รายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ประจำปีการศึกษา 2563

Page 1

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประจาปีการศึกษา 2563

วันที่รายงาน 10 กรกฎาคม 2564


2 สรุปผลการประเมินตนเองระดับหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ระดับ ปริญญาตรี สาขา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ประจาปีการศึกษา 2563 ตารางที่ 1 ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ ระดับหลักสูตร องค์ประกอบในการ ประกันคุณภาพ หลักสูตร 1. การกากับ มาตรฐาน 2. บัณฑิต

3. นักศึกษา 4. อาจารย์

5. หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมิน ผู้เรียน

ตัวบ่งชี้

1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตาม เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กาหนดโดย สกอ. 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 2.2 การได้งานทาหรือผลงานวิจัยของ ผู้สาเร็จการศึกษา 3.1 การรับนักศึกษา 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.2 คุณภาพอาจารย์ - ร้อยละของอาจารย์ประจา หลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก - ร้อยละของอาจารย์ประจา หลักสูตรที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ - ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 5.2 การวางระบบผู้สอนและ กระบวนการจัดการเรียนการสอน 5.3 การประเมินผู้เรียน 5.4 ผลการดาเนินงานหลักสูตรตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

6. สิ่งสนับสนุนการ เรียนรู้ คะแนนรวมตัวบ่งชี้องค์ประกอบที่ 2-6 คะแนนเฉลี่ย

ผลการ ดาเนินงาน (ระบุจานวน ข้อ/ตัวเลข)

คะแนน การประเมิน

ผลการประเมิน 0.01 – 2.00 ระดับคุณภาพน้อย 2.01 – 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.01 – 4.00 ระดับคุณภาพดี 4.01 – 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก

ผ่าน 4.39

ระดับคุณภาพดีมาก

4.61

ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพดี

ร้อยละ 40.0

3.00 4.00 3.00 3.00 3.89 5.00

ร้อยละ 20.0

1.67

ร้อยละ 28.0

5.00

ร้อยละ 100.0

48.89 3.76

4.00 4.00 3.00

ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี

3.00 5.00

ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพดีมาก

4.00

ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี


3 ตารางที่ 2 การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร องค์ประกอ คะแนน จานวน I P บ ผ่าน ตัวบ่งชี้ ที่ 1 2 3 4 5 6 รวม ผลการประเมิน

 ผ่าน คะแนน เฉลี่ย ของทุก ตัวบ่งชี้ ใน องค์ประ กอบที่ 2 -6

2 3 3 4 1 13

O

คะแน ผลการประเมิน นเฉลี่ย 0.01 – 2.00 ระดับคุณภาพน้อย 2.01 – 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.01 – 4.00 ระดับคุณภาพดี 4.01 – 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก

 ไม่ผ่าน

3.33 3.63 4.00 -

3.67 4.00

4.50 -

7

4

2

3.56 ระดับ คุณภาพดี

3.75 ระดับ คุณภาพดี

4.50 ระดับ คุณภาพ ดีมาก

4.50 3.33 3.63 3.75 4.00 3.76

หลักสูตรได้มาตรฐาน ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนาองค์ประกอบที่ 2 – องค์ประกอบที่ 6 จุดเด่น 1. บัณฑิตมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาและเป็นที่ยอมรับ ส่งผลให้นักศึกษามีงานทา เมื่อสาเร็จการศึกษาตาเป้าหมาย 2. อาจารย์มีความเข้มแข็ง เสียสละ สามารถบริหารจัดการ กากับหลักสูตร ให้เป็นไปตามเกณฑ์อย่างมี คุณภาพและผลการประเมินมีแนวโน้มดีขึ้นทุกปี โอกาสในการพัฒนา 1. ปรั บ กลยุ ท ธ์ ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ห ลั ก สู ต ร เพิ่ ม ช่ อ งทางหรื อ เทคนิ ค ที่ ห ลากหลาย โดยการเข้ า ถึ ง กลุ่มเป้าหมายเชิงรุก 2. การเตรียมความพร้อมของนักศึกษาใหม่ ควรวิเคราะห์ข้อมูลทั้งปัจจุบันจากผลการเรียนของนักศึกษาปี 1 ที่ผ่านมมา 3. การกากับติดตามกระบวนการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ตามทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 และทันสมัย ทันกับสถานการณ์ปัจจุบัน รวมถึงให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ ปี 2561 4. ควรมี คณะท างานพั ฒ นาห้องปฏิบั ติ การฯ ให้เป็ นไปตามเกณฑ์ม าตรฐานสากล เพื่อเป็น ผลดี ต่ อการ ปฏิบัติงานในวิชาชีพด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 5. หลักสูตรมีการกาหนดตัวบ่งชี้ความสาเร็จ ที่แสดงเป้าหมายเป็นเชิ งปริมาณอย่างชัดเจน ควรเพิ่มการ กาหนดเป้าหมายเชิงคุณภาพในปีการศึกษาถัดไป 6. หลั กสู ตรควรพิจ ารณาจั ดการศึกษาดู งานด้ า นอาชี วอนามั ยและความปลอดภัย ในสถานประกอบการ รวมทั้งการฝึกปฏิบัติในชุมชนเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มทักษะและประสบการณ์ก่อนฝึกปฏิบัติงานของทุกชั้นปี

การรายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตร (มคอ.7) ทุกสิ้นปีการศึกษาหลักสูตรทุกหลักสูตรต้องดาเนินการจัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนินงานของ หลักสูตร (มคอ.7) ซึ่งเอกสารรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) หมายถึง การรายงานผลประจาปี การศึกษาโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เช่น ข้อมูลทางสถิติของนักศึกษาที่เ รียนในหลักสูตร สภาพแวดล้อม


4 ภายในและภายนอกสถาบันที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร สรุปภาพรวมของรายงาน ผลของการดาเนินงานในหลักสูตร ประสิทธิภาพของการสอนในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน สรุปผลการประเมินหลักสูตรจากความเห็นของผู้สาเร็จ การศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต ตลอดจนข้อเสนอในการวางแผนและพัฒนา รวมทั้งแผนปฏิบัติการในการพัฒนาคณาจารย์และ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง การรายงานผลดังกล่าวจะส่งไปยังคณบดี และใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาตนเอง เพื่อปรับปรุงและ พัฒนาหลักสูตรเป็นระยะ ๆ รวมทั้งเป็นข้อมูลประกอบการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรจากผู้ ประเมินภายนอก โดย มคอ.7 มีส่วนประกอบที่สาคัญ 7 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 หมวดที่ 2 หมวดที่ 3 หมวดที่ 4 หมวดที่ 5 หมวดที่ 6 หมวดที่ 7

ข้อมูลทั่วไป นักศึกษาและบัณฑิต อาจารย์ ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตรและคุณภาพการสอนในหลักสูตร การบริหารหลักสูตร ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผู้ประเมิน แผนการดาเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร

การรายงานผลการด าเนินงานของหลักสูต ร เป็น การรายงานที่ สอดคล้ องกับเกณฑ์การประกันคุณภาพ การศึกษา ซึ่งมีเกณฑ์การประเมินคุณภาพหลักสูตร (รายละเอียดศึกษาจากคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน) ทั้งหมด 13 ตัวบ่งชี้ และมี 7 ตัวบ่งชี้ เป็นตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ มีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ เกณฑ์ คาอธิบายเกณฑ์ ปรับปรุงอย่างยิ่ง (0 คะแนน) - ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกากับติดตามและปรับปรุง - ไม่มีข้อมูลหลักฐาน ปรับปรุง (1 คะแนน) - มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนากลไกไปสู่การปฏิบตั ิ/ดาเนินงาน พอใช้ (2 คะแนน) - มีระบบ มีกลไก มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน - มีการประเมินกระบวนการ - ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ ปานกลาง (3 คะแนน) - มีระบบ มีกลไก มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัต/ิ ดาเนินงาน - มีการประเมินกระบวนการ - มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน ดี (4 คะแนน) - มีระบบ มีกลไก มีการนาระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน - มีการประเมินกระบวนการ - มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน - มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม ดีมาก (5 คะแนน) - มีระบบ มีกลไก มีการนาระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน - มีการประเมินกระบวนการ - มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน - มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม - มีแนวทางปฏิบัตทิ ี่ดี โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยนื ยัน และกรรมการ ผู้ตรวจประเมินสามารถให้เหตุอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดไี ด้ชัดเจน โดยรายงานตามแม่แบบที่มหาวิทยาลัยกาหนดไว้ ตามเอกสารเผยแพร่ทางเว็บไซต์ http://www.nrru.ac.th เลือกเมนู กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และรายงานตามทีป่ ฏิบัติจริง โดยระบุรายละเอียดตามหัวข้อที่ปรากฏในแม่แบบ มคอ.7 ให้สอดคล้องกับหัวข้อและสะท้อนการดาเนินงานหลักสูตรพร้อมแนบเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งมีวิธีและ หลักการ ดังนี้


5 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ

25561481102447 วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย Bachelor of Science Program in Occupational Health and Safety

2. ระดับคุณวุฒิ ระดับปริญญาตรี 3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใน มคอ.2 ที่ 1.

ชื่อ–สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา) ตาแหน่งทางวิชาการ สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา) นางสาวนันทนา คะลา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) อาจารย์ มหาวิทยาลัยบูรพา (2555) วิทยาศาสตรบัณฑิต (สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ) มหาวิทยาลัยบูรพา (2549)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ นันทนา คะลา และคณะ. (2561). “ความรอบรู้ทาง สุขภาพเรื่องสารเคมีของช่างเสริมสวยในเขตเทศบาล นครราชสีมา”. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม วิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏสุราษฎร์ ธานีวิจัย” ครั้งที่ 14 ประจาปี พ.ศ. 2561. หน้า 377-384. สุราษฎร์ธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎร์ธานี. นันทนา คะลาและคณะ. (2560). “สัมพันธภาพ ครอบครัวและสังคมกับภาวะความสุขของผู้สูงอายุ ใน เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล พันดุง ตาบลพันดุง อาเภอขามทะเลสอ จังหวัด นครราชสีมา”. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม วิชาการ ปี 2560 วันที่ 7-8 ธันวาคม 2560. หน้า 45. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัต,ิ นันทนา คะลา. (2559). การปฏิบัติตนทางด้านโภชนาการและสุขภาพของ นักศึกษาที่มภี าวะน้าหนักเกินมาตรฐานและอ้วน. ศรี นครินทร์เวชสาร. 31(4) : 224-230. นันทนา คะลา และคณะ. (2558). “ปัจจัยที่มีผลต่อ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้นในตาบลสะแกราช อาเภอปักธงชัย จังหวัด นครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการและการ นาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติราชภัฏ วิจัย ครั้งที่ 3. หน้า 6-14. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

2.

นางพนิดา เทพชาลี อาจารย์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2552) วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2548)

พนิดา เทพชาลีและคณะ.(2562).ปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของ นักศึกษาภาคการศึกษาเพื่อปวงชน มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6 ประจาปี พ.ศ. 2562 “สังคมผู้สูงวัย: โอกาสและความท้าทายของ อุดมศึกษา”


6 ที่

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ พนิดา เทพชาลี และนพเก้า บัวงาม . (2561). การ บริหารจัดการกระบวนการสหกิจศึกษา : กรณีศึกษา สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติ ครั้งที่ 10 วันที่ 7-8 สิงหาคม 2561 อาคารยุพราชเบญจมงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา พนิดา เทพชาลี, กัลยาณี ชมภูนิมิตร, เจนจิรา เพชร หิน, ยุพาวดี แก้วด่านกลางและรัตนา ขอเอื้อน กลาง.(2561). “พฤติกรรมความปลอดภัยจากการใช้ สารเคมีของเกษตรกรชาวนาบ้านดอนรี ตาบลดอน ชมพู อาเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การ ประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ประจาปี 2561 ครั้งที่ 5 วันที่ 31 มีนาคม 2561. หน้า 428-437. นครราชสีมา. วิทยาลัยนครราชสีมา.

3.

4.

นางสาววรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี อาจารย์

นายพุฒิพงศ์ สัต ยวงศ์ทิพย์ อาจารย์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2551) วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2539)

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ประชากรศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล (2544) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(เภสัชศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล (2538) เภสัชศาสตรบัณฑิต(เภสัชศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น(2535)

มะลิ โพธิพิมพ์ และพนิดา เทพชาลี. (2557). “การ สร้างเสริมพฤติกรรมป้องกันอุบัติเหตุจราจร มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จังหวัดนครราชสีมา”. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา. 9(2) : 21-32. วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี, ธวัชชัย เอกสันติ และ กนกพร ฉิมพลี. (2561). “ความรู้ ทัศนคติ และ พฤติกรรมสุขภาพของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวต่อการปลูก ข้าวปลอดภัยในพื้นที่ทุ่งสัมฤทธิ์ จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัย นครราชสีมา ประจาปี 2561 ครั้งที่ 5 วันที่ 31 มีนาคม 2561. หน้า 428-437. นครราชสีมา : วิทยาลัยนครราชสีมา. ธวัชชัย เอกสันติ, พัชรินทร์ ยุพา, วรลักษณ์ สมบูรณ์ นาดี, ธนิดา ผาติเสนะ และสุภาพ หวังข้อกลาง. (2559). “สถานการณ์และแนวโน้มการใช้ชีวิตด้าน สุขภาพ ด้านการเรียนรู้ และด้านสังคมของเด็กและ เยาวชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรณีศึกษาเขต สุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร์”. ใน การประชุมวิชาการ และเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 ก้าวสู่ ทศวรรษที่ 2 บูรณาการงานวิจัย ใช้องค์ความรู้ สู่ ความยั่งยืน. หน้า 384-392. นครราชสีมา : วิทยาลัย นครราชสีมา. ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์, รศ.ดร.พุฒิพงษ์ สัตยวงศ์ ทิพย์, ศิริพร พึ่งเพชร*, ทิวากรณ์ ราชูธร..(2562).การ พัฒนาหลักสูตรส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบมี ส่วนร่วมเขตพื้นที่เทศบาลตาบลหัวทะเล อาเภอเมือง นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา.วารสารวิจยั สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ


7 ที่

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ อุบลราชธานี.ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2562. รัชนีกร เหิดขุนทด และรศ.ดร.พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ ทิพย์.(2562).การพัฒนาศักยภาพของผูสู้งอายุในการ ดูแลสุขภาพตนเองโดยกระบวนการเสริมสรา้ งพลัง อานาจบ้านมาบกราด ตาบลพันชนะ อาเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2562.วารสารวิชาการ สคร. 9 ปี 2562. พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์และทองทิพย์ สละวงษ์ ลักษณ์.(2561).การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบ บูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้ครัวเรือนสร้างสุขภาพ สาหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 (มกราคมเมษายน 2561) หน้า 46-54. พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์, อนุสรณ์ เป๋าสูงเนินและ ทิวากรณ์ ราชูธร. (2560). การพัฒนาความรู้และการ ปฏิบัติเรื่องการสุขาภิบาลอาหารของผู้ประกอบการรถ เร่จาหน่ายอาหาร อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 (กันยายนธันวาคม 2560). 15(3),79-80. มาตุภูมิ พอกระโทก และพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ (2557). “การพัฒนาการมีสว่ นร่วมของชุมชนในการ เฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยกระบวนการ เสริมพลังอานาจ ตาบลด่านเกวียน อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2557). 12(3) : 123131.

5.

นางสาวพฤมล น้อย นรินทร์ อาจารย์

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (จุลชีววิทยาทางการแพทย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2560) วิทยาศาสตรบัณฑิต (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2551)

ปาริชาติ วงษ์วริศรา, พฤมล น้อยนรินทร์, กาญจนา หวังทอนกลาง, ธญญาพร ทองแจ่ม, เกียรติศักดิ์ เถีย นสูงเนิน, ณรงค์เดช เพ็ญศรี และณัฏฐาพร มุ่งชม กลาง. (2560). “ความรู้และพฤติกรรมการใช้สารเคมี ป้องกันและกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกมัน สาปะหลัง บ้านหนองสรวงพัฒนา ตาบลหนองสรวง อาเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การ ประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา แห่งชาติ ครั้งที่ 44. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี


8 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปัจจุบัน ที่ 1.

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ นางพนิดา เทพชาลี อาจารย์

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2552) วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2548)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ พนิดา เทพชาลีและคณะ.(2562).ปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของ นักศึกษาภาคการศึกษาเพื่อปวงชน มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6 ประจาปี พ.ศ. 2562 “สังคมผู้สูงวัย: โอกาสและความท้าทายของ อุดมศึกษา” พนิดา เทพชาลี และนพเก้า บัวงาม . (2561). การ บริหารจัดการกระบวนการสหกิจศึกษา : กรณีศึกษา สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติ ครั้งที่ 10 วันที่ 7-8 สิงหาคม 2561 อาคารยุพราชเบญจมงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

2.

3.

นางสาววรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี อาจารย์

นางสาวพฤมล น้อย นรินทร์ อาจารย์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2551) วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2539)

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (จุลชีววิทยาทางการแพทย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2560) วิทยาศาสตรบัณฑิต (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2551)

พนิดา เทพชาลี, กัลยาณี ชมภูนิมิตร, เจนจิรา เพชร หิน, ยุพาวดี แก้วด่านกลางและรัตนา ขอเอื้อน กลาง.(2561). “พฤติกรรมความปลอดภัยจากการใช้ สารเคมีของเกษตรกรชาวนาบ้านดอนรี ตาบลดอน ชมพู อาเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การ ประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ประจาปี 2561 ครั้งที่ 5 วันที่ 31 มีนาคม 2561. หน้า 428-437. นครราชสีมา. วิทยาลัยนครราชสีมา. วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี, ธวัชชัย เอกสันติ และ กนกพร ฉิมพลี. (2561). “ความรู้ ทัศนคติ และ พฤติกรรมสุขภาพของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวต่อการปลูก ข้าวปลอดภัยในพื้นที่ทุ่งสัมฤทธิ์ จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัย นครราชสีมา ประจาปี 2561 ครั้งที่ 5 วันที่ 31 มีนาคม 2561. หน้า 428-437. นครราชสีมา : วิทยาลัยนครราชสีมา. ธวัชชัย เอกสันติ, พัชรินทร์ ยุพา, วรลักษณ์ สมบูรณ์ นาดี, ธนิดา ผาติเสนะ และสุภาพ หวังข้อกลาง. (2559). “สถานการณ์และแนวโน้มการใช้ชีวิตด้าน สุขภาพ ด้านการเรียนรู้ และด้านสังคมของเด็กและ เยาวชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรณีศึกษาเขต สุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร์”. ใน การประชุมวิชาการ และเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 ก้าวสู่ ทศวรรษที่ 2 บูรณาการงานวิจัย ใช้องค์ความรู้ สู่ ความยั่งยืน. หน้า 384-392. นครราชสีมา : วิทยาลัย นครราชสีมา. ปาริชาติ วงษ์วริศรา, พฤมล น้อยนรินทร์, กาญจนา หวังทอนกลาง, ธญญาพร ทองแจ่ม, เกียรติศักดิ์ เถีย นสูงเนิน, ณรงค์เดช เพ็ญศรี และณัฏฐาพร มุ่งชม กลาง. (2560). “ความรู้และพฤติกรรมการใช้สารเคมี ป้องกันและกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกมัน


9 ที่

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ

4.

นายพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ ทิพย์ รองศาสตราจารย์

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ประชากรศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล (2544) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล (2538) เภสัชศาสตรบัณฑิต (เภสัชศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2535)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ สาปะหลัง บ้านหนองสรวงพัฒนา ตาบลหนองสรวง อาเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การ ประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา แห่งชาติ ครั้งที่ 44. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ทิวากรณ์ ราชูธร, ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์ และพุฒิ พงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์.(2563). การพัฒนาศักยภาพแกน นาครัวเรือนในการจัดการขยะมูลฝอย ตาบลหนอง พลวง อาเภอจักรราช จังหวัดนครราชสีมา. วารสารสา ธรณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563.15(1):14-25. รมิตา ศรีมันตะ, นงนภัส เที่ยงกมลและพุฒิพงศ์ สัต ยวงศ์ทิพย์.(2563).การพัฒนารูปแบบไตรสิกขาเพื่อการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. วารสารชุมชนวิจยั ปีที่ 14 ฉบับ ที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2563).14(4): 172-186. ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์, รศ.ดร.พุฒิพงษ์ สัตยวงศ์ ทิพย์, ศิริพร พึ่งเพชร*, ทิวากรณ์ ราชูธร..(2562).การ พัฒนาหลักสูตรส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบมี ส่วนร่วมเขตพื้นที่เทศบาลตาบลหัวทะเล อาเภอเมือง นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา.วารสารวิจยั สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี.ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2562. รัชนีกร เหิดขุนทด และรศ.ดร.พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ ทิพย์.(2562).การพัฒนาศักยภาพของผูสู้งอายุในการ ดูแลสุขภาพตนเองโดยกระบวนการเสริมสรา้ งพลัง อานาจบ้านมาบกราด ตาบลพันชนะ อาเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2562.วารสารวิชาการ สคร. 9 ปี 2562. พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์และทองทิพย์ สละวงษ์ ลักษณ์.(2561).การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบ บูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้ครัวเรือนสร้างสุขภาพ สาหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 (มกราคมเมษายน 2561) หน้า 46-54.

5

นางสาวอุษาวดี ไพ ราม อาจารย์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2557)

พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์, อนุสรณ์ เป๋าสูงเนินและ ทิวากรณ์ ราชูธร. (2560). “การพัฒนาความรู้และ การปฏิบัติเรื่องการสุขาภิบาลอาหารของ ผู้ประกอบการรถเร่จาหน่ายอาหาร อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2560). 15(3) : 79-80. อุษาวดี ไพราม.(2562). การศึกษาการวิเคราะห์งาน เพื่อความปลอดภัยมีผลต่อพฤติกรรมด้านความ


10 ที่

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา) วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (2549)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ปลอดภัยของพนักงาน ณ บริษัทผลิตน้ามันจากพืช แห่งหนึ่ง. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ครั้งที่ 2 นวัตกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและความ ปลอดภัยของผู้สูงวัย ไทยแลนด์ 4.0 วันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ 2562 (หน้า 494-501)

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา) ส.ด. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล (2544)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ยุภดี สงวนพงษ์, ธนิดา ผาติเสนะ. (2563). คุณภาพ ชีวิตของเด็กปฐมวัยอายุ 2-4 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตาบลนาฝาย อาเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารสาร ศูนย์ อนามัยที่ 9: วารสารส่งเสริมสุขภาพและ อนามัย สิ่งแวดล้อม, 14(35), 389-409.

อาจารย์ประจาหลักสูตร ที่ 1.

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ นางธนิดา ผาติเสนะ รองศาสตราจารย์

Phatisena T, Bureemas J and Wongwarissara P. (2016). “A Study of Herbal Plants Biodiversity at Polsongkhram Community Forest for the Illness Treatment Used in Pharmaceutical Recipes of Folk Healer at Nakhon Ratchasima Province”. In The 4th Rajabhat University National and International Research and Academic Conference 22- 24 November 2016. Buriram : Buriram Rajabhat University. อัญญาณี สาสวน และธนิดา ผาติเสนะ. (2558). “ผล ของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอานาจที่มีต่อการ ฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยหลังได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า เทียม”. ใน รายงานการประชุมวิชาการและเสนอ ผลงานวิจัย ระดับชาติ สร้างสรรค์และพัฒนา เพื่อ ก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียน ครั้งที่ 2 วันที่ 18-19 มิถุนายน 2558. หน้า 110-119. นครราชสีมา : วิทยาลัยนครราชสีมา. จันทกานต์ วลัยเสถียร และธนิดา ผาติเสนะ. (2558). “ผลของโปรแกรมการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพใน บุคลากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงของสานักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา”. ใน รายงานการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 34 วันที่ 27 มีนาคม 2558. หน้า 750-759. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. จรีวัฒนา กล้าหาญ และธนิดา ผาติเสนะ. (2558). “แนวทางการพัฒนาจัดสวัสดิการสังคมสาหรับ ผู้สูงอายุที่รับเบี้ยยังชีพ เทศบาลหนองไผ่ล้อม อาเภอ


11 ที่

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ

2.

นางสาวจารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ปร.ด. (ชีวเวชศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2555)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ เมือง จังหวัดนครราชสีมา”. ใน รายงานการประชุม วิชาการและนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและ นานาชาติ ครั้งที่ 6 วันที่ 28-29 เมษายน 2558. หน้า 137-146. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน สุนันทา สาเริง ดัดตนรัมย์, จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ. (2562). การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันการ ตั้งครรภ์ไม่พร้อ ในวัยรุ่น ตาบลบุกระสัง อาเภอหนอง กี่ จังหวัดบุรีรัมย์ . วารสารวิชาการสานักงานป้องกัน และควบคุมโรคที่ 9, 78-87. สรารัตน์ ตระกูลรัมย์, จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัต.ิ (2562). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจเต้านม ด้วย ตนเองของสตรีอายุ 45-54 ปี ในเขตชุมชนบ้าน ห้วย จรเข้ ตาบลหินดาด อาเภอด่านขุนทด จังหวัด นครราชสีมา. The office of disease prevention and control 9th Nakhon Ratchasima Journal, 24(2), 46-56 สุภารัตน์ สีดา และจารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ. (มกราคม-มีนาคม 2559). “ผลของโปรแกรมสุขศึกษา ต่อการควบคุมระดับความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยงโรค ความดันโลหิตสูง ตาบลโคกสนวน อาเภอชานิ จังหวัด บุรีรัมย์”. วารสารวิจยั สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคมมีนาคม 2559). 9(1) : 40-47. จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ และนันทนา คะลา. (2559). “การปฏิบัติตนทางด้านโภชนาการและสุขภาพของ นักศึกษา ที่มภี าวะน้าหนักเกินมาตรฐานและอ้วน”. ศรีนครินทร์ เวชสาร ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม สิงหาคม 2559). 31(4) : 224-230. ณรงค์ พันธ์ศรี และจารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ. (ตุลาคม-ธันวาคม 2558). “ผลของโปรแกรมส่งเสริม สุขภาพ ในผู้ที่มีน้าหนักเกินมาตรฐานและอ้วน ใน ตาบลเมืองยาง อาเภอชานิ จังหวัดบุรีรัมย์”. วารสาร วิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2558). 8(4) : 42-49. จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ และคณะ. (2558). “พฤติกรรม การดูแลสุขภาพตามหลัก 11 อ. ของ ผู้สูงอายุ”. ศรีนครินทร์เวชสาร ปีที่ 30 ฉบับที่ 5 (กันยายน – ตุลาคม 2558). 30(5) : 482-490.

3.

นางสาวจิรัญญา บุรี มาศ

วท.ม. (เภสัชวิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2549)

จิรัญญา บุรีมาศ, พิมรินทร์ ทองเหล็ก, วงศ์รวี ปลั่งพิ มาย และรุ่งรัตน์ ถิ่นทองหลาง. (2562). “พฤติกรรม


12 ที่

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ความปลอดภัยในการทางานของบุคลากรในหน่วย บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ อาเภอพิมาย จังหวัด นครราชสีมา”. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุม วิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6 วันที่ 30 มีนาคม 2562. หน้า 842-851. นครราชสีมา : วิทยาลัยนครราชสีมา. จิรัญญา บุรีมาศ, ณัฏฐ์ปวินท์ ดีศาสตร์ และนรา ระ วาดชัย. (ตุลาคม-ธันวาคม 2561). “การประเมิน หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา สาธารณสุขชุมชน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร. 20(4) : 13-21. จิรัญญา บุรีมาศ และณัฏฐ์ปวินท์ ดีศาสตร์. (2561). “ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล ในรายวิชากายวิภาคศาสตร์และ สรีรวิทยาของมนุษย์ 2”. ใน รายงานสืบเนื่องจากการ ประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราช ภัฏกาญจนบุรี วันที่ 7 กันยายน 2561. หน้า 422430. กาญจนบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุร.ี จิรัญญา บุรีมาศ และคณะ. (2560). “ความชุกและ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตาบลเฉลียง อาเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา”. ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 9 วันที่ 31 พฤษภาคม 2560. หน้า 1493-1501. ภูเก็ต : มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. Phatisena T, Bureemas J and Wongwarissara P. (2016). “A Study of Herbal Plants Biodiversity at Polsongkhram Community Forest for the Illness Treatment Used in Pharmaceutical Recipes of Folk Healer at Nakhon Ratchasima Province”. In The 4th Rajabhat University National and International Research and Academic Conference 22-24 November 2016. Buriram : Buriram Rajabhat University.

4.

นางสาวภิษณี วิจันทึก อาจารย์

วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล (2555)

จิรัญญา บุรีมาศ และชนาธิป สันติวงศ์. (มกราคมเมษายน 2559). “การประเมินหลักสูตรสาธารณสุข ศาตรบัณฑิต พ.ศ. 2553 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.” วารสารราช พฤกษ์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2559). 14(1) : 53-59. ภิษณี วิจันทึก และคณะ. (2559). “พฤติกรรมการ ส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ เทศบาลตาบลด่านเกวียน


13 ที่

5.

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ

นายรชานนท์ ง่วนใจ รัก อาจารย์

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

Ph.D. (Public Health) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2559)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การประชุม วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ ธานีวิจัย ครั้งที่ 12 วันที่ 27-28 ตุลาคม 2559. หน้า 417-427. สุราษฎร์ธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี. ภิษณี วิจันทึก, มารุต ตั้งวัฒนาชุลีพร และจักรกริช หิรัญเพชรรัตน์. (2558). “ฤทธิ์ยบั ยั้งแบคทีเรียก่อโรค ในระบบทางเดินหายใจของสารสกัดบัวผุด”. ใน การ ประชุมวิชาการระดับชาติการแพทย์แผนไทย ครั้งที่ 1 วันที่ 23-25 ธันวาคม 2558. หน้า 95-102. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. พัชรี ศรีกุตา และคณะ. (2560). “ความสัมพันธ์ ระหว่างความรู้ ทัศนคติ ต่อพฤติกรรมการบริโภค อาหารของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านบึงสาร อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 10 มีนาคม 2560. หน้า 328-336. เพชรบูรณ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. Jirapornkul C, et al. (2016). “Stroke knowledge among various suburban communities in KhonKaen Province, Thailand”. J Pub Health Dev September - December. 14(3) : 13-27.

6.

นางพัชรี ศรีกุตา อาจารย์

ส.ด. มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2558)

ชนากาน สิงห์หลง, ชนัญญา จิระพรกุล และรชานนท์ ง่วนใจรัก. (2558). “พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุตาบลเวียงคา อาเภอกุมภวาปี จังหวัด อุดรธานี”. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2558). 18(3) : 219229. พัชรี ศรีกุตา และคณะ. (2560). “ความสัมพันธ์ ระหว่างความรู้ ทัศนคติ ต่อพฤติกรรมการบริโภค อาหารของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านบึงสาร อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 10 มีนาคม 2560. หน้า 328-336. เพชรบูรณ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. พัชรี ศรีกุตา และคณะ. (2559). “การจัดการขยะมูล ฝอยในระดับครัวเรือนของหมู่บ้านโป่งสุริยา ตาบลโป่ง แดง อาเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติ ครั้งที่ 6ศาสตร์แห่งวิทยาการจัดการเพื่อ รับใช้สังคม 3 ทศวรรษแห่งการตามรอยแม่ของ แผ่นดิน วันที่ 19 สิงหาคม 2559. หน้า 1116-1122. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.


14 ที่

7.

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ

นายนรา ระวาดชัย อาจารย์

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ส.ม. (อนามัยสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2555)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์ และคณะ. (2559). “ปัจจัย ที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ของกลุ่มเสี่ยงตาบลหนองไข่น้า อาเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการและเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติครั้งที่ 3 ก้าวสู่ทศวรรษที่ 2: บูรณาการงานวิจยั ใช้องค์ความรู้สู่ความยั่งยืน วันที่ 17 มิถุนายน 2559. หน้า 378-383. นครราชสีมา : วิทยาลัยนครราชสีมา. ทิวากรณ์ ราชูธร และนรา ระวาดชัย. (2560). “ปัจจัย ที่มีผลต่อคุณภาพน้าดื่มตู้หยอดเหรียญอัตโนมัติ ชุมชน หน้ามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา”. ใน การ ประชุมวิชาการระดับชาติพบิ ูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 Thailand 4.0 นวัตกรรมการวิจัยเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน วันที่ 23-24 ธันวาคม 2560. หน้า 384. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พัชรี ศรีกุตา และคณะ. (2560). “ความสัมพันธ์ ระหว่างความรู้ ทัศนคติ ต่อพฤติกรรมการบริโภค อาหารของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านบึงสาร อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 10 มีนาคม 2561. หน้า 328-336. เพชรบูรณ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

8.

9.

นางสาวสิริสุดา ฐานะปัตโต ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

นางสาวนพเก้า บัวงาม ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

วท.ม. (โภชนศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล (2552)

ส.ม. (อนามัยสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2560)

ฐิติมา โพธิ์ชยั สิริสุดา ฐานะปัตโต ปนัดดา วงศ์ สันเทียะ ชญานิศ ภิรมย์กิจ และพงศธร ไขโพธิ์. (2561). พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะ โภชนาการของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10 “น้อมนา ศาสตร์พระราชา สู่การวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น อย่างยั่งยืน”. วันที่ 29–30 มีนาคม 2561. นครปฐม : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. วราภรณ์ ชาติพหล สิริสุดา ฐานะปัตโต กรองกาญจน์ จันทร์โพธิ์ ชลติกานต์ เพชรรัตน์ และเบญจวรรณ ชะลอกลาง. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนแห่งหนึ่งใน จังหวัดนครราชสีมา. การประชุม วิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 “วิจัยและพัฒนาสู่การขับเคลือ่ นสังคมอย่าง ยั่งยืน”. วันเสาร์ที่ 31 มีนาคม 2561. นครราชสีมา : วิทยาลัยนครราชสีมา. นพเก้า บัวงาม, กาญจนา นาถะพินธุ. (2561). ปัจจัยที่ มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุและปัญหาสุขภาพในผู้สูงอายุ ตาบลปากน้า อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ. JOURNAL OF THE OFFICE OF DPC7 KHON KAEN, 25(2), 46-57.


15 ที่

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

10 นางสาวอาภา สธน เสาวภาคย์ ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

ปร.ด.(วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2553)

11 นายอนุชิต คงฤทธิ์ ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

วศ.ม. (วิศวกรรมพอลิเมอร์) มหาวิทยาเทคโนโลยีสุรนารี (2556)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ พนิดา เทพชาลี และนพเก้า บัวงาม . (2561). การ บริหารจัดการกระบวนการสหกิจศึกษา : กรณีศึกษา สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติ ครั้งที่ 10 วันที่ 7-8 สิงหาคม 2561 อาคารยุพราชเบญจมงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา สถิตพงษ์ วงศ์สง่า, อาภา สธนเสาวภาคย์. (2561). ปริมาณที่เหมาะสมของการใช้คอนกรีตเก่าบดละเอียด ที่มีขนาดอนุภาคแตกต่างกันสาหรับกาลังอัดสูงสุดของ มอร์ตาร์ในงานปูนฉาบ (OPTIMUM USAGE OF RECYCLE CONCRETE WITH DIFFERENT PARTICLE SIZE FOR COMPRESSIVE STRENGTH OF MORTAR PLASTERING). Srinakharinwirot University (Journal of Science and Technology), 10(19), 136-143. จิตติวัฒน์ นิธกิ าญจนธาร, อนุชิต คงฤทธิ์. (2563). ผล กระทบของสารควบคู่ปฏิกิริยาที่ส่งผลต่อสมบัติทาง กลและสมบัติทางกายภาพของคอมโพสิตพอลิแลคติก แอซิดผสมกากกาแฟ. UBU Engineering Journal, 13(2), 64-76. มาโนชริ ทินโย, กัมปนาท ถ่ายสูงเนิน, จิตติวัฒน์ นิธิ กาญจนธาร, อนุชิตคง ฤทธิ,์ & ภรณี หลาวทอง. (2563). การพัฒนาชุดปรับระยะเส้นไหมยืนใน กระบวนการทอผ้าไหมด้วยเทคนิค ECRS. UBU Engineering Journal, 13(1), 173-183.

12 นางสาวละอองดาว ขุน วศ.ม. (วิศวกรรมอุตสาหการ) งิ้ว มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2555) ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

13 นายจิรวัฒน์ โลพันดุง ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

ค.อ.ม. (วิศวกรรมอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (2549)

จิตติวัฒน์ นิธกิ าญจนธาร, อนุชิต คงฤทธิ์. (2562). ผลกระทบของสารเชื่อมโยงและระยะเวลาการอบไอน้า ในกระบวนการเชื่อมโยงสายโซ่ที่มีต่อสมบัติทางกล และสมบัติทางกายภาพของพอลิออกซีเมทิลลีนรี ไซเคิล. วารสารวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ ม. อบ., 12(2), 49-62. Khunngio, L., & Peerapattana, P. (2013). An application of the value stream mapping and computer simulation for reducing an average service time for patients in the emergency care unit: a case study of the out-patient emergency care unit, Srinagarind Hospital. Engineering and Applied Science Research, 40(4), 527-538. -


16 อาจารย์ผู้สอน ภาคการศึกษาที่ 1 ชื่อ – นามสกุล 1. นายนรา ระวาดชัย

ตาแหน่งทาง วิชาการ อาจารย์

คุณวุฒิ-สาขา

2. นางสาวสิริสุดา ฐานะปัตโต

อาจารย์

3. นางสาวอุษาวดี ไพราม

อาจารย์

ว.ทบ. (สุขศาสตร์ อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย)

4. นางสาวปาริชาติ วงษ์วริศรา

อาจารย์

ส.ด.(สาธารณสุข ศาสตร์)

มหาวิทยาลัย ขอนแก่น

2563

5. นางสาววรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี

อาจารย์

มหาวิทยาลัย มหิดล

2551

6. นางพนิดา เทพชาลี

อาจารย์

วท.ม. (สุขศาสตร์ อุตสาหกรรม และความปลอดภัย) วท.ม. (สุขศาสตร์ อุตสาหกรรม และความปลอดภัย

มหาวิทยาลัย มหิดล

2552

7. นางสาวนันทนา คะลา

อาจารย์

วท.ม. (อาชีวอนามัยและ มหาวิทยาลัยบูรพา ความปลอดภัย)

2555

8. นางสาวพฤมล น้อยนรินทร์

อาจารย์ อาจารย์

10. นางสาวนฤมล เวชจักรเวร

อาจารย์

11. นายธวัชชัย เอกสันติ

ผู้ช่วย ศาสตราจารย์

มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัย มหิดล มหาวิทยาลัย มหิดล

2560

9. นางสาวนพเก้า บัวงาม

ปร.ด. (จุลชีววิทยาทาง การแพทย์) ส.ม. (อนามัย สิ่งแวดล้อม) วท.ม.(สาธารณสุข ศาสตร์) วท.ม.(สุขศึกษาและ พฤติกรรมศาสตร์)

12. นางพัชรี ศรีกุตา

อาจารย์ อาจารย์

มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครราชสีมา

2558

13. นางสาววราภรณ์ ชาติพหล

ส.ด.(สาธารณสุข ศาสตร์) ส.บ.(สาธารณสุข ศาสตร์)

คุณวุฒิ-สาขา

สถาบันที่สาเร็จ การศึกษา มหาวิทยาลัย มหิดล มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัย

ส.ม. (อนามัย สิ่งแวดล้อม) วท.ม. (โภชนศาสตร์)

สถาบันที่สาเร็จ การศึกษา มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัย มหิดล มหาวิทยาลัย มหิดล

ปีที่สาเร็จ การศึกษา 2555 2552 2557

2560 2552 2554

รายวิชาที่สอน 1.ชีวสถิติ 2.อนามัยสิ่งแวดล้อม 1.กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา ของมนุษย์1 1.ฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 2.มาตรฐานระดับชาติและสากล สาหรับระบบฯ 3.การประเมินและจัดการความ เสี่ยง 1.สัมมนาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย 2.การบริหารงานอาชีวอนามัย และความปลอดภัย 1.เทคนิคการจัดการเหตุฉุกเฉิน 2.การป้องกันและควบคุมอัคคีภัย 1.การระบายอากาศในงาน อุตสาหกรรม 2.ความปลอดภัยในงาน อุตสาหกรรม 1.สัมมนาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย 2.การบริหารงานอาชีวอนามัย และความปลอดภัย 1. การเตรียมฝึกประสบการณ์ วิชาชีพอาชีวอนามัยฯ 1.ความปลอดภัยใน ชีวิตประจาวัน 1.การบริหารงานสาธารณสุข 1.สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ 2. กฎหมายสาธารณสุขและ จริยธรรมวิชาชีพ 1.การประเมินผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อม 1.การบริหารงานสาธารณสุข

ภาคการศึกษาที่ 2 ชื่อ – นามสกุล 1.นายพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ 2. นางสาวจารุวรรณ ไตรทิพย์ สมบัติ 3. นางสาวภิษณี วิจันทึก

ตาแหน่งทาง วิชาการ รอง ศาสตราจารย์ ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ อาจารย์

ปร.ด. (ประชากรศาสตร์) ปร.ด. (ชีวเวชศาสตร์) วท.ม. (สาธารณสุข

ปีที่สาเร็จ การศึกษา 2544

รายวิชาที่สอน

2555

1.ประชากรศาสตร์และการคานวณ สถิติชีพ 1.โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ

2555

1.วิทยาการระบาด


17 ชื่อ – นามสกุล

ตาแหน่งทาง วิชาการ

คุณวุฒิ-สาขา ศาสตร์) วท.ม. (สุขศาสตร์ อุตสาหกรรม และความปลอดภัย)

สถาบันที่สาเร็จ การศึกษา มหิดล มหาวิทยาลัย มหิดล

ปีที่สาเร็จ การศึกษา

รายวิชาที่สอน

2551

1.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย เบื้องต้น 2.พิษวิทยาอาชีวอนามัยและสิง แวดล้อม 3.สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน 1.วิศวกรรมความปลอดภัยในงาน อุตสาหกรรม 2.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย เบื้องต้น 3.สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน 4.สหกิจ 1.จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา ปฏิบัติการจุลชีววิทยาและปรสิต วิทยา 2. พิษวิทยาอาชีวอนามัยและสิง แวดล้อม 3.การยศาสตร์และสรีรวิทยาในการ ทางาน 1.ประชากรศาสตร์และการคานวณ สถิติชีพ 1.วิทยาการระบาด

4. นางสาววรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี

อาจารย์

5. นางพนิดา เทพชาลี

อาจารย์

วท.ม. (สุขศาสตร์ อุตสาหกรรม และความปลอดภัย

มหาวิทยาลัยมหิดล

2552

6. นางสาวพฤมล น้อยนรินทร์

อาจารย์

ปร.ด. (จุลชีววิทยาทาง การแพทย์)

มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

2560

7. นายนรา ระวาดชัย

อาจารย์

9. นางสาวสิริสุดา ฐานะปัตโต

ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ อาจารย์

มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิดล

2555

8. นายอรรถวิทย์ สิงห์ศาลาแสง

ส.ม. (อนามัย สิ่งแวดล้อม) ส.ด.(สาธารณสุข ศาสตร์) วท.ม. (โภชนศาสตร์)

10. นางสาวอุษาวดี ไพราม

อาจารย์

ว.ทบ. (สุขศาสตร์ อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย)

มหาวิทยาลัยมหิดล

2557

11. นางสาวปาริชาติ วงษ์ว ริศรา

อาจารย์

ส.ด.(สาธารณสุข ศาสตร์)

มหาวิทยาลัย ขอนแก่น

2563

12. นายจิรวัฒน์ โลพันดุง

อาจารย์

ค.อ.ม. (วิศวกรรมอุตสา หการ)

2549

13. นางสาวปาริฉัตร เกิดจันทึก

ผู้ช่วย ศาสตรจารย์ อาจารย์

ปร.ด. (การบริบาลทาง เภสัชกรรม) ส.ม. (อนามัย สิ่งแวดล้อม)

มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอม เกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัย ขอนแก่น

14. นางสาวนพเก้า บัวงาม

2561 2552

1.กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา ของมนุษย์ 2 2.การปฐมพยาบาล 1.การประเมินและจัดการความ เสี่ยง 2.ฝึกปฏิบัติการเก็บตัวอย่างและ วิเคราะห์ทางด้านสุขศาสตร์ อุตสาหกรรม 3.การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ ทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม 1.จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา ปฏิบัติการจุลชีววิทยาและปรสิต วิทยา 2.การสื่อสารสุขภาพ 3.อาชีวเวชศาสตร์ขั้นมูลฐาน 1.หลักการวิศวกรรมสาหรับงานอา ชีวอนามัยและความปลอดภัย

2552

1.การสาธารณสุข

2560

1.จิตวิทยาอุตสากรรม 2.ความปลอดภัยในชีวิตประจาวัน


18 4. สถานที่จัดการเรียนการสอน การเรียนการสอนดาเนินการที่อาคารปฏิบตั ิการรวม (อาคาร 38) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาและฝึก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการทั้งในจังหวัดนครราชสีมาและต่างจังหวัด ซึ่งในปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านมา หลักสูตร ได้มีนักศึกษาฝึกปฏิบัตงิ านสหกิจศึกษานอกพื้นที่จงั หวัดนครราชสีมา จานวน 9 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สมุทรปราการ, ชลบุร,ี ลพบุรี, สระบุร,ี ขอนแก่น,ปราจีนบุร,ี ระยองและอยุธยา รายละเอียดดังแสดงในตาราง ลาดับ ที่

รหัสนักศึกษา

1

6040215101

นางสาวกนกวรรณ พุ่มพวง

การท่าอากาศยานอู่ตะเภา

ระยอง

2

6040215102

นางสาวกัญญาพัชร พรบุษยานนท์

บริษัท เคไอ เอทานอล จากัด

นครราชสีมา

3

6040215103

นางสาวกัญญารัตน์ ต้นวงศ์

บริษัท ไอ เอ็ม อี (ประเทศไทย) จากัด

ปราจีนบุรี

4

6040215104

นางสาวขวัญฤดี โพธิ์สูงเนิน

บริษัท อาร์.วี.เจ เอ็นจิเนียร์ริ่ง จากัด

ชลบุรี

5

6040215105

นางสาวจณิชชา โพธิ์นอก

บริษัท โคราช ไทยเทค จากัด

นครราชสีมา

6

6040215106

นางสาวจันทิรา กุลวงษ์

บริษัท สงวนวงษ์อุตสาหกรรม จากัด

นครราชสีมา

7

6040215107

นางสาวชนนิกานต์ เกิดอุลิต

บริษัท โคราช ไทยเทค จากัด

นครราชสีมา

8

6040215112

นางสาวน้าฝน แซ่โค้ว

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)

นครราชสีมา

9

6040215113

นางสาวนุจรินทร์ กว้างนอก

บริษัท เคไอ ไบโอก๊าช จากัด

นครราชสีมา

10

6040215114

นางสาวปนัดดา ดวงฉิมมา

กรุงเทพมหานคร

11

6040215116

นางสาวปวีณา ขุมทอง

บริษัท ซีเเอนด์จี เอ็นไวรอนเมนทอลโปรเท็คชั่น (ประเทศไทย) จากัด บริษัท สยามเฆมี จากัด (มหาชน)

12

6040215118

นางสาวพรนิภา สุบงกช

บริษัท เคี้ยงรุ่งเรือง ออโต้พาร์ท (2001) จากัด

นครราชสีมา

13

6040215119

นางสาวพลอยมณี ศรีบัณฑิตย์

บริษัท ไนซ์ แอพพาเรล จากัด สาขาเมืองพล

ขอนแก่น

14

6040215120

นางสาวไพรินทร์ ช้อนขุนทด

โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา จ.นครราชสีมา

นครราชสีมา

15

6040215121

นางสาวมนต์ทณัฐ ผลไธสง

บริษัท ไดซิน จากัด

นครราชสีมา

16

6040215122

นางสาวยอแสง เหมือนกลาง

บริษัท เค.พี.อะโกร ลพบุรี จากัด

ลพบุรี

17

6040215123

นางสาวโยธิกา อินทร์จักร์

บริษัท ฮิตาชิ ออโตโมทีฟ ซิสเต็มส์ โคราช จากัด

นครราชสีมา

18

6040215125

นางสาวรุ่งทิวา ถอยกระโทก

บริษัท เคี้ยงรุ่งเรือง ออโต้พาร์ท (2001) จากัด

นครราชสีมา

19

6040215126

นางสาววราภรณ์ รวมเงิน

บริษัท ไอ เอ็ม อี (ประเทศไทย) จากัด

อยุธยา

20

6040215127

นางสาวศศิกันยา มรรครมย์

บริษัท ฮิตาชิ ออโตโมทีฟ ซิสเต็มส์ โคราช จากัด

นครราชสีมา

21

6040215128

นางสาวศิริลักษณ์ นามกระโทก

บริษัท สงวนวงษ์อุตสาหกรรม จากัด

นครราชสีมา

22

6040215130

นางสาวสุชาวดี มะลิกุล

บริษัท สยามเฆมี จากัด (มหาชน)

สมุทรปราการ

ชื่อ-สกุล

บริษัท

จังหวัด

สมุทรปราการ


19 ลาดับ ที่

รหัสนักศึกษา

23

6040215131

นางสาวสุทธิดา ประเสริฐสาร

โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา จ.นครราชสีมา

นครราชสีมา

24

6040215132

นางสาวสุนันทา ยะงาม

บริษัท ชัยภูมิพืชผล จากัด

นครราชสีมา

25

6040215133

นางสาวสุวรรณี กะโห้

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) โรงฟักไข่โชคชัย

นครราชสีมา

26

6040215134

นางสาวหฤทัย หล่าไธสง

โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

นครราชสีมา

27

6040215135

นางสาวอนุชจารินทร์ เพชรเเก้ว

บริษัท เคไอ ไบโอก๊าช จากัด

นครราชสีมา

28

6040215136

นางสาวอรพิม น้ากระโทก

บริษัท แอลบ็อกซ์ จากัด

นครราชสีมา

29

6040215137

นางสาวอริสรา สีแซก

บริษัท แอลบ็อกซ์ จากัด

นครราชสีมา

30

6040215138

นางสาวอัจฉรา ครุฑสังข์

บริษัท ไดซิน จากัด จ.นครราชสีมา

นครราชสีมา

31

6040215139

นางสาวอัญศิยา อัครชาติ

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) โรงฟักไข่โชคชัย

นครราชสีมา

32

6040215140

นางสาวอาธิติภรณ์ สีหานาถ

บริษัท แม็กนิเควนช์ (โคราช) จากัด

นครราชสีมา

33

6040215141

นายวุฒิพงษ์ แดงใหม่

การท่าอากาศยานอู่ตะเภา

ระยอง

34

6040215143

นายศุภิชยั ดึงกระโทก

บริษัท มีโชคขนส่ง จากัด

นครราชสีมา

35

6040215144

นางสาวปิยะวรรณ พานพิมพ์

บริษัทโชคสีมา พลาสแพค จากัด

นครราชสีมา

36

6040215147

นางสาวอังคณา จันทรสาขา

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา

37

6040215201

นางสาวกัญญาณัฐ พรบุษยานนท์

บริษัท เคไอ เอทานอล จากัด

นครราชสีมา

38

6040215202

นางสาวกัญญารัตน์ แก่นพุทรา

บริษัทไทย มารูจูน จากัด

สระบุรี

39

6040215203

นางสาวขนิษฐา นพสันเทียะ

บริษัท แบ็กส์ แอนด์ โกล์ฟ จากัด

นครราชสีมา

40

6040215204

นางสาวขวัญฤดี ศิลสวัสดิ์

บริษัท แบ็กส์ แอนด์ โกล์ฟ จากัด

นครราชสีมา

41

6040215205

นางสาวจริยาพร พิมพ์ตะคุ

บริษัท เยนเนรัล สตาร์ช จากัด

นครราชสีมา

42

6040215207

นางสาวณัฐกานต์ สิทธิวงศ์

บริษัท เจ.เอช.อุตสาหกรรม จากัด

นครราชสีมา

43

6040215208

นางสาวณัฐนิธิ นักรบ

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค เขต3 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

นครราชสีมา

44

6040215209

นางสาวดวงหทัย กลมสันเทียะ

นครราชสีมา

45

6040215211

นางสาวนวพร ภูธ่ ัญญเจริญ

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคจังหวัดนครราชสีมา 2 (หัวทะเล) บริษัท แป้งมันเอี่ยมเฮงอุตสาหกรรม จากัด

46

6040215212

นางสาวนิรชา พงพันนา

บริษัท ที ทารุทานิ แพค จากัด

นครราชสีมา

47

6040215213

นางสาวเนตรนภา นึกชัยภูมิ

โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

นครราชสีมา

ชื่อ-สกุล

บริษัท

จังหวัด

นครราชสีมา


20 ลาดับ ที่

รหัสนักศึกษา

48

6040215216

นางสาวผกาพันธุ์ ผ่องกลาง

บริษัท เอี่ยมรุ่งเรืองอุตสาหกรรม จากัด

นครราชสีมา

49

6040215217

นางสาวพรทิวา บ้าสันเทียะ

บริษัท แป้งมันเอี่ยมเฮงอุตสาหกรรม จากัด

นครราชสีมา

50

6040215218

นางสาวพรรณภา ปีบกระโทก

บริษัท สงวนวงษ์อุตสาหกรรม จากัด

นครราชสีมา

51

6040215219

นางสาวพัชรี สงวนธรรม

บริษัท ไทยชิม จากัด

นครราชสีมา

52

6040215220

นางสาวภาวิณี นิยมชัย

บริษัท ไทย เคบีเอส แบตเตอรี่ จากัด

สระบุรี

53

6040215221

นางสาวมินตรา ผลาเหิม

บริษัท แวนการ์ดฟู้ดส์ (ประเทศไทย) จากัด

นครราชสีมา

54

6040215222

นางสาวยุภาดา กลอนกลาง

บริษัท สยามเฟล็กซ์แพค จากัด

นครราชสีมา

55

6040215224

นางสาวรัติญาพร พานทอง

บริษัท ไทยชิม จากัด

นครราชสีมา

56

6040215225

นางสาววราพร นรินทร์นอก

บริษัท ฟอร์เวิร์ดฟรีแลนด์ จากัด

นครราชสีมา

57

6040215226

นางสาววิลาสินี แก้วเมืองนอก

บริษัท เอ็ม ยู ไอ รับเบอร์เบลท์ จากัด

สระบุรี

58

6040215227

นางสาวศิริขวัญ ทนกระโทก

บริษัท ฟอร์เวิร์ดฟรีแลนด์ จากัด

นครราชสีมา

59

6040215229

นางสาวสุกัญญา ขับผักแว่น

บริษัท เอ็ม ยู ไอ รับเบอร์เบลท์ จากัด

สระบุรี

60

6040215230

นางสาวสุทธิดา เต้นกระโทก

บริษัทไทย มารูจูน จากัด

สระบุรี

61

6040215231

นางสาวสุนันทา แปรสันเทียะ

บริษัท สยามเฟล็กซ์แพค จากัด

นครราชสีมา

62

6040215233

นางสาวโสรญา สุคโต

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคจังหวัดนครราชสีมา 2 (หัวทะเล)

นครราชสีมา

63

6040215234

นางสาวอนงค์นาฏ เทพอุทัย

บริษัท ทีพีเค แอ็ดวานซ์สตาร์ช จากัด

นครราชสีมา

64

6040215235

นางสาวอรทัย วิเศษกมลเลิศ

บริษัท ไทย เคบีเอส แบตเตอรี่ จากัด

นครราชสีมา

65

6040215237

นางสาวอรุณรัตน์ วงศ์คาจันทร์

บริษัท สยามเฟล็กซ์แพค จากัด

นครราชสีมา

66

6040215238

นางสาวอัจฉรา ทิพมาศนานนท์

บริษัท เจ.เอช.อุตสาหกรรม จากัด

นครราชสีมา

67

6040215239

นางสาวอาทิตยา จันทะบุตร

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา

68

6040215240

นางสาวอาภากรณ์ แก้วกุดเลาะ

บริษัท เอี่ยมรุ่งเรืองอุตสาหกรรม จากัด

นครราชสีมา

69

6040215242

นายศิริพงษ์ ศรีละคร

บริษัท นครราชสีมาสิริโชคชัย จากัด

นครราชสีมา

70

6040215244

นางสาวผกาวดี โทนผลิน

บริษัทโชคสีมา พลาสแพค จากัด

นครราชสีมา

71

6040215245

นางสาววราภรณ์ สอนกลาง

สานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา

72

6040215246

นางสาวอรยา แขพิมาย

สานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา

ชื่อ-สกุล

บริษัท

จังหวัด


21 ลาดับ ที่

รหัสนักศึกษา

ชื่อ-สกุล

73

6040215247

นายรุ้งวิทย์ ดาดขุนทด

จังหวัด

บริษัท ห้างหุ้นส่วนจากัด บี.ลั๊ค.กี้ จ.พระนครศรีอยุธยา

อยุธยา

5. การกากับให้เป็นมาตรฐาน (ตัวบ่งชี้ 1.1) ที่

ผลการดาเนินงาน เอกสารหลักฐาน เป็นไป ไม่เป็นไป ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ ตารางที่ 1 ในภาคผนวก ✔ ตารางที่ 2 ในภาคผนวก ✔ ตารางที่ 2 ในภาคผนวก ✔

เกณฑ์การประเมิน

1 2

จานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

3

คุณสมบัติอาจารย์ประจาหลักสูตร

4 5

คุณสมบัติของอาจารย์ผสู้ อน

ตารางที่ 3 ในภาคผนวก

การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กาหนด

ตารางที่ 5 ในภาคผนวก

หมวดที่ 2 นักศึกษาและบัณฑิต 1. ข้อมูลนักศึกษา รายงานข้อมูลนักศึกษาตั้งแต่เริ่มใช้หลักสูตรจนถึงปีการศึกษาที่รายงาน ปีการศึกษาที่ เข้า (ปีที่เริ่มใช้ หลักสูตร)

จานวน นักศึกษาที่ รับเข้า

2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

39 60 110 94 43 39 44

นักศึกษาที่คงอยู่แต่ละปี ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

37 58 109 88 39 35 38

94.87 96.67 99.09 93.62 90.70 89.74 86.36

33 45 84 76 38 35

84.62 75.00 76.36 80.85 88.37 89.74

33 37 83 75 38

84.62 61.67 75.45 79.79 88.37

32 37 83 74

82.05 61.67 75.45 78.72

2. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อจานวนนักศึกษาแรกเข้า จานวนนักศึกษาแรกเข้าชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มีจานวนนักศึกษาเพิ่มจากปีการศึกษา 2562 จากเดิม 39 คน เพิ่มเป็น 44 คน แต่ยังคงต่ากว่าแผนรับจานวน 1 คน (แผนรับ 45 คน) (1) แนวโน้มในการสมัครเข้าเรียนมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และหลักสูตร วท.บ. อาชีวอนามัย และความปลอดภัยมีจานวนลดลง ทั้งนี้อาจเป็นผลมาจากจานวนนักเรียนชั้นมัธยมที่ลดลงแปรผันตามอัตรา การเกิดของประชากร (2) มีสถานศึกษาที่เปิดหลักสูตรเดียวกัน ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา จานวน 3 แห่ง ทาให้นักเรียนมี โอกาสในการเลือกที่เรียน


22 3. ปัจจัย/สาเหตุที่มีผลกระทบต่อจานวนนักศึกษาตามแผนการศึกษา*** (1) การลาออกของนักศึกษาระหว่างภาคการศึกษา อันมีสาเหตุมาจากปัญหาเศรษฐกิจ และปัญหา ส่วนตัวอื่นๆ (2) การพ้นสภาพของนักศึกษา เนื่องจาก (2.1) ออกไปประกอบอาชีพอื่น โดยไม่มาดาเนินการลาออกตามขั้นตอนปกติ (2.2) ไม่ลงทะเบียน 4. จานวนนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาในปีที่รายงาน 4.1 จานวนนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาก่อนกาหนดเวลาของหลักสูตร “ไม่มี” 4.2 จานวนนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาตามกาหนดเวลาของหลักสูตร 73 คน 4.3 จานวนนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาหลังกาหนดเวลาของหลักสูตร 3 คน (นักศึกษารหัสแรกเข้า 59) 4.4 จานวนนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาในสาขาวิชาเอกต่าง ๆ (ระบุ) “ไม่มี” 5. จานวนผู้สาเร็จการศึกษาตั้งแต่เริ่มใช้หลักสูตร ปีการศึกษา ที่รับเข้า 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

จานวน นักศึกษาที่รับเข้า 39 60 110 94 43 39 44

จานวน ผู้สาเร็จการศึกษา 32 35 82 73 -

จานวน นักศึกษาที่คงอยู่ 0 0 0 1 38 35 38

จานวน นักศึกษาที่หายไป 7 25 28 20 5 4 6

6. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสาเร็จการศึกษา 1) การลาพักการศึกษาของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 เนื่องจากปัญหาส่วนตัว 2) ปัญหาการมีผลการเรียนระดับ F ในวิชาพื้นฐานบางรายวิชา และนักศึกษาไม่รีบดาเนินการแก้ไข


23 7. คุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ (ตัวบ่งชี้ 2.1) วันที่รายงานข้อมูล 1 กรกฎาคม 2564 ข้อ

ข้อมูลพื้นฐาน

ผลการดาเนินงาน

1

จานวนผู้สาเร็จการศึกษาทั้งหมด

79

2

จานวนบัณฑิตทีไ่ ด้รับการประเมินทั้งหมด

33

3

ร้อยละของบัณฑิตทีไ่ ด้รับการประเมิน

41.77

4

ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิต ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิตตาม กรอบมาตรฐาน TQF ใน ภาพรวม

4.39

- ด้านคุณธรรมจริยธรรม

4.72

- ด้านความรู้

4.33

- ด้านทักษะทางปัญญา

4.19

- ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

4.35

- ด้านทักษะความคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี

4.09

ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิตตามอัตลักษณ์ “สานึกดี มีความรู้ พร้อมสู้งาน” ในภาพรวม

4.45

5

6

4.34

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ได้ทาการสารวจจากผู้ใช้ บัณฑิตของบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2562 จานวน 79 คน มีผู้ใช้บัณฑิตกรอกแบบประเมิน จานวน 33 คน มีค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตเท่ากับ 4.39 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน 8. ภาวะการได้งานทาของบัณฑิตภายในระยะ 1 ปีหลังสาเร็จการศึกษา (ตัวบ่งชี้ 2.2) วันที่รายงานข้อมูล 1 กรกฎาคม 2564 ข้อ

ข้อมูลพื้นฐาน

จานวน

ร้อยละ

1

จานวนผู้สาเร็จการศึกษา

79

95.18

2

จานวนผู้ตอบแบบสารวจ

64

81.01

3

จานวนบัณฑิตทีไ่ ด้งานทา (งานใหม่)

59

92.18

4

39

60.94

5

จานวนบัณฑิตทีป่ ระกอบอาชีพอิสระ (อาชีพใหม่ที่เกิดขึ้นหลังสาเร็จการศึกษา) จานวนบัณฑิตทีไ่ ด้งานทาตรงสาขา

20

33.90

6

จานวนบัณฑิตที่ศึกษาต่ออย่างเดียว

-

-

7

จานวนบัณฑิตที่มีงานทาก่อนเข้าศึกษา

-

-

8

จานวนบัณฑิตทีไ่ ด้รับการเกณฑ์ทหาร

-

-

9

จานวนบัณฑิตที่อุปสมบท

-

-


24 10

จานวนบัณฑิตทีไ่ ม่ได้งานทา

5

8.47

11

จานวนบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาในรอบปีนั้นที่ตอบแบบสารวจ (ไม่นบั รวมผู้ที่มีงานทาก่อนเข้าศึกษา ผู้ศึกษาต่อ ผูไ้ ด้รับการเกณฑ์ ทหาร อุปสมบท และศึกษาต่อ)

64

81.01

ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี คะแนนผลการประเมินปีนี้

= =

92.18 x 5 100 4.61

9. การวิเคราะห์ผลที่ได้ ภาวะการมีงานทาของบัณฑิตระดับปริญญาตรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย พบว่า บัณฑิตทีส่ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2562 จานวนทัง้ หมด 79 คน คิดเป็นร้อย ละ 95.18 และมีผไู้ ม่สาเร็จการศึกษาจานวน 4 คน ร้อยละ 4.82 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 63 คน คิดเป็น ร้อยละ 79.74 จากจานวนบัณฑิตทั้งหมด ในจานวนผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นผู้มีงานทาจานวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 92.06 โดยทุกคนเป็นบัณฑิตที่ได้งานทา (งานใหม่) ส่วนบัณฑิตไม่มีงานทา จานวน 5 คน ร้อยละ 7.94 หลักสูตรได้ ตั้งเป้าหมายการได้งานทาของบัณฑิตไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 และเป็นงานที่ตรงสาขาไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 พบว่า จานวนบัณฑิตที่มีงานทาร้อยละ 92.18 แต่ทางานตรงสาขา ร้อยละ 33.90 ซึ่งไม่บรรลุตามเป้าหมายที่ หลักสูตร กาหนดไว้ ทัง้ นี้อาจเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจและสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่มีการปิดตัวของสถาน ประกอบการณ์ หรือทางานอื่นเพื่อรอตาแหน่งที่ตรงสาขาว่างลง นอกจากนี้เป็นความสมัครใจของบัณฑิตบางส่วน ที่ ต้องการเปลี่ยนสายอาชีพด้วยเหตุผลส่วนตัว ในส่วนของการเก็บข้อมูล ยังคงพบปัญหาเรื่องการติดตามภาวะการมีงานทาของบัณฑิต ซึง่ ได้ข้อมูลจาก แบบสอบถามไม่ครบทุกคน แม้หลักสูตรจะใช้วิธีการติดตามโดยการโทรศัพท์รายบุคคล และใช้ไลน์กลุ่มของอาจารย์ที่ ปรึกษาในการติดตาม เนื่องจากพบปัญหานักศึกษาเปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์ หรืออ่านข้อความในไลน์แต่ไม่มีการ ตอบสนอง จากการสังเกต พบว่านักศึกษาที่ตอบแบบสอบถาม มักจะเป็นผู้ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างเรียน ดังนัน้ การปลูกฝังให้นักศึกษาตระหนัก และเห็นความสาคัญของการประกันคุณภาพ อาจเป็นปัจจัยที่ ส่งผลให้นักศึกษามีความสมัครใจ และให้ความร่วมมือกับหลักสูตรมากยิ่งขึ้น โดยในการประชุมครั้งที่ 8/2564 วันที่ 23 มิถุนายน 2564 สมาชิกที่ประชุมได้มีมติให้ขอความร่วมมือจากอาจารย์ที่ปรึกษา ให้ข้อมูลการตรวจประกัน คุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษาในการดูแลอย่างสม่าเสมอ โดยแจ้งให้ทราบว่านักศึกษาคือส่วนสาคัญที่มีผลโดยตรงต่อ คุณภาพของหลักสูตรนั้นๆ เพื่อให้นักศึกษาได้รับทราบ และเข้าใจถึงบทบาทของตนเองที่มีต่อหลักสูตรและคณะดี ยิ่งขึ้น


25 10. รายงานผลตามตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ การรับนักศึกษา (ตัวบ่งชี้ 3.1)

ผลการดาเนินงาน มีผลการดาเนินงานในระดับปานกลาง (3 คะแนน) 1) การรับนักศึกษา เป้าหมาย 1) จานวนนักศึกษาเป็นไปตามแผน จานวน 45 คน 2) คุณสมบัติของนักศึกษาเป็นไปตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกาหนด ระบบและกลไกการรับนักศึกษา

ผลการดาเนินงาน 1.1 การกาหนดเป้าหมายจานวนรับนักศึกษา หลักสูตรประชุมครั้งที่ 14/2562 วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 38 เพื่อจัดทาแผนรับนักศึกษาปริญญาตรี ประจาปีการศึกษา 2563 โดยดาเนินการทบทวนแผนการรับนั กศึกษา 5 ปี และแผนรับนักศึกษาปี 2563 มีมติที่ประชุมให้ใช้เกณฑ์เดิมเป็นปีที่ 3 คือ กาหนดรับนักศึกษาภาคปกติ จานวน 45 คน ไม่รับภาค กศปช. เพื่อให้เป็นไปตามอัตราส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา 1:8 อีกทั้งมีการพิจารณา แผนรับในปีการศึกษาที่ผ่านมา คือ ปีการศึกษา 2562 ที่พบว่า จานวนนักศึกษาไม่เป็นไปตามแผนรับ (จานวน 39 คน จากแผนรับ 45 คน คิดเป็นร้อยละ 83.00) ซึ่งเมื่อพิจารณาขั้นรายงานตัวนักศึกษาใหม่ทั้งหมด พบว่า จ านวนนั ก ศึ ก ษาที่ ม ารายงานตั ว ต่ ากว่ า แผนรั บ โดยคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 82.97 ของผู้ ที่ ผ่ า นการคั ด เลื อ ก


26 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจึง มีมติ เปลี่ยนแปลงจานวนนักศึกษาที่ต้องการรับในแต่ละรอบ โดยกาหนด จานวนในรอบต้น ให้สูงกว่าในรอบหลัง และให้พิจารณาปรับเปลี่ยนแผนการรับตามสถานการณ์จริง โดยให้ ด าเนิ น การร่ ว มกั บ ส านั ก ส่ งเสริ ม วิ ช าการและงานทะเบี ย น เพื่ อ แจ้ งแผนและก าหนดจ านวนที่ เ หมาะสม รายละเอียดดังตาราง แผนจานวนนักศึกษา หมายเหตุ รอบการคัดเลือก ปี 2562 ปี 2563 1. รอบที่ 1 การรับด้วย Portfolio 10 40 2. รอบที่ 2 การรับแบบโควตา 15 3 TCAS 3. รอบที่ 3 การรับตรงร่วมกัน 10 2 4. รอบที่ 4 การรับตรงอิสระ 10 ที่คงเหลือ 5. รอบที่ 5 รอบขยายโอกาสฯ ที่คงเหลือ ที่คงเหลือ รวม 45 45 ลาดับถัดมา สานักส่งเสริมวิชาการฯ เสนอแผนรับต่อสภาวิชาการและคณะกรรมการบริหาร มหาวิทยาลัย เพื่อประชุมรับรองแผนการรับนักศึกษาของหลักสูตร และนาข้อมูลแผนรับนักศึกษาประจาปี 2563 ดาเนินงานตามกระบวนการจัดรับนักศึกษาใหม่ประจาปี 2563 โดยสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ได้ ดาเนินการตามระบบและกลไกของมหาวิทยาลัยในการรับสมัครนักศึกษา กาหนดให้หลักสูตรดาเนินการรับ คัดเลือกนักศึกษาทั้งสิ้น 5 รอบ ดังนี้ 1) รอบแฟ้มสะสมผลงาน คัดเลือกในวันที่ 16 มกราคม 2563 2) รอบโควตาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คัดเลือกในวันที่ 18-19 เมษายน 2563 3) รอบรับตรงร่วมกัน คัดเลือกในวันที่ 12 พฤษภาคม 2563 4) รอบรับตรงอิสระ คัดเลือกในวันที่ 13 มิถุนายน 2562 5) รอบขยายโอกาสฯ ประกาศผู้มสี ิทธิ์เข้าศึกษาโดยไม่มีการสัมภาษณ์ ในส่วนของการประชาสัมพันธ์ นอกเหนือจากการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย หลักสูตรได้ดาเนินการ ประชาสัมพันธ์ก่อนการรับสมัครนักศึกษา ดังต่อไปนี้ 1) ใช้ ช่ อ งทางออนไลน์ ใ นการประชาสั ม พั น ธ์ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร ได้ แ ก่ facebook fanpage “Occupational Health & Safety of NRRU” 2) แนะแนวหลักสูตรในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ดังต่อไปนี้ 1. โรงเรียนปักธงชัยประชานิรมิต อ. ปักธงชัย จ.นครราชสีมา วันที่ 2, 3 และ 6 ธันวาคม 2562 2. โรงเรียนโนนไทยคุรุอุปถัมภ์ อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา วันที่ 14 และ 15 มกราคม 2563 3. โรงเรียนบุญวัฒนา อ.เมือง จ.นครราชสีมา วันที่ 11 ธันวาคม 2563 4. โรงเรียนพิมายวิทยา อ.พิมาย จ.นครราชสีมา วันที่ 8 มกราคม 2563 5. โรงเรียนมหิศราธิบดี อ.เมือง จ.นครราชสีมา วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2563 3) วันที่ 27 กันยายน 2562 ร่วมจัดบูทประชาสัมพันธ์หลักสูตร ในงาน NRRU Open House จัดโดย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยในงานมีกิจกรรมประชาสัมพันธ์หลักสูตรต่างๆ การจาหน่ายอาหาร และ คอนเสิรต์ ทีวี 3 สัญจร ซึ่งมีเด็กนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าร่วมงานเป็นจานวนมาก 4) วันที่ 16 ตุลาคม 2562 จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์หลักสูตร ในงานบริการวิชาการ หัวข้อ “หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทาโครงการอนุรักษ์การได้ยิน” จัดขึ้น ณ โรงแรมเดอะริช ถ.ช้างเผือก ต. ในเมือง อ. เมือง จ. นครราชสีมา โดยมีผเู้ ข้าร่วมโครงการคือ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยจากสถานประกอบการภายนอก จานวน 31 คน ภายในงานมีการอบรมให้ความรูเ้ รื่องการจัดทาโครงการอนุรักษ์การได้ยิน และการ ประชาสัมพันธ์หลักสูตรพร้อมแจกแผ่นพับ ผู้เข้าร่วมงานมีความพึงพอใจในภาพรวม ระดับมาก (คะแนนเฉลี่ย 4.23) 5) วันที่ 12 พฤศจิกายน 2563 ร่วมจัดบูทประชาสัมพันธ์หลักสูตรในงาน “จิตอาสาทาความดี สร้าง องค์ความรู้ ปลูกจิตสานึกความปลอดภัย” เนื่องในโอกาสวันเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานปี 2563 จัด โดยสานักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดนครราชสีมา ร่วมกับศูนย์ความปลอดภัยในการทางาน เขต 3 และเครือข่ายเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานในจังหวัดนครราชสีมา ณ โคราชฮอลล์ 2 ศูนย์การค้า เซ็นทรัลโคราช ผู้เข้าร่วมงานคือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยจากสถานประกอบการต่างๆ บุคลากรหน่วยงานงาน


27 ภาครัฐ ภาคการศึกษา รวมถึงผูส้ นใจทั่วไป โดยในงานมีการจัดแสดงนิทรรศการ การมอบรางวัลเชิดชูเกียรติ รวมถึงการบริจาคอุปกรณ์ทางการแพทย์ จากหน่วยงานหลายภาคส่วน 1.2 เกณฑ์/เครื่องมือ การรับนักศึกษา หลักสูตรมีหลักเกณฑ์ในการรับนักศึกษาโดยมีคุณลักษณะของผูเ้ ข้าศึกษา ที่กาหนดไว้ใน มคอ. 2 และ เป็นไปตามเกณฑ์ในการพิจารณาวุฒิการศึกษาปริญญาตรีสาขาอาชีวอนามัย หรือเทียบเท่าตามกฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549 นอกจากนี้ เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับนักศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีมติในการประชุมครั้ง ที่ 14/2562 วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 38 กาหนดให้ลดระดับผลการเรียน สะสม (GPAX) จาก 2.50 เป็น 2.00 ดังนั้น หลักเกณฑ์ในการรับนักศึกษา จึงมีรายละเอียดดังนี้ 1. สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ เทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง ในแผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 2. มีผลการเรียนสะสม (GPAX) ไม่ต่ากว่า 2.00 3. มีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ ไม่เจ็บป่วยหรือเป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือมีความ ผิดปกติที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา 4. มีคุณสมบัติครบถ้วนตามระเบียบและประกาศของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 1.3 เกณฑ์/เครื่องมือ ที่ใช้ในการคัดเลือก ในการประชุมครั้งที่ 14/2562 วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร 38 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีมติลดระดับผลการเรียนสะสม (GPAX) เพื่อให้สอดคล้องกับเกณฑ์การรับ นักศึกษา มีรายละเอียดดังนี้ - ส าเร็จการศึกษาระดับ มัธยมศึก ษาตอนปลาย สายสามัญ โปรแกรมที่ เน้นวิ ทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ - คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.00 - มีคุณสมบัติครบถ้วนตามระเบียบและประกาศของมหาวิทยาลัยฯ ผลจากกระบวนการคัดเลือก พบว่า มีนักศึกษาที่สมัครเข้าศึกษาต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอ นามัยและความปลอดภัย) ภาคปกติ จานวน 104 คน ผ่านการคัดเลือก 71 คน และรายงานตัวทั้งสิ้น 44 คน เทียบกับแผนรับ คิดเป็นร้อยละ 97.78 รายละเอียดแจกแจงตามตาราง โดยนักศึกษาเข้าใหม่ทั้งหมดมีคุณสมบัติ ตามเกณฑ์ที่กาหนดโดยหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 100 จานวนนักศึกษา รอบการคัดเลือก/ช่องทางการรับ สมัคร ผ่านการ รายงานตัว คัดเลือก 1. รอบที่ 1 การรับด้วย Portfolio 63 50 35 2. รอบที่ 2 การรับแบบโควตา 26 16 8 3. รอบที่ 3 การรับตรงร่วมกัน 2 0 0 4. รอบที่ 5 การรับตรงอิสระ 13 5 1 รวม 104 71 44 ร้อยละเทียบกับแผนรับ (45) 231.11 157.78 97.78 การประเมิน และปรับปรุงกระบวนการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีการประชุมเพื่อทบทวนกระบวนการรับนักศึกษา ในการประชุมครั้งที่ 11/2563 วันที่ 7 สิงหาคม 2563 ณ ห้องสานักงานหลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย อาคาร 38 มี รายละเอียดดังนี้ 1. นักศึกษาเข้าใหม่มีคณ ุ สมบัติตรงตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 100 ดังนั้น เกณฑ์การรับและเกณฑ์การ


28 คัดเลือกดังกล่าว จะถูกนาไปใช้สาหรับคัดเลือกนักศึกษาเข้าใหม่ในปีการศึกษาถัดไป 2. จานวนนักศึกษาแม้ไม่เป็นไปตามแผนรับ (จานวน 44 คน จากแผนรับ 45 คน) แต่มีจานวนเพิ่มขึ้นจากปี การศึกษา 2562 (จานวน 39 คน จากแผนรับ 45 คน) จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.82 ทั้งนี้อาจเป็นผลมา จากการดาเนินการที่ตา่ งจากปีการศึกษา 2562 สองประการ ได้แก่ 1) มีการประชาสัมพันธ์เชิงรุกในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดนครราชสีมา จานวน 5 โรงเรียน โดยพบ นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จากโรงเรียนที่ได้รับการประชาสัมพันธ์เชิงรุก จานวน 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนปักธงชัยประชานิรมิต และโรงเรียนพิมายวิทยา จานวนทั้งสิ้น 2 คน คิดเป็น ร้อยละ 40 ของนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นมา โดยนักศึกษาแจ้งว่า ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตร วท.บ.อาชีวอนามัย และความปลอดภัย จากกลุ่มอาจารย์ที่เดินทางไปประชาสัมพันธ์หลักสูตร ซึ่งในการรับนักศึกษาใหม่ปีการศึกษา 2564 ที่ประชุมมีมติให้ดาเนินการประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุกต่อไป แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาตามสถานการณ์การ ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นหลัก 2) มีการปรับเปลี่ยนแผนการรับนักศึกษาที่ต้องการรับในแต่ละรอบ โดยกาหนดจานวนในรอบต้น ให้สูง กว่าในรอบหลัง และให้พิจารณาปรับเปลี่ยนแผนการรับตามสถานการณ์จริง โดยให้ดาเนินการร่วมกับสานัก ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพื่อแจ้งแผนและกาหนดจานวนที่เหมาะสม ซึ่งที่ประชุมจึงมีมติให้ใช้แผนรับ ดังกล่าวต่อเนื่องในปีการศึกษาถัดไป ในส่วนของความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการรับนักศึกษา ปีการศึกษา 2563 จากการสารวจโดย มหาวิทยาลัย พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ย = 4.67±0.12 อยู่ในระดับมากที่สุด (รายละเอียดตามตารางด้านล่าง) โดยลดลงจากปีการศึกษาทีผ่ ่านมาเพียงเล็กน้อย (คะแนนความพึงพอใจ ปีการศึกษา 2562 = 4.67±0.14 , 2561 = 4.5±0.60 (ระดับมาก) , 2560 = 4.55 ±0.55 (ระดับมากที่สุด) และ 2559 = 4.40 ±0.55 (ระดับ มาก)

หัวข้อการประเมิน ปีการศึกษา 2562 1. การกาหนดเป้าหมายการรับนักศึกษา โดยพิจารณา ความต้องการของตลาดและความพร้อมของอาจารย์ที่ มีอยู่ 2. การกาหนดคุณสมบัติของนักศึกษาที่สอดคล้องกับ ความต้องการของหลักสูตร เช่น ความรู้พื้นฐานต่าง ๆ และคุณสมบัติอื่น ๆ 3. เกณฑ์ที่ใช้ในการคัดเลือกนักศึกษามีความเหมาะสม เชื่อถือได้ โปร่งใสและเป็นธรรม เฉลี่ย

ค่าเฉลี่ย

ส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน

ระดับ

4.60

0.55

มากที่สุด

4.60

0.55

มากที่สุด

4.80

0.45

มากที่สุด

4.67

0.12

มากที่สุด


29 2) การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ระบบและกลไกการเตรียมความพร้อม หลักสูตรประชุมกาหนดแผนงานเตรี ยมความพร้อมแก่นกั ศึกษาเข้า ใหม่

จัดทาโครงการเตรี ยมความพร้อมแก่นกั ศึกษา

สรุ ปรายงานโครงการ

ทบทวนการจัดทาโครงการ

พิจารณาหัวข้อการเตรียม ความพร้อม จาก 1. ผลการดาเนินงานจาก ปีการศึกษาที่ผ่านมา 2. ผลการเรียน F ของ นักศึกษา ปีการศึกษาที่ ผ่านมา 3. ความคิดเห็นหรือ ข้อเสนอแนะ ของ นักศึกษาที่ผ่านการเตรียม ความพร้อมในปีการศึกษา ที่ผ่านมา และนักศึกษา เข้าใหม่

ผลการดาเนินงาน หลักสูตร วท.บ. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ได้จัดกิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ร่วมกับคณะ สาธารณสุขศาสตร์ รูปแบบออนไลน์ในวันที่ 30 มิถุนายน 2563 โดยประธานหลักสูตรได้แนะนารายละเอียด หลักสูตรฯ และข้อปฏิบัติทั่วไปในการเรียนและใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย นอกจากนี้นักศึกษาทุกคนยังได้รับแจก คู่มือนักศึกษา ในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ นอกเหนือจากการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ที่ได้ร่วมดาเนินการในระดับคณะ หลักสูตร วท.บ. อาชี วอนามัยและความปลอดภัย ได้จัดโครงการเตรียมความพร้อมเพิ่มเติมให้กับนักศึกษา โดยคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรได้ประชุมเพื่อกาหนดรูปแบบและหัวข้อกิจกรรม ในการประชุมครั้งที่ 10/2563 วันที่ 8 มิถุนายน 2563 โดยพิจารณาจาก 1) ผลการดาเนินงานจากปีการศึกษาที่ผ่านมา 2) ผลการเรียน F ของนักศึกษา ปีการศึกษาที่ ผ่านมา และ 3) ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของนักศึกษาที่ผ่านการเตรียมความพร้อมในปีการศึกษาที่ผ่านมา และข้อเสนอแนะของนักศึกษาเข้าใหม่ จึงได้มีมติให้จัดอบรมเรื่องการสื่อสาร เพศศึกษา และวิชาการ โดยในส่วน หัวข้อทางวิชาการ ให้พิจารณาคะแนนสอบในแต่ละครั้งของนักศึกษาเข้าใหม่ รวมถึงสารวจความต้องการของ นักศึกษา จากนั้นจัดอบรมเพิ่มเติมตามความเหมาะสมต่อไป นอกจากนี้ มีมติให้งดการศึกษาดู งานในสถาน ประกอบการภายนอก อันเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ยังไม่เข้าสู่ภาวะปกติ ที่ประชุมได้กาหนดให้ อ.ดร.พฤมล น้อยนรินทร์ เป็นผู้รับผิดชอบจัดโครงการการเตรียมความพร้อม ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 หลักสูตรอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จานวนทั้งหมด 38 คน โดยมีหัวข้อในการอบรมดังนี้ - ทักษะชีวิต-เพศศึกษา วันที่ 10 มีนาคม 2564 จานวน 3 ชม. - การพูดในที่สาธารณะ วันที่ 17 มีนาคม 2564 จานวน 3 ชม. - เตรียมการสอบวิชาชีวเคมี วันที่ 5 เมษายน 2564 จานวน 3 ชม. เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้กิจกรรมต่างๆ ในช่วงต้นปี การศึกษาจาเป็นต้องจัดในรูปแบบออนไลน์ ดังนั้นเมื่อสถานการณ์เริ่มดีขึ้น ทางหลักสูตรจึงได้ประชุมนักศึกษา เข้าใหม่แบบ on site ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความคุ้นเคย และสร้าง บรรยากาศของความเป็นหมูค่ ณะ โดยมีอาจารย์ประจาหลักสูตรทุกท่าน (ยกเว้นอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ) ร่วม พูดคุยสอบถามนักศึกษาถึงการปรับตัว ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ รวมถึงเรื่องอื่นๆ ที่นักศึกษาต้องการแจ้งให้


