รายงานประจำปี 2554

Page 1





สารบัญ CONTENTS สารจากผู้อำานวยการสำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ Message from the Director-General ประวัติความเป็นมาของสำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ Background of the Public Debt Management Office • ประเด็นยุทธศาสตร์ Strategies • เป้าประสงค์ Objectives • กลยุทธ์ Strategic Implementation Plan โครงสร้างสำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ จำานวนข้าราชการ ณ 30 กันยายน 2554 คณะผู้บริหารสำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ผลการปฏิบัติราชการภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก Strategy 1 : Pro-active Debt Management • ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ให้เป็นเสาหลักทางการเงิน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงิน Strategy 2 : Developing Domestic Bond Market to be a sustainable source of funding for the stability of Thailand’s financial system • ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ Strategy 3 : Fostering Organisation’s Strength and Efficiency งบการเงินของสำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ บทความวิชาการสำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ • พระราชกำาหนด 4 ฉบับ กับภารกิจของ สบน. • แนวทางการดำาเนินโครงการเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำาและสร้างอนาคตประเทศ ภายใต้พระราชกำาหนดให้อำานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำา และสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 • แนวคิดในการจัดทำาแผนการบริหารหนี้สาธารณะเชิงบูรณาการ ภาพรวมหนี้สาธารณะ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ประมวลภาพกิจกรรม ทำาเนียบผู้บริหาร ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2555 PDMO Management Team (as of September 2012)

4 10 11 12 13 14 16 17 27 28 34 51 60 82 83 89 97 101 114 124


สารจากผู้อำานวยการ นวยการสำสำ�นักง� ง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ Message from the Director-General

ในปี 2554 นี้ นับเป็นปีที่ 9 ที่สำ�นักงง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ (สบน.) ได้จัดตั้งขึ้น ซึ่งห�กมอง ย้อนกลับถึงก�รทำ ก �ง�นในปีงบประม�ณ 2554 จะเห็นว่� สบน. มีก�รก้�วไปข้�งหน้�อย่�ง มั่นคง มีก�รบริห�รจัดก�รหนี้ส�ธ�รณะอย่�งมีประสิทธิภ�พ ถึงแม้จะมีคว�มท้�ท�ยจ�ก ปัจจัยทั้งภภ�ยในและภ�ยนอกประเทศ ไม่ว่�จะเป็นภ�วะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวภ�ยในประเทศ อัตรร�ดอกเบีย้ นโยบ�ยที่เพิ่มสูงขึ้น หรือเศรษฐกิจโลกทีช่ ะลอตัวจ�กปัญห�หนี้ส�ธ�รณะใน ยุโรปก็ต�ม The fiscal year 2011 was the 9th year that the Public Debt Management Office (PDMO) has officially been established. Looking back to our performance in the past year, PDMO has stepped forward solidly. We have managed the public debt efficiently under many challenges such as domestic economic slowdown, increasing policy rate and the global economic slowdown from the European debt crisis.

4

รายงานประจำาปี 2554 • 2554 • สำสำ�นักง� ง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ



ผมคงปฏิ เ สธไม่ไ ด้ ว่ � ในช่ ว งปี 2554 ทีผ่ ่� นม� ปั ญ ห�หนี้ ส�ธ�รณะในยุโรปนับเป็นประเด็นที่ส�ธ�รณชนให้คว�มสนใจและ แสดงคว�มกังวลค่อนข้�งม�ก ไม่ว่�จะเป็นในแง่ของผลกระทบ ต่อก�รเจริญเติบโตท�งเศรษฐกิจหรือผลต่อแนวท�งก�รบริห�ร หนี้ส�ธ�รณะและคว�มยั่งยืนท�งก�รคลังของประเทศ สบน. ใน ฐ�นะหน่วยง�นที่ทำ�หน้�ที่บริห�รจัดก�รหนี้ส�ธ�รณะได้ดำ�เนิน ก�รบริห�รจัดก�รหนีใ้ นเชิงรุกอย่�งต่อเนือ่ งและมีประสิทธิภ�พ เพื่อให้แน่ใจว่�ระดับหนีส้ �ธ�รณะและภ�ระหนีต้ ่องบประม�ณ ร�ยจ่�ยจะยังคงอยู่ในระดับที่เหม�ะสม ไม่เป็นอันตร�ยต่อคว�ม ยัง่ ยืนท�งก�รคลังและเสถียรภ�พท�งเศรษฐกิจของประเทศ โดย ในปีงบประม�ณ 2554 สบน. ได้ดำ�เนินก�รจัดห�เงินทุนให้แก่ รัฐบ�ลและรัฐวิส�หกิจเพื่อชดเชยก�รข�ดดุลงบประม�ณและ ใช้จ�่ ยในโครงก�รลงทุนเพื่อพัฒน�ประเทศ รวมถึงปรับโครงสร้�ง หนีข้ องภ�ครัฐให้อยู่ภ�ยใต้ตน้ ทุนและคว�มเสี่ยงที่เหม�ะสม เป็น วงเงินรวมเกือบ 1 ล้�นล้�นบ�ท นอกจ�กนี้ ยังมีก�รบริห�รคว�ม เสี่ยงหนี้เงินกู้ของภ�ครัฐและลดภ�ระดอกเบี้ย โดยก�รชำ�ระคืน หนี้ก่อนกำ�หนดเป็นวงเงินรวมเกือบ 2 หมื่นล้�นบ�ทอีกด้วย

6

รายงานประจำาปี 2554 • 2554 • สำสำ�นักง� ง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

It could not be denied that during the year 2011, the European debt crisis has been one of the major concerns that public were widely considered and discussed for its effects to the economic growth, the public debt management guideline and fiscal sustainability. In this regards, PDMO, as a sole agent that is responsible for public debt management, has been proactively and efficiently managed the country’s debts to ensure that the public debt level and debt service to government budget expenditure ratio are appropriated and will not violate the fiscal sustainability and economic stability. In the FY 2011, PDMO raised funds for government and the State Owned Enterprises (SOEs) to finance the budget deficit and invest in their infrastructure projects, and restructured public sector’s debts within appropriated costs and risks, in the total amount around 1 trillion Baht. In addition, PDMO managed the risk and decreased interest burden of public sector’s debts by debt prepayments, in the total amount of 20 billion Baht.


ในส่ว นของก�รพั ฒ น�ตร�ส�รหนีใ้ นประเทศซึ ่ง เป็น อีก ยุท ธศ�สตร์ ห นึง่ ของ สบน. นัน้ สบน. ได้ พั ฒ น�ตล�ด ตร�ส�รหนีใ้ ห้มีคว�มเป็นส�กล โดยก�รออกพันธบัตรรัฐบ�ล เพื่อใช้เป็นอัตร�อ้�งอิง (Benchmark Bonds) อย่�งเป็นระบบ ตลอดจนพัฒน�ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อตอบสนองคว�มต้องก�รของ นักลงทุนไม่ว�่ จะเป็นพันธบัตรรัฐบ�ลประเภทผลตอบแทนอ้�งอิง อัตร�เงินเฟ้อ (Inflation Linked Bonds) ตั๋วสัญญ�ใช้เงินอัตร� ดอกเบี้ยคงที่ (Fixed Rate Promissory Notes) และพันธบัตร รัฐบ�ลรุ่นอ�ยุ 50 ปี (50-year Loan Bonds) รวมถึงได้มีก�ร จำ�หน่�ยพันธบัตรรัฐบ�ลผ่�นเครื่องถอนเงินสดอัตโนมัติ (ATM) เป็นครั้งแรก เพื่อสนับสนุนให้ประช�ชนทั่วไปส�ม�รถเข้�ถึงและ ลงทุนในแหล่งออมเงินที่มั่นคงและมีคุณภ�พ ในโอก�สนี้ ผมหวังว่�ร�ยง�นประจำ�ปีฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ใน ก�รส่งเสริมคว�มรู้และเสริมสร้�งคว�มเข้�ใจให้แก่ส�ธ�รณชน เกี่ยวกับก�รดำ�เนินง�นของ สบน. ให้ม�กขึ้น สุดท้�ยนี้ ใน น�มของข้�ร�ชก�ร พนักง�นร�ชก�ร และลูกจ้�งของ สบน. ผมขอขอบคุณส่วนร�ชก�ร รัฐวิส�หกิจ สถ�บันก�รเงิน และ หน่วยง�นอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้องทีใ่ ห้คว�มร่วมมือและก�รสนับสนุน ก�รดำ�เนินง�นของ สบน. เป็นอย่�งดีเสมอม� ผมหวังเป็น อย่�งยิ่งว่�จะได้รับคว�มร่วมมืออันดีเช่นนีต้ ่อไปในอน�คต เพื่อ ที่ สบน. จะส�ม�รถดำ�เนินก�รบริห�รจัดก�รหนี้ส�ธ�รณะใน เชิงรุกและเป็นองค์กรที่เป็นมืออ�ชีพในก�รบริห�รหนีส้ �ธ�รณะ เพื่อก�รพัฒน�ประเทศอย่�งยั่งยืนต่อไป

As one of PDMO strategies, PDMO has developed the domestic bond market to reach the international standard by systematically issued benchmark bonds. PDMO also developed new products to meet investors’ needs such as Inflation Linked Bonds, Fixed Rate Promissory Notes and 50-year Loan Bonds. Moreover, we have provided additional alternative for the saving bonds distribution channels by allowing retail investors to buy saving bonds via ATM, in order to promote retail investors to invest in secured and quality securities. In this regards, I hope that this Annual Report will be useful to provide the public the knowledge and promote better understanding about PDMO operations. Lastly, in the name of PDMO staffs, I would like to thank every government agencies, SOEs, financial institutions and other related agencies, for their continuously well supports and co-ordinations. I wish that we will continue to receive well supports in the future so PDMO will be able to manage the public debt proactively and be the professional organisation in public debt management for country’s sustainable development.

นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล

Chakkrit Parapuntakul Chakkrit Parapuntakul

ผู้อำานวยการสำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

Director-General

ANNUAL REPORT 2011 • 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

7


Vision

Professional in Public Debt Management for Sustainable Economic and Social Developmente

nt

Values

Transparency, Discipline, Trustworthiness, Driving Social and Economic Development

Mission Formulate sound public debt management policies and strategies as well as conduct,

monitor and evaluate public debt management operations under the relevant legal framework and guidelines.


วิสัยทัศน์ เป็นมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ค่านิยม โปร่งใส วินัยดี มีเครดิต ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม พันธกิจ บริหารหนี้สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารหนี้สาธารณะ โดยการวางแผนกำากับ และ

ดำ า เนิ น การก่ อ หนี ้ คำ้ า ประกั น และปรั บ โครงสร้ า งหนี ้ข องรั ฐ บาล หน่ ว ยงานในกำ า กั บ ดู แ ลของรั ฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมทั้งการชำาระหนี้ของรัฐบาล และการติดตามและ ประเมินผลการดำาเนินงาน เพื่อให้การบริหารหนี้สาธารณะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเสริมสร้าง ความยั่งยืนทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประวัติความเป็นมาของสำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ Background of the Public Debt Management Office สำ�นักง�นบริห�รหนีส้ �ธ�รณะ (สบน.) จัดตั้งขึ้นต�มมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 1 ตุล�คม 2542 โดยในระยะแรก มีสถ�นะเป็นหน่วยง�นในสังกัดสำ�นักง�นปลัดกระทรวงก�รคลัง ก่อน จะได้รับก�รยกระดับเป็นส่วนร�ชก�รในระดับกรม สังกัดกระทรวงก�รคลัง โดยสมบูรณ์ต�ม พระร�ชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 โดยได้รวมง�นของ 2 หน่วยง�น เข้�ด้วยกัน ได้แก่ สำ�นักง�นเศรษฐกิจก�รคลังในส่วนของกองนโยบ�ยเงินกู้ กองนโยบ�ยเงินกู้ ตล�ดเงินทุน กองโครงก�รลงทุนเพื่อสังคม ศูนย์ขอ้ มูลที่ปรึกษ�ไทย กรมบัญชีกล�งในส่วนง�น หนีส้ �ธ�รณะและเงินคงคลัง และกลุ่มวิเคร�ะห์หนี้ส�ธ�รณะและเงินคงคลัง ก�รรวมง�นของ 2 หน่วยง�นข้�งต้นเข้�ไว้ด้วยกันก็เพื่อสร้�งคว�มเป็นเอกภ�พในก�รบริห�รจัดก�รหนี้ ส�ธ�รณะของประเทศ โดยมีหน้�ที่คว�มรับผิดชอบในก�รบริห�รจัดก�รหนี้ของประเทศ เบ็ดเสร็จเพียงหน่วยง�นเดียว ทั้งนี้ เพื่อให้ก�รดำ�เนินก�รเป็นไปอย่�งมีระบบ มีประสิทธิภ�พ และส�ม�รถควบคุมดูแล ก�รก่อหนี้โดยรวมเพื่อให้ภ�ระหนี้ส�ธ�รณะอยู่ในระดับที่สอดคล้อง กับฐ�นะก�รเงินก�รคลังของประเทศ และในปีงบประม�ณ พ.ศ. 2551 สบน. ได้ทบทวน บทบ�ทและปรับปรุงก�รแบ่งส่วนร�ชก�รภ�ยใน เพื่อรองรับกระบวนก�รและแนวท�งก�ร ดำ�เนินง�น โดยยึดหลักเกณฑ์ให้ผ้รู บั บริก�รต้องได้รบั คว�มสะดวก รวดเร็วและคว�มพึงพอใจ ซึ่งสอดคล้องกับทิศท�งก�รปฏิบัติร�ชก�รแนวใหม่

10

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ประเด็นยุทธศาสตร์ Strategies l บริห�รจัดก�รหนีส้ �ธ�รณะในเชิงรุก (Pro-active Debt

Management) l พัฒน�ตล�ดตร�ส�รหนี้ให้เป็นเส�หลักท�งก�รเงิน เพื่อ

เสริมสร้�งคว�มแข็งแกร่งของระบบก�รเงิน l พัฒน�องค์กรให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภ�พ

l Pro-active public debt management l Developing domestic bond market to be a sustainable

source of funding for the stability of Thailand’s financial system l Fostering organisation’s strength and efficiency

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

11


เป้าประสงค์ Objectives 1. แผนก�รบริห�รหนี้ส�ธ�รณะมีคว�มชัดเจน สอดคล้องกับ 1. Public debt management plan is clear and consistent ทิศท�งก�รพัฒน�ประเทศต�มนโยบ�ยรัฐบ�ล with the direction of the government development policies 2. ก�รบริ ห �รหนี้ ส �ธ�รณะให้ ม ีต ้ น ทุน ทีเ่ หม�ะสมและอยู่ ภ�ยใต้กรอบคว�มเสี่ยงที่ยอมรับได้

2. Minimise cost of funding under acceptable risk level

3. ชำ�ระหนี้ให้ถูกต้อง ครบถ้วนและตรงต�มกำ�หนดเวล�

3. Accurate and timely debt repayment

4. ผู้รับบริก�รและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีคว�มพึงพอใจ

4. Maintain stakeholders’ satisfaction

5. เป็นแหล่งระดมทุนที่ยั่งยืนในประเทศ

5. Sustainable domestic source of funding

6. มี ก �รออกพั น ธบัต รรั ฐ บ�ลอย่ � งสมำ่ � เสมอเพื ่อ สร้ � ง 6. Regular benchmark bond issuance to develop อัตร�ดอกเบี้ยอ้�งอิง และสภ�พคล่องในตล�ดรอง reliable government bond yield curve and 7. มีก�รพัฒน�ผลิตภัณฑ์ท่หี ล�กหล�ยเพื่อรองรับคว�มต้องก�ร enhanced Liquidity in the Secondary Market ของนักลงทุน 7. Government securities diversification to deepen the 8. มี ร ะบบข้ อ มูล และเทคโนโลยีส �รสนเทศทีท่ ัน สมัย และ domestic bond market and to serve investors’ need สร้�งคว�มเชื่อมโยงในก�รทำ�ง�น 8. Effective data and information system 9. มี ร ะบบก�รบริ ห �รง�นและระบบทรั พ ย�กรบุ ค คลที่ มี 9. Effective workflow and human resource management ประสิทธิภ�พ 10. บุคล�กรมีคว�มรู้ คว�มส�ม�รถ มีคว�มเป็นมืออ�ชีพ

10. Highly capable and professional personnel

11. มีสถ�นที่ในก�รดำ�เนินง�นที่เหม�ะสมกับสภ�พขององค์กร 11. Modern and stimulating workplace และบุคล�กร 12

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


กลยุทธ์ Strategic Implementation Plan 1. บริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก

1. Manage public debt pro-actively

2. ให้คำาปรึกษาแนะนำาทางด้านข้อมูลและวิชาการ รวมถึงการ 2. Provide information and academic advisory ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจด้านหนี้สาธารณะในเชิงรุก and promote the understanding on pro-active debt management 3. พัฒนางานวิจยั และวิชาการเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ หนี้สาธารณะ 3. Develop academic research in public debt management 4. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานตลาดตราสารหนี้ 4. Develop domestic bond market infrastructure 5. พั ฒ นาผลิต ภั ณ ฑ์ต ราสารหนีใ้ ห้ ม ีค วามหลากหลาย มี นวัตกรรมทางการเงินทีใ่ ช้ในตลาดสากล และสอดคล้อง 5. Diversify government securities and use international กับความต้องการของนักลงทุน financial innovation that serve investors’ need 6. พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ

6. Enhance data and information technology system

7. พัฒนาระบบบริหารงานและระบบทรัพยากรบุคคล

7. Enhance workflow and human resource management system

8. พั ฒนาบุค ลากรให้ม ีความรู ้ ความสามารถ และมีค วาม เป็นมืออาชีพ 8. Enhance personnel’s capabilities and professionalism

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

13


ผู้อำ�นวยก�รสำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

โครงสร้าง

สำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ที่ปรึกษ�ด้�นหนี้ส�ธ�รณะ รองผู้อำ�นวยก�รสำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

สำ�นักนโยบ�ย และแผน

สำ�นักบริห�ร ก�รชำ�ระหนี้

สำ�นักง�น เลข�นุก�รกรม

สำ�นักจัดก�รหนี้ 1

สำ�นักพัฒน� ตล�ดตร�ส�รหนี้

ผู้เชี่ยวช�ญเฉพ�ะ ด้�นหนี้ส�ธ�รณะ และเงินคงคลัง

ผู้เชี่ยวช�ญเฉพ�ะ ด้�นบริห�รก�รชำ�ระหนี้

ฝ่�ยบริห�รง�นทั่วไป

ผู้เชี่ยวช�ญเฉพ�ะ ด้�นเงินกู้โครงก�ร

ส่วนพัฒน�ตล�ด ตร�ส�รหนี้รัฐบ�ล

ส่วนนโยบ�ยและแผน

ส่วนบริห�รก�รชำ�ระหนี้ ในประเทศ

ฝ่�ยประช�สัมพันธ์

ส่วนจัดก�รเงินกู้ รัฐบ�ล 1

ส่วนบริห�รกองทุน และพัฒน�โครงสร้�ง พื้นฐ�น

ส่วนคว�มร่วมมือ ระหว่�งประเทศ

ส่วนบริห�รก�รชำ�ระหนี้ ต่�งประเทศ

ฝ่�ยก�รเจ้�หน้�ที่

ส่วนจัดก�รเงินกู้ รัฐบ�ล 2

ส่วนนโยบ�ย ตล�ดตร�ส�รหนี้ ระหว่�งประเทศ

ฝ่�ยคลัง

ส่วนจัดก�รเงินกู้ รัฐบ�ล 3

ฝ่�ยพัสดุ

ส่วนจัดก�รเงินกู้ หน่วยง�นอื่น

ส่วนวิเคร�ะห์แผนก�ร บริห�รคว�มเสี่ยง

ส่วนบริห�รเงินกองทุน

ส่วนวิจัยนโยบ�ย หนี้ส�ธ�รณะ

14

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


กลุ่มตรวจสอบภ�ยใน

รองผู้อำ�นวยก�รสำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

กลุ่มพัฒน� ระบบบริห�ร

สำ�นักจัดก�รหนี้ 2

สำ�นักบริห�ร ก�รระดมทุน โครงก�รลงทุนภ�ครัฐ

ส่วนบริห�รจัดก�ร เงินกู้ต่�งประเทศ รัฐวิส�หกิจ

ผู้เชี่ยวช�ญเฉพ�ะด้�น บริห�รหนี้ส�ธ�รณะ และภ�ระผูกพัน

ส่วนวิเคร�ะห์นโยบ�ย และแผนส�รสนเทศ

ส่วนบริห�รจัดก�ร เงินกู้ในประเทศ รัฐวิส�หกิจ

ส่วนนโยบ�ย และแผนก�รระดมทุน

ส่วนบริห�รระบบข้อมูล ส�รสนเทศ

ส่วนเงินกู้ตล�ดเงินทุน ต่�งประเทศ และก�รจัดอันดับ คว�มน่�เชื่อถือ

ส่วนวิเคร�ะห์ และจัดก�รเงินทุน โครงก�ร 1

ส่วนบริห�รจัดก�ร เงินให้กู้ต่อ และก�รชำ�ระหนี้ รัฐวิส�หกิจ

ส่วนวิเคร�ะห์ และจัดก�รเงินทุน โครงก�ร 2

ศูนย์เทคโนโลยี ส�รสนเทศ

กลุ่มกฎหม�ย

ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษ�ไทย

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

15


จำานวนข้าราชการ ณ 30 กันยายน 2554 ประเภทตำ�แหน่ง

ระดับตำ�แหน่ง

บริห�ร

สูง ต้น สูง ต้น ทรงคุณวุฒิ เชี่ยวช�ญ ชำ�น�ญก�รพิเศษ ชำ�น�ญก�ร ปฏิบัติก�ร ชำ�น�ญง�น

อำ�นวยก�ร วิช�ก�ร

ทั่วไป รวม

ช�ย 1 2 5 1 2 3 12 13 2 41

จำ�นวนคน หญิง 1 1 2 13 33 31 2 83

หม�ยเหตุ : ข้อมูล ณ 30 กันย�ยน 2554 สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะมีบุคล�กรทั้งสิ้น 210 คน ประกอบด้วย ข้�ร�ชก�ร 124 คน พนักง�นร�ชก�ร 8 คน และลูกจ้�งชั่วคร�ว 78 คน

ตำ�แหน่งบริห�รระดับสูง น�ยจักรกฤศฏิ์ พ�ร�พันธกุล

ผู้อำ�นวยก�รสำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

ตำ�แหน่งวิช�ก�รทรงคุณวุฒิ น�ยประวิช ส�รกิจปรีช�

ที่ปรึกษ�ด้�นหนี้ส�ธ�รณะ

ตำ�แหน่งบริห�รระดับต้น น�ยสุวิชญ โรจนว�นิช น�ยทวี ไอศูรย์พิศ�ลศิริ

16

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

รองผู้อำ�นวยสำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ รองผู้อำ�นวยสำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

รวม 1 2 6 1 1 4 16 45 44 4 124


คณะผู้บริหารสำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (1 ตุล�คม 2553 – 30 กันย�ยน 2554)

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

17


คณะผู้บริหารสำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ PDMO Management Team

นายจักรกฤศฏิ ์ พาราพันธกุล

นายประวิช สารกิจปรีชา

ผู้อำ�นวยก�รสำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

ที่ปรึกษ�ด้�นหนี้ส�ธ�รณะ

Mr.Chakkrit Parapuntakul

Mr.Prawit Sarakitprija

นายสุวิชญ โรจนวานิช

นายทวี ไอศูรย์พิศาลศิริ

Director - General

รองผู้อำ�นวยก�รสำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

Mr.Suwit Rojanavanich Deputy Director - General

18

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

Public Debt Advisor

รองผู้อำ�นวยก�รสำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

Mr.Thavee Aisoonpisarnsiri Deputy Director - General


คณะผู้บริหาร สำ�นักจัดก�รหนี้ 1 (Debt Management Bureau 1)

นายวิสุทธิ์ จันมณี

นายณรงค์ แก้วเศวตพันธุ์

นางสาวสิตา ธาดาภาคย์

ผู้อำ�นวยก�รสำ�นักจัดก�รหนี้ 1

ผู้เชี่ยวช�ญเฉพ�ะด้�นเงินกู้โครงก�ร

ผู้อำ�นวยก�รส่วนจัดก�รเงินกู้รัฐบ�ล 3

Mr.Wisut Chanmanee

Mr.Narong Keowsawetabhan

Ms.Sita Thadapak

Executive Director of the Debt Management Bureau 1

Senior Expert on Loan Project

Director of the Government Debt Management Division 3

นางสาวยอดเยาวมาลย์ สุคนธพันธุ์

นายถาวร เสรีประยูร

นายยุทธพงศ์ เอี่ยมแจ้ง

ผู้อำ�นวยก�รส่วนจัดก�รเงินกู้รัฐบ�ล 2

ผู้อำ�นวยก�รส่วนจัดก�รเงินกู้รัฐบ�ล 1

ผู้อำ�นวยก�รส่วนจัดก�รเงินกู้หน่วยง�นอื่น

Ms.Yodyaovamarn Sukonthaphant

Mr.Tharwon Seareeprayoon

Mr.Yuthapong Eamchang

Director of the Government Debt Management Division 2

Director of the Government Debt Management Division 1

Director of the Government Debt Management Division

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

19


คณะผู้บริหาร สำ�นักจัดก�รหนี้ 2 (Debt Management Bureau 2)

นางสาวเบญจมาศ เรืองอำานาจ

นางชนันภรณ์ พิศิษฐวานิช

Executive Director of the Debt Management Bureau 2

Ms.Benjamart Ruangamnart

Mrs.Chanunporn Phisitvanich

Director of the State Enterprise Domestic Debt Management Division

Director of the Debt Capital Market

นางปัณฑารีย ์ ศรีแก้วพันธ์

นางสาวเสาวนีย ์ จันทพันธ์

ผู้อำ�นวยก�รส่วนบริห�รจัดก�รเงินให้กู้ต่อและ ก�รชำ�ระหนี้รัฐวิส�หกิจ

รักษ�ก�รในตำ�แหน่งผู้อำ�นวยก�รส่วนบริห�รจัดก�ร เงินกู้ต่�งประเทศรัฐวิส�หกิจ

Mrs.Puntaree Srikaewpun

Ms.Saowanee Chantapun

นางสาวศิรสา กันต์พิทยา ผู้อำ�นวยก�รสำ�นักจัดก�รหนี้ 2

Ms.Sirasa Kanpittaya

Director of the On - Lending and Payment of State Enterprise Management Division

20

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

ผู้อำ�นวยก�รส่วนบริห�รจัดก�รเงินกู้ ในประเทศรัฐวิส�หกิจ

Director of the State Enterprise Foreign Debt Management Division

ผู้อำ�นวยก�รส่วนเงินกู้ตล�ดเงินทุน ต่�งประเทศและก�รจัดระดับคว�มน่�เชื่อถือ


คณะผู้บริหาร สำ�นักนโยบ�ยและแผน (Policy and Planning Bureau)

นายธาดา พฤฒิธาดา

นางสุณ ี เอกสมทราเมษฐ์

นางสาวสิริภา สัตยานนท์

Mr.Tada Phutthitada

Mrs.Sunee Eksomtramate

Ms.Siribha Satayanon

Executive Director of the Policy and Planning Bureau

Senior Expert on Public Debt and Treasury

Director of the International Cooperation Division

นายฐิติเทพ สิทธิยศ

นางสาวรานี อิฐรัตน์

นางสาวนีรชา มรกตราภรณ์

ผู้อำ�นวยก�รส่วนวิเคร�ะห์แผนก�รบริห�รคว�มเสี่ยง

ผู้อำ�นวยก�รส่วนวิจัยนโยบ�ยหนี้ส�ธ�รณะ

รักษ�ก�รในตำ�แหน่งผู้อำ�นวยก�รส่วนนโยบ�ยและแผน

Mr.Thitithep Sitthiyot

Ms.Ranee Itarat

Ms.Neeracha Morakottapron

Director of the Strategic Risk Management Division

Director of the Public Debt Policy Research Division

Director of the Policy and Planning Division

ผู้อำ�นวยก�รสำ�นักนโยบ�ยและแผน

ผู้เชี่ยวช�ญเฉพ�ะด้�นหนี้ส�ธ�รณะและเงินคงคลัง

ผู้อำ�นวยก�รส่วนคว�มร่วมมือระหว่�งประเทศ

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

21


คณะผู้บริหาร สำ�นักพัฒน�ตล�ดตร�ส�รหนี้ (Bond Market Development Bureau)

นางสาวพิมพ์เพ็ญ ลัดพลี

ผู้อำ�นวยก�รส่วนพัฒน�ตล�ดตร�ส�รหนี้รัฐบ�ล รักษ�ร�ชก�รแทนผูอ้ �ำ นวยก�ร สำ�นักพัฒน�ตล�ดตร�ส�รหนี้

Ms.Pimpen Ladpli

Director of the Government Bond Market Development Division Acting, Director of the Office of the Bond Market

นายณัฐการ บุญศรี ผู้อำ�นวยก�รส่วนบริห�รกองทุนและ พัฒน�โครงสร้�งพื้นฐ�น

Mr.Nattakarn Boonsri Director of the Fund Management and Bond Market Infrastructure Development Division

นางฉัตรมณี สินสิริ ผู้อำ�นวยก�รส่วนนโยบ�ยตล�ด ตร�ส�รหนี้ระหว่�งประเทศ

Mrs.Chatmanee Sinsiri Director of the International Bond Market Policy Division

คณะผู้บริหาร ศูนย์เทคโนโลยีส�รสนเทศ (Information Technology Center)

22

นางสาววราภรณ์ ปัญญศิริ

นายวศิน ชูจิตารมย์

นายครรชิต พะลัง

ผู้อำ�นวยก�รศูนย์เทคโนโลยีส�รสนเทศ

ผู้อำ�นวยก�รส่วนบริห�รระบบข้อมูลส�รสนเทศ

ปฏิบัติหน้�ที่ผู้อำ�นวยก�รส่วนวิเคร�ะห์นโยบ�ยและ แผนส�รสนเทศ

Ms.Waraporn Panyasiri

Mr.Vasin Choojitarom

Director of the Information Technology Center

Director of the Information System and Management Division

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

Mr.Kanchit Bhalang Senior Computer Technical Officer


คณะผู้บริหาร สำ�นักบริห�รก�รชำ�ระหนี้ (Payment Administration Bureau)

นายเอด วิบูลย์เจริญ

นายเอกราช เขื่อนขันธ์สถิตย์

ผู้อำ�นวยก�รสำ�นักบริห�รก�รชำ�ระหนี้

ผู้เชี่ยวช�ญเฉพ�ะด้�นบริห�รก�รชำ�ระหนี้

Mr.Ace Viboolcharern

Mr.Ekaraj Khuankhunsathid

Executive Director of the Payment Administration Bureau

Senior Expert on Debt Payment Management

นายอัคนิทัต บุญโญ

นางพรพิมล บุนนาค

ผู้อำ�นวยก�รส่วนบริห�รก�รชำ�ระหนี้ในประเทศ

ผู้อำ�นวยก�รส่วนบริห�รเงินกองทุน

Mr.Aknetat Boonyo

Mrs.Pornpimol Boonnag

Director of the Internal Debt Payment Division

Director of the Fund Management Division

นางสาวชิดชไม ไมตรี ผู้อำ�นวยก�รส่วนบริห�รก�รชำ�ระหนี้ต่�งประเทศ

Ms.Chidchamai Maitree Director of the External Debt Payment Division

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

23


24

นายธีรัชย์ อัตนวานิช

นางจินดารัตน์ วิริยะทวีกุล

นางสาวอรุณวรรณ ยมจินดา

ผู้อำ�นวยก�รสำ�นักบริห�รก�รระดมทุน โครงก�รลงทุนภ�ครัฐ

ผู้เชี่ยวช�ญเฉพ�ะด้�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ และภ�ระผูกพัน

ผู้อำ�นวยก�รส่วนวิเคร�ะห์และจัดก�รเงินทุนโครงก�ร 2

Mr.Theeraj Athanavanich

Mrs.Jindarat Viriyataveekul

Executive Director of the Public Infrastructure Project Financing Bureau

Senior Expert on Public Debt and Obligations

Director of the Project Financing Division 2

นางสาวอัญจนา วงศ์สว่าง

นางอนงค์นาฏ โมราสุข

นางสาวอุปมา ใจหงษ์

ผู้อำ�นวยก�รส่วนวิเคร�ะห์และจัดก�รเงินทุนโครงก�ร 1

ผู้อำ�นวยก�รศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษ�ไทย

ผู้อำ�นวยก�รส่วนนโยบ�ยและแผนก�รระดมทุน

Ms.Anchana Wongsawang

Mrs.Anongnart Morasook

Ms.Upama Jaihong

Director of the Project Financing Division 1

Director of the Consultant Database Center

Director of the Financing Policy and Planning Division

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

Ms.Arunwan Yomjinda


นายธีรลักษ์ แสงสนิท

นางสาวมนัสนันท์ ประเสริฐผล

นางสาวสุพรรณพิมพ์ บุญทิพย์

เลข�นุก�รกรม

หัวหน้�ฝ่�ยคลัง

หัวหน้�ฝ่�ยบริห�รง�นทั่วไป

Mr.Teeralak Sangsnit

Ms.Manusanan Prasertphol

Ms.Supanpim Bunthip

Secretary

Chief of Budgetary Division

Chief of General Administration

นางเสาวรส สีวรรณ์

นางรุ่งระวี รุกเขต

หัวหน้�ฝ่�ยพัสดุ

หัวหน้�ฝ่�ยก�รเจ้�หน้�ที่

Mrs.Sawaros Srivan

Mrs.Rungrawee Roogkate

Chief of Logistics Division

Chief of Human Resource Division

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

25


ผู้บริหาร กลุ่มพัฒน�ระบบบริห�ร (Public Sector Development Group)

ผู้บริหาร กลุ่มตรวจสอบภ�ยใน (Internal Audit Group)

นางสาวพรทิพย์ พันเลิศยอดยิ่ง ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มพัฒน�ระบบบริห�ร

Ms.Porntip Phunleartyodying Director of the Public Sector Development Group

ผู้บริหาร กลุ่มกฎหม�ย (Legal Advisory Group)

นายธีรเดช สิขิตตระกูลวงศ์ ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มกฎหม�ย

Mr.Teeradet Likitragolwong Director of the Legal Advisory Group

26

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

นางสาวโสภิดา ศรีถมยา

ผู้อำ�นวยก�รกลุ่มตรวจสอบภ�ยใน

Ms.Sophida Sritomya Director of the Internal Audit Group


ผลการปฏิบัติราชการภายใต้แผนปฏิบัติราชการ ประจำ�ปีงบประม�ณ พ.ศ. 2554 สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

27


ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก Strategy 1 Pro-active Debt Management 1. ก�รบริห�รจัดก�รหนี้ส�ธ�รณะในภ�พรวม สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ (สบน.) ในฐ�นะหน่วยง�นหลักซึ่งมีภ�รกิจหลักในบริห�ร จัดก�รหนี้ส�ธ�รณะของประเทศ โดยก�รว�งแผน กำ�กับ และดำ�เนินก�รก่อหนี้ คำ้�ประกัน และปรับโครงสร้�งหนีข้ องรัฐบ�ล หน่วยง�นในกำ�กับดูแลของรัฐ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และรัฐวิส�หกิจ รวมทั้งก�รชำ�ระหนี้ของรัฐบ�ล และก�รติดต�มประเมินผลก�รดำ�เนิน ง�นโครงก�รต่�งๆ เพื่อให้ก�รบริห�รหนีส้ �ธ�รณะเป็นไปอย่�งมีประสิทธิภ�พ เสริมสร้�งก�ร พัฒน�เศรษฐกิจและคว�มยั่งยืนท�งก�รคลังของประเทศ โดยในปีงบประม�ณ พ.ศ. 2554 สบน. ได้ด�ำ เนินก�รจัดห�เงินกูใ้ ห้สอดคล้องต�มคว�มต้องก�ร ของรัฐบ�ลและรัฐวิส�หกิจ เพื่อเข้�ม�ใช้ในก�รพัฒน�โครงสร้�งพืน้ ฐ�น ยกระดับคุณภ�พชีวติ และเพิ่มคว�มส�ม�รถในก�รแข่งขันของประเทศ โดยดำ�เนินก�รควบคูไ่ ปกับก�รบริห�รจัดก�ร หนี้ส�ธ�รณะให้อยู่ระดับที่มีเสถียรภ�พภ�ยใต้กรอบคว�มยั่งยืนท�งก�รคลัง กรอบก�รกู้เงิน และก�รคำ้�ประกันต�มกฎหม�ยและระเบียบทีเ่ กี่ยวข้องกับก�รบริห�รหนี้ส�ธ�รณะกำ�หนด

1. Public Debt Management Public Debt Management Office (PDMO) is a specialised organisation in formulating and executing public debt management strategies including issuing, acquiring funds for State Owned Enterprises (SOEs), managing public debt and overseeing public debt management operations in order to be a professional in public debt management and achieve the goal of fostering Thailand’s sustainable economic and social development.

