E-Student Handbook Occ_64

Page 1

คู่มือนักศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ปีการศึกษา ๒๕๖๔


หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา คณะ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คณะสาธารณสุขศาสตร์

1. รหัสและชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

25561481102447 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย Bachelor of Science Program in Occupational Health and Safety

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

ชื่อเต็ม วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) ชื่อย่อ วท.บ. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) ชื่อเต็ม Bachelor of Science (Program in Occupational Health and Safety) ชื่อย่อ B.Sc. (Occupational Health and Safety)

3. วิชาเอก (ถ้ามี) ไม่มี 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 156 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี 5.2 ประเภทของหลักสูตร ปริญญาตรีทางวิชาการ 5.3 ภาษาที่ใช้ จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย


5.4 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี 5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น ไม่มี 5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. อาชีพที่สามารถประกอบอาชีพได้หลังสาเร็จการศึกษา บัณฑิตหลั กสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีว อนามัยและความปลอดภัย สามารถ ประกอบอาชีพต่าง ๆ ในหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนได้ ดังนี้ 6.1 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพในสถานประกอบกิจการ 6.2 พนักงานตรวจความปลอดภัยในหน่วยงานของรัฐ เช่น สานักความปลอดภัยแรงงาน ศูนย์ความปลอดภัยในการทางานส่วนภูมิภาค 6.3 ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรมในหน่วยงานรัฐและเอกชน 6.4 นักวิชาการสาธารณสุขในหน่วยงานสาธารณสุขของรัฐ เช่น สานักโรคจากการประกอบ อาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค งานอาชีวอนามัยประจาโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น 6.5 ที่ปรึกษาด้านงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 6.6 นักวิชาการด้านงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในองค์กรอิสระและองค์กรพัฒนาเอกชน เช่น มูลนิธิและสมาคมด้านสาธารณสุข สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน (องค์การมหาชน) เป็นต้น 7. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 7.1 ปรัชญา ศาสตร์ และศิลป์ในการสร้างสุขภาวะ และความปลอดภัยในการทางาน 7.2 ความสาคัญ การอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาธารณสุข ที่นาหลักวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์มาประยุกต์ใช้ เพื่อปกป้องดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของ ผู้ประกอบอาชีพ รวมถึงสุขอนามัยที่ดีของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน โดยการจัดสภาพแวดล้อมในการทางาน ให้ปลอดภัย ป้องกันสภาพแวดล้อมเป็นพิษ ที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย จิตใจ และ สังคม ให้ชุมชนและสถานประกอบการสามารถอยู่ร่วมกันได้ 7.3 วัตถุประสงค์ เพื่อผลิ ตบัณฑิต หลั กสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิช าอาชีว อนามัยและความปลอดภัย ให้ มี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดังนี้


7.3.1 มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ การคาดการณ์ ตระหนัก ประเมิน และ ควบคุม ปัจจัยสิ่งแวดล้อมในการทางาน รวมทั้งควบคุมอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ โดยสามารถประยุกต์องค์ ความรู้ ไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้ เพื่อให้ผู้ประกอบอาชีพมีสุขภาพที่ดี มีความปลอดภัยไม่เกิดความเจ็บป่วยหรือ โรคจากการทางานสอดคล้องตามกฎหมายหรือมาตรฐานทางวิชาการ 7.3.2 มีความรู้ความเข้าใจในประเด็นปัญหาด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สามารถเลือกใช้เทคนิคทางระบบการจัดการที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมใน การทางาน สามารถใช้ข้อมูล สถิติ ระบาดวิทยามาวิเคราะห์ ห าปัจจัย เสี่ ยง และผลกระทบต่อสุขภาพอย่าง เหมาะสม 7.3.3 เป็นผู้นาทางวิชาการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อ ตนเองและผู้อื่น มีความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล 7.3.4 มี ค วามรู้ แ ละทั ก ษะในการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและคอมพิ ว เตอร์ และ สามารถสื่อสารกับบุคคลกลุ่มต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสื่อสารด้วยภาษาสากล 7.3.5 มี ค วามรู้ ค วามสามารถด้ า นกฎหมายอาชี ว อนามั ย ความปลอดภั ย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน กฎหมายสาธารณสุข และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 7.3.6 มีคุณธรรมจริยธรรมในการดารงชีวิต มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน โดย คานึงถึงจรรยาบรรณวิชาชีพด้านอาชีวอนามัยความปลอดภัยและด้านสาธารณสุข 8. ระบบการจัดการศึกษา 8.1 ระบบการจัดการศึกษาในหลักสูตร ระบบทวิภาคโดย 1 ปีการศึกษามี 2 ภาคการศึกษา ภาคการศึกษาละ 15-16 สัปดาห์ ได้แก่ - ภาคการศึกษาที่ 1 ตั้งแต่ เดือนมิถุนายน ถึง เดือนตุลาคม - ภาคการศึกษาที่ 2 ตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนมีนาคม - ภาคฤดูร้อน ตั้งแต่ เดือนเมษายน ถึง เดือนมิถุนายน 8.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลั ยราชภัฏนครราชสีมา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560 8.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลั ยราชภัฏนครราชสีมา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560 9. การดาเนินการหลักสูตร 9.1 วันเวลาในการดาเนินการเรียนการสอน ภาคปกติ วันจันทร์-วันศุกร์ เวลาราชการปกติ


9.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 9.2.1 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ โปรแกรมที่เน้นวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ หรือมีคุณวุฒิเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง 9.2.2 มีคุณสมบัติครบถ้วนตามระเบียบและประกาศของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 9.3 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี - ภาคปกติ ปีละ 45 คน ระดับชั้นปี ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 รวมจานวนนักศึกษา จานวนบัณฑิต ที่คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา

2561 45 45 -

จานวนนักศึกษาในแต่ละปีการศึกษา 2562 2563 2564 45 45 45 45 45 45 45 45 45 90 135 180 -

2565 45 45 45 45 180 45

9.4 ระบบการศึกษา ใช้ระบบชั้นเรียน 9.5 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนข้ามมหาวิทยาลัย 1) การเทียบโอนหน่วยกิตและรายวิชาระหว่างหลักสูตรในมหาวิทยาลัย ต้องได้รับการอนุมัติจาก ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย และ คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ 2) การเทียบโอนผลการเรียน หน่วยกิต รายวิชา เปิดให้เฉพาะหลักสูตรที่ดาเนินการตามมาตรฐาน คุณวุฒิสาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยต้องเป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาว่า ด้วยการโอนผลการเรียน การเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์เข้าสู่ การศึกษาในระบบ ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560


10.ชื่อ-สกุล เลขบัต รประจาตัวประชาชน ตาแหน่งทางวิชาการ และคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร 10.1 จานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิ ศาสตราจารย์ รอง ผู้ช่วย อาจารย์ รวม ปริญญา ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ ปริญญาเอก 1 1 ปริญญาโท 4 4 ปริญญาตรี รวม 5 5 10.2 ข้อมูลอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ที่

ชื่อ-สกุล เลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่งทางวิชาการ 1. นายอนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน 3301800132XXX อาจารย์

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2556) วท.บ. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2548)

อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน และคณะ. (2557). ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลตนเองของ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลหลักร้อย อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. ใน การ ประชุมวิชาการ มศว วิจัยครั้งที่ 8 วันที่ 2627 พฤศจิกายน 2557. (หน้า 506-513). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน และคณะ. (2557). ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจาก โรคไข้เลือดออกของประชาชนตาบลหนองจะบก อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา.ใน การประชุมวิชาการ มศว วิจัย ครั้งที่ 8 วันที่ 26-27 พฤศจิกายน 2557. (หน้า 55-64). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน และคณะ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติเกี่ยวกับ โรคเบาหวาน และพฤติกรรมการดูแลตนเองของ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการรักษาที่


ที่

ชื่อ-สกุล เลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลพุดซา จังหวัด นครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ เทคโนโลยีภาคใต้วิจัย ครั้งที่ 5 วันที่ 23 มกราคม 2558. (หน้า 432-438). นครศรีธรรมราช: วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้. อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน และคณะ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ และพฤติกรรม การส่งเสริมสุขภาพของผูส้ ูงอายุ ตาบลตลาด อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. ใน การ ประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราช ภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 4 วันที่ 7-8 พฤษภาคม 2558. (หน้า 995-1005). ภูเก็ต: มหาวิทยาลัย ราชภัฎภูเก็ต. อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน และคณะ. (2558). พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลกุดจิก อาเภอสูงเนิน จังหวัด นครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ ครั้งที่ 6 วันที่ 26 มิถุนายน 2558. (หน้า 1339-1349). สงขลา: มหาวิทยาลัย หาดใหญ่. อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน และคณะ. (2558). ความรู้ และพฤติกรรมการดูแลตนเองของ ผู้ป่วยโรคเบาหวานทีม่ ารับบริการใน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลท่าอ่าง อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา. ใน การ ประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราช ภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 5 วันที่ 17-18 ธันวาคม 2558. (หน้า 1614-1624). ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน และคณะ. (2559).


ที่

ชื่อ-สกุล เลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

พฤติกรรม ปัญหาและอุปสรรคของการตรวจ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรีกลุ่มเสี่ยง ตาบลลามูล อาเภอโนนสูง จังหวัด นครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 7 วันที่ 12-13 พฤษภาคม 2559. (หน้า 1350-1360). ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏ ภูเก็ต. อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน และคณะ (2559). พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความ ดันโลหิตสูงที่มารับบริการที่โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลมะค่า อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 8 วันที่ 15 ธันวาคม 2559. (หน้า 15541562). ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน และคณะ. (2560). การ ปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในน้าแข็งและ สภาพสุขาภิบาล ร้านค้าขายปลีก ร้านขาย เครื่องดื่ม บริเวณด้านหน้ามหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 9 วันที่ 31 พฤษภาคม 2560. (หน้า 14061414). ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์, อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน และทิวากรณ์ ราชูธร. (2560). การพัฒนาความรู้ และการปฏิบัตเิ รื่องการสุขาภิบาลอาหารของ ผู้ประกอบการรถเร่จาหน่ายอาหาร อาเภอสูง เนิน จังหวัดนครราชสีมา. วารสารราชพฤกษ์ ปี ที่ 15 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2560). 15(3),79-80.


ที่

ชื่อ-สกุล เลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน, นันทนา คะลา, ธัญญาพร ทองแจ่ม, กาญจนา หวังทอนกลาง และปิยะ พงษ์ สังข์สาย. (2560). พฤติกรรมความ ปลอดภัยในการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชของ เกษตรกรปลูกข้าว ในพื้นที่ตาบลกระเบื้องใหญ่ อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา. ในสานักวิจัย และส่งเสริมวิชาการการเกษตร. รายงานสืบ เนื่องจากการประชุมวิชาการประจาปี 2560 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วันที7่ -8 ธันวาคม 2560.( หน้า 589-599) เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

2. นางสาวนันทนา คะลา 3310900536XXX อาจารย์

วท.ม. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยบูรพา (2555) วท.บ. (สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ) มหาวิทยาลัยบูรพา (2549)

อนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน, ทิฆัมพร หมุดแก้ว, แพรว นภา บุญมี, อรทัย เล็บกระโทก และอังคณา โพธิ์ทอง. (2560).ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ และพฤติกรรมความปลอดภัยในการใช้สารเคมี ป้องกันและกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรบ้านสาย ออ อาเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา. ใน กุลวรา สุวรรณพิมล (บรรณาธิการ). รายงาน สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 10 วันที่ 14 ธันวาคม 2560. ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏ ภูเก็ต. นันทนา คะลา และคณะ. (2558). “ปัจจัยที่มี ผลต่อพฤติกรรมเสีย่ งทางเพศ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนต้นในตาบลสะแกราช อาเภอ ปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การ ประชุมวิชาการและการนาเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 3 วันที่ 20-22 พฤษภาคม 2558. (หน้า 614). นครศรีธรรมราช :มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช. จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัต,ิ นันทนา คะลา. (2559). การปฏิบัติตนทางด้านโภชนาการและ


ที่

ชื่อ-สกุล เลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

สุขภาพของนักศึกษาที่มีภาวะน้าหนักเกิน มาตรฐานและอ้วน. ศรีนครินทร์เวชสาร ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2559). 31(4), 224-230.

3. นางสาววรลักษณ์ สมบูรณ์นา ดี 3300100060XXX อาจารย์

วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2551) วท.บ. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2539)

4. นางพนิดา เทพชาลี 3361100396XXX อาจารย์

วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2552) วท.บ. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2548)

นันทนา คะลาและคณะ. (2560). “สัมพันธภาพ ครอบครัวและสังคมกับภาวะความสุขของ ผู้สูงอายุ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลพันดุง ตาบลพันดุง อาเภอ ขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การ ประชุมวิชาการ ปี 2560 วันที่ 7-8 ธันวาคม 2560. (หน้า 4-5). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่ โจ้. ธวัชชัย เอกสันติ, พัชรินทร์ ยุพา, วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี, ธนิดา ผาติเสนะ และสุภาพ หวัง ข้อกลาง. (2559). สถานการณ์และแนวโน้มการ ใช้ชีวิตด้านสุขภาพ ด้านการเรียนรู้ และด้าน สังคมของเด็กและเยาวชนในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ กรณีศึกษาเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร์. ใน การประชุมวิชาการและ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 ก้าวสู่ ทศวรรษที่ 2 บูรณาการงานวิจัย ใช้องค์ ความรู้ สู่ความยั่งยืน วันที่ 17 มิถุนายน 2559. (หน้า 384-392). นครราชสีมา. วิทยาลัย นครราชสีมา. นิธิศ นิมโรธรรม, พนิดา เทพชาลี, นุสรณ์ คูธ นะวนิชพงษ์ และรุ่งโรจน์ พุ่มริ้ว. (2556). การศึกษาคุณภาพชีวิตการทางานของแรงงาน นอกระบบกลุม่ ผู้ขายตลาดไนท์ในเขตพื้นที่ เทศบาลนครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการ อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ 5 วันที่ 14 ม.ค.56. (หน้า 198-214). กรุงเทพ. สมาคมอนามัยสิ่งแวดล้อมไทย.


