การประยุกต์ ใช้ ข้อมูลดาวเทียม
1
ก่ อนทีจ ะนําข้ อมูลดาวเทียมมาใช้ ประโยชน์ น ัน สิ งทีต ้ อง พิจารณามีดงั นี 1.มีความรู้ เรื องระบบดาวเทียมหรือไม่ เพียงใด 2 มีความรู้ เรื องระบบเซนเซอร์ ของดาวเทียมแต่ ละประเภท ต่ างๆ เป็ นอย่ างไร. 3. ต้ องการศึกษาเรื องอะไร 4. มีความเข้ าใจเกีย วกับคุณภาพข้ อมูลดาวเทียมเพียงใด 5. ต้ องการศึกษาในช่ วงเวลาใด ทีใ ด ข้ อมูลจากไหน 6. มีความเข้ าใจในการนําคุณสมบัตทิ ดี ขี องแต่ ละแบนด์ มา บูรณาการเพียงใด และอย่ างไร 2
1. Multiple sources เนื องจากข้ อมูลดาวเทียมมีการจัดเก็บในระบบ เซนเซอร์ หลายชนิด ซึ งมีความสํ าคัญต่ อการตรวจวัดคลืน จากวัตถุเป้าหมายแตกต่ างกันนั นเอง ซึ งเรารู้ จักดีในเรื อง ความแตกต่ างของความยาวคลืน ทีม ผี ลต่ อการดูดกลืน การ สะท้ อน และการทะลุผ่านวัตถุเป้าหมายในสั ดส่ วนที แตกต่ างกัน จึงทําให้ วตั ถุเหล่ านั นมีความแตกต่ างกันและ เปลีย นแปลงไปตามแหล่ งกําเนิด เป็ นไปได้ ทจี ะทําให้ สามารถจําแนกข้ อมูลได้ อย่ างชัดเมือ ใช้ แบนด์ ทแี ตกต่ างกัน ตรวจวัดค่ า EM ของวัตถุเดียวกัน 3
2. Multispectral เป็ นการใช้ ข้อมูลในหลายช่ วงคลืน เพือ จําแนกความ แตกต่ างของวัตถุอย่ างชัดเจน จึงจําเป็ นต้ องมีการเลือกใช้ แบนด์ ทเี หมาะสมเพือ การวิเคราะห์ วตั ถุเป้าหมาย เช่ น ต้ นไม้ ทถี ูกแมลงกัดกิน เป็ นต้ น
4
3. Multisensor เนื องจากมี Sensors ทีห ลากหลายในการตรวจวัดค่ า ข้ อมูลจากวัตถุเป้าหมาย และเมือ นํามาบูรณาการแล้ ว สามารถตีความและจําแนกความแตกต่ างได้ เช่ น การนํา ภาพขาว-ดํา หรือ panchromatic มาบูรณาการหรือใช้ ร่ วมกับภาพ MSS หรือนําภาพทีไ ด้ จาก sensor ต่ างระบบ กัน เช่ น ระหว่ าง active and passive sensor เป็ นต้ น โดยเฉพาะอย่ างยิง เมือ นําภาพ SAR กับภาพ MSS มาใช้ ร่ วมกัน จะทําให้ เห็นคุณลักษณะเด่ นของภาพทีเ หมาะสมต่ อ การจําแนกวัตถุต่างๆ ได้ ดี 5
ภาพทีไ ด้ จึงทําให้ ได้ ข้อมูลทีม คี ุณภาพสู งเมือ นํามาทําการ ผสมสี ต่อไป ส่ วนใหญ่ แล้ วจะใช้ ในการศึกษาลักษณะ ทางธรณี เพือ ศึกษาลักษณะหิน หรือองค์ ประกอบของ แร่ ธาตุต่างๆ ทีค ลืน ตรวจวัดได้ และ ศึกษาโครงสร้ าง ทางธรณีได้ เป็ นอย่ างดีเพราะเป็ นข้ อมูล radar นั นเอง
6
4. ข้ อมูล Multitemporal มีความสํ าคัญมา เนื องจากทําให้ เห็นการเปลีย นแปลง ในพืน ทีเ ดียวกัน แต่ ต่างช่ วงเวลากัน ซึ งทําให้ สามารถ ติดตามการเปลีย นแปลงในพืน ทีน ันอย่ างรวดเร็ว เช่ น การเกิดมหันตภัยธรรมชาติ ไม่ ว่าจะเป็ นแผ่ นดิน ถล่ ม นํา ท่ วม ไฟป่ า เป็ นต้ น ซึ งต้ องการเห็นการเปลีย นแปลง ในช่ วงเวลาทีแ ตกต่ างนับเป็ น ชั วโมง วัน หรือสั ปดาห์ เป็ น ต้ น 7
แต่ สําหรับปรากฏการณ์ ทคี ่ อยมีการเปลีย นแปลง เช่ น การ ละลายของภูเขานํา แข็ง หรือการเติบโตของป่ า เป็ นต้ น ต้ องอาศัยข้ อมูลการเปลีย นแปลงเป็ นรายปี ดังนั นการ ประยุกต์ ใช้ ข้อมูลจําต้ องให้ ความสํ าคัญกับเงือ นไข (องศา ของดวงอาทิตย์ หรือมุมเรขาคณิตจากเรดาร์ ) ซึ งมีผลก ต่ อการนําข้ อมูลมาใช้ เพือ เปรียบเทียบจําแนกผลความ แตกต่ าง
8
1.ด้านการป่ าไม้
9
กรมป่ าไม้ ได้ นําข้ อมูลจากดาวเทียมเพือ ศึกษาพืน ทีแ ละชนิดของป่ าไม้ ทัว ประเทศและ ติดตามการเปลีย นแปลงพืน ทีป ่ าไม้ โดยเฉพาะ พืน ทีป ่ าต้ นนํา ลําธาร การสํ ารวจหาพืน ทีป ่ า ไม้ ทอี ุดมสมบูรณ์ และ ป่ าเสื อมโทรมทัว ประเทศ การใช้ ภาพดาวเทียมศึกษาหาบริเวณพืน ทีท คี วรจะทําการปลูกสร้ าง สวนป่ าทดแทน บริเวณป่ าที ถูกบุกรุ กแผ้ วถางการศึกษาหาสภาพ การเปลีย นแปลงจากการใช้ ประโยชน์ พนื ทีป ่ าไม้ ทุกระยะ 3 ปี นอกจากนีย งั มีโครงการร่ วมกันในระหว่ างหน่ วยงานต่ างๆ เช่ น สํ านักงานเศรษฐกิจการเกษตร สํ านักงานคณะกรรมการวิจยั แห่ งชาติ และองค์ การต่ างประเทศร่ วมมือกันทําการศึกษาและวิจยั งานด้ านป่ าไม้ โดยใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยดําเนินงาน 10
2. ด้านการใช้ที ดิน
11
