โครงการนนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์_2563

Page 1

โครงการนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ ปรับปรุงอุปกรณ์ดักฝุ่นบอลลูนพักแกลบดา Improvement of Equipment for Trapping Black Husk Ash

จัดทาโดย นายศิริพงษ์ ศรีละคร รหัสนักศึกษา 6040215242 หลักสูตร วท.บ. สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ประจาปีการศึกษา 2563


ชื่อโครงการ

ปรับปรุงอุปกรณ์สำหรับดักฝุ่นบอลลูนพักแกลบดำ (Improvement of Equipment for Trapping Black Husk Ash)

ผู้จัดทา หลักสูตร ปีการศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา

นำย ศิริพงษ์ ศรีละคร วิทยำศำสตรบัณฑิต สำขำอำชีวอนำมัยและควำมปลอดภัย 2563 ดร. พฤมล น้อยนรินทร์

บทคัดย่อ (Abstract) โครงกำรปรับปรุงอุปกรณ์สำหรับดักฝุ่นบอลลูนพักแกลบดำ เนื่องจำก บริษัท นครรำชสีมำสิริ โชคชัย จำกัด มีขั้นตอนกำรผลิตที่พบว่ำขั้นตอนกำรพักแกลบดำมีกำรฟุ้งกระจำยของฝุ่นแกลบดำ และกำรใช้งำนอุปกรณ์ดักฝุ่นแบบเดิมเป็นระบบน้ำไหลผ่ำน ซึ่งไม่สำมำรถลดปริ มำณฝุ่นแกลบดำได้ และยังก่อให้เกิดน้ำขังบริเวณพื้นและก่อให้เกิดควำมเสี่ยงอันตรำย จึงส่งผลทำให้ผู้ปฏิบัติงำนในโรงสี ข้ำวและผู้ที่อำศัยอยู่บริเวณรอบ ๆ โรงสีเกิดควำมรำคำญและได้รับผลกระทบต่อสุขภำพ ผู้จัดทำ โครงกำร จึงได้ดำเนินกำรวิเครำะห์งำนเพื่อควำมปลอดภัย เพื่อกำหนดมำตรกำรป้องกันและลดกำร สัมผัสฝุ่นของพนักงำนที่ปฏิบัติงำนบริเวณบอลลูนแกลบดำ และประเมินควำมพึงพอใจของพนักงำน แล้วทำกำรออกแบบอุปกรณ์ดักฝุ่นแกลบดำ และได้จัดทำเขตควบคุมสวมใส่หน้ำกำกกันฝุ่นขึ้นมำ จำกผลกำรศึกษำและดำเนินงำน พบว่ำ กำรวิเครำะห์งำนและประเมินควำมเสี่ยง ขั้นตอน กำรจัดเก็บฝุ่นแกลบดำ มีผลระดับควำมเสี่ยง ดังนี้ ระดับควำมเสี่ยงที่ยอมรับได้ 2 รำยกำร ระดับ ควำมเสี่ยงสูง 1 รำยกำร และได้จัดทำแผนบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยง ดังนี้ แผนงำนควบคุมควำมเสี่ยง 2 แผน แผนงำนลดควำมเสี่ยง 1 แผน และตรวจวัดปริมำณควำมเข้มข้นของฝุ่นละอองรวม (Total dust) ก่อนปรับปรุงอุปกรณ์ มีค่ำเท่ำกับ 0.00681 มิลลิกรัม/ลูกบำศก์เมตร และได้ทำกำรปรับปรุง อุปกรณ์ดักฝุ่นบอลลูนแกลบดำ หลังกำรปรับปรุงพบว่ำ ผลระดับควำมเสี่ยงทั้ง 3 รำยกำร มีระดับ อยู่ ที่ควำมเสี่ยงเล็กน้อย และพนักงำนมีควำมพึงพอใจในกำรทำงำนอุปกรณ์แบบใหม่ที่ได้รับกำรปรับปรุง จำก อุปกรณ์ดั้งเดิมเพิ่มขึ้นอยู่ที่ 40 % และปริมำณควำมเข้มข้นฝุ่นละอองหลัง ปรับปรุงอุปกรณ์ พบว่ำ ปริมำณควำมเข้มข้นของฝุ่นละอองรวม (Total dust) มีค่ำ 0.00020 มิลลิกรัม/ลูกบำศก์เมตร ดังนั้นสรุปได้ว่ำปริมำณควำมเข้มข้นของฝุ่นหลังจำกปรับปรุงอุปกรณ์ลดลง


สารบัญ หน้า ก ข ค ง

บทคัดย่อ.................................................................................................................................. สารบัญ..................................................................................................................... ............. สารบัญตาราง......................................................................................................................... สารบัญรูปภาพ......................................................................................................................... ส่วนที่ 1 รายละเอียดสถานประกอบการ 1 ชื่อและที่ตั้งของสถานประกอบการ..................................................................... 1 2 ลักษณะการประกอบการ /กระบวนการผลิต...................................................... 2 3 รูปแบบการจัดองค์กร และการบริหารงานขององค์กรด้านความปลอดภัย.......... 5 4 ตาแหน่งและลักษณะงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ..................... 8 5 พนักงานที่ปรึกษาและตาแหน่งงานของพนักงานที่ปรึกษา....................................9 6 ระยะเวลาที่นักศึกษาปฏิบัติงานและแผนการปฏิบัติงาน……………………………….. 9

ส่วนที่ 2 โครงการที่ได้รับมอบหมาย บทที่ 1 โครงการที่ได้รับมอบหมาย1 /รายละเอียดการปฏิบัติงาน............................................... 15 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา............................................................. 15 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ................................................................................... 16 1.3 ขอบเขตของโครงการ………………………………………………………………………………. 16 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ……………………………………………………………………….. 16 1.5 ขั้นตอนและวิธีการดาเนินโครงการ…………………………………………………………….. 16 1.6 อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้…………………………………………………………………………. 17 1.7 รายละเอียดขั้นตอนการดาเนินงาน……………………………………………………………..17 บทที่ 2 สรุปผลโครงการ/การปฏิบัติงาน………………………………………………………………….............. 33 2.1 สรุปผลโครงการ/การปฏิบัติงาน………………………………………………………………… 33 2.2 ปัญหาและข้อเสนอแนะจากการทาโครงการ...................................................... 35


สารบัญ(ต่อ) หน้า บรรณานุกรม....................................................................................................................................36 ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………………………………….......37 ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทาโครงการ ภาคผนวก ข หลักเกณฑ์การประเมิน ภาคผนวก ค รูปภาพอุปกรณ์ดักฝุ่นแกลบ ภาคผนวก ง การวิเคราะห์ค่าความเข้มข้นของฝุ่นในอากาศ


สารบัญตาราง ตารางที่ 1-1 2-1 2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 2-7

หน้าที่ แผนการปฏิบัติงาน...................................................................................................... แสดงแผนการดาเนินงาน............................................................................................ การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยขั้นตอนการจัดเก็บฝุ่นแกลบดา.......................... แผนงานควบคุมความเสี่ยงขั้นตอนการจัดเก็บฝุ่นแกลบดา ........................................ แผนงานลดความเสี่ยงการใช้งานอุปกรณ์ดักฝุ่นเพื่อช่วยลดการฟุ้งกระจายของฝุ่น... การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยการจัดเก็บฝุ่นแกลบดา……………………………….. เปรียบเทียบระดับความเสี่ยงก่อนและหลังการปรับปรุงอุปกรณ์…………………………… ผลการตรวจวัดฝุ่นละอองรวมทุกขนาด(Total dust) ก่อนและหลัง…………………….

9 17 21 23 25 31 33 34


สารบัญรูปภาพ รูปภาพที่ 1-1 1-2 1-3 1-4 1-5 1-6 1-7 2-1 2-2 2-3 2-4

ภาพจากดาวเทียมที่ตั้ง บริษัท นครราชสีมาสิริโชคชัย จากัด................................ ผลิตภัณฑ์ตราข้าวสิริมงคล.................................................................................... ผลิตภัณฑ์ตรามาราธอน…………………………………………………………………………….. แผนผังสถานประกอบการ………………………………………………………………………….. กระบวนการผลิตโรงสีข้าว………………………………………………………………………….. กระบวนการผลิตข้าวสารบรรจุถุง……………………………………………………………….. แผนผังองค์กร……………………………………………………………………………………………. แบบอุปกรณ์ดกั ฝุ่น............................................................................................... แบบการติดตั้งอุปกรณ์………………………………………………………………………………… อุปกรณ์หลังการปรับปรุง....................................................................................... อุปกรณ์ดั้งเดิม........................................................................................................

หน้าที่ 1 3 3 4 4 5 7 27 27 28 29


1

ส่วนที่ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับสถานประกอบการ 1 ชื่อและที่ตั้งสถานประกอบการ ชื่อ : บริษัท นครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด NAKHONRATCHASIMA SIRICHOKECHAI CO.,LTD. ตั้งอยู่ที่ 85-86 หมู่ที่ 5 ถ.รำชสีมำ-โชคชัย กม.14 ตำบลหนองบัวศำลำ อำเภอเมือง จังหวัด นครรำชสีมำ 30000 ปณ.24 โทร.0-4421-2491-6 โทรสำร.0-44 21-2495 แฟกซ์ 0-4421-2495

ภำพที่ 1-1 ภำพจำกดำวเทียมที่ตั้ง บริษัท นครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด ที่มำ : https://www.google.co.th/maps/place/บริษัทนครรำชสีมำสิริโชคชัยจำกัด


