2016 ipsr annual report

Page 1

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม

รายงานประจำ�ปีงบประมาณ

2559 2016 IPSR Annual Report


วัฒนธรรมองค์กร


I P S R

ความมีคุณธรรม ntegrity ความเป็นมืออาชีพ rofessionalism การรวมพลัง ynergy ความรับผิดชอบ esponsibility



สารบัญ 01: 45 ปี สถาบันวิจัยประชากรและสังคม

7

02: สาส์นจากผู้อำ�นวยการ 11 03: ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ

15

04: ยุทธศาสตร์

19

05: โครงสร้างและการบริหารงาน

25

06: ผู้บริหารสถาบันฯ

31

07: ผลงานและกิจกรรมเด่น

35

08: สร้างความเป็นเลิศด้านการวิจัย

41

09: สรรสร้างการศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลง

55

10: มุ่งสู่ความเป็นเลิศด้านการบริการวิชาการ

63

11: สืบสานทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม

79

12: สร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

85

13: ภาคผนวก

91


6

รายงานประจำ�ปี 2559


01

45 ปี

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม


ประวัติความเป็นมา

ผู้อำ�นวยการคนแรก ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.บุญเลิศ เลียวประไพ ปี 2518 - 2523

ย้ายสำ�นักงาน จากพญาไท...สู่ศาลายา

เริ่มต้นจาก ศูนย์วิจัยประชากรและสังคม 14 พฤศจิกายน

2523

2514 12 กรกฎาคม

2509

2518

2531 15 มีนาคม

2526

อนุมัติให้เป็น สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ผู้อำ�นวยการคนที่ 2 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ปราโมทย์ ประสาทกุล ปี 2523 - 2531

อาคาร 3 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท กรุงเทพมหานคร

8

รายงานประจำ�ปี 2559

ผู้อำ�นวยการคนที่ 3 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อภิชาติ จำ�รัสฤทธิรงค์ ปี 2531 - 2539


ผู้อำ�นวยการคนที่ 4 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.เบญจา ยอดดำ�เนิน-แอ็ตติกจ์ ปี 2539 - 2547 ย้ายสำ�นักงาน อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์

ผู้อำ�นวยการคนที่ 5 ศาสตราจารย์ ดร.ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา ปี 2547 - 2551

2539

2551 2 พฤษภาคม

2547

2554

2559 ผู้อำ�นวยการคนที่ 7 รองศาสตราจารย์ ดร.รศรินทร์ เกรย์ ปี 2559 - ปัจจุบัน

ผู้อำ�นวยการคนที่ 6 รองศาสตราจารย์ ดร.สุรีย์พร พันพึ่ง ปี 2551 - 2559

9

รายงานประจำ�ปี 2559


10

รายงานประจำ�ปี 2559


02

สาส์นจาก ผู้อำ�นวยการสถาบันฯ


รองศาสตราจารย์ ดร. รศรินทร์ เกรย์ ผู้อำ�นวยการสถาบันวิจัยประชากรและสังคม กุมภาพันธ์ 2559 - ปัจจุบัน

ในช่วง 1 ปีที่ได้เข้ามารับตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการสถาบันวิจัยประชากรและสังคมแห่งนี้ ดิ ฉั น ได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความพยายามอย่ า งยิ่ ง ของบุ ค ลากรชาวสถาบั น ฯ ทั้ ง ฝ่ า ยวิ ช าการและ ฝ่ายสนับสนุน ทีร่ ว่ มมือกันสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการเพือ่ ตอบสนองความต้องการของสังคม ทัง้ ในด้านการศึกษาวิจยั ตีพมิ พ์เผยแพร่ผลงานงานวิจยั การจัดการศึกษาในหลักสูตรดุษฎีบณ ั ฑิต และมหาบัณฑิต รวมถึงการให้บริการวิชาการ และการสืบสานทำ�นุบำ�รุงศาสนา โดยมีหลักนำ� ในการดำ�เนินการตามปณิธานของสถาบันฯ คือ “คุณภาพ คุณธรรม นำ�สถาบันฯ” ส่งผลให้ สถาบันฯ สามารถขับเคลื่อนพันธกิจได้ตรงตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ “รายงานประจำ�ปีงบประมาณ 2559” สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัย มหิดล ฉบับนี้ทำ�ขึ้นเพื่อเสนอผลการดำ�เนินงานในปีงบประมาณ 2559 นับเป็น ปีที่ 45 แห่งการ สถาปนาสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล นับตั้งแต่ได้รับการประกาศจัดตั้ง ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2514 ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สถาบันฯ มุ่งมั่นที่จะสรรสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านประชากรศาสตร์ สังคมศาสตร์ รวมถึง พหุสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องมาอย่างต่อเนื่อง

12

รายงานประจำ�ปี 2559


ด้ ว ยในปี นี้ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหิ ต ลาธิ เ บศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิต รัชกาลที่ 9 ได้เสด็จสวรรคต เมื่ อ วั น พฤหั ส บดี ที่ 13 ตุ ล าคม 2559 เพื่ อ เป็ น การเทิ ด พระเกี ย รติ และน้ อ มรำ � ลึ ก ใน พระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ สถาบันฯ จึงได้จัดทำ�นิทรรศการ “ประชากรไทยในสมัย รัชกาลที่ 9” โดยรวบรวมพระอัจฉริยภาพ และพระปรีชาสามารถของพระองค์อันประจักษ์ต่อ ประชาชนชาวไทย และทัว่ โลกผ่านทางพระราชกรณียกิจ พระราชดำ�รัส โครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำ�ริ และได้อัญเชิญพระราชดำ�รัสที่พระราชทานไว้ตั้งแต่ปี 2539 เกี่ยวกับประชากรใน ยุคสมัยของพระองค์ ทั้งในแง่ของการเปลี่ยนแปลงทางด้านประชากรและสังคม ตลอดจนวิธีคิด วิธกี ารดำ�เนินชีวติ ของคนหลากรุน่ หลายวัยในสังคมไทย มาถ่ายทอดเพือ่ สะท้อนให้ร�ำ ลึกถึงความ ห่วงใยที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงมีต่อประชากรของพระองค์ สามารถเยี่ยมชมนิทรรศการได้ที่ ห้องพิพิธสาระประชากรและสังคม สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล การดำ�เนินงานในช่วงปีงบประมาณที่ผ่านมา สถาบันฯ ได้รับการสนับสนุนทั้งกลไก เชิงนโยบาย และแนวทางการบริหารงานอย่างดียิ่งจากคณะผู้บริหารของมหาวิทยาลัย และ คณะกรรมการประจำ�สถาบันฯ รวมถึงความร่วมมือจากบุคลากรสถาบันฯ ทุกท่าน ซึง่ สิง่ เหล่านี้ ล้วนแต่เป็นหัวใจสำ�คัญทีพ่ ฒ ั นาสถาบันวิจยั ประชากรและสังคม ให้กา้ วสูก่ ารเป็นสถาบันชัน้ นำ�ใน ระดับนานาชาติ ที่สรรสร้างวิทยาการด้านประชากรและสังคม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป

(รองศาสตราจารย์ ดร.รศรินทร์ เกรย์) ผู้อำ�นวยการสถาบันวิจัยประชากรและสังคม

13

รายงานประจำ�ปี 2559


14

รายงานประจำ�ปี 2559


03 ปณิธาน

วิสัยทัศน์ พันธกิจ


ปณิธาน คุณภาพ คุณธรรม นำ�สถาบันฯ

วิสัยทัศน์ เป็นสถาบันชั้นนำ�ในระดับนานาชาติ ที่สรรสร้างวิทยาการด้านประชากรและสังคม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

16

รายงานประจำ�ปี 2559


Mission

Vision

Goal

พันธกิจ 1. ทำ � วิ จั ย เชิ ง ทฤษฎี และประยุ ก ต์ ด้ า นประชากรศาสตร์ แ ละ สังคมศาสตร์เพื่อตอบสนองต่อนโยบายระดับชาติ และท้องถิ่น และนำ�ไปใช้ ได้จริง มีมาตรฐานสากล 2. จัดการศึกษา และฝึกอบรมระดับหลังปริญญา ให้นักศึกษา สามารถแข่งขันได้ในสังคมโลก และมีความผูกพันกับองค์กร 3. ผลิตและเผยแพร่ ความรู้ ข่า วสารด้ า นประชากรศาสตร์ แ ละ สังคมศาสตร์แก่สาธารณชน โดยใช้สื่อทุกแขนงอย่างทันสมัย และในเวลาที่เหมาะสม 4. พั ฒ นาเครื อ ข่ า ยเดิ ม ให้ เ ข้ ม แข็ ง และแสวงหาพั น ธมิ ต รใหม่ ในระดับประเทศ และระดับสากล 5. พัฒนาบุคลากร องค์กร และนำ�เทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาประยุกต์ ใช้ในทุกด้าน ให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด ที่มาของภาพ: http://www.3psinprofit.com.au/web/wp-content/uploads/2016/01/Businesses-Working-Together-e1452669332578.png

17

รายงานประจำ�ปี 2559


18

รายงานประจำ�ปี 2559


04

ยุทธศาสตร์


ยุทธศาสตร์

1

Excellence in Research with Global and Social Impact

เป้าประสงค์ 1. เพื่อผลิตผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการเสนอแนะเชิงนโยบายและ ตอบสนองความต้องการของสังคมไทย 2. เพื่อให้มีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล 3. เพื่อให้มีผลงานวิจัยที่สร้างองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมทางสังคม

กลยุทธ์ 1. สรรหาและคงไว้ซึ่งนักวิจัยที่มีคุณภาพสูง และธำ�รงไว้ซึ่งคุณธรรมจริยธรรมทางการ วิจัย 2. มีกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของนักวิจยั ทุกรุน่ อย่างสม�่ำ เสมอ และต่อเนือ่ ง 3. มีกระบวนการค้นหาโจทย์วจิ ยั ให้ชดั เจน ตามกลุม่ วิจยั (Research Cluster) เพือ่ ตอบ สนองต่อนโยบายและตรงกับความต้องการของสังคม 4. สร้างเสริมความร่วมมือในการทำ�งานวิจยั กับภาคีเครือข่ายภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม แหล่งทุน และแลกเปลี่ยนนักวิจัยกับต่างประเทศ 5. มีระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนและให้ข้อมูลแหล่งทุนวิจัยจากภาครัฐ เอกชน ทั้งในและต่างประเทศ 6. มีระบบสนับสนุนการตีพิมพ์ผลงานวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

20

รายงานประจำ�ปี 2559


2

Excellence in Outcome-Based Education for Globally-Competent Graduates

เป้าประสงค์ 1. เพื่อให้มีหลักสูตรชั้นแนวหน้า ที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐานสากล และมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ของนักศึกษา 2. เพื่อสร้างบัณฑิตให้สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง ทั้งด้านความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะเพื่อเป็นผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมในวงกว้าง 3. สร้างความผูกพันของนักศึกษาและศิษย์เก่าเพื่อพัฒนาสถาบันฯ และ สร้างความภาคภูมิใจในความเป็นสถาบันฯ และมหาวิทยาลัยมหิดล

กลยุทธ์ 1. พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ ความต้องการของการจ้างงาน และนักศึกษา 2. สอดแทรกจริยธรรมในวิชา การเรียนการสอน กิจกรรมนักศึกษา 3. ส่งเสริมให้นักศึกษามีประสบการณ์ในต่างประเทศ (นำ�เสนอผลงานในระดับชาติและ นานาชาติ การทำ�วิจัยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ) 4. ให้ มี วิ ช าระดั บ ปริ ญ ญาตรี เพื่ อ เผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ ท างประชากรศาสตร์ แ ละ สังคมศาสตร์ 5. ส่งเสริมศักยภาพอาจารย์ให้พัฒนาเทคนิคการสอน Team Teaching, Teacher K Assistant, Research Project-based Teaching 6. การแลกเปลี่ยนนักศึกษาและอาจารย์กับภาคีเครือข่ายต่างประเทศ 7. ส่งเสริมกิจกรรมร่วมกับศิษย์เก่าทั้งทางด้านวิชาการและสังคม 8. มีกลไกติดต่อประสานงานกับศิษย์เก่า

21

รายงานประจำ�ปี 2559


3

Excellence in Professional Services and Social Engagement

เป้าประสงค์ 1. เพื่อให้มีความเป็นเลิศในการให้บริการวิชาการที่ได้มาตรฐานสากล 2. เพื่อให้มีผลงานที่ขับเคลื่อนและตอบสนองต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามความต้องการของสังคมอย่างมีส่วนร่วม โดยเฉพาะด้านสุขภาวะ

กลยุทธ์ 1. เสริมสร้างให้บุคลากรมีความสามารถเฉพาะทางตามกลุ่มวิจัย (Area of Interest) และทำ�งานเป็นทีม 2. เสริมสร้างศักยภาพงานวิจัยและบริการวิชาการภายใต้ WHO Collaboration Centre for Research in Human Reproduction 3. พัฒนาให้เป็นสถาบันชั้นนำ�ทางด้านระเบียบวิธีวิจัยและเครื่องมือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทางประชากรศาสตร์ และการวิจัยประเมินผลโดยร่วมมือกับสถาบันที่มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะทาง (Collaboration Center for Monitoring & Evaluation) 4. ส่งเสริมให้มีการทำ�งานโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างต่อเนื่อง และให้เกิด ประโยชน์กับชุมชุน 5. ส่งเสริมความร่วมมือของหน่วยงานภายในและภายนอกเพื่อให้เกิดการบริการทาง วิชาการแบบสหวิทยาการ 6. พัฒนาเครือข่ายกับผู้รับบริการวิชาการอย่างเป็นระบบ

