีกมือ้ หนึ่ง บ่ำยโมงกว่ำๆกลับเข้ำไปพบกันในห้องประชุมโรงพยำบำลปั ตตำนี เห็นน้ องๆจำกโรงพยำบำลต่ำงๆมำร่วม ประชุมพร้อมเพรียงกัน ปั ญหำทีไ่ ด้รบั กำรสอบถำมมีไม่มำกนัก คุณหมอเป็ ดคงดูแลอย่ำงดีมำแล้ว มีคุณหมอผูห้ ญิง 1 คนกำลังดำเนินเรื่องขอย้ำยกลับบ้ำนทำงภำคเหนือ หลังจำกอยู่ทำงนี้ มำกว่ำ 7 ปี แล้ว มองหน้ำก็รวู้ ่ำเตรียมย้ำยกลับ อย่ำงไม่เ ต็มใจทัง้ ร้อ ย โรงพยำบำลปั ต ตำนีนับเป็ นโรงพยำบำลที่มที นั ตแพทย์ผู้เ ชี่ยวชำญหลำยคน ไม่น่ำเชื่อที่ม ี ทันตแพทย์จดั ฟั นถึง 2 คน บ่ำยสำมโมงทีมทันตแพทยสภำต้องเตรียมอำลำน้องๆ เพรำะหลำยคนต้องขึน้ เครื่องบินต่อกลับไปกรุงเทพ กำรเข้ำเยีย่ มน้องๆทันตแพทย์และเจ้ำหน้ำที่ทนั ตกรรมต่ำงๆร่วมกับทีมทันตแพทยสภำในครัง้ นี้ เรำเรำอยำก ตะโกนบอกน้องๆในภำคอื่นๆและกระซิบบอกครู บำอำจำรย์ว่ำ เด็กๆของเรำเยีย่ ม ทำงำนเป็ นทีมเวิรค์ ร่ว มกับบุคลำกร สำธำรณสุขอื่นๆได้ดี เด็กๆทุกคนมีควำมสุขกับงำนที่ทำ ทุกคนไม่ได้อยู่ด้วยเบี้ยกันดำรที่สูงเพียงอย่ำงเดียว แต่ควำม ภำคภูมใิ จในงำนทีท่ ำและบทบำทของตนเองน่ ำจะสำคัญกว่ำ กำรสนับสนุ นทำงด้ำนวิชำกำรจำกพีๆ่ ในสถำบันทีแ่ ข็งแรง กว่ำยังเป็ นสิง่ สำคัญทีค่ วรกระทำอย่ำงต่อเนื่อง ควำมรูเ้ รือ่ งผูป้ ่ วยโรคทำงระบบต่ำงๆเป็ นสิง่ ทีน่ ้องๆต้องกำร สิง่ สำคัญยิง่ กว่ำนัน้ สภำพบ้ำนเมือง สิง่ แวดล้อมทำงธรรมชำติทไ่ี ม่ถูกทำลำยมำกนัก กำรคมนำคมแสนสะดวก เพียงแค่เลือกเวลำเดินทำงให้ถูกต้อง ผูค้ นทัวไปไม่ ่ ได้ดูดุดนั หำกแต่ต้องกำรกำรพูดอธิบำยโน้มน้ำวต่อกำรรักษ ำมำก สักนิด มันอำจเป็ นประสบกำรณ์อนั ยิง่ ใหญ่ สำหรับช่วงชีวติ หนึ่งของทันตแพทย์ กับกำรได้ออกไปทำประโยชน์ในสำม จังหวัดชำยแดนใต้ หำกเวลำเนิ่นนำนไป เมื่อชีวติ เริม่ มีห่วงมำกขึ้น ค่อยตัดสินใจว่ำจะยังคงอยู่ หรือย้ำยออกจำก ดินแดนทีง่ ดงำมเหล่ำนี้ “เกิดหนเดียว ตายหนเดียว ทุกอย่างเป็ นเช่นนัน้ เอง” ลองช่วยกันเชียร์น้องๆรุ่นต่อไปให้เลือก เข้ำมำใช้ทุนในสำมจังหวัดชำยแดนใต้กนั ดีกว่ำ (ขอขอบคุ ณ ทพ.วศิน มหำศรำนนท์ รพ.หำดใหญ่ ที่ได้ช่ว ยตรวจทำนบทควำมและเพิ่มเติมชื่อน้ อ งทันตแพทย์ใน โรงพยำบำลต่ำงๆ)
วารสารทันตภูธร
21
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่ประเทศเมียนมาร์ : มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง โดย ทพญ.พิไลวรรณ กองมา รพ.ป่าแดด จ.เชียงราย
อ๊ำง อ๊ำงงงง ( แปลว่ำ อ้ำปำก ) คำเมียนมำร์ คำ แรกทีไ่ ด้ยนิ ขณะเริม่ ทำฟั น คณะออกหน่ วยเริม่ เดินทำง จำกโรงพยำบำลแม่สำยข้ำมเดินทำงไปฝั ง่ ประเทศเพื่อน บ้ำนตัง้ แต่เช้ำตรู่ ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 3 ชัวโมงถึ ่ ง สถำนทีอ่ อกหน่ วยแห่งแรก คือ หมู่บำ้ นว้ำ ชำวบ้ำนและ เด็กนักเรียน รวมถึงทหำรและเจ้ำหน้ำทีไ่ ด้เข้ำมำต้อนรับ อย่ำงเนืองแน่ น มำพร้อมกับควำมตื่นเต้นของบุคลำกร ทำงทันตกรรมและแพทย์ ในวันที่ 2 ของกำรออกหน่ วย พวกเรำยังมำทำ ฟั นที่หมู่บ้ำนว้ำอีก 1 วัน สิง่ ที่ได้จำกกำรสังเกต ใน 2 วันนี้ พบว่ำชำวบ้ำนมีฟันทีเ่ รียงตัวค่อนข้ำงสวย ฟั นผุใน ระดับที่ต้อ งถู กถอนมีน้อ ยมำก ฟั นที่ถู กถอนส่ วนใหญ่ เป็ นฟั นกรำมซีส่ ุดท้ำย และแทบจะไม่พบชำวบ้ำนที่เป็ น โรคปริทนั ต์เลย อำจเนื่องมำกจำกกำรเข้ำถึงของขนม สื่อล่อตำล่อใจมีน้อย ปั จจัยเสีย่ งทีท่ ำให้เกิดโรคฟั นผุจงึ มี น้ อ ย จนกลำยเป็ น ควำมประทับ ใจของข้ำ พเจ้ำ ในแง่ สุขภำพช่องปำกมำก อีกอย่ำงชำวบ้ำนทีน่ ่ี รวมถึงเด็กๆ ทำฟั นได้งำ่ ย ไม่งอแง อีกทัง้ ไม่แสดงควำมเจ็บปวดขณะ โดนฉีดยำชำเหมือนที่พวกเรำเคยเห็นในสังคมของเรำ วันที่ 3 พวกเรำไปออกหน่ วยที่โรงเรียนเมืองกำน วันนี้ จึงคึกคักไปด้วยเด็กๆ วารสารทันตภูธร
22
นอกจำกกำรทำกำรรักษำแล้ว วันนี้ได้เห็นภำพ เด็กนักเรียนมำแปรงฟั นกันเต็มไปหมด กำรแปรงฟั นที่ดู เหมือ นจะเป็ น เรื่อ งธรรมดำ กลับ เป็ น เรื่อ งที่ส นุ ก ของ เด็กๆทีไ่ ด้มำแปรงฟั นร่วมกันทัง้ โรงเรียน เห็นภำพแล้ว ข้ำพเจ้ำก็อดยิม้ ตำมเด็กๆไม่ได้ คนอื่นๆก็เช่นกัน
ในวันที่ 4 และ 5 ของกำรออกหน่ ว ย ได้อ อก เดิ น ทำงใกล้ กั บ ที่ พ ัก และใกล้ ต ั ว เมือ งมำกขึ้น ที่ น่ี แตกต่ำงจำก 3 วันก่อนหน้ำนี้ท่จี ะจัดในโรงเรียนที่ส่วน ใหญ่ จะมีเ ด็กๆระดับวัยเรียน แต่ ท่นี ่ีจะมีค นวัยทำงำน และหอบลูกหอบหลำนเดินมำหลำยกิโลเมตร เพื่อมำทำ ฟั น ปริมำณฟั นผุ ท่พี บมีมำกขึ้นเมื่อ เทียบกับกำรออก หน่ ว ยหมู่บ้ำนว้ำ พบคนเป็ นโรคปริท ันต์มำกขึ้น และ เด็กๆทีน่ ่กี ลัวกำรทำฟั นไม่แตกต่ำงจำกเด็กในเมือง ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ก่อนกำรเดินทำงกลับประเทศไทย พวกเรำได้ เดินทำงกลับขึน้ ไปที่เมืองกำน ชำวบ้ำนว้ำได้ทำอำหำร โต๊ะจีนเลี้ยงคณะเรำก่อนกลับ พร้อมรับประทำนอำหำร ร่วมกับผู้ว่ำฯของว้ำ จึงถือเป็ นเกียรติของคณะเรำมำก หลังจำกรับประทำนอำหำรเสร็จ คณะออกหน่วยเดินทำง ข้ำมฝั ง่ ถึงแม่สำยเวลำประมำณ 4โมงเย็นโดยสวัสดิภำพ
พูดถึงควำมประทับใจหลักๆในกำรออกหน่ วยที่ ประเทศเพื่อบ้ำนของข้ำพเจ้ำ ในแง่ของสุขภำพช่องปำก อย่ำงที่ได้กล่ำวไปตอนต้นว่ำ คนที่น่ีฟันสวย จะเห็นได้ ว่ ำ ควำมห่ ำ งไกลจำกไฟฟ้ ำ เทคโนโลยี สื่อ โฆษณำ อำหำรหรือขนม ไม่ได้ถอื เป็ นข้อเสียเลย เพรำะชำวบ้ำน และเด็กๆมีโรคฟั นที่น้อยเมื่อเทียบกับคนในสังคมเมือง ฟั น เรีย งตัว สวยเพรำะฟั น น้ ำ นมไม่ ต้ อ งถู ก ถอนก่ อ น ก ำหนด มัน เป็ น เรื่อ งนึ ง ที่ข้ำ พเจ้ำ ได้เ อำมำเล่ ำ สู่พ่ีๆ เพื่อนๆฟั ง ในแง่ของคณะออกหน่ ว ย เรื่อ งที่น่ำประทับใจ ที่สุดในควำมรูส้ กึ ของข้ำพเจ้ำ คงเป็ นเรื่องพลังงำนของ บุ ค ลำกรทุ ก ๆคนในกำรท ำฟั นและกำรรัก ษำให้ แ ก่ ชำวบ้ ำ นและเด็ ก กว่ ำ 700 คน หลัง เลิก งำนทุ ก วัน ข้ำ พเจ้ำ ไม่ เ คยได้ ย ิน ว่ ำ ฉั น เหนื่ อ ยเหลือ เกิน หรือ หมดแรง ทุกคนร่ำเริง อัธยำศัยดี มีน้ำใจกับคนทีเ่ พิง่ รูจ้ กั
วารสารทันตภูธร
23
กัน โดยที่บำงคนยังไม่รู้จกั ชื่อกันด้วยซ้ำ น้ ำใจที่ได้รบั จำกทุกคน ข้ำพเจ้ำประทับใจมำก ในแง่ของทีพ่ กั และอำกำร ข้ำพเจ้ำไม่ได้คำดฝั น มำก่ อ นเลยว่ำที่พ กั ของพวกเรำจะดีเหมือนห้องพักใน เมือ ง และมีช ำวบ้ำ นชำวไทใหญ่ ใ ห้ก ำรต้ อ นรับ และ ท ำอำหำรที่แ สนอร่ อ ยให้ พ วกเรำทุ ก วัน โดยเฉพำะ น้ ำพริกถัวเน่ ่ ำ เป็ นอำหำรทีข่ ำ้ พเจ้ำแอบเอำกลับไทยมำ ด้วย ทำให้รสู้ กึ ว่ำกำรมำออกหน่ วยในครัง้ นี้ เหมือนกำร ได้มำเทีย่ วพักผ่อน ในแง่ของตัวข้ำพเจ้ำเอง ข้ำพเจ้ำเคยคิดก่อนมำ ออกหน่ วยว่ำ กำรออกหน่ วย 5 วันในต่ำงประเทศ ใน สภำพแวดล้อมทีไ่ ม่คุน้ เคย อำหำรทีไ่ ม่คุน้ เคย สมำชิกที่ ไม่คุน้ เคย เป็ นกำรออกหน่ วยทีน่ ำนเกินไป แต่ควำมคิด ข้ำพเจ้ำเปลี่ยนไปตัง้ แต่วนั แรกที่ได้เริม่ งำน กำรได้เจอ สังคมที่อยู่กบั แบบกินเพื่ออยู่ สังคมเรียบๆที่สงบ ไม่ม ี เรื่องวุ่นวำย และกำรได้เจอกับเพื่อนใหม่ในสำขำอำชีพ เดียวกัน ได้รจู้ กั กัน ได้เห็นถึงไมตรีและน้ำใจทีด่ ี และที่ ส ำคั ญ กำรออกหน่ วยครั ง้ นี้ เ ปลี่ ย น พฤติกรรมกำรทำนอำหำรของข้ำพเจ้ำได้ จำกทีเ่ ป็ นคน เลือ กทำนเฉพำะอำหำรที่รู้จ กั กลำยเป็ นคนที่ส ำมรถ ทำนอำหำรที่ไ ม่ รู้จ ัก ได้ อีก ทัง้ ปรับ นำฬิ ก ำชีว ิต ของ ข้ำพเจ้ำ ทำให้ขำ้ พเจ้ำตื่นเช้ำในเวลำเดิมได้โดยไม่อำศัย ต้อ งนำฬิกำปลุ ก ข้ำพเจ้ำรู้ส ึกขอบคุ ณกำรออกหน่ ว ย ครัง้ นี้ท่มี อบประสบกำรณ์ชวี ติ มอบเพื่อนใหม่ ทัศนคติ ใหม่ๆ และพร้อ มที่จ ะเดิน ทำงออกหน่ ว ยเคลื่อ นที่อีก ต่อๆไปค่ะ
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เรื่องเล่าของหมอฟัน https://th-th.facebook.com/pages/เรื่องเล่ าของหมอฟั น/714094395289291
หมอฟันเสื้อเทากระเป๋าเขียว(ภาคพื้นดิน) ทพญ.คนึงนิตย์ ตั้งเสงี่ยมวิสัย ครบปี สาหรับผู้เขียนในการไปออกหน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่ใน ท้ องถิ่นทุรกันดาร ทริ ปที่เลือกปี นี ้ตรงกับหน้ าร้ อนเต็มๆ เลยค่ะ ไม่ได้ ขึ ้นดอยเหมือนทุกปี ที่ผ่านมา ถนนที่ขบั เข้ าที่พกั ไม่ลาบากนักเพราะรถตู้เข้ าถึงได้ สบายระยะทาง จากตัวอาเภอไกลประมาณหนึง่ ชัว่ โมงกว่าเท่านัน้ แต่อนิจจา...... ไม่มีสญ ั ญาณโทรศัพท์ ที่นา่ ประหลาดกว่านันคื ้ อที่พกั ซึง่ ก็คือ รร.ตชด. ไม่มีทงไฟฟ้ ั ้ าและน ้าประปา .....ประเทศไทยยังมีพื ้นที่แบบนี ้ด้ วย…. แต่ชาวบ้ านที่อาศัยอยูก่ ลับเคยชินกับ การปั่ นไฟจากพลังงานแสงอาทิตย์และการสูบน ้าจากลาห้ วยมาใช้ ไม่ใช่วา่ ไม่เคยเจอถิ่นทุรกันดารแบบนี ้มาก่อน แค่การใช้ ไฟปั่นหรื อน ้าสีเหลืองขุน่ ที่สบู จากห้ วยก็พอทนกันได้ ทุกครัง้ เลือกไปหน้ าหนาว ไฟฟ้าไม่มีก็จดุ เทียน ส่วนน ้าก็อาบอย่างมากแค่วนั ละครัง้ จึงไม่ร้ ูสกึ ว่าลาบากอะไรมากมาย แต่อากาศที่แสนร้ อนอบอ้ าว ในเวลาที่ไม่มีไฟปั่นนี่มนั ช่างทรมานจริงๆ ผู้คนที่อาศัยในพื ้นที่ดจู ะเข้ าไปรับบริการในตัวเมืองได้ ง่าย เมื่อตรวจดูช่องปากพบว่าหลายคนเคยผ่านการอุดฟั นมาแล้ ว คนไข้ ที่มารับบริ การส่วนใหญ่จะเป็ นนักเรี ยนระดับอนุบาลและประถม นึกฉงนในใจระยะทางแค่นี ้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลคงเข้ าถึงไม่ยาก....แล้ วเหตุผลใดพื ้นที่นี ้จึงถูกเลือก ถึงบางอ้ อเมื่อสอบถามกับครูตารวจตระเวนชายแดนทาให้ ทราบว่า การที่ไฟฟ้าและน ้าประปาเข้ าไม่ถึง ส่งผลให้ กาลังของไฟ ปั่นไม่เพียงพอต่อยูนิตอุดฟั นของหมอ ทุกครัง้ ที่มาออกให้ บริการจึงสามารถทาได้ เพียงแค่การถอนฟั นเท่านัน้ แม้ ระบบสาธารณูปโภคล้ าหลัง แต่ทว่าเทคโนโลยีกลับทันสมัย โรงเรี ยนเกือบทุกแห่งที่ไปปฎิบตั งิ านล้ วนมีสญ ั ญาณไวไฟ อาจจะติดขัดบ้ างเป็ นระยะ และสัญญาณดาวเทียมทีวีดจิ ิตอลทังหลายเข้ ้ าถึงทุกพื ้นที่ วารสารทันตภูธร
24
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เด็กอนุบาล3-5ขวบ เข้ าแถวเรี ยงคิวขึ ้นเก้ าอี ้ทาฟั น ...เด็กน้ อยฟั นผุเกือบทุกคน นิทานระบายสีหลอกเด็กที่ไม่ได้ ใช้ มานาน ถูกรื อ้ ฟื น้ ขึ ้นมา เพื่องานนี ้ เด็กหญิงคนที่หนึง่ ... หมอ: น้ องฟ้า อยากได้ รูปอะไรคะ เอากระต่ายหรื อเป็ ดดีคะ น้ องฟ้า: กระต่ายค่ะ หมอลงมืออุดฟั นพร้ อมกับเล่าขันตอนวาดรู ้ ปเพื่อให้ หนูน้อย จินตนาการตามไปด้ วย หมอ: ตอนนี ค้ ุณหมอกาลัง วาดหูกระต่ายหูยาว วาดหน้ า ตากลมๆโตๆ ...บลาๆๆๆๆ เด็กหญิงคนที่สองเลือกดอกไม้ คนไข้ คนที่สามเป็ นเด็กชาย หมอเสนอตัวกระต่ายกับหมา เด็กชาย: ผมอยากได้ ออปติมสั ครับ คาตอบทาให้ หมออึ ้งไป ใช้ เวลาประมาณห้ าวินาทีคิดทบทวนว่ามันคือตัวอะไร โชคดีอยู่บ้างที่เป็ นคนชอบดูหนัง ขณะอุดฟั นให้ เด็กน้ อยจึงสามารถบรรยายรูปร่างหุ่นยนต์ออปติมสั จากเรื่ องทรานส์ฟอร์ ม เมอร์ ของเด็กน้ อยได้ บ้าง...ถือว่ารอดตัวไป เด็กๆเหล่ านีพ้ อจะสะท้ อนให้ ร้ ู เลยว่ าวงการสาธารณสุข ก้ าวไม่ ทันเทคโลโลยีทางด้ านการสื่อสาร ในอนาคตวงการทันตแพทย์ คงต้ องใช้ ประโยชน์ จากเทคโนโลยีในเชิงส่ งเสริมป้ องกันให้ มากยิ่งขึน้ จะหวังพึ่งการพัฒนาด้ านการรักษาต่ อให้ เป็ นเชิงรุกน่ าจะไม่ ทันการณ์ กลับจากทริปพอ.สว. ทีไร หอบเอาความเย็นใจกลับบ้ านมาทุกที...แม้ ครัง้ นี ้ อากาศจะร้ อน และแถมอาการปวดข้ อมือมาด้ วย...ผ่านมาหนึง่ อาทิตย์ยงั ไม่หายเลย ขอกาลังใจให้ ผ้ เู ขียนด้ วยนะคะ ปล. ตอนทาคนไข้ เด็ก...ผู้เขียนไม่ได้ มีแต่โหมดนางฟ้าเหมือนในเรื่ องเล่านะคะ ...แปลงร่างเป็ นนางยักษ์ก็เคยมาแล้ ว แต่มกั ไม่คอ่ ยมีคนเห็น ขอสร้ างภาพ นิ๊สนึงค่ะ
วารสารทันตภูธร
25
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ทันตาภิบาลรุ่นใหม่...เป็นไงกันบ้าง จัดให้โดย ทพญ.แพร จิตตินันทน์ รพ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี
หนึ่งปีผ่านไปกับทันตารุ่นรองนิทัศน์จัดหนัก ที่ผลิตเพิ่มขึ้นจากอัตราการผลิต สามเท่าตัวและลงพื้นที่ไปเมื่อเดือน เมษายนปี 2557 ทันตภูธรฉบับนี้เราตามไปสัมภาษณ์น้องทันตาภิบาลในพื้นที่ว่าเขาเป็นอย่างไรกันบ้าง ทันตาภิบาล รุ่นผมที่จบมาเป็นรุ่นที่ 45 ของ วสส. ชลบุรี รวมทั้งรุ่นที่จบมาก็ 260 กว่าคน กลับไปปฏิบัติงาน ในพื้นที่ที่ได้รับโควตามา ส่วนจังหวัดกาแพงเพชร รุ่นผม จบมา 17 คนครับ
สวัสดีครับ พี่ๆทันตภูธร ก่อนอื่นขอแนะนาตัวนะ ครั บ ผมชื่ อ นายปฏิ ค ม ใจแสน ชื่ อ เล่ น มิ ว ครั บ ได้ รั บ โควตาของจั ง หวั ด ก าแพงเพชรไปเรี ย นทั น ตาภิ บ าล ที่ วิ ท ยาลั ย การสาธารณสุ ข สิ ริ น ธร จั ง หวั ด ชลบุ รี จบออกมาเป็ นทันตาภิบาลปฏิบั ติงาน อยู่ที่ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลหินดาต อาเภอปางศิลาทอง จังหวัด กาแพงเพชร ครับ การทางานโอเค ครั บ สุ ขสบายดี เทีย วไป-กลับ บ้ า นครั บ ไม่ ไ ด้ พั ก ที่ ส ถานี อ นามั ย เนื่ อ งจากบ้ า นพั ก ไม่ เพียงพอ กาลังรอสร้างครับ โชคดีหน่อยที่บ้านผมกับสถานี อนามัยที่ทางานห่างกันเพียง 5โล จึงเทียวไป-กลับได้ วารสารทันตภูธร
26
กระบวนการปฐมนิ เ ทศตอนจบมาใหม่ ๆ ได้ ไ ป ปฐมนิ เทศที่จังหวัดตากครับ เขื่อนภูมิพลร่ว มกับหลายๆ ต าแหน่ ง ของสหวิ ช าชี พ 3วั น ครั บ ร่ ว มโครงการสั ง คม สุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย มีกิจกรรมฐานการเรียนรู้ต่างๆ กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อการเรียนรู้ สร้างแรงบันดาลใจการ ทางานเป็นทีม การบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ ระดับอาเภอ ซึ่งทางจังหวัดจัดให้พวกเราโดยเฉพาะเลยครับ เครื่ อ งมื อ ที่ ท างานโดยรวมถื อ ว่ า ครบครั บ ตาม จานวนคนไข้ในแต่ละวันครับ ยูนิต เครื่องขูดหินปูน เครื่อง อมัลกัมเมเตอร์ เครื่องอุดฟันฉายแสง มีอย่างละ 1 เครื่อง ครับด้ามกรอฟันชนิ ดกรอเร็ว 2 ด้าม ชนิดกรอช้า 1 ด้าม ทุกอย่างก็ต้องใช้น้ายาฆ่าเชื้อทางทันตกรรมเช็ดเอาอ่ะครับ ยกเว้นชุดศัลย์ จะใช้การล้างแล้วนึ่งเคสต่อเคสครับ ทีC่ UP จะเรียกประชุมกันทุกๆ 1 เดือนครั้งครับ ใน การวางแผนงานทันตกรรมประจาปี แบ่งหน้าที่ ต่างๆ เช่น งานออกหน่ว ยทันตกรรมในทุกกลุ่ มวัย มีข่าวสารอะไรที่ เร่งด่ว นก็ จ ะแจ้ งให้ ทราบกันในไลน์กลุ่ มครับ การทางาน ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ร่วมกันระหว่างทันตแพทย์และทันตาภิบาล CUPอาเภอปาง ศิลาทอง จัดว่าโอเคครับ ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี มี ปัญหาร่วมกันแก้ไขครับผม
