My Ferns & My Life หายใจเป็นเฟิน
-------------------------
ภัทรา แสงดานุช
ทางลัดสูก่ ารรูจ้ กั และเข้าใจเฟิน จากประสบการณ์กว่า 15 ปีของนักปลูกเฟินเจ้าของสวน Patra Garden ผูเ้ ขียนหนังสือไม้ประดับ 7 เรือ่ งของสำ�นักพิมพ์บา้ นและสวน
Follow me @ PatraBooks https://www.facebook.com/Patrabooks/
My Ferns & My Life หายใจเป็นเฟิน ภัทรา แสงดานุช พิมพ์ครัง้ แรก สิงหาคม 2559 ราคา 450 บาท เจ้าของลิขสิทธิ์ ภัทรา แสงดานุช ข้อความและรูปภาพทัง้ หมดในหนังสือนีส้ งวนสิทธิต์ ามพระราชบัญญัติ การคัดลอก ส่วนหนึง่ ส่วนใดในหนังสือนีไ้ ปเผยแพร่ในทุกรูปแบบต้องได้รบั อนุญาตจากเจ้าของ ลิขสิทธิก์ อ่ น ยกเว้นการอ้างอิงเพือ่ การศึกษาและการวิจารณ์ ภาพถ่าย : ภัทรา แสงดานุช ภาพวาดประกอบ : Alper Ekizoğlu ออกแบบปกและรูปเล่ม : ภัทรา แสงดานุช Copyright © Patra Sangdanuch, 2016 PatraBooks https://www.facebook.com/Patrabooks/ http://patrabooks.blogspot.com E-mail: patrabooks@gmail.com
จากผู้เขียน “My Ferns & My Life หายใจเป็นเฟิน” คือฉบับปรับปรุงใหม่ของ “ปลูกเฟินอย่างมืออาชีพ” (2549) ซึง่ เป็นหนังสือเฟินเล่มแรกทีฉ่ นั เขียนเมือ่ สิบปีทแ่ี ล้ว แต่ยงั มีคนรักเฟินถามหาจนถึงทุกวันนี้ จุดเด่นของทัง้ สองเล่มก็คอื การเขียนให้อา่ นกันแบบสบายๆ ไม่เน้นวิชาการเหมือนหนังสือไม้ประดับเล่มอืน่ ของฉัน แต่อา่ นจบแล้วคุณสามารถอัปเกรดตัวเองจากมือใหม่หดั ปลูกเฟินเป็นมือ อาชีพได้ไม่ยาก สำ�หรับหนังสือเล่มนี้ ท้ายเล่มได้รวบรวมเฟินส่วนหนึง่ ทีเ่ คยผ่านมือฉันทัง้ ชนิดแท้และพันธุป์ ลูกไว้ 332 ชนิด แม้วา่ บางต้นจะไม่ได้เลีย้ งแล้ว แต่กบ็ นั ทึก ไว้ดว้ ยเพือ่ ให้น�ำ ไปใช้อา้ งอิงได้ การค้นคว้าชือ่ ทีถ่ กู ต้องของเฟินเป็นเรือ่ งยากและ ต้องใช้เวลา ดังนัน้ สำ�หรับต้นทีย่ งั ไม่แน่ใจฉันจึงระบุกว้างๆ เป็น species (ชนิด แท้) หรือ cultivar (พันธุป์ ลูก) ไปก่อน เนือ่ งจากมีโครงการสำ�คัญในอนาคตคือ หนังสือเฟินเมืองไทย รวบรวมข้อมูลเชิงลึกของเฟินชนิดต่างๆ ผูอ้ า่ นทีย่ งั ไม่ได้เป็นแฟนคลับของฉันเชิญไปทักทายกันได้ทเ่ี ฟซบุก๊ แฟนเพจ PatraBooks https://www.facebook.com/Patrabooks หรือทีบ่ ล็อก http:// patrabooks.blogspot.com/
ถ้าพร้อมแล้วมาเริม่ เดินทางสูโ่ ลกของคนบ้าเฟินกันเลยค่ะ
ภัทรา แสงดานุช