ที่

ชื่อ-สกุล เลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

มะลิ โพธิพิมพ์ และพนิดา เทพชาลี. (2557). การสร้างเสริมพฤติกรรมป้องกันอุบัติเหตุ จราจรมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จังหวัด นครราชสีมา. ใน วารสารสาธารณสุข ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2557. มหาวิทยาลัยบูรพา, 9(2), 21-32. พนิดา เทพชาลี, กัลยาณี ชมภูนิมติ ร, เจนจิรา เพชรหิน, ยุพาวดี แก้วด่านกลางและ รัตนา ขอ เอื้อนกลาง.(2561). พฤติกรรมความปลอดภัย จากการใช้สารเคมีของเกษตรกรชาวนาบ้าน ดอนรี ตาบลดอนชมพู อาเภอโนนสูง จังหวัด นครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ประจาปี 2561 ครั้งที่ 5 วันที่ 31 มีนาคม 2561. (หน้า 428-437).นครราชสีมา. วิทยาลัยนครราชสีมา.

5. นางสาวพฤมล น้อยนรินทร์ 1160100177XXX อาจารย์

ปร.ด. (จุลชีววิทยาทางการแพทย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2560) วท.บ. (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2551)

พนิดา เทพชาลี และ นพเก้า บัวงาม.(2561). การบริหารจัดการกระบวนการสหกิจศึกษา : กรณีศึกษา สาขาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา.ใน การประชุมวิชาการ และนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 10 “ถักทองานวิจัยท้องถิ่น...ก้าวไกลสู่สากล” วันที่ 7 – 8 สิงหาคม 2561. นครราชสีมา. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ปาริชาติ วงษ์วริศรา, พฤมล น้อยนรินทร์, กาญจนา หวังทอนกลาง, ธญญาพร ทองแจ่ม, เกียรติศักดิ์ เถียนสูงเนิน, ณรงค์เดช เพ็ญศรี และณัฏฐาพร มุ่งชมกลาง. (2560). ความรู้และ พฤติกรรมการใช้สารเคมีป้องกันและกาจัด ศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลัง บ้าน หนองสรวงพัฒนา ตาบลหนองสรวง อาเภอขาม ทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา. ใน การประชุม


ที่

ชื่อ-สกุล เลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

วิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา แห่งชาติ ครั้งที่ 44 วันที่ 19-20 ตุลาคม 2560. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี

11. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 11.1 หลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ใช้ระยะเวลาในการสาเร็จ การศึกษาไม่เกิน 8 ปี 11.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 156 หน่วยกิต 11.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาการบริหารจัดการ 3 หน่วยกิต 2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 33 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาชีพสาธารณสุข 34 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาชีพเฉพาะสาขา 53 หน่วยกิต 3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 11.1.3 รายวิชาในหลักสูตร 1) ความหมายของเลขประจาวิชา - หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เลขประจาวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ประกอบด้วยเลข 6 หลัก มีความหมาย ดังนี้ ลาดับเลขตาแหน่งที่ 1 หมายถึง หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ใช้เลข 0 เป็นเลขของหมวดวิชา ลาดับเลขตาแหน่งที่ 2-3 หมายถึง กลุ่มวิชาของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป


เลข 01 หมายถึง กลุ่มวิชาภาษา เลข 02 หมายถึง กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ เลข 03 หมายถึง กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เลข 04 หมายถึง กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เลข 05 หมายถึง กลุ่มวิชาการบริหารจัดการ ลาดับเลขตาแหน่งที่ 4-6 หมายถึง ลาดับรายวิชาในกลุ่มวิชา - หมวดวิชาเฉพาะ เลขประจาวิชาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ประกอบด้วยเลข 6 หลัก มีความหมายดังนี้ ลาดับเลขตาแหน่งที่ 1-3 ของสาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คือ 601 ลาดับเลขตาแหน่งที่ 4 หมายถึง ชั้นปีหรือความยาก เลข 1 หมายถึง ชั้นปีที่ 1 หรือความยากของวิชาลาดับที่ 1 เลข 2 หมายถึง ชั้นปีที่ 2 หรือความยากของวิชาลาดับที่ 2 เลข 3 หมายถึง ชั้นปีที่ 3 หรือความยากของวิชาลาดับที่ 3 เลข 4 หมายถึง ชั้นปีที่ 4 หรือความยากของวิชาลาดับที่ 4 ลาดับเลขตาแหน่งที่ 5 หมายถึง กลุ่มย่อยของสาขาวิชา เลข 0 หมายถึง กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ เลข 1 หมายถึง กลุ่มวิชาชีพสาธารณสุข เลข 2 หมายถึง กลุ่มวิชาชีพเฉพาะสาขา เลข 3 หมายถึง กลุ่มวิชาอื่น ๆ ลาดับเลขตาแหน่งที่ 6 หมายถึง ลาดับของวิชาในกลุ่มย่อย 2) รายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีรายวิชาตาม โครงสร้างหลักสูตร ดังนี้ ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ต้องเรียนทุกกลุ่มวิชา รวมไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ดังนี้ 1. กลุ่มวิชาภาษา เรียน 9-12 หน่วยกิต 1.1 บังคับ 9 หน่วยกิต 001001 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) 001002 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 3(3-0-6) 001003 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3(3-0-6)


1.2 เลือก 001004 ภาษาไทยเพื่องานอาชีพ 001005 ความงดงามทางภาษาไทย 001006 ภาษาอังกฤษเพื่องานอาชีพ 001007 ภาษาจีนกลางพื้นฐาน 001008 ภาษาญี่ปุ่นพื้นฐาน 001009 ภาษาเขมรพื้นฐาน 001010 ภาษาฮินดีพื้นฐาน 001011 ภาษาฝรั่งเศสพื้นฐาน 001012 ภาษาลาวพื้นฐาน 2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ เรียน 2.1 บังคับ 002001 วิถีแห่งชีวิต 002002 ท้องถิ่นไทย 2.2 เลือก 002003 จิตวิทยาเพื่อการดาเนินชีวิต 002004 มนุษย์กับสุนทรียภาพ 3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียน 3.1 บังคับ 003001 การเป็นพลเมือง 3.2 เลือก 003002 สังคมโลกอนาคต 003003 มนุษย์กับอารยธรรม 003004 อาเซียนศึกษา 003005 กฎหมายในการดารงชีวิต 003006 แหล่งและวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรียน 4.1 บังคับ 004001 เทคโนโลยีสารสนเทศ 004002 การคิดเชิงระบบและการตัดสินใจ 4.2 เลือก 004003 การส่งเสริมสุขภาพและการออกกาลังกาย

0-3

6-9 6

0-3

3-6 3 0-3

6-9 6

0-3

หน่วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) หน่วยกิต หน่วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) หน่วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) หน่วยกิต หน่วยกิต 3(3-0-6) หน่วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) หน่วยกิต หน่วยกิต 3(2-2-5) 3(3-0-6) หน่วยกิต 3(2-2-5)


004004 สิ่งแวดล้อมและพลังงานเพื่อความยั่งยืนแห่งชีวิต 004005 อาหารเพื่อชีวิต 004006 เทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน 5. กลุ่มวิชาการบริหารจัดการ เรียน 3 5.1 เลือก 3 005001 การเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่ 005002 เศรษฐกิจกับวิถีชีวิต 005003 การจัดการตนเองเพื่อการพัฒนางาน ข. หมวดวิชาเฉพาะ เรียนไม่น้อยกว่า 120 1. กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ เรียน 33 1.1 กลุ่มพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์ 21 401101 ฟิสิกส์ 1 401102 ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 402101 เคมี 1 402102 ปฏิบัติการเคมี 1 402121 เคมีอินทรีย์พื้นฐาน 402122 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์พื้นฐาน 402241 ชีวเคมีพื้นฐาน 402242 ปฏิบัติการชีวเคมีพื้นฐาน 403101 ชีววิทยา 1 403102 ปฏิบัติการชีววิทยา 1 408103 แคลคูลัสสาหรับวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 1.2 กลุ่มพื้นฐานสาธารณสุข เรียน 12 601101 การสาธารณสุข 601102 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1 601103 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 2 601104 จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยาเบื้องต้น 601105 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยาเบื้องต้น 601106 ประชากรและการคานวณสถิติชีพ 601201 การสื่อสารเพื่อสุขภาพ 2. กลุ่มวิชาชีพสาธารณสุข เรียน 34 601111 อาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) หน่วยกิต หน่วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต 3(3-0-6) 1(0-3-2) 3(3-0-6) 1(0-3-2) 2(2-0-4) 1(0-3-2) 2(2-0-4) 1(0-3-2) 3(3-0-6) 1(0-3-2) 3(3-0-6) หน่วยกิต 1(1-0-2) 2(1-2-3) 2(1-2-3) 3(3-0-6) 1(0-3-2) 1(1-0-2) 2(2-0-4) หน่วยกิต 3(3-0-6)


601211 601212 601213 601214 601311 601312 601313 601314 601315 601411

สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) การบริหารงานสาธารณสุข 3(3-0-6) กฎหมายสาธารณสุขและจริยธรรมวิชาชีพ 3(3-0-6) การปฐมพยาบาล 3(2-2-5) ชีวสถิติ 3(2-2-5) อนามัยสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) วิทยาการระบาด 3(3-0-6) โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ 3(3-0-6) ฝึกประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 1(0-90-0) การฝึกประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัย 6(0-640-0) และความปลอดภัย

หรือ 601412 สหกิจศึกษา 3. กลุ่มวิชาชีพเฉพาะสาขา เรียน 53 601221 หลักการวิศวกรรมสาหรับงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 601222 พิษวิทยาอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม 601223 สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นมูลฐาน 601224 จิตวิทยาอุตสาหกรรม 601225 วิศวกรรมความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 601321 การบริหารงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 601322 ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 601323 อาชีวเวชศาสตร์ขั้นมูลฐาน 601324 การประเมินและจัดการความเสี่ยง 601325 การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม 601326 การยศาสตร์และสรีรวิทยาในการทางาน 601327 การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ทางด้าน สุขศาสตร์อุตสาหกรรม 601328 ปฏิบัติการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ทางด้าน สุขศาสตร์อุตสาหกรรม 601421 สัมมนาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 601422 กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมและอันตราย

6(0-640-0) หน่วยกิต 2(2-0-4) 3(3-0-6) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 2(2-0-4) 3(3-0-6) 2(2-0-4) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 1(0-3-2) 1(0-3-2) 2(2-0-4)


601423 601424 601425 601426 601427 601428 601429

การป้องกันอัคคีภัยและการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน 3(2-2-5) การระบายอากาศในงานอุตสาหกรรม 3(2-2-5) การจัดการเพื่อควบคุมการสูญเสียและการเพิ่มผลผลิต 2(2-0-4) การจัดเก็บวัตถุอันตราย 2(2-0-4) ระเบียบวิธีวิจัยในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2(2-0-4) กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม 2(2-0-4) เทคนิคการควบคุมทางสุขศาสตร์อุตสาหกรรมและ 2(2-0-4) ความปลอดภัย 601430 มาตรฐานระดับชาติและสากลสาหรับระบบ 2(2-0-4) การจัดการระบบคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ค. หมวดวิชาเลือกเสรี เรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาโดยไม่ซ้ากับ รายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กาหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสาเร็จ หลักสูตรของสาขาวิชานี้ หรือเลือกเรียนจากรายวิชา ดังนี้ 601231 ความปลอดภัยในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6) 601232 ความปลอดภัยในการผลิตเครื่องสาอางขั้นพื้นฐาน 3(2-2-5) 601233 การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3(3-0-6) 601234 ภาษาอังกฤษเพื่องานอาชีวอนามัย 3(3-0-6) 11.1.4 แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต หมวดวิชา รหัสและชื่อวิชา (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

ศึกษาทั่วไป เฉพาะ

061101 061102 401101 401102 402101 402102 403101 403102 408103

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ 1 ฟิสิกส์ 1 ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 เคมี 1 ปฏิบัติการเคมี 1 ชีววิทยา 1 ปฏิบัติการชีววิทยา 1 แคลคูลัสสาหรับวิทยาศาสตร์ประยุกต์

3(X-X-X) 2(X-X-X) 3(3-0-6) 1(0-3-2) 3(3-0-6) 1(0-3-2) 3(3-0-6) 1(0-3-2) 3(3-0-6)


หมวดวิชา

รหัสและชื่อวิชา 601102 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1 รวม

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

2(1-2-3) 2(1-2-3) 22(X-X-X)