22

รายงานประจำ�ปี 2559


4

Excellence in Management for Sustainable Organization

เป้าประสงค์ 1. เพื่อให้มีความพร้อมด้านทรัพยากรบุคคลที่เหมาะสมต่อการดำ�เนินงานทั้งในเชิงคุณภาพ และปริมาณ 2. เพื่อให้มีเสถียรภาพด้านการเงินการคลังที่เพียงพอต่อการดำ�เนินงานและการพัฒนาใน อนาคต 3. เพื่อให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถสนับสนุนการดำ�เนินงานในด้านต่างๆ อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้มีระบบประกันคุณภาพที่ทำ�ให้มั่นใจว่าจะนำ�สถาบันฯ ไปสู่ความเป็นเลิศและยั่งยืน 5. เพื่อสร้างภาพลักษณ์ของสถาบันฯ ให้มีความโดดเด่นในระดับสากล

กลยุทธ์ 1. พัฒนาระบบการวางแผนด้านบุคลากร การพัฒนาบุคลากร การติดตามประเมินผลงาน และ การสร้างสมดุลระหว่างชีวิตและงาน 2. พัฒนาระบบการเงินการบัญชี ซึ่งสามารถทำ�ให้การทำ�งานมีประสิทธิภาพและความยั่งยืน 3. มีการวิเคราะห์ตน้ ทุนในกิจกรรมหลัก และการคาดประมาณไปในอนาคต เป็น Green Office 4. พัฒนาฐานข้อมูล DIPSRA ให้สอดคล้องกับความต้องการในการใช้งานของบุคลากรและสามารถ ใช้ในการทำ� Performance Agreement 5. ส่งเสริมให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการจัดทำ� EdPEx เพื่อเป็นเครื่องมือในการประกันคุณภาพ และผนวกงานประกันคุณภาพให้เป็นส่วนหนึ่งของการทำ�งานประจำ� 6. ร่วมงานและมีผลผลิตร่วมกับองค์กรที่เกี่ยวกับการพัฒนาประชากรและสังคมระดับโลก 7. สนับสนุนให้นักวิชาการแสดงความคิดเห็นผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ เพื่อให้ผลงานของ สถาบันฯ เป็นที่รู้จัก 8. ใช้สื่อผสมผสานหลายช่องทางเพื่อการเผยแพร่ภาพลักษณ์และองค์ความรู้ของสถาบันฯ

23

รายงานประจำ�ปี 2559


24

รายงานประจำ�ปี 2559


05

โครงสร้าง และการบริหารงาน


โครงสร้างและการบริหารงาน มหาวิทยาลัยมหิดล

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม

ศูนย์อ้างอิงข้อมูลทางประชากร

กลุ่มสาขาวิชา ประชากรศาสตร์

ศูนย์ศึกษาการย้ายถิ่นมหิดล กลุ่มสาขาวิชา ประชากรและอนามัยเจริญพันธุ์ ศูนย์ปฏิบัติการกาญจนบุรี กลุ่มสาขาวิชา วิจัยประชากรและสังคม

ศูนย์ศตวรรษิกชน

กลุ่มสาขาวิชา พฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม

ศูนย์ศึกษาการพัฒนา เชิงนวัตกรรมแห่งเอเชีย

26

รายงานประจำ�ปี 2559


สำ�นักงานผู้อำ�นวยการ

กลุ่มงานวิจัย

1. สังคมกับการเปลี่ยนแปลงประชากรและ ครอบครัว 2. ภาวะสูงวัยของประชากร 3. เพศวิถี เพศภาวะ อนามัยเจริญพันธุ์ และเอชไอวี/เอดส์ 4. ประชากร สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ 5. การย้ายถิ่น ความเป็นเมือง และแรงงาน 6. ระเบียบวิธีวิจัย

งานบริหารความเสี่ยง งานบริหารทั่วไป งานคลังและพัสดุ งานสื่อสารองค์กร งานการศึกษา งานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ งานวิเคราะห์นโยบายและแผน งานประกันคุณภาพ งานบริการวิชาการ

27

รายงานประจำ�ปี 2559


งบประมาณ ในปีงบประมาณ 2559 สถาบันฯ ได้รบั จัดสรรงบประมาณรวมทัง้ สิน้ 72,043,100 บาท จำ�แนก เป็นงบประมาณแผ่นดิน 42,628,100 บาท งบประมาณเงินรายได้ 29,415,000 บาท คิดเป็นสัดส่วนงบประมาณแผ่นดิน : เงินรายได้ = 59 : 41 (ณ วันที่ 30 กันยายน 2559)

งบประมาณแผ่นดิน งบดำ�เนินงาน

2.4%

งบบุคลากร

97.6% งบประมาณเงินรายได้

งบลงทุน

3.3%

งบบุคลากร

14.7%

งบอุดหนุน

งบรายจ่ายอื่น

23.4%

3.4%

งบดำ�เนินงาน

55.2%

28

รายงานประจำ�ปี 2559


บุคลากร สายวิชาการ

30

คน

28

ปริญญาเอก ปริญญาโท

15

2

1

0

ข้าราชการ

พนักงานมหาวิทยาลัย

สายสนับสนุน คน 40

20

0

ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี

34

ต่ำ�กว่าปริญญาตรี

19

15 6

2 พนักงานมหาวิทยาลัย

ลูกจ้างประจำ�

10 1

2

ลูกจ้างโครงการวิจัย หมายเหตุ : ข้อมูลปีงบประมาณ 2559

29

รายงานประจำ�ปี 2559


30

รายงานประจำ�ปี 2559


06

ผู้บริหาร


คณะผู้บริหาร (Administrative Board)

เรียงจากซ้ายไปขวา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์ รองผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหารและสิ่งแวดล้อม

พลอยชมพู สุคัสถิตย์ เลขานุการสถาบันฯ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูเบศร์ สมุทรจักร รองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์

รองศาสตราจารย์ ดร.รศรินทร์ เกรย์ ผู้อำ�นวยการ

อาจารย์ ดร.ปิยวัฒน์ เกตุวงศา

รองผู้อำ�นวยการฝ่ายพัฒนาองค์กรและสารสนเทศ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พจนา หันจางสิทธิ์ รองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ

เสาวภาค สุขสินชัย ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ

32

รายงานประจำ�ปี 2559


จากซ้ายไปขวา กุลวีณ์ ศิริรัตน์มงคล หัวหน้างานบริหารทั่วไป

พอตา บุนยตีรณะ หัวหน้างานสื่อสารองค์กร

เอื้อมเดือน แก้วสว่าง หัวหน้างานนโยบายและประกันคุณภาพ

พลอยชมพู สุคัสถิตย์ หัวหน้าสำ�นักงานผู้อำ�นวยการ

จารุวรรณ จารุภูมิ หัวหน้างานคลังและพัสดุ

มนชญา ดุลยากร หัวหน้างานการศึกษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา ตั้งชลทิพย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพล แจ่มจันทร์

ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม

ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ์ (หลักสูตรนานาชาติ)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ ธราวรรณ ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม (หลักสูตรนานาชาติ)

33

ศาสตราจารย์ ดร.ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา

รายงานประจำ�ปี 2559

ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)


34

รายงานประจำ�ปี 2559


07

ผลงานและ กิจกรรมเด่น


รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล จากสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล Dr. Ko Ko Naing หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ์ (หลักสูตรนานาชาติ) ศิษย์เก่าดีเด่นประเภทบริหาร ประจำ�ปี 2559 ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่ง Director General Relief and Resettlement Department Ministry of Social Welfare, Relief and Resettlement Republic of the Union of Myanmar

รางวัลเกียรติคุณ “โครงการกิจกรรมรณรงค์การทำ�ความดี ต้นแบบคนดี ใต้ร่มพระบารมีพ่อของแผ่นดิน คนทำ�ดีต้นแบบสังคมแห่งปี 2559” จัดโดย สมัชชานักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์หนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย (สว.นท)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา สุจริตกุล หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)

ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งอาจารย์ประจำ� คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

36

รายงานประจำ�ปี 2559


รางวัลเกียรติยศผลการศึกษาดีเยี่ยม (Dean’s List) ประจำ�ปีการศึกษา 2558 จากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

Mr.MD Nuruzzaman Haque

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) อาจารย์ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. กุศล สุนทรธาดา

นางสาวรมนปวีร์ บุญใหญ่

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม อาจารย์ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. อภิชาติ จำ�รัสฤทธิรงค์

ทุนสนับสนุนการทำ�วิทยานิพนธ์บางส่วน จากสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำ�ปี 2559

นางสาวกษมา ยาโกะ

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม อาจารย์ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. อารี จำ�ปากลาย

37

รายงานประจำ�ปี 2559


กิจกรรมสำ�คัญในปี 2559 28-30 มิถุนายน 2559

Mahidol Migration Center (MMC) ครั้งที่ 4

โครงการศูนย์ศึกษาการย้ายถิ่นมหิดล (MMC) ภายใต้ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (IPSR) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหิดล (MU) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) สมาคมนักประชากรแห่งเอเชีย (APA) มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย Sussex-Mahidol Migration Partnership, University of Sussex และ Institute of Social-Politic Research, Russian Academic of Sciences จัดการประชุมวิชาการระดับ ภูมิภาค Mahidol Migration Center (MMC) ครั้งที่ 4 เรื่อง “In the Era of Transnational Migration” ณ ห้องประชุมประชาสังคมอุดมพัฒน์ (101) ชั้น 1 อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์ สถาบันฯ

1 กรกฎาคม 2559 การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 “ประชากรและสังคม 2559”

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 “ประชากร และสังคม 2559” เรื่อง ประเทศไทยกับศตวรรษแห่งการย้ายถิ่นข้ามชาติ (Thailand in the Era of Transnational Migration) ณ ห้องประชาสังคมอุดมพัฒน์ (101) ชัน้ 1 อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์ สถาบันฯ

38

รายงานประจำ�ปี 2559


17 ตุลาคม 2559 ถวายความอาลัย

ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหาร พร้อมด้วยคณาจารย์ นักวิจัย บุคลากร และนักศึกษา สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ขอร่วมน้อมถวายความอาลัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร ณ บริเวณชั้น 1 อาคาร ประชาสังคมอุดมพัฒน์ สถาบันฯ

14 พฤศจิกายน 2559

นิทรรศการ “ประชากรไทยในสมัยรัชกาลที่ ๙”

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล จัดนิทรรศการ “ประชากรไทยในสมัยรัชกาลที่ ๙” เพื่อเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ด้วยสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่มีต่อพสกนิกรอย่างหาที่สุดมิได้ โดยรวบรวมจำ�นวนประชากรเกิดในแผ่นดินรัชกาลที่ 9 พระอัจฉริยภาพ และพระปรีชาสามารถของพระองค์อันประจักษ์ต่อประชาชนชาวไทยและทั่วโลกผ่านพระราชกรณียกิจ พระราชดำ�รัส และโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริ ตลอดจนข้อมูลเหตุการณ์ส�ำ คัญในช่วงระยะเวลา 70 ปี ที่ทรงครองราชย์ ณ ห้องพิพิธสาระประชากรและสังคม ชั้น 1 อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์ สถาบันฯ

39

รายงานประจำ�ปี 2559


40

รายงานประจำ�ปี 2559


08 สร้างความเป็นเลิศ

ด้านการวิจัย ทางประชากรและสังคม


กลุ่มงานวิจัย

กลุ่มวิจัยที่ 3: เพศวิถี เพศภาวะ อนามัยเจริญพันธุ์ และ เอชไอวี/เอดส์ Sexuality, Gender, Reproductive Health and HIV/AIDS กลุ่มวิจัยที่ 2: ภาวะสูงวัยของประชากร Population Ageing

กลุ่มวิจัยที่ 1: สังคมกับการเปลี่ยนแปลง ประชากรและครอบครัว Society and Population and Family Changes

42

รายงานประจำ�ปี 2559


กลุ่มวิจัยที่ 4: ประชากร สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ Population, Environment and Health กลุ่มวิจัยที่ 5: การย้ายถิ่น ความเป็นเมือง และแรงงาน Migration, Urbanization and Labour

กลุ่มวิจัยที่ 6: ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology

43

รายงานประจำ�ปี 2559


โครงการวิจัยเด่น

ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย

ชุดโครงการวิจยั “ความอยูด่ มี สี ขุ ของครอบครัวไทย” ได้รบั ทุนสนับสนุนจากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันแผนประมาณการ 20 ปี ของประเทศไทย ประกอบด้วยโครงการวิจัยย่อย 3 โครงการ คือ (1) โครงการส่งเสริมการมีบุตรผ่านการสร้างสมดุลในการทำ�งานและการสร้างครอบครัวที่มีคุณภาพ (2) โครงการ การให้บริการของศูนย์การศึกษาก่อนวัยเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (3) โครงการความอยูด่ มี สี ขุ ของครัว เรือนชนบทไทยภายใต้การเปลี่ยนแปลงทางประชากรและสังคม

