lesson 4 Visual Intepretation

Page 1

การตีความด้ วยสายตา Image Interpretation :

Visual Interpretation

1


เนือ หา 1. 2. 3. 4. 5. 6. 2

7.

ความหมายการแปลภาพด้ วยสายตา องค์ ประกอบการตีความ คุณสมบัตขิ องผู้แปล หลักในการแปลภาพ เทคนิคในการแปลภาพ ตัวอย่ างการแปลภาพ แบบทดสอบ


1. ความหมาย การวิเคราะห์ ข้อมูลจากดาวเทียมด้ วยสายตา (Visual Analysis) หรือ การแปลตีความหมาย (Photographic Interpre tation) หมายถึงการวินิจฉัย (Identification) หรือ พิสูจน์ ข้อมูล หรือสิF งทีปF รากฎอยู่ในลักษณะต่ าง ๆ ในข้ อมูลจาก ดาวเทียม หรือภาพถ่ ายจากดาวเทียมนั น ๆ (Satellite Image) ว่ าควรเป็ นสิF งใด หรือน่ าจะเป็ นอะไร 3


4

การแปลตีความหมายจากข้ อมูล ดาวเทียม มิใช่ เป็ นการ แปล (Translation) ดังนั น จึงจําเป็ นต้ องมีการศึกษาวิเคราะห์ (Analyze) กัน อย่ างมีระบบโดยการ นําเอาข้ อมูล (Data) และ ข้ อสนเทศ (Information) จากหลาย ๆ ด้ าน มาประกอบ กันเพือF ช่ วยในการวิเคราะห์ วนิ ิจฉัยว่ าข้ อ มูลหรือสิF งทีF ปรากฎในภาพ หรือ ข้ อมูลจากดาวเทียมนั น ๆ ว่ าน่ าจะ เป็ นสิF งใดในพืน ทีจF ริง ๆ


2. องค์ ประกอบการตีความVisual elements การตีความข้ อมูลดาวเทียมด้ วยสายตานั น ต้ องมี ความรู้ เรืFองคุณลักษณะต่ างๆ ของวัตถุน ันเป็ นอย่ างดี โดยสามารถเห็นความแตกต่ างได้ ชัดเจน พร้ อมทั ง เป็ นผู้ทมีF ีความคุ้นเคยกับพืน ทีF จึงสามารถตีความได้ ดี ทั งนีส ิF งทีตF ้ องพิจารณาดังนี 5


6 http://www.r-s-c-c.org/rscc/v1m2images/elements_of_interp_pryamid.jpg


1. Tone ระดับสี เทา 2. Shape รู ปร่ าง 3. Size ขนาด 4. Pattern รู ปแบบ 5. Texture ความหยาบละเอียด 6. Shadow เงา 7. Association ความสั มพันธ์ 7


1. Tone ระดับสี เทา หมายถึงระดับความสว่ าง หรือสี ของวัตถุต่างๆ โดยทัวF ไปจะมองเห็นได้ ก่ อนเป็ นอันดับแรกๆ เพือF จําแนกประเภทต่ างๆ ของ วัตถุ 8


หมายถึงรู ปร่ าง โครงสร้ าง หรือลักษณะ แต่ ละชนิดของวัตถุ ซึFงเป็ นกุญแจ สํ าคัญในการจําแนกความแตกต่ าง ระหว่ างวัตถุได้ เช่ นรู ปร่ างทีมF ีกรอบ เป็ นเส้ นตัดกัน อาจจะเป็ นถนน หรือ คลองส่ งนํา อยู่ในเขตเมือง หรือ พืน ทีFการเกษตร เป็ นต้ น ขณะทีFเขต พืน ทีปF ่ าไม้ กจ็ ะเห็นกรอบพืน ทีFป่าทีF ไม่ สมํFาเสมอ ยกเว้ นพืน ทีFบุกรุ กจะ เห็นร่ องรอยชัด หรือระบบการทํา 9ฟาร์ ม เป็ นต้ น