28

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


พร้อมทั้งศึกษ� วิเคร�ะห์ผลกระทบของก�รกู้เงินต่อสภ�พคล่อง และเสถียรภ�พในระบบก�รเงินของประเทศ ค�ดก�รณ์แนวโน้ม ของตล�ดก�รเงิน และใช้เครื่องมือท�งก�รเงิน เพื่อไม่ให้เกิดก�ร แย่งเงินทุน (Crowding out) รวมทัง้ ส�ม�รถจัดห�แหล่งเงินกู้ และบริห�รต้นทุนก�รกู้เงินให้อยู่ในระดับตำ่�ภ�ยใต้เงื่อนไขและ กรอบคว�มเสี่ยงที่เหม�ะสม

In fiscal year 2011, PDMO has successfully acquired necessary funds to finance government expenditure and SOEs infrastructure projects with regards to national interests and fiscal sustainable framework. Furthermore, PDMO has forecasted trend and liquidity in financial market in order to prevent of crowding out effect.

แผนภาพที่ 1 : ผลการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ ตั้งแต่ปี 2551 – 2554 Graph 1: Result of Public Debt Management since 2008 - 2011 Million Baht

ล้�นบ�ท ลดหนี้คงค้�ง 79,795.07

100,000.00 80,000.00

80,000.00

60,000.00

60,000.00

40,000.00

40,000.00

ลดดอกเบี้ยได้ 3,836.93

20,000.00 0.00

2551

2552

2553

2554

ในปีงบประม�ณ พ.ศ. 2554 สบน. ได้บริห�รจัดก�รหนีข้ อง รัฐบ�ลและรัฐวิส�หกิจ รวมทั้งสิ้น 974,514.00 ล้�นบ�ท แบ่ง เป็นก�รก่อหนี้ใหม่ จำ�นวน 356,460.59 ล้�นบ�ท และก�ร บริห�รหนี้ จำ�นวน 617,943.41 ล้�นบ�ท ทั้งนี้ ผลจ�กก�ร บริห�รหนี้ในประเทศและต่�งประเทศของรัฐบ�ลและรัฐวิส�หกิจ ทำ�ให้ในปีงบประม�ณ พ.ศ. 2554 ส�ม�รถลดยอดหนี้คงค้�งได้ 79,795.07 ล้�นบ�ท รวมทัง้ ลดภ�ระและประหยัดดอกเบีย้ ได้ 3,836.93 ล้�นบ�ท ซึ่งเพิ่มขึ้นอย่�งต่อเนื่องตั้งแต่ปีงบประม�ณ 2551 (แผนภ�พที่ 1) โดยมีร�ยละเอียดต�มแผนก�รบริห�รหนี้ ส�ธ�รณะ (ต�ร�งที่ 1) ดังนี้

Decrease in debt outstanding 79,795.07

100,000.00

Decrease in interest burden 3,836.93

20,000.00 0.00

2008

2009

2010

2011

In fiscal year 2011, PDMO managed total 974,514.00 million Baht of public debt including 356,460.59 million Baht of new debt and 614,943.41 million Baht of refinancing debt. As the result, outstanding debt and debt services reduced by 79,795.07 million Baht and 3,836.93 million Baht, respectively. (As shown in graph 1) Table 1 shows the details of public debt management operation according to public debt management plan.

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

29


ตารางที่ 1 : ผลการดำาเนินงานตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจำาปีงบประมาณ 2554 Table 1: Public Debt Management Operations according to Public Debt Management Plan หน่วย : ล้�นบ�ท Unit : Million Baht หน่วยง�น Organisation

ผลก�รดำ�เนินง�น Operation ก�รก่อหนี้ใหม่ ก�รปรับโครงสร้�งหนี้ ก�รบริห�รคว�มเสี่ยง New Borrowing Refinancing Debt Risk Management

รัฐบ�ล Government

277,856.22

471,626.85

10,526.60

760,009.67

รัฐวิส�หกิจ SOEs

48,396.98

107,103.54

7,382.47

162,882.99

รัฐวิส�หกิจที่ ไม่ต้องขออนุมัติ SOEs which do not need cabinet’s approval

30,207.39

18,987.00

2,426.95

51,621.34

รวม Total

356,460.59

597,717.39

20,336.02

974,514.00

1.1 ก�รบริห�รจัดก�รหนี้ส�ธ�รณะในประเทศ 1.1.1 ก�รก่อหนี้ใหม่ (1) ก�รก่อหนีใ้ หม่ของรัฐบ�ล สบน. ได้จัดห� เงินกูใ้ ห้แก่รฐั บ�ลเพื่อชดเชยก�รข�ดดุลงบประม�ณหรือเมื่อร�ย จ่�ยสูงกว่�ร�ยได้ รวมทั้งสิ้น 200,666.04 ล้�นบ�ท โดยก�รออก ตั๋วเงินคลัง 45,691 ล้�นบ�ท พันธบัตรรัฐบ�ล 153,900 ล้�นบ�ท และพันธบัตรออมทรัพย์ 1,075.04 ล้�นบ�ท และเงินกูเ้ พื่อฟืน้ ฟู และเสริมสร้�งคว�มมั่นคงท�งเศรษฐกิจ รวมทั้งสิ้น 59,960.44 ล้�นบ�ท โดยก�รทำ�สัญญ�เงินกู้แบบ Term-Loan กับสถ�บัน ก�รเงิน 4 แห่ง ได้แก่ ธน�ค�รกรุงไทย จำ�กัด (มห�ชน) ธน�ค�ร กรุงเทพ จำ�กัด (มห�ชน) ธน�ค�รกสิกรไทย จำ�กัด (มห�ชน) และธน�ค�รออมสิน นอกจ�กนี้ สบน. ได้ลงน�มในสัญญ� เงิ น กู ้ กั บ ธน�ค�รออมสิน เพื ่อ ให้ ก�รรถไฟฟ้� ขนส่ ง มวลชน แห่งประเทศไทยกู้ต่อจำ�นวน 8,000.00 ล้�นบ�ท 30

รวม Total

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

1.1 Domestic Debt Management 1.1.1 New borrowing: (1) Government new borrowing: PDMO attained necessary fund to finance government expenditure totaled 200,666.04 million Baht through issuing 45,691 million Baht of T-bills, 153,900 million Baht of government bonds and 1,075.04 million Baht of saving bonds. Additionally, PDMO signed the Term Loan contracts with four financial institutions; Krung Thai Bank, Bangkok Bank, Kasikorn Bank and Government Saving Bank, totaled 59,960.44 million Baht to finance the Stimulas Package II projects. PDMO also on-lended 8,000 million Baht to Mass Rapid Transit Authority of Thailand (MRTA) in order to implement mass rapid transit network in the Blue line.


(2) การก่อหนีใ้ หม่ของรัฐวิสาหกิจ สบน. ได้ พิจารณาจัดหาเงินกู้ให้รัฐวิสาหกิจจากแหล่งเงินกู้ทมี่ ีเงื่อนไข และต้นทุนทางการเงินทีเ่ หมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ ใช้เงินของรัฐวิสาหกิจ เพือ่ ให้รฐั วิสาหกิจสามารถด�าเนินโครงการ และแผนงานได้อย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 รัฐวิสาหกิจได้กู้เงินเพื่อลงทุนและด�าเนินกิจการทัว่ ไปอืน่ ๆ รวม ทั้งสิ้น 48,396.98 ล้านบาท โดยกระทรวงการคลังค�้าประกัน/ กู้ต่อ วงเงิน 36,726.35 ล้านบาท และกระทรวงการคลังไม่ ค�้าประกัน วงเงิน 11,670.63 ล้านบาท โดยมีโครงการส�าคัญๆ อาทิ โครงการรถไฟฟ้าสายสีนา�้ เงิน โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย โครงการระบบรถไฟฟ้าในพื้นทีก่ รุงเทพมหานครและปริมณฑล ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน โครงการก่อสร้างทางเชื่อมต่อโครงการพิเศษ สายบางพลี-สุขสวัสดิ ์ กับถนนวงแหวนอุตสาหกรรม ของการทาง พิเศษแห่งประเทศไทย เป็นต้น

1.1.2 การปรับโครงสร้างหนี้

(1) การปรับโครงสร้างหนี้ของรัฐบาล ดังนี้

หนีเ้ งิน กู ้ เ พือ่ ชดเชยการขาดดุล งบประมาณ สบน. ได้ Roll-over ตัว๋ เงินคลังเพื่อบริหารดุลเงินสด วงเงิน 80,000 ล้านบาท และด�าเนินการแปลงตั๋วเงินคลังที่ได้กมู้ า เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมาในช่วงปีงบประมาณ 2542-2553 ทั้งหมดให้เป็นพันธบัตรวงเงิน 74,000 ล้านบาท

l

นอกจากนี ้ สบน. ได้ Roll-over

(2) SOEs new borrowing: PDMO acquired sources of fund with appropriated cost and subjected to acceptable risk to SOEs for their new and continuous project implementations. In FY 2011, SOEs borrowed 48,396.98 million Baht for various purposes; (1) Domestic borrowing to substitute external borrowing (2) Local cost financing (3) Project investments and (4) opreating expenses and other. Ministry of Finance has guaranteed and on-lending 36,726.35 million Baht for SOEs’ The major projects are the infrastructure investments by MRTA, which included Chaloem Ratchamongkhon Line and an extension network as the Blue line, the Bang-sue – Talingchan Mass transit by State Railway of Thailand and Bangplee Suksawad Expressway and the Outer Ring Expressway by Expressway Authority of Thailand.

พันธบัตรที่ครบก�าหนดช�าระในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จ�านวน 52,000 ล้านบาท จากเดิมมีแผนต้องปรับโครงสร้างหนี้ จ�านวน 87,012.86 ล้านบาท ทั้งนี้ ในระหว่างปีงบประมาณ สบน. ได้ 1.1.2 Debt Management: ท�าการบริหารจัดการงบช�าระหนี้ โดยน�างบช�าระหนีท้ ีเ่ หลือมา (1) Government Debt Management: ช�าระคืนหนี้ที่ครบก�าหนดบางส่วน จ�านวน 35,012.86 ล้านบาท PDMO as an authority of Ministry of Finance, Thailand l หนีเ้ งิน กู ้ เ พือ่ ชดใช้ ค วามเสี ย หาย successfully managed government debt for many ให้ ก องทุ น เพือ่ การฟื ้ น ฟูแ ละพัฒ นาระบบสถาบั น การเงิน purposes as follows: (Financial Institutions Development Fund: FIDF) สบน. ได้ดา� เนินการ Roll-over พันธบัตร FIDF1 ทีค่ รบก�าหนดช�าระใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จ�านวน 39,836 ล้านบาท โดยการออก ตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับสถาบันการเงิน 3 แห่ง ได้แก่ ธนาคารแห่ง

l PDMO roll-overed T-bill that borrowed for cash management in the amount of 80,000 million Baht and converted the budget deficit T-bill during FY 1999-2010 to long-term bonds in the

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

31


โตเกียว-มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ สาขากรุงเทพฯ ธนาคารกรุงไทย จ�ากัด (มหาชน) และธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด (มหาชน) รวมทั้งได้ Rollover พันธบัตร FIDF3 ที่ครบก�าหนดช�าระ จ�านวน 73,177.99 ล้านบาท โดยการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้าง หนี้จ�านวน 59,000 ล้านบาท และออกตั๋วสัญญาใช้เงินจ�านวน 14,177.99 ล้านบาท

amount of 74,000 million Baht. As the result of an efficient debt payment budget management, PDMO roll-overed matured bonds in the amount of 52,000 million Baht, lower than 87,012.86 million Baht of expected roll-over plan. l PDMO roll-overed the matured FIDF1 bonds in the amount of 39,836 million Baht by issuing new P/Ns for three financial institutions. Addtionally, PDMO roll-overed the due FIDF3 bonds in the amount of 73,177.99 million Baht through a new restructuring bonds issuance in the amount of 59,000 million Baht and P/Ns issuance in the amount of 14,177.99 million Baht.

หนี้เงินกู้เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความ มั่นคงทางเศรษฐกิจ สบน. ได้ด�าเนินการปรับโครงสร้างหนี้ เงินกู้เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจซึ่งเดิม เป็นสัญญาเงินกู้ วงเงินรวม 117,600 ล้านบาท ให้เป็นพันธบัตร รัฐบาล จ�านวน 43,000 ล้านบาท พันธบัตรรัฐบาลประเภท อัตราดอกเบีย้ แปรผันตามการเปลีย่ นแปลงของเงินเฟ้อ จ�านวน 40,000 ล้านบาท และเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินระยะยาว จ�านวน 34,600 ล้านบาท l PDMO has also restructured P/Ns for Stimulus Package 2 (Thaikhemkang) totaled (2) การปรับ โครงสร้ า งหนีข้ องรั ฐ วิส าหกิ จ 117,600 million Baht through issuance new government สบน. ได้เสนอแนะแนวทางการปรับโครงสร้างหนีส้ าธารณะแก่ bonds in the amount of 43,000 million Baht, Inflationรัฐวิสาหกิจ โดยใช้เครื่องมือทางการเงินทีเ่ หมาะสมในช่วงเวลา Liked Bond in the amount of 40,000 million Baht and ทีภ่ าวะตลาดการเงินทีเ่ อือ้ อ�านวย และสอดคล้องกับสถานะ long-term P/Ns 34,600 million Baht. ทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 รัฐวิสาหกิจด�าเนินการ Roll-over หนี้ที่ครบก�าหนด จ�านวน (2) SOEs Debt Management PDMO has advised 78,043.03 ล้านบาท โดยกระทรวงการคลังได้ค�้าประกันทั้งหมด the SOEs debt and risk management through using รวมถึงใช้รายได้ชา� ระคืนหนีท้ มี่ ีแผนจะ Roll-over อีก จ�านวน appropiated financial instruments that match their portfolio and financial market conditions. In fiscal year 29,060.51 ล้านบาท 2011, SOEs has rolled-over the matured debt, which 1.2 การบริหารจัดการหนี้สาธารณะต่างประเทศ Ministry of Fianance has guaranteed, in the amount of สบน. ได้ลงนามในสัญญาเงินกู้กับธนาคารพัฒนาเอเชีย 78,043.03 million Baht. SOEs also paid the scheduled (Asian Development Bank: ADB) เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ roll-over debt through revenues in the amount of 2554 วงเงิน 9,229.74 ล้านบาท หรือเทียบเท่า 300 ล้านเหรียญ 29,060.51 million Baht. สหรัฐ โดยได้ด�าเนินการเบิกจ่ายเงินกู้ดังกล่าวแล้ว จ�านวน 100 1.2 External Debt Management ล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นสกุลเงินบาท เท่ากับ 2,972.50 Government External borrowing ล้านบาท (อัตราแลกเปลี่ยน 1 เหรียญสหรัฐ ต่อ 29.725 บาท) PDMO has signed the loan agreement with Asian เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2554 เพื่อใช้ในโครงการภายใต้แผนปฏิบัติ Development Bank (ADB) in the amount of 300 million การไทยเข้มแข็ง 2555 และโครงการอืน่ ๆ เช่น โครงการจัดหา USD or equivalent to 9,229.74 million Baht on February ระบบตรวจสอบตู้คอนเทนเนอร์สินค้าด้วยเครื่องเอกซ์เรย์ของ 14, 2011. PDMO has disbursed this loan totaled 100 กรมศุลกากร เป็นต้น million USD or equivalent to 2,972.50 million Baht

32

l

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


(Exchange rate 1 USD = 29.275 Baht) on August 1, 2011 in order to operate the projects under the Thaikhemkang program. 1.3 Risk Management PDMO has not only managed risk of government debts but also advised risk management for SOEs. In the Fiscal Year 2011, both government and SOEs have managed risk totaled 17,909.07 million Baht. 1.3.1 Government Risk Management PDMO has managed risk by prepaying domestic debt in the 1.3 การบริหารความเสี่ยง amount of 6,576.52 million Baht and external debt สบน. ได้ด�าเนินการบริหารความเสีย่ งหนีเ้ งินกู้ของรัฐบาล in the amount of 3,950.05 million Baht. As the result, และเสนอแนะแนวทางการบริหารความเสี่ยงแก่รัฐวิสาหกิจ โดย the interest payment was reduced 417.25 million Baht ในปีงบประมาณ 2554 สบน. และรัฐวิสาหกิจได้บริหารความเสี่ยง for the domestic debt and 513.68 million Baht for the external debt. หนี้เงินกู้ วงเงินรวม 17,909.07 ล้านบาท ประกอบด้วย 1.3.1 การบริหารความเสี่ยงหนีข้ องรัฐบาล สบน. ได้ ด�าเนินการช�าระหนี้ในประเทศก่อนครบก�าหนดจ�านวน 6,576.52 ล้านบาท ท�าให้สามารถลดภาระดอกเบีย้ ได้ 417.25 ล้านบาท และด�าเนินการช�าระหนีต้ ่างประเทศก่อนครบก�าหนดจ�านวน 3,950.08 ล้านบาท ท�าให้สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้ 513.68 ล้านบาท

1.3.2 SOEs Risk Management PDMO has prepaid domestic debt in the amount of 5,195.10 million Baht; as the result, the interest payment was reduced in total of 302 million Baht. Additionally, SOEs has refinanced debt in Yen in the amount of 2,187.37 million Baht.

นอกจากนี้ ยังมีการบริหารจัดการหนีข้ องรัฐวิสาหกิจทีไ่ ม่ ต้องขออนุมัติคณะรัฐมนตรีภายใต้แผนการบริหารหนีส้ าธารณะ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบริษัทมหาชน เช่น บริษัท การบินไทย จ�ากัด (มหาชน) บริษทั ทีโอที จ�ากัด (มหาชน) เป็นต้น เพือ่ ให้รฐั วิสาหกิจ ดังกล่าวมีความคล่องตัวในการด�าเนินงาน โดยแบ่งเป็นการก่อหนี้ ใหม่ จ�านวน 30,207.39 ล้านบาท และการบริหารหนี้ จ�านวน 21,413.95 ล้านบาท

Generate Authority Thailand, Province Electric Authority, and Dhanarak Asset Development Co.,Ltd and TOTs signed the credit line contract without Ministry of Finance guaranteed in the amount of 15,500 million Baht. Additionally, Thai Airways rolled-over the dued debt in the amount of 21,413.95 million Baht.

Moreover, for the flexibility in debt management, 1.3.2 การบริห ารความเสี ่ย งหนีข้ องรัฐ วิส าหกิ จ some SOEs including listed companies such as Thai รัฐวิสาหกิจได้ด�าเนินการช�าระหนีใ้ นประเทศก่อนครบก�าหนด Airways could manage debt and risk without the จ�านวน 5,195.10 ล้านบาท ท�าให้สามารถลดภาระดอกเบี้ย cabinet’s approval. ได้ 302.00 ล้านบาท และด�าเนินการบริหารความเสี่ยงหนี้ In the Fiscal year 2011, TOTs borrowed new debt ต่างประเทศโดยการ Refinance หนีส้ กุลเงินเยนเป็นสกุลเงินบาท in the amount of 14,703.39 million Baht to operate จ�านวน 2,187.37 ล้านบาท the developing 3G mobile system project and Electric

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

33


ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ให้เป็นเสาหลักทางการเงิน เพือ่ เสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงิน Strategy 2 Developing Domestic Bond Market to be a sustainable source of funding for the stability of Thailand’s financial system การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศให้เป็นหนึ่งในสามเสาหลักทางการเงินควบคูก่ บั ตลาด ตราสารทุนและตลาดสินเชื่อจากธนาคารพาณิชย์ถือเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งทีก่ ระทรวงการคลัง ให้ความส�าคัญมาตลอด โดยได้จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาตลาดทุนไทยอันมีรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังเป็นประธานขึ้นเพื่อท�าหน้าที่พจิ ารณาก�าหนดนโยบายและทิศทาง ตลอดจน ติดตามดูแลและประเมินการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศและได้มอบหมายให้สา� นักงาน บริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้โดยก�าหนดให้การ พัฒนาตลาดตราสารหนี้เป็น 1 ใน 3 ยุทธศาสตร์หลักในการด�าเนินงานของ สบน. ในระยะเวลา 2 – 3 ปีทผี่ ่านมา ความต้องการระดมทุนของรัฐบาลได้เพิ่มสูงขึ้นอย่างก้าว กระโดดจากประมาณ 200,000 ล้านบาท ในช่วงก่อนวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศสหรัฐอเมริกา

One of the primary objectives of Ministry of Finance is to develop the domestic bond market to be one of the three pillars of the financial market, which includes the stock market and the bank loan market. In order to achieve this objective, Thailand Capital Market Development Committee, chaired by Finance Minister, has been appointed to set up policies, to oversee the implementation, and to assess the progress of the bond market development. Public Debt Management Office (PDMO) has been assigned to develop the domestic bond market which also is one of three main strategies of PDMO. In the recent years, the government funding requirement has drastically increased from approximately 200,000 million THB in pre-US crisis period

34

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


เป็นประมาณ 700,000 ล้านบาทในช่วงหลังวิกฤตเศรษฐกิจของ ประเทศสหรัฐอเมริกา สบน. จึงถือโอกาสนี้ท�าการพัฒนาตราสารหนี้ ชนิดใหม่ออกสูต่ ลาด โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ตราสารหนี้ ชนิดใหม่ท ี่ สบน. มีความภาคภูมิใจอย่างยิง่ และสร้างความโดด เด่น ให้กับตลาดตราสารหนีไ้ ทยเป็นอย่างมาก ได้แก่ พันธบัตร รัฐบาลรุ่นอายุ 50 ปี ซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศที่ 4 ในโลก ทีส่ ามารถออกพันธบัตรรัฐบาลทีม่ ีอายุยาวถึง 50 ปี ได้ส�าเร็จ และการออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบีย้ แปรผัน ตามการเปลีย่ นแปลงของเงินเฟ้อ (Inflation Linked Bond : ILB) รุ่นอายุ 10 ปี ซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศแรกใน ASEAN ที่สามารถออกตราสารหนีท้ มี่ ีความซับซ้อนเช่นนีไ้ ด้ส�าเร็จและ ท�าให้ประเทศไทยได้รับรางวัลจากสถาบันชั้นน�าต่างๆ ในระดับ สากลถึง 5 รางวัล ซึ่ง สบน. มีความเชื่อมั่นว่าความโดดเด่นของ การออกตราสารหนี้ทั้ง 2 ชนิดนี้เป็นการแสดงถึง “ความพร้อม” ของประเทศไทยที่จะก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ในฐานะผู้น�าด้านการพัฒนา ตลาดตราสารหนี้

to approximately 700,000 million THB in the post US crisis period. PDMO, in fact, takes this as an opportunity to develop new debt instruments some of which Thai bond market in the spotlight. These are, for example, 50-year Benchmark Bond which Thai government is the 4th country in the world to have issued super-long Benchmark Bond as well as 10-year Inflation Linked Bond launched in July 2011 has earned Thai government 5 distinguish awards from various institutions. Apparently, Thailand is the 1st in ASEAN to have issued such sophisticated product. From PDMO perspective, both 50-year Benchmark Bond and Inflation Linked Bond signal “readiness” of Thailand to step into the ASEAN Economic Community (AEC) with a transparent leading role in Bond Market Development. In order to enhance the effectiveness of domestic bond market to become an alternative source of funding and investment, the development in terms of liquidity and variety of bonds, as well as basic background system is needed. Therefore, as the main government agency with the task of developing the domestic bond market, PDMO has initiated and implemented the following 3 key strategies.

การพัฒนาตลาดตราสารหนีใ้ ห้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับ การระดมทุนของภาครัฐและเอกชน และเป็นหนึ่งในช่องทาง หลักให้นักลงทุนเลือกลงทุนจ�าเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อ เนือ่ งทัง้ ในด้านสภาพคล่อง ความหลากหลายของตราสารหนี้ ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ด้วยเหตุน ี้ ส�านักงานบริหาร หนี้สาธารณะ (สบน.) ซึง่ เป็นหน่วยงานหลักหน่วยงานหนึ่งในการ ด�าเนินการพัฒนาตลาดตราสารหนี้จงึ ได้ดา� เนินการโดยมีแนวทาง หลัก 3 ประการ คือ 1) Regularly issue benchmark bond in primary 1) ด�าเนินการออกพันธบัตร Benchmark ในตลาดแรกอย่าง market to enhance liquidity in secondary market and สม�่าเสมอเพื่อสร้างสภาพคล่องในตลาดรองและสร้างเส้นอัตรา construct government yield curve. ดอกเบี้ยอ้างอิงพันธบัตรรัฐบาล (Government Yield Curve) ซึ่งเป็นอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของตลาด 2) พัฒนาผลิตภัณฑ์ตราสารหนีป้ ระเภทใหม่และเพิ่มความ หลากหลายของตราสารหนีเ้ พื่อขยายฐานนักลงทุนทัง้ ในและ ต่างประเทศ

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

35


3) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เพื่อสร้างประสิทธิภาพ 2) Develop and introduce new instruments to ในการบริหารจัดการหนีส้ าธารณะและส่งเสริมการพัฒนาตลาด broaden the domestic and international investor ตราสารหนี้ในประเทศ base. ภายใต้แนวทางดังกล่าว สบน. จึงด�าเนินงานในปีงบประมาณ 3) Improve market basic infrastructure to promote พ.ศ. 2554 ดังต่อไปนี้ the development of the domestic bond market. 1. การออกพันธบัตร Benchmark เพื่อสร้างสภาพคล่องใน In accordance with the aforementioned strategies, ตลาดรองและสร้างเส้นอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงพันธบัตรรัฐบาล PDMO preceded the followings: (Government Yield Curve) 1. Regularly issue benchmark bond in primary อัตราดอกเบีย้ ของพั นธบัต รรัฐบาลเป็นอัตราดอกเบีย้ ทีภ่ าค market to enhance liquidity in secondary market เอกชนใช้อ้างอิงในการออกตราสารหนีท้ ุกชนิดของภาคเอกชน and construct government yield curve ดังนั้น สบน. จึงมุ่งพัฒนาแนวทางการออกพันธบัตรรัฐบาล PDMO has constantly aimed to construct an effective ประเภทอัตราดอกเบีย้ คงที ่ (Conventional Loan Bond) government yield curve since market participants เพื่ อ สร้ า ง Government Yield Curve ที่ มี ป ระสิท ธิ ภ าพ need to utilise it as a reference for raising funds. มาตลอด โดยแนวทางที่ประสบความส�าเร็จและมีการใช้มาตั้งแต่ Benchmark Bond, as a successful approach of ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 คือ “พันธบัตร Benchmark” หรือ constructing the effective government yield curve, “Benchmark Bond” ซึง่ มีองค์ประกอบหลัก 3 อย่างคือ 1) การ has been adopted and implemented since 2007. ก�าหนดให้พนั ธบัตรแต่ละรุน่ มีวงเงินคงค้างมากเพียงพอที่จะสร้าง PDMO has revised the strategy of benchmark bond in สภาพคล่องในตลาดรอง 2) การก�าหนดวงเงินการออกรายปีของ 3 ways. 1) issue a sizeable outstanding value of bond พันธบัตรแต่ละรุน่ ให้มีความแน่นอนและด�าเนินการออกพันธบัตร that which is sufficient for enhancing the liquidity ตามแผนการที่วางไว้เพื่อสร้างความมั่นใจให้กบั นักลงทุน และ 3) in secondary market. 2) maintain the announced การก�าหนดตารางประมูลพันธบัตรให้เหมาะสมต่อการสร้างสมดุล level of annual bond supply to gain investor ระหว่างความต้องการระดมทุนของภาครัฐและความต้องการ confidence as well as “trust”. 3) re-adjust the bond ลงทุนของนักลงทุน auction schedule to facilitate government’s funding ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 สบน. ได้มีการด�าเนินการออก requirement and investor’s demand. Conventional Loan Bond ทั้งหมด 363,900 ล้านบาท ซึ่ง In fiscal year 2011, PDMO issued conventional ประกอบด้วยรุ่นอายุ 5 7 10 12 15 20 30 และ 50 ปี โดย loan bonds with maturities of 5, 7, 10, 12, 15, 20, ก�าหนดให้ Conventional Loan Bond รุน่ อายุ 5 10 15 20 และ 30 and 50 years with a total amount of 363,900 30 ปี เป็น Benchmark Bond เหมือนในปีงบประมาณ พ.ศ. million THB. Benchmark bonds are 5, 10, 15, 20 2553 พร้ อ มทัง้ ก� า หนดเพิ ่ม เติ ม ให้ Conventional Loan and 30 years, including 7 and 50 years as two new Bond รุ่นอายุ 7 ปี ซึ่งเป็นรุ่นอายุทเี่ คยมีการออกแล้ว และ tenors of benchmark bonds. The 5-year, 7-year Government Loan Bond รุ่นอายุ 50 ปี ที่ออกครั้งแรกใน and 10-year benchmark bonds, and 12-year non-

36

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เป็น Benchmark Bond เพิ่มขึ้น อีก 2 รุ่น ซึ่งการออก Benchmark Bond รุ่นอายุ 50 ปี ท�าให้ ประเทศไทยเป็นประเทศที ่ 4 ของโลกทีม่ ี Yield Curve ยาว ถึง 50 ปีโดยส�าหรับการออก Benchmark Bond รุ่นอายุ 5 7 และ 10 ปี และ Conventional Loan Bond รุ่นอายุ 12 ปี เป็นการเพิ่มวงเงินจากพันธบัตรเดิมที่มีในตลาด (Re-open) และ Benchmark Bond รุ่นอายุ 15 20 30 และ 50 ปี เป็นการออก ใหม่ โดยมีรายละเอียดปริมาณการออก Conventional Loan Bond ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ดังตารางที่ 1

benchmark bond were re-opening of the existing bonds while 15-year, 20-year, 30-year, and 50-year benchmark bonds were new issuances. (Table 1) In addition, Thailand was the 4 th country in world to have launched the 50-year government bond successfully. The government yield curve has extended from 30 years to 50 years.