การศึกษาศตวรรษิกชนคนร้อยปีในประเทศไทย

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาประชากรกลุ่มผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปีขึ้นไป) และศตวรรษิกชนคนร้อยปีใน ประเทศไทยในประเด็นที่เกี่ยวของกับดัชนีชี้วัดแสดงถึงความยืนยาวของชีวิตของคนไทย เพื่อเปนแนวทางใหคนไทยได เตรียมตัวเปนผูสูงอายุที่มีคุณภาพ

การประเมินผลการดำ�เนินงานตามนโยบายและ แผนระดับชาติเพื่อขจัดการใช้แรงงานเด็กใน รูปแบบที่เลวร้าย ปีงบประมาณ 2552–2557

โครงการศึกษาการประเมินผลการดำ�เนินงานตามนโยบายและแผนระดับชาติ เพื่อขจัดการใช้แรงงานเด็กในรูปแบบ ที่เลวร้าย ปีงบประมาณ 2552-2557 มีความสำ�คัญ คือ ได้นโยบายและแผนระดับชาติเพื่อขจัดการใช้แรงงานเด็กใน รูปแบบทีเ่ ลวร้าย สำ�หรับปีงบประมาณ 2558-2563 เป็นนโยบายและแผนฉบับทีไ่ ด้มกี ารศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทาง การป้องกันและแก้ไขปัญหาการใช้แรงงานเด็กในรูปแบบทีเ่ ลวร้ายจากผลการประเมินนโยบายและแผนในฉบับทีผ่ า่ นมา ทำ�ให้ได้นโยบายและแผนฉบับปัจจุบันที่มีทิศทางที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

* ดูรายละเอียดเพิ่มเติม หน้าที่ 102-103 44

รายงานประจำ�ปี 2559


โครงการต่อเนื่อง โครงการจัดทำ�รายงานสุขภาพคนไทย 2557-2559 โครงการจัดทำ�รายงานสุขภาพคนไทย 2557-2559 มีความสำ�คัญต่อสังคมในการประมวลข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ประจำ�ปี ในประเด็นทางสังคมทีเ่ กีย่ วโยงกับสุขภาพในมิตกิ าย จิตใจ สังคม และปัญญา เพือ่ ใช้ประโยชน์ในการขับเคลือ่ น ทางสังคม มาอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี

การพัฒนาสร้างเสริมความสุขคนทำ�งาน เพื่อความยั่งยืน โดยการดำ�เนินงานในรูปแบบ “ศูนย์วิจัยความสุขคนทำ�งาน แห่งประเทศไทย” โครงการ TCHS เป็นโครงการทีส่ �ำ นักสนับสนุนสุขภาวะองค์กร สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ให้การสนับสนุนเพื่อการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต และความสุขของคนทำ�งาน รวมทั้งองค์กรแห่งความสุข ตลอดจนเป็น ศูนย์กลางทางด้านการศึกษาวิจัย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นแหล่งสนับสนุนส่งเสริมให้คนทำ�งานและองค์กร สามารถ บริการจัดการคุณภาพชีวิตและความสุขคนทำ�งานได้อย่างยั่งยืน

Smoking Cessation Contracts with Social and Monetary Incentives (SMILE)

งานวิจัยระยะยาวที่ศึกษาทางเลือกในการช่วยเหลือผู้สูบบุหรี่โดยไม่ต้องใช้บริการทางคลินิกที่มีต้นทุนสูงและเข้าถึง ยาก สามารถนำ�ไปปรับใช้กบั พฤติกรรมสุขภาพอืน่ ๆ และมีศกั ยภาพต่อการพัฒนานโยบายการควบคุมการบริโภคยาสูบ ในประเทศกำ�ลังพัฒนา ได้ร่วมมือกับ University of California Berkeley โดยได้รับทุนจาก National Institutes of Health (NIH)

โครงการจัดทำ�รายงาน สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย เพือ่ สร้างความตระหนักรูใ้ ห้สงั คมส่วนรวมและภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับสถานการณ์ของผูส้ งู อายุไทยรวมทัง้ การก้าวเข้าสู่ สังคมผูส้ งู วัยของประเทศไทย และสามารถนำ�ข้อมูลดังกล่าวใช้ในการสนับสนุน อ้างอิงประกอบการตัดสินใจของผูบ้ ริหาร เพื่อการวางแผนและกำ�หนดนโยบายด้านผู้สูงอายุของรัฐ

45

รายงานประจำ�ปี 2559


ผลงานตีพิมพ์

วารสารระดับชาติ

วารสารระดับนานาชาติ

จำ�นวน Citation/Paper ที่อยู่ในฐาน Scopus ในปี 2556-2559 5.3

5.3

5.5

5.2

2556

2557

2558

2559

46

รายงานประจำ�ปี 2559


วารสารระดับชาติ จำ�นวน 5 เรื่อง จงจิตต์ ฤทธิรงค์. (2559). การพยากรณ์อัตราตายรายอายุในประเทศไทย. วารสารประชากร, 4(2), 81-99. เฉลิมพล แจ่มจันทร์, และกัญญา อภิพรชัยสกุล. (2559). การวิจยั ประเมินผลกระบวนการทำ�งานและ การประสานงานของภาคประชาสังคมและภาคสุขภาพ: งานบริการป้องกันการติดเชือ้ เอชไอวีใน กลุ่มแรงงานข้ามชาติ. วารสารโรคเอดส์, 28(2), 69-83. บุรเทพ โชคธนานุกลุ , และกมลชนก ขำ�สุวรรณ. (2559). “การตัง้ ครรภ์ในวัยรุน่ ” ผลกระทบทางสังคม จากมุมมองเรื่องเพศของแม่ต่างรุ่น. วารสารประชากร, 4(2), 63-79. ปราโมทย์ ประสาทกุล, จงจิตต์ ฤทธิรงค์, และสิรินทร์ญา ไข่เขียว. (2559). การคาดประมาณครัวเรือน ที่อยู่อาศัยของประชากรไทย พ.ศ. 2553-2563. วารสารประชากร, 4(2), 45-60. ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์, อภิชาติ จำ�รัสฤทธิรงค์, สุรีย์พร พันพึ่ง, อรทัย หรูเจริญพรพานิช, และกัญญา อภิพรชัยสกุล. (2559). ขนาดและการกระจายของประชากรข้ามชาติสัญชาติพม่า กัมพูชา และ ลาวในประเทศไทย พ.ศ. 2558: การประมาณจากข้อมูลหลายแหล่ง. วารสารประชากร, 4(2), 5-21. วารสารระดับนานาชาติ จำ�นวน 38 เรื่อง Amornsriwatanakul, A., Nakornkhet, K., Katewongsa, P., Choosakul, C., Kaewmanee, T., Konharn, K.,et al. (2016). Results from Thailand’s 2016 Report Card on Physical Activity for Children and Youth. Journal of Physical Activity and Health, 11(2), S291-S298. doi: 10.1123/jpah.2016-0316 Anderson, L., Robson, B., Connolly, M., Al-Yaman, F., Bjertness, E., King, A., …, Vapattanawong, P., et al. (2016). Indigenous and Tribal Peoples’ Health (The Lancet-Lowitja Institute Global Collaboration): A Population Study. Lancet, 9(388), 131-57. doi: 10.1016/S0140-6736(16)00345-7 Apinonkul, B., Soonthorndhada, K., Vapattanawong, P., Jagger, C., & Aekplakorn, W. (2016). Regional and gender differences in years with and without mobility limitation in the older population of Thailand. Plos One, 11(5). doi: org/10. 1371/ journal.pone.0153763. 3 D’Abreu, L.C.F., & Krahé, B. (2016). Vulnerability to Sexual Victimization in Female and Male College Students in Brazil: Cross-Sectional and Prospective Evidence. Archives of Sexual Behavior, 45(5), 1101-1115. doi: 10.1007/s10508-014-0451-7

47

รายงานประจำ�ปี 2559


วารสารระดับนานาชาติ

Entwisle, B., Williams, N.E., Verdery, A.M., Rindfuss, R.R., Walsh, S.J., Malanson, G.P., …, Prasartkul, P., Sawangdee, Y., Jampaklay, A., et al. (2016). Climate Shocks and Migration: An Agent-Based Modeling Approach. Population and Environment, 38(1), 47-71. doi: 10.1007/s11111-016-0254 Ford, K., & Holumyong, C. (2016). HIV Testing and Cross Border Migrant Vulnerability: Social Integration and Legal/Economic Status Among Cross Border Migrant Workers in Thailand. AIDS and Behavior, 20(4), 917-927. doi: 10.1007/s10461-015-1255-z Ford, K., Jampaklay, A., & Chamratrithirong, A. (2016). Mental Health in a Conflict Area: Migration, Economic Stress and Religiosity in the Three Southernmost Provinces of Thailand. International Journal of Social Psychiatry, 1-8, doi: 10.1177/0020764016685119.27 Ford, K., Punpuing, S., & Abas, M. (2016). Memory and the Reporting of Remittance in a Sample of Elderly Persons in Thailand. Journal of Population Ageing, 9(24), 1-9. doi: 10.1007/s12062-016-9144-4 Gostin, L.O., Friedman, E.A., Buss, P., Chowdhury, M., Grover, A., Heywood, M., & Kanchanachitra, C., et al. (2016). The Next WHO Director-General’s Highest Priority: a Global Treaty on the Human Right to Health. Lancet Global Health, 4(12), e890–e892. doi: http://dx.doi.org/10.1016/S2214-109X(16)30219-4 Gray, R.S., Hahn, L., Thapsuwan, S., & Thongcharoenchupong, N., (2016). Strength and Stress: Positive and Negative Impacts on Caregivers for Older Adults in Thailand. Australasian Journal on Ageing, 35(2), E7-E12. doi: 10.1111/ajag.12266 Haque, N., Soonthorndhada, K., Hunchangsith, P., & Kanchanachitra, M. (2016). Active Ageing Level in Thailand: Acomparison between Female and Male Elderly. Journal of Health Research, 30(2), 99-107. Isarabhakdi, P., & Pewnil, T. (2016). Engagement with Family, Peers, and Internet Use and Its Effect on Mental Well-being among High School Students in Kanchanaburi Province, Thailand. International Journal of Adolescence and Youth, 21(1), 15-26. doi: 10.1080/02673843.2015.1024698 Kaewanuchit, C., Sawangdee, Y. (2016). A Path Analysis of Mental Health Among Thai Immigrant Employees in Pranakron Si Ayutthaya Province. Journal of Immigrant and Minority Health, 18(4), 871-877. doi: 10.1007/s10903-015-0262-5 48

รายงานประจำ�ปี 2559


วารสารระดับนานาชาติ

Kaewanuchit, C., & Sawangdee, Y. (2016). A Path Model of Job Stress Using Thai Job Content Questionnaire (Thai-JCQ) among Thai Immigrant Employees at the Central Region of Thailand. Iranian Journal of Public Health, 18(4), 871-877. doi: 10.1007/ s10903-015-0262-5 Li, L., Fathelrahman, AL., Borland, R., Omar, M., Fong, GT., Ouah, AC.,…, Sirirassamee, B., et al. (2016). Impact of Graphic Pack Warnings on Adult Smokers’ Quitting Activities: Findings from the ITC Southeast Asia Survey (2005-2014). Journal of Smoking Cessation, 11(2), 124-134. doi: https://doi.org/10.1017/jsc.2015.21 Musumari, M.P., & Chamchan, C. (2016). Correlates of HIV Testing Experience among Migrant Workers from Myanmar Residing in Thailand: A Secondary Data Analysis. PLOS ONE, 11(5), doi: 10.1371/journal. pone.0154669 Paz-Soldan, V.A., Yukich, J., Soonthorndhada, A., Giron, M., Apperson, CS., Ponnusamy, L., et al. (2016). Design and Testing of Novel Lethal Overtop to Reduce Populations of Aedes Mosquitoes: Community-Based Participatory Research between Industry, Academia and Communities in Peru and Thailand. PLOS ONE, 11(8). doi: http:// dx.doi.org/10.1371/journal.pone.0160386 Rittirong, J. (2016). Health Center Visits among the Elderly with Chronic Ailments: Evidence from the Kanchanaburi Demographic Surveillance System, 2004, Thailand. Asian Population Studies, 12(2), 187-202. doi: http://dx.doi.org/10.108 0/17441730.2016.1163872 Santiphop, T., & Pattaravanich, U. (2016). An Analysis of Factors to Improve the Capacity and Value of Older Persons in Thailand. Journal of Population and Social Studies (JPSS), 24(1), 66-80. Sciortino, R. (2016). Human Resources for Health: A Critical Yet Challenging Pathway to Universal Health Coverage in Indonesia. World Health & Population, 16(1), 51-61. doi: 10.12927/whp.2015.24315 Sciortino, R. (2016). “Learning Across Boundaries”: Grantmaking Activism in the Greater Mekong Subregion. Scholarship and Engagement in Mainland Southeast Asia, 118(7), 141-166. doi: https://www.academia.edu/19734394/Sciortino

