Gdp

Page 1

บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ ศ.212 หลักเศรษฐศาสตร์มหภาค อ.ณพล สุกใส napon@econ.tu.ac.th http://econ.tu.ac.th/class/archan/napon/EC212_2-56/ EC212 2/2556


2.1 กระแสหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ (The Circular Flow) 2.2 ความหมายและความสาคัญของบัญชีรายได้ประชาชาติ 2.3 การคานวณผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) การคานวณ GDP ด้านผลผลิต (Production Approach) การคานวณ GDP ด้านรายได้ (Income Approach) การคานวณ GDP ด้านรายจ่าย (Expenditure Approach)

2.4 ความหมายและความสัมพันธ์ดชั นี รายได้ประชาชาติแบบต่างๆ Gross National Product (GNP), Net National Product (NNP), National Income (NI), Personal Income (PI), และ Disposable Income (DI)

2.5 Nominal GDP, Real GDP และ GDP Deflator 2.6 ข้อจากัดในการใช้ GDP EC212 2/2556


 กระแสหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ หมายถึง แผนผังโครงสร้างของ

ระบบเศรษฐกิจ โดยแสดงความสัมพันธ์ของหน่ วยเศรษฐกิจภายใน โครงสร้าง ในด้านการแลกเปลี่ยน ปัจจัยการผลิต ผลผลิต และการทา ธุรกรรมทัง้ หมดระหว่างหน่ วยเศรษฐกิจ  หน่ วยเศรษฐกิจ ได้แก่ ภาคธุรกิจ ครัวเรือน สถาบันการเงิน รัฐบาล

และต่างประเทศ

EC212 2/2556


3 รายได้ของปั จจัยการผลิต (ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย กาไร) 1 ปั จจัยการผลิต (ที่ดิน แรงงาน ทุน ผูป้ ระกอบการ)

ภาคธุรกิจ

ภาคครัวเรือน 2 สินค้าและบริการ 4 ค่าใช้จา่ ยในการซื้อสินค้าและบริการ

Real flow Money flow EC212 2/2556


ภาคธุรกิจ

เฉพาะ Money flow EC212 2/2556

สถาบันการเงิน

ภาคครัวเรือน


ภาคธุรกิจ

สถาบันการเงิน

ภาครัฐบาล EC212 2/2556

ภาคครัวเรือน


ภาคต่างประเทศ

ภาคธุรกิจ

สถาบันการเงิน

ภาครัฐบาล EC212 2/2556

ภาคครัวเรือน


จากความสัมพันธ์ใน Circular Flow Diagram 1 – 4 แสดงให้เห็นว่า เมื่อส่วนรั ่วไหล = ส่วนอัดฉีด ที่ภาวะดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ การทาบัญชีรายได้ประชาชาติและผลิตภัณฑ์ประชาชาติ อาศัยหลักการว่า มูลค่าของผลผลิตทัง้ หมดในระบบเศรษฐกิจ = รายจ่ายทัง้ หมดในระบบเศรษฐกิจ = รายได้ทงั ้ หมดในระบบเศรษฐกิจ For an economy as a whole, income must equal expenditure.

Everyone’s expenditures go somewhere. Every transaction must have two parties: a buyer and a seller. Every dollar of spending by some buyer is a dollar of income for some seller. Mankiw (2001), Principle of economics EC212 2/2556


 บัญชีรายได้ประชาชาติ คือ บัญชีบน ั ทึกสถิติและข้อมูลกิจกรรมทาง

เศรษฐกิจที่เกิดขึน้ ในกระแสหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ  ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP)

หมายถึง มูลค่าตามราคาตลาดของสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายที่ผลิต ได้ภายในประเทศทัง้ หมด ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ ง  Gross domestic product is the market value of all final goods and services produced within a country in a given period of time. EC212 2/2556


วิธีการคานวณผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศมี 3 วิธี  วิธีคานวณทางด้านผลผลิต (Production Approach)  วิธีคานวณทางด้านรายจ่าย (Expenditure Approach)  วิธีคานวณทางด้านรายได้ (Income Approach)

EC212 2/2556


EC212 2/2556

ระบบเศรษฐกิจ ผลผลิต = รายได้ = รายจ่าย

S T M

Withdrawal

Injection

I G,R X


คานวณได้ 2 วิธี  คานวณจากมูลค่าสินค้าและบริการขัน ้ สุดท้ายที่มีการซื้อขาย กันในตลาด  คานวณแบบมูลค่าเพิ่ม (Value Added Approach)