2

2 ลักษณะการประกอบการ /กระบวนการผลิต บริษัท นครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด และ บริษัท ข้ำวสิริมงคล จำกัด ได้ดำเนินกำรทำงำน บริษัทให้สำมำรถตอบสนองต่อควำมต้องกำรและควำมคำดหวังของลูกค้ำ/ผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ ของบริษัทฯ โดยมีจุดมุ่งหมำยหลักในกำรรักษำระดับของมำตรฐำนกำรทำงำนในกำรกำรผลิตภัณฑ์ที่ มีคุณภำพ และมีควำมปลอดภัยในอันที่จะทำให้ลูกค้ำเกิดควำมพึงพอใจในกำรใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัท โดยกำรนำเอำระบบมำตรฐำนต่ำง ๆ ที่สำกลยอมรับ อำทิเช่น • หลักเกณฑ์วิธีกำรที่ดีในกำรผลิต (Good Manufacturing Practices : GMP) • ระดับกำรวิเครำะห์อันตรำยและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (Hazard Analysis Critical Control Points : HACCP) มำประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทำงในกำรบริหำรงำนของบริษัทให้มีมำตรฐำน ตำมที่มุ่งหวังไว้ บริษัท นครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด ได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2531 และบริษัท ข้ำวสิริมงคล จำกัด ได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2544 โดยคุ ณดำรงศักดิ์ สิริจินดำ และครอบครัว ด้วยทุนจดทะเบียนรวม 54 ล้ำนบำท กำลังผลิตประมำณ 200 ตันข้ำวสำรต่อวัน มีคนงำนประมำณ 120 คน โดยมีจุดประสงค์ เพื่อดำเนินธุรกิจด้ำนรับซื้อข้ำวสำร และจำหน่ำยข้ำวสำรคุณภำพดีเพื่อส่งออก ประกอบกิจกำรโรงสีข้ำวและจำหน่ำยข้ำว โดยมีกำรพั ฒนำทั้งกำลังกำรผลิต วิธีและขั้นตอน กำรผลิต ตลอดจนอำคำรที่ตั้งให้สะอำด ถูกสุขลักษณะ ทำงบริษัทฯ มีกำรดำเนินกำรตั้ งแต่กำรรับซื้อ ข้ำวเปลือก, กำรทำให้ข้ำวเปลือกแห้งโดยกำรใช้ควำมร้อนแทนกำรตำก, กำรสีข้ำว และคัดคุณภำพ ตลอดจนกำรจัดเก็บข้ำวในไซโล ที่สำมำรถควบคุมอุณหภูมิได้, กำรบรรจุผลิตภัณฑ์ ในบรรจุภัณฑ์ • Good Manufacturing Practices : GMP หมำยถึ ง ขั้ น ตอนวิ ธี ก ำรภำยในบริ ษั ท ในกำร ดำเนินงำน เพื่อทำให้เกิดควำมมั่นใจได้ว่ำผลิตภัณฑ์ต่ำง ๆ ได้ผลิตอย่ำงมีประสิทธิภำพ ลด ขั้นตอนกำรที่อันจะเกิดอันตรำย และทำให้ผลิตภัณฑ์นั้นมีคุณภำพตำมต้องกำร • กำรทำควำมสะอำด หมำยถึง กำรกัดจัดเศษดิน เศษโลหะ หรือวัตถุที่ไม่พึงปรำนถนำออกมำ จำกพื้นผิว • กำรปนเปื้อน หมำยถึง กำรนำเชื้อจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดอันตรำยจำกจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง หรือกำรที่มีเศษวัตถุที่ไม่พึ่งปรำนถนำปะปนอยู่ในผลิตภัณฑ์ ซึ่งไม่ควรจะมีอยู่ในส่วนผสม • กระบวนกำรผลิต หมำยถึง ขั้นตอนกำรดำเนินงำนแต่ละขั้น ตั้งแต่กำรจักเก็บวัตถุดิบกำรแปร สภำพ จนถึงกำรจัดกำรกับผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป • สถำนประกอบกำร หมำยถึง อำคำรใดใด หรือบริเวณที่ซึ่งมีกำรปฏิบัติต่ออำหำรในนั้นและ บริเวณ สิ่งแวดล้อมซึ่งที่อยู่ภำยใต้กำรควบคุมของกำรจัดกำรเดียวกัน


3

บริษัทฯ นาระบบมาตรฐานที่สากลยอมรับ อาทิเช่น GMP – Good Manufacturing Practices : ระบบประกันคุณภำพที่มีกำรปฏิบัติและพิสูจน์ แล้วสำมำรถทำให้อำหำรเกิดควำมปลอดภัย และเป็นที่เชื่อถือยอมรับจำกผู้บริโภค โดยอำศัยหลำย ปัจจัยที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กัน ดังนั้นหำกปฏิบัติตำมแนวทำงที่กำหนดได้ทั้ง ก็จะทำให้อำหำรมีคุณภำพ มีควำมปลอดภัยและได้มำตรฐำน HACCP – Hazard Analysis Critical Point : มำตรฐำนควบคุมดูแลควำมปลอดภัยในทุก กระบวนกำรผลิตอำหำร เพื่อป้องกันอันตรำยและสิ่งปนเปื้อนในอำคำร HALALอำหำรหรือผลิตภัณฑ์อำหำรซึ่งอนุมัติตำมบัญญัติศำสนำอิสลำมให้มุสลิมบริโภคหรือ ประโยชน์ โดยทำงบริษัทฯ ได้รับกำรรับรอง GMP/HACCP ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน บริษัท นครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด ได้รับกำรรับรองอุตสำหกรรมสีเขียวระดับที่ 1 จำก กระทรวงอุตสำหกรรม - ควำมมุ่งมั่นสีเขียว (Green Commitment) - มีควำมมุ่งมั่นที่จะลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และมีกำรสื่อสำรภำยในองค์กรให้ทรำบ โดยทั่วกัน ผลิตภัณฑ์ ข้ำวสำรที่ผลิตจำกโรงปรับปรุงข้ำวสำรของบริษัทฯ ลักษณะของผลิตภัณฑ์ มีดังนี้ - ข้ำวสิริมงคล

ภำพที่ 1-2 ผลิตภัณฑ์ตรำข้ำวสิริมงคล

- ข้ำวมำรำธอน

ภำพที่ 1-3 ผลิตภัณฑ์ตรำมำรำธอน


4

แผนผังสถานประกอบการ

ภำพที่ 1-4 แผนผังสถำนประกอบกำร กระบวนการผลิตโรงสีข้าว

ภำพที่ 1-5 กระบวนกำรผลิตโรงสีข้ำว


5

กระบวนการผลิต : ข้าวสารบรรจุถุง

ภำพที่ 1-6 กระบวนกำรผลิตข้ำวสำรบรรจุถุง 3 รูปแบบการจัดองค์กร และการบริหารงานขององค์กรด้านความปลอดภัย นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม 1. พัฒนำ ด ำเนินกำรและด ำรงไว้ ซึ่ง ระบบกำรบริ หำรงำนตำมมำตรฐำนกำรบริ หำรควำม ปลอดภัยอำชีวอนำมัยและสิ่งแวดล้อมของบริษัท นครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด เพื่อให้เกิด กำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง 2. ปฏิบัติตำมและติดตำมกำรเปลี่ยนแปลงของข้อกำหนด กฎหมำย ด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอ นำมัยและสิ่งแวดล้อม รวมถึงควำมมุ่งหวังขององค์กรตลอดจนพันธะสัญญำต่ำง ๆ ที่มีต่อผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง ทุกภำคส่วนอย่ำงทันต่อสถำนกำรณ์ในปัจจุบัน 3. ดำเนินกำรเพื่อให้มั่นใจว่ำกำรปฏิบัติงำนทั้งหมดมีควำมปลอดภัย มีสภำพแวดล้อมในกำร ทำงำนที่ดีและเหมำะสมสำหรับพนักงำน คู่ธุรกิจ ชุมชน และสังคม


6

4. บริหำรจัดกำรหน่วยงำนต่ำง ๆ ด้วยควำมสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมโดยให้ ควำมสำคัญต่อกำรป้องกั นมลพิ ษ กำรอนุรักษ์ทรัพยำกร กำรประหยัดพลังงำนและกำร ปฏิบัติงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ 5. ดำเนินกำรด้ำนกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์ในเชิงรุกกับบุคคลหรือองค์กร ที่อำจได้รั บผลกระทบ จำกกำรดำเนินงำนของบริษัท นครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด ตลอดจนรับฟัง ควำมคิดเห็นต่ำง ๆ เพื่อประกอบกำรตัดสินใจในกำรดำเนินกำรของบริษัทฯ ในทุก ๆ ด้ำน นโยบายคุณภาพ บริษัท นครราชสีมาสิริโชคชัย จากัด ผลิตข้ำวสำรคุณภำพ สะอำด ปลอดภัยต่อกำรบริโภค ตำมมำตรฐำนสำกล เพื่อควำมพึง พอใจของลูกค้ำสูงสุดและมีกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง วัตถุประสงค์คุณภาพ 1. พนักงำนทุกคนมีส่วนร่วมในระบบคุณภำพ GMP/HACCP 2. มีธุรกิจที่มั่นคง ดำเนินธุรกิจที่มีควำมซื่อสัตย์ต่อลูกค้ำ เพื่อควำมเป็นผู้นำในอุตสำหกรรมผลิต และจำหน่ำยข้ำวสำร มีกำรบริหำรระบบคุณภำพที่สอดคล้องกับมำตรฐำน GMP/HACCP 3. ผลิตภัณฑ์สินค้ำที่มีคุณภำพตรงตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำ 4. จัดส่งสินค้ำอย่ำงถูกต้อง ครบถ้วน และแม่นยำ 5. มีกำรพัฒนำ อบรม พนักงำนอย่ำงต่อเนื่อง กฎระเบียบความปลอดภัยของบริษัท นครราชสีมาสิริโชคชัย 1. พนักงำนต้องแต่งกำยให้เรียบร้อย รัดกุม 2. ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรำยส่วนบุคคล (PPE) ขั้นพื้นฐำน ในกำรเข้ำ-ออก บริษัทและ บริเวณพื้นที่ทำงำน ได้แก่ ร้องเท้ำหุ้มส้นหรือรองเท้ำนิรภัย 3. พนักงำนทุกคน ต้องผ่ำนกำรอบรมหลักสูตร ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนสำหรับพนักงำน ใหม่ก่อนจะเข้ำปฏิบัติงำนได้ 4. ต้องตรวจเช็คสภำพเครื่องจักร เครื่อ งมือ อุปกรณ์ก่อนและหลังเริ่มงำนทุกวัน หำกพบว่ำ ชำรุด เสียหำยให้แจ้งหัวหน้ำงำนทันทีเพื่อดำเนินกำรแก้ไขให้ปลอดภัย จึงจะปฏิบัติงำนได้ 5. ห้ำมใช้เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ผิดประเภท เพรำะอำจทำให้เกิดอุบัติเหตุและทรัพย์สิน เสียหำย 6. ห้ำมหยอกล้อ/ล้อกัน ในขณะปฏิบัติงำน 7. ห้ำมนั่งบนเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ใต้ฐำนของเครื่องจักร 8. ต้องปิดสวิทซ์หรือถอดปลั๊ก ก่อนซ่อมแซมเครื่องจักร ทุกครั้ง 9. หำกไม่สบำย ร่ำงกำยไม่พร้อมปฏิบัติงำน ให้รีบแจ้งหัวหน้ำงำนทันที


7

10. พนักงำนทุกคน จะต้องปฏิบัติตำมแผนฉุกเฉิน กฎระเบียบ เครื่ องหมำยป้ำยเตือน และป้ำย ห้ำมต่ำง ๆ ของบริษัทฯ อย่ำงเคร่งครัด 11. อย่ำทำงำนในที่ลับตำเพียงคนเดียว โดยไม่มีใครทรำบโดยเฉพำะกำรทำงำนหลังเวลำงำนปกติ เช่น งำนไฟฟ้ำ ที่อับอำกำศ และงำนที่เสี่ยงเป็นต้น 12. ต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองควำมปลอดภัยส่วนบุคคล ตำมประเภท หรือชนิดงำนนั้น ๆ ตลอดเวลำ 13. ขณะปฏิบัติงำนต้องมีกำรสื่อสำร ประสำนงำนที่ดีกับเพื่อนร่วมงำน เช่น วิทยุสื่อสำร 14. อนุญำตให้สูบบุหรี่ในเวลำและในพื้นที่ที่กำหนดไว้เท่ำนั้น 15. ห้ำมดื่มสุรำ ของมึนเมำ สำรเสพติดและเล่นกำรพนันภำยในบริษัทฯ โดยเด็ดขำด 16. ห้ำมฉีดเครื่องดับเพลิงหรือกดสัญญำณแจ้งเหตุฉุกเฉินเล่นโดยไม่มีเหตุอันควร 17. กรณีไม่มีหน้ำที่รับผิดชอบในเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์และพื้นที่อั นตรำย ห้ำมเข้ำไป ดำเนินกำรใด ๆ โดยไม่ได้รับอนุญำตเด็ดขำด 18. ผู้รับเหมำที่เข้ำมำทำงำนภำยในบริษัทฯ จะต้องได้รับกำรอบรมตำมที่บริษัทฯกำหนดก่อนทุก ครั้ง จึงจะสำมำรถปฏิบัติงำนได้รวมทั้งต้องปฏิบัติตำมกฎระเบียบด้ำนควำมปลอดภัยของ บริษัทฯ ตลอด ระยะเวลำปฏิบัติงำน 19. กำรทำงำนจะต้องมใบอนุญำตทำงำน (work Permit) ตำมระเบียบบริษัทฯ แผนผังองค์กร (ORGNIZATION CHART)