2. Shape รู ปร่ าง


หมายถึง ขนาดของวัตถุ ซึFงมี ความสํ าคัญต่ อการประเมิน ขนาดความสั มพันธ์ ของวัตถุ เป้าหมายกับวัตถุอนืF ๆ ข้ างเคียงได้ โดยตรง เช่ นการ จําแนกการใช้ ทดีF นิ ระหว่ าง บ้ านและโรงงาน ซึFงสามารถ เห็นสั ดส่ วนอสั งหาริมทรัพย์ นี ได้ ทีจF ะบ่ งชี ว่าเป็ นย่ านทีพF กั อาศัยหรือไม่ 10

3. Size ขนาด


หมายถึง การจัดระเบียบทาง พืน ทีF ซึFงทําให้ เห็นการ จัดเรียงของวัตถุน ันๆได้ มี ลําดับความซํ าซ้ อนอย่ างไร ลําดับของระดับสี เทา เช่ น สวนผลไม้ จะเห็นการจัด ระเบียบช่ องไฟระหว่ างต้ น ได้ ชัดเจน หรือการวางระบบ ถนนในเมืองค่ อนข้ างเป็ น ระบบ มีพนื ทีวF ่ างของทีอF ยู่ 11 อาศัยเป็ นต้ น

4. Pattern รู ปแบบ


หมายถึง การจัดระเบียบและความถีF ของงวัตถุทมีF รี ะดับทีหF ลากหลาย เช่ น 5. Texture ความหยาบจะทําให้ มองเห็นถึงการ ความหยาบละเอียด กระจัดกระจายของสี เป็ นจุดๆ แต่ ถ้า หากมีความละเอียดมากจะเห็นความ เนียนของสี ซึFงบ่ งถึงลักษณะความเป็ น หน่ วยเดียวกัน เช่ น ผิวของแปลงนา ถนนทีลF าดยางมะตอย และคอนกรีต ทุ่งหญ้ า เรือนยอดต้ นไม้ หากเป็ นภาพ ทีไF ด้ จากระบบเรดาร์ จะเห็นความ 12หยาบละเอียดได้ ชัดเจน


หมายถึง เงาทีทF อดออกไปใน แนวทางอย่ างไร จะทําให้ ช่วย ในการแปลด้ วยสายตาได้ ว่า วัตถุน ันๆ มีความสั มพันธ์ กบั ความสู งอย่ างไร แต่ เงาก็จะทํา ให้ ไปลดระดับความสว่ างของ วัตถุอกี ชนิดหนึFงลงเช่ นกัน เงา จึงมีความสํ าคัญมากในระบบ เรดาร์ และการทําภาพ 3 มิติ 13

6. Shadow เงา


หมายถึงความสั มพันธ์ ระหว่ างวัตถุ ต่ างๆ กับวัตถุข้างเคียง ดู ความสั มพันธ์ ด้านคุณลักษณะ ต่ างๆ เพือF เป็ นข้ อมูลประกอบการ พิจารณาวัตถุน ันว่ าเป็ นอะไร เช่ น ย่ านการค่ าจะสั มพันธ์ กบั ถนน หลักสํ าหรับการขนส่ งหลักของ เมือง แต่ ย่านทีอF ยู่อาศัยอาจจะ สั มพันธ์ กบั โรงเรียน แหล่ ง ทะเลสาบสั มพันธ์ กบั เรือ และ F กั ตากอากาศ เป็ นต้ น 14แหล่ งทีพ

7. Association ทีตF งั สั มพันธ์


3. คุณสมบัตขิ องผู้แปล

15


การแปลภาพดาวเทียมต้ องอาศัยความรู้ในหลาย สาขา ( Multi disciplinary) มาประกอบกันเพือF วินิจฉัย สิF งทีถF ูกต้ อง ผู้แปลต้ องมีคุณสมบัตดิ งั นี 1. ความรู้ ภูมหิ ลัง เป็ นผู้มีความรู้ในสาขานั นๆ และ มีความรู้ ทวัF ไปเกียF วกับภาพดาวเทียมในแต่ ละระบบทีใF ช้ และอยู่ในสายงานทีจF ะนําภาพดวเทียมไปใช้ เช่ น การ แปลภาพด้ านธรณีวทิ ยา ผู้แปลต้ องมีความรู้ ทางด้ าน ธรณีวทิ ยาเป็ นอย่ างดี ตลอดจนต้ องรู้ในศาสตร์ แขนง ต่ างๆ ทีเF กียF วข้ องอีกด้ วย 16


