IPSR Annual Report 2014

Page 1

0


1


สาส์นจากผู้อานวยการ รายงานประจาปี ของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม ฉบับนี้ได้รวบรวมผลการดาเนินงานในภารกิจด้านต่าง ๆ ของสถาบั น ฯ ปี ง บประมาณ 2557 เกี่ ย วข้ อ งกั บ ภารกิ จ หลั ก 5 ด้ า น อั น ประกอบด้ วย ด้ า นบริ ห าร การวิ จั ย การศึกษา การบริการวิชาการ และทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ความสาเร็จของการดาเนินงาน สะท้อนให้เห็นความร่วมมือร่วมใจของบุคลากรทุกคนของสถาบันฯ รวมทั้ง การสนับสนุนของคณะผู้บริหารของมหาวิทยาลัยในการดาเนินงานและพัฒ นาภารกิ จของสถาบันฯ ให้มีคุณภาพ คุณธรรมและจริยธรรม เพื่อการเป็นผู้นาด้านการวิจัยการเรียนการสอนและการฝึกอบรมและการบริการวิชาการ ทาง ประชากรศาสตร์แ ละสัง คมศาสตร์ ทั้ง ระดับ ชาติแ ละนานาชาติ ยัง ประโยชน์ต่อ ชุม ชน สังคมและประเทศชาติ รวมทั้งความร่วมมือทางด้านวิชาการแก่ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาค สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ขอขอบพระคุณผู้บริหารของมหาวิทยาลัย คณะกรรมการประจาสถาบัน ฯ และบุคลากรของสถาบันฯ ทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมืออย่า งดียิ่งในการดาเนินงานตามภารกิจของ สถาบันฯ จน สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี

(รองศาสตราจารย์ ดร.สุรีย์พร พันพึ่ง) ผู้อานวยการสถาบันวิจัยประชากรและสังคม

2


3


สารบัญ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถาบันวิจัยประชากรและสังคม หน้า           

ประวัติความเป็นมา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้างและการบริหาร ผู้บริหารสถาบันฯ บุคลากรดีเด่น ศิษย์เก่าดีเด่น กิจกรรมสถาบันฯ งบประมาณสถาบันฯ บุคลากรสถาบันฯ ยุทธศาสตร์สถาบันฯ ผลงานดีเด่นในรอบปี

ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงาน    

งานวิจัยทางด้านประชากรศาสตร์ งานจัดการศึกษาทางประชากรศาสตร์และสังคมศาสตร์ งานบริการวิชาการแก่สังคม งานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

4


5


ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถาบันวิจัยประชากรและสังคม

6


7


ประวัติความเป็นมา สถาบัน วิจัย ประชากรและสัง คม มหาวิท ยาลัย มหิด ล เดิม มีส ถานภาพเป็น หน่ว ยงานวิจัย ภายใต้ค ณะ สาธารณสุขศาสตร์ใช้ชื่อว่า “ศูนย์วิจัยประชากรและสังคม”ตามประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2509 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงประชากรและสุขภาพอนามัย ของประเทศไทยเพื่อ สนองความต้องการในการวางนโยบายเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับประชากร ในระยะแรก ศูนย์วิจัยฯ ได้รับ ความช่วยเหลือ ส่วนใหญ่จ ากเงินทุนสนับสนุนของมูล นิธิร๊อ กกี้ เฟลเล่อร์ ผ่านทางศูนย์ประชากร ของมหาวิทยาลัยนอร์ธแคโรไลน่า ประเทศสหรัฐอเมริกา ต่อมาศูนย์วิจัยประชากรและสังคม ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีตามประกาศสานักนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 14 พฤศจิ ก ายน 2514 ให้ เป็ น “สถาบั น วิ จั ย ประชากรและสั ง คม” และมี ส ถานภาพเที ย บเท่ า คณะหนึ่ ง ใน มหาวิทยาลัยมหิดล มีจุดมุ่งหมายชัดเจนที่จะทาวิจัยเชิงปฏิบัติการและ วิชาการด้านประชากรเศรษฐกิจสังคมและการ วางแผนครอบครัว ในส่วนที่สัมพันธ์กับทางการแพทย์และการสาธารณสุข และดาเนินงานด้านการเรียนการสอนและ การบริการวิชาการเป็นศูนย์ข้อมูลทางประชากรและสังคม ซึ่งในขณะนั้นที่ทาการของสถาบันฯ ตั้งอยู่ที่อาคาร 3 คณะ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท กรุงเทพมหานคร จนกระทั่งถึงวันที่ 15 มีนาคม 2526 จึงได้ย้ายมาอยู่ ที่อาคารที่ทาการของสถาบันฯ ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ตาบลศาลายา อาเภอนครชัยศรี (ขณะนั้น) จังหวัดนครปฐม เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2554 สถาบันฯ ได้ย้ายมาอยู่ที่ “อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์” ซึ่งเป็นอาคารหลัง ใหม่ โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทาน นามอาคารใหม่ “ประชาสังคมอุดมพัฒน์” ซึ่งมีความหมายว่า “อาคารซึ่งมีความเจริญยิ่งในด้านประชากรและสังคม” โดยได้เสด็จ พระราชดาเนินวางศิลาฤกษ์อาคาร เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2552 และต่อมาได้เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิดอาคารใหม่ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 ตั้งแต่ 14 พฤศจิกายน 2514 จนถึงวันที่ 1 พฤษภาคม 2517 สถาบันฯ มี ศาสตราจารย์นายแพทย์ จรัส ยา มะรัต รักษาการผู้อานวยการ จากนั้นตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม 2517 จนถึงวันที่ 30 กรกฎาคม 2518 ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.บุญเลิศ เลียวประไพ รับผิดชอบรักษาการผู้อานวยการสถาบันฯ และตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2518 สภามหาวิทยาลัยมหิดลได้แ ต่งตั้ง ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.บุญเลิศ เลียวประไพ เป็น ผู้อานวยการคนแรกของ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม

8


จนถึงปัจจุบัน สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มีผู้อานวยการทั้งหมด 6 ท่าน เรียงตามลาดับดังนี้ 1) ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร. บุญเลิศเลียวประไพ พ.ศ. 2518 - 2523 2) ศาสตราจารย์ดร. ปราโมทย์ประสาทกุล พ.ศ. 2523 - 2531 3) ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร. อภิชาติจารัสฤทธิรงค์ 23 สิงหาคม 2531 - 22 สิงหาคม 2539 4) ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร. เบญจายอดดาเนิน-แอ็ตติกจ์ 23 สิงหาคม 2539 - 22 สิงหาคม 2547 5) รองศาสตราจารย์ดร. ชื่นฤทัยกาญจนะจิตรา 23 สิงหาคม 2547 - 20 ธันวาคม 2550 และรักษาการผู้อานวยการ 21 ธันวาคม 2550 - 20 กุมภาพันธ์ 2551 6) รองศาสตราจารย์ดร.สุรีย์พร พันพึ่ง 21 กุมภาพันธ์ 2551 ถึงปัจจุบัน ความช่วยเหลือและเงินทุนสนับสนุนในระยะแรกของการก่อตั้งสถาบันฯ 1) มูลนิธิร๊อกกี้เฟลเลอร์ 1.1 สนับสนุนเงินทุนในการวิจัยและการดาเนินงานของสถาบันฯ 1.2 ให้ทุนนักเรียนไทยศึกษาต่อระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาจานวน 4 ทุน เพื่อกลับมาพัฒนางานทางด้านวิจัยประชากรและสังคมที่สถาบันฯ 2) ศูนย์ป ระชากรของมหาวิทยาลัยนอร์ธแคโรไลน่าและมูลนิธิร๊อ กกี้เฟลเลอร์ ส่ง ศาสตราจารย์ดร .โร เบิร์ต จี. เบอร์ไนท์ ผู้เชี่ยวชาญด้านสังคมศาสตร์เป็นที่ปรึกษาประจาสถาบันฯ 3) Frederiksen Internship สนับสนุนเงินทุนให้ ดร.ปีเตอร์ เจ. โดนัลด์สัน ดร.เจมส์ เอ็น.ไรเลย์ ดร.ไม เคิ ล เจ. คุ ก และ ดร.โดนัลด์ ลอโร มาช่ วยการปฏิ บั ติงานทางด้ านวิจัยของสถาบั นฯ โดยผ่า นศู น ย์ประชากรของ มหาวิทยาลัยนอร์ธแคโรไลน่า

ปณิธาน วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ปณิธาน

คุณภาพ คุณธรรม นาสถาบันฯ

วิสัยทัศน์

เป็นสถาบันชั้นนาในระดับนานาชาติ ที่สรรค์สร้างวิทยาการด้านประชากรและสังคม เพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน

พันธกิจ 1. ทาวิจัยเชิงทฤษฎี และประยุกต์ด้านประชากรศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2. จัดการศึกษา และฝึกอบรมระดับหลังปริญญา 3. ผลิตและเผยแพร่ความรู้ข่าวสารด้านประชากรศาสตร์และสังคมศาสตร์ แก่ สาธารณชน 4. พัฒนาเครือข่าย ความร่วมมือทางวิชาการในระดับประเทศ และระดับสากล 5. พัฒนาบุคลากร องค์กร และเทคโนโลยีด้านการบริหารจัดการ ให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงสุด

9


ยุทธศาสตร์ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

สร้างความเป็นเลิศในการวิจัยทางประชากรและสังคม สร้างการศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลง สร้างความเป็นเลิศในการบริการวิชาการด้านการวิจัยประชากรและสังคม สร้างความเป็นนานาชาติ สร้างความรับผิดชอบต่อสังคม พัฒนาระบบสารสนเทศให้สนับสนุน การบริหารจัดการ การวิจัย การเรียนการสอน และการบริการวิชาการ 7. การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน 8. สร้างความเป็นเลิศด้านทรัพยากรบุคคล วัฒนธรรมองค์กร I : Integrity (ความมีคุณธรรม) P : Professionalism (ความเป็นมืออาชีพ) S : Synergy (การรวมพลัง) R : Responsibility (ความรับผิดชอบ)

10


โครงสร้างและการบริหารงานของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม ปีงบประมาณ 2557

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม การศึกษา

สานักผู้อานวยการ

ศูนย์อ้างอิงข้อมูลทางประชากร

งานวิจัย 6 กลุ่ม

งานบริหารความเสี่ยง

ศูนย์ศึกษาการย้ายถิ่น มหิดล

สังคมไทยกับการเปลี่ยนแปลง ประชากรและครอบครัว

งานบริหารทั่วไป

ศูนย์ปฏิบัติการ กาญจนบุรี

ภาวะสูงวัยของประชากร

สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและ สังคม

งานคลังและพัสดุ

ศูนย์ศตวรรษิกชน

เพศวิถี เพศภาวะอนามัย-

สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม

งานสื่อสารองค์กร

มิเตอร์ประเทศไทย

งานการศึกษา

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเชิง นวัตกรรมแห่งเอเชีย

สาขาวิชาประชากรศาสตร์

สาขาวิชาวิจัยประชากรและ อนามัยเจริญพันธ์

เจริญพันธุ์ และเอชไอวี/เอดส์

งานคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ

ประชากร, สิ่งแวดล้อม และ สุขภาพ การย้ายถิ่น ความเป็นเมือง และแรงงาน

ประเด็นเร่งด่วน

งานวิเคราะห์นโยบาย และแผน

งานประกันคุณภาพ

งานบริการวิชาการ

11


คณะผู้บริหารสถาบันฯ ประจาปีงบประมาณ 2557 ผู้บริหารสถาบันฯ

แถวยืนจากซ้ายไปขวา เสาวภาค สุขสินชัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพล แจ่มจันทร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรัมพร โห้ลายอง

สุภาณี ปลื้มเจริญ

ผู้ช่วยผู้อานวยการ

รองผูอ้ านวยการฝ่ายวิชาการ

รองผู้อานวยการฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

เลขานุการสถาบันฯ

แถวนั่งจากซ้ายไปขวา รองศาสตราจารย์ ดร.ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต

รองศาสตราจารย์ ดร.สุรยี ์พร พันพึ่ง

รองศาสตราจารย์ ดร.รศรินทร์ เกรย์

รองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร

ผู้อานวยการสถาบันฯ

รองผูอ้ านวยการฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

12


ประธานหลักสูตร

จากซ้ายไปขวา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา ตัง้ ชลทิพย์

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์

ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ์ (นานาชาติ)

ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ ธราวรรณ

รองศาสตราจารย์ ดร.โยธิน แสวงดี

ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม (นานาชาติ)

ประธานหลักสูตรปรัญชาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (นานาชาติ)

หัวหน้าสานักงานผู้อานวยการ และหัวหน้างาน

จากซ้ายไปขวา สมชาย ทรัพย์ยอดแก้ว

เอื้อมเดือน แก้วสว่าง

สุภาณี ปลื้มเจริญ

หัวหน้างานสื่อสารองค์กร

หัวหน้างานนโยบายและประกันคุณภาพ

หัวหน้าสานักงานผู้อานวยการ

พลอยชมพู สุคัสถิตย์

จารุวรรณ จารุภูมิ

กุลวีณ์ ศิริรตั น์มงคล

หัวหน้างานการศึกษา

หัวหน้างานคลังและพัสดุ

หัวหน้างานบริหารทั่วไป

13


บุคลากรดีเด่น

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.เบญจา ยอดดาเนิน-แอตติกจ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชาย โพธิสิตา ได้รับเหรียญเชิดชูเกียรติ "For People's Health" จากกระทรวงสาธารณสุข สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 21 มีนาคม 2558

บุคลากรผู้ได้รับรางวัล “บุลคลต้นแบบ” (MU Brand Ambassador)

นายสมเกียรติ เขียวแก่ (A) มุ่งผลเพื่อผู้อื่น นางวริศรา ไววิ่งรบ (H) กลมกลืนกับสรรพสิ่ง นางกุลวีณ์ ศิรริ ัตน์มงคล (O) สร้างสรรค์สิ่งใหม่ เข้ารับรางวัลในวันพระราชทานนาม 2 มีนาคม 2557 “MAHIDOL” (M = Mastery, A = Altruism, H = Harmony, I = Integrity, D = Determination, O = Originality, L= Leadership)

14


นางสาวกฤติญา สาอางกิจ นายภาสกร บุญคุ้ม ได้รับรางวัลผลงานริเริ่มสร้างสรรค์ ประจาปี พ.ศ. 2557 ประเภทรางวัลดีเยี่ยม โครงการ Application “IPSR Mahidol Application” 14 พฤศจิกายน 2557

15


ศิษย์เก่าดีเด่น

นายกาศพล แก้วประพาฬ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม ปัจจุบันดารงตาแหน่ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี ศิษย์เก่าดีเด่นประเภทบริหาร ประจาปี 2557 จากสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

Dr.Khaing Khaing Soe หลักสูตรปรัชญาดุษีบณ ั ฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (นานาชาติ) ปัจจุบันดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการกรมประชากร กระทรวงตรวจคนเข้าเมืองและประชากร ประเทศเมียนมาร์ ศิษย์เก่าดีเด่นประเภทบริการ ประจาปี 2557 จากสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

Ms. Courtney Joy Reynolds หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม (นานาชาติ) ได้รับรางวัล Dean’s List Award of 2012 จากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 3 สิงหาคม 2557

16


นายเจตพล แสงกล้า นายฐิตินนั ท์ ผิวนิล(ไม่ปรากฏในรูป) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม ได้รับรางวัล Dean’s List Award of 2013 จากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 29 ธันวาคม 2557

นายศุภชัย เจนสาริกิจ (ซ้าย) นายอิทธิพงษ์ ทองศรีเกตุ (ขวา) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม ได้รับมอบเกียรติบัตรพร้อมทุนการศึกษา ประเภทนักศึกษาผู้ทากิจกรรม ประจาปี 2556 จากสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

17


กิจกรรมเด่นสถาบันฯ

การประชุมวิชาการประจาปีระดับชาติ ครั้งที่ 10 “ประชากรและสังคม 2557” เรื่อง "การเกิดกับความมั่นคงในประชากรและสังคม" ณ โรงแรมเอเชีย ราชเทวี กรุงเทพฯ 1 กรกฎาคม 2557

การประชุมวิชาการระดับภูมภิ าค “Mahidol Migration Center (MMC)” ครั้งที่ 3 เรื่อง “Transnational Migration and Border Studies: Assessing Threats and Opportunities” ณ ห้องประชุมประชาสังคมอุดมพัฒน์ (101) ชั้น 1 อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์ 4-6 สิงหาคม 2557

18


สถาบันฯได้รับมอบใบรับรองผ่านการประเมินการจัดประชุม/ สัมมนา/ ฝึกอบรม ตามแนวทางการประชุมสีเขียว (Green Meetings) ในองค์กร จากโครงการ TBCSD Green Meetings ณ โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัล พลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพฯ 19 พฤษภาคม 2557

Ms.Dyah Anantalia Widyastari (กลาง) นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (นานาชาติ) ได้รับรางวัล Outstanding presenter จากการประชุม The 5th International Graduate Students Conference on Population and Public Health Sciences (IGSCPP) ในระดับบัณฑิตศึกษา จัดโดย วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 14 พฤษภาคม 2557

19


การแข่งขันกีฬาบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยมหิดล ประจาปีงบประมาณ 2557 28 กุมภาพันธ์ 2557

นายณัชพล อ่วมประดิษฐ์ (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์) (ไม่ปรากฏในรูป) นายศราวุฒิ ศรีทอง (หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม) นางสาวอมรรัตน์ มานะวัฒนวงศ์ (หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม) นางสาวทิพวรรณ ฝางแก้ว (หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม) นายสุเทพ คาเมฆ (หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม) ได้รับมอบเกียรติบัตรพร้อมทุนการศึกษา ประเภทนักศึกษาผู้ทากิจกรรม ประจาปี 2557 จากสมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 21 มีนาคม 2558

20


บุคลากร ในปี งบประมาณ 2557 สถาบั นวิ จั ยประชากรและสั งคม มี บุ คลากรทั้ งสิ้ น 113 คน (ไม่ รวมอาจารย์ ชาวต่างชาติ) ประกอบด้วยบุคลากรสายวิชาการ 30 คน (คิดเป็นร้อยละ 26.5) และสายสนับสนุน 83 คน (คิดเป็นร้อย ละ 73.5) บุคลากรสายวิชาการเกือบทั้งหมดจบการศึกษาระดับปริญญาเอก จานวน 29 คน (คิดเป็นร้อยละ 96.7 ของบุคลากรสายวิชาการ) สาหรับบุคลากรสายสนับสนุน จบการศึกษาระดับปริญาโทมากที่สุด จานวน 44 คน (คิด เป็นร้อยละ 53.0 ของบุคลากรสายสนับสนุน) รายละเอียดแสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 จานวนบุคลากรของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม ประจาปีงบประมาณ 2557 สถานภาพ

ต่ากว่า ปริญญาตรี

ปริญญาเอก

ปริญญาโท

ปริญญาตรี

สายวิชาการ

29

1

0

0

30

ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย สายสนับสนุน ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย (เงินอุดหนุน / เงินรายได้) ลูกจ้างประจา (เงินงบประมาณ/เงินรายได้) ลูกจ้างโครงการวิจัย รวม (คน)

3 26 1 0 0

1 0 44 0 30

0 0 26 0 17

0 0 12 0 3

4 26 83 0 50

0 1 30

0 14 45

0 9 26

7 2 12

7 26 113

ที่มา : งานทรัพยากรบุคคล, 30 กันยายน 2557

21

รวม


งบประมาณ ในปีงบประมาณ 2557 สถาบันฯ ได้รับจัดสรรงบประมาณรวมทั้งสิ้น 73,170,000.00 บาท จาแนกเป็นงบประมาณ แผ่นดิน 36,014,000.00 บาท งบประมาณเงินรายได้ 37,156,000.00 บาท คิดเป็นสัดส่วนงบประมาณแผ่นดิน : เงิน รายได้ = 49.2 : 50.8 (ณ 30 กันยายน 2557) มีรายละเอียดดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของงบประมาณแผ่นดิน งบประมาณเงินรายได้ ที่ได้รับการจัดสรร จาแนกตามแผนงาน และประเภทรายจ่าย งบประมาณแผ่นดิน ประเภท จำแนกตำมผลผลิต 1 ผู้สาเร็จการศึกษาด้านสังคมศาสตร์ 2 ผลงานการให้บริการวิชาการ 3 ผลงานวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยี 4 ผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ 5 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม รวม จำแนกตำมประเภทรำยจ่ำย 1 งบบุคลากร 2 งบดาเนินงาน 3 งบลงทุน 4 งบอุดหนุน 5 งบรายจ่ายอื่น รวม

งบประมาณเงินรายได้

ที่ได้รับการ จัดสรร (บาท)

(ร้อยละ)

10,699,000.00 946,600.00 10,856,800.00 13,511,600.00 36,014,000.00

29.71 2.63 30.15 37.52 100.00

22,748,000.00 7,441,000.00 6,163,000.00 234,000 570,000.00 37,156,000.00

61.22 20.03 16.59 0.63 1.53 100.00

33,447,000.00 8,387,600.00 17,019,800.00 13,745,600.00 570,000.00 73,170,000.00

34,662,300.00 1,351,700.00 36,014,000.00

96.25 3.75 100.00

4,230,000.00 19,431,000.00 2,350,000.00 8,145,000.00 3,000,000.00 37,156,000.00

11.38 52.30 6.32 21.92 8.07 100.00

38,892,300.00 20,782,700.00 2,350,000.00 8,145,000.00 3,000,000.00 73,170,000.00

22

ที่ได้รับการ จัดสรร (บาท)

(ร้อยละ)

รวม


ยุทธศาสตร์สถาบันฯ แผนยุทธศาสตร์ฉบับ พ.ศ. 2556-2559 ประกอบด้วยพันธกิจด้านการวิจัย ด้านการเรียนการสอน ด้าน บริการวิชาการ ด้านบริหารจัดการ และด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ (Strategies) 1. สร้างความเป็นเลิศในการวิจัยทางประชากรและสังคม 2. สร้างการศึกษาเพื่อการเปลีย่ นแปลง 3. สร้างความเป็นเลิศในการบริการวิชาการด้านการวิจัยประชากรและสังคม 4. สร้างความเป็นนานาชาติ 5. สร้างความรับผิดชอบต่อสังคม 6. พัฒนาระบบสารสนเทศให้สนับสนุน การบริหารจัดการ การวิจัย การเรียนการสอน และการบริการวิชาการ 7. การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน 8. สร้างความเป็นเลิศด้านทรัพยากรบุคคล ยุทธศาสตร์ 1 สร้างความเป็นเลิศในการวิจัยทางประชากรและสังคม กลยุทธ์ 1. สนับสนุนการตีพิมพ์ผลงานวิจัยทุกรูปแบบ ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ 2. ส่งเสริมการพัฒนางานวิจัยเพื่อการนาไปใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย /เศรษฐกิจ หรือ สังคม 3. ส่งเสริมการพัฒนางานวิจัยเชิงเปรียบเทียบระดับประเทศในภูมิภาคอาเซียน และงานวิจัยเชิงสหวิทยาการ และ เน้นการมีส่วนร่วมจากภาคีต่าง ๆ โดยเฉพาะภาคประชาสังคม ชุมชน รัฐ และเอกชน ในประเด็นที่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงด้านประชากร และสังคมของอาเซียน 4. สนับสนุนงานวิจัยที่เป็นองค์ความรู้ใหม่ มีความสาคัญ และเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ 5. สนับสนุนให้มีการสังเคราะห์งานวิจัย 6. สร้างความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนนักวิจัย เพื่อทางานวิจัยและผลิตบทความวิจัยร่วมกับนักวิจัยและนักวิชาการ ระดับนานาชาติทั้งในและนอกอาเซียน 7. การสื่อสารงานวิจัยในทุกช่องทาง กับหน่วยงานโดยตรง และผ่านทางสิ่งพิมพ์ 8. สร้างระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนให้นักวิชาการเขียนโครงการขอทุนจากหน่วยงานให้ทุนนอกมหาวิทยาลัย และในระดับนานาชาติ 9. สนับสนุนและให้ข้อมูลแหล่งทุนวิจัยที่หลากหลาย

