ดาวเทียมทีสํ าคัญ
1
ดาวเทียมสํารวจทรัพยากรโลกทีสําคั ญ 1.ทรัพยากรธรรมชาติ Landsat SPOT ERS JERS TIROS
2.อุตุนิยมวิทยา MOS IKONOS NOAA GOES ADEOS
2
ดาวเทียม LANDSAT 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ทีมา พันธะกิจ ภารกิจ วิธีการกวาดภาพ ความละเอียดจุดภาพ คุณสมบัติของแบนด์ ต่างๆ ตัวอย่ างภาพจากแลนด์ แซต 3
1.ทีมา ดาวเทียม Landsat มีอายุการใช้ งานมากว่า 32 ปี แล้ว (ราวปี 1970) ให้ ข้อมูลเกียวกับปรากฏการณ์ พื นผิวโลกทีมีความ ละเอียดสู ง นํามาใช้ ประโยชน์ หลายๆด้ าน ทั งด้ านการ พาณิชย์ และการทหาร ทั งในระดับบุคคลและระดับ นานาชาติ ข้ อมูลจากดาวเทียมแลนด์ แซตยังมีความจําเป็ น ต่ อบุคคลการทางด้ านด้านธุรกิจ วิทยาศาสตร์ การศึกษา หน่ วยงานรัฐ และความปลอดภัยของประเทศ 4
ดาวเทียมแลนด์แซต เป็ นดาวเทียมสํารวจทรัพยากรโลก ดวงแรกสร้างขึ นโดยองค์การบริ หารการบินและ อวกาศสหรัฐอเมริ กา หรื อ ทีเรี ยกชือย่อว่า องค์การนา ซา (NASA) ดาวเทียมแลนด์แซตมีหลายดวง ทียั งคงใช้ อยู่ในปัจจุบ ั น มีแลนด์แซต๔ และ แลนด์แซต ๕ มี ระบบบั นทึกภาพแล ะระบบสื อสารพิเศษสามารถส่ ง ข้ อมูลจากดาวเทียมสู่ โลกในเวลาถ่ายภาพได้ท ั นที ดาวเทียมแลนด์แซตมีสถานีรับสัญญาณดาวเทียมทั ว โลก http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK16/chapter9/t16-9-m.htm
5
สถานีรับสั ญญาณดาวเทียมภาคพื นดิน 6
2.พันธกิจ พันธกิจของดาวเทียม Landsat ได้ ติดตั งระบบsensor เพือ ใช้ ในเก็บบันทึกข้ อมูลในระดับความสู งและควบคุมวง โคจร รวมไปถึงพลังงานทีใช้ คําสั งจากสถานีภาคพื นดิน และระบบการสือสารทีต้ องส่ งข้ อมูลไปยังสถานี ภาคพื นดินในทีต่ างๆ
7
Landsat 1ส่ งขึ นไปในปี 1972 มีความละเอียด 80 เมตร ใช้ ระบบ MSS = Multispectral scanner Landsat 2 – 3 ส่ งขึ นไปในปี 1975 และ 1978 ใช้ ระบบเดียวกัน Landsat 4 ส่ งขึ นไปปี 1984 มีความละเอียดที 30 เมตร มี 3 แบนด์ เป็ นทีมาของการปรับปรุ งอุปกรณ์ ให้ กับแลนด์แซท 5 ต่ อมา Landsat 4 ใช้ ระบบ MMS= Multimission modular spacecraft
8
Landsat 5 เหมือนกับแลนด์ แซท 4 ส่ งขึนไปในปี 1984 และยังปฏิบัติการอยู่ ถึงปี 2000 และมีอายุใช้ งานไป ได้ อีก16 ปี Landsat 6 บันทึกข้ อมูลทีมีความละเอียด 15 เมตรเป็ น ช่ วงคลืน panchromatic band แต่ ก็ไม่ สามารถ ปฏิบัติการได้ หลังจากปล่ อยไปในปี 1993 Landsat 7 ส่ งขึ นไปในปี 1992 เพิมการใช้ ประโยชน์ ใน ด้ านต่ างๆมากขึ น ติดตั งด้ วยระบบ ETM+ 9
Landsat Satellites and Sensors
http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter1/chapter1.html 10
Landsat 1-7 11
http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter1/chapter1.html
3. ภาระกิจ ภาระกิจของ Landsat คือการสํารวจข้ อมูล และเผยแพร่ เพือ การใช้ ประโยชน์ ของพลเรือน โดยได้มีการพัฒนาอุปกรณ์ สํารวจบนดาวเทียมอย่างต่ อเนือง ในช่ วงแรกของโครงการ ดาวเทียม Landsat 1, 2 และ 3 ติดตั งเครืองมือสํารวจที เรียกว่า MSS (Multi-Spectral Scanner) ดาวเทียมรุ ่ น ต่ อมา (Landsat 4 และ 5) ติดตั งเครืองมือสํารวจทีเรียกว่า TM (Thematic Mapper) และดาวเทียม Landsat 7 ติดตั ง อุปกรณ์ ทีเรียกว่า ETM (Enhanced Thematic Mapper) http://www.sc.chula.ac.th/courseware/natsci/RSLandsat.htm
