Article green idea

Page 1


หมายเหตุ จากมาตราฐานและข้อมูลของ GBA นิ้วต่อตารางฟุตของวัสดุฉนวน R-20 นิ้ว แบ่งออก เป็น Cellulose ใช้ 600 BTU, Mineral wool ใช้ 2,980 BTU 600 BTU และ Expaned polystyrene foam 18,000 BTU และ 5% ของ Co2 ที่ Cement ได้เปลี่ยนออกสู่บรรยากาศ และเหล่านี้คือ วสดุมาตรฐานที่ใช้ใน การสร้างอาคารทัว่ ไปในโลก แต่ถา้ บวกกันในภาพรวมแล้ว ควรมองในภาพทีว่ า่ สุดท้ายขบวนการก่อสร้าง, การ ใช้วัสดุก่อสร้าง ควรมีค่า Carbon Footprint ต่ำ�สุด และตัวมาตราฐานใหม่คือ ZEB ต้องการสร้างบ้านที่ลด Carbon Footprint แล้วยังเหลือพลังงานมากพอทีจ่ ะขับเคลือ่ นรถไฟฟ้าไปอย่างน้อย 12,500 ไบล์ใน 1 ปีอกี ด้วย นับว่าเป็นความคิดทีจ่ ริงจังและโหดร้ายต่อ Designer ทัว่ โลกทีไ่ ม่ใช่แค่ Outcome เป็นแค่อาคารประหยัด พลังงาน แต่จริงๆแล้วกว่าจะได้อาคารนั้นมาต้องหมดเปลืองพลังงานไปไม่รู้จักเท่าไหร่ เท่ากับว่าจริงๆแล้วเรา แค่ย้ายแหล่งก่อกำ�เนิด Carbon Footprint จากบ้านเราไปยังโรงงานที่ผลิตเท่านั้น มาตราฐาน ZEB นี้ค่อน ข้างท้าทาย เช่น จากภาพเป็นอาคารที่ใช้ไม้เป็นวัสดุก่อสร้างเป็นส่วนใหญ่ และเป็นวัสดุ Recycle ฉนวนที่เป็น Cellulose ปราศจาก Cement และ Foam มีการใช้ Photo Voltaic Cell บนหลังคา สำ�หรับประเทศไทยแล้ว SCG หรือกลุ่มวัสดุก่อสร้างภายในประเทศที่กำ�ลังพัฒนาบ้านประหยัดพลังงาน หรือบ้าน CMK SCG ที่นี้ควร จะลองรวบรวมข้อมูลและคำ�นวณดูว่าแท้จริงแล้ว อาคารดังกล่าวมีการพัฒนาให้เหมาะสมต่อภูมิอากาศบ้าน เราอย่างไร และในฐานะที่เป็นเมืองแห่งแสงแดด เราได้ประโยชน์จากการผลิตพลังงานสะอาดชนิดนี้บ้างหรือไม่ เรื่องราวของการอยู่อย่างพอเพียงและพึ่งพาอาศัยตัวเองและลดภาระต่อสภาพแวดล้อม ไม่เบียดเบียนผู้อื่น โดยเฉพาะธรรมชาติ เป็นแนวคิดแบบ ZEB หน่อยๆเริม่ แพร่หลายในหลายๆประเทศ ทัง้ นีเ้ นื่องด้วยกฎหมาย, ค่าใช้จา่ ย และความรูส้ กึ สำ�นึกกับภาวะแวดล้อมทีม่ นุษย์ผอู้ ยูอ่ าศัย และธรรมชาติตอ้ งแบกรับไว้กบั Overdose ของมนุษย์ ที่กระทำ�ต่อสิ่งรอบตัวที่ขยายวงกว้างออกไปทุกทีทุกที ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการตลาดแบบทุนนิยม ที่สร้างความต้องการ (จำ�ลอง) ขึ้นมาจากอากาศ


เหตุผลหลักๆที่มีการรวบรวมบทความเกี่ยวข้องกับ Green Idea ในคอลัมน์นี้ส่วนหนึ่งเป็นการชี้ แนวทางที Designer ที่ว่าโลกกำ�ลังทำ�งานอย่างหนักเพื่อต่อต้านและต่อสู้กับกระแสโลกาภิวัฒน์ และการ ตลาดที่กำ�ลังบดบัง และทำ�ให้ Designer ทั่วโลกหันมาค้นคว้าและรับใช้ต่อมวลมนุษยชาติมากกว่าจะตอบ สนองต่อความเจริญทางด้านวัตถุ เฉพาะสิ่งที่ตาเห็น และลึกลงไปในเนื้อแท้ของการใช้ชีวิตบนโลกนี้ และใน ฐานะที่ Designer มีสว่ นสำ�คัญต่อการออกแบบและการมองกลับในมุมกว้างๆนี้ น่าจะมีประโยชน์ตอ่ ประเทศ ในอนาคตอันใกล้ เมือ่ เปิดสู่ AEC ในฐานะทีเ่ ป็นประเทศใหญ่และเป็นศูนย์กลางของทุกๆอย่าง บทความเล็กๆ ในหนังสือ Builder นีน้ า่ จะเป็นแนวจุดประกายความคิดเรือ่ ง Green ให้กระจายไปและมีผลการใช้ Designer รุ่นใหม่ ได้มองเห็นทิศทางของอนาคตที่จะมาถึงในอนาคตอันใกล้นี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากแนวคิดเรื่องอาคารแล้ว วัสดุที่เหมาะสมก็เป็นเรื่องสำ�คัญเพราะ Designer ควรจะมีการ ทำ�งานร่วมกับผู้ผลิตวัสดุให้มากขึ้น และหวังว่าความร่วมมือของผู้ผลิตรายใหญ่เช่น SCG กับ Designer ควรจะดีและส่งผลต่อประเทศชาติมากกว่าแค่ยอดขาย สำ�หรับแนวคิดอื่นๆ ทางด้าน Urban design ถึง แม้วา่ ประเทศเราจะยังไม่มคี วามหนาแน่นทางด้านผังเมืองมากนัก จนกระทัง่ ต้องมีการทำ� Urban Farm หรือ Micro Apartment ก็ตาม แต่จะปฏิเสธเสียไม่ได้วา่ เรือ่ งราวดังกล่าวคงจะมาถึงในอนาคตอันใกล้อย่างหลีก เลี่ยงไม่ได้ ดังจะเห็นได้จากพฤติกรรมการพักอาศัย และพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปในช่วงระยะเวลา 5 ปีนี้ ที่มีจำ�นวนผู้คนย้ายถิ่นเข้าสู่เมืองมากขึ้น (หลังวิกฤติน้ำ�ท่วมและปัญหาภัยก่อการร้ายใน 4 จังหวัด) ใน ขณะที่ประเทศเพื่อนบ้านได้อาศัยจังหวะดังกล่าว ศึกษาและคาดการณ์ล่วงหน้าไปแล้ว และเมื่อถึงระยะเวลา สุกงอม ใครละจะเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากแนวคิด

ณัฐธร ธรรมบุตร


3D House Printing

เมื่อหลายปีก่อนเราเริ่มจะได้ยินเรื่องราว ของ Digital Printing ซึง่ เป็นภาคต่อของ CAD –CAM และบัดนี้การพิมพ์ ได้พัฒนาไปอีกขั้น จนถึงขั้น Computer Aided Manufacturing ซึ่งเป็นผลให้เกิดภาพ Digital House 1.1 ลองคิดดูวา่ ต่อไปในอนาคตเราก็เพียงแต่ เลือกแบบบ้านดาวน์โหลดและจัดการPrintออก มา Facit เป็นกลุ่มพัฒนาตั้งแต่ Design จนถึง Production ภายใต้สโลแกน “Digital in, Real out” และไม่ได้เรียกโครงสร้างว่าโครงสร้างแต่ กลับเรียกว่า Classic ซึง้ หมายถึงโครงหลักของ บ้าน.....ติดให้งานระบบอื่นมายึดเกาะ

01


งานออกแบบหนึ่งในหลายๆหลังของ Facit Nick Garwollinski’s House เป็นบ้านหลังเล็กๆใน East Sheen London เจ้าของบ้านมี Background เป็นช่าง และเจ้าของบ้านปรับ Spec แบบให้มีการใช้ ฉนวนสูงกว่ามาตราฐานโดยยึดจากแบบที่ Print ออกมา

ภาพฐานรากอาคารในแบบ Helical Pile ซึ่งเป็นการเจาะลงไปใน พื้นดินด้วยเกลียวคล้ายๆสว่าน ทำ�ให้ สามารถรั บ ได้ ทั้ ง แรงคนและแรงดึ ง ทำ�ให้ลดค่าฐานรากลง

02


6 วิธีกู้ภัยโลกจากภาวะอากาศเปลี่ยน นักวิทยาศาสตร์ทางภาวะอากาศ คาดการณ์ว่าภาวะอุณหภูมิของโลกจะเพิ่มขึ้นอีก 2 C ํ ในปี 2020 หรือเพียงแค่ 6 ปีจากนี้ไป และจากข้อมูล ถ้าเป็นที่แน่ใจได้เลยว่า เราคงได้สัมผัสกับเจ้า 2 C ํ นี้ในอีกไม่กี่ปีข้าง หน้า และนักวิทยาศาสตร์เหล่านี้ก็กำ�ลังพยายามหาทางหยุดยั้ง หรือทำ�ให้ผลกระทบเลวร้ายน้อยที่สุด และดู เหมือนว่าจะเป็นภาระของทุกๆคนบนโลก เพราะผลกระทบอาจจะตกถึงมนุษย์ทุกคน รวมทั้งมนุษย์ในอนาคต ลูกหลานเราที่จะเกิดมา International Energy Agency ได้วางกรอบวิธีการแก้ปัญหา และในงานสัมมนา Energy Technology Perspective ซึ่ง IEA ได้ เพียงแต่เรายังไม่ได้เริ่มกันเท่านั้น แต่ก็ยังพอมีความหวังอยู่บ้างเพราะเทคนิคต่างๆ ล้วนเป็น Know how ทีม่ กี นั อยูแ่ ล้ว ไม่ตอ้ งพัฒนามาก และแต่ละเทคนิคนัน้ ให้ผลทีแ่ ตกต่างกัน และในบรรดา เทคนิคนี้เริ่มจากหมายเลข 6 ที่มีค่าใช้จ่ายหรือเงินลงทุนเป็นเกณฑ์ นั้นหมายถึงหมายเลข 7 จะเป็นเทคนิคที่ ราคาถูกและได้ผลตอบแทนสูงสุด

ที่ปรับรูปแบบได้ตามชนิดของเชื้อเพลิง (3%)เป็นที่ทราบกันดีว่า Gas ธรรมชาติก่อมลภาวะน้อยว่า ถ่านหิน โดยมี Co2 ออกมาจากขบวนการสันดาบแค่ครึง่ เดียว และด้วยการปรับแต่งให้โรงงานต้นแบบของ GE ที่เรียกว่า Combine – Cycle ของโรงงานผลิตไฟฟ้าแบบแก๊สนี้ ซึ่งโดยหลักการ เจ้าโรงงานนี้ใช้ตัวกำ�เนิด ไฟฟ้าแยกออกมาเป็น 2 ระดับ คือ ระบบกำ�เนิดไฟฟ้าจาก Gasturbile และจากพลังไอน้ำ� ซึ่งให้ผลลัพท์เป็น ที่น่าพอใจและ GE ยังได้ทำ�การปรับปรุงไรงไฟฟ้าถ่านหินแบบเก่าและร่วมกับ Technology ของ Carbon Capture ซึ่งเป็นการดักจับ Co2 โดยไม่ปล่อยออไปในอากาศ

03


กรณีเตาปฏิกรณ์ระเบิดขึ้นฟูกูชิมะ ประเทศญี่ปุ่น เมือ่ สองปีกอ่น และทำ�ให้มกี ารประเมินและปฏิรปู ทัง้ กับเอกชน และรัฐบาลญีป่ นุ่ เท่ากับว่ามนุษย์เป็นผูท้ �ำ ร้ายธรรมชาติสะเอง และจากข้อเท็จจริงทางด้านพลังงานทีว่ า่ พลลังงานนิวเคลียร์ เป็นพลังงานสะอาดทีไ่ ม่มกี ารปล่อย Co2 ออกมาในราคาทีถ่ กู ที่สุด ในราคาเพียงแค่ 2 Centต่อกิโลวัตต์-เฮาวน์ และถึงแม้ เทคโนโลยีในการใช้พลลังานหมุนเวียนจะได้รบั การพัฒนามา มาก แต่ก็ยังไม่มีแหล่งพลังงานราคาถูก โดยมีประสิทธิภาพ เท่าเทคโนโลยีจากนิวเคลียร์ และเตาปฏิกรณ์เป็น Fusion ที่เริ่มมีการพัฒนามาจนใกล้จะทำ�ออกมาในรูปแบบการค้า ได้แล้ว และเทคโนโลยีนิวเคลียร์แบบ Fusion นี้น่าจะเป็น คำ�ตอบที่ดี เพราะนอกจากจะได้พลังงานสะอาดแล้ว ตัวเชื้อ เพลิง คือ ไฮโดรเจนนั้นมีราคาถูก และไม่ก่อให้เกิด ของเสีย ทางนิวเคลียร์ คาดการณ์วา่ พลังงานนิวเคลียร์มแี บบ Fusion น่าจะเป็นจริงภายในไม่กี่ปีนี้

สำ�หรับคนที่คอยติดตามข่าวคราวทางด้านรถยนต์คง ได้ทราบความเคลื่อนไหวทางด้านรถไฟฟ้าของบ.Teala Motors ซึ่งทาง IKEA ได้คาดการณ์เอาไว้ว่า ราคาของเทคโนโลยี ประเภทนีจ้ ะเริม่ ลดลง นอกจากจะได้ขบั รถสปอตคันงานแล้ว ตัว รถยังผลิตพลังงงานไฟฟ้ามากพอทีจ่ ะนำ�มาแบ่งให้กบั บ้านของ เจ้าของรถใช้ได้อีก และบ.ผลิตรถยนต์ช้ันนำ�ในโลกก็กำ�ลังซุ่ม พัฒนาเทคโนโลยี Fuel Cell ที่ใช้ก๊าซไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิง ปัจจุบนั นีร้ ถต่างๆทีใ่ ช้เป็นรถสาธารณะก็ได้ปรับเปลีย่ น ให้สามารถใช้พลังงานแก๊สธรรมชาติ และ LPG แทนน้ำ�มัน ปิโตรเลียม และมีผลต่อการลด Co2 ลงไปกว่า 20% ส่วนใน ภาคประชาชนการที่มีการพัฒนาเครื่องปั่นไฟฟ้าประจำ�บ้านใน เขตที่ห่างไกล รวมถึงเทคโนโลยีของเครื่องยนต์แบบ Stirling engines ซึง่ ส่วนมากใช้เป็นไฟฟ้าสำ�รอง ก็ท�ำ ให้ประสิทธิภาพ ของการใช้พลังงานสูงขึ้น และภาคครัวเรือนประชาชนที่ได้รับ การปรับเทคโนโลยีและจะช่วยลดภาวะ Co2 ลงได้อกี ด้วย 12%

04


เป็นเทคโนโลยีไม่ค่อยเป็นที่รู้จักของสาธารณะมากนัก แต่กม้ ปี ระสิทธิภาพสูงทีเดียว โดยเทคโนโลยีนจี้ ะมีการกักเก็บ Co2 ที่ออกมาจากแหล่งผลิตโดยตรง เช่น ที่โรงไฟฟ้า และ เก็บไว้ในชั้นดินใต้โลกที่ความลึก หรือนำ�ไปแปรรูปเป็นผลิต ภัณฑ์อื่นๆที่เป็นองค์ประกอบของ Carbon อื่นๆที่ไม่ใช่ Co2 และโรงไฟฟ้าที่ยังใช้พลังงาน Fossil เหล่านี้ สามารถปรับ เปลี่ยนมาเป็นแบบ CCS ทำ�ให้โรงงานไฟฟ้าทั้งหลายยังคงต่อ ลมหายใจของมันไปได้อีกหลายๆปี โดยไม่ต้องลงทุนสูงในการ สร้างโรงงานไฟฟ้าใหม่ขึ้นเรื่อยๆ โดยจากในภาพเป็นโรงไฟฟ้าชนิด CCS แห่งใหม่ใน York Shire ซึ่งมีกำ�ลังผลิตสำ�หรับบ้านกว่า 630,000 หลังคา เรือน โดยสามารถกักเก็บ Co2 กว่า 90% ได้โดยไม่ปล่อย ออกสู่อากาศ

พลังงานทางเลือกพี่งมาบูมเอาเมื่อ 10 ปีที่แล้ว และมัก จะถูกมองว่าเป็นความหวังของมนุษยชาติ และไม่ว่าจะเป็นแค่ Solar Cell ธรรมดาบนหลังคาบ้านจนถึง Farm Solar Cell ขนาดใหญ่ เช่นในประเทศแคนาดา และอย่างไม่ต้องสงสัยว่า สิ่งเหล่านี้เริ่มใกล้ตัวเรามากขึ้นทุกที และเริ่มมีผลต่อความ เป็นอยู่ของเรา และปรากฎการณ์ “Moore’s Law” ก็ได้มา ปรากฎผลทีค่ ล้ายๆกันกับในโลกคอมพิวเตอร์ตอ่ อุตสาหกรรม Solar Cell นอกจากนี้พลังงานจากลมในรูปแบบต่างๆ เริ่มมีการ ศึกษามากขึ้นและสุดท้าย พลังงานลมจาก Wind Turbine geothermal และก๊าซชีวภาพ รวมทั้งพลังงานจากกระแสน้ำ� และโดยภาพรวมแล้วเท่ากับเป็นการลดได้ถึง 20%

05


42% ของพลังงานที่เราใช้ในรูปแบบของไฟฟ้า ส่วน ใหญ่เป็นการใช้ในภาคครัวเรือน การปรับเปลีย่ นหลอดฟลูออ เรสเซนต์มาเป็นเทคโนโลยีแบบ LED ซึ่งใช้พลังงานน้อยกว่า แบบเดิมถึง 30% แต่กลับให้ความสว่างสูงกว่า นอกจากนี้ยังมีพวก Smart Application ที่คอย ควบคุมติดตามการใช้พลังงานของเครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบ้าน รวม ทั้งเทคโนโลยีการทำ�ฉนวนต่างๆเหล่านี้มีตัวเลขอยู่ที่ 20% ถ้า เราสามารถประหยัดลงได้ก็ไม่ต้องเสียไปกับการไม่ทำ�ความ ร้อนก็ทำ�ความเย็น

06


Air-x wind turbine ส่วนตัว Air-x เป็น Wind Turbine ขนาดเล็กสำ�หรับ ใช้ กั บ ครั ว เรื อ น ด้ ว ยการออกแบบใบที่ ทำ � ให้ ลดเสียงและด้วยการผนวกกับ Technology Microprocessor เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ชาร์จแบตเตอร์รี่ ได้ตั้งแต่ขนาด 25 ถึง 25,000 แอมป์-ฮาวน์ หรือแม้แต่ความต้องการพลังงาน ในที่สูงขึ้นก็ทำ�ได้ เนื่องจากมีระบบคอมพิวเตอร์ ที่ครอบคุมการจ่ายไฟและจะตัดการจ่ายไฟ เมื่อ ไฟเต็ม Battery pack ทำ�ให้อายุการใช้งาน แบตเตอร์รี่ยาวนานขึ้น Air-x เป็นผลิตภัณฑ์ ที่สามารถซื้อหาได้จาก Discount Solarและ Sundance Solar


Carbon Cure concrete blocks สดุก่อสร้างแนวใหม่ หนึ่งใน Building Green Top Ten Products โดยปกติแล้วผลิตภัณฑ์ซีเมนต์จะเป็นตัวการสำ�คัญในการปลดปล่อย Co2 ถึงกว่า 5% ในแต่ละปี เนื่อง มาจากปฏิกิริยาเคมีในการผลิต เริ่มตั้งแต่หินปูนที่เป็นวัตถุดิบในการผลิต ถูกเผาในเตาที่อุณหภูมิ 1400 0C ซึ่งขบวนการนี้มีการแยกน้ำ�และโมเลกุลของ Co2 ออกมา และผลผลิตนั้นก็คือ Concrete (ข่าวนี้น่ากังวัล สำ�หรับอุตสาหกรรมปูนซิเมนต์ในประเทศ) ในขณะที่วงการอุตสาหกรรมซีเมนต์ได้พยายามพัฒนาเทคนิคใหม่ๆ ที่จะทดแทนขบวนการผลิตเดิม เพื่อหาทางลด Carbon Footprint ลง หลักการของผลิตภัณฑ์นี้ก็ง่ายและตรงไปตรงมา โดยการนำ� Co2 ใส่ กลับเข้าไปในผลิตภัณฑ์คอนกรีต โดยอาศัยปฏิกิริยาเคมีเพื่อเปลี่ยนมันกลับไปเป็นหินปูนนั่นเอง

ถ้าเรามองไปที่องค์ประกอบของ Concrete ซึ่งมีสารประกอบของแคลเซี่ยมที่ CaCo3 มัก ถูกเผาด้วยอุณหภูมิสูงในเตา ผลก็คือ Co2 หนึ่งโมเลกุลที่ถูกปลดปล่อย สำ�หรับ Carbon Cure Concrete ขบวนการทั้งหมดกลับกัน โดยเราจัดเตรียมขบวนการที่สนับสนุนการบ่ม Concrete เสียใหม่


Carbon Cure concrete blocks ขบวนการง่ายๆเริ่มจากการรวบรวม Co2 จากอุตสาหกรรมในรูปของ Liquid Carbon ทำ�ให้ สะอาดและบริสุทธิ์ (เหมือนการที่บรรจุสำ�หรับอัด น้ำ�อัดลมทั้งหลาย) จากนั้นก็ผสมลงกับคอนกรีต ทำ�ให้มัน Form ตัวเป็นก้อนคือคอนกรีตบล็อค ด้วยวิธีนี้จะลด Carbon Emission ลงถึงกว่า 20%

สำ�หรับบริษัทต่างๆในเครือของผลิตภัณฑ์คอนกรีต เนือ่ งจาก Co2 เป็นส่วนสำ�คัญสำ�หรับการบ่มคอนกรีต ดัง นั้นการอัดฉีด Co2 เข้าไปทำ�ให้ Strength ของคอนกรีต สูงขึน้ ในอัตราส่วนของซีเมนต์ทนี่ อ้ ยลง ผลก็คอื คอนกรีต บล็อคเสริมแรง ที่แข็งแรงกว่าคอนกรีตบล็อคธรรมชาติ ใช้การบ่มตามขบวนการปกติ และจากการพัฒนาเทคนิค ดังกล่าว เพื่อให้ใช้กับ Concrete ชนิดนี้น่าจะมีประโยชน์ กับอาคารที่ต้องการใช้ LEED กล่าวคือ วัสดุชนิดนี้อยู่ใน หัวข้อ Recycle Content Carbon Impact และหัวข้อ Innovation และด้วยกำ�ลังหาวัสดุที่สูงขึ้น ส่วนหนึ่งก็มี ผลให้ราคาค่าก่อสร้างลดลง


Cargill ยักษ์ใหญ่ Cargill ยักษ์ใหญ่ของวงการอาหาร และเวชกรรมมีแผนที่จะใช้ว่าวขนาดใหญ่กับ เรือบรรทุกขนส่งสินค้าของ Cargill เป็น ตั ว ขั บ เคลื่ อ น โดยตั้ ง ใจว่ า จะลดปริ ม าณ การใช้เชื้องเพลิงลง 35% โดยว่าวยักษ์ดัง กล่าวเป็นผลงานของบริษัทแห่งเยอรมันคือ SkySails GmbH & Co., มีขนาด 320 ตารางเมตร โดยจะใช้ลากจูงเรือโดยมีความ สูงเมือ่ ขึงใบพัดลม มีความสูงราวๆ 100-420 เมตร โดยมีระบบ Computer เพื่อให้ได้รับ ประสิทธิภาพสูงสุดจากแรงลม ทั้งจะทำ�ให้ ประหยัดพลังงานได้ร่วม 10 ตันต่อวัน