23


ยุทธศาสตร์ 2 สร้างการศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ 1. พัฒนารายวิชาที่มีความสาคัญและตรงความต้องการ ต่อการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและสังคมในปัจจุบัน และใน อาเซียน 2. ผลิตบัณฑิตตามลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต 3. พัฒนารายวิชาการศึกษาเบิกทางจากองค์ความรู้ตามกลุ่มงานวิจัยของสถาบันฯ 4. ใช้กระบวนการจิตตปัญญาในการพัฒนานักศึกษาและอาจารย์ที่พึงประสงค์ 5. กาหนดกรอบเวลาเพื่อการติดตามและส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการของอาจารย์และนักวิจัย 6. การดึงพลังและสร้างความร่วมมือจากศิษย์เก่า ในการสร้างเครือข่ายทางการศึกษา 7. พัฒนากระบวนการและสร้างความเข้มแข็งของการพัฒนานักศึกษาให้มีส่วนร่วมในขั้นตอนกระบวนการวิจัย 8. สนับสนุนการเพิ่มการผลิตผลงานทางวิชาการของนักศึกษา อาจารย์ และนักวิจัย 9. สร้างระบบและกลไกเพื่อสนับสนุนให้อาจารย์ นักศึกษา และหลักสูตรเกิดระบบการเรียนการสอนที่พึงประสงค์ 10. จัดกิจกรรมแนะนาฐานข้อมูลโครงการวิจัยของสถาบันฯ แก่นักศึกษา อาจารย์และนักวิจัย เพื่อส่งเสริมการนาไปใช้ใน การเรียนการสอนและการทาวิทยานิพนธ์ 11. ส่งเสริมการบูรณาการองค์ความรู้จากงานวิจัยสู่การจัดการเรียนการสอน ยุทธศาสตร์ 3 สร้างความเป็นเลิศในการบริการวิชาการด้านการวิจัยประชากรและสังคม กลยุทธ์ 1. พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อการวิจัยและเป็นศูนย์อ้างอิงทางประชากรและสังคมของประเทศไทย 2. สร้างความเข้มแข็งและมาตรฐานการจัดอบรมระยะสั้นของสถาบันฯ 3. พัฒนาหลักสูตรการอบรมที่สอดคล้องต่อความต้องการและสถานการณ์ของประเทศ 4. ขยายกลุ่มเป้าหมายและพื้นที่การให้บริการวิชาการของสถาบันฯ 5. พัฒนาแหล่งการเรียนรู้และการเผยแพร่ความรู้ด้านประชากรและสังคม 6. สร้างเสริมหรือจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อประโยชน์ให้กับการบริการวิชาการ 7. สร้างระบบบูรณาการการวิจัย การเรียนการสอน ที่สนับสนุนการบริการวิชาการ 8. สนับสนุนให้เกิดโครงการวิชาการที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และผู้ด้อยโอกาส

24


ยุทธศาสตร์ 4 สร้างความเป็นนานาชาติ กลยุทธ์ 1. สร้างเสริมและพัฒนาให้เกิดการแลกเปลี่ยน ทั้งในด้านการวิจัย การเรียนการสอน ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิต 2. สร้างเสริมให้เกิดความเข้าใจ เคารพในสิทธิ ความแตกต่างหลากหลาย ลัทธิความเชื่อ 3. สร้างความเข้มแข็งในเครือข่ายเดิมและขยายเครือข่ายใหม่ ระหว่างสถาบันฯ กับองค์กรในระดับนานาชาติในทุก มิติที่เป็นพันธกิจของสถาบันฯ คือ การวิจัย การเรียนการสอน การบริการวิชาการ ในทุกภูมิภาคของโลก 4. ส่งเสริมนักศึกษาไทยให้มีความสามารถในระดับนานาชาติ เช่น การตีพิมพ์บทความในวารสารระดับนานาชาติ หรือ เสนองานในการประชุมระดับนานาชาติ 5. เพิ่มจานวนอาจารย์หรือบุคลากรที่ร่วมเป็นคณะกรรมการระดับนานาชาติและที่เป็นนักวิจัย หรือไปทาวิจัยใน ต่างประเทศ 6. ส่งเสริมให้มีก ารทางานร่วมกันในทุก ๆ มิติที่เป็นพันธกิจของสถาบันฯ คือ การวิจัย การเรียนการสอน การ บริการวิชาการ 7. สนับสนุนให้เกิดกระบวนการ เป็นเพื่อนกันโดยสมัครใจ (buddy) ระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา หรือบุคลากรใน สถาบันฯ ยุทธศาสตร์ 5 สร้างความรับผิดชอบต่อสังคม กลยุทธ์ 1. ผลักดันให้สถาบันจัดกระบวนการทาวิจัยที่รับผิดชอบต่อผู้ให้ข้อมูลและสังคม 2. ส่งเสริมโครงการ/กิจกรรม ที่ให้ชุมชน ท้องถิ่น และภาคประชาสังคม มีความตระหนักถึงความสาคัญและสามารถใช้ ข้อมูลการวิจัยเพื่อการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชน 3. ส่งเสริมการบูรณาการแนวคิดในการรับผิดชอบต่อสังคมสู่การปฏิบัติเพื่อสร้างความเข้มแข็ง ให้เกิดกับชุมชนสังคม สิ่งแวดล้อม และสร้างประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติ 4. ส่งเสริมโครงการวิจัยต้นแบบที่เป็นเลิศของการใช้หลักวิชาการเพื่อสร้างประโยชน์ต่อสังคม 5. ส่งเสริมกิจกรรมให้บุคลากรทุกฝ่ายของสถาบันฯ มีความเคารพในสิทธิและความเสมอภาคของคนทุกกลุ่ม ยุทธศาสตร์ 6 พัฒนาระบบสารสนเทศให้ สนั บสนุ นการบริหารจัดการ การวิจัยการเรียนการสอน และการบริการ วิชาการ กลยุทธ์ 1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ICT 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการใช้ ICT 3. สร้างมาตรฐานการบริการงาน ICT 4. จัดหาและพัฒนา ICT เพื่อการบริหารจัดการ อย่างมีประสิทธิภาพ 5. เพิ่มศักยภาพความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ส่งเสริมอาจารย์ให้ใช้ E-learning

25


ยุทธศาสตร์ 7 การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน กลยุทธ์ 1. จัดหาและพัฒนา ICT เพื่อการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 2. สร้างมาตรการลดปริมาณการใช้พลังงานทุกประเภท 3. สร้างมาตรการลดการใช้กระดาษ 4. สร้างมาตรการกาจัดขยะและของเสีย 5. การจัดกิจกรรมให้ความรู้และส่งเสริมการใช้ทรัพยากรต่างๆ ของสถาบันให้เกิดประโยชน์สูงสุด ยุทธศาสตร์ 8 สร้างความเป็นเลิศด้านทรัพยากรบุคคล กลยุทธ์ 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกสายงาน 2. สร้างระบบให้บุคลากรทุกสายงาน มีส่วนร่วมในการทางานตามพันธกิจที่ตนเองรับผิดชอบอย่างเต็มศักยภาพ 3. จัดให้มีการอบรมพัฒนาการให้ความรู้เกี่ยวกับระบบการขอตาแหน่ง 4. พัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนบุคลากรทุกสายงานให้มีความก้าวหน้าในสายงาน 5. พัฒนาระบบกลไกและความสามารถในการวัดทักษะทางวิชาการเฉพาะตาแหน่ง 6. เพิ่มศักยภาพความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ผลงานดีเด่นในรอบปี 1) มีศูนย์อ้างอิง ข้อ มูลทางประชากรและสัง คม โดยมีการเผยแพร่ข้อ มูลผ่านทางเว็บไซต์ ได้แก่ ศูนย์ ศึกษาการย้ายถิ่นมหิดล ศูนย์ปฏิบัติการกาญจนบุรี ศูนย์ศตวรรษิกชน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเชิงนวัตกรรมแห่งเอเชีย และศูนย์อ้างอิงข้อมูลทางประชากร เช่น มิเตอร์ประเทศไทย ศัพทานุกรมการวิจัยทางประชากรและสังคม 2) จัดทาข้อมูลเกี่ยวกับการคาดประมาณประชากรของประเทศไทยในอนาคตข้างหน้า (พ.ศ.2553-2583) ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับการวางแผน และกาหนดนโยบายด้านต่าง ๆ ของประเทศ ทั้งในด้านประชากร เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง โดยความร่วมมือกับสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3) โครงการติดตามผลกระทบจากนโยบายการควบคุมการบริโภคยาสูบในประเทศไทย (International Tobacco Control Survey-Southeast Asia (Thailand)) เป็ นโครงการที่ ดาเนิ นการติ ดตามพฤติ ก รรมการสูบบุ รี่ การเลิกสูบบุหรี่ ความรู้เรื่องผลกระทบของการสูบบุหรี่ และความคิดเห็นต่อนโยบายและการรณรงค์ต่อต้านการสูบ บุหรี่ ดาเนินการอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2548-2557 ได้รับทุนสนับสนุนจาก National Institutes of Health (NIH) ประเทศสหรัฐอเมริกา ผ่าน Transdisciplinary Tobacco Use Research Center (TTURC) ประเทศสหรัฐอเมริกา และ Canadian Institute of Health Research (CIHR) มี บ ทความที่ ได้ รั บ การตี พิ ม พ์ ในวารสารระดั บ ชาติ แ ละ นานาชาติ รวมทั้งสิ้น 25 บทความ 4) โครงการส่งเสริมการป้องกันเอดส์ในแรงงานข้ามชาติประเทศไทย (Prevention of HIV/AIDS Among Migrant Workers in Thailand Project) เป็นโครงการที่ดาเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2547-2557 ภายใต้การ สนับสนุนจากกองทุนโลกด้านเอดส์ วัณโรค และมาลาเรีย (The Global Fund to Fight AIDS, Tuberculosis and Malaria : GFATM) โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อลดจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ ด้วยการให้บริการป้องกันเอชไอวีที่สามารถ

26


เข้าถึงได้อย่างกว้างขวางแก่กลุ่มประชากร ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงที่เป็นแรงงานข้ามชาติพม่า กัมพูชา และ ลาวในประเทศ ไทย มีบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ รวมทั้งสิ้น ........ บทความ 5) โครงการ “จับตาสถานการณ์ความสุขคนทางานในประเทศไทย ปี 2554 – 2557” ได้พัฒนาแบบสารวจ ความสุขด้วยตนเอง (SELF-ASSESSMENT) ซึ่งผลการสารวจความสุข ด้วยตนเอง ได้ถู กนาไปใช้เป็นฐานในการวัด ความสุขในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งองค์กรภาครัฐ และภาคเอกชน และสามารถวัดความสุขของตนเองได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ผ่านระบบเครือข่าย internet ทั้งนี้โครงการฯ ได้พัฒนาแบบสารวจความสุขด้วยตนเองในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ - แบบสารวจความสุขคนทางาน HAPPINOMETER มีช่องทางให้เลือกใช้ 3 ช่องทาง ใช้แบบด้วยการกรอก ลงในเล่ม (Paper-based) ใช้ผ่าน Software ด้วยระบบออนไลน์ (Online-based) และใช้ผ่านระบบโทรศัพท์มือถือ (Mobile App-base)

- มีภาษาในแบบวัด ทั้งหมด 10 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทย อังกฤษ จีน เมียนมาร์ ลาว กัมพูชา เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย และ ญี่ปุ่น

- การดาเนินงานในรูปแบบ “ศูนย์วิจัยความสุขคนทางานในประเทศไทย” จะใช้เครื่องมือ HAPPINOMETER: Happiness Package ชุดเครื่องมือสร้างสุขแบบครบวงจร ซึ่งมีทั้ง โปรแกรมวัดความสุขและ โปรแกรมการบริหารจัดการองค์ความสู่ความสุขคนทางาน (Routine to Happiness: R2H) มาดาเนินการ พัฒนาสร้างเสริมคุณภาพชีวิตและความสุข 6) โครงการ“นวัตกรรมจัดการสร้างสุข : บูรณาการมหาวิทยาลัยแห่งความสุขสู่องค์กรสุขภาวะแห่งประเทศ ไทย” ได้ลงนามความร่วมมือกับ 8 ภาคีเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อบูรณาการจัดการความสุขสู่องค์กรสุข ภาวะแห่งประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และในขณะนี้อยู่ระหว่างปรึกษาหารือให้ 8 มหาวิทยาลัยแห่งความสุข พัฒนาโครงร่างเพื่อ เป็น Happy University Model ของแต่ละมหาวิทยาลัยต่อไป 27


7) จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ “ประชากรและสังคม” ประจาปี เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ในปี 2557 เสนอประเด็นเรื่อง “การเกิดกับความมั่นคงในประชากรและสังคม” มีผู้ร่วมงานประชุม 413 คน 8) ศูนย์ศึกษาการย้ายถิ่นมหิดล (Mahido lMigrationCenter – MMC) จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมสนับสนุนและ พัฒนาการศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย ด้านการย้ายถิ่นเป็นศูนย์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของสถาบันฯ และหน่วยงานเครือข่าย ความร่วมมือของสถาบันฯ ผ่านกิจกรรมการวิจัย แบบสหวิทยาการและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 9) พั ฒ นาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ ใช้ ใ นการบริ ห าร ได้ แ ก่ ระบบส่ งและติ ดตามข้ อ มู ล ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ ระบบขอเลขที่จดหมาย ระบบสารบรรณอัจฉริยะ ระบบบริหารงานซ่อมอุปกรณ์ไอทีออนไลน์ [IPSR IT-Service} ระบบการจัดเก็บเอกสาร วัสดุ ครุภัณฑ์ในห้องเก็บของส่วนกลาง โดยผ่านระบบเครือข่าย internet ได้ ตลอดเวลา