49

รายงานประจำ�ปี 2559


วารสารระดับนานาชาติ

Siriphakhamongkhon, S., Sawangdee, Y., Pattaravanich, U., & Mongkolchati, A. (2016). Determinants and Consequences of Childhood Overweight: Health Status and the Child’s School Achievement in Thailand. Journal of Health Research, 30(3). doi: 10.14456/jhr.2016.23 Sirirassamee, T., & Hunchangsith, P. (2016). Childeren’s Eating Behavior Questionnaire: Factorial Validation and Differences in Sex and Educational Level in Thai School-age Children. The Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health, 47(6), 1325-1334. Sutthichaimethee, P., & Sawangdee, Y. (2016). Indicator of Environmental Problems of Agricultural Sectors under the Environmental Modeling. Journal of Ecological Engineering, 17(2), 12-18. doi: https://doi.org/10.12911/22998993/62280 Sutthichaimethee, P., & Sawangdee, Y. (2016). Modeling Environmental Impact of Service Sectors to Promote Sustainable Development of Thailand. Ethics in Science and Environmental Politics, 16, 11-17. doi: 10.3354/Esep00169 Sutthichaimethee, P., & Sawangdee, Y. (2016). Forecasting Model of GHG Mission in Manufacturing Sectors of Thailand. Journal of Ecological Engineering, 18(1), 18-24. doi: 10.12911/22998993/64566 Sutthichaimethee, P., & Sawangdee, Y. (2016). Model of Environmental Problems Priority Arising from the Use of Environmental and Natural Resources in Machinery Sectors of Thailand. Environmental and Climate Technologies, 18-29. doi: 10.1515/ rtuect-2016-0003201622 Tangcharoensathien, V., Kanchanachitra, C., Thomas, R., Pfitzerd, J.H., & Whitneye, P. (2016) Addressing the Health of Vulnerable Populations: A Call for Papers. Bull World Health Organ, 94(235). doi: http://dx.doi.org/10.2471/BLT.16.172783 Techasrivichien, T., Darawuttimaprakorn, N., Punpuing, S., Musumari, PM., Lukhele, BW., El-Saaidi, C., et al. (2016). Changes in Sexual Behavior and Attitudes Across Generations and Gender among a Population-Based Probability Sample from an Urbanizing Province in Thailand. Archives of Sexual Behavior, 45(2), 367-382. doi: 10.1007/s10508-014-0429-5

50

รายงานประจำ�ปี 2559


วารสารระดับนานาชาติ

Topothai, T., Chandrasiri, O., Liangruenrom, N., & Tangcharoensathien, V. (2016). Renewing Commitments to Physical Activity Targets in Thailand. The Lancet, 388(10051), 1258-1260. dol: http://dx.doi.org/10.1016/S0140-6736(16)30929-1 Voelker, M. (2016). Promotion of Afforestation in West Saxony: Benefits for the Population and Preferences of Farmers. The German Journal of Forest Research, 187, 50-60. Volker, M., & Lienhoop, N. (2016). Exploring Group Dynamics in Deliberative Choice Experiments. Ecological Economics, 123, 57-67. doi: 10.1016/j.ecolecon.2016.01.006 Widjanarko, B., Widyastari, DA., Martini, M., & Ginandjar, P. (2016). How Do Laboratory Technicians Perceive Their Role in the Tuberculosis Diagnostic Process? A Cross-sectional Study among Laboratory Technicians in Health Centers of Central Java Province, Indonesia. Psychology Research and Behavior Management, 6(9), 237-246. doi: 10.2147/PRBM.S108466 Widyastari D.A., & Isarabhakdi, P. (2016). Suharto’s Population Policy in Contemporary Indonesia: Family Planning Program, Marriage Act or Compulsory Education has the Greatest Impact to Fertility Decline?. Public Health of Indonesia, 2(2), 40-46. Winzer, L. (2016). Agressão Sexual Entre Jovens Universitários: Questão de Saúde Pública?. Physis; Rio de Janeiro, 26(2), 393-398. doi: http://dx.doi.org/10.1590/ S0103-73312016000200003 Winzer, L. (2016). Frequency of Self-reported Sexual Aggression and Victimization in Brazil: A Literature Review. Cadernos de Saúde Pública, 32(7). doi: org/10.1590/0102311X00126315 Winzer, L. (2016). The Relationship between the Municipal Human Development Index and Rates of Violent Death in Brazilian Federal Units. Journal of Human Growth and Development, 26(2), 211-217. doi: 10.7322/ jhgd.119275 Xiao, Z., Zhang, J., Li, D., & Samutachak, B. (2016). The Effect of E-wom on Country Image and Purchase Intention: An Empirical Study on Korean Cosmetic Products in China. International Journal of Services Technology and Management, 22(2), 18-30. doi: doi.org/10.1504/IJSTM.2016.077652

51

รายงานประจำ�ปี 2559


เครือข่ายความร่วมมือ

52

รายงานประจำ�ปี 2559


Asian Institute of Technology (AIT) Australian Agency for International Development (AusAID) College of Population Studies, Chulalongkorn University (CPS) College of Public Health Sciences, Chulalongkorn University (CPHS) Demographic Institute, Universitas Indonesia Department of Epidemiology, School of Public Health, University of Michigan European Commission (EC) European Union (EU) INDEPTH Network Institute of Socio-Political Research under the Russian Academy of Sciences (ISPR RAS) MGIMO University National Institutes of Health (NIH) Public Health Foundation of India (PHFI) SHAPE-SEA Program (Strengthening Human Rights and Peace Research and Education in ASEAN/Southeast Asia) Syracuse University The Global Fund The Joint United Nations Programme on HIV/AIDS (UNAIDS) U.S Agency for International Development (USAID) United Nations Population Fund (UNFPA) Universitas Diponegoro (UNDIP), Indonesia University of Bonn University of California, Berkeley University of Sussex Wellcome Trust WHO Collaborating Centre (WHO CC) for Research in Human Reproduction World Bank World Health Organization

53

รายงานประจำ�ปี 2559


54

รายงานประจำ�ปี 2559


09 สรรสร้าง

การศึกษา เพื่อการเปลี่ยนแปลง


งานการศึกษา

ทางประชากรศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีการศึกษา 2558 * จำ�นวนนักศึกษาต่างชาติที่ลงทะเบียน จำ�แนกตามภูมิภาคและประเทศ (ปีการศึกษา 2559) รายละเอียดหน้า 92

เปิดรับ

จบการศึกษา

รับจริง

15

15

5

8

9 3

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย) มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เพิ่ ม พู น ความรู้ ค วาม สามารถของบุ ค ลากรในด้ า นการวิ จั ย วางแผน และวิเคราะห์ปัญหาประชากร และสังคมในแง่มุมต่างๆ และสามารถนำ� ความรู้ด้านประชากรไปประยุกต์ใช้ในการ วางแผน หรือดำ�เนินโครงการต่างๆ ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

ปีที่เริ่มหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ์ (หลักสูตรนานาชาติ) มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ผลิ ต บุ ค ลากรให้ มี พื้นฐานความรู้ด้านประชากรศาสตร์และ อนามัยเจริญพันธุ์ มีความรู้ความสามารถ ในการวิ จั ย ประเมิ น ผล และวิ เ คราะห์ โครงการและกิจกรรมต่างๆ ด้านประชากร และอนามัยเจริญพันธุ์ รวมทั้งโครงการ วางแผนครอบครั ว ในประเทศได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ

2521

2531

56

รายงานประจำ�ปี 2559


การจั ด การศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาด้ า นประชากรศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ เ ป็ น หนึ่ ง ในพันธกิจหลักของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถาบันฯ ที่สำ�คัญคือสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนานักศึกษาให้มีส่วนร่วมในการดำ�เนินการวิจัยของ สถาบันฯ และจัดการความรู้ที่มุ่งเน้นการสร้างเสริมความรู้สู่การปฏิบัติ และมีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของบัณฑิตและผู้ใช้บัณฑิตให้มากที่สุด

เปิดรับ

จบการศึกษา

รับจริง

6 3

3

1

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม (หลักสูตรร่วมนานาชาติ)

มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ผลิ ต นั ก วิ ช าการที่ มี ความรู้ ความสามารถระดับสูง เพื่อถ่ายทอด ความรูด้ า้ นประชากรศาสตร์ ทำ�การวิจยั เพือ่ ค้นหาองค์ความรู้ใหม่ และพัฒนาระเบียบ วิธีวิจัยให้มีคุณภาพ เพื่อนำ�ผลการศึกษาไป กำ�หนดนโยบายและวางแผน

มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ สร้ า งนั ก วิ ช าการและนั ก วิ จั ย ให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านสังคมผู้สูงอายุ โดยเฉพาะการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ และการจั ด การฐานข้ อ มู ล ที่ จ ะนำ � ไปสู่ ก ารพั ฒ นา นโยบายสาธารณะเกี่ยวกับสังคมผู้สูงอายุ และเป็น หลั ก สู ต รร่ ว มระหว่ า งสถาบั น วิ จั ย ประชากรและ สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยไมอามี มลรัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา

2536

2553

57

รายงานประจำ�ปี 2559

หมายเหตุ: ข้อมูล ณ วันที่ 9 มีนาคม 2560


แหล่งทุนของนักศึกษา นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) ได้รับทุนการศึกษาภายในประเทศจาก 3 องค์กร จำ�นวน 7 ทุน • โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) จำ�นวน 5 ทุน • ทุนเฉลิมพระเกียรติ 60 ปี ครองราชสมบัติ จำ�นวน 1 ทุน • ทุนสถาบันวิจัยประชากรและสังคม จำ�นวน 1 ทุน ได้รับทุนการศึกษาต่างประเทศจาก 1 องค์กร จำ�นวน 6 ทุน • Mahidol - Norway Capacity Building Initiative for ASEAN (CBIA), Norway จำ�นวน 6 ทุน นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ์ (หลักสูตรนานาชาติ) ได้รับทุนการศึกษาภายในประเทศจาก 3 องค์กร จำ�นวน 4 ทุน • ทุนสถาบันวิจัยประชากรและสังคม จำ�นวน 2 ทุน • ทุนการศึกษา 2016 Mahidol Postgraduate Scholarship Programme ประจำ�ปี การศึกษา 2559 จำ�นวน 1 ทุน • ทุนการศึกษาโครงการพระราชทานความช่วยเหลือแก่ราชอาณาจักรกัมพูชา ด้านการศึกษา ประจำ�ปีการศึกษา 2559 จำ�นวน 1 ทุน ได้รับทุนการศึกษาต่างประเทศจาก 1 องค์กร จำ�นวน 1 ทุน • Mahidol - Norway Capacity Building Initiative for ASEAN (CBIA), Norway จำ�นวน 1 ทุน นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม ได้รับทุนการศึกษาภายในประเทศจาก 1 องค์กร จำ�นวน 2 ทุน • ทุนสถาบันวิจัยประชากรและสังคม จำ�นวน 2 ทุน

58

รายงานประจำ�ปี 2559


กิจกรรมพัฒนานักศึกษา สถาบันฯ มีแผนการจัดโครงการ หรือกิจกรรมส่งเสริมผลการเรียนรู้ เพื่อพัฒนานักศึกษานอกเหนือ จากการเรียนการสอนในหลักสูตรหลายโครงการหรือหลายกิจกรรม ดังนี้ 1) ทุกหลักสูตรกำ�หนดให้นกั ศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชา Research Ethics ซึง่ จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย หรือเข้ารับการอบรมจริยธรรมฯ และส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณธรรมและจริยธรรมทางวิชาการ 2) จัดกิจกรรมศึกษาดูงานเสริมความรู้ตามความสนใจและในชั่วโมงเรียนของนักศึกษา พร้อมทั้งมี การประเมินผลการศึกษาดูงานเพื่อใช้ในการปรับปรุงการศึกษาดูงานในปีต่อไป 3) จัดให้มี Love U Club เดือนละ 2 ครั้ง ซึ่งเป็นการส่งเสริมกิจกรรมร่วมกันระหว่างนักศึกษา ไทยและต่างชาติ เพื่อให้นักศึกษาทุกหลักสูตรของสถาบันฯ มีโอกาสสันทนาการแลกเปลี่ยนเชิง วัฒนธรรมเรื่องต่างๆ ที่สนใจ เพื่อสร้างศักยภาพและบุคลิกภาพสำ�หรับนักศึกษา และเพื่อแบ่ง ปันความสามารถเฉพาะทางให้เพื่อนๆ และคณาจารย์ เช่น การสอนภาษาประจำ�ชาติ 4) ทุกหลักสูตรสนับสนุนให้นักศึกษานำ�เสนอผลงานทางวิชาการ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ และนำ�ข้อเสนอแนะมาปรับปรุงการเขียนบทความ ทางวิชาการ 5) เปิดโอกาสให้นักศึกษาเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการวิจัยจัดเก็บข้อมูลภาคสนามในทุกขั้นตอน ใน วิชาการวิจัยเชิงปริมาณ และวิชาการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ภาค สนามจริง 6) เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานวิจัยในตำ�แหน่งนักวิจัยผู้ช่วย ร่วมกับ คณาจารย์ เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์จริงในการทำ�วิจัย เพื่อใช้ในการเขียนบทความ และ ทำ�วิทยานิพนธ์ 7) จัดให้มีโครงการบำ�เพ็ญประโยชน์และสานสัมพันธ์ 4 หลักสูตร ประจำ�ปีการศึกษา 2559 เพื่อ ให้นักศึกษาได้มีโอกาสบำ�เพ็ญประโยชน์ มีกิจกรรมร่วมกัน มีความคุ้นเคย และได้มีโอกาสแลก เปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ ตลอดจนเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีในหมู่นักศึกษา คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ของสถาบันฯ