อันที่จริงแนวคิดเรื่องพลังงานลมมาใช้ขับเคลื่อนมีมานานแล้ว และ Cargill เองถึงแม้ว่าจะไม่ได้เป็น เจ้าของหรือบริการงานการขนส่งเอง แต่กม็ สี ว่ นสำ�คัญในการผลักดันเทคโนโลยีชนิดนี้ และถือเป็น Commitment สำ�คัญที่จะช่วยลดภาวะเรือนกระจกและการใช้พลังงาน และเริ่มใช้งานดังกล่างมาตั้งแต่ปี 2512 และใน อนาคตคงจะได้เห็นการนำ�ว่าวดังกล่าวลงมาในเรือที่มีขนาดเล็กลง และน่าจะได้รับความนิยมมากขึ้น


Casulo: Funiture ในกล่อง

ดูๆแล้วก็ไม่เหมือนอะไรเลย แต่กล่องใบนี้มีอาร์มแชร์ โต๊ะทำ�งาน Stool แบบปรับความสูงได้ ชั้นหนังสือ เตียงและอุปกรณ์นอนครบ ในชื่อ ว่า “Casulo” Marcel Krings & Sebastian Muํ hํ lhaํ uํ ser, มันซ่อนเฟอร์นเิ จอร์ ทั้งหมดที่จะพร้อมใช้ใน Apartment ในขนาดกล่อง 80X120 CM. และใช้ แค่คนสองคนก็สามารถย้าย Furniture ทัง้ หมดและประกอบกลับได้อย่าง ง่ายดาย และ Furniture แต่ละชิน้ ใช้เวลาแค่ 10 นาทีในการประกอบต่อชิน้ โดยไม่ตอ้ งอาศัยเครือ่ งมือใดๆ (หวังว่าคูม่ อื จะอธิบายได้ดกี ว่าของ IKEA) แม้กระทัง่ ตัวกล่องเองก็ถกู ใช้งานได้ ไม่มอี ะไรเสียเปล่าเลย และ Casulo ได้ รับรางวัล Abraham & David Roentgen Awardในปี 2007 สำ�หรับ Idea ความคิดที่แสนจะเรียบง่าย



เมื่อไม้ได้กลายเป็นวัสดุก่อสร้างสำ�หรับอาคารสูง บริษัทรับเหมาก่อสร้าง CREE (Creative Resource & Energy Efficient) ของประเทศ ออสเตรียได้พัฒนาระบบการก่อสร้าง Hybrid ที่ เรียกว่า CREE System ที่เป็นการผสมระหว่างไม้ Glue-Laminated และคอนกรีต โดยเทคโนโลยีดัง กล่าวเป็นระบบ Prefab สำ�เร็จรูป และกำ�ลังดำ�เนิน การก่อสร้างอาคารสูง 8 ชั้นในประเทศออสเตรีย Glue-Laminated เป็นผลิตภัณฑ์ที่เริ่มใช้ มานานพอสมควร โดยทีเ่ ริม่ จากประเทศเยอรมันในปี 1872 โดยการจดทะเบียนสิทธิบตั รสำ�หรับผลิตภัณฑ์ ที่ใช้ไม้มาประกอบกันโดยกาวกันน้ำ� (Phenol-Resorcinol Adhesives) น่าประหลาดใจทีว่ สั ดุดงั กล่าว ประกอบด้วยไม้ชนิ้ เล็กๆและสามารถประกอบกันเป็น คานรับโครงสร้าง (Long-Span) และโครงสร้างที่ ใหญ่ที่สุดที่เคยสร้างด้วย Glue-Laminated ก็คือ Richmond Oval ในปี 2010 สำ�หรับกีฬาโอลิมปิก ฤดูหนาว บริษทั รับเหมาก่อสร้าง CREE (Creative Resource

& Energy Efficient) ของประเทศออสเตรียได้ พัฒนาระบบการก่อสร้าง Hybrid ที่เรียกว่า CREE System ทีเ่ ป็นการผสมระหว่างไม้ Glue-Laminated และคอนกรีต โดยเทคโนโลยีดังกล่าวเป็นระบบ Prefab สำ�เร็จรูป และกำ�ลังดำ�เนินการก่อสร้างอาคาร สูง 8 ชั้นในประเทศออสเตรีย Glue-Laminated เป็นผลิตภัณฑ์ที่เริ่มใช้ มานานพอสมควร โดยทีเ่ ริม่ จากประเทศเยอรมันในปี 1872 โดยการจดทะเบียนสิทธิบตั รสำ�หรับผลิตภัณฑ์ ที่ใช้ไม้มาประกอบกันโดยกาวกันน้ำ� (Phenol-Resorcinol Adhesives) น่าประหลาดใจทีว่ สั ดุดงั กล่าว ประกอบด้วยไม้ชนิ้ เล็กๆและสามารถประกอบกันเป็น คานรับโครงสร้าง (Long-Span) และโครงสร้างที่ ใหญ่ที่สุดที่เคยสร้างด้วย Glue-Laminated ก็คือ Richmond Oval ในปี 2010 สำ�หรับกีฬาโอลิมปิก ฤดูหนาว

จากภาพ CREE System ใช้ไม้ Glue-Laminated เป็น Structure Frame โดยมีพื้น Concrete เป็นพื้น Deck


Cargill ยักษ์ใหญ่

ระบบการก่ อ สร้ า งด้ ว ยไม้ ผ สมคอนกรี ต นี้ ช่วยเสริมจุดเด่นของวัสดุแต่ละประเภทให้ได้ ผลสัมฤทธิ์สูงสุด และคอนกรีตได้เข้ามาแก้ ปัญหาของไม้เมื่อใช้เป็นพื้น Deck ซึ่งจะต้อง ทนทานต่ อ ภู มิ อ ากาศได้ เพราะคอนกรี ต มี พื้นที่สม่ำ�เสมอ ในขณะที่ Glue-Laminated เป็ น การเอาวั ส ดุ ไ ม้ ชิ้ น เล็ ก ๆมาประกอบกั น การยื ด หดตั ว ไม่ เ ท่ า กั น เนื่ อ งจากอุ ณ หภู มิ เปลี่ยนแปลงมักก่อปัญหาให้ได้


เมื่อไม้ได้กลายเป็นวัสดุก่อสร้างสำ�หรับอาคารสูง จากภาพ CREE System ใช้ไม้ Glu-Lem เป็น Structure Frame โดยมีพืช Concert เป็น พืช Decle อาคาร LCT1ในเมือง Donbrin, Austria ออกแบบโดยสถาปนิก Hermann Kaufmann โดยมีผนังภายนอกทำ�จากวัสดุโลหะที่นำ�มา Recycle แต่ภายในเป็นการนำ�ไม้และเป็นอาคารที่สร้าง สร็จภายใน 8 วัน โดยการใช้ส่วนประกอบของ Glu-Lem เป็น Prefeb ชิ้นวัสดุดังกล่าวยังลดการ ปล่อย Co2 ได้ถึง 90% เมื่อเทียบกับอาคารที่สร้างด้วยเหล็กคอนกรีต (RC-Reinforced-Concrete) แนวคิดก็คือ การใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็นไม้และอุตสาหกรรม ป่าปลูกโดยใช้ต้นไม้เป็นตัวดูด ซับ Co2 การนำ�ไม้มาใช้สำ�หรับอาคารสูงเป็นแนวคิดที่ช่วยลดภาวะเรือนกระจกจากการแพร่กระจาย Co2 ในชั้นบรรยากาศ


Designer Casa Incubo เป็นบริษัทที่ พัฒนาการออกแบบ Container โดยได้ทะลาย ข้อจำ�กัดของการออกแบบ โดยการใช้ Container ดังได้กล่าวแล้วว่า ตัว Container นั้น ถูกออกแบบมาสำ�หรับใช้ขนส่งมากกว่าเป็นทีอ่ ยู่ อาศัย แต่ตัวขนาดที่เป็น Modular มีฉนวนแข็ง แรง และเหมาะกับการขนส่งต่างหากทีเ่ ป็นปัจจัย สำ�คัญที่ทำ�ให้ Shipping Container ได้รับ ความสนใจจาก Designer Maria Jose Trejos จาก Costarica ได้ออกแบบ Container ใน พื้นที่กว่า 400 ตร.ม. โดยเปลี่ยนแนวคิดใหม่ โดยการใช้ Container เป็นส่วนประกอบสำ�คัญ ของผนัง โดยการทำ�ให้เกิดพื้นที่โล่งส่วนกลาง เป็นพื้นที่ใช้สอยจริง และหลังคาที่คลุมดังกล่าว เป็นหลังคา Slope ขนาดใหญ่ และสถาปนิก เองก็ภูมิใจที่จะนำ�เสนอแบบดังกล่าว และกล่าว ว่า Design นี้เป็น “icon of sustainability” หรือ “จุดเริ่มต้นแห่งการอยู่อาศัยพอเพียง” โดยการใช้ Shipping Container มาเป็นการ Recycle วัสดุทำ�ให้ค่าก่อสร้างลดลง อีกทั้งร่น ระยะเวลาการก่อสร้างลงกว่า 20% ซึ่งมีผลต่อ สภาพแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นการลดค่า CO2 หรือ Carbon Foot Print ลงอีกด้วย


Icon of SustainabIlity อีกประกอบกับออกแบบทีต่ อบสนองต่อสภาพแวดล้อม ในเรือ่ งของภูมอิ ากาศอันน่าสนใจ กล่าวคือ ในตัวพืน้ ทีส่ ว่ น กลางทีค่ ลุมด้วยหลังคา Slope นัน้ เป็นพืน้ ทีส่ งู โล่ง ทำ�หน้าที่ เปรียบเสมือนปอดของบ้านที่คอยถ่ายเทให้มีมวลอากาศ ไหลถึงภายใน ทำ�ให้ระบายความร้อนออกไปได้ทางหลังคา ส่วนทิศตะวันตกก็เป็นกระจกใสที่มีแสงส่องเข้ามาได้ ทำ�ให้ ไม่จ�ำ เป็นต้องใช้แสงสว่างจากพลังงานอืน่ เป็นการลดการใช้ พลังงานฟฟ้าในช่วงกลางวัน ตัวผนังของ Container เอง นั้นร้อนแทบจะเป็นเตาอบในเวลากลางวัน ฉะนั้น สถาปนิก จึงจัดการบังแดดที่จะส่องผ่านตรง ด้วยการกรุผนังด้วย ไม้ไผ่ มีมุมตลกเล็กๆโดยการจัดให้มีเสาไม้ไผ่ไว้เลื่อนตัว ลงในกรณีตอ้ งการลงมาชัน้ ล่างอย่างรีบด่วน(ทำ�ไมต้องรีบ ขนดนั้น?) นอกจากนี้หลังคา Slope ยังทำ�หน้าที่เก็บน้ำ�ฝน มาสูร่ างน้�ำ เอาไว้ใช้ตอ่ ไปด้วย นับว่าเป็นการปรับใช้ผนังของ Container ให้เป็นประโยชน์ไปอีกวิสัยทัศน์และน่าสนใจ


Enercon E-126 Wind Turbine ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก

และนี่ก็คือ Wind Turbine ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เจ้า E – 126 โดยบริษัทสัญชาติเยอรมัน Enercon นี้ ทำ�ลายสถิติ ด้วยขนาดความสูงถึง 138 เมตร และความ หนาของผนังกว่า 45 cm. และเมื่อกางโรเตอร์ออก เต็มที่ จะมีเส้นผ่าศุนย์กลาง 126 เมตร และด้วยการ ออกแบบใบให้เพิม่ ประสิทธิภาพมากถึง 6 Megawatts และติดตัง้ ง่ายมากเพราะตัวใบพัดได้ถกู ออกแบบให้เป็น สองท่อนด้วยกัน ทำ�ให้สะดวกต่อการขนส่งและติดตั้ง เจ้า E-126 นีม้ กี �ำ ลังผลิตได้ราว 20,000,000 kwhต่อปี (20 ล้านกิโลวัตต์ต่อฮาวน์ต่อปี)


Flappy Wind Turbine ที่เห็นคล้ายปีกเครื่องบินนี้คือ Wind Turbine ผลผลิตทางด้านนวัตกรรมจาก Festo ผู้ผลิต Dragonfly drone หุ่นยนต์รูปทรงแมลงปอที่บังคับได้ด้วย Smartphone มันดูแตกต่างอย่างมากมายจาก Wind Turbine ทัว่ ๆไป โดยปราศจากสิง่ ใดทีเ่ ป็นใบพัดหรือใบหมุนรับลม ซึง่ ผลิตภัณฑ์นใี้ ช้หลักของการกระพือของ ปีกบางๆในการสร้างพลังงานไฟฟ้า โดยหลักการแล้วเป็นการออกแบบสำ�หรับการพัฒนาพลังงาน ทางเลือก ใช้ส�ำ หรับพืน้ ทีท่ ไี่ ม่มลี มแรงมาก เช่น ในบริเวณทีก่ ดดันในเมืองทีม่ คี วามหนาแน่นสูงและมีทศิ ทางลมไม่แน่นอน และทาง Festo ได้ออกแบบปีกคู่เพื่อเป็นตัวรับกระแสลมโดยหลีกเลี่ยงหลักการของการหมุนรอบแกน เป็นตัวกำ�เนิดกระแสไฟฟ้า โดยหลีกเลี่ยงการสูญเสียพลังงาน ไปในรูปของแรงเสียดทานและความร้อน ซึ่ง จะให้ประสิทธิภาพสูงกว่า Wind Turbine ชนิดอื่นๆที่มีขนาดเล็กๆใกล้เคียงกัน คือที่ระดับลมต่ำ�ๆราว 4-8 เมตรต่อวินาที (ซึ่งต่ำ�มาก)


Enercon E-126 Wind Turbine ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก

และแนวคิดหลักของปีกคู่นี้อาศัยหลักการจากธรรมชาติของสัตว์มีปีก ที่อาศัยปีกทั้ง หลาย เช่น แมลง หรือนกเพียงแต่เคลือ่ นทีก่ ลับกัน โดยปีกทัง้ สองเมือ่ กินลมจะกระพือและเปลีย่ นการเครือ่ นทีเ่ ป็นพลังงานไฟฟ้า และในระบบทัง้ หมดเมือ่ รวมกันจะประกอบไปด้วยปีกคู่ ซึง่ สอดประสานการเคลือ่ นทีก่ บั จักรกลภายในเป็นการ หมุนจากการเคลื่อนที่ทางแนวตั้ง โดยปีกทั้ง 4 ติดตั้งอยู่กับ Colum แกนกลาง และเคลื่อนที่ตามจังหวะของ ปีกและจะเคลื่อนที่ในทิสทางตรงข้ามกัน (ขึ้น-ลง) เช่น ในขณะที่ปีกคู่บนวิ่งขึ้น ปีกคู่ล่างจะวิ่งลง และด้วยการ เคลื่อนที่อย่างสอดรับกันเป็นจังหวะและปรับหมุนเข้ากับกระแสลมด้วยตัวเอง และแนวคิดเรื่องปีกคู่นี้ก็มีแนวคิดมาจากผลิตภัณฑ์อีกชิ้นของ Festo คือ Bionic Bird (Smart Bird) ซึ่ง เป็นการพัฒนากลไกของปีกให้ขยับได้แทน จะเลียนแบบจริงๆของนกและด้วยเทคโนโลยีต่างๆที่ทำ�ให้เจ้า Flappy Bird น่าจะพัฒนาต่อยอดได้อีก


Hiway ลอยฟ้าและเป็นของจักรยาน ความนิยมของจักรยานในกลุ่ม ประเทศยุโรปมีความนิยมสูงมากขึ้นทุกที จนเริ่มมีแนวคิดที่จะสะท้อนความคิดดัง กล่าวมาทัง้ ในเรือ่ งเทคโนโลยี การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ สถาปัตยกรรม และขยายมา จนถึงผลกระทบต่อเมืองในแง่ทาง Urban design ผลงานการนำ�เสนอแนวคิด SkyCycle ที่ จ ะแยกทางสั ญ จรของจั ก รยานให้ เ ป็ น ทางด่วนลอยฟ้า แบบนีไ้ ด้รบั การเสนอโดย Landscape Architect เมือ่ ปีทแี่ ล้วและได้ รับ Comment อย่างมาก แม้แต่อาจารย์ ใหญ่อย่าง Lard Foster ( Normon Foster ) ก็เข้าร่วมในแนวคิดนี้และได้นำ� เสนอแนวคิดด้วยภาพ


จากแนวคิดที่ว่าความปลอดภัยเป็นหัวใจสำ�คัญ และจะตัดแยกทางสัญจรของพาหนะชนิดนี้ออกจาก รถยนต์และเนือ่ งจากสภาพของเมืองหลวงของสหราชอาณาจักรคือ London นัน้ พืน้ ทีท่ กุ ตารางนิว้ ก็เป็นทอง ฉะนัน้ แนวคิดเรือ่ งทางยกระดับน่าจะเป็นคำ�ตอบและ Lord Factor นำ�เสนอแนวคิดทีว่ า่ ทางลอยฟ้านีส้ ามารถ ผนวกได้กับ rail corridor (ทางรถไฟต่างๆทั้งรถไฟธรรมดาและ mass transit) แต่แนวคิดของคนใช้จักรยานกลับมองต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง กล่าวคือ มองว่า รถยนต์ต่างหากควรจะแยก ออกจากจักรยานลอยฟ้า เพราะคุณสมบัตขิ องจักรยานคือ ไปได้ทกุ ทีแ่ ละพืน้ ดินเป็นของพวกเรานักขีจ่ กั รยาน เช่น เดินกับคนเดินถนน และถึงเวลาแล้วทีน่ กั ออกแบบควรมองกลับมุมว่า รถจักรยานและคนเดินเท้า คือ User ตัวจริงของเมือง อย่าเพียงแต่เอาพวกเราไปแขวนไว้กลางอากาศ


CARAVAN HOTEL (โรงแรมรถพ่วง) แนวความคิดเรื่องโรงแรมแบบ Boutique มีมากมายหลายแบบ ล่าสุดนำ�เอารถพ่วงย้อนยุคตั้งแต่ 60’s มารวบรวมไว้ ให้ผู้คนได้ร่วมย้อนนึกถึงวันเวลาเมื่อครั้งก่อนกับบรรยากาศ ปิ๊คนิคและ Camping


โรงแรมรถพ่วงเป็นการรวบรวมรถพ่วง ( RV CAMP) มาไว้ใน Open space ขนาดใหญ่ โรงแรม นี้ ตั้งอยู่ในกรุงบอน เยอรมนี โดยคิดราคาค่าพักในราคาประมาณ 1,000 บาท/คืน สำ�หรับ Caravan Cabin เดียวจนถึงรถพ่วงขนาดใหญ่ โรงแรมมีที่พัก 120 เตียง? ซึ่งประกอบด้วยรถ CARAVAN CAMPING 15 คัน ชั้นนอน2 ชั้นและรถ พ่วงอีก 2 คัน โรงแรมยังใช้ห้องน้ำ�แบบห้องน้ำ�รวม เป็นแนวคิดที่น่าสนใจในการ Recycle รถ Caravan ใช้ แล้ว ทำ�ให้ได้บรรยากาศเดิม เหมือนตอนเริ่มชีวิตครอบครัวไปกันพร้อมหน้าพร้อมตา


CARAVAN HOTEL (โรงแรมรถพ่วง) รถพ่วงบ้าน(Residence Vehicle) เป็นที่นิยมมาก เพราะเป็นการพักย่อยแบบหลายครั้งที่สามารถ สัมผัสกับธรรมชาติได้ทุกที่เท่าที่ล้อรถจะพาไปได้ จนกระทั่งปัจจุบันมีโรงแรมให้พักแทบจะทุกจุด จนทำ�ให้ บรรยากาศเก่าๆเริ่มเลือนหายไป


รถ RV พ่วงมักจะจอดรวมกันเป็นกลุ่มๆเรียกว่า RV Camp ที่มักจะ Province น้ำ�-ไฟและระบบ สุขาภิบาลไว้ สำ�หรับการมาพัก


Hy-Fi มันไม่ใช่อิฐมวลเบา แต่เป็นอิฐชีวภาพ The Living เป็นแบบประกวดสำ�หรับผลิตภัณฑ์อิฐชีวภาพที่ได้มาจากของเสียทางการเกษตร และ ผลงานชิ้นนี้มีชื่อว่า Hy-Fi, The Living เป็นผลงานจากแบบประกวดที่จัดโดย MoMa ใน Concept ของ “MOMA’s Young Architects Program (YAP)” โดยมีจุดประสงค์ที่จะออกแบบอาคารชั่วคราวที่อาศัย ผลิตภัณฑ์อิฐชีวภาพและวัสดุ Recycle อื่นๆ ที่ได้มาจากผลผลิตทางการเกษตร หลักหัวใจสำ�คัญของอิฐ ชีวภาพ ก็คือ การใช้ ‘รา’ เป็นตัวประสานวัสดุเหลือใช้ต่างๆเข้าด้วยกัน


โดยงานออกแบบดังกล่าว จะเป็นหอที่หมุนกันเป็นเกลียว 3 หอ และที่ยอดด้านบนของหอดังกล่าวจะ เป็นอิฐสะท้อนแสงที่หุ้มด้วยวัสดุสะท้อนแสงของ 3M และเป็นส่วนหนึ่งของขบาวนการผลิตอิฐชนิดนี้ โดยวัสดุ เรืองแสง 3M ดังกล่าว จะเป็นส่วนหนึง่ ของแบบทีใ่ ช้ท�ำ อิฐ ทำ�ให้วสั ดุเรืองแสงกลายเป็นผิวชัน้ นอกของอิฐ ด้วย การใช้วสั ดุสะท้อนแสงดังกล่าวจะช่วยหักเหให้มคี วามสว่างเพียงพอภายในหอ ก่อให้เกิดจังหวะแสงเงาสวยงาม ทำ�ให้มองดูบางเบาและโปร่งที่ฐาน


Hy-Fi มันไม่ใช่อิฐมวลเบา แต่เป็นอิฐชีวภาพ นอกจากนี้ ด้วย Form รูปร่างดังกล่าว จะทำ�ให้เกิดการระบายอากาศภายในผ่านปล่องที่สูง จนทำ�ให้ อุณหภูมิด้านบนและด้านล่างแตกต่างกัน จนเกิดการไหลเวียนของอากาศเป็น Micro Climate ได้


โดย Prototype สำ�หรับ Design ที่จะได้สร้างขึ้นที่ MoMa’s PS1 Gallery ใน Long Island City ในเดือนกรกฎาคมที่ Queen รัฐ NEWYORK


Hybrid Solar Chiller หลายสิบปีก่อนเคยมีการเสนอแนวคิดเรื่องการทำ�ความเย็นจากพลังงานแสงอาทิตย์ แต่เป็นแนวคิด ที่แตกต่าง บริษัท SolCool เป็นบริษัทที่เสนอแนวคิดของ Hybrid Solar Chiller ในลักษณะการค้าโดยมี แนวคิดที่จัดการองค์ประกอบสองอย่าง คือ ระบบ 12-volt solar/back battery และพร้อมด้วยระบบไฟ สำ�หรับ 110 volt เจ้า Solar Chiller ขนาด 2 ต้น platform นี้กับกำ�ลังไฟ 85 วัตต์ ซึ่งในรายละเอียดแล้ว ก็ คือ ระบบปรับอากาศแบบ Water Cooled Fan Coils และเจ้าระบบ Hybrid Chiller สามารถทำ�งานอย่างต่อ เนือ่ งจากพลังงานจาก Solar Cell ผ่านระบบไฟจากระบบอืน่ แล้วก็มี Option สำ�หรับใช้ไฟขนาด 12V ได้อกี ด้วย


Living Cube takes care of all your retro record albums and your shoe collection

Till K ํoํnneker/ photo by Rob Lewis Swiss designer Till K ํoํ​ํnneker moved into a small apartment with no storage, “ So I made a minimalistic cube design with a shelf for my vinyl collection, my TV, Clothes and Shoes. On the cube is a guest bed and inside the cube is a lot of storage space.”

