เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
0
Start with Maya เริ่มต้นกับ Autodesk Maya จำเป็นจะต้องเข้ำใจหลักกำรพื้นฐำนในกำรใช้งำนของโปรแกรมเสียก่อน โดยเฉพำะ โครงสร้ำงกำรใช้งำนของโปรแกรมที่สำคัญ ซึ่งถูกใช้งำนอยู่บ่อยๆ เพื่อเป็นพื้นฐำนในกำรใช้งำนที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น
Interface ในส่วนการใช้งานของโปรแกรม Autodesk Maya 2014 Student Version.
Main Menu Bar เป็นเมนูหลักพื้นฐำนของโปรแกรม Autodesk Maya 2011 ซึ่งเป็นเมนูคำสั่งพื้นฐำน เช่น File , Edit , Modify, Create, Display , Window และ Asset ส่วนคำสั่งที่เหลือจะแตกต่ำงกันไปตำมโหมดกำรทำงำน Status Line เป็นส่วนที่แสดงสถำนะว่ำอยู่ในหมวดกำรสั่งงำนใด Menu barเปลี่ยนไปตำมทีเลือกใช้งำน เช่น
ซึ่งจะทำให้เมนูในโหมด Main Animation
Polygon Surfaces
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
1
Dynamics
Rendering
nDynamics
Shelf เป็นพื้นที่ หรือที่วำงคำสั่งโดยจะแสดงผลในรูปของปุ่ม(button) สำหรับไว้เรียกใช้งำน และสำมำรถ สร้ำงปุ่มขึ้นมำเองได้ รวมถึงสำมำรถเขียนภำษำ MEL script แล้วนำมำสร้ำงปุ่มคำสั่งไว้ใช้งำนเองเพื่อควำมสะดวก โดยปุ่ม คำสั่งที่สร้ำงเพิ่มขึ้นมำเหล่ำนี้จะแสดงอยู่ในแถบเมนู Custom Tool Box เป็นที่เก็บเครื่องมือที่รวบรวมคำสั่งพื้นฐำนของโปรแกรม เพื่อควำมสะดวกในกำรใช้งำน เรำสำมำรถเลือกใช้คำสั่งต่ำงๆจำกกลุ่มเมนูนี้ด้วยคำสั่งคีย์ลัดเพื่อควำมรวดเร็วในกำรทำงำน Select Tool (Q) เครื่องมือสำหรับคลิกเลือกวัตถุ Lasso Tool เครื่องมือสำหรับคลิกเลือกวัตถุแบบกวำดเลือกพื้นที่ Paint Selection Tool เครื่องมือสำหรับเลือก Component ของวัตถุแบบแปรง
เลือกพื้นที่
Move Tool (W) เครื่องมือสำหรับย้ำยตำแหน่งของวัตถุ Rotate Tool (E) เครื่องมือสำหรับหมุนวัตถุ Scale Tool (R) เครื่องมือสำหรับปรับขนำดของวัตถุ
Last Tool เครื่องมือที่แสดงวัตถุที่ถูกใช้งำนล่ำสุด Panel Layout เครื่องมือสำหรับเปลี่ยนมุมองไปเป็นแบบ Single View Perspective Panel Layout เครื่องมือสำหรับเปลี่ยนมุมองไปเป็นแบบ Four View Perspective Panel Layout เครื่องมือสำหรับเปลี่ยนมุมองไปเป็นแบบ Outliner/ Perspective Maya Website ลิ้งค์เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ Aurodesk Maya เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
2
View Port เป็นปุ่มคำสั่งเพื่อแสดงพื้นที่กำรทำงำนของของโปรแกรม โดยพื้นฐำนประกอบด้วย
Single Perspective View เป็นคำสั่งเพื่อเปิดมุมอง 3 มิติแบบ Perspective
