บรรณารักษ์ยุคใหม่ จะต้องเตรียมตัวอย่างไร

Page 1


ในปั จจุบันความรู้ ในศาสตร์ สาขาต่ างๆ หรื อในวิชาชีพ ได้ มีการพัฒนาไปอย่ างรวดเร็ว ปั จจัยสาคัญที่ ส่ งผลให้ เกิดการพัฒนาความรู้ ก็คือการศึกษา ซึ่งเป็ นเครื่ องมือสาคัญของการเรี ยนรู้ การสร้ างความรู้ การสร้ าง ศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในฐานะเป็ นทุนทางปั ญญา โดยเฉพาะวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศ ศาสตร์ ได้ พัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง อันเป็ นผลจากความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทาให้ โลกก้ าว เข้ าสู่สังคมดิจทิ ัล และได้ ส่งผลต่ อการปรั บกระบวนทัศน์ ในวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ ทาให้ บรรณารั กษ์ จาเป็ นต้ องปรับเปลี่ยนบทบาท ความรู้ ความสามารถให้ ทนั กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ดังนัน้ LWN ฉบับนี ้ จึงขอนาเสนอแนวทางการปรั บบทบาทของบรรณารักษ์ ยุคใหม่ ให้ ผ้ ูอ่านได้ ศึกษากัน โดยเฉพาะในยุคที่เทคโนโลยีเข้ ามามีบทบาทในวิชาชีพของเรามากขึน้ การปรั บเปลี่ยนบทบาทเพื่อให้ สอดคล้ องกับ ความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีท่ เี ปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทาให้ บรรณารักษ์ ยุคใหม่ ไม่ สามารถหลีกเลี่ยงได้ อย่ างไรก็ ตาม เมื่อเราพูดถึงการเป็ นบรรณารั กษ์ ยุคใหม่ ก็มีปัจจัยหลายประการที่บรรณารักษ์ ควรให้ ความสนใจเพื่อที่จะช่ วย สนับสนุนให้ การปฏิบัตงิ านมีประสิทธิภาพมากขึน้ ซึ่งในที่นีจ้ ะขอนาเสนอเฉพาะที่สาคัญได้ แก่


1.

ความรู้ความสามารถและทักษะทางด้ านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีใหม่ๆ (Knowledge and Skill of Using Computer and New Technology) เพราะโลกปั จจุบน ั ข้ อมูลข่าวสารที่ถกู เปลี่ยนจากรูปแบบที่อยูใ่ นรูปของ สิง่ พิมพ์ ไปสูใ่ นรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์มากขึ ้น จึงต้ องมีการปรับเปลี่ยนตัวเอง พัฒนาการทางานด้ านเทคนิคใน สิง่ แวดล้ อมที่มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมากให้ ได้

2.

ความสามารถในด้ านบริหารจัดการ (Knowledge of Manager) บรรณารักษ์ ยคุ ใหม่ จะต้ องสามารถจัดการ แหล่งทรัพยากรสารสนเทศ บริการสารสนเทศโดยการเลือกสิง่ ที่เป็ นประโยชน์และมีความเหมาะสมเข้ าห้ องสมุด มีความรู้ในการคิดประมาณค่าใช้ จ่ายและงบประมาณต่างๆในการดาเนินการเลือกซื ้อทรัพยากรสารสนเทศ ต่างๆ ที่ผ้ ใู ช้ บริการมีความต้ องการหรื อสนใจที่จะใช้ บริการ เพื่อให้ บริการที่ค้ มุ ค่ามากที่สดุ

3.