30 คณาจารณ์ทราบ ซึ่งนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ผลการจัดกิจกรรม นักศึกษามีความพึงพอใจในภาพรวม ที่ระดับคะแนนเฉลี่ย = 4.10±0.14 (ระดับมาก) มีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมหรือหัวข้อที่ได้รับหลังการอบรม เพิ่มขึ้นโดย 0.47±0.03 คะแนน (คะแนนเฉลี่ย ก่อนการอบรม = 3.46 ± 0.86 อยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ยหลังการอบรม = 3.93 ± 0.84 อยู่ในระดับมาก) และคิดว่าได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรม = 4.05 ± 0.86 (ระดับมาก) รายละเอียดตามตาราง

หัวข้อ

คะแนน (เฉลี่ย)

ระดับ

ความพึงพอใจต่อวันเวลาจัดกิจกรรม

3.93 ± 0.86

มาก

ความพึงพอใจต่อของสถานที่

4.15 ± 0.87

มาก

ความพึงพอใจต่ออาหาร

4.30 ± 0.89

มาก

ความพึงพอใจต่อวิทยากร ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการเข้าร่วม กิจกรรม รวม (เฉลี่ย)

4.08 ± 0.87

มาก

4.05 ± 0.86

มาก

4.10 ± 0.14

มาก

หัวข้อ " การพูดในที่สาธารณะ"

3.43 ± 0.81

มาก

หัวข้อ "เพศศึกษา"

3.63 ± 0.81

มาก

หัวข้อ "เตรียมการสอบวิชาชีวเคมี"

3.31 ± 0.96

มาก

3.46 ± 0.86

มาก

หัวข้อ " การพูดในที่สาธารณะ"

3.89 ± 0.87

มาก

หัวข้อ "เพศศึกษา"

4.00 ± 0.77

มาก

หัวข้อ "เตรียมการสอบวิชาชีวเคมี"

3.91 ± 0.89

มาก

3.93 ± 0.84

มาก

ความพึงพอใจทั่วไป

ความรู้ก่อนอบรม

รวม (เฉลี่ย) ความรู้หลังอบรม

รวม (เฉลี่ย)

การประเมิน และปรับปรุงกระบวนการ จากการพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 พบว่าในภาคเรียนที่ 1 ไม่มีนักศึกษา คนใดมีผลการเรียน F ซึ่งแตกต่างจากปีการศึกษาที่ผ่านมา ที่มักพบนั กศึกษาเข้าใหม่ชั้นปีที่ 1 มีผลการเรียน F ในรายวิชาพื้นฐานเป็นประจาตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากนักศึกษาทุกคนมีคุณสมบัติตาม เกณฑ์รับเข้า จึงถือว่ามีความพร้อมต่อการศึกษาตลอดหลักสูตรได้ในระดับหนึ่ง รวมถึงกิจกรรมเตรียมความ พร้อมที่ดาเนินการโดยหลักสูตร อาจสร้างความตระหนัก และความระมัดระวังในเรื่องการเรียนให้แก่นักศึกษา ซึ่งคณาจารย์มักเน้นย้าเรื่องดังกล่าวอย่างสม่าเสมอในทุกครั้งที่มีกิจกรรมร่วมกัน เป็นที่น่าสังเกตว่า ผลคะแนนความพึงพอใจต่อกิจกรรมเตรียมความพร้อม ปีการศึกษา 2563 แม้จะอยู่ใน ระดับมาก แต่มีคะแนนต่าเมื่อเทียบกับ 3 ปีย้อนหลัง (ปีการศึกษา 2562 = 4.42±0.35, 2561 = 4.40±0.55 และ 2560 =4.35±0.42 อยู่ในระดับมากทั้งหมด) ทั้งนี้จากอาจเนื่องมาจากมีการปรับลดหัวข้อการอบรม ลด


31 รูปแบบกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติเป็นกลุ่ม และงดการศึกษาดูงานภายนอก อันเนื่องมาจากการปรับตัวให้เหมาะสม กับสถานการณ์โรคระบาด ในปีการศึกษาต่อไป คือ 2564 จึงเห็นควรเพิ่มหัวข้อการอบรม แต่ทั้งนี้ให้พิจารณา ตามความเหมาะสมของสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งเป็นมติในเบื้อต้นของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ในการ ประชุมครั้ง 7/2564 วันที่ 14 พฤษภาคม 2564 จากการสารวจความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการเตรียมความพร้อมนักศึกษา ปีการศึกษา 2563 พบว่า มี ค่าคะแนนเฉลี่ย = 4.60±0.55 โดยลดลงจากปีที่ผ่านมา (ปีการศึกษา 2562 = 4.75±0.5 (ระดับมากที่สุด), 2561 = 4.67±0.52 (ระดับมากทีส่ ุด) และ 2560 มีค่าเฉลี่ย = 4.55 ±0.55 (ระดับมากที่สุด) หัวข้อการประเมิน ปีการศึกษา 2563

ค่าเฉลี่ย

ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

ระดับ

1. การเตรียมความพร้อมของนักศึกษาก่อนเข้าศึกษาได้รับการ พัฒนาตนเองพร้อมทั้งสามารถเรียนในหลักสูตรจนสาเร็จ การศึกษา

4.60

0.55

มากที่สุด


32 การส่งเสริมและ พัฒนานักศึกษา (ตัวบ่งชี้ 3.2)

มีผลการดาเนินงานในระดับดี (4 คะแนน) 1. การควบคุมการดูแลการให้คาปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นกั ศึกษาในระดับปริญญาตรี เป้าหมาย ให้นักศึกษาสามารถสาเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกาหนด ระบบและกลไก

ผลการดาเนินงาน 1.1 การจัดระบบการดูแลนักศึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษา 1.1.1 ในปีการศึกษา 2563 ได้แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา โดยพิจารณาจากภาระด้านการเป็นที่ ปรึกษา และหมู่เรียนเดิมที่เคยรับผิดชอบ โดยมีการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ที่ปรึกษาของนักศึกษา 2 ชั้นปี ดังนี้ 1) ชั้นปีที่ 3 เปลี่ยนจากอาจารย์นพเก้า บัวงาม ซึ่งได้ย้ายสังกัดจากหลักสูตร วท.บ. อาชีวอ นามัยและความปลอดภัย เข้าสู่หลักสูตร วท.บ. อนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นอาจารย์พนิดา เทพชาลี 2) ชั้นปีที่ 4 หมู่ 1 เปลี่ยนจากอาจารย์นันทนา คะลา ซึ่งได้ลาศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก เป็นอาจารย์ ดร. พฤมล น้อยนรินทร์ อาจารย์ที่ปรึกษาจะต้องทาหน้าที่ตามคาสั่งแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา มีการเข้าพบนักศึกษาตาม กาหนดของมหาวิทยาลัย คือ 4 ครั้งต่อภาคการศึกษา อีกทั้งยังต้องรายงานผลการปฏิบัติงานการให้คาปรึกษาแก่ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เทอมละ 1 ครั้ง และมีช่องทางให้นักศึกษาได้ติดต่อขอรับคาปรึกษา เช่น โทรศัพท์ หน้าเพจ Occupational Health & Safety of NRRU นัดหมายพบที่ห้องพักอาจารย์ แอพพลิเค ชันไลน์ หรือช่องทางอื่นๆ แล้วแต่กรณี โดยหมู่เรียนที่อาจารย์แต่ละท่านรับผิดชอบและสัดส่วนของอาจารย์ต่อ นักศึกษาแสดงในตาราง ดังนี้


33 อาจารย์ อาจารย์อุษาวดี ไพราม รศ.ดร. พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ อาจารย์พนิดา เทพชาลี อาจารย์ ดร.พฤมล น้อยนรินทร์ อาจารย์วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี เฉลี่ย

นักศึกษา ชั้นปีที่ 1 (ปีแรกเข้า 2563) ชั้นปีที่ 2 (ปีแรกเข้า 2562) ชั้นปีที่ 3 (ปีแรกเข้า 2561) ชั้นปีที่ 4 หมู่ 1 (ปีแรกเข้า 2560) ชั้นปีที่ 4 หมู่ 2 (ปีแรกเข้า 2560) 1 : 37.4

สัดส่วน 1 : 39 1 : 35 1 : 38 1 : 36 1 : 39

จากรายงานการปฏิบัติงานในหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษา ภาคการศึกษาที่ 1/2563 นักศึกษาส่วนใหญ่มาพบเพื่อปรึกษาเรื่องการเรียน สังคมและการปรับตัว 1. นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สอบผ่านทุกรายวิชา 39 คน โดยนักศึกษาทั้งหมดปรึกษาเรื่องสังคมและการ ปรับตัวและ การกู้เงินทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) 2. นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สอบผ่านทุกรายวิชา 35 คน ไม่มีนักศึกษาลาออก พ้นสภาพ หรือลาพัก การศึกษา มีการปรึกษาเรื่องการเรียน สังคม การปรับตัว และ สุขภาพ 3. นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สอบผ่านทุกรายวิชา 38 คน นักศึกษาทั้งหมดปรึกษาเรื่องการเรียน 4. นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หมู่ 1 สอบผ่านทุกรายวิชาทุกคน 36 คน ไม่มีนักศึกษาลาออก มีการปรึกษาเรื่อง การเตรียมตัวไปฝึกสหกิจ 5. นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หมู่ 2 สอบผ่านทุกรายวิชาทุกคน 39 คน ส่วนใหญ่ปรึกษาเรื่องการเรียน และ การปรับตัว ภาคการศึกษาที่ 2/2563 นักศึกษาส่วนใหญ่มาพบเพื่อปรึกษาเรื่อง เรื่องการเรียน สังคมและการปรับตัว 1. นักศึกษาชั้นปีที่ 1 2 สอบผ่านทุกรายวิชา 37 คน มีผลการเรียน F 1 คน มีนักศึกษาลาออก 1 คน เหลือนักศึกษา 38 คน ทั้งหมดปรึกษาเรื่องการเรียน 2. นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สอบผ่านทุกรายวิชา 34 คน มีผลการเรียน M 1 คน ไม่มีการลาออก พ้นสภาพ หรือลาพักการศึกษา มีการปรึกษาเรื่องการเรียน และ สุขภาพ 3. นักศึกษาชั้นปีที่ 3 นักศึกษา 38 คน ผลการเรียนเป็น I จานวน 1 วิชาและ M 1 วิชา ส่วนวิชาที่ เหลือสอบผ่านทุกรายวิชาไม่มีนักศึกษาลาออก นักศึกษาทั้งหมดปรึกษาเรื่องการเรียน 4. นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หมู่ 1 สอบผ่านทุกรายวิชาทุกคน 36 คน จบการศึกษา 36 คน นักศึกษาส่วน ใหญ่ปรึกษาเรื่องการสมัครงาน 5. นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หมู่ 2 สอบผ่านทุกรายวิชาทุกคน 38 คน ไม่ผ่าน 1 วิชา 1 คน จบการศึกษา 38 คน ไม่จบการศึกษาตามเกณฑ์ปกติ 1 คน เนื่องจากลาพักการศึกษาจากปัญหาส่วนตัว นักศึกษาส่วนใหญ่ ปรึกษาเรื่องการสมัครงาน 1.1.2 หลักสูตรได้ดาเนินการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการให้การดูแลของอาจารย์ที่ ปรึกษา โดยมีผลการดาเนินการ ดังนี้ ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 หัวข้อ เฉลี่ย ระดับ x x x 1. อาจารย์ที่ปรึกษาเข้าพบนักศึกษาตาม 4.32 4.43 4.38 4.38 มาก กาหนดเวลาในตารางเรียนตารางสอน 2. อาจารย์ที่ปรึกษามีช่องทางอื่น ๆ ในการรับฟัง ปัญหาของนักศึกษานอกเหนือจากตารางที่ 4.50 4.46 4.34 4.44 มาก กาหนด 3. อาจารย์ที่ปรึกษาชี้แจงแนะนาให้นักศึกษา 4.38 4.49 4.34 4.41 มาก เข้าใจวิธีเรียน และวิธีศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 4. อาจารย์ที่ปรึกษาให้คาปรึกษาเกี่ยวกับการ 4.38 4.46 4.45 4.43 มาก ลงทะเบียน เช่น การเลือกรายวิชาเรียน การปรับ


34 แผนการเรียน การเพิ่มถอนรายวิชาเรียน การ ยกเลิกรายวิชา เป็นต้น 5. อาจารย์ที่ปรึกษาให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับ นักศึกษา เช่น สวัสดิการ การบริการ ทุนการศึกษา เป็นต้น 6. อาจารย์ที่ปรึกษาให้คาแนะนาเกี่ยวกับการ วัดผลและประเมินผลที่เป็นประโยชน์ต่อ การศึกษาตลอดหลักสูตร 7. อาจารย์ที่ปรึกษาให้คาแนะนาที่ส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรม 8. อาจารย์ที่ปรึกษาให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์ ต่อนักศึกษา 9. การควบคุม ดูแล การให้คาปรึกษาวิชาการ (ปริญญาตรี) รวม (เฉลี่ย)

4.41

4.40

4.45

4.42

มาก

4.41

4.54

4.34

4.44

มาก

4.53

4.46

4.38

4.46

มาก

4.56

4.54

4.38

4.51

มาก ที่สุด

4.41

4.49

4.45

4.45

มาก

4.43

4.47

4.39

4.44

มาก

1.2 การจัดการความเสี่ยงด้านนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อประเมินและควบคุมความเสี่ยง ภายในคณะสาธารณสุขศาสตร์ โดยในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรฯ มีความเสี่ยงเกี่ยวกับนักศึกษาเพียงเรื่อง เดียว คือ ความเสี่ยงต่อการไม่สาเร็จการศึก ษาตามเวลาที่ก าหนด มีความเสี่ยงในระดับปานกลาง โดยพบ นักศึกษาที่มีความเสี่ยงดังกล่าว จานวน 1 คน โดยนักศึกษาประสบปัญหาส่วนตัว จาเป็นต้องพักการเรียนในชั้น ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ทั้งนี้อาจารย์อาจารย์ได้ให้คาปรึกษา และแนะนาให้รักษาสภาพ นักศึกษาจนกว่าจะมีความพร้อมในการกลับมาเรียนอีกครั้ง การประเมิน และ ปรับปรุงกระบวนการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีการประชุมเพื่อประเมินกระบวนการควบคุมการดูแลการให้คาปรึกษา วิชาการและแนะแนวแก่ นักศึ กษาในระดั บปริ ญญาตรี พบว่าในปีก ารศึกษา 2563 มี การรายงานผลการ ปฏิบัติงานของอาจารย์ที่ปรึกษาไปยังคณะกรรมการบริหารงานคณะสาธารณสุขศาสตร์ ตามกาหนดเวลา 2. การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ระบบและกลไก หลักสูตรประชุมกาหนดแผนงานส่งเสริ มและพัฒนา นักศึกษาตามอัตลักษณ์บณ ั ฑิต

จัดทาโครงการส่งเสริ มและพัฒนานักศึกษา

สรุ ปรายงานโครงการ

ทบทวนการจัดทาโครงการ

พิจารณากาหนดหัวข้อ กิจกรรม จาก 1. อัตลักษณ์บณ ั ฑิต 2. ความคิดเห็นหรือ ข้อเสนอแนะ ของ นักศึกษาจากการประเมิน ผ่านระบบสารสนเทศของ มหาวิทยาลัย


35 ผลการดาเนินงาน หลักสูตรได้ดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติงาน ประจาปีงบประมาณ 2563 และ 2564 โดยพิจารณา จากอัตลักษณ์ของบัณฑิตที่พึงประสงค์ รวมถึงความคิดเห็นของนักศึกษาในปีการศึกษา 2562 เพื่อใช้ในการ กาหนดหัวข้อสาหรับพัฒนานักศึกษา โดยมีผลการปฏิบตั ิงานดังนี้ โครงการ 1. โครงการเตรียมความพร้อมสาหรับ นักศึกษาใหม่

กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จานวน 38 คน

2. โครงการพัฒนาแหล่งฝึก ประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม

นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จานวน 38 คน

ผลการประเมิน นักศึกษาหลักสูตร วท.บ. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ชั้นปีที่ 1 จานวน 38 คน เข้า ร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อม ในวันที่ 10,17 มีนาคม 2564 และ 5 เมษายน 2564 รวม ทั้งสิ้น 3 วัน เป็นเวลา 9 ชั่วโมง มีหัวข้อการอบรม 3 หัวข้อ ได้แก่ 1) ทักษะชีวิต-เพศศึกษา 2) การพูดในที่สาธารณะ 3) เตรียมการสอบวิชาชีวเคมี 4) ทักษะชีวิต-เพศศึกษา ผู้เข้าร่วมโครงการมีคะแนน ความพึงพอใจ = 4.10±0.14 (ระดับมาก) นักศึกษาหลักสูตร วท.บ. อาชีว อนามัยและความปลอดภัยชั้นปี ที่ 3 จานวน 38 คน เข้าร่วม กิจกรรมเตรียมความพร้อม ระหว่างวันที่ 15-18 ตุลาคม 2563 รวมทั้งสิ้น 3 วัน ผู้เข้าร่วมโครงการมีคะแนน ความพึงพอใจ ดังนี้ 1. รูปแบบ/หัวข้อในการจัด กิจกรรมมีความเหมาะสม = 4.21±0.82 (ระดับมาก) 2. กิจกรรมนี้เอื้อต่อการเรียนรู้ และพัฒนาความสามารถของ นักศึกษา = 4.13±0.91 (ระดับ มาก) 3. ประโยชน์ที่นักศึกษาได้รับ จากกิจกรรมนี้ = 4.48±0.69 (ระดับมาก) 4. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม มีความเหมาะสม = 4.10±0.96 (ระดับมาก) 5. สถานที่จัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม = 4.10±0.87 (ระดับ


36 มาก) ข้อเสนอแนะ 1. ไม่ควรจัดกิจกรรมในฤดูฝน 2. จานวนห้องน้าในพื้นที่พัก อาศัยไม่เพียงพอ ครั้งต่อไปควร สารวจจานวนห้องน้าให้เพียงพอ ต่อจานวนนักศึกษา 3. พื้นที่ชุมชนมีครัวเรือนตั้งอยู่ ห่างกันทาให้นักศึกษาเดินเท้าใน การสารวจข้อมูลในระยะ ทางไกล 3 กิจกรรมพัฒนาทักษะที่จาเป็น สาหรับการประกอบอาชีพเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการทางานระดับ วิชาชีพ -โครงการสหกิจศึกษา

นักศึกษาชั้นปีที่ 4

- กิจกรรมฝึกปฏิบัติการระงับและ ป้องกันอัคคีภัย

นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จานวน 71 คน

- กิจกรรมเทคนิคการจัดการเหตุฉกุ เฉิน นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ด้านเคมี จานวน 70 คน

สหกิจศึกษา ปีการศึกษา 2563 นักศึกษาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัยชั้นปีที่ 4 (จานวน 74 คน) ลงทะเบียนเรียนรายวิชาสห กิจศึกษา ทั้งหมด 73 คน (อีก 1 คน ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการ ได้ตามระยะเวลาที่กาหนด จึงได้ ลงทะเบียนรายวิชาฝึก ประสบการณ์ด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยทดแทน) ได้ปฏิบตั ิการงานในสถาน ประกอบกิจการ ทั้งหมด 43 บริษัท โดยผ่านการ ฝึกปฏิบัติทุกคน อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การดับเพลิงขั้นต้น ในวันที่ 30 ตุลาคม 2563 ณ ศูนย์ฝึกอบรม เทศบาลนครราชสีมาสถานี ดับเพลิงสุรนารายณ์ มีผู้เข้า อบรม ร้อยละ 98.61 ความพึง ใจในการเข้าร่วมอยู่ในระดับ มากท่สุด คะแนนเฉลีย่ 4.63+0.56 อบรมเชิงปฏิบัติการ ในวันที่ 29 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุม 1 อาคาร38 มีผู้เข้าอบรม ร้อยละ 95.86 ความพึงใจในการเข้าร่วม อยู่ในระดับมากที่สุด คะแนน


37 เฉลี่ย 4.59+0.56 มีกาหนดจัดในวันที่ 28-29 ก.ค. 2564

-โครงการกิจกรรมอบรมระบบ มาตรฐานสากล ISO 14001 : 2015 และ ISO 45001 : 2018 4. กิจกรรมอบรมพัฒนาทักษะที่ จาเป็นสาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 - อบรมการพัฒนาทักษะดิจิทลั สาหรับ นักศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัย และความปลอดภัย

นักศึกษาปีที่ 4

ทุกชั้นปี

โดยเชิญวิทยากร คือ คุณกอบ แก้ว บุญกลาง จากสานักวิทย บริการ บรรยายให้ความรู้ใน เรื่องการเข้าห้องเรียนออนไลน์ ด้วย Google Class Room ใน วันที่ 7 พฤษภาคม 2563

- กิจกรรมตรวจวัดด้านสุขศาสตร์ อุตสาหกรรม ในสถานประกอบการ

นักศึกษาปีที่ 3

หลักสูตรได้จดั กิจกรรมส่งเสริม ทักษะที่จาเป็นสาหรับการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 โดยการบูรณา การในรายวิชา ปฏิบตั ิการเก็บ ตัวอย่างและการวิเคราะห์ด้าน สุขศาสตร์อุตสาหกรรม ปี การศึกษา 2/2563 ซึ่งจัดให้มี การบริการวิชาการตรวจวัดด้าน สุขศาสตร์อุตสาหกรรม ได้แก่ แสง เสียง ความร้อน และ ฝุ่น ให้กับสถานประกอบการ ภายนอกที่ให้ความสนใจ โดยไม่ เสียค่าใช้จ่าย จานวนทั้งสิ้น 8 แห่ง ซึ่งกาหนดให้นักศึกษาชั้นปี ที่ 3 จานวน 37 คน รับผิดชอบ ลงพื้นที่ตรวจวัดเพื่อเก็บข้อมูล พร้อมจัดทารายงานผลการ ตรวจวัดทีส่ อดคล้องตาม กฎหมายนาเสนอแก่สถาน ประกอบการ เพื่อใช้รายงานต่อ หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ต่อไป โดยมี อ.อุษาวดี ไพราม เป็นผู้สอนและให้คาแนะนา กิจกรรมดังกล่าวส่งเสริมให้ นักศึกษาได้ฝึกทักษะ ดังต่อไปนี้ 1. ทักษะในการเรียนรูจ้ ากการ ลงพื้นที่ 2. ทักษะกลุ่มย่อยและการมีส่วน ร่วม 3. ทักษะการสื่อสาร 4. การเตรียมตัวและการศึกษา


38

5. การศึกษาดูงาน

นักศึกษาชั้นปีที่ 3

ด้วยตนเอง 5. คุณธรรมจริยธรรม โครงการศึกษาดูงาน การ บริหารงานด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย รวมถึงหลักการ และเทคนิคในการป้องกัน อุบัติเหตุและองค์กรแห่งความ ปลอดภัย ณ บริษัท สงวนวงศ์ อุตสาหกรรม จากัด ตาบลหนอง บัวศาลา อาเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 256 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาได้ ศึกษาดูงานด้าน อาชีวอนามัย และความปลอดภัย และนา ความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อการศึกษาและ เพื่อพัฒนา นักศึกษาให้มีความพร้อมต่อการ ทางานในอนาคต มีบุคลากรเข้า ร่วมโครงการ 4 คน และ นักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 38 คน รวม 42 คน ความพึงใจใน ภาพรวมการเข้าร่วมโคงการอยู่ ในระดับมากทีส่ ุด คะแนนเฉลีย่ 4.80 +0.40 และร้อยละ100 ของผู้ตอบแบบประเมินอยากให้ มีการจัดกิจกรรมลักษณะนีต้ ่อไป

นอกจากนี้ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ ร่ว มกั บสถาบัน ภาษามหาวิ ทยาลัย ราชภั ฏนครราชสี มา ได้จั ด โครงการอบรมภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะสาธารณสุขศาสตร์ ในวันที่ 30-31 มีนาคม 2564 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับการทดสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์มาตรฐาน CEFR (Common European Framework of Reference) ซึ่งแบ่งความสามารถทางภาษาเป็น 3 ระดับ ได้แก่ A1-A2 คือ Basic user หรือ ผู้ใช้ภาษาขั้นพื้นฐาน B1-B2 คือ Independent User หรือ ผู้ใช้ภาษาขั้นอิสระ และ C1-C2 คือ Proficient user หรือ ผู้ใช้ภาษาขั้นคล่องแคล่ว ของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม ในกิจกรรม ดังกล่าว มีนักศึกษาหลักสูตร วท.บ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ชั้นปีที่ 3 เข้าร่วมทั้งหมด 38 คน คิดเป็น ร้อยละ 100 ของนักศึกษาทั้งชั้นปี โดยก่อนการอบรมได้วัดระดับความรู้ก่อนเรียน (Pre-test) พบว่า นักศึกษา จานวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 94.74 มีความรู้ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับ A1 หรือ A2 อยู่ในระดับ B1 จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.63 และขาดสอบ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.63 โดยจะดาเนินการทดสอบวัดระดับความ ความรู้หลังการอบรมในภายหลัง


39 จากการส ารวจความพึ งพอใจของนั ก ศึ ก ษาต่ อ การจั ด กิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต ร ปี ก ารศึ ก ษา 2563 นักศึกษาชั้นปีที่ 2-4 มีความพึงพอใจ รายละเอียดดังนี้ หัวข้อการประเมิน

ชั้นปีที่ 2 x

ชั้นปีที่ 3 x

ชั้นปีที่ 4 x

เฉลี่ย

ระดับ

1. ระหว่างการศึกษา นักศึกษาได้มสี ่วน ร่วมในการบริการวิชาการสู่ชุมชน

4.29

4.43

4.31

4.35

มาก

2. ระหว่างการศึกษา นักศึกษาได้มสี ่วน ร่วมในการทาวิจัยของอาจารย์

4.18

4.31

4.28

4.26

มาก

3. ระหว่างการศึกษา นักศึกษาได้มสี ่วน ร่วมในกิจกรรมทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น

4.24

4.37

4.34

4.32

มาก

4. มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้ นักศึกษาอย่างเหมาะสม

4.29

4.37

4.34

4.34

มาก

รวม (เฉลี่ย)

4.25

4.37

4.32

4.32

มาก

การประเมิน และ ปรับปรุงกระบวนการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีการประชุมเพื่ อประเมินกระบวนการการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการ เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีประเด็นที่เป็นข้อสังเกต ดังนี้ ปีการศึกษา 2563 มีการบรรจุกิจกรรม “จิตอาสาฝึกงานระยะสั้นในสถานประกอบการ” ไว้ในแผนพัฒนา ศักยภาพนักศึกษา เนื่องจากเห็นประโยชน์ของกิจกรรมดั งกล่าว ที่เคยดาเนินการในปีการศึกษา 2560 โดย นักศึกษาที่เข้าร่วม มีความรู้ความเข้าในบริบทเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยได้ดีขึ้น สามารถหาแหล่งฝึกงานในชั้นปีที่ 4 ได้อย่างสะดวกขึ้น และสามารถปรับตัวให้กับกับแหล่งฝึกได้อย่างรวดเร็ว เมื่อเทียบกับนักศึกษาที่ไม่ได้เข้า โครงการ แต่เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กิจกรรมดังกล่าวจึงถูกระงับเป็นปีที่ 3 อย่างไรก็ดี หลักสูตรยังคงเล็งเห็นความสาคัญของกิจกรรมดังกล่าว จึงได้มีมติในการประชุมครั้งที่ 8/2564 วันที่ 23 มิถุนายน 2564 ให้บรรจุโครงการจิตอาสาฝึกงานระยะสั้น ในสถานประกอบการ ไว้ในแผนการพัฒนา นักศึกษาสาหรับปีการศึกษาหน้า เพื่อเตรียมพร้อมหากสถานการณ์คลี่คลายในทิศทางที่ดีขึ้น อนึ่ง จากข้อเสนอแนะของนั กศึกษาผ่ านระบบประเมินออนไลน์ พบว่านัก ศึกษามีความประสงค์ให้เพิ่ ม การศึกษาดูงานในสถานประกอบการ ซึ่งมติในที่ประชุม ครั้ งที่ 8/2564 เห็นควรให้เพิ่มการศึกษาดูงานเพิ่มเมื่อ สถานการณ์เอื้ออานวย ผลที่เกิดกับ นักศึกษา (ตัวบ่งชี้ 3.3)

มีผลการดาเนินงานในระดับปานกลาง (3 คะแนน) 1) อัตราการคงอยู่ (ระบุร้อยละของการคงอยู่) ปีการศึกษาที่ จานวน เข้า นักศึกษาที่ รับเข้า

2557 2558 2559 2560

ชั้นปีที่ 1 จานวน ร้อยละ 39 37 94.87 60 58 96.67 110 109 99.09 94 88 93.62

นักศึกษาที่คงอยู่แต่ละปี ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ 33 84.62 33 84.62 32 82.05 45 75.00 37 61.67 37 61.67 84 76.36 83 75.45 83 75.45 76 80.85 75 79.79 74 78.72


40 2561 2562 2563

43 39 44

39 35 38

90.70 89.74 86.36

38 35

88.37 89.74

38

88.37

ข้อมูลจาก http://reg.nrru.ac.th ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2564 ปัจจัยที่กระทบต่ออัตราการคงอยูข่ องนักศึกษา ได้แก่ 1. การลาออกเนื่องจากปัญหาค่าใช้จ่าย 2. การลาออกเพื่อเข้าเรียนในสาขาวิชา และสถาบันอื่น 3. การพ้นสภาพเนื่องจากไม่ลงทะเบียนเรียน โดยไม่ทราบสาเหตุเนือ่ งจากขาดการติดต่อ 2) การสาเร็จการศึกษา (ระบุร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษา) ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสาเร็จการศึกษาของนักศึกษา 1. การลาพักการศึกษาเนื่องมาจากปัญหาส่วนตัวที่กระทบกับการใช้ชีวิตปกติ รวมถึงเรื่องการเรียน

ปี จานวน การศึกษา นักศึกษาที่ ที่เข้า รับเข้า

จานวนนักศึกษาลาออกและคัดชื่อ ออกสะสมถึงสิ้นปีการศึกษาที่ ประเมิน

ปีการศึกษาที่สาเร็จการศึกษา 2560

2561

2562

2563

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

2558 2559 2560 2561 2562 2563

60 110 94 43 39 44

-

-

-

-

31 51.67 4 79 73 -

6.67 71.82 77.66

-

25 27 21 4 4 6

3) ความพึงพอใจ และผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา 3.1 ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการรับและการเตรียมความพร้อม ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา จัดทาโดยหลักสูตร วท.บ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีคะแนนเฉลี่ย = 4.14 (ระดับคะแนนมาก) โดยมีรายละเอียด ดังตาราง

หัวข้อ

คะแนนความพึง พอใจ (เฉลี่ย)

ระดับ

1. ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการรับเข้าศึกษา 1.1 การประชาสัมพันธ์หลักสูตร

4.24 ± 0.61

1.2 การรับสมัคร

4.24 ± 0.65

1.3 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบคัดเลือก

4.21 ± 0.48

1.4 การตรวจคุณสมบัติ

4.18 ± 0.63

1.5 การสอบคัดเลือก และประเมินผล

4.15 ± 0.56

1.6 การแจ้งผลการสอบคัดเลือก และเงื่อนไขในการเข้าศึกษาต่อ

4.12 ± 0.48

มาก มาก มาก มาก มาก มาก


41 2 ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเตรียมความพร้อมก่อน เข้าศึกษา 2.1 มีการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา เช่น การ ปฐมนิเทศ โครงการเตรียมความพร้อม 2.2 การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ มีเอกสาร/คู่มือปฐมนิเทศ พร้อม ชี้แจงกฎระเบียบ 2.3 มีการแนะนาเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน โครงสร้างรายวิชา ของหลักสูตร 2.4 มีการแนะนาเกี่ยวกับการปรับตัวและการใช้ชีวิตในรั้ว มหาวิทยาลัย มีการแนะนาภาพรวมของรายวิชาที่จะต้องเรียนตลอดหลักสูตร 2.5 สามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการเตรียมความพร้อมก่อนเข้า ศึกษาไปปรับใช้ในการเรียนได้ รวม (เฉลี่ย)

3.94 ± 0.69

มาก

4.15 ± 0.66

มาก

4.09 ± 0.62

มาก

4.15 ± 0.56

มาก

4.09 ± 0.62

มาก

4.15 ± 0.61

มาก

4.14 ± 0.60

มาก

3.2 ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการบริหารหลักสูตร ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตร ผ่านระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา มีคะแนนเฉลีย่ = 4.35 (ระดับคะแนนมาก) รายละเอียด มีดังนี้

1. หลักสูตร

ชั้นปีที่ 2 4.39

ชั้นปีที่ 3 4.47

ชั้นปีที่ 4 4.36

2. อาจารย์ผสู้ อน

4.45

4.38

3. ระบบอาจารย์ทปี่ รึกษา

4.43

4. กระบวนการเรียนการสอน

หัวข้อ

เฉลี่ย

ระดับ

4.41

มาก

4.32

4.38

มาก

4.47

4.39

4.44

มาก

4.39

4.38

4.34

4.37

มาก

5. การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร

4.25

4.37

4.32

4.32

มาก

6. ทรัพยากรและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

4.16

4.38

4.23

4.26

มาก

7. ระบบข้อร้องเรียน

4.16

4.4

4.21

4.26

มาก

4.32

4.41

4.31

4.35

มาก

เฉลี่ย

ในส่วนของภาพรวมของการบริหารหลักสูตร พบว่าผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการ บริหารหลักสูตร ตั้งแต่ปี 2558-2563 อยู่ในระดับมาก โดยในปีการศึกษา 2563 มีคะแนนความพึงพอใจเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2562 (คะแนนความพึงพอใจปีการศึกษา 2562 =4.26) โดยผลการประเมินในทุกด้าน มีคะแนน ความพึงพอใจมากกว่า 4.00 (ระดับมาก) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยการประเมินต่าที่สุด ยังคงเป็นหัวข้อเดียวกันกับปี การศึกษาที่ผ่านมา แต่มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ได้แก่ 1) ด้านทรัพยากรและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีคะแนนความ พึงพอใจเฉลี่ย = 4.26 (ระดับมาก) และ 2) ด้านระบบข้อร้องเรียน มีคะแนนความพึงพอใจเฉลีย่ = 4.26 (ระดับ มาก) รายละเอียดดังตาราง


42 ปีการศึกษาที่ประเมิน 2559

คะแนนความพึงพอใจ การบริหารหลักสูตร สิ่งสนับสนุนการ เรียนรู้ 4.10 (ระดับมาก) 3.80 (ระดับมาก)

ระบบข้อร้องเรียน 4.13 (ระดับมาก)

2560

4.18 (ระดับมาก)

3.94 (ระดับมาก)

4.10 (ระดับมาก)

2561

4.27 (ระดับมาก)

4.13 (ระดับมาก)

4.18 (ระดับมาก)

2562

4.19 (ระดับมาก)

4.08 (ระดับมาก)

4.07 (ระดับมาก)

2563

4.35(ระดับมาก)

4.26(ระดับมาก)

4.26(ระดับมาก)

ในปีการศึกษา 2563 นักศึกษาเสนอให้ควรพัฒนา โดยมีประเด็นทีส่ าคัญและเกี่ยวข้องกับหลักสูตร 2 ประเด็น ได้แก่ 1. เพิ่มการศึกษาดูงานนอกสถานที่ เนื่องจากนักศึกษาได้เห็นกระบวนการผลิตจริง และ 2. เพิ่มการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ทางหลักสูตรเห็นควร ให้ขอความร่วมมือจากอาจารย์ผสู้ อนในปีการศึกษาถัดไป เน้นการใช้ภาษาอังกฤษ ในกิจกรรมการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งเห็นควรให้เพิ่มกิจกรรมพัฒนาศักยภาพทางด้านภาษาอังกฤษ ให้กับนักศึกษาชั้นปีต่างๆ โดยให้กจิ กรรมมีความหลากหลายและมีระยะเวลาที่เหมาะสม ในกรณีของการศึกษาดู งาน ที่ผ่านมาทางหลักสูตรเห็นความสาคัญอย่างมาก เนื่องจากเป็นกิจกรรมเปิดโลกทัศน์ด้านวิชาชีพแก่นักศึกษา ทาให้นักศึกษาได้เข้าใจสภาพงานจริง และมองบริบทวิชาชีพของตนเองได้ชัดเจนยิ่งขึ้น แต่เนื่องจากสถานการณ์ โรคระบาดที่ยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้กิจกรรมศึกษาดูงานเกิดข้อจากัด อย่างไรก็ดีทางหลักสูตรยังคง บรรจุโครงการศึกษาดูงานไว้ในแผนประจาปีสาหรับปีการศึกษา 2564 โดยให้จดั กิจกรรมตามความเหมาะสม ของสถานการณ์ในขณะนั้น ในส่วนของภาพรวมของการบริหารหลักสูตร พบว่าผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการ บริหารหลักสูตร ตั้งแต่ปี 2558-2563 อยู่ในระดับมาก โดยในปีการศึกษา 2563 มีคะแนนความพึงพอใจลดลง/ เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2562 ซึ่งมีคะแนน = 4.19 อยูใ่ นระดับมาก โดยผลการประเมินในทุกด้าน มีคะแนนความ พึงพอใจมากกว่า 4.00 (ระดับมาก) ด้านที่มีค่าเฉลีย่ การประเมินต่าที่สุดคือ ด้านระบบข้อร้องเรียน มีคะแนน ความพึงพอใจ = 4.07 (ระดับมาก) และความพึงพอใจเกี่ยวกับทรัพยากรและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีคะแนน ความพึงพอใจ = 4.08 (ระดับมาก) รายละเอียดดังตาราง ปีการศึกษาที่ประเมิน 2559

คะแนนความพึงพอใจ การบริหารหลักสูตร สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.10 (ระดับมาก) 3.80 (ระดับมาก)

2560

4.18 (ระดับมาก)

3.94 (ระดับมาก)

2561

4.27 (ระดับมาก)

4.13 (ระดับมาก)

2562

4.19 (ระดับมาก)

4.08 (ระดับมาก)

2563

4.35(ระดับมาก)

4.26(ระดับมาก)


43 ในปีการศึกษา 2563 ได้มีประเด็นที่นักศึกษาเสนอให้ควรพัฒนา ได้แก่ การเพิ่มการศึกษาดูงานนอก สถานที่ เนื่องจากนักศึกษาได้เห็นกระบวนการผลิตจริง รวมถึงบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าความปลอดภัย (จป.) ที่ชัดเจนกว่าการเรียนในห้องเรียน สร้างความตระหนัก และเข้าใจในบทบาทหน้าที่เกี่ยวกับงานในอนาคตได้ดีขึ้น ทางหลักสูตรจึงเพิ่มกิจกรรมดังกล่าวเข้าไปในส่วนการพัฒนานักศึกษา รวมถึงการเตรียมความพร้อมนักศึกษา ใหม่ พบว่า ในปีการศึกษา 2563 ไม่พบข้อเสนอแนะในประเด็นดังกล่าว และไม่พบข้อเสนอแนะอื่นๆ ที่มี นัยสาคัญ 3.3 การจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา - หลักสูตรมีช่องทางการสื่อสารจานวน 4 ช่องทาง ได้แก่ (1) กล่องรับคาปรึกษา ข้อเสนอแนะ และข้อ ร้องเรียนของหลักสูตร พร้อมแบบฟอร์ม ติดตั้งอยู่ที่หน้าห้องพักอาจารย์ประจาหลักสูตร (2) ทางเว็ปไซต์คณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผ่านทางตัวเลือก “สายตรงคณบดี” (3) Social media (Facebook page : Occupational Health & Safety of NRRU) 4) ร้องเรียนผ่านอาจารย์ที่ปรึกษา หรือ คณาจารย์ประจาหลักสูตร ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของข้อมูลที่ต้องการสื่อสารออกเป็น ข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ การขอคาปรึกษา และอื่น ๆ โดยได้ดาเนินการรวบรวมเอกสารข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ การขอ คาปรึกษาเข้าที่ประชุมหลักสูตรเป็นประจา หลักสูตรจะดาเนินการต่อข้อร้องเรียนที่ได้รับมา ตามกลไกการจัดการข้อร้องเรียน ที่คณะกรรมการ บริหารหลักสูตรได้ร่วมกาหนดขึ้น ในการประชุมครั้งที่ 11/2563 วันที่ 7 สิงหาคม 2563 ตามข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ประจาปี 2562 ที่กาหนดให้หลักสูตรฯ จาเป็นต้องจัดทากลไก การจัดการข้อร้องเรียน รายละเอียดตามแผนผังด้านล่าง


44


45

ในปีการศึกษา 2563 พบข้อร้องเรียนของนักศึกษาเข้าใหม่ชั้นปีที่ 1 เรื่องการเก็บค่าใช้จ่ายของสโมสร นักศึกษาเป็นเงิน จานวน 1,500 บาท โดยนักศึกษาไม่สมัครใจทีจ่ ะชาระเงินส่วนนี้ เนื่องจากเห็นว่าเกินความ จาเป็น จึงได้ร้องเรียนผ่านอาจารย์ที่ปรึกษา คือ นางสาวอุษาวดี ไพราม ประธานหลักสูตรฯ จึงนาเรื่องดังกล่าว เข้าที่ประชุม ในการประชุมครั้งที่ 12/2563 วันที่ 9 กันยายน 2563 และได้มมี ติ ให้แจ้งข้อร้องเรียนแก่รอง คณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา คือ ผศ. ดร. ทิวากรณ์ ราชูธร ดาเนินการต่อไป ในเบื้องต้นมีการแจ้งให้นักศึกษา รายงานสาเหตุหรือความไม่สะดวกในการชาระเงิน เป็นลายลักษณ์อักษร ต่อรองคณบดีฝา่ ยกิจการนักศึกษา หลังจากนั้นจึงได้พดู คุยซักถามเหตุผล โดยนักศึกษาแจ้งความจานงในการชาระเพียงบางส่วน คือ ค่าใช้จ่าย สาหรับเสื้อวอร์ม เป็นเงินจานวน 1,500 บาท ซึ่งได้รับอนุญาตจากรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา จากนั้น ประธานหลักสูตรฯ รับทราบข้อสรุปและนาเข้าที่ประชุม ในการประชุมครั้งที่ 14/2563 วันที่ 2 ธันวาคม 2564 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อความพึงพอใจเกี่ยวกับระบบข้อร้องเรียน ปีการศึกษา 2563 โดยเฉลีย่ = 4.26 (รายละเอียดตามตารางด้านล่าง) มากขึ้นจากปีการศึกษา 2562 ที่มีค่าเฉลีย่ = 4.07 (ระดับมาก) ขณะที่ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉลี่ย 4.14 (ระดับมาก) และปีการศึกษา 2560 มีคะแนนเฉลี่ย = 3.96 (ระดับคะแนนมาก) จากการประชุมเพื่อทบทวนระบบการจัดการข้อร้องเรียน ในการประชุมครั้งที่ 5/2564 วันที่ 8 มิถุนายน 2564 คณะกรรมการหลักสูตรมีมติที่ประชุมพิจารณาให้ใช้ระบบเดิมสาหรับปีการศึกษาถัดไป


46

หัวข้อ 1.