ส่วนหน้าที่ที่ได้รับนอกจากงานทันตกรรมแล้วก็ยัง มีงานอื่นๆที่ทาครับคือ เป็นเจ้าหน้าที่พัสดุครับ แถมยังเป็น แกนนาแอโรบิคในหมู่บ้านด้วยนะครับ ชาวบ้านชอบมาก เราเห็นชาวบ้านร่วมกันเต้นออกกาลังกายอย่างมีความสุข ผมก็มีความสุขที่ได้ทาหน้าที่ตรงนี้ด้วยครับ คนไข้ห ลายคนก็บอกนะครั บว่าทาไมหน้าเด็กจัง ฮ่าๆ จบมาทางานครั้งแรกๆก็จะตื่นเต้นบ้าง แต่เดี๋ยวนี้ก็ชิน ละครับ สามารถให้คาอธิบาย คาแนะนาคนไข้ได้ถือว่าดีกว่า แต่ก่อน ผมรับคนไข้วันละ10 คนครับ รวมเช้าและบ่าย ทา 3วัน เปิดตรงกับโรงพยาบาลครับ เพราะถ้ามีรีเฟอร์จะได้ ง่ายกับการส่งต่อครับ ส่วนอีก 2วัน จะออกชุมชนและงาน อนามัยโรงเรียนครับ
วารสารทันตภูธร
27
วารสารทันตภูธร ผมเคยอ่านนะครับ ก่อนที่จะไป เรียนทันตาภิบาล ไปโรงพยาบาลแล้ว มีวารสารทัน ตภูธ ร แล้วก็หยิบมาอ่านครับ พอจบมาทางานก็ได้มีโอกาสอุดหนุน สินค้าของทันตภูธรครับ พี่แพรคุยด้วย ผมรู้สึกอบอุ่นมาก ครับเป็นกันเองเลย อย่างไรก็ขอฝากเนื้อฝากตัวสาหรับน้อง ทันตาภิบาลรุ่นรองปลัดจัดให้ด้วยนะครับ
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เรามัย้ กังวลใจไปหมด แต่พอมาทางานจริ ง ๆ ไม่ไม่ได้ เป็ นอย่างที่ เรากังวลเลยนะ พี่ ๆ ที่ รพสต. ให้ ก ารต้ อนรั บเราดีมาก มี มา ทดลองขูดหินปูนกับเราก่อน แล้ วก็ช่วยบอกคนไข้ วา่ มีหมอฟั นแล้ ว นะ มาทาฟั นที่อนามัยได้ นะ ที่ลองทากับหมอแล้ ว มือเบ๊ าเบา..... ส าหรั บ เครื่ อ งไม้ เครื่ อ งมื อ ที่ รพ.สต. ก็ มี ค่ อ นข้ างที่ ครบถ้ วนกับศักยภาพที่เราสามารถทาได้ ซึ่งอย่างที่บอกไว้ แล้ ว ตังแต่ ้ แรกว่าระหว่างที่เราทางานอยูท่ ี่โรงพยาบาล 3 เดือน เราต้ อง เตรี ยมเบิกเครื่ องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ซึ่งตอนแรกอาจจะมีติดขัดอยู่ บ้ าง แต่พอทางานไปซักพักเราก็ปรับตัวอยูไ่ ด้
ค น ที่ สอ งได้ แก่ น้ อง ช ม พู่ - ป า น รวี ค งรอด น้ องชมพู่เป็ นชาวอาเภอพรหมพิราม เรียนจบม.6 ที่โรงเรียน พรหมพิ ร ามวิ ท ยา และได้ ทุ น ของ CUP พรหมพิ ร าม ไป เรี ยนทันตาภิบาลที่วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัด พิษณุ โลก ตอนที่สอบนัน้ ใจน้ องอยากเรี ยน ครุ ศาสตร์ แต่ ชะตาส่ งมาให้ ติดทันตา ในตอนสอบเข้ านัน้ น้ องชมพู่ทราบ เลาๆว่ า ทันตาภิบ าลคือ หมอฟั น มี ห น้ าที่ถอนฟั น ทาฟั น และตอนที่ไปสอบมีคุณแม่ เป็ นกองเชียร์ สาคัญ เริ่ มวั น แรกที่ ม าท างานก็ ไ ปรายงานที่ ส านั ก งาน สาธารณสุขอาเภอพรหมพิราม แต่ก็ไม่มีอะไรมากเพราะว่าเรา ฝึ กงานที่โรงพยาบาลอยู่ก่อนแล้ วครึ่ งปี เราก็ร้ ู จักพี่ๆ พอสมควร เพราะตอนเริ่ มฝึ กงานตอนแรกหมอก็พาไปแนะนาตัวแล้ วเริ่ มแรก ทางานเราต้ องทางานที่โรงพยาบาลพรหมพิรามก่อนสามเดือน ซึง่ แตกต่างกับตอนฝึ กงานไม่เท่าไร แต่คณ ุ หมอทันตแพทย์พี่เลี ้ยงจะ เน้ นให้ เราศึกษาระบบการทางานของ รพสต. เตรี ยมเบิกเครื่ องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เตรี ยมความพร้ อมของสถานที่ที่เราจะไปทางาน ถ่ายรูปห้ องทางาน รูปยูนิตทาฟั น ส่งให้ หมอดู เพื่อที่จะได้ วางแผน ว่ามีตรงไหนต้ องปรับปรุงอะไรหรื อไม่ สาหรับความรู้ สกึ วันแรกที่มาทางานที่ รพสต. ก็กงั วลใจ เพราะว่าเราต้ องออกมาทางานคนเดียว ไม่มีหมอพี่เลี ้ยงคอยดูเรา เวลาเราทาคนไข้ เพื่อนร่ วมงานจะเป็ นอย่างไร คนไข้ จะเชื่อถื อ วารสารทันตภูธร
28
ที่ ร พ.สต.ดงประค า ยู นิ ต ท าฟั น เครื่ องขู ด หิ น ปู น เครื่ องอมัลกัมเมเตอร์ เครื่ องฉายแสง ด้ ามกรอฟั น มีความพร้ อม มากค่ะ เพราะที่นี่ได้ ของใหม่ทงหมด ั้ เลยไม่มีปัญหาอะไร สาหรับหน้ าที่นอกเหนือจากบริ การทันตกรรม ที่ รพ.สต. ก็จะมีงานช่วยสกรี นคนไข้ ช่วยจัดยา ช่วยงานที่เราสามารถทาได้ หลังจากที่เราว่างจากงานเรา เพราะมีความเชื่ออยู่ว่ า ถ้ าเราช่วย เพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมงานก็จะคอยช่วยเรา ปกติหนึ่งสัปดาห์ก็จะทาฟั นทุกวัน ยกเว้ นวันที่มีคลินิก คนไข้ เรื อ้ รัง ซึง่ มีประมาณเดือนละ 2 วัน และวันที่ฉีดวัคซีนเด็ก ทุก วันที่ 10 ของเดือน วันนึงก็มีคนไข้ เฉลีย่ ประมาณ 5-6 ราย ถามว่า หนักใจกับการทาฟั นไหม ช่วงแรก็มีบ้างเพราะเราเคยอยู่กบั ทันต แพทย์พี่เลี ้ยง คอยดูแลเรา แต่ถึงออกมาอยูท่ ี่ รพสต.ทันตแพทย์พี่ เลี ้ยงก็ยงั กาชับอยู่เสมอว่าถ้ าไม่มนั่ ใจให้ โทรมาปรึ กษาได้ ตลอด บอกตรงนี ไ้ ด้ เ ลยว่า ทัน ตแพทย์ พี่ เ ลีย้ งสาคัญ กับ เรามาก เรื่ อ ง หนักใจเลยไม่คอ่ ยมีเท่าไร แต่เราก็ทาคนไข้ ทกุ เคสด้ วยความตังใจ ้ ถ้ าถามว่าคนไข้ กลัวเราไหม ตอนทาฟั นก็ตอบไม่ได้ นะ คะ แต่คิดว่าคงมีแอบๆ หวัน่ ใจอยูบ่ ้ าง เพราะแบบนี ้เวลาคนไข้ ถามเรื่ องอายุ เราเลยไม่คอ่ ยกล้ าตอบซักเท่าไร สำหรับวำรสำรทันตภูธร ก็เคยได้ยิน เคยเห็นพีๆ่ อ่ำนกัน อยู่ บ้ ำ ง รู้ ว่ ำ เป็ นวำรสำรที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกับ งำนทัน ตสำธำรณสุข ประมำณนีค้ ะ่
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วันแรกที่เข้าบ้านทรายทอง เอ๊ย !! ไม่ใช่ รพ.สต. บ้านศรีเจริญ เดินทางด้วยรถมอเตอร์ไซค์ บรรยากาศริม ทางทุ่งนาและไร่อ้อย อากาศบริสุทธิ์มากๆๆ เมื่อถึงอนามัย ได้เจอพี่พยาบาลและหัวหน้าต้อนรับอยู่ (พร้อมคนไข้ที่มา รับบริการ) ป้าแม่บ้าน ไปตอนแรกๆก็เกร็งมากตื่นเต้นด้วย จ าได้ ว่ า ไปช่ ว ยป้ า แม่ บ้ า นกวาดอนามั ย “มี ค นไข้ ม ารั บ บริการเข้าใจว่ามีลูกจ้างทาความสะอาดมาใหม่” 55555 สวัส ดีค่ะ ภัศรา วงศกนิษฐ์ ชื่อเล่ น ซีน ค่ะ จาก รพ.สต.บ้านศรีเจริญ ตาบลทับยายเชียง อาเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลกค่ะ เรี ย นจบมั ธ ยมปลายที่ โ รงเรี ย นอิ น ทุ ภู ติ พิ ท ยา ที่ อ าเภอพรหมพิ ร ามค่ ะ ได้ ทุ น ไปเรี ย นของ CUP พรหม พิราม ตอนเรียนจบม.ปลายใหม่ๆ ใจอยากเรียนสถาปัตย์ เลยค่ ะ แต่ ท างบ้ า นมิ ป ลื้ ม .....-_- ก็ เ ลยมาสอบทางด้ า น สาธารณสุขค่ะ อันนี้ทางบ้านปลื้มมาก!!!! เพราะจบแล้วมี งานทางานเลย ไม่ตกงานแน่น อน และอยากให้ เป็ นหมอ ด้วย อะไรทานองนี้อ่ะค่ะ ^U^
พอวั น จบมารายตั ว ที่ สสอ. พรหมพิ ร ามและที่ รพ.พรหมพิราม ก็ไม่มีอะไรมากค่ะพี่ๆต้อนรับอย่างดี มีจัด เลี้ยงอาหารกันอย่างอบอุ่น “น้องเล็กมาแล้วค่ะ” เลยโดน จับเป็นลีดเดอร์งานกีฬาประจาอาเภอเลย แฮ่ๆๆๆ วารสารทันตภูธร
29
เรื่องเครื่องมือมีครบทุกอย่างเตรียมพร้อมไว้แล้วค่ะ เครื่องมือบางอย่างนี่มารอหมอมาเกือบ 10 ปีเลยทีเดียว แต่ ก็ได้รับการดูแลเป็นอย่างดีเลยค่ะ ส่วนความพร้อมใช้งาน มี ยกเว้นบ้างในเรื่อง suction และกรอฟัน เพราะ unit มารอ นานเกือบ 10 ปี ก็เลยทางานหนักไม่ค่อยได้ค่ะ คือแบบว่า ป้าแก่แล้ว 5555+ แต่ก็จะมีข่าวดีเร็วๆนี้ ในเรื่องการจัดซื้อ ยูนิตทันตกรรม มาเปลี่ยนใหม่เพื่อให้บริการคนไข้ให้เต็มที่ ค่ะ การให้บริการทางด้านทันตกรรม ก็เปิดตามเวลา ราชการทุกวันค่ะแต่ วั นพฤหัสบดีและศุกร์ ช่วง โรงเรียน เปิดก็จะเป็นวันให้บริการแก่นักเรียนค่ะ ช่วงบ่ายของทุกวัน ก็จะมีคนไข้นัดมาบ้างไม่เกิน 2 คนค่ะ เพราะบ่าย 3 โมง ต้องนาเครื่องมือไปล้างและนึ่ง เพื่อให้บริการวันต่อไปค่ะ เฉลี่ยคนไข้วันละ 5-8 คนค่ะ ถ้าเยอะๆสุด คือ 10 คนค่ะ พอดีเครื่องมือที่มีค่ะ ถ้ามีคนไข้มาอีกก็นัดคนไข้มาวันถัดไป ค่ะ เรื่องหนักใจไม่ค่อยมีน่ะค่ะ แต่เรื่องน้าหนักนี่หนักขึ้นทุก วันเลยค่ะ !!! เพราะคนไข้ที่ มารั ก ษากั บเราบ่ อยๆๆก็ มัก มี ข อง ฝากมาตลอดค่ะ ^o^
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
สวั ส ดี ค่ ะ อ้ อ ยทิ พ ย์ ดาศรี หรื อ น้ อ งแอร์ จาก รพ.สต.หนองสนิ ท จ.สุ ริ น ทร์ ค่ ะ ที่ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ จะ ปฐมนิ เทศกันโดยมีการชี้แจงแนวทางการทางานจากพี่ๆ ทั น ตแพทย์ พี่ๆทันตาภิบ าล หลายๆท่าน พี่ๆเป็น กันเอง น่ารักมากค่ะ มีการแนะนาตัวกับพี่ๆ ทาความรู้จักกับพี่ๆ ต่างอาเภอ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในวันนั้นด้วยค่ะ หลังจากเรียนจบและปฐมนิเทศแล้ว ก็มีความมั่นใจ ในการทางานพอสมควรค่ะ เพราะตอนเรียนอาจารย์ส อน เต็มที่เมื่อขึ้นภาควิชาคลินิกที่ต้องฝึกทาคนไข้จริง อาจารย์ ทันตแพทย์คอยควบคุมอย่างเข้มงวดทุกขั้นตอน และคอย ให้คาชี้แนะ ช่วงฝึกงานอาจารย์พี่เลี้ยงทุกท่านคอยสอน นัด ติวนอกรอบ สอนเทคนิคต่างๆ ควบคุมการทาคนไข้แบบตัว ต่อตัว ทาให้เรามั่นใจในการทางานมากขึ้นค่ะ เมื่อไปถึง รพ.สต.หนองสนิท สิ่งแรกที่ประทับ ใจ มากที่สุดคือรอยยิ้มและการต้อนรับเป็นอย่างดี พี่ๆที่อนามัย หนองสนิทเป็นกันเองมากค่ะ คอยให้คาปรึ กษาในทุกๆเรื่อง ทุกคนดูแลกันเสมือนคนในครอบครัว ที่สาคัญ จะมีการทาน อาหารกลางวันด้วยกันอยู่เรื่อยๆ ทาให้ได้พูดคุยแลกเปลี่ยน เรียนรู้ หรือปรึกษากันหากใครมีปัญหาค่ะ สาหรับเครื่องมือได้ส อบถามจากทางจังหวัดแล้ ว ทางจั ง หวั ด ก าลั ง จั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งอยู่ ค่ ะ ห้ อ งทั น ตกรรม โรงพยาบาลจอมพระ ได้เอื้อเครื่องมือบางส่วนมาให้ บริการ ทางทันตกรรมที่ รพ.สต. ไปพลางๆก่อนค่ะ ทาง รพ.สต. ตอนนี้ก็ให้บริการได้เฉพาะถอนฟันและขูดหินปูนเท่านั้นค่ะ วารสารทันตภูธร
30
ส่วนงานนอกเหนือจากการบริการทางทันตกรรม มี มากพอสมควรค่ะ เช่น ออกตรวจสุขภาพช่องปากของเด็ก ป.1-6 พร้อมกับสอนแปรงฟันและให้ ทันตสุขศึกษา ออก ตรวจช่องปากในกลุ่มเด็ก อายุ แรกเกิด – 5 ปี พร้อมสอน การทาความสะอาด และเคลือบฟลู ออไรด์วานิชให้ สอน ผู้ปกครองเด็ กอายุ 0-3 ปีแปรงฟัน ตรวจสุขภาพช่องปาก ผู้สูงอายุ ตรวจสุขภาพช่องปากผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียง ตรวจสุ ข ภาพช่ อ งปากหญิ ง ตั้ ง ครรภ์ แ ละหลั ง คลอดบุ ต ร พร้อมสอนวิธีการทาความสะอาดช่องปากค่ะ เป็น ต้น ค่ะ มีการให้บริการทันตกรรมสัปดาห์ละ 3 วันค่ะ วันละ ไม่เกิน 5 ราย เนื่องจากเครื่องมือมีจานวนจากัด แรกๆก็ห นัก ใจ พอสมควรค่ ะ แต่ ห ลั ง ๆมามี ป ระสบการณ์ ม ากขึ้ น ความ มั่นใจก็เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วยค่ะ สิ่งที่จะฝากบอกพี่ๆน้องๆทันตาภิบาลก็คือ ไม่ควร เป็นคนเก่งที่แล้งน้าใจ แต่จงเป็นคนธรรมดาทั่วไป ที่มีน้าใจ และไม่เห็นแก่ตัว เพราะการทางานนั้นเราไม่สามารถทางาน คนเดียวแล้วสาเร็จลุล่วงไปได้หรอกค่ะ มันต้องอาศัยความ ร่ ว มมื อ จากหลายๆฝ่ า ย เพื่ อ ที่ จ ะขั บ เคลื่ อ นสุ ข ภาพและ สุ ภ าพช่ อ งปากของประชาชนให้ ดี ขึ้ น ยิ่ ง บางคนอยู่ ใ น รพ.สต. ต้องออกพื้นที่คนเดียว หากเรามีน้าใจช่วยเหลือคน อื่ น บ้ า ง เมื่ อ เราล าบากคนอื่ น ก็ จ ะยื่ น มื อ เข้ า มาช่ ว ยเรา เช่นกัน วารสารทันตภูธร นั้นก็เคยได้ยินครูพี่เลี้ยงพูดถึงอยู่ เหมือนกันค่ะ น่าจะเป็นครูพี่เลี้ยงที่อ่านค่ะ ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ความสุขกับการทางาน รู้สึกว่าเวลาในการทางานในแต่ละ วันผ่านไปเร็วมากเลยค่ะ วั น แรกที่ ไ ปถึ ง รพ.สต.บึ ง งาม ต.ค านาดี พู ด ถึ ง ที่ ทางานก็ไกลจากอาเภอโพนทองเหมือนกัน ตื่น เต้นและ รู้สึ กกลั ว มาก เพราะได้ยินว่ าบ้ านแถวนี้ เคยเป็น เขตของ คอมมิวนิสต์ ประชาชนหัวดื้อ แต่พี่ๆเจ้าหน้าที่ใน รพ.สต. ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่นจนลืมคาว่ากลัวไปเลย
สวัสดีค่ะ ชื่อปริศนา พลเยี่ยม (น้องเขียว) จาก อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด เรียนจบม.6 ที่โรงเรียน สตรี ศึ ก ษา จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด ได้ ทุ น Cup โพนทอง เรี ยน ทันตาภิบาลที่ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ.ขอนแก่น ทราบโครงการนี้ จ ากพ่ อ และสนั บ สนุ น ให้ ล องไปสอบดู ไม่รู้หรอกค่ะว่าทันตาภิบาลต้องทาอะไรบ้าง คิดว่าทันตฯ เกี่ยวกับช่องปากแน่นอน หนึ่ ง ปี ผ่ า นไปกั บ การปฎิ บัติ ห น้ า ที่ ทั น ตาภิบาลใน รพ.สต.บึงงาม ช่วงแรกก็คิดหนักเหมือนกัน ค่ะ จับต้นชน ปลายไม่ถูกเลย ไม่รู้จะเริ่มต้นยังไง มีคนบอกว่ า “ทันตาภิ บ าลต้ อ งท าได้ ทุ ก อย่ า ง” ให้ ท าอะไรก็ ท ามั น ทุ ก อย่ า ง บางครั้ ง ไม่ ใ ช่ ห น้ า ที่ ห รอกค่ ะ แต่ ก็ ท า ก็ ไ ม่ เ ข้ า ใจว่ า ท าไป ทาไม คิดเสมอจะทาอย่างไรให้งานเป็นไปตามเป้า แต่การ ทางานก็ต้องค่อยๆเป็นค่อยๆเรียนรู้กันเรื่อยๆมีการลองผิด ลองถู ก สอบถามจากรุ่ น พี่ น ามาปรั บ ใช้ ใ ห้ เ ข้ า กั บ พื้ น ที่ ตอนนี้รู้แล้วค่ะว่าทาไมต้องทาทุกอย่าง ประสบการณ์คื อ การเรียนรู้ที่ยิ่งใหญ่จริงๆ ทาให้เรามีความมั่นใจ กล้า และมี วารสารทันตภูธร
31
