“
” (junk food) คืออาหารที่มีคุณค่ าทางโภชนาการ
ต่า อาหารขยะส่ วนใหญ่ ประกอบด้ วย แป้ง ไขมัน นา้ ตาล เกลือ แต่ มีปริมาณโปรตีน วิตามิน เกลือแร่ เส้ นใยอยู่น้อย ตัวอย่ างเช่ น อาหารขยะนอกจากมีปริมาณแป้ง ไขมัน นา้ ตาลและเกลือ สูงแล้ ว ยังมีวัตถุเจือปนอาหาร เช่ น ผงชูรส สารกันบูด สีผสมอาหาร ทาให้ มีผลต่ อ สุขภาพของร่ างกาย
อันตรายหรือภัยมืดที่เกิดจากการรับประทานอาหารขยะ อาจ ก่ อให้ เกิดอันตรายต่ อร่ างกาย ดังนี ้ 1. อาหารขยะบางชนิดใช้ นา้ มันในการประกอบอาหาร คนที่ชอบ รับประทานอาหารประเภทไขมันสูง อาจเสี่ยงต่ ออันตรายที่เกิดจาก ไขมันได้ ทาให้ ผ้ ูบริโภคเสี่ยงต่ อการเป็ นโรคหัวใจ 2. โรคอ้ วน เป็ นอีกโรคหนึ่งที่เกิดกับคนที่บริโภคอาหารขยะ เพราะ อาหารขยะบางชนิดมีส่วนผสมของนา้ ตาลในปริมาณสูง ทาให้ ผ้ ูบริโภค ได้ รับพลังงานสูงกว่ าความต้ องการของร่ างกาย จึงทาให้ เป็ นโรคอ้ วนได้
3. อาหารขยะบางประเภทมีเกลือในปริมาณสูงมาก ทาให้ เกิดเป็ นโรคความดันโลหิตสูง และอาจส่ งผลต่ อการทางานของ ไตได้ ด้วย 4. วัตถุเจือปนในอาหารขยะ เช่ น • สีผสมอาหาร ถ้ าเป็ นสีสังเคราะห์ และใช้ ในปริมาณ ที่ไม่ เป็ นไปตามกฎหมายกาหนด อาจมีผลเสียต่ อสุขภาพของ ผู้บริโภค
• ผงชูรส หรือ โมโนโซเดียมกลูทาเมต ซึ่งจะมี ปริมาณมาก อาจเป็ นสารก่ อภูมแิ พ้ ได้ สาหรับผู้บริโภค บางคน • สารกันเสีย เช่ น โซเดียมเบนโซเอต ถ้ าปริมาณ ที่ใช้ ในอาหารไม่ เป็ นไปตามกฎหมายกาหนดอาจก่ อ อันตรายต่ อผู้บริโภคได้
การหลีกเลี่ยงอาหารขยะควรปฏิบตั ดิ ังนี ้ 1. อย่ าให้ เด็กคุ้นเคยหรือติดนิสัยชอบรับประทานอาหาร ขยะ 2. ควรให้ ความรู้ เกี่ยวกับอาหารขยะแก่ เยาวชน 3. ควรบริโภคอาหารที่มีคุณค่ าทางโภชนาการครบถ้ วน 4. การคานึงถึงสุขภาพที่แข็งแรง จะทาให้ ร้ ูจักเลือกบริโภค อาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ 5. ควรเลือกบริโภคอาหารที่ปรุ งด้ วยไขมันไม่ อ่ มิ ตัวได้ แก่ นา้ มันมะกอก นา้ มันจากถั่ว นา้ มันดอกคาฝอย ที่มา อารี ชูวิสิฐกุลและขนิษฐา อินทร์ ประสิทธิ์.ภัยมืดจากอาหารขยะ. วารสารกรม วิทยาศาสตร์ บริการ,มกราคม 2551, ปี ที่ 56 ฉบับที่ 176 : หน้ า1-2