ภำพที่ 1-7 แผนผังองค์กร


8

คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน (คปอ.) 1. นำยวรกิตติ์ สิริจินดำ กรรมกำรผูจ้ ัดกำร ประธำนคณะกรรมกำรควำมปลอดภัยฯ 2. นำงอุไรรัตน์ มงคลพรรุจี ผู้จัดกำรฝ่ำยบุคคล คณะกรรมกำรควำมปลอดภัยฯระดับบริหำร 3. นำยภูวดล ยศกระโทก หัวหน้ำแผนกไฟฟ้ำ คณะกรรมกำรควำมปลอดภัยฯระดับบริหำร 4. นำยสุรวิทย์ สำรศรี พนักงำน คณะกรรมกำรควำมปลอดภัยฯระดับปฏิบัติกำร 5. นำยอมรเทพ ปลั่งกลำง พนักงำน คณะกรรมกำรควำมปลอดภัยฯระดับปฏิบัติกำร 6. นำยมงคล ดิษสง พนักงำน คณะกรรมกำรควำมปลอดภัยฯระดับปฏิบัติกำร 7. นำงสำวศจี แรงสูงเนิน จป.วิชำชีพ เลขำนุกำรคณะกรรมกำรควำมปลอดภัยฯ 4 ตาแหน่งและลักษณะงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย • ตำแหน่งฝึกงำนสหกิจ นักศึกษำสหกิจผู้ชว่ ยเจ้ำหน้ำที่ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนระดับวิชำชีพ • ลักษณะงำนที่ได้รับมอบหมำย 1. เดินสำรวจพื้นที่สถำนประกอบกำร (walk though survey) 2. อัพเดตป้ำยสถิติควำมปลอดภัย 3. อัพเดตยอดผู้ติดเชื้อโควิด 19 4. สวบสวนและสรุปรำยงำนอุบัติเหตุ 5. ติดบอร์ดควำมรู้เกี่ยวกับควำมปลอดภัยในกำรทำงำน 6. ตรวจเช็คถังดับเพลิงและอุปกรณ์แจ้งเหตุฉุกเฉิน 7. ตรวจเช็คประตูและทำงหนีไฟ และไฟฉุกเฉิน 8. กำรประชุมกำรทำงำนของคณะกรรมกำรควำมปลอดภัย (คปอ.) 9. จัดทำเอกสำร SDS (เอกสำรข้อมูลควำมปลอดภัยสำรเคมี) 10. สุ่มตรวจวัดปริมำณแอลกอฮอล์พนักงำน 11. สรุปตรวจเช็ครถโฟคลิฟท์ 12. กิจกรรม Safety Talk ประจำเดือน 13. ประเมินควำมเสี่ยงในกำรทำงำนของพนักงำน 14. ปฏิบัติงำนด้ำนควำมปลอดภัยในกำรทำงำนอื่นตำมที่นำยจ้ำงมอบหมำย 15. อบรมผู้รับเหมำ


9

5 พนักงานที่ปรึกษาและตาแหน่งของพนักงานที่ปรึกษา คุณ ศจี แรงสูงเนิน ตำแหน่งเจ้ำหน้ำที่ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนระดับวิชำชีพ 6 ระยะเวลาการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และแผนการปฏิบัติงาน ระยะเวลำในกำรปฏิบัติงำนสหกิจ ณ บริษัท นครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด รวม 16 สัปดำห์ ตั้งแต่ วันที่ 30 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2563 ถึง วันที่ 19 มีนำคม พ.ศ. 2564 วัน-เวลำ ที่ปฏิบัติงำน จันทร์-ศุกร์ เวลำ 08.00 – 17.05 น. สวัสดิกำร เบี้ยเลี้ยงกำรปฏิบัติงำนวันละ 150 บำท และ อำหำรกลำงวัน แผนการปฏิบัติงาน ตำรำงที่ 1-1 แผนกำรปฏิบัติงำน ระยะเวลำกำรปฏิบัติงำน ลำดับ รำยละเอียดกำรปฏิบัติงำน P/A ที่ปรึกษำ หมำยเหตุ ธันวำคม มกรำคม กุมภำพันธ์ มีนำคม 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 สำรวจและศึกษำข้อมูลด้ำนควำมปลอดภัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน 1 1.1 เดินสำรวจรอบริเวณ P สถำนประกอบกำร A 1.2 ศึกษำข้อลูลขั้นตอนกำร P ผลิตของสถำนประกอบกำร A 1.3 ศึกษำข้อมูลคู่มือควำม ปลอดภัยในกำรทำงำนของ พนักงำน

P A

9


10

ตำรำงที่ 1-1 แผนกำรปฏิบัติงำน (ต่อ) ระยะเวลำกำรปฏิบัติงำน ลำดับ

รำยละเอียดกำรปฏิบัติงำน

P/A

ธันวำคม 1 2

1.4 ศึกษำกฎหมำยควำม ปลอดภัยและกฎหมำย ต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1.5 ศึกษำดำเนินกำรด้ำน ควำมปลอดภัยด้ำนอื่น ๆ 2

มกรำคม

3 4 1 2 3 4 1

กุมภำพันธ์

มีนำคม

ที่ปรึกษำ

หมำยเหตุ

2 3 4 1 2 3 4

P A P A

กำรบริหำรจัดกำรควำมปลอดภัยและสภำพแวดล้อมกำรทำงำน 2.1 อบกำรใช้อุปกรณ์ปอ้ งกัน ส่วนบุคคล 2.2 ตรวจควำมปลอดภัยใน กำรทำงำนของผู้รับเหมำ

P A P A

ให้ควำมรู้ พื้นฐำนกับ พนักงำน เมื่อมีผู้ เหมำเข้ำ มำทำงำน

10


11

ตำรำงที่ 1-1 แผนกำรปฏิบัติงำน (ต่อ) ระยะเวลำกำรปฏิบัติงำน ลำดับ

รำยละเอียดกำรปฏิบัติงำน

P/A

ธันวำคม 1 2

2.3 ตรวจควำมปลอดภัย พนักงำนเมื่อมีกำรทำงำนที่มี ควำมเสี่ยง 2.4 เดินตรวจสอบ สภำพแวดล้อมในกำรทำงำน 2.5 ตรวจอุปกรณ์ฉุกเฉินและ อุปกรณ์ถังดับเพลิง 2.6 สอบสวนอุบัติเหตุ 2.7 ติดตั้งป้ำยเตือนและป้ำย สัญลักษณ์

P A

มกรำคม

กุมภำพันธ์

มีนำคม

ที่ปรึกษำ

หมำยเหตุ

3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 เมื่อมีกำร ทำงำนในที่ เสี่ยง

P A P A P A

ทุกวันที่12 ของเดือน เมื่อเกิด อุบัติเหตุ

P A

11


12

ตำรำงที่ 1-1 แผนกำรปฏิบัติงำน (ต่อ) ระยะเวลำกำรปฏิบัติงำน ลำดับ

รำยละเอียดกำรปฏิบัติงำน

P/A

ธันวำคม 1 2

2.8 ตรวจพื้นที่ควำมปลอดภัย ในกำรทำงำน 2.9 ประเมินควำมเสี่ยง ขั้นตอนกำรทำงำน 2.10 กิจกรรม Safety Talk ประจำเดือน 2.11 จัดทำเอกสำรข้อมูล ควำมปลอดภัยสำรเคมี 2.12 ดำเนินงำนควำม ปลอดภัยอื่น ๆ ที่ได้รับ มอบหมำย

มกรำคม

3 4 1 2 3 4 1

กุมภำพันธ์

มีนำคม

ที่ปรึกษำ

หมำยเหตุ

2 3 4 1 2 3 4

P A P A P A P

ทุกวันที่ 1 ของเดือน

A P A

12


13

ตำรำงที่ 1-1 แผนกำรปฏิบัติงำน (ต่อ) ระยะเวลำกำรปฏิบัติงำน ลำดับ

รำยละเอียดกำรปฏิบัติงำน

P/A

ธันวำคม 1 2

3

มกรำคม

กุมภำพันธ์

มีนำคม

ที่ปรึกษำ

หมำยเหตุ

3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

กำรจัดทำและนำเสนอโครงกำรสหกิจ 3.1 จัดทำแผนและดำเนิน โครงกำรสหกิจ 3.2 กำรสำรวจสถำน ประกอบกำรเพื่อค้นหำหัวข้อ โครงกำร 3.3 เก็บรวบรวมข้อมูลและ ดำเนินโครงกำรสหกิจ 3.4 สรุปผลกำรดำเนินงำน 3.5 ตรวจสอบควำมถูกต้อง รูปเล่มโดยพี่เลี้ยง

P A P A P A P A P A

13


14

หมำยเหตุ : 1. แผนกำรดำเนินกำรอำจมีกำรอำจมีเปลี่ยนแปลงตำมระยะเวลำ 2. แผนงำน (Plan) ดำเนินกำร (Actual)