ระบบส่งและติดตำมข้อมูลงำนประชำสัมพันธ์บนเว็บไซต์

. ระบบบริหำรงำนซ่อมอุปกรณ์ไอทีออนไลน์ {IPSR IT-Service}

28


ระบบกำรจัดเก็บเอกสำร วัสดุ ครุภัณฑ์ในห้องเก็บของส่วนกลำง

29


ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงาน

30


31


ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงาน งานวิจัยทางด้านประชากรศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบั นวิจั ยประชากรและสั งคม ด าเนิ นการศึ กษาวิจั ยในเรื่องที่ เกี่ ยวกั บสถานการณ์ การเปลี่ ยนแปลง ประชากรและผลกระทบที่มีต่อสังคม ครอบครัว และบุคคล เพื่อเป็น ข้อมูลพื้นฐาน ในการแสวงหาแนวทางแก้ไข เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดี ขนึ้ สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของประเทศไทย ท่ามกลางความ เปลี่ย นแปลงอย่างรวดเร็ว ทางเศรษฐกิจ และสั งคม เพื่ อ ให้ การวิจั ย เป็ น ไปในทิ ศ ทางเดีย วกับ แนวนโยบายใน แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 1. โครงการวิจัยในรอบปีงบประมาณ 2557 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ได้ดาเนินการศึกษาวิจัยที่สาคัญใน 6 กลุ่ม การวิจัยดังต่อไปนี้ กลุ่มวิจัยที่ 1: สังคมไทยกับการเปลี่ยนแปลงประชากรและครอบครัว Thai Society and Population and Family Changes กลุ่มวิจัยที่ 2: ภาวะสูงวัยของประชากร Population Ageing กลุ่มวิจัยที่ 3: เพศวิถี เพศภาวะอนามัยเจริญพันธุ์ และ เอชไอวี/เอดส์ Sexuality, Gender, Reproductive Health, HIV/AIDS กลุ่มวิจัยที่ 4: ประชากร, สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ Population, Environment and Health กลุ่มวิจัยที 5: การย้ายถิ่น ความเป็นเมือง และแรงงาน Migration, Urbanization and Labour กลุ่มวิจัยที่ 6: ประเด็นเร่งด่วน Emerging Issues

32


กราฟแสดงจานวนโครงการวิจัย ปี 2555 – 2557 50 39

40 30

28

25

38

22

17

20 10 0 2555

2556

โครงการต่อเนื่อง

2557

โครงการเข้าใหม่

โครงการวิจยั ใหม่ 38 เรื่อง 1. นวัตกรรมจัดการสร้างสุข : บูรณาการมหาวิทยาลัยแห่งความสุขสู่องค์กรสุขภาวะแห่งประเทศไทย 2. ศึกษาและคาดประมาณการความต้องการที่อยู่อาศัยในประเทศไทย ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) 3. จัดทารายงานสุขภาพคนไทย 2556-2559 4. การค้นหาแนวทางที่มีป ระสิทธิภ าพในการบู รณาการข้อมูล บัญ ชีครัวเรือนเพื่อการแก้ไขปัญ หาความ ยากจนในระดับพื้นที่ 5. ชุดโครงการการจัดการการตั้งครรภ์วัยรุ่นในระดับตาบล ประกอบด้วย 8 ชุดโครงการ ดังนี้ 5.1) พัฒนาพืน้ ที่ต้นแบบระดับตาบล 5.2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ 5.3) พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลชุมชนเพื่อให้บริการสุขภาวะทางเพศแบบครบวงจร 5.4) พัฒนาศักยภาพสถานพยาบาลเอกชนเพื่อให้บริการสุขภาวะทางเพศแบบครบวงจร 5.5) สื่อสารด้วยข้อท็จจริง 5.6) ผลกระทบในครอบครัวมื่อลูกวัยรุ่นกลายเป็นพ่อแม่ 5.7) ตามรอยท้องวัยรุน่ และแม่วัยรุ่นเลีย้ งเดี่ยวจากอดีตถึงปัจจุบัน 5.8) ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพศสัมพันธ์ของวัยรุน่ 6. แรงงานนอกระบบในประเทศไทย : ประเด็นงานวิจัยที่ยังขาดหาย 7. ความสาเร็จของการฟื้นฟูและพัฒนาอาชีพเกษตรกรลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส) ที่เข้าร่วมโครงการพักชาระหนี้ 8. การศึกษาสถานการณ์การสวดมนต์ในประเทศไทย กรณีศึกษากิจกรรมการสวดมนต์ขา้ มปี

33


9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16.

รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตประจาปี 2556-2559: สุขภาพจิตและภาวะการทางาน การย้ายถิ่นของผู้หญิงมุสลิมและความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ การเตรียมการจัดการและรับมือภัยพิบัติสาหรับกลุ่มประชากรที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ สังเคราะห์งานวิจัยเรื่องการทาความรุนแรงต่อผู้หญิง สังเคราะห์งานวิจัยเรื่องการตั้งครรภ์ (ไม่พร้อม) ในวัยรุน่ ทบทวนสถานะความรูแ้ ละการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผูส้ ูงอายุ วิจัยเป้าหมายชีวติ และทัศนคติต่อการทางานของ Generation Y แผนงานการระดับ ชาติและนโยบายเกี่ยวกับการขจัดรูปแบบที่เลวร้ายของการใช้แรงงานเด็ก (20152020) 17. สารวจอัตราการรับรู้ประเด็นการสูบบุหรี่มือสองในกลุ่มประชาชน 18. วิจัยเพื่อสารวจอัตราการบ่งชี้สถานะของสถานที่ท่เี ป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย 19. ศึกษาการประเมิน ผลการด าเนิน งานตามนโยบายและแผนระดั บ ชาติ เพื่อ ขจั ด การใช้แรงงานเด็ กใน รูปแบบที่เลวร้าย ปีงบประมาณ 2552–2557 20. คาดประมาณแรงงานข้า มชาติ ในประเทศไทย ภายใต้ โครงการ ป้อ งกั น เอดส์ ในแรงงานข้า มชาติ ใน ประเทศไทย 21. สถานการณ์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของผู้บริโภคในปัจจุบัน 22. ประเมินผลการพัฒนาพืน้ ที่สุขภาวะ (Healthy Space) ของชุมชนการเคหะแห่งชาติ 23. จัดทาแนวทางการดานินการและกลไกระดับชาติในการขับเคลื่อนนโยบายการจ้างงานผู้สูงอายุ 24. จัดทารายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2556 25. ศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนงานคลังปัญญาผู้สูงอายุจังหวัดที่มีศักยภาพ 26. การสารวจทัศนคติของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกี่ยวกับภาพลักษณ์ด้านการรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท ซีพี ออล์ จากัด (มหาชน) 27. พัฒนาระบบเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมด้านกิจกรรมทางกายของประชากรไทย 28. การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้านสังคมเศรษฐกิจและการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อ การดาเนินงาน โรงไฟฟ้าวังน้อย ปี 2557 (ระยะที่ 2 ) 29. การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้านสังคมเศรษฐกิจ และการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อ การดาเนินงาน โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ปี 2557 (ระยะที่ 2 ) 30. ทบทวนงานสร้างเสริมสุขภาวะทางเพศ: เหลียวหน้าแลหลังผ่านการขับเคลื่อนของมูลนิธิสร้างความเข้าใจ เรื่องสุขภาพผู้หญิง (สคส.) และภาคีเครือข่าย 31. การศึกษาผลกระทบของผู้ต้องขังหญิงจากการบังคับใช้กฎหมายยาเสพติดที่รุนแรง 32. การย้ายถิ่นระหว่างเอเซีย และสหภาพยุโรป (EURA-NET) 33. สารวจเพื่อวิเคราะห์ การรับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการทวงสิทธิ์ห้ามสูบบุ หรี่: ผลสะท้อนจากการ รณรงค์ทวงสิทธิ์ห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ 34. วิจัยประเมินผลภายนอกโครงการด้านเอดส์ รอบ SSF ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มเยาวชน กลุ่มแรงงาน ข้ามชาติ และกลุ่มชาติพันธุ์

34


35. Role of local governments' policies in creating multicultural society: Review of policy and practices to support migrants in municipality / provincial level in Thailand and Japan 36. The Effect of Food Environments on the Eating Patterns and Health of Factory Workers

2. บทความที่ ได้ รั บการตี พิ มพ์ ในวารสารระดั บชาติ ระดั บนานาชาติ และหนั งสื อระดั บนานาชาติ ใน ปีงบประมาณ 2557 จานวน 21 เรื่อง ดังต่อไปนี้ วารสารระดับชาติ จานวน 5 เรื่อง ดังนี้ กุศล สุนทรธาดา และธารทิพย์ จินดาคา. (2557). การออมของครัวเรือนไทย: มองภาพสะท้อนจากครัวเรือน คนรุน่ กิดล้าน. วารสารธรรมศาสตร์. 33(1): 1-12. บุรเทพ โชคธนานุกูล. (2557). "พม่า" ปัญหาเก่าสู่ความท้าทายใหม่ของอาเซียน: กรณีศึกษาปัญหาเชื้อชาติและ ศาสนาของชาวโรฮิงญาในรัฐยะไข่ ผลกระทบต่อการปฎิรูปพม่า. วารสารธรรมศาสตร์. 33(1): 13-32. ภูบศร์ สมุทรจักร และมนสิการ กาญจนะจิตรา. (2557). พฤติกรรมบริโภคนิยมในวัยรุน่ ไทยและปัจจัยที่เป็นสาหตุ. วารสารธรรมศาสตร์. 33(1): 46-69 รศรินทร์ เกรย์ และสาลินี เทพสุวรรณ์. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุ. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 20(1): 203-228. ศุทธิดา ชวนวัน. (2557). ต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุในเขตชนบทจีน: กรณีศึกษาศูนย์ดูแลผู้สูงอายุรายวันแบบไปเช้า เย็นกลับในชินเจียหยวน เขตเวินเจียง เมืองเฉิงตู ประเทศจีน. วารสารธรรมศาสตร์. 33(1): 70-85

วารสารระดับนานาชาติ จานวน 16 เรื่อง ดังนี้ Anglewicz, P., VanLandingham, M., Phuengsamran, D. (2014). Rural-to-Urban Migration and Sexual Debut in Thailand. Demography. 51(5): 1955-1976. DOI 10.1007/s13524-014-0323-8. Ford K., Chamratrithirong, A., Apipornchaisakul, K., Panichapak, P., Pinyosinwat, T. (2014). Social integration, AIDS knowledge and factors related to HIV prevention among migrant workers in Thailand. AIDS Behav 2014. 18(2): 390-397. DOI: 10.1007/s10461-013-0410-7. George, P. Malanson., Ashton, M. Verdery., Stephen, J. Walsh., Sawangdee, Y., Benjamin, W. Heumann., Philip, M. McDaniel., Brian, G. Frizzelle,. Nathalie, E. Williams., Yao, X., Entwisle. B. and Ronald, R. Rindfuss. (2014). Changing crops in response to climate: Virtual Nang Rong, Thailand in an agent based simulation. Applied Geography. 53: 202-212. DOI: 10.1016/j.apgeog.2014.06.010. Geraldine, MR., Sarausad, A. and Archavanitkul, K. (2014). Traversing the Laws: The Unregulated Movement of Filipino Migrants in Thailand. Journal of Population and Social Studies (JPSS). 22(1): 53–69.