ตารางที่ 1 : ปริมาณการออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบีย้ คงทีใ่ นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 Table 1: Total Amount of Conventional Loan Bonds Issued in Fiscal Year 2011 ชื่อรุ่น Thai BMA Symbol

วงเงินที่ออก (ล้านบาท) New Issuance (million THB)

ยอดคงค้าง (ล้านบาท) Outstanding (million THB)

เครื่องมือ Instruments

รุ่นอายุ (ปี) Tenors (years)

Benchmark Bond

5

LB15DA

93,000

113,000

7

LB17OA

63,000

75,000

10

LB21DA

59,000

59,000

15

LB25DA

43,000

43,000

20

LB316A

41,900

41,900

30

LB416A

27,000

27,000

50

LB616A

13,000

13,000

Non-Benchmark Bond

12

LB236A

24,000

32,000

รวมปริมาณ Conventional Loan Bond ที่ออกในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 Total new conventional loan bonds issued in 2011

363,900

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

37


ผลการออกพันธบัตร Benchmark ในปีงบประมาณ พ.ศ. Benchmark Bonds Issuance Results of Fiscal Year 2554 2011 ตลาดแรก – Benchmark Bond รุ่นอายุ 5 ปี (LB15DA) และ Primary Market – 5-year benchmark bond (LB15DA) and 10 ปี (LB21DA) มี Bid Coverage Ratio (BCR) ที่ 1.9 และ 10-year Benchmark bond (LB21DA) have Bid Coverage 2.5 ซึง่ แสดงให้เห็นถึงความต้องการลงทุนในพันธบัตรที่หนาแน่น Ratio (BCR) at 1.9 and 2.5 times, respectively. It can be implied that there is the strong demand in investing in ตลาดรอง – Benchmark Bond รุ่นอายุ 5 ปี (LB15DA) และ government bond. 10 ปี (LB21DA) มีมูลค่าการซื้อขายในตลาดรอง 320,568 ล้านบาท และ 152,323 ล้านบาท ซึ่งนับเป็นมูลค่าการซื้อขาย Secondary Market – 5-year benchmark bond (LB15DA) ที่สูงเป็นอันดับที่ 1 และ 4 ในตลาดรอง และมี Turnover Ratio and 10 Benchmark bond (LB21DA) have trading volume อยู่ที่ 2.8 เท่า และ 2.6 เท่า สูงที่สุดในตลาด ซึ่งแสดงให้เห็นว่า of 320,568 and 152,323 million THB, which are the 1st พันธบัตรมีสภาพคล่องอยู่ในระดับทีด่ ี โดยพันธบัตรทีม่ ีมูลค่า and the 4th highest trading volume in the secondary การซื้อขายสูงเป็นอันดับที่ 2 และ 3 คือ Benchmark Bond รุ่น market, and have turnover ratio at 2.8 and 2.6 times อายุ 5 ปี ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และ 2553 ได้แก่ LB145B which is the highest turnover ratio in the market. และ LB155A ซึ่งมีมูลค่าการซื้อขายในตลาดรอง 223,648 These indicators indicated that the bonds have decent ล้านบาท และ 177,219 ล้านบาท ตามล�าดับ แต่มี Turnover liquidity. Additionally, the 2nd and the 3rd highest trading Ratio อยู่ที่ 1.8 และ 1.7 เท่า ซึ่งต�่ากว่า Turnover Ratio ของ volume bonds are 5 years Benchmark Bond of fiscal LB21DA แสดงให้เห็นว่า LB21DA มีสภาพคล่องสูงกว่าแต่มียอด year 2009 and 2010 which are LB145B and LB155A. Even though, LB15DA and LB21DA have trading volume of การซื้อขายต�่ากว่าเนื่องจากมียอดคงค้างที่ต�่ากว่า 223,648 and 177,219 million THB, turnover ratios of the bonds are only at 1.8 and 1.7 times which is lower than turnover ratios of LB21DA. These indicated that LB21DA performed better than LB15DA and LB21DA in term of liquidity and the reason that LB21DA has lower trading volume than LB15DA and LB21DA is because LB21DA has lower outstanding than LB15DA and LB21DA.

38

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ตารางที่ 2 : เปรียบเทียบดัชนีชี้วัดความสำาเร็จของการออกพันธบัตร Benchmark ของรัฐบาล ในตลาดแรกและตลาดรอง Table 2 : Results Comparisons of Benchmark Bonds in Primary and Secondary Market ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 FY2009 LB145B LB183A

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 FY2010 LB155A LB196A

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 FY2011 LB15DA LB21DA

(อายุ 5 ปี) (อายุ 10 ปี) (อายุ 5 ปี) (อายุ 10 ปี) (อายุ 5 ปี) (อายุ 10 ปี) 5 years 10 years 5 years 10 years 5 years 10 years ดัชนีชี้วัดในตลาดแรก (Primary Market Indicators) Bid Coverage Ratio

2.0

1.6

2.6

1.8

1.9

2.5

วงเงินประมูลต่อครั้ง (ล้านบาท) Auction Size (million THB)

10,000- 15,000

10,000- 12,000

10,000- 13,000

8,000- 15,000

10,000- 20,000

7,000- 13,000

ยอดคงค้าง (ล้านบาท) Outstanding (million THB)

121,035

86,632

101,572

99,994

113,000

59,000

ดัชนีชี้วัดสภาพคล่องในตลาดรอง* (Secondary Market Indicators*) ล าำ ดับความนิยมในตลาดรอง Ranking in Secondary Market

1

2

1

4

1

4

2.4

2.2

4.2

1.4

2.8

2.6

Turnover Ratio (เท่า) (times)

สัดส่วนการซื้อขาย พันธบัตรในตลาดรอง Proportion in Secondary Market

20.3%

16.1%

25.5%

8.3%

19.6%

9.3%

ปริมาณซื้อขาย ในตลาดรอง (ล้านบาท) Traded in Secondary Market (million THB)

288,897

188,634

429,592

139,978

320,568

152,323

* ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

* For fiscal year 2011

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

39


- พันธบัตรที่มีล�าดับความนิยมในตลาดรองเป็นอันดับที่ 2 - The 2nd and the 3rd highest trading volume และ 3 คือ Benchmark Bond รุ่นอายุ 5 ปี ของปีงบประมาณ bonds are 5-year Benchmark Bond of fiscal year 2009 พ.ศ. 2552 และ 2553 ได้แก่ พันธบัตรรุน่ LB145B และ LB155A and 2010 which are LB145B and LB155A - LB145B มี Turnover Ratio 1.8 เท่า และมีปริมาณ - LB145B has a turnover ratio at 1.8 times and ซื้อขายในตลาดรอง 223,648 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ trading volume of 223,648 million THB which accounted 13.7 ในตลาดรอง for 13.7% of Secondary market trading - LB155A มี Turnover Ratio 1.7 เท่าและมีปริมาณ - LB155A has a turnover ratio at 1.4 times and ซื้อขายในตลาดรอง 177,219 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ trading volume of 177,219 million THB which accounted 10.8 ในตลาดรอง for 10.8% of Secondary market trading 2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ตราสารหนีป้ ระเภทใหม่เพือ่ ขยาย 2. Develop and introduce new instruments to ฐานนักลงทุน broaden the domestic and foreign investor base 2.1 พันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว 2.1 Floating Rate Bond (FRB) (Floating Rate Bond : FRB) In fiscal year 2011, PDMO issued 1 new serie ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 สบน. ได้ด�าเนินการ of 4-year FRB, LB14NA, which later in the fiscal year, ออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบีย้ ลอยตัว (Floating was re-opened to build up an outstanding to 46,000 Rate Bond : FRB) รุ่นอายุ 4 ปี จ�านวน 1 รุ่น คือ LB14NA และ million THB. In order to demonstrate the cooperation ท�าการเพิ่มวงเงินบนพันธบัตรรุน่ เดิม (Re-open) ให้มียอดคงค้าง between the Ministry of Finance and the Bank of 46,000 ล้านบาท ณ สิ้นปี โดยพันธบัตร FRB ดังกล่าวมีอัตรา Thailand and promote as well as build up liquidity ดอกเบีย้ อ้างอิงระยะสัน้ ตลาดกรุงเทพ (Bangkok Interbank of Bangkok Interbank Offered Rate (BIBOR), LB14NA is Offered Rate : BIBOR) เป็นอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ซึ่งเป็นการ using the 6-month BIBOR as a reference rate in interest ร่วมมือกันระหว่างกระทรวงการคลัง โดย สบน. และธนาคารแห่ง calculation. ประเทศไทย (ธปท.) ในการส่งเสริมการใช้อัตราดอกเบี้ย BIBOR 2.2 Fixed-Rate Promissory Notes 2.2 ตั๋วสัญญาใช้เงินอัตราดอกเบี้ยคงที่ PDMO emphasises on the development of สบน. ได้ให้ความส�าคัญกับการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ domestic bond market, as well as develop the new ควบคู่กับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตราสารหนีใ้ ห้ตอบสนองความ instrument to response the investors demand. In fiscal ต้องการของนักลงทุนทุกกลุ่มมาโดยตลอด โดยในปีงบประมาณ year 2011, Thai Life Assurance Association (TLAA) and other พ.ศ. 2554 กลุ่มบริษัทประกันชีวิตซึ่งเป็นผู้ดูแลเงินออมของ long-term investors, such as the Government Pension ประชาชน มีความต้องการให้ สบน. ด�าเนินการออกผลิตภัณฑ์ Fund (GPF) and the Social Security Office (SSO), made a ทีใ่ ห้ผลตอบแทนสูงแต่ไม่จ�าเป็นต้องมีสภาพคล่องในตลาดรอง request to the PDMO asking for a government product with เนือ่ งจากกลุ่มบริษัทประกันชีวิตมีความประสงค์ทจี่ ะถือครอง high yield. This is because these investors usually buy the

40

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจนครบก�าหนดช�าระโดยไม่ท�าการซื้อขาย เปลี่ยนมือ (Hold to Maturity) ดังนัน้ สบน. จึงได้ดา� เนินการออก ตั๋วสัญญาใช้เงินอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 12 และ 18 ปี จ�านวน 18,900 และ 15,700 ล้านบาท ในวันที่ 21 มกราคม 2554

government bonds and hold the bonds to its maturity (Buy & Hold Investor), liquidity of the requested product was not a main concern to these investors. Therefore, on January 21st, 2011, the PDMO decided to issue the 12-year and 18-year fixed-rate promissory note for 18,900 and 15,700 2.3 พันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบี้ยแปรผัน million THB, respectively. ตามการเปลี ่ย นแปลงของเงิน เฟ้ อ (Inflation Linked 2.3 Inflation Linked Bond (ILB) Bond : ILB) สบน. ได้มีการด�าเนินการออก Inflation Linked Bond จ�านวน 40,000 ล้านบาท ในวันที่ 14 กรกฎาคม 2554 โดยก�าหนดอายุ 10 ปี และใช้ดัชนีเงินเฟ้อทัว่ ไป (Headline Consumer Pricing Index : Headline CPI) ที่ประกาศโดย กระทรวงพาณิชย์เป็นอัตราอ้างอิง ซึง่ ได้รบั การตอบรับอย่างดีย่งิ มีประชาชนรายย่อย นักลงทุนสถาบันจากทั้งในประเทศและต่าง ประเทศแสดงเจตจ�านงซื้อพันธบัตรเป็นมูลค่าทัง้ หมดประมาณ 65,000 ล้านบาทหรือ 1.6 เท่าของวงเงินจ�าหน่าย นอกจากนี้ การ ประสบความส�าเร็จในการออก Inflation Linked Bond ครั้งนี้ ยังท�าให้ประเทศไทยเป็นประเทศแรกใน ASEAN ที่สามารถออก Inflation Linked Bond ได้ส�าเร็จ และได้รับรางวัลจากสถาบัน ชั้นน�าต่างๆ ในระดับสากลถึง 11 รางวัล

PDMO launched the 10-year ILB for the first time on July 14th, 2011. The return is indexed to Headline Consumer Pricing Index (CPI), which is announced by Ministry of Commerce. The product was very successful and well-received by market, including general public, domestic institutions as well as foreign investors. Total bidding was around 65,000 million THB or 1.6 times of the issuing size. Furthermore, Thailand becomes the 1st country in ASEAN that successfully issued Inflation Linked Bond. Thai government has won 11 distinguished awards from various institutions.

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

41


2.4 การออกพันธบัตรรัฐบาลเพือ่ รายย่อยพิเศษ ใน 2.4 Savings Bond and Retail Bond @ ATM for ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 Micro Savers สบน. ต้องการทีจ่ ะสนับสนุนให้ประชาชนสามารถ ลงทุนในแหล่งออมเงินทีม่ ีคุณภาพ จึงด�าเนินการออกพันธบัตร ออมทรั พ ย์ แ ละพั น ธบัต รรั ฐ บาลเพื ่อ รายย่ อ ยพิ เ ศษตามงาน มหกรรมการเงินต่างๆ ตลอดทัง้ ปี โดยพันธบัตรรัฐบาลเพื่อ รายย่อยพิเศษที่มีการจ�าหน่ายในวันที่ 7 – 12 กันยายน 2554 เป็นพันธบัตรรัฐบาลรุ่นแรกทีจ่ �าหน่ายให้ประชาชนผ่านทาง เครื่องถอนเงินสดอัตโนมัติ (ATM) เพื่อเพิ่มความสะดวกสบาย ในการลงทุนและสร้างความรู้ความเข้าใจในวิธีการลงทุนให้กับ ประชาชนก่อนการพัฒนาไปสู่การจ�าหน่ายผ่านอินเตอร์เน็ต (Internet) อีกทัง้ ยังลดวงเงินซื้อขั้นต�่าจากปกติ 10,000 บาท เป็นเพียง 1,000 บาทเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนทีม่ ีรายได้ น้อยและต้องการทีจ่ ะทยอยออมเงินสามารถลงทุนได้โดยตลอด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 สบน. มีการจ�าหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ และพันธบัตรรัฐบาลเพื่อรายย่อยพิเศษให้ประชาชนรวมทั้งหมด 1,075 ล้านบาท

With an intention to create a safe heaven for retail investors and encourage Thailand to shift towards the society of regular saving habits, PDMO has set up the exhibition booth at various events to issue the savings bond to retail investors. In fiscal year 2011, PDMO set the goal to reach investors with low income and allow them to save regularly, regardless of the amount. Therefore, PDMO decided to launch retail bond @ ATM for micro savers for the first time on September 7th – 12th, 2011 with the 3 key features that are different from the regular savings bond. 1) Minimum amount to purchase is 1,000 Baht instead of 10,000 Baht for the case of regular savings bond. 2) It is all year round selling, instead of the regular saving’s bond selling period of 5 days. 3) Retail bond can be purchased at automatic teller machine (ATM). In fiscal 3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เพือ่ สร้างประสิทธิภาพ year 2011, PDMO issued savings bond and retail bond ในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะและส่งเสริมการพัฒนาตลาด for the total amount of 1,075 million THB. ตราสารหนี้ในประเทศ 3. Improve market basic infrastructure to promote 3.1 การอนุญาตให้นิติบคุ คลต่างประเทศออกพันธบัตร the development of the domestic bond market หรือหุ้นกู้สกุลเงินบาทในประเทศไทย (Baht Bond) 3.1 The Permission of Issuing Baht-denominated นั บ ตั ้ง แต่ ป ี 2547 กระทรวงการคลั ง โดย Bonds or Debentures by Foreign Entities in Thailand ส�านักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) ได้ด�าเนินนโยบายการ อนุญาตออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาทในประเทศไทย Since 2004 Public Debt Management Office (Baht Bond) ที่กระท�าโดยสถาบันการเงินระหว่างประเทศ (PDMO), on behalf of the Ministry of Finance, has หน่วยงานของรัฐบาลต่างประเทศ และนิติบุคคลต่างประเทศ continuously regulated the policy of Baht-denominated โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ Bonds and debentures (Baht Bond) issuance by International ตราสารหนีแ้ ละเพื่อตอบสนองความต้องการของนักลงทุนใน Financial Institutions, Foreign Government Agencies, ประเทศทีต่ ้องการลงทุนในตราสารหนีต้ ่างประเทศทีม่ ีคุณภาพ Financial Institutions of Foreign Government, and Foreign ดีและไม่มีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นซึ่งการทีน่ ิติบุคคล Entities in Thailand. The objective of the policy is to create

42

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ต่างประเทศเหล่านีส้ ามารถมาออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงิน บาทในประเทศไทยได้นั้น จะช่วยเพิ่มความเชื่อมั่นของนักลงทุน และผู้ระดมทุนต่างประเทศได้ด้วย อีกทั้ง ยังเป็นการสนับสนุน และผลักดันให้เกิดการพัฒนาตลาดตราสารหนี ้ ให้ก้าวหน้า มากยิ่งขึ้น กระทรวงการคลัง จึ ง ได้ เ ปิ ด โอกาสให้ น ิติ บ ุค คล ต่างประเทศทีป่ ระสงค์จะออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาทใน ประเทศไทยสามารถยืน่ หนังสือแสดงความจ�านงได้ปีละ 4 ครั้ง ในเดือนกุมภาพันธ์ พฤษภาคม สิงหาคม และพฤศจิกายนของ ทุกปี กระทรวงการคลังได้ด�าเนินการพิจารณาอนุญาตอย่าง รัดกุม โดยค�านึงถึงผลกระทบต่อการออกหุ้นกู้ของภาคเอกชน ไทย โอกาสทีน่ ักลงทุนในประเทศสามารถลงทุนในตราสารหนี้ ที่มีคุณภาพ และการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไปพร้อมกัน

various debt instruments for Thai bond market in order to serve domestic investors’ needs in investment of high grade foreign bonds with no foreign exchange risk. The permission has also increased the confidence of foreign investors and issuers. Moreover, this could support and even promote the development of Thai bond market as well.

Therefore, the Ministry of Finance provides the opportunity for foreign entities who intend to issue Baht-denominated bonds or debentures in Thailand to submit the application to the Finance Minister four times a year, during the month of February, May, August and November of every year. The Ministry of Finance has carefully considered about the impact on Thai corporate bonds issuance, the opportunity for domestic investors ในปี 2554 กระทรวงการคลังได้อนุญาตให้นิตบิ ุคคล to invest in high quality bonds, and the development of ต่างประเทศสามารถออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาทใน Baht-denominated bonds market at the same time. ประเทศไทยรวม 21 ราย1 คิดเป็นวงเงินที่อนุญาตทั้งสิ้น 167,000 ล้านบาท และมีนิตบิ ุคคลต่างประเทศที่สามารถออกธนบัตร หรือ In year 2011, the Ministry of Finance had หุ้นกู้สกุลเงินบาทในประเทศไทยได้จริง 7 ราย คิดเป็นวงเงิน approved 21 foreign entities. The total approval amount is 31,950 ล้านบาท (หรือคิดเป็นร้อยละ 19.13 ของวงเงินที่อนุญาต 167,000 million Baht. In addition, at the end of year 2012, ทั้งหมด) โดยมีรายละเอียดปรากฏดังตารางที่ 3 7 out of 21 foreign entities1 have already issued Bahtdenominated bonds or debentures with the total issued amount of 31,950 million Baht (or equivalent to 19.13% of 1 นิติบุคคลต่างประเทศ 2 ราย ได้รับอนุญาต 2 ครั้งในปี 2554 the total approval amount). Details can be found in table 3. 1

Two foreign entities were authorized to issue the Baht-denominated bonds and debentures for 2 periods in 2011.

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

43


ตารางที่ 3 : การอนุ ญ าตให้ นิ ติ บุ ค คลต่ า งประเทศออกพั น ธบั ต รหรื อ หุ ้น กู ้ส กุ ล เงิน บาท ในประเทศไทย Table 3 : The Permission of the Issuing Baht-denominated bonds and Debentures by Foreign Entities in Thailand นิติบุคคลต่างประเทศที่ได้รับอนุญาต Authorized Foreign Entities

วงเงินที่ได้รับ วันที่ออก วงเงินที่ออก อายุ (ปี) อัตราดอกเบี้ย อนุญาต พันธบัตร/หุ้นกู้ (ล้านบาท) Maturity (yrs) (ต่อปี) (ล้านบาท) Date of Issued Coupon Rate Approval Issuance Amount (per year) Amount (THB mln.) (THB mln.)

ช่วงเวลาการอนุญาตให้ออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาท : 1 มกราคม – 30 มิถุนายน 2554 The Approval Period of Issuing Baht-denominated bonds and Debentures : 1 January – 30 June 2011

44

สถาบันการเงินของประเทศฝรั่งเศส BNP Paribas (Credit Rating : AA- International) สถาบันการเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา Citigroup Inc. (Credit Rating : A International) สถาบันการเงินของประเทศออสเตรเลีย Commonwealth Bank of Australia (Credit Rating : AA International) สถาบันการเงินของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน Deutsche Bank (Credit Rating : A+ International) สถาบันการเงินรัฐบาลของสาธารณรัฐเกาหลี Industrial Bank of Korea (Credit Rating : A International) ธนาคารโลก International Bank for Reconstruction and Development (Credit Rating : AAA International) สถาบันการเงินของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ Kommunalbanken Norway (Credit Rating : AAA International)

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

10,000 10,000 8,000 6,000 5,000 5,000 4,000

- 15 มี.ค. 2554 15 Mar 2011 - - - 10 มิ.ย. 2554 10 Jun 2011 -

- 4,100 - - - 1,250 -

- 3 - - - 3 -

- 3.82 - - - 2.05 -


นิติบุคคลต่างประเทศที่ได้รับอนุญาต Authorized Foreign Entities

วงเงินที่ได้รับ วันที่ออก วงเงินที่ออก อายุ (ปี) อัตราดอกเบี้ย อนุญาต พันธบัตร/หุ้นกู้ (ล้านบาท) Maturity (yrs) (ต่อปี) Coupon Rate (ล้านบาท) Date of Issued (per year) Approval Issuance Amount Amount (THB mln.) (THB mln.)

ช่วงเวลาการอนุญาตให้ออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาท : 1 มกราคม – 30 มิถุนายน 2554 The Approval Period of Issuing Baht-denominated bonds and Debentures : 1 January – 30 June 2011

สถาบันการเงินรัฐบาลของสาธารณรัฐเกาหลี 8,000 27 พ.ค. 2554 3,000 3 3.88 Korea Development Bank 27 May 2011 (Credit Rating : A International) สถาบันการเงินรัฐบาลของราชอาณาจักรสวีเดน 5,000 - - - - Swedish Export Credit Corporation (Credit Rating : AA+ International) สถาบันการเงินของประเทศออสเตรเลีย 6,000 - - - - Westpac Bank (Credit Rating : AA International) รวมรอบที่ 1/2554 67,000 8,350 The Total Amount of Period 1/2011 ช่วงเวลาการอนุญาตให้ออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาท : 1 เมษายน – 30 กันยายน 2554 The Approval Period of Issuing Baht-denominated bonds and Debentures : 1 April – 30 September 2011 สถาบันการเงินของประเทศออสเตรเลีย 8,000 - - - - Australia and New Zealand Banking Group Limited (Credit Rating : AA International) สถาบันการเงินของสาธารณรัฐเกาหลี 8,000 30 ก.ย. 2554 8,000 3 4.68 Hana Bank 30 Sep 2011 (Credit Rating : A- International) สถาบันการเงินของสาธารณรัฐเกาหลี 8,000 - - - - Shinhan Bank (Credit Rating : A- International) รวมรอบที่ 2/2554 24,000 8,000 The Total Amount of Period 2/2011

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

45


นิติบุคคลต่างประเทศที่ได้รับอนุญาต Authorized Foreign Entities

46

วงเงินที่ได้รับ วันที่ออก วงเงินที่ออก อายุ (ปี) อัตราดอกเบี้ย อนุญาต พันธบัตร/หุ้นกู้ (ล้านบาท) Maturity (yrs) (ต่อปี) (ล้านบาท) Date of Issued Coupon Rate Approval Issuance Amount (per year) Amount (THB mln.) (THB mln.)

ช่วงเวลาการอนุญาตให้ออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาท : 1 กรกฎาคม – 31 ธันวาคม 2554 The Approval Period of Issuing Baht-denominated bonds and Debentures : 1 July – 31 December 2011 สถาบันการเงินของประเทศฝรั่งเศส 10,000 25 พ.ย. 2554 3,100 4 4.42 Credit Agricole – Corporate Investment 25 Nov 2011 Bank (Credit Rating : A+ International) สถาบันการเงินรัฐบาลของสาธารณรัฐเกาหลี 10,000 25 พ.ย. 2554 6,500 3 4.16 The Export-Import Bank of Korea 25 พ.ย. 2554 1,000 10 4.40 (Credit Rating : A International) 25 Nov 2011 สถาบันการเงินของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 6,000 - - - - First Gulf Bank (Credit Rating : A+ International) สถาบันการเงินของประเทศเนเธอร์แลนด์ 10,000 - - - - ING Bank N.V. (Credit Rating : A+ International) สถาบันการเงินของสหราชอาณาจักรอังกฤษ 6,000 - - - - Lloyds TSB Bank (Credit Rating : A+ International) รวมรอบที่ 3/2544 42,000 10,600 The Total Amount of Period 3/2011 ช่วงเวลาการอนุญาตให้ออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาท : 1 ตุลาคม 2554 – 31 มีนาคม 2555 The Approval Period of Issuing Baht-denominated bonds and Debentures : 1 October 2011 – 31 March 2012 สถาบันการเงินของประเทศชิลี 8,000 - - - - Banco Santander (Credit Rating : A+ International) สถาบันการเงินของประเทศฝรั่งเศส 10,000 - - - - BNP Paribas (Credit Rating : AA- International)

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


นิติบุคคลต่างประเทศที่ได้รับอนุญาต Authorized Foreign Entities

วงเงินที่ได้รับ วันที่ออก วงเงินที่ออก อายุ (ปี) อัตราดอกเบี้ย อนุญาต พันธบัตร/หุ้นกู้ (ล้านบาท) Maturity (yrs) (ต่อปี) (ล้านบาท) Date of Issued Coupon Rate Approval Issuance Amount (per year) Amount (THB mln.) (THB mln.)

ช่วงเวลาการอนุญาตให้ออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาท : 1 ตุลาคม 2554 – 31 มีนาคม 2555 The Approval Period of Issuing Baht-denominated bonds and Debentures : 1 October 2011 – 31 March 2012 สถาบันการเงินของประเทศสวีเดน 5,000 - - - - SvenskaHandelsbanken (Credit Rating : AA- International) สถาบันการเงินของประเทศออสเตรเลีย 6,000 - - - - Westpac Bank (Credit Rating : AA International) สถาบันการเงินของสาธารณรัฐเกาหลี 5,000 6 ก.พ. 2555 2,500 3 4.08 Woori Bank 6 ก.พ. 2555 1,500 4 4.22 (Credit Rating : A- International) 6 Feb 2012 1,000 7 4.47 รวมรอบที่ 4/2554 34,000 5,000 The Total Amount of Period 4/2011 ยอดรวมของปี 2554 167,000 31,950 Total Amount of Year 2011

3.2 การวางระบบการดำาเนินงานและระบบการลงทุน 3.2 Public Debt Restructuring and Domestic ของกองทุนบริหารเงินกู้เพือ่ การปรับโครงสร้างหนีส้ าธารณะ Bond Market Development Fund (PDDF) และพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ (กปพ.). Public Debt Restructuring and Domestic กองทุนบริหารเงินกู้เพือ่ การปรับโครงสร้างหนี้ Bond Market Development Fund (PDDF), an investment สาธารณะและพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ (กปพ.) เป็น arm of Ministry of Finance, is a strategic supporting เครื่องมือส�าคัญของ สบน. ในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะเชิง tool of PDMO in debt management and bond market รุก และพัฒนาตลาดตราสารหนี้อย่างต่อเนื่องโดย กปพ. มีบทบาท development operations. PDDF has an important role ส�าคัญที่จะรองรับการกูเ้ งินล่วงหน้าเพือ่ ปรับโครงสร้างหนี้ ( Pre- when PDMO needs to pre-fund when there is a matured funding) ของ สบน. เมื่อมีหนี้สาธารณะที่จะครบก�าหนดภายใน public debt exceeds 55 trillion Baht on the same day. Preวันเดียวสูงกว่า 55,000 ล้านบาท ซึ่งการ Pre-funding นั้น จะ funding strategy help limit the risk of liquidity shortages

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

47


ช่วยลดความเสี่ยงในการที่รฐั บาลอาจไม่สามารถระดมทุนได้ครบ ตามจ�านวนทีต่ ้องการในการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ โดย กปพ. มีหน้าที่น�าเงินที่ สบน. ท�าการ Pre-funding มาบริหาร จัดการลงทุน เพื่อลดต้นทุนค่าเสียโอกาสและน�าผลตอบแทน ทีไ่ ด้รับจากการลงทุนส่งคืนให้ สบน. เพื่อน�าไปช�าระดอกเบีย้ ที่ เกิดจากการ Pre-funding ซึ่งจะเป็นการลดภาระงบประมาณ ในการช�าระดอกเบีย้ ของรัฐบาลอันเป็นเป้าหมายหลักของการ ด�าเนินงานของ กปพ.

and potentially a sovereign default. The proceeds from pre-funding will be transferred to PDDF to invest until the day of the maturity of the debt. At the end of investment period, PDDF will then transfer the return to PDMO in time for debt repayment. In summary, with the existence of PDDF, not only that the PDMO can now prevent sovereign default as a result of liquidity shortages, but can also reduce budget expenditure for interest payment.

ในปี ง บประมาณ 2554 สบน. ได้ ด� า เนิ น การ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการลงทุนของ กปพ. ที่จะเริ่มใน ปีงบประมาณ 2555 โดยได้จ้างผู้บริหารสินทรัพย์ 3 ราย ได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนกสิกรไทย จ�ากัด บริษัทหลัก ทรัพย์จัดการกองทุนกรุงไทย จ�ากัด (มหาชน) และบริษัทหลัก ทรัพย์จัดการกองทุนไทยพาณิชย์ จ�ากัด รวมถึงได้ว่าจ้างผู้รับ ฝากทรัพย์สิน (Custodian) 1 ราย ได้แก่ ธนาคารฮ่องกงและ เซี่ยงไฮ้ แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จ�ากัด โดยการด�าเนินการคัดเลือก นัน้ ได้พจิ ารณาจากความเชี่ยวชาญในการลงทุน การมีมาตรฐาน การปฏิบัติงานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล และมีระบบงานด้าน การลงทุนทีพ่ ร้อมเพื่อรองรับการลงทุนของกองทุน โดยการ ว่าจ้างผูบ้ ริหารสินทรัพย์มากกว่า 1 รายนั้นเป็นการกระจายความ เสีย่ งในการลงทุนของ กปพ. และเป็นโอกาสในการถ่ายทอด ความรู้ และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ กปพ. ด้วย นอกจากนี้กองทุนได้เจรจาและลงนามในสัญญามาตรฐาน GMRA และ ISDA ส�าหรับการท�าธุรกรรม Reverse Repo และ ธุรกรรมป้องกันความเสีย่ งกับธนาคารคู่สัญญาหลายแห่ง การ บริหารจัดการการลงทุนของ กปพ. จึงจะมีสว่ นผลักดันการพัฒนา ตลาดซื้อคืนภาคเอกชน (Private Repo) และก่อให้เกิดการซื้อ ขายตราสารหนี้มากยิ่งขึ้น

In Fiscal Year 2011, PDMO had selected and appointed 3 Asset Management Companies as PDDF’s fund manager namely, Kasikorn Asset Management Co., Ltd, Krungthai Asset management Plc. and SCB Asset Management Co.,Ltd. and Hong Kong and Shanghai Banking Corporation Limited as a custodian. By working with these professional and renowned organisations, PDDF will benefit not only from investment diversification but also from knowledge and technology transfer to further enhance capability of PDDF’s human resources. In addition, PDDF had successfully negotiated Global Master Repurchase Agreement (GMRA) and International Swap and Derivatives Agreement (ISDA) with many leading local and foreign banks. This will ensure smooth operation of PDDF investment and help promote private repo market and domestic bond market development at the same time.