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หมวดวิชา

รหัสและชื่อวิชา

ศึกษาทั่วไป

061103 ภาษาอังกฤษ 2 061304 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและสื่อ ประสม 402121 เคมีอินทรีย์พื้นฐาน 402122 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์พื้นฐาน 601101 การสาธารณสุข 601103 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 2 601104 จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยาเบื้องต้น 601105 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยาเบื้องต้น 601106 ประชากรศาสตร์และการคานวณสถิติชีพ 601111 อาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น 601201 การสื่อสารเพื่อสุขภาพ 601221 หลักการวิศวกรรมสาหรับงานอาชีวอนามัยความ ปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม รวม

เฉพาะ

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

2(X-X-X) 2(X-X-X) 2(2-0-4) 1(0-3-2) 1(1-0-2) 2(1-2-3) 3(3-0-6) 1(0-3-2) 1(1-0-2) 3(3-0-6) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 22(X-X-X)

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หมวดวิชา ศึกษาทั่วไป

เฉพาะ

รหัสและชื่อวิชา 061104 061301 061207 402241 402242 601211

ภาษาอังกฤษ 3 คณิตศาสตร์เพื่อการตัดสินใจ การจัดการตนเองเพื่อการพัฒนางาน ชีวเคมีพื้นฐาน ปฏิบัติการชีวเคมีพื้นฐาน สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

2(X-X-X) 2(X-X-X 2(X-X-X 2(2-0-4) 1(0-3-2) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

2(2-0-4)


หมวดวิชา

เลือกเสรี

รหัสและชื่อวิชา 601212 การบริหารงานสาธารณสุข 601213 กฎหมายสาธารณสุขและจริยธรรมวิชาชีพ เลือกเสรี 1 รวม

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(X-X-X) 21(X-X-X)

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หมวดวิชา ศึกษาทั่วไป เฉพาะ

เลือกเสรี

รหัสและชื่อวิชา 061201 ศาสตร์พระราชาฯ 061204 การคิดเพื่อการดาเนินชีวิต 601214 การปฐมพยาบาล 601222 พิษวิทยาอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม 601223 สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นมูลฐาน 601224 จิตวิทยาอุตสาหกรรม 601225 วิศวกรรมความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 601323 อาชีวเวชศาสตร์ขั้นมูลฐาน เลือกเสรี 2 รวม

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

2(X-X-X) 2(X-X-X) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 3(3-0-6) 2(2-0-4) 3(X-X-X) 22(X-X-X)

ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 หมวดวิชา ศึกษาทั่วไป

เฉพาะ

รหัสและชื่อวิชา 061203 061302 061xxx 601311 601313 601315

อาเซียนศึกษาฯ วิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อสุขภาพ เลือกศึกษาทั่วไป ชีวสถิติ วิทยาการระบาด ฝึกประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม 601324 การประเมินและจัดการความเสี่ยง

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

2(X-X-X) 1(X-X-X) 3(X-X-X) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 1(0-90-0) 3(3-0-6)


601327 การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ทางด้าน สุขศาสตร์อุตสาหกรรม 601428 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สิ่งแวดล้อม รวม

3(3-0-6) 2(2-0-4) 21(X-X-X)

ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 หมวดวิชา ศึกษาทั่วไป เฉพาะ

รหัสและชื่อวิชา 061202 061xxx 601314 601312 601326 601422 601328

ความเป็นไทย เลือกศึกษาทั่วไป โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ อนามัยสิ่งแวดล้อม การยศาสตร์และสรีรวิทยาในการทางาน กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมและอันตราย ปฏิบัติการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ทางด้าน สุขศาสตร์อุตสาหกรรม 601429 เทคนิคการควบคุมทางสุขศาสตร์อุตสาหกรรม และความปลอดภัย 601423 การป้องกันอัคคีภัยและการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน รวม

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

3(X-X-X) 2(X-X-X) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 2(2-0-4) 1(0-3-2) 2(2-0-4) 3(2-2-5) 22(X-X-X)

ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 หมวดวิชา เฉพาะ

รหัสและชื่อวิชา 601321 การบริหารงานด้านอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย 601322 ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 601325 การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม 601421 สัมมนาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 601424 การระบายอากาศในงานอุตสาหกรรม

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

3(3-0-6) 3(3-0-6) 2(2-0-4) 1(0-3-2) 3(2-2-5)


หมวดวิชา

รหัสและชื่อวิชา 601425 การจัดการเพื่อควบคุมการสูญเสียและการเพิ่ม ผลผลิต 601426 การจัดเก็บวัตถุอันตราย 601427 ระเบียบวิธีวิจัยในงานอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย 601430 มาตรฐานระดับชาติและสากลสาหรับระบบการ จัดการระบบคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย รวม

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

2(2-0-4) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 2(2-0-4)

20(X-X-X)

ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 หมวดวิชา เฉพาะ

รหัสและชื่อวิชา 601411 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย หรือ 601412 สหกิจศึกษา รวม

หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

6(0-640-0) 6(0-640-0) 6(0-640-0)

11.1.5 คาอธิบายรายวิชา ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1. กลุ่มวิชาภาษา รหัสวิชา ชื่อและคาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 001001 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) (Thai for Communication) ความสาคัญของภาษาไทยในฐานะเป็นเครื่องมือสื่อสาร การใช้ภาษาไทย ในชีวิตประจาวัน กระบวนการพัฒนาด้านการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน การใช้ภาษาไทย ในการสื่อสาร ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ การเขียนรายงาน การนาเสนอผลงานโดยใช้สื่อ และเทคโนโลยี 001002

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 (English for Communication I)

3(3-0-6)


ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษในการสื่ อสารใน ชีวิตประจาวัน การฟังข้อความสั้น ๆ การออกเสียงในระดับคา วลี และประโยค การอ่านป้ายประกาศ แบบฟอร์ม ใบสมัคร ฉลากสินค้าต่าง ๆ การเขียนข้อความเกี่ยวกับตนเอง การเขียนบรรยาย เหตุการณ์ และการจดบันทึก 001003

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3(3-0-6) (English for Communication II) พื้นความรู้ : สอบผ่านรายวิชา 001002 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 ทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน ภาษาอังกฤษในระดับที่ซับซ้อน ขึ้น การฟังและการพูด แสดงความคิดเห็นประกอบ การอ่านจับใจความสาคัญในระดับย่อหน้า การ เขียนอธิบายเกี่ยวกับคน สิ่งของ และสถานที่ 001004

ภาษาไทยเพื่องานอาชีพ 3(3-0-6) (Thai for Occupational Purposes) ทักษะการใช้ภาษาไทยในการสื่อสารสาหรับงานอาชีพอย่างมีศิลปะ ถูกต้อง ตามกาลเทศะ บุคคล และโอกาส การนาเสนอในเชิงให้ความรู้ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ การเขียน ประชาสัมพันธ์และโฆษณา การเขียนโครงการ การเขียนรายงานสาหรับงานอาชีพ และการเขียนจดหมาย 001005

ความงดงามทางภาษาไทย 3(3-0-6) (Aesthetics of Thai Language) ความสาคัญและคุณค่าของภาษาไทยในเชิงวรรณศิลป์ การรับรู้ถึงความงดงาม ทางภาษา การประเมินคุณค่าให้สอดคล้องกับเนื้อหา และการถ่ายทอดความงดงามทางภาษาในรูปแบบ ต่าง ๆ 001006

ภาษาอังกฤษเพื่องานอาชีพ 3(3-0-6) (English for Occupational Purposes) พื้นความรู้ : สอบผ่านรายวิชา 001003 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 ทั ก ษะการใช้ ภ าษาอั ง กฤษในการสื่ อ สารส าหรั บ งานอาชี พ อย่ า งมี ศิ ล ปะ ถูกต้องตามกาลเทศะ บุคคล และโอกาส การนาเสนอข้อมูลและแสดงความคิดเห็น การอ่านบทความ เกี่ยวกับ งานอาชีพ การเขียนจดหมายสมัครงาน ประวัติส่วนตัว การโต้ตอบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การสอบถาม และการให้ข้อมูลเกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบ


001007

ภาษาจีนกลางพื้นฐาน 3(3-0-6) (Foundation Chinese) ทักษะการฟัง พูด ภาษาจีนกลางเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน การอ่าน ออกเสียง ภาษาจีนกลางตามมาตรฐาน ระบบเสียงภาษาจีนกลางเบื้องต้น ทักษะการอ่าน อักษรพินอิน หลักการเขียนอักษรจีนเบื้องต้น 001008

ภาษาญี่ปุ่นพื้นฐาน 3(3-0-6) (Foundation Japanese) คาศัพท์ รูปประโยค ไวยากรณ์พื้นฐานภาษาญี่ปุ่นโดยตัวอักษรโรมัน และการ สนทนา ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน 001009

เขียน

ภาษาเขมรพื้นฐาน 3(3-0-6) (Foundation Cambodian) โครงสร้างพื้นฐานของภาษาเขมร ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการ การสนทนาในชีวิตประจาวันที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของชาวกัมพูชา

001010

ภาษาฮินดีพื้นฐาน 3(3-0-6) (Foundation Hindi) การเขียนพยัญชนะและสระ การออกเสียง การผสมพยัญชนะกับสระ การ แจกรูปนาม คุณศัพท์ สังขยา สรรพนาม กริยา กริยาวิเศษณ์ ลักษณะประโยคพื้นฐาน การสนทนาใน ชีวิตประจาวัน 001011

ภาษาฝรั่งเศสพื้นฐาน 3(3-0-6) (Foundation French) ตัวอักษรภาษาฝรั่งเศส และไวยากรณ์ ทักษะเบื้องต้นการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน การสนทนาในชีวิตประจาวัน 001012

ภาษาลาวพื้นฐาน (Foundation Lao)

3(3-0-6)


ใน

ระดับเสียง โครงสร้างทางไวยากรณ์ รูปประโยคพื้นฐาน ถ้อยคา สานวนที่ใช้ การสื่อสาร ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาลาว การสนทนาในชีวิตประจาวัน

2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ รหัสวิชา ชื่อและคาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 002001 วิถีแห่งชีวิต 3(3-0-6) (Way of Life) ความหมายและคุ ณค่ า ของชี วิ ต คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมตามหลั ก ศาสนา เป้าหมาย ของชีวิต หลักสิทธิมนุษยชนเพื่อการดารงชีวิต การดารงตนอย่างมีสันติสุขและอยู่ร่วมกั นใน สังคม อย่างมีสันติภาพ การตัดสินคุณค่าของการกระทา และมาตรฐานทางจริยธรรม 002002

ท้องถิ่นไทย 3(3-0-6) (Thai Local Studies) ความเป็นมาของท้องถิ่นไทย สภาพทั่วไป สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ของ ท้องถิ่นต่าง ๆ ในประเทศไทย ความสาคัญ คุณค่า และความงดงามทางศิลปะและวัฒนธรรม บุคคล สาคัญ ของท้องถิ่นไทยและท้องถิ่นโคราช

002003

จิตวิทยาเพื่อการดาเนินชีวิต 3(3-0-6) (Psychology for Living) องค์ประกอบของความเป็นมนุษย์ พฤติกรรมและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การรู้จัก และพัฒนาตนเอง การอยู่ร่วมกับผู้อื่น การทางานเป็นหมู่คณะ และการดาเนินชีวิตให้มีความสุข 002004

มนุษย์กับสุนทรียภาพ 3(3-0-6) (Man and Aesthetics) ทฤษฎีสุนทรียศาสตร์ ความหมาย ความเป็นมาทางวิชาการกับปรากฏการณ์ ทางสุนทรีย์ ความซาบซึ้งในคุณค่าความงดงาม ทั้งทางศิลปะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ศาสนา และวัฒนธรรม การเข้าถึงความหมาย และความสุขจากสิ่งสุนทรีย์

รหัสวิชา

3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ชื่อและคาอธิบายรายวิชา

น(ท-ป-ศ)


003001

การเป็นพลเมือง 3(3-0-6) (Citizenship) ความหมายและความส าคั ญ การเป็ น พลเมื อ งไทยและพลเมื อ งโลก การ ปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ความหมายของสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ และความรับผิดชอบ ความสาคัญของกฎเกณฑ์และกติกาของสังคม จิตอาสา หลักแห่งการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติ 003002

สังคมโลกอนาคต 3(3-0-6) (Futurology of Global Society) แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ การศึ ก ษาอนาคต วิ ธี วิ ท ยาในการศึ ก ษาอนาคต แนวโน้ม ความเป็นไปได้ของปัญหาประชากร สิ่งแวดล้อม พลังงาน เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และจริยธรรม ในบริบท กระบวนทัศน์ พลวัต และผลกระทบต่ออนาคต การ เตรียม ความพร้อม สาหรับการเปลี่ยนแปลงสังคมโลกและสังคมไทยในอนาคต 003003

มนุษย์กับอารยธรรม 3(3-0-6) (Man and Civilization) การสร้ า งอารยธรรมของมนุษ ยชาติ อารยธรรมตะวั นออกและตะวัน ตก พัฒนาการอารยธรรมตั้งแต่สมัยก่อนประวั ติศาสตร์ถึงสมัยปัจจุบัน การวิเคราะห์กระบวนการรังสรรค์ อารยธรรม ในบริบททางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และภูมิรัฐศึกษา 003004 อาเซียนศึกษา 3(3-0-6) (ASEAN Studies) หลั ก การ ที่ ม า และความส าคั ญ ของการรวมกลุ่ ม ประชาคม ทฤษฎี ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ บริบททางสังคม วัฒนธรรม กระบวนทัศน์ เศรษฐกิจ และภูมิรัฐศึกษา ของประเทศ ต่าง ๆ ในอาเซียน การเจรจาและความร่วมมือในประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียนและ ข้อตกลงต่าง ๆ ศักยภาพ ความเข้มแข็งและความ พร้อมของอาเซียนในการก้าวสู่เวทีโลก 003005