3.

ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4

ระดับ

x

x

x

4.09

4.37

4.21

4.23

มาก

4.21

4.40

4.14

4.26

มาก

3. ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการจัดการ 4.18 ข้อร้องเรียนของหลักสูตร

4.43

4.28

4.30

มาก

4.40

4.21

4.26

มาก

1. มีช่องทางในการรับข้อร้องเรียนของ นักศึกษาที่หลากหลาย . 2. มีการจัดการข้อร้องเรียนได้อย่าง เหมาะสมและรวดเร็ว

รวม (เฉลี่ย)

x

เฉลี่ย

4.16


47 หมวดที่ 3 อาจารย์ 1. อาจารย์ อาจารย์ หมายถึง อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ที่มีภาระหน้าที่ในการบริหารและพัฒนาหลักสูตรและ การเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและพัฒนาหลักสูตร อธิบายผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ต่อไปนี้ ตัวบ่งชี้ การบริหาร และพัฒนา อาจารย์ (ตัวบ่งชี้ 4.1)

ผลการดาเนินงาน มีผลการดาเนินงานในระดับดี (3 คะแนน) 1) การรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ตัวชี้วัดความสาเร็จ: - หลักสูตรมีอาจารย์ประจาหลักสูตรครบ 5 คน ตลอดปีการศึกษา 2563 - มีการกาหนดหน้าที่รับผิดชอบอาจารย์ประจาหลักสูตรที่ชัดเจน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยมีผลการดาเนินงานสาหรับ การรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตร ดังนี้ Plan : ระบบและกลไก 1.1 ระบบและกลไกการคัดเลือกอาจารย์ประจาหลักสูตร หลักสูตรมีผลการดาเนินงาน ดังนี้ ขั้นตอนการดาเนินงานการคัดเลือกอาจารย์ประจาหลักสูตร คณะกรรมการบริหารหลักสูตร

วิเคราะห์ อัตรากาลัง

ไม่ต้องการ

ต้องการอัตรากาลังเพิ่ม/ทดแทน

หลักสูตรกาหนดคุณสมบัติอาจารย์ประจาหลักสูตร

ดาเนินการขออัตรากาลังเพื่อสรรหาบุคลากรต่อคณะสาธารณสุขศาสตร์

- ผ่านเกณฑ์ภาษาอังกฤษ - มีผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี


48 ขั้นตอนการเสนอแต่งตั้ง

1. หลักสูตรมีระบบและกลไกในการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตรให้เป็นไปตาม ระเบียบหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 2. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมร่วมกันวิเคราะห์อัตรากาลัง หากพบว่ามีความ ต้องการอัตรากาลังเพิ่มหรือทดแทน จะกาหนดคุณสมบัติอาจารย์ประจาหลักสูตรจากคุณวุฒิหรือตาแหน่ง วิชาการ สอบผ่านเกณฑ์ภาษาอังกฤษและผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปี 3. ดาเนินการขออัตรากาลังเพิ่มเพื่อสรรหาบุคลากรต่อคณะสาธารณสุขศาสตร์ เพื่อใช้เป็น ข้อมูลในการคัดเลือกและรับอาจารย์ประจาหลักสูตรให้แก่คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย เพื่อ พิจารณาและดาเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยในการคัดเลือกหรือสรรหาอาจารย์ประจาหลักสูตรให้ สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 4. หากได้รับการอนุมตั ิอตั รากาลัง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมพิจารณาเสนอชื่อ อาจารย์ประจาหลักสูตรต่อคณะกรรมการบริหารคณะ 5. เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารคณะแล้ว จะดาเนินการแต่งตั้งอาจารย์ ประจาหลักสูตร โดยมีคณบดีเป็นผู้ลงนาม จากนั้นสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนจะเสนอชื่อ ดังกล่าวเพื่อให้คณะกรรมการบริหารวิชาการมหาวิทยาลัยรับทราบ 6. คณะกรรมการบริหารวิชาการมหาวิทยาลัยจะนารายชื่อดังกล่าวเสนอต่อสภาวิชาการของ มหาวิทยาลัย สภามหาวิทยาลัยและแจ้งต่อสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อรับทราบ Do : ผลการดาเนินงาน ในปีการศึกษา 2563 มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ 1.2 ขั้นตอนการเสนอแต่งตั้ง จากการทบทวนแผนพัฒนาศักยภาพบุคลากรของคณะสาธารณสุขศาสตร์ ปีการศึกษา2562 พบว่า อาจารย์นันทนา คะลา มีแผนการลาศึกษาต่อในระดับดุษฏีบัณฑิต ในปีการศึกษา 2563 ซึ่งทาง หลักสูตรฯ ได้มีการดาเนินการตามแผนงานที่กาหนดไว้ โดยอาจารย์นันทนา คะลา ได้ลาศึกษาต่อในระดับ ดุษฏีบัณฑิต เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2563 (เอกสารแนบ Occ 4.1.1) และทางหลักสูตรฯ ได้สรรหาอาจารย์ ประจาหลักสูตรคุณสมบัติที่เป็นไปตามระเบียบหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย และเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 คืออาจารย์อุษาวดี ไพราม เพื่อมาทดแทนอาจารย์นันทนา คะลา ที่ลาศึกษา ต่อในระดับดุษฏีบณ ั ฑิต ในปีการศึกษา 2563 พร้อมทั้งได้ดาเนินการยื่นเอกสารเปลี่ยนแปลงอาจารย์ ประจาหลักสูตร รายละเอียดตามเอกสาร สมอ.08 (ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2563) เรียบร้อยแล้ว (เอกสาร แนบ Occ 4.1.2) ดังนั้นในปีการศึกษาปี 2563 หลักสูตรมีอาจารย์ประจาหลักสูตรครบ 5 คน ตลอดปี การศึกษา 2563 และมีคุณสมบัตสิ อดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 1.3 การกาหนดหน้าที่ของอาจารย์ประจาหลักสูตร หลักสูตรได้มีการกาหนดหน้าที่ของอาจารย์ประจาหลักสูตร โดยมีคาสั่งคณะสาธารณสุข ศาสตร์ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย (เอกสารแนบ Occ 4.1.3 ) โดยคณบดีเป็นผูล้ งนามแต่งตัง้ และกาหนดอานาจหน้าที่ของอาจารย์ ประจาหลักสูตรซึ่งมีทั้งหมด 18 ข้อ ดังนี้ต่อไปนี้


49 1) ดาเนินการด้านประเมินคุณภาพของหลักสูตรตามตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานที่ระบุไว้ใน รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) 2) วางแผนและดาเนินงาน การเตรียมความพร้อมทางการศึกษาแก่นักศึกษา จัดกิจกรรมการ พัฒนาความรู้ความสามารถในรูปแบบต่างๆ ที่สอดคล้องกับแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบของ ทุกรายวิชาและในระหว่างการศึกษาต้องส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา และเสริมสร้างทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3) ตรวจสอบความพร้อมสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน หากพบว่ายังไม่เพียงพอ ไม่ทันสมัย ให้แจ้งมหาวิทยาลัยโดยผ่านคณะเพื่อจัดหาให้เหมาะสม 4) วางแผนและดาเนินงาน การเปิดสอนรายวิชาที่เป็นรายวิชาบังคับและวิชาเลือกตลอด ระยะเวลาการศึกษา และพิจารณากาหนดอาจารย์ผู้สอน โดยคานึงถึงความรู้ความสามารถและความ เชี่ยวชาญในวิชาที่สอน สาหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา อาจารย์ประจาหลักสูตรต้องกาหนดอาจารย์ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระที่เหมาะสมกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระ และลักษณะ ของนักศึกษา 5) ในแต่ละภาคการศึกษาต้องติดตามการจัดทาเอกสารรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) ทุกรายวิชาอย่างเป็นระบบ 6) ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายละเอียดของ ประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) ทุกรายวิชา พร้อมทั้งลงนามในรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) ก่อนส่งไปคณะ 7) กากับและติดตามการสอน การดาเนินการประสบการณ์ภาคสนามและวัดผลการเรียนรู้ ตามเอกสารรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) ทุก รายวิชา 8) ดาเนินการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาให้ครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ในทุกๆ ด้านตามที่กาหนดไว้ในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบหลักของทุกวิชา 9) ดาเนินการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่ กาหนดในเอกสารรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) อย่างน้อยร้อยละยี่สิบห้าของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา และดาเนินการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กาหนดในหลักสูตร (มคอ.2) 10) ติดตามการส่งผลการเรียนทุกรายวิชา ให้เป็นไปตามประกาศปฏิทินการศึกษาของ มหาวิทยาลัย ในแต่ละภาคการศึกษา และจัดให้มีการประชุมเพื่อพิจารณาผลการเรียนทุกรายวิชาของภาค การศึกษานั้นๆ ก่อนส่งผลการเรียนไปยังคณะ 11) ดาเนินการและติดตามการจัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (มคอ.5) รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6) ทุกรายวิชาอย่างเป็นระบบ 12) ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารเอกสารรายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (มคอ.5) รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6) ทุกรายวิชา พร้อมทั้งลงนามใน รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (มคอ.5) รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6) ทุกรายวิชา ก่อนไปยังคณะ 13) เมื่อสิ้นปีการศึกษาต้องดาเนินการจัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) และส่งไปยังคณะเพื่อคณะรายงานต่อสภามหาวิทยาลัย 14) ติดตามการได้งานทาของบัณฑิตภายในระยะเวลาหนึ่งปีนับจากวันที่สาเร็จการศึกษา 15) ดาเนินการ การประเมินคุณภาพบัณฑิตโดยผู้ใช้บัณฑิตทุกปีการศึกษา 16) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการของตนเองและผู้สอนในสัดส่วนที่เหมาะสม อัน เป็นจุดเน้นของหลักสูตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ดารังตาแน่งทางวิชาการ และส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ บุคลากรสายสนับสนุน (ถ้ามี) 17) ดาเนินการประเมินหลักสูตรเพื่อพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเป็นระยะๆ อย่าง น้อยทุกๆ 5 ปี


50 18) ปฏิบัติงานตามที่คณะและมหาวิทยาลัยมอบหมาย Check : การประเมินกระบวนการ จากการดาเนินงานตามระบบและกลไก พบว่า ระบบการคัดเลือกอาจารย์ประจาหลักสูตร และขั้นตอนการเสนอแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตร สามารถทาให้หลักสูตรดาเนินการบรรลุตามตัวชี้วัด ความสาเร็จทั้ง 2 ข้อ และจากการทบทวนตามแผนพัฒนาศักยภาพบุคลากรของคณะสาธารณสุขศาสตร์ พบว่า อาจารย์พนิดา เทพชาลี จะมีแผนการลาศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก ในปีการศึกษา 2564 ซึ่ง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ ได้พิจารณาอาจารย์อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน ซึ่งขณะนี้กาลังศึกษาในระดับ ปริญญาเอก สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย(หลักสูตรนานาชาติ) คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งจะครบกาหนดระยะเวลาการลาศึกษาต่อในปีการศึกษา 2564 ปฏิบัติหน้าที่ ทดแทนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร Act : การปรับปรุง/ พัฒนา ในปีการศึกษา 2563 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ ได้ดาเนินการเสนอพิจารณาขอรับ ทุนการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมให้กับ อาจารย์ที่มีแผนลาศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก ในปีการศึกษา 2564 ขณะนีร้ อการประกาศผลและตอบ กลับจากหน่วยงานที่ให้ทุนการศึกษา (เอกสารแนบ Occ 4.1.4) พร้อมทั้งวางแผนอัตรากาลังของอาจารย์ ประจาหลักสูตรในปีการศึกษาถัดไป เพื่อให้มีอาจารย์ประจาหลักสูตรครบ 5 คนตลอดปีการศึกษา 2) การบริหารอาจารย์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ : - หลักสูตรได้วางแผนอัตรากาลังทดแทนอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อหรือลาออก - อาจารย์ใหม่ต้องได้รับการปฐมนิเทศและมีระบบอาจารย์พี่เลี้ยงสาหรับอาจารย์ใหม่ - อาจารย์ประจาหลักสูตรได้รับข้อมูลข่าวสารการพัฒนาศักยภาพเพื่อเตรียมเข้าสูต่ าแหน่ง วิชาการ - อาจารย์ประจาหลักสูตรผ่านการประเมินผลการปฏิบัติราชการทั้ง 5 คน - อาจารย์ประจาหลักสูตรได้รับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสวัสดิการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยมีผลการดาเนินงานสาหรับการ บริหารอาจารย์ ดังนี้


51 Plan : ระบบและกลไก ขั้นตอนการขออัตรากาลังเพื่อสรรหาบุคลากรคณะสาธารณสุขศาสตร์


52 ขั้นตอนการพั ฒนาศักยภาพบุ ขั้นตอนการพัฒนาศักยภาพบุ คลากรในหลั กสูตร คลากรคณะสาธารณสุขศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร

บุคลากรใหม่

บุคลากรเดิม

ปฐมนิเทศบุคลากรใหม่

สารวจความต้องการการพัฒนา ศักยภาพบุคลากรรายปี อาจารย์พี่เลี้ยง

สารวจความต้องการการพัฒนา ศักยภาพบุคลากรรายปี

จัดทาแผนพัฒนาบุคลากร ดาเนินการตามแผนพัฒนาบุคลากร

พัฒนาคุณวุฒิ

บุคลากรขออนุมัติต่อคณบดี เพื่อศึกษาต่อในระดับที่ สูงขึ้น

พัฒนาสมรรถนะ

- สมรรถนะหลัก - สมรรถนะตามตาแหน่ง - สมรรถนะบริหาร - ทักษะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงาน

พัฒนาตาแหน่ง ตาแหน่งทางวิชาการ สายวิชาการ ตาแหน่งงานที่สูงขึ้น สายสนับสนุน

หลักสูตรติดตามผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อรายงานต่อคณะกรรมการบริหารคณะสาธารณสุขศาสตร์ หลักสูตรประชุมเพื่อทบทวนผลการพัฒนาบุคลากร เพื่อจัดทาแผนงานพัฒนาบุคลากรในปีการศึกษาถัดไป


53 ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ (เลื่อนเงินเดือน)

Do : ผลการดาเนินการ ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้ดาเนินการตามระบบและกลไกซึ่งมีผลการดาเนินงาน ดังนี้ 2.1 การวางแผนกาลังคน หลักสูตรได้มีการวางแผนกาลังคนโดยให้มีการวางแผนระยะยาวด้านอัตรากาลังด้านอาจารย์ ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการอุดมศึกษาโดยวิเคราะห์อัตรากาลังและความจาเป็นของหลักสูตรทั้งใน ระยะยาว 5 ปีและระยะ 1 ปี ซึ่งในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้วิเคราะห์อัตรากาลัง จากแผนพัฒนา บุคลากรรายบุคคล สายวิชาการ พบว่าในปี 2563 พบว่ามีบุคลากรที่มีแผนการลาศึกษาต่อในปีการศึกษานี้ คืออาจารย์นันทนา คะลา มีแผนศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก (เอกสารแนบ Occ 4.1.1) หลักสูตรได้ จัดทาแผนขออัตรากาลังเพิ่มแก่คณะกรรมการบริ หารมหาวิทยาลัยเพื่อพิจ ารณาและดาเนินการตาม ประกาศมหาวิทยาลัยในการคัดเลือกหรือสรรหาอาจารย์ประจาหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา ซึ่งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้ดาเนินการตามกระบวนการข้างต้นเสร็จสิ้น แล้ว ทา ให้ทางหลักสูตรฯ ได้บุคลากรใหม่คืออาจารย์อุษาวดี ไพราม ได้มาทาหน้าที่ทดแทน อาจารย์นันทนา คะลา ที่จะลาศึกษาต่อในระดับดุษฏีบัณฑิต ในปีการศึกษา 2563 พร้อมทั้งได้ยื่นเอกสารเปลี่ยนแปลงอาจารย์ ประจาหลักสูตร รายละเอียดตามเอกสาร สมอ.08 ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2563 เรียบร้อยแล้ว จากการทบทวนแผนการลาศึกษาต่อของอาจารย์ในหลักสูตรพบว่ามีอาจารย์ จานวน 2 คนที่ต้อง ได้รับการศึ กษาต่อในระดับปริญญาเอกข้อมูล ดังปรากฎตามแผนการลาศึกษาต่อของอาจารย์ประจ า หลักสูตรและบรรจุลงในแผนพัฒนาบุคลากรตามตารางด้านล่าง


54 อาจารย์/ปีการศึกษา อาจารย์พนิดา เทพชาลี อาจารย์อุษาวดี ไพราม

62

63

64

65

66

ปริญญาเอก ปริญญาเอก

การวางแผนด้านอัตรากาลังพลของอาจารย์ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรฯ ได้พิจารณา อาจารย์อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน ซึ่งจะครบกาหนดระยะเวลาการลาศึกษาต่อในปีการศึกษา 2564 ปฏิบัติหน้าที่ ทดแทนอาจารย์ที่มีแผนลาศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก เพื่อให้มีอาจารย์ประจาหลักสูตรครบ 5 คนตลอด ปีการศึกษา 2.2 การปฐมนิเทศและระบบอาจารย์พี่เลี้ยงสาหรับอาจารย์ใหม่ ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรฯ มีอาจารย์ใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ประจาหลักสูตร คืออาจารย์อุษาวดี ไพราม ทดแทนอาจารย์นันทนา คะลา ที่ได้ลาศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก ทางหลั กสูตรฯ ได้แต่ งตั้งอาจารย์ว รลักษณ์ สมบู รณ์นาดี และอาจารย์ พนิดา เทพชาลี เป็ น อาจารย์พี่เลี้ยงสาหรับอาจารย์ใหม่ (เอกสารแนบ Occ 4.1.5) ซึ่งอาจารย์อุษาวดี ไพราม ได้รับการ ปฐมนิเทศบุคลากรใหม่จากอาจารย์พี่เลี้ยงและคณะสาธารณสุขศาสตร์ (เอกสารแนบ Occ 4.1.6) เพื่อให้ อาจารย์ใหม่มีความรู้และความเข้าใจในนโยบายของมหาวิทยาลัย นโยบายระดับคณะ หลักสูตรที่เปิดสอน รายละเอียดดังนี้ 1. แนวทางการจัดทา มคอ.3 – 7 2. วิธีการเขียนโครงการต่างๆ 3. วิธีการใช้งานระบบ REG, การบันทึกเกรด และช่องทางการเข้าดูผลการประเมินการสอน เป็นต้น 4. การส่งเสริมด้านการวิจัย, ด้านการบริการวิชาการ และการทานุบารุงศิปะวัฒธรรม 5. แนวทางและเกณฑ์การวัดผลประเมินผล (ประเมินทดลองงาน) 6. ระเบียบข้อบังคับภายในคณะสาธารณสุขศาสตร์ 7. สวัสดิการต่างๆ ของมหาวิทยาลัย 2.3 การเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ หลักสูตรได้มีการพัฒนาอาจารย์ประจาสูตรเข้าสูต่ าแหน่งทางวิชาการ ผ่านทางระบบและกลไก ของคณะและมหาวิทยาลัย ทางหลักสูตรได้สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ทั้งทางด้านการ พัฒนาคุณวุฒิ ด้านสมรรถนะ และการเข้าสูต่ าแหน่งทางวิชาการ ทั้งนี้ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้ ประชาสัมพันธ์ให้อาจารย์ประจาหลักสูตรเข้าร่วมกิจกรรม รายละเอียดดังนี้ 1. โครงการส่งเสริมบุคลากรเข้าสูต่ าแหน่งทางวิชาการและตาแหน่งที่สงู ขึ้น ในวันที่ 28 มกราคม 2564 2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักวิจัยให้เผยแพร่งานวิจัยในฐาน TCI 1 หรือระดับชาติ หรือนานาชาติ ในวันที่ 31 มีนาคม 2564 3. กิจกรรมเสวนาเพื่อค้นหา Best practice การเผยแพร่ผลงานวิจยั เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ตาแหน่งวิชาการ ในวันที่ 28 มิถุนายน 2564 และในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้มีการวางแผนและผลักดันอาจารย์ประจาหลักสูตรให้สมัคร เข้ารับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากหน่วยงานภายในและภายนอกเพื่อเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการและเป็น แนวทางในการปฏิบัติงานและการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ประจาหลักสูตร รายละเอียดดังนี้

รายชื่ออาจารย์

แผนการดาเนินงาน ปีการศึกษา 2563

ผลการดาเนินงาน


55 อาจารย์ ดร.พฤมล ขณะนี้ได้รับทุนสนับสนุน น้อยนรินทร์ งานวิจยั จากคณะสาธารณสุข ศาสตร์ ปีงบประมาณ 2564 จานวน 1 โครงการ

กาลังดาเนินการทาโครงการวิจัย เรื่อง 1. การพัฒนาสุขภาพกลุม่ เกษตร โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ด้วย หลัก 4 อ. ในตาบลตะขบ อาเภอปักธงชัย จ.นครราชสีมา

อาจารย์วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี

กาลังดาเนินการทาโครงการวิจัย เรื่อง 1.โครงการยกระดับและสนับสนุนการ ขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัด นครราชสีมา ปี 2564

ขณะนี้ได้รับทุนสนับสนุน งานวิจัยจากสานักงาน คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2564 จานวน 1 โครงการ อาจารย์พนิดา เทพชา ขณะนี้ได้รับทุนสนับสนุน ลี งานวิจัยจากคณะสาธารณสุข ศาสตร์ ปีงบประมาณ 2564 จานวน 1 โครงการ อาจารย์อุษาวดี ราม

ไพ ขณะนี้ได้รับทุนสนับสนุน งานวิจัยจากมหาวิทยาลัยราช ภัฏนครราชสีมา ปีงบประมาณ 2564 จานวน 1 โครงการและ ทุนสนับสนุนงานวิจัยจากคณะ สาธารณสุขศาสตร์ ปีงบประมาณ 2564 จานวน 1 โครงการ

อาจารย์พนิดา เทพ ชาลี, อาจารย์นันทนา คะลา, อาจารย์วร ลักษณ์ สมบูรณ์นาดี, อาจารย์ ดร.พฤมล น้อยนรินทร์ และ คุณ ฐาลินี สังฆจันทร์

ทุนวิจัยส่วนตัว เป็นการ ศึกษาวิจัยโดยเก็บแบบสอบถาม ออนไลน์ ผ่านการรับรองจาก คณะกรรมการจริยธรรมการวิจยั ในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา เลขทีร่ ับรอง HE046-2563 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2563

กาลังดาเนินการทาโครงการวิจัย เรื่อง 1. ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพอากาศ ภายในอาคารสานักงานกับกลุม่ อาการ อาคารป่วยของบุคลากรมหาวิทยาลัยราช ภัฎนครราชสีมา กาลังดาเนินการทาโครงการวิจัย เรื่อง 1.ปัจจัยที่มีความสาคัญต่อการพัฒนา ศักยภาพการบริหารงานด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัยของเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการทางานในสถาน ประกอบการ จังหวัดนครราชสีมา 1. การศึกษาปัจจัยสิ่งคุกคามด้าน สภาพแวดล้อมในการทางานที่ส่งผล กระทบต่อสุขภาพอาชีวอนามัยและอก ระบบในกลุม่ อาชีพเครื่องปั้นดินเผา ต. ด่านเกวียน อ.โชคชัย จ.นครราชสีมา อยู่ระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูลและเรียบ เรียงเรื่องการศึกษาแบบแผนความเชื่อ ด้านสุขภาพ (Health Belief Model) ที่มี ผลต่อการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพ ในช่วงภาวะโรคระบาด Coronavirus Disease 2019 (COVID 19)

2.4 การประเมินผลการปฏิบัติงาน หลักสูตรมีการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามระบบและกลไกของคณะและมหาวิทยาลัย 2 ครั้งต่อปีการศึกษา โดยหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการให้เป็นไปตามข้อบังคับของ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการของ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พ.ศ.2554 (เอกสารแนบ Occ 4.1.7) โดยทาการ ประเมินในแต่ละองค์ประกอบดังนี้ 1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน 2. การประเมินพฤติกรรมการปฏิบตั ริ าชการ (สมรรถนะ)


56 ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้มีการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ โดยอาจารย์ประจา หลักสูตรใหม่จะถูกประเมินผลการทดลองงาน 2 ครั้ง (ทุก 6 เดือนนับตามอายุงาน) และอาจารย์ประจา หลักสูตรเดิมจะถูกประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2 รอบ (ทุก 6 เดือน) รอบที่ 1 ระหว่าง 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563 และ รอบที่ 2 ระหว่าง 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563 ในปีการศึกษา 2563 อาจารย์ประจาหลักสูตรได้ถูกประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2 รอบ โดยคณะกรรมการประเมินผล การปฏิบัตริ าชการคณะสาธารณสุขศาสตร์ และรายงานผลการประเมินต่อมหาวิทยาลัย ผลการประเมิน การปฏิบัตริ าชการ อาจารย์ประจาหลักสูตรทั้ง 5 คนผ่านเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2.5 การสร้างแรงจูงใจและสวัสดิการ หลักสูตรมีการสร้างแรงจูงใจและสวัสดิการให้กับอาจารย์ประจาหลักสูตรโดยมีกองทุน สวัสดิการช่วยเหลือบุคลากรของคณะสาธารณสุขศาสตร์ตามประกาศคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรื่องเงินช่วยเหลือบุคลากรทีเ่ จ็บป่วย หรือประสบอุบตั ิเหตุ หรืออุบัติภัย จากเงินบริจาคของผูม้ ีจิตศรัทธา ประกาศ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 เพื่อเป็นขวัญและกาลังใจให้กับ บุคลากร (เอกสารแนบ Occ 4.1.8) และมีโครงการส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจยั สาหรับบุคลากรทีไ่ ด้รับ การสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยในคณะ(เอกสารแนบOcc4.1.9) เอกสารแนบ Occ4.1.9.1 และมี โครงการสนับสนุนงบประมาณดาเนินการวิจัยเพื่อสนับสนุนให้บุคลากรได้ดาเนินงานวิจัย (เอกสารแนบ Occ 4.1.10) เอกสารแนบ Occ 4.1.10.1 ในปีการศึกษา 2563 อาจารย์ประจาหลักสูตร ที่ได้รับการสนับสนุนการจากทั้ง 4 โครงการมี รายชื่อดังนี้ 1. โครงการส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัยสาหรับบุคลากรที่ได้รับการสนับสนุนการเผยแพร่ ผลงานวิจัยในคณะ ได้แก่ รองศาสตราจารย์ ดร.พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ อาจารย์ ดร.พฤมล น้อยนรินทร์ อาจารย์วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี อาจารย์พนิดา เทพชาลี และอาจารย์อุษาวดี ไพราม 2. โครงการสนับสนุนงบประมาณดาเนินการวิจยั ได้แก่ อาจารย์ ดร.พฤมล น้อยนรินทร์ อาจารย์ วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี อาจารย์พนิดา เทพชาลี และอาจารย์อุษาวดี ไพราม (เอกสารแนบ Occ 4.1.11) Check : การประเมินกระบวนการ จากการดาเนินงานตามระบบและกลไก พบว่า หลักสูตรดาเนินการบรรลุตัวชี้วัดความสาเร็จทั้ง 5 ข้อดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้มีการวางแผนและวิเคราะห์อัตราอัตรากาลังเพื่อทดแทน อาจารย์ที่ลาศึกษาต่อและทางมหาวิทยาลัยได้สรรหาบุคลากรมาทดแทนและเป็นไปตามแผนที่วางไว้ 2. มีการปฐมนิเทศและมีระบบอาจารย์พี่เลี้ยงสาหรับอาจารย์ใหม่ 3. หลักสูตรได้ดาเนินการประชาสัมพันธ์การอบรมเรื่อง การเขียนผลงานทางวิชาการ ปี 2563 ซึ่ง อาจารย์ประจาหลักสูตรรับทราบ ร้อยละ 100 4. อาจารย์ประจาหลักสูตรผ่านการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการทั้ง 5 คน 5. อาจารย์ประจาหลักสูตรได้รับการสร้างแรงจูงใจในการทางานโดยเกินกว่าร้อยละ 80 ของ อาจารย์ประจาหลักสูตรทั้งหมด Act : การปรับปรุง/ พัฒนา ในปีการศึกษา 2563 ที่ผ่านมาหลักสูตรได้มีการดาเนินการได้บรรลุทุกตัวชี้วัดความสาเร็จ แต่ยังไม่ มีอาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์เข้าสูต่ าแหน่งทางวิชาการ แต่ในปีการศึกษานี้ได้ จัดทาแผนรายงานความก้าวหน้าการดาเนินงานโครงการวิจยั เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการเข้าสู่ตาแหน่งทาง วิชาการของอาจารย์ในหลักสูตรเพื่อใช้เป็นแนวทางหรือหลักเกณฑ์ในการติดตามแผนในปีการศึกษา 2564 และในปีการศึกษา 2564 ทางฝ่ายวางแผนและบริหาร คณะสาธารณสุขศาสตร์ได้มีแรงจูงใจให้กับอาจารย์ ที่เขียนเอกสารประกอบการสอนโดยให้เป็นจานวนเงินเพื่อสร้างแรงจูงใจและสนับสนุนให้อาจารย์ประจา


57 หลักสูตรเตรียมพร้อมในเรื่องการเขียนเอกสารต่างๆ ที่ใช้ในการขอตาแหน่งทางวิชาการ (เอกสารแนบ Occ 4.1-12) อีกทั้งฝ่ายวิจัยได้มีทุนสนับสนุนการทาวิจัยให้กับอาจารย์ภายในคณะสาธารณสุขศาสตร์(เอกสาร แนบ Occ 4.1-10) เพื่อสนับสนุนและสะดวกต่อการเป็นหัวหน้าโครงการวิจัยและสอดคล้องกับคุณสมบัติ ของอาจารย์ในการขอตาแหน่งทางวิชาการ เพื่อให้อาจารย์ได้มีคณ ุ สมบัติครบถ้วนและยื่นขอตาแหน่งทาง วิชาการได้รวดเร็วขึ้น 3) การส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ : - อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีการฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานอย่างน้อย 1 ครั้ง - อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้มกี ารเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติร้อยละ 80 - อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้รบั การสนับสนุนทุนการศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ อย่างน้อย 1 คน Plan : ระบบและกลไก ขั้นตอนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรคณะสาธารณสุขศาสตร์

Do : ผลการดาเนินการ


58 ในปีการศึกษา 2563 มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ 3.1 การฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน หลักสูตรได้สนับสนุนให้อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรได้เข้าร่วมการฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดู งานทั้งในและต่างประเทศ โดยผ่านทางโครงการสนับสนุนงบประมาณของคณะ โดยหลักสูตรให้อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จัดทาแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล สายวิชาการ ปีงบประมาณ 2563 และได้มีการ จัดสรรงบประมาณ ประจาปี พ.ศ. 2563 ของคณะสาธารณสุขศาสตร์ ในการฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดู งานทั้งในและต่างประเทศ ดังตารางต่อไปนี้ ชื่อ-สกุล กิจกรรม รศ.ดร. พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ การฝึกอบรม/สัมมนา ทิพย์ การฝึกอบรม เรื่อง การ นา OKRs มาใช้ใน สถาบันอุดมศึกษา การฝึกอบรม เรื่อง ส่งเสริมบุคลากรเข้าสู่ ตาแหน่งทางวิชาการและ ตาแหน่งที่สูงขึ้น ด้านการเผยแพร่ผลงาน วิชาการ/งานวิจัยในการ ประชุมวิชาการ ระดับชาติหรือนานาชาติ การประชุมวิชาการ สาธารณสุข ไทย-ลาว ครั้ง ที่ 6 นาเสนอในรูปแบบ โปสเตอร์ เรื่อง Health status and household waste management of people living in Khao Phaya Prab Village, Takop Subdistrict, Pak Thong Chai District, Nakhon Ratchasima Province เผยแพร่งานวิจยั ใน วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา เรื่อง การ พัฒนารูปแบบไตรสิกขา เพื่อการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม เผยแพร่งานวิจยั ใน วารสารสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา เรื่อง การพัฒนา ศักยภาพแกนนาครัวเรือน ในการจัดการขยะมูลฝอย

ระยะเวลา

หน่วยงานที่จัด

13 สิงหาคม 2563

กองประกันคุณภาพ การศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ฝ่ายวางแผนและบริหาร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

28 มกราคม 2564

2 เมษายน 2564

คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.ราชภัฏนครราชสีมา

ตุลาคม - ธันวาคม 2563

วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ปีที่ 14 ฉบับ ที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563

มกราคม-มิถุนายน 2563

วารสารสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563


59

อาจารย์พนิดา เทพชาลี

ตาบลหนองพลวง อาเภอ จักราช จังหวัด นครราชสีมา ด้านการศึกษาดูงาน ศึกษาดูงานนวัตกรรม/ ระบบการจัดการความ ปลอดภัยของบริษัทชั้นนา ในงาน “วันเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการ ทางาน” การฝึกอบรม/สัมมนา การฝึกอบรม เรื่อง การ นา OKRs มาใช้ใน สถาบันอุดมศึกษา

12 พฤศจิกายน 2563

ศูนย์ความปลอดภัยในการ ทางาน ร่วมกับสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน จังหวัดนครราชสีมา

13 สิงหาคม 2563

กองประกันคุณภาพ การศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ฝ่ายวางแผนและบริหาร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ฝ่ายวิจัยและบริการ วิชาการ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา

การฝึกอบรม เรื่อง ส่งเสริมบุคลากรเข้าสู่ ตาแหน่งทางวิชาการและ ตาแหน่งที่สูงขึ้น การฝึกอบรม เรื่อง การ พัฒนาบทความวิจยั เพื่อ เผยแพร่ในฐานข้อมูล วารสารวิชาการ TCI 1

28 มกราคม 2564

การเสวนาวิชาการเพื่อ ส่งเสริมการเผยแพร่ งานวิจัยในระดับ นานาชาติ (Journal Club) การฝึกอบรม เรื่อง การ จัดทา e-SAR

5,12,19 พฤษภาคม,

การฝึกอบรม เรื่อง CHE QA 3D 2563

10 มิถุนายน 2564

การอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนารูปแบบการจัดการ เรียนการสอนให้เหมาะสม กับทักษะศตวรรษที่ 21

29-30 มิถุนายน 2564

ด้านการเผยแพร่ผลงาน วิชาการ/งานวิจัยในการ ประชุมวิชาการ ระดับชาติหรือนานาชาติ การประชุมวิชาการ

31 มีนาคม 2564

2 มิถุนายน 2564 4 มิถุนายน 2564

2 เมษายน 2564

ฝ่ายจัดการศึกษาและ จัดการความรู้ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา กองประกันคุณภาพ การศึกษาร่วมกับสานัก วิทยาบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา กองประกันคุณภาพ การศึกษาร่วมกับสานัก วิทยาบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ฝ่ายจัดการศึกษาและ จัดการความรู้ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.ราชภัฏนครราชสีมา


60 สาธารณสุข ไทย-ลาว ครั้ง ที่ 6 นาเสนอในรูปแบบ โปสเตอร์ เรื่อง A study of students driver behavior that affect the risk of accidents from the motorcycle การประชุมวิชาการ ระดับชาติ ครั้งที่ 1 “การพัฒนางานวิจัย นวัตกรรมสร้างสุข ภาวะ” นาเสนอใน รูปแบบนาเสนอปากเปล่า เรื่อง Occupational Health Hazards and Health Status Related to the Hazards of Cleaning Workers of Private Company Serving in Nakhon Ratchasima Rajabhat University ด้านการศึกษาดูงาน ศึกษาดูงานนวัตกรรม/ ระบบการจัดการความ ปลอดภัยของบริษัทชั้นนา ในงาน “วันเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการ ทางาน” อาจารย์วรลักษณ์ สมบูรณ์นา การฝึกอบรม/สัมมนา ดี การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติ เรื่อง การใช้ Google Meets ร่วมกับ Google Classroom และ การสร้าง eBooks ด้วย Pubhtml5 และ Flip PDF การฝึกอบรม เรื่อง การ นา OKRs มาใช้ใน สถาบันอุดมศึกษา

16 มีนาคม 2564

คณะสาธารณะสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

12 พฤศจิกายน 2563

ศูนย์ความปลอดภัยในการ ทางาน ร่วมกับสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน จังหวัดนครราชสีมา

6-7 สิงหาคม 2563

สานักวิทยบริการบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

13 สิงหาคม 2563

กองประกันคุณภาพ การศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

ประชุมพิจารณาร่าง แผนปฏิบัติราชการ และ ชี้แจงแนวทางการจัดสรร งบยุทธศาสตร์ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 อบรมหลักสูตร “เทคนิค การจัดการเหตุฉุกเฉินด้าน เคมี”

20 ตุลาคม 2563

อบรมหลักสูตร ดับเพลิง

29 ตุลาคม 2563

“การ

29 ตุลาคม 2563

หลักสูตร วท.บ. (อาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย) หลักสูตร วท.บ. (อาชีวอนามัยและความ


61 ขั้นต้น” ประชุมจัดทา(ร่าง) 17 – 18 พฤศจิกายน แผนพัฒนาคุณภาพ 2563 การศึกษา ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ประจาปี การศึกษา 2563 การฝึกอบรม เรื่อง 28 มกราคม 2564 ส่งเสริมบุคลากรเข้าสู่ ตาแหน่งทางวิชาการและ ตาแหน่งที่สูงขึ้น การฝึกอบรม เรื่อง การ 31 มีนาคม 2564 พัฒนาบทความวิจยั เพื่อ เผยแพร่ในฐานข้อมูล วารสารวิชาการ TCI 1 การเสวนาวิชาการเพื่อ 5 พฤษภาคม 2564 ส่งเสริมการเผยแพร่ งานวิจัยในระดับ นานาชาติ (Journal Club) การฝึกอบรม เรื่อง CHE 10 มิถุนายน 2564 QA 3D 2563

การอบรมเชิงปฏิบัติการ 29-30 มิถุนายน 2564 พัฒนารูปแบบการจัดการ เรียนการสอนให้เหมาะสม กับทักษะศตวรรษที่ 21 ด้านการประชุม/ สัมมนา/การฝึกอบรม โดยหน่วยงานภายนอก มหาวิทยาลัย สรุปบทเรียนและวาง แผนการขับเคลื่อน นโยบายสาธารณะแบบ มีส่วนร่วมระดับพื้นที่ (ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ) ด้านการเผยแพร่ผลงาน วิชาการ/งานวิจัยในการ ประชุมวิชาการ ระดับชาติหรือนานาชาติ การประชุมวิชาการ สาธารณสุข ไทย-ลาว ครั้ง ที่ 6 นาเสนอในรูปแบบ โปสเตอร์ เรื่อง Health status and household waste management

ปลอดภัย) กองประกันคุณภาพ การศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา

ฝ่ายวางแผนและบริหาร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ฝ่ายวิจัยและบริการ วิชาการ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ฝ่ายจัดการศึกษาและ จัดการความรู้ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา กองประกันคุณภาพ การศึกษาร่วมกับสานัก วิทยาบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ฝ่ายจัดการศึกษาและ จัดการความรู้ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

11 - 12 กันยายน 2563

สานักงานคณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ

2 เมษายน 2564

คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.ราชภัฏนครราชสีมา


62 of people living in Khao Phaya Prab Village, Takop Subdistrict, Pak Thong Chai District, Nakhon Ratchasima Province ด้านการศึกษาดูงาน การศึกษาดูงานด้านอาชีว อนามัยและความ ปลอดภัย - การบริหารงานด้านอาชี วอนามัยและความ ปลอดภัย - หลักการและเทคนิคใน การป้องกันอุบัติเหตุและ องค์กรแห่งความปลอดภัย ณ บริษัท สงวนวงศ์ อุตสาหกรรม จากัด ต.หนองบัวศาลา อ.เมืองฯ จ.นครราชสีมา ศึกษาดูงานนวัตกรรม/ ระบบการจัดการความ ปลอดภัยของบริษัทชั้นนา ในงาน “วันเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการ ทางาน” อาจารย์ ดร. พฤมล น้อย การฝึกอบรม/สัมมนา นรินทร์ การฝึกอบรม เรื่อง ส่งเสริมบุคลากรเข้าสู่ ตาแหน่งทางวิชาการและ ตาแหน่งที่สูงขึ้น การฝึกอบรม เรื่อง การ พัฒนาบทความวิจยั เพื่อ เผยแพร่ในฐานข้อมูล วารสารวิชาการ TCI 1 การเสวนาวิชาการเพื่อ ส่งเสริมการเผยแพร่ งานวิจัยในระดับ นานาชาติ (Journal Club)

18 พฤศจิกายน 2563

หลักสูตร วท.บ. (อาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย)

12 พฤศจิกายน 2563

ศูนย์ความปลอดภัยในการ ทางาน ร่วมกับสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน จังหวัดนครราชสีมา

28 มกราคม 2564

ฝ่ายวางแผนและบริหาร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ฝ่ายวิจัยและบริการ วิชาการ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ฝ่ายจัดการศึกษาและ จัดการความรู้ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

31 มีนาคม 2564

5,12,19 พฤษภาคม, 2 มิถุนายน 2564

การฝึกอบรม เรื่อง การ จัดทา e-SAR

4 มิถุนายน 2564

การอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนารูปแบบการจัดการ เรียนการสอนให้เหมาะสม กับทักษะศตวรรษที่ 21

29-30 มิถุนายน 2564

กองประกันคุณภาพ การศึกษาร่วมกับสานัก วิทยาบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ฝ่ายจัดการศึกษาและ จัดการความรู้ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา


63 ด้านการเผยแพร่ผลงาน วิชาการ/งานวิจัยในการ ประชุมวิชาการ ระดับชาติหรือนานาชาติ การประชุมวิชาการ สาธารณสุข ไทย-ลาว ครั้ง ที่ 6 นาเสนอในรูปแบบ โปสเตอร์ เรื่อง Health status and household waste management of people living in Khao Phaya Prab Village, Takop Subdistrict, Pak Thong Chai District, Nakhon Ratchasima Province การประชุมวิชาการ ระดับชาติ ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ นาเสนอในรูปแบบ นาเสนอปากเปล่า เรื่อง ความรู้ และพฤติกรรม การ ป้องกันโรคไข้เลือดออกใน อาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมู่บา้ น (อสม.) ตาบลกระโทก อาเภอโชค ชัย จังหวัดนครราชสีมา ด้านการศึกษาดูงาน การศึกษาดูงานด้านอาชีว อนามัยและความ ปลอดภัย - การบริหารงานด้านอาชี วอนามัยและความ ปลอดภัย - หลักการและเทคนิคใน การป้องกันอุบัติเหตุและ องค์กรแห่งความปลอดภัย ณ บริษัท สงวนวงศ์ อุตสาหกรรม จากัด ต.หนองบัวศาลา อ.เมืองฯ จ.นครราชสีมา ศึกษาดูงานนวัตกรรม/ ระบบการจัดการความ ปลอดภัยของบริษัทชั้นนา ในงาน “วันเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการ ทางาน” อาจารย์อุษาวดี ไพราม

การฝึกอบรม/สัมมนา การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติ

2 เมษายน 2564

คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.ราชภัฏนครราชสีมา

29 พฤษภาคม 2564

มหาวิทยาลัยภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ

18 พฤศจิกายน 2563

หลักสูตร วท.บ. (อาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย)

12 พฤศจิกายน 2563

ศูนย์ความปลอดภัยในการ ทางาน ร่วมกับสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน จังหวัดนครราชสีมา

สานักวิทยบริการบริการ


64 เรื่อง การใช้ Google Meets ร่วมกับ Google Classroom และ การสร้าง eBooks ด้วย Pubhtml5 และ Flip PDF การฝึกอบรม เรื่อง ส่งเสริมบุคลากรเข้าสู่ ตาแหน่งทางวิชาการและ ตาแหน่งที่สูงขึ้น การฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง การ ออกแบบหลักสูตร ตาม แนวทางการจัดการศึกษา ที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ สู่มสรรถนะ (OutcomeBased Education) การฝึกอบรม เรื่อง การ พัฒนาบทความวิจยั เพื่อ เผยแพร่ในฐานข้อมูล วารสารวิชาการ TCI 1 การฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง การ พัฒนารายวิชา หมวดวิชา ศึกษาทั่วไป (หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2565) การเสวนาวิชาการเพื่อ ส่งเสริมการเผยแพร่ งานวิจัยในระดับ นานาชาติ (Journal Club)

6-7 สิงหาคม 2563

และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

28 มกราคม 2564

ฝ่ายวางแผนและบริหาร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา สานักส่งเสริมวิชาการและ งานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

5 พฤษภาคม, 2 มิถุนายน 2564

ฝ่ายจัดการศึกษาและ จัดการความรู้ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

การฝึกอบรม เรื่อง การ จัดทา e-SAR

4 มิถุนายน 2564

การอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนารูปแบบการจัดการ เรียนการสอนให้เหมาะสม กับทักษะศตวรรษที่ 21

29-30 มิถุนายน 2564

กองประกันคุณภาพ การศึกษาร่วมกับสานัก วิทยาบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ฝ่ายจัดการศึกษาและ จัดการความรู้ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา

ด้านการประชุม/ สัมมนา/การฝึกอบรม โดยหน่วยงานภายนอก มหาวิทยาลัย ข้อกาหนดมาตรฐาน ISO 45001:2018 เกมส์นวัตกรรมการ จัดการเรียนการสอน สาหรับนักออกแบบการ

26 มีนาคม 2564

31 มีนาคม 2564

7-8 เมษายน 2564

4 กันยายน 2563 7 พฤษภาคม 2564

ฝ่ายวิจัยและบริการ วิชาการ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ฝายวิจัยและบริการ วิชาการ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา

สถาบันการศึกษา ฝึกอบรมBSI มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


65 เรียนรู้ ด้านการเผยแพร่ผลงาน วิชาการ/งานวิจัยในการ ประชุมวิชาการ ระดับชาติหรือนานาชาติ การประชุมวิชาการ สาธารณสุข ไทย-ลาว ครั้ง ที่ 6 นาเสนอในรูปแบบ โปสเตอร์ เรื่อง Health status and household waste management of people living in Khao Phaya Prab Village, Takop Subdistrict, Pak Thong Chai District, Nakhon Ratchasima Province การประชุมวิชาการ ระดับชาติ ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ นาเสนอในรูปแบบ นาเสนอปากเปล่า เรื่อง รูปแบบการเรียนรู้ด้านอา ชีวอนามัยและความ ปลอดภัยต่อความเข้าใจ และความพึงพอใจของ พนักงาน ณ บริษัทแห่ง หนึ่ง ด้านการศึกษาดูงาน การศึกษาดูงานมหกรรม งานวิจัยแห่งชาติ (Thailand Research Expo 2020) ศึกษาดูงานนวัตกรรม/ ระบบการจัดการความ ปลอดภัยของบริษัทชั้นนา ในงาน “วันเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการ ทางาน”

2 เมษายน 2564

29 พฤษภาคม 2564

2-6 สิงหาคม 2563

12 พฤศจิกายน 2563

คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.ราชภัฏนครราชสีมา

มหาวิทยาลัยภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ

สานักงานการวิจยั แห่งชาติ (วช.)