ในปีงบประมาณ 2555 กปพ. จะได้รับมอบเงินจาก กระทรวงการคลังเพื่อบริหารจัดการกว่า 180,000 ล้านบาท ดังนั้น กปพ. จึงจะมีบทบาทที่ท้าทายยิ่งขึ้นในการบริหารจัดการ และก�ากับ ติดตามการลงทุนให้เป็นไปตามกรอบนโยบายและ

48

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


In fiscal year 2012, PDDF will be managing 180 trillion Baht pre-funding proceed from PDMO. Therefore, PDDF will have a challenging task in managing and monitoring investment operation to achieve its investment objective which is to preserve capital and seek an optimum return with limited risk. PDDF will continuously enhance its human capital attain its vision “Being Professional Asset Management Organisation, To Support Sustainable Public Debt Management and Bond Market Development” บรรลุวัตถุประสงค์การลงทุน คือ การรักษาความปลอดภัยของ เงินต้น (Preservation of Capital) และสร้างผลตอบแทน ที่เหมาะสมโดยค�านึงถึงความมั่นคงสูงและความเสี่ยงต�่าเป็นหลัก ส�าคัญ ควบคูไ่ ปกับการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของ กปพ. ที่จะเป็น “มืออาชีพในการ บริหารสินทรัพย์ เพื่อสนับสนุนการบริหารหนี้สาธารณะ และ การพัฒนาตลาดตราสารหนี้อย่างยั่งยืน” 3.3 การจัด ตัง้ หน่ ว ยงานคำ้ า ประกั น เครดิต และการ ลงทุนของภูมิภาคอาเซียน+3 (Credit Guarantee and Investment Facility: CGIF) นอกจาก สบน. จะให้ความส�าคัญแก่การอนุญาต ให้นิติบุคคลต่างประเทศออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาทใน ประเทศไทยแล้ว สบน. ยังสนับสนุนภาคเอกชนไทยให้ระดมทุน ด้วยการออกตราสารหนี้ทั้งในประเทศและต่างประเทศด้วย โดย สบน. ในฐานะตัวแทนของประเทศไทยได้รว่ มกับรัฐบาลของกลุม่ ประเทศอาเซียน+3 (ซึ่งประกอบด้วย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ มาเลเซีย พม่า จีน ลาว ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม) และธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ในการหาแนวทางการสร้างกลไกทีจ่ ะช่วยอ�านวย ความสะดวกให้แก่ภาคเอกชนเพื่อให้สามารถออกตราสารหนี้ ได้งา่ ยขึ้น ซึง่ กลไกที่กล่าวคือการจัดตั้งหน่วยงานค�า้ ประกันเครดิต และการลงทุนแห่งภูมิภาคอาเซียน+3 (Credit Guarantee and Investment Facility: CGIF)

3.3 The Establishment of Credit Guarantee and Investment Facility (CGIF) in ASEAN+3 Countries Public Debt Management Office (PDMO) has not only supported the permission of Baht-denominated bonds or debentures issuance by foreign entities, but also promoted Thai private sector in funding through the issuance of bonds or debentures both in Thailand and other countries in the region. As the representative of Thailand, PDMO has coordinated with the Government of ASEAN+3 countries (Brunei, Cambodia, Indonesia, Japan, Korea, Malaysia, Myanmar, Laos, the People’s Public of China, Philippines, Singapore, Thailand and Vietnam), and Asian Development Bank (ADB) to establish a mechanism that facilitates the private sector to issue bonds, called “Credit Guarantee and Investment Facility (CGIF)”. According to the guarantee mechanism of CGIF, the guaranteed bonds issued by the private sector will be automatically upgraded their credit rating. As a result, the guarantee will enable private sector to issue bonds in lower overall costs with longer maturity. This will help them avoid maturity mismatched. In addition, if the private sector issue bonds in other countries, the guarantee of CGIF will enhance the reliability of the private sector towards foreign investors. ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

49


ตราสารหนีข้ องภาคเอกชนทีไ่ ด้รับการค�้าประกัน จาก CGIF นี้จะได้รับการยกระดับอันดับความน่าเชื่อถือ (Credit Rating) ให้สูงขึ้น ซึ่งการทีต่ ราสารหนีม้ ีอันดับความน่าเชื่อถือ ทีส่ ูงขึ้นจะช่วยท�าให้ต้นทุนโดยรวมของการออกตราสารหนีล้ ด ต�่าลง และยังท�าให้ผู้ออกตราสารหนีส้ ามารถออกตราสารหนีท้ ี่ มีอายุยาวขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับระยะคืนทุนของกิจการได้มาก ขึ้นด้วยนอกจากนี ้ ยังช่วยสร้างความเชื่อมัน่ ให้แก่นักลงทุนจาก ต่างประเทศในกรณีทเี่ อกชนรายนัน้ ไปออกตราสารหนี้ในตลาด ต่างประเทศได้ด้วย CGIF ได้ถอื ก�าเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 และมีส�านักงานตั้งอยู่ที่กรุงมะนิลา ประเทศ ฟิลิปปินส์ CGIF มีผู้ถือหุ้นทั้งสิ้น 14 ราย ประกอบด้วยรัฐบาล จาก 13 ประเทศดังทีก่ ล่าวข้างต้นและ ADB ประเทศไทยโดย ผูอ้ �านวยการ สบน. ได้รบั เกียรติให้ดา� รงต�าแหน่งกรรมการบริหาร ในนามกลุม่ ประเทศอาเซียนใน CGIF และมีวาระ 3 ปี ซึง่ กรรมการ บริหารจ�านวน 8 ราย ประกอบด้วย ตัวแทนจากรัฐบาลญี่ปุ่น 2 ราย ตัวแทนจากรัฐบาลจีน 2 ราย ตัวแทนจากรัฐบาลเกาหลีใต้ 1 ราย ตัวแทนจากรัฐบาลกลุ่มประเทศอาเซียน 1 ราย ตัวแทน จาก ABD 1 รายและ Chief Executive Officer (กรรมการโดย ต�าแหน่ง) อีก 1 ราย ซึ่งสัดส่วนจ�านวนกรรมการบริหารใน CGIF เป็นไปตามจ�านวนเงินที่ได้ร่วมลงทุน สบน. ในฐานะทีเ่ ป็นหน่วยงานหลักในการด�าเนิน งานและเป็นกรรมการบริหารของกลุ่มประเทศอาเซียนใน CGIF มีความตั้งใจเป็นอย่างสูงทีจ่ ะช่วยสนับสนุนและผลักดันให้ภาค เอกชนไทย ตลอดจนภาคเอกชนของกลุ่มประเทศอาเซียนที่ ประสงค์จะออกตราสารหนีไ้ ด้รับการค�้าประกันจาก CGIF โดย CGIF จะเปิดให้บริการเต็มรูปแบบในปลายปี 2555 เป็นต้นไป และจะให้บริการในลักษณะ First Come First Serve ดังนั้นใน ระยะแรกนี ้ หากมีภาคเอกชนไทยรายใดสนใจขอรับบริการจาก CGIF สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ส�านักงาน บริหารหนี้สาธารณะ

50

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

CGIF was officially established on November 25, 2010 by the cooperation of 13 governments (as mentioned above) and ADB. CGIF head office is located in Manila, Philippines. Under the CGIF management framework, the CGIF Board of Directors is comprised of eight people with 3-year term each. Two of the Directors are appointed by Japan Government, two of whom are appointed by the Government of People’s Republic of China, and the other three are appointed by the Government of Korea, ASEAN member countries, and ADB. The Chief Executive Officer is an ex-officio member of the Board. The number of the Board of Directors’ chair is related to the contribution amount. Thailand has been honorly appointed as an ASEAN country representative in CGIF Board of Directors. The Director-General of PDMO represents the ASEAN Director in CGIF. PDMO, as the main agency and the ASEAN Director in CGIF Board of Directors, strongly intends to support and promote Thai private sector including private sectors from other ASEAN member countries aiming to issue guaranteed bonds through the CGIF mechanism. CGIF will fully serve all eligible investors in 2012 onward in accordance with First Come First Serve basis. Therefore, for those Thai corporates who are interested, please do not hesitate to contact PDMO for further information.


ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ Strategy 3 Fostering Organisation’s Strength and Efficiency 3.1 การจัดทำาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร เพื่อเป็นการสนับสนุนทางด้านข้อมูลสารสนเทศของส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ให้บรรลุภารกิจตามยุทธศาสตร์ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเสริมสร้างความยั่งยืนทางการ คลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ ในฐานะสายงานสนับสนุน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ศทส.) ได้ ให้ความส�าคัญกับการจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดต้นทุนในการ บริหารจัดการข้อมูล และเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจของผูบ้ ริหารให้สามารถตัดสินใจได้ ทันเหตุการณ์ หลากหลายมิติ สอดคล้องกับภาวะทางการคลัง และเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา ศทส. จึงได้จัดท�า Proof of Concept กับการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ โดยน�า เทคโนโลยีอัจฉริยะ (Business Intelligence) มาบูรณาการระบบข้อมูลสารสนเทศให้ตรงตาม วัตถุประสงค์ของ สบน.

3.1 Information Technology System Development : Information Technology System for Executive Decision Making The Information Technology Center (ITC) has put emphasis on Information Technology Management System with the goals of reducing the information and data management cost, as well as supporting the executives to have up-to-date, multi-dimensional, comprehensive and reliable information when making decision. The ITC has implemented the “Proof of Concept” Information Technology Database Management System by introducing the Business Intelligence Technology and combining it with the Information Technology System to achieve the objectives stated below.

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

51


วัตถุประสงค์และหลักการ

Objectives

1. ลดความเสี่ยงหรือความเสียหายหรือการสูญเสียโอกาส 1. To have up-to-date, multi-dimensional, จากการใช้ข้อมูล comprehensive and reliable information system in order to Minimise costs and risks when using the information 2. สามารถพยากรณ์หรือคาดคะเนปัญหาต่างๆ ได้ 2. Forecast scenarios and possible problems 3. เพือ่ ให้มขี อ้ มูลหนีส้ าธารณะเปรียบเทียบในแต่ละช่วงเวลา ahead of time 4. สร้างความสะดวกและประหยัดเวลาในการใช้ข้อมูล 3. Readily available comprehensive and ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ comparable public debt information ระบบสารสนเทศทีม่ ีก ารจั ด การกั บ สารสนเทศและ สนับ สนุน การตั ด สิน ใจของผูบ้ ริ ห ารให้ เ กิ ด ประสิท ธิ ภ าพนัน้ เรียกว่าระบบสารสนเทศทีเ่ น้นความสัมพันธ์การตัดสินใจใน ระดับการจัดการข้อมูลในระดับต่างๆ เพื่อให้เกิดการบูรณาการ ในทิศทางเดียวกันในแต่ละระดับการใช้ข้อมูล โดยพัฒนาระบบ การจัดการฐานข้อมูลมาใช้ในการติดตามและวิเคราะห์ข้อมูลหนี้ สาธารณะในมิตติ า่ งๆ จากฐานข้อมูลระบบ Government Fiscal Management Information System Treasury (GFMIS-TR) และระบบ Common wealth Secretariat Debt Recording Management System (CS-DRMS) เพือ่ ยกระดับความสามารถ ในการน�าเสนอข้อมูลสารสนเทศของ สบน. ในการปรับเปลีย่ น มุมมองของรายงานข้อมูลให้กับผูบ้ ริหารได้อย่างรวดเร็ว และ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย ปราศจากเงื่อนไขของเวลาและ สถานที่ผ่านโทรศัพท์มือถือหรือ E-mail

52

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

4. Convenience and time-saving when using the information Information System for Decision Making The Information System that can support efficient executive decision making comes from an information system that integrates the information from every level, including operation, strategy, and policy level, into one solid and uni-directional database. The ITC has developed a database management system to track changes ad analyze data coming from the GFMIS-TR and the CS-DRMS systems in order to enhance the information presentation ability to the executives by allowing multiple dimension viewing of the information as well as making the data easily accessible from anywhere at anytime through the use of wireless devices such as mobile phones and tablets.


ระดับ นโยบาย Policy Le vel ระดับกลย Strategy L ุทธ์ evel ระดับปฏ Operatio ิบัติการ n Level

ระบบ EIS stem EIS Sy ระบบR (B/W) S-T GFMI -TR System S GFMI (B/W) ) (R/3 R T S I GFM RMS and ระบบ บบ CS-Dm (R/3) ระ Syste ystem -TR MS S S I GFM CS-DR

ภาพที ่ 1 : แสดงความสัมพันธ์การตัดสินใจในระดับการจัดการข้อมูลใน สบน. Diagram 1 : Levels of Decision Making within PDMO, and their corresponding IT systems

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ

Components of the Information System for Decision Making

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจส�าหรับ ผู้บริหาร คือฐานข้อมูลขนาดใหญ่ทเี่ ก็บรวบรวมข้อมูลไว้ใน 1. Data Warehouse : Large database that combines ลักษณะที่เอื้อต่อการน�าข้อมูลไปใช้สนับสนุนการตัดสินใจ ซึ่งจะ all the information from the 2 main sources : GFMIS-TR ประกอบไปด้วยระบบข้อมูล และโปรแกรมแอพพลิเคชั่น ดังนี้ system and CS-DRMS system 1. ดาต้าแวร์เฮ้าส์ (Data Warehouse) คือ ฐานข้อมูล 2. Data Mart : Smaller database that collects ขนาดใหญ่ทรี่ วบรวมข้อมูลทัง้ จากแหล่งข้อมูล ซึ่งได้แก่ ระบบ only specific information of the public debt portfolio, GFMIS-TR และระบบ CS-DRMS such as the government direct borrowing part or the guaranteed VS the non-guaranteed parts of the public 2. ดาต้ามาร์ท (Data Mart) คือ คลังข้อมูลขนาดเล็กมี debt, keep the data organized and easily accessible. การเก็บข้อมูลที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง เช่น การเก็บข้อมูลส่วน ของหนีส้ าธารณะทีร่ ัฐบาลกู้ตรง ข้อมูลหนีส้ าธารณะทีร่ ัฐบาล 3. OLAP : The tool to multi-dimensional analyze ค�า้ ประกันและไม่ค้�าประกัน เป็นต้น ซึง่ ท�าให้งา่ ยต่อการน�าข้อมูล data. Users can choose to have an output in the form of ไปใช้เพื่อสร้างความสัมพันธ์และวิเคราะห์ table or chart, allowing users to analyze data in-depth as well as multi-dimensional. 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลในหลายมิต ิ (OLAP) คื อ การสืบ ค้ น ข้ อ มูล ทีผ่ ู้ ใช้ ส ามารถเลือ กผลลัพ ธ์ อ อกมาใน

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

53


รู ป แบบของตารางหรื อ กราฟ โดยสามารถวิ เ คราะห์ ข ้ อ มูล 3.2 Human Resource Development ในมุมมองหลากหลายมิติ (Multi-Dimensional) โดยทีผ่ ู้ใช้ Enhancement of the Human Resource Management สามารถที่จะดูข้อมูลแบบเจาะลึก (Drill Down) ได้ตามต้องการ system of the PDMO has been implemented with the 3.2 พัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ ด้านบุคลากร HR Scorecard system, used as a tool for assessing the effectiveness of the human resource management, which การพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของ สบน. will foster strong capabilities of the PDMO human resources ด�าเนินการภายใต้แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR to achieve all of the organisation’s goals. In FY2011, PDMO Scorecard) ซึ่งเป็นเครื่องมือส�าหรับใช้ประเมินผลส�าเร็จด้าน successfully implemented the following programs: การบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อน�าไปสู่การพัฒนาและเพิ่มขีด สมรรถนะก�าลังคนขององค์กรให้มีความเข้มแข็งและสอดรับกับ 1. The Man Power Plan Program ภารกิจของ สบน. โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 สบน. ประสบ PDMO has approved the 3-year Man Power ความส�าเร็จในการด�าเนินการโครงการต่างๆ ประกอบด้วย Plan (FY2011 - 2013) and implemented it by hiring an 1. แผนอัตรากำาลัง (Man Power) advisor company to analyze the amount of work being carried by PDMO and compare it with the man power สบน. อนุมัติแผนอัตราก�าลังระยะ 3 ปี (ปีงบประมาณ that PDMO currently has. The plan will enable PDMO พ.ศ. 2554 - 2556) โดยการจ้างบริษัททีป่ รึกษาช่วยด�าเนิน to set the appropriate number of positions, both in การวิเคราะห์ปริมาณงานและภารกิจทีส่ ะท้อนถึงการปฏิบัติ the present and for the future, within the organisation งานจริงประกอบกับจ�านวนบุคลากรทีม่ ีอยู่ และให้สอดคล้อง as well as to use the plan analysis as a supporting กับยุทธศาสตร์ของ สบน. ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งเป็นการ information to request more man power from the ก�าหนดแผนก�าลังคนที่เหมาะสมทั้งในด้านกรอบอัตราก�าลังและ central government. ด้านต�าแหน่งงาน รวมทั้งสามารถน�าเสนอแผนอัตราก�าลังดังกล่าว เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาขอรับการจัดสรรอัตราก�าลังคน เพิ่มเติมจากการเกษียณอายุราชการของส่วนราชการอื่น ประจ�า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ด้วย

54

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


2. แผนสืบทอดตำาแหน่ง (Succession Planning)

สบน. อนุมัติแผนสืบทอดต�าแหน่งเพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการวางแผนผูส้ ืบทอดต�าแหน่งส�าหรับต�าแหน่งประเภทบริหาร ตั้งแต่ระดับฝ่ายถึงระดับหัวหน้าส่วนราชการ ได้แก่ ผู้บริหาร ที่ปรึกษา ผู้อ�านวยการส�านัก ผู้เชี่ยวชาญ ผู้อ�านวยการส่วน ผู้อ�านวยการกลุ่ม และหัวหน้าฝ่าย เพื่อให้ สบน. มีหลักเกณฑ์ กระบวนการ แนวทางการพัฒนา และแบบประเมิน ในการ คัดสรรข้าราชการให้เลือ่ นเข้าสู่ต�าแหน่งประเภทบริหารได้อย่าง มีประสิทธิภาพ เพื่อใช้ในการก�าหนดแผนปฏิบัติการส�าหรับ ต�าแหน่งผู้สืบทอดต�าแหน่งแล้ว

3. แผนทางเดินสายอาชีพ (Career Path)

2. Succession Planning Program

PDMO has implemented the Succession Planning Program for the executive position from the Division Director to the General-Director position. The program will be used as a guideline to select, develop, and assess the government officials suitable for the executive position in order to ensure that the transition is smooth and efficient.

3. Career Path Program

PDMO has approved the Career Path Program for every level and every position within the organisation. PDMO has informed all of its government officials and employees about the program to be used as a guideline to make plans and manage human resources of the organisation.

สบน. อนุมัติแผนปฏิบัติการของแผนเส้นทางเดินสาย อาชีพส�าหรับทุกประเภทต�าแหน่ง และทุกระดับใน สบน. พร้อม ด�าเนินการประชาสัมพันธ์และสื่อสารให้บุคลากรใน สบน. ได้แก่ ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างชั่วคราว ทราบโดยทั่ว กัน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการและการปฏิบัติงาน 4. Performance Management System ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�าหนดไว้ PDMO has implemented the Performance 4. ระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการ (Performance Management System by setting up the Key Performance Management Systems : PM) Indicator (KPI) as well as the core Competency Indicator. สบน. น�าระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการมาใช้ โดย PDMO’s executives have put great emphasis on การก�าหนดตัวชี้วดั ระดับบุคคล Key Performance Indicator : implementing this system. The executive committee, KPI และสมรรถนะหลัก (Competency) ทีเ่ ข้มข้น เนือ่ งจาก which includes the Director-General, the Deputy ผู้บริหารระดับสูงของ สบน. ให้ความส�าคัญกับการน�าระบบ Director-General and the adviser, will consider and may ดังกล่าวมาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการปฏิบัตริ าชการ โดย make changes to each of the PDMO Staff’s KPI, before คณะผู้บริหารระดับสูงประกอบด้วย ที่ปรึกษา และรองผู้อ�านวย the KPI will be in effect. When reviewing each individual การส�านักงานบริหารหนีส้ าธารณะจะป็นผู้พิจารณาพร้อมแก้ไข KPI, The committee will take into consideration the KPI รายบุคคลของบุคลากรทุกคนใน สบน. ก่อนจะประกาศให้ feasibility and the difficulty of the KPIs, as well as ensure ทราบโดยทั่วกัน ซึ่งจะพิจารณาถึงความเป็นไปได้ ความยากง่าย the cascade from the organisation’s KPI into staff’s KPI. และการถ่ายทอดตัวชี้วัดของหน่วยงานลงสู่บุคคลเป็นหลัก

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

55


5. แผนพัฒนาบุคลากร

สบน. อนุมัติแผนพัฒนาบุคลากรประจ�าปี เพื่อสร้าง และพัฒนาผู้บริหารและบุคลากรทุกรายให้เป็นมืออาชีพในการ บริหารหนี้สาธารณะ และการพัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยืน โดย การให้บุคลากรของ สบน. ได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาใน หลักสูตรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบ มีการพัฒนาโดย ผ่านการสอนงานและมอบหมายงาน รวมทั้งการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแบ่งปันข้อมูลในฐานการจัดการความรู้ Knowledge Management : KM

6. ระบบฐานข้อมูล

สบน. มีระบบฐานข้อมูลบุคลากร 2 ระบบ คือ ระบบ Departmental Personal Information System : DPIS (ระบบ ฐานข้อมูลสารสนเทศ) และ ก.พ. 7 (ระบบฐานข้อมูลเอกสาร) ซึง่ ในปัจจุบัน สบน. มีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากรในระบบ ถูกต้อง ครบถ้วน

5. Human Resource Development Plan

PDMO has approved the annual human resource development plan in order to build and develop PDMO’s executives and staffs to be a Debt Management professional. PDMO Staffs are given the opportunities to attend relevant workshops and trainings. PDMO also holds the Knowledge Management (KM) activities regularly.

6. Database System

PDMO has 2 main HR database systems : the DPIS (Information Technology database) and the Competency Management Supporting System (HR Document database), which allows PDMO to record all the information regarding its human resource accurately.

7. การประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากร 7. Human Resource Management Information บุคคล Sharing สบน. มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านการ บริหารทรัพยากรบุคคลที่นา่ สนใจ เช่น หนังสือเวียนและระเบียบ ใหม่ๆ สิทธิประโยชน์ ประกาศต่างๆ (รับสมัคร หลักเกณฑ์ ระเบียบ) รวมถึงหลักสูตรอบรม และทุนการศึกษา เป็นต้น ใน รูปแบบต่างๆ ผ่านสื่อ Internet และ Intranet การประชุมชี้แจง บอร์ดประชาสัมพันธ์ โทรทัศน์ภายใน หนังสือเวียน และ E-mail รายบุคคล 56

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

PDMO has shared information about the human resource programs regarding new rules and regulations, scholarships, benefits for government officials, workshops and trainings through many types of media : the PDMO intranet, TV Screens, Internal Letter, Information board, and e-mails.


8. การปฐมนิเทศบุคลากรใหม่

8. Staff Orientation

สบน. จัดปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ประจ�าปี ปีละ 2 ครั้ง PDMO holds a 6-day new staff orientation twice เพื่อให้บุคลากรใหม่เข้าใจระบบราชการและภารกิจงานของ สบน. a year with the purpose of familiarising new staffs with โดยก�าหนดระยะเวลาอบรม ประมาณ 6 วัน the government official system as well as with the organisation’s work and missions. 9. กิจกรรมสัมพันธ์ สบน. จัดกิจกรรมสัมพันธ์ประจ�าปี ปีละ 2 ครั้ง เพื่อ เพิ ่ม พู น ความรู ้ แ ละความสัม พั น ธ์ อ ัน ดี ร ะหว่ า งผู้ บ ริ ห ารและ บุคลากรผูป้ ฏิบัตงิ านของ สบน. ให้มีความเข้าใจและมีปฏิสัมพันธ์ อันดีระหว่างกัน รวมทัง้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการท�างานตามภารกิจ

10. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในการทำางาน

สบน. มีการปรับปรุงสถานที่ท�างานให้มีความกว้างขวาง และสะดวกสบาย เพื่อรองรับบุคลากรให้เหมาะสมกับภารกิจและ ปริมาณงานทีเ่ พิ่มมากขึ้น ด้วยการจัดสรรสถานทีท่ �างานเป็น 2 แห่ง คือ ชั้น 4 อาคารส�านักงานเศรษฐกิจการคลัง และชั้น 32 อาคารทิปโก้

9. PDMO Semi-Annual Activities

PDMO holds the office activity twice a year. Mostly held in other provinces of Thailand, this activity aims to enhance the knowledge of the staff as well as the good relationship between all of the PDMO’s executives and staffs.

10. Workplace Environment Management

PDMO has expanded its workplace to be more comfortable and convenient by allocating workplace into 2 places : the 4th floor of the Fiscal Policy Office Building and the 32nd floor of the Tipco Office Building.

3.3 การพัฒ นาองค์ ก รให้ เ ข้ ม แข็ง และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 3.3 Organisation’s Management System Development ด้านระบบบริหารจัดการภายในองค์กร In order to enhance the organisation’s management สบน. ได้มีการน�าระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ system, PDMO has adopted the New Public Management ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองค์กร ซึ่งการวางแผน system throughout the organisation. Systematic strategy กลยุทธ์ขององค์กรอย่างเป็นระบบ และการบริหารจัดการแบบ planning and Result based Management have become มุ่งผลสัมฤทธิ ์ ถือเป็นส่วนส�าคัญในการพัฒนาองค์กรได้อย่าง key tools to foster organisation efficiency. PDMO set up มีประสิทธิภาพ โดยมีการจัดท�าและถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ของ 4-year Operational plan as well as annual action plan, องค์กรเป็นแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการ and also formulated the Performance Agreement as a ประจ�าปี รวมทัง้ จัดท�าค�ารับรองการปฏิบัติราชการของ สบน. framework to measure and evaluate the performance of เพื่อใช้เป็นกรอบในการวัดผลการด�าเนินงาน นอกจากนี ้ สบน. ได้ the organisation. Moreover, PDMO regularly promoted ส่ ง เสริ ม การด� า เนิน การด้ า นการจั ด การความรู ้ ผ ่ า นกิ จ กรรม Knowledge Management (KM) through knowledge การแลกเปลีย่ นเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ ง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการ sharing activities in order to drive change within the organisation. เปลี่ยนแปลงภายในองค์กร

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

57


Result based Management through Strategic Planning

บริหารจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ : การวางแผนกลยุทธ์ สบน. มี ก ารวางแผนกลยุท ธ์ อ ย่ า งเป็ น ระบบ โดยใน ปีงบประมาณ 2554 เป็นปีแรกที่ สบน. ได้ด�าเนินการตามแผน ยุทธศาสตร์ใหม่ ซึ่งได้ให้ความส�าคัญตั้งแต่ขั้นตอนในการเริ่ม วางแผนการก�าหนดกลยุทธ์ โดยเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและ ความคาดหวังต่อการด�าเนินงานขององค์กร และน�าข้อมูลที่ ได้รบั มาประกอบการก�าหนดทิศทางขององค์กรในอนาคต รวมทั้ง ได้มีการแปลงจากนโยบายรัฐบาลทีส่ �าคัญมาจัดท�าแผนบริหาร ราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัตริ าชการ 4 ปี และแผนปฏิบัตริ าชการ ประจ�าปี เพื่อเป็นแนวทางในการน�าแผนกลยุทธ์มาสู่การปฏิบัติ นอกจากนี ้ สบน. ได้จัดท�าค�ารับรองการปฏิบัติราชการเพื่อใช้ เป็นกรอบในการก�าหนดกลยุทธ์ขององค์กรและเพื่อใช้ในการ ติดตามและประเมินผลการด�าเนินงาน ซึ่งประกอบด้วยตัวชี้วัด ที่ส�าคัญเช่น การจัดท�าแผนการบริหารหนีส้ าธารณะ การออก พันธบัตรรัฐบาลเพื่อเป็นอัตราดอกเบีย้ อ้างอิง และการบริหาร การช�าระหนี้ เป็นต้น 58

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

PDMO has developed the organisation’s strategic management systematically. FY 2011 was the first year that PDMO used a new vision andstrategic plan. The new strategic plan allows stakeholders to be involved in setting up process by letting them share their opinions and expectations of the roles and responsibilities of PDMO. After gathering the aforementioned information, PDMO uses it to set the organisation’s direction. PDMO also transforms government policies into 4-Year Government Administrative Plan and cascades into 4-year Operational Plan and Annual Action Plan to be the guideline of strategic implementation. Moreover, PDMO has formulated the Performance Agreement as a framework for the organisation to set its own strategies and as well as to monitor and evaluate the performance. The tool used to evaluate the performance is Key Performance Indicators (KPIs) such as Formulating Debt Management Plan, Benchmark Bond Issuance, and Debt Service Management. Promoting employee engagement through Internal Performance Agreement One of the most important things in formulating strategic plan is to drive the plan into implementation. To ensure that every level of PDMO’s management is moving towards the same direction, PDMO cascades the Annual Action Plan and Performance Agreement into Internal Performance Agreement (IPA). The IPA system encouraged employee involvement in strategic implementation because each department can set their own strategic target to serve the organisation goal


ส่งเสริมการมีสว่ นร่วม : ระบบการคำารับรองการปฏิบตั ิราชการ as well as to ensure the effective strategic planning ภายใน implementation by assigning the main responsible สิ่งที่ส�าคัญในการจัดท�าแผนกลยุทธ์ คือ การผลักดันแผน person, coordinating across different departments, ดั ง กล่ า วไปสู่ ก ารปฏิ บ ัติ เพื่ อ ให้ ม นั ่ ใจว่ า การปฏิ บ ัติ ง านของ linking the planning unit, which will result in the บุคลากรในทุกระดับมุ่งสู่ทิศทางเดียวกัน สบน. ได้ถ่ายทอด coherent cooperation from every level of employee แผนการปฏิบัตริ าชการประจ�าปี และค�ารับรองการปฏิบัตริ าชการ within the organisation. เป็นค�ารับรองการปฏิบัติราชการภายใน ซึ่งเป็นการสร้างความมี ส่วนร่วมในการด�าเนินการตามยุทธศาสตร์ เนื่องจากหน่วยงาน ภายในจะได้มีส่วนในการก�าหนดเป้าหมายในการด�าเนินงานให้ สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร และเพือ่ ให้การด�าเนินการตาม แผนกลยุทธ์ขององค์กรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการระบุ ผูร้ บั ผิดชอบหลัก การประสานงานระหว่างหน่วยงานภายใน และ การเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานที่วางแผนและหน่วยงานปฏิบตั ิ ซึง่ จะส่งผลให้เกิดการร่วมมือจากบุคลากรในทุกระดับขององค์กร สร้างการเปลี่ยนแปลง : การจัดการความรู้ภายในองค์กร สบน. ได้มีการด�าเนินการด้านจัดการความรู้อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในองค์กร ใน ปีงบประมาณ 2554 มีการจัดท�าแผนการจัดการความรู้ประจ�า ปี เพื่อสนับสนุนข้อมูลและองค์ความรู้ในการด�าเนินการตาม ยุทธศาสตร์ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ทา� งาน ในองค์ความรูต้ า่ งๆ รวมทั้ง ระหว่างบุคลากร ภายในองค์กร แผนการจัดการความรูป้ ระกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น การจัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Morning Talk/ Lunch Talk) ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้บุคลากรในองค์กรได้แลก เปลี่ยนเรียนรูใ้ นเรื่องต่างๆ และกิจกรรมการศึกษาดูงานกับหน่วย งานภายนอก (KM Journey) ซึ่งเป็นการแสวงหาองค์ความรู้ จากองค์กรที่เป็นต้นแบบในด้านต่างๆ โดยกิจกรรมตามแผนการ จัดการความรู้ดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาองค์กรให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู ้ เกิดการสือ่ สารแลกเปลีย่ นภายในองค์กร และเกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ รวมทั้งเพื่อส่งเสริมให้เกิด การปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

Creating Change through Knowledge Management within the organisation PDMO has regularly promoted Knowledge Management (KM) as a tool for driving changes within the organisation. In FY 2011, PDMO set up Knowledge Management Plan (KM Plan) in order to promote knowledge sharing. KM Plan is comprised of many activities such as Morning Talk/Lunch Talk , which are the activities that allow our staffs to share their knowledge in a specific topic, and KM Journey, which are the field trip activities allowing PDMO staffs to learn in a specific area from the successful or expert organisation. All activities’ objective is to promote PDMO’s environment to always be conducive to learn by enhancing internal knowledge sharing, developing visions and changing paradigm of the staffs, and to encouragethe staffs to improve their work methods to be more effective.