ความรู้ความสามารถด้ านการตลาด (Knowledge of Marketing) การตลาดของห้ องสมุด คือ ความพึงพอใจ ของลูกค้ าต้ องเพิ่มมากขึ ้น จาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องศึกษาถึงความต้ องการของลูกค้ าเป็ นอันดับแรก เพื่อนาข้ อมูล มาใช้ สาหรับการพัฒนาห้ องสมุดในด้ านต่างๆ โดยเฉพาะงานบริการห้ องสมุดที่เป็ นหัวใจสาคัญ บรรณารักษ์ ยงั ต้ องสร้ างความโดดเด่นและความแตกต่างในด้ านบริการที่เป็ นเลิศกว่าห้ องสมุดอื่นๆ ให้ ผ้ ใู ช้ บริการสนใจ ทาให้ มี สถิติผ้ ใู ช้ บริการเพิ่มมากขึ ้น ดังนั ้นถ้ าสังคมเกิดการเรี ยนรู้และรักการอ่านมากขึ ้น ก็ หมายถึงผู้ใช้ บริการสนใจเข้ า ใช้ ห้องสมุดเป็ นแหล่งศึกษาหาความรู้เพิ่มมากขึ ้น


4.

ความรู้ความสามารถและทักษะด้ านภาษาต่างประเทศ (Knowledge and Skill of English Language) การเรี ยนรู้ภาษาอังกฤษมีบทบาทสาคัญต่อการปฏิบตั ิงานของบรรณารักษ์ ยคุ ใหม่เป็ นอย่างยิ่ง และสามารถนาความรู้ไปใช้ ในการแปลและถ่ายทอดข้ อมูลเพื่อแนะนาให้ ผ้ ใู ช้ บริการได้ นาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ได้ อย่างแท้ จริง

5.

การเรี ยนรู้ตลอดชีวิต (Life-time Learning) บรรณารักษ์ ยคุ ใหม่จะต้ องพัฒนาแหล่งเรี ยนรู้ เพื่อ ตอบสนองผู้ใช้ บริการได้ อย่างต่อเนื่อง และสอดคล้ องกับสภาพสังคม รวมถึงกระบวนการสนับสนุนส่งเสริม การ ถ่ายทอดความรู้ การสร้ างนิสยั รักการอ่าน และการค้ นคว้ า การฝึ กอบรมทักษะต่างๆ ให้ คนสามารถศึกษาเรี ยนรู้ ได้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพราะห้ องสมุดถือเป็ นกลไกอันสาคัญที่จะพัฒนาการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต เพื่อทาให้ เป็ นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคณ ุ ค่าและมีคณ ุ ภาพ


1.

นอกจากที่นาเสนอข้ างต้ นแล้ ว ยังมีสงิ่ ที่ต้องคานึงถึงในการเตรี ยมตัวเป็ นบรรณารักษ์ ยคุ ใหม่ ดังนี ้ Ask questions (ตั ้งคาถาม) เมื่อบรรณารักษ์ ได้ รับการติดต่อให้ ไปสัมภาษณ์ ในขณะที่ถกู สัมภาษณ์ อย่าให้ ผ้ ทู ี่ สัมภาษณ์ถามแต่เพียงฝ่ ายเดียว แต่บรรณารักษ์ ยคุ ใหม่ควรจะต้ องรู้เรื่ องราวของห้ องสมุดนั ้นๆ ด้ วย เช่น เราอาจถามว่า ตอนนี ้ห้ องสมุดมีโครงการไอทีมากน้ อยเพียงใด หรื อห้ องสมุดมีแผนนโยบายเป็ นอย่างไร

2.

Pay attention (เอาใจใส่) นอกจากนี ้ เวลาสัมภาษณ์งาน บรรณารักษ์ ต้องมีความเอาใจใส่และสนใจกับคาถาม และ เมื่อมีโอกาสก็อาจจะแทรกความคิดเห็นของเราลงไปในคาถามด้ วย

3.

Read far and wide (อ่านให้ เยอะและอ่านให้ กว้ าง) แน่นอน บรรณารักษ์ ยคุ ใหม่ต้องรู้จกั ศาสตร์ ต่างๆ รอบตัวให้ ได้ มากที่สดุ

4.