กฎหมายในการดารงชีวิต 3(3-0-6) (Law for Living) กฎเกณฑ์ ค วบคุ ม ความประพฤติ ข องสมาชิ ก ในสั ง คม วิ วั ฒ นาการของ กฎหมาย ความหมายและประเภทของกฎหมาย ระบบกฎหมาย การใช้และการตีความกฎหมาย สิทธิ หน้าที่ ขั้นพื้นฐานของบุคคลและการใช้สิทธิ หลักทั่วไปกฎหมายแพ่ง เกี่ยวกับบุค คล ทรัพย์สิน นิติ กรรมสัญญา หนี้ ละเมิด ครอบครัว และมรดก การกระทาความผิดทางอาญา รวมทั้งกระบวนการ


ยุติธรรมของไทย

003006

แหล่งและวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3(3-0-6) (Self-Access Learning and Resource) ความหมาย ความสาคัญ ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ การค้นคว้าจาก แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึง และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรสารสนเทศในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตลอดชีวิต การจัดเก็บและค้นคืนทรัพยากรสารสนเทศ การประเมินค่าสารสนเทศ การจดบันทึกทาง วิชาการ การทารายการบรรณานุกรมและการอ้างอิง 4. กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ชื่อและคาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 004001 เทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) (Information Technology) ทฤษฎี ด้ า นคอมพิ ว เตอร์ แ ละสารสนเทศ การประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการท างานและ ชีวิตประจาวัน วิธีการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ ระบบข้อมูลข่าวสาร อินเตอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลทางวิชาการ ผลกระทบทางสังคมและจริยธรรม กฎหมายทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้โปรแกรมประยุกต์สานักงาน การใช้คอมพิวเตอร์และความรู้ทางด้านสารสนเทศเพื่อ แสวงหาความรู้และการเรียนรู้ตลอดชีวิต 004002

การคิดเชิงระบบและการตัดสินใจ 3(3-0-6) (System Thinking and Decision Making) หลักการและกระบวนการคิดของมนุษย์ การคิดเชิงระบบ ตรรกศาสตร์และการให้ เหตุผล การวิเคราะห์ข้อมูลและข่าวสาร กระบวนการและทฤษฎีการตัดสินใจ และการประยุกต์ใช้ ใน ชีวิตประจาวัน 004003

การส่งเสริมสุขภาพและการออกกาลังกาย 3(2-2-5) (Health Promotion and Exercise) การส่งเสริมสุขภาพตามช่วงวัยต่าง ๆ แบบองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ คือ กาย ใจ สั ง คม และปั ญ ญา การควบคุ ม ปั จ จั ย เสี่ ย งต่ อ สุ ข ภาพ การควบคุ ม พฤติ ก รรมเสี่ ย งทางเพศ การจั ด การ ความเครี ย ด ภู มิ ปั ญ ญาพื้ น บ้ า นและสมุ น ไพรที่ ใ ช้ ใ นการดู แ ลสุ ข ภาพการรั บ ประทานอาหารที่ มี คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการ อาหารเสริมสุขภาพ หลักและวิธีการออกกาลังกาย การฝึกปฏิบัติการออกกาลังกาย และ


เล่นกีฬา

004004

สิ่งแวดล้อมและพลังงานเพื่อความยั่งยืนแห่งชีวิต 3(3-0-6) (Environment and Energy for Sustainable Living) ความหมายและประเภทของพลังงาน การใช้พลังงานในอดีตถึงปัจจุบัน ปัญหาการใช้ พลั ง งานที่ มี ผ ลกระทบต่ อ เศรษฐกิ จ สั ง คม การเมื อ ง เทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม การอนุ รั ก ษ์ พลั ง งาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาวะโลกร้อน ภัยพิบัติ มลภาวะในรูปแบบต่าง ๆ และแนวทางป้องกัน แก้ไข 004005

อาหารเพื่อชีวิต 3(3-0-6) (Food for Life) หลั ก การผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ท างการเกษตรทั้ ง ทางด้ า นพื ช และสั ต ว์ การผลิ ต เกษตร อินทรีย์ เกษตรปลอดสารพิษ และการเกษตรในโครงการพระราชดาริ การเสื่อมเสียของอาหารและการควบคุม คุณภาพ หลักและวิธีในการเลือกซื้ออาหาร คุณค่าทางโภชนาการ หลักเบื้องต้นในการถนอม และแปรรูปอาหาร โดยใช้ความร้อน ความเย็น การทาแห้ง หมักดอง การใช้สารเคมี รังสี และไมโครเวฟ 004006

เทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6) (Technology in Daily Life) ความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ที่ ใ ช้ ใ นชี วิ ต ประจ าวั น หลักการทางานเบื้องต้นและการใช้งานเครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ภายในสถานที่ทางาน คอมพิวเตอร์ เครือ่ งยนต์ การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของความรับผิดชอบและจริยธรรม 5. กลุ่มวิชาการบริหารจัดการ รหัสวิชา ชื่อและคาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 005001 การเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่ 3(3-0-6) (Modern Entrepreneurship) แนวคิดพื้นฐานการเป็นผู้ประกอบการ การตลาด ทรัพยากรมนุษย์ การผลิต การบริ ก าร การเงิ น และบั ญ ชี โดยบู ร ณาการกั บ แนวคิ ด หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง จริ ย ธรรมในการ ประกอบการ ทั ก ษะการเป็ น ผู้ น ายุ ค โลกาภิ วั ฒ น์ ด้ า นการบริ ห ารจั ด การและการสื่ อ สารองค์ ก ร


การทางานเป็นทีม 005002

เศรษฐกิจกับวิถีชีวิต 3(3-0-6) (Economy and Living) วิวัฒนาการของโครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม การ จัดการทรัพยากร การบริโภค การผลิต การตลาด การเงินการคลัง การค้าระหว่างประเทศ สภาพปัญหา เศรษฐกิจ สังคมและแนวทางการแก้ไข การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดารงชีวิตในสภาพ เศรษฐกิจสังคมปัจจุบัน 005003

การจัดการตนเองเพื่อการพัฒนางาน 3(3-0-6) (Self-Management for Work Development) แนวคิดพื้นฐานเรื่องการประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการทางาน การ ตั้งเป้าหมาย ในการทางาน การจัดการอุปสรรคในการทางาน การพัฒนาบุคลิกภาพ การสร้างความ เชื่อมั่น ในตนเอง เทคนิ ควิธีในการทางานร่ ว มกับผู้ อื่น การจัดการความขัดแย้งระหว่างบุคคล และ วิธีการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ ในสานักงานอย่างมีประสิทธิภาพ ข. หมวดวิชาเฉพาะ 1. กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 1.1 กลุ่มวิชาชีพพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ชื่อและคาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 401101 ฟิสิกส์ 1 (Physics 1) 3(3-0-6) กลศาสตร์พื้นฐาน การสั่นและคลื่น ความร้อนและอุณหพลศาสตร์ สมบัติเชิงกลของสสาร กลศาสตร์ของไหล สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก คลื่นเสียงและแสง ฟิสิกส์แผนใหม่ 401102

ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 (Physics Laboratory 1) พื้นความรู้ : ศึกษาพร้อมกับรายวิชา 401101 ฟิสิกส์ 1 ปฏิบัติการที่สอดคล้องกับรายวิชาฟิสิกส์ 1

1(0-3-2)

402101

เคมี 1 3(3-0-6) (Chemistry 1) โครงสร้างอะตอม พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของธาตุเรพรีเซนเททีฟ และ ธาตุแทรนซิชัน ของเหลวและสารละลาย สมดุลเคมี กรด - เบส เคมีสิ่งแวดล้อม 402102

ปฏิบัติการเคมี 1

1(0-3-2)


(Chemistry Laboratory 1) พื้นความรู้ : ศึกษาพร้อมกับรายวิชา 402101 เคมี 1 หลักปฏิบัติทั่วไปในการทาปฏิบัติการเคมี ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ เกรดและการใช้ส ารเคมี การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือพื้นฐานทางเคมี และปฏิบัติการเกี่ยวข้องกับ ปฏิกิริยาเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ การเตรียมสารละลาย สมดุลเคมี และกรด - เบส เป็นต้น 402121

เคมีอินทรีย์พื้นฐาน 2(2-0-4) (Fundamental of Organic Chemistry) พื้นความรู้ : สอบผ่านรายวิชา 402101 เคมี 1 การเกิดไฮบริ ดออร์บิทัล สเตอริโ อเคมี ชนิดของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ การ เรียกชื่อ สมบัติทางกายภาพ การเตรียมและปฏิกิริยาของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน สารประกอบอะโร เมติกและสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชันชนิดต่าง ๆ เช่น เฮไลด์ อัลกอฮอล์ อีเทอร์ อัลดีไฮด์ คีโตน เอมีน กรดคาร์บอกซิลิก และอนุพันธ์ เอมีน และสารประกอบโมเลกุลใหญ่ต่าง ๆ เช่น ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต 402122

ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์พื้นฐาน 1(0-3-2) (Fundamental of Organic Chemistry Laboratory) พื้นความรู้ : เคยศึกษาหรือกาลังศึกษารายวิชา 402121 เคมีอินทรีย์ พื้นฐาน

402241

ชีวเคมีพื้นฐาน 2(2-0-4) (Fundamental of Biochemistry) พื้นความรู้ : สอบผ่านรายวิชา 402121 เคมีอินทรีย์พื้นฐาน ประวัติและความหมายของชีวเคมี พีเอชและบัฟเฟอร์ในสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและ หน้าที่ของชีวโมเลกุล การประยุกต์ใช้ชีวโมเลกุลในด้านต่างๆ เอนไซม์ ฮอร์โมน วิตามิน และเมแทบอลิซึม เบื้องต้น 402242

ปฏิบัติการชีวเคมีพื้นฐาน 1(0-3-2) (Fundamental of Biochemistry Laboratory) พื้นความรู้ : เคยศึกษาหรือศึกษาพร้อมกับรายวิชา 402241 ชีวเคมีพื้นฐาน


ปฏิบั ติการเกี่ยวกับการใช้สารละลายบัฟเฟอร์ในทางชีวเคมี การทดสอบเชิง คุณภาพ และการวิเคราะห์เชิงปริมาณของสารชีวโมเลกุล การทดสอบเอนไซม์เบื้องต้น และกระบวนการเม แทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต

403101

ชีววิทยา 1 3(3-0-6) (Biology 1) สมบั ติ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต การจั ด ระบบสิ่ ง มี ชี วิ ต ระเบี ย บวิ ธี วิ ท ยาศาสตร์ สารประกอบในสิ่งมีชีวิต เซลล์และเมแทบอลิซึม พันธุศาสตร์ กลไกของวิวัฒนาการ ความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของพืช โครงสร้างและหน้าที่ของสัตว์ นิเวศวิทยาและพฤติกรรม 403102

ปฏิบัติการชีววิทยา 1 1(0-3-2) (Biology Laboratory 1) พื้นความรู้ : ศึกษาพร้อมกับรายวิชา 403101 ชีววิทยา 1 ปฏิบัติการเรื่องการใช้อุปกรณ์และระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การใช้ กล้ องจุ ล ทรรศน์ การทดสอบสารประกอบในสิ่ งมี ชีวิต เซลล์ และการแบ่งเซลล์ พันธุศาสตร์ ความ หลากหลายของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของพืช โครงสร้างและหน้าที่ของสัตว์ นิเวศวิทยาและ พฤติกรรม 408103

แคลคูลัสสาหรับวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 3(3-0-6) (Calculus for Applied Science) ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชันตัวแปรเดียวและการประยุกต์ และการหาปริพันธ์ 1.2 กลุม่ วิชาชีพพื้นฐานสาธารณสุข 601101 การสาธารณสุข 1(1-0-2) (Public Health) ความหมาย ความสาคัญของการสาธารณสุข ประวัติความเป็นมา แนวคิดและ ขอบเขตงานสาธารณสุ ข กองทุ น หลั ก ประกั น สุ ข ภาพ บทบาทของนั ก วิ ช าการด้ า นสาธารณสุ ข สถานการณ์ด้านสาธารณสุข 601102

กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1

2(1-2-3)


(Human Anatomy and Physiology I) บทนาทางกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ ระบบปกคลุมร่างกาย ระบบ โครงร่าง ระบบกล้ามเนื้อ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบน้าเหลืองและภูมิคุ้มกัน ระบบ ประสาท ระบบรับความรู้สึก และระบบหายใจ

601103

กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 2 2(1-2-3) (Human Anatomy and Physiology II) โครงสร้ างและหน้าที่การทางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ ได้แก่ ระบบย่อยอาหาร ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ระบบสืบพันธุ์ และการควบคุมสมดุลของ ร่างกาย 601104

จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยาเบื้องต้น 3(3-0-6) (Introduction to Microbiology and Parasitology) โครงสร้าง ลักษณะ คุณสมบัติ และสรีรวิทยาของจุลินทรีย์และปรสิตที่ก่อโรค ในมนุษย์ การติดต่อ การแพร่กระจาย การก่อโรคของจุลินทรีย์และปรสิต การติดเชื้อและกลไกกา ร ต้านทานโรคของร่างกาย หลักการทาลายและยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์และปรสิต การเก็บ ตัวอย่างและ การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ ปัญหา ความสาคัญ การป้องกันและการควบคุม จุลินทรีย์และปรสิตในทางสาธารณสุข