Four View เป็นคำสั่งในกำรเปิดมุมองแบบ 4 มุมมอง เพื่อควำมสะดวกในกำรจัดองค์ประกอบ ของ Model ซึ่งประกอบด้วย
Persp/Outliner เป็นมุมมองที่แสดงส่วนประกอบของวัตถุและมุมมอง Perspective
Channel Box เป็นที่เก็บเครื่องมือที่รวบรวมคำสั่งพื้นฐำนของโปรแกรม เพื่อควำมสะดวกในกำรใช้งำน เรำสำมรถเลือกใช้คำสั่งต่ำงๆจำกกลุ่มเมนูนี้ด้วยคำสั่งคีย์ลัดเพื่อควำมรวดเร็วในกำรทำงำน Time Slider เป็นที่เก็บเครื่องมือที่รวบรวมคำสั่งพื้นฐำนของโปรแกรม เพื่อควำมสะดวกในกำรใช้งำน เรำสำมรถเลือกใช้คำสั่งต่ำงๆจำกกลุ่มเมนูนี้ด้วยคำสั่งคีย์ลัดเพื่อควำมรวดเร็วในกำรทำงำน เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
3
Command Live เป็นที่เก็บเครื่องมือที่รวบรวมคำสั่งพื้นฐำนของโปรแกรม เพื่อควำมสะดวกในกำรใช้งำน เรำสำมรถเลือกใช้คำสั่งต่ำงๆจำกกลุ่มเมนูนี้ด้วยคำสั่งคีย์ลัดเพื่อควำมรวดเร็วในกำรทำงำน Help Line เป็นที่เก็บเครื่องมือที่รวบรวมคำสั่งพื้นฐำนของโปรแกรม เพื่อควำมสะดวกในกำรใช้งำน เรำสำมรถเลือกใช้คำสั่งต่ำงๆจำกกลุ่มเมนูนี้ด้วยคำสั่งคีย์ลัดเพื่อควำมรวดเร็วในกำรทำงำน
On the right box พื้นที่ด้ำนขวำของโปรแกรมเป็นพื้นที่มีควำมซับซ้อนมำก หน้ำที่แตกต่ำงกันออกไปในกำรใช้งำน
ซึ่งประกอบด้วยเครื่องมือ 4 ชนิด โดยแต่ละชนิดก็จะมี
Modeling Tool Kit เป็ นส่ วนที่ใช้เก็บเครื่ องมือเอำไว้ให้เลือกใช้ งำนได้อย่ำงรวดเร็ วขึ้น
Attribute Editor เป็ นพื้นที่สำหรับแสดง ข้อมูล กำรทำงำนต่ำงๆที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่ ถูกเลือก โดยโปรแกรมได้ทำกำรจัดเก็บประวัติ ไว้เป็ นลำดับขั้น(History) ซึ่งเรำสำมำรถดู รำยละเอียดต่ำงๆที่เกิดขึ้นกับวัตถุชิ้นนั้นๆ ได้ อย่ำงละเอียดและสำมำรถเข้ำไปแก้ไขได้ในทุกๆ ขั้นตอน นัน่ คือ สำมำรถย้อนกลับไปแก้ไขกำร ทำงำนในขั้นตอนที่ผำ่ นมำแล้วได้ดว้ ย เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
4
Tool Setting เป็ นพื้นที่สำหรับแสดงส่ วนของ กำรปรับแต่งรำยละเอียดกำรทำงำนของเครื่ องมือที่เรำ เลือกใช้งำนอยู่ โดยรำยละเอียดจะเปลี่ยนไปตำมชนิด ของเครื่ องมือที่กำลังใช้งำนอยูใ่ นขณะนั้น
Channel Box จะทำหน้ำที่แสดงรำยละเอียด
ของวัตถุที่กำลังทำงำนอยู่ เช่น กำรแสดงขนำด ตำแหน่ง ทิศทำง หรื อ รำยละเอียดกำรเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ที่เกิด ขึ้นกับวัตถุ ส่ วน Layer Editor เป็ นส่วนสำหรับจัดกำร กับวัตถุ สำมำรถแยกออกเป็ นหมวดหมู่ได้ตำมต้องกำร โดยแบ่งวัตถุชิ้นต่ำงๆออกเป็ น Layer เหมือนกันกับ โปรแกรมกรำฟิ กทัว่ ไป โดยพื้นที่ในส่วนนี้เรำสำมำรถ เลือกกำรแสดงผลได้วำ่ ต้องกำรให้แสดงเฉพำะ Channel Box หรื อ Layer Editor หรื อ แสดงรวมทั้ง 2 อย่ำง โดยคลิกที่ปุ่มตัวเลือกที่มุมซ้ำย ด้ำนบนของพื้นที่ส่วนนี้