ศูนย์ความปลอดภัยในการ ทางาน ร่วมกับสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน จังหวัดนครราชสีมา

3.2 การจัดประชุม/การเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ จากผลการดาเนินงาน ในปีการศึกษา 2562 พบว่าอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรเข้าร่วมประชุม วิชาการระดับชาติไม่เป็นไปตามตัวชี้วัดที่ตั้งเป้าหมาย หลักสูตรจึงได้ทาการทบทวนและมีแนวทางปรับปรุง คือหลักสูตรได้ดาเนินการวิจยั เป็นทีม ที่ประกอบด้วยอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร และประชาสัมพันธ์การ จัดประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติอย่างสม่าเสมอและหลากหลายช่องทาง จึงทาให้ปีการศึกษา


66 2563 มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ จานวน 5 ท่าน คิดเป็นร้อย ละ 100 (เอกสารแนบ 4.1.12) 3.3 การสนับสนุนทุนการศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้ทบทวนแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคลสายวิชาการ พบว่ามี บุคลากรที่มีแผนการลาศึกษาต่อในปีการศึกษานี้ คือ อาจารย์นนั ทนา คะลา มีแผนศึกษาต่อในระดับ ปริญญาเอกซึ่งได้สอบผ่านและเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เอกสารแนบ Occ 4.1.1) และได้ทาเรื่องขออนุญาตให้ลาศึกษาเป็นทีเ่ รียบร้อย แล้ว 3.4 การให้รางวัลเชิดชูเกียรติ ในปีการศึกษา 2563 ไม่มีอาจารย์ในหลักสูตรได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ Check : การประเมินกระบวนการ จากผลการดาเนินงานในปีการศึกษา 2563 พบว่า หลักสูตรได้ดาเนินการบรรลุตัวชี้วัดความสาเร็จ ครบทุกตัวชี้วัด

คุณภาพ อาจารย์ (ตัวบ่งชี้ 4.2)

Act : การปรับปรุง/ พัฒนา ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรต้องมีการวางแผนการดาเนินงานและทบทวนโครงการ/ กิจกรรมปีงบประมาณ 2564 ให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดในหัวข้อนี้เพื่อจะได้มผี ลการดาเนินงานเป็นไปตาม ตัวชี้วัดที่ได้ตั้งเป้าหมาย ปีการศึกษาที่ผ่านมาส่วนใหญ่จะพบ 1 หัวข้อที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมายคือ การเข้า ร่วมการจัดประชุม/การเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ ดังนั้นหลักสูตรจึงได้มีการกาหนด แนวทางดังต่อไปนี้ 1. ให้อาจารย์ในหลักสูตรร่วมกันนาเสนอหัวข้องานวิจัยที่บูรณาการกับโครงการบริการ วิชาการที่นักศึกษาต้องลงพื้นที่สถานประกอบการและชุมชน เช่น โครงการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการ ทางานในสถานประกอบการ หรือโครงการฝึกภาคสนามสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมทีล่ งพื้นที่ในชุมชน เพื่ออาจารย์ในหลักสูตรจะได้ทางานวิจัยร่วมกันและนาเสนอผลงานวิชาการ 2. ประชาสัมพันธ์การจัดประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติอย่างสม่าเสมอและ หลากหลายช่องทาง และประชาสัมพันธ์ชื่นชมผลงานอาจารย์ผ่านเพจของหลักสูตรและเว็บไซน์ของคณะ เมื่อมีอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรไปนาเสนอผลงาน ในปีการศึกษา 2563 คุณภาพของอาจารย์ มีรายละเอียด ดังนี้ 1) ร้อยละของอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอก อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร จานวน 5 คน มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก จานวน 2 คน อาจารย์ที่มีคณ ุ วุฒิปริญญาเอก คิดเป็นร้อยละ 40 คะแนนผลการประเมินในปีนี้ =

(ร้อยละ 40) x 5 20

= 5

2) ร้อยละของอาจารย์ที่มตี าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร จานวน 5 คน มีตาแหน่งทางวิชาการ จานวน 1 คน อาจารย์ที่มีตาแหน่งทางวิชาการ คิดเป็นร้อยละ 20 คะแนนผลการประเมินในปีนี้ = (ร้อยละ 20) x 5 60

= 1.67


67 3) ผลงานวิชาการของอาจารย์ ในปีการศึกษา 2563 อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรมีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการจานวน 2 เรื่อง ตามตารางที่ 4 ในภาคผนวก พบว่า ร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร = 28 คะแนนผลการประเมินในปีนี้ = (ร้อยละ 28) x 5 20 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร ค่า ชื่อเจ้าของผลงาน ชื่องานสร้างสรรค์/ ชื่อ น้าหนั ผลงานทางวิชาการ ก 0.8

0.6

ผลที่เกิดกับ อาจารย์ (ตัวบ่งชี้ 4.3)

รมิดา ศรีมันตะ, นงน ภัส เที่ยงกมล และ รศ. ดร.พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ ทิพย์ ทิวากรณ์ ราชูธร* ทอง ทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์ และรศ.ดร.พุฒิพงษ์ สัตยวงศ์ทิพย์

การพัฒนารูปแบบไตรสิกขา เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

= 5

แหล่งเผยแพร่/ตีพิมพ์

วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ปีที่ 14 ฉบับ ที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563

การพัฒนาศักยภาพแกนนา วารสารสาธารณสุขศาสตร์ ครัวเรือนในการจัดการขยะมูล มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 15 ฉบับที่ ฝอยตาบลหนองพลวง อาเภอ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563 จักราช จังหวัดนครราชสีมา

1) อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร ในปีการศึกษา 2563 พบว่า จานวนอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร 5 คน จานวนอาจารย์ที่ลาออก .....-....... คน จานวนอาจารย์ที่เสียชีวิต ....-........ คน จานวนอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ .....-....... คน จานวนอาจารย์ที่เกษียณอายุราชการ .....-....... คน ร้อยละอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ = 100.0 โดยคานวณจาก (5 ) x 100 5

=

100

2) ภาระงานของอาจารย์และสัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา ชื่อ-สกุล

ภาระงานสอน

ภาระงานวิจัย และวิชาการ อื่น

ภาระงานด้าน บริการวิชาการ/ ทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม

ภาระงาน อื่นๆ

รวม ภาระงาน

2.00 5.00

40.00 10.00

65.89 50.84

ภาคการศึกษาที่ 1/2563 1. นายพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ 2. น.ส.วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี

10.39 15.84

13.50 20.00


68 3. นางพนิดา เทพชาลี 4. น.ส.พฤมล น้อยนรินทร์ 5. น.ส.อุษาวดี ไพราม

22.76 12.25 21.06

1. นายพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ 2. น.ส.วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี 3. นางพนิดา เทพชาลี 4. น.ส.พฤมล น้อยนรินทร์ 5. น.ส.อุษาวดี ไพราม

11.33 19.10 27.25 26.03 28.90

21.00 28.90 1.50

0.75 4.50 10.00

17.00 2.25 10.00

61.52 49.90 42.56

4.00 4.50 0.75 2.50 4.25

40.00 10.00 17.00 2.00 10.00

77.83 54.60 66.00 52.78 54.90

ภาคการศึกษาที่ 2/2563 22.50 21.00 21.00 22.25 11.75

3) สัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา ปีการศึกษาที่เข้า 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

จานวนนักศึกษา 32 37 83 75 38 35 38

สัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา 1 : 6.4 1 : 7.4 1 : 16.6 1 : 15 1 : 7.6 1:7 1 : 7.6

4) ผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรต่อการบริหารหลักสูตร รายงานผลสารวจความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อการบริหารหลักสูตร โดย แสดงผลสารวจความพึงพอใจย้อนหลัง 3 ปี ปีการศึกษาที่ประเมิน 2560 2561 2562 2563

คะแนนความพึงพอใจ 4.18 ± 0.79 4.22±0.81 4.26±0.67 4.53±0.51

ในปีการศึกษา 2563 มีผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารหลักสูตรมีแนวโน้มสูงขึ้นแต่มีบางหัวข้อที่ได้คะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุดคือหัวข้อด้านสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู้เนื่องจากมีจานวนอุปกรณ์ในการสนับสนุนการเรียนรูไ้ ม่เพียงพอต่อนักศึกษา เช่น อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคล วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในอาคาร ที่ใช้เป็น สื่อการสอนเพื่อเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ และทักษะวิชาชีพให้กับนักศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับแผนการ ปรับปรุงจากผลการประเมินจาก มคอ. 5 ดังนั้นปีการศึกษา 2564 (ปีงบประมาณ 2565) ทางหลักสูตรได้ จัดสรรงบประมาณโครงการวัสดุวทิ ยาศาสตร์จากเดิม 5,000 บาท เป็น 30,000 บาท

2. การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ (ถ้ามี)


69 การปฐมนิเทศเพื่อชี้แจงหลักสูตร <<�/�>>มี <<�/�>> ไม่มี จานวนอาจารย์ที่เข้าร่วมปฐมนิเทศ ......1....... คน ทั้งนี้ ให้ระบุสาระสาคัญในการปฐมนิเทศ กรณีไม่มีการปฐมนิเทศให้ระบุเหตุผล หัวข้อในการปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่เพื่อให้อาจารย์ใหม่มีความรู้และความเข้าใจในนโยบายของ มหาวิทยาลัย นโยบายระดับคณะ หลักสูตรที่เปิดสอน รายละเอียดดังนี้ 1. แนวทางการจัดทา มคอ.3 – 7 2. วิธีการเขียนโครงการต่างๆ 3. วิธีการใช้งานระบบ REG, การบันทึกเกรด และช่องทางการเข้าดูผลการประเมินการสอน เป็นต้น 4. การส่งเสริมด้านการวิจัย, ด้านการบริการวิชาการ และการทานุบารุงศิลปะวัฒนธรรม 5. แนวทางและเกณฑ์การวัดผลประเมินผล (ประเมินทดลองงาน) 6. ระเบียบข้อบังคับภายในคณะสาธารณสุขศาสตร์ 7. สวัสดิการต่างๆ ของมหาวิทยาลัย 3. กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน หมายเหตุ กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพให้ระบุทั้งอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสูตร จานวนผู้เข้าร่วม สรุปข้อคิดเห็นและ โครงการ/กิจกรรม ปัญหาที่ผู้เข้าร่วม บุคลากร อาจารย์ กิจกรรมได้รับ สายสนับสนุน 1. การฝึกอบรม เรื่อง ส่งเสริมบุคลากรเข้าสู่ 6 คน 1 คน ตาแหน่งทางวิชาการและตาแหน่งที่สูงขึ้น 2. การฝึกอบรม เรื่อง การพัฒนาบทความ วิจัยเพื่อเผยแพร่ในฐานข้อมูล 6 คน 1 คน วารสารวิชาการ TCI 1 3. การฝึกอบรม เรื่อง การจัดทา e-SAR 5 คน 1 คน 4. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติ เรื่อง การใช้ Google Meets ร่วมกับ Google Classroom และ 4 คน การสร้าง eBooks ด้วย Pubhtml5 และ Flip PDF 5. การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบ การจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับ 5 คน 1 คน ทักษะศตวรรษที่ 21 6. การศึกษาดูงานด้านการจัดการความ 5 คน 1 คน ปลอดภัยในสถานประกอบการ 7. ศึกษาดูงานนวัตกรรม/ระบบการจัดการ ความปลอดภัยของบริษัทชั้นนาในงาน “วัน 6 คน 1 คน เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน” 8. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การ พัฒนา สมรรถนะบุคลากรสาย สนับสนุน เรื่อง การ เขียน ประเมินค่างานและผลงานเพื่อ 1 คน กาหนดระดับตาแหน่งและแต่งตั้ง ให้ดารง ตาแหน่งที่สูงขึ้น


70 หมวดที่ 4 ข้อมูลผลการเรียนในรายวิชาของหลักสูตรและคุณภาพการสอนของหลักสูตร 1. สรุปผลรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา (ข้อมูลจาก มคอ.5 ของแต่ละรายวิชา) ในปีการศึกษา 2563 มีรายวิชาที่เปิดสอนทั้งสิ้น 66 รายวิชา โดยภาคการศึกษาที่ 1 เปิดสอน 35 รายวิชา และภาคการศึกษาที่ 2 เปิดสอน 31 รายวิชา ผลการศึกษาแสดงดังตาราง รายวิชา ภาคการศึกษาที่ 1 003001 การเป็นพลเมือง 061101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 061102 ภาษาอังกฤษ 1 005003 การจัดการตนเองเพื่อพัฒนางาน 401101 ฟิสิกส์ 1 401102 ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 402101 เคมี 1 402102 ปฏิบัติการเคมี 1 402241 ชีวเคมีพื้นฐาน 402242 ปฏิบัติการชีวเคมีพื้นฐาน 403101 ชีววิทยา 1 403102 ปฏิบัติการชีววิทยา 1 408103 แคลคูลัสสาหรับวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ 601102 กายวิภาคและสรีรวิทยาของ มนุษย์ 1 061104 ภาษาอังกฤษ 3 061207 การจัดการตนเองเพื่อการพัฒนา งาน 601211 สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ 601212 การบริหารงานสาธารณสุข 601213 กฎหมายสาธารณสุขและ จริยธรรมวิชาชีพ 061301 คณิตศาสตร์เพื่อการตัดสินใจ 601311 ชีวสถิติ 601312 อนามัยสิ่งแวดล้อม 601315 ฝึกประสบการณ์ภาคสนาม สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 601321 การบริหารงานด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย 601322 ความปลอดภัยในงาน อุตสาหกรรม 601323 อาชีวเวชศาสตร์ขั้นมูลฐาน 601352 การเตรียมฝึกประสบการณ์ วิชาชีพอาชีวอนามัย 601401 สัมมนาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย 601411 การระบายอากาศในงาน อุตสาหกรรม 601412 เทคนิคการจัดการเหตุฉุกเฉิน ด้านเคมี 601413 การป้องกันและควบคุมอัคคีภยั

จานวนนักศึกษา ลงทะเบียน สอบผ่าน

A

B+

B

การกระจายระดับคะแนน C+ C D+ D F

W

I

M

38 41 41 38 41 41 41 41 35 35 41 41

38 41 41 38 41 41 41 41 35 35 41 41

5 8 11 20 1 6 1 1 1 6

14 5 14 16 1 20 9 1 2 15

16 11 6 2 12 2 16 2 7 10

3 7 5 3 2 12 14 10 23 1 6

9 3 25 15 3 13 3

1 12 4 20 -

23 3 5 -

1 1 1 1 1 1 1

-

-

1 -

41

41

1

-

1

2

2

17

17

1

-

-

-

41

40

7

15

7

5

4

1

1

1

-

-

-

35

35

2

7

10

13

2

1

-

-

-

-

-

35

35

25

6

1

3

-

-

-

-

-

-

-

35 36

35 35

9 9

13 7

12 12

1 7

-

-

-

-

0

0

0

1

-

-

-

35

35

10

11

8

6

-

-

-

-

-

-

-

35 38 38

35 38 38

34

-

-

1

-

-

7 10

9 6

7 15

8 5

4 2

3

-

-

-

-

-

-

38

38

33

5

-

-

-

-

-

-

-

-

-

38

38

13

15

9

-

1

-

-

-

-

-

-

38

38

2

12

11

8

2

-

-

-

-

-

-

38

38

7

3

13

7

6

2

-

-

-

-

-

74

74

-

20

38

9

7

-

-

-

-

-

-

74

74

51

15

8

-

-

-

-

-

-

-

-

73

73

2

6

13

13

20

11

8

-

-

-

-

73

73

12

21

23

13

2

-

-

-

-

-

-

72

72

18

14

23

13

4

-

-

-

-

-

-


71 รายวิชา ภาคการศึกษาที่ 1 601416 การประเมินและจัดการความ เสี่ยง 601421 มาตรฐานระดับชาติและสากล สาหรับระบบการจัดการระบบ คุณภาพ สิ่งแวดล้อม ความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย 601231 ความปลอดภัยในชีวิตประจาวัน 601233 การประเมินผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ภาคการศึกษาที่ 2 002002 ท้องถิ่นไทย *061103 ภาษาอังกฤษ 2 061201 ศาสตร์พระราชาของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ ๙ 061204 การคิดเพื่อการดาเนินชีวิต *061304 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ สื่อสารและสื่อประสม *402121 เคมีอินทรีย์พื้นฐาน *402122 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์พื้นฐาน 601101 การสาธารณสุข 601103 กายวิภาคและสรีรวิทยาของ มนุษย์ 2 601104 จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา เบื้องต้น 601105 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาและปรสิต เบื้องต้น 601106 ประชากรศาสตร์และการคานวณ สถิติชีพ 601111 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย เบื้องต้น 601201 การสื่อสารเพื่อสุขภาพ 601214 การปฐมพยาบาล 601221 หลักการวิศวกรรมสาหรับงาน อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 601222 พิษวิทยาอาชีวอนามัยและ สิ่งแวดล้อม 601223 สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นมูล ฐาน 601224 จิตวิทยาอุตสาหกรรม 601225 วิศวกรรมความปลอดภัยในงาน อุตสาหกรรม 601313 วิทยาการระบาด 601314 โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ 601323 อาชีวเวชศาสตร์ขั้นมูลฐาน 601324 การประเมินและจัดการความ เสี่ยง

จานวนนักศึกษา ลงทะเบียน สอบผ่าน

A

B+

B

การกระจายระดับคะแนน C+ C D+ D F

W

I

M

73

73

4

13

21

10

20

3

2

-

-

-

-

73

73

7

11

17

18

13

6

1

-

-

-

-

50

50

3

13

11

12

11

-

-

-

-

-

-

43

43

33

5

1

3

0

0

1

-

-

-

-

38

37

14

19

4

-

-

-

-

-

-

-

1

35

34

17

13

4

-

-

-

-

-

-

-

1 -

39

39

12

11

5

4

4

3

-

-

-

-

-

38

37

1

4

7

8

7

7

3

1

-

-

-

39

39

12

9

6

5

5

1

1

-

-

-

-

39

39

1

3

19

8

5

3

-

-

-

-

-

39

39

29

5

1

3

1

-

-

-

-

-

-

39

38

29

6

2

0

0

1

0

1

-

-

-

39 35

39 35

9 10

13 17

8 4

6 3

3 1

-

-

-

-

-

-

38

38

11

27

-

-

-

-

-

-

-

-

-

35

35

7

7

8

8

3

1

1

-

-

-

-

35

35

14

5

8

6

2

-

-

-

-

-

-

35

35

3

3

16

9

4

-

-

-

-

-

-

35

35

9

15

9

2

-

-

-

-

-

-

-

38 38 35

37 37 35

4 12 15

3 7 9

6 12 8

10 3 2

10 3 1

1 -

3 -

1 -

1

-

-

-

-

-

-

38

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

38

-


72 จานวนนักศึกษา ลงทะเบียน สอบผ่าน

รายวิชา ภาคการศึกษาที่ 1 601326 การยศาสตร์และสรีรวิทยาใน การทางาน 601327 การเก็บตัวอย่างและการ วิเคราะห์ทางด้านสุขศาสตร์ อุตสาหกรรม 601328 ปฏิบัติการเก็บตัวอย่างและการ วิเคราะห์ทางด้านสุขศาสตร์ อุตสาหกรรม 601430 มาตรฐานระดับชาติและสากล สาหรับระบบการจัดการระบบ คุณภาพ สิ่งแวดล้อม ความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย 601452 สหกิจศึกษา 601451การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทาง อาชีวอนามัย 601231 ความปลอดภัยในชีวิตประจาวัน

A

B+

B

การกระจายระดับคะแนน C+ C D+ D F

W

I

M

38

37

5

20

6

3

3

-

-

1

-

-

-

38

37

7

9

6

5

4

4

2

1

-

-

-

38

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

38

38

37

12

8

6

6

3

1

1

1

-

-

-

72

72

72

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1

1

1

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

40

37

6

10

6

4

9

1

1

-

-

3

-

หมายเหตุ จานวนนักศึกษาที่สอบผ่าน ไม่นับรวมนักศึกษาที่ได้ระดับคะแนน F, W, I, M * อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาที่อยู่ระหว่างการจัดทาเกรด

2. การวิเคราะห์รายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ปกติ (วิเคราะห์จาก มคอ.5 หมวดที่ 3 ข้อ 5. ทุกรายวิชา) ความไม่ปกติที่พบ

วิธีการตรวจสอบ

เหตุผลที่เกิดความไม่ปกติ

มาตรการแก้ไขที่ได้ดาเนินการแล้ว (หากจาเป็น)

ภาคการศึกษาที่ 1 ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ภาคการศึกษาที่ 2 ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

รายวิชา

3. การเปิดรายวิชาในภาคหรือปีการศึกษา 3.1 รายวิชาที่ไม่ได้เปิดตามแผนการศึกษา และเหตุผลที่ไม่ได้เปิด รหัสและชื่อรายวิชา

เหตุผลที่ไม่ได้เปิด

มาตรการทดแทนที่ได้ดาเนินการ (ถ้ามี)

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

3.2 วิธีแก้ไขกรณีที่มีการสอนเนื้อหาในรายวิชาไม่ครบถ้วน รหัสและชื่อรายวิชา

สาระหรือหัวข้อทีข่ าด

สาเหตุที่ไม่ได้สอน

วิธีแก้ไข

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ภาคการศึกษาที่ 1 ไม่มี


73 ภาคการศึกษาที่ 2 ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

4. การประเมินรายวิชาที่เปิดสอนในปีที่รายงาน รายวิชาที่มีการประเมินคุณภาพการสอนและแผนการปรับปรุงจากผลการประเมิน รหัสและชื่อรายวิชา ภาคการศึกษาที่ 1 003001 การเป็นพลเมือง 061101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 061102 ภาษาอังกฤษ 1 005003 การจัดการตนเองเพื่อพัฒนางาน 401101 ฟิสิกส์ 1 401102 ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 402101 เคมี 1 402102 ปฏิบัติการเคมี 1 402241 ชีวเคมีพื้นฐาน 402242 ปฏิบัติการชีวเคมีพื้นฐาน 403101 ชีววิทยา 1 403102 ปฏิบัติการชีววิทยา 1 408103 แคลคูลัสสาหรับวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 601102 กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์ 1 061104 ภาษาอังกฤษ 3 061207 การจัดการตนเองเพื่อการพัฒนางาน 601211 สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ 601212 การบริหารงานสาธารณสุข 601213 กฎหมายสาธารณสุขและจริยธรรมวิชาชีพ 061301 คณิตศาสตร์เพื่อการตัดสินใจ 601231 ความปลอดภัยในชีวิตประจาวัน 601233 การประเมินผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 601311 ชีวสถิติ 601312 อนามัยสิ่งแวดล้อม 601315 ฝึกประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม

การประเมินจากนักศึกษา (เต็ม 5) มี ไม่มี

แผนการปรับปรุง จากผลการประเมิน

4.26 3.77 4.17 4.44 4.07 4.24 4.24 4.31 4.38 4.47 3.80 4.28 4.19 3.75 4.11 4.23 4.54 4.47 4.43 4.45 4.35 4.55

-

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

4.57 4.60 4.56

-

601321 การบริหารงานด้านอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย 601322 ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม

4.43

-

- ไม่มี - ไม่มี เพิ่มกิจกรรมในห้องเรียนเพื่อเพิ่ม ความน่าสนใจ สร้างบรรยากาศใน การเรียน - ไม่มี

4.60

-

-

601323 อาชีวเวชศาสตร์ขั้นมูลฐาน

4.56

-

-

601352 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาชีวอนามัย

4.34

-

-

เพิ่มจานวนอุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัยส่วนบุคคล เพิ่มกิจกรรมในห้องเรียนเพื่อเพิ่ม ความน่าสนใจ สร้างบรรยากาศใน การเรียน - ไม่มี


74 รหัสและชื่อรายวิชา ภาคการศึกษาที่ 1 601401 สัมมนาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 601411 การระบายอากาศในงานอุตสาหกรรม

การประเมินจากนักศึกษา (เต็ม 5) มี ไม่มี 4.42 4.02

-

แผนการปรับปรุง จากผลการประเมิน

-

601412 เทคนิคการจัดการเหตุฉุกเฉินด้านเคมี

4.48

-

-

601413 การป้องกันและควบคุมอัคคีภยั

4.49

-

-

-

601416 การประเมินและจัดการความเสี่ยง 601421 มาตรฐานระดับชาติและสากลสาหรับระบบ การจัดการระบบคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย ภาคการศึกษาที่ 2 002002 ท้องถิ่นไทย 061103 ภาษาอังกฤษ 2 061201 ศาสตร์พระราชาของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ 061204 การคิดเพื่อการดาเนินชีวิต 061304 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและสื่อ ประสม 402121 เคมีอินทรีย์พื้นฐาน 402122 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์พื้นฐาน 601101 การสาธารณสุข 601103 กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์ 2 601104 จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยาเบือ้ งต้น 601105 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาและปรสิตเบื้องต้น 601106 ประชากรศาสตร์และการคานวณสถิติชีพ 601111 อาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น

- ไม่มี จัดซื้อเครื่องมือเพื่อใช้ในการเรียนการ สอน จัดทาเอกสารประกอบการสอนใน รายวิชา ประสานงานกับสถานประกอบการ เพื่อศึกษาดูงาน ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย เป็น ปัจจุบัน พัฒนาเนื้อหาภาคทฤษฎีในรูปแบบ บทเรียนออนไลน์ (E-learning) การสอบปากเปล่าเพื่อทบทวนความ เข้าใจของนักศึกษา จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “การระงับ เหตุฉุกเฉินด้านเคมี” โดยนักศึกษา ทุกคนได้ฝึกปฏิบัติจริง ปรับปรุงเนื้อหา และลาดับหน่วยการ เรียนในรายวิชาให้เหมาะสมและเป็น ปัจจุบัน พัฒนาเนื้อหาภาคทฤษฎีในรูปแบบ บทเรียนออนไลน์ (E-learning) เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การ ดับเพลิงขั้นต้น” ให้กับนักศึกษา - ไม่มี เพิ่มกิจกรรมในห้องเรียนเพื่อเพิ่ม ความน่าสนใจ สร้างบรรยากาศใน การเรียน

4.11 4.11

-

3.04 4.39 3.71

-

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

4.30 4.22

-

- ไม่มี - ไม่มี

3.78 4.14 4.22 4.13 4.51 4.50 4.45 4.49

-

-

- ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - จัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย เน้นเนื้อหาที่เป็นปัจจุบัน และให้ นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น


75 รหัสและชื่อรายวิชา ภาคการศึกษาที่ 1 601201 การสื่อสารเพื่อสุขภาพ 601214 การปฐมพยาบาล

การประเมินจากนักศึกษา (เต็ม 5) มี ไม่มี

แผนการปรับปรุง จากผลการประเมิน

4.54 4.32

-

601221 หลักการวิศวกรรมสาหรับงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 601222 พิษวิทยาอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม

4.43

-

4.56

-

-

601223 สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นมูลฐาน

4.59

-

-

601224 จิตวิทยาอุตสาหกรรม 601225 วิศวกรรมความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 601313 วิทยาการระบาด 601314 โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ 601323 อาชีวเวชศาสตร์ขั้นมูลฐาน 601324 การประเมินและจัดการความเสี่ยง

4.49 4.56 4.44 4.44 4.65 4.40

-

-

601326 การยศาสตร์และสรีรวิทยาในการทางาน

4.45

-

-

601327 การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ทางด้าน สุขศาสตร์อุตสาหกรรม

4.36

-

-

601328 ปฏิบัติการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ ทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม

4.40

-

-

601430 มาตรฐานระดับชาติและสากลสาหรับระบบ การจัดการระบบคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย 601231 ความปลอดภัยในชีวิตประจาวัน 601452 สหกิจศึกษา

4.31

-

-

4.40 4.26

-

-

-

601451การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางอาชีวอนามัย

4.50

-

-

-

- ไม่มี การพัฒนาทักษะให้นักศึกษาได้ ตระหนักถึงความสาคัญในการทางาน เป็นกลุ่ม มีภาวะผู้นาและผู้ตามให้ มากขึ้น - ไม่มี มอบหมายงานให้นักศึกษาไปศึกษา สถานการณ์ปัจจุบันในเรื่องนั้น เพื่อ นามาแลกเปลีย่ นเรียนรู้ในห้องเรียน ให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองแล้วมา นาเสนอในเรื่องการใช้เครื่องมือสุข ศาสตร์อุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี เพิ่มการฝึกปฏิบัติในสถาน ประกอบการ เครื่องมือวัด สาหรับการเรียนการ สอนในหัวข้อการวัดขนาดสัดส่วน ร่างกายไม่หลากหลาย และมีจานวน จากัด เพิ่มสื่อการสอนรูปแบบแบบจาลอง กระบวนการผลิตเพื่อให้นักศึกษาเห็น ภาพการวางแผนการกาหนดจุด ตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทางาน เพิ่มการฝึกปฏิบัติในการวางแผนการ ตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทางาน ในสถานประกอบการ เพิ่มกิจกรรมในห้องเรียนเพื่อให้ นักศึกษาได้เกิดความเข้าใจในเนื้อหา มากขึ้น - ไม่มี การทาความเข้าใจสถานประกอบการ การกาหนดหน่วยงานรับผิดชอบ งานสหกิจโดยตรง ควรมีบุคลากรสหกิจศึกษาเพิ่มเพื่อ รองรับอัตราของนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น การเตรียมพร้อมของนักศึกษาใน รายวิชาการเตรียมฝึกประสบการณ์ วิชาชีพในประเด็นเรื่องพฤติกรรม การปฏิบัติตวั ของนักศึกษาที่พนักงาน พี่เลี้ยงวิพากษ์ ปรับเพิ่มชั่วโมงการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ จาก 450 ชั่วโมงเป็น 640


76 รหัสและชื่อรายวิชา

การประเมินจากนักศึกษา (เต็ม 5) มี ไม่มี

แผนการปรับปรุง จากผลการประเมิน

ภาคการศึกษาที่ 1 ชั่วโมงหรือทั้งภาคการศึกษา

5. ผลการประเมินคุณภาพการสอนโดยรวม รายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มี ทั้งหมด 64 รายวิชา ได้รับการประเมินผลจากนักศึกษาครบทุกรายวิชาทั้ง 2 ภาคการศึกษา โดยมีผลการ ประเมินคุณภาพการสอนโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดี (คะแนนอยู่ในช่วง 3.80 – 4.41 จากคะแนนเต็ม 5) ระดับ ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อทักษะการสอนของอาจารย์ทั้ง 6 ด้าน ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (คะแนนเฉลี่ย 4.39 จากคะแนนเต็ม 5) รายละเอียดดังนี้ หัวข้อที่ประเมิน

ชั้นปีที่ 2

ค่าเฉลี่ย ชั้นปีที่ 3

มีความรับผิดชอบในการสอน มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ สนับสนุนส่งเสริมให้นักศึกษาเรียนรู้และพัฒนาตนเอง สม่าเสมอ ใช้วธิ ีการสอนที่หลากหลายและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สอนตรงตามเนื้อหาและเวลาที่กาหนด มีการวัดและประเมินผลที่ชัดเจนและเหมาะสม ค่าเฉลี่ยแต่ละชั้นปี

4.41 4.44

4.37 4.43

4.31 4.34

4.37 4.41

ระดับ ความพึง พอใจ มาก มาก

4.59

4.37

4.34

4.44

มาก

4.50 4.29 4.44 4.45

4.34 4.34 4.40 4.38

4.34 4.34 4.24 4.32

4.40 4.33 4.37 4.39

มาก มาก มาก มาก

ชั้นปีที่ 4

ค่าเฉลี่ย

6. ประสิทธิผลของกลยุทธ์การสอน ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อสัมฤทธิผลของการสอนและผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระหลักทั้ง 5 ประการ ตามที่ปรากฏใน หมวดที่ 2 ข้อ 3. ใน มคอ.5 ของแต่ละรายวิชา มีดังนี้ สรุปข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อสัมฤทธิผลของการ สอนและผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระหลักทั้ง 5 ประการ (1) คุณธรรม จริยธรรม - ไม่มี (2) ความรู้ - ไม่มี (3) ทักษะทางปัญญา - ไม่มี (4) ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ - ไม่มี

แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี

- ไม่มี


77 สรุปข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อสัมฤทธิผลของการ สอนและผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระหลักทั้ง 5 ประการ

แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง -

(5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ - ไม่มี

- ไม่มี


78 หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร 1. คุณภาพหลักสูตรการเรียนการสอนและการประเมินผล ตัวบ่งชี้ สาระของ รายวิชา ในหลักสูตร (ตัวบ่งชี้ 5.1)

ผลการดาเนินงาน มีผลการดาเนินงานในระดับดี (3 คะแนน) 1) การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตร ตัวชี้วัดความสาเร็จ - เชิงปริมาณ คือ หลักสูตรได้รับการปรับปรุงทุก 5 ปี ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพ การศึกษา - เชิงคุณภาพ คือ หลักสูตรมีคณ ุ ภาพสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ มาตรฐานของกรม สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ข้อคิดเห็นของบัณฑิต นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายและความ ต้องการผู้ใช้บัณฑิต Plan : ระบบและกลไกการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตร มีการดาเนินงาน ดังนี้ ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ฯ เพื่อวางแผนการดาเนินงาน เสนอขออนุมัติโครงการประเมินหลักสูตรผ่านคณะ ไม่อนุมัติ แจ้งผู้รับผิดชอบ

ผลการพิจารณา อนุมตั ิ

ดาเนินการประเมินหลักสูตรกับผูท้ ี่มีส่วนเกีย่ วข้องกับหลักสูตรทุกฝ่าย รายงานผลการประเมินหลักสูตรต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอขออนุมัติโครงการปรับปรุงหลักสูตรผ่านคณะ และคณะต่อมหาวิทยาลัย ไม่อนุมัติ ผลการพิจารณา

แจ้งผู้รับผิดชอบ

อนุมตั ิ แต่งตั้งคณะกรรมการร่างหลักสูตร เพื่อดาเนินการยกร่าง มคอ. 2 แต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร เพือ่ พิจารณาปรับปรุง แก้ไขร่าง มคอ. 2 เสนอร่างหลักสูตรต่อสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มีแก้ไข ผลการพิจารณา

แก้ไขตาม ข้อเสนอแนะ

ไม่มีแก้ไข เสนอร่างหลักสูตรต่อคณะกรรมการประจาคณะ มีแก้ไข

แก้ไขตาม ข้อเสนอแนะ

ผลการพิจารณา ไม่มีแก้ไข เสนอร่างหลักสูตรผ่าน สสว. ต่อสภาวิชาการ


79 เสนอร่างหลักสูตรผ่าน สสว. ต่อสภาวิชาการ

แก้ไขตาม ข้อเสนอแนะ

มีแก้ไข

ผลการพิจารณา ไม่มี

เสนอร่างหลักสูตรผ่าน สสว. เพื่อขออนุมัติหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัย

สสว. เสนอร่างหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัย

แจ้งผู้รับผิดชอบ

ไม่

ผลการพิจารณา อนุมัติ

สสว. เสนอหลักสูตรต่อสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไม่รับทราบ

ผลการพิจารณา

รับทราบ

สสว. แจ้งผลการพิจารณาให้คณะทราบ

Do : ผลการดาเนินงาน การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตรหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีการออกแบบตามวงรอบการปรับปรุง โดยทีผ่ ่านมาทางหลักสูตร เริ่มมีการใช้หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ฉบับปี พ.ศ. 2556 โดยมีหลักคิดในการออกแบบหลักสูตร คือ มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มคี วามสามารถในการจัดการ ปัญหาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง มีความรอบรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนางาน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ในบริบทที่ รับผิดชอบได้อย่างครอบคลุม ซึ่งข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาหลักสูตร ได้แก่ พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554, พระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2556, ยึดตามเกณฑ์ในการพิจารณาวุฒิการศึกษาปริญญาตรีสาขาอาชีวอนามัยหรือเทียบเท่า ตาม กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัยฯ พ.ศ. 2549, มาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา สาขาสาธารณสุขศาสตร์ (มคอ.1) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์ มาตรฐานกลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 รายงานผลการดาเนินงานของ หลักสูตร (มคอ.7) ผลการสารวจความคิดเห็นของคณาจารย์และนักศึกษาเกี่ยวกับบริบท ปัจจัยนาเข้า กระบวนการและผลผลิต รวมถึงสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคม หลักสูตรผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 8/2561 เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2561 ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะในการประชุมครั้งที่ 4/2561 เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2561 ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภาวิชาการในการประชุม ครั้งที่ 5/2561 เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2561 ผ่านการเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยในการประชุม ครั้งที่ 7/2561 เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2561 และได้รับการรับทราบจากสานักปลัดกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2564