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

59


งบแสดงฐานะการเงิน

สำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ณ วันที่ 30 กันยายน 2554

หมายเหตุ

(หน่วย : บาท) 2554

สินทรัพย์

สินทรัพย์หมุนเวียน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

3

72,080,921,326.89

ลูกหนี้ระยะสั้น

4

2,678,131.82

รายได้ค้างรับ

5

57,653,118.73

ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า

6

36,441,952.72

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

72,177,694,530.16

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

เงินให้กู้ระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ

8

22,532,692,200.29

ลูกหนี้ระยะยาว

7

960,722,588.17

อุปกรณ์ (สุทธิ)

9

71,769,764.39

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

23,565,184,552.85

95,742,879,083.01

รวมสินทรัพย์

60

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) สำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ณ วันที่ 30 กันยายน 2554

หมายเหตุ

หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินรับฝากระยะสั้น ดอกเบี้ยค้างจ่าย-เงินกู้ เงินกู้ระยะสั้น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินทดรองราชการรับจากคลัง เงินประกัน ดอกเบี้ยจ่ายรับล่วงหน้า เงินกู้ระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน สินทรัพย์สุทธิ สินทรัพย์สุทธิ ทุน รายได้สูง/(ต�่า) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม รวมสินทรัพย์ รวมหนี้สินและสินทรัพย์สุทธิ

10 12

(หน่วย : บาท) 2554

11 13

85,985,349.72 195,172.13 4,667,374,230.36 28,443,198,087.18 465,813,450,000.00 499,010,202,839.39

14 15 16 17

1,000,000.00 4,175,543.50 903,378,210.00 2,704,122,288,246.04 2,706,322,588.17 2,707,737,164,587.71 3,206,747,367,427.10 (3,111,004,488,344.09)

18

(1,745,948,795,386.54) (1,365,055,692,960.55) (3,111,004,488,347.09) 95,742,879,083.01

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

61


งบรายได้และค่าใช้จ่าย สำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

สำาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554

หมายเหตุ

(หน่วย : บาท) 2554

รายได้จากการด�าเนินงาน รายได้รับจากรัฐบาล

19

รายได้อื่น รายได้ระหว่างหน่วยงาน

189,881,331,136.76 195,538,414.27

20

376,405,246,188.68

566,482,115,739.71

ค่าใช้จ่ายบุคลากร

21

57,617,445.56

ค่าบ�าเหน็จบ�านาญ

22

3,390,500.80

ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม

23

26,749,392.19

ค่าวัสดุและค่าใช้สอย

24

971,825,295.31

ค่าสาธารณูปโภค

25

3,971,680.04

ค่าเสื่อมราคา

26

20,540,395.30

ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน

27

776,226,964.43

ค่าใช้จ่ายอื่น

28

782,739,211,089.76

รวมค่าใช้จ่ายจากการด�าเนินงาน

784,599,532,763.39

รายได้สูง/(ต�่า) กว่าค่าใช้จ่ายจากการด�าเนินงาน

(218,117,417,023.68)

รวมรายได้จากการด�าเนินงาน ค่าใช้จ่ายจากการด�าเนินงาน

62

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


งบรายได้และค่าใช้จ่าย (ต่อ) สำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

สำาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554

หมายเหตุ

(หน่วย : บาท) 2554

รายได้/ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการด�าเนินงาน รายการอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับการด�าเนินงาน

29

7,927,807,867.18

รวมรายได้/ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการด�าเนินงาน

(7,927,807,867.18)

รายได้สูง/(ต�่า) กว่าค่าใช้จ่ายจากกิจกรรมปกติ

(226,045,224,890.86)

รายได้สูง/(ต�่า) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ

(226,045,224,890.86)

30

6,213,328,681.52

6,213,328,681.52

รวมรายได้แผ่นดินที่จัดเก็บ

6,213,328,681.52

รายได้แผ่นดินน�าส่งคลัง

6,053,826,054.58

รายได้แผ่นดินสูง/(ต�่า) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ

(225,885,722,263.92)

รายได้แผ่นดินที่จัดเก็บ รายได้แผ่นดิน - นอกจากภาษี รายได้อื่นๆ รวมรายได้แผ่นดิน - นอกจากภาษี

หมายเหตุ ประกอบรายงานการเงินเป็นส่วนหนึ่งของรายงานการเงินนี้

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

63


หมายเหตุประกอบรายงานทางการเงิน สำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

สำาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554

หมายเหตุที่ 1 - ข้อมูลทั่วไป 1.1 ความเป็นมา ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เป็นส่วนราชการในระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง จัดตั้งเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 สบน. เป็นองค์กรทีม่ ีภารกิจในการเสนอแนะนโยบาย รวมทัง้ ด�าเนินการก่อหนีแ้ ละบริหารหนีส้ าธารณะ โดยค�านึงถึง ประโยชน์สูงสุดของประเทศ โดยมีบทบาทด้านงานบริหารจัดการหนี้สาธารณะในฐานะหน่วยงาน (Agency) ซึ่งเป็นการด�าเนินการ ตามภารกิจเช่นเดียวกับส่วนราชการอื่น และงานบริหารหนี้สาธารณะในฐานะหน่วยงานกลาง (Core Agency) ซึ่งประกอบไปด้วย การก่อหนี้ท่กี ระทรวงการคลังได้ผูกพันในฐานะผูก้ ใู้ นนามรัฐบาลของราชอาณาจักรไทย ทั้งหนี้ในประเทศและต่างประเทศ การบริหาร จัดการหนี้คงค้าง รวมถึงการบริหารการช�าระหนี้ ปี 2548 มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548” ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2548 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติฉบับนี้ เพื่อให้การบริหารหนีส้ าธารณะมีประสิทธิภาพ ซึ่งเดิมได้บัญญัติไว้ในกฎหมายหลายฉบับและสมควรให้มี หน่วยงานกลางเป็นหน่วยงานเดียว ท�าหน้าทีร่ ับผิดชอบในการบริหารหนีส้ าธารณะอย่างมีระบบมีประสิทธิภาพ และควบคุมดูแล การก่อหนีโ้ ดยรวม เพื่อให้ภาระหนีส้ าธารณะอยู่ในระดับทีส่ อดคล้องกับฐานะการเงินการคลังของประเทศ ซึ่งก�าหนดให้กระทรวง การคลังเป็นผู้มีอ�านาจในการกู้เงินหรือค�้าประกันในนามรัฐบาลแต่เพียงผู้เดียว โดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีก�าหนดให้มีคณะกรรมการ นโยบายและก�ากับการบริหารหนีส้ าธารณะ ซึ่งมีอ�านาจหน้าทีร่ ายงานสถานะหนีส้ าธารณะเสนอแผนการบริหารหนี้สาธารณะ จัดท�าหลักเกณฑ์ในการบริหารหนี้ แนะน�าการออกกฎกระทรวงและปฏิบัติการอื่น สบน. มีหน้าทีร่ ับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการทัว่ ไปของคณะกรรมการนโยบายและก�ากับการบริหารหนีส้ าธารณะและมี อ�านาจหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างหนี้สาธารณะ หนี้รัฐวิสาหกิจที่ท�าธุรกิจให้กู้ยืม และสถาบันการเงินภาครัฐที่กระทรวง การคลังไม่ได้คา้� ประกัน รวบรวมข้อมูลประมาณการความต้องการเงินภาครัฐ และการบริหารหนี้สาธารณะเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ นโยบายและก�ากับการบริหารหนี้สาธารณะ ด�าเนินการเกี่ยวกับการบริหารหนี้สาธารณะ ให้ค�าปรึกษาแนะน�า ส่งเสริมหน่วยงานของ รัฐในการบริหารจัดการหนี้ ติดตามการปฏิบัตติ ามสัญญาและประเมินผลการใช้จา่ ยเงินกู้ ปฏิบัตงิ านธุรการของคณะกรรมการนโยบาย และก�ากับการบริหารหนี้สาธารณะ และปฏิบัติการอื่น 1.2 การน�าเสนอรายงานการเงิน การจัดท�ารายงานการเงินนี้เป็นไปตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.2/ว.497 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2548 เรื่อง รูปแบบรายงานการเงินมาตรฐานส�าหรับหน่วยงานภาครัฐ และตามหนังสือส�านักงานเลขานุการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0506/ ว166 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 เรื่อง การจัดท�ารายงานการเงินแผ่นดิน รอบระยะเวลาบัญชี ใช้ปงี บประมาณเป็นเกณฑ์ คือเริ่มตั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลาคม ของปีหนึ่ง ถึงวันที่ 30 กันยายน ของปีถดั ไป 64

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


หมายเหตุที่ 2 - สรุปนโยบายการบัญชีที่สำาคัญ 2.1 งบการเงินนีจ้ ัดท�าขึน้ ตามเกณฑ์คงค้าง (Accrual basis) โดยเป็นไปตามข้อก�าหนดในหลักการและนโยบายบัญชี ส�าหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 ตามประกาศกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2546 2.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เช่น เช็ค ตั๋วแลกเงินสด เป็นต้น รับรู้ตามมูลค่าที่ตราไว้ เงินทดรองราชการบันทึก รับรู้เมื่อได้รับเงินควบคู่ไปกับการบันทึกเงินทดรองราชการรับเงินจากคลังระยะยาว 2.3 ลูกหนี้เงินยืม บันทึกรับรู้ตามจ�านวนเงินในสัญญายืม ไม่ว่าจะจ่ายจากเงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณ 2.4 รายได้จากเงินงบประมาณค้างรับ บันทึกเป็นรายได้จากเงินงบประมาณค้างรับ ณ วันทีจ่ ัดท�ารายงานหรือ ณ สิ้นปีงบประมาณ ตามจ�านวนเงินงบประมาณที่ยังไม่ได้รับตามฎีกาเหลื่อมจ่าย

2.5 รายได้ค้างรับ บันทึกตามจ�านวนที่ยังไม่ได้รับจนถึงสิ้นปีงบประมาณ 2.6 วัสดุคงเหลือ แสดงในราคาทุน โดยตีราคาวัสดุคงเหลือตามวิธีเข้าก่อนออกก่อน

2.7 ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า เป็นส่วนลดทีใ่ ห้แก่เจ้าหนีต้ ั๋วเงินคลังและตั๋วสัญญาใช้เงินระยะสัน้ โดยบันทึกเป็นดอกเบี้ยจ่าย เมื่อครบก�าหนดไถ่ถอนตั๋ว 2.8 เงินให้กู้ระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ เป็นเงินให้ยืมแก่รัฐวิสาหกิจ บันทึกรับรู้ตามจ�านวนเงินในสัญญากู้เงิน 2.9 อุปกรณ์ (สุทธิ) เป็นสินทรัพย์ที่มีมูลค่าต่อหน่วย ต่อชุดหรือต่อกลุ่ม ตั้งแต่ 30,000 บาทขึ้นไป เฉพาะที่ซื้อหรือได้มา ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2540 – 2545 ส�าหรับรายการที่จัดซื้อหรือได้มาในปีงบประมาณ 2546 เป็นต้นไป จะรับเฉพาะที่มีมูลค่าตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป โดยแสดงราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม 2.10 เจ้าหนี้ บันทึกรับรู้เจ้าหนี้จากการซื้อสินค้าหรือบริการ เมื่อหน่วยงานได้ตรวจรับสินค้าหรือบริการจากผู้ขายแล้วแต่ยัง ไม่ได้ช�าระเงิน และสามารถระบุมูลค่าสินค้าหรือบริการได้ชัดเจน 2.11 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เกิดขึ้นจากข้อก�าหนดของกฎหมาย ข้อตกลงในสัญญา หรือจากบริการที่ได้รับ เช่น เงินเดือนหรือ ค่าจ้างค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายด�าเนินงานค้างจ่ายและดอกเบี้ยค้างจ่าย เป็นต้น โดยการประมาณค่าตามระยะเวลาทีเ่ กิดค่าใช้จ่ายนั้นๆ ส�าหรับใบส�าคัญค้างจ่ายจะรับรู้เมื่อได้รับใบขอเบิกเงินจากข้าราชการ พนักงานราชการ หรือลูกจ้าง รวมถึงการรับใบส�าคัญที่ทดรอง จ่ายจากเงินทดรองราชการ 2.12 รายได้รับล่วงหน้า บันทึกรับรู้รายได้รับล่วงหน้าเมื่อได้รับเงินตามจ�านวนการใช้จ่ายเงิน รวมถึงการรับเงินสนับสนุน 2.13 เงินกู้ระยะสั้น เป็นเงินกู้ทกี่ ระทรวงการคลังกู้ในนามรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นส่วนของงานหนีส้ าธารณะ ประกอบด้วย 1) เงินกู้ในประเทศ ได้แก่ เงินกู้เกิดจากการออกตั๋วเงินคลัง สัญญาเงินกู้ระยะสัน้ และส่วนทีจ่ ะครบก�าหนดช�าระ ภายในหนึ่งปีของตั๋วสัญญาใช้เงิน พันธบัตรรัฐบาล และเงินกู้ตามสัญญากู้เงินที่เป็นเงินบาท 2) เงินกู้ต่างประเทศ ได้แก่ ตั๋ว Euro Commercial Paper (ECP) และส่วนที่จะครบก�าหนดช�าระภายในหนึ่งปีของ Samurai Bond และเงินกู้ตามสัญญากู้เงินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

65


2.14 เงินกู้ระยะยาว เป็นเงินกู้ที่กระทรวงการคลังกู้ในนามรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นส่วนของงานหนี้สาธารณะ ประกอบด้วย 1) เงินกู้ในประเทศ ได้แก่ เงินกู้ที่เกิดจากการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน พันธบัตรรัฐบาล และเงินกู้ตามสัญญากู้เงินที่เป็น เงินบาท ส่วนเกินมูลค่าพันธบัตรและส่วนต�่ากว่ามูลค่าพันธบัตรรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายทันทีทั้งจ�านวน เมื่อมีการออกจ�าหน่าย พันธบัตร ต่างประเทศ

2) เงินกู้ต่างประเทศ ได้แก่ เงินกู้ที่เกิดจากการออก Samurai Bond และเงินกู้ตามสัญญากู้เงินที่เป็นสกุลเงินตรา

2.15 หนี้สาธารณะ หมายถึง หนี้ท่กี ระทรวงการคลัง หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจกู้ หรือหนี้ท่กี ระทรวงการคลังค�า้ ประกัน (ค�้าประกัน รวมถึงการอาวัลตั๋วเงิน) แต่ไม่รวมถึงหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ท�าธุรกิจให้กู้ยืมเงินโดยกระทรวงการคลังมิได้ค�้าประกัน การกู้ เงินจะท�าเป็นสัญญาหรือออกตราสารหนี้ก็ได้ 2.16 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ ได้บันทึกสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศตามวันที่เกิดรายการด้วยสกุล เงินตราต่างประเทศนัน้ ๆ และแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันทีเ่ กิดรายการ โดยสินทรัพย์และหนี้สินคงเหลือ ณ วันทีจ่ ัดท�ารายงาน หรือ ณ วันสิน้ ปีงบประมาณ ได้แปลงค่าเงินตราต่างประเทศของทรัพย์สินและหนีส้ ินคงเหลือ โดยใช้อัตรา ซื้อส�าหรับสินทรัพย์ และอัตราขายส�าหรับหนี้สิน ตามอัตราแลกเปลี่ยนอ้างอิงตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ก�าไรหรือ ขาดทุนที่เกิดจากการแปลงค่าดังกล่าวรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายจากอัตราแลกเปลี่ยน 2.17 ทุน รับรู้เมื่อเริ่มปฏิบัติตามระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง ซึ่งเกิดจากผลต่างระหว่างสินทรัพย์และหนี้สิน 2.18 การรับรู้รายได้ 2.18.1

รายได้จากเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณรับรู้เมื่อได้รับอนุมัติค�าขอเบิกจากกรมบัญชีกลาง

2.18.2

รายได้ระหว่างหน่วยงาน – กรณียืมเงินจากงบประมาณเพื่อให้ลูกหนี้รัฐวิสาหกิจกู้ต่อ

2.18.3

รายได้อื่น รับรู้ตามเกณฑ์คงค้างเมื่อเกิดรายการ

2.19 ค่าใช้จ่ายบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการด�าเนินงานและค่าใช้จ่ายงบกลาง รับรู้เมื่อเกิดค่าใช้จ่าย 2.20 ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ ค�านวณโดยวิธีเส้นตรงไม่มีราคาซาก (ราคาซาก = 0) สินทรัพย์ที่หมดอายุ การใช้งานแล้วให้ คงมูลค่าไว้ในบัญชี 1 บาท จนกว่าจะมีการจ�าหน่ายสินทรัพย์ออกจากระบบบัญชี การตีราคาสินทรัพย์และคิดค่าเสื่อมราคาได้ ก�าหนดประเภทสินทรัพย์และอายุการใช้งานของสินทรัพย์ต่างๆ ดังนี้

66

ประเภทสินทรัพย์

อายุการใช้งาน (ปี)

ครุภัณฑ์ส�านักงาน

10

ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง

5

ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์และเครื่องใช้ไฟฟ้า

5

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


หมายเหตุที่ 3 - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (หน่วย : บาท) ส่วนราชการ

ส่วนงานบริหารหนี้สาธารณะ

รวม

เงินฝากธนาคาร-เงินนอกงบประมาณ

(280.00)

(280.00)

เงินทดรองราชการ (หมายเหตุที่ 2.2)

1,000,000.00

1,000,000.00

เงินฝากคลัง

3,206,939,935.29

เงินฝาก ธปท. จากการกูเ้ งินเพือ่ ช่วยเหลือกองทุนฟืน้ ฟู เงินฝาก ธปท. จากเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้ เงินฝาก ธปท. จากเงินกู้เพื่อการบริหารหนี้ เงินฝาก ธปท. เพื่อปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ TKK รวม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

3,207,939,655.29

52,718,547,486.96

55,925,487,422.25

2,698,923,800.51

2,698,923,800.51

10,651,307,183.69

10,651,307,183.69

2,630,005,929.34

2,630,005,929.34

174,197,271.10

174,197,271.10

68,872,981,671.60

72,080,921,326.89

เงินทดรองราชการเป็นเงินสด จ�านวน 50,000 บาท และเงินฝากธนาคาร จ�านวน 950,000 บาท

หมายเหตุที่ 4 - ลูกหนี้ระยะสั้น (หน่วย : บาท)

ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ

1,405,484.32

ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ

1,272,647.50

รวม

2,678,131.82

หมายเหตุที่ 5 - รายได้ค้างรับ รายได้ค้างรับเป็นดอกเบี้ยค้างรับ จ�านวน 57,653,118.73 บาท ที่ค�านวณขึ้นตามเกณฑ์คงค้าง (หน่วย : บาท)

รายได้ค้างรับจากหน่วยงานภาครัฐ

54,591,521.58

รายได้ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง

3,061,597.15

รวม

57,653,118.73 ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

67


หมายเหตุที่ 6 - ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า จ�านวน 36,441,952.72 บาท เกิดจากการประมูลขายตั๋วเงินคลัง ซึ่งเมื่อครบก�าหนด จะจ่ายคืนผู้ซื้อตามมูลค่า หน้าตั๋ว ผลต่างระหว่างราคาขายและมูลค่าหน้าตั๋วบันทึกเป็นดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า โดย สบน. จะบันทึกตัดบัญชีดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้ารับรู้ เป็นดอกเบี้ยจ่ายเมื่อครบก�าหนดไถ่ถอนตั๋วเงินคลัง

หมายเหตุที่ 7 - ลูกหนี้-ระยะยาว (หน่วย : บาท)

เงินให้ยืม-ระยะยาว Rel

906,600,000.00

ลูกหนี้อื่น-ระยะยาว รวม

54,122,588.17

960,722,588.17

ลูกหนีอ้ ืน่ ระยะยาว เป็นการบันทึกรับรู้จ�านวนเงินทีจ่ ะได้รับจากการผ่อนช�าระหนีใ้ นส่วนของดอกเบีย้ ผิดนัดช�าระตามบันทึกข้อตกลง ระหว่างกระทรวงการคลังกับองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) เป็นสินทรัพย์ในชื่อบัญชีลูกหนี้อื่นระยะยาว พร้อมรับรู้ ภาระหนี้สินที่ สบน. ต้องน�าส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดินในชื่อบัญชีหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

หมายเหตุที่ 8 - เงินให้กู้ระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ เงินให้กู้ระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ มีจ�านวนทั้งสิ้น 22,532,692,200.29 บาท (หน่วย : บาท) เงินตราต่างประเทศ

อัตราแลกเปลี่ยน

เทียบเท่าเงินบาท

ณ 30 ก.ย. 54 ดอลลาร์สหรัฐ (USD)

40,000,000.00

31.0275

1,241,100,000.00

0.00

40.2908

0.00

12,079,571.39

29.7302

359,128,073.34

0.00

5.6278

0.00

ยูโร (EUR)

347,057.56

41.9395

14,555,420.54

บาท (THB)

20,917,908,706.41

-

20,917,908,706.41

22,532,692,200.29

เยนญี่ปุ่น (JPY) ดอลลาร์แคนาดา (CAD) โครนแดนมาร์ก (DKK)

รวม เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ 68

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


หมายเหตุที่ 9 - อุปกรณ์ (สุทธิ) ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) ราคาทุน

ค่าเสื่อมราคาสะสม

สุทธิ

ครุภัณฑ์สิ่งปลูกสร้าง

3,875,000.00

533,652.96

3,341,347.04

ครุภัณฑ์ส�านักงาน

8,723,086.41

2,851,130.18

5,871,956.23

ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง

6,365,800.00

4,204,407.86

2,161,392.14

ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ

2,048,724.87

1,421,065.55

627,659.32

ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่

1,228,579.57

970,743.76

257,835.81

198,485.00

40,567.07

157,917.93

66,342,436.38

37,810,835.39

28,531,600.99

14,200.02

14,199.02

1.00

10,187,084.80

2,790.98

10,184,293.82

6,727,334.55

6,636,128.67

91,205.88

31,941,182.00

17,249,909.96

14,691,272.04

6,190,000.00

336,717.81

5,853,282.19

143,841,913.60

72,072,149.21

71,769,764.39

ครุภัณฑ์ก่อสร้าง ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว ครุภัณฑ์อื่น ครุภัณฑ์ไม่ระบุรายละเอียด ครุภัณฑ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ส/ท ไม่มีตัวตน รวม อุปกรณ์ (สุทธิ)

สบน. ใช้อาคารส�านักงานเศรษฐกิจการคลัง ชั้น 4 และ 5 เป็นที่ตั้งส�านักงาน โดยส�านักงานเศรษฐกิจการคลังใช้พื้นที่ของที่ ราชพัสดุ ครุภัณฑ์ไม่ระบุรายละเอียด คือ ครุภัณฑ์ที่ได้มาจากเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศที่ได้รับจากธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย ตาม โครงการเสริมสร้างสมรรถนะของ สบน. ซึ่งรับโอนจากส�านักงานเศรษฐกิจการคลังในปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 ที่มีราคาต่อหน่วย เกินกว่า 5,000 บาท ขึ้นไป จ�านวน 136 รายการ มีราคาสินทรัพย์ ณ วันรับโอน 6.73 ล้านบาท โดยมียอดคงเหลือสุทธิจ�านวน 0.26 ล้านบาท

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

69


หมายเหตุที่ 10 - เจ้าหนี้ (หน่วย : บาท)

เจ้าหนี้-หน่วยงานภายนอก เจ้าหนี้อื่น-หน่วยงานรัฐ รวม

85,894,550.91 90,798.81 85,985,349.72

หมายเหตุที่ 11 - ดอกเบี้ยค้างจ่าย ดอกเบี้ยค้างจ่าย จ�านวน 28,443,198,087.18 บาท เป็นดอกเบี้ยค้างจ่าย ที่เกิดจากเงินกู้ในประเทศ และเงินกู้ต่างประเทศคงค้าง

หมายเหตุที่ 12 - ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (หน่วย : บาท)

ใบส�าคัญค้างจ่าย

195,172.13

ค้างจ่ายอื่น-ภายนอก รวม

195,172.13

หมายเหตุที่ 13 - เงินกู้ระยะสั้น (หน่วย : บาท)

70

ตั๋วเงินคลัง

125,691,000,000.00

เงินกู้ระยะยาวที่ครบก�าหนดช�าระภายใน 1 ปี

340,122,450,000.00

รวม เงินกู้ระยะสั้น

465,813,450,000.00

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ตั๋วเงินคลัง เป็นตราสารหนี้ระยะสั้น อายุไม่เกิน 12 เดือน ออกตามขอบเขตของพระราชบัญญัติตั๋วเงินคลัง พ.ศ. 2487 และมาตรา 9 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ต่อมาได้มีการยกเลิกกฎหมายดังกล่าว โดยพระราชบัญญัติการ บริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 ปัจจุบันการออกตั๋วเงินคลังจึงอยู่ภายใต้ขอบเขตของพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 การออกตั๋วเงินคลังมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการบริหารเงินสดของรัฐบาล เงินทีไ่ ด้จากการออกตั๋วเงินคลังได้น�า ไปสมทบเงินคงคลัง ในการ ออกตั๋วเงินคลังจะเกิดค่าใช้จ่าย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการจ�าหน่ายและการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.01 ต่อปี วงเงินทีอ่ อกตั๋วเงินคลัง อยู่ในกรอบวงเงินที่ ครม. อนุมัติให้กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล และเพื่อเสริมสภาพคล่อง ตั๋ว ECP (Euro Commercial Paper) เป็นตราสารหนี้ระยะสั้นที่มีอายุตั้งแต่ 7 วัน ถึง 365 วัน ออกโดยกระทรวงการคลัง ทั้งนี้ กระทรวงการคลังได้จดั ตั้ง ECP Programme วงเงิน 2,000,000,000 เหรียญสหรัฐ เพื่อใช้เป็น Bridge Financing ส�าหรับการท�า Refinance เงินกู้ต่างประเทศทั้งในส่วนของรัฐ ตามพระราชก�าหนดให้อ�านาจกระทรวงการคลังปรับโครงสร้างเงินกู้ต่างประเทศ พ.ศ. 2528 และ/หรือใช้ ส�าหรับการลงทุนในโครงการลงทุนเพื่อการพัฒนาของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจต่างๆ ตามพระราชบัญญัตใิ ห้อา� นาจกระทรวงการคลังกู้เงิน ต่างประเทศ พ.ศ. 2519 ปัจจุบันพระราชก�าหนดและพระราชบัญญัติดังกล่าว ถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548

หมายเหตุที่ 14 - เงินประกัน (หน่วย : บาท)

เงินประกันผลงาน

1,938,434.05

เงินประกันอื่น

2,237,109.45

รวม

4,175,543.50

หมายเหตุที่ 15 - ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า ดอกเบี้ยจ่ายรับล่วงหน้า จ�านวน 903,378,210.00 บาท เกิดจากราคาขายพันธบัตรรัฐบาล ณ วันประมูลซึ่งได้รวมดอกเบี้ยค้างจ่าย ในส่วนนี้ไว้ด้วย

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

71


หมายเหตุที่ 16 - เงินกู้ระยะยาว (หน่วย : บาท)

พันธบัตรรัฐบาล

2,343,475,765,000.00

ตั๋วสัญญาใช้เงิน-ยาว

158,485,010,000.00

สัญญาเงินกู้ระยะยาว (เงินกู้ผ/ด (บาท)-ยาว )

167,226,862,287.22

ส่วนเกินมูลค่า

1,264,374,479.65

ส่วนต�่ากว่ามูลค่า

(10,316,065,805.23)

เงินกู้ผ/ด ตปท.-ยาว

35,061,599,098.09

ปรับเงินกู้ ตปท.-ยาว

10,349,322,083.97

พักช�าระหนี้เงินกู้ตป.