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
5
กำรสร้ำงโมเดล 3 มิติด้วยโปรแกรม Autodesk Maya 2014 Student Version. ในส่วนนี้เน้นกำรออกแบบ สิ่งของเครื่องใช้ภำยในบ้ำนเป็นกำรออกแบบห้องครัวแบบโมเดิร์น ซึ่งเริ่มจำกกำรกำหนดพื้นที่ใช้สอย อุปกรณ์และสิ่งของ เครื่องใช้ต่ำง ๆภำยในห้องครัว ซึ่งเป็นกำรใช้เทคนิควิธีกำรที่ไม่ซับซ้อน ใช้เครื่องมือที่ใช้บ่อยๆ เพื่อให้เหมำะสมกับวัยของ ผู้เรียนและผู้ที่สนใจในกำรเริ่มต้นในกำรเรียนรู้ การสร้าง Project ใหม่ เริ่มจำกกำรเปิดโปรแกรม Autodesk May 2014 Student Version. จะปรำกฏ หน้ำต่ำงของโปรแกรมขึ้นมำ
ที่เมนู File > Project Windows
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
6
หลังจำกนั้นใช้เม้ำส์คลิกที่ File > Project Windows หน้ำจอจะแสดง หน้ำต่ำง
1
2
. ต้องกำรแทน
1. ที่ช่อง Current Project แสดงข้อควำม New_Project ให้ลบคำว่ำ New ออกแล้วตั้งชื่อ Project ตำมที่
2. ช่อง Location เป็นส่วนทีร่ ะบุตำแหน่งของ Project เก็บไว้ที่ใด หำกต้องกำรเปลี่ยนตำแหน่งที่เก็บให้ใช้ เม้ำส์คลิกที่
จะปรำกฏหน้ำต่ำง Select Location ให้เลือกตำแหน่งที่เก็บแล้วใช้เม้ำส์คลิกที่ปุ่ม Select
3. ใช้เม้ำส์คลิกที่ปุ่ม Aceapt เพื่อยินยันกำสร้ำง Project เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนกำรสร้ำง Project เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
7
o Scene ผลงำนสำหรับโปรแกรม Autodesk Maya จะเรียกว่ำ Scene ซึ่งเปรียบเสมือนฉำกๆหนึ่งในถ่ำยทำ ภำพยนตร์ ไม่ว่ำชิ้นงำนจะเป็น Model หรือ Animation ก็จะเรียกว่ำ Scene ทั้งสิ้น กำรสร้ำงงำนใหม่(New Scene) กำร เปิดงำน(Open Scene) หรือกำรบันทึกงำน(Save Scene) ล้วนแต่ใช้คำสั่งเหมือนกับโปรแกรมทั่วไปทั้งสิ้น
View Port กำรทำงำนบนโปรแกรม Autodesk Maya มีคำสั่งที่ต้องใช้งำนอยู่เสมอ คือ ในส่วนของ View Port ด้วย เหตุนี่จึงมีควำมจำเป็นที่จะต้องมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจต่อกำรใช้งำน View Port เป็นอย่ำงยิ่ง
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
8
เป็นพื้นทีท่ ำงำนหลัก ซึ่งเปรียบเสมือนพื้นที่ถ่ำยทำภำพยนตร์ บรรดำ Model ต่ำงๆที่เปรียบเสมือนดำรำ ก็ จะถูกนำมำใช้งำนในพื้นที่ส่วนนี้เป็นหลัก พื้นที่ในกำรทำงำนของ 3D Graphic นั้นเป็นพื้นที่ที่ไม่มีจุดสิ้นสุด ดังนั้นจึงไม่ต้อง กังวลว่ำ Model จำนวนมำกมำยของเรำจะแออัดยัดเยียดจนดูไม่รู้เรื่อง พื้นที่ส่วนในกำรทงำน หรือ View Port นั้น โดยทั่วไปจะแสดงอยู่ในมุมมองที่ถูกแบ่งออกเป็น 4 มุมมอง โดยจะประกอบไปด้วยมุมองด้ำนบน ด้ำนหน้ำ ด้ำนข้ำง และ ทัศนียภำพ(Perspective) สำหรับโปรแกรม Autodesk Maya จะเริ่มจำกมุมองด้ำนเดียวแบบเต็มหน้ำจอ แต่ก็สำมำรถเปลี่ยนเป็นแบบ 4 มุมองได้ง่ำยๆด้วยกำรกดแป้น Spacebar 1 ครั้ง หำกจะปรับมุมองกลับก็เพียง กดแป้น Spacebar 1 ครั้ง เช่นกัน
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
9
ภำยในช่องของมุมมองแต่ละช่องนั้นเรำสำมำรถกำหนดให้มีกำรแบ่งส่วนออกเป็นช่องย่อยๆ หลำยรูปแบบ ตำมที่ต้องกำรได้โดยใช้เม้ำส์คลิกที่เมนู Panels > Layout จะปรำกฏเมนูย่อยขึ้นมำให้เลือกมุมมองแบบต่ำงๆได้ตำม ต้องกำร
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 10 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 11 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
Control Viewport เนื่องจำกพื้นที่ทำงำนของโปรแกรม Autodesk Maya นั้นไม่มีขอบเขตที่จำกัด แต่ขนำดของช่อง Viewport บนจอภำพนั้นมีขีดจำกัดในกำรนำเสนอ ดังนั้นจึงจำเป็นจะต้องมีเครื่องมือที่ใช้สำหรับควบคุมตำแหน่ง หรือ ทิศทำงของ Viewport เพื่อทำให้สำมำรถมองเห็นพื้นที่ทำงำนตำมที่เรำต้องกำร เครื่องมือที่ใช้ในกำรควบคุมมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด คือ Tumple , Track และ Dolly
เป็ นกำรหมุน มุมมองเพื่อดูรอบๆวัตถุ เรำสำมำรถทำ กำร Tumble View ได้โดยกำรกด ปุ่ ม Alt ที่แป้ นพิมพ์คำ้ งไว้จำกนั้นคลิ๊ก ปุ่ มซ้ำยของเม้ำส์คำ้ งเอำไว้ แล้วลำก เม้ำส์จะได้มุมมองตำมต้องกำร Tumble
View
Track View เป็ นกำรเคลื่อนย้ำย
ตำแหน่งมุมอง เรำสำมำรถทำกำร เคลื่อนย้ำยได้โดยกำรกดปุ่ ม Alt ที่ แป้ นพิมพ์คำ้ งไว้ จำกนั้นกดล้อกลำง ของเม้ำส์คำ้ งแล้วลำกเม้ำส์ จะสำมำรถ ย้ำยมุมมองได้ตำมต้องกำร
Dolly View เป็ นกำรย่อขยำยมุมมอง
โดยเรำสำมำรถทำกำร Dolly View ได้โดยกำรกดปุ่ ม Alt ที่แป้ นพิมพ์คำ้ ง ไว้ จำกนั้นคลิ๊กปุ่ มขวำของเม้ำส์คำ้ ง แล้วลำกเม้ำส์จะได้มุมมองย่อหรื อ ขยำย ตำมต้องกำร หรื ออำจใช้กำรหมุนล้อ กลำงเข้ำ–ออก ก็ได้เช่นกัน
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 12 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
Viewport Shader วัตถุต่ำงๆที่แสดงอยู่บนพื้นที่ทำงำนของโปรแกรม Autodesk Maya ค่ำเริ่มต้นจะถูกกำหนดให้แสดงพื้นผิวเป็นแบบเส้น โครง หรือ Wireframe แต่เรำสำมำรถที่จะกำหนดได้ว่ำต้องกำรให้ วัตถุนั้นๆแสดงพื้นผิวในลักษณะใด ซึ่งสำมำรถใช้คำสั่งได้ที่เมนู Viewport >Shading จะปรำกฏเมนูย่อยขึ้นมำให้เลือกรูปแบบได้ ตำมต้องกำร