601105

ปฏิบัติการจุลชีววิทยาและปรสิตเบื้องต้น

1(0-3-2)

(Introduction to Microbiology and Parasitology Laboratory)

การศึกษาจุลินทรีย์และปรสิตที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขโดยการใช้กล้อง จุลทรรศน์ เทคนิคปลอดเชื้อ เทคนิคการเพาะเลี้ยงเชื้อ การควบคุม การทาลายจุลินทรีย์และปรสิต การ เก็บตัวอย่างและการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ 601106

ประชากรและการคานวณสถิติชีพ 1(1-0-2) (Demography and Vital Statistics Calculation) ขนาด โครงสร้าง การกระจายตัว และการเปลี่ยนแปลงของประชากร ภาวะ เจริญพันธุ์ ภาวะการตาย การย้ ายถิ่น เทคนิควิธีทางประชากรศาสตร์ แหล่งข้อมูลและตัวชี้ วัดทาง


ประชากร และการคานวณสถิติชีพ 601201

การสื่อสารเพื่อสุขภาพ 2(2-0-4) (Health Communication) การนาแนวคิดทฤษฎีการสื่อสารมาประยุกต์ใช้เพื่อการดูแลสุขภาพ รูปแบบ และวิ ธี ก ารสื่ อ สารทุ ก ระดั บ ตั้ ง แต่ ก ารสื่ อ สารระดั บ บุ ค คล การสื่ อ สารระหว่ า งบุ ค คล และการ สื่อสารมวลชน 2. กลุ่มวิชาชีพสาธารณสุข รหัสวิชา ชื่อและคาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 601111 อาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น 3(3-0-6) (Introduction to Occupational Health and Safety) ความหมาย ความสาคัญ ขอบเขตงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย อุบัติเหตุที่เกิดจากการทางาน สิ่งแวดล้อมในการทางาน การยศาสตร์ โรคจากการประกอบอาชีพ การประเมินความเสี่ยง การควบคุมป้องกันอันตรายจากการทางาน มาตรฐานและกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 601211

สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) (Health Education and Health Behavior) ความหมายของสุ ข ภาพและพฤติ ก รรมสุ ข ภาพ องค์ ป ระกอบของ พฤติกรรมสุขภาพ ตัวกาหนดสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง ทฤษฎีพฤติกรรมสุขภาพที่สาคัญ กล ยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพ ความหมายของสุขศึกษา วิธีการสุขศึกษา การดาเนินงานสุขศึกษา การ ประเมินผลงานสุขศึกษา 601212

การบริหารงานสาธารณสุข 3(3-0-6) (Public Health Administration) ความส าคัญ ของการบริ ห ารสาธารณสุ ข แนวคิ ด ทฤษฎี หลั กการ การ บริหารสาธารณสุข การกาหนดกลยุทธ์โดยใช้เครื่องมือ SWOT Analysis การกาหนดแผนงาน/ โครงการแก้ปัญหาสาธารณสุข การนากระบวนการจัดการความรู้และกฎหมายสาธารณสุขมาใช้ใน การบริหารงานสาธารณสุข เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข การประยุกต์ใช้ในการจัดการสุขภาพใน ชุมชน


601213

กฎหมายสาธารณสุขและจริยธรรมวิชาชีพ 3(3-0-6) (Public Health Law and Professional Ethics) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและ สาธารณสุข แนวคิด ความหมาย และความสาคัญของจริยธรรม จรรยาบรรณในงานสาธารณสุข การประยุกต์ใช้กฎหมายในงานสาธารณสุข

601214

การปฐมพยาบาล 3(2-2-5) (First Aid) ความหมายและความสาคัญของการปฐมพยาบาล การตรวจ ประเมินเพื่อให้การช่วยเหลือเบื้องต้น อุบัติเหตุที่พบบ่อยในสถานประกอบการ การปฐมพยาบาล ผู้บาดเจ็บ และการช่วยฟื้นคืนชีพ 601311

ชีวสถิติ 3(2-2-5) (Biostatistic) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ การเก็บรวบรวม การนาเสนอ ข้อมูล การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงของข้อมูล การประมาณค่าและการทดสอบ สมมติฐาน การวิเคราะห์สถิติอนุมาน การแปลผลและการตีความหมายของค่าสถิติ การคานวณ ขนาดตัวอย่าง และการเลือกสถิติ ตลอดจนการฝึกปฏิบัติในการวิเคราะห์ข้อมูลด้านสุขภาพ 601312

อนามัยสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) (Environmental Health) ความรู้ พื้น ฐานทางอนามัย สิ่ งแวดล้ อ ม การจัด การน้าสะอาด การ บาบัดน้าเสียและ สิ่งปฏิกูล การจัดการมูลฝอยและของเสียอันตราย การควบคุมมลพิษทาง อากาศ เสียง และ ความสั่นสะเทือน การสุขาภิบาลอาหาร ที่อยู่อาศัย สถาบัน และ สถานประกอบการ การควบคุม ป้องกันสัตว์และแมลงพาหะนาโรค การจัด การเหตุราคาญ การ จัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน 601313

วิทยาการระบาด 3(3-0-6) (Epidemiology) แนวคิดพื้นฐานของวิทยาการระบาด วิวัฒนาการและประวัติความ เป็นมาของวิทยาการระบาด ความหมาย วัตถุประสงค์ ขอบเขต และประโยชน์ของวิทยาการ


ระบาด ธรรมชาติและองค์ประกอบของการเกิดโรค ลักษณะและการกระจายของโรค ดัชนีที่ใช้ วัดสภาวการณ์เจ็ บ ป่ ว ยและ การตาย การเฝ้ าระวังทางวิทยาการระบาด การสอบสวนโรค หลักการป้องกันและควบคุมโรค รูปแบบการศึกษาทางวิทยาการระบาด การประยุกต์วิทยาการ ระบาดเพื่อใช้ในงานสาธารณสุข

601314

โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ 3(3-0-6) (Communicable and Non-Communicable Disease) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ โรคติดต่อที่สามารถ ป้องกันได้ด้วย การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โรคติดต่อจากอาหารและน้า โรคติดต่อที่นาโดยแมลง โรคติ ด ต่อ ระหว่า งสั ต ว์แ ละคน กลุ่ ม โรคหั ว ใจหลอดเลื อ ดและเบาหวาน กลุ่ ม โรคพัน ธุ กรรม โรคมะเร็ง และโรคที่เกี่ยวกับมลพิษสิ่งแวดล้อม 601315

ฝึกประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม (Field Practicum in Public Health and Environmental)

1(0-90-0)

ฝึ กปฏิบั ติก ารส ารวจปัญหาสุ ขภาพชุ มชนด้ ว ยเครื่ องมือ 7 ชิ้ น การ วินิจฉัยชุมชน การกาหนดแนวทางพัฒนาสุขภาพชุมชน การเขียนโครงการ การพัฒนาชุมชนใน ด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา 601411

การฝึ กประสบการณ์ วิช าชี พอาชี วอนามั ย 6(0-640-0) และความปลอดภัย (Field Practicum in Occupational Health and Safety) ฝึกปฏิบัติงานด้านวิชาชีพตามสาขาวิชาที่ศึกษาในหน่วยงานของภาครัฐ หรื อภาคเอกชน เป็น เวลาไม่น้ อยกว่า 640 ชั่ว โมง โดยบูรณาการความรู้ที่ได้จากในหลั กสู ตร การศึกษา ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ที่ป รึกษาหรืออาจารย์ นิเทศ เพื่อให้ได้รับความรู้ พัฒนาทักษะ เจตคติ และประสบการณ์ในวิชาชีพ 601412

สหกิจศึกษา

6(0-640-0)


(Co-operative Education) ฝึกปฏิบัติงานด้านวิชาชีพตามสาขาวิชาที่ศึกษาในสถานประกอบการ หรือองค์กรผู้ใช้บัณฑิต เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 640 ชั่ วโมง โดยบูรณาการความรู้ที่ได้จากการศึกษา ในหลักสูตรการศึกษากับการปฏิบัติงานจริงเสมือนหนึ่งเป็นพนักงาน การจัดทาโครงการ การ รายงานผลการปฏิบัติงาน การเขียนรายงานโครงการ และการนาเสนอโครงการตามคาแนะนา ของพนั กงานที่ป รึกษา อาจารย์ ที่ปรึ กษาหรืออาจารย์นิเทศ เพื่อให้ เกิดทักษะ องค์ความรู้ใน วิ ช าชี พ และคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมในวิ ช าชี พ มี ลั ก ษณะนิ สั ย หรื อ บุ ค ลิ ก ภาพที่ จ าเป็ น ต่ อ การ ปฏิบัติงาน เพื่อให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานที่พร้อมจะ ทางานได้ทันทีเมื่อสาเร็จการศึกษา 3. กลุ่มวิชาชีพเฉพาะสาขา รหัสวิชา ชื่อและคาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 601221 หลักการวิศวกรรมสาหรับงานอาชีวอนามัย 2(2-0-4) ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม (Principles of Engineering for Occupational Health Safety and Environment) ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์เบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมโครงสร้างงานอาคาร การ เขียนแบบ การอ่านแบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเบื้องต้น ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า พื้นฐานวิศวอุตสาหกรรม ระบบควบคุมทางวิศวกรรม หน่วยการผลิตและกระบวนการผลิตทางวิศวกรรมเคมี อุณหพลศาสตร์และ การถ่ายเทความร้อน กลศาสตร์ของไหล ระบบท่อ ปั๊ม เครื่องอัดอากาศ

601222

พิษวิทยาอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) (Occupational and Environmental Toxicology) ความรู้เกี่ยวกับพิษวิทยา หลักการด้านพิษวิทยา กลไกการเกิดพิษ ปริมาณ และการตอบสนองของร่ างกายต่อสารพิษ อันตรายของสารเคมีที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมและที่พบใน สิ่งแวดล้อม การประเมินการได้รับสัมผัสสาร ดัชนีทางชีวภาพ และการวิเคราะห์ตัวอย่าง การควบคุม ป้องกันจากการใช้งานสารเคมี การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ และการจัดการความเสี่ยง 601223

สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นมูลฐาน (Fundamental of Industrial Hygiene)

2(2-0-4)


หลักการทางสุขศาสตร์อุตสาหกรรมในการตระหนัก ประเมิน และควบคุม อันตรายจากสิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน คาแนะนาการสัมผัส และ มาตรฐานทางวิชาการที่เกี่ยวข้องทางสุขศาสตร์อุตสาหกรรม

601224

จิตวิทยาอุตสาหกรรม 2(2-0-4) (Industrial Psychology) ความเป็นมาของจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ แนวคิดที่สาคัญของ จิตวิทยา ทฤษฎีองค์การ พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ การนาจิตวิทยามาประยุกต์กับปัญหาที่น่าสนใจ ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น ทัศนคติ การรับรู้ ความคับข้องใจ ความเหนื่อยล้า การจัดสภาพแวดล้อม ในการทางาน ความปลอดภัย เทคนิคและวิธีการสื่อสาร การเป็นผู้นา วิธีการแก้ปัญหาของมนุษย์ใน อุตสาหกรรมและองค์การ 601225

วิศวกรรมความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) (Industrial Safety Engineering) มาตรการป้องกันและลดอุบัติเหตุโดยใช้วิธีการทางวิศวกรรมในการป้องกัน อันตรายต่าง ๆ ที่เกิดจากสภาพการทางาน เช่น เครื่องจักร หม้อไอน้า ไฟฟ้า การก่อสร้างอาคาร ที่อับ อากาศ เครื่องมือและเครื่องมือกล การเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บวัสดุอย่างปลอดภัย การวางผังโรงงาน เพื่อความปลอดภัย 601321

การบริหารงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 3(3-0-6) (Occupational Health and Safety Administrations) หลักการบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การวางแผน การจัดการ และบริหารองค์กร วิธีการจัดการและควบคุมอุบัติเหตุ ความปลอดภัยเชิงระบบ การบริหารจัดการ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลและอุปกรณ์ฉุกเฉิน พฤติกรรมมนุษย์และพฤติกรรมความ ปลอดภัยในการทางาน การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย เทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัยในการทางาน เทคนิ คเฉพาะด้ านอาชีว อนามั ย และความปลอดภัย ระบบสารสนเทศด้ านอาชีว อนามัย และคว าม ปลอดภัย มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่ 601322

ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม (Industrial Safety)

3(3-0-6)


ความสาคัญของความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม สาเหตุของการเกิด อุบัติเหตุและโรคจากการทางาน หลักการและวิธีในการป้องกันอุบัติเหตุ การสอบสวนและการวิเคราะห์ อุบัติเหตุ การบาดเจ็บในการทางาน อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล การทางานในสถานที่อับอากาศ การวางแผนป้องกันและระงับเหตุฉุกเฉิน การฝึกอบรมเพื่อความปลอดภัย กฎหมายความปลอดภัยใน การทางาน 601323

อาชีวเวชศาสตร์ขั้นมูลฐาน 2(2-0-4) (Fundamental of Occupational Medicine) แนวคิดด้านอาชีวเวชศาสตร์ในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาเหตุ ของการเกิดโรคที่เกิดเนื่องจากการทางาน ปัจจัยที่ทาให้เกิดโรค กลไกการทางานของร่างกายภายใต้ สิ่งแวดล้อมที่เป็นอันตราย เช่น สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมี ผลกระทบของโรคที่เกิดจาก การประกอบอาชีพทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม หลักการวินิจฉัยโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ การ ควบคุมและป้องกัน โรคจากการประกอบอาชีพ การฟื้นฟูสมรรถนะการทางาน 601324