80 Check : การประเมินกระบวนการ หลักสูตรมีการทบทวนประเมินระบบและกลไก พบว่า สามารถดาเนินการได้ตามระบบ กลไกที่กาหนดไว้ แต่ในกระบวนการที่ สสว. เสนอหลักสูตรต่อสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือสานักปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สป.อว.) ในปัจจุบัน ค่อนข้างใช้ระยะเวลายาวนาน ทั้งนี้เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเสนอขอรับทราบหลักสูตร จากการส่งรูปเล่มเอกสารเป็นการกรอกข้อมูลออนไลน์ในระบบ CHECO อีกทั้งผู้รับผิดชอบในการ ตรวจสอบข้อมูลหลักสูตรทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและสป.อว. มีเพียงท่านเดียวแต่ต้องทาหน้าที่ในการ ตรวจสอบหลายหลักสูตร ดังนั้นในรอบการปรับปรุงหลักสูตร 5 ปีของหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ บริหารหลักสูตรมีการวางแผนจัดทาโครงการประเมินหลักสูตรโดยได้บรรจุโครงการในแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2565 และเก็บข้อมูลความคิดเห็นจากผู้ใช้บัณฑิตในระหว่างที่นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในภาคการศึกษา 2/2564 เพื่อให้เป็นไปตามระบบและกลไกที่กาหนดและ ลดระยะเวลาการปรับปรุงหลักสูตรให้สั้นลงโดยการติดตาม 2) การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขาวิชานั้นๆ ตัวชี้วัดความสาเร็จ : 1) มีการปรับปรุงหลักสูตรและสาระรายวิชาให้มีความทันสมัย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีระบบและกลไก การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยดังที่กล่าวไปข้างต้น โดยดาเนินการตามขั้นตอนในคู่มือพัฒนาและ ปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ฉบับแก้ไขปรับปรุง ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มีการดาเนินการประเมินหลักสูตรเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงใน ระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี เพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขาวิชา และ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ซึ่งในปีการศึกษา 2563 ใช้หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ในการศึกษา 2563 ปรับปรุงสาระรายวิชาตามคาอธิบายรายวิชา การกระจายความ รับผิดชอบหลักการรับผิดชอบรอง แผนการจัดการเรียนการสอน การประเมินผลที่ระบุไว้ในหลักสูตร ปรับปรุง รวมทั้งจากการทบทวนผลการดาเนินงานของหลักสูตรที่รายงานใน มคอ.7 ของปีการศึกษาที่ ผ่านมา โดยคานึงถึงความเปลี่ยนแปลงของศาสตร์และความก้าวหน้าในศาสตร์วิชานั้น ๆ หลักสูตร ปรับปรุงนี้ใช้จัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 จานวนรวม 29 รายวิชา Plan: ระบบและกลไก 1. ก่อนเปิดภาคเรียน หลักสูตรจัดประชุมชี้แจงอาจารย์ผู้สอนรายวิชาในหลักสูตรทุกคน เพื่อให้จัดทารายละเอียดรายวิชา (มคอ.3 และ มคอ.4) แผนการเรียนรู้ของแต่ละรายวิชา ให้สอดคล้อง กับรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) ทั้งหลักสูตร พ.ศ. 2556 และหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 โดย จะต้องจัดการเรียนรู้ ปรับปรุงและพัฒนาเนื้อหารายวิชาให้มีความทันสมัยต่อความก้าวหน้าในศาสตร์ สาขานั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผสู้ อนจัดทา มคอ.3 และ มคอ.4 โดยออกแบบ แผนการสอน กิจกรรม และการประเมินผลให้ทันสมัยต่อความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้น ๆ รวมทั้ง การนาปัญหาและข้อเสนอเสนอแนะที่ได้จาก มคอ.5 ในปีการศึกษที่ผ่านมามาพิจารณาร่วมด้วย 3. ประธานหลักสูตรติดตามรายละเอียดรายวิชา (มคอ.3 และมคอ.4) ตรวจสอบจุดมุ่งหมาย รายวิชา แผนการสอน กิจกรรม และการประเมินผลการเรียนรู้ให้ทนั สมัยต่อความก้าวหน้าในศาสตร์ สาขานั้น ๆ ทุกรายวิชาก่อนลงนาม


81 Do: ผลการดาเนินงาน 1. หลักสูตรประชุมชี้แจงอาจารย์ผสู้ อนทุกท่าน เรื่อง แผนการเรียนการสอนประจาปี การศึกษา 2563 และการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) ในการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ครั้งที่ 9/2563 วันที่ 13 พฤษภาคม 2563 ตามลาดับ ณ ห้องประชุม 3 (38.3.28) มติที่ประชุม เห็นชอบให้ดาเนินการดังนี้ 1) รายวิชาที่มีการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2563 ตามหลักสูตร พ.ศ. 2556 ต้องมีการ ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยต่อความก้าวหน้าในศาสตร์นั้น 2) รายวิชาที่มีการเรียนการสอนปีการศึกษา 2563 ตามหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ผู้สอนต้องปรับปรุงเนื้อหา และแผนการเรียนรู้ให้สอดคล้องผลการเรียนรู้ตาม Curriculum Mapping ตามเล่มรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) ทีน่ าส่งแก่อาจารย์ ผู้สอนทุกคน ซึ่งต้องให้ทันสมัยต่อความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้น ๆ 3) รายวิชาที่มีการเรียนการสอนปีการศึกษา 2563 ทุกรายวิชาได้ปรับการจัดการเรียนการ สอนในรูปแบบผสมผสาน (Bleaned learning) ทั้งรูปแบบ Online และ Onsite 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผสู้ อนดาเนินการปรับปรุงเนื้อหาตามที่ระบุไว้ใน คาอธิบายรายวิชา และหน่วยกิตที่ปรับใหม่ กาหนดแผนการสอน กิจกรรม และการประเมินผล การเรียนรู้ใน มคอ.3 และ มคอ.4 รวมทั้งการปรับปรุงตามแผนที่ผู้รับผิดชอบรายวิชากาหนดไว้ใน มคอ.5, มคอ.6 และ มคอ.7 ของปีการศึกษาที่ผ่านมา ตัวอย่างเช่น รายวิชาในหลักสูตร พ.ศ. 2556 รายวิชา 601331 อาชีวเวชศาสตร์ ขั้นมูลฐาน 601412 เทคนิคการจัดการ เหตุฉุกเฉินด้านเคมี 601413 การป้องกันและ ควบคุมอัคคีภัย 601414 กระบวนการผลิต ทางอุตสาหกรรมและ อันตราย 601415 การจัดเก็บวัตถุ อันตราย

จุดที่ควรพัฒนา ให้นักศึกษาได้รู้วิธีการใช้ เครื่องมือตรวจวัดทางอา ชีวเวชศาสตร์เพื่อให้เกิด ทักษะทางวิชาชีพ ปรับกิจกรรมให้นักศึกษา ได้ฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้ เกิดทักษะทางวิชาชีพ

การพัฒนา/ปรับปรุง ให้นักศึกษาฝึกและสอบปฏิบัติการเครื่องมือ ตรวจวัดทางอาชีวเวชศาสตร์ เช่น เครื่อง ตรวจวัดสมรรถภาพการได้ยิน เครื่องมือ ตรวจวัดสมรรถภาพการมองเห็น เป็นต้น ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการระงับเหตุฉุกเฉิน ด้านเคมี

ให้นักศึกษาได้มีฝึก ปฏิบัติการควบคุม และ ป้องกันอัคคีภัย เพื่อให้ เกิดทักษะทางวิชาชีพ การเรียนรู้โดยเสริมทักษา การคิด วิเคราะห์และ ทักษะทางวิชาชีพมากขึ้น ปรับกิจกรรมให้เหมาะสม กับผู้เรียน เพื่อให้เกิด ทักษะทางวิชาชีพ

- พานักศึกษาไปฝึกปฏิบัติการดับเพลิง ขั้นต้นด้วยตนเองที่สถานีดับเพลิง จัดการเรียนการสอนแบบ Problem base learning มอบหมายงานให้สืบเสาะหาความรู้ และ นามาจัดทาเป็นโมเดล สถานที่จัดเก็บวัตถุ อันตราย

รายวิชาในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ภาคการศึกษา รายวิชาที่ปรับปรุง การปรับปรุง 1/2563 601421 มาตรฐานระดับชาติและ การจัดการเรียนการสอนเนื้อเพิ่มเติมให้ สากลสาหรับการจัดการ ระบบคุณภาพ สอดคล้องกับข้อกาหนด ISO 45001 สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและอาชีวอ นามัย 601315 ฝึกประสบการณ์ภาคสนาม มีการจัดการประเมินทักษะศตวรรษที่ 21ใน


82 สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

นักศึกษารายบุคคลและรายกลุ่ม ในช่วงก่อน, ระหว่าง และหลังการฝึกปฏิบัติการ 601322 ความปลอดภัยในงาน มีการเพิ่มช่องทางในการเรียนรู้ผ่านห้องเรียน อุตสาหกรรม Online เช่น การใช้โปรแกรม NRRU elearning, Google classroom 601411 การระบายอากาศในงาน เพิ่มเนื้อหาให้ทันสมัยและสอดคล้องกับ อุตสาหกรรม สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด19 เช่น การใช้ตู้ชีวนิรภัยตาม Class ที่เหมาะสม 601323 อาชีวเวชศาสตร์ขั้นมูลฐาน เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญและเป็นผู้ตรวจ ประเมิน บรรยายในหัวข้อ โครงการปลอดโรค ปลอดภัยกายใจเป็นสุขในสถานประกอบการ 601225 วิศวกรรมความปลอดภัยใน เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ บรรยายในหัวข้อ งานอุตสาหกรรม ความปลอดภัยในการทางานกับไฟฟ้า 601430 มาตรฐานระดับชาติและ การจัดการเรียนการสอนเนื้อหาเพิ่มเติมให้ สากลสาหรับการจัดการ ระบบคุณภาพ สอดคล้องกับข้อกาหนด ISO 45001 และมี สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและอาชีวอ การปรับปรุงเนื้อหาตามข้อกาหนดระบบ นามัย มาตรฐานให้มีความทันสมัยจานวน 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐาน ISO 45001 และ มาตรฐานระบบ GSP 601327 การเก็บตัวอย่างและการ เพิ่มเนื้อหาเรื่องการเลือกใช้และการทดสอบ วิเคราะห์ทางด้านสุขศาสตร์ อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจให้ อุตสาหกรรม เหมาะสมกับลักษณะงานเสี่ยง 601328 ปฏิบัติการเก็บตัวอย่างและ ให้นักศึกษาได้ทาการฝึกปฏิบัติงานจริงและมี การวิเคราะห์ทางด้านสุขศาสตร์ การจัดการประเมินทักษะศตวรรษที่ 21ใน อุตสาหกรรม นักศึกษารายบุคคลและรายกลุ่ม ในช่วงก่อน, ระหว่าง และหลังการฝึกปฏิบัติการ 601324 การประเมินและจัดการ เพิ่มเนื้อหาการประเมินความเสี่ยงให้ทันสมัย ความเสี่ยง ตามข้อกาหนด มาตรฐาน ISO 45001

2/2563

3. ประธานหลักสูตรติดตาม ตรวจสอบจุดมุ่งหมายรายวิชา แผนการสอน กิจกรรม และการ ประเมินผลการเรียนรู้ และลงนามในเอกสารรายวิชาภายในระยะเวลาที่กาหนดตามปฏิทินการนาส่ง รายงาน มคอ.3, มคอ.4, มคอ.5 และ มคอ.6 รายการ 1. 2. 3. 4.

มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6

วันที่ประธานตรวจสอบลงนาม ภาคศึกษาที่ 1 ภาคศึกษาที่ 2 24 มิถุนายน 2563 23 พฤศจิกายน 2563 17 มิถุนายน 2563 16 พฤศจิกายน 2563 28 พฤศจิกายน 2563 5 พฤษภาคม 2564 28 พฤศจิกายน 2563 23 เมษายน 2564

Check: การประเมินกระบวนการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมประเมินกระบวนการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย ทั้ง 3 ขั้นตอน เมื่อคราวประชุมครั้งที่ 6/2564 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2564 ไม่พบขั้นตอนที่มีปญ ั หา หลักสูตรสามารถดาเนินการได้ตามระบบและกลไกดังกล่าว และยังคงใช้ระบบและกลไกต่อเนื่องในปี การศึกษา 2564


83 Act: การปรับปรุง/พัฒนา

การวางระบบ ผู้สอนและ กระบวนการ จัดการเรียน การสอน (ตัวบ่งชี้ 5.2)

ถึงแม้การประเมินกระบวนการ ระบบและกลไกในปีการศึกษา 2563 ไม่พบปัญหา แต่ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรยังเน้นย้าให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาต้องปรับปรุงเนื้อหารายวิชาให้ ทันสมัยต่อความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้น ๆ อย่างต่อเนื่องทุกปีการศึกษา และในปีการศึกษา 2564 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาต้องปรับกระบวนการเรียนการสอนอย่างชัดเจน โดยเน้นการเรียนการ สอนออนไลน์ซึ่งเป็นการเรียนการสอนที่ทันสมัยและนักศึกษาได้ศึกษาศาสตร์ใหม่ได้ด้วยตนเองอย่าง ต่อเนื่อง มีผลการดาเนินงานในระดับ ปานกลาง (3 คะแนน) 1) การพิจารณากาหนดผู้สอน ตัวชี้วัดความสาเร็จ : - ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการกาหนดผู้สอนรายวิชาในหลักสูตรอยู่ในระดับมาก คะแนน เฉลี่ยมากกว่า 3.51 - ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย มากกว่า 3.51 หลักสูตรได้ดาเนินการตามระบบและกลไกในการวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียน การสอน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดตัวผู้สอนที่มีความรู้ ความสามารถและความเชี่ยวชาญในวิชาที่ สอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่หลักสูตรกาหนด มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ 1.1 จานวนอาจารย์ผู้สอน แบ่งเป็น - ภาคการศึกษาที่ 1 มีอาจารย์ผสู้ อน 13 คน - ภาคการศึกษาที่ 2 มีอาจารย์ผสู้ อน 14 คน 1.2 เกณฑ์ภาระการสอน 1.2.1 การกาหนดอาจารย์ผู้สอน Plan: ระบบและกลไก 1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมพิจารณาวางแผนการจัดการเรียนการสอน การ กาหนดผูส้ อนและผู้รบั ผิดชอบในแต่ละรายวิชา โดยคานึงถึงแผนการศึกษาที่กาหนดไว้ใน มคอ.2 ของ หลักสูตร แผนการจัดการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษาของสานักส่งเสริมวิชาการและงาน ทะเบียนที่ส่งให้หลักสูตร ผลการดาเนินงานของหลักสูตร และข้อเสนอแนะจากปีการศึกษาทีผ่ ่านมา มาเป็นข้อมูลเพื่อกาหนดแนวทางในการกาหนดผู้สอน 2. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกาหนดผูส้ อนรายวิชา โดยพิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา ความรู้ ความชานาญ ประสบการณ์การทางาน ผลงานทางวิชาการ งานวิจัย ประสบการณ์การสอน รวมทั้งผล การพัฒนาสมรรถนะโดยการฝึกอบรมที่สอดคล้องกับเนื้อหารายวิชา ผลการประเมินความพึงพอใจ จากนักศึกษาในปีการศึกษาที่ผ่านมา และจานวนภาระงานสอน 3. กรณีอาจารย์ใหม่ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร กาหนดให้สอนร่วมกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบ รายวิชา 4. ประธานหลักสูตรเสนอรายชื่อผู้สอนในรายงานการจัดสอน จัดสอบ (ทบ.3) เพื่อขอความ เห็นชอบจากคณบดี 5. ประธานหลักสูตรจัดส่งรายงานการจัดสอน จัดสอบ (ทบ.3) ที่คณบดีลงนามเห็นชอบแล้ว ให้แก่สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน


84 Do: การดาเนินงาน ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรมีการดาเนินงานตามระบบและกลไกโดยคณะกรรมการบริหาร หลักสูตร ดังนี้ 1. ภาคการศึกษาที่ 1 ประชุมวางแผนการจัดการเรียนการสอนการกาหนดผู้สอน และ ผู้รับผิดชอบในแต่ละรายวิชาตามแผนการศึกษา เมื่อคราวประชุมครั้งที่ 9/2563 วันที่ 13 พฤษภาคม 2563 ตามลาดับ ณ ห้องประชุม 3 (38.3.28) โดยพิจารณาผู้สอนรายวิชาจาก คุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทางาน งานวิจัย ประสบการณ์การสอน ผลการประเมิน ความพึงพอใจจากนักศึกษาในปีการศึกษาที่ผ่านมา และภาระการสอน มีรายวิชาที่หลักสูตร รับผิดชอบเปิดสอน จานวน 19 รายวิชา มีผสู้ อน 13 คน หลักสูตรจัดทารายงานการจัดสอน จัดสอบ (ทบ.3) เสนอขอความเห็นชอบจากคณบดีในวันที่ 13 พฤษภาคม 2563 และจัดส่ง รายงานการจัดสอน จัดสอบ (ทบ.3) ให้สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนในวันที่ 15 พฤษภาคม 2563 2. ภาคการศึกษาที่ 2 ประชุมวางแผนการจัดการเรียนการสอนการกาหนดผู้สอน แต่ละ รายวิชาตามแผนการศึกษา เมื่อคราวประชุมครั้งที่ 12/63 วันที่ 9 กันยายน 2563 หลักสูตร มีรายวิชาที่รับผิดชอบเปิดสอน จานวน 24 รายวิชา พิจารณาผูส้ อนรายวิชาจากคุณวุฒิ การศึกษา ประสบการณ์การทางาน งานวิจัย ประสบการณ์การสอน ผลการประเมินความ พึงพอใจจากนักศึกษาในปีการศึกษาที่ผ่านมา และภาระการสอน มีผู้สอน 14 คน หลักสูตร จัดทารายงานการจัดสอน จัดสอบ (ทบ.3) เสนอขอความเห็นชอบจากคณบดีในวันที่ 30 กันยายน 2563 และจัดส่งรายงานการจัดสอน จัดสอบ (ทบ.3) ให้สานักส่งเสริมวิชาการและ งานทะเบียนในวันที่ 2 ตุลาคม 2563 นอกนี้หลักสูตรได้มีการเชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ มาบรรยายพิเศษเพิ่มเติมในรายวิชาต่าง ๆ เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้รับการพัฒนามุมมอง ความคิดจากวิทยากรที่หลากหลายความรู้และ ประสบการณ์ เช่น ที่ 1

รายวิชา 601225 วิศวกรรม ความปลอดภัยในงาน อุตสาหกรรม 601412 เทคนิคการ จัดการเหตุฉุกเฉิน ด้านเคมี

วิทยากร อ.เกรียงกมล มงคลเมือง โปรแกรมวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัย นวัตกรรมวิชาชีพ มทร.อีสาน นายเฉลิมศักดิ์ จันทร์กลาง เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ชานาญงาน สานัก ปลัดเทศบาล เทศบาล นครราชสีมา

หัวข้อบรรยาย ความปลอดภัยเกี่ยวกับการทางาน กับไฟฟ้า

3

601413 การป้องกัน และควบคุมอัคคีภัย

- การดับเพลิงขั้นต้น - ผลการประเมินวิทยากรภาพ รวมอยู่ในระดับมากที่สุด คะแนน เฉลี่ย 4.63

4

601421 มาตรฐาน ระดับชาติและสากล สาหรับระบบการ จัดการระบบคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ความ

นายเฉลิมศักดิ์ จันทร์กลาง เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ชานาญงาน สานักปลัดเทศบาล เทศบาล นครราชสีมา นางสาวรุฬิยา หิมะชาติ วิทยากรอิสระ

2

- ฝึกปฏิบัติการจัดการเหตุฉุกเฉิน ด้านสารเคมี - ฝึกปฏิบัติการะงับเหตุสารเคมี รั่วไหล - ผลการประเมินวิทยากรภาพ รวมอยู่ในระดับมากที่สุด คะแนน เฉลี่ย 4.59

- ข้อกาหนดระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ร่วมกับระบบการ จัดการด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย (ISO 14001:2015 และ ISO


85

5

ปลอดภัยและอาชีว อนามัย 601422 การบริหาร งานด้านอาชีวอนามัย

45001:2018) บริษัท สงวนวงศ์ อุตสาหกรรม จากัด

- ศึกษาดูงาน การบริหารงาน ด้านอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย - หลักการและเทคนิคในการ ป้องกันอุบัติเหตุและองค์กร แห่งความปลอดภัย ความพึงใจ ในภาพรวมการเข้าร่วมโคงการ อยู่ในระดับมากที่สุด คะแนน เฉลี่ย 4.80 +0.40

6

601323 อาชีวเวช ศาสตร์ขั้นมูลฐาน

นางสาวประกายรุ้ง วิฤทธิ์ชัย

- โครงการปลอดโรคปลอดภัย กายใจเป็นสุขในสถาน ประกอบการ

Check: การตรวจสอบ ปีการศึกษา 2563 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมเพื่อทบทวน ตรวจสอบ และติดตาม การดาเนินงานตามระบบและกลไกการวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน เมื่อ คราวประชุมครั้งที่ 6/64 วันที่ 23 มิถุนายน 2564 พบว่า 1. หลักสูตรดาเนินการกาหนดผู้สอนตามระบบและกลไกที่กาหนดอย่างครบถ้วนทุกข้อ และได้ จัดทาผังกระบวนการประเมินอาจารย์ผสู้ อน 2. ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการกาหนดผู้สอนรายวิชาในหลักสูตรอยู่ในระดับมาก คะแนน เฉลี่ย 4.39 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผา่ นมา ปีการศึกษา ปีการศึกษา 2559 ปีการศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563

คะแนนเฉลี่ย 4.21 4.31 4.31 4.25 4.39

ระดับความพึงพอใจ มาก มาก มาก มาก มาก

3. ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรอยู่ในระดับมาก คะแนน เฉลี่ย 4.38 และมีแนวโน้มเพิ่มขึน้ จากปีการศึกษาที่ผา่ นมา ปีการศึกษา ปีการศึกษา 2559 ปีการศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563

คะแนนเฉลี่ย 4.21 4.24 4.29 4.23 4.38

ระดับความพึงพอใจ มาก มาก มาก มาก มาก

Act: การพัฒนาปรับปรุง ในปีการศึกษา 2561 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมชี้แจงผลการประเมินอาจารย์ผสู้ อน ผ่านระบบออนไลน์ และติดตามการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะในที่ประชุม เช่น การเพิ่มกิจกรรม ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติมากขึ้น การสร้างแบบตรวจความปลอดภัยเครือ่ งจักรตามกฎหมาย การเตรียม


86 ความพร้อมของผูส้ อนในเนื้อหาที่จะทาการสอน และในปีการศึกษา 2562 คณะกรรมการบริหาร หลักสูตรประชุมชี้แจงผลการประเมินอาจารย์ผู้สอนผ่านระบบออนไลน์ ในคราวประชุมครั้งที่ 10/2563 วันที่ 8 มิถุนายน 2563 ซึ่งประเด็นส่วนใหญ่จะไม่มีผลกระทบต่อเนื้อหาการสอน แต่จะเป็น ประเด็น เช่น การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน อาจารย์พูดช้าลง ปรับสไลด์ให้เข้าใจง่าย เพิม่ ชั่วโมงสอน ในบางรายวิชา และจะติดตามการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะในการประชุมครั้งต่อไป รวมทั้งการ ปรับแก้บางประเด็นใน มคอ.3 และ มคอ.4 ปีการศึกษา 2563 และในปีการศึกษา 2563 ได้นา ข้อเสนอแนะต่างๆมาปรับปรุง ส่งผลให้การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการกาหนดผู้สอน รายวิชาในหลักสูตร ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร มีแนวโน้มดี ขึ้น 1.3 ภาระการสอน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกาหนดผูส้ อนรายวิชาโดยพิจารณาภาระงานด้านการสอนเป็นไป ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยในปีการศึกษา 2563 ภาระการสอนของอาจารย์ ผู้สอนทุกคนเป็นไปตามเกณฑ์ คือ - อาจารย์ที่ไม่ได้ดารงตาแหน่งประเภทผู้บริหาร ภาระการสอนไม่น้อยกว่า 14 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ - อาจารย์ที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการและดารงตาแหน่งประเภทผูบ้ ริหาร ภาระการสอนไม่ น้อยกว่า 7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สรุปภาระการสอนของผู้สอนทุกคนในภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาที่ 2 มีดังนี้ ชื่ออาจารย์

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19.

นางพนิดา เทพชาลี นางสาวอุษาวดี ไพราม นางสาวรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี ดร.พฤมล น้อยนรินทร์ รศ.ดร.พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ ดร.ปาริชาติ วงษ์วริศรา นางสาวนันทนา คะลา ผศ.ดร.ปาริฉัตร เกิดจันทึก ผศ.ดร.อรรถวิทย์ สิงห์ศาลาแสง ผศ.ดร.จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ ผศ.ธวัชชัย เอกสันติ นายนรา ระวาดชัย นางสาวปัณรดา ฐานะปัตโต นางสาวนพเก้า บัวงาม นางสาววราภรณ์ ชาติพหล นางสาวภิษณี วิจันทึก ดร.พัชรี ศรีกุตา นางสาวนฤมล เวชจักรเวร นายจิรวัฒน์ โลพันดุง

ภาระการสอน (ชั่วโมง) ภาคการศึกษาที่ 1 ทฤษฎี ปฏิบตั ิ รวม

ภาระการสอน (ชั่วโมง) ภาคการศึกษาที่ 2 ทฤษฎี ปฏิบตั ิ รวม

6 6 6 2 1.75 4 2.5 4.5 4 5 7 6.25 8 4 4

2 2 3 2 2 2 2 7 2 2 4 2

8 8 6 5 1.75 8 4.5 6.5 6 12 9 8.25 12 4 6

7.5 10.5 5.5 5 4 7.5 4 9 9.5 9.75 7.5 6.5 8 6

5 5 3 8 1.5 8 93.5 2 3 2 5 7 2

12.5 15.5 8.5 13 5.5 15.5 97.5 11 11.5 11.75 12.5 13.5 8 8

4 5.5 8 6

2 3.5 4 7

6 9 12 13

3.5 1.5 4.5 6

7 2.5 6 7

10.5 4 10.5 13

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ลาดับที่ 1 – 5) จะมีภาระการสอนใกล้เคียงกันทั้ง 2 ภาคการศึกษา อยู่


87 ในช่วง 6 – 14 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยลาดับที่ 3, 5 ดารงตาแหน่งประเภทผู้บริหาร 2) การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทา มคอ.3 และ มคอ.4 ตัวชี้วัดความสาเร็จ : - มีประมวลการสอนรายวิชา (มคอ.3/ มคอ.4) ที่ทันสมัยในด้านเนื้อหา กิจกรรมการเรียน การวัดผล และการประเมินผล ก่อนเปิดภาคการศึกษา - อาจารย์ผู้สอนทุกคนแจกประมวลการสอนรายวิชา (มคอ.3/ มคอ.4) ให้นักศึกษา - กากับติดตามให้อาจารย์ผสู้ อนให้ดาเนินการสอนตามประมวลการสอนรายวิชา หลักสูตรดาเนินการตามระบบและกลไกในการจัดทา/การกากับ/ติดตาม/ตรวจสอบ มคอ.3/ มคอ.4 Plan: ระบบและกลไก 1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอนทาความเข้าใจรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) ได้แก่ ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร รวมทั้งต้องทราบและเข้าใจ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตที่หลักสูตรผลิต ทบทวน มคอ.2 ในส่วนของการกระจายความ รับผิดชอบมาตรฐานการเรียนรูจ้ ากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ทั้งความรับผิดชอบ หลัก และความรับผิดชอบรอง ผูร้ บั ผิดชอบต้องปฏิบัตติ ามมาตรฐานการเรียนรู้ (Domain of Learning) ทั้ง 6 ด้านตามที่ระบุไว้ใน มคอ.2 รวมทั้งข้อเสนอแนะจากรายงานผลการดาเนินการของ รายวิชา มคอ.5/มคอ.6 ของปีการศึกษาที่ผ่านมา ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะใช้ประกอบในการจัดทา มคอ.3/ มคอ.4 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอนร่วมกันจัดทารายงาน มคอ.3/มคอ.4 ตาม แบบฟอร์มที่สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนกาหนด 3. ประธานหลักสูตรพิจารณาก่อนลงนามใน มคอ.3/มคอ.4 ให้สอดคล้องกับแผนที่แสดงการ กระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอนร่วมกันปรับปรุงแก้ไข มคอ.3/มคอ.4 ตาม ข้อเสนอแนะของประธานหลักสูตร 5. ดาเนินการจัดส่ง มคอ.3/มคอ.4 รวบรวมที่หลักสูตร ตามปฏิทินการนาส่งแบบรายงาน มคอ.3 และ มคอ.4 ประจาภาคการศึกษาของสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน 6. อาจารย์ผู้สอนดาเนินการแจกประมวลการสอนรายวิชา (มคอ.3/ มคอ.4) พร้อมทั้งชี้แจง เนื้อหา การวัดการประเมินของแต่ละรายวิชาโดยให้นักศึกษามีส่วนร่วม ในสัปดาห์ที่ 1 ของแต่ละภาค การศึกษา 7. มีการกากับติดตามให้อาจารย์ผสู้ อนให้ดาเนินการสอนตามประมวลการสอนรายวิชา โดย คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ระดับหลักสูตร Do: การดาเนินงาน ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรมีการดาเนินงานตามระบบและกลไกในการจัดทา/การกากับ/ ติดตาม/ตรวจสอบ มคอ.3/มคอ.4 ดังนี้ 1. ภาคการศึกษาที่ 1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอนร่วมกันจัดทารายงาน มคอ.3/มคอ.4 ตามระบบและกลไก ลงในแบบฟอร์มที่สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนกาหนด ส่งให้ ประธานหลักสูตรตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรื่อง ปฏิทินการนาส่งแบบรายงาน มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และมคอ.6 ประจาภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เพื่อพิจารณา เนื้อหา ความทันสมัย กิจกรรมการเรียน การวัดและการประเมินผลตามมาตรฐานการเรียนรู้ (Domain of


88 Learning) ทั้ง 5 ด้าน ของหลักสูตร พ.ศ. 2556 และ 6 ด้านของหลักสูตร พ.ศ. 2561 ใน มคอ.3 และ มคอ.4 เพื่อลงนามก่อนเปิดภาคการศึกษา จานวน 19 รายวิชา มคอ. 4 นาส่งถึงหลักสูตรในวันที่ 17มิถุนายน 2563 ส่วน มคอ.3 นาส่งในวันที่ 24 มิถุนายน 2563 ภายหลังการจัดการเรียนการสอน มีคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ระดับหลักสูตรจะพิจารณาตรวจสอบ มคอ.3/มคอ.4 เพื่อให้มั่นใจ ว่ามีการเรียนการสอนตามประมวลรายวิชา 2. ภาคการศึกษาที่ 2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอนร่วมกันจัดทารายงาน มคอ.3/มคอ.4 ตามระบบและกลไก นาส่งประธานหลักสูตรเพื่อตรวจสอบและลงนามก่อนเปิดภาค การศึกษา จานวน 24 รายวิชา โดย มคอ.4 นาส่งในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2563 ส่วน มคอ.3 นาส่ง ภายในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 ภายหลังการจัดการเรียนการสอนคณะกรรมการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ระดับหลักสูตรจะตรวจสอบความสอดคล้องของ มคอ.3/มคอ.4 เพื่อให้มั่นใจว่ามีการเรียน การสอนเป็นไปตามประมวลรายวิชา Check: การประเมินกระบวนการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมประเมินกระบวนการกากับ ติดตาม และตรวจสอบการ จัดทา มคอ.3 และ มคอ.4 ทั้ง 7 ขั้นตอน เมื่อคราวประชุมครั้งที่ 6/2564 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2564พบว่าหลักสูตรดาเนินการตามระบบและกลไกที่กาหนด ส่งผลให้บรรลุตัวชี้วัดในเรื่องประมวล การสอนรายวิชา (มคอ.3/ มคอ.4) ที่ทันสมัยในด้านเนื้อหา กิจกรรมการเรียน การวัดผล และการ ประเมินผล ก่อนเปิดภาคการศึกษา แจกให้นักศึกษาทุกคน และมีการกากับติดตามให้อาจารย์ผู้สอน ให้ดาเนินการสอนตามประมวลการสอนรายวิชา โดยในปีการศึกษา 2563 ในขั้นตอนที่ 3 คณะกรรมการที่ทาการวิพากษ์ มคอ.3 และ มคอ.4 เป็นประธานหลักสูตร Act: การปรับปรุง/พัฒนา ในปีการศึกษา 2562 อาจารย์รับผิดชอบรายวิชา และผูส้ อน ได้นาข้อเสนอแนะจาก คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ระดับหลักสูตร ในปีการศึกษา 2561 มาปรับปรุง มคอ.3 และ มคอ.4 ของปีการศึกษา 2562 ทุกรายวิชา และปรับปรุงเนื้อหา ความทันสมัย กิจกรรมการเรียน การ วัดและการประเมินผลตามมาตรฐานการเรียนรู้ (Domain of Learning) ทั้ง 5 ด้าน ให้สอดคล้องตาม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ในปีการศึกษา 2563 อาจารย์รับผิดชอบรายวิชา และผูส้ อน ได้นาข้อเสนอแนะจากคณะ กรรมการบริหารวิชาการ ประเด็นที่ปรับปรุงคือผลลัพท์การเรียนรู้ จุดมุ่งหมายรายวิชา และกิจกรรม การเรียนการสอน มาปรับปรุง มคอ.3 และ มคอ.4 ของปีการศึกษา 2563 ทุกรายวิชา 2.3 การกากับกระบวนการสอน คุณภาพ/ความ เหมาะสม 1. แผนการสอน

ผู้กากับติดตาม

วิธีการ

ประธานหลักสูตร และ คณะกรรมการฝ่ายจัด การศึกษาและจัดการความรู้

พิจารณารายละเอียดของรายวิชาในรายละเอียดดังนี้ - คาอธิบายรายวิชา - จุดมุ่งหมายรายวิชา - ผลการเรียนรู้ของรายวิชา - แผนการสอนที่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ของรายวิชา - แผนการสอนที่สอดคล้องกับเกณฑ์การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ - การปรับรายละเอียดของแผนการสอน จากผลการ ดาเนินงานรายวิชา (มคอ. 5) ของปีการศึกษา 2562 โดยผู้รับผิดชอบรายวิชาจะปรับปรุงแก้ไขแผนการสอน ตามที่คณะกรรมการ ฯ แนะนา


89 2. การแบ่งน้าหนัก การประเมินผลในแต่ ละโดเมน

ประธานหลักสูตร และ คณะกรรมการฝ่ายจัด การศึกษาและจัดการความรู้

3. วิธีการประเมินผล ของแต่ละโดเมน

ประธานหลักสูตรและ คณะกรรมการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร

4. การทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์

คณะกรรมการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร

พิจารณารายละเอียดของรายวิชาใน มคอ. 3 และ มคอ. 4 พิจารณาน้าหนักคะแนน และเกณฑ์การประเมินของ รายวิชาให้สอดคล้องกับจุดเน้นของวิชา พบว่า ในแต่ละ รายวิชามีการกาหนดวิธกี ารประเมินผลที่หลากหลาย เช่น - คุณธรรมจริยธรรม ประเมินจากการพฤติกรรมของ นักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับ ต่าง ๆ อย่างตอ่เนื่อง การเข้าชั้นเรียน และการส่งงาน ตรงเวลา การไม่ทุจริตในการสอบ ประเมินผลจากการ แสดงความคิดเห็นของนักศึกษาในกรณีตัวอย่างที่ เกี่ยวข้องกับคุณธรรมจริยธรรม การเข้าร่วมกิจกรรม ของนักศึกษา การไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่นและมีการ อ้างอิงผลงานในเอกสารรายงานที่มอบหมายทุกครั้ง เป็นต้น - ความรู้ ประเมินจากการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย โครงการ รายงานที่นาเสนอ และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ/ สหกิจศึกษา เป็นต้น - ทักษะทางปัญญา ประเมินจากการทดสอบย่อย สอบ กลางภาค สอบปลายภาค ชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย โครงการ รายงานที่นาเสนอ และการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ/สหกิจศึกษา เป็นต้น - ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ ประเมินจากพฤติกรรมการทางานร่วมกับ สมาชิกกลุ่มของนักศึกษา ภาวะการเป็นผู้นา และผู้ ตามที่ดี การเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา การ ประเมินตนเอง และผลงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย เป็นต้น - ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินจากการวิเคราะห์ ข้อมูล และแปลผลข้อมูล การนาเสนองาน การทา รายงาน ทักษะการใช้สื่อในการนาเสนอ การทดสอบ ย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค เป็นต้น - ทักษะการฝึกปฏิบัติ ประเมินจากการสังเกตและ ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ทักษะการปฏิบัติใน ห้องปฏิบัติการ หรือสถานการณ์จาลอง การสอบ ภาคปฏิบัติ และผลการดาเนินกิจกรรมหรือโครงการ เป็นต้น คณะกรรมการพิจารณาวิธกี ารประเมินผลของแต่ละ โดเมน วิธกี ารประเมินผลของแต่ละโดเมน จะต้อง สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ของรายวิชา โดยผู้รับผิดชอบ รายวิชาจะปรับปรุงแก้ไขวิธกี ารประเมินผลของแต่ละ โดเมนตามที่คณะกรรมการแนะนา คณะกรรมการดาเนินการทวนสอบในหัวข้อดังต่อไปนี้ - รายละเอียดของรายวิชา - วิธีการวัด ประเมินผลของรายวิชา - ระดับผลการเรียน - ผลการดาเนินงานของรายวิชา (มคอ.5) คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตรรายงาน ผลต่อคณะกรรมการบริหารงานวิชาการ พร้อมทั้งจัดส่ง รายงานผลการทวนสอนให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชา

3) การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับพันธกิจอืน่


90 ตัวชี้วัดความสาเร็จ : - มีการจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการพันธกิจการบริการวิชาการ โดยการมีส่วนร่วม ของนักศึกษา หลักสูตรดาเนินการตามระบบและกลไกในการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการ บูรณาการกับพันธกิจอื่น Plan: ระบบและกลไก 1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกาหนดรายวิชาที่จัดการเรียนการสอน โดยการบูรณาการ กับพันธกิจอื่น 2. ผู้รับผิดชอบรายวิชาดาเนินการตามระบบและกลไกในการจัดทา/การกากับ/ติดตาม/ ตรวจสอบ มคอ.3/มคอ.4 3. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรดาเนินการกากับ/ติดตาม/ตรวจสอบให้เป็นไปตาม มคอ.4 Do: การดาเนินงาน 1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกาหนดรายวิชาฝึกประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม (601351) และรายวิชา ปฏิบัติการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ทางด้านสุขศาสตร์ อุตสาหกรรม (601328) เป็นรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนโดยการบูรณาการพันธกิจการบริการ วิชาการ การวิจัยและการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมโดยการมีสว่ นร่วมของนักศึกษา 2. ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทารายละเอียดของรายวิชา มคอ.4 และ มคอ.3 ตามระบบและกลไก ในการจัดทา มคอ.3/มคอ.4 3. ผู้รับผิดชอบรายวิชาชี้แจงรายละเอียดดาเนินการจัดการเรียนการสอนตามประมวลการสอน รายวิชา (มคอ.4และ มคอ.3) ต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการ ฝึกประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมครั้งที่ 12/63 วันที่ 9 กันยายน 2563 4. หลักสูตรดาเนินการโดยจัดการเรียนการสอน - รายวิชาฝึกประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (601351) ให้กับนักศึกษา ชั้นปีที่ 3 จานวน 38 คน ในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563 และให้นักศึกษานา ความรู้ภาคทฤษฎีไปปฏิบัติจริงในภาคสนาม ณ บ้านเขาพญาปราบ หมู่ 15 ตาบลตะขบ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา โดยรองศาสตราจารย์ ดร.พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ อาจารย์อุษาวดี ไพราม อาจารย์ ดร.ปาริชาติ วงษ์วริศรา ผูร้ ับผิดชอบรายวิชา นักศึกษาลง ไปอยู่ในชุมชน ระหว่างวันที่ 15 – 18 ตุลาคม 2563 เป็นเวลา 4 วัน พักในศูนย์การเรียนรู้ ทุ่งบัวแดง ตาบลตะขบ อาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา รายวิชา (รหัสวิชา/ชื่อ วิชา)

601351 ฝึก ประสบการณ์ วิชาชีพ สาธารณสุข และ สิ่งแวดล้อม

บูรณาการกับพันธ กิจ

บริการวิชาการ

วิธีการบูรณาการ/วิธีการ ประเมินผลความสาเร็จ ของการบูรณาการ

หลักสูตรกาหนดวิธีการบูร ณาการความรู้กับบริการ วิชาการ โดยมี 4 กิจกรรม ดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูลชุมชนโดย ศึกษาข้อมูลปฐมภูมิทั้ง เชิงปริมาณและเชิง คุณภาพและศึกษา

ผลที่เกิดกับนักศึกษา

-นักศึกษาได้มีโอกาสให้ความรู้ เกี่ยวกับความปลอดภัยในครัว เรือนตามสภาพปัญหาที่พบใน แต่ละครัวเรือนที่นักศึกษาได้ ลงไปศึกษาชุมชน เช่น ความ ปลอดภัยในการใช้ก๊าซหุงต้ม ความปลอดภัยในการใช้สารเคมีกาจัดศัตรู การทา 5ส ไฟฟ้า การป้องกันการลื่นล้ม


91

วิจัย

ข้อมูลทุติยภูมิจาก แหล่งต่าง ๆ 2. ศึกษาวิถีชีวิตชุมชน และกิจกรรมชุมชน สัมพันธ์ 3. วินิจฉัยชุมชนและหา แนวทางแก้ไขปัญหา ชุมชน 4. จัดทาและดาเนินงาน โครงการพัฒนา สุขภาพและ สิ่งแวดล้อมชุมชน หลักสูตรประเมินผล ความสาเร็จของการบูรณา การ โดยพิจารณาจาก กิจกรรม 1. การประเมินผล โครงการ 2. การนาเสนอผล โครงการและจัด กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรูภ้ ายในชุมชน และกับชุมชน

พร้อมทั้งทาการปรับปรุงอาคาร บ้านเรือนให้มีความปลอดภัย มากยิ่งขึ้น เกิดกิจกรรม “8 รายการตรวจบ้านปลอดภัย” การคัดแยกและจัดขยะอย่างถูก วิธี และการดูแลสุขภาพผู้ป่วย เรื้อรังด้วยยา 8 ขนาน

หลักสูตรกาหนดวิธีการบูร ณาการความรู้กับงานวิจัย โดยมี 3 กิจกรรม การ สารวจ การพัฒนา และ การประเมิน ดังนี้ 1. การสารวจ ระยะที่ 1 การสารวจใช้วิธีสุ่ม ตัวอย่างอย่างง่าย จานวน 120 คน 2. การพัฒนา ระยะที่ 2 กาหนดเป้าหมายในการ พัฒนาครัวเรือน 12 หลัง เพื่อพัฒนาเป็นบ้าน ต้นแบบในการจัดการขยะ ในครัวเรือน 3. การประเมิน ระยะที่ 3 ประเมินผลหลังการพัฒนา จากครัวเรือน 12 หลัง เก็บข้อมูลด้วย แบบสอบถาม

-นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวน การทาวิจัย และได้ไปนาเสนอ ผลงานทางวิชาการ และแข่งขัน ทักษะทางวิชาการ ด้านการวิจัย งานเครือข่ายความร่วมมือด้าน สาธารณสุขศาสตร์และ วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ ๙ “เมืองดอกบัวเกมส์” ระหว่างวันที่ 8-9 มีนาคม พ.ศ.2564 ณ มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี


92 ทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม

หลักสูตรส่งเสริมให้ นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาได้มสี ่วนร่วมใน ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม การทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม ดังนี้ 1. ในระหว่างดาเนิน กิจกรรมได้ส่งเสริมให้ นักศึกษาได้สวดมนต์ ไหว้ พระ ร่วมกัน 2. ในระหว่างดาเนิน กิจกรรมส่งเสริมให้ นักศึกษาได้ร่วมทาความ สะอาดบริเวณวัดบ้านเขา พญาปราบ 3. ในระหว่างดาเนิน กิจกรรมนักศึกษาได้เข้า ร่วมกิจกรรมทอดกฐิน สามัคคี ที่วัดบ้านเขาพญา ปราบ

- รายวิชา ปฏิบตั ิการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม (601328) ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 3 จานวน 38 คน ในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563 และให้นักศึกษานา ความรู้ภาคทฤษฎีไปปฏิบัติจริงในภาคสนาม ดังแสดงตามตารางดังนี้ รายวิชา (รหัสวิชา/ชื่อวิชา)