Wireframe แสดงวัตถุแบบเส้นโครง Wireframe
Smooth Shade All แสดงวัตถุแบบรำบเรี ยบทุกชิ้น ส่วน แบบ Smooth Shade Selected Item เป็ นกำรกำหนดให้ แสดงพื้นผิวเรี ยบเฉพำะวัตถุชิ้นที่คลิ๊กเลือก เลือกจะแสดงเป็ นเส้นโครง Wireframe
ส่ วนชิ้นที่ไม่ถูก
Flat Shade Allแสดงวัตถุแบบเหลี่ยม(ไม่มีกำรลบ หรื อ เกลี่ยเงำระหว่ำงชิ้น) ส่ วนแบบ Flat Shade Selected Item เป็ นกำรกำหนดให้แสดงพื้นผิวแบบเหลี่ยมเฉพำะวัตถุ ชิ้นที่คลิ๊กเลือก Wireframe
Bounding Box
ส่ วนชิ้นที่ไม่ถูกเลือกจะแสดงเป็ นเส้นโครง
แสดงวัตถุแบบกล่องสี่ เหลี่ยม
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 13 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
Point แสดงวัตถุแบบจุด Vertex
Shader Option ใน Viewport เมนู Shading นอกจำกตัวเลือกสำหรับกำหนดว่ำต้องกำรให้แสดงพื้นผิวของวัตถุ แบบใดบ้ำงแล้ว ก็ยังมีตัวเลือกเพิ่มเติมในกำรแสดงผลของวัตถุใน Viewport ที่กำลังทำงำนอยู่ ซึ่งมีตัวเลือกที่น่ำสนใจ ดังนี้ คำสั่ง X-Ray เป็นกำรกำหนดให้แสดงพื้นผิวของวัตถุในพื้นที่ทำงำนทุก ชิ้นเป็นแบบโปร่งใส ซึ่งทำให้เรำสำมำรถสังเกตตำแหน่ง หรือ รำยละเอียดของ วัตถุที่ซ้อนกันอยู่หลำยชิ้นได้อย่ำงสะดวก
คำสั่ง Wireframe on Sheded เป็นกำรกำหนดให้แสดงพื้นผิวของ วัตถุในพื้นที่ทำงำนทุกชิ้นเป็นแบบWireframe (ปกติจะแสดงเฉพำะวัตถุที่ถูก เลือกเท่ำนั้น)
คำสั่ง Use Default Material เป็นกำรกำหนดให้แสดงพื้นผิวของ วัตถุในพื้นที่ทำงำนทุกชิ้นเปลี่ยนกลับมำเป็นสีพื้นฐำนเดิม(สีเทำเข้ม)
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 14 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
คำสั่ง Smooth Wireframe เป็นกำรกำหนดให้แสดงพื้นผิวของ วัตถุในพื้นที่ทำงำนเป็นแบบ Wireframe ในลักษณะนิ่มนวล(ดูสบำยตำมำกกว่ำ ปกติ) ซึ่งจะมีผลกับเส้น Grid และเส้น Wireframe ของวัตถุ
Grid เป็นเส้นตำรำงที่แสดงอยู่ในพื้นที่ทำงำนช่วยให้เรำกำหนดระยะ หรือ แนวระหว่ำงวัตถุได้อย่ำงสะดวก แต่บำงครั้งเส้นเหล่ำนี้ก็รบกวนสำยตำของ เรำในระหว่ำงกำรทำงำน ดังนั้นกำรปิด หรือเปิดกำรแสดงเส้น Grid เป็นครั้ง ครำวระหว่ำงกำรทำงำนจึงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเสมอขณะทำงำน เมื่อต้องกำรปิดหรือ เปิดเส้น Grid ใน Viewport ให้ใช้เม้ำส์คลิกที่เมนู Show ของช่อง Viewport แล้ว คลิ๊กเลือกที่ Grid แต่หำกต้องกำรเปิด หรือ ปิด พร้อมกันทุกช่องมุมองให้ใช้คำสั่ง ที่เมนู Display > Grid แทน เรำสำมำรถกำหนดรำยละเอียดต่ำงๆของเส้น Grid ได้เอง ไม่ว่ำ จะเป็นระยะห่ำงของช่องตำรำง หรือ สีของเส้น เพื่อควำมสะดวกในกำรทำงำนด้วย กำรใช้คำสั่งที่เมนู Display > Grid >Grid Option จะมีส่วนประกอบดังนี้