การประเมินและจัดการความเสี่ยง 3(3-0-6) (Risk Assessments and Management) การชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยงในเชิงคุณภาพและปริมาณโดยใช้ เทคนิคการประเมินความเสี่ยงตามกฎหมาย ได้แก่ Checklist, What-If Analysis, Hazard and Operability Studied (HAZOP), Fault-Tree Analysis (FTA), Failure Modes and Effects Analysis (FMEA), Event-Tree Analysis (ETA) และเทคนิคอื่นๆ เช่น JSA, Root cause analysis การจัดทาแผนบริหารจัดการความเสี่ยง การจัดทารายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยง ตลอดจนการประเมิน ความเสี่ยงด้านสุขภาพเพื่อความปลอดภัยสาหรับพนักงานในสถานประกอบการ 601325

การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม 2(2-0-4) (Industrial Waste Management) แหล่งและสมบัติของสารอันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรม กฎหมายเกี่ยวกับ กากของเสีย การเก็บรวบรวม การขนส่ง การบาบัดกากของเสียอุตสาหกรรม การประเมินความเสี่ยง และความปลอดภัยในการจัดการของเสียอันตราย 601326

การยศาสตร์และสรีรวิทยาในการทางาน 3(2-2-5) (Ergonomics and Work Physiology) ความสาคัญของการยศาสตร์ การวัดขนาดสัดส่วนร่างกาย การควบคุมการ


ทางานของร่างกาย สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับการยศาสตร์และสรีรวิทยาในการทางาน หลักการชีวกลศาสตร์ สรีรวิทยาในการทางาน ปัญหาของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกและปัญหาสุขภาพ ที่เกี่ยวข้องกับสภาพงานที่ไม่เหมาะสม การค้นหาปัญหาและวิเคราะห์งานด้านการยศาสตร์ การจัด สภาพการท างานและวิ ธีก ารทางานให้ เ หมาะสม การออกแบบและการเลื อกใช้ เครื่อ งมื อ ประเมิ น ทางการยศาสตร์ การฝึกทักษะการใช้เครื่องมือทางอาชีวเวชศาสตร์

601327

การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ทางด้าน 3(3-0-6) สุขศาสตร์อุตสาหกรรม (Industrial Hygiene Sampling and Analysis) หลักการ วิธีเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ตัวอย่างสิ่งแวดล้อมการทางานด้าน กายภาพ เคมี และชีวภาพ การกาหนดจุดตรวจวัดตัวอย่าง จานวนตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่าง เทคนิคการ เก็บรักษาและนาส่งตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ หลักการทางานของเครื่องมือสาคัญที่ใช้ใน การเก็บตัวอย่างและวิเคราะห์ตัวอย่างทางสุขศาสตร์อุตสาหกรรม ได้แก่ เครื่องวัดระดับเสียง แสง ความ ร้อน อุปกรณ์เก็บตัวอย่างอากาศ ทั้งที่เป็นอนุภาค ก๊าซ และไอระเหย รวมทั้งเครื่องมือวิเคราะห์ทาง ห้องปฏิบัติการ 601328 ปฏิ บั ติ ก ารเก็ บ ตั ว อย่ า งและการวิ เ คราะห์ 1(0-3-2) ทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม (Industrial Hygiene and Safety Practice) ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องวัดระดับเสียง แสง ความร้อน เครื่องเก็บตัวอย่างจุลชีพ ปั๊มและอุปกรณ์เก็บตัวอย่างอากาศ เครื่องวัดก๊าซและไอระเหย ฝึกประเมินและแปลผลข้อมูลที่ได้จาก การตรวจวัดสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทางาน 601421

สัมมนาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1(0-3-2) (Occupational Health and Safety Seminar) ค้นคว้าแหล่งความรู้ที่นอกเหนือจากตาราที่เกี่ยวข้องกับงานด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานรายวิชาทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย นาเสนอและ อภิปรายในประเด็นทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่สนใจ มีการเชิญผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพมา บรรยาย โดยใช้กระบวนการสัมมนา 601422

กระบวนการผลิ ต ทางอุ ต สาหกรรมและ อันตราย (Industrial Process and Hazards)

2(2-0-4)


การศึกษากระบวนการทางอุตสาหกรรมการผลิตขั้นพื้นฐาน องค์ประกอบ และปั จจัย การผลิต เน้นศึกษาปัญหา อันตราย การป้องกันและการควบคุมอันตรายที่อาจเกิดจาก กระบวนการผลิตเน้นอุตสาหกรรมในสภาวะปัจจุบัน และศึกษาดูงาน 601423

การป้องกันอัคคีภัยและการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน 3(2-2-5) (Fire Prevention and Emergency Response Management) ความรู้ ทั่ ว ไปเกี่ ย วกับสาเหตุ ชนิด อั นตรายจากการเกิดอั คคีภัย และเหตุ ฉุกเฉินเกี่ยวกับสารเคมี การประเมินสถานการณ์ การประเมินผลกระทบจากการเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน การป้องกัน ควบคุม และระงับเหตุ การเลือกใช้อุปกรณ์ฉุกเฉิน สัญญาณเตือนภัย การวางแผนการ โต้ตอบฉุกเฉิน และการฝึกปฏิบัติการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน 601424

การระบายอากาศในงานอุตสาหกรรม 3(2-2-5) (Industrial Ventilation) ศึกษาหลักการและวิธีการจัดการระบายอากาศภายในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อกาจัด เจือจาง และควบคุมอันตรายจากมลพิษทางอากาศ หลักการในการออกแบบระบบระบาย อากาศ การตรวจการทางานของระบบระบายอากาศเพื่อการปรับปรุง และรักษาให้ อยู่ในสภาพดี รวมทั้งหลักการเก็บวิเคราะห์ตัวอย่างอากาศในปล่องควันและท่อระบายของระบบระบายอากาศ 601425

การจัดการเพื่อควบคุมการสูญเสียและการเพิ่ม 2(2-0-4) ผลผลิต (Loss Control and Productivity Improvement Management) ศึกษาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการบริหารเพื่อควบคุมความสูญเสีย การเพิ่ม ผลผลิต องค์ป ระกอบของการบริ หารความปลอดภัยเพื่อควบคุมความสู ญเสีย ระบบบริห ารความ สูญเสีย องค์ประกอบในการเพิ่มผลผลิตเทคนิคการเพิ่มผลผลิต การวัดและการประเมินการเพิ่มผลผลิต 601426

การจัดเก็บวัตถุอันตราย 2(2-0-4) (Storage of Hazardous chemicals) ความหมายของวัตถุอันตราย อันตรายจากวัตถุ อั นตราย การจาแนกวัต ถุ อันตราย บรรจุภัณฑ์ เครื่องหมาย ฉลากที่ใช้เก็บวัตถุอันตราย การขนส่ง การบรรทุกและการเคลื่อนย้าย วัตถุอันตราย ความปลอดภัยในการจัดเก็บวัตถุอันตราย มาตรการความปลอดภัยในการจัดการกับวัตถุ อันตราย กฎหมายเกี่ยวกับวัตถุอันตราย


601427

ระเบียบวิธีวิจัยในงานอาชีวอนามัย และความ 2(2-0-4) ปลอดภัย (Research Methodology on Occupational Health and Safety) หลักการวิจัยทางอาชีวอนามัย การสร้างหัวข้อวิจัยโดยอาศัยปัญหาในงานอาชี วอนามัยและความปลอดภัย การออกแบบการวิจัย ประชากรและตัวอย่างการวิจัย วิธีการสุ่มตัวอย่าง การสร้างเครื่องมือในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผล การสรุปผล การเขียนโครงร่างวิจัย การ เขียนรายงานการวิจัย จริยธรรมในงานวิจัย 601428

กฎหมายความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ 2(2-0-4) สิ่งแวดล้อม (Occupational Health, Safety and Environment Legislation) การบริหารจัดการด้านกฎหมายทั้งในและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับงานด้าน อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม อาทิ พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พระราชบัญญัติโรงงาน พระราชบัญญัติ สาธารณสุข พระราชบัญญัติสิ่งแวดล้อมและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งหลักการกาหนดมาตรฐาน ต่างๆ เจตนารมณ์และหลักการในการออกกฎหมาย การกากับดูแลให้เป็นไปตามกฎหมาย 601429

เทคนิคการควบคุมทางสุขศาสตร์อุตสาหกรรม 2(2-0-4) และความปลอดภัย (Industrial Hygiene Control Technique) การควบคุมสิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยในการทางานโดยใช้หลักการทางสุข ศาสตร์อุตสาหกรรม อันได้แก่ การควบคุมโดยการบริหารจัดการ การควบคุมทางด้านวิศวกรรม และการ ควบคุมที่ตัวบุคคล เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพในการทางาน


601430

มาตรฐานระดับ ชาติ แ ละสากลส าหรั บ ระบบ 2(2-0-4) การจั ด การร ะบบคุ ณ ภ าพ สิ่ ง แ วดล้ อ ม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (National and International Standard for Quality, Environment, Occupational Safety and Health Management System) ระบบมาตรฐานระดับชาติและระดับสากลสาหรับการจัดการระบบคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย และข้อกาหนดของมาตรฐานต่างๆ ที่สาคัญ ได้แก่ ISO 9001, ISO 14001, ISO 45001, ISO/IEC 17025, HACCP, GMP, ISO 26000, BSM มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เป็นต้น ค. หมวดวิชาเลือกเสรี เรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยไม่ซ้ากับ รายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กาหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสาเร็จ หลักสูตรของสาขาวิชานี้ รหัสวิชา 601231

ชื่อและคาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) ความปลอดภัยในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6) (Safety for Daily Life) ศึกษาความปลอดภัยในครัวเรือน อาหารปลอดภัย ความปลอดภัยในชุมชน ความปลอดภัยในสถานศึกษา ความปลอดภัยบนท้องถนน ตลอดจนความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับการ ทางานในอาชีพต่างๆ ที่สนใจ 601232

ความปลอดภั ย ในการผลิ ต เครื่ อ งส าอางขั้ น 3(2-2-5) พื้นฐาน (Safety in Basic Cosmetics Process) หลักการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางให้มีคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ การ ตรวจสอบคุณภาพ ข้อกาหนดทางกฎหมาย ความรู้พื้นฐานในการคัดเลือกวัตถุดิบ อุปกรณ์ กรรมวิธีการ ผลิตที่ปลอดภัย สารเคมีสาหรับการผลิตเครื่องสาอาง สารธรรมชาติจากพืชและสมุนไพร ฝึกปฏิบัติใน การผลิตสบู่ก้อน สบู่เหลว แชมพู ครีม โลชั่นสาหรับใช้ในครัวเรือน 601233

การประเมิ น ผลกระทบทางสิ่ ง แวดล้ อ มและ

3(3-0-6)


สุขภาพ (Environmental Health Impact Assessment) คาสาคัญ ความหมาย หลักการ แนวคิด กระบวนการ และประโยชน์ของการ ประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างการดาเนินงานประเมินผล กระทบทางสุขภาพ 601234

ภาษาอังกฤษเพื่องานอาชีวอนามัย 3(3-0-6) (English Skills for Occupational Health and Safety) ศึกษาการใช้ภ าษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารสาหรับงานอาชีวอนามัย โดยมุ่ง พัฒนาและฝึกฝนทักษะด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียนในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย 10.2 ชื่อ-สกุล เลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่งทางวิชาการ และคุณวุฒิของอาจารย์ 10.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร ที่ เลขบัตรประจาตัวประชาชน ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิสูงสุด (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จ การศึกษา) สังกัดสาขาวิชา/คณะ 1.

3730100353XXX นางธนิดา ผาติเสนะ รองศาสตราจารย์ ส.ด. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล (2544) สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน/ คณะสาธารณสุขศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ที่สอนในหลักสูตร

Phatisena T, Bureemas J and Wongwarissara P. (2016). “A Study of Herbal Plants Biodiversity at Polsongkhram Community Forest for the Illness Treatment Used in Pharmaceutical Recipes of Folk Healer at Nakhon Ratchasima Province”. In The 4th Rajabhat University National and International Research and Academic Conference 22- 24 November 2016. Buriram : Buriram Rajabhat University.