ส่วนเครื่องไม้เ ครื่องมือ ทั้งยูนิต เครื่องขูด หิ น ปู น เครื่องปั่นอมัลกัม เครื่องฉายแสง มีครบพร้อมใช้ค่ะ แต่ขาด แคลนวัสดุและอุปกรณ์สิ้นเปลืองบางครั้งไม่สามารถเบิกได้ ต้องควักเงินของตนเองชื้อตามกาลังถ้าเกินกาลังมากก็รอ จากส่วนกลาง นอกจากหน้ า ที่ ทั น ตกรรมแล้ ว ยั ง มี ห น้ า ที่ ส่ ง -รั บ หนั ง สื อ ภายในและนอกองค์ ก ร ล้ า งแผล ออกชุ ม ชนให้ ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากรวมทั้งควบคุมกาจัดลูกน้า ยุงลายในชุมชน ในหนึ่งสัปดาห์ ทาฟัน 4 วัน ถามว่าหนักใจไหมก็ หนักใจนะค่ะ เพราะอยู่คนเดีย ว ต้องตัดสินใจเอง ถามว่า กลัวไหม มากๆค่ะ คนไข้ก็คงจะกลัวไม่ต่างกัน เพราะคิด ว่าหมอจบใหม่จะทาฟันได้หรือเปล่า แต่ต้องทาด้วยความ มั่นใจ อธิบายให้คนไข้เข้าใจและทาอย่างเต็มความสามารถ ช่วง 2 เดือน แรกๆคนไข้อาทิตย์ละคนยังยากเลยค่ะ แต่พอ หลังๆมาวันละ3-5 คน รู้จักวารสารทันตภูธรค่ะ จากกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลโพนทอง เคยหยิบมาอ่านอยู่บ้าง ส่วนมากจะ เห็นทันตาภิบาลที่มีความสามารถ มาแชร์ความรู้ และการ ทางาน ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ขอบคุณ CUP โพนทอง ที่ฝึกหนักเพื่อสร้าง ทันตาภิบาลมืออาชีพ สมกับที่ น้องเขียว พูดว่า “ทันตาภิบาลต้องทาได้ทุกอย่าง”
วารสารทันตภูธร
32
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
หมอฟันครอบครัว หมายถึงอะไร ทพ.ดร.ธงชัย วชิรโรจน์ไพศาล คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พอไปถึงก็รู้สึกว่าคนอื่นๆ ทั้งหมอ กายภาพ นักวิชาการ อสม. เขาคุยเข้าขากันดี แต่หมอฟันก็ดูนั่งเอ๋อๆ จนสุดท้าย หมอก็บอกให้หมอฟันไปดูฟันให้หน่อย ก็ไปดู รู้สึกวางตัวไม่ ค่อยถูก ดูทีมหมอเค้ามีอะไรให้ดูเยอะ ดูสุขภาพ แล้วก็ดู สิ่งแวดล้อมด้วย ทาราวให้คนไข้จับให้เดินได้สะดวก ติดไฟ ส่องสว่าง ปรับพื้นให้เรียบ”
“อาจารย์ครับ อาจารย์คิดว่าหมอฟันในทีมหมอ ครอบครัว ทาหน้าที่อะไรดีครับ ??” ข้อความดังกล่าวถูกส่งเข้ามาในหน้า facebook ของผม โดยปกติแล้วผมจะมีลูกศิษย์รุ่นต่างๆเข้ามา สอบถามพูดคุยเรื่องต่างๆอยู่เสมอ สาหรับลูกศิษย์คนนี้เป็น คนที่ผมคุ้นเคย ตอนที่เขาเรียนอยู่จุฬาฯ เขาเป็นคนที่ตั้ง คาถามดีๆให้ผมตอบ ซึ่งบางครั้งเป็นคาถามที่ดีมากจนผมไม่ สามารถตอบได้
ผมเขียนตอบไปตามทฤษฎีว่า “หมอฟันครอบครัวจะต้องมองมากกว่า “ฟัน” ที่จะรักษา ต้องมองไปถึงตัวคนไข้ มองเลยไปถึงครอบครัว และชุมชนที่คนไข้อยู่ พอมองเห็นบริบทต่างๆรอบตัวคนไข้ แล้วหมอฟันก็จะตอบได้ว่าจะดูแลสุขภาพช่องปากคนไข้ อย่างไรให้เชื่อมโยงเป็นองค์รวมร่วมกับสาขาวิชาชีพอื่นๆ ได้”
“เอาหมอครอบครัวแบบจริงๆ หรือแบบนโยบายกระทรวง ล่ะ” ผมพิมพ์ข้อความตอบกลับ เพราะว่า ไม่ค่อยรู้เรื่อง รายละเอียดของทีมหมอครอบครัวที่เป็นนโยบายของ กระทรวงสาธารณสุข ผมเองมีความรู้สึกกังวล เพราะกลัว ว่าจะเหตุการณ์จะซ้ารอยกับเรื่องที่กระทรวงสาธารณสุขใช้ P4P (Pay for performance) ในการจ่ายค่าตอบแทน หมอ ที่พอตอนใช้จริงไม่เหมือนกับ P4P ในทางวิชาการ แม้แต่น้อย
ผมไม่แน่ใจว่าคาตอบกว้างๆขนาดนี้จะช่วยให้ลูก ศิษย์ผมเข้าใจได้เพียงใด ผมคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่ ถ้าเราเปลี่ยนมุมอง จาก “โรคฟัน” ไปเป็นการมองไปที่ “คน” มองไปยัง ครอบครัวและชุมชนของคนไข้ ถ้ามองได้เมื่อไรเราจะ เปลี่ยนฉากทัศน์หรือแนวคิดการรักษาโรคในช่องปากเป็น แบบใหม่ทั้งหมด เปลี่ยนจากการรักษาเฉพาะซี่ฟันไปเป็น การดูแล “คน” เป็นหลัก เป็นการดูแลคนภายใต้ความ เข้าใจถึงครอบครัวของคนไข้ เห็นบริบทของครอบครัวที่มี ผลกระทบต่อสุขภาพช่องปาก
ลูกศิษย์ผมเขียนอธิบายพิ่มเติมให้เห็นภาพชัดว่า “คือว่า วันนี้ไปผมเยี่ยมบ้านคนไข้ทั้งคนไข้พิการ กับจิตเวช ไปกับทีมหมอครอบครัวตามนโยบายกระทรวงฯ วารสารทันตภูธร
33
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ตามที่ผมคาดไว้ ลูกศิษย์ผมพิมพ์ตอบว่า “ถ้ายกเว้นเห็นตัวคน ผมสงสัยว่าครอบครัว ชุมชน จะมาปรับกับสุขภาพช่องปากยังไง ยังนึกภาพไม่ค่อยออก ครับ หรือผมยังไม่รู้จัก concept หมอฟันครอบครัว? ผม นึกออกแต่ในแง่ทันตกรรมชุมชน”
เชื่อมจากล่างขึ้นบนและเชื่อมจากบนลงล่างทาให้คนไทยมี สุขภาพช่องปากดีขึ้นได้
ผมยิ้มในใจครับ ลูกศิษย์คนนี้เป็นความภูมิใจของ อาจารย์เลยทีเดียว เพราะว่าเขามีทักษะในการทางาน ทันตกรรมชุมชนที่โดดเด่น โดยเฉพาะตอนที่ฝึกงาน ภาคสนาม มีความโดดเด่นในระดับต้นๆของรุ่นเลยทีเดียว การที่ไม่เข้าใจเรื่องนี้มากนักเป็นเรื่องปกติ เพราะจริงๆแล้ว แนวคิดหมอฟันครอบครัว เป็นแนวคิดการดูแลผู้ป่วยระดับ บุคคล (individual) ซึง่ ต่างจากหมอฟันชุมชนทีม่ ักจะ ทางานกับคนหมู่มากในชุมชน แต่ทั้งหมอฟันครอบครัวและ หมอฟันชุมชนมีจุดเชื่อมกันอยู่ เมื่อหมอฟันครอบครัว ทางานดูแลผู้ป่วยไปทีละคน ทีละคน จะมองเห็นครอบครัว เลยไปจนถึงคนอื่นๆในชุมชน ในที่สุดหมอฟันครอบครัว อาจจะทางานในระดับชุมชนด้วยก็ได้ ตัวอย่างเช่น หมอฟัน ครอบครัวที่ดูแลคนไข้ ที่มาหาในคลินิกทาฟันอาจพบผู้ป่วย มีรอยโรคมะเร็งอยู่บ่อยๆ ได้พูดคุยกับคนไข้จนทราบมาว่า คนในหมู่บ้านนี้มักจะนิยมเคี้ยวหมากและยาฉุน หมอฟัน ครอบครัวจะตระหนักว่าการดูแลสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก และป้องกันโรคที่ให้ในระดับบุคคลอาจไม่เพียงพอที่จาทาให้ คนไข้หายจากโรคได้จึงทาให้หมอฟันครอบครัวต้องหาทางที่ จะทาให้คนในชุมชนลดการเคี้ยวหมากลง เป็นการขยาย จากงานในระดับบุคลสู่งานในระดับชุมชน ภาพนี้คล้ายๆกับหมอฟันครอบครัวทางานในระดับ บุคคลเล็กๆ ขยาย เชื่อมโยงในระดับสูงขึ้นไปสู่ชุมชน ในขณะหมอฟันชุมชน จะเริ่มต้นทางานในชุมชนก่อน แล้ว บางกิจกรรมอาจต่อขยายลงมาทาในระดับบุคคล ซึ่งการมี หมอฟันครอบครัวและหมอฟันชุมชนทางานร่วมกันก็จะ วารสารทันตภูธร
นอกจากเรื่องการมององค์รวมขยายไปถึงครอบครัวและ ชุมชนแล้ว ิงที ส่ ่สาคัญที่สุดของหมอฟันครอบครัวอีก ประการหนึ่งคือ จะต้องเป็นหมอที่มีหัวใจความเป็นมนุษย์ เรื่องนี้อาจอธิบายได้ยากว่า การมีหัวใจความเป็น มนุษย์จะต้องทาอะไร หรือมีองค์ประกอบอะไรบ้าง แต่ที่ ชัดเจนคือ หมอฟันครอบครัวต้องเคารพศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์ ตัวหมอฟันเองต้องมีความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน กับคนไข้ ความสัมพันธ์เชิงอานาจระหว่างหมอฟันและ คนไข้อยู่ในแนวราบ หมอฟันไม่ได้มีอานาจเหนือคนไข้ แม้ว่าหมอฟันจะมีความรู้เกี่ยวกับทันตกรรมมากกว่าก็ตาม แต่จะไม่มีอานาจในการที่จะไปบังคับ โนมน้าว ชักจูงให้ คนไข้คิดหรือเชื่อเหมือนกับเรา ไม่มีอานาจที่จะไปคิด ไป ตัดสินใจ ไปเลือกวิธีการรักษาใดๆแทนคนไข้ อีกประการที่สาคัญคือหมอฟันครอบครัวจะต้อง “เห็นตัวคนก่อนเห็นโรค เข้าใจตัวคนก่อนเข้าใจโรค และ เข้าใจเรื่องสุขภาพก่อนที่จะเข้าใจเรื่องสุขภาพช่องปาก” ซึ่งจะเป็นการใช้ “ใจ” เข้าไปสัมผัสและพูดคุยกับคนไข้โดย ไม่ได้พุ่งเป้าไปที่จะรักษาโรคฟันก่อน แต่มีความใส่ใจกับ ความเป็นอยู่และความเป็นไปของคนไข้ รับรู้ความรู้สึก ความคาดหวัง ความกังวลใจของคนไข้ เมื่อเข้าใจคนไข้ อย่างดี แล้วก็จะเข้าใจว่า โรคในช่องปากที่เกิดขึ้นนั้นไม่ใช่ โรค (disease) แต่เป็นความเจ็บป่วย ( sickness) ที่มีทั้ง ด้าน กาย ใจ สังคมและจิตวิณญานที่มาเกี่ยวข้อง ถ้าหมอฟันครอบครัวมีหัวใจความเป็นมนุษย์แล้ว การทางานของหมอฟันก็จะเปลี่ยนไปจากเดิม จะไม่เป็น การทางานเพราะถูกใครสั่งให้ทา ไม่ได้ทางานเพราะ ต้องการเงินค่าตอบแทนมากๆหรือทางานตามตัวชี้วัดที่
34
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
กาหนดไว้ แต่จะเป็นการทางานที่ทาจากใจ เป็นการทางาน ที่ถูกหล่อเลี้ยงด้วยคุณค่าและความดีงาม “ทาไมหมอครอบครัวต้องไปเยี่ยมบ้านคนพิการหรือคนไข้ จิตเวชละครับ?” อีกคาถามที่น่าสนใจจากลูกศิษย์ ผมตอบไปว่า การไปเยี่ยมบ้านนั้นทาให้มองเห็นทั้ง ครอบครัวและชุมชนได้ง่ายกว่าการที่นั่งทาฟันในคลินิก ส่วนในคนไข้ที่พิการ คนไข้มะเร็ง ผู้สูงอายุติดเตียง หรือ คนไข้วาระสุดท้ายของชีวิต จะต้องการหมอฟันที่มีหัว ใจความเป็นมนุษย์มากกว่าคนไข้ทั่วๆไป เนื่องจากคน เหล่านี้ต้องการความเข้าใจจากหมอฟันมากเป็นพิเศษ ความ ยากในการดูแลคนไข้เหล่านี้คือ การให้การรักษาที่ยังอยู่ใน มาตราฐานที่ยอมรับได้ พร้อมๆกับการตอบโจทย์ความ ต้องการของคนไข้ไปพร้อมๆกันด้วย การที่จะเข้าใจคนไข้ได้ดี หมอฟันครอบครัวต้องมี ทักษะต่างๆเช่น ทักษะในการสื่อสาร การฟัง การตั้งคาถาม การทวนซ้า การสะท้อนความรู้สึก การชื่นชม ที่จะใช้เพื่อ สื่อสารสร้างความสัมพันธ์กับคนไข้และครอบครัว ทักษะใน การออกแบบแผนการดูแลรักษาร่วมกับผู้ป่วยที่ใช้
วารสารทันตภูธร
35
ความสัมพันธ์ในแนวราบ ไม่มีการใช้อานาจจากหมอฟัน ทักษะการเป็นผู้จัดการในการจัดการทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ ในการดูแลคนไข้ การส่งต่อให้ไปพบหมอฟันที่เชี่ยวชาญ เฉพาะทาง ทักษะการประสานงานและทางานร่วมกับสห สาขาวิชาชีพเพื่อดูแลคนไข้ ฯลฯ ผมบอกลูกศิษย์ไปว่า ตอนนี้ทันตแพทยสภา ได้ตั้ง คณะทางานในการศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดตั้งสาขา “หมอฟันครอบครัว” ขึ้น ซึ่งผมก็เป็นหนึ่งในคณะทางานนี้ เรื่องของหมอฟันครอบครัวคงเป็นที่รู้จักกันมากขึ้นใน อนาคต การพัฒนาหรือฝึกอบรมทักษะสาหรับหมอฟัน ครอบครัวเป็นเรื่องที่ท้าทาย เพราะว่า หมอฟันครอบครัวจะ ใช้ทักษะต่างๆที่ค่อนข้างเป็นนามธรรมจับต้องและเข้าใจได้ ยาก มีความลึกซึ้ง ถ่ายทอดเป็นตัวอักษรหรือเขียนแนว ทางการปฎิบัติแบบวิทยาศาสตร์ได้ยาก จาเป็นต้องจัด ประสบการ์ณตรงให้ได้สัมผัส ให้ได้คุยกับคนไข้ และที่ สาคัญจะต้องมีความละเอียดอ่อนและใช้ “ใจ” เป็นตัว นาพาไป
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
Dent Script ผลงานจากความพากเพียร ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี @ Rdentdata www.facebook.com/RDentdata
สวัส ดีครั บ ฉบั บนี้ Rdentdata ก็ขอมาเล่ า ต่ อ ถึ ง เรื่องของการบันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้ม เพื่อที่ทุกท่านจะได้ ทางานอย่างมีความสุข ลดละเลิกความซ้าซ้อน กลับไปทา หน้าที่เป็นทันตแพทย์ดีกว่ามาเป็นคนบันทึกข้อมูล หลาย คนพูดถึงข้อมูล ก็เป็ นไม้เบื่อไม้เมาไม่เอากัน เลยทีดียวแต่ อยากจะบอกว่าจริงๆ งานที่เราทาก็เกิดเป็นข้อมูลขึ้นทุกวัน ครับไม่ว่าจะรักษาคนไข้ หรือออกหน่วยทันตกรรม หากเรา ไม่ มี ก ารบั น ทึ ก ก็ เ ท่ า กั บ ไม่ ท างาน และข้ อ มู ล ก็ ถื อ เป็ น เครื่องมือที่ดีในการจะพัฒนางานของเราในวงจรของ PDCA ตั้งแต่การวางแผน (Plan) เราจาเป็นต้องใช้ข้อมูลย้อนหลัง ในการวางแผนพัฒ นาแก้ปั ญหา ขณะทางาน (Do) ก็ต้อง บันทึกข้อมูลเพื่อที่จะได้เป็นข้อมูลว่าสิ่งที่เราทาได้แก้ปัญหา หรือไม่ ตรวจสอบ (Check) ก็ต้องนาข้อมูลมาวิเคราะห์ว่า สิ่ ง ที่ เ ราท าตอบโจทย์ ห รื อ ไม่ ห าส่ ว นขาด โอกาสพั ฒ นา ทบทวน (Act) ก็ ต้ อ งมี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล ที่ดี ข้ อ มู ล ที่ ดี ก็ ต้ อ ง ถูกต้อง ครบถ้วนและทันเวลา ข้อมูลจึงจะเป็นเข็มทิศที่ดีในการทางาน เราสร้าง ข้อมูลอย่างไรเราก็จะได้ข้อมูลอย่างนั้น บันทึกไปแบบมั่วๆ ก็ จ ะ ไ ด้ ข ย ะ ม า เ ต็ ม น า ไ ป ใ ช้ อ ะ ไ ร ไ ม่ ไ ด้ ต อ น นี้ ก็ เกิดปรากฎการณ์ Dental file fever มีจานวนแฟ้ม Dental ขึ้นมาในระบบมากมายบาง รพ.สต. ไม่มีทันตาภิบาลไม่มี บริการทันตกรรมแต่มีข้อมูล Dental file ขึ้นมจานวนมาก เส้ น ทางการมาของแฟ้ม เหล่ านี้ มาได้อย่างไรหลายคนก็ วารสารทันตภูธร
36
อาจจะรู้อยู่แก่ใ จ ถ้าตั้งข้อสังเกตก็มักจะเป็น รพ.สต. ที่มี เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เก็บทุกเม็ด เด็ดทุกดอก ผมต้องขอ บอก ว่าอย่าหลอกกันเลย เพราะมันไม่มีประโยชน์อะไร คือ จะว่าเจ้าหน้าที่ฝ่ายเดียวไม่ได้ เพราะผู้บริหารหลายแห่งก็ดู ข้อมูลจากปริมาณข้อมูลที่ขึ้นมากจริงๆ จึงเป็นการบัง คับ ทางอ้อมให้ต้องสร้างข้อมูลเข้าไปคลิกๆ ใส่ๆ ตัวเลขอะไรไป ก็ได้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถรู้ได้ว่าถูกหรือผิด เพราะสิ่ ง ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ในระบบสารสนเทศก็ คื อ people ware ผู้ ที่บันทึกข้อ มูล นี้ แหละครั บ ข้อมูล จะถู ก หรือผิดก็อยู่ที่คนนาข้อมูลเข้าไป ระบบจะดีอย่างไรถ้าคน บันทึ กไม่ได้ใส่ ใจข้อมูล ที่ได้ก็แค่ ฝุ่ นผงที่ปลิ ว เข้าตา หรือ ข้อมูลขยะ เสียเวลาคีย์ เสียเวลาวิเคราะห์ บอกสถานการณ์ ไม่ได้ สิ่งที่ผมอยากเน้นย้าเพื่อลดปัญหาการ Make ข้อมูลก็ คือ ใครทาใครคีย์ ทาแค่ไหนก็คีย์เท่านั้น เพราะหลายคน ชอบเห็นตัวเลขเราในระบบวิ่งมากๆๆ ดูเยอะทั้ งๆ ที่รู้ว่ามัน ไม่จริง คนก็ไม่ได้รับบริการ ในทางกลับกันบางคนก็ทางาน มากมายแต่ไม่สนใจข้อมูล ทาให้ตัวเลขขึ้นน้อยนิด โลกเรา ช่างไม่สมดุลย์ เลยก็ลองปรับดูนะครับ ผมเองตอนแรกตรวจ Dental file ผมก็ว่ามันงงนะครับ เราตรวจเองมาคีย์ บางที ก็จาไม่ได้ว่ามีฟันกี่ซี่ ผุ จ านวนเท่าไหร่ อุดกี่ซี่ให้ ทาทุกวัน บางวันก็งงๆ ว่าคนนี้ตรวจหรือยัง บ้างข้อมูลก็ไม่ตอบโจทย์ แต่คงต้องปรับกันไป ว่าจะปรับให้บันทึกแบบรายซี่ดี กว่า หรือไม่ แล้วให้ระบบนับเอง ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ฉบับก่อนหลายคนได้เข้าไปดาวน์โหลดคู่มือกันมาบ้างแล้วนะครับ สาหรับ Hosxp ที่ออกมาครอบคลุมทั้งเรื่องของการ บันทึกในงานประจา งานส่งเสริม และการออกชุมชน ทางทีมงานของกระทรวง โดยสานักทันตสาธารณสุขก็ได้ออก Dental Script มาออกรายงานจาก 43 แฟ้มให้มาใช้ โดยการรวมตัวของเหล่าเทพทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นทีมของคุณหมอนิติโชติ คุณหมอ วาลี ทีม Admin จังหวัดนาร่องมาแกะข้อมูล ควานหาสมบัติล้าค่าในข้อมูลที่ได้บันทึกมา ออกรายงานมา 68 รายงานที่คาดว่าจะ ทาให้หลายท่านได้เห็นประโยชน์ของการบันทึก 43 แฟ้มบ้างแล้ว ว่ามันไม่ได้ “มโน” แต่เป็นเรื่องที่สามารถทาได้จริงออก รายงานได้จริง คีย์อะไรไปก็ได้รายงานอย่างนั้น จริงๆตัว Dent script ก็ต้องอาศัยความสามารถของ Admin จังหวัด ที่จะต้อง นาสคริปหรือคาสั่งเหล่านี้ไปเชื่อกับฐานข้อมูล HDC แล้วออกรายงานหน้าเว็บให้ทุกท่านได้สามารถที่จะตรวจสอบผลได้ได้ เบื้องต้นโดยมิต้องรอการประมวลผลจากกระทรวง การนาเสนอข้อมูลของเด็นท์สคริปก็สามารถดูได้ทั้งจังหวัดและราย รพ.สต.