(1,655,038,202.29)

พักช�าระเงินกู้ตป. รวม

230,459,304.63

2,704,122,288,246.04

พันธบัตรรัฐบาลทีอ่ อกเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ คือ พันธบัตรที่ออกตามมาตรา 9 ทวิ แห่งพระราชบัญญัตวิ ธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ต่อมาได้มีการยกเลิกโดยพระราชบัญญัตกิ ารบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 โดยออกตามความในมาตรา 20 (1) เงินที่ได้จากการจ�าหน่ายพันธบัตรได้น�าส่งคลังเพื่อน�าเงินไปชดเชยการขาดดุล ในการออกพันธบัตรจะเกิดค่าใช้จ่าย ได้แก่ ค่าธรรมเนียม ในการจ�าหน่ายและการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.1 ต่อปี พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ คือ พันธบัตรที่ออกตามมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 โดย มีวตั ถุประสงค์เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ เงินที่ได้จากการจ�าหน่ายพันธบัตรได้นา� ไปปรับโครงสร้างหนี้เงินกูท้ ่คี รบก�าหนด และปรับโครงสร้าง หนี้เงินกู้ต่างประเทศเป็นเงินกู้ในประเทศ ในการออกพันธบัตรจะเกิดค่าใช้จ่าย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการจ�าหน่ายและการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.1 ต่อปี พันธบัตรรัฐบาลกรณีพิเศษและพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ ภายใต้พระราชก�าหนดให้อ�านาจกระทรวงการคลังกู้เงิน และจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2541 (FIDF1) มีวงเงินกู้ 500,000 ล้านบาท ออก เพื่อชดใช้ความเสียหายและปรับโครงสร้างแหล่งเงินทุนของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน เงินทีไ่ ด้จากการกู้ไม่ต้อง น�าส่งเป็นรายได้แผ่นดิน และสามารถด�าเนินการปรับโครงสร้างหนี้ ขยายระยะเวลาช�าระหนี้ หรือลดภาระหนี้เดิมได้ เงินที่น�ามาช�าระคืนต้น เงินกูม้ าจากเงินในบัญชีกองทุนเพื่อการช�าระคืนต้นเงินกูช้ ดใช้ความเสียหายของกองทุนเพื่อการฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ประกอบ ด้วย 72

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


1. เงินก�าไรสุทธิท่ธี นาคารแห่งประเทศไทยน�าส่งเป็นรายได้ตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารแห่งประเทศไทย ในแต่ละปีจา� นวนไม่นอ้ ย กว่าร้อยละเก้าสิบ 2. เงินรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจในจ�านวนตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลังก�าหนดโดยอนุมัติ คณะรัฐมนตรี 3. ดอกผลของกองทุน พันธบัตรรัฐบาลกรณีพิเศษและพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ ภายใต้พระราชก�าหนดให้อ�านาจกระทรวงการคลังกู้เงิน และจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่สอง พ.ศ. 2545 (FIDF3) มีวงเงินกู้ 780,000 ล้านบาท ออกเพื่อชดใช้ความเสียหายและปรับโครงสร้างแหล่งเงินทุนของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน เงินที่ได้จาก การกู้ไม่ต้องน�าส่งเป็นรายได้แผ่นดิน และสามารถด�าเนินการปรับโครงสร้างหนี้ ขยายระยะเวลาช�าระหนี้หรือลดภาระหนี้เดิมได้ เงินที่น�ามา ช�าระคืนต้นเงินกู้ มาจากบัญชีสะสมเพื่อการช�าระคืนต้นเงินกู้ชดใช้ความเสียหายของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ที่เปิดไว้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย โดยเป็นเงินมาจากสินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ประจ�าปี ตามกฎหมายว่าด้วยเงินตรา พันธบัตรรัฐบาลกรณีพิเศษ ภายใต้พระราชก�าหนดให้อา� นาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อเสริมสร้างความมัน่ คงของระบบสถาบันการ เงิน พ.ศ. 2541 (TIER1) เพื่อใช้ด�าเนินมาตรการเสริมสร้างความมั่นคงของระบบสถาบันการเงินภายในประเทศ โดยเป็นการออกพันธบัตร เพื่อแลกกับหุน้ บุรมิ สิทธิ์ของสถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการโดยออกในจ�านวนที่เท่ากัน ซึ่งได้ด�าเนินการออกพันธบัตรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2542 - พ.ศ. 2543 จ�านวน 61,304 ล้านบาท โดยมีเงื่อนไขว่า พันธบัตร ที่ออกตามโครงการนี้จะไม่สามารถไถ่ถอนก่อนก�าหนดได้ เว้นแต่มี การจ�าหน่ายหุ้นบุริมสิทธิ์ที่กระทรวงการคลังถือตามโครงการนี้ โดยสามารถไถ่ถอนได้เป็นจ�านวนที่เท่ากัน พันธบัตรรัฐบาลกรณีพิเศษ ภายใต้พระราชก�าหนดให้อ�านาจกระทรวงการคลังกูเ้ งินเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2541 (TIER2) ออกเพื่อใช้ดา� เนินมาตรการเสริมสร้างความมั่นคงของระบบสถาบันการเงินภายในประเทศ โดยเป็นการออกพันธบัตรเพื่อ แลกกับหุ้นกู้ด้อยสิทธิ์ของสถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการโดยออกในจ�านวนที่เท่ากัน ซึ่งได้ด�าเนินการออกพันธบัตรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2542 - พ.ศ. 2544 จ�านวน 12,430 ล้านบาท ตัว๋ สัญญาใช้เงิน เป็นตราสารหนีท้ อี่ อกตามมาตรา 9 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม ต่อมาได้มีการยกเลิกโดยพระราชบัญญัตกิ ารบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 เงินที่ได้จากการออกตั๋วสัญญาใช้เงินได้นา� ส่งคลังเพื่อน�าไปชดเชย การขาดดุล ซึ่งกระทรวงการคลังสามารถออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับผู้ให้กู้โดยตรง จึงไม่มีค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ นอกจากนี้ ปัจจุบันยังมีตั๋วสัญญา ใช้เงินที่ออกตาม FIDF1, FIDF3 และTKK อีกด้วย พันธบัตรกรณีพิเศษที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ได้แก่ พันธบัตรพัฒนาอาชีวศึกษา, พันธบัตรรามา และพันธบัตรโรงเรียนมัธยมแบบ ประสม ออกตามพระราชบัญญัติกู้เงินเพื่อพัฒนาอาชีวศึกษา พ.ศ. 2509, กฎกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2511 และพระราชบัญญัติ กู้เงินเพื่อพัฒนาการศึกษาโรงเรียนมัธยมแบบประสม พ.ศ. 2514 ตามล�าดับ เพื่อใช้ด�าเนินโครงการพัฒนาอาชีวศึกษา จัดซื้อครุภัณฑ์ ต่างประเทศตามโครงการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี และพัฒนาการศึกษาโรงเรียนมัธยมแบบประสม ตามล�าดับ โดย มีวงเงิน จ�านวน 7,010,000 เหรียญสหรัฐ 1,700,000 เหรียญสหรัฐ และ 6,817,000 เหรียญสหรัฐ ตามล�าดับ ในการออกพันธบัตรจะเกิด ค่าใช้จ่าย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการจ�าหน่าย และการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.04 ต่อปี สัญญาเงินกูร้ ะยะยาว เป็นการท�าสัญญาเงินกูภ้ ายใต้ FIDF3 เพื่อปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ และภายใต้ TKK เพื่อด�าเนินโครงการตามแผน ปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ภายใต้พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 เพื่อให้รัฐวิสาหกิจกู้ต่อ

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

73


หมายเหตุที่ 17 - หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น จ�านวนรวมทั้งสิ้น 2,706,322,588.17 บาท ประกอบด้วย - การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ได้ยืมเงินจากงบประมาณ ตามสัญญาช�าระคืนเงินยืมระหว่างกระทรวงการคลัง กับการทางพิเศษแห่งประเทศไทย สัญญาเลขที่ 342/2553 ลงวันที่ 18 มกราคม 2554 และได้ทยอยเบิกเงินรวมจ�านวน 2,652,200,000.00 บาท - อ.ส.ค. ได้ผ่อนช�าระหนีใ้ นส่วนของดอกเบีย้ ผิดนัดช�าระ ตามบันทึกข้อตกลงระหว่างกระทรวงการคลังกับองค์การส่งเสริมกิจการ โคนมแห่งประเทศไทย ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2554 จ�านวน 54,122,588.17 บาท

หมายเหตุที่ 18 - ทุน จำานวน 1,745,948,795,386.54 บาท ประกอบด้วย สินทรัพย์และหนีส้ ินทีร่ ับโอนจากกรมบัญชีกลาง เนือ่ งจากการโอนงานบริหารหนีส้ าธารณะมาให้ สบน. ด�าเนินการโดยบันทึกยอด สินทรัพย์สุทธิไว้ในบัญชีทุน จ�านวน 1,745,948,795,386.54 บาท

หมายเหตุที่ 19 - รายได้จากรัฐบาล (หน่วย : บาท)

รายได้จากงบบุคลากร

38,869,120.34

รายได้จากงบลงทุน

22,364,514.36

รายได้จากงบด�าเนินงาน

30,119,589.42

รายได้จากงบกลาง รายได้เงินกู้

74

9,619,241.02 809,447,753.30

รายได้จากงบรายจ่ายอื่น

188,455,851,989.04

รายได้จากงบรายจ่ายอื่น

515,058,929.28

รวม รายได้จากรัฐบาล

189,881,331,136.76

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


หมายเหตุที่ 20 - รายได้ระหว่างหน่วยงาน (หน่วย : บาท)

TR-บก. โอนเงินนอก ร/ด ปรับเงินฝากคลัง ร/ด จากหน่วยอื่น ร/ด นอกงปม.ตั๋วเงินคลัง ร/ด เงินทดรองราชการ ร/ด กรมเดียวกัน รวม รายได้ระหว่างหน่วยงาน

65,634,092,822.66 114,206,205,754.68 38,613,962.28 192,199,834,371.89 (83,090,286.82) 4,409,589,563.99 376,405,246,188.68

หมายเหตุที่ 21 - ค่าใช้จ่ายบุคลากร (หน่วย : บาท)

เงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินตอบแทนข้าราชการ ค่าจ้างชั่วคราว เงินตอบแทนพนักงานราชการ เงินรางวัล เงินชดเชยสมาชิก กบข. เงินสมทบ กบข. เงินสมทบกองทุนประกันสังคม ตอบแทนรถประจ�าต�าแหน่ง เงินเพิ่ม เงินช่วยการศึกษาบุตร เงินช่วยค่ารักษาพยาบาลข้าราชการและลูกจ้าง - คนไข้นอก เงินช่วยค่ารักษาพยาบาลข้าราชการลูกจ้าง - คนไข้ใน เงินช่วยค่ารักษาพยาบาลข้าราชการลูกจ้าง - คนไข้ในเอกชน รวม ค่าใช้จ่ายบุคลากร

37,623,006.42 266,539.82 23,128.56 10,539,519,82 1,120,370.31 83,536.51 626,538.51 939,807.76 583,340.00 996,168.18 4,200.00 249,698.00 3,364,779.25 1,159,810.42 37,002.00 57,617,445.56

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

75


หมายเหตุที่ 22 - ค่าบำาเหน็จบำานาญ ประกอบด้วย (หน่วย : บาท)

บ�านาญปกติ

1,929,629.16

เงินช่วยผู้รับเบี้ยหวัด

123,256.51

เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบ�านาญ

117,062.88

บ�าเหน็จด�ารงชีพ

600,000.00

เงินชดเชยกรณีเลิกจ้าง

366,030.00

ค่ารักษาพยาบาลข้าราชการบ�านาญคนไข้นอก-รพ.รัฐ

254,522.25

รวม บ�าเหน็จบ�านาญ

3,390,500.80

หมายเหตุที่ 23 - ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม (หน่วย : บาท)

76

ค่าหลักสูตรอบรมในประเทศ

80,000.00

ค่าเดินทางอบรมในประเทศ

13,150,497.54

ค่าเบี้ยเลี้ยงอบรมในประเทศ

61,063.96

ค่าที่พักอบรมในประเทศ

112,716.65

ค่าใช้จ่ายด้านทุนการศึกษาในประเทศ

456,844.39

ค่าใช้จ่ายในการอบรมในประเทศอื่นๆ

136,065.00

ค่าเดินทางอบรมต่างประเทศ

2,168,545.91

ค่าเบี้ยเลี้ยงอบรมต่างประเทศ

718,886.04

ค่าที่พักอบรมต่างประเทศ

1,888,455.87

ค่าใช้จ่ายด้านทุนการศึกษาต่างประเทศ

3,311,182.81

ค่าใช้จ่ายเดินทางไปต่างประเทศ

4,665,134.02

รวม ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม

26,749,392.19

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


หมายเหตุที่ 24 - ค่าวัสดุและค่าใช้สอย (หน่วย : บาท)

ค่าวัสดุ

5,380,956.57

ค่าซ่อมแซมและบ�ารุงรักษา

541,620.96

ค่าปิโตรเลียมส�าหรับการใช้งาน

165,780.00

ค่าจ้างเหมาบริการ-ภายนอก ค่าจ้างเหมาบริการ-รัฐ ค่าจ้างที่ปรึกษา

13,240,403.04 292,032.00 28,735,964.00

ค่าเบี้ยประกัน

4,576.00

ค่าเบี้ยประชุม

1,813,135.00

ค่ารับรอง

13,645.00

ค่าเช่าอสังหา-นอก

637,875.40

ค่าเช่าเบ็ดเตล็ด-นอก

1,117,854.24

ค่าวิจัยและพัฒนา-รัฐ

1,252,377.50

ค่าใช้จ่ายผลักส่งรายได้ ค่าประชาสัมพันธ์

916,787,801.60 1,211,471.00

ค่าใช้สอยอื่นๆ

425,698.00

ค่าตอบแทนเฉพาะงาน

204,105.00

รวม ค่าวัสดุและค่าใช้สอย

971,825,295.31

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

77


หมายเหตุที่ 25 - ค่าสาธารณูปโภค ประกอบด้วย (หน่วย : บาท)

ค่าไฟฟ้าส�าหรับการใช้งาน

1,072,946.66

ค่าโทรศัพท์ส�าหรับการใช้งาน

604,922.95

ค่าไปรษณีย์และค่าขนส่ง

218,291.00

ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม

2,075,519.43

รวม ค่าสาธารณูปโภค

3,971,680.04

หมายเหตุที่ 26 - ค่าเสื่อมราคา (หน่วย : บาท)

ค่าเสื่อมราคา - สิ่งปลูกสร้าง

258,333.33

ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์ส�านักงาน

704,604.35

ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์ยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง

216,120.44

ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ

139,903.86

ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่

222,528.32

ค่าเสื่อมราคา - ก่อสร้าง ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์อื่น

12,335,236.60 535.88 2,790.98

ตัดจ�าหน่าย - Software

6,283,926.73

ตัดจ�าหน่าย - Inte Org

336,717.81

รวม ค่าเสื่อมราคา

78

39,697.00

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

20,540,395.30


หมายเหตุที่ 27 - ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน (หน่วย : บาท) ส่วนราชการ

เงินอุดหนุนเพื่อการด�าเนินงาน - หน่วยงานของรัฐ เงินอุดหนุนเพื่อการด�าเนินงานอื่นๆ

รวม

23,141,800.00

23,141,800.00

365,446,164.43

365,446,164.43

เงินอุดหนุนเพื่อการด�าเนินงาน Inte Org รวม ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน

ส่วนงานบริหารหนี้สาธารณะ

388,587,964.43

387,639,000.00

387,639,000.00

387,639,000.00

776,226,964.43

- เงินอุดหนุนเพื่อการด�าเนินงานอื่นๆ เป็นการบันทึกบัญชีในกรณีท่ี สบน. ได้รบั ช�าระคืนหนี้ตน้ เงินจากรัฐวิสาหกิจที่ก้ยู ืมเงินต่อจาก กระทรวงการคลังและน�าส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน

หมายเหตุที่ 28 - ค่าใช้จ่ายอื่น (หน่วย : บาท)

ดอกเบี้ยจ่าย ในประเทศ ระยะสั้น ดอกเบี้ยจ่าย ในประเทศ ระยะยาว ดอกเบี้ยจ่าย ต่างประเทศ ระยะสั้น ดอกเบี้ยจ่าย ต่างประเทศ ระยะยาว T/E บก. โอนเงินกู้ T/E เบิกเกินส่งคืน T/E หน่วยงานโอนให้ สรก. T/E ปรับเงินฝากคลัง T/E สรก. กับ สรก. T/E ตั๋วเงินคลัง T/E กู้ชดเชยขาดดุล T/E ภายในกรม T/E เงินกู้แปลงตั๋ว โอนสินทรัพย์ให้หน่วยงานของรัฐ รวม ค่าใช้จ่ายอื่น

1,088,761,420.86 293,131,826.26 131,639,498,397.40 936,115,922.26 64,373,484,137.13 144,544,331.13 114,175,851,384.57 66,242,310,123.96 286,495,413.21 164,460,064,653.73 162,480,814,797.15 4,409,589,563.99 72,208,525,900.30 23,217.81 782,739,211,089.76

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

79


หมายเหตุที่ 29 - รายการอื่นๆ ที่ไม่เกิดจากการดำาเนินงาน (หน่วย : บาท)

ก�าไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินกู้ต่างประเทศ

802,064,019.33

ก�าไรที่รับรู้แล้วจากอัตราแลกเปลี่ยนจากเงินกู้ต่างประเทศ

(649,865,466.52)

ก�าไรไถ่ถอนก่อนก�าหนด

(70,786,678.64)

ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินกู้ต่างประเทศ

2,636,534,132.68

ขาดทุนที่รับรู้แล้วจากอัตราแลกเปลี่ยนจากเงินกู้ต่างประเทศ

1,682,731,310.07

ค่าธรรมเนียมเงินกู้ ค่าใช้จ่ายทางการเงินอื่น

491,812,637.60 37,317,912.66

จ�าหน่ายเงินลงทุน

2,998,000,000.00

รวม รายการอื่นๆ ที่ไม่เกิดจากการด�าเนินงาน

7,927,807,867.18

รายการอื่นๆ ที่ไม่เกิดจาการด�าเนินงาน คชจ.ทางการเงินอื่น จ�านวน 1,476,416.12 บาท เกิดการคลาดเคลื่อนเนื่องจากเมื่อขึ้นระบบ GFMIS –TR เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2550 ได้ยกยอดพันธบัตรเงินกู้ต่างประเทศ จ�านวน JPY 19,305,000,000 โดยระบบได้ดึงข้อมูลที่ได้ ท�าการจ่ายช�าระค่าใช้จ่ายทางการเงินอื่นไปแล้ว ตั้งแต่ปี 2543 ที่ถูกบันทึกรายการบัญชีจะไม่มีรายจ่ายเกิดขึ้น

80

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


หมายเหตุที่ 30 - รายได้แผ่นดิน - รายได้อื่นๆ (หน่วย : บาท)

รายได้จากค่าปรับอื่น รายได้จากค่าธรรมเนียมอื่น รายได้จากค่าธรรมเนียมให้กู้ค�้า ดอกเบี้ยเงินฝากที่สถาบันการเงิน

18,866,324.70 166,792,253.38 6,100.00 12,460,045.23

ดอกเบี้ยเงินให้กู้

144,512,107.33

ดอกเบี้ยรับหุ้นกู้ด้อยสิทธิ์ โครงการเงินกองทุนชั้นที่ 2

104,933,191.78

รายได้ งปผ.อื่น

461,256,861.75

รายรับจากเงินลงทุน

2,998,000,000.00

รายรับจากการขายครุภัณฑ์

432,770.00

เงินเหลือจ่ายปีเก่า

412,463.55

รายได้รับช�าระหนี้

365,446,164.43

รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอื่น รายได้บริการ-ภายนอก รวม รายได้อื่น

1,940,158,909.37 51,490.00 6,213,328,681.52

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

81


บทความวิชาการ สำ�นักง� ง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

82

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


พระราชกำาหนด 4 ฉบับ กับภารกิจของ สบน. วิกฤตอุทกภัยปี 2554 : ที่มาของการตราพระราชกำาหนด เป็นทีท่ ราบกันโดยทัว่ ไปว่าวิกฤตการณ์อุทกภัยทีเ่ กิดขึ้นอย่าง รุนแรงในปี 2554 ได้สร้างความเดือดร้อนเสียหายแก่ชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชนเป็นจ�านวนมาก อีกทัง้ ยังส่งผลกระทบ อย่างรุนแรงต่อภาคธุรกิจ เกษตรกรรม และอุตสาหกรรมใน วงกว้าง รัฐบาลจึงมีความจ�าเป็นต้องด�าเนินมาตรการต่างๆ เพื่อ ช่วยเหลือเยียวยาผู้ทไี่ ด้รับความเสียหายจากอุทกภัยและฟื้นฟู เศรษฐกิจและสังคมของประเทศให้กลับสูภ่ าวะปกติโดยเร็ว รวมทั้ง ต้องลงทุนวางระบบบริหารจัดการน�้าเพือ่ แก้ไขปัญหาอุทกภัยและ ภัยแล้งอย่างบูรณาการ ดังนัน้ เพื่อผลักดันมาตรการต่างๆ ให้สัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรม ในช่วงต้นปี 2555 รัฐบาลจึงได้เสนอพระราชก�าหนด (พ.ร.ก.) จ�านวน 4 ฉบับ ขึ้นใช้บังคับ1 ซึ่งประกอบด้วย (1) พ.ร.ก. การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผทู้ ่ไี ด้รบั ความเสียหายจากอุทกภัย พ.ศ. 2555 (2) พ.ร.ก. กองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ พ.ศ. 2555 (3) พ.ร.ก. ให้อ�านาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน�้าและสร้าง อนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 และ (4) พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ทกี่ ระทรวงการคลังกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการ ฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2555 โดยที่กฎหมายทั้ง 4 ฉบับ มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับบทบาทหน้าที่ของกระทรวงการคลังในการ ฟืน้ ฟูประเทศจากวิกฤตอุทกภัยในครั้งนี้ จึงถือเป็นภารกิจเร่งด่วนของส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ทีต่ ้องด�าเนินการตามกฎหมายเพื่อขับเคลือ่ นมาตรการต่างๆ ตามนโยบายรัฐบาลให้สา� เร็จ โดยเร็ว ในบทความนี้จะขอกล่าวถึงมาตรการต่างๆ ของรัฐบาลภายใต้กฎหมายทั้ง 4 ฉบับ ตลอดจน บทบาทหน้าที่ของ สบน. ดังต่อไปนี้ 1

กฎหมายทั้ง 4 ฉบับ ได้ประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2555 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ 27 มกราคม 2555 ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

83


มาตรการที่สำาคัญภายใต้พระราชกำาหนด 4 ฉบับ มาตรการที่ 1 การให้ความช่วยเหลือด้านสินเชื่อแก่ผู้ประสบอุทกภัย : พ.ร.ก. การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ที่ได้รับความ เสียหายจากอุทกภัย พ.ศ. 2555 พ.ร.ก. ฉบับนี้เป็นหนึ่งในมาตรการเร่งด่วนของรัฐบาลในการฟืน้ ฟูและช่วยเหลือประชาชนและผูป้ ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) ที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัยให้มีเงินทุน เพื่อน�าไปใช้ในการซ่อมแซมและฟื้นฟูที่อยู่อาศัยและกิจการที่ ได้รับความเสียหายได้อย่างทัว่ ถึงและเพียงพอ โดยได้ก�าหนดให้ผู้ประสบอุทกภัยสามารถกู้ยืมเงินได้ในอัตราดอกเบี้ยไม่เกิน ร้อยละ 3 ต่อปี จากธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐทีเ่ ข้าร่วมโครงการ ซึ่งมาตรการดังกล่าวมีวงเงินสินเชื่อ ไม่เกิน 300,000 ล้านบาท โดยได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 70 ของวงเงินสินเชื่อ หรือคิดเป็น 210,000 ล้านบาท โดยรัฐบาลไม่ต้องใช้เงินงบประมาณเพื่อชดเชยส่วนต่างของดอกเบี้ยแต่อย่างใด ทั้งนี้ พ.ร.ก. ดังกล่าวได้ก�าหนดขั้นตอนและเงื่อนไขในการให้กู้เงินระหว่าง ธปท. กับสถาบันการเงิน และระหว่างสถาบันการเงินกับ ผู้ประสบอุทกภัย โดยสรุปได้ดังนี้

สถาบันการเงินต้องยื่นค�าขอกู้เงินจาก ธปท. ภายใน 31 ธ.ค. 2556

ธนาคารแห่งประเทศไทย

ให้กู้ยืมเงิน - ดอกเบี้ย 0.01% ต่อปี - ช�าระคืนภายใน 5 ปี (ไม่เกิน 31 ธ.ค. 2561)

สถาบันการเงิน (ธ.พาณิชย์ และ SFI) ใช้เงิน ธปท. ไม่เกิน 70% (210,000 ลบ.) สถาบันการเงิน ไม่น้อยกว่า 30% (90,000 ลบ.)

มาตราการช่วยเหลือ : ให้กู้ยืมเงิน ดอกเบี้ยต�่าวงเงินไม่เกิน 300,000 ล้านบาท - ดอกเบี้ย ไม่เกิน 3% ต่อปี SMEs ประชาชน

84

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

- อยู่/ประกอบธุรกิจในพื้นที่ ประสบอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 - ได้รับความเสียหาย


แม้ว่าการด�าเนินมาตรการสินเชื่อเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยตาม พ.ร.ก. ฉบับนี้ จะมิใช่ภารกิจหลักของ สบน. ก็ตาม แต่ สบน. ได้รับมอบหมายให้ด�าเนินการยกร่างและเสนอกฎหมายดังกล่าว รวมทัง้ จัดท�าข้อมูลพื้นทีป่ ระสบอุทกภัยในปี 2554 เพื่อใช้ ประกอบการพิจารณาจัดสรรวงเงินของ ธปท. และแจ้งสถาบันการเงิน เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาให้สินเชื่อดังกล่าว โดย ธปท. ได้ก�าหนดให้สถาบันการเงินให้สินเชื่อ แก่บุคคลธรรมดาได้ไม่เกิน 3 ล้านบาท และ SMEs ไม่เกิน 30 ล้านบาท2 ซึ่งจาก ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2555 สถาบันการเงินได้อนุมัติวงเงินสินเชื่อให้แก่ผู้ประสบอุทกภัยไปแล้วเป็นวงเงินรวม 49,938 ล้าน บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 16.64 ของวงเงินสินเชื่อทั้งโครงการ โดยเป็นการอนุมัติสินเชื่อให้แก่ประชาชน จ�านวน 35,910 ล้านบาท และธุรกิจ SMEs จ�านวน 14,028 ล้านบาท และยังคงมีระยะเวลาในการด�าเนินโครงการอีกกว่า 1 ปี ที่ผู้ประสบอุทกภัยจะยื่นขอ สินเชื่อดังกล่าวได้ มาตรการที่ 2 การสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุน : พ.ร.ก. กองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ พ.ศ. 2555 เนื่องจากวิกฤตอุทกภัยในปี 2554 ได้สร้างความเสียหายแก่ทรัพย์สินและกิจการของประชาชนและผู้ประกอบการในประเทศ ในวงเงินทีส่ ูงมาก จนส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบการประกันภัยของประเทศ ท�าให้ไม่สามารถด�าเนินการได้อย่างเป็นปกติ ประชาชนและผูป้ ระกอบการไม่สามารถหาบริษทั รับประกันภัยได้ หรืออาจจ�าเป็นต้องจ่ายเบี้ยประกันภัยในอัตราสูงมาก ดังนั้น เพื่อ ช่วยเหลือประชาชนและผู้ประกอบการให้ได้รับความคุ้มครองทรัพย์สินและกิจการ ตลอดจนเพื่อสร้างความเชื่อมัน่ ให้แก่นักลงทุน รัฐบาลจึงได้ตรา พ.ร.ก. เพื่อจัดตั้ง “กองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบตั ิ” ขึ้นในกระทรวงการคลัง โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อรับประกัน ภัย ท�าประกันภัยต่อ และให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผปู้ ระกอบธุรกิจประกันวินาศภัย โดยก�าหนดให้กระทรวงการคลังกูเ้ งิน ใน วงเงินไม่เกิน 50,000 ล้านบาท ให้กองทุนน�าไปใช้ด�าเนินการภายใต้ พ.ร.ก. ดังกล่าว ทั้งนี้ การด�าเนินงานของกองทุนจะอยูใ่ นก�ากับ ดูแลของคณะกรรมการบริหารกองทุน ภารกิจที่สา� คัญของ สบน. ตาม พ.ร.ก. ฉบับนี้ คือด�าเนินการ กู้เงินเพื่อน�าส่งให้แก่กองทุนตามความจ�าเป็น โดยเงินกู้ก้อนแรก ที่ สบน. ได้จัดหาให้แก่กองทุนเป็นการกู้เงินแบบ Term Loan วงเงิน 500 ล้านบาท ซึ่งกองทุนได้มีการเบิกจ่ายเพื่อใช้ในการ ด�าเนินงานไปแล้วจ�านวน 58.203 ล้านบาท (ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2555) การด� า เนิ น งานทีผ่ ่ า นมา กองทุน ได้ ร ่ ว มกั บ บริ ษั ท ไทย รับประกันภัยต่อ จ�ากัด (มหาชน) และบริษัทประกันวินาศภัย 54 แห่งทัว่ ประเทศ ด�าเนินการจ�าหน่ายกรมธรรม์ประกันภัย พิบัติ เพื่อให้ความคุ้มครองภัยธรรมชาติ 3 ภัย ได้แก่ น�้าท่วม แผ่นดินไหว และลมพายุ ซึ่งถือเป็นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงภัยพิบัติที่สามารถเข้าถึงประชาชนและผู้เอาประกันภัยได้ทุก ภาคส่วน ได้แก่ กลุ่มที่อยู่อาศัย ธุรกิจ SME และอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ซึ่งจะช่วยสร้างความมั่นใจให้กับนักลงทุนทั้งภายในและ ภายนอกประเทศได้ อย่างไรก็ตาม หากในอนาคตระบบการประกันภัยของประเทศสามารถด�าเนินการต่อไปได้เอง รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังอาจเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อยุบเลิกกองทุนได้เมื่อไม่มีความจ�าเป็น

2

ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 12/2555 และประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 44/2555

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

85


มาตรการที ่ 3 การระดมทุนของภาครัฐเพือ่ แก้ไขปัญหาอุทกภัยในระยะยาว : พ.ร.ก. ให้อา� นาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อวาง ระบบการบริหารจัดการน�้าและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีอยู่อย่างจ�ากัด ทัง้ รายจ่ายประจ�าและรายจ่ายฉุกเฉินเฉพาะหน้า ดังนัน้ เพื่อเตรียมความ พร้อมทางด้านการเงินของรัฐบาลทีจ่ ะใช้ในการแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งอย่างบูรณาการ รัฐบาลจึงได้ตรากฎหมายเพื่อให้ อ�านาจกระทรวงการคลังกู้เงินเป็นกรณีพิเศษ ในวงเงินไม่เกิน 350,000 ล้านบาท เพื่อใช้ในการลงทุนวางระบบการบริหารจัดการ น�้าและสร้างอนาคตประเทศ ซึ่งการกู้เงินดังกล่าวจะต้องด�าเนินการให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2556 หรือประมาณ 1 ปี 6 เดือน นับจากที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ และเพื่อให้การใช้จ่ายเงินกู้เป็นไปอย่างโปร่งใสและตรวจสอบได้ กฎหมายยังได้ก�าหนด ให้คณะรัฐมนตรีเสนอกรอบการใช้จ่ายเงินต่อรัฐสภาเพือ่ ทราบก่อนเริม่ ด�าเนินการด้วย โดยกรอบการใช้จ่ายเงินทีค่ ณะรัฐมนตรี ได้เสนอต่อรัฐสภา ในช่วงต้นปี 2555 ที่ผ่านมา ประกอบด้วยการลงทุน 2 ส่วนหลักๆ คือ (1) กรอบการลงทุนด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า วงเงิน 340,000 ล้านบาท และ (2) กรอบการลงทุนตามแผนยุทธศาสตร์เพื่อการสร้างอนาคตประเทศ วงเงิน 10,000 ล้านบาท ในการนี้ เพื่อให้การใช้จ่ายเงินกู้ภายใต้กรอบการลงทุนข้างต้นเป็นไปอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ นายกรัฐมนตรีได้แต่งตั้ง และมอบหมายให้คณะกรรมการ 2 ชุด ประกอบด้วย คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) และ คณะกรรมการบริหารจัดการน�้าและอุทกภัย (กบอ.) ท�าหน้าทีพ่ ิจารณากลัน่ กรองโครงการลงทุนต่างๆ เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี อนุมัติตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยคณะกรรมการและหน่ ว ยงานภาครั ฐ ทีเ่ กี ่ย วข้ อ ง ได้ก�าหนดแผนงานลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานด้านต่างๆ ซึ่ง ครอบคลุมการบริหารจัดการทรัพยากรน�้าอย่างเป็นระบบและ บูรณาการ อาทิ แผนงานฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าและระบบนิเวศ การสร้างอ่างเก็บน�า้ การบริหารจัดการเขื่อนกักเก็บน�า้ การจัด ท�าทางน�้าหลาก (floodway) และทางผันน�้า (flood diversion channel) การปรับปรุงสภาพล�าน�้าสายหลัก คันริมแม่น�้า การ ยกระดับถนนและทางหลวงเพื่อป้องกันน�า้ ท่วมในพื้นที่เศรษฐกิจ และชุมชน ตลอดจนการก�าหนดพื้นที่รับน�้านอง และมาตรการ ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการใช้พื้นที่เพื่อการรับน�้า และ แผนงานพัฒนาคลังข้อมูล ระบบพยากรณ์ และเตือนภัย เป็นต้น นอกจากรัฐบาลจะให้ความส�าคัญในด้านการใช้จ่ายเงินกู้ให้เป็นไปอย่างโปร่งใสและมีประสิทธิภาพแล้ว ในการด�าเนินการ กูเ้ งินยังต้องค�านึงถึงต้นทุนการกูเ้ งินที่เหมาะสมและความสามารถในการบริหารการคลังของประเทศด้วย โดยในส่วนนี้จะเป็นภารกิจ หลักของ สบน. ที่ตอ้ งวางแผนการกูเ้ งินให้สอดคล้องกับความต้องการใช้เงินของโครงการลงทุนต่างๆ ซึ่ง สบน. จะทยอยกูเ้ งินตาม ความจ�าเป็น เพื่อลดภาระงบประมาณของประเทศ และจะเน้นการกูเ้ งินภายในประเทศเป็นหลัก เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ใน ประเทศที่ตลาดการเงินมีสภาพคล่องเพียงพอ อีกทั้งต้องพัฒนาตลาดตราสารหนี้และนวัตกรรมทางการเงินรูปแบบใหม่ๆ เพื่อเพิ่มทาง เลือกในการออมให้แก่ประชาชนด้วย โดย สบน. ได้ด�าเนินการกู้เงินแบบ Term Loan วงเงิน 10,000 ล้านบาท เพื่อเตรียมพร้อม ส�าหรับการเบิกจ่ายเงินลงทุนของหน่วยงานภาครัฐแล้ว (ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2555)

86

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


มาตรการที่ 4 การเสริมสร้างความมั่นคงทางการคลัง : พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ที่กระทรวงการคลัง กู้เพื่อช่วยเหลือ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2555 เนือ่ งจากปัญหาหนีเ้ งินกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้กับ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (กองทุน ฟืน้ ฟูฯ) ซึ่งปัจจุบันมีอยูป่ ระมาณ 1.14 ล้านล้านบาท เป็นปัญหา ที่ค่งั ค้างมานานกว่า 10 ปี จากปัญหาวิกฤตสถาบันการเงินในอดีต แนวทางในการช�าระคืนเงินกู้ทีต่ กลงร่วมกันระหว่างกระทรวง การคลังกับ ธปท. ตามกฎหมายเดิมไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจาก ขาดความแน่นอนในการช�าระคืนต้นเงินกู้ ท�าให้รัฐบาลต้องตั้งงบ ประมาณเพือ่ ช�าระดอกเบี้ยของหนีด้ ังกล่าวปีละกว่า 65,000 ล้านบาท ซึ่งเป็นข้อจ�ากัดในการบริหารงบประมาณของประเทศ ตลอดมา ประกอบกับในช่วงปี 2555 - 2559 รัฐบาลต้องลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานครั้งใหญ่เพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัยอย่างเป็นระบบ ทั้งประเทศ ท�าให้มีความจ�าเป็นต้องก่อหนี้ใหม่จ�านวนมาก ดังนั้น หากไม่มีการแก้ไขปัญหาหนี้ของกองทุนฟื้นฟูฯ ให้มีความชัดเจน จะท�าให้หนี้สาธารณะดังกล่าวเป็นภาระงบประมาณเพิ่มสูงขึ้น จนกระทบต่อกรอบความยั่งยืนทางการคลังในที่สุด พ.ร.ก. ฉบับนีจ้ ึงเป็นมาตรการเพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพทางการคลังของประเทศ โดยการปรับปรุงการบริหารจัดการหนี้ของ กองทุนฟื้นฟูฯ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยการก�าหนดแนวทางในการช�าระหนี้เงินกู้ FIDF13 และ FIDF34 เสียใหม่ ให้สอดคล้องกับ สถานะทางการคลังของรัฐบาลและศักยภาพของ ธปท. ในปัจจุบัน โดยให้ภาระหนี้สินและทรัพย์สินบริหารอยู่ในที่เดียวกัน และให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนรับผิดชอบร่วมกัน โดย พ.ร.ก. นี้ได้ก�าหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆ ไว้ดังต่อไปนี้ v ก�าหนดให้กองทุนฟื้นฟูฯ มีหน้าที่ช�าระหนี้เงินกู้ FIDF1 และ FIDF3 โดยก�าหนดแหล่งที่มาในการช�าระหนี้ไว้ ดังต่อไปนี้ (1) เงินก�าไรสุทธิของ ธปท. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (FIDF1 เดิม) (2) สินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ประจ�าปีตามกฎหมายว่าด้วยเงินตรา (FIDF3 เดิม) (3) เงินหรือสินทรัพย์ของกองทุนฟื้นฟูฯ ตามจ�านวนที่คณะรัฐมนตรีก�าหนด (เพิ่มเติม) (4) เงินที่สถาบันการเงินน�าส่งให้ ธปท. (เพิ่มเติม) v ก�าหนดให้ ธปท. มีอ�านาจจัดเก็บเงินน�าส่งจากสถาบันการเงินได้ในอัตราที่ ธปท. ประกาศก�าหนด ซึ่งปัจจุบัน ธปท. ได้มี เรียกเก็บเงินน�าส่งจากสถาบันการเงินในอัตราร้อยละ 0.46 ต่อปี ของยอดเงินที่สถาบันการเงินได้รับจากประชาชน5 v เนือ่ งจากกระทรวงการคลังยังคงเป็นลูกหนีเ้ งินกู้อยู่ (พันธบัตรรัฐบาล) สบน. จึงมีหน้าที่บริหารจัดการหนีด้ ังกล่าว ให้สอดคล้องกับความสามารถในการช�าระหนี้ของกองทุนฟื้นฟูฯ ทั้งในแง่ระยะเวลาและต้นทุนการกู้เงิน

