ฟังเพลง ด้วยหูฟงั อย่างไร
ให้ปลอดภัย เมื่อเทคโนโลยีต่างๆ เจริญขึ ้นมาก มาช่วยสร้ างความสะดวกสบายให้ แก่ชีวิตมนุษย์ หรื อ กระทัง่ เรื่ องความบันเทิงจากแต่ก่อนที่การฟั งดนตรี จะต้ องฟั งกับวงดนตรี จริ งๆ เราก็เริ่มมีการ บันทึกเสียงลงแผ่นเสียง ลงเทป ลงซีดี ลงสื่อที่ใช้ เก็บเพลงและดนตรี ต่างๆ จากเครื่ องเสียงชิ ้น ใหญ่โตที่จะต้ องเก็บไว้ ที่บ้านหรื อติดตังไว้ ้ ในรถ เจริญก้ าวหน้ ามาจนเป็ นเครื่ องเล่นชนิดพกพา ที่เล่นด้ วยเทปกระทัง่ เล่นซีดี หรื อดิจิตอลเทปแบบพกพาได้ จวบจนสมัยนี ้ เพลงจานวนนับพัน สามารถถูกใส่เข้ าไว้ ในเครื่ องเล่นชนิดพกพา
แต่ไม่ว่าวิธีการเก็บเพลง หรื อขนาดของเครื่ องเล่นจะเปลี่ยนแปลงไปรวดเร็วอย่างไร สิ่งหนึง่ ที่เปลี่ยนแปลงยาก และช้ ากว่าและต้ องทางานกับอวัยวะรับเสียงคือหูของเรา (ที่ไม่เปลี่ยนแปลงมาเป็ นเวลาหลายพันปี แล้ ว) ก็มีลกั ษณะเป็ น แบบเดิมคือลาโพงเสียง หรื ออุปกรณ์แปลงสัญญาณไฟฟ้าเป็ นเสียงต่างๆ และสาหรับเครื่ องเล่นแบบพกพา อุปกรณ์ลาโพงนี ้ก็ ถูกออกแบบให้ มีขนาดเล็กจนสามารถติดไว้ ใกล้ กบั หูหรื อแม้ แต่ในช่องหูของเราได้ ในลักษณะต่างๆ
ความเสี่ยงที่แฝงตัวมา ปั จจุบนั นี ้ การฟั งเสียงพลงจากเครื่ องเล่นชนิดพกพาทังหลายมั ้ กจะทากันด้ วยหูฟังเกื อบทังสิ ้ ้น ซึง่ หลายครัง้ เราจะเห็นว่าเพื่อน คนรู้จกั คนที่เดินผ่านไปมา ใช้ ลาโพงเล็กๆเสียบเข้ าไปในหู และเปิ ดเพลงเร่งระดับเสียงจนดังมาก จนกระทัง่ เราสามารถได้ ยินเสียงห่างออกมาในระยะหลายฟุต ระดับเสียงที่ดงั มากเหล่านี ้สามารถสร้ างความเสียหายกับ ระบบรับฟั งเสียงหรื ออวัยวะภายในหูของเราได้ เมื่อฟั งเป็ นเวลานาน ความเสียหายเหล่านี ้อาจจะไม่แสดงอาการทันที เมื่อ อายุยงั น้ อย แต่เมื่ออายุมากขึ ้นอาจจะเกิดอาการหูดบั ไปได้ เลยทีเดียว
เราฟั งเสียงได้ ดังแค่ ไหน หูของคนเรานันมี ้ ขีดจากัด ถ้ าเราได้ รับเสียงที่ดงั มากๆ อาจจะถึงกับทาให้ หเู สียหายอย่างถาวรได้ เลย โดยปกติแล้ วเราสามารถฟั งเสียงได้ ตงแต่ ั ้ ระดับความดัง 0dBspl (spl คือ sound pressure level ซึง่ เรา เทียบระดับความดังต่าสุดที่มนุษย์สามารถได้ ยินเป็ น 0 dBspl) ไปจนกระทัง่ 120 dB ซึง่ เป็ นเสียงระดับไซเรน (ที่ระยะของไซเรน แต่ที่ระยะที่ห่างออกมา เสียงก็จะมีระดับความดังลดต่าลง) โดยปกติแล้ วเราสามารถฟั งเสียงได้ ที่ ความดังระดับ 85 dB (ประมาณเสียงในร้ านอาหารที่พลุกพล่าน) ได้ อย่างปลอดภัยเป็ นเวลาวันละ 8 ชัว่ โมง และ ที่ความดังที่เพิม่ ขึ ้นสองเท่า (ระดับความดังเพิม่ ขี ้น 3 dB คือดังขึ ้นสองเท่า) นัน้ เวลาที่เราจะฟั งหรื ออยู่ในสภาวะ แวดล้ อมเช่นนันจะลดลงสองเท่ ้ าตัวด้ วยเช่นกัน เช่น เราจะอยู่ที่ระดับความดัง 88 dB (ริมถนนที่จอแจมาก) ได้ อย่างปลอดภัยเพียงวันละ 4 ชัว่ โมง หรื อจะอยู่ที่ระดับความดัง 91 dB (ความดังระดับด้ านหน้ าวงดุริยางค์) ได้ อย่างปลอดภัยเพียงวันละ 2 ชัว่ โมง เป็ นต้ น และเพราะว่าระดับความดังของเสียงแปรผันเป็ นกาลังสองของระยะ ระหว่างแหล่งกาเนิดเสียงกับหูของเรา การเปิ ดเสียงที่ไม่ดงั มากนักจากหูฟังที่อยู่ชิดติดกับหูของเรา จะสร้ างระดับ ความดังของเสียงได้ อย่างมากมาย
ฟั งอย่ างไรให้ ปลอดภัย ตรงนี ้เป็ นเรื่ องสาคัญที่เรามองข้ ามกันไป และเป็ นพฤติกรรมในการฟั งเพลงของคนเรา ไม่ว่าจะจาก เครื่ องเสียงที่ใช้ ลาโพงธรรมดา จากชุดสเตอริโอในบ้ าน จากเครื่ องเสียงในรถยนต์ หรื อจากหูฟังชนิดต่างๆ ของ เครื่ องเล่นประเภทพกพา โดยได้ รับการทดลองและศึกษาแล้ ว (ลองสังเกตดูตวั เองได้ ) ก็คือ เรามักจะเร่งระดับเสียง ให้ ดงั มากขึ ้นเพื่อกลบเสียงรบกวนภายนอกที่อยู่ข้างๆ ซึง่ ความจริงแล้ ว วิธีฟังเพลงที่ปลอดภัยที่สดุ ก็คือนัง่ ฟั งในบริเวณที่เงียบมากๆ เช่น ห้ องนอนตอน กลางคืน หรื อห้ องทางานที่เงียบสงัด ซึง่ จะเห็นว่าทังสองอย่ ้ างนันแทบจะท ้ าหรื อเป็ นไปไม่ได้ เพราะในห้ องนอนเราก็ คงอยากนอนหลับพักผ่อน หรื อในที่ทางานเราก็คือจะต้ องทางาน หากมัวแต่นงั่ ฟั งเพลงเจ้ านายก็คงจะให้ เรากลับไป ฟั งที่บ้าน (โดยไม่ได้ รับค่าจ้ างเงินเดือนอีก) ...แล้ วจะทาอย่างไรดี
อุปกรณ์ ท่ ชี ่ วยให้ ปลอดภัยขึน้ จากพฤติกรรมในการฟั งเพลงของเรา เราก็ต้องพยายามทากลับด้ านกัน คือทาให้ เราไม่ได้ รับเสียงรบกวนจากภายนอกในขณะที่เราฟั งเพลงอยู่ (แม้ ว่าในขณะนันเราจะอยู ้ ่ในสภาพแวดล้ อมที่มีการ รบกวนก็ตาม) หนึง่ ในความเป็ นไปได้ คือการใช้ หฟู ั งชนิดที่สามารถป้องกันเสียงรบกวนออกไปได้ ซึง่ จะมี อยู่สองประเภทคือ หูฟังชนิดครอบทังหู ้ (over the ear) ที่สามารถกันเสียงภายนอกรั่วไหลเข้ ามา แต่หฟู ั งชนิดนี ้จะมีขนาดใหญ่เกะกะสักหน่อยและอีกแบบหนึง่ คือหูฟังชนิดสอดในรูหทู ี่สามารถกันเสียง รบกวนได้ (in-ear noise isolating earphone) และในเมื่อการใช้ หฟู ั งสองชนิดนี ้สามารถ ป้องกันเสียงจากภายนอกเข้ ามารบกวนได้ เราก็มกั จะมีแนวโน้ มที่จะเปิ ดเสียงเพลงจากเครื่ องเล่นต่างๆ ด้ วยระดับความดังที่ต่าลง หูของเราเป็ นอุปกรณ์ (อวัยวะ) ที่ไม่สามารถเปลี่ยนใหม่ได้ ดังนันเพื ้ ่อความปลอดภัยของ อุปกรณ์ประจาตัวชิ ้นนี ้ ให้ เขาได้ ทางานอยู่กบั เราไปนานๆ เราก็ควรใช้ งานอย่างถนอมเอาไว้ ให้ ดีที่สดุ
ที่มา : วารสารสายใจไฟฟ้า ฉบับที่ 3/2557