Till K ํoํnneker/ photo by Rob Lewis Even if you are not burdened with a giant record collection, there are clever ideas here, a wall with stuff that you like to look at and a space underneath for the things that you don’t.


Space within Space The Box in the Box Designer ชาวสวิส Till Koneken ย้ายเข้าไปอยู่ในอพาร์ทเม้นท์หลังใหม่ แต่ในอพาร์ทเม้นท์นั้นกลับ ไม่มหี อ้ งเก็บของ เพือ่ แก้ปญ ั หาดังกล่าว Till ได้ออกแบบ “Cube” กล่องดังกล่าวใช้เก็บแผ่นเสียง MULTIMEDIA TV SET เสื้อผ้าและรองเท้าที่ใช้บ่อย นอกจากนี้ด้านบนผังใช้เป็นเตียงสำ�รองสำ�หรับแขกอีกด้วย ภายใน กล่องก็เป็นที่เก็บของขนาดใหญ่สำ�หรับของที่ไม่ได้ใช้บ่อยนัก


MAD Architects กับการปอกเปลือกอาหาร

MAD Architects ได้ชนะการประกวดการออกแบบใน Mississauga ทางตะวันตกของ Toronto และ เพือ่ ให้ได้ผลงานทีน่ า่ สนใจ Ma Yarsong ผูก้ อ่ ตัง้ MAD Architects ได้เสนอแนวคิดทีว่ า่ เป็นจากสมดุลยภาพ ระหว่างชุมชนและสังคม กล่าวคือ ตัวเมืองเองและสภาพแวดล้อมผ่านทางรูปแบบใหม่ทางสถาปัตยกรรม และ ล่าสุด MAD Architects ก็ได้รบั การอนุมตั ใิ ห้ด�ำ เนินการปรับปรุงอาคารเดิมให้เป็นทีพ ่ กั อาศัย แทนทีจ่ ะทุบและ สร้างใหม่ MAD Architects ไว้แค่ลอกผิวหนังอาคารเดิมออกจนหมด คงเหลือไว้แต่โครงสร้าง และ Frame ต่างๆและสอดแทรกหน่วยพักอาศัยลงไประหว่างช่องว่างต่างๆ Balconyและสวนเล็กๆได้สอดแทรกลงไปใน Gap และVoid ทำ�ให้เกิดความคลี่คลายระหว่างพื้นที่ถนนเข้าไปสู่อาคาร ทำ�ให้ทุกอย่างดูเหมือนจะโปร่งใส และ มองเห็นทะลุ ทำ�สวนความรู้สึกเดิมๆที่ว่าอาคารจะต้องมีขอบเขตเหมือนเดิมๆ ด้วยแนวคิดนี้ เสาและพื้นจึงทำ� หน้าทีเ่ หมือนชัน้ หนังสือทีม่ ี Urban Villas แทรกตัวอยูร่ ะหว่างพืน้ เป็นการสร้างภูมสิ ภาพเหมือนบ้านจริงๆทีม่ ี พืน้ ทีโ่ ล่งโดยรวมขึน้ มาบนอาคาร (แนวคิดนีเ้ คยมี Site นำ�เสนอแล้วเมือ่ หลายสิบปีกอ่ น) และอาคารใหม่นกี้ เ็ ป็น แค่แนวคิดในการจัดวาง Plan ใหม่และผนังทีป่ ระกอบด้วยกระจกและโลหะ เป็นการนำ�เสนอภูมทิ ศั น์ใหม่กบั เมือง


Mill Junction Silo: แถมด้วย Container Apartment

บ. พัฒนาอสังหา Citiq ได้เปลี่ยน silo กลางเมืองที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์แล้วให้เป็น Apartments ของ นักศึกษาในเมือง Johannesburg แอฟริกาใต้ โดยโปรเจค ดังกล่าวชื่อ Mill Junction ประกอบด้วย 3 Apartment จำ�นวน 375 Units นอกจากนัน้ ยังประกอบด้วย Facility สำ�คัญอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ Academic Campus เช่น ห้องสมุด Lounges แถมยังมีห้อง computer ไว้สืบค้น เท่านั้นยังไม่พอ ยังเพิ่มพื้นที่ใช้สอย ด้วยการซ้อนทับ Container ไปทับบน silo ทีม่ ถี งึ 11 ชิน้ เข้าไปแล้วผลทีไ่ ด้กค็ อื สีสนั แปลกตาเพิม่ บรรยากาศ ให้กับ Skyline ของเมือง ด้วยความสูงรวมกว่า 40 เมตร ด้วยบรรยากาศและมุมมองแบบ 360 องศา โดย เปิดใช้งานเมื่อเดือน มกราคม 2014 นี้เอง ความน่าสนใจจะอยู่ที่แนวคิดที่เป็นการผสมระหว่าง Urban Planning + Urban Design และ Recycle อาคารเก่าที่ไม่น่าจะใช้งานได้ และถ้าทุบกันก็ก่อให้เกิดมลภาวะการนำ�อาคารโรงงานมาปรับใช้ จึงเป็น แนวคิดที่น่าสนใจ และเป็นการเปลี่ยนย่านอุตสาหกรรมเก่าให้กลับมามีชีวิตสดใสอีกครั้ง



Philip One Space แนวคิดใหญ่ที่น่าสนใจนี้ถูกพัฒนาขึ้นที่ Philips กล่าวคือ แนวคิดเรื่องการพัฒนาประโยชน์ใช้สอย ของผลิตภัณฑ์ LED LED หรือ Light Emited Dioad มีอายุการใช้งานยาวนาน นานกว่าผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้แสงชนิดอืน่ ๆและยาว นานพอๆกับอายุของอาคาร แนวคิดของ Philips ก็คอื การอาศัยอายุการใช้งานอันยาวนาน ผนวกผลิตภัณฑ์ เข้ากับอาคารเลย โดยฉนวกผลิตภัณฑ์ให้เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของอาคารมากกว่าอุปกรณ์ที่มาติดตั้งภายหลัง และ Philips ได้แนะนำ�ผลิตภัณฑ์ที่ชื่อว่า One Space โดยแนวคิดนีจ้ ะรวมร่างกับแผ่นไฟเบอร์กราสและมาร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของผิวหรือผนังไม่ได้เป็นแค่อปุ กรณ์ หรือระบบแสงอีกต่อไป และไม่เหมือน Build in อื่นๆ อุปกรณ์ของ Philips นี้จะเป็นพื้นเดียวการใช้งานของ พื้นที่ ยกตัวอย่างเช่น ทำ�เป็นคล้ายผังแขวนและหย่อนแผงทิ้งหมดลงมาใกล้ระดับพื้น เมื่อจะต้อง Service


แนวคิดดังกล่าว เคยมีการใช้มาก่อนในผลิตภัณฑ์ชื่อ “Luminus” ตั้งแต่สมัย 60’s แต่ด้วยความที่ ต้องบำ�รุงรักษาสูงและมีค่าใช้จ่ายแพงมากซึ่งแตกต่างจาก One Space ที่ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมาในรูป Panel ขนาด 3x10 เมตรและมีความหนาราว 10 CM. เท่านัน้ และผลิตแสงทีส่ ม่�ำ เสมออย่างต่อเนือ่ ง และประสบการณ์ การได้ทำ�งานภายใต้คุณภาพแสงที่ดี และน่าประทับใจที่ทำ�ให้การทำ�งานน่สนุกขึ้น เรื่องนี้นับว่าใกล้จินตนาการของ SIFI เข้าไปทุกที ดังที่ Isac Azimov กล่าวไว้ตั้งแต่ 1964 ว่า “สักวันผนังและฝ้าเพดานในอนาคตจะเรืองแสงและปรับได้แค่ปลายนิ้วสัมผัส” เรื่องนี้นับว่าใกล้ความจริงเข้า มาทุกทีแล้ว


Portable wind turbine

Wind turbine เป็นเทคโนโลยีที่สะอาด (ยกเว้นตอนที่ผลิตมันขึ้นมา) แต่นวัตกรรมส่วนใหญ่จะเป็น ลักษณะ Large Scale และไม่คอ่ ยมีขนาดเล็กพกพาได้ ด้วยเหตุผลหนึง่ ก็คอื เมือ่ มีขนาดเล็กลง ประสิทธิภาพ ต่อแรงเสียดทานจะสูงมากจนกำ�ลังผลิตได้สูญเสียไปในลักษณะของความร้อนและแรงเสียดทาน จนกลายมา เป็นกระแสไฟฟ้าได้น้อยมาก แต่ก็มีผลิตภัณฑ์ Wind Turbine แบบ Portable ออกมาจนได้ เพื่อให้เราใช้มันชาร์จอุปกรณ์ต่างๆ เช่น Smartphone และอื่นๆ และด้วยผลิตภัณฑ์แบบ Micro Turbine นี้ ก็ได้ใช้ความสามารถทาง Design จน ออกแบบมาได้น่าสนใจ และจับตลาด Portable ด้วยเจ้า Trinity Wind Turbine นี้ ออกแบบโดย Skajaquoda คณะนักวิจัยทีมจากรัฐมันนิโซต้า ด้วยคุณสมบัติน่าสนใจ ขาตั้งสามขาทำ�จากอลูมิเนียมสามารถ Slide เข้าออกได้จากรูป เมื่อ Slide เข้าภายในตัวเครื่องได้ หมดจะทำ�ให้ขนาดเล็กลงพอจะพกพาได้ และเมื่อยื่นออกมาก็จะเป็นขาตั้งที่มั่นคง เจ้าอุปกรณ์ตัวนี้มีใบพัดอยู่ 2 ใบในแนวตั้ง ซึ่งก็เช่นกัน สามารถพับกลับเก็บได้และยืดออกเมื่อจะใช้งาน และสามารถผลิตกำ�ลังได้จากลม เบาๆ และใบพัดนี้ใช้หมุนตัวกำ�เนิดไฟฟ้า ชนิด 15w เพื่อชาร์จแบตเตอรี่แบบ Recharge ได้ขนาด 15,000 mAh เจ้า Trinity นี้ทำ�จากส่วนประกอบของ Plastic และอลูมิเนียมมีน้ำ�หนักเบา มีน้ำ�หนักประมาณ 2 กิโลกรัม และเมื่อใช้งานจะมีขนาดราว 60 cm. เมื่อพับเก็บทุกอย่างจะมีขนาดเพียงแค่ 30 cm. หรือ 1 ฟุต เท่านั้นและบรรจุทุกอย่างอยู่ในทรงกระบอก Einar Agustsson และ Agust Agustsson สอง นักประดิษฐ์ กล่าวว่า Project นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการรวบรวม ทุนจาก Kickstar tและจะส่งมอบได้ในราวปี 2515


Solar Mill

เมื่อมีการรวมทั้งแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ และ Wind Turbine ตามแนวตั้งมาเป็นเรื่องเดียวกัน การ รวมสองอย่างเข้ามาด้วยการใช้ Design จัดการทำ�ให้ได้ผลงานที่น่าสนใจ ยิ่งเฉพาะในเขตเมืองที่มีทั้งแดดและ ลม และแดดก็ไม่ได้มีตลอดเวลา คือ ส่วนหน้ามักจะทำ�งานได้ดีก็ต่อเมื่อมีแสงสว่างเต็มที่ และ Solar Cell เอง ก็ต้องการลงทุนสูง การใช้ Wind Turbine เองก็มีข้อจำ�กัดในเมือง เนื่องจากทิศทางของลมก็จะแปรเปลี่ยน ตลอดเวลา อีกทั้งปริมาณลมก็ไม่คงที่ ข้อดีคือ ลมมีตลอดทั้งวัน แนวคิดที่ว่าจะรวมของสองสิ่งเข้าด้วยกัน คือ Solar Cell จะทำ�งานตอนกลางวัน เวลามีแสงสว่าง Wind Turbine ก็จะรับหน้าทีท่ ดแทนในส่วนทีเ่ หลือ และเมือ่ สองสิง่ มารวมกันเข้า ก็จะทำ�ให้ได้ประสบการณ์สงู สุด และ เหมาะกับการติดตั้งบนหลังคาในชาวงเวลานี้ บริษัท Wind Stream ได้ออกแบบ Solar Mill เป็นระบบ Hybrid Energy System ใช้กับ Solar Panel กับ Vertical Wind Turbine (VATs) ใน Modular ที่น่าสนใจ โดยนำ�ประสิทธิภาพของทั้งสอง ผลิตภัณฑ์มารวมกัน


Swiss Army กับ Solar Chargers ในขณะที่เราใช้ชีวิตนอก Grid ในที่ห่างไกลพลังงานไฟฟ้าหลักและด้วย Gadget ร่วมสมัยต่างๆทั้งระบบ นำ�ทางระบบสือสารต่างๆอีกทั้ง App ต่างๆใน Smart Phone การประจุพลังงานใน Battery ให้เต็มอยู่เสมอ พร้อมใช้งานดูเหมือนจะเป็นเรื่องสำ�คัญอย่างยิ่งและ Wenger ซึ่งเป็นผู้ผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์ Outdoor ต่างๆ ได้นำ�เสนออุปกรณ์ Portable สำ�หรับชาร์ตแบตเตอรี่ด้วย พลังงานจากแสงอาทิตย์ ซึ่งมีมาด้วยกัน 3 รุ่น 3 ขนาด ด้วยคุณสมบัติของ Polycrystalline กับ Lithium-ion Battery ต่อพ่วงกับ Port USB ร่วมกับสาย USB แบบ 5ขั้วต่อที่สามารถชาร์ตอุปกรณ์ทีเดียวกันได้ 4 ชิ้น และด้วยคุณสมบัติที่ม้วนพับได้ เจ้าอุปกรณ์นี้ก็พร้อมจะม้วนพับและเก็บไว้และมาพร้อมกับอุปกรณ์เกะเกี่ยวต่างๆที่พร้อมจะยึดติดกับเต้นท์ กระเป๋าเป้หรือจักรยาน ในชุดประกอบด้วย แผง 2.25 Solar cell กำ�ลัง 2.25 Watt และสำ�หรับรุ่น 3 Watt แล้วยังมีไฟ LED ประกอบมาด้วย สำ�หรับใช้เป็นไฟส่องสว่างนำ�ทาง


Tree Bus Shelter ความน่าสนใจของ Project นี้อยู่ที่รูปทรงและการใช้ วัสดุทที่ �ำ ให้มนั ดูทงั้ คล้ายและทำ�จาก “ต้นไม้” แต่เป็นต้น ไม้ในภาค Abstract Public Architecture and Communications ได้ออกแบบที่พักสำ�หรับรถขนส่งมวลชน ใน University of British Columbia โดยใช้วัสดุ ไม้ที่ทำ�จากเศษไม้ Glulam โดยแนวคิดสำ�คัญมาจาก Concept ที่ว่าถนนหลักของมหาวิทยาลัยเป็นถนน กว้าง และปลูกต้นไม้สองข้างทางเป็นแนวยาว การ ออกแบบโดยเอาแนวคิดที่ว่าช่องว่างของ Block ที่ เป็นแนวยาวของแถวต้นไม้ก็ควรแทนที่ด้วยต้นไม้ แต่ เป็นต้นไม้ในแนวอุดมคติที่แตกต่างไปจากแนวต้นไม้ เดิม แต่มันก็เป็นต้นไม้อยู่ดี และด้วยแนวคิดดังกล่าว Designer จึงออกแบบป้ายรถเมล์ดงั กล่าวเป็นต้นไม้ใน มุมมองของศิลปินที่ Abstract โดยการใช้ Glulam มา ประกอบกันเป็นส่วน Canopy และหุม้ ด้วยกระจก ด้วย การออกแบบให้สันของ Glulam สานต่อกันเป็นโครง ทำ�ให้เกิดมุมและมีประสิทธิภาพในการกันแดดมากขึ้น (เหมือน Fin ในแนวตั้ง)


Urban Farming Urban Farming เป็นแค่กระแส เล็กๆเมื่อสัก 2 ปีก่อน ตอนนี้คำ�ว่า Urban Farming เริ่มเป็นคำ� คุ้นหูกันขึ้นเรื่อยๆแล้วจากปรากฎการณ์เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน Urban Heat Island มาสู่ LEEDs ที่มี การนำ�เสนอ Green Roof เป็นส่วนหนึ่งของ การลดภาวะการสะท้อนกลับของแสงอาทิตย์ Vertical Green ของ Urban Farming ที่ได้รับกระแสมาจากงาน Expo Milan ในปีข้างหน้านี้ ที่มี Topic ของงานคือ World Agriculture โดยเฉพาะ US Pavilion ที่จะมีการนำ�เสนอ Urban Farm ลงบน US Pavilion ดังรูป

US Pavilion World Expo Milan 2015




US Pavilion World Expo Milan 2015


Case study 1

แนวทางของ Urban Farm ที่มีการทำ�ให้เป็น จริงและให้สองประเทศ แทบเอเชีย ได้แก่ ญี่ปุ่นและ สิงคโปร์ เรามาดูปรากฎการณ์ Urban Farm ในที่ อื่นๆกันบ้าง Montreal ประเทศ Canada เป็นตัว Urban Farm ผลผลิตของไร่นาแท้ๆกลางใจเมือง ในปี 2011 แนวคิดการเปิดตัว Urban Farm แท้ๆ ในระดับ commercial ที่จะผลิต ผลิตผลของท้อง ถิ่ น ในระดั บ ท้ อ งถิ่ น ให้ ข ยายตั ว ออกไปในระดั บ ถิ่ น อุตสาหกรรม เริ่มเป็นจริง Lufa Farm ได้เปิดตัว Urban Farm อุตสาหกรรมในเมือง Laval จะเห็นได้จากด้านบนของอาคารทีเ่ ป็นร้านค้าขาย ส่ง Furniture คล้ายกัล IKEA บ้านเราบนพืน้ ทีท่ เี่ ป็น Green House กว่า 4,300 ตร.เมตรนี้ สร้างผลผลิต ของ Farm 500 – 700 กก. ของผลผลิตทางการ เกษตรนีโ้ ดยคิดเป็นตัวเลขง่ายๆกว่า 2,500 รถเข็น ที่ ใช้ Shopping ใน Supermarket และมีเป้าหมายจะ ขยายการผลิตออกไปที่ราวๆ3เท่าในเร็ววันนี้

งานนี้เป็นผลงานร่วมระหว่าง Developer และ Dutch Green House manufacture คือ KUBO ด้วยหลักการคิดออกแบบ Green House ทีม่ ี Positive Pressure ทำ�ให้ไม่มแี มลงมารบกวนและยังทำ�ให้ เก็บผลผลิตได้ดีกว่า 30 % ในขณะที่ใช้พลังงานลด ลงกว่าเดิม การผลิตจะมุ่งที่การเพาะปลูกมะเขือเทศ และมะเขือม่วงเป็นผลผลิตทีต่ อ้ งการของตลาดและเป้ นพืชพรรณที่ต้องการดูแลรักษาเป้นพิเศษ และหลัก การการปลูกพืชแบบ Hydroponic อันเป็นพืชทีป่ ลูก โดยปราศจากดิน (ใช้แค่ใยมะพร้าวเป็นตัวช่วยยึด ราก)เมล็ดดินเผาเป็นตัวอุ้มน้ำ�และสารอินทรีย์ต่างๆ ไหลผ่านรากเท่าที่จำ�เป็นโดยมีการนำ�สารเหล่านี้มา Treated และ recycle มีการควบคุมอุณภูมิให้พอ เหมาะในเวลากลางคืนด้วย gas ธรรมชาติ


ส่วนหลังคาใสนัน้ มีการควบคุมด้วยม่านปรับแสง เพือ่ ให้ได้ภาวะแสงตรงตามความต้องการของพืช จาก ข้อมูลที่ว่า Green House เหล่านี้ตั้งอยู่ๆบนหลังคา ของอาคารทีต่ วั อาคารเองก็มกี ารปรับอุณหภูมไิ ว้แล้ว ซึ่งนั้นหมายความว่าตัว green House ใช้พลังงาน แค่ ½ ของพืน้ ทีม่ กี ารเพาะปลูกแบบ Green House เช่นเดียวกับแต่ทำ�งานบนพื้นดินจริงๆ ทั้งนี้เมื่อรวม กับพลังงานในการใช้ขจัดแมลงและวัชพืช (น่าคิดน่ะ ครับ) ทีน่ า่ สนใจก็คอื ระบบของ Lufa นีบ้ ริหารจัดการ Farm ทัง้ เรือ่ งการจัดการ,ความบคุมอุณหภูมริ ะหว่าง น้ำ�ได้จาก iPad ด้วยวิสัยทัศน์ทาง Lufa’s ได้มองเห็นว่า นี่แหล่ะคือทิศทางของอนาคต ของภาวะ Urban และ City planning ที่กำ�ลังจะดำ�เนินไป ในขณะที่เมือง กำ�ลังขยายตัวมากขึ้นจนขอบเขตของเมืองเริ่มชนกัน (กรุงเทพฯ-นนทบุรี เป็นต้น) และมนุษย์เริ่มรุกราน พื้นที่เกษตรกรรมของตัวเอง

การสนับสนุน Urban Farm น่าจะเป็นคำ�ตอบ สำ�คัญสำ�หรับปัญหา Urban Planning และเป็น ปัญหาของภาวะโลกร้อน โดยการลดระยะเวลาการ เดินทางของผลผลิตทางการเกษตร เพิ่มผลผลิต ได้มากขึน้ ในพืน้ ทีน่ อ้ ยลง แต่กลับใช้ประโยชน์จาก พลังงานอันมีจำ�กัดได้มาก ไม่มีการขนส่งและลด ขยะจาก Packaging ไม่มีการสูญเสียการเพาะ ปลู ก เท่ า ที่ ต้ อ งการเฉพาะวั น และฤดู ก าลนี้ เ ป็ น อนาคตของการเกษตรโลกเลยทีเดียว ในขณะที่มีการเพาะปลูกพืชพรรณกว่า 40 ชนิด Lufa’s เองก็ได้ร่วมมือกับอีก 50 Greenhouse เพื่อที่จะขยายความหลากหลาย หาพืช พรรณให้ได้กก็ ว่า 100 ชนิด และพัฒนาสายพันธุ์ อาหารไปยัง Product อื่นๆ เช่น ขนมปัง เนยแข็ง และแยม รวมทั้งแนวคิดที่จะเป็น Portal Hub สำ�หรับผลิตภัณ์อาหารที่ยั่งยืน ในหัวข้อของ Organic และ Artisanal food market ในอนาคต