รพ.สต./ รพช/รพศ (JHCIS ,HosxP,Hos OS ฯลฯ)
43 แฟ้ม มาตรฐาน
HDC จังหวัด
Dent Script
รู ปที่ 1 แสดงการขึน้ ตอนการส่ งข้ อมูลเข้ าเว็บ Dental script แต่ต้องบอกว่ารายงานที่อยู่ใน Dent script ไม่ได้ถูกส่งไปกระทรวงนะครับ เป็นแค่ตัวที่สรุปรายงานข้อมูล ก็จะอยู่ใน HDC นาไว้นาเสนอตอบรายงานกระทรวง ไม่ได้ส่งต่อไป สปสช.นะครับ แต่มีประโยชน์ไว้ตรวจสอบแก้ไข ส่งรายงานสรุปงาน ติดตามการทางานของทันตแพทย์และทันตาภิบาล พัฒนาบริการระดับปฐมภูมิหรือบริการที่ขาดหายจริงๆ สามารถออกรายงาน ได้อีกหลายมิติไม่ว่าจะเป็นเรื่ องโรค หรือเรื่องของการทารายงาน อวช. แต่เบื้องต้นคงต้องใช้เวลาในการปรับความถูกต้อง จึง อยากเชิญชวนให้พี่น้องทันตภูธร มาช่วยกันดูช่วยกันตรวจ ช่วยกันเทียบกับผลงานที่เราทาได้จริ งว่าใกล้เคียงกันหรือไม่ ถ้าใกล้ เคียงกันการทางานนั้น หมายความว่าจะลดภาระในการจัดเก็บ ข้อมูล ทางานประจาให้ดี มีอะไรคุยกัน และขยันทบทวนข้อมูลก็ จะไม่เป็นภาระ ทางานเสร็จบันทึกข้อมูล หลายคนบอกไม่ทันจริงๆ การบันทึกข้อมูลที่เป็นการให้บริการ ลองทาเองดูครับไม่นาน และที่สาคัญเราเองที่ทาจะเป็นคนรู้ครับ ว่าเราทาอะไรไปบ้างก็จะได้ข้อมูลที่ไม่ตกหล่น ไม่ต้ องโทษดาว โทษเดือน โทษตะวัน แต่ถ้ารายงานน้อยอย่าเพิ่งตกใจ เพราะของผมเองก็น้อย อย่างแรกต้องตั้งสติ และไล่ตามข้อมูลของเราตามเส้นทางที่เราส่งไป ครับ เพราะเส้นทางการส่งข้อมูลมีปัญหาได้ตลอดเวลา วารสารทันตภูธร
37
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วิธีการตรวจสอบข้อมูลว่าถูกต้องหรือไม่ 1. ตรวจสอบด้วยตัวเองที่หน้าจอว่าวันนี้เราทาอะไรบ้างข้อมูลที่บันทึกครบหรือไม่ 2. ลองส่งออกข้อมมูล 43 แฟ้มรายวันรายสัปดาห์ ตรวจแฟ้มที่เกี่ยวข้องคือ Diagnosis OPD,Procedure_OPD,Dental ,Service,ที่สาคัญคือ Person ใน 43 แฟ้ม person สาคัญมากถ้าเชื่อมโยงไม่ได้ก็ ไม่สามารถนับงานได้ 3. ตรวจสอบรหัสในแฟ้มดังกล่าวโดยเปิดจาก Excel หรือ Notepad ดูว่ามีรหัสทันตกรรมขึ้นหรือไม่ 7 หลักมักขึ้น ด้วย 2xx xx xx หรือ Diag ที่ขึ้นด้วย K0xx 4. ส่งข้อมูลเข้า HDC ตรวจสอบว่าข้อมูลขึ้นครบหรือไม่ โรงพยาบาลได้ส่งเข้า HDC หรือไม่การเชื่อมต่อขาดหายไป หรือไม่ใน HDC monitor ของแต่ละจังหวัด ติดตามแก้ไขดูจานวนเป็นหลักว่าแฟ้มที่ทสังเกตง่ายคือ Dental ดูว่ามี Dental file ขึ้นหรือไม่
5. ไปดูรายงานใน Dent script ย้าจังหวัดต้องนาสคริปไปสร้าง Web application เองนะครับ ไม่ได้มีทุกจังหวัดต้อง อาศัย Admin ที่จะเข้ามาประสานกับทีมเข้าไปได้ใน Facebook กลุ่ม Dental report จะมีกลุ่มเหล่าเทพค่อย ช่วยเหลือสื่อสารกับ Admin ให้ครับเพราะต้องมีการสร้างตารางเพิ่มอาจจะทาให้ Admin จังหวัดที่ไม่ชานาญอาจมี ความกังวลว่าจะกระทบกับระบบใหญ่คือ HDC การสื่อสารด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ให้ Admin ช่วยสื่อสารจะทาให้ การทางานง่ายขึ้น หรือต้องการล่ามก็จะสามารถช่วยได้ครับ
วารสารทันตภูธร
38
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
6. เข้าไปตรวจสอบรายงานที่ละตัวเทียบกับรายงานที่มีในโรงพยาบาลว่าใกล้เคียงหรือไม่ถ้าไม่ใกล้เคียงเลยก็กดที่ Feedback จะมีทีมงานที่ค่อยแลกเปลี่ยนและแก้ไขโค้ดให้สามารถใช้งานได้จริง เพื่อตอบโจทย์การทางานลดความ ซ้าซ้อน ต้องช่วยกันพัฒนาครับ ล่าสุดข่าวดีๆๆ สุดๆๆ สาหรับคนที่ต้องการตรวจสอบรายงานทีมพัฒนาของคุณหมอนิติโชติ ได้ทาโปรแกรมตัว Dental Report helper มาเป็นโปรแกรม Offline สามารถดาวโหลดมาติดตั้งแต่อาจจะยากนิดนึงนะครับ ดู Link ได้ในกลุ่ม Dental Report 58 ครับและส่งออก 43 แฟ้มมานาเข้าและสามารถดูรายงานได้เลย 70 กว่ารายงานใช้งานครับ
วารสารทันตภูธร
39
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ผมเชื่อว่าทีม Admin และทีมพัฒนาต้องใช้เวลามากในการทุ่มเท คิดโค้ด คิดสคริปต่างๆ คนใช้ อย่า เพิ่งบ่นครับ ว่าไม่ ต้องอย่างโน้นอย่างนี้ ต้องช่วยกันหาทางพัฒนา Feedback ในเชิงสร้างสรรค์ ตรง ไม่ตรงอย่างไรก็ร่วมกันหาสาเหตุ และพัฒนา ตัวอย่างของผมเอง ผมก็เจอสาเหตุตั้งแต่ต้นทาง บันทึกมาในรหัสที่ไม่ตรงกับตัวรหัสที่เราจับรายงานทาให้ข้อมูลไม่ขึ้น หรือบาง แห่งก็ขาดการเชื่อมต่อกับ HDC ฐานข้อมูลจังหวัด ส่งมาไม่ขึ้น Internet ปัญหาทาให้ข้อมูลไม่ขึ้น แต่ละสาเหตุก็แก้ต่างๆกันครับ ถ้ า เราบ่ น แล้ ว ไม่ แ ก้ ไ ม่ ก็ ไ ม่ มี ท างพั ฒ นา ผมเชื่ อ ว่ า ไม่ มี ร ะบบใดๆ เสถี ย รแม้ แ ต่ iOS ที่ ว่ า แน่ ก็ ต้ อ งมี ก ารปรั บ ปรุ ง ตลอดเวลาเพื่อแก้ไข เราต้องขอบคุณ และยกย่องคนทีร่ ่วมกันพัฒนาทีม Admin และทีมงานจังหวัดนาร่อง ที่ลองผิดลองถูก เจอ ปัญหาต่างๆ นานา การพัฒนาปัจจุบันผมว่าเป็นไปในทิศทางที่ดี เห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้นแล้วครับ ข้อมูลที่ทากับบุคคลก็สามารถ ออกรายงานได้ อีกประเด็นที่ต้องบอกไว้หากต้องการให้ระบบยั่งยืนก็ต้องปรับทั้งหมด ผู้บริหารก็ต้องยอมรับข้อมูลที่มาจาก 43 แฟ้ม กระทรวงไม่ขอรายงานที่นอกเหนือจาก 43 แฟ้มมากเกินไป รูปแบบรายงานควรตกลงแต่ต้นปีงบ และพัฒนาการบันทึก เท่านี้ทุกคน ทั้งระดับปฎิบัติการและระดับบริหารก็จะสามารถมีความสุขร่วมกันได้บนฐานข้อมูลเดี่ยวกันครับ ฉบับนี้ฝากเคล็ดไม่ลับในการตรวจสอบข้อมูล 43 แฟ้มแบบง่ายๆ ด้วย Excel Step by Step 1. อย่างแรกก็เดินไปที่ห้องงานประกัน หรือคนที่ส่งข้อมูลขอหน่วยงานท่านไปขอ 43 แฟ้ม เอาแฟ้มหลักๆก่อน พวก Diagnosis_OPD, Procedure_OPD, Dental,Person สัก 1 เดือน 2. หลังจากนั้นก็เปิดไฟล์ที่มีชื่อว่า Procedure_OPD โดยใช้ Excel เลือกภาษาไทย ใช้ตัวแยกเป็น | (ไปท์) แล้ว Next ไป เรื่อยๆครับ จะได้ตารางมามีคอลัมภ์และแถว
วารสารทันตภูธร
40
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
3. หลังจากนั้นดูช่องที่เป็นรหัสหัตถการ ใช้ตัวกรอง ของ Excel เลือกดูรายการเช่นจะดูการตรวจฟันวางแผนการรักษา ก็ เลือก 2330011 หรือ Sealant ก็สามารถใช้ลักษณะเดี่ยวกันได้ 4. นาข้อมูลตรวจสอบหาส่วนขาดและแก้ไข้จากโปรแกรม Hosxp , JHCIS ฯลฯ ส่งออก 43 แฟ้มมาใหม่แล้วทดลอง ตรวจดูอีกครั้ง วิธีนี้ก็อาจจะยากสาหรับคนที่ใช้ Excel ไม่เป็น ถ้ายากก็ลองให้ Admin ลง Dental Report Helper ครับทาให้เรา ตรวจสอบได้เร็วและง่าย สามารถควบคุมติดตามกับกับตัวชี้วัดได้ดี หลังจากที่มีการพัฒนามากว่า 4 ปี ปีนี้จากงานประชุมเรื่องข้อมูล 23-24 เมษายน 2558 ณ โรงแรมเอบี น่าเฮาส์ เหมือนได้เจอรายการฝันที่เป็นจริงข้อมูลที่เราส่ง 43 แฟ้มไป สนย. สามารถประมวลผลหน้าเว็บได้แล้ว ดังนั้นจังหวัดที่ไม่พร้อมก็ สามารถใช้รายงานได้ด้วยโดยไม่ต้องพึง Admin จังหวัดให้ยุ่งยาก http://hdcservice.moph.go.th/hdc/main/index.php เข้าไปตามนี้เลยครับ เลือกกลุ่มรายงานมาตรฐาน แล้วท่านก็จะพบรายงานทันตกรรม เหมือนฝันที่เป็นจริง แต่พอคลิกเข้าไปดูก็ อาจจะฝันสลาย เพราะรายงานเหล่านี้ออกรายงานกับรหัส ICD10Tm ดังนั้นใครที่ไม่ได้เปลี่ยนรหัส รายงานก็ไม่ออกนะครับ ต้องปรับวิธีการบันทึก ครับ ทิ้งท้ายฉบั บ นี้ไว้ด้ว ยภาพเว็บ HDCกระทรวงที่ต้องขอบคุณที มงาน HDC ที่นาสคริปมาใส่ ไว้ในเว็บกลางทาให้ ทุ ก คนทางานง่ายขึ้นทุกระดับเพราะมันดูได้ถึงระดับ รพ.สต. ครับ ผู้บริหาร ผู้ปฎิบัติก็ใช้เว็บเดียวกัน นี้คือสิ่งที่เราต้องการ เมื่อก่ อน พูด 43 แฟ้มแล้ว ทุกคนก็ดูเลื่อนลอยว่าจะออกรายงานได้จริงหรือ อันนี้เราทาให้เห็นว่าจับต้องได้ คีย์อะไรไปก็ได้อย่างนั้น ถ้ามั่ว มาคอมพิวเตอร์ก็จะประมวลผลผิดพลาดครับ อยากให้ทุกคนมีความสุข กับการทางาน ข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของการทางานเป็น เหมือนเข็มทิศใช้วางแผน วัดผล ประเมินผล ติดตามผล ทุกขั้นตอนเลยหากข้อมูลผิดเข็มทิศหรือ GPS เราก็ทางานอย่า งไร้ ทิ ศ ทาง ดั ง นั้ น ข้ อ มู ล ที่ ดี ต้ อ งถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น ทั น เวลา จ้ า แล้ ว พบกั น ใหม่ ค รั บ อย่ า ลื ม กด follow fan page www.facebook.com/RDentdata ทุกความเคลื่อนไหว เรามารายงานคุณ
วารสารทันตภูธร
41
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
บุหรี… ่ อุปสรรคของการมีสุขภาพช่องปากดี ทพญ.วิกุล วิสาลเสสถ์ กลุ่มพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านทันตสุขภาพ สานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
รายละเอี ย ดของส่ ว นประกอบในยาสู บ และผลต่ อ สุขภาพที่เกิดจากส่วนประกอบแต่ละชนิด มีดังนี้ 31 พค.เป็นวันงดสูบบุหรี่โลก ที่องค์การอนามัยโลก กาหนดขึ้นเพื่อให้นานาประเทศได้ ร่วมกัน รณรงค์ให้ชาวโลก ตระหนักถึงพิษภัยของการบริโภคยาสูบ เดือนพฤษภาคมของ ทุกปีจึงเป็นช่วงเวลาที่ผู้ที่ทางานด้านการควบคุมยาสูบจะยุ่ง เหยิงมากทีเดียวรวมทั้งทันตบุคลากรกลุ่มหนึ่งด้วย เมื่อ 10 กว่ า ปี ก่อน คนทั้ ง ในและนอกวงการทันตสาธารณสุขมักถาม เสมอว่า ทันตบุคลากรเกี่ยวข้องกับการช่วยเลิกบุหรี่อย่างไร แม้ทุกวันนี้จะถามน้อยลงแล้ว แต่ก็ยังอาจอยู่ในใจของอีกหลาย คน จึ ง ขอน าผลการทบทวนวิชาการเกี่ยวกับบุหรี่กับโรคปริ ทันต์ ของคุณหมอปุ๋ย ทพ.ญ.วราภรณ์ อินทร์พงศ์พันธ์ สมาชิก ใหม่ของสานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย แต่เก่าจาก รพ.ท่า วุ้ง ลพบุรี มาเล่าสู่กันฟัง อาจทาให้พวกเราเห็นความจาเป็นใน เรื่องนี้มากขึ้น “บุหรี่” สิ่งเสพติดที่สามารถพบคนสูบได้ทั่วไป เป็นที่ ทราบกันดีว่า สารพิษในควันบุหรี่มีผลเสียต่อสุขภาพ ทาให้ผู้สูบ และผู้ได้รับควันบุหรี่โดยที่ไม่ได้สูบ มีโอกาสเกิดโรคต่างๆ ได้แก่ ถุงลมโป่งพอง มะเร็งช่องปาก มะเร็งหลอดลม มะเร็งปอด และ มี ค วามเสี่ ย งต่ อ การเกิ ด โรคหั ว ใจมากกว่ า คนที่ ไ ม่ ไ ด้ สู บ นอกจากนี้บุหรี่ยังมีผลเสียต่อหญิงตั้ง ครรภ์ เสี่ยงต่อการแท้ ง เด็กมีน้าหนักตัวน้อยกว่าปกติ และมีโอกาสเกิดปากแหว่งเพดาน โหว่ด้วย วารสารทันตภูธร
42
1. นิโคติน เป็นสารสาคัญที่เป็นสาเหตุให้ติดบุหรี่ เมื่อถูก เมตาบอไลท์ที่ ตับจะได้ cotinine และ nicotine-Noxide ซึ่ง cotinine มีครึ่งชีวิตนานถึง 20 ชั่วโมง จึง ใช้เป็น ตัววัดการได้รับนิโคตินของผู้สูบบุหรี่ 2. ทาร์ สารเหนียวๆสีน้าตาลทาให้ เกิดการติ ด สี ที่ นิ้ ว และฟัน 50% ของน้ามันทาร์ จะจับอยู่ที่ปอด ทาให้ ระคายเคือง มี อาการไอเรื้อรัง และเป็ น สาเหตุ ของ มะเร็งปอด 3. คาร์บอนมอนน็อกไซด์ มีผลให้ร่างกายได้รับอ๊อกซิเจน ลดลงกว่าปกติ15% 4. ไนโตรเจนอ๊อกไซด์ เป็นสาเหตุสาคัญของการเกิด โรค ถุงลมปอดโป่งพอง 5. ไฮโดรเจนไซยาไนด์ เป็ น ก๊ า ซที่ ท าให้ เ กิ ด การไอ มี เสมหะ และหลอดลมอักเสบเรื้อรัง 6. โลหะ ที่ตรวจพบ คือ นิเกิลอาร์เซนิค แคดเมียม และ ตะกั่ว 7. สารประกอบกัม มันตภาพรังสี คื อ polonium-210 และ potassium-40 ความสนใจของทันตบุคลากรจึงหนีไม่พ้น ผลของบุหรี่ต่อ การเกิดโรคในช่องปาก
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เป็นที่ทราบกันดีว่า การสูบบุหรี่เพียงอย่างเดียว ไม่ได้ เป็นสาเหตุของการเกิดโรคในช่องปาก แต่การสูบบุหรี่นั้นเพิ่ม ความเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยเฉพาะโรคปริทันต์อักเสบ ส่งเสริม ให้โรคมีความรุนแรงมากขึ้นและมีการตอบสนองต่อการรักษาไม่ ดีเท่าคนที่ไม่ได้สูบบุหรี่
มี การลดลงของร่องลึ กปริทั น ต์ น้ อย เชื้ อแบคที เรีย ใต้ เหงื อ ก ลดลงไม่มาก แต่ผลการรักษาจะดีขึ้นถ้ามีการให้ยาปฏิชีวนะ เฉพาะที่ คือ doxycycline 10% ร่วมด้วย ส่วนผลการรักษา โดยวิธีศัลย์ปริทันต์ พบว่า คนสูบบุหรี่ จะมีการหายของแผลช้า การลดลงของร่องลึกปริทันต์น้อย ไม่ดีเมื่อเทียบกับผู้ไม่สูบบุหรี่
การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ในคนสู บ บุ ห รี่ แ ละเป็ น สาเหตุให้โรคปริทันต์อักเสบรุนแรง มีดังนี้
ถึง แม้ ว่ า การสู บ บุ หรี่มี ผ ลให้ อวั ย วะปริทั นต์ ถูกท าลาย และไม่ ค่ อ ยตอบสนองต่ อ การรั ก ษา แต่ ยั ง มี ข้ อ มู ล ที่ ท าให้ มี ความหวัง นั่นคือ ผลการศึกษาหลายๆเรื่องยืนยันว่า เมื่อเลิกสูบ บุหรี่ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะค่อยๆปรับเข้าสู่ภาวะปกติ เชื้ อ ร้ า ยๆในร่ อ งเหงื อ กก็ จ ะถู ก ทหารเอก คื อ เม็ ด เลื อ ดขาว ทาลาย หลอดเลือดเล็กๆที่เคยถูกกดให้หดตัวจากนิโคตินจะ กลับขยายตัวขึ้นอีกครั้ง นาออกซิเจนเข้าไปเลี้ยงเหงือกได้เต็มที่ เหงือกสีซีดๆก็จะมีสีแดงระเรื่ออีกครั้ง และพร้อมตอบสนองต่อ การรักษาอย่างเต็มที่ ด้วยเหตุผลดีๆที่กล่าวมานี้ การนาเสนอ บริการเสริม “โปรแกรมเลิกบุหรี่ ” ให้แก่ผู้รับบริการ ทันตก รรม จึงดีทั้งต่อสุขภาพกาย สุขภาพฟัน และที่สาคัญ ในช่วง เศรษฐกิจชะลอตัวเช่นปัจจุบัน คนไข้ที่เลิกบุหรี่สาเร็จจะทาให้มี เงินเหลือในกระเป๋าเพิ่มขึ้นไม่น้อยเลย............... คุณหมอ ปุ๋ยสรุปในตอนท้าย
1. ด้านกายภาพ บุหรี่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด คือ ทาให้ หลอดเลื อดเล็ กๆหดตั ว ส่ ง ผลให้ เนื้ อเยื่ อเหงื อกมี ระดั บ ความ อิ่มตัวของออกซิเจนลดลงและยังพบว่ามีเลือดออกจากเหงือก ลดลงด้วย ทาให้อาการแสดงของสภาวะเหงือกอักแสบและปริ ทันต์อักเสบไม่ชัดเจน เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ 2. ด้านจุลชีววิทยา พบเชื้ อ ใต้ เ หงื อ ก A. actinomycetemcomitans, T. forsythensis และ P. gingivalis เพิ่มขึ้น มีรายงานความเสี่ยง ต่อการติดเชื้อใต้เหงือกจาก T.forsythensis ในคนสูบบุหรี่สูง กว่าไม่สูบ 2-3 เท่า 3. ด้านภูมิคุ้มกัน การสูบบุหรี่มีผลให้เม็ดเลือดขาว (polymorphonuclear leukocyte) ทาหน้าที่ในการทาลายเชื้อแปลกปลอมในร่างกาย ลดลง สัดส่วน CD4/CD8 T lymphocyte ลดลง และ IgA, Ig G ในน้าลายก็ลดลงด้วย เมื่อระบบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อบกพร่องจึง ส่งเสริมให้โรคปริทันต์อักเสบมีความรุนแรงกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ การตอบสนองต่อการรักษาโรคปริทันต์อักเสบ ในกลุ่ม ผู้สูบบุหรี่ ผลการศึกษาการตอบสนองต่อการรักษาโรคปริทันต์ทั้ง รูปแบบการขูดหินปูน เกลารากฟัน และการรักษาโดยวิธีศัลย์ ปริทันต์ร่วมด้วย พบว่า ภายหลังการขูดหินปูนและเกลารากฟัน วารสารทันตภูธร
43
ในโลกที่น่ารักของพวกเราใบนี้ มี ทันตบุคลากรหลาย ประเทศช่ ว ยผู้ ป่ ว ยเลิ ก บุ ห รี่ ส าเร็ จ กั น มาแล้ ว และได้ รั บ การ ยอมรับอย่างมาก เช่น โครงการ ”3 minutes can save life” ของสมาคมทันตานามัยในประเทศสหรัฐอเมริกา สมาคมทันต แพทย์ น านาชาติ ( FDI ) ได้ ป ระกาศบทบาทสนั บ สนุ น การ ควบคุมยาสูบของวิชาชีพทันตแพทย์ในทุกวิถีทางเลยทีเดียว จึง อยากเชิญชวนพวกเราร่วมเฉลิมฉลองวันงดสูบบุหรี่โลกร่วมกับ วิชาชีพสุขภาพอื่นๆ ขอรับสื่อและข้อมูลเกี่ยวกับการช่วยผู้ป่วย เลิกบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม ได้ที่กลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคด้านทันต สุขภาพ สานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย … ถ้าพวกเรามีใจ ช่วยผู้ป่วย “บุหรี่เลิกยาก แต่เลิกได้” แน่นอน ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วายร้าย หวาน........เย็น ทพญ. ปิยะดา ประเสริฐสม ผู้จัดการเครือข่ายรณรงค์เพื่อเด็กไทยไม่กินหวาน
“ร้อนๆๆๆ จริงๆ ขออะไรเย็นๆซักแก้ว” ประโยคนี้ ค งติ ด ปากหลายคนที่ ใ นช่ว งฤดู ร้อนนี้ อะไรซั ก แก้ ว ที่ เ รามั ก จะหามาดื่ ม เพื่ อ ดั บ ร้ อ นและแก้ กระหาย มั ก ไม่ ใ ช่ “น้ าเปล่ า ” ที่ เ ย็ น แต่ เ รามั ก มองหา น้าหวาน น้าผลไม้ น้าปั่น ที่นอกจากเย็นแล้ว ยังหวานด้วย ซึ่งทาให้รู้สุก อร่อย ชื่นใจ เครื่องดื่มที่เราดื่มกันทุกวันหลายคนคงทราบดีว่า มี น้าตาลเป็นส่วนประกอบสาคัญ นอกเหนือจากน้า ดังนั้น จึงชัดเจนว่า เครื่องดื่มที่กลายเป็นแหล่งหลักของน้าตาลที่ เราได้รับในหนึ่งวัน การประมาณการการบริดภคน้าตาล ของคนไทย ซึ่งติดตามโดยเครือข่ายเด็กไทยไม่กินหงานเรา พบว่า คนไทย กินน้าตาลที่เป็น added sugar ในรูปแบบ ต่างๆ เฉลี่ยประมาณ 24 ช้อนชา/วัน (ข้อมูล ณ. ปี 2556) ซึ่งเป็นสถานการณ์น่าเป็นห่วงอย่างยิ่ง หลายคนอาจจะคิ ด ว่ า เราไม่ มี ท างกิ น น้ าตาล ได้มากถึงขนาดนั้นได้เลยในวันหนึ่ง แต่อันที่จริง น้าตาลถูก เติมเข้ามาในอาหารและเครื่องดื่มที่เราบริโภคในแต่ละวัน
วารสารทันตภูธร
44
โดยเราไม่รู้ตัว นอกเหนือจากที่เราเติมหรือปรุงด้วย ตัวเอง เช่น น้าตาลในเครื่องดื่มสาเร็จรูป อย่างน้าอัดลม น้า ผลไม้ ชาเขียว น้าปั่นที่เราซื้อตามร้อนค้า กาแฟสด น้าหวาน ฯลฯ หากเป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปจากภาคอุตสาหกรรม จะมีการระบุปริมาณน้าตาลเป็นส่วนประกอบให้ แต่จะมีซัก กี่ ค นที่ อ่ า นก่ อ นซื้ อ หรื อ ดื่ ม ซ้ าร้ า ยกว่ า นั้ น อี ก ถ้ า เป็ น เครื่ องดื่มที่ช ง ผสม ปั่นเป็ นแก้ว ขาย เราไม่ทราบเลยว่ า ผู้ขายใส่น้าตาล นม ครีมเทียม น้าเชื่อมเท่าใด คงได้เพียงลิ้น ของตัวเองในการบอกว่า หวานมาก หรือหวานน้อยเท่านั้น ข้อมูลจากการอ่านรายละเอียดส่วนประกอบสาคัญ (หาก เพียงคุณจะดูซักนิ ดก่อนซื้อหรือดื่ม) ทาให้เราทราบได้ว่า เครื่องดื่มสาเร็จรูปมีน้าตาลมากเพียงใด ตัวอย่างง่ายๆ ชาเขียวหนึ่งขวด 420 มิลลิลิตร ระบุ ส่วนประกอบสาคัญว่า ดังนี้
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ข้อมูลจากการอ่านรายละเอียดส่วนประกอบสาคัญ (หากเพียงคุณจะดูซักนิดก่อนซื้อหรือดื่ม) ทาให้เราทราบได้ ว่า เครื่องดื่มสาเร็จรูปมีน้าตาลมากเพียงใด ตัวอย่างง่ายๆ ชาเขียวหนึ่งขวด 420 มิลลิลิตร ระบุส่วนประกอบสาคัญว่า ดังนี้ หากดูเผินๆจะเห็นมีส่ว นประกอบน้ าตาล (ซูโ ครส) 3.5% หมายถึง มีน้าตาล 3.5 กรัมใน 100 มิลลิลิตร ในขวด นี้จึงมีน้าตาล 14.7 กรัม หรือ คิดเป็นน้าตาล 3.7 ช้อนชา แต่ในความเป็นจริง ส่วนประกอบอื่นได้แก่ ฟรุกโตส น้าผึ้ง ก็ คื อ น้ าตาลเช่ น กั น ซึ่ ง คนทั่ ว ไปจะไม่ ท ราบ น้ าผึ้ ง เป็ น เหมื อ นน้ าเชื่ อ มธ รรมช าติ ที่ มี น้ าตาลซู โ ครส เป็ น ส่ ว นประกอบหลั ก มี น้ าและสารเจื อ ปนอื่ น ๆอยู่ เ พี ย ง เล็ กน้อย ส่ ว นน้ าตาลฟรุกโตสเป็น น้ าตาลที่มีความหวาน มากกว่า น้าตาลซูโครส ทาให้บริษัทอุตสาหกรรมมักนิยมใช้ เพราะใช้ในปริมาณที่น้ อ ยกว่า ได้ 9.5% ของฟรุกโตสใน เครื่องดื่มขวดนี้ จึงเท่ากับน้าตาล 40 กรัม หรือ 10 ช้ อนชา แล้วมีน้าผึ้งอีก หากเราดูรายละเอียดจะทราบว่าเครื่องดื่มนี้ มีน้าเป็นส่วนประกอบหลัก ที่เหลือนอกนั้นคือ น้าตาล ใน ช่องของคุณค่าโภชนาการ คือ ให้พลังงานเพียงอย่างเดียว 220 กิโลแคลลอรี่ ซึ่งพลังงานนี้ คือมาจากน้าตาลทั้งหมด คิดย้อนกลับ จะได้เป็นปริมาณน้าตาล 55 กรัม หรือ 13.75 ชัอนชานั่นเอง (น้าตาล 1 กรัมให้พลังงาน 4 กิโบแคลอรี่) และได้ของแถมเป็นคาเฟอีน ถึง 37 มิลลิกรัม
กระแสการโฆษณาเพื่อกระตุ้นให้คนซื้อหาเครื่องดื่มเหล่านี้ มาบริโภคโดยไม่ทราบพิษภัยที่ซ่อนอยู่ข้างใน ทาให้อัตรา การบริ โ ภคเครื่ อ งดื่ ม เหล่ า นี้ เ พิ่ ม ขึ้ น สู ง มากอย่ า งรวดเร็ว การกินน้าตาลเกินพอดีเป็นที่มาของโรค NCD ซึ่งเป็นปัญหา และภาระโรคอย่างมากของประเทศ นอกจากผลที่เห็นในเร็ววัน ทั้งน้าตาลซูโครสและฟ รุคโตสสามารถทาให้เกิดโรคฟันผุและโรคอ้วนได้ แต่กลไกมี ความแตกต่างกันในกรณีโรคอ้วน เนื่องจากน้าตาลซูโ ครส ถูกย่อยและดูดซึมเข้าสู่ กระแสเลื อดทางกระเพาะอาหาร และลาไส้ จะทาให้ร่างกายรับรู้การได้รับอาหารและกลไกส่ง สัญญาณเตือนให้รู้ว่าได้รับอาหารและทาให้อิ่ม ในขณะที่ น้าตาลฟรุคโตสจะไม่มีการดูดซึมทางลาไส้แต่จะถูกส่ ง ไป สะสมที่ ตั บ ในรู ป ของไกลโคเจน และจะถู ก ย่ อ ยสลาย ภายหลั ง เมื่ อ ร่ า งกายต้ อ งการพลั ง งาน จึ ง ท าให้ ใ น กระบวนการกินอาหาร จะไม่เกิดกลไกการส่งสัญญาณใน เรื่องความอิ่ม จะทาให้สามารถกินอาหารในขนาดที่ใ หญ่ มากขึ้นเรื่อยๆ น้าตาลฟรุกโตสพบมากในเครื่องดื่ม ชาเขียว น้าผลไม้แต่งสี และยังพบเป็นส่วนประกอบใน ขนมปังอีก ด้วย น้าตาลทุกชนิด ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการ นอกจาก ให้พลังงานเท่านั้น การได้พลังงานจากเครื่องดื่มจึงเป็นการ ได้ พ ลั ง งานที่ เ ป็ น ส่ ว นเกิ น จากที่ เ ราจ าเป็ น ต้ อ งได้ รั บ ทางออกที่สาคัญคือ การมีกิจกรรมทางกาย ได้แก่การออก กาลังกายซึ่ง หากคุณเพียง ดื่ม น้าอัดลม 1 กระป๋อง ซึ่งให้ พลังงาน 140 กิโลแคลอรี่ คุณจะต้องออกกาลังกายด้วยการ เดินเร็ว 30นาที ขี่จักรยาน 23 นาที หรือขึ้นบันได้มากถึง 280 ขั้นทีเดียว อ่านถึงบรรทัดนี้แล้ว “ร้อนๆๆๆ ขอน้าเย็นๆซักแก้ว” อ๊ะอ๊ะ น้าเปล่านะจ๊ะ
วารสารทันตภูธร
45
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
การประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพ รศ.ทญ.ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย งานสร้างเสริมสุขภาพเป็นกระบวนการที่มุ่ง ไปสู่การพัฒนาสุขภาพของประชาชน ซึ่งประกอบด้วย ขั้ น ตอนและรู ป แ บบ กา รด า เนิ นง าน ต่ า งๆ ที่ หลากหลายที่ จ ะมาช่ ว ยเสริ ม ให้ ก ารด าเนิ น งานนั้ น นาไปสู่ เป้าหมายปลายทาง คือ สุ ขภาพที่ดีขึ้นได้ใน ที่สุด ดังนั้นลักษณะของงานสร้างเสริมสุขภาพจึง 1) เป็นงานระยะยาว 2) ประกอบด้วยองค์ประกอบ หรือโครงการย่อยต่างๆ ด้วยลักษณะดังกล่าว การประเมินผลความสาเร็จของโครงการสร้างเสริมสุขภาพ “แต่ละโครงการ” จึงไม่จากัดอยู่เฉพาะการใช้ ตัวชี้วัดในรูปแบบที่คุ้นเคยโดยทั่วไป เช่น วัดโรค ความรู้ พฤติกรรม ที่เปลี่ยนไป การประเมินตามวิธีการทดลองแบบสุ่มที่มีกลุ่ม ควบคุม (Randomised Controlled Trial: RCT) ที่ถือว่าเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการประเมินประสิทธิภาพของการรักษาทางคลินิก (เช่น แบ่งผู้ป่วยแบบสุ่มเป็นกลุ่มที่ได้รับ และไม่ได้รับการรักษา แล้ววัดผลเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม) ไม่ใช่วิธีที่เหมาะสม และไม่ ตรงประเด็นหลักของการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพคือ การแสดงให้เห็น “การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในกระบวนการที่จะมุ่งไปสู่การมี สุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งหมายถึงการเกิดขึ้นขององค์ประกอบต่างๆ และ ในลาดับขั้นตอนต่างๆ ที่จะผลักดันไปสู่การพัฒนาสุขภาพ ” นั่นเอง Nutbeam (1998) พัฒนาแบบจาลองการประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพขึ้น ซึ่งเป็นกรอบแนวคิดที่ครอบคลุมการ ประเมินกิจกรรมและผลลัพธ์ในรูปแบบหลากหลายต่าง ๆ ที่สามารถเกิดขึ้นได้ในกระบวนการของงานสร้างเสริมสุขภาพ โดยแบ่ง บทบาทของบุคลากรเป็น 3 ประเภท (แนวนอน) และแบ่งผลลัพธ์ของการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพเป็น 3 ระดับ (แนวตั้ง) บทบาทหลักๆ ของบุคลากรแบ่งได้เป็น 3 ประเภท (แนวนอน) ได้แก่ 1.
