1
บทที 3 พัฒนาการของการทําแผนที จุดประสงค์ 1. อธิ บายพัฒนาการของแผนที ได้ 2. อธิ บายขอบข่ายของการศึกษาการทําแผนที 3. สามารถจําแนกประเภทแผนที และการใช้ประโยชน์แผนที ได้ เนื1อหา 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
บทนํา ความหมาย ประวัติความเป็ นมาของการทําแผนที รู ปทรงสัณฐานของโลก ประเภทแผนที ความเป็ นมาของแผนที ของประเทศไทย ประโยชน์แผนที สรุ ป
2
1. บทนํา แผนที เป็ นอุปกรณ์สาํ คัญอย่างหนึ ง ที มนุษย์ได้นาํ มาใช้เป็ นเครื องช่วยในการดําเนิ นกิจการงานต่างๆ ตลอดจนการศึกษาหาความรู ้ท, งั ในด้านวิชาการและในด้านการดําเนินชีวิตประจําวัน มาตั,งแต่สมัยโบราณ จนถึงสมัยปั จจุบนั แผนที นบั ว่ามีความสําคัญมากในเรื องการศึกษาสิ งที ปรากฏบนแผนที จะมีท, งั สิ งที เกิดขึ,นธรรมชาติและสิ งที เกิดจากแรงงานของมนุษย์ ลักษณะภูมิประเทศแต่ละชนิด ลมฟ้ าอากาศลักษณะ ของท้องทะเลและแหล่งนํ,า ก็ยอ่ มจะมีความสัมพันธ์เกี ยวเนื องต่อไปถึงกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ดว้ ยกัน ทั,งสิ, น 2. ความหมาย การนําเอารู ปภาพของสิ งต่างๆ บนพื,นผิวของ มาย่อส่ วนให้เล็กลง แล้วนํามาเขียนบนกระดาษหรื อ วัตถุที แบนราบ สิ งต่างๆบนพื,นผิวโลกประกอบด้วยสิ งที เกิดเองตามธรรมชาติ และสิ งที มนุษย์สร้างขึ,น โดย ใช้สัญลักษณ์แทนสิ งต่างๆ บนพื,นผิวโลกแผนที เป็ นอุปกรณ์สาํ คัญอย่างหนึ ง ที มนุษย์นาํ มาใช้เป็ นเครื องมือ ช่วยในการดําเนิน กิจการงานต่างๆ ตลอดจนการศึกษาหาความรู ้ท, งั ในด้านวิชาการ และในด้านการดําเนิน ชีวติ ประจําวัน ตั,งแต่โบราณจนถึงสมัยปั จจุบนั สิ งที แสดงลักษณะภูมิประเทศของผิวโลกทั,งที เป็ นอยูต่ าม ธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ,น โดยแสดงลงในพื,นราบเป็ นกระดานหรื อวัตถุอย่างใดอย่างหนึ งที แบนราบ ด้วยการย่อส่ วนให้เล็กลงตามขนาดที ตอ้ งการ การนําเอาภาพของสิ งต่างๆ บนพื,นผิวโลกหรื อบางส่ วน ทั,งที เกิดขึ,นเองตามธรรมชาติหรื อมนุษย์สร้างขึ,น มาย่อลงบนกระดาษหรื อวัตถุที แบนราบตามขนาดที ตอ้ งการ การอ่านแผนที คือ การค้นหารายละเอียดบนภูมิประเทศ ซึ งรายละเอียดบนภูมิประเทศ หมายถึงสิ ง ต่างๆ บนผิวโลก ที ปรากฏตามธรรมชาติ และสิ งที เกิดจากมนุษย์สร้างขึ,น 2.1 ความสํ าคัญของแผนที แผนที เป็ นสิ งที แสดงให้ทราบทั,งลักษณะของภูมิประเทศและการกระจายของกิจกรรมต่างๆ ของ มนุษย์ นอกจากนี,ยงั แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของสิ งต่างๆ อีกด้วย เช่น ด้านคมนาคม วิศวกรโยธาซึ ง ทํางานเกี ยวกับการสร้างทางหลวงการก่อสร้าง จําเป็ นต้องมีแผนที ซึ งแสดงถึงลักษณะภูมิประเทศ ปริ มาณ และชนิดของดินและหิ นตามบริ เวณเส้นทางที จะสร้าง การกระจายของนํ,าฝน ตลอดทั,งอุณหภูมิของแต่ละ ฤดูกาล สภาวะการณ์ดงั กล่าวและล้วนแต่มีผลต่อการพิจารณาในการสร้างทางหลวงว่าจะดําเนินการและใช้ วัตถุต่างๆในการก่อสร้างอย่างไร ด้านสาธารณประโยชน์ เช่น เพื อใช้ในการวางแผนสร้างสถานีผลิตกระแสไฟฟ้ าและการวาง สายไฟ การประปา สายโทรศัพท์ และแหล่งที จะทิ,งขยะมูลฝอย บริ ษทั ประกันภัยก็ตอ้ งใช้แผนที เพื อจะได้ ศึกษาถึงทางเดินของพายุ บริ เวณที ถูกภัยธรรมชาติ เช่น พายุลูกเห็บ บริ เวณนํ,าท่วมหรื อบริ เวณที มกั จะเกิด แผ่นดินไหวเป็ นต้น เนื องจากราคาของที ดินจะสู งขึ,นถ้าบริ เวณนั,นกลายเป็ น
3