35


Huda, A.F., Ngo. D.T., Ahmed, A., Alama, A. (2014). Laura Reichenbach Availability and provision of misoprostol and other medicines for menstrual regulation among pharmacies in Bangladesh via mystery client survey. International Journal of Gynecology & Obstetrics. 124(2): 164–168. Jirapramukpitak, T., Abas, M., Tangchonlatipand, K.and Punpuingc, S. (2014). The effect of asset-based wealth inequality on problem drinking among rural Thai elders: A prospective population-based cohort study. Social Science & Medicine. 100(100): 107–114. doi:10.1016/j.socscimed.2013.09.025. Kanchanachitra, M. (2014). The Giving Behavior of Households in Thailand. Journal of Population and Social Studies (JPSS). 22(1): 2-13. KoKo,M., Sawaengdee, Y. (2014). Child Mortality Differentials of Selected ethnic Groups in My MYANMAR, 1997-2007. Journal Health Research. 28(6): 373 – 380. Phuengsamran, D., Chamratrithirong, A., Guest, P. and VanLandingham, M. (2014). Rural-Urban Migration and Sexual Initiation of Never-Married Young Adults from Kanchanaburi, Thailand. Journal of Population and Social Studies (JPSS). 22(1): 70-86. Perera, S. and Sunpuwan, M. (2014). Feminization of Aging and Functional Disability Among Elderly: A Longitudinal Study of the Kanchanaburi Demographic Surveillance System, Thailand. Sri Lanka Journal of Population Studies. 14: 59-72. Pattaravanich, U., Chamratrithirong, A. and Gray, R. (2014). Does Living Apart from Parents or School Enrollment Matter to Adolescents’ Mental Health Risk?. Journal of Population and Social Studies (JPSS). 22(2): 128-140. Rittironga, J., Prasartkula, P., Rindfussb, R.R. (2014). From whom do older persons prefer support? The case of rural Thailand. Journal of Aging Studies. 31: 171–181. DOI: 10.1016/j.jaging.2014.10.002. Soonthorndhada, K., Haque, N., Sawangdee, Y. (2014). Diabetes-free life expectancy at Kanchanaburi Province in Thailand: a Comparison between Male and Female Elderly. International Journal of Scientific Footprints (IJSF). 2(1): 1-7. Srivirojana, N., Punpuing, S., Robinson, C., Sciortino, R. and Vapattanawong, P. (2014). Marginalization, Morbidity and Mortality: A Case Study of Myanmar Migrants in Ranong Province,Thailand. Journal of Population and Social Studies (JPSS). 22(1): 35-52. Tor.jarern, T., Sawangdee, Y., Gray, R., Mongkolchati, A. and Guo. G. (2014). Effects of Pregnant Mothers’ Work on First-Year Infant Deaths in a Thai Prospective Cohort. Journal of Population and Social Studies (JPSS). 22(1): 101-116. Techasrivichien, T., Darawuttimaprakorn, N., Punpuing, S., Musumari, PM., Lukhele, BW., El-Saaidi, C., Suguimoto, SP., Feldman, MD.,Ono-Kihara, M. and Kihara, M. (2014). Changes in Sexual Behavior and Attitudes Across Generations and Gender Among a Population-Based Probability Sample From an Urbanizing Province in Thailand. Archives of Sexual Behavior. DOI 10.1007/s10508-014-0429-5.

36


บทความในหนังสือ 2 บทความ Chamchan, C. (2014). Reproductive Health of Cross-border Migrants in Thailand. In Thailand Migration Report 2014. Jerrold W. Huguet. pp: 91-108. United Nations Thematic Working Group on Migration in Thailand. Thailand. Holumyong, C. and Punpuing. S. (2014). A Cost-Benefit Analysis of the Legal Status of Migrant Workers in Thailand. In World Bank. Richard H. Adams, Jr.Ahmad Ahsan. pp: 263-282. Office of the Chief Economist East Asia and Pacific Region World Bank. Washington.

งานจัดการศึกษาทางประชากรศาสตร์และสังคมศาสตร์ การจัดการศึ กษาระดั บบั ณ ฑิ ตศึ กษา ด้ านประชากรศาสตร์และสั งคมศาสตร์ เป็ นหนึ่ งในพั นธกิ จ หลัก ของ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถาบันฯ ที่สาคัญคือสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนา นักศึกษาให้มีส่วนร่วมในการดาเนินการวิจัยของสถาบันฯ และจัดการความรู้ที่มุ่งเน้นการสร้างเสริมความรู้สู่การปฏิบัติ และมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของบัณฑิตและผู้ใช้บัณฑิตให้มากที่สุด 1. หลักสูตรของสถาบันฯ ระดับดุษฎีบัณฑิต หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)  เปิดสอนปี 2536  มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ผลิ ต นั ก วิ ช าการที่ มี ค วามรู้ ความสามารถระดั บ สู ง เพื่ อ ถ่ า ยทอดความรู้ ด้ า น ประชากรศาสตร์ ทาการวิจัยเพื่อค้นหาองค์ความรู้ใหม่ และพัฒนาระเบียบวิธี วิจัยให้มีคุณภาพ เพื่อนาผลการศึกษาไป กาหนดนโยบายและวางแผน ระดับมหาบัณฑิต มี 3 หลักสูตร คือ 1) หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าพฤฒิ วิ ท ยาเชิ ง ประชากรและสั ง คม (หลั ก สู ต รร่ ว ม นานาชาติ)  เปิดสอนปี 2553  มี วัต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ สร้ างนั ก วิ ช าการและนั ก วิจั ย ให้ มี ค วามเชี่ ย วชาญเฉพาะทาง ด้ านสั งคมผู้ สู งอายุ โดยเฉพาะการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และการจัดการฐานข้อมูลที่จะนาไปสู่การพัฒนานโยบายสาธารณะ เกี่ยวกับสังคมผู้สูงอายุ  เป็นหลักสูตรร่วมระหว่างสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยไมอา มี มลรัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา

37


2) หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าวิ จั ย ประชากรและอนามั ย เจริ ญ พั น ธุ์ (หลั ก สู ต ร นานาชาติ)  เปิดสอนปี 2531  มี วัต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ผลิ ต บุ ค ลากรให้ มี พื้ น ฐานความรู้ ด้ า นประชากรศาสตร์ แ ละอนามั ย เจริ ญ พั น ธุ์ มี ความรู้ความสามารถในการวิจัยประเมินผล และวิเคราะห์โครงการและกิจกรรมต่างๆ ด้านประชากรและอนามัยเจริญ พันธุ์ รวมทั้งโครงการวางแผนครอบครัวในประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)  เปิดสอนปี 2521  มีวั ตถุ ป ระสงค์ เพื่ อ เพิ่ ม พู น ความรู้ค วามสามารถของบุ ค ลากรในด้ านการวิ จัย วางแผนและวิเคราะห์ ปัญหาประชากรและสังคมในแง่มุมต่าง ๆ และสามารถนาความรู้ด้านประชากรไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนหรือ ดาเนินโครงการต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. นักศึกษาของหลักสูตร ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (2554 - 2556) สถาบันฯ มีจานวนนักศึกษาที่เปิดรับ จานวนนักศึกษาที่รับจริงและจานวน ผู้สาเร็จการศึกษา ดังแสดงต่อไปนี้ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) เปิดรับ

รับจริง 8

จบการศึกษา

6 5

5

5

5 4

4

1

ปีการศึกษา 2555

ปีการศึกษา 2556

38

ปีการศึกษา 2557


หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวทิ ยาเชิงประชากรและสังคม (หลักสูตรนานาชาติ) เปิดรับ 6

รับจริง

จบการศึกษา

6

6

6

4

4

3 2

ปีการศึกษา 2555

ปีการศึกษา 2556

2

ปีการศึกษา 2557

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ์ (หลักสูตรนานาชาติ) เปิดรับ

รับจริง

20

จบการศึกษา 20

17 15

15

15 9

8 3

ปีการศึกษา 2555

ปีการศึกษา 2556

39

ปีการศึกษา 2557


หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย) เปิดรับ 15

รับจริง

จบการศึกษา

15

15

9

8 7 6 4

2

ปีการศึกษา 2555

ปีการศึกษา 2556

ปีการศึกษา 2557

3. นักศึกษาของหลักสูตร จานวนนักศึกษาชาวต่างชาติที่ลงทะเบียน จาแนกตามภูมิภาคและประเทศ ยุโรป

อเมริกา

เอเชีย จานวน จานวน จานวน เอเชีย เอเชีย ประเทศ ประเทศ (คน) (คน) (ตะวันออกเฉียงใต้) (คน) (อื่นๆ) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) ฝรั่งเศส 1 - กัมพูชา 1 บังกลาเทศ พม่า 4 อินโดนีเซีย 3 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม (หลักสูตรนานาชาติ) สหรัฐอเมริกา 3 - เนปาล หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ์ (หลักสูตรนานาชาติ) - อินโดนีเซีย 2 เวียดนาม 1 รวม 1 3 11

40

จานวน (คน) 2

2

4


4. แหล่งทุนของนักศึกษา นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) ประจาปีการศึกษา 2557 ได้รับทุนดังนี้ ทุนภายในประเทศจาก 4 องค์กร จานวน 12 ทุน 1) Royal Golden Jubilee Ph.D. Program จานวน 6 ทุน 2) Faculty of Medicine Siriraj Hospital จานวน 1 ทุน 3) Welcome Trust จานวน 4 ทุน และ 4) ทุนสถาบันวิจัยประชากรและสังคม ปีการศึกษา 2556-2557 จานวน 1 ทุน ทุนต่างประเทศจาก 4 องค์กร จานวน 8 ทุน 1) Deponegoro University, Indonesia จานวน 1 ทุน 2) Ministry of Education Indonesia จานวน 2 ทุน 3) Capacity Building for Institutions in Myanmar, Norway จานวน 4 ทุน และ 4) ทุน International Centre for Diarrhoeal Disease Research, Bangladesh (ICDDR,B) 1 ทุน *** มีนักศึกษา 1 คน ได้รับทุนสองแหล่ง นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม (หลักสูตรนานาชาติ) ได้รับทุนจากแหล่งทุนต่างประเทศ คือ Assistantship, Miami University จานวน 8 ทุน นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ์ (หลักสูตรนานาชาติ) ได้รับทุนจากแหล่งทุนภายในประเทศจากหลักสูตรฯ จานวน 1 ทุน และจากต่างประเทศจาก 1 องค์กร จานวน 2 ทุ น (The National Population and Family Planning Board (BKKBN), Indonesia) นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม ได้รับทุนการศึกษาภายในประเทศ จากสถาบันฯ (ทุนสถาบันวิจัยประชากรและสังคม ปีการศึกษา 2556-2557 จานวน 5 ทุน) 5. กิจกรรมพัฒนานักศึกษา สถาบันฯ มีแผนการจัดโครงการ หรือกิจกรรมส่งเสริมผลการเรียนรู้ เพื่อพัฒนานักศึกษานอกเหนือจากการเรียน การสอนในหลักสูตรหลายโครงการหรือหลายกิจกรรม ดังนี้ 1) ทุกหลักสูตรกาหนดให้ นักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชา Research Ethics ซึ่งจัดโดยบัณ ฑิตวิทยาลัย และ ส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณธรรมและจริยธรรมทางวิชาการ

41


2) จั ด กิ จกรรมศึ ก ษาดู งานเสริ ม ความรู้ ตามความสนใจและในชั่ วโมงเรี ยนของนั ก ศึ ก ษา พร้ อ มทั้ ง มี ก าร ประเมินผลการศึกษาดูงานเพื่อใช้ในการปรับปรุงการศึกษาดูงานในปีต่อไป

การฝึกปฏิบัติการวิจัยภาคสนาม ณ อาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี วิชา วจปส 555 การวิจัยเชิงปริมาณ และ วจปส 556 การวิจัยเชิงคุณภาพ 26 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์ 2557

การจัดการศึกษาดูงานนอกสถานที่ด้านการย้ายถิ่น ณ อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร วิชา วจปช 663 การย้ายถิ่นขั้นสูง 11 มีนาคม 2557

การจัดการศึกษาดูงานนอกสถานที่ด้านผู้สูงอายุ ณ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม วิชา วจพป 550 โครงการผู้สูงอายุในบริบทข้ามวัฒนธรรม 26 พฤศจิกายน และ 2 ธันวาคม 2557