Educate (สอน) บุคลากรมุ่งตรงไปที่เป้าหมายโดยตรง คือประชาชน/บุคคล ที่ต้องการให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
2. Facilitate (เอื้ออานวย) เป้าหมาย คือ ภาคประชาคม ที่จะร่วมกันผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องใดๆ ในชุมชน บุคลากรเข้าร่วมในกระบวนการผลักดันนั้นแบบ “ไม่ชี้นา” อันนี้เข้าข่ายการทางานแบบชุมชนมีส่วนร่วมที่คุ้นหูกัน ไปจนถึงการร รรงค์ (campaign) ซึ่งเป็นการสร้างกระแสในภาคประชาคม วารสารทันตภูธร
46
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
3. Advocate (ผลักดันให้เกิด) เป้าหมายคือผู้มีอานาจ ผู้ถือนโยบาย บุคลากรมุ่งตรง “ชี้นา” ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับ นโยบาย กฎระเบียบ ข้อตกลงในชุมชน/สังคมนั้น
ที่มา: Modified from Nutbeam (1998) ผลลัพธ์ของการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ 3 ระดับ (แนวตั้ง) 1. ผลลัพธ์ของงานสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion outcomes) จากการดาเนินการของบุคลากร ใน 3 ลักษณะที่กล่าวแล้วข้างต้น ผลลัพธ์ในขั้นแรกที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น - เกิดความรู้ ทักษะในการประกอบพฤติกรรมสุขภาพ (จากการที่บุคลากรดาเนินการโดยตรงที่กลุ่มเป้าหมาย) - เกิดกระแสสังคม เกิดกิจกรรมร่วมกันในภาคประชาชน เพื่อผลักดันให้เกิดสิ่งใดสิ่งหนึ่งในชุมชน (จากการที่บุคลากรเข้าร่วม ดาเนินการกับภาคประชาคม) วารสารทันตภูธร
47
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เช่น O เกิดความสนใจหรือเกิดกระแสในภาคประชาคม เช่น ในกลุ่มแม่ว่าทาอย่างไรจึงจะสามารถแปรงฟันให้ลูกของตัวเอง ก่อนนอนได้ ในกลุ่มผู้ดูแลเด็กว่าทาอย่างไรจึงจะไม่ให้พ่อแม่ซื้อขนมให้เด็กติดตัวมาศูนย์เด็กได้ ในกลุ่มอสม.ว่าทาอย่างไรจึงจะ ลดการบริโภคข้าวเหนียว น้าหวาน น้าอัดลมในชาวบ้านโดยเฉพาะผู้ที่เป็นเบาหวานได้ ในกลุ่มชาวบ้าน ว่าทาอย่างไรจึงจะลด ขยะในชุมชนลงได้ O จากกระแสก็จะเกิดเป็นกิจกรรมของชุมชน เช่น เกิดการประชุมกลุ่มแม่ของเด็กเล็ก ผู้ดูแลเด็ก อสม. ชาวบ้าน ถึง วิธีการที่จะนามาใช้เพื่อให้เกิดผลตามที่กลุ่มตนต้องการ O ได้วิธีการ ข้อตกลงร่วม กฎระเบียบร่วมกันจากการหารือของกลุ่ม ในการที่จะทาให้แม่สามารถแปรงฟันให้ลูกได้ พ่อ แม่ไม่ซื้อขนมติดตัวเด็ก ชาวบ้านลดการบริโภคข้าวเหนียว น้าหวานน้าอัดลม คนในชุมชนลดการทิ้งขยะและมีการจัดการกับ ขยะจากแต่ละครัวเรือน - เกิดนโยบายด้านสุขภาพ (จากการที่บุคลากรดาเนินการโดยตรงกับผู้ถือนโยบาย) เช่น O หัวหน้าครูศูนย์เด็กเล็กและอบต. มีนโยบายศูนย์เด็กเล็กปลอดขนม O ผู้ใหญ่บ้านมีนโยบายลดการดื่มน้าอัดลมในชุมชน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ O ผู้อานวยการโรงเรียนมีนโยบายโรงเรียนปลอดน้าอัดลม น้าหวาน O ผู้ใหญ่บ้าน อบต. มีนโยบายลดขยะในชุมชน 2. ผลลัพธ์ทางสุขภาพระยะกลาง (Intermediate health outcomes) พฤติกรรมของบุคคล ปัจจัยทางสังคมสิ่งแวดล้อมดีขึ้น เช่น O จานวนแม่ที่แปรงฟันให้เด็กมีมากขึ้น O จ านวนเด็ ก รั บ ประทานขนมขยะ ปริ ม าณ/ความถี่ ข องการ รับประทานขนมขยะของเด็กในศูนย์เด็กเล็กน้อยลง O ชาวบ้านรับประทานน้าหวานน้าอัดลมลดลง O ไม่มีน้าอัดลมแจกในงานประชุมของชุมชน และในชมรมผุ้สูงอายุ O จานวนขนมทางเลือกที่ขายในร้านค้าเพิ่มขึ้น
วารสารทันตภูธร
48
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
O ความถี่ของการจัดผลไม้เป็นอาหารว่างให้กับเด็กนักเรียนมีมากขึ้น ไม่มีน้าอัดลมขายในโรงเรียน น้าหวานที่ขายในโรงเรียนมีความหวานลดลง O มีการจัดตั้งธนาคารขยะในชุมชน เปิดรับขยะจากครัวเรือนทุกๆ วันพระ 3. ผลลัพธ์ทางสุขภาพและสังคม (Health and social outcomes) โรคลดลง คุณภาพชีวิต สุขภาพดีขึ้น เช่น ฟันผุลดลง เด็กปวดฟัน น้อยลง เด็กเคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติเพราะปวดฟันมีลดลง ชาวบ้านรู้สึกว่าสุขภาพช่องปากของตนเองดีขึ้น ดังนั้น ในการประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพ “แต่ละโครงการ” ผู้ดาเนินงานจะต้องมองให้ออก (และเขียนออกมาให้ ได้) ว่าสิ่งที่ตัวเองทาอยู่ สิ่งที่เกิดขึ้นแล้วในโครงการนั้นๆ อยู่ในขั้นตอนใด (แนวตั้ง) และเป็นองค์ประกอบที่จะมีส่วนสาคัญ อย่างไร (แนวนอน) ในกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพที่มุ่งสู่สุขภาพที่ดีขึ้น ในท้ายที่สุด และหากเข้าใจกระบวนการสร้างเสริม สุขภาพตามแบบจาลองดังกล่าว ก็จะเห็นว่าการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพแต่ละโครงการเป็นการต่อยอดโครงการเดิมไป เรื่อยๆ ในการที่จะ 1) ผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ในระดับที่สูงขึ้น (พัฒนางานในแนวตั้ง) 2) สร้างองค์ประกอบย่อยอื่นๆ ขึ้น ที่จะช่วย ส่งเสริมให้การดาเนินงานในภาพรวมมุ่งไปสู่สุขภาพที่ดีขึ้น (พัฒนางานในแนวนอน) โครงการแต่ละโครงการเปรียบเสมือนชิ้นจิ๊ก ซอว์ที่จะนามาต่อเข้าด้วยกันในการสร้างสุขภาพที่ดีให้เกิดขึ้นได้ในที่สุด อย่างไรก็ตาม แต่ละชิ้นจิ๊กซอว์นั้นก็สามารถเสร็จสิ้นและ แสดงผลลัพธ์ของตัวมันเองออกมาได้ ท้ายที่สุด ฝากไว้ค่ะว่า ทางานก็ต้องประเมินผล อย่า (สักแต่) ทาไปเรื่อยๆ และการประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพ ไม่ได้จากัดอยู่แค่รูปแบบที่คุ้นชิน คิดนอกกรอบเดิมๆ แล้วจะสามารถประเมิน “ผลสาเร็จ” ของแต่ละโครงการออกมาได้ อ้อ! แล้วก็อย่าเพิ่งรีบเปลี่ยนที่ทาโครงการไปเรื่อยๆ แบบไร่เลื่อนลอย ทาทั้งต่อยอดในแนวตั้ง และต่อกิ่งในแนวนอน เพื่อผลักดันไปสู่ เป้าหมายของโครงการใหญ่ที่หวังไว้ และแน่นอนค่ะ นี่คือบทบาทของนักทันตสาธารณสุข ที่ไม่เฉพาะอยู่แค่การ “สั่ง” และ “สอน” แบบที่คุ้นเคยกัน เอกสารอ้างอิง 1. Nutbeam D (1998): Evaluating health promotion – progress, problems and solutions. Health Promotion Int 13: 27-44. 2. Watt R, Fuller S, Harnett R, Treasure E, Stillman-Lowe C (2 0 0 1 ) : Oral health promotion evaluationtime for development. Community Dent Oral Epidemiol 29: 161-6.
วารสารทันตภูธร
49
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
หนึ่งสตางค์...ที่มีความต้องการเป็นพิเศษ ตอน...การเดินทางที่แสนพิเศษ... จารีย์
วันแรกของการ “ฝึกพูด” เริ่มขี้นด้วยความไม่ให้ ความร่วมมือของสตางค์ สิ่งหนึ่งที่เป็น “ลักษณะเฉพาะ” ของกลุ่ มเด็กที่มีความต้องการพิ เศษนี้ คื อ การไม่ตอบรั บ และตอบสนองกับสิ่งที่ไม่คุ้นเคย และคนแปลกหน้า ถ้ามี ภาวะในเรื่ อ งอารมณ์ ร่ ว มด้ ว ยนั้ น จะแสดงพฤติ ก รรม ก้าวร้าว มีทั้งทาร้ายตนเอง หรือทาร้ายผู้อื่น อย่างเบาสุดก็ คื อ กรี๊ ด ร้ อ งแบบยาวนานและต่ อ เนื่ อ ง แต่ ส าหรั บ กรณี สตางค์ เราเรียกกันว่า “ทาตัวเป็นลูกลิง” เกาะคนที่พาไป แน่ น และไม่ ว่ า จะท าอย่ า งไร จะแกะจะดึ ง จะรั้ ง ก็ ไ ม่ สามารถพาสตางค์ลงมาจากตักได้ และสิ่งหนึ่งที่อยากจะ บอกและอยากให้ ครอบครัวที่มีเด็กพิเศษทุกครอบครัว ได้ รับรู้ การ “ฝืนบังคับ” ที่จะให้พวกเขาเป็นอย่างที่เราอยาก ให้เป็น หรือที่เราคิดว่าดีเหมาะสม ในเวลาที่ไม่เหมาะสม หรือไม่พร้อมนั้นจะเป็นการสร้าง “สภาวะอารมณ์ใหม่” ให้ เด็กเหล่านี้ได้เรียนรู้เพิ่มขึ้น จริงอยู่พวกเขาสมควรเรียนรู้จัก อารมณ์และจัดการกับอารมณ์ได้ แต่ต้องอยู่ในภาวะที่เขา “พร้อม” ที่จะเรียนรู้ก่อน หนึ่งเหตุการณ์ และหนึ่งเรื่องจึง จะเป็นเรื่องที่เขา “ได้เรียนรู้จนเข้าใจได้” ...ผู้เขียนไม่ปล่อยให้ คุณครูจุ๋ม ครูฝึกพัฒนาการ แยกผู้ปกครองออกจากเด็ก เพื่อจะได้ทาความคุ้น เคยกับ เด็ก แต่ “เราอยู่ด้วยกัน” ในขั้นตอนการทาความคุ้นเคย... ผู้เขียนจะปลีกตัวออกมาเมื่อเห็นว่าสตางค์ ให้ความสนใจ วารสารทันตภูธร
50
กับของเล่น หรือกิจกรรมอื่นจนยอมลงไปจากตักเองเท่านั้น เดือนละครั้ง ครั้งละ 45 นาที ในปีแรก สตางค์ใช้เวลาทา ความคุ้นเคยกับครูผู้ฝึก มากกว่าจะได้ฝึกพูดอะไรเป็นจริง เป็นจัง ปัญหาที่เรามองเห็นไม่ตรงกันในปีแรกคือ ผู้เขียน มองว่าสตางค์ออกเสียงอะไรก็ได้ ที่ อยากจะออกเสียง แต่ คุณครูจุ๋มมองว่า การสื่อสารต้องรู้จัก “สาร” ที่จะสื่อด้วยว่า คื อ อะไร สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ ด็ ก พิ เ ศษ ในกลุ่ ม ออทิ ส ติ ก มี คื อ การ “รั บ สารที่ แ ตกต่ า ง” เขาต้ อ งเรี ย นรู้ สิ่ ง นั้ น ๆ ก่ อ นที่ จ ะ “รู้จัก” ดังนั้น การที่สตางค์ยอมรับการ “อยู่กับครูจุ๋ม” แม้ จะมี “งี่เง่า” บ้าง เป็นการเปิดตัวสตางค์ออกไปสู่โลกแห่ง ความจริงภายนอก นอกเหนื อจากคนในครอบครัว คนที่ สตางค์รู้จักคุ้นเคย จะมีอีกคนเพิ่มเข้ามา และสตางค์เรียนรู้ ที่จะ “รู้จักคนอื่น” นอกเหนือจากคนในครอบครัวได้ แม้จะ ไม่ดีนัก แต่อย่างน้อย “คนอื่น” นี้ก็คือก้าวเล็ก ๆ ของเด็ก คนหนึ่งที่จะเรียนรู้โลกกว้าง แบบฝึกหัด ที่ครูแนะนามาแต่ ละเดือนนั้น จึ งไม่ใช่สิ่ งที่จ าเป็น ในการฝึ กฝน เท่ากั บ น า “การรู้จักการเรียนรู้” มาใช้ต่อยอดที่บ้าน ผู้เขียนเริ่มจากสิ่ง ที่เขาทาได้แต่ไม่สื่อสาร เป็นสิ่งที่เขาต้องสื่อสารถึงจะได้มา ...ทุกสิ่งนั้นเริ่มจากสิ่งที่เขาคุ้นเคย ทาได้ด้วยตนเอง เพียงแต่เราจัด “วิธี” เสียใหม่ เขาจะไม่ได้ ถ้าไม่ “สื่อสาร” ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เขาก็จะเรียนรู้จากสิ่งต่าง ๆ ที่เขารู้จักแล้วนั่นเองว่านี่คือ อะไร และขยายความหมายออกไป.. อย่าคาดหวังว่าเขาจะพูดได้เป็น ประโยค สื่อสาร ออกมาได้ถูกต้อง และอย่าพยายามทาให้เขาเป็นอย่างที่หวัง ผู้เขียนมองว่า รู้จักพูด รู้จักสาร รู้จักความหมาย (ความหมายต้ อ งเอาไว้ ท้ า ยสุ ด เสมอ) และเป็ น ไปตาม พฤติ ก รรมการเรี ย นรู้ ข องเด็ ก แต่ ล ะคน เราจะเรี ย นรู้ บางอย่างที่สามารถต่อยอดจากสิ่งที่เขารู้ไปได้ไม่มีวันหมด สตางค์ เ ริ่ ม ออกเสี ย ง “บอก”ในสิ่ ง ที่ เ ขาต้ อ งการได้ ใ น ชีวิตประจ าวันแล้ ว นั่น คือความส าเร็ จที่น่าพอใจส าหรั บ ผู้เขียนแล้ว.. ภารกิจต่อไปก็คือ...การเดินอีกก้าวในโลกใบใหม่ ของสตางค์...ผู้เขียนใช้เวลาตอนเย็น..อุ้มบ้ าง จูงบ้าง พา สตางค์ไป “สังสรรค์” ที่สวนสาธารณะของสมาคมที่อยู่ใกล้ บ้าน ณ ที่นั้นมี “เครื่องเล่น” ของเด็ก ไว้รองรับ “กิจกรรม สันทนาการ” ของเด็ก ๆ ในชุมชน การออกไปกับป้าเป็น เรื่ อ งสนุ ก ส าหรั บ สตางค์ แต่ ก ารไปเจอกั บ คนอื่ น นอกเหนือจากป้า เป็นเรื่องไม่น่าสนุก สิ่งหนึ่งที่ครอบครัว เด็ ก พิ เ ศษทุ ก ครอบครั ว ต้ อ ง “ฝึ ก หั ด และมี ใ ห้ ม าก” คื อ ความอดทนให้เป็น และใจเย็นให้ได้ แม้สตางค์จะอายุ 3 ขวบกว่าแล้ว และเป็นเด็กที่สมบูรณ์ แต่การที่จะต้อง “อุ้ม กระเตง” หรือจะพา “ขี่หลัง” ไปสวนสนุก แทนการ “ยอม เดินเอง” และ “งี่เง่า” ก็ต้องทาให้ได้ บางวันอาจจะเหมือน พูดกับดินฟ้าอากาศ ที่ไม่มีเสียตอบสนอง แต่ทุก ๆ คาที่เรา ชี้ชวนให้เขาดู ข้างทาง มีอะไร เขาก็จะเก็บเกี่ยวสิ่งเหล่านั้น ไว้ และเรียนรู้ไปกับการออกเดินทาง
สนุกทุกเย็น เพื่อ “เล่นเครื่องเล่น” ไม่ว่าจะเป็นกระดานลื่น ไม้กระดก ม้าหมุน ราวโหน ชิงช้า ให้เขารู้จักเล่นกับตัวเขา เองและเครื่องเล่น และพอเขาคุ้นเคยและรู้สึกมั่นใจ เขาจะ เปิดตัวเองเล่นกับเด็กคนอื่น....และสิ่งหนึ่งที่อยากจะบอก (หลายบอก) ผ่านจากประสบการณ์ อย่าอาย และรู้สึกไม่ กล้า ที่จะบอกใคร ๆ ในสังคมรอบตัวว่า “คนของเรา” เป็น อย่างไร แบบไหน เพราะแม้เราจะไม่ได้รับความเข้าใจใน สถานการณ์ อย่ า งน้ อ ยเราก็ ไ ด้ รั บ “ความร่ ว มมื อ ” เป็ น อย่างดีจากผู้ปกครองเด็กคนอื่น ๆ และผู้ใหญ่ในระแวกนั้น ที่เราเรียกกันว่า “เพื่อนบ้าน” นั่นเอง แม้จะต้องอธิบาย “ซ้า ๆ และซ้าซาก” กับเรื่องเดิม ๆ อาการเดิม ๆ ตอบคาถามที่ทิ่มแทงใจกับคาว่า “คล้ายกับ ปัญญาอ่อน” หรือเปล่า ก็ต้อง “ทา” โลกจะยอมรับเรา ก็ ต่อเมื่อเรายอมรับในสิ่งที่เรามีเราเป็นก่อน....ดังนั้น “สังคม ในบ้านและรอบบ้าน” สังคมเล็ก ๆ ที่เราอยู่นั่นเอง ไม่มีบ้าน ไหนในซอยที่ไม่รู้จัก “สตางค์” จากที่ก้มหน้า “ซุกไหล่ป้า” หรื อ “เกาะเป็ น ลู ก ลิ ง ซุ ก หว่ า งขา” ก็ จ ะเงยหน้ า มองคน เรียกชื่อ และพัฒนาการเป็นการ “ยิ้มตอบ” แม้จะไม่สื่อสาร ตอบก็ตาม อย่างน้อยก้าวที่สองของโลกภายนอกสตางค์ก็ พร้อมแล้วที่จะเดินก้าวต่อไปแล้ว
ผู้เขียนมองว่า “ก้าวแรก” ที่ให้ความร่วมมือ ดีกว่า จะไม่มีสักก้าวเลย สตางค์จะเรียนรู้เองว่าสตางค์ต้องไปสวน วารสารทันตภูธร
51
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ผู้ เ ขี ย นปรึ ก ษากั บ แม่ ข องสตางค์ ในการที่ จ ะน า สตางค์ เ ข้ า เรี ย น เป้ า หมายแรกที่ เ ราต้ อ งมองร่ ว มกั น คื อ ไม่ใช่ไปฝึกการอ่านเขียนเรียนรู้ แต่ไปฝึกการอยู่ร่วมกับผู้อื่น นอกจากครอบครัว ฝึกการใช้ชีวิ ต การปรับตัว การถูกสอน โดยผู้อื่นที่ไม่ใช่คนในครอบครัว เรียนรู้สิ่งอื่นที่แตกต่างไป จากสั ง คมบ้ า น สั ง คมละแวกบ้ า น เราได้ ต กลงเลื อ ก “โรงเรียนวัดแถวบ้าน” ที่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่สะดวกต่อ การไปรับ-ส่ง ก้าวต่อไปของสตางค์คือการ “ไปโรงเรียน” สตางค์ต่างจากพี่ชายคนโต อัฐ เริ่มเรียนในอายุเท่ากันกับ สตางค์ แต่เป็นการเรียนเพื่อ “รู้จักอ่านเขียน” อัฐ จึงเริ่มต้น ที่โรงเรียนอนุบาลที่มี “แผนกเตรียมอนุบาล” ที่ราคาแพง เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าเรียนอนุบาลในปีต่อไป แต่ แม่ของสตางค์ต้องยอมรับความจริงว่า สตางค์แตกต่าง ไม่ สามารถไปเรี ยนแบบเตรี ย มความพร้ อมในการเรี ย นรู้ ไ ด้ ดังนั้นจึงต้องมีที่ๆ ไม่เน้นการเรียนรู้แต่เป็นการ “ฝากดูแล” แทน และต้องเป็นที่ๆ ไม่ต้องใช้ “ระเบียบกฎเกณฑ์” มาก นัก ที่ส่งแล้วผู้ปกครองต้องกลับ หรือได้แค่ยืนเกาะรั้วดู วัด มีที่กว้างขวาง และเป็นที่สาธารณะ ที่คนไปส่ง จะใช้เวลาอยู่ ตรงนั้นได้ไม่จากัด สตางค์จะร้องไห้เป็นธรรมดาของเด็กไปเรียนทุกคน แต่สตางค์ร้องไห้และไม่ให้ความร่วมมือและปิดตัวเอง ก้าว นี้ของสตางค์ต้องอาศัยความร่วมมือของคนอื่นอย่างแท้จริง ผู้ เขียนต้องคุย และอธิบ าย สิ่ งที่ส ตางค์เป็ น และสิ่ ง ที่ เ ป็ น สตางค์ ให้กับครูพี่เลี้ยงฟัง และทุกคนที่ไปส่งสตางค์ ไม่ว่า จะเป็นแม่ของเขา ยาย หรือแม้แต่ผู้เขียนเอง ต้องมีเวลา “อยู่ตรงนั้น ” ให้สตางค์ได้เห็น จนกว่าครูจะ “จัดการได้” จึงปลีกตัวกลับมาทากิจกรรมของตนเองตามปกติ....เวลา ความอดทน และการมองเห็ นเรื่องเล็ก ๆ น้อยแต่ล ะวันที่ สตางค์ทาได้คือความความสุข จะทาให้การมี “คนพิเศษ” วารสารทันตภูธร
52