สารบัญ จุดเริม่ ต้นคนบ้าเฟิน รูเ้ ฟือ่ งเรือ่ งเฟิน เฟิน หรือ เฟิรน์ ใช่เฟินหรือไม่ ความเหมือนทีแ่ ตกต่าง Frond คือใบเฟิน เฟินไม่มดี อก สปอร์คอื อะไร วงจรชีวติ ของเฟิน ส่วนต่างๆ ของเฟิน รูปทรงของใบเฟิน ลักษณะการเจริญเติบโตของเฟิน เฟินกลายพันธุ ์ กูดต้น กูดดอย หลักควรรูส้ กู่ ารเป็นนักปลูกเฟินมืออาชีพ สภาพแวดล้อม แสงแดด วัสดุปลูก การรดน้�ำ การคัดเลือกพันธุ ์
7 15 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 27 29 29 31 35 40 42
การดูแลรักษาเฟิน การให้ปยุ๋ โรค แมลงศัตรู และการป้องกันกำ�จัด ภาชนะปลูก การขยายพันธุ ์ การผ่าแยกกอ การชำ� การเพาะสปอร์ My Fern Collection บรรณานุกรม
45 45 48 53 59 59 61 63 71 157
จุดเริ่มต้นคนบ้าเฟิน เชือ่ ไหมว่าก่อนทีฉ่ นั จะก้าวเข้าสูว่ งการไม้ประดับ สมัยทีย่ งั รูแ้ ต่เรือ่ งการทำ� หนังสือ และทำ�เป็นแต่งานบรรณาธิการ ฉันเคยคิดมาตลอดว่าตัวเองเป็นคน “มือ ร้อน” ปลูกอะไรก็ตายหมด! แถมยังรูจ้ กั ต้นไม้นอ้ ยมาก แต่คงด้วยชะตาฟ้าลิขติ ให้ตอ้ งเป็นบรรณาธิการตกงานในยุคฟองสบูแ่ ตกเมือ่ ปี พ.ศ. 2540 ในทีส่ ดุ ก็จบั พลัดจับผลูมาเป็นแม่คา้ ขายเฟินในตลาดนัดจตุจกั ร ลองผิดลองถูกด้วยตัวเองทัง้ ในเรือ่ งการปลูกเฟินและการทำ�ธุรกิจค้าเฟินเป็นเวลานานกว่า 15 ปี จนกระทัง่ เก็บเกีย่ วประสบการณ์จบั เอางานทีร่ กั (การเขียน) กับสิง่ ทีร่ กั (เฟิน) มาผสม ผสานกัน ถ่ายทอดเป็นหนังสือเฟิน 4 เรือ่ ง ในบรรดาหนังสือไม้ประดับทีเ่ ขียนไว้ ทัง้ หมด 7 เรือ่ ง ทุกเรือ่ งจัดพิมพ์โดยสำ�นักพิมพ์บา้ นและสวน ดังนัน้ ไม่ส�ำ คัญหรอกว่าคุณจะ (คิดว่าตัวเอง) มือร้อนหรือมือเย็น เพราะ มือทุกมือสามารถปลูกต้นไม้ให้งดงามได้ หากพยายามเรียนรูแ้ ละทำ�ความเข้าใจ ธรรมชาติของต้นไม้ทน่ี �ำ มาเลีย้ ง ในเมือ่ ฉันทำ�ได้ คุณเองก็ยอ่ มทำ�ได้เช่นกัน!
My Ferns 9 My Life
เมือ่ ครัง้ ทีฉ่ นั เริม่ ตกหลุมรักเฟิน ในกรุงเทพฯ มีรา้ นจำ�หน่ายเฟินแทบนับ นิว้ ได้ รักแรกพบระหว่างฉันกับเฟินก้านดำ�เกิดขึน้ ทีร่ า้ นเฟินแห่งหนึง่ ด้านหลัง เสรีเซ็นเตอร์ (ปัจจุบนั เปลีย่ นชือ่ เป็นพาราไดซ์ปาร์ค) ส่วนเฟินทีส่ ะดุดตาสะดุดใจ มากในเวลานัน้ คือกนกนารีสฟี า้ ทีเ่ ลือ้ ยปกคลุมเต็มพืน้ ร้าน โอ... แม่เจ้า เกิดมาไม่ เคยเห็นต้นอะไรมีใบสีฟา้ ช่างน่าอัศจรรย์เสียจริงๆ แต่ใดใดในโลกล้วนอนิจจัง ทุก วันนีก้ นกนารีสฟี า้ ลุกลามเต็มสวนจนต้องคอยถอนทิง้ เพือ่ เปิดทางให้เฟินอืน่ ๆ ได้ งอกบ้าง!