พ.ร.ก. ให้อ�านาจกระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2541 วงเงินกู้ 500,000 ล้านบาท พ.ร.ก. ให้อ�านาจกระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินระยะที่สอง พ.ศ. 2545 วงเงินกู้ 780,000 ล้านบาท 5 ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกส. 3/2555 3 4

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

87


การช�าระหนี้ FIDF ตามกฎหมายเดิม แหล่งเงินในการช�าระหนี้ FIDF1 1. ก�าไรสุทธิของ ธปท. 2. รายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (ในระหว่าง ทีย่ งั ช�าระเงินต้นไม่ครบ กระทรวงการคลังต้อง ตัง้ งบประมาณเพื่อช�าระดอกเบี้ยไปพลางก่อน) FIDF3

3 . สินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ ประจ�าปีตามกฎหมายว่าด้วยเงินตรา (ช�าระส่วนของเงินต้น) 4. งบประมาณ (ช�าระส่วนของดอกเบี้ย)

15 ปีที่ผ่านมา - ช�าระหนี้ไปเพียง 55,021 ล้านบาท - ยังมีหนี้เงินกู้คงค้าง 1.14 ล้านล้านบาท (87%) ภาระต่องบประมาณ ในการช�าระดอกเบี้ยประมาณ ปีละ 65,000 ล้านบาท

การช�าระหนี้ FIDF ตาม พ.ร.ก. ใหม่ แหล่งเงินในการช�าระหนี้ FIDF1 1. เงินก�าไรสุทธิของ ธปท. 2. เงินน�าส่งของสถาบันการเงินตามอัตราที่ FIDF3 ธปท. ก�าหนด 3. เงินและสินทรัพย์ของกองทุนฟื้นฟูฯ ตาม จ�านวนที่ ครม. ก�าหนด FIDF3

4. สินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ ประจ�าปีตามกฎหมายว่าด้วยเงินตรา (ช�าระส่วนของเงินต้น) ผลที่ได้รับ

- แหล่งเงินในการช�าระหนี้มีความแน่นอน - ไม่เป็นภาระต่องบประมาณ - คาดว่าจะช�าระหนี้ได้ภายใน 24 ปี

เห็นได้ว่า พ.ร.ก. ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาหนี้เงินกู้ของกองทุนฟื้นฟูฯ ที่เป็น Dead Lock ตามกฎหมายเดิมให้ หมดไปอย่างเป็นรูปธรรมและยัง่ ยืน เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับภาคการคลังของประเทศ ซึ่งสามารถประหยัดงบประมาณใน การช�าระดอกเบีย้ ได้ปีละกว่า 65,000 ล้านบาท และจากการประมาณการเบือ้ งต้นคาดว่ากลไกในการช�าระหนีต้ าม พ.ร.ก. นี้จะ ท�าให้สามารถช�าระหนี้ FIDF ที่คงค้างอยู่ได้ภายใน 24 ปี โดยที่ผ่านมา สบน. และกองทุนฟื้นฟูฯ ได้ร่วมกันก�าหนดแนวทางและวิธี ปฏิบัตติ า่ งๆ เพื่อให้ข้นั ตอนการด�าเนินงานมีความชัดเจนและมีประสิทธิภาพ พร้อมรองรับกระบวนการช�าระหนี้ตามกลไกใหม่ท่ีจะเริ่ม ในปีงบประมาณ 2556 นี้

กล่าวโดยสรุป ในภาวะที่งบประมาณของประเทศมีอยูอ่ ย่างจ�ากัด การกูเ้ งินถือเป็นแหล่งเงินทุนที่สา� คัญ (Last Resort) ของประเทศในการแก้ไขปัญหา วิกฤตเศรษฐกิจในทุกยุคสมัย ทั้งวิกฤตสถาบันการเงินในปี 2540 และ Hamburger Crisis ในปี 2551 และในปัจจุบนั ที่ประเทศต้องเผชิญ กับวิกฤตอุทกภัยและภัยธรรมชาติอ่นื ๆ สบน. ตระหนักถึงบทบาทที่สา� คัญในการเตรียมความพร้อมในการระดมเงินทุนของภาครัฐ ทั้งในส่วน ของการก่อหนี้ใหม่เพื่อให้ได้ตน้ ทุนทางการเงินที่เหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการใช้จา่ ยเงินของภาครัฐ ตลอดจนการบริหารจัดการ หนี้คงค้างอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถรองรับความจ�าเป็นในการใช้จา่ ยของภาครัฐในอนาคตได้อย่างยั่งยืน การแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งอย่างบูรณาการ ถือเป็นนโยบายส�าคัญและจ�าเป็นเร่งด่วนที่สุดของประเทศในยามนี้ พ.ร.ก. ทั้ง 4 ฉบับ จึงถือเป็นเครื่องมือทางกฎหมายที่ส�าคัญในการสนับสนุนให้มาตรการต่างๆ ของรัฐบาลสัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรมได้โดยเร็ว ซึ่งจะช่วยสร้างความเชื่อมัน่ ต่อประชาคมโลก ว่าประเทศไทยมีศักยภาพในการบริหารจัดการเศรษฐกิจและสังคม รวมทัง้ สามารถ รับมือกับสถานการณ์ภัยพิบัติและพร้อมรองรับการลงทุนจากต่างชาติได้เป็นอย่างดี 88

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


แนวทางการดำาเนินโครงการเพื่อการวางระบบบริหารจัดการนำ้า และสร้างอนาคตประเทศ ภายใต้พระราชกำาหนด ให้อำานาจกระทรวงการคลังกู้เงิน เพื่อวางระบบบริหารจัดการนำ้าและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 ความเป็นมา สืบเนื่องจากเหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ในประเทศไทยที่เกิดขึ้นในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม 2554 จนถึงกลางเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 ได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อประชาชนเป็นอย่างมาก หรือประมาณ 1.44 ล้านล้านบาท และมีผู้ได้รับผลกระทบจ�านวน กว่า 1.2 ล้านคน จากการประเมินของธนาคารโลก (World Bank) ดังนัน้ รัฐบาลจึงได้ตราพระราชก�าหนดให้อา� นาจกระทรวง การคลังกู้เงินเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน�้าและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 (พระราชก�าหนดฯ) เพื่อให้อ�านาจกระทรวง การคลังกู้เงินบาทหรือเงินตราต่างประเทศมาใช้ในการลงทุนโครงการเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน�้าของประเทศ ภายในวงเงิน 350,000 ล้านบาท ทั้งนี้ การกู้เงินดังกล่าวกระท�าได้ภายในก�าหนดระยะเวลาไม่เกินวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556 อย่างไรก็ดี เนื่องจากการด�าเนินโครงการตามวัตถุประสงค์ของพระราชก�าหนดฯ เกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน ดังนั้น เพื่อให้การ บริหารจัดการโครงการเป็นไปอย่างมีระบบและหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง มีความชัดเจนในขอบเขตความรับผิดชอบและในขั้นตอนวิธี การด�าเนินโครงการเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน�้าและสร้างอนาคตประเทศ กระทรวงการคลังและส�านักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงได้เสนอร่างระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรี 2 ฉบับ ต่อคณะรัฐมนตรี โดยคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรี 2 ฉบับ ดังนี้ 1. ระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารจัดการน�้าและอุทกภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2555 (ระเบียบฯ การบริหารจัดการ น�้าและอุทกภัยแห่งชาติ) ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมือ่ วันที่ 16 กรกฎาคม 2555 โดยมีเนือ้ หาครอบคลุมการน�าเสนอโครงการของหน่วยงานและ คณะกรรมการที่ได้รับการจัดตั้งต่างๆ และ 2. ระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้เพื่อการวางระบบบริหารจัดการน�า้ และสร้าง อนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 (ระเบียบฯ การบริหารจัดการน�้าและสร้างอนาคตประเทศ) ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2555 โดยมี เนื้อหาในขั้นตอนการเสนอโครงการต่อคณะรัฐมนตรี การด�าเนินการของหน่วยงาน การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และการ ติดตามประเมินผล

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

89


ทั้งนี้ บทความฉบับนี้จะกล่าวถึงบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการด�าเนินการตามระเบียบฯ การบริหารจัดการน�้าและ สร้างอนาคตประเทศเป็นหลัก ซึ่งมีความเกี่ยวโยงกับระเบียบฯ การบริหารจัดการน�้าและอุทกภัยแห่งชาติ ดังจะกล่าวต่อไป ระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารจัดการน�้าและอุทกภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ระเบียบฯ การ บริหารจัดการน�้าและอุทกภัยแห่งชาติ) ระเบียบฯ การบริหารจัดการน�้าและอุทกภัยแห่งชาติ เป็นระเบียบที่จัดตั้งและก�าหนดขอบเขตอ�านาจหน้าที่ขององค์กรที่เป็น ศูนย์กลางรับผิดชอบในการก�าหนดนโยบาย การบริหารจัดการน�้า การป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย ดังนี้ 1. คณะกรรมการนโยบายน�้าและอุทกภัยแห่งชาติ (กนอช.) มีอา� นาจหน้าที่ในการก�าหนดนโยบายการจัดท�าแผนปฏิบตั กิ าร บริหารจัดการน�้า โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน รัฐมนตรีเจ้ากระทรวงต่างๆ และผู้ทรงคุณวุฒิรวม 52 ท่าน เป็นกรรมการ และ มีคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพือ่ การวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน�า้ (กยน.) ตามระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย ยุทธศาสตร์เพื่อการวางระบบบริหารจัดการทรัพยากรน�้า พ.ศ. 2554 เป็นคณะที่ปรึกษา 2. คณะกรรมการบริหารจัดการน�้าและอุทกภัย (กบอ.) มีหน้าที่ (1) จัดท�าแผนปฏิบัติการ ซึ่งอาจเป็นแผนแม่บทการบริหาร จัดการทรัพยากรน�้าที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ หรือแนวทางการบริหารจัดการน�้าและอุทกภัยอื่นใดที่ กบอ. เห็นสมควรให้ด�าเนินการ และคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแล้ว (แผนปฏิบัติการฯ) (2) ด�าเนินการบริหารจัดการน�้าตามนโยบายของ กนอช. (3) อนุมัติแผนงานหรือ โครงการของหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง (4) พิจารณาจัดท�าโครงการบริหารจัดการน�้าและแก้ไขปัญหาอุทกภัยอย่างเป็นระบบ หรือ โครงการที่มีความจ�าเป็นอื่นใดเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ (5) ก�ากับและติดตามการด�าเนินงาน รวมถึงสามารถก�าหนดวิธกี ารด�าเนิน งานของหน่วยงานของรัฐเพื่อให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการหรือการปฏิบัติงานใดๆ ตามมติของ กนอช. หรือ กบอ. (6) ให้ความเห็น ชอบการสนับสนุนวงเงินรายจ่าย ก�าลังคน วัสดุ อุปกรณ์ และทรัพยากรอื่น และ (7) สั่งการให้หน่วยงานของรัฐ (ได้แก่ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นของรัฐ) แก้ไขหรือปรับปรุงแผนงาน โครงการ หรือการด�าเนินการ ให้เป็นไปโดย สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ แผนงาน หรือโครงการ หรือการด�าเนินการของหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น หรือตามที่เห็นเหมาะสม ทั้งนี้ กบอ. มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นประธาน กบอ.

แผนภาพแสดงขั้นตอนการจัดทำาแผนปฏิบัติการของ กบอ.

90

กนอช.

กบอ.

กนอช.

คณะรัฐมนตรี

กำาหนดนโยบาย

จัดทำา แผนปฏิบัติการน้ำา ตามนโยบาย กนอช.

พิจารณา แผนปฏิบัติการ

อนุมัติ แผนปฏิบัติการน้ำา

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


3. ส�ำนักงำนนโยบำยและบริหำรจัดกำรน�ำ้ และอุทกภัยแห่งชำติ (สบอช.) เป็นหน่วยงานภายในส�านักเลขาธิการนายก รัฐมนตรี ซึ่งท�าหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการฯ ของ กนอช. และ กบอ. โดยประสานงานกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องในการรวบรวม ข้อมูล แผนงาน โครงการหรือการด�าเนินการทีเ่ กี่ยวกับการบริหารจัดการน�้าและอุทกภัย รวมทัง้ ก�ากับ ดูแล ติดตามและเร่งรัด การปฏิบัติงานและการประเมินผล เสนอต่อ กบอ. เพื่อ กบอ. เสนอต่อ กนอช. ทั้งนี้ สบอช. ต้องน�าเสนอรายงานการประชุมและ มติที่ประชุม กบอ. และ กนอช. ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบและเพื่ออนุมัติตามล�าดับ ระเบียบส�ำนักนำยกรัฐมนตรีวำ่ ด้วยกำรบริหำรโครงกำรและกำรใช้จำ่ ยเงินกูเ้ พื่อกำรวำงระบบบริหำรจัดกำรน�้ำและสร้ำงอนำคต ประเทศ พ.ศ. 2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ระเบียบฯ กำรบริหำรจัดกำรน�้ำและสร้ำงอนำคตประเทศ) ระเบียบฯ การบริหารจัดการน�้าและสร้างอนาคตประเทศ เป็นระเบียบที่กา� หนดขอบเขต ขั้นตอนวิธกี ารอนุมัตโิ ครงการที่ใช้จา่ ย เงินกู้ตามพระราชก�าหนดฯ การด�าเนินโครงการ การบริหารและจัดการการกู้เงิน และการเบิกจ่ายเงินกู้ การติดตามประเมินผล และ การรายงานผลการด�าเนินงาน และการใช้เงินเหลือจ่าย ซึ่งขั้นตอนดังกล่าวมีความเกี่ยวพันกับองค์กรที่ถกู จัดตั้งขึ้นตามระเบียบฯ การ บริหารจัดการน�้าและอุทกภัยแห่งชาติ กรอบการใช้จ่ายเงินกู้ตามพระราชก�าหนดฯ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้เสนอต่อรัฐสภาเพื่อทราบเมือ่ วันที ่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 อันเป็นการด�าเนินการตามมาตรา 3 แห่งพระราชก�าหนดฯ ประกอบด้วย 6 แผนงาน วงเงิน 350,000 ล้านบาท ซึ่งสามารถแบ่งได้ เป็น 2 ส่วน คือ การลงทุนตามแผนปฏิบัตกิ ารบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่ลมุ่ น�า้ วงเงิน 340,000 ล้านบาท และการลงทุนตามยุทธศาสตร์ เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ วงเงิน 10,000 ล้านบาท ระเบียบฯ การบริหารจัดการน�้าและสร้างอนาคตประเทศ ได้นิยามความหมายของโครงการครอบคลุมถึงการลงทุนทั้ง 2 ส่วน ข้างต้น ซึ่งได้ก�าหนดให้ผู้มีอ�านาจพิจารณาอนุมัติโครงการในขั้นตอนการเสนอโครงการ ได้แก่ กบอ. ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามระเบียบฯ การ บริหารจัดการน�้าและอุทกภัยแห่งชาติ และคณะกรรมกำรยุทธศำสตร์เพื่อกำรฟืน้ ฟูและสร้ำงอนำคตประเทศ (กยอ.) ตามระเบียบ ส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2554 โดยรายละเอียดระเบียบฯ การบริหาร จัดการน�้าและสร้างอนาคตประเทศ มีดังนี้

“หน่วยงานของรัฐ” หมายถึง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นของรัฐ

“หน่วยงานเจ้าของโครงการ” หมายถึง หน่วยงานของรัฐที่ได้รับอนุมัติหรือได้รับมอบหมายให้ด�าเนินการตามโครงการ

1. บททั่วไป

ระเบียบนี้ใช้บังคับได้กับโครงการที่ต้องด�าเนินการโดยใช้จ่ายเงินจากเงินกู้ตามพระราชก�าหนดฯ ส่วนโครงการที่ได้รับการ จัดสรรทัง้ งบประมาณรายจ่ายและเงินกู้หรือแหล่งใดแหล่งหนึง่ ในภายหลัง การด�าเนินการในส่วนทีเ่ กี่ยวกับงบประมาณรายจ่าย ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามทีบ่ ัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยการนัน้ และให้หน่วยงานเจ้าของโครงการรายงานให้ กบอ. ทราบ ส่วนการด�าเนินการที่เกี่ยวกับเงินกู้เท่านั้นจึงจะให้เป็นไปตามระเบียบนี้ กรณีทโี่ ครงการใดต้องด�าเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบใด ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการด�าเนินการตาม ขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ทัง้ นี ้ หากมีปญ ั หาในการปฏิบัตติ ามระเบียบนี้ นายกรัฐมนตรีจะเป็นผูม้ ีอ�านาจพิจารณา

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

91


วินิจฉัยหรือก�าหนดวิธปี ฏิบัตเิ ป็นการเฉพาะเรื่อง โดยรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเป็นผูก้ �ากับดูแลการด�าเนินโครงการและถือเป็นตัวชี้วดั ในการ ประเมินผลการปฏิบัติงานด้วย

2. ขั้นตอนการอนุมัติโครงการ 2.1 การอนุมัติโครงการตามแผนปฏิบัติการฯ

(1) เมื่อคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบกับแผนปฏิบัติการฯ แล้ว กบอ. มีหน้าที่แจ้งหน่วยงานเจ้าของโครงการจัดท�า รายละเอียดของโครงการตามแผนปฏิบัติการฯ และวงเงินการใช้จ่ายที่ขอรับการจัดสรรจากเงินกู้เสนอต่อ กบอ. เพื่อพิจารณาเสนอ ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัติ ภายในระยะเวลาที่ กบอ. ก�าหนด (2) ส�าหรับโครงการที่จัดท�าขึ้นก่อนแผนปฏิบัติการฯ หรือโครงการตามมติคณะรัฐมนตรี โดย กนอช. หรือ กบอ. และหน่วยงานของรัฐเห็นควรให้ใช้เงินกู้ หน่วยงานเจ้าของโครงการมีหน้าที่จดั ท� ารายละเอียดของโครงการตามแผนปฏิบตั กิ ารฯ และ วงเงินการใช้จ่ายที่ขอรับการจัดสรรจากเงินกู้เสนอต่อ กบอ. เพื่อพิจารณาเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัติ (3) ส�าหรับโครงการที่ กบอ.เห็นสมควรเสนอ กนอช. เห็นชอบในหลักการก่อน ก็ให้ด�าเนินการตามนั้นแล้วเสนอ คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป 2.2 การอนุมัติโครงการตามแผนยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ โครงการใดเป็นโครงการตามแผนยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ ตามที่ กยอ. ก� าหนด หน่วยงานเจ้าของโครงการ โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีเจ้าสังกัด เสนอรายละเอียดของโครงการตามแผนยุทธศาสตร์เพื่อการ ฟืน้ ฟูและสร้างอนาคตประเทศและวงเงินการใช้จา่ ยที่ขอรับจัดสรรจากเงินกูต้ อ่ กยอ. ภายในระยะเวลาที่ กยอ. ก� าหนด เพื่อพิจารณา กลั่นกรอง แล้วเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ

โครงการอื่น

โครงการน�้า

แผนภาพแสดงขั้นตอนการอนุมัติโครงการ

92

กนอช.

กบอ.

ก�าหนดนโยบาย

จัดท�าแผนปฏิบัติการน�้า ตามนโยบาย กนอช.

340,000 ลบ. ระเบียบฯ ว่าด้วยการ บริหารจัดการน�้า และอุทกภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2555

โครงการที่เกิดขึ้นก่อน มีแผนปฏิบัติการ

โครงการตามแผน ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟู และสร้างอนาคตประเทศ ที่ กยอ. ก�าหนด

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

กนอช. พิจารณาแผนปฏิบัติการ กรณีสอดคล้องกับ แผนแจ้งเพือ่ ทราบ

หน่วยงาน

เสนอรายละเอียด โครงการ และวงเงินกู้

หน่วยงาน

คณะรัฐมนตรี

กรณีแตกต่างจากแผน เสนอเพื่อขออนุมัติ สคช. กลั่นกรอง โครงการ

กยอ.

10,000 ลบ.

หน่วยงาน

สบอช. แจ้งมติ

กบอ.

จัดท�า รายละเอียด โครงการ +วงเงินกู้

กลั่นกรองรายละเอียดโครงการและ เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ แจ้ง กนอช. เพื่อทราบ

คณะรัฐมนตรี

กนอช. อนุมัติโครงการ+ วงเงินกู้ และ มอบหมายให้ กบอ. แจ้งหน่วยงานทราบ


3. กำรด�ำเนินกำรโครงกำร

เมื่อคณะรัฐมนตรีอนุมัติโครงการแล้ว ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการจัดส่งแผนด�าเนินการและแผนการใช้จ่ายเงินต่อส�านัก งบประมาณและจัดส่งประมาณการเบิกจ่ายรายเดือนต่อส�านักงานบริหารหนีส้ าธารณะ โดยส�านักงบประมาณจะพิจารณาจัดสรร วงเงินกู้และจัดส่งแผนด�าเนินการและแผนการใช้จ่ายเงินของหน่วยงานเจ้าของโครงการต่อส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ทั้งนี้ ในการจัดหาพัสดุ แบ่งเป็น 3 กรณี ดังนี้

1) โดยทัว่ ไปหน่วยงานเจ้าของโครงการต้องปฏิบัติตามระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม และระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 หรือระเบียบ ข้อบังคับ ของหน่วยงานเจ้าของโครงการ แล้วแต่กรณี หรือระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานฯ แล้วแต่กรณี และหากมีปัญหาข้อขัดข้องในการ จัดหาพัสดุคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุตามระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการว่าด้วยการ พัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 หรือ ผู้ซึ่งมีอ�านาจหน้าทีต่ ามทีก่ า� หนดไว้ในระเบียบหรือข้อบังคับของหน่วยงานเจ้าของโครงการ เป็นผู้มีอา� นาจหน้าทีใ่ นการตีความและ วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบหรือข้อบังคับ และพิจารณาการอนุมัติ ยกเว้น หรือผ่อนผันการไม่ปฏิบัติตามระเบียบ หรือข้อบังคับ แล้วแต่กรณี 2) กรณีกเู้ งินจากต่างประเทศเพื่อใช้ในโครงการใดโครงการหนึ่งโดยเฉพาะ และแหล่งเงินกูก้ า� หนดให้ใช้หลักเกณฑ์ ระเบียบ การด�าเนินงานและการจัดซื้อจัดจ้างของแหล่งเงินกู้นั้น และ 3) กรณีที่ กบอ. เห็นว่า เป็นโครงการที่มีความจ�าเป็นเร่งด่วนในการบริหารจัดการน�้าหรือป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย อย่างเป็นระบบ หรือเป็นโครงการที่มีลักษณะหรือสภาพเฉพาะเป็นพิเศษ* กบอ. อาจเสนอหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการพัสดุ ในการด�าเนินโครงการนัน้ ให้แตกต่างจาก1ที่ก�าหนดไว้ในระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไข เพิ่มเติม และระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 หรือระเบียบหรือข้อบังคับของ หน่วยงานเจ้าของโครงการแล้วแต่กรณี พร้อมกับระบบการควบคุม ตรวจสอบ และติดตามการด�าเนินการต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อ พิจารณาก�าหนดเพื่อให้การด�าเนินโครงการเป็นไปอย่างรวดเร็วทันต่อสถานการณ์ หรือเหมาะสมกับลักษณะหรือสภาพของโครงการ และเมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัตโิ ครงการแล้ว ให้ดา� เนินการตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่คณะรัฐมนตรีก�าหนดโดยไม่อยูใ่ นบังคับของ ระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุด้วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 หรือระเบียบหรือข้อบังคับของหน่วยงานเจ้าของโครงการแล้วแต่กรณี 4. กำรบริหำรจัดกำรกำรกู้เงิน และกำรเบิกจ่ำยเงินกู้

ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะมีหน้าที่จดั หาเงินกู ้ ด�าเนินการกูเ้ งิน และบริหารจัดการเงินกู ้ โดยกระทรวงการคลังอาจก�าหนด หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการเงินกู้เพื่อให้ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะด�าเนินการ ทั้งนี้ ส�านักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ มีหน้าที่ประสานงานหน่วยงานเจ้าของโครงการเพื่อเร่งรัดการด�าเนินงาน ติดตามความก้าวหน้า

ใช้บังคับกับโครงการที่ กบอ. พิจารณาจัดท�าขึ้น หรือโครงการอื่นใดที่ กนอช. หรือ กบอ. เห็นว่าเป็นโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับการบริหารจัดการน�้าหรืออุทกภัยด้วย

1

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

93


ในการเบิกจ่ายเงินกู้ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินงานของหน่วยงานเจ้าของโครงการ ในส่วนที่เกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินกู้ ต่อ กบอ. หรือ กยอ. แล้วแต่กรณี ในการเบิกจ่ายเงินกู้ หน่วยงานเจ้าของโครงการต้องปฏิบัติตามระเบียบการเบิกจ่ายเงินของทางราชการและหลักเกณฑ์ หรือวิธีปฏิบัติที่กระทรวงการคลังก�าหนด ยกเว้นการกู้เงินเพื่อใช้ในโครงการใดโดยเฉพาะ ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะจะก�าหนด ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการเบิกจ่ายจากแหล่งเงินกู้โดยตรงได้ โดยให้หน่วยงานเจ้าของโครงการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ของแหล่งเงินกู้

แผนภาพแสดงขั้นตอนการดำาเนินโครงการ การบริหารโครงการ และการเบิกจ่ายเงินกู้ คณะรัฐมนตรี

ทัง้ 3 กรณี หากกระทบ แผนปฏิ บ ัติ การและ แผนการใช้ จ่ า ยเงิ น ให้ หน่ ว ยงาน ปรั บ แผนฯ และจัดส่งให้ สงป. อีกครั้ง

94

ขอโอนเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ

กรณีสาระ ส� า คั ญ ทั้ ง 2 กรณีให้ หน่วยงาน ท� า ความ ตกลงกับ

อนุมัติโครงการ+วงเงินกู้ และมอบหมายให้ กบอ. กรณีสาระส�าคัญ+กระทบวงเงิน แจ้งหน่วยงานทราบ หน่วยงานเสนอค�าขอโอน ปป. หน่วยงานส่งแผนปฏิบัติ พร้อมเหตุผล หน่วยงาน ครม. กยอ. / กบอ. สบอช. / สศช. จา่ ยเงิน เจ้าของโครงการ การ+แผนการใช้ (แผนฯ) และขอรับการ กรณีสาระส�าคัญ+ไม่กระทบวงเงิน จัดสรรเงิน กยอ. / กบอ. สบอช. / สศช. หน่วยงานเสนอค�าขอโอน ปป. พร้อมเหตุผล จั ด สรรเงิ น กู ้ ต ามทีไ่ ด้ รับอนุมัติ / เห็นชอบ กรณีไม่ใช่สาระส�าคัญและไม่กระทบกรอบวงเงิน แผนฯ ของหน่วยงาน ส�านักงบประมาณ และจั ด ส่ ง แผนฯ ต่ อ หน่วยงานเสนอค�าขอโอน ปป. พร้อมเหตุผลต่อ สงป. เพื่ออนุมัติเมื่อทราบผล สบน. / พิจารณาค�าขอ แล้วให้หน่วยงานรายงาน กบอ. / กยอ. ทราบ โอนเปลีย่ นแปลงฯ / ค�าขอใช้เงินเหลือจ่าย จัดซื้อจัดจ้าง / ท�า PO ค่า K / ติดตามการเบิก และท�าสัญญา จ่ายเงินกู้ เปิดบัญชี ส�านักงานบริหาร จั ด หาเงิ น กู ้ บริ ห าร หน่วยงาน กรมบัญชีกลาง / ติ ด ตามการ เบิกจ่ายเงินกู้ หนี้สาธารณะ เงิเบินกกูจ่า้ ยเงิ กู้เงินตามแผน นกู้ ผ่านระบบ GFMS / การใช้จ่าย ติดตามความก้าวหน้าการเบิกจ่ายเงินกู้ เสนอ ความเห็น ประกอบ เพื่อ ครม. อนุมัติ

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


5. การโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ 5.1 กรณีเป็นสาระส�าคัญและกระทบต่อกรอบวงเงินที่ได้รับอนุมัต ิ ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการเสนอคำาขอดังกล่าว พร้อมเหตุผลความจำาเป็นต่อ สบอช. หรือสำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อนำาเสนอต่อ กบอ. หรือ กยอ. แล้วแต่กรณี เพื่อทำาความเห็นประกอบการพิจารณาอนุมัติของคณะรัฐมนตรี 5.2 กรณีเป็นสาระส�าคัญ แต่ไม่กระทบต่อกรอบวงเงินที่ได้รับอนุมัติ ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการเสนอคำาขอดังกล่าว พร้อมเหตุผลความจำาเป็นต่อ สบอช. หรือสำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อนำาเสนอต่อ กบอ. หรือ กยอ. พิจารณาอนุมัติ แล้วแต่กรณี 5.3 กรณีที่ไม่เป็นสาระส�าคัญและไม่กระทบต่อกรอบวงเงินที่ได้รับอนุมัต ิ ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการเสนอคำาขอ ดังกล่าวต่อสำานักงบประมาณ และเมื่อสำานักงบประมาณพิจารณาอนุมัติแล้ว ให้รายงานต่อ กบอ. หรือ กยอ. เพื่อทราบ แล้วแต่กรณี 6. การติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการด�าเนินการ และการใช้เงินเหลือจ่าย สำานักงานปลัดกระทรวงการคลังวางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโครงการเพื่อติดตามความก้าวหน้าในการดำาเนินโครงการ การเบิกจ่ายเงิน และการประเมินผล โดยหน่วยงานเจ้าของโครงการรายงานความก้าวหน้าในการดำาเนินโครงการและการใช้จ่ายเงิน กูผ้ า่ นระบบดังกล่าว ทัง้ นี ้ สบอช. และสำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทาำ หน้าที่เร่งรัดการดำาเนินงาน ติดตามความก้าวหน้า เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค รวมทั้งประเมินผลสัมฤทธิ์และผลกระทบต่อเศรษฐกิจในภาพรวม ต่อ กบอ. หรือ กยอ. แล้วแต่กรณี ส่วนการใช้เงินเหลือจ่ายสามารถทำาได้หาก กบอ. หรือ กยอ. เห็นว่ามีความจำาเป็นต้องจัดสรรให้โครงการอื่น กรณีตอ้ งดำาเนินโครงการ ขึ้นใหม่ หรือกรณีท่สี าำ นักงบประมาณพิจารณาเห็นควรใช้เพื่อชดเชยค่างานก่อสร้าง (ค่า K) ตามคำาขอของหน่วยงานเจ้าของโครงการ

แผนภาพแสดงขั้นตอนการติดตาม ประเมินผล และรายงานผล เร่งรัดการด การดำาเนินการ

หน่วย งาน

สศช.

สงป.

เร่งรัดการเบิกจ่าย

สบน.

สบอช.

ราย งาน ผล

เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา

กบอ. กยอ.