15

ส่วนที่ 2 โครงการที่ได้รับมอบหมาย บทที่ 1 โครงการที่ได้รับมอบหมาย /รายละเอียดการปฏิบัติงาน 1.1 ความเป็นมา และความสาคัญของปัญหา ปัจจุบันมลพิษทำงอำกำศถือเป็นปัญหำหลักที่สำคัญของประเทศ อันเป็นผลมำจำก กำร ขยำยตัวทำงด้ำนเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งมลสำรที่ก่อใหเกิดปัญหำมลพิษทำงอำกำศที่สำคัญ คือ ฝุ่น ละออง อุตสำหกรรมสีข้ำวถือเป็นอุตสำหกรรมหนึ่งที่ส่งผลกระทบให้เห็นอย่ำงชัดเจน เนื่องจำก มี ขั้นตอนกำรผลิตที่ก่อให้เกิดมลพิษทำงอำกำศ แบ่งออกได้ 2 ประเภทคือ 1. ฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นใน ขั้นตอนของกำรสีข้ำว บริเวณลำนตำกข้ำวเปลือก กำรขนส่งวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์ฝุ่นที่เกิดขึ้นจะทำ ให้ผู้ที่ได้รับฝุ่นมีสมรรถภำพปอดลดลงเกิดกำรระคำยเคืองของเยื่อบุตำและ ผิวหนัง และประเภทที่ 2. เขม่ำควัน ไอเสีย และฝุ่นละอองจำกกำรเผำไหม้ กรณีโรงสีที่มีกำรใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิง และโรงสีที่ใช้ หม้อน้ำที่มีกำรใช้แกลบเป็นเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงดังกล่ำวเมื่อเผำไหม้จะก่อให้เกิดมลสำรในอำกำศ หรือ ไอเสีย ได้แก่ควั นที่เกิดจำกกำรเผำไหม้ไม่สมบูรณ์ของสำรที่มีคำร์บอนเป็นองค์ประกอบ ฝุ่นที่เป็น อนุภำค ของแข็งลอยตัวอยู่ในอำกำศ เช่น ฝุ่นแกลบดำ นอกจำกนี้กำรเผำไหม้ยังก่อให้เกิดไอระเหย รวมถึงก๊ำซและสำรประกอบ ได้แก่ คำร์บอนไดออกไซด์ คำร์บอนมอนนอกไซด์ ไนโตรเจนออกไซด์ และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เมื่อได้รับจะทำให้เกิดกำรวิงเวียนศีรษะ หน้ำมืด ตำลำย แสบจมูกและอำจทำ ให้เกิดโรคปอดได้ ลักษณะประกอบกำรของบริษัท นครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด จะมีขั้นตอนกำรผลิตที่จะ ก่อให้เกิดฝุ่นละอองจำกกระบวนกำรสีข้ำว กำรขนส่งข้ำวเปลือก รวมไปถึงกระบวนกำรอบข้ำวด้วย ควำมร้อน ซึ่งขั้นตอนนี้จะก่อให้เกิดกำรฟุ้งกระจำยของฝุ่นแกลบ เนื่องจำกขั้นตอนกำรอบข้ำวชื้น จะ นำแกลบเพื่อเป็นเชื้อเพลิงให้ควำมร้อน แกลบที่เผำไหม้แล้วเสร็จ เตำอบจะปล่อยแกลบดำมำตำมท่อ เพื่อพักแกลบดำไว้ที่บอลลูนแกลบดำ เพื่อนำไปเก็บ ขั้นตอนกำรพักแกลบดำพบว่ำ มีกำรฟุ้ งกระจำย และอุปกรณ์เดิมใช้ระบบน้ำไหลผ่ำน ซึ่งไม่ได้ประสิทธิภำพไม่สำมำรถลดปริมำณฝุ่นแกบลดำได้ และ ยังก่อให้น้ำไหลไปตำมพื้นก่อให้เกิดควำมเสี่ยงอันตรำย และส่งผลทำให้ผู้ปฏิบัติงำนในโรงสีข้ำวและผู้ ที่อำศัยอยู่บริเวณรอบ ๆ โรงสีเกิดควำมรำคำญและได้รับผลกระทบต่อสุขภำพ จำกปัญหำที่กล่ำวมำในข้ำงต้น ผู้วิจัยจึงได้นำมำศึกษำเพื่อหำแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำ เพื่อ ลดกำรฟุ้งกระจำยของฝุ่นแกลบดำ ดังนั้น หัวข้อโครงกำรคือ “ปรับปรุงอุปกรณ์ดักฝุ่น บอลลูนพัก แกลบดำ” ที่นำเสนอนี้ โดยกำรวิเครำะห์งำนเพื่อควำมปลอดภัย (JSA) เพื่อให้ทรำบถึงควำมเสี่ยงใน


16

ขั้นตอนกำรทำงำนของแผนกควบคุมควำมชื้นที่ต้องมีกำรสัมผัสกับฝุ่นโดยรอบบอลลูนแกลบดำ ดังนั้น ผู้จัดทำโครงกำร จึงได้ทำเขตควบคุมสวมหน้ำกำกกันฝุ่น และกำรออกแบบปรับปรุงอุปกรณ์ ดักฝุ่น แกลบดำ เพื่อควำมเหมำะสมในกำรใช้งำน และช่วยลดปริมำณฝุ่นที่ก่อให้เกิดมลพิษทำงอำกำศได้ 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อศึกษำระดับควำมเสี่ยงก่อนและหลังกำรปรับปรุงอุปกรณ์ดักฝุ่น 2. เพื่อลดกำรสัมผัสฝุ่นละออง (Total dust) ของพนักงำน 3. เพื่อศึกษำควำมระดับพึงพอใจก่อนและหลังกำรปรับปรุงอุปกรณ์ดักฝุ่น ของพนักงำน แผนกควบคุมควำมชื้น 4. เพื่อออกแบบปรับปรุงอุปกรณ์ดักฝุ่นในพื้นที่บอลลูนพักแกลบดำ 1.3 ขอบเขตของโครงการ บอลลูนพักแกลบดำ แผนกควบคุมควำมชื้น บริษัท นครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ลดกำรฟุ้งกระจำยของฝุ่นแกลบดำ 2. เพื่อให้ได้อุปกรณ์ดักฝุ่นที่ได้ประสิทธิภำพและลดฝุ่นได้จริง 1.5 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 1.5.1 ขั้นตอนกำรวำงแผนงำน 1.5.1.1 สำรวจขั้นตอนกำรทำงำนของสถำนประกอบกำร 1.5.1.2 ศึกษำและกำหนดมำตรกำรจัดกำรควำมเสี่ยงจำกกำรทำงำน 1.5.1.3 นำเสนอหัวข้อโครงกำรที่พบต่อพนักงำนที่ปรึกษำเพื่ออนุมัติทำโครงกำร 1.5.1.4 ประชุมวำงแผนหัวข้อโครงกำร และแผนกำรดำเนินงำน 1.5.2 ขั้นตอนกำรดำเนินงำน 1.5.2.1 วิเครำะห์ควำมเสี่ยงในขั้นตอนกำรทำงำนของแผนกควบคุมควำมชื้นที่ต้องมี กำรสัมผัสกับฝุ่นโดยรอบบอลลูนแกลบดำ เพื่อกำหนดแนวทำงแก้ไข 1.5.2.2 จัดทำแผนงำนบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยง 1.5.2.4 ติดต่อประสำนงำนกับหัวหน้ำแผนก เพื่อนำเสนอโครงกำร 1.5.2.4 ตรวจวัดปริมำณฝุ่นบริเวณบอลลูนพักแกลบดำก่อนทำกำรปรับปรุงอุปกรณ์ 1.5.2.5 ประเมินควำมพึงพอใจอุปกรณ์ก่อนกำรปรับปรุง 1.5.2.6 ออกแบบและดำเนินกำรปรับปรุงอุปกรณ์ให้มีประสิทธิภำพ 1.5.2.7 นำอุปกรณ์แบบใหม่ไปทำกำรติดตั้งและทดลองใช้งำน 1.5.2.8 ตรวจวัดปริมำณฝุ่นบริเวณบอลลูนพักแกลบดำหลังทำกำรปรับปรุงอุปกรณ์ 1.5.2.9 ประเมินควำมพึงพอใจหลังกำรออกแบบอุปกรณ์


17

1.5.2.10 ประเมินควำมเสี่ยงและควำมเหมำะสมหลังกำรปรับปรุงอุปกรณ์ 1.5.2.11 สรุปผลกำรดำเนินงำน 1.5.3 ขั้นตอนกำรสรุป 1.5.3.1 สรุป และประเมินผลโครงกำร 1.5.3.2 รวบรวมข้อมูลและจัดทำรูปเล่ม 1.6 อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ 1.6.1 อุปกรณ์ทใี่ ช้ 1.6.1.1 อุปกรณ์เก็บตัวอย่ำงอำกำศ 1.6.2 เครื่องมือทีใ่ ช้ 1.6.2.1 แบบฟอร์มวิเครำะห์งำนเพื่อควำมปลอดภัย (Job safety Analysis) 1.6.2.2 หลักเกณฑ์กำรประเมินควำมเสี่ยง 1.6.2.3 แบบประเมินควำมพึงพอใจ อุปกรณ์ดกั ฝุน่ แบบเดิม 1.6.2.4 แบบประเมินควำมพึงพอใจ อุปกรณ์ดกั ฝุน่ หลังกำรปรับปรุง 1.6.2.5 ออกแบบอุปกรณ์ดักฝุ่นบอลลูนพักแกลบดำที่มีประสิทธิภำพในกำรใช้งำน 1.7 รายละเอียดขั้นตอนการดาเนินงาน 1.7.1 ตำรำงแสดงกำรดำเนินงำน ตำรำงที่ 2-1 แสดงแผนกำรดำเนินงำน ระยะเวลำดำเนินงำน กำรดำเนินงำน

ปี 2563 ธ.ค.

ปี 2564 ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 ขั้นตอนกำรวำงแผน Plan 1. สำรวจขั้นตอนกำรทำงำนของ สถำนประกอบกำร

Actual


18

ตำรำงที่ 2-1 แสดงแผนกำรดำเนินงำน (ต่อ) ระยะเวลำดำเนินงำน ปี 2563 ปี 2564 ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

กำรดำเนินงำน

2. ศึกษำและกำหนดมำตรกำรจัดกำร Plan ควำมเสี่ยงจำกกำรทำงำน Actual 3. นำเสนอหัวข้อโครงกำรที่พบต่อ Plan พนักงำนที่ปรึกษำเพื่ออนุมัติทำ Actual โครงกำร 4.ประชุมวำงแผนหัวข้อโครงกำร และ แผนกำรดำเนินงำน

Plan Actual

ขั้นตอนกำรดำเนินงำน 1. วิเครำะห์ควำมเสี่ยงในขั้นตอนกำร ท ำงำนของแผนกควบคุ มควำมชื้นที่ Plan ต้ อ งมี กำรสั ม ผั ส กั บ ฝุ่ น โดยรอบ บอลลู น แกลบด ำ เพื่ อ ก ำหนดแนว Actual ทำงแก้ไข 2. จัดทำแผนงำนบริหำรจัดกำรควำม เสี่ยง 3. ติดต่อประสำนงำนกับหัวหน้ำ แผนก เพื่อนำเสนอโครงกำร

Plan Actual Plan Actual

4. ตรวจวัดปริมำณฝุ่นบริเวณบอลลูน Plan พักแกลบดำก่อนทำกำรปรับปรุง อุปกรณ์ Actual


19

ตำรำงที่ 2-1 แสดงแผนกำรดำเนินงำน (ต่อ) ระยะเวลำดำเนินงำน ปี 2563 ปี 2564 ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

กำรดำเนินงำน

5. ประเมินควำมพึงพอใจอุปกรณ์ ก่อนกำรปรับปรุง 6. ออกแบบและดำเนินกำรปรับปรุง อุปกรณ์ให้มีประสิทธิภำพ 7. นำอุปกรณ์แบบใหม่ไปทำกำร ติดตั้งและทดลองใช้งำน 8.ตรวจวัดปริมำณฝุ่นบริเวณบอลลูน พักแกลบดำหลังทำกำรปรับปรุง อุปกรณ์ 9. ประเมินควำมพึงพอใจหลังกำร ออกแบบอุปกรณ์ 10. ประเมินควำมเสี่ยงและควำม เหมำะสมหลังกำรปรับปรุงอุปกรณ์ 11. สรุปผลกำรดำเนินงำนและ ข้อเสนอแนะกำรใช้งำน