2. ความสามารถทางสายตา ต้ องเป็ นผู้ทมีF ีสายตาดี ไม่ เป็ นอุปสรรคในการมองภาพ ไม่ ส ั นหรือยาวเกินไป ทั งนีจ ําเป็ นต้ องมีความสามารถในการพิจารณา อย่ างละเอียดในสิF งทีปF รากฏในภาพ ทั งสี ความ หยาบละเอียดของภาพ ความเข้ มของสี และต้ อง สามารถมองเห็นเป็ นสามมิตไิ ด้ หรือรับรู้ ถงึ ความ สู งของวัตถุน ันๆ จึงจะสามารถใช้ เครืFองมือช่ วยการ แปลภาพได้ เป็ นอย่ างดี 17


3. ความสามารถในจิตใจ ต้ องเป็ นผู้ทมีF กี ารตัดสิ นใจดี การวิเคราะห์ หรือสรุปผลจากการแปลภาพต้ องมีความ เด็ดเดียF วในการวินิจฉัย มีความมันF ใจในการตัดสิ นใจลง ไปว่ าควรจะจัดกลุ่มอย่ างไร ดังนั นการเป็ นคนทีมF คี วาม เข้ มแข็งทางจิตใจ จึงสั มพันธ์ กบั ภูมิหลัง ประสบการณ์ ใจเย็น รอบคอบ ช่ างสั งเกต จึงจะแปลภาพได้ ดี

18


4. ประสบการณ์ ต้ องเป็ นผู้ทมีF ีประสบการณ์ ซึFง ได้ จากการฝึ กฝนให้ เกิดความชํานาญ และมีความ สนใจ เอาใจใส่ ช่ างสั งเกต มีมโนภาพ มีความ พยายามในการค้ นคว้ า สั งเกต และจดจํา

19


4. หลักในการแปลภาพ

20


หลักการแปลภาพ เพือF ให้ เกิดประสิ ทธิภาพในการแปลภาพดาวเทียม มีลาํ ดับ การแปลดังนี 1. เริFมจากสิF งทีเF ห็นชัดเจนก่ อน เข้ าใจและวินิจฉัยได้ ง่าย ทีสF ุ ดไปหายากทีสF ุ ดเพือF หลีกเลียF งความท้ อใจ เบืFอหน่ ายในการ แปลภาพ 2. จากสิF งทีFคุ้นเคยหรือพบเห็นในชีวติ ประจําวัน หรือใกล้ ตัวก่ อน สิF งทีมF คี วามรู้ น้อยให้ แปลภายหลัง ทั งนีข นึ อยู่กบั ประสบการณ์ และความรู้ พนื ฐานของผู้แปล 21


3. ตีความจากเรืFองทัวF ไปเป็ นกลุ่มใหญ่ แล้ วจึงพิจารณาแยก รายละเอียดในแต่ ละประเภทจากหยาบไปหาละเอียด เช่ น เริFมจากการใช้ ทดีF นิ ในระดับทีF 1 จากนั นจําแนกเป็ นการใช้ ทีดF นิ ประเภท ทีอF ยู่อาศัย การเกษตร ป่ าไม้ เป็ นต้ น จากนั น จําแนกย่ อยเป็ นลําดับทีF 2 คือทีดF นิ การเกษตร ได้ แก่ นาข้ าว พืชไร่ พืชสวน จนถึงลําดับทีF 3 พืชไร่ ได้ แก่ อ้ อย มัน สํ าปะหลัง ข้ าวโพด เป็ นต้ น

22


หลักการ.....