EC212 2/2556


คานวณทางด้านผลผลิต: 1. คานวณจากมูลค่าสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายที่มีการซื้อขายกันในตลาด  มูลค่าสินค้าแต่ละชนิด เท่ากับ ระดับราคาสินค้า คูณ ปริมาณสินค้า คือ GDP

 

 P1  Q1    P2  Q2    P3  Q3   ...   Pn  Qn  n

 PQ i 1

i

i

สินค้าและบริการขัน้ สุดท้าย (Final goods and services) คือ สินค้าและบริการที่ ผลิตออกสู่ผบ้ ู ริโภคโดยตรง  ข้อควรระวัง อาจเกิดปัญหาการนับซา้ (Double counting) ได้ เนื่ องจากความ ซับซ้อนในกระบวนการผลิตของระบบเศรษฐกิจ 

EC212 2/2556


คานวณทางด้านผลผลิต: 2. คานวณแบบมูลค่าเพิ่ม (Value Added Approach)  สินค้าและบริการขัน ้ สุดท้าย (Final goods and services) คือ สินค้าและบริการ ที่ผลิตออกสู่ผบ้ ู ริโภคโดยตรง  สินค้าขัน ้ กลาง (Intermediate goods) คือ สินค้าที่ถกู ผลิตออกมาเพื่อใช้สาหรับ ผลิตสินค้าชนิดอื่นๆ ในขัน้ ตอนต่อไป  มูลค่าเพิ่ม (Value added) คือ ส่วนต่างระหว่างมูลค่าของสินค้าและบริการที่ ผลิตออกมาได้ กับ มูลค่าของต้นทุนในการผลิตสินค้าและบริการ มูลค่าเพิ่ม = มูลค่าของผลผลิตแต่ละขั้นตอน - มูลค่าสินค้าขั้นกลาง

GDP = มูลค่าเพิ่มในขั้นที่ 1 + มูลค่าเพิ่มในขั้นที่ 2 + มูลค่าเพิ่มในขั้นที่ 3 + มูลค่าเพิ่มในขั้นที่ 4 + … EC212 2/2556


ในเศรษฐกิจไทย การคานวณทางผลผลิต (Product Approach) โดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์ ) 

จาแนกสาขาการผลิตเป็ นทัง้ หมด 16 สาขาการผลิต 1) สาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่ าไม้ 2) สาขาประมง 3) สาขาการทาเหมืองแร่และเหมืองหิน 4) สาขาอุตสาหกรรม (การผลิต) ประกอบด้วย 22 อุตสาหกรรมย่อย 5) สาขาไฟฟ้ า ประปา และโรงแยกแก๊ส 6) สาขาการก่อสร้าง 7) สาขาการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน 8) สาขาโรงแรมและภัตตาคาร

EC212 2/2556


ในเศรษฐกิจไทย การคานวณทางผลผลิต (Product Approach) โดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์ ) 

จาแนกสาขาการผลิตเป็ นทัง้ หมด 16 สาขาการผลิต 9) สาขาการขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม 10) สาขาตัวกลางทางการเงิน 11) สาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่า และบริการทางธุรกิจ 12) สาขาการบริหารราชการแผ่นดิน การป้ องกันประเทศและการประกันสังคมภาคบังคับ 13) สาขาการศึกษา 14) สาขาบริการด้านสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 15) สาขาบริการชุมชน สังคม และส่วนบุคคลอื่น ๆ 16) สาขาลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล

EC212 2/2556


คานวณจากรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายที่ผลิตขึน้ ภายในระยะเวลาหนึ่ งที่กาหนด

GDP = C + Ig + G + (X - M)  

 

ค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและอุปโภคของครัวเรือน ค่าใช้จ่ายในการลงทุนเบือ้ งต้นของภาคธุรกิจภายในประเทศ ค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในการซื้อสินค้าและบริการ การส่งออกสุทธิ (Net export: X-M)