59

รายงานประจำ�ปี 2559


กิจกรรมพัฒนานักศึกษา 8) ส่งเสริมทักษะการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น การจัดอบรมโปรแกรม GIS โปรแกรม Turnitin และโปรแกรม EndNote แก่นักศึกษาเพื่อเป็นเครื่องมือประกอบการเขียนบทความ และทำ�วิทยานิพนธ์ 9) สนับสนุนให้นักศึกษาเสนอผลงานวิจัย เตรียมความพร้อมก่อนสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์และ สอบวิทยานิพนธ์ ในเสวนาใต้ชายคาประชากร ทุกวันพุธ เวลา 12.30 – 13.30 น. เพื่อสร้าง ศักยภาพของนักศึกษาในการเสนอผลงานวิจัย และนำ�ข้อเสนอแนะจากการเสวนาไปปรับปรุง โครงร่างและวิทยานิพนธ์ 10) สนับสนุนให้มพี ธิ ไี หว้ครูเป็นประจำ�ทุกปี เพือ่ สืบสานประเพณีและวัฒนธรรมระหว่างคณาจารย์ และศิษย์ เป็นการส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณธรรมและจริยธรรม และได้มีการประเมินการจัดพิธี ไหว้ครูเพื่อนำ�ไปปรับปรุงในปีต่อไป 11) สนับสนุนให้นกั ศึกษาเข้ารับการอบรมการสืบค้นข้อมูลทาง Electronic ของห้องสมุด เพือ่ เรียน รูว้ ธิ กี ารใช้หอ้ งสมุดและสืบค้นข้อมูล เพือ่ ให้สามารถนำ�ไปใช้ในการสืบค้นข้อมูลประกอบการเรียน การทำ�รายงานและการทำ�วิทยานิพนธ์ 12) จัดปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอน และระเบียบ ข้อบังคับของหลักสูตร รวมทั้งแนะนำ�สถาบันฯ และคณาจารย์

60

รายงานประจำ�ปี 2559


30 มีนาคม - 1เมษายน การศึกษาดูงานการย้ายถิ่น ณ จังหวัดระยอง-จันทบุรี วิชา PRDE 663 Advanced Analysis of Migration หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)

8 สิงหาคม ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2559

เมษายน

7-8 ตุลาคม โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์และสานสัมพันธ์ 4 หลักสูตร ณ โรงเรียนวัดบางน้ำ�วน (รอดพิทยาคม) อำ�เภอสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร

19-26 ตุลาคม การศึกษาดูงาน ณ มหาวิทยาลัยเกียวโต และนำ�เสนอ ผลงานทางวิชาการ ณ มหาวิทยาลัยโกเบ ประเทศญี่ปุ่น วิชา วจปส 629 สัมมนาการวิจัยทางประชากรและสังคม หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม

13-17 ธันวาคม การศึกษาดูงานด้านเอชไอวี/เอดส์ และอนามัยเจริญพันธุ์ ณ จังหวัดเชียงใหม่ และเชียงราย หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ์ (หลักสูตรนานาชาติ) 61

รายงานประจำ�ปี 2559


62

รายงานประจำ�ปี 2559


10 มุ่งสู่ความเป็นเลิศด้าน

การบริการ วิชาการ


การบริการวิชาการ “ศึกษาดูงาน-อบรม-ประชุม” จำ�นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมบริการวิชาการ แยกรายทวีป

EUROPE 117 ประชุม

AMERICA 116 ประชุม ศึกษาดูงาน

ศึกษาดูงาน

112 4

จำ�นวน (คน)

ศึกษาดูงาน

134

อบรม

180

ประชุม

1,424

* ดูรายละเอียดเพิ่มเติม หน้าที่ 92-98

64

รายงานประจำ�ปี 2559

109 8


OTHER SUBREGION OF ASIA 251 ประชุม ศึกษาดูงาน อบรม

213 32 6

261

SOUTHEAST ASIA 1,144

1,137

ประชุม ศึกษาดูงาน อบรม

AFRICA

78

ประชุม

74

ศึกษาดูงาน

884 86 174

4

OCEANIA 32 ประชุม

32

หมายเหตุ: ข้อมูลมาจากจำ�นวนผู้เข้าร่วม ในปี 2559 65

รายงานประจำ�ปี 2559


เสวนาวิชาการ “ใต้ชายคาประชากร” สถาบั น ฯ ได้ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารเผยแพร่ แ ละอภิ ป รายผลงานวิ จั ย และประเด็ น วิ จั ย ต่ า งๆ ทุ ก วั น พุ ธ เวลา 12.30-13.30 น. โดยเปิ ด โอกาสให้ บุ ค ลากรทั้ ง ในและนอกสถาบั น ฯ เป็ น ผู้ นำ � เสนอและ ผู้ร่วมรับฟัง สังคมกับการเปลี่ยนแปลง

12 4

12 1

1

ผู้สูงอายุ เพศวิถี อนามัยเจริญพันธุ์ ประชากร สิ่งแวดล้อม สุขภาพ การย้ายถิ่น ระเบียบวิธีวิจัย

13

“ห้องสมุด” เฉพาะทางด้านประชากรศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำ�นวนทรัพยากรสารสนเทศที่มีทั้งหมด (ณ 31 ธันวาคม 2559)

หนังสือ/ตำ�ราวิชาการ 12,579 1,165 วิทยานิพนธ์

เล่ม

44

เล่ม

วารสารฉบับปัจจุบัน

918

เล่ม

วารสารเย็บเล่ม

176

เล่ม

3,967

ฉบับ

รายงานการวิจัย

หนังสือพิมพ์

66

เล่ม

รายงานประจำ�ปี 2559


การนำ�เสนอผลงานระดับนานาชาติ จำ�นวนการนำ�เสนอผลงานวิจัย ในที่ประชุมระดับนานาชาติ

เรื่อง ผู้นำ�เสนอผลงาน

คน * ดูรายละเอียกเพิ่มเติม หน้าที่ 104-105

ข้อมูลการได้รับเชิญของบุคลากร (จำ�นวนครั้ง) 67

14 4

4 อาจารย์พิเศษ

วิทยากร

67

กรรมการ

รายงานประจำ�ปี 2559

ที่ปรึกษา


ศูนย์อ้างอิงข้อมูลทางประชากรและสังคม ศูนย์ศตวรรษิกชน (Thai Centenarians Center) www.thaicentenarian.mahidol.ac.th

มีวตั ถุประสงค์เป็นแหล่งข้อมูลความรูเ้ กีย่ วกับผูส้ งู อายุและศตวรรษิกชนหรือประชากรทีม่ อี ายุ 100 ปี ขึน้ ไป (Centenarian–คนร้อยปีหรือศตวรรษิกชน) ในประเทศไทย เพือ่ ศึกษาชีวติ ความเป็นอยูข่ องคน อายุ 100 ปี สอดคล้องกับกิจกรรมของมหาวิทยาลัยมหิดล ที่นำ�เสนอข้อมูลผ่านบทความ สถิติตัวเลข คำ�ศัพท์ ข่าวสารความรู้วิทยานิพนธ์ งานวิจัย บทความ และกระดานข่าว ศูนย์ศึกษาการย้ายถิ่นมหิดล (Mahidol Migration Center) www.migrationcenter.mahidol.ac.th

จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาการศึกษาวิจยั เชิงนโยบายด้านการย้ายถิน่ เป็นศูนย์เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารของสถาบันฯ และหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือของสถาบันฯ ผ่านกิจกรรมการวิจัย แบบสหวิทยาการและการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูย้ า้ ยถิน่ ในประเทศไทยและ ในภูมิภาคผ่านทางงานวิจัยสิ่งตีพิมพ์และจดหมายข่าว มิเตอร์ประเทศไทย (Thailandometers) www.thailandometers.mahidol.ac.th

สถาบันฯ ได้พัฒนา “มิเตอร์ประเทศไทย” เป็นเครื่องมือนำ�เสนอสถิติข้อมูลด้านประชากร สุขภาพ อนามัย เศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม ‘ตามเวลาจริง’ เพื่อให้สาธารณชนเห็นความสำ�คัญของ ข้อมูลด้านประชากร และสามารถนำ�ข้อมูลไปใช้อ้างอิงได้ สถิติข้อมูลที่นำ�เสนอในมิเตอร์ประเทศไทย ได้จากการคาดประมาณของ “คณะทำ�งานฉายภาพประชากร” ของสถาบันฯ ซึ่งใช้ข้อมูลจากการ จดทะเบียน และการสำ�รวจจากแหล่งต่างๆ คำ�นวณอัตรา และตัวชี้วัดต่างๆ เพื่อนำ�เสนอให้เห็นภาพ การเปลี่ยนแปลงของตัวชี้วัดเหล่านั้นตามเวลาที่เปลี่ยนไป

68

รายงานประจำ�ปี 2559


หอจดหมายเหตุอิเล็กทรอนิกส์งานวิจัยของสถาบันฯ (Digital Archive of Research on Thailand - DART) www.dart.ipsr.mahidol.ac.th

เพือ่ รวบรวมข้อมูล ภาพเหตุการณ์ ผลงานวิจยั ของสถาบันฯ ภายใต้โครงการกาญจนบุรี และโครงการ นางรองในอดีต โดยจัดเก็บเป็นฐานข้อมูล และเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ ศูนย์อ้างอิงทางประชากรแห่งประเทศไทย (Population Reference Center of Thailand) http://www.prct.ipsr.mahidol.ac.th

เป็นแหล่งรวบรวมของข้อมูลและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับประชากรและครอบครัว การให้บริการวิชาการผ่านทาง เว็บไซต์ของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม www.ipsr.mahidol.ac.th เว็บไซต์ของสถาบันฯ สร้างขึน้ เพือ่ เป็นฐานข้อมูลความรูท้ างประชากรและสังคมเฉพาะด้าน โดยสถาบันฯ ได้จดั ให้มกี ารประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสาร และเผยแพร่ผลงานทางวิชาการผ่านเว็บไซต์ ซึง่ เว็บไซต์ของ สถาบันฯ มีหน้าภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีการนำ�เสนอตำ�รา หนังสือ รายงานการวิจัย บทความ ตีพมิ พ์ในวารสารทัง้ ระดับชาติและนานาชาติ จดหมายข่าวฯ สารประชากร วารสารประชากรและสังคม เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตามความต้องการทุกเวลา

69

รายงานประจำ�ปี 2559


คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ตั้งขึ้นในปี 2528 โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้งานวิจัยของสถาบันฯ ที่ดำ�เนินการโดยคณาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษา ให้เป็นงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะการมีหลักจริยธรรมในการทำ�วิจัย เริ่มเปิดรับพิจารณาโครงการวิจัยของ คณะและสถาบันอื่นๆ ในปี 2558 นอกจากนี้ สถาบันวิจัยประชากรและสังคมได้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ผ่านเว็บไซต์ www.irb.ipsr.mahidol.ac.th ตั้งแต่ปี 2555

ผู้วิจัยส่งโครงการวิจัยมายังสำ�นักงานคณะกรรมการจริยธรรมฯ

จำ�แนกโครงการวิจัยออกเป็น 2 ประเภท

Non Sensitive หมายถึง โครงการที่ ไม่มีกลุ่ม ตัวอย่างเป็นกลุ่มเปราะบาง

Sensitive หมายถึง โครงการที่มีกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มเปราะบาง โดยคณะกรรมการฯ จะส่งโครงการให้ Primary Reviewer 2 ท่าน พิจารณาและเตรียมนำ�เสนอในที่ประชุมคณะกรรมการจริยธรรมฯ

Full-Board Review 1. ส่งความเห็นจากที่ประชุมฯ ภายใน 2 สัปดาห์หลังวันประชุมให้ผู้วิจัยเพื่อดำ�เนินการแก้ ไข 2. คณะกรรมการฯ ประชุมลงความเห็น

ดำ�เนินการออกเอกสาร COA แก่ผู้วิจัย เมื่อปรับแก้ ไขแล้ว โดยอาจมีข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการฯ แนบไปกับ COA COA = Certificate of Approval

70

รายงานประจำ�ปี 2559


โครงการที่เสนอขอจริยธรรมการวิจัย มีโครงการที่เสนอขอจริยธรรมการวิจัย ในปี 2559 จำ�นวน โครงการ อื่นๆ

นักวิจัย

โครงการ

โครงการ

อาจารย์

นักศึกษา

โครงการ โครงการ

49

53

2555

2556

157

166

2558

2559

43 2557

* ดูรายละเอียกเพิ่มเติม หน้าที่ 99 71

รายงานประจำ�ปี 2559


กิจกรรมของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย การประชุมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ปี 2559 กำ�หนดให้มีการพิจารณาโครงการวิจัยเพื่อขอรับรองจริยธรรมการวิจัย โดยมีการพิจารณาทุกวันพฤหัสบดีสัปดาห์สุดท้ายเป็นประจำ�ทุกเดือน

28 ม.ค.

25 ก.พ.

31 มี.ค.

28 เม.ย.

26 พ.ค.

23 มิ.ย.

28 ก.ค.

25 ส.ค.

29 ก.ย.

27 ต.ค.

24 พ.ย.

29 ธ.ค.