กนกนารีสฟี า้ (Selaginella uncinata)
ป้าแอ๊ด (มัลลิกา สุคนธรักษ์) ราชินเี ฟินก้านดำ�เมืองไทยเคยเล่าให้ฟงั ว่าใน ยุคนั้นนักเล่นต้นไม้หลายท่านชวนกันไปเปิดร้านขายต้นไม้ด้านหลังเสรีเซ็นเตอร์ รวมทัง้ ตัวเธอเองด้วยเพราะอยูใ่ นละแวกบ้าน โดยจ้างคนดูแลร้านให้ แต่กเ็ ปิด จำ�หน่ายกันได้ไม่นานเนือ่ งจากขาดการประชาสัมพันธ์จงึ ไม่คอ่ ยมีลกู ค้า นับว่า เป็นโชคดีของฉันทีไ่ ด้มปี ระสบการณ์ในช่วงเวลาดังกล่าว จะว่าไปเฟินก้านดำ�ทีข่ าย My Ferns 10 My Life
กันในตอนนัน้ เป็นเพียงพันธุพ์ น้ื ๆ เช่น ก้านดำ�ใบกลาง เปรู ไบคัลเลอร์ พีคอ็ ก จอนใหญ่ ฯลฯ แต่กท็ �ำ ให้คนรักเฟินมือใหม่ตาลุกวาว
ก้านดำ�ใบกลาง (Adiantum tenerum)
ก้านดำ�จอนใหญ่ (Adiantum trapeziforme)
แหล่งขุมทรัพย์เฟินอีกแห่งหนึ่งของฉันคือสวนเฟินย่านอ่อนนุชของคุณ วิรชั บุญนำ�ศิรกิ จิ สมาชิกเก่าแก่ของสมาคมไม้ประดับแห่งประเทศไทย เขา เป็นสถาปนิกผูป้ ลูกเฟินด้วยใจรักและจำ�หน่ายเป็นรายได้เสริม และเป็นเจ้าของ เว็บไซต์สยามเฟิน ซึง่ เป็นเว็บไซต์เฟินแห่งแรกของไทยในสมัยทีฉ่ นั เพิง่ เริม่ ใช้ My Ferns 11 My Life
รู้เฟื่องเรื่องเฟิน ในบทนีเ้ ป็นข้อมูลเบือ้ งต้นทีจ่ ะทำ�ให้คณ ุ รูจ้ กั เฟินดีขน้ึ ซึง่ จะนำ�ไปสูค่ วาม เข้าใจธรรมชาติของเฟิน และช่วยให้ประสบความสำ�เร็จในการปลูกเฟินมากยิง่ ขึน้
เฟินนาคราชฟิจิ (Davallia fejeensis)
เฟิน หรือ เฟิร์น เชือ่ ว่าผูอ้ า่ นหลายท่านคงสงสัยมานานแล้วว่า คำ�ว่า Fern ในภาษาไทย ควรเขียนอย่างไร ฉันมีค�ำ ตอบให้ เฟิน = คำ�ภาษาไทยทีบ่ ญ ั ญัตขิ น้ึ สำ�หรับเรียกพืชกลุม่ นี้ เฟิรน์ = คำ�ทับศัพท์ภาษาอังกฤษ สรุปว่าเขียนได้ทง้ั สองแบบ แต่ฉนั คุน้ เคยกับการเขียนแบบแรกมากกว่า My Ferns 17 My Life
ใช่เฟินหรือไม่ มีพชื อืน่ ๆ ทีด่ เู หมือนเฟิน แต่ไม่ใช่เฟิน ได้แก่ ปรงและสนบางชนิด ข้อ สังเกตง่ายๆ ว่าพืชต้นนีใ้ ช่เฟินหรือไม่ คือดูทย่ี อดอ่อนซึง่ ขดม้วนเป็นวงก้นหอย ภาษาอังกฤษเรียกว่า fiddlehead และถ้าเป็นเฟินทีเ่ จริญเต็มทีแ่ ล้วจะบอกได้ ง่ายขึน้ จากการสังเกตอับสปอร์ทอ่ี ยูใ่ ต้ใบ
ยอดอ่อนและอับสปอร์ของเฟิน
My Ferns 18 My Life
ความเหมือนที่แตกต่าง เฟินบางชนิดก็ดไู ม่เหมือนเฟินเลยจริงๆ เช่น ผักแว่น (Marsilea crenata) ซึง่ เป็นเฟินน้�ำ ทีด่ คู ล้ายคลึงกับพืชคลุมดินสกุล Oxalis ทัง้ ยังมีชอ่ื ไทยเหมือนกัน จนทำ�ให้หลายคนเข้าใจผิด วิธสี งั เกตง่ายๆ คือ Oxalis corniculata มีดอกเล็กๆ สีเหลือง เพราะฉะนัน้ จึงไม่ใช่เฟินอย่างแน่นอน
ผักแว่น (Marsilea crenata)
ผักแว่นหรือส้มกบ (Oxalis corniculata) My Ferns 19 My Life
สปอร์คืออะไร จุดหรือแถบสีด�ำ หรือสีน�ำ้ ตาลใต้ใบเฟินทีเ่ จริญเต็มที่ คือ กลุม่ อับสปอร์ ซึง่ ห่อหุม้ สปอร์ไว้ภายใน สปอร์เปรียบได้กบั เมล็ดของพืชดอก มีขนาดเล็กมาก เหมือนผงฝุน่ เมือ่ อับสปอร์แก่จะแตกออก ปลดปล่อยสปอร์นบั ร้อยนับพันปลิว ล่องลอยไปในอากาศ หากตกลงในทีท่ ม่ี สี ภาพแวดล้อมเหมาะสมก็สามารถงอก ขึน้ เป็นเฟินต้นใหม่ได้