ส่วนหลังคาใสนั้นมีการควบคุมด้วยม่านปรับแสง

Case study 1


ในแนวคิดนี้ยังจะพัฒนาแนวคิดต่อยอดไปยังแนวคิด ของนัก Urban Design อืน่ ๆในหัวข้อ “Self-Sustaining Cities” ที่สามารถพึ่งพาตัวเองได้ ตราบใดที่มีแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานสำ�หรับเมืองทีม่ ปี ระชากรเกิน 1.6 ล้านคน เช่น Montreal แค่ปรับหลังคาโรงงานเก่าๆสัก 20 แห่ง กระจาย Node ไปทัว่ ๆเมืองก็เพียงพอทีจ่ ะเลีย้ งประชากรขนาด 1.6 ล้านคน ต่อไปได้โดยไม่ตอ้ งพึง่ พิงการเกษตรจากภายนอก เลย นับเป็นแนวคิดที่อหังการและน่าติดตามเป็นอย่างยิ่ง และด้วยแนวคิดที่จะขยายตัวให้พอเหมาะกับขนาดของ เมือง และขยายตัวไปยังโลกภายนอก เช่น Boston ด้วย แนวคิดและการบริหารงานนี้แตกต่างจากวิธีการเพาะปลูก ด้วยดินแบบเดิมๆ Urfa’s ใช้คำ�ว่า Urban Farming renaissance

Urban Farming น่ า จะเป็ น ตั ว เลื อ กที่ สำ � คั ญ ที่ จ ะ สู้ กั บ การขยายตั ว ของเมื อ ง มลภาวะ และค่ า ขนส่ ง มุ่ ง สู่ อ นาคตของเมื อ งที่ ดู แ ลตนเองได้ ใ นอนาคต


Case study 2 The globe การใช้พื้นที่บริเวณหลังคาเพื่อปรับเปลี่ยนเป็น Urban Agriculture ปัจจุบันการปรับเปลี่ยนพื้นที่ หลังคาอาคาร จากพื้นที่ว่างเปล่ารกร้างเต็มไปด้วยงานระบบมาใช้พื้นที่ให้เป็นประโยชน์มากขึ้นและพื้นที่บน หลังคาเหล่านี้ ได้ถกู นำ�มาใช้ประโยชน์มากขึน้ เป็นพืน้ ทีเ่ ลีย้ งสัตว์และเพาะปลูก ในตัวอย่างนีค้ อื การปรับมาเป็น พืชทีใ่ ช้เลีย้ งสัตว์ในตัวอย่างนี้ Globe/Hedron เป็นตัวอย่างให้เห็นว่า green house ทำ�ด้วย bamboo หรือ ไม้ไผ่นอี้ อกแบบเพือ่ ปลูกพืชและเลีย้ งปลาโดยหลักการคล้ายกับที่ CP และแนวคิดไร่นาผสมตามแนวพระราช ดำ�รัสเป็นการออกแบบโดยการใช้หลักการของ Aquaponic ง่ายๆคือปลาจะปล่อยของเสียออกมาเป็นอาหาร ของพืชและพืชเองก็เป็นอาหารของปลาในสมดุลนี้ของระบบ Ecology ที่ Antonio Scarponi ในผลงานและ ความร่วมมือของ กลุ่ม “UrbanFarmer” ใน Zurich ผลงานดังกล่าวจะผลิตอาหารได้สำ�หรับคน 4 คน โดยอาศัยเทคนิคดังกล่าว เจ้าของผลงานที่ชื่อว่า Globe/Hedron จะผลิตผลสำ�หรับคนในครอบครัวจำ�นวน 4 คน ได้ตลอดปี และตามที่ Designer Scarponi กล่าวว่าจะผลิตผลของปลาได้ราว 100 kg. และมีผลผลิตเป็นพืชได้ราว 400 kg. ต่อปี และพืชพรรณที่ได้ก็จะ ปรพกอบไปด้วยผัก เช่น Broccoli ในหน้าหนาวและผลผลิตอื่นๆ เช่น มะเขือเทศในฤดูร้อน


ตามที่ Designer กล่าวเจ้า Geodisic-Dome ดังกล่าว ถึงแม้ว่าจะเป็น Form เดิมๆ ที่มีมานาน แต่ ก็สามารถบรรจุ farm และสามารถใส่ Tank น้ำ� ที่บรรจุพันธุ์ปลาไว้ภายใน และช่วยกระจายน้ำ�หนักในผังส่วน ต่างๆของ Member ทำ�ให้สามารถตั้งอยู่บนหลังคาได้ โดยไม่ต้องมีการเสริมโครงสร้างใดๆ นอกจากตัว Geodisic-Dome แล้ว เจ้าอุปกรณ์ตวั นีย้ งั เป็นแหล่งกำ�เนิดพลังงานด้วยตัวเองอีกทางหนึง่ ด้วย กล่าวคือ มีการติดตั้ง PV panels (PV-photo Voltaic-cell-solar call นั้นเอง) และ Colling turbines ที่สามารถสร้างพลังงานด้วยตัวเอง และระยะระหว่าง member ของตัว dome เองนั้น สามารถติดตั้งองค์ ประกอบอื่นๆ เช่น ฉนวนกันความร้อนหรืออุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้แต่ละอันเหมาะสมกับภูมิอากาศของแต่ละ ภูมิภาค และภูมิอากาศ ส่วนถาดเพาะปลูกภายในนั้น สามารถติดตั้งได้หลายรูปแบบ โดยพิจารณาจาก Cost สภาพแวดล้อมและฉนวนตัว dome เองที่เป็น Geodisic จะประกอบด้วย member เล็กๆ ที่เท่าๆกัน และ ประกอบกับเป็นรูปสามเหลี่ยม เป็น Basic Shape(ตาม Conception Geodisic-Dome Buckminster Fuller-concept) ทำ�ให้ถอดประกอบได้อย่างรวดเร็ว และทั้งหมดสามารถบรรจุอยู่ในเจ้าบ่อเลี้ยงปลาภายใน ทำ�ให้ทั้ง package ง่ายต่อการขนส่ง Designer หวังว่า “The Globe” ขอบเขตซึ่งเป็นอะไรที่เหมาะแก่แนว ความคิดแบบพึ่งพาตัวเองจะมีการผลิตออกจำ�หน่ายในเร็วๆนี้ ด้วยราคาน่าจะไม่เกินราคาของรถยนต์ขนาด เล็กๆ คันหนึ่งเท่านั้น


Case study 3 Bright farm System

ถือเป็น Project แรกๆทีม่ กี ารใช้พนื้ ทีบ่ นหลังคามาเป็นแหล่งผลิตอาหารสำ�หรับ Housing Project Project Housing ในย่าน Bronx นี้ เป็น Project Housing ตัวอย่างสำ�หรับความพยายามที่จะต่อสู้ กับปัญหาการปันส่วนอาหารและความอดอยากทางโลกในส่วนของการจัดทำ�บ้านและที่อยู่อาศัยสำ�หรับ ผู้มีรายได้น้อย ด้วยความพยายามจัดพื้นที่กว่า 1000 ตร.ม. บนหลังคาของ Housing Project นี้ ใน ขณะที่มีการโต้เถียงกันมากมายเกี่ยวกับแนวคิดที่ว่านี้ เป็นแค่ความพยายามแก้ปัญหาหรือแค่เพียงการ ตลาดที่มาสร้างความน่าสนใจเป็นจุดขายเท่านั้น Project Bright Farm นี้ได้มาจากการจัด Rooftop terrace ให้เป็น Greenhouse โดยมีการออกแบบให้มีการจัดเก็บน้ำ�ฝน นอกจากนั้นแล้วยังมีการออกแบบให้ใช้พลังงานความ ร้อนส่วนเกินจากอาคาร เพือ่ รักษาอุณหภูมขิ องเจ้า Greenhouse ไว้อกี ด้วย นับว่าเป็นแนวคิดทีน่ า่ สนใจที เดียวและไม่ใช่แค่นนั้ ผูพ ้ กั อาศัยใน Project ยังได้อาศัยพืน้ ทีใ่ นส่วนนีเ้ ป็นพืน้ ทีส่ �ำ หรับพักผ่อนในพืน้ ทีเ่ พาะ ปลูกที่ทางโครงการยืนยันว่ามีศักยภาพในการผลิตกว่า 450 ผู้พักอาศัย ในการนี้ผู้พักอาศัยยังมีโอกาส เฝ้ามองดูผลผลิต คือ อาหารของตนค่อยๆงอกงามขึ้นมา กล่าวคือ ถือเป็นการควบคุมผลผลิตและความ สะอาดด้วยตนเอง เรื่องนี้นับว่าชนะเลิศในแง่ ความคิดสร้างสรรค์และแนวร่วมของมวลชน.



Case Study 4 กฎบัตร Vancouver นครแวนคูเวอร์ได้ชื่อว่าเป็นเมืองเขียวและน่าอยู่อันดับต้นๆของโลก ปัจจัยที่ทำ�ให้แวนคูเวอร์พัฒนา อย่างเด่นชัดจนเป็นเมืองต้นแบบทางด้านสิ่งแวดล้อม ก็คือ การประกาศแผนพัฒนาสภาพแวดล้อมเมืองโดย ตั้งเป้าหมายสู่ความเป็นเมืองที่ยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนทุกระดับก็สามารถมีบ้านพักอาศัย และสร้างชุมชนน่า อยู่ จนกระทั่งมีการประกาศกฎบัตรอย่างเป็นทางการในปี 2008 เพื่อปรับปรุงฟื้นฟูเมืองโดย 2 กลยุทธ์ ได้แก่ การทบทวนนโยบายการจัดการใช้อาคารเขียว (Rezoning Policy for Greener Building) และการทบทวน นโยบายการจัดการพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่ (Rezoning Policy for Greener Larger Sites) และให้ความ สำ�คัญกับเรื่องของอาคารเขียว โดยใช้เกณฑ์การออกแบบอาคารเขียว USGBC เป็นการออกข้อกำ�หนดให้ อาคารสร้างใหม่ดำ�เนินการให้ใช้ประโยชน์จากอาคารให้มากที่สุดและลดการขยายตัวของเมือง

และจากอิทธิพลของกฎบัตร Vancouver Announced ที่มุ่งมั่นในการพัฒนาเมืองอันน่าอยู่และไร้ มลภาวะไม่เป็นต้นกำ�เนิดของมลภาวะ และภาวะโลกร้อนจึงได้จัดให้มีการประกวดแบบเพื่อให้สถาปนิกได้มี โอกาสนำ�เสนอรูปแบบของเมืองน่าอยูใ่ นเชิงสถาปัตยกรรม ได้น�ำ เสนอสถาปัตยกรรมในรูปแบบต่างๆ ผลของ การจัดการประกวดดังกล่าวทำ�ให้เราเห็นความก้าวหน้า และวิสยั ทัศน์ของสถาปนิก และคณะกรรมการบริหาร เมืองเด่นชัดขึน้ และรูปแบบนั้นส่วนใหญ่ได้เปิดเผยแนวคิดสำ�คัญของ Urban Farm ออกมาเป็นรูปประชาชน มากขึ้น โดยผลการประกวดแบบมีดังนี้


รูปที่ 1

และจากอิทธิพลของกฎบัตร Vancouver Announced ที่มุ่งมั่นในการพัฒนาเมืองอันน่าอยู่และไร้ มลภาวะไม่เป็นต้นกำ�เนิดของมลภาวะ และภาวะโลกร้อนจึงได้จดั ให้มกี ารประกวดแบบเพือ่ ให้สถาปนิกได้มี โอกาสนำ�เสนอรูปแบบของเมืองน่าอยูใ่ นเชิงสถาปัตยกรรม ได้น�ำ เสนอสถาปัตยกรรมในรูปแบบต่างๆ ผล ของการจัดการประกวดดังกล่าวทำ�ให้เราเห็นความก้าวหน้า และวิสยั ทัศน์ของสถาปนิก และคณะกรรมการ บริหารเมืองเด่นชัดขึ้น และรูปแบบนั้นส่วนใหญ่ได้เปิดเผยแนวคิดสำ�คัญของ Urban Farm ออกมาเป็น รูปประชาชนมากขึ้น โดยผลการประกวดแบบมีดังนี้

รูปที่ 2

และจากอิทธิพลของกฎบัตร Vancouver Announced ทีม่ งุ่ มัน่ ในการพัฒนา เมืองอันน่าอยูแ่ ละไร้มลภาวะไม่เป็นต้นกำ�เนิด ของมลภาวะ และภาวะโลกร้อนจึงได้จัดให้ มี ก ารประกวดแบบเพื่ อ ให้ ส ถาปนิ ก ได้ มี โอกาสนำ�เสนอรูปแบบของเมืองน่าอยู่ในเชิง สถาปัตยกรรม ได้นำ�เสนอสถาปัตยกรรม ในรูปแบบต่างๆ ผลของการจัดการประกวด ดังกล่าวทำ�ให้เราเห็นความก้าวหน้า และวิสยั ทัศน์ของสถาปนิก และคณะกรรมการบริหาร เมืองเด่นชัดขึ้น และรูปแบบนั้นส่วนใหญ่ได้ เปิดเผยแนวคิดสำ�คัญของ Urban Farm ออกมาเป็นรูปประชาชนมากขึ้น โดยผลการ ประกวดแบบมีดังนี้


Case Study 4 กฎบัตร Vancouver


Vancouver Wildcard: Go Design Collaborative เป็นแนวคิดใน การปกป้องเขต Waterfront “gateway” ของเมืองเนื่องจากเป็นเมืองที่มี น้ำ�ล้อมรอบ จึงเป็นเหตุให้มีการปะทะ ชนกันของ Node ต่าง ได้แก่ transportation ของเมือง หน่วย Services ของเมือง เขตอุตสาหกรรมและบ้านพัก อาศัยใน Scheame นี้ เป็นแนวคิด ที่จะทั้งแยกและปกป้องเขตเพาะปลูก ทางเกษตรกรรม ไม่ให้ถูกรุกรานจาก การพั ฒ นา Condominium ของ Developer ต่างๆ DENcity : INTENcity เป็นการ เล่นคำ�สำ�หรับคำ� Diversity ความหนา แน่นของเมืองกับแนวคิดการออกแบบ DenSity เมื อ งอั น น่ า อยู่ กั บ คำ � ว่ า Intencity หรือเมืองในความตั้งใจที่ สถาปนิกอยากให้เป็น อย่างไรก็ตาม ผลของการออกแบบนั้นเป็นการลาก ลึกลงไปในแนวคิดของ Urban Farm


Case Study 5 Pennsylvania Biggest Vertical Farm


Pennsylvania Biggest Vertical Farm เพื่อตอบสนองต่อแนวคิดของ Urban Farm ในระ ดับอุตหาสกรรม โดยมีความพยายามย่นย่อพื้นที่ การเกษตร 3.25 hectares ขึ้นในทางสูง โดยอาศัย เทคโนโลยีของการเพาะปลูกแบบไม่ใช้ดนิ โดยในระบบ ดังกล่าว จะประกอบด้วย Rack ที่ประกอบกัน 4-5 ชั้น ตามความสูง โดยระบบดังกล่าวมีความสามารถ ในการบรรจุพืชพรรณได้ถึง 17 ล้านหน่วยพืชเลย ทีเดียว นับว่าเป็นความพยายามอย่างสูงในระดับ อุตสาหกรรม โดยโครงสร้างของ Vertical Farm นี้ดำ�เนินการโดย Michigan Green Spirit Farm (GSF) โดยหลักการก็คือ ความพยายามที่จะเพาะ ปลูกพืชบนผิวพื้นที่ขึ้นทางสูงมากกว่าทางราบ เพื่อ ผลิตพืชผัก เช่น มะเขือเทศ กะหล่ำ�ปลี ผักขม สตรอว์

เบอร์รี และพริกไทย และประกอบกับระบบ Recycle ที่ทำ�ให้ระบบดังกล่าวลดปริมาณการใช้น้ำ�ได้ถึง 98% เมื่อเทียบกับระบบเกษตรบนพื้นดิน รวมถึงระบบ ควบคุมปริมาณไอน้ำ�และความชื้นภายใน ผลที่ได้ ทำ�ให้ลดผลข้างเคียงอืน่ ๆอันเนือ่ งจากความชืน้ ได้แก่ เรื่องของเชื้อรา บนใบพืชได้ด้วย ด้วยระบบควบคุมนี้ ทำ�ให้ผลผลิตที่ได้ปราศจากโรคพืช นอกจากนี้ระบบ ยังสร้างเครือข่ายของตนเองเป็น Network และยัง ส่งข้อมูลไปยัง Smartphone ด้วย


Case Study 6 aและสุดท้ายคืออิทิพลของ Milan Expo 2015 ในหัวข้อของ Urban Farm น่าจะเป็นกำ�ลังหลัก สำ�คัญที่ส่งผลให้ Urban Farm บรรลุผลอย่างจริงจัง โดย Pavilion ต่างๆในงานเป็นตัวชักนำ�ให้เห็นผล สำ�เร็จของ Urban Farm

ความมุ่งมั่นของการเกษตรตามตัวในอนาคต


เพื่อแสดงให้ชาวโลกเห็นถึงศักยภาพของสหรัฐอเมริกาในฐานะผู้นำ�การเกษตรยุคใหม่อีกทั้งวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และการค้า รวมทั้งแนวคิดของการจัดการคมนาคม การบริโภค รวมทั้งความสามารถใน การจัดการกับของเสียเหล่านี้ US pavilion ในงาน Milan 2015 ที่ได้ออกแบบให้เป็นทางเดินเดี่ยวขนาดใหญ่ โดยผู้ชมจะได้มีโอ กาศเห็นเทคโนโลยีของ Urban Farm ที่จะเกิดขึ้นบนผิวผนังของ Pavilion นั่นเอง

SONO Architect-Designed Pavilion ของ Slovenia

เพื่อนำ�เสนอวิสัยทัศน์ของ Alovenia โดยใช้สโลแกนว่า I FEEL SLOVENIA. Green. Active. Healthy.” แนวคิดทีว่ า่ รูปทรงเรขาคณิตของ Form ดังกล่าว แทนความหมายของพืน้ ทีก่ ารเกษตรทีถ่ กู ผลัก ขึ้นมาในระบบระนาบ “diverse geographical landscape” ระนาบการเพาะปลูกทางแนวตั้งนี้เป็นตัวแทน


Vertical farm สำ�หรับงาน Expo Milano 2015

เราได้ยินข่าวคราวเรื่อง Vertical farm มา แล้วสักระยะหนึ่ง และมีการปฏิบัติจริงแล้วในประเทศ Singapore สำ�หรับงาน Expo 2015 Milano ที่กำ�ลังจะ มาถึงข้างหน้าและ Theme ของงานในช่วงกว่า 184 วันของงานก็คือ “Feeding the Planet, Energy for Life,” ซึ่งส่วนใหญ่จะ Focus ไปยังเรื่อง sustainable design และการเกษตรของโลก ส่วน Pavilion ของประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใต้การนำ�ของ James Beard Foundation และ The International Culinary Center (สถาบัน อาหารระหว่างประเทศ!) โดยมีสถาปนิก James Biber เป็นผู้ออกแบบโครงสร้าง โดยมีการนำ�เสนอ เรื่องของ Vertical Farm และการเพาะปลูก แนวคิดของสถาปนิก Biber ก็คือ ผนังดัง กล่าว คือ ไร่ นา สวน ที่ถูกพลิกกลับขึ้นมาตามตั้ง โดยมีระบบ hydroponic เพื่อให้อาหารและน้ำ�และ พืช ให้แก่ผนังทีค่ อยเคลือ่ นทีไ่ ปเพือ่ ให้มกี ารได้รบั แสง สว่างจากแสงอาทิตย์อย่างทั่วถึง ในขณะที่สถาปนิก

กำ�ลังพัฒนาระบบที่จะกักเก็บและใช้ประโยชน์จาก น้ำ � ฝน และชาวนาชาวสวนจะอาศั ย การเดิ น ขึ้ น ลง ตาม Catwalk เพื่อเก็บเกี่ยวแทนการขี่ควายหรือ รถไถ สถาปนิกยังมองการไกลไปยังผลผลิตได้ ที่ว่า Vertical farm ดังกล่าว จะทำ�ให้ดูเสมือนงานการ แสดงที่น่าชม ดูเหมือน Sight & Sound เลยทีเดียว และผนังอาคารดังกล่าวจะเป็นตัวเล่าเรื่อง ราวของการทำ�การเกษตรในเมืองในอนาคตอันใกล้ และสถาปนิกได้สถาปนาคำ�เรียก “Didactic wall” เป็นคำ�ที่จะสื่อความหมายของทิศทางของประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก าต่ อ ปั ญ หาโลกร้ อ นโดยตรง และ สถาปนิก Biber ยังพยายามทำ�งานร่วมกับ Landscape Architects ในการพัฒนาสรรหาพรรณไม้ ที่เหมาะสม ส่วนทีเ่ หลือของโครงสร้างดังกล่าว จะมีลกั ษณะไปทางสถาปัตยกรรมโรงงาน - Barn – Likeแ ละคล้ายเครื่องจักรต่างๆในการเกษตร


ในส่วนหลังคาก็จะเป็นพื้นที่ของ Super thin Solar Panels และ Photochromatic Glass” ( Cell แบบบางที่ใช้กระจกสีเพื่อทดสอบ UV Cell ) เพือ่ ช่วยลดอุณหภูมภิ ายในอาคารโดยปราศ จากการ ใช้ Air Con เพือ่ ปรับอากาศแต่จะติดตัง้ พัดลมเส้นผ่า ศูนย์กลางกว่า 9 เมตร เพื่อสร้างภาวะน่าสบาย จาก การระเหยของพืช แนวคิดเรื่อง Sustainable design เป็น หัวใจหลัก ของงาน Expo Milano 2015 และโดยConstruction เน้นเรื่องนี้ Pavilion ทุกอันจะต้องมี คุณสมบัติตามที่หัวข้อของงานกำ�หนดกล่าวคือ เป็น อาคารทีม่ แี นวคิดเรือ่ ง Sustainable standard และ กฎเหล็กสำ�คัญอันหนึ่งก็คือ อาคารจะต้องใช้วัสดุที่

Recycle ได้ โดย Pavilion ดังกล่าวจะมีการใช้เหล็ก และพืชไม้แบบ Composite ที่ถอดประกอบได้ และแน่นอนผลิตภัณฑ์ทปี่ ลูกได้จาก Farm ดังกล่าว จะนำ�มาเสิร์ฟให้ทดลองทานกันในงานเลย สดๆ โดยงานจะเริ่มในช่วงเวลา ตั้งแต่เดือนพ.ค. – ต.ค. 2015 แ ล ะ ส ถ า ยั น อ า ห า ร น า น า ช า ติ ข อ ง สหรัฐอเมริกาหวังว่าจะได้มโี อกาสนำ�เสนอนวัตกรรม ทางอาหารแด่ชาวโลก จากผลผลิตของ Urban Farm ในอนาคต


Wind Belt

นักประดิษฐ์ Shawn Frayne ผู้ได้รับรางวัลจากวารสาร Popular Mechanics ได้กล่าวถึงผล งานการประดิษฐ์อุปกรณ์ชิ้นเล็กๆที่ไม่ต้องการพลังงานไฟฟ้ามากนัก เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เล็กๆหรือ วิทยุ เช่นภายในที่พักอาศัยเอง การพัฒนา Wind Turbine แบบหมุน อาจไม่เหมาะ เพราะจากลักษณะการใช้ งานภายในอาคาร นอกจากนั้นการย่อส่วน Wind Turbine แบบหมุนลงจะต้องต่อสู้กับแรงเสียดทานจำ�นวน มากเกินกว่ากระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ ส่งผลโดยตรงกับประสิทธิภาพการท่อนบน