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 15 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
รายละเอียดของหน้าต่าง Grid Options : Size ในส่วนนี้เรำสำมำรถกำหนดค่ำได้ดังนี้ - Length and width : เรำสำมำรถกำหนดค่ำควำมยำว – ควำมกว้ำง ของตำรำง Grid ด้วยกำรพิมพ์ ตัวเลขเข้ำไป จำกนั้นคลิกที่ปุ่ม Apply เพื่อเป็นกำรยืนยัน - Grid lines every : ในส่วนนี้สำหรับกำรกำหนดให้มีเส้น Grid 1 เส้นในทุก ระยะ/หน่วย ตำมที่ เรำระบุ - Subdivition : เป็นส่วนที่เรำสำมำรถกำหนดจำนวนเส้นย่อยในตำรำง Grid ได้ตำมต้องกำร Color ในส่วนนี้เรำสำมำรถกำหนดค่ำสีของเส้น - Axis : หำกต้องกำรเปลี่ยนสีของ Axis ก็เพียงใช้เม้ำส์แดร็ก Slide Bar จนได้สีตำมต้องกำร - Grid line and Number : ใช้เม้ำส์แดร็ก Slide Bar จะได้สีของเส้น Grid และสีของตัวเลข ตำม ต้องกำร - Subdivision lines : ใช้เม้ำส์แดร็ก Slide Bar จะได้สีของเส้น Subdivition ตำมต้องกำร Display ในส่วนนี้เรำสำมำรถกำหนดว่ำต้องกำรให้แสดงเส้นประเภทใดบนพื้นที่ทำงำนได้ด้วยกำรใช้ เม้ำคลิกที่หัวข้อที่ต้องกำรให้แสดง จำกนั้นใช้เม้ำคลิกปุ่ม Apply & Close เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอน เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 16 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
ในส่วนของตัวเลือก Perspective Number เรำสำมำรถเลือกแสดงตัวเลขในมุมมอง Perspective เพียงคลิกเลือก Hide ในกรณีที่ต้องกำรซ่อนตัวเลข หรือ On Axis หรือ On Edge ในกรณีที่ต้องกำรให้แสดงตัวเลข Show/Hide Object ภำยในพื้นที่ทำงำนจะประกอบไป ด้วย วัตถุหลำกหลำยชนิดไม่วำ่ จะเป็ นวัตถุ แบบ Polygon ,NURBS ,Subdivision ,Curve แหล่งจ่ำยแสง หรื อ กล้อง ดังนั้นจึง มีคำสั่งสำหรับกำหนดให้สำมำรถเลือกที่จะ แสดง หรื อ เก็บซ่อนวัตถุชนิดใดๆก็ได้ที่ ต้องกำร โดยคลิ๊กที่เมนู Show จะปรำกฏ เมนูพลู ดำวน์ให้สำมำรถเลือกแสดง หรื อ ซ่อนวัตถุบนพื้นที่ทำงำน
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 17 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