แหล่งอุตสาหกรรมหรื ออาจจะเนื องมาจากการค้นพบแร่ ธาตุต่างๆ ขึ,นมา ดังนั,นแผนที จาํ เป็ นต้อง ทําขึ,นใหม่เพื อความถูกต้อง ด้านการพัฒนาวางแผนการเศรษฐกิจและสังคม ไม่วา่ โครงการนั,นจะเกี ยวข้องกับการสงวนรักษา นํ,า การสร้างอ่างเก็บนํ,า ท่อน้า โรงงานกรองนํ,าเสี ย การขุดบ่อบาดาล หรื อโครงการเกี ยวกับการป้ องกันนํ,า ท่วม การสร้างคันคูและแหล่งที จะเก็บกักนํ,า นอกจากนั,นในการพัฒนาด้านพลังงานและการสร้างเขื อน โรงงานผลิตกระแสไฟฟ้ า การวางสายไฟ ความปลอดภัยในการคมนาคมทางนํ,า การวางผังเมือง การ คมนาคมขนส่ ง การปลูกป่ า แหล่งเพาะพันธุ์ปลาหรื อการพัฒนาในเรื องการใช้สินแร่ และพลังงานเชื,อเพลิง การวางแผนเหล่านี,จะมีประสิ ทธิ ภาพไม่ได้ ถ้าขาดการใช้แผนที เข้าไปประกอบการพิจารณา เป็ นต้น ด้านการส่ งเสริ มการท่องเที ยว แผนที มีความจําเป็ นต้องนักท่องเที ยวมากในอันที จะทําให้ นักท่องเที ยวรู ้จกั สถานที ท่องเที ยวได้ง่าย และสะดวกในการที จะวางแผนการเดินทางหรื อตัดสิ นใจเลือก สถานที ท่องเที ยวตามความเหมาะสม ด้านการทหาร แผนที มีความจําเป็ นอย่างมากในการวางแผนยุทธศาสตร์ , ยุทธวิธี ถ้าขาดแผนที หรื อแผนที ลา้ สมัย ข้อมูลไม่ถูกต้อง การวางแผนอาจผิดพลาดได้ เป็ นต้น 3. ประวัติความเป็ นมาของแผนที ความสามารถในการทําแผนที เป็ นสัญชาตญาณอย่างหนึ งของมนุษยชาติ พฤติกรรมที แสดงออกทาง แผนที มีมานานแล้ว เช่น พวกเอสกิโมรู ้จกั การทําแผนที ดว้ ยการใช้ไม้สลักติดลงบนหนังแมวนํ1า แสดงแหล่ง ล่าสัตว์ ตกปลา ชาวเกาะมาร์ แชลใช้เปลือกหอยแทนเกะ ก้านมะพร้าวแทนเส้นทางเดินเรื อและบริ เวณที มี คลื นจัด เป็ นต้น
รู ปที 1 แผนที ของชาวเอสกิโม ทําด้วยไม้สลักติดบนหนังแมวนํ1า
4
รู ปที 2 แผนภูมิของชาวหมู่เกาะ Marshall ใช้เปลือกหอยแทนเกาะและก้านมะพร้าวแทนคลื น แผนที ที เก่าแก่ที สุดคือ แผนที ของชาวเมโสโปเตเมีย เมื อ 2,300 ปี ก่อนพุทธศักราช ทําด้วยดิน เหนียว แสดงกรรมสิ ทธิ ที ดินแปลงหนึ ง
รู ปที 3 แผนที บาบิโลนเป็ นแผนที เก่าแก่ที สุด เมื อ 2,500 ปี ก่อนค.ศ สมัยกรี กโบราณ ชาวกรี กโบราณเป็ นผูว้ างรากฐานการทําแผนที เริ มด้วยการพิสูจน์วา่ โลกกลม เมื อประมาณ พ.ศ. 193 ต่อมา พ.ศ. 323 อีราโทสธี นีส (Eratosthenes) ได้วดั ขนาดของโลกได้เป็ นคนแรก โดยใช้หลักคณิ ตศาสตร์ เบื1องต้นเท่านั1น และเขาได้คิดสร้างเส้นสมมติที เรี ยกว่า เส้นขนานและเส้นเมอริ เดียน
5
รู ปที 4 แผนที ของอีราโทธี นีส และขนาดของโลกที คาํ นวณได้ใกล้เคียงที สุดเป็ นคนแรก ต่อมาอีกราว 370 ปี ปโตเลมี (Claudius Ptolemy) คิดทําแผนที ให้ดียง ิ ขึ1น โดยนําเอาผลงานของ อี ราโทธี นีส มาปรับปรุ งคิดหาวิธีกาํ หนดค่าของมุมของเส้นขนานและเส้นเมอริ เดียน ต่อมาแผนที ของปโตเลมี ได้หายสาบสู ญไปเป็ นเวลาถึง 1,500 ปี
รู ปที 5 แผนที ปโตเลมี แผนที สมัยโรมัน ชาวโรมันสนใจการทําแผนที เพื อการเดินทาง การรบ และแสดงการแผ่ อาณาจักรโรมัน เช่น แผนที Orbis Terrarum แผนที สมัยโรมันไม่ได้คาํ นึงถึงความต้องของรู ปร่ างทางพื1นที นัก รู ปร่ างของแผ่นดินจึงผิดจากความจริ งอยูม่ าก
รู ปที 6 แผนที ของโรมันที เรี ยกว่า “Orbis Terrarum” แสดงอาณาจักรโรมันอันยิง ใหญ่
6
แผนที สมัยกลางของยุโรป ตั1งแต่ พ.ศ.843 เป็ นต้นมา การทําแผนที ข1 ึนอยูก่ บั คติทางศาสนา เพราะในสมัยนี1ศาสนามีอิทธิ พลมาก แผนที สมัยนี1แสดงรู ปร่ างของโลกเป็ นวงกลม มีมหาสมุทรล้อมรอบ ภายในมีทะเล แบ่งแผ่นดินออกเป็ นส่ วนๆ โดยมีเมืองเยรู ซาเลม ตั1งอยูต่ รงกลาง เรี ยกว่า ที-ใน-โอ (T-in-O)