อับสปอร์ของเฟินแต่ละสกุลมีลกั ษณะแตกต่างกัน
ผงสปอร์สเี หลืองร่วงออกจากอับสปอร์ของเฟินสกุล Microsorum My Ferns 22 My Life
วงจรชีวิตของเฟิน (Fern Life Cycle) วงจรชีวติ ของเฟินแบ่งออกเป็น 2 ช่วง เมือ่ สปอร์เริม่ งอกจะพัฒนาเป็น โครงสร้างสีเขียวบางๆ รูปคล้ายหัวใจ เรียกว่าโพรแทลลัส ซึง่ สร้างเซลล์สบื พันธุ์ เพศผู้ (สเปิรม์ ) และเพศเมีย (ไข่) อยูใ่ นอวัยวะสืบพันธุแ์ ยกกัน เมือ่ สภาพ แวดล้อมเหมาะสมและมีความชุม่ ชืน้ เพียงพอ สเปิรม์ จะแหวกว่ายไปผสมกับไข่ เกิดเป็นไซโกต ก่อนทีจ่ ะพัฒนาขึน้ เป็นต้นอ่อน
เฟินต้นอ่อนจะอาศัยโพรแทลลัสหาอาหารในระยะแรก แล้วค่อยๆ พัฒนา รากและลำ�ต้นจนสมบูรณ์ เจริญเติบโตขึน้ เป็นต้นเฟินทีแ่ ข็งแรง และสร้างสปอร์ เพือ่ แพร่พนั ธุต์ อ่ ไป My Ferns 23 My Life
ส่วนต่างๆ ของเฟิน (Fern Structure)
My Ferns 24 My Life
รูปทรงของใบเฟิน ใบเดีย่ ว (simple)
ใบประกอบแบบขนนกชัน้ เดียว (pinnate)
ใบประกอบแบบขนนก 2-3 ชัน้ (bipinnate/tripinnate)
My Ferns 25 My Life
อัศจรรย์ประการทีส่ อง คือ นอกจากเฟินจะขึน้ เองได้งา่ ยแล้ว ยังมักมี เฟินหน้าตาแปลกใหม่โผล่ขน้ึ มาให้เราได้ลนุ้ กันอยูเ่ สมอ เนือ่ งจากเฟินบางสกุล กลายพันธุง์ า่ ยมาก ทีเ่ ห็นชัดเจนและมีโอกาสมากทีส่ ดุ คือเฟินก้านดำ�และไมโครซอรัม ทีผ่ า่ นมาฉันได้เฟินกลายพันธุท์ ม่ี ลี กั ษณะโดดเด่นเป็นจำ�นวนมาก ตัวอย่าง เช่นเฟินสกุลไมโครซอรัมทีฉ่ นั ตัง้ ชือ่ ว่า Microsorum punctatum ‘Crested Fantasy’ เฟินเหล่านีข้ น้ึ เองในสวน ไม่ได้เกิดจากการเพาะสปอร์ ทำ�ให้นกึ ว่าหาก ทำ�การเพาะพันธุอ์ ย่างจริงๆ จังๆ คงได้เฟินพันธุใ์ หม่มากกว่านีอ้ กี หลายเท่า
Microsorum punctatum ‘Crested Fantasy’
มีขอ้ คิดอย่างหนึง่ ทีอ่ ยากฝากถึงนักปลูกเฟิน เนือ่ งจากคนส่วนมากมักจะ เรียกเฟินหน้าตาแปลกใหม่วา่ “ลูกผสม” ทัง้ ๆ ทีไ่ ม่รแู้ น่ชดั ว่าต้นใดเป็นพ่อแม่ พันธุก์ นั แน่ โดยเฉพาะพวกทีง่ อกขึน้ เองตามธรรมชาติ ดังได้กล่าวแล้วว่าเฟินเป็น พืชทีก่ ลายพันธุง์ า่ ยมาก ดังนัน้ เราจึงควรเรียกเฟินกลุม่ นีว้ า่ “เฟินพันธุใ์ หม่” หรือ “เฟินกลายพันธุ”์ จะเหมาะกว่าการเรียกว่าเฟินลูกผสม My Ferns 28 My Life
กูดต้น กูดดอย เฟินสกุล Cyathea เป็นเฟินทีส่ ามารถเติบโตมีล�ำ ต้นสูงใหญ่เหมือนต้นไม้ ทัว่ ไป จึงเรียกกันว่ากูดต้นหรือทรีเฟิน (Tree Fern) ส่วนเฟินสกุล Blechnum ซึง่ มีชอ่ื ไทยว่ากูดดอย แม้จะสามารถเติบโตขึน้ เป็นลำ� แต่ไม่ใช่ล�ำ ต้นทีส่ งู ใหญ่ เหมือนกูดต้น จากประสบการณ์ฉนั ยังไม่เคยพบ Blechnum ทีม่ ขี นาดสูงเกิน 1.5 เมตรเลย (แม้วา่ ข้อมูลจากวิกพิ เี ดียจะระบุวา่ มี Blechnum 2-3 ชนิดใน เอกวาดอร์สงู ได้ถงึ 3 เมตร แต่คงยากทีจ่ ะเจอต้นจริง) ปัญหาคือผูค้ า้ บางรายมักจะขายกูดดอยโดยเรียกว่าทรีเฟิน ซึง่ ทำ�ให้คนซือ้ เข้าใจผิด เลีย้ งนานแค่ไหนก็ไม่มที างสูงใหญ่ได้ตามต้องการ อีกทัง้ ราคาของเฟิน ทัง้ สองสกุลยังแตกต่างกันค่อนข้างมากตามปริมาณสินค้าทีม่ ใี นท้องตลาด