Understand copyright (เข้ าใจเรื่ องลิขสิทธิ์) เรื่ องลิขสิทธิ์ถึงแม้ ว่าตัวเรื่ องจริงๆ จะเกี่ยวกับกฎหมาย แต่มนั มี ความเกี่ยวข้ องกับห้ องสมุดโดยตรง ในเรื่ องของการเผยแพร่สารสนเทศต่างๆ


5.

Work and play (ทางานกับเล่น) อธิบายง่ายๆ ว่าทางานอย่างมีความสุข บรรณารักษ์ ยคุ ใหม่อย่างน้ อยต้ องรู้จกั ประยุกต์การทางานให้ ผ้ รู ่วมงานด้ วยรู้สกึ สนุกสนานกับงานไปด้ วย เช่น อาจจะมีการแข่งขันในการให้ บริ การกัน หรื อ ประกวดอะไรกันภายในห้ องสมุดก็ได้

6.

Manage yourself (จัดการชีวิตตัวเอง) บางคนอาจจะบอกว่าทาไมบรรณารักษ์ ต้องทาโน่นทานี่ “ฉันไม่มีเวลา หรอก” จริงๆ แล้ วไม่ใช่ว่าไม่มีเวลาหรอก หากแต่เพราะไม่สามารถจัดการระเบียบชีวิตของตัวเอง ทาให้ พอมีงานจุกจิกก็ มักจะบอกว่าไม่มีเวลา ดังนั ้นบรรณารักษ์ ยคุ ใหม่นอกจากจัดการห้ องสมุดแล้ ว การจัดการตัวเองก็ถือว่าเป็ นสิง่ สาคัญ เช่นกัน

7.

Avoid yourself (ปรับตัวให้ เข้ ากับเทคโนโลยี) ห้ ามอ้ างว่าไม่ร้ ูจกั เทคโนโลยีต่างๆ เพราะปั จจุบนั เทคโนโลยี เข้ ามามีบทบาทในงานของบรรณารักษ์ อย่างมาก บรรณารักษ์ ยคุ ใหม่จงึ ต้ องหัดใช้ เทคโนโลยีให้ ได้ อย่างน้ อย ในระดับที่สามารถใช้ งานเบื ้องต้ นได้


8.

Listen to the reasoned librarians (รับฟั งความคิดเห็นของบรรณารักษ์ ด้วยกัน) อย่างน้ อยการรับฟั งแบบ ง่ายๆ ก็คือ คุยกับเพื่อนร่วมงานดูว่ามีปัญหาอะไรหรื อไม่ในการบริการ บรรณารักษ์ ต้องช่วยเหลือกัน และอ่านบล็อกของ บรรณารักษ์ ด้วยกันบ้ าง บางทีไม่ต้องเชื่อทั ้งหมด แต่ขอให้ ได้ ฟังความคิดเห็นกันบ้ าง

9.

Remember the Big Picture (จดจาภาพใหญ่) ภาพใหญ่ในที่นี ้ไม่ใช่รูปภาพ แต่เป็ นมุมมองของความเป็ น บรรณารักษ์ จรรยาบรรณและสิง่ ต่างๆ ที่จะช่วยเราให้ คิดถึงความเป็ นบรรณารักษ์ ที่มีคณ ุ ภาพในยุคปั จจุบนั

ทั ้งหมดที่นามาเสนอนี ้ น่าจะเป็ นประโยชน์สาหรับผู้อ่าน สามารถที่จะนาไปประยุกต์ใช้ กบั การปฏิบตั ิงานได้ ทั ้งที่ เป็ นบรรณารักษ์ อยู่แล้ ว หรื อกาลังจะเตรี ยมตัวเป็ นบรรณารักษ์ ยคุ ใหม่ที่ไม่ใช่เฝ้าหนังสือ แต่เป็ นบรรณารักษ์ ยคุ ใหม่ที่ ทันสมัย รอบรู้ ในแบบที่เรี ยกกันในปั จจุบนั ว่า Cybrarian

ที่มา : วารสาร Library World News (LWN) ปี ที่ 6 ฉบับที่ 1 ตุลาคม – ธันวาคม 2558


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.