รู ปที 7 แผนที ที-ใน-โอ (T-in-O)
ประมาณ ค.ศ. 801 ชาวจีนโบราณได้คิดแผนที ข1 ึนใช้ แผนที ที เก่าแก่ที สุดของจีนเป็ นแผนที ซ ึ ง แกะสลักด้วยหิ น แสดงให้เห็นกําแพงเมืองจีนตัดข้ามแม่น1 าํ เหลือง
รู ปที 8 แผนที เก่าแก่ที สุดของจีน พ.ศ.1680
ในต้นพุทธศตวรรษที 18 มีการประดิษฐ์เข็มทิศขึ1นใช้ในการสํารวจทําแผนที ตามชายฝั งทะเลเรี ยกว่า แผนที ปอร์ โตลาน (portolan chart) นับว่าเป็ นแผนที ที มีความถูกต้องพอใช้
รู ปที 9 แผนที ปอร์ โตลานแสดงทิศ ทางการเดินเรื อ
7
ในพุทธศตวรรษที 21 การทําแผนที เจริ ญขึ1นมาก ปั จจัยส่ งเสริ มความเจริ ญทางแผนที ในยุคนี1 มี 3 ประการคือ 1. ได้มีการค้นพบแผนที ของปโตเลมีที หายไป 2. คิดวิธีการทําแม่พิมพ์และการพิมพ์แผนที 3. ค้นพบทวีปอเมริ กา (โลกใหม่) แผนที ที มีลกั ษณะใกล้เคียงกับแผนที สมัยปั จจุบนั มากที สุด คือ แผนที ของ Deigo ribero ซึ งทํา ขึ1นเมื อปี พ.ศ. 2072
รู ปที 10 แผนที ของ Deigo ribero
พ.ศ. 2035 ชาวเยอรมันชื อ มาร์ ติน บาเเฮม (Martin Bahaim) ได้คิดสร้างโลกจําลองขึ1นสําเร็ จ ถือว่า เป็ นความก้าวหน้า
รู ปที 11 ลูกโลกที มาร์ ติน บาเฮมสร้างในปี พ.ศ. 2035 ต่อมาได้มีการประดิษฐ์เครื องมือวัดมุมขึ1นใช้ ระยะนี1ฝรั งเศสนับได้วา่ เป็ นประเทศที สนใจและ เชี ยวชาญในการทําแผนที เช่น ริ เริ มการวัดหาค่าของมุมตามเส้นเมอริ เดียนขึ1นเป็ นครั1งแรก ต่อมาในพุทธ ศตวรรษที 23 ได้มีการวางโครงข่ายสามเหลี ยม และการทําแผนที ภูมิประเทศบนแผ่นดินประเทศฝรั งเศส สําเร็ จ และประเทศอื นๆ ก็ยงั ยึดหลักการทําแผนที ของฝรั งเศสเป็ นส่ วนใหญ่ ตั1งแต่พุทธศตวรรษที 24 เป็ น ต้นมา เป็ นยุคแห่งการปรับปรุ งแผนที ขนานใหญ่ มีการทําแผนที แสดงรายละเอียดทางธรณี วทิ ยา เศรษฐกิจ
8
การศึกษา มีการพิมพ์สอดสี สวยงามขึ1น สมัยปั จจุบนั การทําแผนที เจริ ญขึ1นมาก เพราะวิทยาการและ เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ภาพถ่ายทางอากาศจากเครื องบิน ภาพถ่ายจากดาวเทียม ฯลฯ 4. รู ปทรงสั ณฐานของโลก โลก (Earth) โลกของเรามีรูปร่ างลักษณะเป็ นรู ปทรงรี (Oblate Ellipsoid) คือมีลกั ษณะป่ องตรง กลาง ขั1วเหนือ-ใต้ แบนเล็กน้อย แต่พ1ืนผิวโลกที แท้จริ งมีลกั ษณะขรุ ขระ สู ง ตํ า ไม่ราบเรี ยบ ไม่สมํ าเสมอ พื1นผิวโลกจะมีพ1ืนที ประมาณ 509,450,00 ตารางกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางที ศูนย์สูตรยาว 12,757 กิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางจากขั1วโลกเหนื อถึงขั1วโลกใต้ 12,714 กิโลเมตร จะเห็นว่าระยะทางระหว่าง แนวนอน (เส้นศูนย์สูตร) ยาวกว่าแนวตั1ง (ขั1วโลกเหนื อ -ใต้) จากลักษณะดังกล่าวนี1 ทําให้ไม่สามารถใช้ รู ปทรงเรขาคณิ ตอย่างง่ายแสดงขนาด และรู ปร่ างของโลกได้อย่างถูกต้อง ดังนั1นเพื อความสะดวกต่อการ พิจารณารู ปทรงสัณฐานของโลก และในกิจการของแผนที จึงมีการใช้รูปทรงสัณฐานของโลกอยู่ 3 แบบ คือ ทรงกลม (Spheroid) ทรงรี (Ellipsoid) และ ยีออยด์ (Geoid) ทรงกลม หรื อ สเฟี ยรอยด์ เป็ นรู ปทรงที ง่ายที สุด จึงเหมาะเป็ นสัณฐานของโลกโดยประมาณ ใช้กบั แผนที มาตราส่ วนเล็กที มีขอบเขตกว้างขวาง เช่น แผนที โลก แผนที ทวีป หรื อ แผนที อื นๆที