601212 การบริหารงานสาธารณสุข

อัญญาณี สาสวน และธนิดา ผาติเสนะ. (2558). “ผลของ โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอานาจที่มตี ่อการฟื้นฟูสภาพ ของผู้ป่วยหลังได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม”. ใน รายงาน การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติ สร้างสรรค์และพัฒนา เพื่อก้าวหน้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ครั้ง ที่ 2 วันที่ 18-19 มิถุนายน 2558. หน้า 110-119. นครราชสีมา : วิทยาลัยนครราชสีมา. จันทกานต์ วลัยเสถียร และธนิดา ผาติเสนะ. (2558). “ผลของ โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในบุคลากรกลุ่ม เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงของสานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5


ที่ เลขบัตรประจาตัวประชาชน ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิสูงสุด (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จ การศึกษา) สังกัดสาขาวิชา/คณะ

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

จังหวัดนครราชสีมา”. ใน รายงานการประชุมวิชาการเสนอ ผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 34 วันที่ 27 มีนาคม 2558. หน้า 750-759. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย ขอนแก่น. จรีวัฒนา กล้าหาญ และธนิดา ผาติเสนะ. (2558). “แนวทาง การพัฒนาจัดสวัสดิการสังคมสาหรับผู้สงู อายุที่รับเบี้ยยังชีพ เทศบาลหนองไผ่ลอ้ ม อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา”. ใน รายงานการประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 วันที่ 28-29 เมษายน 2558. หน้า 137-146. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน สุนันทา Phatisena, T. (2015). “A Study of Health Status and Health Care for Senior Citizen at Mueang District, Nakhon Ratchasima”. Review of Integrative Business and Economics Research 2-3 July 2015 in Japan. Vol 4(NRRU) : 175-182. Phatisena, T. (2015). “Knowledge Management of Local Wisdom in Health Care of Parpartum Women by Tub Moa Gluea Method”. In The International conference Proceeding ASEAN Community Knowledge Networks for the Economy Society, Culture, and Environment Stability 30 March 3April 2015. Chiang Rai : Chiang Rai Rajabhat University. ธนิดา ผาติเสนะ. (2557). “การศึกษาการสร้างเสริมสุขภาพ ของผู้สูงอายุในพื้นที่เมืองชุมชนสามัคคี ตาบลตลาด อาเภอ เมือง จังหวัดมหาสารคาม”. วารสารวิจยั เพื่อการพัฒนาเชิง พื้นที่ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 (กรกฎคม-สิงหาคม 2557).6(6) : 68-69. Phatisena, T. (2014). “Folk Healers and Holistic Health Care : A Case Study of Polsongkram Subdistrict, Nonsong District, Nakhon Ratchasima

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ที่สอนในหลักสูตร


ที่ เลขบัตรประจาตัวประชาชน ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิสูงสุด (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จ การศึกษา) สังกัดสาขาวิชา/คณะ

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ที่สอนในหลักสูตร

Province”. In International Conference Proceedings ASEAN Community Knowledge Network for the Economy, Society, Culture, and Environment Stability 21 May 2014. P275-281. Chiang Rai : Chiang Rai Rajabhat University. Satayavongthip B, Phatisena T, Santiwong C, Aeksanti T. (2014). “Teen-Parenting Behavior to Prevent a Teenager from Premature Pregnancy”. Review of Integrative Business and Economics Research 2-3 September in Hong Kong, China. Vol3(NRRU) : 115122.

2.

3409940652XXX นายพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์ รองศาสตราจารย์ ปร.ด. (ประชากรศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล (2544) สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน/ คณะสาธารณสุขศาสตร์

พรพิมล ประภาสิริพันธุ์ และธนิดา ผาติเสนะ. (2556). “ปัจจัยที่มอี ิทธิพลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา”. วารสาร ราช พฤกษ์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 (กุมภาพันธ์-พฤษภาคม 2556). 10(3) : 94-99. มาตุภูมิ พอกระโทก และพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์. (2557). “การ พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรค ไข้เลือดออกโดยกระบวนการเสริมพลังอานาจ ตาบลด่านเกวียน อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2557). 12(3) : 123-131. Satayavongthip B, Phatisena T, Santiwong C, Aeksanti T. (2014). “Teen-Parenting Behavior to Prevent a Teenager from Premature Pregnancy”. Review of Integrative Business and Economics Research 2-3 July 2015 in Japan. Vol3(NRRU) : 115-122.

จตุพร เดื่อไธสง และพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์. (2556). “ผล การแก้ไขพฤติกรรมการใช้ยาไม่เหมาะสมของผู้สูงอายุด้วย โปรแกรมการดูแลสุขภาพที่บ้านในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สถานีอนามัยหนองนาพัฒนา อาเภอห้วยแถลง จังหวัด นครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 (กุมภาพันธ์-พฤษภาคม 2556). 10(3) : 27-32.

601101 การสาธารณสุข 601106 ประชากรและการคานวณ สถิติชีพ 601315 ฝึกประสบการณ์ภาคสนาม สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม


ที่ เลขบัตรประจาตัวประชาชน ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิสูงสุด (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จ การศึกษา) สังกัดสาขาวิชา/คณะ

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ที่สอนในหลักสูตร

ชุติกาญจน์ คงพงศ์เกษม และพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์. (2556). “การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการฟื้นฟูสมรรถภาพ คนพิการ โดยใช้กระบวนการเสริมสร้างพลังอานาจ ตาบลห้วย แย้ อาเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูม”ิ . วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 (กุมภาพันธ์-พฤษภาคม 2556). 10(3) : 31-37. สุชาติ สนพะเนาว์ และพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์. (2556). “การ พัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมูบ่ ้านใน การตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ของศูนย์สุขภาพชุมชน ทุ่งกระโดน จังหวัดนครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 (กุมภาพันธ์พฤษภาคม 2556). 10(3) : 39-45. สุระพงษ์ ฝ่ายเคนา และพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์. (2556). “การ พัฒนาการดูแลสุขภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหวโดยการมี ส่วนร่วมของชุมชน ในพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านใหม่ อาเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา”. วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 (กุมภาพันธ์-พฤษภาคม 2556). 10(3) : 46-52.

3.

3249900193XXX นางสาวจารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ อาจารย์ ปร.ด. (ชีวเวชศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2555) สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน/ คณะสาธารณสุขศาสตร์

ทิพาดา ประจง และพุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทพิ ย์. (2556). “การ พัฒนารูปแบบกิจกรรมการออกกาลังกายของสมาชิกชมรม ผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เทศบาลตาบลปรุใหญ่ อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา”. วารสารราช พฤกษ์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (ตุลาคม 2555-มกราคม 2556). 10(2) : 96-103. สุภารัตน์ สีดา และจารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ. (มกราคมมีนาคม 2559). “ผลของโปรแกรมสุขศึกษาต่อการควบคุม ระดับความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ตาบล โคกสนวน อาเภอชานิ จังหวัดบุรีรัมย์”. วารสารวิจัย สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2559). 9(1) : 40-47. จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ และนันทนา คะลา. (2559). “การ ปฏิบัติตนทางด้านโภชนาการและสุขภาพของนักศึกษา ที่มี ภาวะน้าหนักเกินมาตรฐานและอ้วน”. ศรีนครินทร์ เวชสาร ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 (กรกฎาคมสิงหาคม 2559). 31(4) : 224-

601102 กายวิภาคศาสตร์และ สรีรวิทยาของมนุษย์ 1 601314 โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ


ที่ เลขบัตรประจาตัวประชาชน ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิสูงสุด (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จ การศึกษา) สังกัดสาขาวิชา/คณะ

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ที่สอนในหลักสูตร

230. ณรงค์ พันธ์ศรี และจารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ. (ตุลาคมธันวาคม 2558). “ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ ในผู้ที่มี น้าหนักเกินมาตรฐานและอ้วน ในตาบลเมืองยาง อาเภอชานิ จังหวัดบุรีรัมย์”. วารสารวิจยั สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2558). 8(4) : 42-49. จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ และคณะ. (2558). “พฤติกรรม การ ดูแลสุขภาพตามหลัก 11 อ. ของผู้สูงอายุ”. ศรีนครินทร์ เวชสาร ปีที่ 30 ฉบับที่ 5 (กันยายน – ตุลาคม 2558). 30(5) : 482-490. จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัติ และคณะ. (2557). “การศึกษา ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืช ของเกษตรกรบ้านห้วยสามขา ตาบลทัพรั้ง อาเภอพระ ทองคา จังหวัดนครราชสีมา”. ศรีนครินทร์เวชสาร ปีที่ 29 ฉบับที่ 5 (กันยายน-ตุลาคม 2557). 29(5) : 429-434. 4.

3301200989XXX นางสาวจิรัญญา บุรีมาศ อาจารย์ วท.ม. (เภสัชวิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2549) สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน/ คณะสาธารณสุขศาสตร์

จิรัญญา บุรีมาศ และคณะ. (2560). “ความชุกและปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตาบลเฉลียง อาเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา”. ใน รายงานการประชุม วิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 9 วันที่ 31 พฤษภาคม 2560. หน้า 1493-1501. ภูเก็ต : มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. Phatisena T, Bureemas J and Wongwarissara P. (2016). “A Study of Herbal Plants Biodiversity at Polsongkhram Community Forest for the Illness Treatment Used in Pharmaceutical Recipes of Folk Healer at Nakhon Ratchasima Province”. In The 4th Rajabhat University National and International Research and Academic Conference 22-24 November 2016. Buriram : Buriram Rajabhat University.

จิรัญญา บุรีมาศ และชนาธิป สันติวงศ์. (มกราคม-เมษายน 2559). “การประเมินหลักสูตรสาธารณสุขศาตรบัณฑิต

601103 กายวิภาคศาสตร์และ สรีรวิทยาของมนุษย์ 2 601213 กฎหมายสาธารณสุขและ จริยธรรมวิชาชีพ 601214 การปฐมพยาบาล


ที่ เลขบัตรประจาตัวประชาชน ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิสูงสุด (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จ การศึกษา) สังกัดสาขาวิชา/คณะ

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ที่สอนในหลักสูตร

พ.ศ. 2553 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา.” วารสารราชพฤกษ์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2559). 14(1) : 53-59. 5.

6.

1309900078XXX นางสาวภิษณี วิจันทึก อาจารย์ วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล (2555) สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน/ คณะสาธารณสุขศาสตร์

ภิษณี วิจันทึก และคณะ. (2559). “พฤติกรรมการส่งเสริม 601313 วิทยาการระบาด สุขภาพของผู้สูงอายุ เทศบาลตาบลด่านเกวียน อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ และ นานาชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 12 วันที่ 27-28 ตุลาคม 2559. หน้า 417-427. สุราษฎร์ธานี : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

5660490009XXX นายรชานนท์ ง่วนใจรัก อาจารย์ Ph.D. (Public Health) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2559) สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน/ คณะสาธารณสุขศาสตร์

พัชรี ศรีกุตา และคณะ. (2560). “ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ 601211 สุขศึกษาและพฤติกรรม ทัศนคติ ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กนักเรียนชั้น ศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านบึงสาร อาเภอเมือง นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 10 มีนาคม 2560. หน้า 328-336. เพชรบูรณ์ : มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบูรณ์.

ภิษณี วิจันทึก, มารุต ตั้งวัฒนาชุลีพร และจักรกริช หิรัญ เพชรรัตน์. (2558). “ฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคในระบบ ทางเดินหายใจของสารสกัดบัวผุด”. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติการแพทย์แผนไทย ครั้งที่ 1 วันที่ 23-25 ธันวาคม 2558. หน้า 95-102. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

Jirapornkul C, et al. (2016). “Stroke knowledge among various suburban communities in KhonKaen Province, Thailand”. J Pub Health Dev September - December. 14(3) : 13-27. ชนากาน สิงห์หลง, ชนัญญา จิระพรกุล และรชานนท์ ง่วน ใจรัก. (2558). “พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตาบล เวียงคา อาเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี”. วารสาร โรงพยาบาลสกลนคร ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2558). 18(3) : 219-229.


ที่ เลขบัตรประจาตัวประชาชน ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิสูงสุด (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จ การศึกษา) สังกัดสาขาวิชา/คณะ 7 .

3499900168XXX นางพัชรี ศรีกุตา อาจารย์ ส.ด. มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2558) สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน/ คณะสาธารณสุขศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ที่สอนในหลักสูตร

พัชรี ศรีกุตา และคณะ. (2560). “ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านบึงสาร อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การประชุม วิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 10 มีนาคม 2560. หน้า 328-336. เพชรบูรณ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

601233 การประเมินผลกระทบทาง สุขภาพ 601234 ภาษาอังกฤษเพือ่ งานอาชี วอนามัย

พัชรี ศรีกุตา และคณะ. (2559). “การจัดการขยะมูลฝอยใน ระดับครัวเรือนของหมู่บ้านโป่งสุริยา ตาบลโป่งแดง อาเภอ ขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการ และนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 6 ศาสตร์แห่ง วิทยาการจัดการเพื่อรับใช้สังคม 3 ทศวรรษแห่งการตาม รอยแม่ของแผ่นดิน วันที่ 19 สิงหาคม 2559. หน้า 11161122. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์ และคณะ. (2559). “ปัจจัยที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงของกลุ่ม เสี่ยงตาบลหนองไข่น้า อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 ก้าวสู่ทศวรรษที่ 2: บูรณาการงานวิจัย ใช้องค์ ความรู้สู่ความยั่งยืน วันที่ 17 มิถุนายน 2559. หน้า 378383. นครราชสีมา : วิทยาลัยนครราชสีมา. 8.

3460300581XXX นายนรา ระวาดชัย อาจารย์ ส.ม. (อนามัยสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2555) สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน/ คณะสาธารณสุขศาสตร์

ทิวากรณ์ ราชูธร และนรา ระวาดชัย. (2560). “ปัจจัยที่มีผลต่อ 601311 ชีวสถิติ คุณภาพน้าดื่มตู้หยอดเหรียญอัตโนมัติ ชุมชนหน้ามหาวิทยาลัย 601312 อนามัยสิ่งแวดล้อม ราชภัฏนครราชสีมา”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูล สงครามวิจัย ครั้งที่ 3 Thailand 4.0 นวัตกรรมการวิจยั เพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน วันที่ 23-24 ธันวาคม 2560. หน้า 384. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พัชรี ศรีกุตา และคณะ. (2560). “ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านบึงสาร อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา”. ใน การประชุม วิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 4


ที่ เลขบัตรประจาตัวประชาชน ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิสูงสุด (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จ การศึกษา) สังกัดสาขาวิชา/คณะ

ผลงานทางวิชาการ ชื่อตารา งานวิจัย

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ที่สอนในหลักสูตร

วันที่ 10 มีนาคม 2561. หน้า 328-336. เพชรบูรณ์ : มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบูรณ์. 9.