Plan Actual Plan Plan Actual Plan Actual Plan Actual Plan Actual Plan Actual

ขั้นตอนกำรสรุป 1. สรุป และประเมินผลโครงกำร

Plan Actual

2. รวบรวมข้อมูลและจัดทำรูปเล่ม

Plan Actual


20

หมำยเหตุ : แผนงำน (Plan) ดำเนินกำร (Actual) 1.7.2 รายละเอียดขั้นตอนการดาเนินงาน 1.7.2.1 สารวจขั้นตอนการทางานของสถานประกอบการ เมื่อเริ่มงำนสัปดำห์แรกพนักงำนที่ปรึกษำได้พำเดินสำรวจโดยรอบสถำน ประกอบกำร และศึกษำขั้นตอนสำยกำรผลิต 1.7.2.2 ศึกษาและกาหนดมาตรการจัดการความเสี่ยงจากการทางาน หลั ง จำกได้ เ ดิ น ส ำรวจขั้ น ตอนกำรท ำงำน และสำยกำรผลิ ต ของสถำน ประกอบกิจกำร จึงได้พบเห็นถึงควำมเสี่ยงและปัญหำจึงได้มำ ศึกษำและพูดคุยกั บ พนักงำนเกี่ยวกับควำมเสี่ยงและปัญหำที่เห็น 1.7.2.3 นาเสนอหัวข้อโครงการที่พบต่อพนักงานที่ปรึกษาเพื่ออนุมัติทาโครงการ จำกปั ญ หำที่ พ บ จึ ง น ำมำศึ ก ษำ และพู ด คุ ย กั บ พนั ก งำนที่ ป รึ ก ษำ เพื่ อ พิจำรณำอนุมัติให้จัดทำโครงกำรที่พบเห็น เพื่อแก้ปัญหำในสำยกำรผลิตนั้น 1.7.2.4 ประชุมวางแผนหัวข้อโครงการ หลังจำกที่ได้นำเสนอปัญหำและหัวข้อโครงกำรต่อพนักงำนที่ปรึกษำ เพื่อ ทำกำรประชุมวำงแผนหัวข้อโครงกำร เพื่อจัดให้มีกำรวำงแผนกำรดำเนินงำนเป็น ลำดับขั้นตอน 1.7.2.5 วิเคราะห์ความเสี่ยงในขั้นตอนการทางานของแผนกควบคุมความชื้นที่ ต้องมีการสัมผัสกับฝุ่นโดยรอบบอลลูนแกลบดา เพื่อกาหนดแนวทางแก้ไข ทำกำรประเมินควำมเสี่ยงในขั้นตอนกำรทำงำนของแผนกควบคุมควำมชื้น ที่ต้องมีกำรสัมผัสกับฝุ่นโดยรอบบอลลูนแกลบดำ และกำหนดมำตรกำรป้องกันรวม ไปถึง หำแนวทำงแก้ไขร่วมกับพนักงำนที่ปรึกษำ โดยดังนี้


21

ตำรำงที่ 2-2 กำรวิเครำะห์งำนเพื่อควำมปลอดภัย ขั้นตอนกำรจัดเก็บฝุ่น การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย ( JOB SAFETY ANALYSIS ) งานที่วิเคราะห์ : ขั้นตอนการจัดเก็บฝุ่นแกลบดา บริเวณ/จุดงาน : แผนกควบคุมความชื้น

วันที่ : .......15 กุมภาพันธ์ 2564........

การประเมินความเสี่ยง (ก่อน) ลาดับ

1

2

ขั้นตอนการทางาน

อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น

โอกาสที่จะ เป็น อันตราย

ระดับความ รุนแรง

1 2 3 4

1 2 3 4

ปล่อยแกลบดำ มำยัง - เกิดกำรฟุ้งกระจำยของฝุ่น บอลลูนแกลบดำ ไปทัว่ บริเวณ เกิดกำรระคำย เคืองกับพนักงำน กำรใช้งำนอุปกรณ์ดัก - พนักงำน ลื่น/หกล้ม หรือ ฝุ่น เพื่อช่วยลดกำร ได้รับอันตรำย เนื่องจำก ฟุ้งกระจำยของฝุ่น อุปกรณ์ดักฝุ่น จึงทำให้พนื้ เปียกและมีน้ำขังทั่วบริเวณ บอลูลนพักแกลบดำ

4

3

1

ผลลัพธ์

4

3

9

ระดับ ความเสี่ยง

มาตรการป้องกันแก้ไข

2 ความเสี่ยงที่ ยอมรับได้

- ควบคุมกำรสวมใส่เสื้อผ้ำให้มิดชิด และ สวมใส่อุปกรณ์ PPE หน้ำกำก 3 M เมื่อ ปฏิบัติงำนบริเวณแผนกควบคุมควำมชื้น

3 ความเสี่ยงสูง

- ปรับปรุงอุปกรณ์ดกั ฝุ่น เพื่อให้มี ประสิทธิภำพในกำรใช้งำน - เมื่อพื้นบริเวณบอลลูนมีน้ำขัง หรือพื้น เปียก ให้ทำกำรใช้วัสดุดดู ซับ หรือถูให้ แห้งก่อน เริ่มปฏิบัติงำน

21


22

ตำรำงที่ 2-2 กำรวิเครำะห์งำนเพื่อควำมปลอดภัย ขั้นตอนกำรจัดเก็บฝุ่น (ต่อ) การประเมินความเสี่ยง ลาดับ

ขั้นตอนการทางาน

อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น

โอกาศที่จะเป็น อันตราย

ระดับความ รุนแรง

ผลลัพธ์

ระดับ ความเสี่ยง

มาตรการป้องกันแก้ไข

1 2 3 4 1 2 3 4 3

ขนย้ำยแกลบดำจำก - ขณะขนย้ำยแกลบดำ เกิด บอลลูนไปยังที่จัดเก็บ กำรฟุ้งกระจำย ฝุ่นเข้ำตำทำ ให้เกิดกำรระคำยเคือง หรือ เยื่อบุตำอักเสบได้ หรือฝุน่ ทำ ให้พนักนักงำนหำยใจเอำฝุ่น เข้ำ เกิดอันตรำยต่อระบบ ทำงเดินหำยใจ

4 1

4

2 ความเสี่ยงที่ ยอมรับได้

- ควบคุมกำรสวมใส่อุปกรณ์ PPE แว่นตำ นิร ภั ย , หน้ำ กำก 3M , ชุ ด กั นฝุ่ น ก่ อ น เริ่มปฏิบัติงำนทุกครั้ง - เปิดอุปกรณ์ดักฝุ่นแกลบดำ เพื่อช่วยลด กำรฟุ้งกระจำยของฝุ่น ขณะปฏิบัติงำน

22


23

1.7.2.6 จัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง นำข้อมูลจำกกำรประเมินควำมเสี่ยงที่มีระดับควำมเสี่ยงที่ยอมรับได้มำจัดทำแผนงำนควบคุมควำมเสี่ยง และควำมเสี่ยงสูงมำจัดทำ แผนงำนลด ควำมเสี่ยง ตำรำงที่ 2-3 แผนงำนควบคุมควำมเสี่ยง ขั้นตอนกำรจัดเก็บฝุ่นแกลบดำ แผนบริหารจัดการความเสี่ยง (แผนงานควบคุมความเสี่ยง) หน่วยงาน : ควบคุมความชื้น รายละเอียด : ขั้นตอนการจัดเก็บฝุ่นแกลบดา วัตถุประสงค์ : เพื่อลดการสัมผัสฝุ่นแกลบดาของพนักงานแผนกควบคุมความชื้น เป้าหมาย : ป้องกันการเกิดโรคอันเนื่องมาจากฝุ่นละออง ลาดับที่ มาตรการหรือกิจกรรมการดาเนินการเพื่อลดความ ผู้รับผิดชอบ หัวข้อเรื่องที่ควบคุม หลักเกณฑ์หรือมาตรฐาน ที่ใช้ เสี่ยงหรือขั้นตอนการปฏิบัติที่เป็นความเสี่ยง ควบคุม 1 ปล่อยแกลบดำ มำยังบอลลูนแกลบดำ พนักงำน 1. กำรปล่อยแกลบดำ - พนักงำนตรวจสอบอุปกรณ์ท่อนำส่ง ฝุ่นจำกเตำควำมร้อนที่มีกำรเผำไหม้ ให้เกิดฝุ่น ไปยังเตำบอลลูนแกลบดำ เพื่อลดปริมำณฝุ่น - ปรับปรุงอุปกรณ์ดักฝุ่นแกลบดำจำก เดิมที่เป็นเพียงท่อ PVCเจำะรู เพื่อให้ น้ำไหลผ่ำน ปรับปรุงอุปกรณ์แบบใหม่ ให้มี ประสิ ทธิภ ำพในกำรช่วยลดกำร ฟุ้งกระจำยของฝุ่น .

.

.

ผู้ตรวจติดตาม ผู้ทำโครงกำร

23


24

ตำรำงที่ 2-3 แผนงำนควบคุมควำมเสี่ยง ขั้นตอนกำรจัดเก็บฝุ่นแกลบดำ (ต่อ) ลาดับที่ มาตรการหรือกิจกรรมการดาเนินการเพื่อลด ผู้รับผิดชอบ หัวข้อเรื่องที่ควบคุม ความ เสี่ยงหรือขั้นตอนการปฏิบัติที่เป็นความ เสี่ยง 2

ขนย้ำยแกลบดำจำกบอลลูนไปยังที่จัดเก็บ

พนักงำน

1. กำรขนย้ำย

หลักเกณฑ์หรือมาตรฐาน ที่ใช้ ควบคุม

ผู้ตรวจติดตาม

- พนักงำนขนย้ำยแกลบดำไปจัดเก็บ จะต้องมีกำรสวมใส่หน้ำกำกกันฝุ่น สวมหมวกพนั ก งำน แว่ น ตำนิ ร ภั ย และชุดกันฝุ่นทุกครั้งก่อนเริ่มทำกำร ขนย้ำยแกลบดำ - ก่ อ นเริ่ ม ปฏิ บั ติ ง ำน ต้ อ ง เปิ ด อุปกรณ์ดักฝุ่นแกลบดำ เพื่อช่วยลด ก ำ ร ฟุ้ ง ก ร ะ จ ำ ย ข อ ง ฝุ่ น ข ณ ะ ปฏิบัติงำน

ผู้ทำโครงกำร

24


25

ตำรำงที่ 2-4 แผนงำนลดควำมเสี่ยง กำรใช้งำนอุปกรณ์ดักฝุ่น เพื่อช่วยลดกำรฟุ้งกระจำยของฝุ่น แผนบริหารจัดการความเสี่ยง (แผนงานลดความเสี่ยง) หน่วยงาน : ควบคุมความชื้น รายละเอียด : การใช้งานอุปกรณ์ดักฝุ่น เพื่อช่วยลดการฟุ้งกระจายของฝุ่น วัตถุประสงค์ : เพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นแกลบดา เป้าหมาย : ลดการสัมผัสฝุ่นของพนักงาน และลดการเกิดอุบัติเหตุอันเนื่องมาจากอุปกรณ์เดิม ลำดับที่ มำตรกำรหรือกิจกรรมกำรดำเนินกำรเพื่อลดควำมเสี่ยงหรือ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลำกำร ผู้ตรวจติดตำม หมำยเหตุ ขั้นตอนกำรปฏิบัติที่เป็นควำมเสี่ยง ดำเนินกำร/ควำมถี่ 1 ทำกำรปรับปรุงอุปกรณ์ให้เป็นหัวพ่นระอองน้ำ แทนกำรใช้ ผู้ทำโครงกำร 21 วัน ผู้ทำโครงกำร ท่อPVC เจำะรูให้น้ำไหลผ่ำน 2 จัดให้มีมำตรกำรควบคุมสวมกำรใส่อุปกรณ์ PPE ผู้ทำโครงกำร ก่อนเริ่มปฏิบัติงำน เจ้ำหน้ำที่ควำม ทุกครั้ง ปลอดภัย 3 มีกำรตรวจสอบสภำพอุปกรณ์ให้พร้อมก่อนใช้ งำนทุกครั้ง หัวหน้ำแผนก ก่อนเริ่มใช้งำน เจ้ำหน้ำที่ควำม อุปกรณ์ทุกครั้ง ปลอดภัย

.