Image Plane ภำพ Image Plane เป็นภำพในรูปของวัตถุแผ่นสี่เหลี่ยมที่วำงเอำไว้ในพื้นที่ทำงำน สำหรับใช้เป็นภำพ อ้ำงอิงประกอบกำรทำงำน โดยเฉพำะกับงำนสร้ำงวัตถุ(Modeling) เมื่อต้องกำรสร้ำง Image Planeในช่อง Viewport ใดๆ ก็ตำมให้ไปที่เมนูของ Viewport เลือก View > Image Plane > Import Image ในแต่ละมุมมอง ไม่ว่ำจะเป็นด้ำนบน(Top) ด้ำนหน้ำ(Front) และด้ำนข้ำง(Side) ภำพที่ถูก Import เข้ำมำในพื้นที่ทำงำนในลักษณะของวัตถุแผ่นเรียบที่มีพื้นผิวเป็น ภำพ ดังตัวอย่ำงที่แสดง
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 18 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
::Primitive Primitive เป็นวัตถุรูปทรงเรขำคณิตง่ำยๆ สำหรับงำนสร้ำง Model ทุกชนิดไม่ว่ำ Model นั้นจะมีควำมสวยงำม หรือสลับซับซ้อนเพียงใดก็ต้องเริ่มต้นมำจำกวัตถุรูปทรงง่ำยๆทั้งสิ้น Primitive นั้นมีอยู่หลำยชนิดตำมลักษณะ และคุณสมบัติ ในกำรใช้งำน ซึ่งมีรูปทรงพื้นฐำนให้เลือกใช้งำนตำมวัตถุประสงค์ที่ต้องกำร ไม่ว่ำ Model นั้นจะมีควำมละเอียดสวยงำม เพียงใดก็มีจุดเริ่มต้นมำจำกวัตถุรูปทรงพื้นฐำนทั้งสิ้น ขั้นตอนในกำรสร้ำง Model นั้น จะเริ่มจำก Primitive รูปทรง พื้นฐำนอย่ำง เช่น กล่องสีเหลี่ยม ลูกกลม จำกนั้นจึงค่อยๆใช้เครื่องมือ ทำกำรตกแต่งโครงสร้ำงจำกหยำบๆไปจนมีควำม ละเอียดสวยงำม ซึ่งเปรียบได้ดั่งกำรปั้นดินน้ำมัน ซึ่งจะเริ่มจำกโครงสร้ำงหยำบๆก่อนเสมอ
:: Polygon Primitive เป็นวัตถุรูปทรงเรขำคณิตที่เกิดจำกกำรนำเอำแผ่นหลำย เหลี่ยมชิ้นเล็กๆที่เรียกว่ำ Polygon จำนวนมำกมำเรียงเชื่อมต่อกันจน เกิดเป็นรูปทรงสำหรับกำรสร้ำง Model ด้วย Polygon Primitive สำมำรถทำได้โดยกำรคลิกที่เมนู Create > Polygon Primitive ซึ่งจะประกอบไปด้วยวัตถุแบบ Sphere(ลูกกลม) Cube(กล่อง สี่เหลี่ยม) Cylinder(ทรงกระบอก) Cone(กรวยแหลม) Plane(แผ่น ระนำบแบน)Torus(วงแหวน) Prism(กล่องพริซึม) Pyramid(ปิรำมิด) Pipe (ท่อ) Helix(ขดสปริง) Soccer Ball(ลูกบอล) Platonic Solids(ลูกกลมเพลโทนิค)
Torus
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 19 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
:: NURBS Primitive e เป็นวัตถุที่แตกต่ำงจำกวัตถุแบบ Polygon เนื่องจำกพื้นผิว ของวัตถุไม่ได้เกิดจำกกำรนำเอำพื้นผิวชิ้นเล็กๆมำวำงต่อกัน แต่เกิดจำก กำรนำเอำเส้น Curve ในแกนตั้งและแกนนอนมำเป็นคัวกำหนดรูปทรง ของวัตถุ ด้วยเหตุนี้วัตถุแบบ NURBS จึงเหมำะกับกำรสร้ำง Model ที่มีควำมโค้งเว้ำมำกๆ สำหรับกำรสร้ำง NURBS Primitive สำมำรถทำ ได้โดยกำรไปที่เมนู Create > NURBS Primitive ซึ่งประกอบไปด้วย วัตถุแบบSphere (ลูกกลม) Cube(กล่องสี่เหลี่ยม) Cylinder(ทรง กระบอก) Cone(กรวยแหลม) Plane(แผ่นระนำบแบน) Torus(วง แหวน) Circle (เส้นวงกลม) Square (เส้นสี่เหลี่ยม) คำสั่ง Circle และ Squareไม่ได้เป็นกำร สร้ำงวัตถุที่มีพื้นผิวแต่เป็นกำรสร้ำงเส้น NURBS Curve แบบวงกลมหรือสี่เหลี่ยม