72

รายงานประจำ�ปี 2559


การจัดอบรมจริยธรรมการวิจัย เรื่อง “ประเด็นจริยธรรมการวิจัยทางสังคมศาสตร์” ครั้งที่ 2 (1/2559) วันพฤหัสบดีที่ 14 กรกฎาคม 2559 ตั้งแต่เวลา 09.00 - 16.00 น. ณ ห้องสระบัว (109) ชั้น 1 อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม

การจัดอบรมจริยธรรมการวิจัย เรื่อง “คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย: กลไกที่ทำ�ให้งานวิจัยทางสังคมศาสตร์มีคุณภาพ” วันอังคารที่ 20 ธันวาคม 2559 ตั้งแต่เวลา 09.00 - 15.00 น. ณ ห้องสระบัว (109) ชั้น 1 อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม

73

รายงานประจำ�ปี 2559


หนังสือและรายงานการวิจัย 4

1 2 5 3

1. สมดุลแห่งความสุขครู ผู้แต่ง: อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์, กิตติยาพรรณ สุบิน, อมรรัตน์ มานะวัฒนวงศ์ 2. สูบความสุข? ดื่มความสุข? สุขภาพจิตของผู้สูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอลล์ ผู้แต่ง: ภูเบศร์ สมุทรจักร, สาสินี เทพสุวรรณ์ 3. ประชากรและสังคม 2559: ประเทศไทยกับศตวรรษแห่งการย้ายถิ่นข้ามชาติ บรรณาธิการ: สุรีย์พร พันพึ่ง, จรัมพร โห้ลำ�ยอง, ศุทธิดา ชวนวัน, แครี่ แอนด์ ริชเตอร์, ลีลา วินเซอร์, มาร์ก เฟิลแคร์ 4. ความสำ�เร็จและข้อท้าทายงานด้านเอดส์ กลุ่มประชากรข้ามชาติในประเทศไทย ภายใต้โครงการ กองทุนโลก ผู้แต่ง: เฉลิมพล แจ่มจันทร์, กัญญา อภิพรชัยสกุล, อภิชาติ จำ�รัสฤทธิรงค์, สุรีย์พร พันพึ่ง, นคร เปรมศรี, บุษบา ตันติศักดิ์ 5. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.๒๕๕๘ บรรณาธิการ: ปราโมทย์ ประสาทกุล และคณะ

74

รายงานประจำ�ปี 2559


7

8

6 9 11

10 6. สุขภาพคนไทย 2559: ตายดี วิถีที่เลือกได้ บรรณาธิการ: ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา และคณะ 7. Thai Health 2016: A Good Death: Alternative Option บรรณาธิการ: ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา และคณะ 8. The Impact of Internal Migration on Early Childhood Well-Being and Development ผู้แต่ง: อารี จำ�ปากลาย, กาญจนา ตั้งชลทิพย์, แครี่ แอนด์ ริชเตอร์, สุธรรม นันทมงคลชัย, อักษราภัค หลักทอง, ชาริต้า หะยีเตะ 9. ผลกระทบของการย้ายถิ่นภายในประเทศที่มีต่อสุขภาวะและพัฒนาการเด็กปฐมวัย ผู้แต่ง: อารี จำ�ปากลาย, กาญจนา ตั้งชลทิพย์, แครี่ แอนด์ ริชเตอร์, สุธรรม นันทมงคลชัย, อักษราภัค หลักทอง, ชาริต้า หะยีเตะ 10. คุณภาพชีวิตต่างวัยของผู้มีงานทำ� ผู้แต่ง: รศรินทร์ เกรย์, อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์, อักษราภัค หลักทอง, เจตพล แสงกล้า 11. สถานการณ์สุขภาพจิตกำ�ลังแรงงาน และความสุขในการทำ�งาน ผู้แต่ง: รศรินทร์ เกรย์, อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์, รุ้งทอง ครามานนท์, เจตพล แสงกล้า

75

รายงานประจำ�ปี 2559


จำ�นวนข่าว และบทความที่เผยแพร่ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ 130

135

66 2

วิทยุ

โทรทัศน์

11

10

7

สื่อสิ่งพิมพ์

76

มหิดลสาร

Facebook

รายงานประจำ�ปี 2559

จดหมายข่าว

นิทรรศการ


จำ�นวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ ปี 2557 - 2559 เว็บไซต์ เว็บไซต์สถาบันวิจัยประชากรและสังคม www.ipsr.mahidol.ac.th

2557

2559

383,892 360,534 318,933

ศูนย์ศตวรรษิกชน www.thaicentenarian.mahidol.ac.th มิเตอร์ประเทศไทย www.thailandometers.mahidol.ac.th ศูนย์ศึกษาการย้ายถิ่นมหิดล www.migrationcenter.mahidol.ac.th ศัพทานุกรมทางประชากรและสังคม www.popterms.mahidol.ac.th จดหมายข่าวประชากรและการพัฒนา www.newsletter.ipsr.mahidol.ac.th ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเชิงนวัตกรรมแห่งเอเชีย www.idsa.ipsr.mahidol.ac.th

77

2558

40,097

53,469

60,022

19,004

27,335

37,659

4,754

4,363

4,383

30,361

58,496

42,868

170,235 219,529 210,324

รายงานประจำ�ปี 2559

895

1,534

553


กิจกรรม กิจกรรม เพื่อชุมชน

ทำ�นุบำ�รุง

ศิลปวัฒนธรรม

Work - Life Balance

ที่มาของภาพ: http://65.media.tumblr.com/19e8c935e8e9b74dc9ff200596839549/tumblr_nr2tt73ktr1thfsbmo1_500.jpg

78

รายงานประจำ�ปี 2559


11 สืบสานทำ�นุบำ�รุง

ศิลปวัฒนธรรม อย่างมีส่วนร่วมและรับผิดชอบ


กิจกรรม เพื่อชุมชน กุมภาพันธ์ 18 กุมภาพันธ์ 2559 มอบปฏิทินเก่าให้แก่ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษาเพื่อคนตาบอด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ให้แก่ผู้พิการทางสายตา

พฤษภาคม 17 พฤษภาคม 2259 มอบคอมพิวเตอร์เก่าสภาพพร้อมใช้งาน เพื่อประโยชน์ด้านการศึกษาให้แก่คณะครู และนักเรียนโรงเรียนวัดงิ้วราย (พินพิทยาคาร) จังหวัดนครปฐม 25 พฤษภาคม 2559 มอบคอมพิวเตอร์เก่าให้แก่ศูนย์การดำ�รงชีวิตอิสระคนพิการพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เพื่อประโยชน์ด้านการศึกษาสำ�หรับผู้พิการ

กรกฎาคม 15 กรกฎาคม 2559 ทำ�ความสะอาดห้องน้ำ� และศาลาพักผ่อน เนื่องในเทศกาล วันเข้าพรรษา ณ วัดพุทธธรรมรังษี ตำ�บลลานตากฟ้า อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

สิงหาคม 2 สิงหาคม 2559 กิจกรรม “น้องอิ่มท้อง พี่อิ่มใจ” ณ สถานสงเคราะห์บ้านเด็กพิการและ ทุพพลภาพ (บ้านนนทภูมิ) อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

พฤศจิกายน 14 พฤศจิกายน 2559 พิธีมอบทุนการศึกษาพร้อมอุปกรณ์การศึกษาให้แก่นักเรียน จาก 7 โรงเรียนในเขตพื้นที่อำ�เภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 80

รายงานประจำ�ปี 2559


Work-Life Balance มีนาคม 2 มีนาคม 2559 “มหิดลเกมส์” การแข่งขันกีฬาบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล ประจำ�ปีงบประมาณ 2559

ตุลาคม 13-14 ตุลาคม 2559 สัมมนาพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ครั้งที่ 18 ภายใต้แนวคิด "ประชากรร่วมใจ รักษ์สิ่งแวดล้อม (Think Green Live Green)" โดยเข้าศึกษาดูงานด้านพลังงาน ณ SCG Chemical จังหวัดระยอง

81

รายงานประจำ�ปี 2559


ทำ�นุบำ�รุง

ศิลปวัฒนธรรม

มีนาคม 2 มีนาคม 2559 พิธีวางพานพุ่มถวายสักการะพระบรมรูปสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องในโอกาสครบรอบ 47 ปี “วันพระราชทานนามมหิดล” และ 128 ปี แห่งการก่อตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล

เมษายน 11 เมษายน 2559 กิจกรรมงานเทศกาลสงกรานต์ ประจำ�ปี 2559 “สงกรานต์หรรษา IPSR ชื่นฉ่ำ�” เพื่อสืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

กรกฎาคม 15 กรกฎาคม 2559 ทำ�บุญถวายเทียนพรรษาและผ้าอาบน้ำ�ฝน เพื่อเป็นพุทธบูชาเนื่องในเทศกาล วันเข้าพรรษา ณ วัดพุทธธรรมรังษี ตำ�บลลานตากฟ้า อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

กันยายน 22 กันยายน 2559 งานแสดงมุทิตาจิต ประจำ�ปีงบประมาณ 2559 และพิธีไหว้ครู ประจำ�ปีการศึกษา 2559 24 กันยายน 2559 พิธีวางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องในวันมหิดล ประจำ�ปี 2559 ณ ลานพระราชานุสาวรีย์ฯ ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ศาลายา 30 กันยายน 2559 สถาบันฯ เป็นเจ้าภาพในงานทำ�บุญเดือนเกิดสำ�หรับผู้ที่เกิดเดือนกันยายน จัดโดย วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ลานประติมากรรม อาคารศูนย์การเรียนรู้มหิดล (ศาลายา) มหาวิทยาลัยมหิดล

82

รายงานประจำ�ปี 2559


พฤศจิกายน 14 พฤศจิกายน 2559 ร่วมทำ�บุญเพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช เนื่องในวันครบรอบ 45 ปีการก่อตั้งสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล 22 พฤศจิกายน 2559 พิธีกล่าวปฏิญาณแสดงความจงรักภักดี และรวมพลังรำ�ลึก เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ ปีที่ ๘๙ ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ บริเวณโถงพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ชั้น 1 สำ�นักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

ธันวาคม 26 ธันวาคม 2559 กิจกรรม “ส่งท้ายปีเก่า-ต้อนรับปีใหม่ 2560” จัดการบรรยายธรรมในหัวข้อ “จินตนกถาว่าด้วยความคิดกับการครองคน-ครองงาน” โดย พระมหาธงสวรรค์ วรเมธี จากวัดสาลวัน จังหวัดนครปฐม

83

รายงานประจำ�ปี 2559


84

รายงานประจำ�ปี 2559


12 สร้างนวัตกรรมเพื่อ

การพัฒนาที่ยั่งยืน


การประยุกต์ ใช้ IT เพื่อการบริหารจัดการงานของสถาบันฯ สถาบันฯ มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำ�หรับการบริหารจัดการงานด้านต่างๆ ภายในสถาบันฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำ�เนินงานให้เกิดความสะดวก รวดเร็วแก่บุคลากร และสามารถรวบรวมข้อมูลเพื่อนำ�มาวิเคราะห์ ตลอดจนเพื่อประโยชน์ ในการตัดสินใจในระดับนโยบายได้ นอกจากนั้นแล้วยังช่วยลดปริมาณการใช้กระดาษเพื่อ รักษาสิ่งแวดล้อมและประหยัดพลังงานอีกด้วย

ระบบใบลาออนไลน์

ระบบประเมินข้อตกลงการปฏิบัติงาน และประเมินสมรรถนะออนไลน์

ระบบสารบรรณอัจฉริยะ

ระบบส่งและติดตามข้อมูลงาน ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์

ระบบจองห้องประชุม/จองรถออนไลน์

ระบบคลังหนังสือออนไลน์

86

รายงานประจำ�ปี 2559


การรักษาสิ่งแวดล้อมและประหยัดพลังงาน

Green Office

สิงหาคม 2 สิงหาคม 2559 กิจกรรม “Big Cleaning Day 2559” และกิจกรรม “แยกขยะ แลกของไม่ต้องใช้ตังค์” เพื่อส่งเสริมให้ บุคลากรตระหนักถึงความสำ�คัญการทำ�กิจกรรม 5 ส ให้เป็นสุขนิสัย และมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

ตุลาคม 14 ตุลาคม 2559 การศึกษาดูงานด้านพลังงาน ณ SCG Chemical จังหวัดระยอง

ปริมาณการใช้กระดาษ A4 (รีม) 449 372

2556

2557

87

413

416

2558

2559

รายงานประจำ�ปี 2559


ปริมาณการใชน้ำ�ประปา (ลูกบาศก์ลิตร) 9,563 6,042

2556

6,378 4,173

2557

2558

2559

ปริมาณการใช้โทรศัพท์ (บาท) 258,751 206,251 126,554

2556

2557

88

2558

รายงานประจำ�ปี 2559

116,394

2559


ปริมาณการใช้น้ำ�มัน (ลิตร) 5,504

5,415 4,418

2556

2557

2558

4,226

2559

ปริมาณการใช้ ไฟฟ้า (กิโลวัตต์) 531,900 504,340 504,110

2556

2557

89

2558

รายงานประจำ�ปี 2559

517,206

2559


90

รายงานประจำ�ปี 2559


13 ภาคผนวก


นักศึกษา จำ�นวนนักศึกษาต่างชาติที่ลงทะเบียน จำ�แนกตามภูมิภาคและประเทศ (ปีการศึกษา 2559) เอเชีย (ตะวันออกเฉียงใต้)

หลักสูตร หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ์ (หลักสูตรนานาชาติ)

เมียนมา 3 อินโดนีเซีย 2 เวียดนาม 1 เมียนมา 2 อินโดนีเซีย 1 เวียดนาม 1 กัมพูชา 1

เอเชีย (อื่นๆ) บังคลาเทศ 1 เนปาล 1 -

11

รวม

2

งานอบรม ระดับชาติ อบรม

จำ�นวน (คน)