ด้ วยเหตุทกี ารใช้ ทดี นิ ของประเทศไทยได้ มีการเปลีย นแปลง อยู่เสมอ ๆ โดยมีการกําหนดลักษณะการใช้ ทดี นิ ว่ าควรเป็ นไปในรู ป ใด เช่ น ทําการเกษตรกรรม ก่ อสร้ าง อาคารบ้ านเรือน หรือจัดสร้ าง สถานทีพ กั ผ่ อนหย่ อนใจ เป็ นต้ น ดังนั นข้ อมูลจากดาวเทียมจึงถูกนํามาใช้ โดยกรมพัฒนา ทีด นิ เพือ ศึกษาและวิเคราะห์ การเปลีย นแปลง สภาพการใช้ ทดี นิ ตลอดจนจัดทําแผนทีแ สดงขอบเขตการใช้ ทดี นิ แต่ ละประเภท การนําข้ อมูลจากดาวเทียมมาใช้ มีท งั วิธีการแปลด้ วยสายตา และการวิเคราะห์ ด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ งทําให้ ประหยัดเวลาและลด อัตรากําลังคนในการทํางาน
12
อีกทั งปัจจุบนั ดาวเทียมได้ รับการพัฒนาให้ มีประสิ ทธิภาพ เพิม ขึน ได้ แก่ ข้ อมูลรายละเอียดสู งจากดาวเทียม LANDSAT ระบบ TM และข้ อมูลดาวเทียม SPOT ซึ งมีปริมาณมากเพียงพอ และรวดเร็วทันกับ ความต้ องการจึงเป็ นแรงจูงใจทีจ ะทําให้ มีผ้ ูใช้ ข้อมูลโครงการทางด้ านการ ใช้ ทดี นิ มากขึน เช่ นการศึกษาการ ใช้ ที ดนิ จังหวัดนราธิวาส โดยการ วิเคราะห์ ข้อมูลจากดาวเทียมด้ วยเครื องคอมพิวเตอร์ การสํ ารวจสภาพการใช้ ทดี นิ ระดับภาคการศึกษาการใช้ ประโยชน์ ที ดนิ บริเวณป่ าพรุ โต๊ ะแดงจังหวัดนราธิวาสโดยใช้ ข้อมูล ดาวเทียม การประเมินการชะล้ าง พังทลายของดินบริเวณบางส่ วนของ พืน ที ล่ ุมนํา จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้ ข้อมูลจาก ดาวเทียม SPOT และ LANDSAT 13
3. ด้านการเกษตร
14
ประสิ ทธิภาพในการใช้ ข้อมูลจาก ดาวเทียมยิง ขึน และ เนื องจากมีการถ่ ายภาพซํ าทีเ ดิมทุกๆ 16 วัน ของดาวเทียม LANDSAT และทุก 26 วันของดาวเทียม SPOT ทําให้ สามารถเปรียบเทียบความแตกต่ างของสภาพพืน ทีไ ด้ อย่ าง รวดเร็ว กรมวิชาการเกษตร สํ านักงานเศรษฐกิจการเกษตรและ สํ านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ ได้ นําข้ อมูลดาวเทียมไป ใช้ ประโยชน์ ในโครงการต่ างๆ เช่ น การใช้ ภาพจากดาวเทียม LANDSAT ติดตามการเปลีย นแปลงของพืน ทีน าข้ าวภาค กลาง ศึกษาหาผลผลิตข้ าว 15
การสํ ารวจพืน ทีป ลูกยางพาราของประเทศไทย การศึกษา ความเป็ นไปได้ ของการประมาณพืน ทีเ พาะปลูกปาล์ ม นํา มันในบริเวณภาคใต้ การกําหนดพืน ทีท มี ศี ักยภาพของการเกษตรโดย การแปล ภาพ ด้ วยสายตาจากดาวเทียม SPOT ผลจาการพัฒนา ข้ อมูลดาวเทียมในระบบเรดาร์ จะมีส่วนช่ วยอย่ างสํ าคัญ ในการศึกษาสํ ารวจและติดตามข้ อมูลทางด้ านการเกษตร ได้ ทุกฤดูกาล 16
4. ด้านธรณี และธรณี สณ ั ฐาน
17
การนําข้ อมูลจากดาวเทียมสํ ารวจทรัพยากรมาใช้ ใน งานด้ านนี จะมีลกั ษณะและวิธีการแตกต่ างไปจากการแปล ข้ อมูลด้ านอืน ไม่ ว่าจะเป็ นด้ านป่ าไม้ การใช้ ทดี นิ และ เกษตรกรรม ซึ งอาศัยแต่ เพียงปัจจัยการแปลสภาพพืน ฐานก็ สามารถศึกษาข้ อมูลเหล่ านั น แต่ การแปลความหมายทางธรณีวทิ ยาและธรณีสัณฐาน จะอาศัย วิธีการอ่ านข้ อมูลทีเ ห็นได้ โดยตรง เช่ น ลักษณะภูมิ ประเทศ ลักษณะทางนํา ลักษณะการใช้ ทดี นิ ตลอดจนสี งที ปรากฎในภาพมาประมวลร่ วมกันแล้ วจึงแปลความหมาย ทางด้ านธรณีสัณฐาน และธรณีวทิ ยาอีกขั นหนึ ง 18
ประกอบกับภาพดาวเทียมในปัจจุบัน เป็ นภาพทีม ี คุณสมบัตใิ นการนํา มาศึกษาได้ ในสามมิติ จึงทําให้ สามารถศึกษาลักษณะภูมปิ ระเทศได้ ดี นอกจากนีภ าพจากดาวเทียมเหมาะอย่ างยิง ทีจ ะนํามาใช้ เมือ หน่ วยทางธรณีวทิ ยาและธรณีสัณฐานมีขนาดใหญ่ ทําให้ มองเห็นโครงสร้ างทั งหมดได้ ในเวลาเดียวกัน
19
เนื องจากการวิจยั และพัฒนาข้ อมูลทีไ ด้ รับด้ วยเทคนิคต่ าง ๆ เพือ ให้ ได้ รับรายละเอียดเพิม ขึน นอกจากนี กรมทรัพยากรธรณี ได้ ใช้ ภาพถ่ ายจากดาวเทียมสํ ารวจหาแหล่ งนํา บาดาล และนํา ใต้ ดนิ ในหินแข็งของภาคตะวันออก และสํ ารวจธรณีวทิ ยาแหล่ งแร่ ใน บริเวณภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคเหนือ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้ ศึกษาวิจยั เพือ ให้ ทราบถึง สภาพทางธรณีวทิ ยาทัว ไปเฉพาะแห่ ง เช่ น การใช้ ภาพจาก ดาวเทียมสํ ารวจข้ อมูลทางธรณีวทิ ยาบริเวณขอบโคราช 20
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ ศึกษาเรื องการ ประเมินการใช้ ภาพจากดาวเทียมเพือ ทํา แผนทีธ รณี สั ณฐานทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น ได้ วจิ ัยเรื องการศึกษาธรณี สั ณฐานวิทยาของการสะสมตัวของ เม็ดตะกอนโดยลมใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้ วยภาพจากดาวเทียม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ ศึกษาการแพร่ กระจายทาง ภูมศิ าสตร์ ของแหล่ งแร่ บริเวณ รอบแอ่ งเชียงใหม่ ด้วย ภาพถ่ ายจากดาวเทียม 21