ไม่ตอ้ งการความ ละเอียดถูกต้องสู ง ทรงรี หรื อ อิลิปซอยด์ โดยทัว ไป คือ รู ปที แตกต่างกับรู ปทรงกลมเพียงเล็กน้อย ซึ งจะมีลกั ษณะ ใกล้เคียงกับสัณฐานจริ งโลกมาก จึงเหมาะสําหรับใช้เป็ นพื1นผิวการรังวัด และการแผนที ที ตอ้ งการความ ละเอียดถูกต้องสู งเช่นแผนที ระดับชุมชนเมือง แผนที ภูมิประเทศมาตราส่ วนใหญ่ทว ั ไปแผนที นาํ ร่ องเป็ นต้น ยีออยด์ เป็ นรู ปทรงที เหมือนกับสัณฐานจริ งของโลกมากที สุด เกิดจากการสมมุติระดับนํ1าใน มหาสมุทรขณะทรงตัวอยูน่ ิง เชื อมโยงให้ทะลุไปถึงกันทัว โลก จะเกิดเป็ นพื1นผิวซึ งไม่ราบเรี ยบตลอด มี บางส่ วนที ยบุ ตํ าลง บางส่ วนสู งขึ1นขึ1นอยูก่ บั ความหนาแน่นและแรงโน้มถ่วงของโลก ทุก ๆ แนวดิ ง (Plumb Line) จะตั1งฉากกับยีออยด์ ยีออยด์มีบทบาทสําคัญในงานรังวัดชั1นสู ง (Geodesy) แต่กลับไม่มีบทบาท โดยตรงกับวิชาการแผนที นอกจากจะใช้ในการคํานวณแผนที ประกอบกับรู ปทรงรี 1
(a) รู ปที 12 a,b รู ปทรงสั ณฐานของโลก 1
http://www.rmutphysics.com/sciencefac/artic/map/map.htm
(b)
9
รู ปที 13 แสดงเส้นโครงแผนที รูปทรงกระบอก รู ปทรงกรวยกลม และรู ประนาบ ลักษณะรู ปทรงสัณฐานของโลกมีลกั ษณะกลมแบบ Speriod แต่ในทางปฎิบตั ิเราถือว่าโลกมีลกั ษณะ ทรงกลมทางเรขาคณิ ต ดังนั1นระบบพิกดั ภูมิศาสตร์ ของโลกจึงมีส่วนประกอบต่อไปนี1 1. เส้ นวงกลมใหญ่ (Great Circle) คือ เส้นรอบวงที เราลากผ่านไปรอบผิวโลกโดยผ่านที ศูนย์กลาง วงกลม แล้วบรรจบมาเป็ นวงกลม เรี ยกว่า"วงกลมใหญ่" ตัวอย่าง เช่น เส้นศูนย์สูตร เส้นเมริ เดียนที อยูต่ รง ข้ามกัน เส้นแบ่งเขตมืด-สว่าง 2. เส้ นวงกลมเล็ก (Small Circle) คือ เส้นรอบวงที เราลากผ่านไปรอบผิวโลกโดยไม่ผา่ นที ศูนย์กลางวงกลม แล้วบรรจบมาเป็ นวงกลม ตัวอย่าง เช่น เส้นขนาน 3. เส้ นศู นย์ สูตร (Equator) คือ เส้นที ลากผ่านศูนย์กลางวงกลมในแนวตะวันออกและตะวันตก โดย จุดเริ มต้นของเส้นที 0 องศาทางตะวันออก ซึ งเป็ นวงกลมใหญ่วงหนึ งเช่นกัน 4. เส้ นเมริ เดียน (Meridians) คือ เส้นที ลากผ่านศูนย์กลางวงกลมในแนวเหนือและใต้ โดยลาก เชื อมระหว่างจุดขั1วโลกเหนือ และขั1วโลกใต้ 5. เส้ นเมริ เดียน ปฐม (Prime Meridian) คือ เส้นเมริ เดียนที ลากผ่านหอดูดาวที ตาํ บลกรี นิช (Greenwich) ประเทศอังกฤษ ใช้เป็ นเส้นหลักในการกําหนดค่าลองกิจูด ซึ งถูกกําหนดให้มีลองกิจูดเป็ น ศูนย์ ถ้าถือตามข้อตกลงนานาชาติ ค.ศ. 1884 จะเรี ยกว่า เส้นเมริ เดียนกรี นิช ก็ได้ 6. เส้ นขนาน (Parallels) คือ เส้นที ลากขนานกับเส้นศูนย์สูตร หรื อ วงกลมเล็ก 7. ละติจูด (Latitude) หรื อ เส้ นรุ้ ง คือ ระยะทางเชิงมุมที วดั ไปทางเหนื อและใต้ของเส้นศูนย์สูตร นับจาก 0 องศาไปทางเหนือและทางใต้ 90 องศา 8. ลองกิจูด (Longitude) หรื อ เส้ นแวง คือ ระยะทางเชิงมุมที วดั จากเมริ เดียนปฐมซึ งถือที 0 องศา ตําบลกรี นิชเป็ นหลัก วัดไปทางตะวันออก 180 องศาตะวันออก และทางตะวันตก 180 องศาตะวันตก 9. เส้ นโครงแผนที คือ ระบบของเส้นที สร้างขึ1นในพื1นที แบนราบ เพื อแสดงลักษณะของเส้นขนาน และเส้นเมริ เดียนอันเป็ นผลจากแบบและวิธีการสร้างรู ปทรงเรขาคณิ ต และการวิเคราะห์ทางคณิ ตศาสตร์ ใน
10