:: Volume Primitive เป็นวัตถุที่แตกต่ำงไปจำกวัตถุแบบ Polygonหรือ NURBS อย่ำงสิ้นเชิงเพรำะเป็นวัตถุที่ไม่มีพื้นผิว ตัววัตถุไม่สำมำรถ Render แต่มองเห็นได้ ในช่อง Viewport ซึ่งเป็นเส้นโครงร่ำงเท่ำนั้น วัตถุ ประเภทนี้จะใช้ในกำรสร้ำง Volume Effect ในงำนAnimation แบบต่ำงๆเป็นหลัก สำหรับกำรสร้ำง Volume Primitive สำมำรถ ทำได้โดยไปที่เมนู Create > Volume Primitive ซึ่งประกอบไป ด้วยวัตถุแบบ Sphere (ลูกกลม) Cube(กล่องสี่เหลี่ยม) Cone (กรวยแหลม)
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 20 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
:: Curve เป็นวัตถุอีกชนิดหนึ่งที่มีควำมสำคัญต่อกำรทำงำนไม่ว่ำจะเป็น กำรนำเอำเส้น Curve ไปใช้ในกำรสร้ำง Model แบบ NURBS Surface หรือ นำเอำไปประยุกต์ใช้ในคำสั่งอื่นๆ เรำสำมำรถสร้ำงเส้น Curve ได้จำกกำรไปที่ เมนู Create > แล้วเลือก Curve Tool แบบต่ำงๆ ซึ่ง ประกอบไปด้วย CV Curve Tool, EP Curve Tool และ Arc Curve Tool CV Curve Tool เป็นเครื่องมือวำดเส้นแบบ NURBS Curve แบบที่มีจุดควบคุม(Control Point)อยู่นอกเส้น Curve ซึ่งทำให้สำมำรถ ควบคุมส่วนโค้งให้รำบเรียบได้ง่ำย EP Curve Tool เป็นเครื่องมือวำดเส้น NURBS Curve แบบที่มีจุดควบคุม (Control Point)อยู่บนตัวเส้น Curve Arc Curve Tool แบบ Two Point Circular Arc เป็นเครื่องมือสำหรับสร้ำงเส้นโค้ง ,วงกลมหรือ วงรี โดยกำรคลิกสร้ำงจุดกำหนดส่วนโต้ง(Arc Point) 2 จุดขึ้นมำ นอกจำกจุดทั้ง 2 นี้แล้ว ใน กำรใช้งำนยังมีเครื่องมือควบคุมส่วนโค้ง(Control Point) และจุดควบคุมทิศทำงของเส้นโค้ง(Flip Curve) อีกด้วย Arc Curve Tool แบบ Three Point Circular Arc เป็นเครื่องมือสำหรับสร้ำงเส้น โค้ง,วงกลม โดยกำรคลิ๊กสร้ำงจุดกำหนดส่วนโต้ง(Arc Point) 3 จุดขึ้นมำ โดยจะมีเส้นรัศมี ( R ) ห่ำงจำกจุดศูนย์กลำงเท่ำกัน :: Text คำสั่ง Text เป็นคำสั่งสำหรับสร้ำงพื้นผิววัตถุ หรือ เส้น Curve ใน ลักษณะตัวอักษร ในส่วนกำรใช้คำสั่งเกี่ยวกับ Text สำมำรถใช้โดยไปที่เมนู Create > Text >Text Curve Option จะปรำกฏหน้ำต่ำง Text Option ขึ้นมำ
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 21 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)
เริ่ มต้ นกับ Autodesk Maya : Autodesk Maya 2014 Student Version. 22 โดย อำนำจ พรหมใจรักษ์ โรงเรียนกัลยำณวัตร สพม.25(ขอนแก่น)