5. ด้านอุทกวิทยา
22
การศึกษาในด้ านอุทกวิทยา อาจรวมถึงการศึกษาที เกีย วกับ อุทกภาค (Hydrosphere) ซึ งหมายถึง นํา ทั งบน บก ในทะเล นํา บนดินและใต้ ผวิ ดิน รวมไปถึงปริมาณ คุณภาพ การ ไหล การหมุนเวียน ตลอดจนองค์ ประกอบ อืน ๆ ทีส ั มพันธ์ กบั นํา การใช้ นํา และมลภาวะใน นํา เป็ นต้ น สํ าหรับแหล่ งนํา บนดิน ภาพดาวเทียมจะให้ ข้อมูลแหล่ ง ทีต งั รู ปร่ าง ขนาดได้ เป็ นอย่ างดี ถ้ าหากขนาดของแหล่ งนํา ไม่ เล็กจนเกินไป 23
เนื องจากนํา มีคุณสมบัตทิ ี ดูดกลืนคลืน แม่ เหล็กไฟฟ้ าช่ วง อินฟราเรด ตั งแต่ ความยาวช่ วงคลืน 0.7 ไมครอนขึน ไป ไว้ ได้ เกือบทั ง หมดดังนั นภาพในช่ วงคลืน อินฟราเรด (0.7 - 1ไมครอน) จะแสดงขอบเขตบริเวณที เป็ น นํา บน ผิวดินได้ เด่ นชัดและนํามาศึกษาขอบเขตนํา ผิวดินได้ ดีกว่ าช่ วงคลืน อืน ๆ
24
กรมชลประทานได้ นําข้ อมูลจากดาวเทียมไปใช้ ในการวิจัย เรื องการใช้ ข้อมูลจากดาวเทียม สํ ารวจทรัพยากรเพือ การ ชลประทานบริเวณพืน ทีช ลประทานของโครงการเกษตร ชลประ ทานพิษณุโลกด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ เพือ ติดตาม การประเมินผลการส่ งนํา บริเวณโครง การฯ เพือ ใช้ เป็ น ข้ อมูลพิจารณาแผนด้ านการสรรนํา และปรับปรุงระบบ ชลประทานทีใ ช้ งานด้ านวิศวกรรม เกีย วกับการ บํารุงรักษาเขือ นและอ่ างเก็บนํา 25
5. ด้านสมุทรศาสตร์
26
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และสํ านักงาน คณะกรรมการวิจยั แห่ งชาติได้ ศึกษาเกีย วกับตะกอนใน ทะเลและคุณภาพของนํา บริเวณชายฝั ง โดยสั งเกตจาก ระดับความขุ่นของนํา ซึ งปรากฎในภาพจากดาวเทียม LANDSAT โครงการทีศ ึกษา ได้ แก่ การแพร่ กรจายของ ตะกอน แขวนลอยบริเวณรอบเกาะภูเก็ต เป็ นบริเวณทีม กี ารทํา เหมืองแร่ ดบี ุกจากเทคนิคการเน้ นภาพจากดาวเทียม ทํา ให้ แยกระดับความขุ่นของตะกอนได้ 27
นอกจากการศึกษาตะกอนในทะเลแล้ วยังได้ ศึกษาการ แพร่ กระจายตัวของตะกอนในบริเวณปากแม่ นํา ต่ าง ๆ ของอ่ าวไทยตอนบน ปากแม่ นํา เจ้ าพระยา บางปะกง และท่ าจีน ข้ อมูลดาวเทียม SPOT ให้ ประโยชน์ ในการศึกษา ด้ าน สมุทรศาสตร์ และชายฝั งการพัง ทะลายและการ ตกตะกอน สํ าหรับ MOS-1 มีระบบ เก็บข้ อมูล VTIR ซึ งมีช่วงคลืน Visible Thermal Infrared สามารถทะลุ ผ่ านนํา ประมาณ 40 - 50 เมตรได้ นับว่ ามี ประโยชน์ อย่ างยิง ในทางสมุทรศาสตร์ และการประมง
28
6.ด้านภัยธรรมชาติ
29
จากการทีภ าคใต้ ของประเทศไทยได้ ประสบปัญหานํา ท่ วม ทําความเสี ยหายแก่ ชีวติ และทรัพย์ สิน โดยเฉพาะที อําเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราชได้ มหี ลายหน่ วยงานที ให้ ความสนใจทีจ ะนําข้ อมูลดาวเทียมมาใช้ ในการสํ ารวจ สภาพนํา ท่ วม เพือ ให้ ทราบถึงขอบเขตบริเวณนํา ท่ วม ตลอดจนผลกระทบจากนํา ท่ วม ทําแผนทีแ สดงขอบเขตบริเวณ นํา ท่ วมมักทําได้ ด้วย ความลําบากเนื องจากจะมี ขอบเขตบริเวณกว้ างขวาง ไม่ สะดวกต่ อการทํารังวัด ด้ วยเครื องมือสํ ารวจภูมปิ ระเทศทัว ๆ ไป และจะเปลีย นแปลง โดยจะไหลลงสู่ บริเวณทีต าํ กว่ าอยู่ ตลอดเวลา
30
ข้ อมูลดาวเทียมจะทําให้ สามารถบันทึกบริเวณนํา ท่ วมใน ขณะนั นได้ อย่ าง ถูกต้ องและรวดเร็วติดตามสภาพนํา ท่ วมได้ เป็ นขั นตอนและสามารถนําข้ อมูลมา ศึกษาเพือ หาทางควบคุมป้องกันสภาพนํา ท่ วมในปี ต่ อ ๆ ไปได้ การศึกษาผลกระทบและความเสี ยหายทีเ กิดจากนํา ท่ วม ทําให้ ทราบถึงสภาพเสี ยหายได้ อย่ างแม่ นยํา
31
7. ด้านการทําแผนที
32
กรมแผนที ทหาร ได้ ทดลองใช้ ภาพจากดาวเทียม SPOT แก้ ไขแผนที ภูมปิ ระเทศ มาตราส่ วน 1:50,000 ให้ ทันสมัย ซึ งเป็ นโครงการหนึ ง ภายใต้ ความช่ วยเหลือจาก องค์ การ CIDA (Canadian Intermational Development Agency) โดยนําข้ อมูลจากดาวเทียมSPOT ทีม รี ายละเอียดสู ง มาใช้ ในการแก้ ไขแผนที ระยะแรกของโครงการนี ได้ แก้ ไข แผนทีม าตราส่ วน 1:50,000 โดยทําการแก้ ไขแผนที 4 ระวาง คือ ส่ วนหนึ งเป็ นบริเวณจังหวัดเชียงใหม่ อีกส่ วนหนึ ง เป็ น บริเวณพืน ทีช ายฝั งทะเลตะวันออก 33