ด้วยแรงบันดาลใจจาก “ Aeroelastic Flutter” ซึ่งเป็นอุบัติการการกำ�ทอนสูงสุด (Resonance) เช่นเดียวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับสะพาน Tacoma Narrows ต้องพังลงด้วยการพัดของลมจน สะพานแกว่ง และพังลงในปี 1940) และแนวคิดของนักประดิษฐ์ก็คือ แนวคิดง่ายๆที่ตั้งชื่อว่า Wind Belt โดย การขึง Membrane เหมือน Tap Cassette ไว้ระหว่างเฟรมและพื้นสายหนึ่งจะเป็นตัวรับการเคลื่อนไหวของ แรงกระพือเพือ่ เหนีย่ วนำ�คอลน์อกี สองตัวเพือ่ สร้างกระแสไฟฟ้าอ่อนๆโดย Prototype ได้ดดยสร้างพลังงาน ระดับต่�ำ ที่ 40 มีลวิ ตั ต์ทกี่ ระแสลม 10 mph ซึง่ ทีร่ ะดับนีก้ น็ บั ได้วา่ มีประสิทภิ าพกว่า 30 เท่าของระบบ Turbine เล็กๆชนิดอื่น และทางผู้ประดิษฐ์มีแผนจะพัฒนาต่อยอด โดยตั้งใจจะนำ�ไปใช้แทนที่ตะเกียงน้ำ�มันก๊าซที่ใช้โดย ชาวไฮติ ในกรณีแผ่นดินไหวในไฮติครัง้ ทีผ่ า่ นมา ซึง่ ข้อดีส�ำ หรับชนบทและแหล่งห่างไกลความเจริญด้วย เพราะ เป็นเทคโนโลยีง่ายๆที่สามารถซ่อมได้เองต่างจากระบบ Solar Cell ซึ่งยากต่อการซ่อมแซมโดยระดับชาวบ้าน


Wind spire: 1KW Wind Turbine Wind Turbine ขนาด 1 KW ในสวนหลังบ้าน

ด้วยการออกแบบที่เบาบางสำ�หรับ Wind Turbine แบบสองใบที่ทำ�ให้ดูเหมือนไม่มีใบนี้ ได้หลักการ ออกแบบจากใบเรือ มีกำ�ลังผลิต 200 กิโลวัตต์ฮาวน์ต่อปี ด้วยความสูง 10 เมตร และกว้างเพียง 60 cm. การ ที่มันไม่มีใบ ทำ�ให้ไม่เป็นอันตรายต่อนกและค่อนข้างเงียบ โดยมีเสียงเพียงแค่ 25 Db แต่ไม่ต้องการแรงลมที่ แรงมาก โดยอาศัยแค่ลมเอื่อยๆก็พอ (8 mph) ในขณะที่สามารถทนทานต่อแรงลมกว่า 100 mph มาพร้อม กับการตัดต่อไร้สายไปยัง Computer เพื่อรายงานผลการผลิต ด้วยราคากว่า 400 US (120,000 บาท) ซึ่ง ก็แพงพอดูเทียบได้กับกำ�ลังผลิต 3 บาทต่อกิโลวัตต์ แล้วก็คงใช้เวลาราวๆ 20 ปี จึงจะคุ้มค่าการลงทุน แต่ก็ จะช่วยลด Carbon Foot Print ได้จำ�นวนหนึ่งแล้วกัน



Wind Turbine ปีกแมลงปอ


ด้วยการออกแบบที่เบาบางสำ�หรับ Wind Turbine แบบสองใบที่ทำ�ให้ดูเหมือนไม่มีใบนี้ ได้หลัก การออกแบบจากใบเรือ มีกำ�ลังผลิต 200 กิโลวัตต์ฮา วน์ตอ่ ปี ด้วยความสูง 10 เมตร และกว้างเพียง 60 cm. การทีม่ นั ไม่มใี บ ทำ�ให้ไม่เป็นอันตรายต่อนกและค่อนข้าง เงียบ โดยมีเสียงเพียงแค่ 25 Db แต่ไม่ตอ้ งการแรงลมที่ แรงมาก โดยอาศัยแค่ลมเอือ่ ยๆก็พอ (8 mph) ในขณะ ที่สามารถทนทานต่อแรงลมกว่า 100 mph มาพร้อม กับการตัดต่อไร้สายไปยัง Computer เพือ่ รายงานผล การผลิต ด้วยราคากว่า 400 US (120,000 บาท) ซึ่ง ก็แพงพอดูเทียบได้กับกำ�ลังผลิต 3 บาทต่อกิโลวัตต์ แล้วก็คงใช้เวลาราวๆ 20 ปี จึงจะคุ้มค่าการลงทุน แต่ก็ จะช่วยลด Carbon Foot Print ได้จำ�นวนหนึ่งแล้วกัน


กระจกสะท้อนแสง+Smartphone

เคยเห็นแนวคิดเรื่องการนำ�กระจกสะท้อนแสงเพื่อเพิ่มความสว่างในอาคารมาหลายแบบ และเป็น แนวคิดส่วนหนึ่งของความพยายามเพิ่มแสงสว่างโดยอาศัยแสงจากธรรมชาติโดยไม่ใช้แสงประดิษฐ์ Designer ชาวอังกฤษ Lucy Norman ได้ออกแบบกระจกเพื่อสะท้อนแสงสว่างไปยังส่วนต่างๆ ภายในอาคาร ภายในชือ่ ว่า Sun Still โดยติดตัง้ กระจกกลมทีส่ ว่ นนอกเพือ่ สะท้อนเข้ามาภายในทีต่ ดิ ตัง้ กระจก กลมอีกชุด โดยมีความพยายามทีจ่ ะให้แสงทีไ่ ด้มคี ณ ุ ภาพเทียบเท่าแสงจากหลอด Daylight และด้วย Technology ของคอมพิวเตอร์และ Smartphone Sun Still ควบคุมโดยผ่าน App ในสมาร์ทโฟน โดยติดตาม ความเคลื่อนไหวของบุคคล และกำ�หนดตำ�แหน่งของกระจกให้ได้แสงสว่างที่สุดและได้ประสิทธิภาพสูงสุด และอุปกรณ์ดงั กล่าวจะปรับมุมองศาตามการเคลือ่ นทีข่ องดวงอาทิตย์ เพือ่ ให้ได้แสงคงทีต่ ลอดทัง้ วัน Sun Still ช่วยลดการใช้แสงประดิษฐ์โดยอิงไปยังแสงธรรมชาติ แม้แต่ในวันทีม่ เี มฆก็ยงั สามารถให้ความสว่าง มากกว่าแสงประดิษฐ์ 2 เท่า อย่างนีน้ า่ จะนำ�มาใช้ส�ำ หรับทีจ่ อดรถใต้ดนิ ของเราบ้าง เพราะทัง้ มืดอับและมีควันพิษ



“กำ�ลังรวมของ Solar Power เริ่ม แซงหน้า กำ�ลังผลิตที่ได้จากกังหันลม (Wind Turbine) ทำ�สถิติครั้งแรกในรอบปี 2013 ด้วยกำ�ลังการ ผลิต 36.7 GW เมื่อเทียบกับกำ�ลังลมที่ 35.5 GW”


กำ�ลังการผลิตพลังงานไฟฟ้าที่ได้มาจาก Solar Cell ที่รายงานโดย Bloomberg New Energy Finance ซึ่งได้แจ้งว่ากำ�ลังการผลิตรวมที่ ได้เป็นผลผลิตมาจาก Solar Cell ที่เรียกว่า Photovoltaic Plantจะมีกำ�ลังการผลิตรวมที่ 36.7 GW ซึ่งเป็นกำ�ลังการผลิตทั่วโลก ในขณะที่กำ�ลังผลิตอัน เนื่องมาจาก Solar Cell กลับเพิ่มขึ้น 20% ในปีที่ ผ่านมา อย่างไรก็ตามข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลที่ได้ จากขบวนการเปลี่ยนพลังงานแสงแดดให้เป็นไฟฟ้า ผ่านแผงรับพลังงานแบบ Photovoltaic (PV) เท่านัน้ ในขณะที่ยังมีพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ด้วย เทคโนโลยีอื่นๆ เช่น solar water heaters ที่ผลิต น้ำ�ร้อนและเทคโนโลยีชนิด concentrated solar power plants ที่สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าผ่าน การรวบรวมแสงอาทิตย์ให้ focus ไปยังจุดรวบรวม เพื่อสร้างพลังงานความร้อนสูง เพื่อหมุน Turbine โดยตรงซึ่ ง ถ้ า รวบรวมข้ อ มู ล ทั้ ง หมดแล้ ว น่ า จะได้ ตัวเลขสูงกว่าของข้อมูลทีม่ าจากเฉพาะเทคโนโลยี PV

อย่างเดียว เหตุผลใหญ่ในการเพิ่มขึ้นของปริมาณ การผลิตน่าจะมาจากราคาของแผ่น Solar ต่อ วัตต์ ที่ลดลงและการเพิ่มปนิมาณการใช้ภายในประเทศ ของทั้งญี่ปุ่นและจีนที่ป็นแหล่งผลิตใหญ่ๆ (อะไรที่ ประเทศจีนหรือคนจีนใช้มากๆจะส่งผลให้ราคาของ ในตลาดลดลง) และในการกลับกันจำ�นวนการติดตั้ง พลังลมเริ่มลดลงหรือคงตัวในภาคพื้นยุโรป ในขณะ ทีเ่ ริม่ ในส่วนของประเทศสหรัฐอเมริกาและจีน (ทีไ่ ม่มี กฎหมายควบคุมในเรื่องดังกล่าว) กลับมีการลุงทุน ในการผลิตพลังไฟฟ้าด้วย PV มากขึ้น เนื่องจากผล ตอบแทนการลงทุนทีน่ า่ สนใจขึน้ อีกทัง้ ยังได้พลังงาน สะอาดเป็นผลตอบแทนอีกด้วย


MITTICOOL FRIDGE แค่ 1500 บาทก็มีตู้เย็นเอาไว้เก็บอาหารและไม่ต้องใช้ไฟฟ้าอีกด้วย

จะว่าไปแล้วหน้าที่หลักๆของตู้เย็นก็คือ เก็บและถนอมอาหาร และถ้าแนวคิดเรื่อง Urban Farm ได้ รับการพัฒนาไปจนสูงสุด เราอาจไม่จำ�เป็นจะต้องมีตู้เย็นขนาดใหญ่ไว้เก็บอาหารนานๆ เพราะสามารถเข้าถึง แหล่งอาหารได้ไม่ยากและสด Coolest Gadget เป็นผลงานการออกแบบของ Mansukh Prajapati โดย อาศัยหลักเกณฑ์ระเหยของเหลวและด้วยการ Design ที่ทำ�ให้เจ้า MITTICOOL FRIDGE น่าจะเข้ามาเป็น อุปกรณ์สำ�คัญอันหนึ่งในครัวเจ้าตู้เย็นอันนี้ นอกจากจะไม่ใช้ไฟแล้วยังมีข้อดีของการออกแบบ กล่าวคือ ที่ ฝาด้านหน้านั้นเป็น Plastic ใส เพื่อให้เห็นอาหารที่ใส่ไว้ภายใน หลักการทำ�งานของเจ้าตู้เย็น MITTICOOL FRIDGE นั้น เริ่มต้นจากการปล่อยหยดของน้ำ�มาทางด้านข้าง และเมื่อน้ำ�เริ่มระเหยด้วยอุณหภูมิห้องปรกติ ก็จะทำ�ให้อุณหภูมิภายในลดตามลงไปด้วย และการออกแบบให้ด้านบนเป็นส่วนที่เก็บน้ำ� พร้อมฝาปิดที่ทำ� ด้วยดินเผา โดยด้านหน้ายังได้เพิ่มอุปกรณ์ก๊อกเล็กๆเพื่อเปิดน้ำ�เย็นออกมาจากก๊อกไว้ใช้บริโภคเป็นน้ำ�ดื่ม ในขณะที่พื้นที่บริเวณตอนกลางที่มีอยู่สองส่วนเป็นส่วนหลักสำ�หรับเก็บอาหาร โดยแบ่งเป็น ส่วนบนสำ�หรับ เก็บพืชผักและส่วนล่างสำ�หรับผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น นม, และตัวของตู้เย็นเองนั้นก็ทำ�มาจากดินเผา ซึ่งน้ำ�จะซึม ออกมาและระเหยไป เป็นหลักการของไทยในสมัยยังไม่มีไฟฟ้าใช้ โดยการใส่น้ำ�ในช่องมันจนเย็นใช้ทำ�ข้าวแช่


เราสามารถทดลองทำ�การเก็บอาหารเองได้จากตู้เย็นทำ�เอง

ลักษณะของตู้เย็นโบราณที่ยังคงเหลือแต่ใน Museum


ด้วยน้ำ�หนักแค่ 2 กิโลกรัม สำ�หรับ Portable Wind Turbine พักหลังจะเห็นผลิตภัณฑ์แบบทีใ่ ช้ชาร์จโทรศัพท์ประเภท Smartphone ออกมาค่อนข้างหลายประเภท แต่ประเภท Wind Turbine พกพาแบบนี้ก็ดูจะน่าสนใจไม่น้อยเลยที่ออกแบบมาสำ�หรับชีวิตที่ไม่ต้องพึ่งพา พลังงานจากไฟฟ้าจาก Grid (ระบบไฟฟ้ากลาง) หรือการใช้ชีวิตแบบ Backpack นานๆในที่ห่างไกลกระแส ไฟฟ้า และด้วยผลิตภัณฑ์ Wind Pax ซึ่งเป็นโปรเจคใน Kickstart เพื่อการระดมทุน และเจ้า Windpax นี้มี ออกมาในสองขนาดความต้องการใช้


ชนิดแรกเป็นขนาดเล็กในชื่อว่า The Wisp ซึ่งเมื่อพับทั้งหมดแล้วจะมีขนาดเล็กพอจะใส่กระเป๋า Backpack และเมื่อกางออกจะมีขนาดสูงกว่า 2 เมตรและกว้างราวๆ 1 เมตร ให้กำ�ลังผลิตไฟฟ้า 25 W ใน ลมขนาดปกติ และเก็บพลังงานไฟฟ้าที่ได้ไว้ในแท่งแบตเตอรี่ที่ถอดออกได้ ซึ่งเพียงพอจะชาร์จ I phone ได้ 3 ครั้งต่อการชาร์จ 1 ครั้ง หรืออาจจะชาร์จได้โดยตรงจากตัว Wind Turbine ก็ได้ อีกทั้งตัว Battery pack ทรงแท่งยังมีหลอด LED ไว้ด้านบนเพื่อทำ�หน้าที่เป็นไฟนำ�ทางอีกด้วย การชาร์จอุปกรณ์ก็สามารถทำ�ได้ หลายวิธี จะแขวนจากต้นไม้ตั้งบนพื้นยึดกับขอบโต๊ะหรือราวด้วยตัวจับ หรือแม้แต่ยึดติดบนพื้นดินและติด ตั้งด้วยสายเคเบิ้ล ชนิดที่สองชื่อว่า The Breeze โดยมีน้ำ�หนัก 4.5 กิโลกรัมที่ความสูงกว่า 3 เมตร มีกำ�ลังผลิต 100 W มาพร้อมกับ Adaptor RV. และ USB battery pack เหมาะสำ�หรับการตั้งแคมป์หรือคณะสำ�รวจ และตัว ใบยังมีระบบโครงยึดที่ป้องกันความเสียหายจากการกระทบ หรือกรณีลมแรง โดยจะไม่ทำ�อันตรายต่อตัวใบ ของ Turbine ให้ได้รับความเสียหายอีกด้วย


แนวคิดเก้าอี้ดนตรี พัฒนาเป็นที่จอดรถในตอนกลางวันและ Apartment ในยามกลางคืน

แนวคิดเรื่องเก้าอี้ดนตรีหรือสลับที่กัน ใช้งานสำ�หรับกิจกรรมในเมืองหลวงที่มี Urban Density สูงๆสลับการใช้สอยพื้นที่ไปมาระหว่าง กันตามความจำ�เป็นและการใข้งาน Hot Parking นี้ เ ป็ น ผลงานการ ออกแบบของ Designer Aaron Cheng โดย ได้เสนอแนวคิดที่ว่า พื้นที่เดี่ยวกันสามารถเป็นที่ จอดรถสำ�หรับผู้มาติดต่อธุระในบริเวณใกล้เคียง และเปลี่ยนกลับเป็นที่พักอาศัยเมื่อเจ้าของกลับมา ในตอนเย็น ด้วยระบบ Pneumatic Structure (เป็นระบบที่สร้างความดันให้เป็นบวกสำ�หรับให้ โครงสร้างคงรูปได้ด้วยแรงดันอากาศ) Apartment ดั ง กล่ า ว ออกแบบมา สำ�หรับคนโสดทีเ่ พิง่ เริม่ ทำ�งานในเมือง ซึง่ ส่วนใหญ่ มักจะทำ�งานใน Office ที่มีเวลา เข้า-ออก แน่นอน และมักเป็นกลุ่มบุคคลที่ต้องมี Social Life แบบ สังสรรค์ ทำ�ให้ใช้ที่พักเป็นแค่ที่พักพิงยามค่ำ�คืน กลุ่มคนเหล่านี้มักจะเลือกที่พักในย่านกลางเมือง ที่มีการคมนาคมโดยขนส่งมวลชนและไม่แพง การ

ต้องเช่า Apartment ทัง้ เดือนแต่ใช้ได้แค่ครึง่ เดือน กลับทำ�ให้สิ้นเปลือง แนวคิดของ Hot Parking คือ อาคารที่ จอดรถง่ายๆเป็นโครงเหล็ก โดยมีการ Grouping ส่วน Core หรือทางสัญจรร่วมและงานระบบต่าง อยู่กลางระหว่าง Apartment แต่ละชุด ซึ่งเป็น โครงสร้างอย่างที่เห็นทั่วไป ด้วยแนวคิดนี้ ส่วนที่ เพิ่มไปก็คือ แกนกลางที่ประกอบด้วยบันได ส่วน Living Unit ที่เป็น Fix Unit ประกอบด้วย ห้อง นอน ห้องครัวและห้องน้ำ� ส่วนที่เหลือก็แค่รอให้ เจ้าของรถถอยรถออกไปเสียที จะได้กลับบ้านนอน



Wind Turbine ฝีมือ Philippe Starck ทั้ ง งามทั้ ง ใช้ ง านดี

สืบเนื่องจากแนวคิดและปรัชญาในการออกแบบของ Philippe Starck ทั้งในแง่ความงามและการใช้ งาน รวมทั้งได้สร้างสรรค์ Wind Turbine ขึ้นมา 2 แบบ 2 ชนิด โดยตั้งชื่อว่าRevolution air ซึ่งได้เปิดตัว แบบร่างในปี 2008 รวมทัง้ ร่วมงานกับบริษทั ผลิตไฟฟ้า Pramac เพือ่ ทำ�ให้แบบร่างเป็นรูปธรรมด้วยรูปแบบ ที่โฉบเฉี่ยวกลมกลืนตาม Style ของ Starck ด้วยDesign Classic แบบ3ในทาง Starck ออกแบบมาเพื่อ ผลิตพลังงานใช้ตามบ้านเรือน หรือเหมาะสำ�คัญกับกำ�ลังผลิต 400 W ด้วยขนาด 90 Centimeters และ กว้าง1.45 เมตร สำ�หรับรุ่น Welicoid และตอบรับกับลมในทุกๆทิศทางและกระแสลมต่ำ�



กระป๋องเก่าจากเมืองBat-Yam ที่เมืองBat-Yamประเทศ Israel Designer Lihi, Roee และ Galit ได้รวบรวมบรรดากระป๋อง รุ่นเก่าๆ นำ�มาขัดล้างและยึดติดกันด้วยน๊อต จนเป็น Concept ง่ายๆแต่ได้ผลในการสร้างสรรค์ “Redefine Public Space” และเป็นผลงานสร้างสรรค์เพื่อนิทรรศการในงาน Bat-Yam International Biennale of Landscape Urbanism ในปี2008 ในเขตRecyclant การต่อเนื่องของกระป๋องชุบที่ยึดติดกันง่ายๆนี้ได้ผล ออกมาเป็นรูปทรง3มิติ ต่อเนื่องกันของ Public Space ที่ทำ�ให้นึกถึงกระโจมและการใช้ชีวิตในกลางแจ้ง แต่ นั้นแหละโครงสร้างจากกระป๋องชุบนี้ต้องการโครงสร้างจริงๆขึ้นมา Support ดังจะเห็นได้จากแกนเหล็กที่ไขว้ กันเพือ่ รักษาสภาพของโครงสร้างรูปกระโจม ความน่าสนใจกลับอยูท่ กี่ ระป๋องนัน้ กลวงทัง้ สอง ด้าน ทำ�ให้มองเห็นผ่านช่องกลางเสมือนรถนั่งรอบตัวผ่านเงาสะท้อน เกิดเห็นภาพและมิติที่ น่าสนใจ อีกทั้งเป็นตัวดึงเอาภายนอก-ภายในเข้าหากันผ่านทางขอบSkinบางๆของกระป๋อง



Highways ในอนาคต งานเรือ่ งการลดภาวะโลกร้อนเป็นเรือ่ งของทุก คน คราวนี้รายใหญ่ก็เข้าร่วมกับเขาด้วย ARUP กับ วิสัยทัศน์อนาคตของ Highways เพื่อลดคาร์บอน สำ � หรั บ ข้ อ มู ล ที่ ว่ า ส่ ว นใหญ่ ภาวะคาร์ บ อนมั ก จะ เกิดจากการเผาไหม้ของเครื่องยนต์และจะกระจุก กั น บนท้ อ งถนนโดยมี ตั ว เลขว่ า มี ก ารเพิ่ ม ขึ้ น ของ คาร์บอน3% บนท้องถนน (และ8%ในประเทศจีนและ อินเดียที่เป็นประเทศอุตสาหกรรมเกิดใหม่) และแนว โน้มที่ว่ารถยนต์ในอนาคตก็จะพัฒนาไปจนแตกต่าง กับปัจจุบันทั้งเรื่องSmart Cars และ Smart Road ด้วยแนวคิดทั่วๆไป ด้วยการพัฒนารถยนต์หรือ พาหนะในอนาคตด้วยวัสดุที่เขาใช้ (เช่น อลูมิเนียม, คาร์บอนไฟเบอร์, เหล็กที่ Strength สูง) ประกอบกับ การออกแบบรูปทรงAerodynamics สิ่งต่างๆเหล่า นีล้ ว้ นมีผลกับกาีเก็บประจุในแบตเตอรีโ่ ดยตรง ทำ�ให้ รถยนต์ฉลาดขึ้น ติดต่อสื่อสารกันมากขึ้น ลดอุบัต ติเหตุระหว่างกัน หรือกับคนเดินถนนลง อีกทั้งระบบ นำ�ร่องผ่านดาวเทียม จนไม่จำ�เป็นต้องมีคนขับรถ รถยนต์ในอนาคต เราเพียงแค่บอกจุดหมายปลาย ทาง พอเทียบได้กับปัจจุบัน Smart Phone ก็จะนำ� มางเราได้อยูแ่ ล้ว เพียงแต่บอกออกมาเป็น Graphic กับเสียง ซึ่งถ้าเปลี่ยนมาเป็นการควบคุมรถยนต์ โดยตรงเท่านั้น และนี่เป็นเพียงการเปิดทางให้บริษัท รถยนต์สำ�หรับผู้สูงอายุที่ไม่สามารถขับรถเนื่องจาก สายตา หรือแม้แต่ผทู พ ุ พลภาพ แค่นนั้ แหละรถยนต์ เหล่านีก้ ต็ อ้ งอยูใ่ นเส้นทางเฉพาะทีอ่ อกแบบไว้ส�ำ หรับ รถยนต์Smart Cars เหล่านี้ ดังเช่นถนนก็ออกแบบ ให้แคบลง มีป้ายบอกทางต่างๆ อาจไม่มีความจำ�เป็น อีกต่อไป รวมทัง้ ป้ายบอกความเร็ว และทางข้ามต่างๆ และทำ�ให้ถนนสามารถเพิม่ ความจุได้อกี มากเนือ่ งจาก ระยะระหว่างรถไม่จำ�เป็นต้องเผื่อไว้สำ�หรับระยะเบรค รถยนต์คงจะวิ่งได้ด้วยพลังงานไฟฟ้าใากกว่า เชื้อเพลิง และการประจุไฟฟ้าก็สามารถกระทำ�ได้