42


3) จัดให้ มี Love U Club เดือ นละ 2 ครั้ง ซึ่งเป็นการส่งเสริม กิ จกรรมร่วมกั นระหว่า งนักศึ ก ษาไทยและ ต่างชาติ เพื่อให้นักศึกษาทุกหลักสูตรของสถาบันฯ มีโอกาสสันทนาการแลกเปลี่ยนเชิงวัฒนธรรมเรื่องต่างๆที่สนใจ เพื่ อสร้ างศัก ยภาพและบุ คลิ ก ภาพส าหรั บ นั กศึ กษา และเพื่ อแบ่ งปัน ความสามารถเฉพาะทางให้ เพื่ อนๆ และ คณาจารย์ เช่น การสอนภาษาประจาชาติ 4) ทุ ก หลัก สูต รสนั บสนุน ให้ นัก ศึ ก ษาน าเสนอผลงานทางวิช าการ ในการประชุ ม วิช าการระดั บชาติแ ละ นานาชาติ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ และนาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงการเขียนบทความทางวิชาการ 5) เปิดโอกาสให้นักศึกษาเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการวิจัยจัดเก็บข้อมูลภาคสนามในทุกขั้นตอน ในวิชาระเบียบวิธี วิจัยทางสังคมศาสตร์ 2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ภาคสนามจริง 6) เปิดโอกาสให้นัก ศึ ก ษาได้ มีส่วนร่วมในการปฏิ บัติงานวิจัยในตาแหน่งนักวิจัยผู้ช่ วย ร่ วมกั บคณาจารย์ เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์จริงในการทาวิจัย เพื่อใช้ในการเขียนบทความ และทาวิทยานิพนธ์ 7) จัดให้มีการสัมมนานักศึกษา 4 หลักสูตร เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสศึกษาดูงาน และมีกิจกรรมร่วมกัน มี ความคุ้นเคยและได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ ตลอดจนเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีในหมู่ นักศึกษา คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ของสถาบันฯ

การสัมมนานักศึกษา 4 หลักสูตร ณ อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก 20 – 21 กันยายน 2556

8) ส่งเสริม ทั ก ษะการใช้ โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ เช่ น การจัด อบรมโปรแกรม GIS แก่ นัก ศึ ก ษาเพื่ อ เป็ น เครื่องมือประกอบการเขียนบทความและทาวิทยานิพนธ์ 9) สนั บ สนุ น ให้ นัก ศึ ก ษาเสนอผลงานวิจั ย เตรี ยมความพร้ อ มก่ อ นสอบโครงร่ า งวิท ยานิ พ นธ์แ ละสอบ วิทยานิพนธ์ ในเสวนาใต้ชายคาประชากร จัดทุกวันพุธ เวลา 12.30 – 13.30 น. เพื่อสร้างศักยภาพของนักศึกษาในการ เสนอผลงานวิจัย และนาข้อเสนอแนะจากการเสวนาไปปรับปรุงโครงร่างและวิทยานิพนธ์ 10) จัดให้มีพิธีไหว้ครูเป็นประจาทุกปี เพื่อสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมระหว่างคณาจารย์และศิษย์ เป็น การส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณธรรมและจริยธรรม และได้มีการประเมินการจัดพิธีไหว้ครูเพื่อนาไปปรับปรุงในปีต่อไป 11) สนับสนุนให้นักศึกษาเข้ารับการอบรมการสืบค้นข้อมูลทาง Electronic ของห้องสมุด เพื่อเรียนรู้วิธีการใช้ ห้องสมุดและสืบค้นข้อมูล เพื่ อให้สามารถนาไปใช้ในการสืบค้นข้อมูลประกอบการเรียน การทารายงานและการทา วิทยานิพนธ์

43


12) จัดปฐมนิเทศน์นักศึกษาใหม่ เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอน และระเบียบข้อบังคับ ของหลักสูตร รวมทัง้ แนะนาสถาบันฯ และคณาจารย์

ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ปีการศึกษา 2557 15 สิงหาคม 2557

44


งานบริการวิชาการแก่สังคม สถาบันฯ มีการพัฒนารูปแบบการให้บริการวิชาการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บริการมีการพัฒนาจนถึงระดับที่มี การได้รับคารับรองจากมาตรฐานทั้งระดับชาติ/นานาชาติ โดยมีการดาเนินการ 12 รูปแบบ ดังนี้ 1) การจัดตั้งศูนย์อ้างอิงข้อมูลทางประชากรและสังคม สถาบันฯ พัฒนาศูนย์อ้างอิงข้อมูลทางประชากร ดังนี้ 1.1 ศูนย์ศตวรรษิกชน (Thai Centenarians Center) ศูนย์ศตวรรษิกชน มีวัตถุประสงค์เป็นแหล่งข้อมูลความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุและศตวรรษิกชนหรือประชากรที่มี อายุ 100 ปีขึ้นไป (Centenarian – คนร้อยปี หรือ ศตวรรษิกชน) ในประเทศไทย เพื่อศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของคน อายุ 100 ปี สอดคล้องกับกิจกรรมของมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ จัดให้มี “การประกวดแม่ ร้อยปี ” ในวันแม่ แห่งชาติเป็น ประจาทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา ศูนย์ศตวรรษิ กชน น าเสนอข้ อมู ลผ่าน บทความ สถิ ติตัวเลข ค าศั พท์ ข่ าวสารความรู้วิทยานิพนธ์ งานวิจัย บทความ และกระดานข่าว (http://www.thaicentenarian.mahidol.ac.th) 1.2 ศูนย์ศึกษาการย้ายถิ่นมหิดล (Mahidol Migration Center – MMC) ศูนย์ศึกษาการย้ายถิ่นมหิดล (Mahido lMigrationCenter – MMC) จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมสนับสนุนและพฒนาการศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย ด้านการย้ายถิ่นเป็นศูนย์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของสถาบันฯ และหน่วยงานเครือข่ายความ ร่วมมือของสถาบันฯ ผ่านกิจกรรมการวิจัย แบบสหวิทยาการและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ย้าย ถิ่นในประเทศไทยและในภูมิภาค ผ่านทางงานวิจัยสิ่งตีพิมพ์และจดหมายข่าว (http://www.migrationcenter.mahidol.ac.th) 1.3 มิเตอร์ประเทศไทย (Thailandometers) สถาบันฯ ได้พัฒนา “มิเตอร์ประเทศไทย” เป็นเครื่องมือนาเสนอสถิติข้อมูลด้านประชากร สุขภาพอนามัย เศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม ‘ตามเวลาจริง’ เพื่ อให้สาธารณชนเห็นความสาคัญ ของข้อมูลด้านประชากร และ สามารถนาข้อมูลไปใช้อ้างอิงได้สถิติข้อมูลที่นาเสนอในมิเตอร์ประเทศไทยได้จากการคาดประมาณของ “คณะทางาน ฉายภาพประชากร” ของสถาบันฯ ซึ่งใช้ข้อมูลจากการจดทะเบียน และการสารวจจากแหล่งต่างๆ คานวณอัตรา และ ตั วชี้ วั ด ต่ างๆ เพื่ อ น าเสน อ ให้ เห็ น ภ าพ ก ารเป ลี่ ยน แ ป ล งข อ งตั วชี้ วั ด เห ล่ า นั้ น ต าม เวลาที่ เป ลี่ ย น ไป (http://www.thailandometers.mahidol.ac.th) 1.4 หอจดหมายเหตุอิเล็กทรอนิกส์งานวิจัยของสถาบันฯ (Digital Archive of Research on Thailand (DART) เพื่อรวบรวมข้อมูล ภาพเหตุการณ์ ผลงานวิจัยของสถาบันฯ โครงการกาญจนบุรี โครงการนางรองในอดีต จัดเก็บเป็นฐานข้อมูล และเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ ที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ (http://www.dart.ipsr.mahidol.ac.th) 1.5 ศูนย์อ้างอิงทางประชากรแห่งประเทศไทย (Population Reference Center ofThailand: PRCT) เป็นแหล่งรวบรวมของข้อมูลและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับประชากรและครอบครัว (http://www.prct.ipsr.mahidol.ac.th)

45


2) เผยแพร่ข่าวสารข้อมูล หนังสือ และผลการวิจัยทางประชากรและสังคม 1.1 หนังสือ และรายงานการวิจัย จานวน 18 เรื่อง ดังนี้

รายงานสถานการณ์ความสุขคนทางานในประเทศไทย ปีที่2 รอบครึ่งปีแรก (มกราคม-มิถุนายน พ.ศ.2556) ผู้แต่ง: ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต และคณะ

คุณภาพชีวิต การทางานและความสุข (พิมพ์ครั้งที่ 2) ผู้ร่วมแต่ง: ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต และคณะ

สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง...สู่การปฎิรูปประเทศ จากฐานราก (THA/ENG) ผู้แต่ง: ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา และคณะ

รายงานการวิจยั การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้านสังคมเศรษฐกิจ และการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อการดาเนินงานโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ 2556 ผู้แต่ง: ธีระพงศ์ สันติภาพ ผู้แต่งร่วม: ชวลิต สวัสดิ์ผล

46


The Survey of Thai Public Opinion toward Myanmar Refugees and Workers: An Overview ผู้แต่ง: มาลี สันภูวรรณ์ ผู้แต่งร่วม: สักกรินทร์ นิยมศิลป์

The Survey of Thai Public Opinion toward Myanmar Refugees and Migrant Workers: A Case Study of Mae Hong Son Province ผู้แต่ง: มาลี สันภูวรรณ์ ผู้แต่งร่วม: สักกรินทร์ นิยมศิลป์

The Survey of Thai Public Opinion toward Myanmar Refugees and Migrant Workers: A Case Study of Tak Province ผู้แต่ง: สักกรินทร์ นิยมศิลป์ ผู้แต่งร่วม: มาลี สันภูวรรณ์

The Survey of Public Opinion toward Myanmar Refugees and Migrant Workers: A Case Study of Kandchanaburi Province ผู้แต่ง: สักกรินทร์ นิยมศิลป์ ผู้แต่งร่วม: มาลี สันภูวรรณ์

The Survey of Thai Public Opinion toward Myanmar Refugees and Migrant Workers : A Case Study of Ratchaburi Province ผู้แต่ง: มาลี สันภูวรรณ์ ผู้แต่งร่วม: สักกรินทร์ นิยมศิลป์

แผ่นพับการสูงวัยของประชากรไทย พ.ศ. 2557 ผู้แต่ง: สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

47


ประชากรและสังคม 2557: การเกิดกับความมั่นคงในประชากรและสังคม บรรณาธิการ: ยุพิน วรสิริอมร บรรณาธิการร่วม: จงจิตต์ ฤทธิรงค์, ศุทธิดา ชวนวัน, พจนา หันจางสิทธิ์

เกิดอย่างไร ประเทศไทยจึงจะมั่นคง? (How can births ensure Thailand's security) ผู้แต่ง: ปราโมทย์ ประสาทกุล

ผลกระทบจากนโยบายควบคุมการบริโภคยาสูบในประเทศไทย กลุ่มผู้สูบ บุหรี่ รอบที่ 6 (พ.ศ. 2555) ผู้แต่ง : อารี จาปากลาย และคณะ

รายงานสถานการณ์ความสุขคนทางานในประเทศไทย ปีที่ 2 รอบครึ่งปีหลัง (กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ.2556) ผู้แต่ง : บูรเทพ โชคธนานุกูล และคณะ

สุขและทุกข์ของคนสมุทรสงคราม ผู้แต่ง : อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์ และคณะ

การสารวจระดับประเทศเรื่องผลกระทบจากนโยบายควบคุมการบริโภคยาสูบ ในประเทศไทยกลุ่มวัยรุ่น รอบที่6 (พ.ศ.2555) ผู้แต่ง : บุปผา ศิริรัศมี และคณะ

48


สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2556 Situation of the Thai Elderly 2013(THA/ENG) บรรณาธิการ: ปราโมทย์ ประสาทกุล และคณะ

การศึกษาของบุตรหลานแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย บรรณาธิการ: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

2.2 เอกสารทางวิชาการ 2.2.1 จดหมายข่าวประชากรและการพัฒนา เผยแพร่ในปีงบประมาณ 2557 เป็นปีที่ 34 ฉบับ ที่ 1-6 ตีพิมพ์ 2 เดือน/ครั้ง ที่เป็นรูปเล่ม และออนไลน์ 2.2.2 สารประชากรมหาวิทยาลัยมหิดล พิมพ์ปีละครั้ง ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในปีงบประมาณ 2557 นี้ เป็นปีที่ 23 ที่สถาบันฯ ได้จัดทาสารประชากรมหาวิทยาลัยมหิดลขึ้น และเผยแพร่ออนไลน์ 2.2.3 วารสารประชากรและสังคม “Journal of Population and Social Studies : JPSS” พิมพ์ ปี ล ะ 2 ครั้ ง ในเดื อ นมกราคม และกรกฎาคม ตี พิ ม พ์ บ ทความในด้ า นประชากรศาสตร์ วิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ เศรษฐศาสตร์ สถิติ และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในปีงบประมาณ 2557 พิมพ์เล่มที่ 22 ฉบับที่ 2 เผยแพร่ผ่าน website http://www.jpss.mahidol.ac.th/ 3) การจั ด ประชุ ม วิ ช าการระดั บ ชาติ “ประชากรและสั ง คม”จั ด เป็ น ครั้ ง แรกเมื่ อ ปี 2548 ในวั น ที่ 1 กรกฎาคม เป็นประจาทุกปี ในแต่ละปีนาเสนอประเด็นหลักที่แตกต่างกัน โดยประมวลจากปรากฏการณ์ทางสังคม ที่ เป็นทั้งสาเหตุและผลของการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและสังคม ในการประชุมมีการนาเสนอบทความโดยอาจารย์ และนักวิจัยของสถาบันฯ และมีวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้ความเห็นต่อบทความ ในปีงบประมาณ 2557 สถาบันฯ นับเป็ นครั้งที่ 10 จัดประชุ ม ประเด็ นเรื่อ ง “กำรเกิ ดกั บ ควำมมั่ น คงในประชำกรและสั งคม” ในการประชุม ปีนี้ มี ผู้เข้าร่วมประชุมจานวน 413 คน 4) การจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น ระดับชาติและระดับนานาชาติ สถาบันฯ จัดอบรมระยะสั้น 9 ครั้ง มีผู้เข้ารับการอบรม จานวน 316 คน จากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ องค์กรระหว่างประเทศ เช่น อาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข

49


 ระดับชาติ วัน/เดือน/ปี

จานวนผู้เข้าร่วม (คน)

1. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ:ศาสตร์และศิลป์เพื่อประโยชน์ สุขของปวงชน

21 – 31 ตุลาคม 2557

20

2. การติดตามและประเมินผลการป้องกันและแก้ไขปัญหา เอดส์ (PSI)

28 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน 2556

33

3. การติดตามและประเมินผลการป้องกันและแก้ไขปัญหา เอดส์ (กระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 2)

17– 20 มีนาคม 2557

31

4. การวิจัยเชิงคุณภาพ

24 – 28 มีนาคม 2557

10

5. การบริหารจัดการองค์ความรู้สคู่ วามสุขในการทางาน (Routine to Happiness – R2H)” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 6. การบริหารจัดการองค์ความรู้สคู่ วามสุขในการทางาน (Routine to Happiness – R2H)” มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี 7. การบริหารจัดการองค์ความรู้สคู่ วามสุขในการทางาน (Routine to Happiness – R2H)” มหาวิทยาลัยราช ภัฏเทพสตรี 8. การบริหารจัดการองค์ความรู้สคู่ วามสุขในการทางาน (Routine to Happiness – R2H)” มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

12 – 13 มิถุนายน 2557

60

15 – 16 สิงหาคม 2557

36

27 – 28 สิงหาคม 2557

40

15 – 16 กันยายน 2557

82

ลาดับ

หัวข้อ/เรื่อง

50


 ระดับนานาชาติ ทวีป ลาดับ

เรื่อง 1 WHO-IPSR Writing Workshop on Publication of Research on Medical Abortion

วัน เดือน ปี 10-15 มีนาคม 2557

เอเชีย (ตะวันออกเฉียงใต้) Thai 1

เอเชีย (อื่นๆ) Bangladesh 1

51

อเมริกา

ยุโรป

โอเชียเนีย

อาฟริกา Kenya 2

จานวน (คน) 4


5) การจัดเสวนาวิชาการ “ใต้ชายคาประชากร” ทุกวันพุธ เวลา 12.30 – 13.30 น.

เพื่อเป็นการส่งเสริมความก้าวหน้าด้านวิชาการให้มีความเข้มแข็ง และมีบรรยากาศการแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์อย่างกว้างขวาง สร้างสรรค์ และเป็นกันเอง รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเผยแพร่และอภิปรายผลงานวิจัย และประเด็นวิจัยต่าง ๆ สถาบันฯ จัดเสวนาวิชาการ “ใต้ชายคาประชากร”ทุกวันพุธ เวลา 12.30-13.30 น. โดยเปิด โอกาสให้ทั้งบุคลากรในสถาบันฯ และนอกสถาบันฯ เป็นผู้นาเสนอและผู้ร่วมรับ ฟัง มีการจัดเสวนาจานวน 42 ครั้ง มี ผู้รับบริการ จานวน 995 คน 6) การได้รับ เชิ ญ เป็ น วิ ท ยากร อาจารย์ พิ เศษ อาจารย์ ที่ ป รึ กษาวิ ท ยานิ พ นธ์ ที่ ป รึ กษาและกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน ในระดับชาติและระดับนานาชาติ บุคลากรของสถาบันฯ ได้รับเกียรติจากหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งในมหาวิทยาลัยและนอกมหาวิทยาลัย และจาก องค์กรต่างประเทศ ให้ไปสอนหรือบรรยายพิเศษ ในหัวข้อระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ วิธีวิจัยทางพฤติกรรม ศาสตร์และสังคมศาสตร์ และประเด็นทางสังคมที่บุคลากรของสถาบันฯ มีความเชี่ยวชาญ เช่น แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะ และเพศวิถี การเสริมพลัง กระบวนการเรียนรู้ การคาดการณ์และแนวโน้มของประชากร ครอบครัวไทย เด็ก วัยรุ่น และ ผู้สูงอายุ ในมิติทางประชากรศาสตร์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ เป็นต้น ซึ่ง ในปีงบประมาณ 2556 มีบุคลากรของสถาบันฯ ได้รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษ วิทยากร เป็นที่ปรึกษา และกรรมการต่าง ๆ จานวน 55 ครั้ง มี ผู้รับบริการจานวน 3,213 คน 7) ความร่วมมือระหว่างประเทศ และหน่วยงานต่างประเทศ ในปี ง บประมาณ 2557 สถาบั น ฯ ให้ ก ารต้ อ นรั บ บุ ค คลากรจากหน่ วยงานต่ า งประเทศจ านวน 12 ครั้ง จานวน 32 คน เรื่อง

วัน/เดือน/ปี

ประเทศ

1. Ms.Natalie Phaholyothin, Associate Director, The Rockefeller Foundation Asia Office, Thailand

การวิจัย

2 ตุลาคม 2556

Thai

จานวน (คน) 1

2. Dr.Nabila Zaka M.D.Ph.D. , Maternal and Child Health Specialist Young Survival & Development Section(YCSD) UNICEF East Asia Pacific Regional Office, EAPRO, Thailand

ความ ร่วมมือ

8 ตุลาคม 2556

USA

1

ลาดับ

บุคคล/หน่วยงาน

52


เรื่อง

วัน/เดือน/ปี

ประเทศ

3. Dr.Lan Askew, The Population Council, Kenya

การวิจัย

14 ตุลาคม 2556

Kenya

จานวน (คน) 1

4. Dr.Perter จาก RTI, USA.

การวิจัย

18 ตุลาคม 2556

USA.

1

5. Mr.Patou Musumari

การวิจัย 17 พฤศจิกายน 2556 (6 เดือน)

Congo

1

6. Assoc. Prof.Nguyen Thanh Huong, Vice Dean และ คณะ จาก Hanoi School of Public Health, Vietnam

ความ ร่วมมือ

3 - 4 ธันวาคม 2556

Vietnam

6

7. Mr.Nafrijal, Director of Centre for International Training and Collaboration (BKKBN)

ความ ร่วมมือ

25 ธันวาคม 2556

Indonesia

6

8. Dr.Colin Taylor, Director และ Ms.Lea Sublett, Assistant Director จากสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัย แห่งชาติออสเตรเลีย 9. Mr.Jungkyun Ryu, นักศึกษาปริญญาเอก จาก มหาวิทยาลัย Han Yang ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี

ความ ร่วมมือ

3 กุมภาพันธ์ 2557

Australia

2

ความ ร่วมมือ

20 กุมภาพันธ์ 2557

Korea

1

10. คณะจาก Health Sciences, Nagoya University, Japan จาก Women Leaders Program@Nagoya University, Japan

ความ ร่วมมือ

28 มีนาคม 2557

Japan

9

11. Assistant Director Paul Roberts, Doctoral School, Research and Enterprise, University of Sussex ประเทศอังกฤษ

การวิจัย

24 มิถุนายน 2557

England

1

ลาดับ

บุคคล/หน่วยงาน

53


ลาดับ

บุคคล/หน่วยงาน

12. 1. Mr.Hiroaki Ishii, JAR and Board Member of Refugee Studies Forum 2. Ms.Kanako Matsuoka, JAR and Program Coordinator/Researcher of Refugee Studies Forum Japan Association for Refugees (JAR)

เรื่อง

วัน/เดือน/ปี

ความ ร่วมมือ

5 กันยายน 2557

ประเทศ Japan

จานวน (คน) 2

8) จัดประชุมสัมมนาระดับชาติและนานาชาติ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือเครือข่ายความ

ร่วมมือ ในการผลักดันนโยบายสาธารณะ และประเด็นเร่งด่วนทางสังคม ในปีงบประมาณ 2557 สถาบันฯ จัดประชุ มสัมมนาทางวิชาการทั้ งระดับชาติ และนานาชาติ จานวน 5 ครั้ง ผู้รับบริการ 1,061 คน ดังนี้

 ระดับชาติ ลาดับ เรื่อง 1 การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10 “ประชากรและสังคม 2557” เรื่อง การเกิดกับความมั่นคงในประชากรและสังคม (Birth and Security in Population and Society)

54

วัน เดือน ปี 1 กรกฎาคม 2557

จานวนผู้เข้าร่วม (คน) 330


 ระดับนานาชาติ ทวีป ลาดับ

เรื่อง

วัน/เดือน/ปี

เอเชีย (ตะวันออกเฉียงใต้)

1

INDEPTH Network Workshop on Cause of Death Determination with inter VA-4 (CODD)

2

The 3rd MMC Regional Conference Transnational Migration and Border Studies: Assessing Threats and Opportunities Seminar on Unintended Pregnancy among the Young: Correlates and Consequences (APA)

3

4

การประชุมรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจาปี 2557 (Prince Mahidol Award Conference : PMAC 2014)

เอเชีย (อื่นๆ)

ยุโรป

อเมริกา

ออสเตรเลีย

อาฟริกา

จานวน (คน)

13 – 15 ตุลาคม 2556 Indonesia 1 Thailand 2 Vietnam 2 4 – 6 สิงหาคม 2557 Thai 118 Vietnam 4 Singapore 3 1 - 2 ธันวาคม 2557 Brunei 1 Indonesia 3 Philippones 4 Thai 23

Bangladesh 5 India 4

Sweden 1

-

-

Ghana 3

Korea 1 Napal 1

Finland 1 UK 1

USA. 1

-

-

120

Bangladesh 3 China 2 Iran 1 Korea 2 India 7 Nepal 2 Sri Lanka 1

-

-

Australia 1

-

50

27 - 31 มกราคม 2558 Cambodia 6 Indonesia 13 Lao 8 Malaysia 4 Myanmar 13 Philippines 24 Singapore 3 Thailand 208

Bangladesh 9 Bhutan 1 Burkina Faso 1 China 37 Egypt 2 Hong Kong 2 India 22 Japan 49

Belgium 2 Croatia 1 Denmark 2 France 2 Germany 3 Italy 1 New Zealand 1 Norway 4

Argentina 1 Brazil 1 Canada 9 Mexico 1 United States 61 Haiti 1

Australia 10 Fiji 1

Burundi 1 Congo 2 Costa Rica 2 Ghana 4 Kenya 5 Malawi 2 Nigeria 1 Rwanda 1

55

18

631


ทวีป ลาดับ

เรื่อง

วัน/เดือน/ปี

เอเชีย (ตะวันออกเฉียงใต้) Viet Nam 20

เอเชีย (อื่นๆ) Korea 4 Lebanon 3 Maldives 4 Nepal 7 Oman 1 Sri Lanka 2

56

ยุโรป Sweden 1 Switzerland 23 United Kingdom 22

อเมริกา

ออสเตรเลีย

อาฟริกา South Africa 9 Tanzania 1 Uganda 1

จานวน (คน)