การถ่ายทอดเส้นเหล่านั1นจากผิวโลก ซึ งเป็ นทรงกลมลงบนพื1นที แบนราบ ซึ งวิธีการนั1น เรี ยกว่าการฉาย แผนที โดยการใช้พ1ืนผิวรู ปทรงเรขาคณิ ต 3 ชนิด คือ รู ประนาบ (Plane) รู ปทรงกรวย (Cone) และรู ป ทรงกระบอก (Cylinder) ในการฉายเส้นโครงแผนที 10. โปรเจคชั นของแผนที คือ ระบบการเขียนแนวเส้นที แทนเส้นเมริ เดียนและเส้นขนาน (Meridians and Parallels) ของพิภพทั1งหมด หรื อ ส่ วนใดส่ วนหนึ งลงบนพื1นแบนราบตามมาตราส่ วน 11. ทิศเหนือจริง (True North) คือแนวที นบั จากตําบลใดๆ บนพิภพไปยังขั1วโลกเหนื อจะเห็นว่า เส้น Longitude ทุกเส้น ก็คือแนวทิศเหนือจริ ง ตามปกติใช้สัญลักษน์รูปดาวแทนทิศเหนือจริ งโดยทัว โปจะ ไม่ใช้ทิศเหนือจริ งในการอ่านแผนที 12. ทิศเหนือกริด (แผนที) (Grid North) คือแนวเส้นกริ ดใต้-เหนือบนแผนที ใช้สัญลักษณ์ GN ทิศเหนื อกริ ดให้ประโยชน์ในการหาค่าพิกดั บนเเผนที และมุมภาคของทิศ 13. ทิศเหนือแม่ เหล็ก ( Magnetic North) คือแนวตามปลายลูกศรที แสดงทิศเหนื อของเข็มทิศ. ซึ ง โดยปกติเข็มทิศจะชี1ไปทางขั1วเหนื อของแม่เหล็กโลกเสมอ ในแผนที จะใช้สัญลักษณ์รูปลูกศรครึ งซี ก ทิศ เหนื อแม่เหล็กจะใช้ประโยชน์ในการหาทิศทางเมื ออยูใ่ นภูมิประเทศจริ ง 14. อะซิมุท ( Azimuth) เป็ นวิธีการที คิดขึ1นมาเพื อใช้ในการบอกทิศทาง คือวัดขนาดของมุมทาง ราบที วดั จากแนวทิศเหนื อหลักเวียนตามเข็มนาฬิกามาบรรจบกับแนวเป้ าหมายที ตอ้ งการ มุมทิศอะซิ มุทนี1จะ มีค่าตั1งแต่ 0 - 360 องศา และเมื อวัดมุมจากเส้นฐานทิศเหนื อหลักชนิดใด ก็จะเรี ยกตามทิศเหนื อหลักนั1น เช่น อะซิ มุทจริ ง, อะซิ มุทกริ ด, อะซิ มุทแม่เหล็ก
รู ปที 13 การเอียงของแกนโลก
รู ปที 14 แสดงเส้นศูนย์สูตร เส้นขนาน เส้นเมอริ เดียน และเส้นเมริ เดียน เริ มแรก
11
5. ประเภทแผนที 2 แผนที ที เราพบเห็นกันอยูท่ ว ั ไปมีความหลากหลายในด้านข้อมูลที แส ด ง บนแผนที วัตถุประสงค์ การใช้งาน รวมถึงสี สัน และรู ปลักษณ์ของการพิมพ์ โดยส่ วนใหญ่แล้วเราสามารถจําแนกแผนที ได้เป็ น 3 ประเภท ดังนี1คือ (ธวัช บุรีรักษ์ และ บัญชา คูเจริ ญไพบูลย์, 2533) 1.1 แบ่งตามลักษณะของรายละเอียดที ปรากฏให้เห็นบนแผ่นแผนที 1) แผนที แบบแบนราบ (Planimetric Map) แผนที แสดงรายละเอียดทัว ไปของพื1นผิวพิภพในทาง ราบแต่ไม่แสดงความสู งตํ าของภูมิประเทศ ให้ประโยชน์ทางด้านการแสดงตําแหน่งและการหาระยะทาง ในทางราบ 2) แผนที ภูมิประเทศ (Topographic Map) แผนที แสดงรายละเอียดทัว ไปรวมทั1งลักษณะสู งตํ าของ ภูมิประเทศ ซึ งอาจเป็ น แผนที ที มีมาตราส่ วนใหญ่และปานกลางแต่เสี ยเวลาและแรงงานในการจัดทํามาก 3) แผนที ภาพถ่าย (Pictorial Map) เป็ นแผนที ที ทาํ ขึ1นจากภาพถ่ายทางอากาศ ซึ งอาจได้ เป็ นสี หรื อ ภาพขาวดําก็ได้ แล้วนํามาจัดในลักษณะของโมเสก (Mosaic) ซึ งมีโครงสร้าง พิกดั ศัพท์ทางภูมิศาสตร์ และ รายละเอียดประจําของระวาง แผนที มีประโยชน์มากสามารถจัดทําได้อย่ารวดเร็ วแต่มีความยากในการอ่าน ผูอ้ ่านต้องมีความรู ้ในการใช้แผนที ทางอากาศมาก่อน 1.2 แบ่งตามมาตราส่ วน • แบ่งในทางภูมิศาสตร์ ได้แก่ - แผนที มาตราส่ วนเล็ก มีมาตราส่ วนเล็กกว่า 1: 1,000,000 - แผนที มาตราส่ วนปานกลาง มีมาตราส่ วนตั1งแต่ 1: 250,000 ถึง 1: 1,000,000 - แผนที มาตราส่ วนใหญ่ มีมาตราส่ วนใหญ่กว่า 1: 250,000 • แบ่งในกิจการทหาร ได้แก่ - แผนที มาตราส่ วนเล็ก มีมาตราส่ วนตั1งแต่ 1: 600,000 และเล็กกว่า - แผนที มาตราส่ วนปานกลาง มีมาตราส่ วนใหญ่กว่า 1: 600,000 แต่เล็กกว่า 1: 75,000 - แผนที มาตราส่ วนใหญ่ มีมาตราส่ วนตั1งแต่ 1: 75,000 และใหญ่กว่า 1.3 แบ่งตามลักษณะการใช้งานและชนิดของรายละเอียด 1) แผนที ทว ั ไป (General Map) เป็ นรากฐานในการทําแผนที อื นๆ มีมาตราส่ วนขนาดเล็กกว่า 1:1,000,000 แสดงขอบเขตการปกครอง ความสู งตํ าของภูมิประเทศโดยใช้แถบสี 2) แผนที ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Map) เป็ นแผนที มาตราส่ วน 1:1,000,000 เพื อให้ครอบคลุมพื1นที ได้ กว้างขวาง สําหรับการวางแผนทางทหาร 3) แผนที ยทุ ธศาสตร์ และยุทธวิธี (Strategic Tactical Map) เป็ นแผนที มาตราส่ วน 1: 250,000เพื อให้ แสดงรายละเอียดได้ดีกว่าแผนทียทุ ธศาสตร์ 2
http://www.gifeu.com/subpong/302143/302143%20CHP1_3.pdf
12
4) แผนที ยทุ ธวิธี (Tactical Map) เป็ นแผนที ภูมิประเทศมาตรา ส่ วนใหญ่ 1:50,000 มี รายละเอียด มากเพื อใช้ในการปฏิบตั ิงานของกองทหาร 5) แผนที ทหารปื นใหญ่ (Artillery Map) เป็ นแผนที มาตราส่ วนใหญ่ 1:25,000 มีรายละเอียดมากว่า แผนที ยทุ ธวิธี มีเส้นกริ ดประกอบไว้เพื อให้สะดวกในการอ่านพิกดั 6) แผนที เดินเรื อ (Nautical charts) ใช้สาํ หรับการเดินเรื อในมหาสมุทร แสดงความลึกของท้องนํ1า สันดอน แนวปะการัง 7) แผนที การบิน (Aeronautical Map) ใช้ในการเดินทางทางอากาศ สําหรับระบุทิศทางหรื อตําแหน่ง ของเครื องบิน 8) แผนที ถนน (Road, Highway Map) แสดงถนนสายสําคัญ และสถานที สาํ คัญ เป็ นแผนที มาตรา ส่ วนเล็ก 9) แผนที ตวั เมือง (City Map , City Plan) แสดงรายละเอียดต่างๆในตัวเมือง เช่น อาคาร บ้านพัก สถานที สาํ คัญ ตัวเมือง ใช้มาตราส่ วน 1:20,000 10) แผนที ทรวดทรง (Relief Map)แสดงความสู งตํ าของภูมิประเทศ ทําจากพลาสติกหรื อกระดาษ แข็ง 11) แผนที เฉพาะวิชา (Topical Map) หรื อแผนที เฉพาะเรื อง (Thematic Map) เนื1อหาของแผนที เป็ น การแสดงเรื องราวเฉพาะด้านต่างๆ - แผนที แสดงคุณลักษณะ หรื อ แผนที แสดงข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Map) เช่นแผนที แสดง ชนิดพืชพรรณธรรมชาติ ชนิ ดของดนิ - แผนที แสดงข้อมูลเชิงปริ มาณ (Quantitative Map) เป็ นแผนที แสดงข้อมูลทางสถิติต่างๆ เช่น แผน ที ปริ มาณนํ1าฝน แผนที อุณหภูมิความหนาแน่นของประชากร 12) แผนที เศรษฐกิจ (Economic Map) แสดงข้อมูลที มีความสําคัญทางเศรษฐกิจเช่น เขต อุตสาหกรรม เขตเกษตรกรรม อื นๆ 13) แผนที โฉนดที ดิน (Cadastral Map) แสดงการถือครอง ความเป็ นเจ้าของขอบเขตที ดินหรื อ กรรมสิ ทธิ| ในที ดินนั1น 14) แผนที การใช้ที ดิน (Land-use Map) เป็ นแผนที แสดงลักษณะการใช้ประโยชน์ที ดินโดยใช้สีให้มี ความแตกต่างกันการใช้ประโยชน์ที ดิน เช่น พื1นที ปลูกพืชไร่ พืชสวน ที นา 15) แผนที รัฐกิจ (Political Map) แสดงขอบเขตการปกครองและพรมแดนระหว่างประเทศเช่น เขต ประเทศ เขตจังหวัด เขตอําเภอ เขตตําบล 16) แผนที ประวัติศาสตร์ (Historical Map) แสดงอาณาเขตหรื อดินแดนในสมัยก่อนเช่น แผนที อาณาจักรล้านนา รวมถึงแผนที แสดงการตั1งถิ นฐานของชาติพนั ธุ์ต่างๆ 17) แผนที เพื อการนิทศั น์ (Illustrations Map) ใช้เพื อการโฆษณา และนิทรรศการต่างๆอาจมีภาพ ของสถานที หรื อสี สันที ดึงดูดความสนใจได้
13