.

25


26

1.7.2.5 ติดต่อประสานงานกับหัวหน้าแผนก เพื่อนาเสนอโครงการ หลั ง จำกกำรประเมิ น ควำมเสี่ ย งเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยและได้ เ ข้ ำ ไปติ ด ต่ อ ประสำนงำนกับ หัวหน้ำแผนก เพื่ อนำเสนอกำรทำโครงกำร โดยปรับปรุงอุปกรณ์ ดักฝุ่นบอลลูนแกลบดำ เพื่อปรับปรุงแบบอุปกรณ์แบบเดิมที่เป็นแค่ PVC และเจำะ ท่อเพื่อให้น้ำไหลออกมำ ให้เป็นอุปกรณ์แบบใหม่ เป็นกำรประดิษฐ์หัวฉีดน้ำเพื่อ สำมำรถลดกำรฟุ้งกระจำยของแกลบดำโดยรอบบอลลูนได้ เพื่อจะนำอุปกรณ์หลัง ปรับปรุงเสร็จเรียบร้อย นำมำติดตั้งแทนที่อุปกรณ์เดิม เพื่อทดลองกำรใช้งำน 1.7.2.6 ตรวจวัดปริมาณฝุ่นบริเวณบอลลูนแกลบดาก่อนทาการปรับปรุงอุปกรณ์ หลังจำกติดต่อประสำนงำนกับหัวหน้ำแผนก และได้นำเสนอโครงกำรเสร็จ ผู้ท ำโครงกำรได้ท ำกำรตรวจวั ด ปริ ม ำณฝุ่ นบริ เวณบอลลู นแกลบด ำก่ อ นทำกำร ปรับปรุงอุปกรณ์แบบเดิม เพื่อเปรียบเทียบค่ำควำมเข้มข้นของฝุ่น ก่อนและหลังกำร ปรับปรุงอุปกรณ์ 1.7.2.7 ประเมินความพึงพอใจอุปกรณ์ก่อนการปรับปรุง หลังจำกที่ได้ทำกำรตรวจวัดหำปริมำณฝุ่นบริเวณบอลลูนแกลบดำก่อนทำ กำรปรุบปรุงอุปกรณ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว และได้ทำแบบสอบถำม เกี่ยวกับกำรใช้งำน ของอุ ปกรณ์ ใ นปัจ จุ บั น โดยจั ด ให้มี แบบประเมิ นควำมพึ ง พอใจ อุ ปกรณ์ ดั ก ฝุ่ น บอลลูนแกลบดำ ที่ใช้ปัจจุบัน ว่ำเหมำะสมและมีประสิทธิภำพกับกำรใช้งำนหรือไม่ โดยให้พนักงำนทำแบบประเมินอุปกรณ์ดักฝุ่นแกลบดำก่อนกำรปรับปรุง จำนวน 10 คน ซึ่งผล ประเมินแสดง ดังนี้ ค่าเฉลี่ยคะแนน (16 คะแนน)

อุปกรณ์เดิม 40 35 30 25 20 15

16

16

17

16 12

17

19 16

14 11

10 5

0

ระดับควำมพึงพอใจของกำรใช้อุปกรณ์ปัจจุบันของพนักแผนกโรงอบ คะแนนเฉลี่ย อยู่ที่ 16 คะแนน หรือคิดเป็น 39.25 % คือ มีควำมพึงพอใจปำนกลำง ต้องปรับปรุงแก้ไข


27

1.7.2.6 ออกแบบและดาเนินการปรับปรุงอุปกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ หลั ง จำกติ ด ต่ อ ประสำนงำนกั บ หั ว หน้ ำ แผนกเรี ย บร้ อ ยและได้ มี ก ำร ออกแบบอุปกรณ์ดักฝุ่นแบบใหม่ โดยผู้ทำวิจัยและพนักงำนที่ปรึกษำเป็นผู้ออกแบบ อุปกรณ์ และได้ ดำเนินจัดทำอุปกรณ์แบบใหม่ที่สำมำรถช่วยลดกำรฟุ้งกระจำยของ ฝุ่นแกลบดำได้

รูปภำพที่ 2-1 แบบอุปกรณ์ดักฝุ่น

รูปภำพที่ 2-2 แบบกำรติดตั้งอุปกรณ์


28

1.7.2.7 นาอุปกรณ์แบบใหม่ไปทาการติดตั้งและทดลองใช้งาน หลังปรับปรุงเสร็จเรียบร้อยแล้วได้นำอุปกรณ์แบบใหม่ไปทำกำรติดตั้ง และ ทดลองกำรใช้งำน เปิดอุปกรณ์ดักฝุ่นบอลลูนแกลบดำเพื่อสังเกตกำรทำงำนของ อุปกรณ์แบบใหม่ และติดตำมสรุปผลแบบประเมินควำมพึงพอใจหลังปรับปรุง อุปกรณ์ อุปกรณ์หลังการปรับปรุง

รูปภำพที่ 2-3 อุปกรณ์หลังกำรปรับปรุง


29

อุปกรณ์แบบดั้งเดิม

รูปภำพที่ 2-4 อุปกรณ์ดงั้ เดิม 1.7.2.8 ตรวจวัดปริมาณฝุ่นบริเวณบอลลูนแกลบดาหลังทาการปรับปรุงอุปกรณ์ หลังจำกนำอุปกรณ์แบบใหม่ไปติดตั้งและทดลองใช้งำนแล้ว ผู้ทำโครงกำร ได้ทำกำรตรวจวัดปริมำณฝุ่นบริเวณบอลลูนแกลบ เพื่อเปรียบเทียบค่ำควำมเข้มข้น ของฝุ่น ก่อนและหลังกำรปรับปรุงอุปกรณ์ ว่ำมีประสิทธิภำพและลดปริมำณฝุ่นได้ หรือไม่ 1.7.2.9 ประเมินความพึงพอใจหลังการออกแบบอุปกรณ์ หลังจำกที่ได้ทำกำรตรวจวัดหำปริมำณฝุ่นบริเวณบอลลูนแกลบดำหลังทำ กำรปรุบปรุงอุปกรณ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว และได้ทำแบบสอบถำม เกี่ยวกับกำรใช้งำน ของอุ ปกรณ์ ใ นปัจ จุ บั น โดยจั ด ให้มี แบบประเมิ นควำมพึ ง พอใจ อุ ปกรณ์ ดั ก ฝุ่ น บอลลูนแกลบดำ ที่ใช้ปัจจุบัน ว่ำเหมำะสมและมีประสิทธิภำพกับกำรใช้งำนหรือไม่


30

โดยให้พนักงำนทำแบบประเมินอุปกรณ์ดักฝุ่นแกลบดำหลังกำรปรับปรุง โดย จำนวน 10คน ซึ่งผล ประเมินแสดง ดังนี้

อุปกรณ์ใหม่

ค่าเฉลี่ยคะแนน (31.7 คะแนน)

40 36

35

35

33 30

30

31

32

33

32

29 26

25 20 15 10

5 0

ระดับควำมพึงพอใจของกำรใช้อุปกรณ์ปัจจุบันของพนักแผนกโรงอบ คะแนนเฉลี่ย อยู่ที่ 31.7คะแนน หรือคิดเป็น 79.25 % คือ มีควำมพอใจมำกที่สุด ไม่ต้องดำเนินกำร ปรับปรุงแก้ไข 1.7.2.10 ประเมินความเสี่ยงและความเหมาะสมหลังการปรับปรุงอุปกรณ์ หลังจำกนำอุปกรณ์แบบใหม่ไปใช้งำนและดำเนินกำรทดลองเสร็จเรียบร้อย ได้นำข้อมูลที่จดบันทึก เพื่อนำมำประเมินควำมเสี่ยง ได้ดังนี้


31

ตำรำงที่ 2-5 กำรวิเครำะห์งำนเพื่อควำมปลอดภัย กำรจัดเก็บฝุ่นแกลบดำ

การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย ( JOB SAFETY ANALYSIS ) งานที่วิเคราะห์ :

การจัดเก็บฝุ่นแกลบดา

บริเวณ/จุดงาน :

แผนกควบคุมความชื้น

วันที่ : ........15 กุมภาพันธ์ 2564..................

การประเมินความเสี่ยง (ก่อน) ลา ขั้นตอนการ อันตรายที่ ดับ ทางาน อาจจะเกิดขึ้น

โอกาสที่จะ เป็น อันตราย

ระดับ ความ รุนแรง

ผล ลัพธ์

การประเมินความเสี่ยง (หลัง) ระดับ ความ เสี่ยง

มาตรการป้องกันแก้ไข

1 2 3 4 1 2 3 4 1

ปล่อยแกลบ ดำ มำยัง บอลลูน แกลบดำ

- เกิดกำรฟุ้ง กระจำยของฝุ่น ไปทั่วบริเวณ เกิดกำรระคำย เคืองกับ พนักงำน

4 1

โอกาสที่ จะเป็น อันตราย

ระดับ ความ รุนแรง

ผล ลัพธ์

ระดับ ความ เสี่ยง

1 2 3 4 1 2 3 4

4

2 ความ - ควบคุมกำรสวมใส่เสื้อผ้ำให้มิดชิด และ เสี่ยงที่ สวมใส่อุปกรณ์ PPE หน้ำกำก 3 M เมื่อ ยอมรับ ปฏิบัติงำนบริเวณแผนกควบคุมควำมชื้น ได้

2

1

2

1 ความ เสี่ยง เล็กน้อย

31


32

ตำรำงที่ 2-5 กำรวิเครำะห์งำนเพื่อควำมปลอดภัย กำรจัดเก็บฝุ่นแกลบดำ (ต่อ) การประเมินความเสี่ยง (ก่อน) ลา ขั้นตอน ดับ การทางาน

อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น

โอกาสที่ จะเป็น อันตราย

ระดับ ความ รุนแรง

ผล ลัพธ์

ระดับ ความ เสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง (หลัง) มาตรการป้องกันแก้ไข

1 2 3 4 1 2 3 4 2

3

กำรใช้งำน - พนักงำน ลื่น/หกล้ม หรือ อุปกรณ์ดัก ได้รับอันตรำย เนื่องมีน้ำขัง ฝุ่น เพื่อ ทั่วบริเวณบอลลูน ช่วยลดกำร ฟุ้งกระจำย ของฝุ่น ขนย้ำย แกลบดำ จำกบอลลูน ไปยังที่ จัดเก็บ

- ขณะขนย้ำยแกลบดำ เกิด กำรฟุ้งกระจำย ฝุ่นเข้ำตำ และเข้ำสู่ทำงเดินระบบ หำยใจ ทำให้เกิดกำรระคำย เคือง อักเสบได้ของดวงตำ หรือปอดได้

3

3

4 1

โอกาสที่ จะเป็น อันตราย

ระดับ ความ รุนแรง

ผล ระดับ ลัพธ์ ความเสี่ยง

1 2 3 4 1 2 3 4

9

- ปรั บ ปรุ ง อุ ป กรณ์ ดั ก ฝุ่ น เพื่ อ ให้ มี 3 ประสิทธิภำพในกำรใช้งำน ความ - เมื่อพืน้ บริเวณบอลลูนมีน้ำขัง หรือ เสี่ยง พื้นเปียก ให้ทำกำรใช้วัสดุดูดซับ สูง หรือถูให้แห้งก่อน เริ่มปฏิบัติงำน