4. เรียงลําดับอย่ างเป็ นระบบให้ ครบวงจร คือแปลเป็ นแต่ละ ประเภทๆ ไป ไม่ควรสลับไปมา เพราะจะทําให้รายละเอียด ของข้อมูลไม่ต่อเนื)องกัน หรื ออาจจะขาดหายไปได้

5. ใช้ ปัจจัยหรือข้ อมูลทีมF คี วามสั มพันธ์ กนั เป็ นพืน ฐาน ที)จะ วินิจฉัยได้อย่างถูกต้อง เช่นการตีความแหล่งนํ/า ซึ) งมี วัตถุประสงค์ไว้เพื)อเพาะปลูก จะมีความสัมพันธ์กบั พื/นที) ต้องการนํ/า เช่น หากเป็ นที)เนินพื/นที)รับนํ/าควรเป็ นพืชสวน หากเป็ นพื/นที)ราบ พื/นที)รับนํ/าควรเป็ นนาข้าว หรื อพืชสวนครัว เป็ นต้น ซึ) งเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ในการสร้างอ่างเก็บนํ/า

23


5. เทคนิคในการแปลภาพ

24


เทคนิคการแปลภาพ ก่ อนอืนF ผู้แปลต้ องเป็ นผู้ทมีF จี ินตนาการ (imaginary ) พอควรต้ องเป็ นผู้ทสีF ามารถสร้ างแนวคิดขึน เอง (conceptual model ) และสร้ างจินตนาการเป็ นชั นๆ ได้ ด้วย ตาม ความสั มพันธ์ ของระบบนิเวศ

25


5.1 ศึกษาคุณลักษณะทางกายภาพ (Physical Characteristics) -รู ปร่ างทางภูมศิ าสตร์ (Land form)ดูความสู งตําF ของพืน ทีF สามารถทํารู ปหน้ าตัดได้ (Profile ) ซึFงจะทําให้ จําแนกพืน ทีภF ูเขา ทีรF าบ แม่ นํา ได้ อย่ างกว้ างๆ ได้

26

-รู ปร่ างทางธรณีวทิ ยา (Geology) เช่ นภูเขาหินปูน จะมี ลักษณะเป็ นภูเขาหลายยอด ( Karst Topography) แตกต่ างจากภูเขาลักษณะอืนF ๆ เป็ นต้ น


เทคนิค....

5.2 ลักษณะธรรมชาติของสิF งมีชีวติ ( Biological Charateristics) -การใช้ ทดีF นิ ทางธรรมชาติ (Natural Landuse ) พืน ทีทF ีF เป็ นภูเขาจนถึงเนินเขาโดยทัวF ไปจะเป็ นพืน ทีปF ่ าไม้ ส่ วนพืน ทีถF ัด ลงมาจะเป็ นพืชไร่ และนํา ท่ วมถึง และป่ าชายเลน เป็ นต้ น -ประโยชน์ ของมนุษย์ ( Human use) หมายถึงการได้ เรียนรู้ ถึงวิถีชีวติ เช่ นเผ่ าม้ ง ชอบอาศัยอยู่บนภูเขาเกินกว่ า 700 เมตรขึน ไป และนิยมปลูกฝิF น เดิมปลูกเพือF ใช้ ในการรักษาโรค และพืชนีต ้ องการอากาศแบบนั น ส่ วนอีก้อจะมีอาชีพทํานา อาศัย อยู่ในระดับตําF ลงมา เป็ นต้ น

27


ความแตกต่ างด้ านสั งคมเหล่ านีจ ะเป็ นตัวช่ วยพิจารณาความ เป็ นไปได้ ในการทําการเกษตรนั น และมีรอบการเกษตร อย่ างไร การศึกษาข้ อมูลสั มพันธ์ เหล่ านีม คี วามสํ าคัญอย่ าง ยิงF ต่ อการตีความ -ข้ อจํากัดในการใช้ ทดีF ิน (Landuse Requirement and Limitation ) เนืFองจากการศึกษาธรรมชาติของพืช ตลอดจนข้ อจํากัดทั งระยะเวลาและความต้ องการของพืช ทั งดิน ภูมอิ ากาศ ความต้ องการแสง นํา ซึFงความรู้ พนื ฐาน เหล่ านีม ผี ลต่ อการคาดคะเนว่ าพืน ทีนF ัน โดยปกติแล้ วน่ าจะ ปลูกอะไรได้ บ้าง 28


เทคนิค...