การวิจัยเชิงคุณภาพ วันที่ 21-25 มีนาคม 2559 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ วันที่ 28 มีนาคม-1 เมษายน 2559 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ: ศาสตร์และศิลป์ เพื่อประโยชน์สุขของปวงชน วันที่ 20-24 มิถุนายน 2559 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ วันที่ 1-5 สิงหาคม 2559 การสร้างและประยุกต์ใช้แบบจำ�ลองการถดถอยสำ�หรับการวิเคราะห์ข้อมูลช่วงยาว วันที่ 29 สิงหาคม-2 กันยายน 2559 คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย: กลไกที่ทำ�ให้งานวิจัยทางสังคมศาสตร์มีคุณภาพ วันที่ 20 ธันวาคม 2559

92

รายงานประจำ�ปี 2559

22 22 9 21 9 54


งานอบรม ระดับนานาชาติ เอเชีย (ตะวันออกเฉียงใต้)

อบรม Does Climate Change Move you: Understanding the Linkages of Migration and Climate Change and the Concepts, Methods, and Policies behind Them วันที่ 26-27 กรกฎาคม 2559 The Regional Workshop on Monitoring and Evaluation of Monitoring and Evaluation of Population, Health and Nutrition Program วันที่ 7-11 พฤศจิกายน 2559

เอเชีย (อื่นๆ)

Indonesia 1 Myanmar 3 Thailand 9 Vietnam 2 Indonesia 1

จำ�นวน (คน) 15

North Korea 6

7

งานประชุม ระดับชาติ อบรม การรประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 “ประชากรและสังคม 2559” เรื่องประเทศไทยกับ ศตวรรษแห่งการย้ายถิ่นข้ามชาติ (Thailand in the Era of Transnational Migration) วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 ประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2559 วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559

93

รายงานประจำ�ปี 2559

จำ�นวน (คน) 299 121


การประชุมคณะกรรมาธิการ สมาคมนักประชากรศาสตร์แห่งเอเชีย ชุดที่ 4 ครั้งที่ 1/2559 วันที่ 18-19 มกราคม 2559 การประชุมวิชาการนานาชาติประจำ�ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจำ�ปี 2559: Prince Mahidol Award Conference 2016 เรื่อง “Priority Setting for Universal Health Coverage” วันที่ 26-31 มกราคม 2559

อบรม South Korea 1

Bangladesh 21 Bhutan 2 China 36 DPR Korea 2 Georgia 1 India 32 Iran 2 Japan 52 Maldives 2 Mongolia 1 Nepal 9 Oman 2 South Korea 15 Sri Lanka 12

Cambodia 5 Indonesia 52 Lao PDR 6 Malaysia 5 Myanmar 24 Philippines 44 Singapore 5 Thailand 196 Vietnam 18 Timor-Leste 3

เอเชีย (อื่นๆ)

Thailand 4

เอเชีย (ตะวันออก เฉียงใต้)

Argentina 2 Canada 6 Chile 3 Guatemala 1 Kiribati 2 Mexico 3 USA 91

อเมริกา

Belgium 4 Estonia 1 France 1 Germany 8 Great Britain 5 Macedonia 1 Netherlands 2 Norway 4 Romania 1 Sweden 4 Switzerland 27 UK 38

ยุโรป

Australia 16 New Zealand 1 Papua New Guinea 7 Solomon Islands 5 Vanuatu 1

Australia 1

โอเชียเนีย

Cameroon 1 Egypt 2 Ethiopia 5 Ghana 12 Kenya 4 Liberia 1 Malawi 1 Mozambique 1 Nigeria 4 Rwanda 1 Sierra Leone 1 South Africa 16 Tanzania 10 Uganda 6 Zambia 1

แอฟริกา

847

10

จำ�นวน (คน)

ระดับนานาชาติ

94

รายงานประจำ�ปี 2559


95

รายงานประจำ�ปี 2559

INDEPTH ABACUS (AntiBiotic Access and Use) Study the Kick-Off Meeting วันที่ 27-28 มกราคม 2559 การประชุมวิชาการนานาชาติ เรื่อง “ในศตวรรษแห่งการย้ายถิ่นข้ามชาติ” In the Era of Transnational Migration วันที่ 28-30 มิถุนายน 2559

อบรม Bangladesh 1

Bangladesh 1 Hong Kong 1 India 2 Japan 3 Nepal 2 South Korea 3 Taiwan 2

Lao PDR 4 Malaysia 1 Myanmar 1 Thailand 92 Vietnam 3

เอเชีย (อื่นๆ)

Thailand 4 Vietnam 2

เอเชีย (ตะวันออก เฉียงใต้)

USA 4

อเมริกา

Austria 2 Netherlands 1 Russia 2 UK 5

Netherlands 3 Sweden 1

ยุโรป

Australia 1

โอเชียเนีย Ghana 3 Mozambique 2 South Africa 2

แอฟริกา

129

18

จำ�นวน (คน)


ความร่วมมือกับสถาบันฯ หน่วยงานต่างประเทศ Memorandum of Understanding: MOU ลำ�ดับ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ 1 Post Graduate Program in Health Promotion Diponegoro University, Indonesia 2 David B. Falk College of Sport and Human Dynamics (Falk College) at Syracuse University, USA 3 The Public Health Foundation of India 4 5 6 7

8

9

Department of Geography, University of Bonn, Germany ERASMUS Programme Demographic Institute, Faculty of Economics, University of Indonesia AIT

Strengthening Human Rights and Peace Research and Education in ASEAN/SOUTHEAST ASIA Programme (SHAPE-SEA) by the Institute of Human Rights and Peace Studies, Mahidol University University of Tampere, Finland; CEPS, Belgium; BNU, China; UNIBI, Germany; UoM, Greece; KOPINT-TARKI, Hungary; DCS, India; UM, Netherlands; SMC, Philippines; KU, Turkey and; NASU, Ukraine

96

วัตถุประสงค์/กิจกรรม ความร่วมมือทางด้านการศึกษา

กำ�หนดเวลา พ.ศ.2550-ปัจจุบัน

ความร่วมมือทางด้านการวิจัย และการศึกษา ความร่วมมือทางด้านการวิจัย และการศึกษา ความร่วมมือทางด้านการวิจัย และการศึกษา ความร่วมมือทางด้านการวิจัย และการศึกษา ความร่วมมือทางด้านการวิจัย และการศึกษา ความร่วมมือทางด้านการวิจัย การประชุม การอบรม และการ เผยแพร่ผลงานวิจัย ความร่วมมือทางด้านการวิจัย และการศึกษา

พ.ศ. 2554-2563

โครงการวิจัย “Transnational Migration in Transition: Transformative Characteristicss of Temporary Mobility of People between Europe and Asia (EURA-NET)”

พ.ศ. 2557-2559

รายงานประจำ�ปี 2559

พ.ศ.2558-2563 พ.ศ.2558-2563 พ.ศ.2557-2560 พ.ศ.2558-2561 พ.ศ.2558-2559

พ.ศ.2558-2560


ลำ�ดับ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ 10 National University of Laos; Vietnam Commission for Population, Family and Children (VCPFC) and; Department of Population, Ministry of Immigration and Population, Myanmar 11 National University of Laos; Vietnam Commission for Population, Family and Children (VCPFC); Department of Population, Ministry of Immigration and Population, Myanmar; Economic Research Unit, Nuppun Institute for Economic Research Cambodia; Education Development Center, Inc. (EDC) 12 Economic Research Unit, Nuppun Institute for Economic Research Cambodia and; Education Development Center, Inc. (EDC)

97

วัตถุประสงค์/กิจกรรม ความร่วมมือทางด้านการวิจัย และการศึกษา

กำ�หนดเวลา พ.ศ. 2554-2563

ความร่วมมือทางด้านการวิจัย และการศึกษา

พ.ศ.2558-2563

ความร่วมมือทางด้านการวิจัย และการศึกษา

พ.ศ.2558-2563

รายงานประจำ�ปี 2559


ความร่วมมือกับสถาบันฯ หน่วยงานภายในประเทศ Memorandum of Understanding: MOU ลำ�ดับ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัย มหิดล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย จำ�นวน 34 แห่ง * 2

3

วัตถุประสงค์/กิจกรรม โครงการนวัตกรรมจัดการสร้างสุข: บูรณาการมหาวิทยาลัยแห่งความสุขสู่ องค์การสุขภาวะแห่งประเทศไทย

กำ�หนดเวลา พ.ศ. 2556-2559

โครงการการสร้างเสริมสุขภาวะองค์กร พ.ศ. 2559–2562 แบบยั่งยืน: จากมหาวิทยาลัยแห่งความสุข สู่มหาวิทยาลัยสุขภาวะ แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตประจำ� พ.ศ.2556-2559 ปี 2556-2559: สุขภาพจิตและภาวะการ ทำ�งาน สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัย การทำ�บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ พ.ศ.2551-ปัจจุบัน มหิดล และวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ทางวิชาการ เพื่อแลกเปลี่ยนทางวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำ�วิจัย และจัดกิจกรรมนักศึกษาร่วมกัน

หมายเหตุ : * ประกอบด้วย 1) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 4) มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ 5) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง 6) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 7) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 8) สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 9) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 10) มหาวิทยาลัยศิลปากร 11) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 12) มหาวิทยาลัยบูรพา 13) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 14) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 15) มหาวิทยาลัยนครพนม 16) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 17) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 18) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 19) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 20) มหาวิทยาลัยนเรศวร 21) มหาวิทยาลัยพะเยา 22) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 23) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 24) มหาวิทยาลัยทักษิณ 25) มหาวิทยาลัยนราธิวาสราช นครินทร์ 26) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 27) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 28) มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา 29) มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี 30) มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ 31) มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย 32) มหาวิทยาลัยราชภัฎลำ�ปาง 33) มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม และ 34) วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่

98

รายงานประจำ�ปี 2559


หน่วยงานที่เสนอขอจริยธรรมการวิจัยประจำ�ปี 2559 หน่วยงาน

สถานะ นักศึกษา อาจารย์ นักวิจัย

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม วิทยาลัยการจัดการ วิทยาลัยนานาชาติ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว วิทยาลัยศาสนศึกษา สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มูลนิธิเพื่อสิทธิและความเป็นธรรมทางเพศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี University of Vienna รวม

99

22 44 7 3 2 1 12 3 6 0 0 0 1 101

รายงานประจำ�ปี 2559

22 4 13 0 2 0 5 1 0 0 1 1 0 49

0 0 0 0 1 0 2 0 0 0 0 0 0 3

บุคลากร อื่นๆ 1 0 10 0 1 0 0 0 0 1 0 0 0 13

จำ�นวน (โครงการ) 45 48 30 3 6 1 19 4 6 1 1 1 1 166


การเยี่ยมชมและศึกษาดูงาน วันที่ 12 มกราคม 2559 Prof. Paul Statham, Director, Sussex Centre for Migration Research (SCRM), University of Sussex , United Kingdom “ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง University of Sussex และ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ปรึ ก ษาหารื อ ด้ า นการวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การย้ายถิ่น และการแลกเปลี่ยนความรู้” วันที่ 15 มกราคม 2559 คณบดีและคณะผูบ้ ริหารจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ในโครงการสานสัมพันธ์บณ ั ฑิตศึกษาระหว่างบัณฑิตวิทยาลัย คณะ/สถาบัน/วิทยาลัย/ศูนย์ฯ ประจำ�ปี 2559 “การชี้แจงยุทธศาสตร์การทำ�งานของบัณฑิต และรับฟังข้อคิดเห็น รวมถึง ประเด็นแลกเปลี่ยนต่างๆ จากสถาบันฯ และหลักสูตรต่างๆ” วันที่ 29 มกราคม 2559 Dr.Johannes John-Langba, Senior Lecturer, Department of Social Development, Research Fellow, Cairns Institute , JCU, Australia, University of Cape Town, South Africa “การปรึกษาหารือด้านการวิจัย” วันที่ 16-17 กุมภาพันธ์ 2559 Prof. Dr.Mariele Evers และ Dr.Linda Taft, Geography Department, University of Bonn, Germany “ความร่วมมือภายใต้ข้อตกลงทางด้านวิชาการ (Erasmus Programme)” วันที่ 18 มีนาคม 2559 Mr.Sher Mohammad Jami Zada, Director General, Mr.Esmatullah Ramzi, Seniour Statistics Advisor และ Mr.Mohammad Sami Nabi, Field Operations Director, Afghanistan Central Statistics Organization (CSO) “การศึกษาดูงาน เรื่อง Statistical Methodology” วันที่ 19 เมษายน 2559 Prof. Sergei V. Ryazantsev, Director, Institute of Social-Politic Research of the Russian Academy of Sciences (ISPR RAS), Russia “ความร่วมมือในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการศึกษาและวิจัย” วันที่ 4 กรกฎาคม 2559 Prof. Cherith Moses, Director for International Recruitment and Development และ Mr. Chris Wellings, Head of Academic Development and Quality Enhancement Office, University of Sussex, United Kingdom “การ ปรึกษาหารือการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติในอนาคต” วันที่ 25 สิงหาคม 2559 ผู้บริหารและบุคลากรของสถาบันคลังสมองของชาติ “การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการบริหารจัดการทั่วไป ด้านงานวิจัยของ สถาบันฯ การทำ�งานกับเครือข่ายวิจัยในประเทศและต่างประเทศ การหาแหล่งทุน ความร่วมมือกับหน่วยงานภายในและต่าง ประเทศด้านการศึกษาอบรมและอื่นๆ รวมถึง MOU และยุทธศาสตร์สถาบันฯ ในอีก 5 ปีข้างหน้า”