เปรียบเทียบชัดๆ 2 ต้นเล็กด้านซ้ายคือกูดดอย ด้านขวาคือกูดต้น My Ferns 29 My Life
My Ferns 30 My Life
หลักควรรู้สู่การเป็นนักปลูกเฟินมืออาชีพ เฟินอาจเป็นพรรณไม้ทด่ี บู อบบาง ชวนให้รสู้ กึ ว่าต้องดูแลเอาใจใส่มากกว่า ไม้ประดับอืน่ ๆ แต่อนั ทีจ่ ริงเพียงแค่ท�ำ ความเข้าใจหลักสำ�คัญ 5 ประการในการ ปลูกเฟินให้กระจ่างแจ้ง คุณจะพบว่าจริงๆ แล้วเฟินปลูกง่ายกว่าทีค่ ดิ หลักควรรูก้ อ่ นเสาะหาเฟินมาปลูกเลีย้ ง มีดงั นี้
สภาพแวดล้อม แม้ว่าเฟินจะมีความหลากหลายและพบได้ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน สุดขัว้ ตัง้ แต่เฟินเกาะหินทีข่ น้ึ อยูก่ ลางแสงแดดจ้า ไปจนถึงเฟินคลุมดินทีง่ อกงาม ตามพืน้ ป่าใต้รม่ เงาหนาทึบของไม้ใหญ่ ซึง่ ได้รบั แสงแดดเพียงเล็กน้อยเท่านัน้ แต่ปัจจัยสำ�คัญอย่างหนึ่งซึ่งเอื้อต่อการดำ�รงชีวิตของเฟินในทุกสภาพแวดล้อม ก็คอื ความชุม่ ชืน้ ในอากาศ ดังนัน้ ไม่วา่ บ้านของคุณจะแดดแรงหรือร่มรืน่ ก็ยงั สามารถเลือกปลูกเฟินได้หลากหลายชนิด เพียงแค่รกั ษาความชุม่ ชืน้ ของสภาพ แวดล้อมให้พอเหมาะ โดยอาจปลูกต้นไม้ใหญ่ทใ่ี บไม่หนาทึบเกินไปเพือ่ ให้เป็น ร่มเงา หรือปลูกไม้พมุ่ รายรอบสวนเฟินเพือ่ ช่วยเก็บกักความชุม่ ชืน้ และป้องกันลม My Ferns 31 My Life
โรค แมลงศัตรู และการป้องกันกำ�จัด โรคจากเชือ้ ราและแบคทีเรีย จากประสบการณ์ของฉัน เฟินส่วนมากไม่คอ่ ยมีปญ ั หาเรือ่ งโรค ยกเว้น เฟินบางสกุล เช่น เฟินข้าหลวง เฟินชายผ้าสีดา ทีอ่ าจเป็นโรคเน่า โรคราสนิม โรคใบไหม้ โรคใบจุด โรคแอนแทร็กโนส ฯลฯ และมักพบปัญหามากขึน้ ในฤดูฝน เพราะความชืน้ แฉะทำ�ให้เกิดโรคระบาดง่าย
เฟินข้าหลวงและเฟินชายผ้าสีดามักเกิดโรคง่าย My Ferns 50 My Life
การป้องกันและแก้ไขเบื้องต้นทำ�ได้โดยการจัดสภาพแวดล้อมให้อากาศ ถ่ายเทดี เพือ่ ให้น�ำ้ ระเหยไปอย่างรวดเร็ว และควบคุมการรดน้�ำ ให้พอเหมาะ การป้องกันโรคดีกว่าการแก้ปญ ั หาทีหลัง แต่หากเกิดโรคขึน้ แล้วอาจจำ�เป็น ต้องใช้ผลิตภัณฑ์เคมีในการควบคุมและกำ�จัดโรค ซึง่ หาซือ้ ได้ตามร้านจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์การเกษตรทัว่ ไป ข้อแนะนำ�ในการใช้ผลิตภัณฑ์เคมีครั้งแรกควรลองใช้ในอัตราส่วนเจือจาง กว่าทีร่ ะบุในฉลากเล็กน้อยเพือ่ สังเกตอาการเฟินก่อน เนือ่ งจากเฟินบางชนิดอ่อน ไหวต่อสารเคมี อาจทำ�ให้ใบไหม้ได้
หนอนผีเสือ้ คือศัตรูตวั ฉกาจของเฟิน