EC212 2/2556


คานวณจากรายได้ของปัจจัยการผลิตทัง้ หมดที่ถกู ใช้ในการผลิต สินค้าและบริการ  นัน ่ คือ เป็ นการคานวณจากรายได้ของปัจจัยการผลิต (Factor income) [ค่าเช่า + ค่าจ้าง + ดอกเบีย้ + กาไร]  รวมกับ ค่าเสื่อม และภาษี ธรุ กิจทางอ้อม 

GDP = ค่าเช่า + ค่าตอบแทนแรงงาน + ดอกเบี้ย + กาไร + ภาษีธุรกิจทางอ้อม + ค่าเสื่อม EC212 2/2556


ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product: GNP) 

หมายถึง มูลค่าของสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายที่ผลิตได้ในระยะเวลาที่กาหนด โดยใช้ทรัพยากรของประเทศและคนที่ถือชาติของประเทศนัน้ ไม่ว่าจะนาไปใช้ ในการผลิตในประเทศใดก็ตาม

ดังนัน้ จึงเท่ากับ GDP บวก เงินได้จากปัจจัยการผลิตของประเทศใน ต่างประเทศที่ส่งกลับมาในประเทศ หัก เงินได้จากปัจจัยการผลิตของต่างชาติ ในประเทศที่ส่งกลับประเทศตน

GNP = GDP + เงินได้สทุ ธิจากต่างประเทศ EC212 2/2556


ความแตกต่างระหว่าง GNP กับ GDP  ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product: GNP) เป็ นมูลค่าของ ผลผลิตและการบริการขัน้ สุดท้ายที่ผลิตได้ทงั ้ หมดในระยะเวลาหนึ่ ง โดยใช้ ทรัพยากรของประเทศ (ปัจจัยการผลิต) นัน้ ไม่ว่าจะนาไปใช้ในการผลิตในประเทศ ใดก็ตาม  ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หรือ ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบือ้ งต้น (Gross Domestic Product: GDP) เป็ นมูลค่าของสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายทัง้ หมดที่ผลิต ขึน้ ได้ภายในประเทศในระยะเวลาที่กาหนด โดยไม่คานึ งว่าจะถูกผลิตขึน้ โดยใช้ ทรัพยากรของประเทศนัน้ ๆ หรือไม่ GNP = GDP + (เงินได้จากปัจจัยการผลิตของไทยในต่างประเทศ - เงินได้จากปัจจัยการผลิตของต่างประเทศในไทย)

GNP = GDP + (เงินได้สทุ ธิจากต่างประเทศ) EC212 2/2556


ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสทุ ธิ (Net National Product: NNP)  หมายถึง ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ หัก ค่าเสื่อม

NNP = GNP - ค่าเสื่อม 

เนื่ องจากการลงทุนสุทธิของภาคธุรกิจในประเทศ ( In ) คือ การลงทุนเบือ้ งต้น หัก ค่าเสื่อม

In = I - ค่าเสื่อม NNP = GNP - ค่าเสื่อม = C + I + G + (X - M) + เงินได้สทุ ธิจากต่างประเทศ - ค่าเสื่อม = C + In + G + (X - M) + เงินได้สทุ ธิจากต่างประเทศ

EC212 2/2556


รายได้ประชาชาติ (National Income: NI)  หมายถึง ผลรวมของค่าตอบแทนหรือรายได้ของปัจจัยการผลิต ดังนัน ้ จึงต้อง หัก ภาษี ธรุ กิจทางอ้อม ออกจาก NNP เนื่ องจากภาษี ธรุ กิจทางอ้อมเป็ นส่วน หนึ่ งที่ทาให้มลู ค่าของผลผลิตเพิ่มขึน้ แต่ภาษี นี้ไม่ได้ตกเป็ นรายได้ของเจ้าของ ปัจจัยการผลิต คือ ตกเป็ นรายได้ของรัฐบาล