นับว่ าได้ ผลดีเนื องจากข้ อมูลดาวเทียม SPOTสามารถ นํามาใช้ งานในทางปฏิบัตเิ พือ แก้ ไขรายละเอียดทางราบ ได้ ดี และกรมแผนทีท หารได้ ดาํ เนินการแก้ ไข แผนทีม าตราส่ วน 1:50,000 โดยใช้ ข้อมูลจากดาวเทียม SPOTระบบ Panchromatic ทีม รี าย ละเอียด Resolution ขนาด 10 x 10 เมตร 34
II.การประยุกต์ใช้ขอ้ มูลดาวเทียม
35
บทนํา ในการวางแผนการบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้ อมของ ประเทศนั น จําเป็ นต้ องอาศัยข้ อมูลพืน ฐาน จากหลายสาขา (Interdisciplinary) ทั งทางด้ านกายภาพ (Physical) ชีวภาพ (Biological) เศรษฐกิจสั งคม (Socio-Economics) ตลอดจนนโยบายของรัฐมาประกอบในการพิจารณาในการวาง แผนการบริหารทรัพยากร ธรรมชาติเพือ ให้ ทราบถึงข้ อเท็จจริงของ สถานการณ์ ในปัจจุบัน (Present Situation) ของทรัพยากรธรรมชาติ ทีม ีอยู่ มีมากน้ อยเพียงใด อยู่ทไี หน มีสภาพและคุณภาพอย่ างไร ข้ อมูลเบือ งต้ น เหล่ านี จําเป็ นอย่ างยิง ต่ อการวิเคราะห์ ถึงปัญหาทีเ กีย วข้ องกับการบริหาร ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ งแวดล้ อม ตลอดจนสาเหตุของปัญหาและ ผลกระทบทีอ าจจะเกิดขึน ในอนาคตหากไม่ แก้ไขได้ ทนั ท่ วงที 36
ข้ อมูลจากภาพดาวเทียมเป็ นข้ อมูลทีใ ห้ รายละเอียดเกีย วกับสภาพการ เปลีย นแปลง (Changing) ของทรัพยากรดิน ทรัพยากรป่ าไม้ และทรัพยากรนํา การขยายตัวของชุ มชน การพัฒนาด้ านสาธารณูปโภค แสดงถึงการเคลือ นไหว (Dynamic) ของเศรษฐกิจสั งคมตลอดจนการขาดดุลย์ ของธรรมชาติ ใน ลักษณะของมลภาวะ (Pollution) ของทรัพยากรดินและนํา ได้ เป็ นอย่ างดี ข้ อมูลต่ างๆเหล่ านีจ ําเป็ นต้ องแปลตีความโดยผู้แปลตีความทีม ี ประสบการณ์ ในการแปล จึงจะสามารถเปลีย นข้ อมูลจากภาพมาเป็ นข้ อมูลเชิง ปริมาณ (Quantitative) และข้ อมูลในเชิงคุณภาพ (Qualitative) ได้ และในการ นําเอาศาสตร์ ทางด้ าน Remote Sensing มาใช้ ในการวางแผนการบริหาร ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ งแวดล้ อมของประเทศไทยนั น มีวตั ถุประสงค์ ดังนี 37
1. เพือ สํ ารวจปริมาณ คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติทมี ีอยู่ใน ปัจจุบนั 2. เพือ ศึกษาวิเคราะห์ ประเมินความรุนแรงของผลกระทบต่ อ สิ งแวดล้ อมทีเ กิดการพัฒนาและใช้ ประโยชน์ ทรัพยากร ธรรมชาติ ทีม ีในปัจจุบนั 3. เพือ วางแผนแก้ ไขและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติทเี หมาะสม สามารถใช้ ทรัพยากรธรรมชาติทมี ีอยู่อย่ างมีประสิ ทธิ ภาพและเกิด ประโยชน์ สูงสุ ดสอดคล้ องกับสภาพเศรษฐกิจและสั งคม กําหนด เป็ นแนวทางในการพัฒนาและควบคุมการ ใช้ งาน ทรัพยากรธรรมชาติอนื ๆ ของประเทศ 38
สํ าหรับประเทศไทยนั น การสํ ารวจข้ อมูลจากระยะไกล (Remote Sensing) เริ มเข้ ามามีบทบาทในการวางแผน การบริหาร และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้ อม ตั งแต่ ปี 2541 เป็ นต้ นมาโดยเข้ าร่ วมโครงการสํ ารวจ ทรัพยากรธรรมชาติด้วย ดาวเทียม ขององค์ การนาซ่ า (NASA) ประเทศสหรัฐอเมริกา โดย การดําเนินงานและประสานงานของกองสํ ารวจ ทรัพยากรธรรมชาติด้วยดาวเทียม สํ านักคณะกรรมการวิจยั แห่ งชาติ และในปี 2524 ได้ ดาํ เนินการ จัดตั งสถานีรับสั ณญาณจาก ดาวเทียมสํ ารวจทรัพยากรและดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาขึน ทีเ ขต ลาดกระบัง กรุ งเทพมหานคร
39
1. การติดตามการเปลีย นแปลงธรรมชาติและ สิ งแวดล้ อม
40
1. การสํ ารวจและการจัดทําแผนทีท รัพยากรธรรมชาติ (Mapping) ทรัพยากรธรรมชาติเป็ นปั จจัยหนึ งที สาํ คัญต่อการพัฒนา ทางด้านเศรษฐกิจ และสังคมการสํารวจทางไกลจัดได้วา่ เป็ น เครื องมือ ช่ วยในการศึกษาและสํ ารวจทรัพยากรได้ท: งั ในระดับ จังหวัด ภาค ประเทศ หรื อภูมิภาคเพราะดาวเทียมครอบ คลุม เนื:อหาที ขนาดใหญ่ อีกทั:งยังมีความหลากหลายให้เลือกใช้ เช่น ภาพขนาดเล็ก (60 x60 ตารางกิโลเมตรของ ดาวเทียม SPOT) ที มีรายละเอียดภาพ สู งสุ ดถึง 10 เมตรเหมาะที จะใช้สาํ รวจและศึกษาเฉพาะที 41