18) แผนที เค้าโครง (Outline Map) เป็ นแผนที เค้าโครงที แสดงโครงร่ างของ สิ ง ที จะแสดงบนแผนที เช่น เขตทวีป เขตประเทศ จึงไม่มีรายละเอียดอย่างอื นจึงใช้สาํ หรับการสอนหรื อเพื อใช้เป็ นแบบฝึ กหัด 6. ความเป็ นมาของแผนทีใ นประเทศไทย แผนที ปโตเลมีฉบับที เขียนขึ1นเมื อ พ.ศ.693 เรี ยกบริ เวณที ต1 งั ประเทศไทยปั จจุบนั ว่า Aurea Khersonesus ซึ งแปลว่า แหลมทอง (Gloden peninsular) แผนที ภายในประเทศที เก่าแก่ที สุดคือ แผนที ยุทธศาสตร์ สมัยสมเด็จพระรามาธิ บดีที 1 พ.ศ.1893-1912
รู ปที 15 แผนที แสดงที ต1 งั ของประเทศไทย : เมืองอยุธยา
การทําแผนที ภายในเริ มเมื อปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั พ.ศ. 2411 ได้มี การทําแผนที บริ เวณชายพระราชาอาณาเขตด้านตะวันตกของไทย เพื อใช้กาํ หนดแนวเขตพรมแดนไทยกับ พม่า ต่อมา พ.ศ. 2413 ได้ทาํ แผนที กรุ งเทพฯ และกรุ งธนบุรี โดยชาวต่างประเทศเป็ นผูท้ าํ ความเจริ ญในการ ทําแผนที ของประเทศไทย เริ มจริ งจังในสมัยรัชกาลที 5 พ.ศ. 2418 ได้ทรงตั1งกองทําแผนที ข1 ึนตามคําแนะนํา ของนายเฮนรี อาลาบาสเตอร์ ที ปรึ กษาส่ วนพระองค์ โดยมุ่งประโยชน์ในการตัดถนนสายต่างๆ ในกรุ งเทพฯ การวางสายโทรเลขจากกรุ งเทพฯ ไปพระตะบอง และทําแผนที ปากอ่าวเพื อการเดินเรื อ ใน พ.ศ. 2424 ได้ จ้างชาวอังกฤษ คือ แมคคาร์ ธี มาเป็ นเจ้ากรมแผนที มีการวางโครงข่ายสามเหลี ยมจากประเทศไทยไปลาวเขมร
รู ปที 16 แผนที เส้นทางเดินทางในกรุ งเทพ
14
ต่อมาได้ทาํ แผนที มาตราส่ วน 1 : 2,000,000 แสดงดินแดนประเทศไทย รวมทั1งลาว-เขมร และทํา แผนที บริ เวณที ราบภาคกลาง มาตราส่ วน 1 : 100,000 งานทําแผนที ของประเทศไทยระยะต่อมา พอสรุ ปได้ ดังนี1 1. พ.ศ. 2444 เริ มสํารวจและทําแผนที โฉนดขึ1นเป็ นครั1งแรก 2. พ.ศ. 2447 มีการทําแผนที ตามแนวพรมแดนด้านลาวและเขมรโดยชาวฝรั งเศส 3. พ.ศ. 2453-2493 ทําแผนที ทวั ไปภายในประเทศ เป็ นแผนที มาตราส่ วน 1 : 50,000 ระยะเวลา 40 ปี นี1ทาํ แผนที เสร็ จประมาณ 50 % 4. พ.ศ. 2455 เริ มสํารวจทําแผนที ทางทะเล 5. พ.ศ. 2466 เริ มงานสมุทรศาสตร์ 6. พ.ศ. 2468 นายชัตตัน (N.Sutton) อาจารย์วชิ าภูมิศาสตร์ โรงเรี ยนสวนกุหลาบ ร่ วมมือกับกรม แผนที ทหาร ทําแผนที เย็บเล่มขึ1นเป็ นครั1งแรก 7. พ.ศ. 2495 เริ มโครงการทําแผนที ประเทศไทย ตามข้อตกลงระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริ กา เป็ นการทําแผนที มาตราส่ วน 1: 50,000 ขึ1นใหม่ทว ั ประเทศ 8. พ.ศ. 2504 กรมแผนที ทหารได้ทาํ แผนที เฉพาะวิชา มาตราส่ วน 1 : 1,000,000 ขึ1น 10 ชนิด 9. พ.ศ. 2507 ปรับปรุ งแก้ไขแผนที เฉพาะให้ทนั สมัยขึ1น และย่อส่ วนเป็ นมาตราส่ วน 1 : 2,500,000 10. พ.ศ. 2510-2512 เป็ นต้นมา ก็ปรับปรุ งแก้ไขแผนที เฉพาะวิชาชุดเดิม แล้วรวบรวมเป็ นแผน ที เล่มมีคาํ อธิ บายประกอบแผนที เฉพาะแต่ละชนิด ทําให้สะดวกในการศึกษาและใช้เป็ นอย่างมา 7.ประโยชน์ ของแผนที ประโยชน์ของแผนที ( Map’s Advantage)3 1. ด้านการดําเนินชีวติ ประจําวัน ผูใ้ ช้แผนที จะได้รับประโยชน์ดงั นี1 1.1 การเดินทาง ใช้แผนที แสดงเส้นทางคมนาคม ถนน และรถประจําทาง เป็ นต้น 1.2 สภาพลมฟ้ าอากาศ ทราบถึงลักษณะของลมฟ้ าอากาศในท้องถิ นแต่ละวัน 2. ด้านการศึกษา ใช้เป็ นอุปกรณ์การเรี ยนการสอนช่วยให้เข้าใจเรื องที ศึกษาได้ง่ายและเร็ วยิง ขึ1น 3. ด้านการพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคม แผนที จะให้ขอ้ มูลเกี ยวกับ ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และ ทรัพยากรธรรมชาติของท้องถิ นต่าง ๆ ซึ งจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของภูมิภาค และท้องถิ นต่าง ๆ ดังนี1 3.1 พัฒนาการท่องเที ยว ใช้แผนที เป็ นเครื องมือเดินทางท่องเที ยว 3.2 พัฒนาการสาธารณู ปโภค เช่น ถนน ไฟฟ้ า ประปา ฯลฯ 3.3 พัฒนาการอนามัย การสาธารณสุ ข และคุณภาพชีวติ ของประชากร 3