601328 ปฏิบัติการเก็บ ตัวอย่างและการ วิเคราะห์ทางด้าน สุขศาสตร์ อุตสาหกรรม

บูรณาการกับ พันธกิจ

วิธีการบูรณาการ/วิธีการประเมินผลความสาเร็จของ การบูรณาการ

บริการวิชาการ หลักสูตรกาหนดวิธีการบูรณาการความรู้กับบริการ วิชาการ โดยมีกิจกรรมให้นักศึกษาได้ ทาการตรวจวัด สภาพแวดล้อมในการทางานในสถานประกอบการ ดังนี้ 1.บริษัท นครราชสีมาสิริโชคชัย จากัด 2.บริษัท แวนการ์ด ฟู้ดส์ 3.บริษัท อิชิคิวฟูด (ประเทศไทย) จากัด 4. บริษัท ลองจิ้น (ประเทศไทย) จากัด 5. บริษัท เจ. เอ็ม. ที. ลาบอเรตอรีส จากัด 6. บริษัท เคี้ยงรุ่งเรืองออโต้พาร์ท (2001) จากัด 7. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา 8. บริษัท โรงสีกิตติศักดิ์ จากัด

Check: การประเมินกระบวนการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมประเมินระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชาฝึกประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (601351) ที่มีการบูรณาการพันธ กิจการบริการวิชาการ ทั้ง 3 ขั้นตอน เมื่อคราวเข้ารับฟังการนาเสนอผลการฝึกประสบการณ์ ภาคสนามสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 3อาคาร 38 วันที่ 20 ตุลาคม 2563 และนักศึกษาได้มีการนาเสนอผลงานทางวิชาการ และแข่งขันทักษะทางวิชาการ ด้านการวิจัย งาน


93 เครือข่ายความร่วมมือด้าน สาธารณสุขศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 9 “เมืองดอกบัวเกมส์” ระหว่างวันที่ 8-9 มีนาคม พ.ศ.2564 ณ มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี ไม่มีข้อบกพร่องใด ๆ หลักสูตรดาเนินงานบรรลุตัวชี้วัดที่ต้องมี การบูรณาการการเรียนการสอนร่วมกับพันธกิจการบริการวิชาการ การวิจัย การทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม โดยการมีส่วนร่วมของนักศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมประเมินระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชาปฏิบัติการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม (601328) มีการบูร ณาการพันธกิจการบริการวิชาการ โดยทางหลักสูตรได้จัดทารายงานการตรวจวัดสภาพแวดล้อมที่ สอดคล้องกับกฏหมายที่กาหนด เพื่อให้สถานประกอบการนาส่งหน่วยงานราชการต่อไป Act: การปรับปรุง/พัฒนา ในปีการศึกษา 2563 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบรายวิชาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้การจัดการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2563 และจัดการเรียนการสอนร่วมกับบูรณาการพันธกิจบริการวิชาการ งานวิจัย และทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม และเน้นทางด้านวิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเป็นหลัก 4) การจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัติ ในระดับปริญญาตรี ตัวชี้วัดความสาเร็จ : - มีการจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัตจิ ริง Plan: ระบบและกลไก คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกาหนดรายวิชา 601452 สหกิจศึกษา เป็นรายวิชาที่มีการฝึก ปฏิบัติ มอบหมายผู้รับผิดชอบรายวิชาดาเนินการจัดทา มคอ.4 และมีการกากับ/ติดตาม/ตรวจสอบให้ เป็นไปตาม มคอ.4 ร่วมกับคณะกรรมการสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัย มีระบบและกลไกดังนี้


94 - ก่อนปฏิบัติงาน

- ระหว่างฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา


95

- หลังฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา นักศึกษารายงานตัวกับอาจารย์นิเทศ ส่ งเอกสารผลประเมินของสถานประกอบการและเล่มรายงาน หลักสูตรจัดประชุมนาเสนอผลการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา คณะกรรมการบริ หารหลักสูตรและคณาจารย์นิเทศพิจารณาคัดเลือกตัวแทน ผูน้ าเสนอโครงงาน/งานวิจยั ในระดับมหาวิทยาลัย นักศึกษานาผลงานเข้าร่ วมประกวดผลงานสหกิจศึกษากับมหาวิทยาลัย อาจารย์นิเทศสรุ ปผลประเมินนักศึกษาสหกิจ เสนอต่อคณะกรรมการสหกิจศึกษา ผ่านประธานหลักสู ตร


96 Do: การดาเนินงาน 1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีประชุมเพื่อมอบหมายให้อาจารย์พนิดา เทพชาลี ประธาน หลักสูตร เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา 601452 สหกิจศึกษา 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา แจ้งกาหนดการรับสมัครนักศึกษาเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา ของมหาวิทยาลัย และรวบรวมเอกสารส่งทีส่ านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ภายในวันที่ 30 สิงหาคม 2563 3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทา มคอ.4 ส่งประธานหลักสูตร ในวันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 และดาเนินการตามระบบและกลไกในรายวิชาสหกิจศึกษา 4. หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนรายวิชาสหกิจศึกษา ให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จานวน 73 คน ที่สมัครเข้าร่วมโครงการและลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ระยะเวลาการฝึก 640 ชั่วโมง เริ่มตั้งแต่วันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 ถึงวันที่ 12 มีนาคม 2564 ฝึก ปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบกิจการ จานวน 43 แห่ง 5. หลักสูตรมอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติโดยการบูรณาการความรู้ที่ได้จากการศึกษาใน หลักสูตรปฏิบัติงานจริงเสมือนเป็นพนักงาน ได้แก่ การจัดทาโครงการ การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน การเขียนรายงานโครงการ และการนาเสนอโครงการตามคาแนะนาของพนักงานที่ปรึกษา อาจารย์ที่ ปรึกษาหรืออาจารย์นิเทศ เพื่อให้เกิดทักษะ องค์ความรู้ในวิชาชีพและคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ มี ลักษณะนิสัยหรือบุคลิกภาพที่จาเป็นต่อการปฏิบตั ิงาน 6. นักศึกษาได้มีการนาเสนอผลการดาเนินงานระหว่างฝึกปฏิบัตติ ามทีไ่ ด้มอบหมายแก่ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรในวันที่ 23 มีนาคม 2564 โดยปีการศึกษา 2563 ยกเลิกการจัดงาน สัมมนาหลังออกสหกิจเนื่องจากมีการระบาดของโรคปอดอักเสบรุนแรงจากเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ ใหม่ (COVID-19) แต่ให้นักศึกษานาส่งผลงานโปสเตอร์และรายงานโครงการในเว็บไซต์สหกิจศึกษา http://www.misapro.nrru.ac.th/coop/detail/home.php เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการสหกิจ ศึกษาของมหาวิทยาลัยในวันที่ 25 มีนาคม 2564 7. หลักสูตรประเมินผลการปฏิบัติงานสหกิจของนักศึกษา ดังนี้ - ส่วนที่ 1 การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรม การอบรมเตรียมความพร้อมก่อนออกสหกิจศึกษา การปฐมนิเทศนักศึกษา การสัมมนา หลังออกสหกิจศึกษา และปัจฉิมนิเทศ ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการ เรียนสอนในรายวิชาของนักศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก คะแนนมากว่า 3.51 โดยมี ข้อเสนอแนะ ให้มีฐานข้อมูลรายชื่อสถานประกอบการเพื่อให้นักศึกษาได้ตดิ ต่อขอออก ฝึกสหกกิจ การแจ้งข่าวสารที่รวดเร็ว ให้นักศึกษาออกฝึกสหกิจศึกษาในต่างจังหวัด การสอนศัพท์เทคนิคและเฉพาะทาง การอบรมโปรแกรม excel จัดกิจกรรมเตรียม ความพร้อมให้มากขึ้น และให้นักศึกษาจัดทาโครงการก่อนออกปฏิบตั ิสหกิจศึกษา - ส่วนที่ 2 การประเมินผลการศึกษา จะประเมินจากผลการประเมินจากอาจารย์นิเทศสห กิจศึกษา ร้อยละ 40 ผลการประเมินจากสถานประกอบการ ร้อยละ 30 พบว่าพนักงานที่ ปรึกษา (พี่เลี้ยง) มีความพึงพอใจต่อกระบวนการดาเนินงานของสหกิจศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับดี มีข้อเสนอแนะให้ควรเพิ่มทักษะเกีย่ วกับการประเมินความสอดคล้องของกฎหมาย การ ใช้ภาษาอังกฤษ การใช้โปรแกรม Microsoft Office และทักษะการนาเสนองาน และ ผลการประเมินจากคณะอนุกรรมการสหกิจศึกษา ร้อยละ 30 Check: การประเมินกระบวนการ หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัติในรายวิชา 601452 สหกิจศึกษา ซึ่ง บรรลุตามตัวชี้วัดความสาเร็จที่กาหนดไว้ นอกนี้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้มีการประชุมทบทวน กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาสหกิจศึกษา ในคราวประชุม ครั้งที่ 3/64 วันที่ 24 มีนาคม 2564 ไม่พบข้อบกพร่องในกระบวนการ แต่พบปัญหาที่เกิดจากปัจจัยส่วน


97 บุคคล ที่ทางหลักสูตรไม่สามารถเข้าไปจัดการแก้ไขได้ และได้มีการนาผลการประเมินการฝึกสหกิจ ศึ ก ษาจากผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ซึ่ ง ได้ แ ก่ สถานประกอบการ นั ก ศึ ก ษา อาจารย์ นิ เ ทศ และ คณะอนุกรรมการสหกิจศึกษา มาปรับปรุงแก้ไขรายวิชาด้วย Act: การปรับปรุง/พัฒนา ในปีการศึกษา 2563 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้นาข้อเสนอแนะจากการฝึกศึกษาสห กิจศึกษาในปีการศึกษา 2562 มาดาเนินการเพิ่มเติมและเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาค การศึกษาที่ 1 ก่อนออกไปฝึกสหกิจ ในภาคการศึกษาที่ 2 ในรายวิชา 601352 เตรียมฝึก ประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัย ได้แก่ การเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ กฎหมายและมาตรฐานต่าง ๆ การสุขศึกษาด้านอาชีวอนามัย การวิเคราะห์แผนงานโครงการ เทคนิค การตรวจความปลอดภัย หลักการและวิธีการเก็บตัวอย่าง เทคนิคการรวบรวม วิเคราะห์ และจัดทา รายงานอุบัติเหตุในสถานประกอบการ และการจัดการสารเคมีอันตราย นอกจากนี้ยังมีการอบรม ระบบมาตรฐานสากล ISO 45001 โดยในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรจะนาข้อเสนอแนะจากการ ฝึกสหกิจศึกษาในปีการศึกษา 2563 มาปรับปรุงเพิ่มเติมในรายวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ การประเมิน ผู้เรียน (ตัวบ่งชี้ 5.3)

มีผลการดาเนินงานในระดับปานกลาง (3 คะแนน) 1) การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตัวชี้วัดความสาเร็จ : - ทุกรายวิชาในหลักสูตรมีการจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรูเ้ ป็นไปตามการกระจาย ความรับผิดชอบมาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping) ทั้ง ความรับผิดชอบหลัก และความรับผิดชอบรองของหลักสูตรใน มคอ.2 หลักสูตรได้กาหนดระบบและกลไกในการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ อุดมศึกษาแห่งชาติ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้รายวิชาที่จัดการเรียนการสอนสามารถพัฒนาผู้เรียนให้ เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ทหี่ ลักสูตรกาหนด Plan: ระบบและกลไก หลักสูตรมีการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาตามระบบและกลไกดังนี้ 1. ก่อนเปิดภาคเรียน หลักสูตรจัดประชุมชี้แจงให้อาจารย์ผสู้ อนทุกท่านจัดทาแผนการ เรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) ของแต่ละรายวิชาซึ่งจะต้องจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้ให้ เป็นไปตามความรับผิดชอบของรายวิชาที่กาหนดไว้ใน Curriculum mapping ของหลักสูตรใน มคอ.2 โดยต้องพิจารณาว่ารายวิชาที่รับผิดชอบนั้นต้องพัฒนาผู้เรียนให้ได้ตามมาตรฐานด้านใด และ ข้อย่อยใดบ้างตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) 5 ด้าน 2. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผสู้ อนจัดทา มคอ.3 และ มคอ.4 โดยออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้และการประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละมาตรฐานตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา 3. อาจารย์ผสู้ อนออกแบบกิจกรรมและสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของ นักศึกษาตามสภาพจริง โดยใช้เครื่องมือที่มีความหลากหลาย เช่น ข้อสอบปรนัย อัตนัย แบบฝึกหัด รายงานที่ได้รับมอบหมาย การสังเกตพฤติกรรมนักศึกษา เป็นต้น 4. ประธานหลักสูตรตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ และติดตามการส่ง มคอ.3 และมคอ.4 ทุกรายวิชา 5. สัปดาห์แรกของภาคการศึกษา อาจารย์ผู้สอนทาการชี้แจงรายละเอียดรายวิชา/เกณฑ์ การประเมิน/เครื่องมือในการประเมินหรือการวัดผล ฯลฯ ให้นักศึกษาทราบและมีส่วนร่วม โดย อาจารย์และนักศึกษาร่วมกาหนดวิธีและเครื่องมือการประเมิน หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อตกลง ให้


98 นามาปรับแก้ไขใน มคอ.3 และ มคอ.4 6. ระหว่างภาคการศึกษา อาจารย์ผู้สอนมีการดาเนินการสอนตาม มคอ.3 และ มคอ.4 7. อาจารย์ประเมินผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรู้ของนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิทั้ง 5 โดเมน โดยเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 8. นักศึกษาประเมินตนเองตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิทั้ง 5 โดเมน 9. อาจารย์ผู้สอนจัดทาผลการดาเนินงานรายวิชา มคอ.5 และ มคอ.6 โดยมีการวิเคราะห์ผล การเรียนรู้และพิจารณารายวิชาทีน่ ักศึกษามีผลการเรียนผิดปกติ ตลอดจนปัญหาที่เกิดขึ้นจากการ จัดการเรียนการสอน เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางปรับปรุงแก้ไข 10. อาจารย์ผสู้ อนส่งรายงานผลการดาเนินงานรายวิชา ทั้ง มคอ.5 และ มคอ.6 ให้กับผู้ ประสานที่หลักสูตรมอบหมาย รวบรวมส่งให้ประธานหลักสูตร ตรวจสอบและลงนามภายใน 30 วัน หลังเสร็จสิ้นปีการศึกษา 11. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรประชุมเพื่อสรุปปัญหาในการจัดการเรียนการสอนประจา ภาคการศึกษาและจัดทารายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตร มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังหมดภาค การศึกษา Do: ผลการดาเนินการ จากผลการดาเนินงานในปีการศึกษา 2563 ดังนี้ 1. หลักสูตรจัดประชุมชี้แจงให้อาจารย์ผู้สอนทุกท่านจัดทาแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) ในการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรครั้งที่ ครั้งที่ 9/2563 วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ.2563 ณ ห้องประชุม 3 (38.3.28) 2. อาจารย์ผสู้ อนในหลักสูตรได้จดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) ส่ง ประธานหลักสูตรตามระยะเวลาทีก่ าหนดให้ได้จัดการเรียนการสอนตามแผนการเรียนรู้ และ ประเมินผลการเรียนรู้ (Learning outcome) ที่กาหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) ของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต อาชีวอนามัยและความปลอดภัย หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ทั้งหมด 6 ด้าน ดังนี้ ด้าน 1. คุณธรรม จริยธรรม

วิธีการสอน/การจัดการเรียนรู้ 1. สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับ คุณธรรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทาง วิชาการและวิชาชีพ ในการสอนทุก รายวิชา 2. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย เน้นการเข้าชั้นเรียนและส่งงานตรง เวลา การแต่งกายให้เป็นไปตาม ระเบียบของมหาวิทยาลัย 3. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อเปิด โอกาสให้นกั ศึกษาการแสดงออกถึง ความเสียสละ จิตอาสา และการ บาเพ็ญประโยชน์ 4. ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกีย่ วข้อง กับประเด็นด้านคุณธรรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ พร้อมทั้งอภิปรายในชั้นเรียน 5. ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างใน เรื่องการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล ภายในสื่อการสอนทุกครั้ง

วิธีวัดและประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับ ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง 2. ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน และการ ส่งงานตรงเวลา 3. ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ 4. ประเมินผลจากกรณีศึกษา และการ แสดงความคิดเห็นของนักศึกษาในกรณี ตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรมจริยธรรม 5. พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรม ของนักศึกษา 6. พิจารณาจากการไม่คัดลอกผลงาน ของผู้อื่นและมีการอ้างอิงผลงานใน เอกสารรายงานที่มอบหมายทุกครั้ง


99 2. ความรู้

3. ทักษะทางปัญญา

4. ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ

1. จัดรูปแบบการสอนที่หลากหลาย เช่น การบรรยาย อภิปรายกลุ่ม การ สาธิต การฝึกปฏิบัติ สถานการณ์ จาลอง กรณีศึกษา การเรียนแบบ ร่วมมือ การเรียนแบบใช้ปัญหาเป็น ฐาน การเรียนโดยการค้นคว้าด้วย ตนเอง เป็นต้น โดยเน้นหลักการทาง ทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ ความรู้ และจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. มอบหมายให้ทารายงานและ นาเสนอหน้าชั้นเรียน 3. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์ จริงหรือจากผู้มีประสบการณ์ตรง โดย การ ศึกษาดูงาน การฝึกประสบการณ์ หรือเชิญวิทยากรมาบรรยายในหัวข้อ ต่าง ๆ 4. ให้นักศึกษาจัดกิจกรรมหรือ โครงการ โดยนาหลักการทางทฤษฎี มาประยุกต์ใช้ 1. จัดรูปแบบการสอนที่หลากหลาย เช่น อภิปรายกลุ่ม การสาธิต การฝึก ปฏิบัติ สถานการณ์จาลอง กรณีศึกษา การเรียนแบบร่วมมือ การเรียนแบบ ใช้ปัญหาเป็นฐาน การเรียนโดยการ ค้นคว้าด้วยตนเอง เป็นต้น โดยเน้น หลักการทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ และจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. ใช้กรณีศึกษา ให้นกั ศึกษาค้นคว้า มีการอภิปรายเกีย่ วกับประเด็นต่าง ๆ และร่วมกันสรุปประเด็นสาคัญของ การเรียน 3. มอบหมายงานศึกษาปัญหาด้าน อาชีวอนามัยและความปลอดภัยใน สถานประกอบกิจการ โดยใช้หลักการ วิจัย 4. มอบหมายให้มกี ารศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง การจัดทารายงาน และ การนาเสนอหน้าชั้นเรียน 5. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร หรือ มอบหมายงานให้นักศึกษาได้จัดทา กิจกรรม หรือโครงการพัฒนาสุขภาพ ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 6. ให้นักศึกษาปฏิบัตกิ ารจาก สถานการณ์จริง 1. กาหนดการทางานกลุ่ม โดยให้ หมุนเวียนการเป็นผู้นาและการเป็น สมาชิกกลุ่ม 2. ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม หลักสูตรของคณะ และมหาวิทยาลัย

1. ประเมินจากแบบทดสอบ ได้แก่ การ ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบ ปลายภาค 2. ประเมินจากชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย 3. ประเมินจากโครงการ รายงานที่ นาเสนอ 4. ประเมินผลจากการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ

1. ประเมินจากแบบทดสอบ ได้แก่ การ ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบ ปลายภาค 2. ประเมินจากชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย 3. ประเมินจากโครงการ รายงานที่ นาเสนอ 4. ประเมินผลจากการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ/สหกิจศึกษา

1. ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นา และผู้ตามที่ดี ติดตามการทางานร่วมกับ สมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรม 2. พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของ


100 3. การมอบหมายงานที่ต้องมีการหา ข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้ที่มีประสบการณ์ 4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ ที่ส่งเสริมการทางานเป็นทีม 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

6. ทักษะการฝึกปฏิบตั ิ

1. สอนโดยใช้สื่อนาเสนอที่น่าสนใจ และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. แนะนาเทคนิคการสืบค้นข้อมูล และแหล่งข้อมูล 3. มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้น ข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การใช้เทคนิคทางด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย การแปลผลข้อมูล ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ และ นาเสนอผลงาน 4. ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียง ข้อมูลและนาเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ถูกต้อง 5. การจัดการเรียนสอนด้วย ภาษาไทยและภาษาอังกฤษผสมผสาน กัน เพื่อให้นกั ศึกษามีทกั ษะทางภาษา 1. การสาธิต และฝึกปฏิบัติใน ห้องปฏิบัติการ 2. การแสดงบทบาทสมมติ และการ ฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จาลอง 3. การฝึกประสบการณ์/สหกิจศึกษา ในแหล่งฝึก 4. สนับสนุนการเข้าประกวด แข่งขัน ทักษะทางวิชาการด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย 5. มอบหมายให้จัดกิจกรรมหรือ โครงการด้านอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย 6. กิจกรรมเสริมหลักสูตรโครงการจิต อาสาในสถานประกอบกิจการ เพื่อให้ นักศึกษาได้เรียนรู้จากประสบการณ์ จริง

นักศึกษา 3. ประเมินผลจากแบบประเมินตนเอง และกิจกรรมกลุ่ม ในประเด็นที่เกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์ การทางานเป็นทีม และความ รับผิดชอบต่อหน้าที่ 4. ผลงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย 1. รายงาน และการนาเสนอผลงานใน ชั้นเรียน 2. ผลการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ และการนาเสนองานโดยใช้ เทคโนโลยี 3. การทดสอบย่อย สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค

1. สังเกตและประเมินพฤติกรรมการ ปฏิบัติงาน โดยใช้แบบประเมิน โดย พนักงานที่ปรึกษา อาจารย์นิเทศ 2. ประเมินทักษะการปฏิบัติใน ห้องปฏิบัติการ หรือสถานการณ์จาลอง 3. การสอบภาคปฏิบัติ 4. ผลการดาเนินกิจกรรมหรือโครงการ

3. มีการกาหนดวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายใน มคอ.3 และ มคอ.4 อย่าง ชัดเจน เช่น การสอน การมอบหมายงานให้ค้นคว้าด้วยตนเอง หรือการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม เป็นต้น ส่วนในกรณีที่มีอาจารย์ผู้สอนหลายคนในรายวิชาเดียวกัน กาหนดให้อาจารย์ผสู้ อนประชุม ร่วมกัน เพื่อวางแผนการจัดการเรียนการสอน การออกแบบสื่อการสอน การวัดและประเมินผลการ เรียนการสอนให้มมี าตรฐานเดียวกัน โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการกาหนดเกณฑ์การ ประเมิน เช่น ประเมินผลจากการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาในชั้นเรียน ประเมินผลจากการส่ง แบบฝึกหัดทีไ่ ด้รับมอบหมายในชั้นเรียน ประเมินผลจากการถาม-ตอบในชั้นเรียน หรือประเมินผลจาก การนาเสนอหน้าชั้นเรียน เป็นต้น เมื่อสิ้นภาคการศึกษามีการประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของ นักศึกษาโดยประเมินตนเองและโดยผูส้ อนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิทั้ง 5 โดเมน ส่วนการประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาสหกิจศึกษา จะเป็นการประเมินจากแหล่งฝึก อาจารย์นิเทศ รายงานสหกิจศึกษาและการนาเสนอผลการปฏิบัติสหกิจศึกษา


101 4. ประธานหลักสูตรตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ และติดตามการส่ง มคอ.3 และมคอ.4 ทุกรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอนภาคเรียนที่ 1 มคอ.3 จัดส่งภายในวันที่ 24 มิถุนายน 2563 มคอ.4 จัดส่งภายในวันที่ 17 มิถุนายน 2563 และภาคเรียนที่ 2 มคอ.3 จัดส่งภายในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 มคอ.4 จัดส่งภายในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2563 5. อาจารย์ผสู้ อนทาการชี้แจงรายละเอียดรายวิชา/เกณฑ์การประเมิน/เครื่องมือในการ ประเมินหรือการวัดผล ฯลฯ ให้นกั ศึกษาทราบและมีส่วนร่วม โดยอาจารย์และนักศึกษาร่วมกาหนดวิธี และเครื่องมือการประเมิน โดยดาเนินการในสัปดาห์แรกของการเรียนการสอนทุกวิชา 6. อาจารย์ประเมินผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรู้ของนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิทั้ง 5 โดเมน และเสนอต่อการประชุมคณะกรรมการบริหารงานวิชาการคณะสาธารณสุขศาสตร์ เมื่อคราว ประชุม วันที่ 23 มิถุนายน 2563 เพื่อพิจารณาผลการศึกษาของนักศึกษาในหลักสูตรประจาภาคเรียน ที่ 1 และรายวิชาที่จะทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา มีมติเห็นชอบ และมอบให้อาจารย์ที่ปรึกษา ติดตามนักศึกษาที่มีผลการเรียนเป็น F อย่างใกล้ชิด ภาคการเรียนที่ 2 ประชุมเพื่อพิจารณาผล การศึกษาของนักศึกษาในหลักสูตร และติดตามผลทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา เมื่อคราวประชุม เวียนคณะกรรมการบริหารวิชาการ ครั้งที่ 6/2564 วันที่ 30 มิถุนายน 2564 โดยมีมติเห็นชอบ 7. นักศึกษาประเมินตนเองตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิทั้ง 5 โดเมน มีระดับคะแนนเฉลีย่ 4.16+0.59 อยู่ในระดับมาก เมือ่ พิจารณารายด้าน พบว่า ทักษะด้านคุณธรรม จริยธรรม มีระดับ คะแนนเฉลีย่ สูงที่สดุ (4.41+0.55) และด้านที่มคี ะแนนเฉลี่ยน้อยที่สดุ คือ ความรู้ (3.92+0.52) 8. อาจารย์ผู้สอนจัดทาผลการดาเนินงานรายวิชา มคอ.5 และ มคอ.6 เมื่อ พบว่าไม่มีผลการ เรียนผิดปกติ หลังจากนั้นจึงรวบรวมส่งให้ประธานหลักสูตร ตรวจสอบลงนาม ภาคเรียนที่ 1 ภายใน วันที่ 28 พฤศจิกายน 2563 สาหรับ และภาคเรียนที่ 2 ภายในวันที่ 23 เมษายน 2564 9. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรประชุมเพื่อสรุปปัญหาในการจัดการเรียนการสอนประจา ภาคการศึกษาและจัดทารายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตร มคอ.7 ในวันที่ 10 กรกฎาคม 2564 Check: การประเมินกระบวนการ ปีการศึกษา 2563 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีการประชุมเพือ่ ทบทวนระบบและกลไก การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ พบว่าไม่มีข้อบกพร่องใน ระบบและกลไกประเมินผลการเรียนรู้ แต่ข้อสังเกตดังนี้ - ขั้นตอนที่ 6 อาจารย์ที่ปรึกษาต้องมีการติดตามนักศึกษาที่ดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกัน ไม่ให้นักศึกษามีผลการเรียนเป็น F ซึ่งจะส่งผลต่อการจบการศึกษาล่าช้า - ขั้นตอนที่ 7 นักศึกษาประเมินตนเองตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิทั้ง 6 โดเมน อยู่ในระดับ มาก และการประเมินเป็นภาพรวมไม่แยกเป็นวิชา นอกจากนี้ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรมีการติดตามตรวจสอบ อาจารย์ผู้สอนทุกคนให้ ปฏิบัติตามเอกสารและทบทวนการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ Curriculum mapping ของรายวิชา และนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ให้สอดคล้องและ ครอบคลุมตามมาตรฐานการเรียนรู้ใน มคอ.2 Act: การปรับปรุง/พัฒนา ในปีการศึกษา 2563 อาจารย์ผู้สอนทุกคนมีการปรับปรุง มคอ.3 และ มคอ.4 โดยนาผลการ ดาเนินงานตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ในปีการศึกษา 2562 มาพิจารณา และรายวิชาในหลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2561 มีการประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแผนการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ 2) การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ตัวชี้วัดความสาเร็จ : - ทุกรายวิชาได้รับการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา


102 การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เห็นว่าการ กาหนดการประเมินผลการเรียนรูแ้ ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของรายวิชาสอดคล้องกับมาตรฐานผล การเรียนรู้ของรายวิชา (Learning outcome) ที่ได้รับมอบหมายให้พัฒนาผู้เรียนตามทีไ่ ด้กาหนดไว้ใน Curriculum mapping หรือไม่อย่างไร Plan: ระบบและกลไก หลักสูตรมีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยมีระบบและกลไกดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ระดับหลักสูตร 2. ประชุมอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ผสู้ อน เพื่อชี้แจงแนวทาง ขั้นตอนและ วิธีการในการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาตั้งแต่ต้นภาคการศึกษา โดยมอบหมาย ให้อาจารย์ผสู้ อนในหลักสูตรทาหน้าที่ในการทวนสอบ รายวิชาที่เปิดสอน และกาหนดรายวิชาที่จะทา การทวนสอบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอน 3. คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ระดับหลักสูตร ประชุมเพื่อกาหนดเครื่องมือในการ ทวนสอบและชี้แจงไปยังผู้รับผิดชอบรายวิชาทุกท่าน 4. เมื่อสิ้นภาคการศึกษา คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ระดับหลักสูตร ดาเนินการทวน สอบตามวิธีการที่กาหนดไว้ และจัดทาสรุปผลการทวนสอบรายวิชาส่งให้ผู้รับผิดชอบรายวิชาทราบผล การทวนสอบ Do: ผลการดาเนินการ ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรดาเนินการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตลอดหลักสูตร (4 ปี) ทั้ง หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556 ทุกรายวิชาที่เหลือให้ครบ และหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 มีการทวนสอบ ทุกรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน 1. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ระดับรายวิชา โดยพิจารณาจากจุดมุ่งหมายรายวิชา วิธีการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ และลักษณะการกระจายของผลสัมฤทธิใ์ นการเรียน ระดับผล การเรียนของนักศึกษา 2. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ระดับหลักสูตร โดยคณะกรรมการ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ปีการศึกษา 2563 ซึ่งมาจากอาจารย์ผู้สอนใน หลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกหลักสูตร โดยใช้เครื่องมือและดาเนินการตาม ขั้นตอนในคู่มือการบริหารหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ปีการศึกษา 2563 มีรายวิชาที่ทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา จานวน 43 วิชา คิดเป็นร้อยละ 100 3. มีการทวนสอบผลการศึกษาที่ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดย คณะกรรมการบริหารงานวิชาการคณะสาธารณสุขศาสตร์ ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง ก่อน นาส่งสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพื่อบันทึกเกรดในระบบแจ้งนักศึกษา ภาค การศึกษาที่ 1 พิจารณาในคราวประชุมครั้งที่ 7/63 วันที่ 12 ธันวาคม 2563 และภาค การศึกษาที่ 2 พิจารณาในคราวประชุมเวียนครั้งที่ 6/64 วันที่ 30 มิถุนายน 2564 Check: การประเมินกระบวนการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประเมินระบบและกลไกการตรวจสอบการประเมินผลการ เรียนรู้ของนักศึกษา ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ในปีการศึกษา 2563 พบข้อบกพร่องในขั้นตอนที่ 4 คือ คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ระดับหลักสูตร ทาการประเมินเมื่อสิ้นปีการศึกษาเพียงครั้งเดียว ไม่ สอดคล้องกับที่กาหนดภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง ซึ่งจะทาให้การส่งสรุปผลการทวนสอบรายวิชาแก่ ผู้รับผิดชอบรายวิชาทราบล่าช้า


103 ในระหว่างการทวนสอบ พบข้อสังเกตในขั้นตอนที่ 3 คือ คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ระดับหลักสูตร ใช้เครื่องมือทวนสอบ เพียง 3 แบบฟอร์ม ได้แก่ 1) แบบประเมินตนเองของนักศึกษา เพื่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ 2) แบบรายงานผลการทวนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ระดับรายวิชา และ 3) แบบสรุปผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ส่วนแบบสังเกตการสอน และแบบสัมภาษณ์นักศึกษา ไม่ได้ถูกนามาใช้ แต่อย่างไรก็ดีการดาเนินการก็บรรลุตัวชี้วัดความสาเร็จ คือ ทุกรายวิชาได้รับการ ตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา Act: การปรับปรุง/พัฒนา ในปีการศึกษา 2563 ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ประจาปีการศึกษา 2563 ของหลักสูตร มีการประชุมวางแผนกาหนดรายวิชาที่จะทวนสอนผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของทุกรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2563 ทัง้ หลักสูตร พ.ศ. 2556และหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ในระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคม 2564 โดยจะนา ประเด็นปัญหาและข้อสังเกตเข้าในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารงานวิชาการ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ เพื่อพิจารณาหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาไปใช้ในปีการศึกษา 2564 ต่อไป 3) การกากับการประเมินการจัดการการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) ตัวชี้วัดความสาเร็จ : - อาจารย์ผู้สอนทุกท่านส่งรายงานการประเมินการจัดการเรียนการสอน (มคอ.5 และ มคอ.6) ตามระยะเวลาที่กาหนด และมีการรายงานผลการประเมินหลักสูตร (มคอ.7) เพื่อใช้ในการ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร หลักสูตรมีการกากับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร (มคอ.5, มคอ.6 และ มคอ.7) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาจารย์ผสู้ อนเห็นความสาคัญของการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ตามแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) โดยมีการวิเคราะห์ถึงปัญหา อุปสรรคในการจัดการเรียนการสอน รายงานในการประเมินการจัดการเรียนการสอน (มคอ.5 และ มคอ.6) Plan: ระบบและกลไก 1. ประชุมอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสูตร เพื่อชี้แจงรายวิชาที่ เปิดสอนในปีการศึกษา 2563 กาหนดเวลาการจัดส่ง มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 14 วัน นับจากวัน ส่งผลการเรียนถึงหลักสูตร ตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรื่อง ปฏิทินการนาส่งแบบ รายงาน มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และมคอ.6 ประจาภาคการศึกษาที่ 1 การศึกษา 2563 และประจา ภาคการศึกษาที่ 2 การศึกษา 2563 รวมทั้งแนวทางการกากับติดตามการประเมินการจัดการเรียนการ สอน และประเมินหลักสูตร 2. อาจารย์ผสู้ อนจัดทารายงานการประเมินการจัดการเรียนการสอน (มคอ.5 และ มคอ.6) ส่งให้กับผู้ประสานงานของหลักสูตร 3. ผู้ประสานงานหลักสูตรรวบรวม มคอ.5 และ มคอ.6 เสนอต่อประธานหลักสูตร เพื่อนัด หมายจัดทารายงานผลการประเมินหลักสูตร (มคอ.7) ภายในระยะเวลาที่กาหนด เพื่อใช้ในการ ประเมินหลักสูตรตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาตามรอบระยะการประเมิน 4. ประชุมเพื่อประเมินระบบและกลไกในการกากับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและ ประเมินหลักสูตร (มคอ.5, มคอ.6 และ มคอ.7) เพื่อนาผลการประเมินมาปรับปรุง


104 Do: ผลการดาเนินงาน ในปีการศึกษา 2563 มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ 1. ประชุมอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสูตร เพื่อชี้แจงรายวิชาที่ เปิดสอนในปีการศึกษา 2563 กาหนดเวลาการจัดส่ง มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 14 วัน นับจากวัน ส่งผลการเรียนถึงหลักสูตร รวมทั้งแนวทางการกากับติดตามการประเมินการจัดการเรียนการสอน 2. อาจารย์ผสู้ อนได้จัดทา มคอ.5 และ มคอ.6 ในแต่ละภาคการศึกษาครบทุกรายวิชา 2.1 ภาคเรียนที่ 1/2563 อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรได้จัดทาและส่ง มคอ.5/มคอ.6 จานวน 19 รายวิชา ครบทุกรายวิชา ภายในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2563 2.2 ภาคเรียนที่ 2/2563 อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรได้จัดทาและส่ง มคอ.5/มคอ.6 จานวน 24 รายวิชา ครบทุกวิชา ภายในวันที่ 5 พฤษภาคม 2564 และ 23 เมษายน 2564 3. อาจารย์ผู้สอนในแต่รายวิชานาผลการประเมิน และให้ข้อเสนอแนะจากนักศึกษาไป ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไป 4. หลักสูตรประชุมสรุปผลการดาเนินงานตามแผน พบว่าทุกรายวิชาได้จดั ทา มคอ.5/มคอ.6 สอดคล้องและสะท้อนผลการเรียนรู้ที่กาหนดใน มคอ.3 และภายใน 14 วัน นับจากวันส่งผลการเรียน ถึงหลักสูตร และหลักสูตรได้จดั ทาการประเมินหลักสูตร มคอ.7 และส่งภายใน 60 วันหลังสิ้นสุดภาค การศึกษา Check: การประเมินกระบวนการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประชุมประเมินระบบและกลไก เมือ่ คราวประชุมครั้งที่ 6/64 วันที่ 23 มิถุนายน 2564 พบว่า หลักสูตรมีการดาเนินการระบบและกลไกในการกากับการประเมิน การจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) ตามที่กาหนดไว้และ บรรลุตัวชี้วัดความสาเร็จที่กาหนดไว้ แต่พบข้อสังเกตในขั้นตอนที่ 2 คือ รายงานการประเมินการ จัดการเรียนการสอน (มคอ.5 และ มคอ.6) รายวิชานอกหลักสูตรทีไ่ ม่สามารถประเมินการจัดการเรียน การสอนได้ครบถ้วน Act: การปรับปรุง/พัฒนา ในปีการศึกษา 2563 อาจารย์ผู้สอนได้นาผลประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมิน หลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) ของปีการศึกษา 2562 มาปรับวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับแผนการเรียนรู้ (มคอ.3) และยังคงนาผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนและ ประเมินหลักสูตร ปีการศึกษา 2563 ไปปรับวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแผนการ เรียนรู้ (มคอ.3) เพื่อนามาใช้ในปีการศึกษา 2564 อย่างต่อเนื่อง


105 2. การประเมินคุณภาพหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ (ตัวบ่งชี้ 5.4) 2.1 ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) ของหลักสูตร ดัชนีบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (1) อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อ วางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร (2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) (3) มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาค การศึกษาให้ครบทุกรายวิชา (4) จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดาเนินงาน ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา (5) จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา (6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ทกี่ าหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ ละปีการศึกษา (7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการ ประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว (8) อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือคาแนะนาด้านการจัดการ เรียนการสอน (9) อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่าง น้อยปีละ 1 ครั้ง (10) จานวนบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาทาง วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี (11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มตี ่อคุณภาพ หลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 (12) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลีย่ ไม่น้อยกว่า 3.5 จากระดับ 5.0 รวมตัวบ่งชี้ที่ต้องประเมิน

2561 2562 2563 2564 2565 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

9

10

10

11

12


106 2.2 รายงานผลการดาเนินงานตามดัชนีบ่งชี้ ผลการดาเนินงาน ดัชนีบ่งชี้

เป็นไป ตาม เกณฑ์

(1) อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อย ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุม เพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการ ดาเนินงาน

(2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/ สาขาวิชา (ถ้ามี)

(3) มีรายละเอียดของรายวิชาและ รายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิด

ไม่เป็นไป ตาม เกณฑ์

รายละเอียด

คณะกรรมการบริหาร หลักสูตร ได้มีการประชุม 11 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 7 ส.ค. 63 ร้อยละ 80 ครั้งที่ 2 วันที่ 9 ก.ย. 63 ร้อยละ 100 ครั้งที่ 3 วันที่ 20 ต.ค. 63 ร้อยละ 100 ครั้งที่ 4 วันที่ 5 พ.ย. 63 ร้อยละ 100 ครั้งที่ 5 วันที่ 2 ธ.ค. 63 ร้อยละ 100 ครั้งที่ 6 วันที่ 27 ม.ค. 64 ร้อยละ 100 ครั้งที่ 7 วันที่ 24 ก.พ.64 ร้อยละ 100 ครั้งที่ 8 วันที่ 24 มี.ค. 64 ร้อยละ 100 ครั้งที่ 9 วันที่ 17 มี.ค. 63 ร้อยละ 100 ครั้งที่ 10 วันที่ 5 เม.ย. 64 ร้อยละ 100 ครั้งที่ 11 วันที่ 13 พ.ค. 64 ร้อยละ 100 รายละเอียดของหลักสูตรฯ (มคอ. 2) สอดคล้องตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ แห่งชาติ โดยได้ดาเนินการ ส่งเข้าระบบ CHECO ของ สกอ.เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2561 และ ได้รับการรับทราบจาก สป.อว. เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2564 หลักสูตรฯ มีการจัดทา มคอ.3 และมคอ.4 ครบทุก รายวิชา ก่อนเปิดภาค การศึกษา และลงนามโดย

เอกสารหลักฐาน รายงานการประชุม

เล่มหลักสูตร

เอกสาร มคอ.3, มคอ.4


107 ผลการดาเนินงาน ดัชนีบ่งชี้ สอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุก รายวิชา (4) จัดทารายงานผลการดาเนินการของ รายวิชา และรายงานผลการ ดาเนินงานของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลัง สิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบ ทุกรายวิชา (5) จัดทารายงานผลการดาเนินการของ หลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วันหลังสิ้นสุดปีการศึกษา

เป็นไป ตาม เกณฑ์

ไม่เป็นไป ตาม เกณฑ์

รายละเอียด

เอกสารหลักฐาน

ประธานหลักสูตร ✔

ส่งภายใน 30 วัน หลักสูตรฯ มีการจัดทา มคอ.5 และมคอ.6 ครบทุก รายวิชา หลังสิ้นสุดภาค การศึกษา และลงนามโดย ประธานหลักสูตร

เอกสาร มคอ.5, มคอ.6

ส่งภายใน 60 วัน วันที่ 10 กรกฎาคม 2564 เป็นไปตามคู่มือการบริหาร หลักสูตร ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิของ มหาวิทยาลัย รายวิชาที่เปิดสอนในปี การศึกษา 2563 ยกเว้น รายวิชาหมวดศึกษาทั่วไป ได้ผา่ นการทวนสอบจาก คณะกรรมทวนสอบ ผลสัมฤทธ์ทุกรายวิชา

เอกสาร มคอ.7 ปีการศึกษา 2563

เอกสาร มคอ.7 ปีการศึกษา 2562

(6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของ นักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กาหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้า มี) อย่างน้อย ร้อยละ 25 ของรายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา

(7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียน การสอน กลยุทธ์การสอน หรือการ ประเมินผลการเรียนรู้จากผลการ ประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว (8) อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการ ปฐมนิเทศหรือคาแนะนาด้านการ จัดการเรียนการสอน

หลักสูตรได้ดาเนินการ ตามผลการประเมินการ ดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว

(9) อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนา ทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่าง น้อยปีละ 1 ครั้ง (10) จานวนบุคลากรสายสนับสนุนการ เรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนา ทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อย กว่าร้อยละ 50 ต่อปี (11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษา ปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มตี ่อคุณภาพ

อาจารย์อุษาวดี ไพราม ได้รับการแต่งตั้งเป็นอาจารย์ ใหม่และอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในปี การศึกษา 2563 อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง สรุปการเข้าประชุม/ร่วม จานวน 5 คน สัมมนาทางวิชาการ สาย วิชาการ บุคลากรสายสนับสนุนได้รับ สรุปการเข้าประชุม/ร่วม การพัฒนาทางวิชาการ สัมมนาทางวิชาการ สาย ร้อยละ 10 สนับสนุน

-คาสั่งแต่งตั้งกรรมการทวน สอบผลสัมฤทธ์ -สรุป/รายงานผลการทวน สอบ

มีความพึงพอใจต่อหลักสูตร รายงานผลการสารวจความพึง ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก พอใจต่อการบริหารหลักสูตร


108 ผลการดาเนินงาน เป็นไป ตาม เกณฑ์

ดัชนีบ่งชี้ หลักสูตร เฉลีย่ ไม่น้อยกว่า 3.5 จาก คะแนนเต็ม 5.0 (12) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่ มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากระดับ 5.0

ไม่เป็นไป ตาม เกณฑ์

รายละเอียด

เอกสารหลักฐาน

4.31±0.74

ของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย

ผู้ใช้บัณฑิตมีระดับความพึง พอใจต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ย 4.39 อยู่ในระดับมาก

ผลการประเมินคุณลักษณะ บัณฑิตที่พึงประสงค์และอัต ลักษณ์บณ ั ฑิต คณะ สาธารณสุขศาสตร์ ปีการศึกษา 2563

รวมตัวบ่งชี้ที่ได้ประเมิน ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ได้ประเมิน จานวนตัวบ่งชี้ในปีนี้ที่ดาเนินการผ่าน ร้อยละของตัวบ่งชีท้ ั้งหมดในปีนี้

12 100.0 12 100.0

3. ปัญหาในการบริหารหลักสูตร ผลกระทบของปัญหาต่อสัมฤทธิผล ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร 1. ขาดบุคลากรทีม่ ีความเชี่ยวชาญใน ไม่มตี าแหน่งทางวิชาการเป็นไป สาขาวิชาชีพ ตามเกณฑ์ ปัญหาในการบริหารหลักสูตร

4. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ (ตัว

บ่งชี้ 6.1)

แนวทางการป้องกันและแก้ไข ปัญหาในอนาคต 1. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับการ ขอตาแหน่งทางวิชาการ 2. ติดตามการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการตาม แผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล

ผลการดาเนินงาน มีผลการดาเนินงานในระดับปานกลาง (4 คะแนน) 1) ระบบการดาเนิน งานของหลั กสู ตร/คณะ/สถาบัน โดยมีส่ วนร่ วมของอาจารย์ป ระ หลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ตัวชี้วัดความสาเร็จ : - การประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อพิจารณาให้มีสิ่งสนับสนุน การเรียนรู้ อย่างน้อย 1 ครั้ง Plan : ระบบและกลไก หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ได้วางระบบ และกลไกเกี่ยวกับการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ดังนี้


109

Do : ผลการดาเนินงาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตร วทบ.อาชีวอนามั ยและความปลอดภัย ได้มีการ ประชุมและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสิง่ สนับสนุนการเรียนรูน้ ักศึกษา อาจารย์ และผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรในปีที่ผ่านมา มาพิจารณาวางแผนความต้องการในปี การศึกษา 2563 (ปีงบประมาณ 2564) โดยดาเนินการดังนี้ 1. คณะกรรมการบริ หารหลั ก สูต ร วทบ.อาชีว อนามั ยและความปลอดภัย ร่ วมกั น พิจารณาและวางแผนในการจัดหาครุภัณฑ์สาหรับห้องปฏิบัติการ งบประมาณ ส าหรั บ การสอบเที ย บเครื่ อ งมื อ วิ ท ยาศาสตร์ งบประมาณในการปรั บ ปรุ ง ห้องปฏิบัติการซึ่งเป็นการดาเนินการตามข้อเสนอแนะจากการตรวจประเมินการ ประกันคุณภาพศึกษาระดับหลั กสูตร ปี 2561 และจัดหาสื่อและวัสดุอุปกรณ์ ประกอบการเรียนการสอน ชั้น 3 อาคาร 38 ในคราวประชุม ครั้งที่ 10/2563 วันที่ 8 มิถุนายน 2563 และบรรจุในแผนปฏิบัติงานงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. มีการปรับปรุงห้องปฏิบัติการสุขศาสตร์อุตสาหกรรม ส่งเครื่องมือวิทยาศาสตร์สอบ เทียบความถูกต้องและความแม่นยา จัดหาวัสดุอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการเก็บตัวอย่าง และการวิเคราะห์สุ ขศาสตร์อุตสาหกรรม ติดตั้งชุดจาลองระบบระบายอากาศ และติดตั้งตู้สาธิตระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ 3. จัดซื้อครุภัณฑ์สาหรับห้องปฏิบัติการ จานวน รายการ ได้แก่ เครื่องตรวจวัด PM 2.5 เครื่องวัดความดันสถิตพิโททิ้ว ตู้เก็บอุปกรณ์ เครื่องวัดความเร็วลม เครื่อง ตรวจจับการรั่วไหลของแก๊ส เครื่องวัดสัดส่วนร่างกาย เครื่องวัดแรงบีบมือแบบเข็ม โต๊ะปฏิบัติการ เก้าอี้ปฏิบัติการ Check: การประเมินกระบวนการ หลักสูตรฯ ได้ดาเนินการประเมินระบบและกลไกในการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ พบว่า ขั้นตอนดังกล่าวมีความเหมาะสมอยู่แล้ว และหลักสูตรดาเนินการตามระบบและกลไกที่ กาหนดอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา และบุคลากรเกี่ยวกับ


110 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เพื่อนาข้อเสนอแนะมาวางแผนพัฒนาปรับปรุงให้ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ครุภัณฑ์ที่มีอยู่ก่อนหน้านี้ ก็มีการให้ตรวจสอบ ซ่อมแซม ให้พร้อมใช้งาน ตลอดเวลา Act: การปรับปรุง/ พัฒนา หลักสูตรฯ ได้ดาเนินการปรับปรุงพัฒนาข้อเสนอเสนอเกี่ยวกับสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ใน ปีการศึกษา 2561 ได้มีการดาเนินการในปีการศึกษา 2562 และ ปีการศึกษา 2563 ทุกข้อ โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากร 2) จานวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2563 หลักสูตรมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการ จัดการเรียนการสอน ซึ่งได้การสนับสนุนทั้งจากคณะและมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาดังนี้ 1. มีห้องเรียนในอาคาร 38 ซึ่งเป็นที่ตั้งของคณะสาธารณสุขศาสตร์ เป็นสัดเป็นส่วนที่ ชั ด เจน นั ก ศึ ก ษาไปต้ อ งไปเรี ย นอาคารอื่ น และภายในห้ อ งเรี ย นมี อุ ป กรณ์ ประกอบการสอนที่พร้อมใช้งาน 2. มีห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมสาหรับการสอนปฏิบัติการทางจุลชีววิทยาและปรสิต วิทยา และห้องปฏิบัติการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่เครื่องมือพร้อม สาหรับ การเรียนการสอน และปรับปรุงห้องปฏิบัติการสุขศาสตร์อุตสาหกรรม 3. มีการจัดซื้อครุภัณฑ์ให้เพียงพอสาหรับการเรียนการสอนทางด้านวิชาชีพ และเป็นไป ตามเกณฑ์ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานที่กาหนดให้มีเครื่องมืออย่างน้อย 1 ชุด ต่อจานวนนักศึกษา 20 คน ลาดับ รายการ 1 เครื่องตรวจวัด PM 2.5 2 เครื่องตรวจจับการรั่วไหลของแก๊ส

จานวน 1 เครื่อง 2 เครื่อง

ราคารวม (บาท) 50,000 127,900

4. มีการจัดสรรงบประมาณสาหรับอาจารย์ผู้สอนในการจัดทาเอกสารประกอบการสอน หรือสื่อการสอนสาหรับแจกให้นักศึกษาในทุกรายวิชาของหลักสูตร 5. มีงบประมาณสนับสนุนนักศึกษาในการจัดทาโครงงานและวิจัยในการฝึกสหกิจศึกษา 6. มีสัญญาณอินเตอร์เน็ต (ระบบไร้สาย ) ที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ในอาคาร 38 เพื่อให้ นักศึกษาสามารถสืบค้นข้อมูล ความรู้ได้ตลอดเวลา 7. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้จัดสรรงบประมาณให้หลักสูตรสาหรับ การเสนอคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศใหม่ ประจาปีงบประมาณ 2564 เพื่อจัดซื้อ หนังสื อประกอบการเรีย นการสอน นอกจากนี้มีก ารยืม หนังสือออนไลน์หรื อต่า ง มหาวิท ยาลัย มีตู้รับคื นหนังสื ออัตโนมัติ มีร ะบบฐานข้อมูล อ้างอิงเพื่อการสืบค้ น จานวนมากทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การอบรมให้ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และ สารสนเทศ โดยเปิดให้บริการทุกวัน 8. มีการขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายในมหาวิทยาเพื่อจัดอบรมหลักสูตรเสริม ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาส าหรั บ น าไปใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ง าน เช่ น การตั ด ต่ อ วิ ดี โ อ การใช้ โปรแกรม Microsoft Office การใช้โปรแกรมอออนไลน์ การติวภาษาอังกฤษเพื่อ สอบ CEFR 9. มีบริการ Fitness Center เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้แก่นักศึกษา 3) กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ ตัวชี้วัดความสาเร็จ :


111 - ความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 Plan: ระบบและกลไก มีการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อติดตามผลการใช้งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง พร้อมการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา และอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เพื่อเป็นข้อมูลนามาประกอบการพิจารณาจัดสรรและ ปรับปรุงอุปกรณ์สนับสนุนการเรียนรู้ให้เพียงพอและพร้อมใช้งานอยู่เสมอ Do: ผลการดาเนินงาน ปีการศึกษา 2563 มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์เกี่ยวกับสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู้ โดยผลการประเมินความพึงพอใจมีรายละเอียดดังนี้ 1. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ชั้น ปี

ปีการศึกษา 2561 ค่าเฉลี่ย S.D.

2 3 4

4.18 4.14 4.03

0.65 0.77 0.96

ระดับ

ปีการศึกษา 2562 ค่าเฉลี่ย S.D.

มาก มาก มาก

3.97 4.23

0.77 0.71

ระดับ

ปีการศึกษา 2563 ค่าเฉลี่ย S.D.

ระดับ

มาก มาก

4.16 4.38 4.23

มาก มาก มาก

0.67 0.66 0.77

เป็ น ผลการประเมิ น ภาพรวมเกี่ ย วกั บ ความพร้ อ มทางกายภาพ เช่ น ห้ อ งเรี ย น ห้องปฏิบัติการ ที่พักของนักศึกษา ความพร้อมของอุปกรณ์ เทคโนโลยี และสิ่งอานวยความ สะดวกหรือทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น อุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด ตารา หนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น แหล่งเรียนรู้ สื่ออิ เล็กทรอนิกส์ซึ่งอยู่ใน ระดับมาก (มากกว่า 3.51) โดยมีประเด็นเรื่องการมีห้องทางานวิจัย (ที่ไม่ใช่ห้องเรียน) เพื่อให้ นักศึกษาเข้าใช้ได้สะดวกในการทาวิจัยมีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุดแต่ยังอยูในระดับมาก 2. ผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ ปีการศึกษา ค่าเฉลี่ย 2559 4.13 2560 4.31 2561 4.11 2562 4.08 2563 4.23

S.D. 0.51 0.67 0.73 0.57 0.59

Check: การประเมินกระบวนการ คณะกรรมการบริ หารหลั ก สูต รฯ ประเมิ น กระบวนการประเมิ นความพึ งพอใจของ นัก ศึ ก ษาและอาจารย์ เ กี่ ย วกั บสิ่ งสนั บ สนุ น การเรี ย นรู้ พบว่า การประเมิน เป็ น ขั้ น ตอนที่ มหาวิทยาลัยกาหนดให้นักศึกษาและอาจารย์ประเมินผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย ซึ่ง ในปีการศึกษาที่ผ่านมามีปัญหา พบว่า ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษามีข้อมูลไม่ ครบทุกชั้นปีดังที่แสดงในตาราง 1. แต่ปีการศึกษา 2563 มีผลการประเมินความพึงพอใจครบ ทุกชั้นปี Act: การปรับปรุง/ พัฒนา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ ประชุมเพื่อพิจารณาผลการประเมินความพึงพอใจและ ข้ อ เสนอแนะของนั ก ศึ ก ษาและอาจารย์ ที่ มี ต่ อ สิ่ ง สนั บ สนุ น การเรี ย นรู้ เพื่ อ วางแผนการ ดาเนินการปรับปรุงหรือแก้ไข โดยประเด็นที่สามารถปรับปรุงได้ทันทีก็จะดาเนินการทันที ประเด็นเกี่ยวข้องกับหน่วยงานอื่นในมหาวิทยาลัยก็จะดาเนินการจัดทาบันทึกข้อความแจ้ง


112 ผู้เกี่ยวข้อง ส่วนประเด็นที่ต้องแก้ไขเองแต่ต้องใช้งบประมาณจานวนมาก จะดาเนินการขอ งบประมาณเพื่อดาเนินในปีงบประมาณต่อไป เช่นในปีการศึกษาที่ผ่านมาเรื่องการปรับปรุง ห้องปฏิบัติการสุขศาสตร์อุตสาหกรรม หมายเหตุ ประธานหลักสูตรสามารถตรวจสอบผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่ มีต่อการให้การดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาได้ที่ http://mis.nrru.ac.th


113 หมวดที่ 6 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผู้ประเมินอิสระ 1. ข้อคิดเห็นหรือสาระที่ได้รับการเสนอแนะจากผู้ประเมิน และความเห็นของผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อ ข้อคิดเห็นหรือสาระที่ได้รับการเสนอแนะ ข้อคิดเห็นหรือสาระ ที่ได้รับการเสนอแนะจากผู้ประเมิน ประจาปีการศึกษา 2561 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา 1. ปรับกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ หลักสูตร เพิ่มช่องทางหรือเทคนิคที่ หลากหลาย โดยการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายเชิงรุก

2. การเตรียมความพร้อมของ นักศึกษาใหม่ ควรวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งปัจจุบันจากผลการเรียนของ นักศึกษาปี 1 ที่ผ่านมา ได้แก่ ปัญหาการติด F การตกออก เป็นต้น และข้อมูลพื้นฐานของนักศึกษาแรก เข้าเพื่อเตรียมโครงการหรือกิจกรรม ให้สอดคล้องกับปัญหา ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและ พัฒนานักศึกษา 3. ควรทบทวนระบบและกลไกการ พัฒนาศักยภาพนักศึกษาและ เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ตาม ศตวรรษที่ 21 โดยเพิ่มขั้นตอนการ พัฒนาทักษะทีจ่ าเป็นจากข้อมูล พื้นฐานตามความต้องการของ นักศึกษา การประเมินจากอาจารย์ และผู้ใช้บัณฑิต เป็นต้น ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.จัดทาแผนพัฒนาตาแหน่งทาง วิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรรายบุคคล

5.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนา ศักยภาพอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรในการเข้าสู่ตาแหน่งทาง วิชาการตามเกณฑ์ใหม่ และกากับ ติดตามให้เป็นไปตามแผน

ความเห็นต่อข้อคิดเห็นหรือ สาระที่ได้รบั การเสนอแนะ ประจาปีการศึกษา 2561 1. ปีการศึกษา 2562 อาจารย์ ในหลักสูตรเข้าร่วม ประชาสัมพันธ์เชิงรุกกับงาน ประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย ในโรงเรียนต่างอาเภอจังหวัด นครราชสีมา

ข้อคิดเห็นหรือสาระ ที่ได้รับการเสนอแนะจากผู้ประเมิน ประจาปีการศึกษา 2562 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา 1. แบบประเมินความพึงพอใจยังไม่ ครอบคลุม

ความเห็นต่อข้อคิดเห็นหรือ สาระที่ได้รบั การเสนอแนะ ประจาปีการศึกษา 2562 1. หลักสูตรได้นาผลจาก การแนะนามาปรับปรุงแบบ ประเมินความพึงพอใจให้มี เนื้อหาคลอบคลุมในเนื้อหา เรื่องกระบวนการรับนักศึกษา

2. หลักสูตรได้นาผลการ วิเคราะห์ผลการเรียน ปัญหามา เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม เตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่

3. หลักสูตรได้นาข้อมูลความ ต้องการของนักศึกษา การ ประเมินอาจารย์และผลจากผู้ใช้ บัณฑิตมาใช้ในการพิจารณา กิจกรรมโครงการ

4. คณะวิชาได้ให้อาจารย์ใน คณะจัดทาแผนการเข้าสู่ ตาแหน่งทางวิชาการรายบุคคล ซึ่งทางหลักสูตรได้ดาเนินการ จัดส่งแผนนี้ให้กับทางคณะวิชา แล้ว 5. หลักสูตรสนับสนุนการพัฒนา ศักยภาพอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรในการเข้าสู่ตาแหน่ง ทางวิชาการร่วมกับคณะวิชา และมหาวิทยาลัย

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ การเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการยังไม่ เป็นไปตามเกณฑ์

1.คณะและหลักสูตรได้ส่งเสริม และกากับติดตาม ให้เป็นไป ตามแผนพัฒนาบุคลากร 2.คณะและหลักสูตรส่งเสริม การทาวิจัยเป็นทีมและตรง ศาสตร์ เพื่อสร้างความ เชี่ยวชาญและเตรียมเข้าสู่ ตาแหน่งทางวิชาการ


114 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาใน หลักสูตร 6.ทบทวน/วิเคราะห์ รายวิชาที่ปรับ ให้ทันสมัยควรมีที่มา และ สถานการณ์หรือข้อมูลสนับสนุนที่ ชัดเจน ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการเรียนการสอน 7.พัฒนากระบวนการจัดการเรียน การสอนให้มีความหลากหลายและ บูรณาการการเรียนการสอนให้ ครอบคลุมพันธกิจที่เกีย่ วข้องเพิ่มขึ้น เช่น งานวิจัย

8.การกากับติดตามกระบวนการ เรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาเกิด การเรียนรู้ตามทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 และทันสมัยทันกับ สถานการณ์ปัจจุบัน รวมถึงให้ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ชาติ ปี 2561 ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 สิ่งสนับสนุนการ เรียนการสอน 9.ควรมีคณะทางานพัฒนา ห้องปฏิบัติการฯ ให้เป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานสากล เพื่อเป็นผลดี ต่อการปฏิบัติงานในวิชาชีพด้านอาชี วอนามัยและความปลอดภัย

6. หลักสูตรได้ทาการทวนสอบ รายวิชาที่เปิดสอน พร้อมทั้งได้ ให้ข้อแนะนาในบางรายวิชา

7. ในปีการศึกษา 2562 ที่ผ่าน มา บางรายวิชาในหลักสูตรได้ จัดการเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน โดยจัดให้มหี ้องเรียน ออนไลน์สาหรับผู้เรียน อีกทั้ง รายวิชาสหกิจนักศึกษาจะต้อง โครงการในลักษณะของงาน ประจาหรืองานวิจยั 8. หลักสูตรได้กากับติดตาม กระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ ตามทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 และทันสมัย ผ่าน กระบวนการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียน การสอน 9. หลักสูตรได้พิจารณาการ พัฒนาปรับปรุงห้องปฏิบัติตา่ งๆ ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการ บริหารหลักสูตร

1.ห้องปฏิบัติการยังไม่เป็นไปตาม

มาตรฐานที่กาหนด

หลักสูตรได้พิจารณาการ พัฒนาปรับปรุงห้องปฏิบัติ ต่างๆ ผ่านที่ประชุม คณะกรรมการบริหารหลักสูตร

2. การนาไปดาเนินการเพื่อการวางแผนหรือปรับปรุงหลักสูตร หลั ก สู ต รได้น าข้ อเสนอแนะจากผู้ ป ระเมิน อิส ระในปีก ารศึ กษา 2562 เข้าที่ ประประชุม คณะ กรรมการบริ ห ารสู ตร เพื่อร่ ว มกัน วางแผนกิจ กรรมหรือ โครงการที่ จะพัฒ นาศัก ยภาพนักศึก ษาส าห รับ ปี การศึกษา 2563 3. การประเมินจากนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย (รายงานตามปีที่สารวจ) ปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้ดาเนินการประเมินความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตรของ นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายจานวน 73 คน และได้ดาเนินการจัดทาแนวโน้มและมีข้อวิพากษ์ที่สาคัญดังนี้ ปีการศึกษา 2561 4.24 ± 0.74

ปีการศึกษา 2562 4.33 ± 0.66

ปีการศึกษา 2563 4.31± 0.74


115 3.1 ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน ข้อวิพากษ์ที่สาคัญ ข้อคิดเห็นของนักศึกษา จากผลการประเมิน ชั้นปีสุดท้ายต่อผลการประเมิน

การดาเนินการของหลักสูตร

1. หลักสูตร

1.1 อยากให้มีการศึกษาดูงานเพิม่ มากขึ้น 1.1 หลักสูตรมีโครงการและกิจกรรมศึกษาดู และเน้นการปฏิบตั ิในรายวิชา งานทุกปี

2. อาจารย์ผสู้ อน

ไม่มี

ไม่มี

3. อาจารย์ที่ปรึกษา

ไม่มี

ไม่มี

4. กระบวนการเรียน การสอน

ไม่มี

ไม่มี

5. การจัดกิจกรรมเสริม หลักสูตร

ไม่มี

ไม่มี

6. ทรัพยากรและสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู้

ไม่มี

ไม่มี

7. ระบบข้อร้องเรียน

ไม่มี

ไม่มี

4. การประเมินจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ผู้ใช้บัณฑิต) 4.1 ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน และข้อคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อผลการประเมิน ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน 1.ด้านการใช้ภาษาอังกฤษ 2.ด้านการวางแผนวิเคราะห์แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ 3.ด้านการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า 4.การฝึกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย 5.ด้านการสืบค้นข้อมูล 6.ด้านความมั่นใจ ในการทางาน

ข้อคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อผลการประเมิน 1. ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้จัดโครงการ/กิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการประกอบ อาชีพ ได้แก่ - การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ - การฝึกอบรมซ้อมและระงับอัคคีภัยเบื้องต้นร่วมกับงาน อาคารและสถานที่ของมหาวิทยาลัย - การศึกษาดูงานในสถานประกอบกิจการ จานวน 2 แห่ง เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้นักศึกษามีทักษะเป็นไปตาม ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต 2. หลักสูตรได้กาหนดให้นักศึกษาเรียนรายวิชาการจัดการ ตนเองพื่อพัฒนางาน เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการวางแผน วิเคราะห์แก้ปัญหาอย่างระบบเพื่อให้เกิดความมั่นใจในการ ทางาน 3. หลักสูตรได้จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะที่จาเป็นสาหรับการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้กับนักศึกษา โดยการบูรณาการใน รายวิชา ปฏิบัติการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ด้านสุข ศาสตร์อุตสาหกรรม ปีการศึกษา 2/2563 ซึ่งจัดให้มีการ


116 บริการวิชาการตรวจวัดด้านสุขศาสตร์อตุ สาหกรรม ได้แก่ แสง เสียง ความร้อน และ ฝุ่น ให้กับสถานประกอบการภายนอกที่ ให้ความสนใจ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาให้นักศึกษามีทักษะเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ บัณฑิต

หมวดที่ 7 แผนการดาเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร 1. ความก้าวหน้าของการดาเนินงานตามแผนที่เสนอในรายงานของปีที่ผ่านมา แผนดาเนินงาน

ความสาเร็จของแผน เหตุผลที่ไม่สามารถ วันสิ้นสุด ผู้รับผิดชอบ สาเร็จ ไม่สาเร็จ ดาเนินการได้สาเร็จ ตามแผน 1. เตรียมความพร้อมสาหรับ 31 พ.ค. 64 อ.ดร. พฤมล น้อยนรินทร์ ✓ นักศึกษาใหม่ และคูม่ ือนักศึกษา อ. พนิดา เทพชาลี 2. การพัฒนาการฝึกประสบการณ์ 31 ต.ค. 63 รศ.ดร.พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ ✓ ภาคสนามสาธารณสุขและ ทิพย์ สิ่งแวดล้อม 3. สอบเทียบเครื่องมือ 31 ก.ย. 63 น.ส. กษมา คงประเสริฐ ✓ วิทยาศาสตร์ 4. จัดหาสื่อและวัสดุอุปกรณ์ 31 พ.ค. 64 อ. ดร.ปาริชาติ วงษ์วริศรา ✓ ประกอบการเรียนการสอน 5. จัดทาเอกสารประกอบการ 30 มิ.ย. 64 อ. วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี ✓ เรียนการสอน 6. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ 31 มี.ค. 64 อ. อุษาวดี ไพราม ✓ ห้องปฏิบัติการการเก็บตัวอย่าง 7. เตรียมความพร้อมการประกัน 31 ก.ค. 64 อ. ดร.ปาริชาติ วงษ์วริศรา อยูร่ ะหว่าง ✓ คุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ดาเนินการ 8. การประชุมคณะกรรมการ 30 ก.ย. 64 น.ส. กษมา คงประเสริฐ อยู่ระหว่าง ✓ ประจาหลักสูตร ดาเนินการ 9. เตรียมความพร้อมสู่วิชาชีพอา 31 ก.ค. 64 อ. พนิดา เทพชาลี ✓ ชีวอนามัยและความปลอดภัย 10. บริการวิชาการอาชีวอนามัย 31 มี.ค. 64 อ. อุษาวดี ไพราม ✓ และความปลอดภัย 10. ศึกษาดูงานสถานประกอบ 31 ธ.ค. 63 อ. พนิดา เทพชาลี ✓ กิจการ

2. ข้อเสนอแนะในการพัฒนาหลักสูตร 2.1 ข้อเสนอแนะการปรับโครงสร้างหลักสูตร (จานวนหน่วยกิต รายวิชาแกน รายวิชาเลือกฯ) - ควรปรับลดรายวิชาในหมวดเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพสาธารณสุข และเพิ่มรายวิชากลุ่มวิชาเฉพาะสาขา เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้อย่างครอบคลุม 2.2 ข้อเสนอในการเปลี่ยนแปลงรายวิชา - ไม่มี


117 2.3 กิจกรรมการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ควรเพิ่มงบประมาณสนับสนุนบุคลากรในการพัฒนาศักยภาพตนเอง เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญใน สาขาวิชา และมีทุนอบรมต่างประเทศระยะสั้น และส่งเสริมการเข้าสู่ตาแหน่งวิชาการ 3. แผนปฏิบัติการใหม่สาหรับปีการศึกษาถัดไป หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยได้ดาเนินการจัดประชุม ทบทวนแผนการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ 2564 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ แผนการดาเนินงาน 1. เตรียมความพร้อมสาหรับนักศึกษาใหม่ 2. การพัฒนาการฝึกประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม 3. สอบเทียบเครื่องมือวิทยาศาสตร์และซ่อมบารุง 4. จัดหาสื่อและวัสดุอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอน 5. จัดทาเอกสารประกอบการเรียนการสอน 6. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการ 7. การประชุมคณะกรรมการประจาหลักสูตร 8. เตรียมความพร้อมสู่วิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 9. ศึกษาดูงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 10. เตรียมความพร้อมการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร 11. บริการวิชาการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 12. พัฒนาศักยภาพอาจารย์ดา้ นวิชาชีพอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย 13. ขึ้นทะเบียนห้องปฏิบตั ิการและผู้รับรองด้านสุขศาสตร์ อุตสาหกรรม

วันที่คาดว่า จะสิน้ สุดแผน ก.ค.-ก.ย.64 ต.ค.64-ก.ย.65

ผู้รับผิดชอบ อ.ดร. พฤมล น้อยนรินทร์ อ. ดร.ปาริชาติ วงษ์วริศรา

ต.ค.64-ก.ย.65 ต.ค.64-ก.ย.65 ต.ค.64-ก.ย.65 ต.ค.64-ก.ย.65 ต.ค.64-ก.ย.65 ต.ค.64-ก.ย.65 ต.ค.64-ก.ย.65 ต.ค.64- ก.ย.65 ต.ค.64-ก.ย. 65 ต.ค. 64-มี.ค.65

น.ส. กษมา คงประเสริฐ อ. ดร.ปาริชาติ วงษ์วริศรา อ. วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี อ. อุษาวดี ไพราม น.ส. กษมา คงประเสริฐ อ. พนิดา เทพชาลี อ. พนิดา เทพชาลี อ. ดร.ปาริชาติ วงษ์วริศรา อ. อุษาวดี ไพราม อ.ดร. พฤมล น้อยนรินทร์

ต.ค.64-มี.ค.65

อ. อุษาวดี ไพราม


118 อาจารย์ประจาหลักสูตร : นางพนิดา เทพชาลี

ลายเซ็น :

อาจารย์ประจาหลักสูตร : นายพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์

ลายเซ็น :

อาจารย์ประจาหลักสูตร : นางสาววรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี ลายเซ็น : อาจารย์ประจาหลักสูตร : นางสาวพฤมล น้อยนรินทร์

ลายเซ็น :

อาจารย์ประจาหลักสูตร : นางสาวอุษาวดี ไพรราม

ลายเซ็น :

ประธานหลักสูตร : นางพนิดา เทพชาลี ลายเซ็น :

วันที่รายงาน : 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

เห็นชอบโดย : รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ (คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์) ลายเซ็น :

วันที่ : 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564


ภาคผนวก


120 ตารางที่ 1 จานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวม

อาจารย์

ผู้ช่วย ศาสตราจารย์

รอง ศาสตราจารย์

ศาสตราจารย์

รวม

3 1 4

-

1 1

-

3 2 5

ข้อมูล ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2564


121 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปัจจุบัน ที่ 1.

ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ นางพนิดา เทพชาลี อาจารย์

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและ ความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2552) วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2548)

ผลงานทางวิชาการ/ตารา/ งานวิจัย/ ปีที่ตีพิมพ์เผยแพร่ พนิดา เทพชาลีและคณะ.(2562).ปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของ นักศึกษาภาคการศึกษาเพื่อปวงชน มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6 ประจาปี พ.ศ. 2562 “สังคมผู้สูงวัย: โอกาสและ ความท้าทายของอุดมศึกษา” พนิดา เทพชาลี และนพเก้า บัวงาม . (2561). การ บริหารจัดการกระบวนการสหกิจศึกษา : กรณีศึกษา สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา.ใน การประชุมวิชาการและนาเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 10 วันที่ 7-8 สิงหาคม 2561 อาคารยุพราชเบญจมงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พนิดา เทพชาลี, กัลยาณี ชมภูนิมิตร, เจนจิรา เพชร หิน, ยุพาวดี แก้วด่านกลางและรัตนา ขอเอื้อน กลาง.(2561). “พฤติกรรมความปลอดภัยจากการใช้ สารเคมีของเกษตรกรชาวนาบ้านดอนรี ตาบลดอน ชมพู อาเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การ ประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ประจาปี 2561 ครั้งที่ 5 วันที่ 31 มีนาคม 2561. หน้า 428-437. นครราชสีมา. วิทยาลัยนครราชสีมา.

2.

นางสาววรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี อาจารย์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2551) วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2539)

มะลิ โพธิพิมพ์ และพนิดา เทพชาลี. (2557). “การ สร้างเสริมพฤติกรรมป้องกันอุบัติเหตุจราจร มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จังหวัดนครราชสีมา”. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา. 9(2) : 21-32. วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี, ธวัชชัย เอกสันติ และ กนกพร ฉิมพลี. (2561). “ความรู้ ทัศนคติ และ พฤติกรรมสุขภาพของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวต่อการ ปลูกข้าวปลอดภัยในพื้นที่ทุ่งสัมฤทธิ์ จังหวัด นครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ประจาปี 2561 ครั้งที่ 5 วันที่ 31 มีนาคม 2561. หน้า 428-437. นครราชสีมา : วิทยาลัยนครราชสีมา. ธวัชชัย เอกสันติ, พัชรินทร์ ยุพา, วรลักษณ์ สมบูรณ์ นาดี, ธนิดา ผาติเสนะ และสุภาพ หวังข้อกลาง. (2559). “สถานการณ์และแนวโน้มการใช้ชีวิตด้าน สุขภาพ ด้านการเรียนรู้ และด้านสังคมของเด็กและ เยาวชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรณีศึกษาเขต สุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร์”. ใน การประชุม วิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 ก้าวสู่ทศวรรษที่ 2 บูรณาการงานวิจัย ใช้องค์ ความรู้ สู่ความยั่งยืน. หน้า 384-392. นครราชสีมา


122 3.

นางสาวพฤมล น้อย นรินทร์ อาจารย์

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (จุลชีววิทยาทางการแพทย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2560) วิทยาศาสตรบัณฑิต (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2551)

4.

นายพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ประชากรศาสตร์) รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดล (2544) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล (2538) เภสัชศาสตรบัณฑิต (เภสัชศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2535)

: วิทยาลัยนครราชสีมา. ปาริชาติ วงษ์วริศรา, พฤมล น้อยนรินทร์, กาญจนา หวังทอนกลาง, ธญญาพร ทองแจ่ม, เกียรติศักดิ์ เถียนสูงเนิน, ณรงค์เดช เพ็ญศรี และณัฏฐาพร มุ่ง ชมกลาง. (2560). “ความรู้และพฤติกรรมการใช้ สารเคมีป้องกันและกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ ปลูกมันสาปะหลัง บ้านหนองสรวงพัฒนา ตาบล หนองสรวง อาเภอขามทะเลสอ จังหวัด นครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการเสนอ ผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 44. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ทิวากรณ์ ราชูธร, ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์ และ พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์.(2563). การพัฒนาศักยภาพ แกนนาครัวเรือนในการจัดการขยะมูลฝอย ตาบล หนองพลวง อาเภอจักรราช จังหวัดนครราชสีมา. วารสารสาธรณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563.15(1):14-25. รมิตา ศรีมันตะ, นงนภัส เที่ยงกมลและพุฒิพงศ์ สัต ยวงศ์ทิพย์.(2563).การพัฒนารูปแบบไตรสิกขาเพื่อ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. วารสารชุมชนวิจัย ปีที่ 14 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2563).14(4): 172186. ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์, รศ.ดร.พุฒิพงษ์ สัต ยวงศ์ทิพย์, ศิริพร พึ่งเพชร*, ทิวากรณ์ ราชูธร ..(2562).การพัฒนาหลักสูตรส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุแบบมีสว่ นร่วมเขตพื้นที่เทศบาลตาบลหัว ทะเล อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิจยั สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏอุบลราชธานี.ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคมธันวาคม 2562. รัชนีกร เหิดขุนทด และรศ.ดร.พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ ทิพย์.(2562).การพัฒนาศักยภาพของผูสู้งอายุในการ ดูแลสุขภาพตนเองโดยกระบวนการเสริมสรา้ งพลัง อานาจบ้านมาบกราด ตาบลพันชนะ อาเภอด่านขุน ทด จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2562. วารสารวิชาการ สคร. 9 ปี 2562. พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์และทองทิพย์ สละวงษ์ ลักษณ์.(2561).การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบ บูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้ครัวเรือนสร้าง สุขภาพสาหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา.วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2561) หน้า 46-54. พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์, อนุสรณ์ เป๋าสูงเนินและ ทิวากรณ์ ราชูธร. (2560). “การพัฒนาความรู้และ


123 การปฏิบัติเรื่องการสุขาภิบาลอาหารของ ผู้ประกอบการรถเร่จาหน่ายอาหาร อาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2560). 15(3) : 7980.

5

นางสาวอุษาวดี ไพราม อาจารย์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและ ความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2557) วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (2549)

มาตุภูมิ พอกระโทก และพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์. (2557). “การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการ เฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกโดย กระบวนการเสริมพลังอานาจ ตาบลด่านเกวียน อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา”. วารสารราช พฤกษ์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2557). 12(3) : 123-131. อุษาวดี ไพราม.(2562). การศึกษาการวิเคราะห์งาน เพื่อความปลอดภัยมีผลต่อพฤติกรรมด้านความ ปลอดภัยของพนักงาน ณ บริษัทผลิตน้ามันจากพืช แห่งหนึ่ง. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงราย ครั้งที่ 2 นวัตกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ และความปลอดภัยของผู้สูงวัย ไทยแลนด์ 4.0 วันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ 2562 (หน้า 494-501)

ข้อมูล ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2564


124 ตารางที่ 3 คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอนระดับปริญญาตรี ชื่อ – สกุล อาจารย์ผู้สอน

วุฒิการศึกษา ตรี

1. นายพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ 2. นางสาวจารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ 3. นางสาวปาริชาติ วงษ์วริศรา 4. นางสาวภิษณี วิจันทึก 5. นางสาวอุษาวดี ไพราม

โท

ตาแหน่งทา วิชาการ

เอ ก ✔ ✔ ✔

ผศ .

✔ ✔

✔ ✔

6. นายนรา ระวาดชัย 7. นางสาวปัณรดา ฐานะปัตโต 8. นายอรรถวิทย์ สิงห์ศาลาแสง 9. นางสาววราภรณ์ ชาติพหล 10. นางสาวนฤมล เวชจักรเวร 11. นางสาววรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี

✔ ✔

12. นางพนิดา เทพชาลี

13. นางสาวนันทนา คะลา

✔ ✔ ✔

14. นางสาวพฤมล น้อยนรินทร์

15. นางสาวนพเก้า บัวงาม 16. นางสาวปาริฉัตร เกิดจันทึก

17.นายธวัชชัย เอกสันติ

รศ.

✔ ✔

สาขาวิชาที่จบการศึกษา

สถาบันที่จบการศึกษา

ปีที่จบ การศึกษา

ศ. ปร.ด. (ประชากรศาสตร์) ปร.ด. (ชีวเวชศาสตร์) ส.ด. วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์) วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรม และความปลอดภัย ส.ม. (อนามัยสิ่งแวดล้อม) วท.ม. (โภชนศาสตร์) ส.ด. ส.ม. (การพัฒนาสุขภาพชุมชน) วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์) วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรม และความปลอดภัย) วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรม และความปลอดภัย วท.ม. (อาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย) ปร.ด. (จุลชีววิทยาทาง การแพทย์) ส.ม. (อนามัยสิ่งแวดล้อม) ปร.ด. (การบริบาลทางเภสัช กรรม วท.ม. (สุขศึกษา)

มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล

2544 2555 2563 2555 2557

มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล

2555 2552 2561 2559 2552 2551

มหาวิทยาลัยมหิดล

2552

มหาวิทยาลัยบูรพา

2555

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2560

มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2560 2552

มหาวิทยาลัยมหิดล

2554

ตารางที่ 4 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (เผยแพร่ 1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 63) ค่าน้าหนัก

ชื่อเจ้าของผลงาน

0.6

ทิวากรณ์ ราชูธร, ทองทิพย์ สละวงษ์ ลักษณ์ และพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์

0.8

รมิตา ศรีมันตะ, นงน ภัส เที่ยงกมลและพุฒิ พงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์

ชื่องานสร้างสรรค์/ ชื่อผลงานทางวิชาการ

แหล่งเผยแพร่/ตีพิมพ์

การพัฒนาศักยภาพแกน นาครัวเรือนในการ จัดการขยะมูลฝอย ตาบลหนองพลวง อาเภอจักรราช จังหวัด นครราชสีมา การพัฒนารูปแบบ ไตรสิกขาเพื่อการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

วารสารสาธารณสุข มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563

หมายเหตุ

วารสารชุมชนวิจัย ปีที่ 14 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2563 ข้อมูล ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2564


125 ตารางที่ 5 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กาหนด หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รอบระยะเวลา

ปีการศึกษา ที่พัฒนา

ปีการศึกษา ที่ใช้จัดการศึกษา

การพิจารณา

หลักสูตร หลักสูตรเดิม

2556

2557-2560

- สภาวิชาการอนุมัติหลักสูตร ในคราวประชุมครั้งที่ 4/2556 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2556 - สภามหาวิทยาลัยอนุมตั ิหลักสูตร ในคราวประชุม ครั้งที่ 11/2556 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2556

หลักสูตรปัจจุบัน

2561

2561-ปัจจุบัน

เริ่มใช้หลักสูตรปีการศึกษา 2561 ปัจจุบันเป็นการใช้ หลักสูตร ปีที่ 3 ของรอบระยะเวลา

กระบวนการปรับปรุงหลักสูตร กระบวนการ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร

2. จัดทา (ร่าง) หลักสูตร มคอ. 2 และ เสนอ สสว. ตรวจสอบ (ร่าง) หลักสูตร 3. นาเสนอ (ร่าง) หลักสูตรต่อ คณะกรรมการประจาคณะ

ผลการดาเนินงาน มหาวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร ตามคาสั่งที่ 2877/2561 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2561 โดยมีหน้าที่ พิจารณาปรับปรุง แก้ไขร่างรายละเอียดของหลักสูตรให้ เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 มีการจัดทาร่างหลักสูตร โดยคณะกรรมการร่างหลักสูตร และเสนอ คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2561 หลังจากนั้นปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะ และเสนอร่างหลักสูตรไปยัง สสว. เพื่อตรวจสอบ คณะกรรมการประจาคณะสาธารณสุขศาสตร์ พิจารณาให้ความ เห็นชอบหลักสูตร เมื่อคราวประชุมครั้งที่ 4/2561 วันที่ 18 มิถุนายน 2561 สภาวิชาการ พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตร เมื่อคราวประชุมครั้งที่ 5/2561 วันที่ 13 กรกฎาคม 2561 สภามหาวิทยาลัย พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตร เมื่อคราวประชุมครั้งที่ 7/2561 วันที่ 26 กรกฎาคม 2561 หลักสูตรส่ง มคอ. 2 เข้าสู่ระบบ CHECO เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2561

4. สสว. นาเสนอ (ร่าง) หลักสูตรต่อ สภาวิชาการ 5. สสว. นาเสนอ (ร่าง) หลักสูตรต่อ สภามหาวิทยาลัย 6. สสว. แจ้งสานักงานคณะกรรมการ อุดมศึกษา (สกอ.) เพื่อรับทราบและ ให้ความเห็นชอบ 7. เจ้าหน้าที่จาก สสว. แจ้งหลักสูตรผ่านการ หลักสูตรผ่านการพิจารณารับทราบจาก อว. เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พิจารณารับทราบจาก สกอ. 2564 8. หลักสูตรทาหนังสือแจ้งกรมสวัสดิการและ อยู่ระหว่างดาเนินการ คุ้มครองแรงงาน เพื่อให้การรับรองหลักสูตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.