12
ดาวเทียม วงโคจรแบบ
Landsat 1-3 Landsat 4-5 Landsat 7 near-polar sun – synchronized
917 มุมเอียงของวงโคจร (องศาจากระนาบศูนย์ สูตร) คาบของการกลับมาสํารวจซํา ณ ตําแหน่ งเดิม (วัน)18
16
705 98 10.00 น 16
ความกว้ างของแถบสํารวจ (กิโลเมตร)
-
183
ความสู งของวงโคจร (กิโลเมตร)
705 98
เวลาตัดแกนศู นย์ สูตรจากเหนือลงใต้ -
http://www.sc.chula.ac.th/courseware/natsci/RSLandsat.htm
13
4. ข้ อมูล ข้ อมูล MSS และ TM จะอยู่ ในลักษณะเป็ นภาพมีขนาด 185 กิโลเมตร x 170 กิโลเมตร แต่ ละภาพมีหมายเลขแนว ( path ) และแถว ( row ) ตามระบบอ้างอิงโลก ( world reference system–WRS) ตัวอย่ างเช่ นภาพประเทศไทยทั งประเทศ ครอบคลุมโดยภาพรวมประมาณ 40ภาพ ของแนวที 125-132 และแถวที 46-57
http://www.talaythai.com/Education/43620467/43620467.php3
14
พันธกิจของดาวเทียม Landsat 1-7
15
16
http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter3/htmls/ETM_cutout.html
ติดตั งระบบ ETM+
17
อุปกรณ์ รับสัญญาณของLandsat 7 ระบบ ETM+
18
http://ls7pm3.gsfc.nasa.gov/mainpage.html
ชือ เครื องมือ
MSS
ลั กษณะ -multispectral scanning radiometer 4 ช่วงคลืน -2 ช่วงคลืนในย่าน visible light (ขนาดจุดภาพ หรื อ pixel size = 80 เมตร) -2 ช่วงคลืนในย่าน near IR และ short-wave IR (ขนาด จุดภาพ หรื อ pixel size = 80 เมตร) ความกว้ างของแถบสํารวจเท่ากั บ183 กิโลเมตรแต่ละ ภาพ (กว้ าง 183 กม. ยาว 170 กม.) มีขนาดข้ อมูล gigabits 19
TM
-multispectral scanning radiometer 7 ช่ วงคลืน -3 ช่ วงคลืนในย่ าน visible light (ขนาดจุดภาพ หรือ pixel size = 30 เมตร) -3 ช่ วงคลืนในย่ าน near IR และ short-wave IR (ขนาด จุดภาพ หรือ pixel size = 30 เมตร) -1 ช่ วงคลืนในย่ าน thermal IR (ขนาดจุดภาพ หรือ pixel size = 60 เมตร) ความกว้างของแถบสํารวจเท่ ากับ 183 กิโลเมตรแต่ ละ ภาพ (กว้าง 183 กม. ยาว 170 กม.) มีขนาดข้ อมูล gigabits 20
-multispectral scanning radiometer 8 ช่ วงคลืน -3 ช่ วงคลืนในย่ าน visible light (ขนาดจุดภาพ หรือ pixel size = 30 เมตร) -3 ช่ วงคลืนในย่ าน near IR และ short-wave IR (ขนาด จุดภาพ หรือ pixel size = 30 เมตร) ETM+ -1 ช่ วงคลืนในย่ าน thermal IR (ขนาดจุดภาพ หรือ pixel size = 60 เมตร) -1 ช่ วงคลืนในย่ าน visible (panchromatic) (ขนาดจุดภาพ หรือ pixel size = 15 เมตร) ความกว้ างของแถบสํ ารวจเท่ ากับ 183 กิโลเมตรแต่ ละภาพ (กว้ าง 183 กม. ยาว 170 กม.) มีขนาดข้ อมูล 3.8 gigabits 21
Image Dimensions for a Landsat 7 0R Product Band Number
Resolution (meters)
Samples (columns)
Data Lines (rows)
Bits per Sample
1-5, 7
30
6,600
6000
8
6
60
3,300
3,000
8
8
15
13,200
12,000
8
22
4. วิธีการกวาดภาพ