อยู่ในบ้านไม่ใช่ “ภาระ” ไม่ใช่ “ปัญหา” แต่เป็นสิ่งพิเศษที่ ทาให้บ้านหนึ่งหลังมีเรื่องราวที่แปลกแตกต่างไปจากหลังอื่น และเพิ่มเติมเป็นความสุข สิ่ ง ที่ ไ ด้ เ ห็ น จากพั ฒ นาการคื อ สตางค์ มี เ พื่ อ นที่ สตางค์ยินดีที่จะรู้จักเป็นพิเศษหนึ่งคน และคุณครูที่สตางค์ ยอมใช้ เ วลาด้ ว ย และการไปโรงเรี ย น ทุ ก เช้ า และเย็ น .. สตางค์จะเป็นกระจกให้คุณครูยืนเวรหน้าประตู กับคาว่า “หวัดดีครับ” สตางค์จะยืนพูดอยู่อย่างนั้นจนกว่าครูจะหัม มามองและพูดว่า “สวัสดีครับ” แล้วจะเดินไปหาเพื่อน ยิ้ม ให้เพื่อนคนพิเศษ ยอมให้ครูประจาห้องพาไปทากิจกรรม การกลับบ้านคือการ “เรียนรู้สิ่งรอบตัวและเส้นทาง” เราจะ ใช้เวลาตรงนี้ให้สตางค์ “พูดบอกทาง” ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะ ถึงบ้าน และด้วยเส้นทางเดิมกับของที่พบเห็นเดิมๆ เราก็ เติมแต่งเรื่องต่างๆ ของสิ่งต่างๆ เข้าไป การไปโรงเรียนของสตางค์ในวันเริ่มต้นการเดินทาง ชีวิตบนโลกกว้างจึงเป็นการเริ่มต้นด้วยความสุข......ทั้งสังคม บ้าน สังคมเพื่อนบ้าน และสังคมโรงเรียน เป็นสิ่งที่อยากจะ บอกว่า...เราแค่เลือก จัดวาง และสร้างองค์ประกอบเท่านั้น ที่เหลือนั้นคือการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งของเราและของเขาและ คนรอบ ๆ ตัว หลายครั้งที่ได้มองเห็นจากการที่ได้พาสตางค์ ไปฝึกพูด กับครอบครัวที่ มีคนพิเศษอยู่ในมือ คือความไม่ อดทน ความอยากให้เป็น ความต้องการที่จะให้เป็น และ ความรุนแรงในการรับมือกับพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของ พวกเขาเหล่านั้น
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
..อยากให้รู้ไว้และท่องจาไว้....พวกเขาเหล่านี้เป็น แค่เด็กธรรมดาคนหนึ่งที่มีความต้องการที่แปลกแตกต่างไป เท่านั้น ไม่ใช่เป็นเด็กที่พิเศษจากธรรมดา พวกเขาต้องการ ความเข้าใจที่มากป็นพิเศษ แต่ปฎิบัติกับเขาอย่างกับพวก เขาเป็นคนธรรมดา เพราะเขาจะต้องเติบโตและเดิ นทาง ร่วมไปกับคนธรรมดา ๆ เช่นเรา ๆ นี้ไปด้วยตัวเขาเองใน อนาคตข้างหน้า อย่าทาให้เขาเป็นคนพิเศษ ที่โดดเดี่ยวและ แตกต่าง แต่ฝึกเขาด้วยความเข้าใจที่แตกต่างจากธรรมดา ด้วยความอดทนที่มากกว่าธรรมดา ด้วยความรักที่มากกว่า
วารสารทันตภูธร
53
ธรรมดา และเดินไปด้วยกันบนโลกธรรมดา ๆ นี้ดีกว่า...โลก แห่ ง ความเข้ า ใจส าคั ญ มากส าหรั บ เด็ ก พิ เ ศษเหล่ า นี้ . .. ไม่ เ ช่ น นั้ น ปั ญ หามากมายจะตามมา..การมี ค นพิ เ ศษกั บ ปัญหาจะกลายเป็นภาระและความทุกข์ ไม่ใช่ความสุข... ชีวิตคนพิเศษแบบสตางค์ก็เริ่มต้นเจอปัญหาเมื่อสตางค์ได้ ก้าวเข้าสู่ ...โรงเรียนตามมาตรฐานของกระทรวงศึกษา... เส้นทางนี้ไม่มีแค่ดอกไม้อย่างเดียว...เรากาลังเดินไปบนทาง ที่ มี ห นามแหลมด้ ว ยเมื่ อ เราเข้ า สู่ “ระบบสั ง คมการอยู่ ร่วมกันอย่างเต็มตัว”...
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เกร็ดความรู้ของภูธร dentist ทพญ.เมธ์ ชวนคุณากร รพ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี เกร็ดความรู้ง่ายๆ เล็กๆ น้อยๆ ไว้คอยเตือนใจตนเองอยู่เสมอ จากงานประชุมวิชาการ “Dental Management in Medically compromised Patient” (การจัดการกับผู้ป่วยทันตกรรมที่มี ปัญหาโรคทางระบบ) จัดโดย กลุ่มงานศัลยกรรมช่องปากและเม็กซิโลเฟเชียล โรงพยาบาลชลบุรี และจากประสบการณ์ที่เรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญ
การตรวจร่างกาย (Review of System) -เป็นการตรวจและซักถามอาการต่างๆ เพื่อ “ค้นหาโรค” ในกรณีที่ไม่มีประวัติและผู้ป่วย ไม่เคยพบแพทย์มาก่อน ได้แก่ โรคเบาหวาน : อ่อนเพลีย กินจุปัสสาวะ บ่อย ชาปลายมือปลายเท้า เจ็บหน้าอก อาจ มีรอยปื้นดาๆ(Acanthosis) ที่ซอกคอ ซอก แขน ซอกขา หรือใต้รักแร้ โรคหัวใจหลอดเลือด : เจ็บหน้าอก ใจสั่น หอบเหนื่อย พูดไม่ชัด แขนขาอ่อนแรง โรคเลือด : เลือดออกง่ายแต่หยุดยาก มีจาเลือดหรือจุดเลือดตามร่างกาย ปวดที่ข้อ มีเลือดออกตามไรฟัน เหงือกบวมไม่ทราบสาเหตุ โรคไต : ตัวบวม เท้าบวม อ่อนเพลีย ผิวกร้านดา ผมแห้งแตกเป็นสีแดง มักเป็นเบาหวานความดันสูง ร่วมด้วย โรคตับ : ตัวเหลือง ตาเหลือง ท้องบวมนา (ตับโต) เลือดออกผิดปกติ ดื่มสุราจัด โรคไทรอยด์ : ใจสั่น มือสั่น หัวใจเต้นเร็ว ขีร้อน อ่อนเพลีย เฉื่อยชา เบื่อ ขีหนาว ขีเกียจ ไม่อยากทาอะไร ง่วงนอน ผมร่วง อ้วน เหนื่อยง่าย วารสารทันตภูธร
54
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
การติดเชื้อจากฟัน (Odontogenic Infection) การบวมที่เกิดขึนอย่างรวดเร็ว บ่งบอกความรุนแรงของ โรคที่มากขึน vestibular space infection (การติดเชือที่บริเวณ vestibule) มักไม่ใส่ drain (แผ่นยางหรือผ้าก๊อซเย็บติดกับปากแผล เพื่อระบายหนอง) การใส่ drain ก็เพื่อระบายเลือดและหนองใน space ลึกๆ เท่านัน และต้องนัดมาล้าง แผลทุก 1-2 วัน และถอด drian ออกให้เร็วที่สุด เมื่อใช้ยาฉีดจนอ้าปากได้ให้กลับมาใช้ยากิน การรักษา Ludwig Angina (การติดเชือใน subcutaneous space 3 แห่งร่วมกันใต้กรามล่างทังหมด คือ Submandibular space (ช่องว่างใต้ ขอบขากรรไกรล่าง) 2 ข้างและ, Submental space (ช่องว่างใต้คาง) ซึ่งจะมีความเสี่ยงของการขาด อากาศหายใจ มีหลักการคือ “ จ่ายยาให้ครอบคลุมทุกเชือ” : กรณีผู้ป่วยแข็งแรงดี ใช้ PGS (gram+) ร่วมกับ Gentamycin (gram-) และ Metronidazole (anaerobe) แต่ถ้าหากผู้ป่วยภูมิคุ้มกัน บกพร่องหรือมีไข้ ให้จ่าย Augmentin/ Clindamycin, Cephalosporin, Ceph III แทน เราไม่สามารถระบายหนองใน ช่องว่างใต้ขากรรไกรล่าง (Submandibular space) ภายใต้การใช้ยา ชาเฉพาะที่ได้ เพราะไม่สามารถนา เครื่องมือเข้าไปถึงบริเวณที่ติดเชือได้ จ่ายยาปฏิชีวนะเมื่อมีการติดเชือ เฉียบพลันหรือเพื่อป้องกันการติดเชือ ก่อนทาหัตถการ ในกรณี Valvular heart disease (ลินหัวใจรั่วหรือเป็นแผล) , ใส่ อวัยวะเทียม, Neutropenia (ภาวะมีเม็ด เลือดขาวชนิด Neutrophil น้อย) , CD4 <200, FBS (ภาวะนาตาลในเลือด หลังอดอาหาร) > 200, chronic kidney stage (ภาวะไตเสื่อมเรือรัง) วารสารทันตภูธร
55
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ความผิดปกติของเลือด (Haematogenic Disorder) สังเกตภาวะซีด เหลือง มีจุดเลือดออก ฟกชา รูปร่างใบหน้าและกระดูก ซักประวัติการถอนฟัน, การ หยุดของเลือด และยาที่รับประทานเป็นประจา (ยาที่มี ผลต่อการแข็งตัวของเลือด) ได้แก่ NSAIDS, Aspirin, Plavix, Alcohol, Antibiotics, Cerebrex, naproxen, Viagra , Clopidrogel, Cilatosol etc.) ถ้าค่าเลือดผิดปกติ ให้ทดสอบใหม่อีกครัง เพราะอาจผิดพลาดจากการเก็บเลือด RBC (เม็ดเลือดแดง): ผู้หญิงมี 33% ผู้ชายมี 30% ของปริมาณเลือดทังหมด, ค่าประมาณของ Hb (ฮีโมโกลบิน)= Hct (ฮีมาโตคริต) / 3 Mean corpuscular volume (MCV) (ปริมาณเฉลี่ยของเม็ดเลือด) คือขนาดของ RBC (เม็ด เลือดแดง) จะบ่งบอก Iron Defeiciency (ภาวะขาดธาตุเหล็ก) Mean corpuscular hemoglobin (MCH) คือ ค่า ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง หากผู้ป่วยมีฮีโมโกลบินเกิน 7% และค่าความเข้มข้นของเลือดเกิน 25% จะสามารถถอนฟัน ได้โดยปลอดภัย ฟันนานมโยกจะไม่มีเลือดไหลซึมออกมาที่เหงือก ห้ามถอนฟัน ขอให้ส่งตรวจเลือดก่อน หากพบฟันแท้โยก โดยไม่มีสาเหตุของโรคที่ชัดเจน “ห้ามถอน” ให้เอ๊กซ์เรย์ก่อน อาจพบ ลักษณะจุดดาเล็กๆ สีจางๆ กระจุกตัวอยู่ (แต่มักไม่เห็นในเอ๊กซ์เรย์) ให้ลองคลาดูที่บริเวณนันเบาๆ จับ ชีพจรหรือใช้ stethoscope ฟังเสียง “ฟูๆ่ ” ดูก่อน อาจเป็น AVM ได้ (AVM = Alveo-Vascular Malformation เป็นการกระจุกตัวของเส้นเลือดฝอยในกระดูก) ให้ส่งต่อการรักษาเพื่อตัดกระดูก บริเวณนันทิงไปแต่ถ้าบังเอิญถอนไปแล้วให้อัด bone wax with surgical ตามด้วย coe-pack และ กดแผลด้วยผ้าก๊อซไว้ตลอดเวลาที่ทาการส่งต่อนัน ภาวะ Leukemia (มะเร็งเม็ดเลือดขาว) จะมีไข้ต่าๆ และเลือดออกตามไรฟัน บางกรณีเป็น เหงือกบวมในฟันซี่เดียวโดยไม่ทราบสาเหตุ วารสารทันตภูธร
56
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ภาวะซีด ทาให้ ติดเชือง่าย, กระดูกโต (เพราะไขกระดูกพยายามสร้างเลือด), ตับเหลือง, หัวใจเหลือง เพราะร่างกายสะสมธาตุเหล็กไว้มาก หัวใจโตและอ่อนล้า การกดแผลถอนฟันด้วยผ้าก๊อซให้แน่นนานเกิน 5 นาที ถึงแม้มีเกร็ดเลือดต่าก็เลือดหยุดได้ เพราะมีปัจจัยอื่นๆ มาช่วย ยา TransamineR antifibrinolysis (DDAVP capsule) ช่วยลดเลือดออกตามไรฟันหรือแผล ถอนฟันที่เลือดไหลไม่หยุดกรณีฉุกเฉิน (เป็น platelet transfusion) Local haemostatic agents (วัสดุช่วยห้ามเลือดเฉพาะที่) ได้แก่ Absorbable gelatin sponge, Oxicel/ Surgicel, Thrombin, Microcrystalline Collagen (Avitene), Collar plug, Fibrin glue, Bone wax, Coe pack with splint, Tinture benzoin, Tranexamic acid Mouth wash
กระดูกตายจากการฉายรังสี (ORN : Osteoradio Necresis) ถาม : ทาไมฉายรังสีต้องถอนฟันดีๆ ทิง หมดทังปาก ตอบ : ปัจจุบันจะเก็บฟันหน้าที่ดีเท่านัน ฟันหลังจะถอนทิงทังหมดเพื่อป้องกัน furcation involvement (กระดูกละลายถึง ใต้ง่ามรากฟัน ซึ่งทาให้เกิดการสะสมของ เชือโรคได้) ผู้ป่วยที่ได้รับการฉายแสงนานวันเข้าจะมีโอกาสเกิด spontaneous ORN (ORN ที่เกิดขึน เอง) เพิ่มขึนได้ ถ้าพบผู้ป่วยมะเร็งที่มีอาการแย่ลงเรื่อยๆ ไม่มีทางดีขึน (poor prognosis CA) ก็ไม่ต้องถอน ฟันหมดเพราะผู้ป่วยมักเสียชีวิตจากมะเร็งมากกว่ากระดูกตาย ทันตแพทย์ถอนฟันเพื่อป้องกัน ORN เท่านัน
อื่นๆ (Miscelleneous) Hyperthyroidism (ภาวะฮอร์โมนไทรอยด์สูงกว่าปกติ) ระวังปัญหา stroke (เส้นเลือดฝอย แตก-หัวใจและสมองขาดเลือด)หลังฉีดยาชา
วารสารทันตภูธร
57
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
Amoxycillin มี lifetime (การคงอยู่ในกระแสเลือด) นาน 3 ชั่วโมง ทันตแพทย์จึงควรให้ยา ก่อนถอนฟันไม่เกิน 1 ชั่วโมงจะดีที่สุด แต่ต้องหลังครึ่งชั่วโมงไปแล้วยาจึงจะแพร่กระจายในกระแส เลือด หากผู้ป่วยเพิ่งเปลี่ยนไตมาเกิน 6 เดือนแต่มีอาการปวดฟันให้จ่ายยาตามปกติได้ เพราะค่า ไตจะค่อนข้างปกติแล้ว TIS = transient ischemic stroke (ภาวะขาดเลือดชั่วคราว) จะมีอาการชาตามส่วนต่างๆ ของร่างกายนานเป็นวันๆ และอ่อนแรง ผู้ป่วยเพิ่งผ่าต้อกระจกมาแล้วต้องการถอนฟัน ให้ระวังเรื่องความดันสูงที่จะส่งผลต่อ แรงดันลูกตา คนไข้ที่ทานสเตียรอยด์เป็นประจา ในวันที่มาทาฟันนันห้ามหยุดยา (เช่น Prednisolone) เพื่อควบคุมความเครียด และให้ทันตแพทย์ระวังภาวะความดันสูง, นาตาลในเลือดสูง และการติดเชือ การถอนฟันผู้ป่วยโรคไตให้ระวังปัญหาเรื่อง : การติดเชือ เลือดหยุดยาก ความดันสูง (เพราะเครียด) จนอาจเกิด stroke ได้และการเลือกใช้ยาที่เหมาะสม
กรณีศึกษาเรื่องแผลฟันคุด ปัญหา : ผู้ป่วยผ่าฟันคุดใช้เวลาไม่นาน มีอาการ ค่อยๆ บวมมากขึนทุกวันตลอด 3 วันที่ผ่านมา แต่ ผิ ว ห นั ง ไ ม่ แ ด ง มี ร อ ย ช า สี เ ขี ย ว ร อ บ ข อ บ ขากรรไกรล่างถึงใต้คาง การรั ก ษา 1 (วั น ที่ 3 หลั ง ผ่ า ) : ล้ า งแผลด้ ว ย นาเกลือผสมเบตาดีนเจือจาง ไม่พบหนองหรือการ ติดเชือ มีแต่ภาวะอักเสบ เมื่อขูดแผลพบลิ่มเลือด ด าบางส่ ว นจึ ง ขู ด เนื อเยื่ อ ในเบ้ า ฟั น ออกจนหมด แล้วตัดไหมเพื่อหวังว่ามีการระบายนาออกจากแผลได้ดีขึน การบวมจะได้ลดลง ผล : ผู้ป่วยมีอาการปวดแผล และบวมมากขึนกว่าเดิม สีเขียวที่ผิวหนังเริ่มกลายเป็นสีม่วง การรักษา 2 (วันที่ 6 หลังผ่า) : กรีดแผลได้หนองออกมามาก ล้างแผลด้วยนาเกลือธรรมดา และ จ่ายยาปฏิชีวนะ ผล : แผลหายตามปกติ วารสารทันตภูธร
58
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
สิ่งที่ได้เรียนรู้ 1. การบวมหลังผ่าฟันคุดที่มีการอักเสบแต่ไม่ติดเชือ (ปวด บวม ร้อน แต่ไม่แดง ไม่มีหนอง) ให้ ผู้ป่วยบ้วนนาเกลือทุกๆ วัน เพื่อลดการติดเชือแล้วทานยาตามปกติ ไม่ต้องขูดแผล 2. การใช้ antiseptic (สารเคมี ที่ มี ฤ ทธิ์ ฆ่ า เชื อ้ ) ทุ ก ชนิ ด ล้ า งแผลแม้ จ ะฆ่ า เชื อแต่ ก็ ร ะคายเคื อ ง เนือเยื่อ 3. ผิวหนังสีเขียวเป็นปฏิกริยาของร่างกายที่ต่อสู้กับการบาดเจ็บ ไม่ใช่รอยชา สาเหตุ : Trauma (การบาดเจ็บ) คือ สิ่งระคายเคืองทุกชนิดทังกายภาพและชีวภาพ ได้แก่ การใช้ สารเคมีที่ระคายเคืองต่อเนือเยื่อ, การกรอฟันใช้นาน้อยเกินไป, ใช้แรงกดมากเกินไป, การดึงรังเนือเยื่อ มากเกินไป, การผ่าฟันคุดใช้เวลานานเกินไป, การไม่หยุดเลือดในเนือเยื่ออ่อนทีละขันตอนก่อนให้กั ด ก๊อซครังสุดท้ายกลับบ้าน, การไม่ใช้ความเย็นเพื่อลดการอักเสบ-บวมของแผล, การเย็บแผลปิดทาง ระบายเลือดหรือเย็บแผลแน่นเกินไป อาการจาก Trauma : บวมหลังผ่าตัดมากกว่าปกติแต่ไม่ติดเชือ (ไม่มีหนอง, ไม่มีรอยแดงร้อน) แต่ อาจมีรอยเขียวชา พีเ่ มธ์ถาม-น้องกิ๊บตอบ ถาม : กรณีที่ถอนฟันแล้วเลือดไม่ค่อยออกในเบ้าฟัน ของผู้ป่วยสภาพร่างกายปกติ พี่จะใส่ Alvogyl ลงไป เล็กน้อยเพื่อหวังผลการสร้างลิ่มเลือดที่ดีข้น เพื่อลด อาการปวดและการติดเชือ กรณีผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการ ติ ด เชื อที่ แ ผลพี่ จ ะให้ ท าน Pennicillin กั น ติ ด เชื อไว้ 3 วันร่วมด้วย น้องกิ๊บคิดเห็นอย่างไร ตอบ : ส่วนตัวแล้ว กิ๊บจะไม่ใส่ค่ะ จะใช้วิธีขูดเบ้าฟัน ให้มีเลือดออกบ้างมากกว่า หรือไม่ก็ปล่อยไว้เลย ถ้ามี อาการมาค่ อ ยรั ก ษาค่ ะ เพราะ alvogyl ก็ จั ด เป็ น สิ่ ง แปลกปลอมค่ะ ส่ว นในเรื่องการให้ยาปฏิชีวนะ โดน ส่ ว นตั ว ก็ พ ยายามจ่ า ยน้ อ ยสุ ด อยู่ แ ล้ ว ค่ ะ อี ก อย่ า ง Dry socket (เบ้าฟันแห้งตาย) เป็นปัญหาเรื่องการหายของแผลที่ไม่ปกติ แต่ไม่ใช่การติดเชือค่ะ วารสารทันตภูธร
59
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ถาม : กรณีถอนฟันไปแล้วเลือดไหลไม่หยุด ผู้ป่วยกลับมาภายในวันนัน ส่วนใหญ่พี่จะพบลิ่มเลือดที่ เปราะบางและมีเลือดไหลซึมออกมาตลอดเวลา พี่ก็จะเอา Gel Foam อัดลงไปบนผิวของลิ่มเลือดนัน (ปาก socket) 1-2 ก้อนแล้วแต่ขนาดและความรุนแรงของเลือดที่ไหลซึม การทาเช่นนีัถูกต้องหรือไม่ ตอบ : การมีปัญหาเลือดไหลไม่หยุดหลังการถอนฟัน โดยส่วนตัวจะทาแบบนีค่ะ ซักประวัติโรคประจาตัว และยาที่ได้รับประจา เพื่อดูว่าอาการมาจากโรคประจาตัวหรือเปล่า ห้ามเลือดด้วยวิธีเฉพาะที่ โดยทั่วไปก็ใช้วิธีเย็บแผลเอาค่ะ บางครังเลือดซึมออกมาจากการที่เส้น เลือดฝอยเล็กๆ ฉีกขาด ก็จะเย็บรวบเอา เป็นการห้ามเลือดโดยทั่วไปก็หยุดดีค่ะ บางราย มีเนือเยื่อตกค้าง (Granulation tissue) ในแผลถอนฟันมาก ก็ทาให้เลือดออกได้ ก็จะขูดเอา เนือเยื่อเหล่านันออกให้หมด บางครังเลือดก็หยุดไหลดีค่ะ ขอขอบคุณ : 1. ทพญ.วรวรรณ คุโณทัย (โรงพยาบาลชลบุรี จ.ชลบุรี) 2. ทพ.ยุวบูรณ์ จันทร์ แจ่มจรูญ (คณะทันตแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) 3. ทพญ.ปวีณวรรณ สุวรรณเกตุ (โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา จ.ชลบุรี)