แมลงศัตรู ปัญหาของนักเลีย้ งเฟินมักเกีย่ วกับแมลงศัตรูมากกว่าโรค ไม่วา่ จะเป็น หนอนผีเสือ้ ตัก๊ แตน แมลงปีกแข็ง ทีช่ อบกัดกินใบอ่อนของเฟิน หรือพวกแมลง หวีข่ าว เพลีย้ แป้ง เพลีย้ หอย ไรแดง ทีด่ ดู กินน้�ำ เลีย้ งจากใบ ซึง่ มักระบาดเป็นช่วง เวลาในแต่ละปีและกำ�จัดยาก ดังนัน้ จึงควรป้องกันไว้กอ่ นโดยใช้สารป้องกันและ กำ�จัดแมลงฉีดพ่นเป็นประจำ� โดยอาจเลือกใช้สารสกัดจากชีวภาพซึง่ ปลอดภัย ต่อชีวติ และสิง่ แวดล้อม แต่หากเกิดปัญหารุนแรงอาจจำ�เป็นต้องใช้ผลิตภัณฑ์เคมี สำ�หรับกำ�จัดศัตรูพชื ซึง่ มีขอ้ แนะนำ�ในการใช้เช่นเดียวกับสารควบคุมโรค My Ferns 51 My Life
My Ferns 60 My Life
การขยายพันธุ์ การขยายพันธุเ์ ฟินทำ�ได้ 4 วิธี ได้แก่ การผ่าแยกกอ การชำ� การเพาะ สปอร์ และการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่ แต่ในทีน่ ฉ้ี นั จะแนะนำ�เพียง 3 วิธแี รกซึง่ นิยม ทำ�กันในเมืองไทย ดังนี้
การผ่าแยกกอ เป็นวิธขี ยายพันธุท์ ง่ี า่ ย ได้ผลเร็ว แต่ถา้ มีตน้ แม่พนั ธุน์ อ้ ยจะทำ�ปริมาณได้ ช้า ไม่เหมาะกับการผลิตเฟินเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ เฟินทีน่ ยิ มผ่าแยกกอมักเป็น ชนิดทีแ่ ตกหน่อง่าย หรือไม่สามารถขยายพันธุด์ ว้ ยสปอร์ได้ มีขน้ั ตอนดังนี้
1. พิจารณาว่าเฟินมียอดใหม่กย่ี อด เมือ่ ผ่าแล้วทุกกอควรมีอย่างน้อย 1 ยอด
My Ferns 61 My Life
การเก็บสปอร์ อับสปอร์ของเฟินแต่ละชนิดมีลกั ษณะแตกต่างกัน เมือ่ แก่จะเปลีย่ นเป็นสี น้�ำ ตาลหรือสีด�ำ และเปิดออกเพือ่ ปลดปล่อยสปอร์ให้แพร่พนั ธุต์ อ่ ไป ในระยะนีต้ อ้ ง หมัน่ สังเกต อาจใช้แว่นขยายช่วยส่องดูให้เห็นชัดเจนขึน้
สปอร์ของ Diplazium donianum ร่วงลงมามากมาย
การเก็บสปอร์ท�ำ ได้โดย 1. เตรียมกล่องทีม่ ฝี าปิดขนาดพอเหมาะ วางกระดาษสีขาวไว้ขา้ งในเพือ่ รองรับใบเฟิน 2. ตัดใบเฟินทีแ่ ห้งสนิท วางบนกระดาษ ปิดฝากล่องเพือ่ ป้องกันการปน เปือ้ นจากสปอร์อน่ื ๆ ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ แต่ควรแง้มฝาไว้เล็กน้อยให้อากาศถ่ายเทได้ 3. ใบเฟินจะค่อยๆ แห้งลงภายใน 1-3 วัน หากสปอร์สมบูรณ์จะแตกออก และหลุดร่วงลงบนกระดาษ 4. เมือ่ สปอร์แตกออกหมดแล้ว เก็บใบเฟินทิง้ ควรนำ�สปอร์ไปเพาะทันที เพราะสปอร์สดใหม่มคี ณ ุ ภาพดีทส่ี ดุ แต่ถา้ ยังไม่สะดวกสามารถเก็บสปอร์โดยห่อ กระดาษใส่ไว้ในตูเ้ ย็นเพือ่ ช่วยรักษาคุณภาพ ไม่ควรเก็บสปอร์ในซองพลาสติก เพราะจะทำ�ให้เกิดเชือ้ ราง่าย My Ferns 66 My Life
วัสดุอปุ กรณ์ในการเพาะสปอร์และแยกปลูก 1. พีตมอสส์ 2. กล่องพลาสติกใสพร้อมฝาปิด หรือตะกร้าและถุงพลาสติกใสสำ�หรับห่อหุม้ 3. พูก่ นั สำ�หรับโรยผงสปอร์ 4. ปากคีบสำ�หรับแยกปลูก 5. กระบอกฉีดน้�ำ
การเพาะสปอร์ 1. เตรียมวัสดุเพาะโดยการนึง่ ต้ม หรือผ่านความร้อนในไมโครเวฟเพือ่ ฆ่า เชือ้ โรคและสิง่ ปนเปือ้ นต่างๆ เช่น สปอร์เชือ้ ราหรือเฟินทีไ่ ม่ตอ้ งการ แล้วใส่ลงใน ภาชนะ เช่น กระถาง ตะกร้า หรือกล่องพลาสติกใส ปิดฝาแล้วทิง้ ไว้ให้เย็น 2. ใช้พกู่ นั แตะผงสปอร์แล้วเคาะลงบนวัสดุเพาะให้กระจายทัว่ 3. ปิดฝากล่องให้สนิทหรือใช้ถงุ พลาสติกใสหุม้ ภาชนะเพือ่ ควบคุมความชืน้ นำ�ไปวางในทีร่ ม่ รำ�ไร อย่าให้ถกู แสงแดดจัดโดยตรง 4. อย่าลืมเขียนชือ่ เฟินและวันทีเ่ พาะติดไว้ทก่ี ล่องด้วย