การจัดทิศทางการกวาดภาพเป็ นแบบ IFOV โดยจะกวาดภาพจากซ้ าย ไปขวาทิศทางไปด้ านหน้ า และจะกวาดภาพจากขวาไปซ้ ายเป็ น ทิศทางย้ อนกลับ โดยจะกวาดภาพในรัศมี 185 กิโลเมตร ในการ กวาดภาพจริงก็จะเพิมไปอีก 480 เมตร ลักษณะการโคจร เป็ นแบบ Sun –synchronous เหนือขั วโลกทีระดับ ความสู งจากพื นดิน 705 กม. ( 438 ไมล์) ผ่ านเส้ นศูนย์ สูตร โดยผ่ าน จากเหนือลงใต้ ในเวลา 10.00 น. และ 10.15 น.ในแต่ ละรอบการผ่ าน จากการทีโลกหมุนรอบตัวเอง7.5 กม.ต่ อวินาที ซึงในแต่ ละรอบการ โคจรจะใช้ เวลาประมาณ 99 นาที ดังนั นดาวเทียมจะต้ องมีวงโคจร 14 รอบต่ อวัน คลุมทั งโลกทั งหมดได้ ระหว่ าง ละติจูดที81 องศาเหนือ และใต้ ในทุก 16 วันจึงจะกลับมาทีเดิม 23
ทิศทางการโคจรของดาวเทียมแลนด์ แซท
24
http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter5/chapter5.html
Sun Synchronous Orbit of Landsat 7 25
http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter6/chapter6.html
26
วงโคจรของแลนด์ แซต 7 The orbit of Landsat 7 is repetitive, circular, Sun-synchronous, and near polar at a nominal altitude of 705 km (438 miles) at the Equator. The spacecraft crosses the Equator from north to south on a descending orbital node from between 10:00 AM and 10:15 AM on each pass. Circling the Earth at 7.5 km/sec, each orbit takes nearly 99 minutes. The spacecraft completes just over 14 orbits per day, covering the entire Earth between 81 degrees north and south latitude every 16 days. it illustrates Landsat's orbit characteristics. Landsat 7 and Terra were launched and injected into identical 705 kilometer, sun-synchronous orbits in 1999. This same day orbit configuration will space the satellites ideally 15 minutes apart (i.e. equatorial crossing times of 10:00 to 10:15 AM for Landsat 7 and 10:30 for Terra). A multispectral data set having both high (30 meter) and medium to coarse (250 to 1000 meter) spatial resolution will thus be acquired on a global basis repetitively and under nearly identical atmospheric and plant physiological conditions. 27
ทิศทางการกวาดภาพ http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter5/htmls/sensor_swath.html
28
ทิศทางการกวาดภาพ
29
http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter5/htmls/swath_pattern.html
30
http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter5/htmls/wrs_graphic.html
ความถีการได้ มาซิงภาพ http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter5/htmls/acquisitio ns.html 31
สถานีรับสัญญาณ Landsat ภาคพื นดินตามส่ วนต่ างๆของโลก สถานีรับสัญญาณดาวเทียม LANDSAT มีอยู่ ทั งหมด 15 สถานีทัวโลก ซึงข้ อมูลจะถูกแจกจ่ าย ให้ แก่ ผู้ใช้ เพือการจัดการทรัพยากร และเฝ้ าตรวจสภาวะแวดล้ อม
32
http://geo.arc.nasa.gov/sge/landsat/coverage.html
5. Spatial resolution หรือขนาด pixel size
33