แต่ภาพขนาดกลาง (185 x 185 ตารางกิโลเมตรของดาวเทียม LANDSAT) ความละเอียดภาพ 30x 30 เมตร สามารถใช้ ศึกษาระดับกว้างระดับ จังหวัด ภูมิภาคหรื อประเทศ ไป จนถึงภาพขนาดใหญ่ (ประมาณ 2,000 x 8,000 ตาราง กิโลเมตรจาก NOAA ) รายละเอียด 1 กิโลเมตร ซึ งใช้ได้ดีใน ระดับภูมิภาค การที ดาวเทียมสามารถให้ขอ้ มูลสําหรับศึกษา พื:นที ห่างไกล หรื อพื:นที ที ไม่สามารถเข้าถึงได้ทาง ภาคพื:นดินได้ดี และยังเชื อมโยงกับส่ วนที สมั พันธ์ใกล้เคียง อื นๆ ด้วย 42
การสํ ารวจและทําแผนทีท รัพยากรนี ไม่ สามารถกระทํา ได้ โดยอาศัยภาพถ่ ายดาวเทียมแต่ เพียงอย่ างเดียวทั งนี เพราะ การตีความจากภาพถ่ ายนั นขึน อยู่กบั ความรู้ และประสบการณ์ ของผู้ตคี วามเป็ นหลัก การสํ ารวจระยะไกล มิใช่ จะแทนทีก ารสํ ารวจแบบปกติ ได้ ท งั หมดแต่ จะมีส่วนช่ วยลดปริมาณ การสํ ารวจภาคพืน ดิน ลงมากและใช้ ประโยชน์ ร่วมกัน 43
และบางกรณีมคี วามถูกต้ องและยากทีจ ะทําได้ ก็ต้องอาศัยการ สํ ารวจแบบปกติ เช่ น แนวเขตและรู ปแบบการใช้ ประโยชน์ ทีด นิ ต่ างๆ ภาพดาวเทียมจะบรรจุข้อมูลทาง ทรัพยากร และแสดงตําแหน่ งบนผิวโลกของทรัพยากรจึงจะช่ วยใน การทําแผนทีเ ป็ นไปได้ อย่ างรวดเร็ว และถูกต้ องมากยิง ขึน
44
2. การศึกษาการเปลีย นแปลง (Changing) ด้วยสมรรถนะของดาวเทียมที สามารถกลับมาซํ:าใหม่ใน ทุกๆ 16 วัน เช่น ในดาวเทียม LANDSAT นั:นจึงสามารถ นํามาใช้ประโยชน์ดา้ ติดตามและดูการเปลี ยนแปลงทรัพยากร และสภาพแวดล้อมอื น ๆ ได้อย่างสมํ าเสมอ รวมทั:งการศึกษาสภาพในอดีต เพื อดูแนวโน้มคาดการณ์ และวางแผนสําหรับอนาคต นอกจากนี:ยงั สามารถใช้ติดตาม ปรากฎการณ์และกระบวนการทาง ธรรมชาติ ทั:งบนแผ่นดิน และในมหาสมุทร 45
แม้ กระนั นยังบันทึกการเปลีย นแปลงไปตามความถี ของการ โคจรมาทีเ ดิม ซึ งขึน อยู่กบั ชนิดและลักษณะการโคจรของ ดาวเทียม ปัจจุบันดาวเทียมสํ ารวจทรัพยากรทีเ น้ นการสํ ารวจบ แผ่ นดินจะมีความถี อยู่ในช่ วง 2 - 4 สั ปดาห์ ยกเว้ น ดาวเทียม SPOT ซึ งจะถ่ ายภาพซํ าได้ ถี กว่ า เพราะ ลักษณะพิเศษในการปรับ เอียงกล้ องไปทางซ้ าย และขวา ได้ ถึง + 27 องศาจากแนวดิง นับว่ าเพียงพอต่ อการสํ ารวจ สิ งทีม กี ารเปลีย นแปลงไม่ รวดเร็วนัก 46
ต่ างจากการดูสภาพอากาศเพือ ใช้ ในการพยากรณ์ ซึ งมี การเปลีย นแปลงสู ง ต้ องมีการบันทึกเป็ นรายวัน หรือราย ชั วโมง เช่ นดาวเทียม NOAA ซึ งรับข้ อมูลได้ วนั ละ 2 ครั งคือ ในช่ วงเช้ าและบ่ าย จึงเหมาะสํ าหรับใช้ ในการพยากรณ์ อากาศ ทัว ๆไป เป็ นต้ น แต่ สําหรับการติดตามการเกิดและเคลือ นตัว ของพายุโซนร้ อนต่ างๆ เพือ การเตือนภัยต้ องอาศัยดาวเทียม ประจําท้ องถิ น เช่ น ดาวเทียมโกล์ ซึ งบันทึกภาพได้ ถถี ึงทุกๆ 30 นาที 47
ในด้ านมหาสมุทรศาสตร์ น ัน ลักษณะกายภาพ และ ปรากฎการณ์ ต่างๆโดยเฉพาะอย่ างยิง บริเวณชายฝั งจะ เป็ นบริเวณ ทีม กี ารเปลีย นแปลงสู ง ทีไ ด้ รับอิทธิพลจาก กระแสนํา ขึน -นํา ลง ทําให้ มกี ารเปลีย นแปลงเป็ นราย ชั วโมง ปัจจุบันยังไม่ มดี าวเทียมดวงใด ทีน ํามาใช้ งานใน ด้ านนีไ ด้ อย่ างแท้ จริงในลักษณะปฏิบัตกิ ารส่ วนใหญ่ จะ เป็ นในเชิงศึกษาค้ นคว้ าเบือ งต้ นเท่ านั น 48
3. การให้ สัณญาณเตือนภัย (Warning) ประโยชน์ที สาํ คัญอย่างหนึ งของดาวเทียมสํารวจ ทรัพยากรก็คือ การจัดทําแผนที ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ งแวดล้อม ประเภทต่างๆ เช่น ป่ าไม้ แหล่งต้นนํ:าลําธาร สภาพแวดล้อมชายฝั ง การพังทลายและการตกตะกอนของลํา นํ:าและแผนที อื นๆ ที เกี ยวข้องกับสภาพแวดล้อมข้อมูล หรื อ แผนที ต่างๆ เหล่านี:จะเป็ นตัวบ่งชี:สถานภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมนั:นๆ 49
ซึ งเมื อนําข้อมูลหรื อแผนที ทรัพยากรธรรม ชาติเหล่านี:หลายๆ ปี มาเปรี ยบเทียบหาความแตกต่าง หรื อความเปลี ยนแปลง (Temporal Change) ทําให้สามารถทํานายหรื อพยากรณ์ สถานการณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ งแวดล้อมใน อนาคตได้ ซึ งถือว่าเป็ นส่ วนประกอบที สาํ คัญในการส่ ง สัญญาณเตือนภัยให้รู้วา่ ทรัพยากรประเภทนั:นๆ อยูใ่ นขั:น รุ นแรงหรื อขั:นวิกฤติ ควรจะมีมาตรการในการป้ องกันหรื อ แก้ไขอย่างไรบ้าง นอกจากนี: ยังมีประโยชน์ต่อการวางแผน การพัฒนาและ บริ หารการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อมของ ประเทศอีกด้วย 50