ผ่านInduction Coil ที่อยู่ในตัวถนนเอง ซึ่งทำ�ให้รถ ต้องวิ่งอยู่บนHighway เท่านั้น เพราะเมื่อหลุดออก

ไปก็คงไม่มีพลังงานมาสนับสนุนและหยุดลงและนี่ยัง เป็นเพียงการพูดถึงเฉพาะHighway ในเขตเมือง เรายังไม่นบั ถึงการเจาะอุโมงค์ และปัญหาอืน่ ๆระหว่าง ก่อสร้าง และถ้าเป็นเรื่องของโลกทั้งใบและมีความ ต้องการสูงขึ้น ทั้งในด้านทรัพยากรและพลังงานอีก สัก3เท่าในปี2050จนถึง140พันล้านตันต่อปี จนถึง จุดที่น่ากลัวคือ แพงจนไม่สามารถรับได้อีกต่อไป


ARUB มองภาพดังกล่าวและนำ�เสนอออกมาน่าสนใจและมีทางออก ตามภาพจะเห็นว่าเมื่อถึงจุดที่ARUB จะนำ�เสนอก็คือ ทุกสิ่งล้วนมีประโยชน์ และถูกใช้เป็น ประโยชน์ เช่น Bioluminscent -ต้นไม้ชีวภาะเรืองแสง (น่าจะมาจากTechnologyวิศวพันธ กรรมในการควบคุมยีนต์เรืองแสงจากแมลงกระพรุนตัดต่อกับพืชในระดับห้องทดลอง) เป็นไฟ ส่องถนนขนาดใหญ่ เจ้าหุน่ Drones มันลอยอยูก่ ลางท้องฟ้าเพือ่ ตรวจการณ์ และควบคุมจราจร เจ้าถนนเองก็เป็นตัวSolar Panel เก็บพลังงานไฟฟ้าและเรืองแสงได้เมื่อความมืดมาเยือน มี Masstransit ขนาดใหญ่วงิ่ ขนาบไปกับทางรถส่วนตัวทีไ่ ร้คนขับ ซึง่ ก็จะมีไว้ส�ำ หรับผูท้ สี่ ามารถ มีกำ�ลังพอจะจ่ายเป็นค่าพาหนะได้ ในขณะที่ประชาชนทั่วไปต้องหันมาใช้บริการMastrasit

ARUB เองยังไม่ได้ให้ภาพละเอียดมาก แต่เชื่อว่าเป็นวิสัยทัศน์ที่น่าสนใจเลย


จากบ้านประหยัดพลังงาน มาสู่บ้านใช้พลังงานน้อย ผลิตพลังงานเอง อีกทั้งยังชาร์จไฟรถ Hybrid ได้ด้วย แนวคิดเรื่อง ZEB (ZERO Energy Building Standard) เป็นมาตราฐานที่ช่วยสร้างพื้นฐานสำ�หรับ อาคาร ประเภทนี้ และที่เป็น Prototype สำ�หรับอาคารขนาด 220 ตารางเมตร สำ�หรับครอบครัวธรรมดาออกแบบ โดย Designer ชาว Norway Shøhetta เมื่อเปรียบเทียบกันแล้วกับมาตราฐานอื่นๆเช่น PASSIVHAUS ที่ตั้งมาตราฐานไว้ว่าจะใช้พลังงาน เท่าไร แต่อาคารจะทำ�ด้วยวัสดุบางชนิดที่อาจเป็นผลเสียต่อสภาพแวดล้อม ในขณะที่มาตราฐาน ZEB นี้ พิจารณาลึกลงไปในส่วนของการใช้วัสดุ และแม้แต่พลังงานที่ใช้ในการผลิตวัสดุก็ถูกกำ�หนดโดยมาตราฐาน ใหม่นี้เช่นกัน รวมทั้งหักลบกับพลังงานที่ใช้ในการใช้งาน อีกทั้งพลังงาน ในการกำ�จัดวัสดุก่อสร้างนั้นด้วย ทำ�ให้เหลือชนิดของวัสดุที่เป็นมิตรจริงๆต่อธรรมชาติเอาแบบเนื้อๆกันเลย



บ้าน IKEA ผลงานของ Designer ของ IKEA, บริษทั ที่ ดำ�เนินงานภายใต้แนวคิดปรัชญาการออกแบบ Flat pack กล่าวคือของทุกอย่างต้องใส่กล่องแบนๆ ขนส่ง ง่าย มีคุณภาพ และมีประโยชน์ใช้พื้นที่อย่างคุ่มค่า คราวนี้เป็นการออกแบบที่ออกจะท้าทาย เพราะบ้านพักชั่วคราวสำ�หรับผู้อพยพ เมื่อแกะมา ประกอบจะกลายเป็นอาคารชัว่ คราว ขนาด 18 ตร.ม. เรียกว่า Refuges Housing Unit (RHU) เป็นอาคาร ชั่วคราวขนาดเบาที่กบกาน ในขณะที่อาคารชั่วคราว สำ�หรับผู้อพยพทั่วไป จะมีครวามสามารถคงทนได้ สัก 6 เดือน แต่ด้วยแนวคิดของ IKEA RHU จะมีอายุการใช้งานจนถึง 3 ปี เป็นอย่างน้อย และในหลายๆกรณี ผู้อพยพต้องใช้ชีวิตใน Camp อยู่เป็นเวลาเกือบ 10 ปีกว่าจะได้รับการโยกย้ายสู่ ภูมิลำ�เนาใหม่ แนวคิดของ RHU ไม่ง่ายและไม่ถูก แต่ อาศัย Technology และแนวความคิดมาก ประมาณ ว่ามีราคา 200,000 บาทต่อUnit แต่แลกมาด้วยความ สะดวกในการขนส่ง

จากในภาพเมื่ออุปกรณ์ทั้งหมดถูกบรรจุ ไว้ในกล่องกระดาษไม่กี่กล่อง และจะถูกประกอบเป็น อาคารภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 วัน อาคารชั่วคราว ดังกล่าวมีทางเข้าสองทางทัง้ สองด้าน หลังคาเป็นสอง ชั้น กล่าวคือ ชั้นล่างเป็นเต้น Plastic แบบทึบ ส่วน ด้านบนเป็น Plastic แบบใส ด้วยแนวคิดแบบ Green House ด้วย Gap อากาศดังกล่าวจะเป็นฉนวนและ เก็บกักโดยในตอนมีแสงให้เปลี่ยนเป็นความอบอุ่น ในยามที่แสงหมดไป และไฟ Solar Cell แบบ USB เป็นพลังงานแสงสว่างที่บรรจุในชุด ผนังอาคารเป็น วัสดุชนิดใหม่ ชื่อว่า Phulite เป็น Polymer ที่ใสขุ่น ให้แสงส่องผ่านได้ในเวลากลางวัน และขุน่ พอจะรักษา ความเป็นส่วนตัวของผู้อาศัยได้ในเวลากลางคืน จากข้อมูลของสหประชาชาติ ยังมีผอู้ พยพ ที่ต้องอาศัยอยู่ในอาคารชั่วคราวแบบนี้อีก 3.5 ล้าน คนทั่วโลก



บ้านกระดาษ ผลกระทบจากกฎหมาย Zoning ของประเทศสวิสในปี 1979 ที่มีผลต่ออาคารที่น้อยกว่า 150 ตารางฟุต (ประมาณ 15 ตารางเมตร) ทำ�ให้เกิด Movement ทางการออกแบบอาคาร-กระท่อมขนาดเล็ก(มากๆ) ในชื่อ ว่า Friggebods ผลงานการออกแบบ Friggebods หลังนีค้ อื Mattias Lind, White Architekter โดยมีชอื่ ว่า Chameleon Cabin อาคารหลังนี้สร้างขึ้นด้วยกระดาษและอาคารดังกล่าวจะมีมุมมองที่แปรเปลี่ยนไปได้ ตามมุมมองของผู้ดูเป็นองค์ประกอบของ Façade ขาว-ดำ� ด้วยการออกแบบเป็น modular design ทำ�ให้ อาคารที่ต่อกันได้ยาวไปเรื่อยๆถึง 100 เมตรและมีน้ำ�หนักแค่ 100 กิโลกรัม โดยมีโมดุลย่อยมาประกอบกัน อีก 95 ชิ้น ใช้วัสดุหลักคือ กระดาษลูกฟูก ขนาด 2 mm. ส่วนผนังกับหลังคาประกอบด้วยโมดุลย่อยที่มีการ เกาะเกี่ยวกับคล้าย Lego ทำ�ให้สามารถขยายและมีความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยน



บ้านต้นไม้ใน Ho Chi Minh

และแล้วสถาปนิก Vo Trong Nghia ก็นำ�เสนอผล งานน่าสนใจ ชิ้นที่สี่ซึ่งเป็นการออกแบบจากแนวคิด ทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ล้ำ�หน้า และน่าสนใจต่อแนวคิด ดังกล่าว โดยการนำ�เสนอแนวคิดที่จะทำ�ลายความต่อ เนื่องระหว่างภายใน-ภายนอก ให้มีความต่อเนื่อง Vo ได้ออกแบบบ้านในที่ดินตาบอดที่เข้าถึงได้โดยการเดิน หรือจักรยานเท่านั้น จาก Web Site Diagram “Vo Trong Nghia” ได้นำ�เสนอแนวคิด ถึงการรวบรวมชิ้นและ องค์ประกอบหลักๆของ Femetion ท่ามกลาง Context ของตึกแถวที่เป็นอาคารใจกลางย่านการค้าในเขต ค้าขายทัว่ ไปในแถบเอเชีย และด้วยลักษณะน่าสนใจก็คอื คอนกรีตเปลือยที่เป็นผู้บังอาคาร ซึ่งผนังดังกล่าวได้มา จากการเอาคอนกรีตลงไปในไม้แบบทีเ่ ป็นไม้ไผ่ ซึง่ ทำ�ให้ เกิดเส้นสายลายพาดที่น่าสนใจ ก่อให้เกิด Mass แบบ กล่องจำ�นวน 5 กล่องที่ต่อเชื่อมต้นด้วยสะพาน และที่ น่าสนใจที่สุดก็คือ เหนือกล่องทั้ง 5 จะเป็นที่ปลูกต้นไม้ และด้วยแนวคิดทีจ่ ะเป็นการนำ�ต้นไม้ทหี่ ายไปกลับเข้าไป กลางกรุง Ho Chi Minh


Ho Chi Minh


บ้านแบบเกมส์ Tetris

หลายปีก่อนมีเกมส์Computer ชื่อ Tetris เป็นเกมส์ง่ายๆในการช่วยบล๊อคโดยใช้ Basic Form ง่ายๆ และหนึง่ ในรูปทรงง่ายๆนัน้ ก็มเี หตุผลทีท่ �ำ ให้มนั มีความสามารถได้ทงั้ เกาะเกีย่ วและขึน้ ทางสูง Chinese designer studies ชื่อ Liu Lubin ได้ออกแบบบ้าน (หรือเรียกว่าห้องดี?) ที่ได้มาจากข้อมูลเรื่องการใช้พื้นที่ น้อยที่สุด ที่ยังขยับตัวได้โดยยังสามารถทั้งนั่งและยืนได้อย่างสบายๆ บ้านกล่องที่ว่านี้ออกแบบเป็น Modularทีเ่ ป็นโครงสร้าง Fiber ทีส่ ามารถวางซ้อนทับกันขึน้ ไป และตัวโครงสร้างเอาก็ท�ำ หน้าทีเ่ ป็นบันไดในตัว ทีเ่ หลือ ก็แค่ต่อเชื่อมงานระบบเข้าหากัน และด้วยความน่าสนใจของ design นี้ที่เป็นการออกแบบ Modular เพียง 1 Units แต่การซ้อนประกบจะเป็นตัวแปรสำ�หรับการ design ให้แปรเปลี่ยนไปตามความต้องการ เช่น เป็นบ้าน กลุ่มเฉพาะ หรือเป็นที่พักขนาดใหญ่ของชุมชน เป็นต้น ภายใน Unit ประกอบด้วย ส่วนพักผ่อน ห้องทำ�งาน ครัว และ Unit Mock Up นี้ได้ตั้งแสดงอยู่ที่ Beijing Park, ปักกิ่ง



URBAN FARM เริ่มนับ 1 แล้ว ปัญหาเรื่อง Urban Farm เริ่มเข้ามามีบทบาทกับ การแก้ปญ ั หาเมืองและสภาวะโลกร้อนมากขึน้ และถ้า เราสามารถผลิตอาหารได้มากขึ้น และขณะเดียวกัน ก็ช่วยลดปริมาณขยะของ Shipping Container ลงด้วย ประกอบกับปัญหาของพืน้ ทีใ่ ช้สอยจำ�นวน มาก การทำ� Farm และสวนคงจะไม่สามารถอยู่ตาม แนวราบตามธรรมชาติเดิมๆได้อีกแล้ว แต่ควรจะดัน ขึ้นทางสูงกันบ้าง และแนวคิดในการแก้ปัญหาดัง กล่าว ก็คือ การทำ� Farm จาก Vertical Shipping Container ความที่ Container หรือ Shipping Container ที่ เ กิ ด มาจากวงการอุ ต สาหกรรม การขนส่ง ที่ต้องการมาตรฐานและความเป็น Modular รวมทั้งความสามารถในการเกาะเกี่ยวซึ่งกัน และกัน และความคงทน ด้วยเหตุนี้เจ้า Shipping Container ได้ทำ�ให้เราได้พัฒนาลักษณะของมันมา เป็น Portable Storage, Portable Home, Portable Office และอะไรต่อมิอะไร และถ้าเป็นเรื่องของ การผลิตอาหารล่ะหวังว่า Container คงจะร่วมมีสว่ น การพัฒนาด้วยไม่นอ้ ย และหนึง่ ในความพยายามทีจ่ ะ พัฒนาแนวคิดเรือ่ ง Urban Farm ทีเ่ สนอโดย Hong Kong design studio OVA ที่เคยนำ�เสนอแนวคิด เรื่อง “Shipping Container Hotel Concept” โดยแนวคิดดังกล่าวอาศัยความเป็น Modular ของ Shipping Container ที่พัฒนาให้เป็นระบบนิเวศน์

โดยส่วนของ URBAN FARM ก็จะมีหน้าที่แตกต่าง กันแต่ยังคงทำ�งานร่วมกันเป็นระบบ Hive - Inn City Farm เป็นเรื่องของ Project นี้ และเช่นเดียวกับอาคารพักอาศัยและ อาคารสูงส่วน Facility ต่างๆก็จะเกาะติดกับแกน กลางในลักษณะ Plug in กับตัว Core ที่เป็นทั้งส่วน โครงสร้างและ Support งานระบบ และส่วน Modular ต่างๆนัน้ สามารถเคลือ่ นย้าย หรือแม้กระทัง่ มีเจ้าของ เฉพาะแปลงหรือหนึ่ง Container อาจเป็นสวนพันธุ์ ไม้ดอก หรือแยกเป็นการเกษตรหรือพืชผักปลอด สารพิษที่ส่งเฉพาะร้านหรือภัตตาคารเฉพาะที่เป็น เจ้าของ Container Modular นั้นๆ หรือแม้กระทั่ง การทำ�การเกษตรในลักษณะของฟาร์มขนาดใหญ่ ทั้งนี้เป็นเพราะความเป็น Modular นั้นเอง และที่น่า สนใจกว่าอาคารอื่นๆก็คือ สามารถจัดเป็นส่วน Mix Use เพื่อเพิ่มเติมส่วนพักอาศัยหรือส่วน Office เข้าไปแทรกระหว่าง Modular ได้ และแนวคิดสำ�คัญ ของ Urban Farm ก็คือ การทำ�ให้ระบบการเกษตร ทีแ่ ต่เดิมต้องอยูใ่ นส่วนระบบภายนอกของเมืองทีไ่ กล ด้วยระยะทางเข้ามาอยูก่ ลางใจเมืองในย่าน Urban ซะ เลยและ OVA ทีเ่ ป็น Designer ของ Project ได้เสนอ ว่าในระบบนิเวศน์ซึ่งจะประกอบ


ด้วย ระบบฝนภายในเพื่อให้ใกล้เคียงธรรมชาติ อีกทั้งระบบ Recycle Water ที่ทั้ง Recycle ของเสียจาก ทั้งผู้อยู่อาศัย, สัตว์เลี้ยง, ปศุสัตว์ และจากเกษตรกรรม ครบเครื่อง โดยการนำ�ของเสียดังกล่าวมาผลิตก๊าซ ชีวภาพและติดตั้ง Solar Cell พร้อม Low Wind Turbine เพื่อผลิตพลังงานและ Concept ดังกล่าว กำ�ลัง จะเริ่มสร้างในที่ 1st St. รัฐ NEW YORK และหวังว่าจะเป็นตัวแบบของ Urban Farm ต่อไป

รายละเอียดของพืชที่เพาะปลูกยัง คงเป็นแนวๆ CONCEPTION


ป่าคอนกรีต (ต้นไม้)เริ่มใกล้ความจริง, Doevi’s

อาคาร Bosco Vertical โดย Stefano เปิดตัวได้อย่างฮือฮาในปี 2011 เมื่อมีภาพ Rendering อาคารก่อให้เกิดแนวคิดที่น่าตื่นใจ ในหลายเว็ป จนนิตยสาร Financial Times ได้กล่าวถึงอาคาร Bosco ว่าเป็นอาคารที่น่าจะตื่นเต้นที่สุดในโลกอาคาร Bosco มีความน่าสนใจเมื่อมองดูจากภาพ Concept ที่น่า สนใจเพราะอาคารถูกออกแบบให้มีต้นไม้ใน Planter เป็นส่วนหนึ่งของ Façade ของอาคาร เป็นความคิดที่ สถาปนิกหลายๆท่านได้ลองพยายามแล้วในหลายๆ Design ซึ่งก็เหมือนกับการปลูกต้นไม้ไว้หน้าบ้าน เพียง แต่สถาปนิกปลูกบ้านไว้ตามสูงและขอบของอาคาร ผลก็คือ มัน “น่าจะ” ให้ร่มเงา ป้องกันลม ฝน ช่วยฟอก อากาศ สร้าง O2 กับ Co2 ช่วยลดมลภาวะ ปัญหาใหญ่ที่สถาปนิกจะต้องแก้ปัญหาก็คือ ต้นไม้ เพราะต้นไม้ ที่ปลูกในเมืองตามถนนส่วนใหญ่จะมีปัญหาเรื่องการเติบโตเกินไป และปัญหาของราก เพราะต้นไม้มีชีวิต มี ความเปลีย่ นแปลงและตายได้ ต้นไม้ในเขตเมืองทีต่ อ้ งทนภาวะอันแร้นแค้น ในเมืองมักไม่คอ่ ยโตหรือโตช้า และ สถานการณ์บนอาคารสูงก็เช่นกัน มันทัง้ ร้อน ลมแรง แสงแดดไม่พอเพียง และ Planter เล็กๆหน้า Balcony หน้าห้องเล็กเกินไปสำ�หรับต้นไม้ที่จะโตได้ในขนาดนี้ นอกจากปัญหาทางด้านเทคนิคแล้ว ยังมีปัญหาทางด้านบริหารจัดการอีก เช่น ใครจะเป็นผู้ดูแล ต้นไม้ ระหว่างโครงการหรือเจ้าของห้อง และการออกแบบให้ผู้ดูแลสวนสามารถเข้าออกไปดูแลต้นไม้ได้ จะ ทำ�ให้เจ้าของบ้านลำ�บากใจและเป็นภาระหรือไม่อาคาร Basco Vertical กำ�ลังก่อสร้างอยู่ในมิลาน อิตาลี เป็น อีกแนวคิดใหม่ที่น่าติดตาม เมื่ออาคารเสร็จสมบูรณ์



URBAN FARM เริ่มนับ 1 แล้ว

อยากได้พลังงานจากลมแต่ทนเสียงหนวกหูของกังหันลมไม่ได้ Eco Whisper เป็นงานออกแบบของ Australia Renewable Energy Solution ด้วยรูปร่างประหลาดที่มีแนวคิดมาจาก Turbine Form ของ เครื่องพิมพ์เจท สามารถผลิตกำ�ลังได้ 20 w. แต่เงียบสนิท มันมีขนาดเส้น ผ่าศูนย์กลาง 61 เมตรและมีความสูงของ Tower ที่ระดับ 23 เมตร คาดว่า ความเงียบจะเป็นจุดขายสำ�หรับการนำ�มาใช้ในชุมชนที่ไม่ชอบความวุ่นวาย และรบกวนจากเสียง



มันไม่ใช่หลอดนีออน แล้วมันก็ไม่ใช่หลอดฟลูออเรสเซนต์

หลอดยาวๆอย่างในรูปนี้ภาษาไทยเรียกง่ายๆ แบบชาวบ้านเรียกว่าหลอดนีออนบ้าง หลอดผอมบ้าง เป็นหลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนต์ เป็นหลอดไฟที่มี การพัฒนามาอย่างต่อเนื่องและมีใช้อย่างแพร่หลาย และมีประสิทธิภ์ าพสูงกว่าหลอดใส้ (Incandescent) และในภาพคือหลอด LED ใน Form factor ของหล อดฟลูออเรสเซนต์ ถ้าพูดถึงการประหยัดพลัง งาน ก็ มี แค่ หั ว ข้ อ สอง หัวข้อคือการทำ�ความร้อน-เย็นและแสงสว่าง หลาย ปีที่ผ่านมา หลอด LED เริ่มมีการพัฒนาให้มีการ ใช้ในเชิงพานิชย์กับราคาที่ถูกลงและอายุการใช้งาน ยาวนานขึ้นและเริ่มพัฒนา Application การใช้งาน ให้ติดตั้งง่ายขึ้น สำ�หรับ Design นี้ถือว่าเป็นการ นำ�เสนอหลอด LED ที่เรื่องประสิทธิ์ภาพไม่ต้องพูด ถึงกัน พูดถึงตัวหลอด LED แล้วอาจจะให้สว่าง คุณภาพแสงต่อราคาไม่แตกต่างนักกับหลอด LED ในระยะแรก แต่หลอดFluorescent ก็มีปัญหาใน เรื่องของการบำ�รุงรักษามากและแสงสว่างจะอ่อนๆ น้อยลงเนื่องจากการเสื่อมของการทำ�ปฏิกิริยาของ สารเรืองแสงทีฉ่ าบไว้ในหลอดและปัญหาเรือ่ งผลกระ ทับทีท่ �ำ ให้ตอ้ งหยุดใช้งานโดยภาพรวมแล้วทำ�ให้การ ทำ�งานต่ำ�กว่าอายุการใช้งานจริง หลอดชนิดนี้มีการ ใช้อย่างแพร่หลายในโรงงานและภาคอุตสาหกรรม