เนืองด้ วยความละเอียดของพื นทีหรือ spatial resolution เกิดจากตัวอุปกรณ์ ทีมีความสามารถจําแนกลักษณะต่ างๆ ของวัตถุได้ ขึ นอยู ่ กับตัวdetector size ทีตรวจวัดค่า สะท้ อนได้ ความสู ง และ ระดับของเซนเซอร์ ทั งทีเป็ นมุม GSD และ IFOV หรือขนาดพิกเซลของพื นทีหรือทะเลที สามารถครอบคลุมได้ ภายใต้ กรอบหรือสนามของ detectorหนึ detector หนึงอัน ดังนั นในระบบ ETM+ ETM+จะได้ จะได้ ลักษณะ พื นทีตัวอย่ างซึงมีความแตกต่ างของ resolutions 3 ประการ คือความละเอียดที 30 เมตร อยู ่ในแบนด์ที 1-5 ความละเอียด 60 เมตรอยู ่ ในแบนด์ 6 และความละเอียด 15 เมตรอยู ่ ในแบนด์ที 8 34
ดาวเทียม IKONOS ทีมุมIFOV มีเซนเซอร์ ทีตรวจวัด ค่ าของสนามฟุตบอลได้ ทีความละเอียด 1 เมตร ส่ วนดาวเทียม Spot แบบ panchromatic sensor จะมี ความละเอียดที 10 เมตร ส่ วนแบบ multispectral (XS) นั นจะให้ ความละเอียดที 20 เมตร ส่ วนระบบ เซนเซอร์ ETM+ ETM+แบบ แบบ IFOV ในแบนด์ ที 1-5 และ 7 จะให้ ความละเอียดที 30 เมตร สํ าหรับดาวเทียม IRS แบบ IFOV จะให้ ความละเอียด ที 36 36..25 เมตร เป็ นต้ น 35
อธิบาย Spatial Characteristics Spatial resolution is the resolving power of an instrument needed for the discrimination of features and is based on detector size, focal length, and sensor altitude. More commonly used descriptive terms for spatial resolution are ground sample distance (GSD) and instantaneous field of view (IFOV). The IFOV, or pixel size, is the area of terrain or ocean covered by the field of view of a single detector. The ETM+ ground samples at three different resolutions; 30 meters for bands 1-5, and 7, 60 meters for band 6, and 15 meters for band 8. Figure 6.3 illustrates the ETM+ IFOV for bands 1-5 and 7 relative to other sensors and a football field. IKONOS, the recently launched Space Imaging sensor, has an IFOV of 1 meter. The French SPOT panchromatic sensor an IFOV of 10 meters whereas the SPOT multispectral (XS) sensor has an IFOV of 20 meters. ETM+ has an IFOV of 30 meters for bands 1-5, and 7 of 30 meters while the Indian Remote Sensing Satellite (IRS) has an IFOV of 36.25 meters. 36
แลนด์ แซท 7 จะโคจรไปตามดวงอาทิตย์ หรือเรี ยกว่า Sun synchronous
37
http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter6/chapter6.html 38
http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter6/chapter6.html 39
40
http://landsathandbook.gsfc.nasa.gov/handbook/handbook_htmls/chapter6/chapter6.html
6. คุณสมบัติของ Landsat 7 Landsat 7 and ETM+ Characteristics: Band Number
Spectral Range(microns) Ground Resolution(m)
1
0.45 to 0.515
30
2
0.525 to 0.605
30
3
0.63 to 0.690
30
4
0.75 to 0.90
30
5
1.55 to 1.75
30
6
10.40 to 12.5
60
7
2.09 to 2.35
30
Pan
0.52 to 0.90
15
41
คุณสมบัต.ิ ..... Swath width:
185 kilometers
Repeat coverage interval:
16 days (233 orbits)
Altitude:
705 kilometers
Quantization:
Best 8 of 9 bits
On-board data storage:
~375 Gb (solid state)
Inclination:
Sun-synchronous, 98.2 degrees
Equatorial crossing:
Descending node; 10:00am +/- 15 min.