5.3 การศึกษาข้ อมูลทีมF อี ยู่เดิม( secondary data) -ภาพถ่ ายทางอากาศ จะช่ วยให้ ผ้ ูแปลมีจินตนาการใน พืน ทีไF ด้ ดขี นึ -แผนทีมF าตราส่ วน 1: 50,000 ยังเป็ นข้ อมูลเพือF การ วางแผนพัฒนาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

29


30

5.4 ความสั มพันธ์ ของสิF งแวดล้ อมและรู ปแบบของ กิจกรรมทีมF นุษย์ ทาํ ขึน (Human Activities) -โครงสร้ างพืน ฐานอืนF ๆ ไม่ ว่าจะเป็ นถนน หมู่บ้าน การเกาะกลุ่มของบ้ านเรือน มีแหล่ งทีตF งั บ่ งบอกระบบ นิเวศน์ และสิF งแวดล้ อมในบริเวณนั น ลักษณะทีนF า และ นากุ้งจึงมีความแตกต่ างกัน เพราะคํานึงถึงแหล่ งทีตF งั ด้ วย ดังนั นเทคนิคการแปลภาพดาวเทียม จึงเป็ นทั งศาสตร์ และ ศิลป์ ทีตF ้ องผสมผสานเข้ าด้ วยกัน จึงจะทําให้ เป็ นผู้แปล ได้ ดี


6. ตัวอย่ าง

31


Lat N17:21:00 Long E102:54:00 Width 240 km Height 200 km 20 Apr 2001 Landsat 7

32


Landsat 7 วันทีF 20 Apr 2001 แบนด์ R5G4B3 33


34

http://put.gistda.or.th/gistda1/60years/img/pasak2.jpg


แบบทดสอบ

35


ตึกสู ง สะพาน ท่าเรื อ เมือง สเตเดียม เรื อแล่น 36

http://ccrs.nrcan.gc.ca/resource/tutor/planet/2_2_e.php


เฉลยพืน ทีเF มือง A: B: C: D: E: F:

37

Tall buildings and their shadows Bridges Residential street patterns A large stadium Marinas for small boats A ship and its wake


แม่ นํา ใหญ่ แม่ นํา สายเล็ก พืน ทีปF ลูกพืชเกษตร พืน ทีวF ่ าง ป่ า ถนน บ่ อหรือสระ

38

http://ccrs.nrcan.gc.ca/resource/tutor/planet/2_2_e.php


เฉลยพืน ทีกF จิ กรรมในป่ า A: B: C: D: E: F: G: 39

A large river A small, meandering river Farm fields with crops Farms fields showing bare ground Forest Roads Small ponds


พืน ทีปF ่ า การทําป่ าไม้ รุ่ นใหม่ การทําป่ ารุ่นเก่ า แม่ นํา ในหุบเขา ถนน พืน ทีชF ุ่ มนํา 40

http://ccrs.nrcan.gc.ca/resource/tutor/planet/2_2_e.php


เฉลยพืน ทีเF กษตร A: B: C: D: E: F:

41

Standing forest Recent forest clearcut Older forest clearcut Deep river valley Logging roads Swamp


ตะกอนบริเวณปากแม่ นํา นํา ตืน นํา ลึก เมฆและเงา พืน ทีปF ่ าไม้ 42

http://ccrs.nrcan.gc.ca/resource/tutor/planet/2_2_e.php


เฉลยพืน ทีปF ากแม่ นํา A: B: C: D: E:

43

A river carrying sediment into the Basin Shallow water areas Deep water areas Clouds and their shadows Forests


จงจําแนกคุณลักษณะ ของภาพดังนี 1. ถนน 2. แม่ นํา 3. สะพาน 4. เขืFอน 5. ทีอF ยู่อาศัย 6. สนามกีฬา

44


เฉลย

45

The race track in the lower left of the image is quite easy to identify because of its characteristic shape. The river is also easy to identify due to its contrasting tone with the surrounding land and also due to its shape. The roads in the image are visible due to their shape (straight in many cases) and their generally bright tone contrasting against the other darker features. Bridges are identifiable based on their shape, tone, and association with the river - they cross it! Residential areas on the left hand side of the image and the upper right can be identified by the pattern that they make in conjunction with the roads. Individual houses and other buildings can also be identified as dark and light tones. The dam in the river at the top center of the image can be identified based on its contrasting tone with the dark river, its shape, and its association with the river - where else would a dam be!

http://ccrs.nrcan.gc.ca/resource/tutor/fundam/chapter4/02_e.php#Top


http://www.comet.ucar.edu/nsflab/web/satellite/215.htm

46


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.