2. การเปลีย นแปลงติดตามการใช้ ทดี นิ
51
ข้ อมูลจากดาวเทียมเป็ นข้ อมูลหลายช่ วงระยะเวลา (Temporal Data) หลายช่ วงคลืน (Multispectral) ดาวเทียม บาง ดวงให้ รายละเอียดสู งเกือบเท่ าภาพถ่ ายทางอากาศ (High Resolution) ดังนั นข้ อมูลจากดาวเทียม จึงให้ ประโยชน์ ใน ด้ านการจําแนก(Classification) ติดตามตรวจสอบการ เปลีย นแปลงการใช้ ประโยชน์ พนื ทีใ นปัจจุบันอันเป็ นข้ อมูล หลักใน การวางแผนการพัฒนาพืน ที 52
3. การวิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์ ปัจจุบัน
53
ข้ อมูลจากดาวเทียมเป็ นข้ อมูลหลายช่ วงระยะเวลา (Temporal Data) หลายช่ วงคลืน (Multispectral) ดาวเทียม บาง ดวงให้ รายละเอียดสู งเกือบเท่ า ภาพถ่ ายทางอากาศ (High Resolution) ดังนั นข้ อมูลจากดาวเทียม จึงให้ ประโยชน์ ใน ด้ าน การจําแนก(Classification)ติดตามตรวจสอบการเปลีย นแปลง การใช้ ประโยชน์ พนื ทีใ นปัจจุบันอันเป็ นข้ อมูลหลักใน การ วางแผนการพัฒนาพืน ที 54
4. การวางแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
55
ข้ อมูลในการวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพือ การพัฒนาประเทศนั น นอกจากจะใช้ ความเหมาะสม ทางด้ าน กายภาพ ชีวภาพ และเศรษฐกิจสั งคม แล้ วยังต้ อง ดําเนินตามนโยบาย (Policy) ทีร ัฐบาลได้ วางไว้ อกี ด้ วย ข้ อมูล จาก ภาพดาวเทียมจะช่ วยชี ภาพรวมให้ ผ้ ูบริหารกําหนด นโยบาย (Policy Making) การตัดสิ นใจ(Decision Making) ในการบริหารได้ ดยี งิ ขึน 56
4. การพยากรณ์
57
ดาวเทียมบางดวง เช่ น MOS-1 และดาวเทียม NOAA เป็ นดาวเทียมทีใ ห้ ข้อมูลทางด้ านสมุทรศาสตร์ และ อุทกศาสตร์ สามารถพยากรณ์ ให้ ทราบถึงความเปลีย นแปลง ของบรรยากาศทีจ ะมีผลกระทบและก่ อให้ เกิดภัยพิบัติ เช่ น พายุ อุณหภูมิ ข้ อมูลเหล่ านีเ ป็ นประโยชน์ อย่ างยิง ต่ อการ ป้องกัน คุ้มครองทรัพย์ สินของราษฎร
58
ผลของการใช้ ข้อมูลดังกล่ าวช่ วยให้ รัฐบาลสามารถออกข่ าว เตือนราษฎรในพืน ทีไ ด้ อย่ างทันท่ วงที ทําให้ ลดปริมาณผู้ เสี ย ชีวติ และทรัพย์ สินของราษฎรได้ เป็ นอย่ างมาก นอกจากนีข ้ อมูลจากดาวเทียมยังแสดงผลกระทบที เกิดขึน ในพืน ทีต ่ างๆ ทัว โลกจะสะท้ อนหรือประเมินผลที อาจจะเกิดขึน ในอนาคตและทีอ าจจะเกิดขึน กับประเทศ ไทยในการวางแผนพัฒนาประ เทศ ในลักษณะเดียวกัน อีกด้ วย 59
Remote sensing applications 1.ด้ านการเกษตร (Agriculture ) 1.1 ทําแผนที พชื ทางการเกษตร(mapping crop area) 1.2 จําแนกโรคและความเครียดของพืช (dentifying diseases and crop stress) 1.3 ประเมินผลผลิตด้ วยรู ปแบบต่ างๆ (estimating crop yield in conjunction with models) 1.4 ติดตามการปลูกพืชผิดกฎหมาย (detecting weeds and illicit crops) 1.5 จัดการด้ านพืน ที (pasture management ) ได้ แก่ 60
1.5.1 จัดกลุ่มชนิดพืชพรรณ (crop type classification ) 1.5.2 ประเมินเงือ นไขของชนิดพืช (crop condition assessment ) 1.5.3 ประเมินผลผลิต (crop yield estimation ) 1.5.4 ทําแผนทีค ุณลักษณะของดิน (mapping of soil characteristics ) 1.5.5 ทําแผนทีก ารจัดการดิน (mapping of soil management practices ) 1.5.6 ติดตามการเปลีย นแปลงการทําการเกษตร (compliance monitoring (farming practices) 61
2. ด้ านแผนที Cartography -ด้ านการปรับปรุ งแผนที (map revision) -ด้ านการศึกษาขนาดและรู ปร่ าง และโฟโตแกรมมิสทรี (geodesy and photogrammetry) -ด้ านการผนวกข้ อมูลรีโมทเซนซิงด้ วยการนําเสนอทางแผน ที (merging other data with remote sensing for map presentation) -ทําภาพสามมิตเิ พือ ศึกษาลักษณะภูมปิ ระเทศ (use of stereo imagery for topographic mapping) -ด้ านการแปลแผนทีเ พือ ปรับปรุ งแผนทีใ ห้ ทนั สมัยจาก หลายๆ แหล่ ง (compile and update thematic maps of various resources) 62
3. ด้ านวิศวกรรม (Engineerings ) -วางแผนการวางท่ อพลังงานต่ างๆ (routing power lines) -ออกแบบโครงข่ ายการคมนาคมขนส่ ง (designing transportation networks ) -เลือกทีต งั (site selection)
63
Applicaiton....