Launch vehicle:
Delta II
Launch date:
April 1999 http://geo.arc.nasa.gov/sge/landsat/l7.html
42
ช่ วงคลืนการรับข้ อมูลจาก Landsat 7
http://ls7pm3.gsfc.nasa.gov/mainpage.html
43
การโคจรของ Landsat 7 ในแนวดิง
http://geo.arc.nasa.gov/sge/landsat/l7image.html
44
6.ตั วอย่างภาพจากแลนด์แซต
45
ภาพวั นที 13 ธันวาคม 47
ภาพวั นที 29 ธันวาคม 47
ภาพจาก Landsat 7 บริ เวณอาเจห์ เกาะ สุ มาตรา ก่อนและ หลั งซึ นามิ
46
1
3
5
2
4
6
ความละเอียด 10 กม.ก่อน-หลังการเกิดซึนามิ (1-2, 3-4, 5-6)
47
This Landsat 7 natural color image of Lake Pontchartrain, New Orleans and surrounding areas was acquired midmorning on August 30, 2005. This natural color image uses Landsat 7 ETM+ Bands 3,2,1.
April 26, 2000 (bands 7,4,2)
August 30, 2005 (bands 7,4,2) 48
Landsat 7 ตัวอย่ างภาพ
49
ดัชนีภาพดาวเทียมlandsat 7 ครอบคลุมพื นทีประเทศไทย 50
http://www.gisthai.org/satellite/listdata.asp
บริ เวณแม่นํ าชี
51
http://www.gisthai.org/satellite/img/L7_12749_15032002.jpg
ดาวเทียม SPOT
52
ทีมา
ดาวเทียม SPOT (Le Systeme Probatoire d' Observation de la Terre) อยู่ ในความรับผิดชอบของ สถาบันอวกาศแห่ งชาติฝรังเศส (Centre National d'Etrdes Spatiales:CNES) ร่ วมกับประเทศใน กลุ ่มยุโรป อุปกรณ์ เก็บข้ อมูลของ SPOT ประกอบด้ วย High Resolution Visible (HRV) จํานวน 2 กล้อง คือ ระบบหลายช่ วงคลืน (Multispectral Mode) มี 3 ช่ วงคลืน ให้ รายละเอียด 20 x 20 ตารางเมตร และระบบ ช่ วงคลืนเดียว (Panchromatic) ให้ รายละเอียด 10 x 10 ตารางเมตร สมรรถนะของ HRV ทีสํ าคัญประการหนึง คือสามารถถ่ ายภาพแนว เฉียงและนํามาศึกษาในลักษณะ 3 มิติ ซึงรายละเอียดความลึกและ ความสู งของวัตถุ อันเป็ นประโยชน์ สําหรับ การวิเคราะห์ ในเชิงราย ละเอียดได้ ถูกต้ อง และมีประสิ ทธิภาพยิงขึ น 53
http://www.deqp.go.th/Remote_Sensing/html/spot.html
ดาวเทียมสปอต เป็ นดาวเทียมของสถาบั นอวกาศแห่ งชาติ ฝรั งเศส ปัจจุบ ั นมีสปอต2 โคจรอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ ดาวเทียมสปอตมีอุปกรณ์บ ั นทึกภาพซึ งสามารถ ถ่ายภาพได้ท ั งแนวดิ งและแนวเฉียง ทํ าให้นํามาศึกษาใน ลั กษณะสามมิติได้อย่างดีดาวเทียมนี ให้ข ้ อมูลเกียวกั บพืช พั นธุ์ ภาพคลุมพื นทีกว้ าง และมีรายละเอียดภาพดีกว่า1 กิโลเมตร
http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK16/chapter9/t16-9-m.htm
54
SPOT satellite’s scanning operation using the so called ”push broom technology“ in which a CCD array sweeps over a strip of the ground.