NI = NNP - ภาษี ธรุ กิจทางอ้อม

EC212 2/2556


รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income: PI)  หมายถึง รายได้ที่ภาคครัวเรือนได้รบ ั ทัง้ หมด ซึ่งแตกต่างจากรายได้ประชาชาติ คือ รายได้ประชาชาติเป็ นรายได้หรือผลตอบแทนของปัจจัยการผลิตทัง้ หมด และรวมถึงรายได้บางส่วนที่ไม่ได้ตกเป็ นรายได้ของภาคครัวเรือน เช่น  ภาษี เงินได้ของบริษท ั นิติบคุ คล เป็ นรายได้ของรัฐบาล  กาไรของบริษท ั ที่ไม่ได้จดั สรร เป็ นเงินออมของภาคธุรกิจ  นอกจากนี้ ยังมีรายได้ของครัวเรือนบางส่วนที่ไม่ได้เป็ นส่วนหนึ่ งของ NI เช่น เงินโอนของรัฐบาลแลเงินอุดหนุนต่างๆ  ดังนัน ้ การคานวณ PI จึงเท่ากับ NI หักด้วย ภาษี เงินได้ของบริษทั นิติบคุ คล และกาไรของบริษทั ที่ไม่ได้จดั สรร เป็ นเงินออมของภาคธุรกิจ และ บวก เงิน โอนของรัฐบาล PI = NI - (ภาษี เงินได้ของบริษทั นิติบคุ คล + กาไรของบริษทั ที่ไม่ได้จดั สรร + …) + เงินโอนของรัฐบาล EC212 2/2556


รายได้ที่ใช้จ่ายได้ (Disposable Income: DI)  หมายถึง เงินได้ที่ครัวเรือนสามารถนาไปใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและอุปโภคได้ ทัง้ หมด หรือเก็บออมไว้บางส่วนก็ได้  ดังนัน ้ DI จึงคานวณจาก NI หัก ภาษี เงินได้ส่วนบุคคล DI = PI - ภาษี เงินได้ส่วนบุคคล

EC212 2/2556


Assume เงินได้สทุ ธิจากต่างประเทศ = 0

I = Ig G

ค่าเสื่อม

In G

ภาษี ธรุ กิ จ ทางอ้อม

กาไรของ บริษทั

ภาษี เงิ นได้นิติ บุคคล กาไรไม่ได้ จัดสรร

เงินโอนของ รัฐบาล

เงิ นปันผล

C

C

กาไรของ ธุรกิ จส่วนตัว

กาไรของ ธุรกิ จส่วนตัว

ดอกเบีย้

ดอกเบีย้

ค่าจ้าง + เงินเดือน ค่าเช่า

NI

X–M

X–M

ค่าจ้าง + เงินเดือน ค่าเช่า

GNP

GNP

NNP

EC212 2/2556

ภาษี เงินได้ ส่วนบุคคล เงินออม (S) รายจ่ายใน การบริโภค (C)

PI

PI

DI


ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่เป็ นตัวเงิน (Nominal GDP) เป็ นมูลค่าของ ผลผลิตภายในประเทศ โดยคิดตามราคาตลาดในขณะนัน้ ๆ  ดังนัน ้ การเปลี่ยนแปลงของ Nominal GDP จากปี หนึ่ งไปอีกปี หนึ่ ง จึงเป็ นการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากทัง้ ผลของผลผลิตที่เปลี่ยนแปลงไป และผลของระดับ ราคาที่เปลี่ยนแปลงไป  ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่แท้จริง (Real GDP) เป็ นมูลค่าของผลผลิต ภายในประเทศ โดยคิดตามราคาตลาดในปี ใดปี หนึ่ ง (ปี ฐาน)  แสดงว่า การใช้ Real GDP เป็ นเครื่องแสดงศักยภาพการผลิต และรายได้ของ ประเทศ หรือเปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจระหว่างช่วงเวลา จึงเหมาะสมกว่า Nominal GDP เนื่ องจากได้ตดั ผลของราคาออกไปแล้ว 

EC212 2/2556


ความสัมพันธ์ระหว่าง Nominal GDP กับ Real GDP

Real GDP ปี ที่ n = 

Nominal GDP ปี ที่ n x 100 Price index ปี ที่ n

ดัชนี ราคา (Price index) ที่ได้จากการใช้ GDP คือ ดัชนี ผลิตภัณฑ์ ภายในประเทศ (GDP Deflator)