4

2 ความ เสี่ยงที่ ยอมรับ ได้

- ควบคุมกำรสวมใส่อุปกรณ์ PPE แว่นตำนิรภัย , หน้ำกำก 3M , ชุด กันฝุ่น ก่อนเริ่มปฏิบัติงำนทุกครั้ง - เปิดอุปกรณ์ดักฝุ่นแกลบดำ เพื่อ ช่วยลดกำรฟุ้งกระจำยของฝุ่น ขณะ ปฏิบัติงำน

2

2

1

1

2

1 ความเสี่ยง เล็กน้อย

2

1 ความเสี่ยง เล็กน้อย

32


33

บทที่ 2 สรุปผลโครงการ/การปฏิบัติงาน 2.1 สรุปผลโครงการ/การปฏิบัติงาน จำกกำรดำเนินกำรวิเครำะห์งำนและประเมินควำมเสี่ยง กำรทำงำนโดยรอบบอลลูนแกลบดำ และกำรทำงำนของอุปกรณ์ดักฝุ่นแบบดั้งเดิม มีควำมเสี่ยงที่อำจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ และควำมเสี่ยงต่อ สุ ข ภำพ ขณะปฏิ บั ติ ง ำน เช่ น กำรสั ม ผั ส กั บ ฝุ่ น กำรท ำงำนอุ ป กรณ์ ดั ก ฝุ่ น แบบดั้ ง เดิ ม ที่ ไ ม่ ไ ด้ ประสิทธิภำพและยังอำจก่อให้เกิดอันตรำยต่อพนักงำน ซึ่งได้จัดทำแผนบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว สรุปผลระดับควำมเสี่ยง และ จัดทำแผนบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยง ดังนี้ ระดับความเสี่ยงยอมรับได้ 2 รายการ - ปล่อยแกลบดำ มำยังบอลลูนพักแกลบดำ - ขนย้ำยแกลบดำจำกบอลลูนไปยังที่จัดเก็บ ระดับความเสี่ยงสูง 1 รายการ - กำรใช้งำนอุปกรณ์ดักฝุ่น เพื่อจะให้ช่วยลดกำรฟุ้งกระจำยของฝุ่น แผนงานควบคุมความเสี่ยง 2 แผน - ปล่อยแกลบดำ มำยังบอลลูนพักแกลบดำ - ขนย้ำยแกลบดำจำกบอลลูนไปยังที่จัดเก็บ แผนงานลดความเสี่ยง 1 แผน - กำรใช้งำนอุปกรณ์ดักฝุ่น เพื่อช่วยลดกำรฟุ้งกระจำยของฝุ่น หลังจำกได้กำรทดลองอุปกรณ์หลังกำรปรับปรุง และนำข้อมูลที่จดบันทึก เพื่อนำมำประเมิน ควำมเสี่ยงก่อนและหลังกำรปรับปรุงอุปกรณ์ ได้ดังนี้ ตำรำง 2-6 เปรียบเทียบระดับควำมเสี่ยงก่อนและหลังกำรปรุบปรุงอุปกรณ์ ระดับความเสี่ยง ลาดับ ขั้นตอนการทางาน ก่อน หลัง 1 ปล่อยแกลบดำ มำยังบอลลูนแกลบดำ ควำมเสี่ยงที่ยอมรับได้ ควำมเสี่ยงเล็กน้อย 2 3

กำรใช้งำนอุปกรณ์ดักฝุ่น เพื่อช่วยลดกำร ฟุ้งกระจำยของฝุ่น ขนย้ำยแกลบดำจำกบอลลูนไปยังที่จัดเก็บ

ควำมเสี่ยงสูง

ควำมเสี่ยงเล็กน้อย

ควำมเสี่ยงที่ยอมรับได้

ควำมเสี่ยงเล็กน้อย


34

ผลกำรศึกษำพบว่ำ ปริมำณควำมเข้มข้นฝุ่นละอองก่อนที่จะทำโครงปรับปรุงอุปกรณ์ดักฝุ่น บอลลูนแกลบดำ พบว่ำ ปริมำณควำมเข้มข้นของฝุ่น ละอองรวม (Total dust) มีค่ำเท่ำกับ 0.00681 มิลลิกรัม/ลูกบำศก์เมตร และควำมเข้มข้นฝุ่นละอองหลังทำโครงกำร ปรับปรุงอุปกรณ์ดักฝุ่นบอลลูน แกลบดำ พบว่ำ ปริมำณควำมเข้มข้ นของฝุ่นละอองรวม (Total dust) มีค่ำ 0.00020 มิลลิกรัม/ ลูกบำศก์เมตร เท่ำนั้น ดังนั้นสรุปได้ว่ำปริมำนควำมเข้มข้นของฝุ่นแกลบดำลดลงได้ในระดับหนึ่ง ตำรำง 2-7 ผลกำรตรวจวัดฝุ่นละอองรวมทุกขนำด (Total dust) ก่อนและหลัง พื้นที่ตรวจวัด ปริมำณฝุ่นรวม (Total dust) บริเวณหน้ำบอลลูนแกลบดำ

ก่อน

หลัง

0.00681 mg/m³

0.00020 mg/m³

จำกกำรประเมินควำมพึงพอใจของอุปกรณ์ดักฝุ่นบอลลูนแกลบดำ ก่อนและหลังกำรปรับปรุง อุปกรณ์ พนักงำนมีควำมประสงค์ที่จะใช้อุปกรณ์แบบใหม่ที่ได้รับกำรปรับปรุงจำกอุปกรณ์เดิม ซึ่ง สำมำรถช่วยลดกำรฟุ้งกระจำยของฝุ่นแกลบ และยังลดควำมเสี่ยงกำรเกิดอุบัติเหตุจำกอุปกรณ์เดิมได้ ซึ่งผลจำกกำรดำเนินโครงกำรกำรออกแบบและปรับปรุงอุปกรณ์ ดักฝุ่นบอลลูนแกลบดำ จำกกำร ดำเนินโครงกำรของพนักงำนมีควำมพึงพอใจจำกกำรใช้อุปกรณ์ก่อนกำรปรับปรุงอยู่ที่ 39.25 % และ พนักงำนมีควำมพึงพอใจจำกกำรใช้ อุปกรณ์หลังกำรปรับปรุงอยู่ที่ 79.25 % พนักงำนแผนกควบคุม ควำมชื้นจำนวน 10 คน มีควำมพึงพอใจจำกกำรใช้อุปกรณ์ดักฝุ่นบอลลูนแกลบดำ เพิ่มขึ้นอยู่ที่ 40% จึงสรุปได้ว่ำกำรปรับปรุงอุปกรณ์ดักฝุ่นบอลลูนแกลบดำในครั้งนี้ มีควำมเหมำะสมกับกำรใช้งำน และ พนักงำนมีควำมพึงพอใจ สำมำรถช่วยลดกำรฟุ้งกระจำยของฝุ่นและลดกำรสัมผัสฝุ่นกับพนักงำนได้

ระดับความพึงพอใจอุปกรณ์ดักฝุ่นก่อนและหลังปรับปรุง 100 90 80 70 60

79.2เพิ่มขึ้น 40 %%

79.25 %

50 40

30

39.25 %

20 10 0

ก่อนปรับปรุ ง

หลังปรับปรุ ง


35

2.2 ปัญหาและข้อเสนอแนะจากการทาโครงการ 2.2.1 ปัญหาและอุปสรรคจากการทาโครงการ กำรปฏิบัติงำนสหกิจ ณ บริษัท นครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด วันที่ 30 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2563 ถึง วันที่ 19 มีนำคม พ.ศ. 2564 เป็นระยะเวลำ 16 สัปดำห์ ปัญหำหลักในกำร ทำโครงกำร คือ ขั้นตอนกำรประกอบหัวพ่นละอองน้ำ ซึ่งผู้ทำโครงกำรจะต้องประกอบขึ้นมำ เอง และด้ ว ยตั วผู้ทำโครงกำรไม่ มี ควำมชำนำญ และไม่ มี ค วำมรู้ม ำกพอในกำรประกอบ อุปกรณ์ จึงทำให้เกิดข้อผิดพลำดบำงขั้นตอนกำรประกอบอุปกรณ์ และเกิดควำมล่ำช้ำในกำร ทำโครงกำร และกำรสื่อสำรกับพนักที่ต้องขอควำมช่วยลดในกำรติดตั้งอุปกรณ์ ผู้จัดทำ โครงกำรจึงต้องเรียบเรียงคำพูด และอธิบำยขั้นตอนกำรติดตั้งให้พนักงำนได้เข้ำใจ 2.2.2 ข้อเสนอแนะจากการทาโครงการ ขั้นตอนกำรประกอบหัวพ่นละอองน้ำ ควรขอควำมช่วยจำกแผนกช่ำงหรือพนักงำน ที่มีควำมสำมำรถในกำรประกอบอุปกรณ์ และเรื่องสื่อสำรหรือพูดคุยในให้เข้ำใจขั้นตอนกำร ประกอบอุปกรณ์ขึ้นมำ และควรเปิดใช้งำนอุปกรณ์ดักฝุ่นทุกครั้งเมื่อมีกำรปฏิบัติงำนบริเวณ บอลลูนแกลบดำ หรือเมื่อมีกำรปล่อยเก็บดำมำยังบอลลูนแกลบดำ


38 36

บรรณานุกรม กระทรวงอุตสำหกรรม. (2543). ระเบียบกรมโรงงำนอุตสำหกรรม ว่ำด้วยหลักเกณฑ์กำรชี้บ่งอันตรำย กำรประเมินควำมเสี่ยง และกำรจัดทำแผนงำนบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยง พ.ศ. 2543 สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มีนำคม 2564 จำก https://www.diw.go.th บริษัทนครรำชสีมำสิริโชคชัย จำกัด ข้อมูลและเอกสำรสนับสนุน อื่น ๆ มำตรฐำนคุณภำพอำกำศในบรรยำกำศโดยทั่วไป กรมควบคุมมลพิษ กรทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและ และสิ่งแวดล้อม สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มีนำคม 2564 จำก http://pcd.go.th/info_serv/reg_std_airsnd01.html


37 39

ภาคผนวก


40 38

ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทาโครงการ


41

แบบประเมินควำมพึงพอใจโครงกำร ปรับปรุงอุปกรณ์ดกั ฝุ่นบอลลูนแกลบดำ (อุปกรณ์เดิม) คำชี้แจง : แบบประเมินควำมพึงพอใจ ขอให้ผู้ประเมินตอบตำมควำมจริง เพื่อให้กำรดำเนินโครงกำร โครงกำรเป็นไปตำมวัตถุประสงค์และเพื่อเป็นประโยชน์นำไปใช้ โปรดทำเครื่องหมำย ✓ ลงช่องว่ำง เกณฑ์กำรประเมิน 5 หมำยถึง มำกที่สดุ 4 หมำยถึง มำก 3 หมำยถึง ปำนกลำง 2 หมำยถึง น้อย 1 หมำยถึง น้อยที่สุด ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ชื่อ....................................................... แผนก........................ อำยุ.........ปี อำยุงำน..................ปี/เดือน ตอนที่ 2 แบบประเมินควำมพึงพอใจโครงกำร ปรับปรุงอุปกรณ์ดักฝุ่นบอลลูนแกลบดำ (อุปกรณ์เดิม) ลำดับ รำยกำร ระดับควำมพึงพอใจ 5 4 3 2 1 1 อุปกรณ์ที่ใช้ในกำรดักฝุ่นในปัจจุบันสำมำรถลดกำร กระจำยของฝุ่นได้ 2 อุปกรณ์สำหรับดักฝุ่นมีขนำดที่เหมำะสม 3 อุปกรณ์สำหรับดักฝุ่นมีประสิทธิภำพในกำรช่วยดักฝุ่น 4 อุปกรณ์สำหรับดักฝุ่นทีใ่ ช้ ไม่ก่อให้พื้นบริเวณหน้ำบอลลูน เปียก หรือไม่ทำให้พื้นมีน้ำขัง 5 วำล์วเปิดน้ำติดตั้งอยูใ่ นที่เหมำะสม 6 อุปกรณ์สำหรับดักฝุ่น ติดตั้งอย่ำงเหมำะสม 7 อุปกรณ์สำหรับดักฝุ่นมีควำมมั่นคงต่อกำรใช้งำน 8 ท่ำนมีควำมประสงค์และพึงพอใจที่จะปรับปรุงอุปกรณ์ หรือไม่ ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… *** ขอขอบคุณที่ให้ควำมร่วมมือในกำรตอบแบบประเมินควำมพึงพอใจ ***