My Ferns 67 My Life
My Ferns 72 My Life
My Fern Collection ภาพเฟิน 332 ภาพต่อไปนีเ้ ป็นเฟินส่วนหนึง่ ทีฉ่ นั สะสมไว้ บางต้นยังอยูด่ ี บางต้นลาจากกันไปแล้ว แต่กน็ �ำ มารวบรวมไว้เพือ่ บันทึกชือ่ ให้เป็นประโยชน์แก่ คนอ่าน โดยจัดวางภาพเรียงลำ�ดับอักษรตามชือ่ วิทยาศาสตร์ ไม่ได้แยกเฟินตาม วงศ์หรือสกุล เพือ่ ให้คน้ หาง่าย และนำ�กลุม่ พืชใกล้เคียงกับเฟิน (fern allies) ได้แก่ Huperzia และ Selaginella ไปบันทึกไว้ทา้ ยสุด สำ�หรับต้นทีย่ งั ไม่แน่ใจ ฉันระบุกว้างๆ เป็น species หมายถึงเฟินชนิด แท้ cultivar หมายถึงเฟินพันธุป์ ลูกทีเ่ กิดจากการเพาะเลีย้ ง และใช้ค�ำ ว่า sport สำ�หรับต้นทีท่ ราบแน่ชดั ว่าเป็นเฟินกลายพันธุใ์ นธรรมชาติ อนึง่ ข้อมูลเจาะลึกเฉพาะเฟินก้านดำ� ติดตามอ่านกันได้ในหนังสือ “เฟิน ก้านดำ�” ของฉันซึง่ จัดพิมพ์โดยสำ�นักพิมพ์บา้ นและสวน ออกจำ�หน่ายกลาง เดือนสิงหาคม 2559
My Ferns 73 My Life
Acrostichum aureum ปรงไข่
Adiantum aethiopicum ก้านดำ�ออสเตรเลีย
Adiantum aethiopicum ‘Mrs Frost’
Adiantum capillus-veneris กูดผา
My Ferns 74 My Life
Adiantum capillus-veneris ‘Imbricatum’
Adiantum capillus-veneris ‘Shishi’
Adiantum caudatum ก้านดำ�หางนาคบก
Adiantum concinnum ก้านดำ�คอนซินนัม
My Ferns 75 My Life
Anemia mexicana
Angiopteris evecta เฟินกีบแรด
Angiopteris fokiensis กีบแรดจีน (เวียดนาม)
Angiopteris palmiformis กีบแรดฟิลปิ ปินส์
My Ferns 92 My Life
Angiopteris smithii กีบแรดอินโด
Asplenium antiquum f. variegata ข้าหลวงญีป่ นุ่ ด่าง
Asplenium bulbiferum เฟินแม่ลกู อ่อน
Asplenium colubrinum cultivar ข้าหลวงฟิลปิ ปินส์
My Ferns 93 My Life
Asplenium colubrinum cultivar ข้าหลวงฟิลปิ ปินส์
Asplenium confusum กระปรอกหางแมว
Asplenium daucifolium เฟินแม่มอริเชียส
Asplenium longissimum
My Ferns 94 My Life
Asplenium macrophyllum
Asplenium musifolium (A. nidus var. musifolium)
Asplenium musifolium ‘Cobra’
Asplenium musifolium ‘Irian Jaya’
My Ferns 95 My Life
Cibotium barometz เฟินลูกไก่ทอง
Coniogramme japonica
Cyathea cooperi กูดต้นออสเตรเลีย
Cyclopeltis crenata เฟินปีกแมลงทับ
My Ferns 106 My Life
cyclopeltis semicordata
Cyclosorus aridus
Cyclosorus dentatus
Cyclosorus interruptus My Ferns 107 My Life
Drynaria quercifolia sport กระแตพูนศักดิ์
Drynaria rigidula กูดเฟือย, กระปรอกเล็ก
Drynaria sparsisora กูดฮอก
Drynaria sparsisora cultivar My Ferns 116 My Life
Drynaria cultivar กระแตมงกุฎ
Goniophlebium percussum เฟินเนคไท
Haplopteris ensiformis เฟินเชือกผูกรองเท้า
Hemionitis arifolia เฟินใบหัวใจ