ระบบ HRV ไม่ ใช่ เครืองวัดแบบกล เชิงแสง แต่ เป็ นกล้ องถ่ ายภาพซีซีดีเชิง เส้ น ( linear CCD) ทีมีระบบ กวาดภาพแบบอิเล็กทรอนิกส์ กล้อง HRV เปลียนมุมมองสู งสุ ด บวก-ลบ 27 องศา โดยการเปลียนมุมมองของ กระจก ทําให้ กล้ องสามารถมงอมายัง ตําแหน่ งเดียวกันได้ จากสองวงโคจร แต่ ละคู่ มุมมองทําให้ ได้ภาพคู่ สเตริโอ 55
http://www.gaf.de/presshelp/essentls/p331.htm
สถานีรับสัญญาณ ข้ อมูลจากดาวเทียม SPOT รับได้ ทีสถานีภาคพื นดิน 14 แห่ ง โดยมี วัตถุประสงค์ เพือสํ ารวจพื นแผ่ นดิน และการทําแผนทีภูมิ ประเทศมาตราส่ วน 1:50,000 และมาตราส่ วนทีเล็กกว่ า มีวงโคจร โคจรสู ง 830 กิโลเมตร เอียง 98.7 องศา โคจรผ่ านเส้ นศู นย์ สูตร เวลา 10:30 น. โคจรกลับมาทีเดิมในเวลา 26 วัน หรือ 4-5 วัน ถ้ าถ่ ายภาพใน แนวเฉียง http://www.talaythai.com/Education/43620467/43620467.php3
56
ดาวเทียมมอส (MOS)
57
ดาวเทียมมอส เป็ นดาวเทียมสํารวจพื นพิภพและสมุทร ศาสตร์ขององค์การอวกาศแห่ งชาติญีปุ ่ น ซึ งมีชือย่อว่า องค์การนาสดา (NASDA) สามา รถรับภาพใน ระยะทางกว้ าง 100 กิโลเมตร ให้ข ้ อมูลเกียวกั บ อุณหภูมิต่าง ๆ ในทะเล การปกคลุมของเมฆและไอนํ า การสํารวจปริ มาณไอนํ าและนํ าในบรรยากาศ ลมทะเล การแผ่ปกคลุมของหิ มะและนํ าแข็งในทะเล ให้ข ้ อมูล ทางด้านสมุทรศาสตร์ และสามารถวั ดตํ าแหน่งของเรื อ หรื อทุ่นได้ด้วย 58
ความรู ้เรื องวงโคจร 1. วิถีโคจรทีเข้ าจังหวะกับโลกหรือวิถีโคจรทีอยู ่ กับที(Synchronus หรือ Stationary Orbit) ซึงดาวเทียมจะอยู ่ ห่างจากโลก 22,300 ไมล์ ดาวเทียม จะต้ องใช้ เวลา 24ชั วโมงเพือเดินทางรอบโลก ซึงเท่ากับเวลาทีโลก หมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ซึงวิถีโคจรแบบนีใช้ กับดาวเทียมซินคอม (Syncom) ซึงเป็ นดาวเทียมทีบรรจุเครืองมือสื อสาร ในการส่ งขึนไปจะ ใช้ จรวดเดลต้ ายิงดาวเทียมให้ อยู ่ ในวิถีโคจรรู ปวงรีก่อน ตําแหน่ งเพอริจี อยู ่ ห่างจากโลก 100 ไมล์ และตําแหน่ งอะโพจีอยู ่ห่างจากโลก 22,300 ไมล์ ขณะนั นดาวเทียมมีความเร็วเพียง 3,275 ไมล์ ต่อชัวโมง หลังจากนั น มอเตอร์ เล็กๆซึงใช้ เชือเพลิงแข็งจะเริมต้ นทํางานเพิมความเร็วของ ดาวเทียมขึ นเป็ น 6,870 ไมล์ ต่อชั วโมง ดาวเทียมซินคอมก็จะมีวิถีโคจร ใหม่ ตามต้ องการ การผลักดันครั งสุ ดท้ ายเรียกว่าอะโพจีคิค(Apogee Kick) 59