วารสารทันตภูธร
60
ผู้จดั การประชุมวิชาการ โรงพยาบาลชลบุรี ผู้ให้ คาปรึกษากรณี Trauma ผู้ตรวจสอบบทความและพี่ถาม-น้ องตอบ
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เก็บตกจากโต๊ะบรรณาธิการ การคัดลอกผลงานทางวิชาการ ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ จากฉบับที่ 1 / มกราคม 2558 วารสารทันตภูธรได้ตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการของน้องทันตาภิบาล จึงเป็นจุดเริ่มต้นให้ เริ่มมีผลงานทางวิชาการส่งเข้ามาให้วารสารทันตภูธรพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ เรื่อยๆ ซึ่งก็เป็นโอกาสอันดีที่จะทาให้ชาวทันตภูธร ได้ศึกษาผลงานทางวิชาการเหล่านั้นผ่านทางวารสารทันตภูธร ได้ง่ายขึ้น แต่ด้วยความหลากหลายของผู้อ่านวารสารทันตภูธร ซึง่ มีทั้งทันตแพทย์ ทันตาภิบาลและผู้ช่วยทันตแพทย์ เนื้อหาสาระของบทความก็ควรจะผ่านการย่อย ให้อ่านง่ายกว่าผลงานทาง วิชาการหนักๆทั่วไป โดยบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารทันตภูธรส่วนใหญ่ มักจะเป็นบทความประเภทเรื่องเล่าเร้าพลัง สร้างแรง บันดาลใจและความสุขในการทางานทันตสาธารณสุข หรือ ปกิณกะ เกร็ดความรู้ ที่อ่านง่ายๆ เพื่อให้ทันตบุคลากรทุกคน เข้าถึง ใจความสาคัญที่ผู้เขียนต้องการสื่อสาร แบ่งปัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้อย่างเท่าเทียมกันค่ะ หากท่านมีผลงานทางวิชาการที่ยินดีจะเผยแพร่สู่สาธารณะ โดยไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในการประเมินผลงานเลื่อนขั้น ปรับตาแหน่งแต่อย่างใด วารสารทันตภูธร ก็มีคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ พร้อมจะพิจารณาบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ ได้ค่ะ แต่ทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารทันตภูธรนั้น ต้องเป็นงานที่มี Originality หมายถึงผู้เขียน ต้องเขียนบทความขึ้นด้วย วารสารทันตภูธร
61
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ตนเอง ไม่ได้ลอกเลียน ตัดต่อ หรือ นาแนวความคิดของใครมาเขียน ถ้าผู้เขียนนาแนวความคิดของผู้อื่นมาเขียน ต้องมีการ อ้างอิงที่มาของเจ้าของแนวความคิดนั้นๆ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถสืบค้นต่อไปได้ และไม่ได้คัดลอกผลงานทางวิชาการของคนอื่นมา นาเสนอ คาว่า Plagiarism หรือ การขโมยความคิดของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตนเองนั้น ถือเป็นการกระทาการที่ไม่สุจริต และไม่ควรกระทาอย่างยิ่ง ฉบับ นี้ ว ารสารทันตภูธ ร มีตัว อย่ าง การคัดลอกผลงานทางวิช าการมาเป็นกรณีศึ ก ษาค่ ะ เป็นบทความที่ส่ งมาถึ ง บรรณาธิการทางอีเมล โดยหน่วยงานหนึ่งซึ่งบรรณาธิการขอเก็ บไว้เป็นความลับ เมื่อเห็นว่าเป็นงานวิจัยซึ่งเป็นผลงานทาง วิชาการที่จาเป็นต้องมี Originality สูงสุด การสืบค้นเพื่อทดสอบความเป็นต้นฉบับนิพนธ์ที่ไม่ ควรลอกเลียนใคร จึงเริ่มต้นขึ้น ง่ายๆ ด้วยการถาม Google ค่ะ สิ่งที่ Google search เจอในทันทีคือ เป็นผลงานทางวิชาการที่ผ่านการตีพิมพ์มาแล้ว และอยู่ ในฐานข้อมูลของหน่วยงานที่เชื่อถือได้แล้วด้วยค่ะ เรามาดูต้นฉบับที่สืบค้นโดย Google กันนะคะ
(ขอขอบพระคุณ ทพญ.ดวงพร ศิริเทพมนตรี ที่อนุญาตให้นาส่วนหนึ่งของงานวิจัยมานาเสนอเพื่อเป็นกรณีศึกษา) วารสารทันตภูธร
62
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
แล้วมาพิจารณา บทความที่ส่งมาเพื่อให้พิจารณาตีพิมพ์ในวารสารทันตภูธร ดังนี้ค่ะ
บทคัดย่อของบทความทั้งสองบทความนี้เหมือนกันแทบทุกประโยค ที่ไม่เหมือนคือชื่อหน่วยการที่ใช้เก็บข้อมูล และชื่อ ผู้เขียน ในภายหลังหน่วยงานที่ส่งบทความนี้มา ขอถอนบทความออกจากการพิจารณาตีพิมพ์ใน วารสารทันตภูธร เนื่องจากมีความประสงค์จะนาไปใช้ในการประเมินผลงานเพื่อปรับตาแหน่ง อ้างอิงจาก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๙ กาหนดให้มาตรฐานทางจริยธรรม ของข้าราชการ ให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมที่กาหนดขึ้น โดยจะต้องมีกลไกและระบบในการดาเนินงานเพื่อให้การบังคับใช้ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกาหนดขั้นตอนการลงโทษตามความร้ายแรงแห่งการกระทา การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรฐานทางจริยธรรม ให้ถือว่าเป็นการกระทาผิดทางวินัย ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการคัดลอกผลงานมีความว่า
"ไม่ลอกหรือนาผลงานของผู้อื่นมาใช้เป็นของตนเองโดยมิได้ระบุแหล่งที่มา" วารสารทันตภูธร
63
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ดังนั้น ถึงแม้ว่าบทความจะถูกถอนออกไปตามความประสงค์ของหน่วยงานผู้ส่งบทความนี้แล้ว แต่ วารสารทันตภูธร ขอนาเสนอบางส่วนเพื่อเป็นกรณีศึกษาให้ท่านผู้อ่านได้เรียนรู้และพิจารณาในประเด็น การลอกหรือนาผลงานของผู้อื่นมาใช้ เป็นของตนเองโดยมิได้ระบุแหล่งที่มา ร่วมกันค่ะ ในอีกมุมหนึ่งของวารสารทันตภูธร แม้ว่าจะเป็นวารสารที่ไม่ค่อยมีงบประมาณจัดพิมพ์ มากนัก แต่ก็เป็นวารสารที่มี เลขมาตรฐานสากลประจาวารสาร ISSN ที่ลงทะเบียนไว้กับหอสมุดแห่งชาติ โดยวารสารทันตภูธร ที่เป็นรูปเล่มตีพิมพ์จะถูก ส่งไปเก็บไว้ที่หอสมุดแห่งชาติ เป็นมรดกของแผ่นดินสืบไป นานๆส่งไปเก็บที แต่วารสารทันตภูธรก็ถูกส่งไปหลายฉบับแล้วนะคะ ดังนั้นต้นฉบับที่ตีพิมพ์ในวารสารทันตภูธรนั้น นอกจากต้องเป็นผลงานของผู้เขียนที่เขียนด้วยตนเอง ไม่ได้ขโมยความคิดของผู้อื่น แล้ว บรรณาธิการก็ขอความร่วมมือท่านนักเขียนอีกด้วยว่า กรุณาอย่าส่งต้นฉบับซ้ากับวารสารฉบับอื่น วารสารทันตภูธรจะไม่ ตีพิมพ์บทความซ้า หากบทความนั้นๆได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฉบับอื่นแล้วค่ะ พบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีค่ะ รศ.ทญ.ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ จากคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้ให้ความเห็นในประเด็น การคัดลอกบทความทางวิชาการ ไว้ว่า “ถ้ า วิ เ คราะห์ ต ามหลั ก การ เรื่ อ งต้ น เหตุ ท างสั งค ม ( Social determinants) สาเหตุอาจหมายถึง ระบบการทางานที่กดดัน ทันตแพทย์ถูก คาดหวังหรือกดดันให้ทางานวิจัยเพื่อเลื่อนขั้นจึงต้องหาทางออกด้วยวิธีนี้ หรือ สาเหตุอาจอาจหมายถึงสังคมที่มีระดับศีลธรรมตกต่า จนปัจเจกบุคคลตกเป็น เหยื่อ ไหลไปตามความประพฤติชั่ว ๆ ของคนอื่นในสังคม ถ้าว่ากันตามกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับ ผิดเต็มประตู คงมีบทลงโทษระบุเอาไว้ ภาคทัณฑ์ แบลกลิสต์ ฯลฯ (ผู้สนใจ สามารถค้นหาได้) อย่างไรก็ตาม สังคมที่ต้องว่ากันด้วยกฎหมายมากขึ้นเท่าไร สะท้อนถึงความเสื่อมของศีลธรรมในใจคนลงมาก เท่านั้น จนผู้คนไม่สามารถเจรจายุติปัญหาลงได้ด้วยสานึกภายในจิตใจ อย่างไรก็ดี ปรากฏการณ์นี้สะท้อนให้เห็นว่า การพัฒนาขับเคลื่อนสังคมหรือองค์กรด้วยการเพิ่มผลผลิต สร้างความรู้ ความสามารถให้กับบุคลากร โดยไม่สนใจเรื่องคุณธรรมคงไม่เพียงพอ เพราะไม่ช้าไม่นาน สังคมก็จะเต็มไปด้วยคนเก่งที่ชั่ว แล้ ว หายนะต่าง ๆ ก็จะเกิดขึ้นตามมา ดังที่ปรากฏให้เห็นได้ทั่วๆ ไป ทุกวันนี้ สาหรับปัจเจกบุคคล ที่ตกกระไดพลอยกระโจน มาอยู่ในสังคมหรือระบบเช่นนี้แล้ว คงต้องฝึกวิทยายุทธทางธรรมกัน บ้าง อย่าให้ระบบที่กดดันหรือสังคมที่อุดมด้วยกิเลส มาทาลายศีลธรรมในใจ ความภูมิใจในคุณค่าตนเอง เป็นพื้นฐานที่สาคัญยิ่ง ของการพัฒนาชีวิตขึ้นสู่ระดับสูงต่อไป ผลงานที่ได้มาโดยทุจริตไม่สามารถนาความภูมิใจมาให้ มิหนาซ้ายังทาร้ายบุคคลผู้นั้น จวบจน .... ไม่ต้องว่ากันด้วยกฎหมาย หรือบทลงโทษใด ๆ หรอกค่ะ บุคคลผู้เก็บซ่อนความผิด ปิดบังความลับ กลัวผู้ อื่นจะล่วงรู้ ย่อมเป็นอยู่อย่างไม่เป็นสุข ไม่สง่า แค่นี้ก็น่าเวทนามากแล้ว ... ความทุกข์ร้อนในใจจบลงได้ ด้วยการสานึก ยอมรับผิด และขออโหสิกรรม สังคมสงบร่มเย็นได้ด้วย การขออโหสิของผู้ที่พลาดไป และ การให้อโหสิของผู้ที่เกี่ยวข้องค่ะ วารสารทันตภูธร
64
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ภาพเป็นข่าว เคล็ดไม่ลับสั้นๆ สาหรับงานทันตสาธารณสุข เปิดคอลัมน์ โดย ทพ.ประเวทย์ สุทธิไชยากุล รพ.ลี้ จ.ลาพูน การให้ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากกับชุมชมนั้น สามารถทาได้หลากหลายวิธีดังนี้
1) การให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กนักเรียนประถม ผ่านสื่อประเภทนิทานส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
2) เป็นการให้ความรู้ทันตสุขภาพ
หน้าห้องฟัน ก่อนที่ผู้ป่วยจะได้เข้ามารับบริการ โดยใช้สื่อภาพ พลิก ที่ผลิตโดย ชมรมทันตสาธารณสุขภาคใต้
วารสารทันตภูธร
3) เป็นการสาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี ให้กับกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
ที่รอรับการตรวจ ตา ตรวจเท้า ตรวจฟัน โดยใช้แบบจาลองฟัน ที่สนับสนุนโดยสานักทันต กรมอนามัย
65
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ปกิณกะ บันเทิง เมื่อหมอฟันภูธร…อยากมีสามีเป็นฝาหรั่ง!!! ทพญ.จริญญา เชลลอง : รพ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด “รั ก ข้ ำ มขอ บฟ้ ำ รั ก คื อ สื่ อ ภำษ ำสว ร รค์ ” ควำมหมำยของเพลงนี้ มันช่ำงเข้ำกับชีวติ ของดิฉันซะ จริงๆ แต่ก่อนทีจ่ ะเข้ำเรื่องรำวตำมทีพ่ ำดหัวไว้น้ีกจ็ ะขอ แนะนำตัวผูเ้ ขียนเองคร่ำวๆสักหน่อยนะคะ
ดิฉันเรียนจบทันตแพทยศำสตร์บณ ั ฑิต เมื่อ ปี พ.ศ.2547 และได้บ รรจุเ ข้ำ รับ รำชกำรที่โ รงพยำบำล ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดร้อยเอ็ด ช่วงชีวติ ทีเ่ ริม่ ทำงำนนี้ เป็ นอะไรที่มคี วำมสุขและน่ ำจดจำกับทุกประสบกำรณ์ ใ ห ม่ ๆ ดิ ฉั น ไ ด้ เ ป็ น หั ว ห น้ ำ ฝ่ ำ ย ทั น ต กร ร ม ของ โรงพยำบำล ได้ทำโครงกำรต่ำงๆมำกมำย ได้ออกไป ให้บ ริก ำรรัก ษำประชำชนที่อ ยู่ห่ ำ งไกลและเป็ น พื้น ที่ ทุรกันดำร อันที่จริงแล้วเหมือนได้ทำงำนและท่องเที่ยว ไปด้วย สรุปก็คอื ช่วงนี้ชวี ติ ดีด๊ ี แต่ แ ล้ว ชีว ิต ก็ม ำพลิก ผัน เมื่อ ดิฉั น ท ำงำนมำ จนถึงปี พ.ศ.2550 ได้เกิดเหตุกำรณ์ทท่ี ำให้เสียใจอย่ำง ทีส่ ุดสำหรับชีวติ ทันตแพทย์หญิงวัย 30 ปี ก็คอื ว่ำ ดิฉัน “อกหัก ” !!!!!! ถู กวิศ กรแฟนหนุ่ มที่ค บกันมำถึง 11 ปี “บอกเลิก” … แล้วจะทำยังไงต่อไปละคะทีน้ี ไปไม่เป็ น วารสารทันตภูธร
66
เลยค่ะ เงิบค่ะเงิบ …. ทนทุกข์ทรมำนอยู่กบั ควำมเศร้ำ โศกเสียใจอำลัยอำวรณ์ถงึ ผู้ชำยคนนี้อยู่ถงึ 6 เดือน กิน ไม่ได้นอนไม่หลับจนน้ ำหนักลดลงไป 8 กิโลกรัม (คริคริ ช่วงนี้กเ็ ลยผอมมำกทีส่ ุดในชีวติ ) จนในทีส่ ุดต้องบอกกับ ตัวเองว่ำชัน้ จะต้องหำแฟนใหม่ให้ได้ ชัน้ อยำกแต่งงำน อยำกมีลูก ไม่อ ยำกขึ้น คำนจริง ๆค่ ะ “โดนผู้ช ำยไทย หัก อกใช่ ไ หม เดี๋ย วชัน้ จะหำสำมีฝ รัง่ ให้ ดู ฮึบ ฮึบ ” คิดแล้วก็มแี รงฮึดเพื่อไปให้ถงึ จุดหมำยให้ได้ เสต็ป แรกเลยก็ไปสมัค รเรีย นปริญ ญำโท สำธำรณสุขศำสตร์ ของมหำวิทยำลัยชื่อดัง แต่เลือกเป็ น หลักสูตร English Program เพื่อทีจ่ ะได้ฝึกภำษำอังกฤษ ไปด้วย (ไม่ได้ลำศึกษำต่อนะคะ เป็ นหลักสูตร At The Workplace เรียนเฉพำะวันเสำร์-อำทิตย์) แต่พอเรียนๆ ไป ทำไมมีแต่แขกอินเดีย แขกปำกีสถำนมำชอบซะงัน้ นี่ไม่ใช่กลุ่มเป้ ำหมำยค่ะๆๆๆๆ เพรำะว่ำตอนนี้ถอื คอน เซ็ปว่ำ “ฝรังหล่ ่ อคือพ่อของลูก” ก็เลยต้องหำหนทำงใหม่ ซะแล้ว ขืนยังเป็ นแบบนี้ต่อไปจะเสียดุลให้กบั แขกเป็ น แน่แท้ เสต็ปที่ส อง ก็เ ลยค้นหำเวปไซด์หำคู่จำก อินเตอร์เน็ต มีตงั ้ หลำยเวปไซด์เลยค่ ะ จะขอแนะนำมำ ณ ที่น้ีพอหอมปำกหอมคอ คือ www.thailovelink.com www.dateinasia.com ช่วงนี้จงึ ได้แชทคุยกับฝรัง่ โดย เล็ง เป้ ำ ไปที่ค นหล่ อ ๆเท่ ำ นัน้ หำที่ม ี Profile ดีๆ โสด อำยุเท่ำๆกัน ใจดี สปอร์ต ยุโรป 555 โป๊ ะเช๊ ะ !!! ดิฉัน ไม่ไ ด้ม โนไปนะคะ มีฝ รัง่ หล่ อ มำแชทคุ ยด้วยแล้ว 3 คน และก็เ ริม่ คุ ยมำเรื่อยๆ ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ขอบอกเลยว่ำจับปลำ 3 มือค่ะ แชทคุยกันไปมำ 6 เดือน จนเหลือรอดทีย่ งั คงคุยอยู่ตลอดจริงๆ เหลืออยู่คนเดียว เลย ฝรังหล่ ่ อ ใจดี สปอร์ต เยอรมัน!!! ทีน้ีก็เริม่ เข้ำทำงทันตแพทย์หญิงที่อำยุล่วงเลย 30 ปี อย่ำงดิฉัน คุยแชทกับหนุ่ มฝรังเยอรมั ่ นคนนี้มำได้ จนกระทัง่ 1 ปี เต็ม จึงตัดสินใจชวนเค้ำมำเทีย่ วเมืองไทย ซึ่งก็ได้ขออนุ ญำตคุณแม่ของดิฉันก่อน เพรำะกลัวคุณ แม่จะรับไม่ได้ในควำมบ้ำบิน่ ของลูกสำว
พอเค้ำมำเมืองไทยซึ่งเป็ นครัง้ แรกในชีวติ ของ เค้ ำ เค้ ำ ชอบและรู้ ส ึ ก ประทั บ ใจในทุ ก ๆอย่ ำ ง ทัง้ วัฒนธรรมไทยต่ ำงๆ ควำมเป็ นอยู่ท่อี ิส ระของคนไทย และทีส่ ำคัญ “เรำเข้ำกันได้ดมี กๆเลยค่ ั่ ะๆๆๆ” กำรเดินทำงมำประเทศไทยของเค้ำครัง้ แรกนี้ ด้วยวีซ่ำนังท่ ่ องเทีย่ ว สำมำรถอยูใ่ นไทยได้แค่ 3 เดือน แล้วต้องกลับไป เพรำะคนต่ำงชำติทจ่ี ะเข้ำมำอยูใ่ น ประเทศไทยนัน้ จะอยูไ่ ด้โดยวีซ่ำ ซึง่ มีหลำยประเภทและ ต้องรำยงำนตัวเรือ่ งขออยูใ่ นรำชอำณำจักรไทยทุกๆ 90 วัน ตอนแรกๆก็ปวดหัวกับเรือ่ งวีซ่ำของเค้ำอยู่มำกมำย แต่ตอนนี้ชำนำญแล้วค่ะ (ถ้ำใครสนใจทีจ่ ะมีสำมีฝรังก็ ่ ขอ คำปรึกษำเรือ่ งวีซ่ำกับดิฉนั ได้นะคะ)
วารสารทันตภูธร
67