100

รายงานประจำ�ปี 2559


วันที่ 31 สิงหาคม 2559 คณาจารย์และนักศึกษา จาก Nagoya University, Graduate School of Medicine/School of Health Science, Japan “การปรึกษาหารือด้านการศึกษาและการวิจัย” วันที่ 5 กันยายน 2559 Ms.Cherith Moses, Professor of Geomorphology, Director for International Recruitment and Development จาก University of Sussex, United Kingdom “ความร่วมมือในด้านการเรียนการสอนและหลักสูตร” วันที่ 7 กันยายน 2559 Mr.Zhang Yi, Mrs.Ma Chunhua และ Mrs.Shi Yuntong จาก Chinese Academy of Social Sciences, (CASS), China, Ms.Kwansiri Wanwiwake จาก Division of International Affairs, NRCT และ Ms.Priyapatra Supanattanarom จาก Division of International Affairs, NRCT, Thailand “ความร่วมมือทางวิชาการด้านสังคมศาสตร์” วันที่ 23 กันยายน - 4 ตุลาคม 2559 Dr.Kathleen Ford จาก Department of Epidemiology, University of Michigan, USA “การเก็บข้อมูลในจังหวัดภาค ใต้ ภายใต้โครงการการย้ายถิ่นของผู้หญิงมุสลิม” ร่วมกับ รศ.ดร.อารี จำ�ปากลาย วันที่ 10 ตุลาคม 2559 อาจารย์และเจ้าหน้าทีจ่ าก Diponegoro University, Indonesia “การสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านวิชาการในอนาคต” วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 Dr.Luicy Pedroza, Post-doctoral Researcher จาก German Institute of Global and Area Studies, Germany “ความร่วมมือในการทำ�วิจัยเปรียบเทียบด้านการย้ายถิ่นในภูมิภาคยุโรปฯ” วันที่ 19 ธันวาคม 2559 Assoc. Prof. Dr.Rosemarie Hunter, Dr.Marybeth Vogel-Ferguson และ Ms.Naima Mohammed จาก College of Social Work, University of Utah, USA “การปรึกษาหารือความร่วมมือด้านการวิจัยผู้ย้ายถิ่น” วันที่ 23 ธันวาคม 2559 อธิการบดีและคณะผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล “การเยี่ยมชมและติดตามผลการดำ�เนินงานตามข้อตกลงการปฏิบัติงาน ของส่วนงาน (PA-Visit) ประจำ�ปีงบประมาณ 2560”

101

รายงานประจำ�ปี 2559


โครงการวิจัย จำ�นวน 35 โครงการ สังคมกับการเปลี่ยนแปลงประชากรและครอบครัว 1. ส่งเสริมการมีบุตร ผ่านการสร้างสมดุลในการทำ�งานและการสร้างครอบครัวที่มีคุณภาพ 2. การวิจัยความอยู่ดีมีสุขของครัวเรือนชนบทไทยภายใต้การเปลี่ยนแปลงทางประชากรและสังคม 3. แบบแผนและแนวโน้มของความชุกภาวะโรคอ้วนในประเทศไทย: การใช้วิธีการคาดประมาณในกลุ่มประชากรย่อย 4. ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย 5. โครงการวิจัยการให้บริการของศูนย์การศึกษาก่อนวัยเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 6. การศึกษาขนาดและลักษณะเฉพาะของกลุม่ ประชากรหลักเพือ่ นำ�ไปสูก่ ารกำ�หนดยุทธศาสตร์และแนวทางในการดำ�เนิน งานระดับพื้นที่และระดับประเทศ 7. การประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อ ธ.ก.ส. ปีบัญชี 2558 8. ครอบครัวไทยในจังหวะสำ�คัญต่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชน: การพัฒนาปรับปรุงและนำ�โครงการครอบครัวสำ�คัญ ไปประยุกต์ใช้ในระดับประเทศ ภาวะสูงวัยของประชากร 1. ความมั่นคงด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ: การสำ�รวจในอาเซียน 5 ประเทศ 2. การศึกษาศตวรรษิกชนคนร้อยปีในประเทศไทย 3. จัดทำ�รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2558 4. Technical Assistance and Implementation of a Qualitative Research Study on Adolescent Health and Resilience in Rural Thailand 5. ที่ปรึกษาเพื่อศึกษาเรื่องผู้สูงอายุที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพศวิถี เพศภาวะ อนามัยเจริญพันธุ์ และเอชไอวี/เอดส์ 1. การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก 2. PrEP/Combination HIV Prevention Needs and Knowledge among Female Sex Worker in Thailand

102

รายงานประจำ�ปี 2559


ประชากร สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ 1. Health Practitioners’ Role in Strengthening the Nexus between Population Health and Environmental Sustainability: A Case Study from Thailand 2. Community Level Antibiotics Access and Use in LMICs (ABACUS) 3. การพัฒนาระบบเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมด้านกิจกรรมทางกายของประชากรไทย 2559 4. การสื่อสารการตลาดของอาหารและขนมที่เสี่ยงต่อสุขภาพของนักเรียนอนุบาล 5. การสำ�รวจทัศนคติของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (Stakeholders) เกีย่ วกับภาพลักษณ์ดา้ นการรับผิดชอบต่อสังคม ของบริษทั ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน) 6. วิจัยเพื่อสร้างสรรค์ต้นแบบการลดพฤติกรรมเนือยนิ่งในเด็กและวัยรุ่นไทย (เด็กไทยไม่เฉื่อย) 7. ทปี่ รึกษาในการสำ�รวจความเชือ่ มัน่ การดำ�เนินงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านผลิตภัณฑ์สขุ ภาพของสำ�นักงานคณะกรรมการ อาหารและยา ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 8. การศึกษาผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ สิ่งแวดล้อม โครงการกังหันลม ผลิตไฟฟ้าลำ�ตะคอง ระยะที่ 2 (ระยะก่อสร้าง) ประจำ�ปี 2559 9. วิจัยติดตามและประเมินผล โครงการขับเคลื่อนวิชาชีพการพยาบาลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 10. การวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียน “โรงเรียนฉลาดเล่น” 11. Smoking Cessation Contracts with Social and Monetary Incentives (SMILE) การย้ายถิ่น ความเป็นเมือง และแรงงาน 1. การย้ายถิ่นของผู้หญิงมุสลิมและความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ระยะที่ 2) 2. The Gender Roles in Remittances-Sending Behavior and Utilization: A Qualitative Study among MW from Cambodia, Lao PDR and Myanmar Living in Thailand, and among Remittances Receivers in the Migrants’ Country of Origin 3. Migrants in Countries in Crisis : Supporting an Evidence-Based Approach for Effective and Cooperative State Action, Research Component 4. การศึกษาสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงด้านกำ�ลังแรงงานของประเทศไทย 5. การเดินทางสู่ชีวิตที่ดีกว่า: ชีวิตคู่กับชาวตะวันตกส่งผลต่อโอกาสต่างๆ ในชีวิต สัมพันธภาพและการพัฒนาทางสังคม ของคนไทยอย่างไร 6. Empowering Civil Society Organization for the Protection of Migrant Children (ECPMC) อื่นๆ 1. การพัฒนาวารสารสังคมศาสตร์ Social Science Asia: ประชากรและสังคม 2. แผนงานส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ประจำ�ปีงบประมาณ 2559: กลุ่มเรื่องประชาคมอาเซียน 3. รายงานการวิจยั การสำ�รวจภาพลักษณ์ขององค์กร ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษทั ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน)

103

รายงานประจำ�ปี 2559


นำ�เสนอผลงาน

ในการประชุมระดับนานาชาติ (1 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559)

ศ.ดร.ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา นำ�เสนอบทความ “Barriers to Health In All Policies: Policy Implementation Gaps on a Total Ban on Chrysotile Asbestos in Thailand” ในการประชุม 143rd APHA Annual Meeting and Exposition ระหว่างวันที่ 2-3 พฤศจิกายน 2558 ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ผศ.ดร.มาลี สันภูวรรณ์ นำ�เสนอบทความ “International Labour and Marriage Migration : A Case of Thailand” ในการประชุม International Marriage and Labor Migration in Asia and the Pacific Region ระหว่าง วันที่ 26-27 พฤศจิกายน 2558 ณ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี กุลภา วจนสาระ นำ�เสนอผลงานวิชาการประเภทโปสเตอร์ “In Silence: Abortion Stigma and its Associated Sin in Thailand” ในการประชุมวิชาการ 2016 Annual Meeting, Population Association of America ระหว่าง วันที่ 30 มีนาคม – 5 เมษายน 2559 ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา รศ.ดร.สุรีย์พร พันพึ่ง นำ�เสนอบทความ “Migrant Workers: Demographic and Socioeconomic Changes in Thailand” ในการประชุม The 83rd CSMR Colloquium ระหว่างวันที่ 29-30 เมษายน 2559 ณ ประเทศ สาธารณรัฐเกาหลี กุลภา วจนสาระ นำ�เสนอบทความ “In Silence: Abortion Stigma and its Associated Sin in Thailand” ใน การประชุม Abortion and Reproductive Justice Conference ระหว่างวันที่ 2-7 มิถุนายน 2559 ณ ประเทศสหราชอาณาจักร กมลชนก ขำ�สุวรรณ และวรรณี หุตะแพทย์ นำ�เสนอบทความ “Ageing Society: Thailand Moves Forwards to Reduce Ageism and Social Stigma” ในการประชุม The Asian Conference on Aging & Gerontology (AGen2016) ระหว่างวันที่ 9-12 มิถุนายน 2559 ณ ประเทศญี่ปุ่น รศ.ดร.รศรินทร์ เกรย์ นำ�เสนอบทความ “Factors Associate with Successful Ageing in Population Aged 65 and Over in Thailand” ในการประชุม The Asian Conference on Aging & Gerontology (AGen2016) ระหว่างวันที่ 9-14 มิถุนายน 2559 ณ ประเทศญี่ปุ่น ผศ.ดร.เฉลิมพล แจ่มจันทร์ นำ�เสนอบทความ “Access to Education of Migrant Children in Thailand: Policy and Practice ผลิตจากโครงการเรื่อง Role of Local Government’s Policies in Creating Multiculturalism Society: Thailand and Japan” ในการประชุม Children on the Move: Migrant Children and Youth in Asia ระหว่างวันที่ 9-10 มิถุนายน 2559 ณ ประเทศญี่ปุ่น

104

รายงานประจำ�ปี 2559


รศ.ดร.ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต นำ�เสนอบทความ “Marital Status and Happiness among Employed People in Thailand” ในการประชุม ICHD 2016: 18th International Conference on Happiness and Development ระหว่างวันที่ 7-8 กรกฎาคม 2559 ณ ประเทศสาธารณรัฐเช็ก ผศ.ดร.เฉลิมพล แจ่มจันทร์ นำ�เสนอบทความ “Generation Y in the Workplace: Work-Life Balance and Intent to Leave” ในการประชุม 2016 ISQOLS Annual Conference ระหว่างวันที่ 25-27 สิงหาคม 2559 ณ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี รศ.ดร.ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต นำ�เสนอบทความ “Emotional Well-being and Life Satisfaction: A 5-Year Longitudinal Study on Aging” ในการประชุม 2016 ISQOLS Annual Conference ระหว่างวันที่ 25-27 สิงหาคม 2559 ณ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี รศ.ดร.อารี จำ�ปากลาย นำ�เสนอบทความ “The Impact of Parental Absence on Early Childhood Development” ในการประชุม European Population Conference (EPC) 2016 ระหว่าง วันที่ 31 สิงหาคม – 3 กันยายน 2559 ณ ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ศ.ดร.ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา นำ�เสนอบทความ “Solutions for Long Term Care in Asia” ในการประชุม G7 Kobe Health Ministers’ Meeting Official Side Event UHC, Innovation and Ageing : Research on Innovations for Achieving Sustainable Universal Health Coverage for Ageing Population ใน วันที่ 10 กันยายน 2559 ณ ประเทศญี่ปุ่น

105

รายงานประจำ�ปี 2559


WE ARE IPSR FAMILY

106

รายงานประจำ�ปี 2559


รายชื่อ

คณะกรรมการจัดทำ�รายงานประจำ�ปี 1. รองศาสตราจารย์ ดร.รศรินทร์ เกรย์ 2. อาจารย์ ดร.ปิยวัฒน์ เกตุวงศา 3. นางสาวกฤติญา สำ�อางกิจ 4. นางสาวกาญจนา เทียนลาย 5. นางกุลวีณ์ ศิริรัตน์มงคล 6. นางจุฑารัตน์ ทรัพย์ยอดแก้ว 7. นางสาวพลอยชมพู สุคัสถิตย์ 8. นางสาวพอตา บุนยตีรณะ 9. นางสาวมนชญา ดุลยากร 10. นางสาววราวรรณ ฐาปนธรรมชัย 11. นางสมปรารถนา นามขาน 12. นายอภิชาติ ศรีศิลป์ 13. นางสาวอารยา ศรีสาพันธ์ 14. นางสาวเอื้อมเดือน แก้วสว่าง 15. นางสาวเรวดี สุวรรณนพเก้า 16. นายภาสกร บุญคุ้ม

107

ที่ปรึกษา ประธานคณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งาน คณะทำ�งานและเลขานุการ คณะทำ�งานและผู้ช่วยเลขานุการ

รายงานประจำ�ปี 2559


45 ปี

คุณภาพ คุณธรรม นำ�สถาบันฯ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.