3310900453992 นางสาวสิริสุดา ฐานะปัตโต อาจารย์ วท.ม. (โภชนศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล (2552) สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน/ คณะสาธารณสุขศาสตร์

ฐิติมา โพธิ์ชยั สิริสุดา ฐานะปัตโต ปนัดดา วงศ์สันเทียะ ชญา 601201 การสื่อสารเพื่อสุขภาพ นิศ ภิรมย์กจิ และพงศธร ไขโพธิ์. (2561). พฤติกรรมการ บริโภคอาหารและภาวะโภชนาการของนักศึกษาระดับปริญญา ตรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10 “น้อมนาศาสตร์ พระราชา สู่การวิจยั และพัฒนาท้องถิน่ อย่างยัง่ ยืน”. วันที่ 29–30 มีนาคม 2561. นครปฐม : มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม. วราภรณ์ ชาติพหล สิริสุดา ฐานะปัตโต กรองกราญจน์ จันทร์ โพธิ์ ชลติกานต์ เพชรรัตน์ และเบญจวรรณ ชะลอกลาง. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครราชสีมา. การประชุม วิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 “วิจัยและพัฒนาสู่การขับ เคลื่อนสังคมอย่างยั่งยืน”. วัน เสาร์ที่ 31 มีนาคม 2561. นครราชสีมา : วิทยาลัยนครราชสีมา. Tanida Phatisena, Thitima Phodhichai, Sirisuda Thanapatto. (2012). The Participatory Development of Youth, Family and School in Preventing Unsafe Sex Problems in Junior High School Students, Dankhunthod District, Nakhon Ratchasima Province. KKU Research Journal (March - April 2012). 17(2): 315-324.


10.2.2 อาจารย์ประจา ลาดับ ที่ 1

2

เลขบัตรประจาตัวประชาชน ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิสูงสุด (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา) 3300100060XXX นางสาววรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี อาจารย์ วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความ ปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2551) 3301800132XXX นายอนุสรณ์ เป๋าสูงเนิน อาจารย์ วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2556)

สังกัด สาขาวิชา คณะ สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์

สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์

สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ที่สอนในหลักสูตร 601222 พิษวิทยาอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม 601325 การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม 601423 การป้องกันอัคคีภัยและการตอบโต้เหตุ ฉุกเฉิน 601429 เทคนิคการควบคุมทางสุขศาสตร์ อุตสาหกรรมและความปลอดภัย 601223 สุขศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นมูลฐาน 601326 การยศาสตร์และสรีรวิทยาในการ ทางาน 601426 การจัดเก็บวัตถุอันตราย 601427 ระเบียบวิธีวจิ ัยในงานอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย 601321 การบริหารงานด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย 601327 การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ ทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม 601328 ปฏิบัติการเก็บตัวอย่างและการ วิเคราะห์ทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม 601425 การจัดการเพื่อควบคุมการสูญเสียและ การเพิ่มผลผลิต 601428 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม 601232 ความปลอดภัยในการผลิตเครื่องสาอาง ขั้นพื้นฐาน

3

3310900536XXX นางสาวนันทนา คะลา อาจารย์ วท.ม. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยบูรพา (2555)

4

3361100396XXX สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความ นางพนิดา เทพชาลี ปลอดภัย อาจารย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยมหิดล (2552)

601224 จิตวิทยาอุตสาหกรรม 601225 วิศวกรรมความปลอดภัยในงาน อุตสาหกรรม 601322 ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 601424 การระบายอากาศในงานอุตสาหกรรม

5

1160100177XXX นางสาวพฤมล น้อยนรินทร์ อาจารย์ ปร.ด. (จุลชีววิทยาทางการแพทย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2560)

601104 จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยาเบือ้ งต้น 601105 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา เบื้องต้น 601323 อาชีวเวชศาสตร์ขั้นมูลฐาน 601421 สัมมนาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์


ลาดับ ที่ 6

7

8

9

10

เลขบัตรประจาตัวประชาชน ชื่อ–สกุล ตาแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิสูงสุด (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา) 1101500555XXX นางสาวนพเก้า บัวงาม อาจารย์ ส.ม. (อนามัยสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2560)

สังกัด สาขาวิชา คณะ สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์

3309901354XXX นางสาวอาภา สธนเสาวภาคย์ อาจารย์ ปร.ด.(วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2553) 1101400422XXX นายอนุชิต คงฤทธิ์ อาจารย์ วศ.ม. (วิศวกรรมพอลิเมอร์) มหาวิทยาเทคโนโลยีสุรนารี (2556) หลักสูตร 1409900183XXX นางสาวละอองดาว ขุนงิ้ว อาจารย์ วศ.ม. (วิศวกรรมอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2555)

สาขาวิชาเทคโนโลยีก่อสร้าง คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม

3309900928XXX นายจิรวัฒน์ โลพันดุง อาจารย์ ค.อ.ม. (วิศวกรรมอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (2549)

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ที่สอนในหลักสูตร 601111 อาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยเบื้องต้น 601324 การประเมินและจัดการความเสี่ยง 601430 มาตรฐานระดับชาติและสากลสาหรับ ระบบการจัดการระบบคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย 601221 หลักการวิศวกรรมสาหรับงานอาชีวอ นามัยความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

สาขาการจัดการอุตสาหกรรม (ต่อเนื่อง) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

601422 กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมและ อันตราย

สาขาการจัดการอุตสาหกรรม (ต่อเนื่อง) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

601422 กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมและ อันตราย

สาขาการจัดการอุตสาหกรรม (ต่อเนื่อง) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

601221 หลักการวิศวกรรมสาหรับงานอาชีวอนา มัยความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

12. องค์ประกอบเกี่ยวกับการฝึกภาคสนาม การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา สาหรับการฝึกภาคสนามในหลั กสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัยประกอบด้วยรายวิชา ฝึก ประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การฝึกประสบการณ์ วิชาชีพอาชีวอนามัยความปลอดภัย หรือสหกิจศึกษา ใช้เวลาในการฝึกภาคสนามรวม 730 ชั่วโมง โดยมี รายละเอียดของแต่ละรายวิชา ดังนี้


(1) ฝึกประสบการณ์ภาคสนามสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 90 ชั่วโมง นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสารวจปัญหาสุขภาพชุมชนด้วยเครื่องมือ 7 ชิ้น การวินิจฉัยชุมชน การกาหนดแนวทาง พัฒนาสุขภาพชุมชน การเขียนโครงการ การพัฒนาชุมชนในด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย โดยให้ ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา (2) การฝึกประสบการณ์วิชาชีพอาชีวอนามัยความปลอดภัย นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานด้าน วิชาชีพตามสาขาวิชาที่ศึกษาในหน่วยงานของภาครัฐหรือภาคเอกชน เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 640 ชั่วโมง โดย บูรณาการความรู้ที่ได้จากในหลักสูตรการศึกษา ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ที่ ปรึกษาหรืออาจารย์นิเทศ เพื่อให้ได้รับความรู้ พัฒนาทักษะ เจตคติ และประสบการณ์ในวิชาชีพ (3) สหกิ จ ศึ ก ษา นั ก ศึ ก ษาฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านด้ า นวิ ช าชี พ ตามสาขาวิ ช าที่ ศึ ก ษาในสถาน ประกอบการหรือองค์กรผู้ใช้บัณฑิต เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 640 ชั่วโมง โดยบูรณาการความรู้ที่ได้จากการศึกษาใน หลั กสูตรการศึกษากับการปฏิบั ติงานจริ งเสมือนหนึ่งเป็นพนักงาน การจัดทาโครงการ การรายงานผลการ ปฏิบัติงาน การเขียนรายงานโครงการ และการนาเสนอโครงการตามคาแนะนาของพนักงานที่ปรึกษา อาจารย์ที่ ปรึกษาหรืออาจารย์นิเทศ เพื่อให้เกิดทักษะ องค์ความรู้ในวิชาชีพและคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ มีลักษณะ นิ สั ย หรื อบุ คลิ กภาพที่จ าเป็ น ต่ อการปฏิ บั ติงาน เพื่อให้ เป็ นบัณฑิตที่ มีคุณสมบั ติตรงตามความต้อ งการของ ตลาดแรงงานที่พร้อมจะทางานได้ทันทีเมื่อสาเร็จการศึกษา 12.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม 12.1.1 สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และ สาธารณสุ ข เพื่อการควบคุมป้ องกัน ปั จ จั ย ที่ทาให้ เกิดโรคและลดความเสี่ ยงการเจ็บป่ว ยต่ อบุคคล พนักงาน ครอบครัวและชุมชนตามมาตรฐานวิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และสาธารณสุข 12.1.2 สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และ สาธารณสุขอย่างเป็นองค์รวม 12.1.3 สามารถสารวจตรวจสอบสถานประกอบการ ชุมชนอย่างเป็นระบบ และ สามารถนาข้อมูลมาน าเสนอ หรือน าเข้าแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ในการประเมินผลกระทบทางสุ ขภาพ อนามัยและคุณภาพสภาพแวดล้อมในการทางาน และสิ่งแวดล้อมภายนอก 12.1.4 สามารถให้คาแนะนาให้คาปรึกษาเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค การควบคุมโรค การบาบัดโรคเบื้องต้นและการฟื้นฟูสุขภาพตาม พ.ร.บ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน มาตรา 3 12.1.5 สามารถตรวจประเมินบาบัดโรคเบื้องต้นการดูแลให้ความช่วยเหลือผู้ป่วย เพื่อการส่งต่อตามพ.ร.บ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน มาตรา 3 12.1.6 สามารถประเมินสถานการณ์ การวินิจฉัยการวางแผนงานโครงการสุขภาพ ของผู้ประกอบอาชีพ และการปฏิบัติตามแผนการติดตาม ประเมินผล 12.2 ช่วงเวลาที่จัดประสบการณ์ภาคสนามและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ/สหกิจ ภาคการศึกษาที่ 2 สาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 3


ภาคการศึกษาที่ 2 สาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 12.3 การจัดเวลาและตารางสอน จัดเต็มเวลาใน 1 ปีการศึกษา 13. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรือวิจัย 13.1 คาอธิบายโดยย่อ การทาโครงงานหรือ วิจัย ในประเด็นด้านปัญหาอาชีว อนามัยและความปลอดภัย ของหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน ตามความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยกาหนดให้นักศึกษาทาโครงงานหรือวิจัยราย กลุ่มหรือรายเดี่ยว ขึ้นอยู่กับหน่วยงานที่นักศึกษาไปฝึกประสบการณ์ นักศึกษาดาเนินการโครงงานหรือการวิจัย ให้เป็นไปตามกระบวนการและระยะเวลาที่กาหนด ภายใต้การควบคุมและแนะนาของอาจารย์ นิเทศ ทั้งนี้จะมี การสอบโครงร่ า งโครงงานหรื อ งานวิจั ย และน าเสนอผลโครงงานหรื อ การวิจั ย ต่ อคณะกรรมการสอบ ซึ่ ง ประกอบด้วยอาจารย์ นิเทศ พนักงานที่ปรึกษาและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวน 3 คน เมื่อนักศึกษา ปรับปรุงหรือแก้ไขตามข้อเสนอเสนอแนะของคณะกรรมการแล้ว จึงส่งเล่มรายงานโครงงานหรือการวิจัยฉบับ สมบูรณ์เสนอต่อคณบดี 13.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ 13.2.1 สามารถทางานโครงงานหรือวิจัยในประเด็นปัญหาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัยอย่างเป็นระบบและถูกต้องตามหลักการจัดทาโครงงานหรือการวิจัย 13.2.2 สามารถทางานเป็นทีม และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 13.2.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ และอภิปราย ผล 13.2.4 สามารถนาเสนอ และสื่อสารด้วยภาษาพูดและภาษาเขียน 13.3 ช่วงเวลา ภาคการศึกษาที่ 2 สาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 13.4 จานวนหน่วยกิต 6 หน่วยกิต หรือจานวน 640 ชั่วโมง 13.5 การเตรียมการ มีการกาหนดแผนการปฏิบัติงาน 16 สัปดาห์ตามระยะเวลาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือสหกิจ รายงานความก้าวหน้าในการทาโครงงานหรือวิจัยโดยอาจารย์ นิเทศและพนักงานที่ปรึกษา จัดทาตัวอย่างงาน โครงงานหรือวิจัย เพื่อเป็นต้นแบบในการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาในรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยในงานอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย


13.6 กระบวนการประเมินผล 13.6.1 ประเมินผลจากความก้าวหน้าในการทาโครงงานหรือวิจัยโดยอาจารย์นิเทศ 13.6.2 ประเมินผลจากรายงานที่ได้กาหนดรูปแบบการนาเสนอตามระยะเวลา 13.6.3 นาเสนอผลงานการโครงงานหรือวิจัย โดยมีอาจารย์นิเทศ พนักงานที่ปรึกษา สอบไม่ต่ากว่า 3 คน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.