เมื่อมีครัง้ แรกแล้วก็ต้องมีครัง้ ที่สอง (อิออิ ิ อันนี้ อย่ำคิดลึกนะคะ) หลังจำกที่เค้ำกลับไปเยอรมัน เรำก็ ยัง คงแชทคุ ย กัน อยู่ ทุ ก วัน ทุ ก คืน โดยใช้ โ ปรแกรม Skype ช่วงนี้เป็ นอะไรที่คดิ ถึงกันมำก ไม่อยำกอยู่ห่ำง กันเลย หลังจำกนี้อกี 6 เดือน เค้ำก็เดินทำงมำประเทศ ไทยอีกเป็ นครัง้ ทีส่ อง ซึง่ ในครัง้ ทีส่ องนี้เค้ำอยู่นำนหลำย เดือน เรำได้เรียนรู้กำรใช้ชวี ติ อยู่ร่วมกันมำกขึ้น เริม่ มี ปั ญ หำเรื่อ งภำษำ เรื่อ งวัฒนธรรมบำงอย่ำ งที่เ รำต้อ ง ปรับตัวเข้ำหำกัน อำทิเช่น เรื่องอำหำรกำรกิน ยอมรับเลยค่ะว่ำเค้ำเป็ น คนทำนยำกจริงๆ อำหำรก็ตอ้ งทำนตอนทีร่ อ้ นๆทำเสร็จ ใหม่ๆ ถ้ำเย็นแล้วเค้ำจะไม่ทำนเลย มีอยู่เหตุกำรณ์หนึ่ง เคยไปสังสเต็ ่ กทำนด้วยกัน ปรำกฏว่ำร้ำนเค้ำมำเสริฟ แบบว่ำสเต็กมันเย็นหมดแล้ว เค้ำก็ไม่ทำน แถมเค้ำยัง จะบอกทำงร้ำนอีกว่ำห้ำมคิดเงินเค้ำนะ เพรำะเค้ำไม่ได้ ทำน ทีน้ี เ รำก็ม ึน สิค ะ ต้ อ งเคลีย ร์กัน เรื่อ งอำหำรอยู่ บ่อยๆ…แล้วเค้ำก็จะเน้นทำนมือค่ำเป็ นหลักค่ะ ทีน้เี รำก็ ต้องพลอยหนักอำหำรมือ้ ค่ำไปกับเค้ำด้วย แต่ไม่เป็ นไร ค่ะ เรือ่ งกินดิฉนั ไม่มปี ั ญหำอยูแ่ ล้ว 555 เรือ่ งภำษำก็ส่อื สำรกันไม่ค่อยเข้ำใจอยูห่ ลำย ครัง้ เพรำะเรำยังไม่ชนิ ภำษำอังกฤษสไตล์เยอรมันของ เค้ำ ส่วนเค้ำก็คงไม่ชนิ ภำษำอังกฤษเวอร์ชนไทยของเรำ ั่ เช่นบำงคำทีเ่ รำพูดทับศัพท์ว่ำ แอปเปิ้ ล (แอ๊ป-เปิ้ ล) เค้ำ ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ก็ไม่รวู้ ่ำเรำพูดว่ำ Apple (แอพ-เพิล่ ) กว่ำจะเข้ำใจกันก็ ต้องอธิบำยกันอยูส่ กั พักใหญ่ๆ เรือ่ งวัฒนธรรมกำรเป็ นอยู่ เค้ำจะเป็ นคนรัก ควำมสะอำด ช่วงที่อยู่ด้วยกันเค้ำช่วยทำควำมสะอำด บ้ำนดีมำก ห้องน้ ำก็ขดั จนเกลี้ยง ล้ำงถ้วยล้ำงชำมเก่ง มำก แล้วก็เหมือนเค้ำถูกปลูกฝั งมำให้มรี ะเบียบ วินัยเคำรพกฏหมำย เคยให้เค้ำขับรถยนต์ให้ เค้ำก็จะ ถำมว่ำให้ขบั ควำมเร็วได้ไม่เกินเท่ำไหร่ พอเรำบอกไป ว่ำ 90 กิโลเมตร/ชัวโมง ่ เค้ำก็รกั ษำควำมเร็วอยูแ่ ค่นนั ้ เคยพำเค้ำ ไปเดิน ซื้อ เสื้อ ผ้ำ ที่ป ระตู น้ ำ ใน กรุงเทพ มีของก๊อปปี้ แบรนด์เนมเยอะ เค้ำก็ไม่ซอ้ื เค้ำก็ งงๆว่ำทำไมประเทศไทยเรำมีของก๊อปปี้ เยอะจริงๆ นี่ เ ป็ นแค่ ต ั ว อย่ ำ งบำงเรื่อ งในช่ ว งของกำร ปรับตัวเข้ำหำกัน เรำยอมรับซึ่งกันและกันได้ เข้ำใจกัน ไม่มปี ั ญ หำอะไร แล้ว เรำก็ ไ ด้คุ ยกันถึงอนำคต เพรำะ ต้องกำรแต่งงำนและอยูด่ ว้ ยกัน ไม่อยำกอยู่ห่ำงไกลกันระหว่ำงประเทศ เค้ำจึง ตัดสินใจทีจ่ ะมำอยูป่ ระเทศไทยกับดิฉนั
หลังจำกแต่งงำนแล้ว ชีวติ ของดิฉนั ดำเนินต่อไป ยังไง เค้ำจะอยูย่ งั ไง เค้ำจะกินอำหำรไทยได้ไหม เค้ำจะ อยู่ไ ด้ไ หม ชีว ิต คู่ กับ สำมีฝ รัง่ ดิฉั น ต้ อ งเผชิญ ปั ญ หำ อุปสรรคอะไรบ้ำง ดิฉันต้องโดนจัดหนักจัดเต็มอะไรบ้ำง จะขอมำเล่ ำ ต่ อ ในฉบับ หน้ ำ นะคะ โปรดติด ตำมตอน ต่อไปค่ะ
วารสารทันตภูธร
ไชโย โห่ฮว้ิ ววววววว!!! ดิฉันได้แต่งงำนกับฝรัง่ ดังทีด่ ฉิ นั ต้องกำร วันที่ 29 ตุลำคม พ.ศ. 2554 ควำมฝั น เป็ นจริงแล้ว ค่ ะ เป็ นวันแต่ งงำนของดิฉันกับคุ ณสเวน (ขอเสริมตรงจุดนี้นิดนึงนะคะ เพรำะว่ำได้ผ ลเป็ นจริง ดังทีเ่ คยขอพรไว้ เนื่องจำกปี พ.ศ 2553 ได้ไปประชุมที่ อยุธยำ และมีโอกำสไปเสี่ยงทำยยกช้ำงที่วดั แห่งหนึ่ง ของอยุธยำ ตอนนัน้ อธิษฐำนว่ำขอให้ได้แต่งงำนกับฝรัง่ คนนี้ด้วยเถอะ ศักดิ ์สิทธิ ์จริงๆนะคะ แนะนำให้เพื่อนๆ ไปเสี่ยงทำยยกช้ำงขอพรดูค่ะ ที่วดั ไหนก็ได้ในจังหวัด อยุธยำ เรื่องนี้ถำมคุณหมอกล้วย ทีเ่ ชียงรำยได้ค่ะ เป็ น ผู้อยู่ในเหตุกำรณ์เสี่ยงทำยขอพรนี้ กรำบขออภัยที่ต้อง กล่ำวถึงคุณหมอกล้วยมำ ณ ทีน่ ้ดี ว้ ยค่ะ)
68
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เพาะรัก ปลูกศรัทธา Paramitta Plukponyarm
เริ่มแรกในการเห็นคุณค่าของตัวเองนั้น ให้ปฎิบัติต่อตัวเองด้วยความรัก และดูแลตัวเองเหมือนเป็นคน รัก แล้วจะทาให้เข้าใจในความรู้สึกดีๆ ที่ได้รักและถูกรัก จากนั้นเราจะมองเห็นและรู้สึก ได้ ปฎิบัติต่อผู้อื่นได้อย่างถูกต้องเพราะเราเข้าใจในความรู้สึก นี้แล้ ว ก็พร้อมที่จะแบ่งปันความรู้สึกนี้ออกไปสู่ผู้อื่น ด้วย บทเรียนแรกของการรักเป็น แล้วเราจะเห็นความสุขที่เพิ่มขึ้น ทุกวัน จากเรื่องใหญ่ ๆ ที่มองเห็นได้ เพราะใจยั งไม่ละเอียดอ่อนพอ แต่หัดไปๆ จะมองเห็นเรื่องเล็ก ๆ ที่ให้ ความสุขได้ แม้ไม่ได้พาตัวเองไปไหน และทาอะไรเลย เพราะนี่เป็นผลพลอยได้จากการรักตัวเองก็คือ รู้จัก...ให้ความสุขกับตัวเองได้โดยไม่พึ่งพาใครมาทาให้เรา มีความสุข ทาบ่อยๆ ทาเป็นประจา..ก็จะทาให้ใครต่อใครอยากจะมาขอแบ่งปันความสุขจากเราไปใช้ เป็นคนที่ ใครๆก็รู้สึกดี เป็นเมล็ดพันธุ์ต่อกันไปในใจผู้คน อยู่ได้ด้วยความสุขในตนเอง จัดการกับความทุกข์ได้ด้วยตนเอง เติมสิ่งดีๆ ให้ตัวเองได้ แค่นี้ทาให้ตัวเองมีค่าที่ได้เกิดมาแล้ว และเมื่ อ นั้ น เราจะเป็ น ที่ พึ่ ง พาของคนอื่ น ได้ ตนที่ พึ่ ง ตนเองไม่ ไ ด้ จะไม่ มี ใ ครมาพึ่ ง และอยากพึ่ ง เคล็ดลับอยู่ตรงนี้ ให้รีบแบ่งปันความรู้สึกดีๆ นี้ออกไป ให้ความสุขนี้ออกไปสู่คนอื่น เริ่มจากคนที่เรารักก่อนก็ได้ จากัดวงแคบเอาไว้ก่อน และจะได้ความสุขย้อนกลับมาเติมเต็ม เพิ่มให้กลับตัวเองทันที…..ลองทาดู ความสุขที่เรามีนั้นไม่ได้หายไปไหนเลย และหากผู้ที่ ได้รับ….เขามีความสุขมากกว่าเรา...เราจะได้กาไร เพราะเราได้ความสุขใจทีเ่ พิ่มขึ้น วารสารทันตภูธร
69
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
ประธานขอพูด (อีกที) สุขสันต์วันดีดี ทพ.กิตติคุณ บัวบาน ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร แม้ว่ำวันที่พ่นี ้องทันตภูธรได้เปิ ดอ่ำนวำรสำร ทันตภูธรฉบับนี้ จะล่วงเลยเวลำแห่งควำมสนุ กสนำน ของเดือนแห่งมหำสงกรำนต์ ที่มวี นั หยุดกันแบบเต็ม เหยียด แต่ผมเชื่อว่ำภำพแห่งควำมประทับใจน่ ำจะยัง ติดอยู่ในควำมทรงจำของหลำยๆคน สำหรับคนที่พบ เรื่องดีดี ในช่วงทีผ่ ่ำนมำก็ขออวยพรให้พบเรื่องแบบนี้ ไปตลอดปี นะครับ แต่ก็ต้องยอมรับว่ำในวันเวลำของ ควำมรื่น เริง บัน เทิ ง ใจ ก็ ม ีห ลำยๆคนต้ อ งพบกับ เหตุกำรณ์ท่ไี ม่พงึ ประสงค์ ทัง้ รุนแรงมำก หรือน้ อยก็ ตำมแต่ ก็ขอให้เ พื่อ นสมำชิกของเรำผ่ ำนเหตุ ก ำรณ์ เหล่ำนี้ไปได้ดว้ ยดีเช่นกัน ในช่วงเวลำนี้ เหตุบำ้ นกำรเมืองต่ำงๆก็มใี ห้เรำติดตำมกันอยู่เป็ นระยะๆ ทัง้ ทีเ่ ป็ นภำพใหญ่ระดับประเทศ ระดับ กระทรวง หรือควำมเคลื่อนไหวในระดับวิชำชีพก็มไี ม่น้อย แต่ event ชมรมทันตภูธรต้องพูดถึงในช่วงนี้อย่ำงลืมไม่ได้ คือ กำรได้ต้อนรับสมำชิกใหม่ทก่ี ้ำวเข้ำสู่วชิ ำชีพกำรบริกำรสุขภำพช่องปำกให้กบั ประชำชนไทย ทัง้ น้องๆทันตแพทย์ และ น้องๆนักวิชำกำรทันตสำธำรณสุข ซึง่ ถึงแม้จะมีกำรต้อนรับเช่นนี้เป็ นประจำทุกปี แต่เชื่อว่ำพวกพีๆ่ ป้ ำๆอำๆทัง้ หลำยก็ อดทีจ่ ะตื่นเต้นและชื่นชมในควำมสำเร็จก้ำวแรก ทีน่ ้องๆผ่ำนกำรเล่ำเรียนฝึกฝนมหำโหดกันมำได้ และก็อดไม่ได้ทจ่ี ะลุน้ ว่ำน้องใหม่ท่จี ะเข้ำมำร่วมงำนนัน้ หน้ำตำ ท่ำทำงเป็ นอย่ำงไร ซึ่งทุกครัง้ ที่ได้พบกับน้องๆเหล่ำนี้ พวกเรำก็ไม่เคยรูส้ กึ ผิดหวังกับกำรลุ้นเลยครับ(บำงคนก็เริม่ หวังในเรื่องอื่นๆต่อไปซะอีก แฮ่) ยิง่ ในปี น้ี เป็ นปี แรกที่เรำจะได้ต้อนรับน้ องๆ นักวิชำกำรทันตสำธำรณสุข หรือทีห่ ลำยคนเรียกว่ำเป็ นทันตำภิบำลติดปี ก, ทันตำภิบำล 4 ปี ก็ยงิ่ ทำให้พวกเรำแทบจะ รอทีจ่ ะร่วมงำนกับน้องๆเหล่ำนี้ไม่ไหวเลยทีเ่ ดียว ถ้ำจะย้อนคิดถึงวันที่ตวั ผมเองจบกำรศึกษำทันตแพทย์มำเมื่อสิบเจ็ดปี ท่แี ล้ว(ขอร้อง บก. พิมพ์เวลำตรงนี้เป็ น ตัวหนังสือนะครับ เป็ นตัวเลขแล้วมันดูเยอะยังไงก็ไม่ทรำบ ฮือ) สิง่ ที่เกิดขึน้ ในวันที่จะเริม่ ต้นทำงำน ล้วนเป็ นคำถำม ยำกๆทีอ่ ยำกได้คำตอบง่ำยๆทัง้ สิน้ เช่น เรำจะทำงำนได้ดไี หมนะ เรำจะเจอคนร่วมงำนแบบไหน จะเข้ำกันได้ไหม ถ้ำมี ปั ญหำในกำรทำงำนจะทำอย่ำงไร คนไข้จะเชื่อถือ เชื่อฝี มอื หมอใหม่อย่ำงเรำไหม หรือแม้แต่แล้วต้องทำงำนที่น่ีนำน วารสารทันตภูธร
70
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
เท่ำไหร่ถึงจะได้ย้ำยกลับบ้ำนกันหนอ แต่ เ ชื่อ ไหมล่ะครับว่ำสุดท้ำย เรำก็ส ำมำรถก้ำวเดินอยู่ใ นชีวติ กำรทำงำนที่ม ี ควำมสุขได้ โดยทีบ่ ำงคำถำมยังไม่เคยมีกำรตอบด้วยซ้ำไป เชื่อว่ำน้องๆหลำยคนทีก่ ำลังอ่ำนวำรสำรฉบับนี้กำลังพยำยำมทีจ่ ะหำคำตอบเหล่ำนัน้ เช่นกัน ถ้ำหำกมันเหนื่อย ลำบำก วุ่นวำย กับคำถำมทีม่ มี ำกมำยนัก น้องๆลองหยุดหำคำตอบของคำถำมมำกมำยเช่นนี้ แต่ลองสรุปเป็ นคำถำมเดียวว่ำ...เรำจะทำประโยชน์เพื่อให้ชวี ติ เรำมีคุณค่ำได้อย่ำงไร บำงทีอำจจะทำให้เรำสบำยใจกับ คำตอบทีอ่ ยูใ่ นใจก็เป็ นได้นะครับ ใครจะรู้ หลำยครัง้ ที่ผมคิดว่ำถ้ำถึงวันหยุดยำวเมื่อไหร่ ผมจะจัดโปรแกรมให้เป็ นวันหยุดที่ดมี แี ต่ควำมสุข สนุ กสนำน หลำยครัง้ ทีผ่ มคิดว่ำ ในวันสำคัญทีจ่ ะมำถึงนี้ ผมจะถือเป็ นวันที่ดสี ำหรับกำรทำสิง่ ที่น่ำประทับใจบำงอย่ำง หลำยครัง้ ที่ พบกับควำมผิดหวังแล้วผมจะบอกว่ำรอให้ถงึ พรุ่งนี้แล้วผมจะทำให้มนั เป็ นวันดีดสี ำหรับกำรเริม่ ต้นใหม่ แต่ท่ำนเชื่อไหม ครับ ว่ำกำรคิดแบบนี้มนั สุขน้อยกว่ำกำรทีผ่ มได้พบควำมจริงที่บอกว่ำวันดีดที ใ่ี กล้ทส่ี ุดทีไ่ ม่ต้องเหนื่อยกับกำรรอคอย... คือวันนี้น่เี อง ขอให้ว นั นี้แ ละวันเวลำที่จะก้ำวเดินต่ อไป เป็ นวันดีดี สำหรับชีว ิต ที่มคี ุ ณค่ ำของทุกคนครับ สวัส ดีและยินดี ต้อนรับครับ
เชิญชวนคุยกับ ชมรมทันตสาธารณสุขภูธรทางเฟสบุค
วารสารทันตภูธร
71
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วารสารทันตภูธร
72
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วารสารทันตภูธร
73
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วารสารทันตภูธร
74
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วารสารทันตภูธร
75
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วารสารทันตภูธร
76
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วารสารทันตภูธร
77
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วารสารทันตภูธร
78
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วารสารทันตภูธร
79
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วารสารทันตภูธร จัดพิมพ์โดยผลกาไร ที่ได้จากการจาหน่ายสินค้า ในเวบไซต์ ทันตภูธร ONLINE สั่งซื้อสินค้าได้ที่ www.tuntapootorn.com ต้องการใบเสนอราคา กรุณาดาวน์โหลดเอกสารขอใบเสนอราคา กรอกข้อมูลให้ครบ แล้วส่ง Email มาที่ tuntapootorn@hotmail.com ติดต่อสอบถามสะดวกที่สุด ทางไลน์ tuntapootorn_online ค่ะ วารสารทันตภูธร
80
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
อ่านขั้นตอนวิธีสั่งซื้อกับ ทันตภูธร ออนไลน์ www.tuntapootorn.com
หน่วยงานรัฐบาลที่มีทันตบุคลากร ต้องการเอกสารตั้งเบิกเงิน (เครดิต) 1. ยอดรวมในกำรซือ้ สินค้ำเครดิต ตัง้ แต่ 1,000 บำท ขึน้ ไป (ต่ำกว่ำ 1,000 กรุณำจ่ำยเงินสดก่อนรับสินค้ำ) 2. ปรึกษำกำรเงินถึงระเบียบกำรสังซื ่ อ้ ของหน่วยงำน เอกสำรจำกบริษทั ผูข้ ำยทีห่ น่วยงำนท่ำนต้องกำร 3. พิจำรณำรำคำ และ ดำวน์โหลดเอกสารขอใบเสนอราคาทีเ่ วบ www.tuntapootorn.com 4. กรอกรำยละเอียดในเอกสำรขอใบเสนอรำคำให้ครบ เช่น ชือ่ /เบอร์โทรผูส้ งซื ั ่ อ้ จำนวนสินค้ำทีต่ อ้ งกำร 5. ส่งอีเมล เอกสำรขอใบเสนอรำคำทีก่ รอกข้อมูลแล้ว กลับมำที่ tuntapootorn@hotmail.com 6. รอรับใบเสนอรำคำ จำก บริษทั ทันตภูธรและเพือ่ น จำกัด (บริษทั จะรีบตอบอีเมลกลับให้เร็วทีส่ ดุ ) 7. กรุณำให้กำรเงินของหน่วยงำน พิจำรณำใบเสนอรำคำ สำหรับใช้ในกำรเบิกจ่ำยเงินได้อย่ำงถูกต้อง 8. หลังใบเสนอรำคำผ่ำนกรุณำอีเมลกลับมำแจ้ง หรือเมลส่งใบสังซื ่ อ้ ให้บริษทั รับทรำบว่ำ ยืนยันคาสังซื ่ อ้ 9. บริษทั จัดส่งสินค้ำให้ทำ่ น เมือ่ มีสนิ ค้ำพร้อมส่ง ตำมคิวลูกค้ำเครดิต ตำมลำดับอีเมลทีท่ ำ่ นส่งเข้ำมำในข้อ 5 10. บริษทั ส่งเอกสำรสำหรับตัง้ เบิก ตำมทีห่ น่วยงำนท่ำนต้องกำร 11. กำหนดชำระเงินภำยใน 60 วัน หลังจำกท่ำนได้รบั สินค้ำ 12. บริษทั ไม่มเี จ้ำหน้ำทีเ่ ดินทำงไปรับเช็ค ผูส้ งซื ั ่ อ้ กรุณำส่งเช็คทำง EMS หรือ โอนเงินเข้ำบัญชีบริษทั 13. หน่วยงำน/ผูส้ งซื ั ่ อ้ จะได้รบั เอกสำรแจ้งยอดค้ำงชำระ ในกรณีคำ้ งจ่ำยและจะไม่สำมำรถสังสิ ่ นค้ำใหม่ได้
หน่วยงาน หรือ ส่วนบุคคล ที่จ่ายเงินสดก่อนรับสินค้า 1. อ่ำนวิธสี งซื ั ่ อ้ ผ่ำนเวบไซต์จำก www.tuntapootorn.com 2. สังซื ่ อ้ สินค้ำผ่ำนตะกร้ำสินค้ำหน้ำเวบไซต์ดว้ ยตนเอง 3. รอรับอีเมลจำกบริษทั เพือ่ แจ้งหมำยเลขบัญชีสำหรับโอนเงินชำระค่ำสินค้ำ 4. ลูกค้ำส่งสำเนำกำรโอนเงินมำให้บริษทั รับทรำบกำรโอนเงิน 5. ลูกค้ำทีจ่ ่ำยเงินสด บริษทั จัดส่งสินค้ำให้ทนั ทีภำยใน 7-10 วันทำกำร หลังได้รบั เงินค่ำสินค้ำเต็มจำนวน (ในกรณี ที่มีสินค้าพร้อมจัดส่ง) 6. บริษทั จัดส่ง ต้นฉบับใบเสร็จรับเงิน / ใบกำกับภำษี / ใบส่งของ ไปพร้อมกับสินค้ำ
วารสารทันตภูธร
81
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
แปรงเด็ก 3-6 ปี 8.00 บาท
แปรงเด็ก 0-3 ปี 7.50 บาท
แปรงเด็ก 0-3 ปี 7.50 บาท
แปรงเด็ก 3-6 ปี 8.00 บาท
แปรงผู้ใหญ่ Biosafety รุ่ นใหม่ ด้ ามละ 9.00 บาท
แปรงเด็ก 6-12 ปี 8.00 บาท
แปรงเด็ก 6-12 ปี 8.00 บาท
ด้ ามละ 10.00 บาท
15.00 บ.
แปรงผู้ใหญ่ 9.50 บาท
3-6 ปี 15.00 บาท/ด้ าม
ารณา สี สินค้ าทัง้ หมดได้ ท่ ี www.tuntapootorn.com วารสารทันตภูธรราคาสินค้ ารวม Vat7% แล้ ว ส่ งปกติไม่ มีค่าส่ ง กรุณาพิจ82 ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
แปรงสีฟันพร้ อมด้ ามจับและสายรั ดข้ อมือสาหรั บคนพิการ ราคาชุดละ 75 บาท Vat7%
เสือ้ กาวน์ เปี่ ยมสุข Dental safety goal ราคาตัวละ 600 บาท รวม Vat7%
ซิสเท็มมา 40 กรั ม 10 บ./หลอด ยาสีฟันโคโดโม 40 กรั ม 22 บ./หลอด
เซ็นท์ แอนดรู ว์ 40 กรั ม 15 บ./หลอด
คอลเกต 40 กรั ม 12.50 บาท /หลอด คอลเกต 20 กรั ม 7 บาท /หลอด
แปรงสีฟันโคโดโม 20 บ./ด้ าม สินค้ า Gift Shop สาหรั บแจกเด็กๆ ติดต่อสอบถามทางไลน์
ไหมขัดฟั น11m อันละ 20 บาท
Tuntapootorn_online หรื อ อีเมล tuntapootorn@hotmail.com
แปรงซอกฟั น อันละ 16 บาท ราคาสินค้ ารวม Vat7% แล้ ว ส่ งปกติไม่ มีค่าส่ ง กรุ ณาพิจารณา สี สินค้ าทัง้ หมดได้ ท่ ี
วารสารทันตภูธร
83
www.tuntapootorn.com ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
วารสารทันตภูธร
84
ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2558
พิจารณาราคา และ สินค้ าทัง้ หมดได้ ท่ ี www.tuntapootorn.com หน่ วยงานกรุ ณา ดาวน์ โหลด เอกสารขอใบเสนอราคา จากเวบไซต์ แล้ วอีเมลกลับมาที่ tuntapootorn@hotmail.com
ถุงนิว้ ทาความสะอาดช่ องปากเด็กทารก ราคา ชุดละ 5 ชิน้ /50 บาท ชุดละ 3 ชิน้ /30 บาท
ถุงผ้ าดิบ(10x12x2นิว้ ) สกรีน 1 สี 100ถุงขึน้ ไป 45บ/ถุง
ถุงผ้ าดิบ(10x13นิว้ ) สกรีน 1 สี 100ถุงขึน้ ไป 35บ/ถุง ผ้ าเจาะกลาง ผืนละ 75 บาท ผ้ าห่ อเซ็ต ผืนละ 85 บาท เย็บ 2 ชัน้ ตัดเย็บจาก ผ้ าฝ้ าย100%140 เส้ น สาหรับใช้ ใน โรงพยาบาล ซับนา้ ได้ ดี ทนความร้ อนได้ >180 C มีหนังสือรับรองมาตรฐาน เส้ นด้ ายจากสถาบันสิ่งทอ
สนับสนุนการจัดพิมพ์ วารสารทันตภูธร ด้วยการสั่งซื้อ สินค้าสาหรับใช้ในงานทันตสาธารณสุข เพื่อการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่มวัย ใน www.tuntapootorn.com