9) บุคลากรสถาบันฯ จานวน 16 คน นาเสนอผลงานจากผลงานวิจัยในที่ประชุมนานาชาติ 15 เรื่อง ดังนี้ ลาดับ ผู้นาเสนอ เรื่อง การประชุม 1. อ.ดร.ศุทธิดา ชวนวัน Population Aging and International Federation on น.ส.ธีรนงค์ สกุลศรี Geographic Distributions of Ageing Thai Elder Persons 1-6 ตุลาคม 2556 ประเทศตุรกี 2. นายนิพนธ์ ดาราวุฒิมาประกรณ์ Using Respondent Driven The American Evaluation Sampling (RDS) to Measure Association (AEA) Coverage of Thailands 14-22 ตุลาคม 2556 National HIV Prevention ประเทศสหรัฐอเมริกา Program for Female Sex Workers (FSW) and Men Who Have Sex With Men (MSM) 3. รศ.ดร.ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ Pre-marital sex among Thai The 45th Asia Pacific adolescents, the study from Academic Consortium for the Reproductive Health Public Health (APACPH) Survey 2009 Conference 25-27 ตุลาคม 2556 ประเทศจีน 4. อ.ดร.มาลี สันภูวรรณ์ Does Gender matter in INDEPTH SCIENTIFIC Memory Decline among CONFERENCE Older Adult? : A panel Study 26 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน from the Kanchanaburi 2556 Demographic Surveillance ประเทศแอฟริกาใต้ System, Thailand 5. อ.ดร.ธีรธร ยูงทอง Social Costs of Market The 8 th International Exclusivity Extension for Conference on the Regional Patented Medicines in Innovation and Thailand : Analysis of the Cooperation in Asia (RICA Effaced of TRIPS-Plus 2013) Provisions 30 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม 2556 ประเทศจีน

57


ลาดับ ผู้นาเสนอ 6. อ.ดร.ศุทธิดา ชวนวัน

7. รศ.ดร.อารี จาปากลาย

8. ผศ.ดร.เฉลิมพล แจ่มจันทร์

เรื่อง การประชุม Population aging and การประชุมโครงการวิจัยเรื่อง geographic distribution of Thai “ผู้สูงอายุในสังคมจีน:การจัด elder persons สวัสดิการต้นแบบการดูแล และ กิจกรรมทางสังคม” 10-17 มกราคม 2557 ประเทศจีน Impact of migration and การประชุม the 4 th ADBIremittances on health and OECD-ILO Roundtable on education of children and other Labour Migration in Asia : family members in the Building Human Capital economies of origin Across Borders 26-29 มกราคม 2557 ประเทศญี่ปุ่น Old-age (in) security :Thailand 12 th International and its Elderly on the Bumpy Conference on Thai Studies Road of Politics (ICTS12) 21-25 เมษายน 2557 ประเทศออสเตรเลีย

9. รศ.ดร.โยธิน แสวงดี

Debt Reconstruction, Career Development and Famers Household well-Being in Thailand

10. น.ส.รีนา ต๊ะดี

Impact on Families When Teenagers Become Parents

58

ICPPSS 2014: International Conference on Public Policy and Social Sciences 23-30 มิถุนายน 2557 ประเทศฝรั่งเศส 1st Annual International Conference on Demography and Population 14-23 มิถุนายน 2557 ประเทศกรีซ


ลาดับ ผู้นาเสนอ 11. รศ.ดร.โยธิน แสวงดี

12. รศ.ดร.รศรินทร์ เกรย์

13. รศ.ดร.อารี จาปากลาย

14. น.ส.ธีรนงค์ สกุลศรี

15. อ.ดร.ภูเบศร์ สมุทรจักร

เรื่อง Family Structure, Socioeconomic Well-Being and Elderly Chronic Illness in Thailand Religiosity, spirituality and happiness in Buddhist Thailand

การประชุม XVIII ISA World Congress of Sociology 13-19 กรกฎาคม 2557 ประเทศญี่ปุ่น

XVIII ISA World Congress of Sociology 13-19 กรกฎาคม 2557 ประเทศญี่ปุ่น Muslim Immigrants in Bangkok, World Congress for MiddleThailand: Faith and Religious eastern Studies (WOCMES Practices 17-23 สิงหาคม 2557 ประเทศตุรกี Integrative Risk Management – International Disaster and The role of science, Risk Conference IDRC 2014 technology and practice 23-29 สิงหาคม 2557 ประเทศสหพันธรัฐสวิส Identity and Multiple-identity International Research Development in Social Media Conference on Business, of Thai Teens Economics and Social Sciences, IRC-2014 21-22 กันยายน 2557 ประเทศตุรกี

59


10) การเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการด้านประชากรและสังคมในรูปแบบเอกสาร สถาบันฯ เผยแพร่ผลงานวิจัยในรูปแบบของเอกสาร และสิ่งพิ ม พ์ ต่างๆ ออกไปสู่บุค คล หน่วยงาน ทั้ง ภาครัฐเอกชนต่าง ๆ จานวนมาก โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ทั้งนี้สามารถ Download ได้จาก Website ลาดับ

จานวน (ครั้ง) 19

การเผยแพร่ความรู้

1

รายงานการวิจัย หนังสือ คู่มือ เอกสารทางวิชาการ

2

66,000

3

จดหมายข่าวประชากรและการพัฒนา (Population and Development Newsletter) สารประชากรมหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol Population Gazette)

4

วารสารประชากรและสังคม (Journal of Population and social Studies)

ออนไลน์

5

จัดนิทรรศการด้านประชากรและสังคม

1,000 9

11) การให้บริการวิชาการผ่านทางเว็บไซต์ของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม เว็บไซต์ของสถาบันฯ สร้าง ขึ้นเพื่อเป็นฐานข้อมูลความรู้ทางประชากรและสังคมเฉพาะด้าน สถาบันฯ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร และเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการผ่านเว็บไซต์ ซึ่ง เว็บ ไซต์ข องสถาบัน ฯ มีห น้า ภาษาไทยและภาษาอัง กฤษ มีการนาเสนอตารา หนังสือ รายงานการวิจัย บทความตีพิมพ์ในวารสารทั้งระดับชาติและนานาชาติ จดหมายข่าวฯ สารประชากร วารสาร ประชากรและสังคม เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตามความต้องการทุกเวลา มีผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ของ สถาบันฯ แยกตามฐานข้อมูล ดังนี้ ตารางจานวนผู้เข้าชมปี พ.ศ. 2555 - 2557

ปีงบประมาณ 2555 2556 2557 385,704 464,379 383,892

เว็บไซต์ 1 เว็บไซต์สถาบันวิจัยประชากรและสังคม www.ipsr.mahidol.ac.th 2 ศูนย์ศตวรรษิกชน www.thaicentenarian.mahidol.ac.th 3 มิเตอร์ประเทศไทย www.thailandometers.mahidol.ac.th 4 ศูนย์ศึกษาการย้ายถิ่นมหิดล www.migrationcenter.mahidol.ac.th 5 ศัพทานุกรมทางประชากรและสังคม www.popterms.mahidol.ac.th 6 ศูนย์อ้างอิงทางประชากรแห่งประเทศไทย www.prct.mahidol.ac.th

60

89,931

86,596

40,097

40,384

26,208

19,004

5,245

4,842

4,754

66,765

40,600

30,361

อยู่ในระหว่าง อยู่ในระหว่าง การพัฒนา การพัฒนา

253


ปีงบประมาณ 2555 2556 12,323 22,156

เว็บไซต์

7 งานประชุมวิชาการระดับชาติประชากรและสังคม http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsr/AnnualConferen ce/default.htm 8 จดหมายข่าวประชากรและการพัฒนา 53,163 www.ipsr.mahidol.ac.th/newsletter 9 ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเชิงนวัตกรรมแห่งเอเชีย (IDSA) อยู่ในระหว่าง www.idsa.ipsr.mahidol.ac.th การพัฒนา

2557 9,239

78,954 170,235 1,685

895

12) การให้บริการวิช าการผ่านสื่อ สารมวลชน เช่น หนัง สือ พิม พ์ โทรทัศ น์ วิทยุ และสื่อ มวลชนต่าง ๆ โดยผ่านระบบกลไกการประชาสัมพันธ์ ด้านการบริการวิชาการของสถาบันฯ ในการประชุมวิชาการ สัมมนา ตลอดจน กิจกรรมที่ได้สร้างความรู้ที่เกิดขึ้นใหม่ในสังคม สถาบันฯ ได้เผยแพร่ ความรู้ด้านประชากรและสังคม อย่างกว้างขวางใน หลายลักษณะ เช่น จัดทาข่าวแจก (press release) ผลงานวิจัย และกิจกรรมของสถาบันฯให้สื่อมวลชนนาไปเผยแพร่เชิญ สื่อมวลชนทุก แขนง เข้าร่วมกิจกรรมประชุม /สัมมนาของสถาบันฯ คณาจารย์ของสถาบันฯ เป็นแหล่งข่าวในการให้ สัมภาษณ์ หรือนาข้อมูลที่เป็นประเด็นสาคัญและน่าสนใจไปเผยแพร่ผ่านสื่อมวลชน เป็นต้น

61


งานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 1. งานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม

วางพานพุ่มถวายสักการะ พระบรมรูป สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องในโอกาส 45 ปี วันพระราชทานนามมหาวิทยาลัยมหิดล ณ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) 27 กุมภาพันธ์ 2557

วางพวงมาลาถวายราชสักการะพระราชอนุสาวรีย์ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องใน "วันมหิดล" ณ ลานพระราชานุสาวรีย์ อาคารศูนย์การเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) 23 กันยายน 2557

62


พิธีไหว้ครู ประจาปีการศึกษา 2557 26 กันยายน 2557

งานมุฑิตาจิตคารวะอาจารย์อาวุโส และผู้เกษียณอายุการปฏิบัติงาน ปี 2557 24 กันยายน 2557

63


เจ้าภาพเลี้ยงอาหารกลางวันและรดน้าขอพรผู้สูงอายุ ภายใต้กิจกรรม "อิ่มบุญ อุ่นใจ ผู้สูงวัยเป็นสุข" ณ สถานสงเคราะห์คนชราเฉลิมราชกุมารี (หลวงพ่อเปิ่นอุปถัมภ์) ตาบลวัดสาโรง อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 4 เมษายน 2556

64


งานเทศกาลสงกรานต์ ประจาปี 2557 " สงกรานต์อิ่มบุญ อุ่นใจ" 17 เมษายน 2557

65


งานส่งท้ายปีเก่า – ต้อนรับปีใหม่ 2557 ในสไตล์ “การ์ตูนหรรษา เฮฮาปีใหม่ IPSR in The Wonderland” 25 ธันวาคม 2557

66


กิจกรรมร่วมเรียนรู้และฝึกฝน “พัฒนาทักษะชีวิต ความสุข และการใช้ชีวิตอย่างสมดุล” โดย ทีมวิทยากรจากสมาชิกกลุ่ม Alternative Photography 29 พฤษภาคม 2557

67


2. ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สถาบันฯ มีแผนงานหลัก คือ การประหยัดพลังงาน และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

68


สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จ.นครปฐม มีการดาเนินงานจัดประชุมตามแนวทางหลักการ Green Meetings

69


ด้านการประหยัดพลังงาน

ระบบสวิตซ์ตรวจจับการเคลื่อนไหว (Motion Sensor Switch)

การรณรงค์ลดการใช้ทรัพยากร

การใช้ระบบ ปิด-เปิดไฟ เฉพาะจุด

70


2.2 ด้านสิ่งแวดล้อม

พื้นที่สีเขียวภายในอาคาร และบริเวณรอบอาคาร

71


ลานสนามบาสเกตบอล และกีฬาเปตอง

72


กระบอกน้าสุขใจ

การคัดแยกขยะก่อนทิ้ง

73


สัมมนาพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ครั้งที่16 "IPSR for Education ร่วมก่อการดี สามัคคีรวมใจ" ณ อนันตา ริเวอร์ ฮิลล์รีสอร์ท ต.ท่ากระดาน อ.ศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี 9 -10 ตุลาคม 2557

74


สัมมนาพัฒนาบุคลากรสถาบันฯ ครั้งที่ 34 ประจาปี พ.ศ. 2557 "IPSR Going Green ช่วยคุณ ช่วยโลก" ณ ณ โรงแรม วิลลา พาราดี เขาใหญ่ 9-10 กุมภาพันธ์ 2557

75


76


คณะทางานจัดทารายงานประจาปี สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ปีงบประมาณ 2557 รองศาสตราจารย์ ดร.สุรีย์พร พันพึ่ง

ที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย์ ดร.รศรินทร์ เกรย์

ประธานคณะทางาน

นางสาวพลอยชมพู สุคัสถิตย์

คณะทางาน

นางสาวภคพร พุทธโกษา

คณะทางาน

นางสาวเรวดี สุวรรณนพเก้า

คณะทางาน

นางวริศรา ไข่ลือนาม

คณะทางาน

นางสาวเอื้อมเดือน แก้วสว่าง

คณะทางาน

นายภาสกร บุญคุ้ม

คณะทางานและเลขานุการ

นางสาวกฤติญา สาอางกิจ

คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ

ออกแบบปก : นายสมชาย ทรัพย์ยอดแก้ว

77


78


79


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.