My Ferns 117 My Life
Polypodium fallax
Polypodium cultivar
Psilotum complanatum หวายทะนอยใบแบน
Psilotum nudum หวายทะนอย
My Ferns 140 My Life
Pteris argyraea อินเดียด่าง
Pteris blumeana var. variegata อาลาบาด่าง
Pteris cretica ‘Rivertoniana’ ริเวอร์โทเนียนา
Pteris ensiformis
My Ferns 141 My Life
Huperzia carinata สร้อยนารี
Huperzia dalhousiana หางสิงห์บลู
Huperzia goebelii ช้องบลู
Huperzia nummularifolia ระย้าเกล็ดหอย My Ferns 152 My Life
Huperzia phlegmaria ช้องนางคลี่
Huperzia sieboldii สร้อยญีป่ นุ่
Huperzia squarrosa หางสิงห์, หางค่าง
Selaginella braunii กนกนารีฟลอริดา
My Ferns 153 My Life
My Ferns 158 My Life
บรรณานุกรม จารุพนั ธ์ ทองแถม, ม.ล. (2536). เฟิน สำ�หรับคนรักเฟินและผูป้ ลูกมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริน้ ติง้ กรุพ๊ . __________. (2537). เฟิน ชุดที่ 2. กรุงเทพฯ: บ้านและสวน. __________. (2539). เฟิน ต้นตระกูลไม้ประดับ ฉบับปรับปรุงและเพิม่ เติม. กรุงเทพฯ: บ้านและสวน. จารุพนั ธ์ ทองแถม และปิยเกษตร สุขสถาน. (2550). Ferns. กรุงเทพฯ: สารคดี. __________. (2554). บัญชีรายการทรัพย์สนิ ชีวภาพเฟิน. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานพัฒนา เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน). ภัทรา แสงดานุช. (2555). Fern mania รวมพลคนรักเฟิน. กรุงเทพฯ: บ้านและสวน. ภัทรา แสงดานุช และวีระ โดแวนเว. (2549). ปลูกเฟินอย่างมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: บ้าน และสวน. สุภาภรณ์ รอดประดิษฐ์ และพรเสด็จ จันทร์แช่มช้อย. เฟินโครงการหลวง. เชียงใหม่: ทรีโอ แอดเวอร์ไทซิง่ แอนด์ มีเดีย. Boonkerd, T. and Pollawatn, R. (2000). Pteridophytes in Thailand. Bangkok: Office of Environmental Policy and Planning. Gick, J.E. (1977). Ferns from mother nature. California: Future Crafts Today. Goudey, C.J. (1985) Maidenhair Ferns in cultivation. Hong Kong: Bookbuilders. Hoshizaki, B.J. and Moran R.C.(2001) Fern grower’s manual. Rev. and ex- panded ed. Hong Kong: Timber Press. Jones, D.L. (1998). Encyclopedia of ferns. Oregon: Timber Press. Jones, D.L. and Goudey, C.J. (1984). Ferns in Australia. NSW: Reed. Jones, D.L. and Clemesha, S.C. (1993). Australian ferns and fern allies. Singapore: The Currawong Press. Mickel, J.T. (2003). Ferns for American Gardens. Oregon: Timber Press. Richard, M. (2000). Garden Ferns. Oregon: Timber Press. Valier, K. (1995). Ferns of Hawaii. Singapore: A Kolowalu Book. Wee Yeow Chin. (2005). Ferns of the tropics. (Rev. ed.). Singapore: Times Editions-Marshall Cavendish. My Ferns 159 My Life