2. วิถีโคจรข้ ามขั วโลก (Polar Orbit) วิถีโคจรแบบนีดาวเทียมจะ ถูกส่ งไปทางทิศเหนือหรือใต้ ทําให้ วิถีโคจรของดาวเทียมข้ ามทั ง ขั วโลกเหนือและขั วโลกใต้ ซึงจะสามารถมองเห็นโลกทั งโลกได้ ภายในเวลา 1 วัน
http://www.hackmun.8m.com/
60
ดาวเทียม GPS
แสดงวงโคจรของดาวเทียม และจํานวนของของดาวเทียมทีรับสั ญญาณได้ ณ เวลานั น 61
ความแม่นยํ าของ GPS ตั วรับสัญญาณ GPS นั นจะสามารถระบุต ํ าแหน่งของเราได้แม่นยํ าแค่ไหน ขึ นอยู่ก ั บจํ านวนดาวเทียม ทีสามารถรับสัญญาณได้ในขณะนั น การระบุ พิก ั ดขึ นตํ า ต้องการดาวเทียมอย่างน้อย3 ดวง เพือระบุต ํ าแหน่งในแกน X , Y , Z (x คือข้อมูลว่าดาวเทียมนี คือตั วไหน, Y คือตํ าแหน่งของ ดาวเทียม และ Z คือเวลาทีส่ งข้ อมูลในขณะนี) ให้ได้ต ํ าแหน่งทีถูกต้อง โดยตั วเครื อง GPS จะนํ าสัญญาณนาฬิกา ทีได้รับจากดาวเทียมทั ง3 ดวง มาคํ าระยะห่าง ของเครื องรับสัญญาณ GPS กั บดาวเทียมเพือแจ้งพิก ั ด ปั จจุบ ั น 62
จากรู ปด้านบนจะเห็นได้ว่า หากรับสัญญาณGPS จากดาวเทียมได้เพียงดวงเดียว เราจะได้พิกัดใน ลักษณะเป็ นวงกว้ าง ไม่ สามารถระบุตําแหน่ งได้ แต่ รูปที 2 เมือรับสัญญาณ GPS จากดาวเทียมได้ 2 ดวง จะทําให้ สามารถระบุพิกัดได้ แต่ จะมีพิกัด จํานวน 2 จุดทีเกิดจากการตัดกันของสั ญญาณGPS จากดาวเทียม2ดวง ซึงก็ยังไม่ สามารถระบุตําแหน่ ง ทีชัดเจนได้ และรู ปที 3 จะสามารถระบุพิกัดบนพื นโลกได้ อย่ างชัดเจน เนื องจากเครืองรั บสัญญาณGPS สามารถรับ สัญญาณ จากดาวเทียมได้ 3 ดวง ทําให้ ตัวเครืองสามารถคํานวณหาพิกัด ซึงเกิดโดยจุดตัด จากสัญญาณ ดาวเทียม ทั ง3ดวงได้ ดังนั นการแสดงพิกัดทีถูกต้ อง ตัวเครืองทีใช้ รับสั ญญาณ GPS จะต้ องรับสั ญญาณ จากดาวเทียม GPS ได้อย่ างน้ อย 3 ดวงขึ นไป (ยิงมากยิงดี) 63
ข้ อจํากัดการใช้ งาน GPS navigator
การรับสัญญาณ GPS จากดาวเทียม จะได้สัญญาณทีอ่อนลงหรื อมี ข้ อผิดพลาด เมือมีปัจจั ยบางอย่างเช่น มีฝนตกหนัก หรื อฟ้ ามีเมฆหนาทึบ ซึ งเป็ นข้อจํ ากั ดทางภูมิอากาศ และหากอยู่ในพื นทีมีแต่ตึกสู งมากๆอยู่ท ั ง 2 ข้ างทาง เช่นในพื นทีทีเป็ นย่านธุ รกิจหรื อในซอยแคบ อาจทํ าให้ จํ านวนดาวเทียมทีตั วเครื องจั บสัญญาณได้มีน้อยลง
64
65
http://www.aircardshop.com/gps/GPS_%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%96.html