4. การทําแผนทีเ สี ยงภัย (Erosion mapping ) -ทําแผนทีแ ละติดตามพืน ทีเ สี ยงต่ อการพังทลายต่ างๆ (mapping and monitoring eroded areas) -ทําแผนทีค าดการณ์ แหล่ งพังทลาย (predicting potential erosion sites) -ติดตามการเปลีย นแปลงทีด นิ และการกลายเป็ น ทะเลทราย (monitoring land degradation and desertification)
64
5. ด้ านธรณี (Geology ) -จําแนกโครงสร้ างลักษณะทางธรณี (identifying lineaments and other structural features) -ทําแผนทีธ รณีสัณฐาน และธรณีพชื พรรณ (mapping geomorphology and geobotany) -ค้ นหาแหล่ งแร่ และปิ โตรเลีย ม(mineral and petroleum exploration) -วิเคราะห์ ลกั ษณะพืน ทีแ ละการระบายนํา (analysing landform and drainage ) -จําแนกประเภทของหิน (identifying rock types) -จําแนกการรั วของนํา มัน (identifying oil seepage) -การวางแผนการเข้ าถึงและการเตรียมแผนที (access planning and base map preparation) 65
Applicaiton.... 6.ด้ านอุทก (Hydrology ) -ติดตามนํา ใต้ ดนิ ตืน และนํา ใต้ ดนิ ลึก (detecting near-surface aquifers for ground water storage) -ติดตามระบบชลประทานและการใช้ ประโยชน์ (monitoring irrigation performance and usage) -ตรวจสอบการเกิดนํา ท่ วมเพือ การจัดการพืน ทีน ํา ท่ วม (supplement investigations for flood plain management) -ติดตามการเก็บกักนํา เพือ การเกษตร(monitoring on-farm water storage) -ทําแผนทีป ัจจุบันและพืน ทีด นิ เค็ม (mapping current and potential salinity sites) -ประเมินความชุ่มชื นของดินและอุณหภูมิผวิ ดิน (estimating soil moisture and surface temperature ) -การวางแผนโครงสร้ างทางวิศวกรรมและติดตามผล (planning engineering constructions and monitoring their effectiveness) 66
7. ด้ านอุตุนิยมวิทยา (Meteorology )
Applicaiton....
-ศึกษาสภาพบรรยากาศทั งอุณหภูมิและสภาพอากาศ (routine atmospheric studies of temperature and weather patterns) -ทําแผนที เมฆ รู ปแบบ และองค์ ประกอบของสภาพอากาศ (mapping cloud cover, patterns, composition and temperature) -พยากรณสภาพอากาศ (weather forecasting) -คาดการณ์ และติดตามการเกิดอุทกภัย (flood prediction and monitoring) -เตือนภัยพายุและประเมินความเสี ยหาย(storm warning and damage asessment ) -กําหนดและบอกทิศทางการเคลือ นตัวของพายุ (locating and tracking cyclones)
67
-ติดตามการเกิดไฟป่ า (monitoring bushfires) -ทําแผนทีก ารปกคลุมของหิมะ การเคลือ นตัวและอัตราการ ละลาย (mapping snow cover, run-off and melt rate) -ติดตามองค์ ประกอบทางเคมีและอนุภาคของชั นบรรยากาศ (detecting chemical and/or particulate composition of the atmosphere) -ศึกษาภูมิอากาศ (climate studies) -ศึกษาอุณภูมิในแนวตั งกับความชื นสั มพัทธ์ (vertical temperature and humidity profiling) -ศึกษาความสู งทางพืน ทีก บั ลักษณะความเร็วลมในระดับสู งขึน ไป ( deducing geopotential height and upper level wind velocity) -ทําแผนทีล มทีย กตัวทําให้ เกิดเมฆ (mapping cloud drift winds) 68
8.ด้ านสมุทรศาสตร์ (Oceanography ) -ประเมินอุณหภูมิเหนือพืน ผิวทะเล (estimating sea surface temperature ) -ทําแผนทีท ะเล (ocean colour mapping) -ทําแผนทีพ นื ผิวทะเลและใต้ ทะเล (mapping of sea surface and sea floor topography) -ติดตามมหันตภัยทางทะเล (detecting navigational hazards) -แผนทีก ระแสนํา ในทะเล ลม และคลืน (mapping ocean currents, wind and wave action) -ติดตามการนํา มันรั ว ความร้ อนและมลพิษอืน ๆ (detecting oil spills, thermal effluent or other pollution ) 69
-แผนทีป ระชากรปลาและการเคลือ นตัว (mapping fish populations and movements) -จําแนกระดับการยกตัวของนํา ทะเลทีน ําธาตุอาหารจากท้ องทะเล ขึน มาด้ านบน กับลักษณะชีวทางทะเล (identifying upwelling areas of biological significance) -ศึกษาการเคลือ นตัวของภูเขานํา แข็ง (studies of sea ice and glacial movement)
70
9.ด้ านการฟื นคืนทรัพยากร (Renewable resources) -ตรวจสอบติดตามสิ งปกคลุมดิน (land cover inventory and monitoring) -รู ปแบบโครงสร้ างของพืชพันธุ์( modelling vegetation structure) -ติดตามการเปลีย นแปลงการใช้ ทดี ิน (detecting land use changes) -ทําแผนทีล กั ษณะทีด ิน (mapping landform types) -ทําแผนทีส ถานภาพของไฟลุกลาม (mapping potential bushfire status) -ประเมินผลกระทบภัยธรรมชาติ เช่ น ไฟ หรือความแห้ งแล้ ง (assessing the impact of natural disasters such as fire or drought)
71
Applicaiton....
10. ด้ านการทําแผนทีน ํา (Shallow water mapping) -ศึกษาพืน ท้ องนํา ลึก (bathymetric studies) -ทําแผนทีค วามขุ่นและประเมินการตกตะกอ(mapping turbidity and estimating suspended sediment concentration) -ทําแผนทีค ลอโรฟิ ลล์ เช่ น แอลจีบูม (mapping chlorophyll content, such as for algal blooms) -ทําแผนทีแ นวปะการังและสั ณฐาน (mapping reef type and morphology) -ติดตามการกระจายของหญ้ าทะเล (monitoring seagrass distribution)
72
Applicaiton....