http://www.viewtechgroups.com/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=24
15
4. ด้านการปกครอง และงานราชการ แผนที ช่วยเสริ มงานราชการดังนี1 4.1 กําหนดอาณาเขตของจังหวัด และประเทศให้แน่นอน 4.2 การเดินทางไปปฏิบตั ิราชการยังท้องถิ นทุรกันดาร มีความสะดวกรวดเร็ วยิง ขึ1น 5. ด้านการทหาร แผนที มีประโยชน์ดา้ นยุทธศาสตร์ การทหาร เช่น ทราบถึงเส้นทาง การเดินทัพ ทําเล ที ต1 งั และสภาพภูมิประเทศของพื1นที สงคราม เป็ นต้น ประโยชน์ของแผนที มีดงั นี1 5.1 ประโยชน์ในการศึกษาลักษณะภูมิประเทศ แผนที จะทําให้ผศู ้ ึกษาทราบว่าพื1นที ใดมีลกั ษณะภูมิ ประเทศแบบใดบ้าง 5.2 ประโยชน์ต่อการศึกษาธรณี วทิ ยา เพื อให้ทราบความเป็ นมาของแหล่งทรัพยากรดิน หิ น แร่ ธาตุ 5.3 ประโยชน์ดา้ นสมุทรศาสตร์ และการประมง เพื อให้ทราบสภาพแวดล้อมชายฝั งทางทะเล 5.4 ประโยชน์ทรัพยากรนํ1า รู ้ขอ้ มูลเกี ยวกับแม่น1 าํ และการไหล อ่างเก็บนํ1า ระบบการชลประทาน 5.5 ประโยชน์ดา้ นป่ าไม้ เพื อให้ทราบคุณลักษณะของป่ าไม้ และการเปลี ยนแปลงพื1นที ป่าไม้ 5.6 ประโยชน์ดา้ นการใช้ที ดิน เพื อให้ทราบปั จจัยการใช้ประโยชน์ที ดินด้านต่างๆ 5.7 ประโยชน์ดา้ นการเกษตร การเกษตรมีผลต่อการพัฒนาประเทศ เพื อรู ้วา่ บริ เวณใดควรพัฒนา 5.8 ประโยชน์ดา้ นสิ งแวดล้อม โดยเฉพาะการจัดการทรัพยากรบริ เวณต่างๆ 5.9 ประโยชน์ในการวางผังเมือง เพื อใช้ขอ้ มูลทางธรรมชาติในการจัดวางผังเมืองให้เหมาะสม 5.10 ประโยชน์ต่อการศึกษาโบราณคดี เพื อค้นหาแหล่งชุมชนโบราณ และความรู ้อื นๆ 5.11 ประโยชน์ดา้ นอุตุนิยมวิทยา เพื อประโยชน์ในการเพาะปลูก อุตสาหกรรม ประมง การป้ องกัน อุทกภัย 8. สรุ ป แผนที เป็ นเครื องมือสําคัญของมนุษย์ในกระบวนการรับรู ้ (Cognitive) โลกในแง่มุมที แตกต่างกันไป ตามบริ บทของสังคม วัฒนธรรม รวมไปถึงความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีมาตั1งแต่อดีตจวบจนปั จจุบนั จากแผนที ซ ึ งเขียนบนหนังสัตว์ สลักบนดินเหนียว เขียนบนฝาผนังถํ1า บันทึกลงบนผ้า กระดาษ เป็ นต้น จาก แผนที อะนาล๊อกมาเป็ นแผนที ดิจิทลั จนถึงทุกวันนี1กระบวนการทําแผนที ได้ปรับเปลี ยนรู ปแบบต่างๆ ไป ตามภูมิภาคที แตกต่างกัน รวมไปถึงการเปลี ยนแปลงความรู ้ในเชิงวิชาการในด้านการตรวจสอบความ ถูกต้องแม่นยําทางพื1นที การบอกตําแหน่งที ต1 งั ของวัตถุ รวมไปถึงการย่อ ขยายขนาดและสัดส่ วนของวัตถุ จากสิ งต่างๆ มาเป็ นการคํานวณด้วยคอมพิวเตอร์ และใช้หลักการทางคณิ ตศาสตร์ พีชคณิ ต เรขาคณิ ต เมตริ ก การออกแบบโมเดลหลายมิติ เป็ นต้น ทําให้การทําแผนที มีความเป็ นศาสตร์ และศิลป์ มากขึ1นก็เพื อการใช้ ประโยชน์ที แตกต่างกันไปตามจุดประสงค์นน ั เอง ………………………………….
16
เอกสารอ้ างอิง http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/Map-benining.htm http://www.dwr.go.th/writc/dwr/basic.html http://digitalmapping.wordpress.com/2009/03/02/digital-mapping-and-history-of-maps/ http://www.digitalhistory.uh.edu/maps/maps.cfm#hist_maps