และค้าปลีกโดย Secment ค้าปลีกได้พัฒนาและ ปรับปรุงเทคนิคของหลอดมาหลายปีและเป็นกลุ่ม ธุรกิจแรกๆที่ใช้งานหลอดแบบนี้เมื่อหลายๆปีก่อน และนี้คือสิ่งที่บริษัท Philips นำ�เสนอต่อผู้บริโภค ในชื่อว่า instant LED lamp ซึ่งอยู่ในรูปแบบของ หลอด T8 ที่พร้อมจะใส่ในขาหลอดที่มีใช้ในปัจจุบัน โดยไม่ต้องดัดแปลงตามคุณสมบัติดังนี้ กำ�ลังไฟ 41 W. (41%น้อยกว่าการกินไฟของหลอด T8) และประสิทธิภาพสูงขึ้น 50% ปราศจากสารปรอทและสารพิ ษ เป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้อมสามารถใช้เวลาในการติดตั้งน้อยลง เช่น ทั้ง Supermarket อาจใช้เวลาแค่ 4วัน เพื่อเปลี่ยน หลอด ตัวหลอดไม่ได้ทำ�จากแก้วปลอดภัยในการ ทำ�งาน ใช้งานเพราะไม่แตก ที่สำ�คัญหลอดไม่กระ พริบ ไม่ปล่อยความร้อนสะสมทำ�ให้อุณหภูมิห้อง โดยรวมไม่สูงขึ้น


เรื่องนี้ฟังดูง่ายๆเหมือนไม่มีอะไรแปลก แต่ ข้อมูลง่ายๆคือเป็นหลอดที่ใช้อย่างแพร่หลายมากมี จำ�นวนถึง 12พันล้านหลอด ใช้งานอยู่ปัจจุบันทุกวัน และถ้าสามารถเปลี่ยนไปเป็นหลอด TLED แล้วจะมีผล มหาศาลต่อการใช้พลังงานแสงสว่างของโลก บริษัท Philip ประเมินว่าหลอด 12พันล้านหลอด มีกำ�ลังใช้ ไฟเท่ากับโรงไฟฟ้า 210 โรง (ขนาดกลาง)


มันไม่ใช่หลอดนีออน แล้วมันก็ไม่ใช่หลอดฟลูออเรสเซนต์

ปัจจุบันเทคโนโลยีที่ใช้ในการเปลี่ยนนำ�้เค็มให้มาเป็นนำ�้จืดต้องใช้พลังงานมาก และส่วนใหญ่พลังงาน ที่ใช้จะเป็นพลังงานที่ไม่ใช่พลังงานหมุนเวียน เช่น ปัจจุบันเป็นการใช้พลังงานจาก Fossil เป็นหลัก เช่น ใน ประเทศแถบตะวันออกกลาง แต่จากการวิจัยและทดลองทำ�ให้ได้มีโปรเจคนำ�ร่องที่อาศัยพลังงานหมุนเวียน ในการเปลี่ยนให้นำ�้เค็มมาเป็นนำ�้จืดด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Cucumbers โดย Designer ชาวอังกฤษ Phil Pauley โดยการสร้างถังลอยนำ�ท้ มี่ กี ระจก ด้านบนสำ�หรับให้แสงอาทิตย์สอ่ งผ่าน โดยกลไกสำ�คัญของ Product ตัวนีอ้ ยูท่ กี่ ารใช้ Reverse Osmosis (การใช้เยือ่ บางๆเป็นตัวกรองแยกนำ�เ้ ค็มออกจากน้�ำ จืด) โดยระบบดังกล่าวทำ�งานได้มปี ระสิทธิภาพมากกว่า ระบบการทำ�นำ�้จืดในทะเลเพื่อช่วยชีวิตในเรือชูชีพที่อาศัยการระเหยและกลั่นตัวจากหยดนำ�้ ด้วยระบบ Osmosis นี้ จะทำ�ให้ได้ปริมาณนำ�้จืดมากกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่าระบบ Passive ที่อาศัยแค่การ ระเหยของนำ�้ นอกจากนี้ระบบดังกล่าว ยังมีการจัดการเรื่องแยกนำ�้จืดที่กรองแล้วออกจากนำ�้เค็มและนำ�ส่ง สู่ผู้ใช้งานผ่านท่อ ระบบดังกล่าวเหมาะสำ�หรับชุมชน หรือรีสอร์ทที่อยู่ห่างไกล และนอกจากจะไม่ใช้พลังงาน จากภายนอกแล้ว ระบบดังกล่าวยังเกื้อกูลให้เป็นที่พักพิงสัตว์นำ�้อีกด้วย



มาปรับแต่งแสงของหลอดไฟด้วย Design ใหม่ในรูปแบบของ Cone เป็นทีท่ ราบกันอยูร่ ะหว่างการประหยัดพลังงาน โดยการใช้หลอดประหยัดพลังงานกับความสวยงามและ คุณภาพแสง Designer Schneid ได้ออกแบบโคมแขวน โดยมีแนวคิดจากCone หรือลูกสน โดยผลิตภัณฑ์ นี้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นด้วยมือล้วนๆ จากวีเนียร์ชิ้นๆของไม้ ash หรือไม้ Oakที่ได้รับการรับรองว่าเป็นไม้ ป่าปลูกจาก North Germany ด้วยรูป Formแบบ Organic ทำ�ให้บ้านดูอบอุ่น ในที่ขณะที่แสงบาดตาของ หลอดประหยัดพลังงานจะสะท้อนผ่านกลีบหรือผิวของวีเนียร์ไม้ เพื่อให้แสงที่นุ่มและเย็นตาขึ้น ไม้ ash ที่ขาว กว่าจะให้แสงที่สว่าง ในขณะที่ไม้โอ๊คที่เข้มกว่าจะให้แสงเงาที่ดูแล้วมีคุณค่าทางสุนทรี ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ได้ เปิดตัวใน ELLE Decor และได้รับรางวัล จากงาน Green Product Award ของ Europe ในปี 2014 นี้เอง



มาปลูกต้นไม้กันวันละต้น มาเปลี่ยนบรรยากาศทึมๆ ด้วยแสงพลูออเรสเซนต์ และบรรยากาศแห้งที่ปราศจากสีเขียวที่ชื่นตาชื่น ใจ ให้สดใสให้มีบรรยากาศสดชื่นเวลาทำ�งาน เพื่อสุขภาพและประสิทธิภาพการทำ�งาน Designer ชาวดัช ชื่อ Roderick Vos ได้รวมสองอย่าง ได้แก่ กระถางปลูกต้นไม้และดวงโคม ทำ�ให้บรรยากาศการทำ�งานเหมาะสม มากขึ้นใน Product ที่ชื่อว่า Bucket light ผลิตภัณฑ์ Bucket light ผลิตด้วย อลูมิเนียมขึ้นรูปทำ�ให้ปรอด สนิมและทำ�สี และด้วยการจัดอุณหภูมแิ สงให้ได้อณ ุ หภูมทิ เี่ หมาะสม พร้อมหลอดไฟทัง้ Down light และ Up light คงช่วยทำ�ให้บรรยากาศการทำ�งานรื่นรมย์ขึ้นมาก ความน่าสนใจของผลิตภัณฑ์นี้น่าจะมาจากผลของ การใช้ Lighting เป็นแบบ Spot เพื่อ Hi-light ให้พรรณไม้ที่นำ�มาประดับ โดยเฉพาะมุมมองที่ค่อนข้างสูง ทำ�ให้การสะท้อนของสีสนั และแสงเงาทีส่ าดไปทับกับแนวผนังหรือท้องฟ้าในลักษณะ Reflective Effects ความ จริงขณะนี้ก็มีผลิตภัณฑ์คล้ายๆกัน เพียงแต่เป็นการปลูกต้นไม้กลับหัว และไม่ได้เป็น Light Figure เท่านั้น



ไม้ไผ่กับการสร้างที่พักขนาดจิ๋วเพื่อแก้ปัญหาที่อยู่อาศัย ใน Hong Kong เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัยใน Hong Kong ที่ผู้คนต้องอาศัยอยู่ในกล่องหรือกรงที่ เป็นที่อาศัย จากข้อมูลที่ว่ามีการขาดแคลนที่อยู่อาศัย ราวๆ 280,00 ผู้คนที่ขาดที่อยู่อาศัยที่จะเรียกได้ว่าบ้าน สถาปนิก จาก Hong Kong AFFECT ได้ ออกแบบ โดยการใช้ไม้ไผ่และหวายที่เป็นวัสดุหลักและ หาง่ายในการออกแบบที่พักขนาดเล็ก (Micro-dwellings) เพือ่ ทีจ่ ะอาศัยพืน้ ทีร่ า้ งหรือโรงงานอุตสาหกรรมที่ เลิกใช้แล้ว ในบางพื้นที่ของ Hong Kong และด้วยการ ที่เป็นวัสดุถูกและหาง่าย แนวคิดดังกล่าวอาจจะช่วยแก้ ปัญหาการขาดแคลนทีอ่ ยูอ่ าศัย ทัง้ ใน Hong Kong และ ภูมิภาคAsia ตะวันออกเฉียงใต้ที่มีการเพิ่มของจำ�นวน ประชากรในเขตเมืองสูงขึ้นได้สำ�หรับใน Micro dwellings นีป้ ระกอบด้วยพืน้ ทีส่ �ำ หรับเป็น Living Area ครัว ห้องน้ำ� และโต๊ะกับข้าวแบบยืดได้ พื้นที่ทำ�งานและห้อง นอน ผนังของอาคารน้อยๆนี้จะเป็นPattern ต่างๆ เพื่อ ความเป็นส่วนตัว และต่อประสานประกอบกับเป็นทัง้ ผนัง และหลังคาต่อเนือ่ งกับพืน้ ทีใ่ ช้สอยภายใน โดยมีแนวคิด ที่ว่าอาคารเล็กๆอย่างนี้


สำ�หรับผู้มีรายได้น้อยไม่จำ�เป็นต้องเป็นอาคารที่ไม่มีคุณภาพ หากแต่อาศัยแนวคิดของวัสดุหาง่าย กับแนวคิดทาง Modular System เพื่อตอบสนองการผลิตจำ�นวนมากในขณะที่ลดค่าใช้จ่ายของวัสดุ และ ความง่ายเพื่อลดค่าแรงในการประกอบ และด้วยความที่องค์ประกอบต่างๆ flexibility ของ Design ทำ�ให้ สามารถสร้างรูปแบบแตกต่างกันได้มากมาย บ้านไม้ไผ่นี้จะสร้างขึ้นเป็นหลังเดี่ยว โดยมีการจัดการไฟฟ้าและ น้ำ�ประปา และมีการจัดการขยะและของเสียต่างๆ

จากตัวอย่างจะเห็นว่าอาคาร Micro จะได้ทดลองสร้างขึ้นภายในอาคาร โรงงานอุตสาหกรรมเก่าทีเ่ ลิกใช้แล้ว




ยานต่างดาวให้เช่า ท่างกลางบรรยากาศของเทือกเขา Alps

ประเทศออสเตรเลีย บ้านต้นไม้เป็นบ้านอันแสนสุขในวัยเด็กของหลายๆคนด้วยแนวคิดเรื่องบ้าน ต้นไม้และบ้านจิ๋วกำ�ลังได้รับความนิยมในทั่วโลก แทนที่จะสร้างมันไว้เองคนเดียวก็มีการเปิดให้เช่าและShare กัน ง่ายกว่าและได้บรรยากาศ แนวโน้มการออกแบบบ้านแบบจิ๋วจิ๋วน่ารักหลังนี้มีแนวคิดมาจากรูปทรงหลาย เหลี่ยมกับการลงจอดโดยไม่กระทบกระเทือนสิ่งแวดล้อมของยานอวกาศ อาคารหลังนีช้ อื่ ว่า UFOgel (UFO.+Vogel ซึง่ ในภาษาเยอรมันแปลว่า นก) โครงสร้างเหล็กรูปทรง เหลีย่ มนีต้ ง้ั อยูบ่ นขาลงของยานอวกาศมีหน้าตรงทรงเหลีย่ มขนาดใหญ่มองวิวหุบเขาของเมือง Lienz ประเทศ ออสเตรเลีย ท่ามกลางบรรยกาศขุนเขาและการปรับspaceภาพได้สอดคล้องด้วยการสอดspaceใช้งานลงบน กล่องขนาดเล็กและด้วยขนาดแค่ 485 ft2 หรือแค่ 50ตร.ม รูปทรง Avangard นี้ กลับใช้วัสดุท้องถิ่นหุ้มและ Theme การออกแบบไปอย่างเรียบง่าย กรุด้วยไม้ larch สะอาดตาและประโยชน์ใช้สอยสูงสุด จากในรูปส่วน Living Area ที่มีการสอดทับของ Space จากห้องกินข้าว ปีบขึ้นสูง Loft น้อยๆข้างกระจกทรงเหลี่ยมที่อยู่ กับปริมาตรเดียวกัน ภายในมี ทั้ ง เตาผิ ง เหล็ ก แบบโบราณที่ ยั ง ใช้ ฟื น ครั ว ห้ อ งนอนสองห้ อ ง ห้ อ งใหญ่ Masterและห้องเล็กสำ�หรับเด็กอีก2คน ด้วยความฉลาดใช้การซ้อนทับพื้นที่ใช้งาน และเปิดใช้แสงธรรมชาติของ บานหน้าต่างใหญ่เป็นจุดเด่น โดยมีวิวของ Tyrolean Mountain เป็นฉากหลัง บ้ า นเล็ ก ๆอย่ า งนี้ สามารถมีที่อยู่สำ�หรับคนถึง 5 คน และเป็นปรากฎการณ์ที่ต่อเนื่องมาจาก “Tiny House Phenomenon “ที่กำ�ลังได้รับความนิยมในยุโรป



ยานต่างดาวให้เช่า ท่างกลางบรรยากาศของเทือกเขา Alps



ไม้ไผ่กับการสร้างที่พักขนาดจิ๋วเพื่อแก้ปัญหาที่อยู่อาศัย ใน Hong Kong มาถึงระบบปรับอากาศขนาดเล็กของ Spain โดยบริษัท Rotartica ได้รวบรวมระบบปรับอากาศ ขนาดเล็กต่างๆได้แก่ ระบบ Evacuated Tube Thermal Collectors กับระบบ Water-heated Absorption Chiller เข้าด้วยกันและด้วยขนาด 4.5 Kw หรือ1.28 tons เพื่อใช้สำ�หรับครัวเรือนแล้วทั้งหมดบรรจุ ลงในกล่องขนาดเล็กๆเท่านั้นเอง การใช้งานที่แสนง่าย เพียงใส่น้ำ�ร้อนลงไป และผลที่ได้ก็คือน้ำ�เย็นที่จะไหลไปผ่าน Fan Coil และ ที่สำ�คัญต้องเป็นน้ำ�ร้อน จะน้ำ�ร้อนจากไหนก็ไม่สำ�คัญ เพราะเจ้า Evacuated Tube Collectors จะเป็น ตัว Absorb ความร้อน โดยตัว Absorption Chiller Unit จะทำ�ให้น้ำ�ถูกทำ�ให้ระเหย (ดูดความร้อน) และ Condenser (เช่นเดียวกับหลักการทั่วไปแต่ด้วยกำ�ลังของ Compressor กำ�ลังสูงซึ่งทำ�งานโดยอาศัยสาร เคมีเป็นตัว Absorbent (LiBr) บวกกับการเพิ่มอุณหภูมิเล็กน้อย เพื่อเพิ่มความดันภายในระบบ และด้วย Compressor พิเศษแบบสารเคมีนี้ทำ�ให้กำ�ลังไฟฟ้าส่วนใหญ่ที่ได้จาก Solar Cell ใช้เพียงเกี่ยวข้องกับน้ำ� ร้อนในระบบเท่านั้น เพราะแรงดันใน Compressor ถูกผลิตจากสารเคมี ด้วยวิธีนี้ทำ�ให้ลดพลังงานไฟฟ้าได้ มากสารเคมี ด้วยวิธีนี้ทำ�ให้ลดพลังงานไฟฟ้าได้มาก เพราะไม่ต้องถูกใช้ไปใน Compressor



ไม้ไผ่กับการสร้างที่พักขนาดจิ๋วเพื่อแก้ปัญหาที่อยู่อาศัย ใน Hong Kong โรงไฟฟ้าทั้งโรงกลับม้วนเก็บไว้ได้ใน Shipping Container พร้อมใช้ด้วยตัว invertersและBattery สำ�รองพร้อมใช้ที่หน่วยงานในสถานที่ไกลๆที่ไม่มีแหล่งกำ�เนิดไฟฟ้าหลัก หรืออยู่นอกระบบจ่ายไฟหลัก และสามารถขนย้ายได้ทุกทางไม่ว่าอากาศหรือทางรถไฟ Renorvagen’s Rollarray Isugen Transportable Solar Power Plant เป็นชื่อของของ ผลิตภัณฑ์นี้และสำ�หรับการทหารเพื่อสำ�หรับกองถ่ายภาพยนตร์หรือScience Camp ช่วยผู้ประสบภัยใน พืน้ ทีห่ า่ งไกลโรงไฟฟ้าแบบนีน้ า่ จะเป็นคำ�ตอบทีด่ แี ละ Key Factor ทีท่ �ำ ให้ความคิดนีด้ แู ตกต่างน่าจะเป็นหัวใจ หลักของเรื่อง คือ PV. Array ที่เป็นชนิดม้วนได้ ซึ่งได้พัฒนาแผ่น PV. ชนิดม้วนที่มิใช่แค่แผ่นๆเดียวที่มี Cell เดียวแต่กลับแผ่นทัง้ แผ่นทีม่ ี Cell เล็กๆ ซึง่ เดินสายต่อกันและเชือ่ มกับสายพลังงานหลักในตัว ด้วยคุณสมบัติ ทีส่ ามารถจัดเก็บได้ทงั้ แผ่นทำ�ให้งา่ ยต่อการขนส่งและติดตัง้ พร้อมใช้ดว้ ยตัวแปลงไฟและBattery ในคอนเทน เนอขนาด 20 ฟุต เมื่อติดตั้งและกางออกจะครอบคลุมพื้นที่ 5 เมตร และยาวกว่า 200 เมตร


โรงงานพลังงานแสงอาทิตย์ราคาถูกกว่าเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าแบบดีเซลที่ใช้กันอยู่ในภาคสนามและถึง จุดคุ้มทุนภายใน 8เดือน -2ปี สามารถติดตั้งได้ง่ายทุกภูมิภาคและทุกภาวะอากาศอยู่ใน form factor มาตรา ฐานการขนส่งคือ 20 ฟุต container


และแล้วเรือพลังงาน Solar Cell ก็มาถึง เจ้าเรือพลังงาน Solar Cell ลำ� ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลกลำ�นีม้ ชี อื่ ในภาษา Catamaran ว่า Turanor ซึ่งมีความหมายว่า เจ้าแห่งแสงอาทิตย์ มาจากภาพยนต์เรือ่ ง Lord of the Rings ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ The Planet Solar Expedition ซึ่ง ได้ เดินทางท่องเทีย่ วไปเพือ่ เผยแพร่แนวคิด คล้ายๆกับของ Green Place ในช่วงระยะ เวลาหลายปีที่ผ่านมา คือกว่า 18 เดือน ในท้องมหาสมุทรหรือกว่า 37,000 ไมล์ ซึ่งในปีนี้ทาง Planet Solar กำ � ลั ง ล่ อ งไปตามกระแสน้ำ � อุ่ น Gulf Stream ล่องจากทางเหนือลงมาทางด้าน อ่าวผ่านส่วนต่างๆของ Miami รัฐ Florida โดยมีจุดมุ่งหมายจะไปจนถึงปลาย สุดของ Norway ที่เมือง Bergen และ ทำ�การหยุดพักที่ต่างๆในท้องมหาสมุทร เพื่ อ เก็ บ ข้ อ มู ล โดยมี จุ ด มุ่ ง หมายจะ รวบรวมข้อมูลให้กับนักวิทยาศาตร์เกี่ยว กับเรือ่ งภาวะเรือนกระจกต่ากระแสน้�ำ ซึง่ มีผลโดยตรงกับภูมิศาสตร์ของโลก


จากภาพเป็นการแวะผ่าน New York เพื่อเป็นการ ประชาสัมพันธ์ของโครงการ


สะพานพลังแสงอาทิตย์ที่ London เรามาสู่ยุคที่กำ�ลังจะเปลี่ยนจากการใช้พลังงาน Fossil มาสู่ยุคของพลังงานสะอาด ที่จะขับเคลื่อน เศรษฐกิจ และสำ�หรับประเทศอังกฤษ ประเทศแรกที่ปฎิวัติอุตสาหกรรม Iconic ที่สำ�คัญได้แก่ รถไฟในยุค เครื่องจักรไอน้ำ� และสะพานรถไฟเก่าได้ถูกแปลงให้เป็น Solar Cell Farm ที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยสะพาน รถไฟเก่า “Blackfriars Bridge” โดยการบูรณะสะพานเก่าดังกล่าว ทำ�ให้สามารถผลิตพลังงานได้ 900,000 kWh ต่อปี ด้วยพื้นที่กว่า 6,000 ตารางเมตร ของ Solar Cell แบบ PV ทำ�ให้กำ�ลังผลิตเป็น 50% ของพลังงานที่สถานี Blackfriars Station ใช้งานเป็นแผง Solar Cell ที่ใหญ่ที่สุดใน London ประเทศอังกฤษ เพราะจะหาที่โล่งๆที่ใหญ่ๆพอจะติดตั้ง Solar Cell ใน London คงจะไม่ใช่เรื่องง่ายๆ และ Derry Newmanจาก Solar Century เป็นผู้พัฒนา แนวคิดดังกล่าว


ด้วยความที่สะพานดังกล่าวเป็นทั้งสัญลักษณ์ของการใช้พลังงานไอน้ำ�จากถ่านหิน, รถไฟ เป็นที่ ว่างขนาดใหญ่ของ Urban Area และตั้งต่อกับสถานี้รถไฟ Blackfriars จึงเป็นการดีที่การพัฒนาดังกล่าว ลุลว่ งไปได้ โดยโปรเจคดังกล่าวจะป็นตัวอย่างและเป็นการประชาสัมพันธ์ทไี่ ด้ตอ่ ตัวอย่างการใช้พลังงาน Solar Cell และจะนำ�ไปสู่ความเข้าใจในการใช้งานต่อในอนาคต


หมู่เกาะ Canary รณรงค์กับการใช้พลังงานลม 100% เกาะ El Hierro เป็นเกาะเล็กสุดในหมู่เกาะ Canary และเกาะนี้เป็นส่วนหนึ่งของ Spain ที่อยู่ในมหาสมุทร แอตแลนติค นอกชายฝั่งอาฟริกาได้รณรงค์กับ Project ใหญ่ในการลดการใช้พลังงานจากฟอสซิล โดยมี แผนที่จะติดตั้ง Wind Turbines 5 เครื่อง ทางด้านเหนือมองฝั่งเกาะโดยจะมีกำ�ลังผลิตถึง 11.5 Megawatts ซึ่งมากเพียงพอจะจ่ายให้ประชากร 10,000 คน บนเกาะอย่างสบายๆ


และในกรณีที่ไม่มีกระแสลมเพียงพอก็จะมีระบบสำ�รองอีกถึงสองระบบ ได้แก่ระบบสูบน้ำ�กลับ (แบบเดียว กับที่เขื่อนลำ�ตะคอง) กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าส่วนเกิน เช่น เวลากลางคืน กระแสไฟที่ผลิตได้จะใช้สูบน้ำ�จาก อ่างเก็บน้�ำ ริมอ่าวไปยังอ่างเก็บน้�ำ อีกอัน ทีอ่ ยูส่ งู ขึน้ ไปกว่า 700 เมตร ซึง่ เมือ่ เกิดกรณีไม่มลี มมากพอทีจ่ ะหมุน Wind Turbine ก็จะอาศัยการเปิดให้น้ำ�จากอ่างเก็บน้ำ�ด้านบนไหลลงสู่อ่าวด้านล่าง เป็นการเปลี่ยนพลังงาน กลับด้านผ่านเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าเหมือนเขื่อนธรรมดาทั่วไป ด้วยการร่วมมือกันระหว่าง Wind Farm และมี น้ำ�ทำ�ให้สามารถลด Co2 ได้ 18,700 ตันต่อปี และลดการนำ�เข้าน้ำ�มันไปได้ 40,000 บาเรลต่อปีเช่นกัน และ กรณีฉุกเฉินจริงๆก็ยังมีโรงพลังงานไฟฟ้าแบบใช้น้ำ�มันเป็นพลังงาน Back Up อยู่ดี