11. ศึกษาเมือง (Urban studies) -ทําแผนที เมือง การเปลีย นแปลง แหล่งการตั งถิน ฐาน ของเมือง (mapping extent of, and changes, in urban settlements) -ศึกษาความหนาแน่ นของทีอ ยู่อาศัยและการระบายนํา ในเมือง (studies of housing density and urban drainage) -วางแผนการใช้ ที ดนิ (land use planning)
73
โปรแกรมสํ าคัญในงาน GIS and Remote Sensing สําหรับซอฟแวร์ ดา้ น GIS ที ใช้ในประเทศไทย ได้แก่ ARC INFO, SPANS , ARCVIEW, ARCCAD, MAP INFO, INTERGRAPHY, ATLAS, IDRISI, PAMAP และ ILWIS เป็ นต้น -โปรแกรม ArcInfo (1982) และ ArcView GIS (1992)พัฒนาโดยบริ ษทั ERSI และ ตระกูล Arc ทั:งหมด เป็ นเครื องมือวิเคราะห์งาน GIS ที หลากหลาย ได้แก่การ วางแผนเขตการขาย การวิเคราะห์การแข่งขันทางธุรกิจ และการหา เส้นทางการส่ ง ของ ในหน่วยงานราชการใช้ ArcInfo 8 ในงานด้านการ จัดการแปลงที ดิน การ ติดตามยานพาหนะฉุ กเฉิ นแบบเรี ยลไทม์ และการ ออกแบบสวนสาธารณะ เป็ นต้น
74
-โปรแกรม SPANS = Spatial ANalysis System (1986) พัฒนาโดยบริ ษทั TYDAC ประเทศแคนาดา เหมาะสําหรับการวิเคราะห์พ:ืนที terrain analysis, point interpolation, modelling and cartographical output นําเสนอข้อมูลด้านสถิติทางพื:นที ภาพสามมิติ การกระจาย การวิเคราะห์โครงข่าย รู ปแบบแรงโน้มถ่วง ทั:งข้อมูล raster and vector ใช้ได้ท: งั ระบบ windows and Unix -โปรแกรม Map Info (1986) พัฒนาโดยบริ ษทั RPI=Renseselaer Polytechic Institute ซึ ง ง่ายต่อการใช้งานแผนที ร่วมกับระบบไมโครซอฟ ได้แก่ MapMaker, Site Analysis , Risk Analysis, Market Analysis , Demographic Analysis และ Envinsa web service เป็ นต้น และยังพัฒนาเครื องมือเช่น MapBasic, MapInfo Pro 9.5 ร่ วมเพื อใช้อย่าง กว้างขวาง -โปรแกรม IDRISI พัฒนาโดยม.คลาร์ ก (ห้องปฏิบตั ิการ Clark Labs) เป็ นโปรแกรมที นิยมใช้สาํ หรับการเรี ยนการสอนด้าน GIS ตามมหาวิทยาลัยต่างๆ มีโมดูลการใช้งาน มากกว่า 300 รายการเพื อการวิเคราะห์ image ได้ดี ปั จจุบนั เป็ นเวอร์ ชนั Idrisi (Taiga 2009) 75
-โปรแกรม Atlas (1987)(Atlas Cartographic Technologies) พัฒนาโดยบริ ษทั ABmaps.com เป็ นโปรแกรมทําแผนที บนอินเตอร์ เน็ตและไร้สาย ให้บริ การและ พัฒนางานแผนที บน AtlasNet map sever บนมือถือตอบสนองตลาดธุรกิจ ถือว่า เป็ นเทคโนโลยีที เหมาะสมในการแสดงผลบนหน้าจอมือถือไม่วา่ จะเป็ น Scalable Vector Graphics (SVG) และ Micromedia Flash ที แสดงผลแผนที ออนไลน์ทนั ที -โปรแกรม PAMAP พัฒนาโดยความร่ วมมือขององค์กรทั:งรัฐ ภูมิภาค และท้องถิ น รัฐเพลซิ ลวาเนีย เพื อการทําแผนที ดิจิตอล เป็ นโปรแกรมที ให้ผลผลิตพื:นที ที มี ความละเอียดสู ง จากภาพถ่ายทางอากาศและข้อมูลความสู งมากในระดับประเทศ ภูมิภาค เทศบาลได้ดี สามารถ download จาก web-sevice ผ่าน PASDA = Pennsylvania Spatial Data Access เพราะใช้ภาพถ่ายทางอากาศที มีความละเอียด สู ง( high resolution aerial ortho-photograly) มีความแม่นยําทางพื:นที สูง อีกทั:ง ได้รับความร่ วมมือจาก USGS และหน่วยงานรัฐอื นๆ (http://www.dcnr.state.pa.us/topogeo/pamap/pamapfactsheet.pdf)
76
GIS & Image Processing Software อืน ๆ • Geomatica 9.0 - Image Processing software for remote sensing applications • PC ARC/INFO & ARC GIS 8.3 – A GIS software • Cad Overlay ESP/LFX – Software for conversion of Raster data to Vector, for GIS and also for
designing drafting of drawings. • SPANS – A GIS software with Image Processing capabilities. • ARC – IMS , AutoDesk MapGuide and SPANS Web SERVER INTERNET GIS Software • ARC- SDE with Oracle for Database support • Arc – Spatial Analyst, Arc – 3D Analyst and Map Object as extension of Arc GIS as well as for customization of GIS Applications. • IPSNIC (Version 3.0) - An in-house developed software for low end Image Processing Applications. • IPSNIC (Version 3.0) - An in-house developed software for low end Image Processing Applications. • GISNIC/MAPBASE (Version 3.0) - in-house developed software suitable for GIS applications. 77 • Geo - NIC - In – house developed software for geo-referencing o Raster Data.
Free open source -โปรแกรมแกรส 6.4.0 (GRASS GIS= Geographical Resources Analysis Support System)เป็ นโปรแกรมการวิเคราะห์ขอ้ มูลทางพื:นที ในหลายลักษณะ ได้แก่ ข้อมูล raster, topological vector, image processing และ graphic data เป็ นต้น เป็ นโปรแกรมที ได้รับการพัฒนาจาก U .S Army เมื อปี 1982 และมีจาํ นวนผูใ้ ช้ หลากหลายทั:งหน่วยงานภาครัฐ มหาวิทยาลัย เอกชน ใช้ได้ท: งั ระบบ Linux , Windows -โปรแกรมซากา SAGA GIS ( System for Automated Geosceientific Analyses) ใช้ สําหรับการแก้ไขข้อมูลทางพื:นที พัฒนาขึ:นโดยทีมภาควิชาภูมิศาสตร์ ม. Gottingen , เยอรมนี เหมาะสําหรับข้อมูล vector ได้ดีกว่าและใช้ได้ท: งั ระบบ Windows and Linux 78
79
1987-89
1990-97
1994
Mid 1990s
1995
1999
1990s
2001
2006
1993
19982006
ตระกูล ARC 80
http://www.maptrade.org/docs/other/6MapChartTimeline07.pdf
1990-1997
1998-2006
81
จากข้อมูล
http://www.deqp.go.th/Remote%5FSensing/html/definition.html
82