42


43


44


45


46


47


48


49


50


51


52

แบบประเมินควำมพึงพอใจโครงกำร ปรับปรุงอุปกรณ์ดกั ฝุ่นบอลลูนแกลบดำ (หลังกำรปรับปรุง) คำชี้แจง : แบบประเมินควำมพึงพอใจ ขอให้ผู้ประเมินตอบตำมควำมจริง เพื่อให้กำรดำเนินโครงกำร โครงกำรเป็นไปตำมวัตถุประสงค์และเพื่อเป็นประโยชน์นำไปใช้ โปรดทำเครื่องหมำย ✓ ลงช่องว่ำง เกณฑ์กำรประเมิน 5 หมำยถึง มำกที่สดุ 4 หมำยถึง มำก 3 หมำยถึง ปำนกลำง 2 หมำยถึง น้อย 1 หมำยถึง น้อยที่สุด ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ชื่อ....................................................... แผนก........................ อำยุ.........ปี อำยุงำน..................ปี/เดือน ตอนที่ 2 แบบประเมินควำมพึงพอใจโครงกำร ปรับปรุงอุปกรณ์ดักฝุ่นบอลลูนแกลบดำ(หลังปรับปรุง) ลำดับ รำยกำร ระดับควำมพึงพอใจ 5 4 3 2 1 1 อุปกรณ์ที่ใช้ในกำรดักฝุ่นในปัจจุบันสำมำรถลดกำรกระจำย ของฝุ่นได้ 2 อุปกรณ์สำหรับดักฝุ่นมีขนำดที่เหมำะสม 3

อุปกรณ์สำหรับดักฝุ่นมีประสิทธิภำพในกำรช่วยดักฝุ่น

4 5

อุปกรณ์สำหรับดักฝุ่นทีใ่ ช้ ไม่ก่อให้พื้นบริเวณหน้ำบอลลูน เปียก หรือไม่ทำให้พื้นมีน้ำขัง วำล์วเปิดน้ำติดตั้งอยูใ่ นที่เหมำะสม

6

อุปกรณ์สำหรับดักฝุ่น ติดตั้งอย่ำงเหมำะสม

7

อุปกรณ์สำหรับดักฝุ่นมีควำมมั่นคงต่อกำรใช้งำน

8

ท่ำนมีควำมประสงค์และพึงพอใจที่จะปรับปรุงอุปกรณ์หรือไม่ ข้อเสนอแนะ......................................................................................................................... ........................................................................................................................... *** ขอขอบคุณที่ให้ควำมร่วมมือในกำรตอบแบบประเมินควำมพึงพอใจ ***


53


54


55


56


57


58


59


60


61


62


63

แบบฟอร์มการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย ( JOB SAFETY ANALYSIS ) การประเมินความเสี่ยง ลาดับ

ขั้นตอนการทางาน

อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น

โอกาศที่จะ เป็นอันตราย

ระดับความ รุนแรง

ผลลัพธ์

ระดับ ความเสี่ยง

มาตรการป้องกันแก้ไข

1 2 3 4 1 2 3 4

63


64

แบบฟอร์มแผนบริหารจัดการความเสี่ยง แผนบริหารจัดการความเสี่ยง (แผนงานควบคุมความเสี่ยง) หน่วยงาน : วัตถุประสงค์ : เป้าหมาย :

รายละเอียด :

ลาดับที่ มาตรการหรือกิจกรรมการดาเนินการเพื่อลดความ ผู้รับผิดชอบ เสี่ยงหรือขั้นตอนการปฏิบัติที่เป็นความเสี่ยง

.

.

.

หัวข้อเรื่องที่ควบคุม

หลักเกณฑ์หรือมาตรฐาน ที่ใช้ ควบคุม

ผู้ตรวจติดตาม

64


65

แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง (แผนงานลดความเสี่ยง) หน่วยงาน : รายละเอียด : วัตถุประสงค์ : เป้าหมาย : ลำดับที่ มำตรกำรหรือกิจกรรมกำรดำเนินกำรเพื่อลดควำมเสี่ยงหรือ ผู้รับผิดชอบ ขัน้ ตอนกำรปฏิบัติที่เป็นควำมเสี่ยง

.

.

.

ระยะเวลำกำร ดำเนินกำร/ควำมถี่

ผู้ตรวจติดตำม

หมำยเหตุ

65


66

ภาคผนวก ข หลักเกณฑ์การประเมิน


67

ระดับโอกำสในกำรเกิดเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ มี 4 ระดับ โดยพิจำรณำโอกำสในกำรเกิด เหตุต่ำง ๆ ว่ำมีมำกน้อยเพียงใด ดังนี้ ลำดับ รำยละเอียด 1 มีโอกำสในกำรเกิดยำก เช่น ไม่เคยเกิดเลยในช่วง 1-2 ปี 2 มีโอกำสในกำรเกิดน้อย เช่น ควำมถี่ในกำรเกิด เกิดขึ้น 1 ครั้ง ในช่วง 1-2 ปี 3 มีโอกำสในกำรเกิดปำนกลำง เช่น ควำมถี่ในกำรเกิด เกิดมำกกว่ำ 1 ครั้ง ในช่วง 1-2 ปี 4 มีโอกำสในกำรเกิดสูง เช่น ควำมถี่ในกำรเกิด เกิดทุกสัปดำห์หรือทุกเดือน ระดับควำมรุนแรงของเหตุกำรณ์ตำ่ ง ๆ มี 4 ระดับ โดยพิจำรณำควำมรุนแรงของ เหตุกำรณ์ตำ่ ง ๆ ว่ำก่อให้เกิดผลกระทบที่อำจจะเกิดขึ้นต่อบุคคลมำกน้อยเพียงใด ดังนี้ ระดับ ควำมรุนแรง รำยละเอียด

1 2 3

เล็กน้อย ปำนกลำง สูง

4

สูงมำก

มีกำรบำดเจ็บเล็กน้อย มีกำรบำดเจ็บที่ต้องได้รับกำรปฐมพยำบำล มีกำรบำดเจ็บที่รุนแรงต้องได้รับกำรรักษำ ทำงแพทย์ ทุพลภำพหรือเสียชีวิต

ระดับควำมเสี่ยงอันตรำยมี 4 ระดับ โดยพิจำรณำถึงผลลัพธ์ของโอกำสคูณกับระดับ ควำมรุนแรง ที่มีผลกระทบต่อบุคคล ดังนี้ ระดับ ควำมรุนแรง รำยละเอียด 1 1-2 ควำมเสี่ยงเล็กน้อย 2 ควำมเสี่ยงที่ยอมรับได้ ต้องมีกำรทบทวนมำตรกำร 3-6 ควบคุม 3 ควำมเสี่ยงสูง ต้องมีกำรดำเนินงำนเพื่อลดควำม 8-9 เสี่ยง 4 ควำมเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้ ต้องหยุดดำเนินกำร และ 12-16 ปรับปรุงแก้ไข เพื่อลดควำมเสี่ยงลงทันที


68

ด้ำนกำรประเมินควำมพึงพอใจของอุปกรณ์ครั้งนี้ได้ใช้หลักเกณฑ์ 3 ระดับ เป็นเกณฑ์ในกำร ประเมินควำมพึงพอใจในกำรใช้งำนอุปกรณ์ปัจจุบัน คือ ลำดับ

ระดับคะแนน

ค่ำร้อยละ

ควำมหมำย

1

1-10

1-25

มีควำมพอใจน้อย ต้องปรับปรุงแก้ไขเร่งด่วน

2

11-20

26-50

มีควำมพอใจปำนกลำง ต้องปรับปรุงแก้ไข

3

21-30

51-75

มีควำมพอใจมำก ต้องปรับปรุงแก้ไขเล็กน้อย

4

31-40

76-100

มีควำมพอใจมำกที่สุด ไม่ต้องดำเนินกำรปรับปรุงแก้ไข


69

ภาคผนวก ค รูปภาพอุปกรณ์ดักฝุ่นแกลบดา


70

ลักษณะบอลลูนพักแกลบดาก่อนการปรับปรุงอุปกรณ์


71

ลักษณะบอลลูนพักแกลบดาหลังการปรับปรุงอุปกรณ์


72


73

ภาคผนวก ง การวิเคราะห์ค่าความเข้มข้นของฝุ่นในอากาศ


74

สูตรกำรคำนวณหำค่ำควำมเข้มข้นของอนุภำค ดังสมกำร 𝐶=

(𝑊₂−𝑊₁)−(𝐵₂−𝐵₁) V

× 10

C = ควำมเข้มข้นของฝุ่น W₁ = น้ำหนักกระดำษกรองที่ชั่งก่อนเก็บตัวอย่ำงอำกำศ หน่วยเป็น มิลลิกรัม (mg) W₂ = น้ำหนักกระดำษกรองที่ชั่งหลังเก็บตัวอย่ำงอำกำศ หน่วยเป็น มิลลิกรัม (mg) B₁ = น้ำหนักเฉลี่ยกระดำษกรองที่เป็น Blank ก่อนเก็บตัวอย่ำงอำกำศ หน่วยเป็น มิลลิกรัม (mg) B₂ = น้ำหนักเฉลี่ยกระดำษกรองที่เป็น Blank หลังเก็บตัวอย่ำงอำกำศ หน่วยเป็น มิลลิกรัม (mg) V = ปริมำตรอำกำศที่เก็บตัวอย่ำง หน่วยเป็น ลิตร (L)


75


โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาสหกิจศึกษา ประจาปี การศึกษา 2563 ผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ที่ทาให้งานนี้สาเร็จลุล่วง ไปด้วยดี อันประกอบด้วย 1. คุณวรกิตติ์ สิริจินดา กรรมการผู้จัดการบริษัท 2. คุณอุไรรัตน์ มงคลพรรุจี ผู้จัดการฝ่ายบุคคล 3. คุณวิเชียร ปิยะชาติ ผู้จัดการฝ่ายโรงงาน 4. คุณสุริยา กล่าพิมาย แผนกซ่อมบารุง 5. คุณศจี แรงสูงเนิน จป.วิชาชีพ 6. คุณไชยวัฒน์ พัดจ้อย พนักงานแผนกควบคุมความชื้น 7. คุณมงคล ดิษสง พนักงานแผนกควบคุมความชื้น 8. อ.ดร.พฤมล น้อยนรินทร์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.