ผู้ท่ มี ีปัญหาสุขภาพ และโรคประจาตัวบางประเภท หากอาการของโรคกาเริบในขณะขับรถจะส่ งผลต่ อ สมรรถนะในการขับขี่ และเป็ นสาเหตุให้ เกิดอุบัตเิ หตุรุนแรงได้ เพื่อความปลอดภัยจึงขอแนะโรคประจาตัวที่ เป็ นอุปสรรคต่ อการขับรถและข้ อควรปฏิบัตสิ าหรั บผู้ขับรถที่มีโรคประจาตัว ดังนี ้
โรคประจาตัวที่เป็ นอุปสรรคต่ อการขับรถ โรคเกี่ยวกับสายตา ผู้ที่จอประสาทตาเสื่อมจะมองเห็นเส้ นทางในช่วงกลางคืนไม่ชดั เจน ส่วนผู้ที่เป็ นต้ อหิน ต้ อกระจก จะมีมมุ ในการ มองเห็นแคบ รวมถึงมองเห็นแสงไฟในลักษณะพร่ามัว ดังนั ้น ผู้ที่เป็ นโรคเกี่ยวกับสายตาควรหลีกเลี่ยงการขับรถใน ช่วงโพล้ เพล้ หรื อกลางคืนเพราะสายตาไม่สามารถปรับสภาพให้ มองเห็นในสภาวะที่ทศั นวิสยั ไม่ดี จึงเพิ่มความเสี่ยง ต่อการเกิดอุบตั ิเหตุ
โรคสมองเสื่อม มีอาการหลงลืม จดจาเส้ นทางไม่ได้ ไม่มีสมาธิในการขับรถ จึงส่งผลต่อการเลือกใช้ เส้ นทาง ไม่สามารถตัดสินใจแก้ ไขปั ญหาเฉพาะหน้ า ได้ ถกู ต้ องและทันท่วงที ทาให้ เกิดอุบตั ิเหตุได้
โรคหลอดเลือดสมอง แขนไม่มีแรงในการบังคับพวงมาลัย เปลี่ยนเกียร์ ขาไม่มีแรงเหยียบคันเร่งและเบรก อีกทั ้งการทางานของแขนและ ขาไม่สมั พันธ์กนั จึงส่งผลต่อการแก้ ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้ า หากผู้ขบั ขี่มีอาการดังกล่าว ควรรักษาอาการให้ หายเป็ น ปกติก่อนกลับมาขับรถ เพราะการตอบสนองต่อการขับขี่ที่ช้าลง อาจเป็ นสาเหตุให้ เกิดอุบตั ิเหตุได้
โรคพาร์ กินสัน มีอาการแข็งเกร็ง มือและเท้ าสัน่ ทาให้ การบังคับรถเป็ นไปด้ วยความยากลาบาก หากอาการรุนแรงหรื อได้ รับยาติดต่อกันเป็ น เวลานาน จะทาให้ เกิดภาพหลอน ซึง่ เป็ นอันตรายต่อการขับรถ
โรคข้ อเสื่อมและข้ ออักเสบ ผู้ป่วยจะมีอาการปวดบริเวณข้ อ ขาดกาลังแขนในการบังคับพวงมาลัย ไม่มีแรงเหยียบเบรก คลัตช์ และคันเร่งได้ เต็มกาลัง โดยเฉพาะกรณีกระดูกหลังเสือ่ มจะไม่สามารถนัง่ ขับรถเป็ นเวลานานได้ จึงผลต่อประสิทธิภาพในการ ขับรถ
โรคหัวใจ อาจมีอาการแน่นหน้ าอกเมื่อขับรถติดต่อกันเป็ นเวลานาน หรื อเครี ยดจากสภาพการจราจรติดขัด ไม่ควรขับรถด้ วยตนเอง เพราะหาก อาการกาเริบจะทาให้ หวั ใจวายเสียชีวิตได้
โรคเบาหวาน หากระดับน ้าตาลในเลือดต่า จะมีอาการหน้ ามืด วิงเวียนศีรษะ สายตาพร่ามัว เหงื่อออกมาก ใจสัน่ และหมดสติ เมื่อเริ่มมีอาการให้ จอดรถพักรับประทานอาหาร ลูกอม หรื อน ้าหวาน จะช่วยป้องกันภาวะน ้าตาลในเลือดต่า ทาให้ หมดสติ และเกิดอุบตั เิ หตุได้
โรคลมชัก มักมีอาการชัก เกร็งและกระตุกโดยไม่ร้ ูตวั หรื อหมดสติขณะชัก ควรหลีกเลี่ยงการขับรถด้ วยตนเอง หากจาเป็ นต้ องขับรถ ควรไม่มีอาการ ชักอย่างน้ อย 6 เดือน โดยสามารถขับรถได้ ในระยะทางใกล้ ๆ ด้ วยการใช้ ชอ่ งทางซ้ ายสุด เมื่อมีอาการเตือนโรคลมชักกาเริบ ให้ นารถจอด ริมข้ างทางในบริเวณที่ปลอดภัย หากเคยประสบอุบตั ิเหตุทางถนนจากการชัก ต้ องเว้ นระยะเวลาที่ไม่เกิดการชักอย่างน้ อย 1-2ปี ก่อนจะ กลับมาขับรถอีกครัง้ ที่สาคัญ ควรทานยาอย่างสม่าเสมอ ห้ ามขับรถในวันที่ไม่ได้ ทานยาโดยเด็ดขาด เพราะมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดอุบตั ิเหตุ
ข้ อควรปฏิบตั สิ าหรั บผู้ขับรถที่มีโรคประจาตัว - ปรึกษาแพทย์เพื่อประเมินความพร้ อมของสภาพร่างกาย หากแพทย์ไม่อนุญาต ควรหลีกเลี่ยงการขับรถ เพราะเสี่ยงต่อการเกิดอุบตั ิเหตุ - นายารักษาโรคและบัตรประจาตัวผู้ป่วยติดตัวไว้ วิธีช่วยเหลือที่ถกู ต้ องและสิ่งที่ไม่ควรทาในการช่วยเหลือ หากอาการของโรคกาเริบ คนที่พบเห็น จะได้ ช่วยเหลือถูกวิธี
- ไม่ทานยาในช่วงก่อนขับรถ โดยเฉพาะในช่วงที่เปลี่ยนหรือปรับขนาดยา ควรหลีกเลี่ยงการขับรถ เพราะอาจทาให้ เกิดอาการง่วงนอน ซึง่ จะส่งผล ต่อประสิทธิภาพในการขับรถ
- ไม่ขบั รถตามลาพัง ควรมีเพื่อนร่วมทางไปด้ วย หากเกิดเหตุฉกุ เฉินหรืออาการของโรคกาเริบ จะได้ มีคนคอยช่วยเหลือ - หลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ยงที่ทาให้ อาการของโรคกาเริบ อาทิ ขับรถติดต่อกันเป็ นเวลานาน ขับรถระยะทางไกลโดยไม่จอดพัก ขับรถในเส้ นทางที่มีสภาพการ จราจรติดขัด
ที่มา : จุลสารลด-หยุด-ภัย ปี ที่ 12 ฉบับที่ 112 เดือนสิงหาคม 2558 (จุลสารเพื่อส่งเสริมการเรี ยนรู้ด้านการจัดการภัยพิบตั ิ)