GDP Deflator ปี ที่ n =

EC212 2/2556

Nominal GDP ปี ที่ n x 100 Real GDP ปี ที่ n


GDP กับสวัสดิการสังคม (ข้อจากัดของการใช้ GDP) GDP คือ มูลค่ารวมของผลผลิตที่ระบบเศรษฐกิจหนึ่ งๆ ผลิตได้ในช่วงระยะเวลา หนึ่ ง  สวัสดิการสังคม (Social Welfare) คือ ระดับความอยู่ดีมีสข ุ ของคนในสังคม ซึ่ง ส่วนหนึ่ งสามารถวัดได้จากปริมาณของรายได้ (หรือสินค้า) ที่มีอยู่เพื่อ สนองตอบความต้องการของตนและทาให้เกิดความสุข แต่อย่างไรก็ตาม ความสุขอาจขึน้ อยู่กบั ปัจจัยอื่นๆ ด้วย  ประชากรแต่ละรายก็มีความจากัดในการเข้าถึงผลผลิตหรือทรัพยากรที่ แตกต่างกัน ดังนัน้ ผลผลิตอาจจะกระจุกอยู่ที่ผบ้ ู ริโภคไม่กี่ราย ขณะที่บางราย แทบจะไม่ได้บริโภคอะไรเลยก็ได้  GDP ไม่ได้คานึ งถึงเรื่องการกระจายรายได้  GDP ยังไม่ได้คานึ งถึงเรื่อง ผลกระทบของการผลิตต่อสิ่งแวดล้อม  GDP per capita ไม่สามารถใช้เป็ นเครื่องวัดสวัสดิการของมนุษย์ได้อย่าง สมบูรณ์ 

EC212 2/2556


The Underground Economy & The Informal Economy กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอย่างไม่ได้กระทากันเป็ นทางการ จึงไม่ถกู บันทึกไว้ ดังนัน้ ค่า GDP ที่คานวณออกมาได้ อาจไม่ได้สะท้อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทัง้ หมดที่เกิดขึน้  เช่น การแลกเปลี่ยนสินค้าเกษตรภายในหมู่บ้าน แรงงานนอกระบบ ฯลฯ 

GDP เป็ นตัวเลขทีม่ ีประโยชน์ และมีความสาคัญ แต่ GDP ไม่ใช่ตวั เลขเพียงตัวเดียวทีต่ ้องดู สาหรับการบรรลุเป้ าหมายทางเศรษฐกิจ

EC212 2/2556


EC212 2/2556


Millions of Baht

GDP จาแนกตามการผลิต ณ ราคาคงที่ ปี 1990 - 2010 9,000,000 8,000,000 7,000,000 6,000,000 5,000,000 4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 0 1990 1992 1994 1996 1998 2000 2002 2004 2006 2008 2010p Agriculture Non-agriculture ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ EC212 2/2556


GDP จาแนกตามการใช้จ่าย ณ ราคาคงที่ ปี 1990 - 2010 10,000,000

Millions of Baht

8,000,000 6,000,000 4,000,000 2,000,000 0 -2,000,000

1990 1992 1994 1996 1998 2000 2002 2004 2006 2008 2010p C

I

G

X-M

ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ EC212 2/2556


GDP จาแนกตามการใช้จ่าย ณ ราคาคงที่ ปี 2009

G 15% I 22%

X-M 9% C 54%

ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ EC212 2/2556

C I

G X-M


ระดับการเปิดประเทศของระบบเศรษฐกิจไทย 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0

%

X/GDP M/GDP (X+M)/GDP

1990 1992 1994 1996 1998 2000 2002 2004 2006 2008 2010p ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ EC212 2/2556


ระดับการมีบทบาทของรัฐในระบบเศรษฐกิจไทย 16 % 14 12 10 8

G/GDP

6 4 2 0 1990 1992 1994 1996 1998 2000 2002 2004 2006 2008 2010p ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ EC212 2/2556


สิ่งที่ข้อมูล GDP ไม่ได้บอก! Income share of the 20% richest and the 20% poorest and the ratio of income share of richest to poorest 1986-2006 the 2006 income ratio of 20% richest to 20% poorest is at about 16 times

% of country income

60 50

14.9 12.8

13.3

14.1

15 13.5

18 15.916

14.5

13.1

14

13.2

13

12.1

11.9

12

40

10

30

8

20

6

the pretty stagnant share of income hold by the 20% poorest, which only varies between 3.5-4.6 % of country’s income over the past 18 years.

10

4 2

0

0 1986

1988

1990

1992

1994

20% richest

EC212 2/2556

1996

1998

1999

20% poorest

2000

2001

2002

2004

richest/poorest

Figure 1.3, The stagnant high inequality, Source: Table 1, Jitsuchon and Siamwala(2007)

2006

times

70


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.