หยดนำ�้ค้าง โครงสร้างรูปหยดน้ำ�ค้างนี้เป็น Green house เพื่อปลูกพืชในเขตหนาว green house สำ�หรับปลูกพืชเมืองหนาวเหล่านีจ้ ะมิใช่แค่โครงสร้าง ถาวรรูปทรงเดิม แต่มันกลับแปรเปลี่ยนและตอบ สนองตามสภาพแวดล้อม สวนพฤกษศาสตร์ในเมือง Aarhus เป็นอาคารใหม่สร้างทดแทนอาคารเก่าของ สวนพฤกษศาสตร์ Botanical Gardens ของเมือง Aarhus เดิมที่สร้างตั้งแต่ปี 1969 สถาปนิก C. F. Moller Architekten ออกแบบอาคาร green house เป็นทรง Dome และใช้วัสดุ ETFE plastic (ชนิดเดี่ยวกับที่ใช้กับ Ice cube ปักกิ่ง) ที่สามารถปรับเปลี่ยนขนาดได้ ตามความต้องการแสงและความร้ อ น อาจจะเป็ น ความรู้สึกแปลกที่อาคาร green house ออกแบบ ด้วยพลาสติกแทนที่จะเป็นกระจก แต่จากมุมมอง ของผูอ้ อกแบบนีม้ องถึงการใช้สอยทีค่ งทนและหลาก หลาย โดยเฉพาะในอาคารประหยัดพลังงาน ในเรื่อง ของ Skin ที่มีประสิทธิภาพในการกักเก็บพลังงาน

โดยสถาปนิกได้ออกแบบให้มีเฟรมเหล็ก ทรงโค้ง Arch 10 ชิ้น ครอบคลุมพื้นที่ Span 18 เมตร บนฐานทรงรูปไข่โดยตั้งอยู่บนสมมุติฐานสอง ข้อ เป็นรูปทรงที่มีพื้นที่ผิวให้สูญเสียพลังงานน้อย ที่สุดแต่กลับมีปริมาตรการใช้งานสูงสุด และการวาง อาคารให้เหมาะสมกับทิศเกี่ยวกับทิศทางของแสงที่ ส่องในฤดูต่างๆเพื่อให้ได้รับแสงมากในฤดูหนาวและ กลับกันในฤดูร้อน



หยดนำ�้ค้าง



หลอดยาว , หลอดผอม, หลอดเกลียว, หลอดแบนมาแล้ว ดูเหมือนแนวทางในการพัฒนาเรื่องประหยัดพลังงานจะมาลงที่เทคโนโลยีของหลอด LED กันมาก และเน้นไปทีเ่ ทคโนโลยีในการทดแทนหลอดชนิดทีใ่ ช้กนั อยูใ่ นปัจจุบนั ปัญหาทางการใช้หลอด LED ก็คอื ความ ร้อน ถ้าจะต้องการกำ�ลังวัตต์สูงขึ้น ก็ต้องเพิ่มจำ�นวนหลอดหรือระบายความร้อนให้ดีและทาง Philips ก็พบ วิธีการแก้ปัญหา โดยการขยายระยะห่างระหว่างตัวหลอดออกเพิ่มพื้นที่ผิวในการกระจาย สุดท้ายก็คือใส่ สารเหลว เป็นตัวระบายความร้อนจากหลอดโดยไม่ต้องใช้โลหะ เป็น heat sink การทำ�หลอดให้เหมือนเป็น ทรงของหลอดกลมทั้งใบ แต่แบน นอกจากจะเพิ่มพื้นที่ผิวแล้วยังง่ายในเรื่องของการจัดหีบห่อ และการขนส่ง


จากรูปจะเห็นว่ามีการกระจายตัวของแสงได้ลงตัว สม่ำ�เสมอ เมื่อเทียบกับหลอด LED ทรงแบน กับแบบหนา harogen ที่เราเคยใช้ๆ กันอยู่ หลอดดังกล่าวผลิตความสว่างที่ 800 ลูเมนต์ ถึงกำ�ลังที่ 10.5 วัตต์ ที่มีความสว่างเทียบเท่ากับกำ�ลังประสิทธิภาพหลอด 60 วัตต์ ที่ 76 ลูเมนต์ – ต่อวัตต์ มีอายุการใช้งาน ที่ 25,000 ชั่วโมง สามารถใช้ Dimmer ได้ น่าประหลาดใจที่การกระจายแสงกลับทำ�ได้รอบทิศทางในขณะที่ รูปร่างแบนๆสามารถได้ค่า CRI Rating เป็น 80 และมีอุณหภูมิสีที่ 2700K ปัญหาอย่างหนึ่งของหลอด LED ก็คือมีเสียงเล็กน้อย จากความถี่ที่หลอดผลิตขึ้นเป็น Vibration ของขบวนการผลิต นอกจากเทคโนโลยีที่ใช้แล้ว design ก็มีผล จากรูปทรงแบนๆแต่กลับมีผลการใช้ งาน และการกระจายแสงที่น่าพอใจ มีผลทางจิตวิทยาสูงกว่ามาก เช่นสัมผัสของหลอดที่ผิดไป จากหลอด กลมเป็นแก้ว เป็นหลอดแบนแต่สว่างมาก และไม่ร้อน และที่ค้านความรู้สึกก็คือนับเป็นหลอดพลาสติก ติดที่ ไม่มีแม้แต่ที่ระบายความร้อน จากรูปจะเป็นการเรียงตัวของหลอด LED ภายในตัวหลอด ขณะนี้หลอดชนิด นี้มีจำ�หน่ายเฉพาะ online ที่ HomeDepot.com และจะจัดจำ�หน่ายอย่างเป็นทางการ หลัง 1 มีนาคม 2557


หลังคา Green Roof สำ�หรับโรงเรียนอนุบาลในประเทศ เวียดนาม ครั้งหนึ่งหลังคาก็คือหลังคา แล้วอยู่มาวันหนึ่งสถาปนิกก็เริ่มมีความคิดที่จะทำ�หลังคาให้กลาย เป็นสวน หลังจากนั้นมา อาคารก็เริ่มเปลี่ยนไปจากที่มันเคยเป็น เริ่มจากแนวคิดที่ว่า เมื่อมันเป็นสวนมันก็ ต้องเข้าถึงได้ Vo Trong Nghia Architects ผู้มีผลงานออกเป็นหลายชิ้นในประเทศเวียดนามโดยเฉพาะ บ้าน ในคราวนี้ เขาได้ออกแบบโดยใช้แนวความคิดจากที่หมุนเป็นวงขดอาการคล้ายเกลียว

โปรเจคดังกล่าวเป็นต้นแบบของงาน Sustainability ในเขตร้อน ชื้น โปรเจคดังกล่าว ทำ�ให้นักเรียนตัวจิ๋วๆของโรงเรียนอนุบาลได้ทำ�ความเข้าใจ กับสถาปัตยกรรมแบบ Sustainability หลังคาของโรงเรียนอนุบาลแบ่งออก เป็นวง 3 ขด ที่เข้าถึงได้ ทำ�ให้เกิด Courtyards ชั้น 3 Court รายล้อมไปด้วย ห้องเรียนทำ�ให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่ปลอดภัยและเป็นที่เล่นของเด็กนักเรียน และด้วยระดับ ที่แตกต่างของอาคาร ได้ก่อให้เกิดความแตกต่างระหว่างพื้นที่ที่ เรียกว่า Outdoor Learning Environments, ที่ซึ่งเด็กนักเรียนสามารถเรียน รู้ความสัมพันธ์ระหว่างห้องเรียน พื้นที่ภายนอกและก็ธรรมชาติ ผลงานดังกล่าวเป็นผลงานที่น่าสนใจ และเป็นความกล้าของสถาปนิก และเจ้าของโรงเรียนอนุบาลอีกทั้งเป็นการปลูกฝังแนวความคิดนี้ตั้งแต่เยาวัยให้ กับเยาวชนที่จะเติบโตต่อมาในอนาคต



หลุมหลบภัยยุค NAZI Bunker สำ�หรับหลบภัยทางอากาศของ อดีตสมัย Nazi ในเมือง Wilhelnsburg Stemberg ประเทศเยอรมัน ด้วยกำ�แพงหนากว่า 3 เมตร และ ความหนาของหลังคากว่า 4 เมตร คอนกรีตล้วนๆ ทำ�ให้มันรอดพ้นการทิ้งระเบิดของสัมพันธมิตรใน ช่วงสงครามโลกครั้งที่2 มาอย่างสบายๆ และถูก ทิ้งไว้ (คงจะทุบยากมากเพราะ Concert แข็งตัวขึ้น ทุกที เพราะการทำ�ปฏิกริ ยิ าของ Calcium ทีเ่ หลือกับ ความชืน้ ) ห้องโถงหลักได้ถกู เปลีย่ นให้เป็นห้องแสดง ผลงานและภัตตาคาร แต่มนั ทำ�ได้มากกว่านัน้ มันถูก ทำ�ให้เป็น Energy Center ที่สามารถผลิตทั้งไฟฟ้า และพลังความร้อนให้กับชุมชน โดยรวมเป็นการชุบ ชีวติ ของอดีตให้กลับมาเล่าเรือ่ งราวและเป็นประโยชน์ มีการเพิม่ Solar Cell ให้เป็นหลังคา แถม ด้วยอ่างบรรจุน�้ำ กว่าครึง่ ล้านแกลลอน ทีท่ �ำ อุณหภูมิ ด้วยก๊าซมีเทนที่ได้มาจากขบวนการทางชีวภาพ และ สามารถใช้แหล่งพลังงานความร้อนได้หลายชนิด ทั้ง

ความร้อนจากไม้ฟืนและความร้อนจากแสงอาทิตย์ รวมทัง้ ความจากโรงงานอุตสาหกรรมใกล้เคียง ทำ�ให้ มันสามารถผลิตน้ำ�ร้อนให้กับบ้านเรือนกว่า 3,000 หลังคาเรือน และสามารถผลิตไฟฟ้าให้กับบ้านเรือน กว่า 1,000 หลังคาเรือน หลุมหลบภัยเก่าที่เคยเล่าเรื่องเศร้าๆของ สงครามในอดีตก็มีหน้าที่ใหม่ ที่จะคอยเล่าเรื่อง และ แนะนำ�วิธีการใช้พลังงานอย่างฉลาดแก่ชุมชน โดย ไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ย โดยเฉพาะค่ารือ้ ถอนและปัญหา มลภาวะ แค่คิดว่าจะเอาเศษวัสดุไปทิ้งที่ไหนก็หนกใจ ซะแล้ว


Diagram แสดงส่วนต่างๆของรู ปตั ด ของ Bunker ภาพจากในห้องโรง ATRIUM ขนาดใหญ่ มอง เห็นเพดานคอนกรีตหนากว่า 4 เมตร


ห้องน้ำ�พลังจักรวาล ในญี่ปุ่นมีตั้งแต่ Bidets (ที่ปัสสาวะสำ�หรับ สุภาพสตรี) ที่ควบคุมผ่าน Smart Phone และ ระบบควบคุมความสะอาดชนิดไม่ต้องใช้มือสัมผัส เป็นที่รู้กันว่าชาตินี้ทุ่มทรัพยากรส่วนใหญ่ให้กับการ พัฒนา เรื่องสุขนิสัย และ Design ชาวอาทิตย์อุทัย ชื่อ Daigo Ishii + Future-scape Architects ได้ สรรค์สร้างห้องน้ำ�สาธารณะในเมือง Ibuki-shima สรรค์สร้างเพื่อให้เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นประจำ�ท้อง ที่กันเลย ไอเดีย ก็คือ ห้องน้ำ�ที่ใช้วัสดุ Polycarbonate เป็นแผ่นร่วมกับไม้ shou-sugi-ban ไม้ แผ่นรมควัน และสรรค์สร้างเป็นรูป Form อิสระ โดยแบ่งเป็นรูปทรงอิสระ 6 ชิ้นส่วน เป็นเสมือน หนึ่งเข็มทิศทางสถาปัตยกรรม โดยมีมุมร่วมจาก จุดศูนย์กลางของแต่ละทวีปพุ่งสู่ขั้วโลกเหนือ โดย มีนัยแห่งการรวมศูนย์เพื่อมุ่งสู่ความสนใจไปยังขั้ว โลกเหนือ เชื่อมต่อห้องน้ำ�ทั้ง 6 ชั้น เพื่อเข้าสู่ส่วน ต่างๆของโลกเรา และอย่างมีเหตุผล Element ของห้องน้ำ�ได้ถูกเส้นแบ่งออกเป็นส่วนๆ โดยมีการ

คำ � นวณมุ ม มองพระอาทิ ต ย์ ที่ ถู ก กระทบระหว่ า ง เทศกาลเฉลิ มฉลองประจำ � ปี ข องท้ องถิ่ นที่ เ กาะดั ง กล่าว ดังนั้น เมื่อเวลา 9.00 น.ของวันทั้ง 3 ตาม เทศกาลแสงพระอาทิตย์จะส่องทำ�มุมเข้ามาภายใน อย่างตั้งใจ ดังกล่าว แสงพระอาทิตย์ที่ส่องผ่านเข้า มาจะทำ�ให้เกิดปรากฎการณ์พลังงานของจักรวาล และเป็นการบ่งบอกเวลาให้แทนเวลาที่ใกล้เคียงกับ เทศกาลที่เกิดขึ้นบนเกาะ Ibukijima ด้วยมุมที่เกิด ขึ้นจากแกนทั้ง 6 ที่ตัดกัน ได้ส่งเสริมความพยายาม ของสถาปนิกที่จะนำ�เสนอตำ�แหน่งของเมือง Ibukijima เข้ากับส่วนที่เหลือของโลก


แสงที่ส่องผ่านหลังคา ไม่เพียง แต่ แ สงที่ ส่ อ งผ่ า นบนหลั ง คา ส่องต่างๆเหล่านั้นยังทำ�หน้าที่ เป็นตัวเก็บรวบรวมน้ำ� เพื่อใช้ ในห้องน้ำ�ทั้งหมดตลอดทั้งปี


อาคาร Samsung Pavilion Samsung ได้สร้างงานที่น่าสนใจใน Olympic Games ที่ Sochi ในขณะที่เจ้าภาพคือ รัสเซีย กำ�ลังโกยเหรียญทองนั้น ก็มีอาคารที่แสดงแนวคิดที่น่าสนใจในงานโอลิมปิคเช่นกัน อาคารSamsung pavilion ดังกล่าว ใช้ Container ใช้แล้วจำ�นวน 16 Containers มา ซ่อมแซมใหม่ให้สดใสและพ่นทับด้วยสีสัน และตั้งชื่อว่า Galaxy Studio และเป็นกลุ่มอาคารที่แสดงทัศนต่อ สภาพแวดล้อมและการใช้พลังงานอย่างยั่งยืน เมื่อนำ�มาเรียงต่อกันเป็น Block เหมือนต่อ Lego โดย Container ดังกล่าวเรียงต่อกันเป็นผนังและบางส่วนใช้เป็นเคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ ส่วนภายในก็เป็นอาคาร โล่งๆ Display ด้วยโต๊ะขาวเรืองแสงแสดงผลิตภัณฑ์ของ Samsung เพื่อใช้ทดทองผลิตภัณฑ์ Galaxy Studio ดังกล่าว ได้เวียนไปจัดแสดงตามเมืองต่างๆ 15 เมืองในรัสเซีย เพื่อเก็บข้อมูล ความต้องการของผู้ใช้และมอบ Galaxy Note 3 ใช้กับนักกีฬาใช้พร้อมกับ App เฉพาะในงาน Olympic สำ�หรับ Staff ในงานใช้



อิทธิพลของ LEED + Green Roof ปัจจุบันในเรื่องของ Green Architecture แล้ว มีทั้ง Vertical Green, Green Roof Garden และ Urban Farm แต่ดูเหมือน Green Roof จะเป็นเหตุสำ�คัญที่ทำ�ให้รูปแบบสถาปัตยกรรมมีการเปลี่ยนแปลง ในอดีตบนหลังคาจะเป็นเสมือนแดนสนธยาเต็มไปด้วยเครื่อง Equipment ต่างๆ เช่น เครื่องแอร์ ถังน้ำ� ส่วน บนพื้นก็เป็นพื้น Mock Up มาปัจจุบันก็ต้องคิดถึงหลังคากันให้มากหน่อย จะว่าไปก็เปรียบเหมือนรูปด้านที่ 5 ของอาคาร มุมภาพ Perspective เดิมที่มองจากระดับตาและละเลยส่วนหลังคาไปก็มาเปลี่ยนเป็นมุมสูง ด้วยความต้องการจะให้เห็นสภาพบนหลังคา และความต่อเนื่องจากพื้นสู่หลังคา ทำ�ให้สถาปนิกมีมุมมองและ ของเล่นใหม่ ก่อให้เกิดสถาปัตยกรรมแนวใหม่ รูป Form ใหม่ และขยายขอบเขตของงาน Landscape ให้มี ความต่อเนื่อง และดูเหมือนจะเป็นธรรมเนียมว่า Science Center ทั้งหลายจะต้องมี Green Roof


จากในภาพเป็น Science Hill ที่ Komatsu ซึ่งเป็นงาน Design ของ Urban Architecture Office สะท้อนให้เห็นแนวความคิดต่อเนื่องของงาน Landscape ของแนวLandscape ของชายฝั่งทะเล Seascape


หุ่นยนต์กับ SOLAR FARM

อิสราเอลเป็นประเทศหนึ่งที่มีการพัฒนา Solar Cell และพลังงานทดแทนอื่นๆจนเป็นอุตสาหกรรม ใหญ่ จนถึงขั้นส่งออก และมีการพัฒนาแบบครบวงจร ที่ Ketura Sun เป็นเขตที่ผลิตพลังงานจากแสงอาทิตย์ผ่าน Solar Cell ที่ใหญ่ที่สุดในอิสราเอล และด้วยความที่เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ การทำ�ความสะอาดผิวหนังของ Solar Cell ให้ปราศจากฝุ่น เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต เป็นงานหนักและเป็นเวลา และต้องทำ�ตลอดเวลา, ทั้งปี หุ่นยนต์ได้เข้ามามีบทบาทใน การช่วยการทำ�ความสะอาด และด้วยวิธีที่แตกต่างจากวิธีปกติอย่างสิ้นเชิง กล่าวคือ การทำ�ความสะอาดของ หุ่นยนต์นั้น ใช้หลักการทำ�ความสะอาดที่ไม่ต้องอาศัยน้ำ� เป็นส่วนหนึ่งในการทำ�ความสะอาด และสำ�หรับในทะ เลทรายเนเกฟแล้ว น้ำ�แค่เล็กน้อยก็มีค่าและหมายถึงชีวิต โดยเจ้าหุ่นยนต์ Ecoppia E4 ที่ทำ�งานหนักนี้ ได้ฤกษ์ติดตั้งบนเฟรมที่เคลื่อนที่ตามความยาวของ Plant และตัวหุ่นยนต์ที่เคลื่อนที่เฉพาะตามแนวตั้งของแผง


Solar Cell ใช้แปลงหมุนเพื่อทำ�ความสะอาดและแปลงทำ�ความสะอาดนี้ ทำ�จากใย Micro Fiber ชนิดนุ่ม และทำ�งานร่วมกับระบบเป่าฝุ่น และสามารถสร้างประสิทธิภาพได้กว่า 99% ของงานทำ�ความสะอาดโดยปราศ จากนำ�้ ฝุ่นที่ลงมาปกคลุมผิวหน้าของ Solar Cell สามารถลดประสิทธิภาพของแผงได้ถึง 35% การใช้หุ่น ยนต์จะช่วยทำ�ให้ประสิทธิภาพของแผงทำ�งานคงที่ตลอดทั้งปีต่างๆมีประสิทธิภาพ


เอาหุ่นยนต์มาตัดหญ้า

เคยเห็นหุ่นยนต์ดูดฝุ่นในบ้านกันมาแล้ว คราวนี้เป็นหุ่นยนต์ตัดหญ้า กิจกรรมตัดหญ้าในสนามด้วยเครื่องตัดหญ้าถือเป็นเรื่องหนักหนาสาหัสสำ�หรับบ่ายวันอาทิตย์ ไหนจะตัดหญ้าโกยหญ้าและจัดการกับเครื่องตัดหญ้าอีก ก็จะเป็นแบบไฟฟ้าก็เถอะ ยังไงก็ต้องคอยดูแลอีก เพื่อให้เครื่องใช้งานได้อย่างเรียบร้อย บางครั้งกำ�ลังตัดอยู่ไฟดับระหว่างทางก็เป็นอันหยุดกิจกรรมไว้ได้เลย แต่เจ้าเครือ่ งตัดหญ้าทีด่ แู ลตนเองได้ และไม่เฉพาะจะตัดหญ้าได้เองอย่างเดียวหมดจดตามโปรแกรม ที่ได้ตั้งไว้แล้ว และที่ถือว่าเป็นนวัตนกรรมสำ�หรับเจ้าเครื่องตัดหญ้านี้ก็คือ มันหาพลังงานมาเติมตัวเองได้เอง โดยไม่ต้องอาศัยการดูแลจากพนักงาน EcoMow deviceเป็นชื่อของเจ้าเครื่องตัดหญ้าพัฒนาขึ้นมาในมหาวิทยาลัย George Masow University โดยความร่วมมือของทีม Engineer และทีม Business ทีเ่ ป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยดังกล่าว โดยมองไปยังความต้องการของผู้ให้ และนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ที่สตอง Demand นั้น ผลก็คือ ผลิตภัณฑ์ Eco Mow Device


หลักการง่ายๆสำ�หรับ เจ้าหุ่นตัดหญ้า ก็คือ การใช้ระบบตัดหญ้าที่ใช้มอเตอร์ ไฟฟ้า และระบบจะ ป้อนหญ้าทีต่ ดิ เข้าสู่ Pelletizes ซึง่ จะผลิต Biomass ออก มาเป็นกระแสไฟฟ้า ซึง่ จะใช้ส�ำ หรับอุปกรณ์ตา่ งๆ ภายในเครื่องรวมทั้งอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์สำ�หรับควบคุม และอุปกรณ์ที่ใช้กำ�ลังและอุปกรณ์ดังกล่าวเหมาะ สำ�หรับกิจการขนาดใหญ่ เช่น ฟาร์ม ในระยะแรกเริม่ ก่อนทีจ่ ะพิจารณาสูค่ รัวเรือนต่อไป โดยผลิตภัณฑ์ตน้ แบบ จะออกสูต่ ลาดในช่วงเดือนเมษายน นอกจากผลิตภัณฑ์ทจี่ ะผลิตพลังงานสำ�หรับตัวเองแล้ว ยังมากพอจะจ่าย ออกให้สำ�หรับ Load อื่นๆด้วย และโดยหลักการแล้วเจ้าผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบมาสำ�หรับบริเวณห่างไกลและ ไม่มีไฟฟ้า Giga Om หัวหน้าทีมวิศวกร กล่าวว่า มันเหมาะสำ�หรับแถบ Africa ที่ไม่มีไฟฟ้าและเมื่อส่งเจ้าหุ่น ไปตัดหญ้าในตอนกลางคืน เมื่อถึงตอนเช้ามันก็ผลิตไฟฟ้าจาก Biomes มากพอที่จะจ่ายกับชุมชนได้เลย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.