กรมบัญชีกลาง

แผนภาพแสดงการใช้เงินเหลือจ่ายกรณีการทำาสัญญาโดยมีค่า K หน่วยงาน

เสนอคำาขออนุมัต/ิ จัดสรรวงเงิน ชดเชยค่า K ตามที่ กค. แจ้ง

สงป.

อนุมัต/ิ จัดสรร วงเงินชดเชย ค่า K

หน่วยงาน

เบิกจ่ายตามวงเงิน ที ่ สงป. อนุมัติ

กรมบัญชีกลาง

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

95


สรุปบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานผู้ดำาเนินโครงการ ตามระเบียบฯ การบริหารจัดการน้ำาและอนาคตประเทศ กำรเสนอ โครงกำร

] เสนอโครงการที่สอดคล้องกับแผนแม่บททรัพยากรน�้าต่อ กบอ. หรือโครงการตามยุทธศาสตร์ที่ กยอ.

ก�าหนด ภายในระยะเวลาที่ กบอ. หรือ กยน. ก�าหนด ] จัดท�ารายละเอียดโครงการและวงเงินการใช้จ่ายทีข่ อรับการจัดสรรจากเงินกู้ตามนโยบายที่ กนอช./ กบอ./กยอ. ก�าหนด ] ส่งแผนการด�าเนินงาน/แผนการใช้จ่ายเงินต่อส�านักงบประมาณ ] จัดหาพัสดุตามระเบียบพัสดุฯ ที่เกี่ยวข้อง

กำรด�ำเนินกำร

] จัดท�าประมาณการเบิกจ่ายเงินกู้รายเดือนส่ง สบน. ] รายงานผลการด�าเนินงาน/การเบิกจ่ายเงินตามระบบ PFMS - FRP ] เสนอค�าขอโอนเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ

กำรติดตำม โครงกำร

- สาระส�าคัญ : สบอช./สศช. - ไม่ใช่สาระส�าคัญ : สงป.

] จัดเตรียมข้อมูลประกอบการติดตามประเมินผลโครงการ

ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติโครงการตามกรอบงบประมาณการด�าเนินการแก้ไขปัญหาอุทกภัยระยะเร่งด่วน ปี 2555 แล้ว วงเงิน 28,918.8612 ล้านบาท ตามที่ กบอ. เสนอ และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2555 ได้ก�าหนดให้ใช้จ่ายจาก เงินกู้ภายใต้พระราชก�าหนดฯ และให้หน่วยงานขอรับการจัดสรรจากส�านักงบประมาณ ตามระเบียบฯ การบริหารจัดการน�้าและ สร้างอนาคตประเทศต่อไป ส่วนการด�าเนินการจัดหาเงินกูเ้ ป็นหน้าที่รบั ผิดชอบของส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ ซึง่ ได้พจิ ารณาจัดหาแหล่งเงินกูใ้ นประเทศ เป็นหลัก เนือ่ งจากสถานะสภาพคล่องในประเทศอยูใ่ นระดับสูง โดยเบื้องต้นได้จดั เตรียมเงินกูง้ วดแรก (Term Loan) วงเงิน 10,000 ล้านบาท ตามความต้องการใช้จ่ายเงินจริงของหน่วยงานเพื่อเป็นการประหยัดต้นทุน (ดอกเบี้ยเงินกู้) ทั้งนี้ ในขั้นตอนการจัดเตรียม การกู้เงินแต่ละคราว ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะจะเจรจากับแหล่งเงินกู้ล่วงหน้า แต่จะเบิกจ่ายเงินกู้ก็ต่อเมื่อได้รับแผนการเบิก จ่ายเงินในแต่ละเดือน และแผนการใช้จ่ายเงินของหน่วยงานตามทีห่ น่วยงานเจ้าของโครงการและส�านักงบประมาณจัดส่งให้ตาม ขั้นตอนที่ก�าหนดในระเบียบฯ การบริหารจัดการน�้าและอนาคตประเทศเท่านั้น ท้ายนี้ เพือ่ ประสิทธิผลสูงสุดในการบริหารจัดการน�า้ อย่างยั่งยืน หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อมต้องมีความ ชัดเจนในหน้าที่รับผิดชอบและปฏิบัติตามขั้นตอนวิธีการด�าเนินโครงการตามพระราชก�าหนดฯ เนื่องจากการบริหารจัดการน�้า การ ป้องกัน และการแก้ไขปัญหาอุทกภัยเป็นการด�าเนินการในระดับชาติทจี่ �าเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานของรัฐทุกแห่ง และระดมทรัพยากรที่เกี่ยวข้องมาด�าเนินการเพื่อให้ประสบความส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรม

96

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


แนวคิดในการจัดทำาแผนการบริหารหนี้สาธารณะเชิงบูรณาการ การจัดทำาแผนการบริหารหนี้สาธารณะ รัฐบาลมีหน้าที่ในการบริหารประเทศให้เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ มีความเจริญก้าวหน้าและมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อ ให้ประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ที่ด ี ซึ่งรัฐบาลจะท�าหน้าที่ให้สมั ฤทธิ์ผลได้จะต้องมีทรัพยากรในด้านต่างๆ ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากร บุคคล และเงินทุนที่เพียงพอ โดยในด้านของเงินทุนนั้นรัฐบาลมีข้อจ�ากัดในการจัดเก็บรายไม่เพียงพอกับรายจ่าย จึงต้องมีการพึ่งพา การระดมทุนจากแหล่งเงินทุนอื่นๆ โดยการก่อหนี้สาธารณะทั้งจากในประเทศและต่างประเทศ ถึงแม้ว่าเงินทุนที่ได้จากการก่อหนี้ สาธารณะจะสามารถน�ามาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ แต่การก่อหนี้สาธารณะที่มากเกินไปโดย ไม่ได้มีการควบคุมหรือการบริหารจัดการนั้นสามารถก่อให้เกิดผลเสียได้ เนื่องจากการกูเ้ งินมาเพื่อใช้จา่ ยเป็นวิธกี ารที่มีแนวโน้มก่อให้ เกิดภาวะเงินเฟ้อได้มากกว่าวิธกี ารหาเงินมาใช้จา่ ยด้วยวิธกี ารอื่นๆ อีกทั้งยังเป็นการแย่งแหล่งเงินทุนของภาคเอกชน (Crowding out effect) ท�าให้อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นและท�าให้เกิดต้นทุนในการจัดหาเงินที่มากเกินความจ�าเป็น การก่อหนี้สาธารณะขึ้นใหม่ในแต่ละ ปีงบประมาณจึงต้องมีการควบคุมให้อยูใ่ นกรอบวงเงินที่เหมาะสม และนอกจากการก่อหนี้ใหม่แล้วในแต่ละปีงบประมาณหน่วยงาน ภาครัฐยังต้องมีการบริหารหนี้สาธารณะด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การปรับโครงสร้างหนี้ (Refinance) การยืดอายุหนี้ (Roll-over) การ ช�าระคืนหนี้ก่อนครบก�าหนด (Prepayment) และการบริหารความเสี่ยง (Swap Arrangement) ซึ่งท�าให้ต้นทุนเงินกู้ลดลง ป้องกัน ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย และช่วยปรับภาระหนี้ไม่ให้กระจุกตัว จากเหตุผลดังกล่าว ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะจึงได้กา� หนดให้มีการจัดท�าแผนการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อใช้เป็นเครื่อง มือ ในการก�ากับการก่อหนีแ้ ละการบริหารหนีใ้ ห้มีประสิทธิภาพ และท�าให้รัฐบาลสามารถมองเห็นภาพรวมของการบริหารจัดการ หนี้สาธารณะได้ ทั้งการก่อหนี้ใหม่และการบริหารหนี้เดิมของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจในแต่ละปีงบประมาณ เพือ่ น�าข้อมูลไปใช้ในการ ตัดสินใจวางแผนการด�าเนินงานในเรื่องอื่นๆ ให้สอดคล้องกัน เช่น การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเพื่อช�าระต้นเงินกู้และดอกเบี้ยที่ จะช่วยลดภาระหนีส้ าธารณะในแต่ละปี รวมถึงการพิจารณาแนวทางระดมทุนเพื่อด�าเนินโครงการใหม่ของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ที่จะไม่ท�าให้หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นในระดับที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น ในการจัดท�าแผนการบริหารหนีส้ าธารณะประจ�าปีงบประมาณ ด�าเนินการโดยคณะกรรมการนโยบายและก�ากับการบริหาร หนีส้ าธารณะซึ่งประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นประธาน และมีเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ผู้อ�านวยการส�านักงบประมาณ ผู้อ�านวยการส�านักงานเศรษฐกิจการคลัง อธิบดีกรมบัญชีกลาง ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ทางด้านการเงิน การคลัง การบริหารหนี้สาธารณะ การงบประมาณ หรือกฎหมาย เป็นกรรมการ โดยส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะท�าหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการ

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

97


ปัจจุบันแผนการบริหารหนี้สาธารณะแบ่งหมวดหมูอ่ อกเป็น 3 หมวดหลัก ได้แก่ แผนการก่อหนี้ใหม่ แผนการปรับโครงสร้างหนี้ และแผนบริหารความเสี่ยง โดยคณะกรรมการฯ มีหลักเกณฑ์การพิจารณาการจัดท�าแผนฯ คือ จะต้องมีความสอดคล้องกับนโยบาย ของรัฐบาลในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และเป็นไป ตามกฎหมายระเบียบหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการก่อหนี้ กรอบกำรด�ำเนินงำนตำมกฎหมำยระเบียบหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกำรก่อหนี้ 1. พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะพ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม : ได้ก�าหนดกรอบการกู้เงิน การให้กู้ต่อ การค�้า ประกันเงินกู้ และการปรับโครงสร้างหนี้ของกระทรวงการคลัง สามารถแสดงได้ดังภาพต่อไปนี้ งบประมำณรำยจ่ำยประจ�ำปี +งบประมำณรำยจ่ำยเพิ่มเติม

ม.21+ ม.24 (2)+ ม.25/1

20%

ม.28+ ม.25 (2)

20%

กู้ขาดดุล/รายจ่ายสูงกว่ารายได้ +กู้เพื่อช�าระหนี้ที่ กค. ค�้า (เป็นบาท) +กู้เพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้

งบประมำณช�ำระคืนต้นเงิน 80%

กู้ขาดดุล/รายจ่ายสูงกว่ารายได้ +กู้เพื่อช�าระหนี้ที่ กค. ค�้า (เป็นบาท) +กู้เพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้

การค�้าประกัน+การให้กู้ต่อ (เป็นบาท)

ม.22,23+ 10% การกู้เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ ม.24 (2)+ และสังคม+การให้กู้ต่อ ม.25 (1) (เป็นเงินตราต่างประเทศ)+กู้เพื่อช�าระหนี้ที่ กค. ค�้า (เป็นเงินตราต่างประเทศ)*

หมายเหตุ * : ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม

2. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการบริหารหนี้สาธารณะพ.ศ. 2549 : ได้กา� หนดว่าวงเงินกูต้ ามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ เมื่อรวมกับวงเงินที่คาดว่าจะกู้ในช่วง 5 ปีถัดไปแล้ว สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP และภาระหนี้ต่องบประมาณจะต้องอยู่ภายใต้ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง1/ และสัดส่วนภาระหนี้ต่างประเทศต่อรายได้จากการส่งออกสินค้าและบริการ (Debt Service Ratio: DSR) ต้องมีอัตราไม่เกินร้อยละ 9

1/

กรอบความยั่งยืนทางการคลังในปัจจุบันได้ก�าหนดสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 และภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15

98

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ขั้นตอนในกำรจัดท�ำแผนกำรบริหำรหนี้สำธำรณะประจ�ำปีงบประมำณ การจัดท�าแผนการบริหารหนี้สาธารณะประจ�าปีงบประมาณ จะเริ่มล่วงหน้าก่อนที่จะถึงปีงบประมาณถัดไปประมาณ 9 เดือน เพื่อให้หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจสามารถน�าแผนฯ ไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ทันทีที่เริ่มปีงบประมาณใหม่ (วันที่ 1 ตุลาคม) โดยในช่วงเดือนมกราคมส�านักงานบริหารหนีส้ าธารณะจะด�าเนินการรวบรวม สรุป และวิเคราะห์ กลัน่ กรองข้อมูลความต้องการ กู้เงินและบริหารหนีจ้ ากหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ ซึ่งในการก่อหนีใ้ หม่เพื่อด�าเนินโครงการนัน้ หน่วยงานราชการและ รัฐวิสาหกิจจะต้องด�าเนินการตามขั้นตอนการขออนุมัติโครงการเงินกู้ก่อนจึงสามารถบรรจุโครงการเงินกู้ในแผนการบริหารหนี้ สาธารณะประจ�าปีงบประมาณได้ ดังปรากฏขั้นตอนการขออนุมัตโิ ครงการเงินกูข้ องหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจตามรูปภาพนี้ หน่วยงานจัดท�าแผนงาน/ โครงการ รวมทั้งวงเงินและ แหล่งเงินที่จะด�าเนินงาน

โครงการได้รับความ เห็นชอบจากกระทรวง ต้นสังกัดและ/หรือคณะ กรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ

หน่วยงานเสนอขอปรับแผนฯ

ครม. โครงการ อนุมัติ ได้รับความ เห็นชอบจาก โครงการ +วงเงินกู้ สศช.

หน่วยงาน เสนอขอบรรจุ โครงการเงินกู้ ต่อ สบน.

ถามความเห็น ส�านักงานงบประมาณ +กค.+หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ให้ความเห็น ประกอบ หน่วยงาน+ ส�านักงบประมาณ ทบทวนผลการใช้ งปม. ในปีที่ผ่านมา

ครม. ก�าหนด วงเงิน งปม.

หน่วยงาน เสนองบลงทุน ต่อ สศช.

หน่วยงานเสนอ ขอใช้ งปม. ในปี ถัดไปต่อส�านักงบ ประมาณ ม.ค.

สบน. โดย กค. เสนอ แผนฯ ต่อ ครม.

กค.+หน่วยงาน ราชการ+SOEs ด�าเนินการเงินกู้ตาม กรอบแผนฯ ที่ ครม. อนุมัติโดยทยอยกู้เงิน ตามความจ�าเป็น ในการใช้จ่าย

ครม. อนุมัติ แผนการบริหาร หนี้สาธารณะ ประจ�าปี งบประมาณ

สศช. พิจารณางบ ลงทุนและน�า เสนอ ครม.

ครม. อนุมัติ งบลงทุน

ส�านัก งบประมาณ พิจารณา ค�าขอ งปม.

ประกาศ ใช้ พ.ร.บ. งบ ประมาณ รายจ่าย

กค. รายงานผล การด�าเนินงาน ตามแผนฯ ให้ครม./ สภาทราบ

ต.ค.

โดยการจัดท�าแผนการบริหารหนี้สาธารณะ จะด�าเนินการคูข่ นานไปกับการจัดท�างบลงทุนของส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการจัดท�างบประมาณรายจ่ายประจ�าปีของส�านักงบประมาณด้วย จากนั้นส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะจะน�าเสนอแผนฯ ที่กลั่นกรองในเบื้องต้นต่อคณะท�างานพิจารณากลั่นกรองโครงการเงิน กูแ้ ละความต้องการบริหารหนี้ในช่วงเดือนกรกฎาคม และน�าเสนอคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองแผนการบริหารหนี้สาธารณะ และติดตามโครงการเงินกูภ้ ายใต้แผนการบริหารหนี้สาธารณะในช่วงต้นเดือนสิงหาคม จากนั้นจึงน�าเสนอคณะกรรมการนโยบายและ ก�ากับการบริหารหนี้สาธารณะในช่วงปลายเดือนสิงหาคม แล้วจึงน�าเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัตใิ นเดือนกันยายน ซึ่งสามารถแสดง ได้ตามแผนภาพ ดังนี้ ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

99


จัดท�ำปฏิทินกำรด�ำเนินงำน รัฐวิสำหกิจ

ธปท.

รำชกำร

ยื่นค�าขอกู้เงินและบริหารหนี้ (ม.ค.-มี.ค.) ผู้อ�านวยการส�านักงาน บริหารหนี้สาธารณะ เป็นประธาน รองปลัด กระทรวงการคลัง เป็นประธาน

(ธ.ค.) สศช.

สงป.

สคร.

กบ.

สบน.

ให้ข้อมูลสนับสนุนเพื่อวิเคราะห์โครงการและเศรษฐกิจโดยรวม สบน.

คณะท�างานพิจารณากลั่นกรองโครงการเงินกู้และ ความต้องการบริหารหนี้สาธารณะ

(ก.ค.)

คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองแผนการบริหารหนี้สาธารณะและ ติดตามโครงการเงินกู้ภายใต้แผนการบริหารหนี้สาธารณะ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การคลังเป็นประธาน

สศค.

คณะกรรมการนโยบายและก�ากับการ บริหารหนี้สาธารณะ

(ส.ค.)

ครม. อนุมัติแผนฯ

(ก.ย.)

ติดตามและจัดท�ารายงานผลการด�าเนินงาน

(ก.ค.-ส.ค.)

(มี.ค. และ ก.ย.)

หลังจากที่คณะรัฐมนตรีอนุมัตแิ ผนการบริหารหนี้สาธารณะแล้ว ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะได้มีการติดตามผลการด�าเนินงาน และรายงานผลการด�าเนินงานดังกล่าวต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา ซึ่งจะท�าให้สามารถประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ การด�าเนินงานของหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจทีไ่ ด้รับการบรรจุการกู้เงินและการบริหารหนีใ้ นแผนฯ เพื่อใช้พิจารณาเร่งรัด การด�าเนินงานให้เป็นไปตามแผนฯ ที่วางไว้ รวมทัง้ ใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาการกู้เงินของหน่วยงานในปีงบประมาณ ถัดไป นอกจากนี ้ ยังท�าให้รัฐบาลเห็นภาพของการบริหารจัดการหนี้สาธารณะในแต่ละปีงบประมาณว่าสามารถลดยอดหนี้คงค้าง และประหยัดภาระดอกเบี้ยได้มากน้อยเพียงใด และสามารถจัดหาเงินกู้มาใช้เพียงพอต่อการใช้จ่ายในการบริหารประเทศ เพื่อฟื้นฟู เศรษฐกิจและเสริมสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจของประเทศ และสามารถน�าไปใช้ในการด�าเนินโครงการลงทุนได้อย่างต่อเนื่อง ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้หรือไม่ ซึ่งจะท�าให้รัฐบาลสามารถ มีข้อมูลเพื่อใช้ในการก�าหนดนโยบายการบริหารประเทศในอนาคตได้มากยิ่งขึ้น

100

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ภาพรวมหนี้สาธารณะ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

101


ภาพรวมหนี้สาธารณะ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 Public Debt Overview FY 2011

102

1. หนี้สำธำรณะคงค้ำง ณ วันที่ 30 กันยำยน 2554

1. Debt Outstanding as of September 30, 2011

ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 มี จ�านวน 4,448,249.87 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 41.66 ของ GDP โดยเป็ น หนีท้ รี ่ ั ฐ บาลกู ้ โ ดยตรง 3,181,158.89 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 1,079,703.84 ล้ า นบาท หนี้ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ทีเ่ ป็ น สถาบัน การเงิ น (รั ฐ บาล ค�้าประกัน) 156,941.96 ล้านบาท และหนี้กองทุนเพื่อการ ฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน 30,445.18 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับวันที ่ 30 กันยายน 2553 หนี้สาธารณะ เพิ่มขึ้นสุทธิ 218,160.38 ล้านบาท โดยหนี้ทรี่ ัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่ ม ขึ้ น 273,676.58 ล้ า นบาท ในขณะที ่ห นี ้รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที ่ ไม่ เ ป็ น สถาบัน การเงิ น หนีร้ ั ฐ วิ ส าหกิ จ ทีเ่ ป็ น สถาบัน การเงิ น (รั ฐ บาลค� า้ ประกั น ) และหนีก้ องทุน เพื ่อ การฟื ้ น ฟู ฯ ลดลง 4,278.73 ล้านบาท 20,237.47 ล้านบาท และ 31,000.00 ล้านบาท ตามล�าดับ โดยรายละเอียดปรากฏตามตารางที่ 1 โดย รายละเอียดการเปลี่ยนแปลงของหนี้สาธารณะ เมือ่ เปรียบเทียบ กับสิ้นปีงบประมาณที่แล้ว มีดังนี้

Debt outstanding as of September 30, 2011 valued 4,448,249.87 million Baht or equivalent to 41.66 percent of GDP. The total debt outstanding consisted of 3,181,158.89 million Baht of government debt, 1,079,703.84 million Baht of Non-Financial State Owned Enterprises (SOEs) debt, 156,941.96 million Baht of Financial SOEs debt with government guarantee and 30,445.18 million Baht of Financial Institutions Development Fund (FIDF). Comparing to the debt outstanding at the end of last fiscal year, the debt outstanding increased 218,160.38 million Baht, which resulted from rising in government debt in the amount of 273,676.58 million Baht while decreasing in 4,278.73 million Baht of Non-Financial SOEs debt, 20,237.47 million Baht of Financial SOEs debt with government guarantee and 31,000 million Baht of FIDF debt (details as shown in Table 1).

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ตารางที่ 1 หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 และ 2554 Table 1 Debt Outstanding as of 30 September 2010 and 2011 หน่วย : ล้านบาท Unit : Million THB หนี้สำธำรณะ Public Debt 1. หนี้ที่รัฐบำลกู้โดยตรง Direct Government Debt

ก.ย. 2553 SEP 2010

ก.ย. 2554 SEP 2011

%GDP

2,907,482.31

1.1 หนี้ต่างประเทศ External Debt

54,187.63

1.2 หนี้ในประเทศ Domestic Debt

28.77 3,181,158.89

29.79

273,676.58

46,157.80

(8,029.83)

2,853,294.68

3,135,001.09

281,706.41

- เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล งบประมาณและการบริหารหนี้ Deficit financing and debt management

1,437,773.44

1,587,532.50

149,759.06

- เงินกูช้ ดเชยความเสียหายให้ FIDF FIDF’s loss compensation

1,126,523.24

1,142,100.87

15,577.63

FIDF 1

463,275.20

463,275.20

-

FIDF 3

663,248.04

678,825.67

15,577.63

- เงินกู้ตามโครงการช่วยเพิ่มเงิน กองทุนชั้นที่ 1 และ 2 Bank recapitalisation program

2,998.00

-

(2,998.00)

- เงินกู้เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้าง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ Loan for stimulus package No.2, (TKK)

286,000.00

398,940.09

112,940.09

- เงินกู้ให้กู้ต่อ On-lending

-

6,427.63

6,427.63

2. หนี้ของรัฐวิสำหกิจที่ไม่เป็นสถำบันกำรเงิน 1,083,982.57 Non-Financial State Enterprise Debt

เพิ่ม/ลด Increase/ (Decrease)

%GDP

10.73 1,079,703.84

10.11

(4,278.73)

2.1 หนี้ต่างประเทศ External Debt

301,484.95

298,657.44

(2,827.51)

161,343.22

171,110.33

9,767.11

- หนี้ที่รัฐบาลค�้าประกัน Guaranteed debt

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

103


หนี้สำธำรณะ Public Debt

- หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้าประกัน Non-guaranteed debt

ก.ย. 2553 SEP 2010

%GDP

เพิ่ม/ลด Increase/ (Decrease)

%GDP

ก.ย. 2554 SEP 2011

140,141.73

127,547.11

(12,594.62)

2.2 หนี้ในประเทศ Domestic Debt

782,497.62

781,046.40

(1,451.22)

- หนี้ที่รัฐบาลค�้าประกัน Guaranteed debt

373,342.99

356,320.28

(17,022.71)

- หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้าประกัน Non-guaranteed debt

409,154.63

424,726.12

15,571.49

177,179.43

1.75

156,941.96

1.47

(20,237.47)

3. หนี้ของรัฐวิสำหกิจที่เป็นสถำบันกำรเงิน (รัฐค�้ำประกัน) Financial Institutions Guaranteed Debt

3.1 หนี้ต่างประเทศ External Debt

6,851.64

6,319.96

(531.68)

3.2 หนี้ในประเทศ Domestic Debt

170,327.79

150,622.00

(19,705.79)

4. หนี้ของกองทุนเพื่อกำรฟื้นฟูฯ FIDF Debt

61,445.18

4.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้าประกัน Guaranteed debt

30,445.18

30,445.18

-

4.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้าประกัน Non-guaranteed debt

31,000.00

-

31,000.00

รวม Total

4,230,089.49

หมำยเหตุ :

0.61

30,445.18

41.86 4,448,249.87

0.29

41.66

(31,000.00)

218,160.38

Remark :

1. GDP ปี 2553 และ ประมาณการ GDP 2554 เท่ากับ 1. GDP in 2010 and Estimated GDP in 2011 equalled 10,104.82 พันล้านบาท และ 10,867.73 พันล้านบาท ตามล�าดับ to 10,104.82 million Baht and 10,867.73 million Baht, (สศช. ณ 22 ส.ค. 2554) respectively. (NESDB as of 22 Aug. 2011) 2. สบน. ได้ปรับวิธีการค�านวณ GDP ในแต่ละเดือนเพื่อให้ สัดส่วน Debt/GDP สะท้อนค่าทีใ่ กล้เคียงความเป็นจริงทีส่ ุด ตั้งแต่ เดือนมกราคม พ.ศ. 2554 โดยได้ค�านวณ GDP ของเดือนกันยายน 2554 ดังนี้ [(GDP ปี 53/12)*3]+[(GDP ปี 54/12)*9] เท่ากับ 10,677.00 พันล้านบาท ทั้งนี้ GDP ของ ก.ย. 2553 ยังคงเป็นการใช้ GDP ทั้งปีจ�านวน 10,104.82 ล้านบาท 104

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

2. PDMO has developed monthly GDP estimation in order to reflect the real Debt per GDP ratio since January 2011. GDP as of September 2011 = [(GDP Y2010/12)*3]+[(GDP Y2011/12)*9] = 10,677.00 million Baht while GDP as of September 2010 equals 10,104.82 million Baht (GDP in the whole year).


1.1 หนี้ที่รัฐบำลกู้โดยตรง

1.1 Government Debt

หนี้ท่รี ฐั บาลกูโ้ ดยตรงในปีงบประมาณ 2554 เพิ่มขึ้น Government Debt in fiscal year 2011 สุทธิ 273,676.58 ล้านบาท โดยการเปลี่ยนแปลงที่ส�าคัญเกิดจาก increased 273,676.58 million Baht as a result from the following reasons: • การเพิ่มขึ้นของเงินกู้เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้าง • Increasing in Development Policy Loan ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ 112,940.09 ล้านบาท เพื่อกระตุ้น (DPL) in totaled of 112,940.09 million Baht in order เศรษฐกิ จ โดยเพิ ่ม การลงทุน ภาครั ฐ สร้ า งต� า แหน่ ง งานใหม่ to stimulate Thai economy through increasing public และกระจายการลงทุนด้านบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานไปสู่ investment, creating new jobs and investing in basic infrastructure in the urban area. ต่างจังหวัดและชนบท • การเพิ ่ม ขึ ้น ของเงิ น เพื ่อ ชดเชยการขาดดุ ล • Increasing in net government deficit งบประมาณ 200,665.54 ล้านบาท แต่ได้มีการช�าระคืนต้นเงินกู้ borrowing in an amount of 149,759.06 million Baht. Since the government borrowed 200,665.54 million ขาดดุล 50,906.48 ล้านบาท ท�าให้สุทธิแล้วหนี้ในส่วนนี้เพิ่มขึ้น Baht to subsidise budget deficit while paid the deficit ประมาณ 149,759.06 ล้านบาท principal debt in the amount of 50,906.48 million Baht. • การเพิ ่ม ขึ ้น จากการทีก่ ระทรวงการคลั ง ได้ • Increasing in on-lending loan in the กู้เงินให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยกู้ต่อ จ�านวน amount of 6,427.63 million Baht. Ministry of Finance on-lended loan to Mass Rapid Transit Authority of 6,427.63 ล้านบาท เพื่อจัดท�าโครงการรถไฟฟ้าสายสีน�้าเงิน Thailand (MRTA) to implement the Metropolitan Rapid • การไถ่ถอนพันธบัตรเงินกู้ตามโครงการช่วยเพิ่ม Transit Chaloem Ratchamongkhon Line (MRT Blue Line) เงินกองทุนชั้นที่ 1 และ 2 จ�านวน 2,998 ล้านบาท project. • การลดลงของหนี้ตา่ งประเทศ 8,029.83 ล้านบาท • Increasing in bond redemption which issued to increase Tier 1 and 2 in the amount of 2,998 โดยเป็นการลดลงของหนี้สกุลเงินเยนเป็นส�าคัญ million Baht. • Decreasing in external debt in the amount of 8,029.83 million Baht, especially a decreasing in Yen currency.

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

105


ตัวชี้วัดทางความเสี่ยงของหนี้รัฐบาล Government Debt Risk Indicators ตารางที่ 2 หนี้ในประเทศของรัฐบาล Table 2 Domestic Government Debt Risk Indicators

หนี้ที่รัฐบำลกู้โดยตรง / Direct Government Debt

อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย / Annual Avg. Interest Rate (%) หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ คงที ่ : หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ ลอยตัว / Fixed-interest debt : Floating Rate debt ATM / Average Time to Maturity: ATM (Year) หนี้สั้น : หนี้ยาว / Debt with Maturity <1 year : Debt with Maturity >1 year

เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนหน้า อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 4.52 เป็น 4.58 เนือ่ งจากต้นทุนการกูย้ ืมของรัฐบาลซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นพันธบัตรของรัฐบาลสูงขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของอัตรา ดอกเบีย้ นโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย โดยหากเปรียบ เทียบเส้นอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล อายุ 5 ปี 10 ปี 20 ปี และ 30 ปี ณ สิ้นเดือนกันยายน 2553 พบว่า อัตราผล ตอบแทนเท่ากับร้อยละ 2.56, 3.12, 3.56 และ 3.79 ตามล�าดับ ในขณะที่ ณ สิ้นเดือนกันยายน 2554 อัตราผลตอบแทนได้ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 3.60, 3.75, 4.12 และ 4.29 ตามล�าดับ โดยหนีข้ องรัฐบาลหนีท้ เี่ ป็นอัตราดอกเบีย้ ลอยตัวมีสัดส่วนที่ เพิ่มขึ้นจากการทีไ่ ด้มีการออกพันธบัตรเพื่อชดเชยการขาดดุล เป็นอัตราดอกเบีย้ ลอยตัว และการออกตั๋วสัญญาใช้เงินอัตรา ดอกเบีย้ ลอยตัวเพื่อการปรับโครงสร้างหนี ้ FIDF1 เพิ่มขึ้นใน ส่วนของอายุเฉลีย่ ของหนีร้ ัฐบาลได้เพิ่มขึ้นจาก 5.67 ปี เป็น 6.18 ปี เนื่องจากในปี 2554 หนี้ทรี่ ัฐบาลกู้โดยตรงในประเทศ เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่เป็นการกูร้ ะยะยาวเพื่อลดความเสี่ยงในการปรับ โครงสร้างหนีเ้ มือ่ ครบก�าหนดช�าระประกอบกับอัตราดอกเบีย้ ในตลาดอยู่ ใ นระดั บ ทีค่ ่ อ นข้ า งต� ่า นอกจากนี ้ จากการที่ ผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลรุ่นอายุ 30 ปี อยู่ที่ต�่ากว่า ร้อยละ 4 ต่อปี และมีความต้องการของนักลงทุนสถาบันระยะ ยาวให้รัฐบาลออกผลิตภัณฑ์ทมี่ ีผลตอบแทนไม่น้อยกว่าร้อยละ 106

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ

2553/2010 2554/2011 4.52 89 : 11 5.67 8 : 92

4.58 86 : 14 6.18 11 : 89

Comparing to the former fiscal year, an average interest rate increased from 4.52 percent to 4.58 percent because of an increasing in government borrowing cost, which is mainly bond issuance. Also, a rising in government borrowing cost resulted from an increasing in a Policy Interest Rate. In addition, comparing the 5-, 10-, 20- and 30-year government bond yield curve as of September 2010 to the former year, the yields increased from 2.56, 3.12, 3.56 and 3.79 percent to 3.60, 3.75, 4.12 and 4.29 percent, respectively. Additionally, as the resulted of an increasing in both an issuance of floating rate budget deficit government bonds and an issuance of floating rate Promissory Notes (P/Ns) to refinance FIDF1 debt, the floating rate government debt ratio rose. The average time to maturity of government debt increased from 5.67 year to 6.18 years since not only the government intended to reduce risk in refinancing government due debt through emphasising on long-term borrowing but also the market interest rate was in the low level.


4.50 ต่อปีรฐั บาลจึงได้ออกพันธบัตรรุน่ อายุ 50 ปี เพื่อช่วยยืดอายุ เฉลี่ยของ Portfolio หนี้ของรัฐบาล และเป็นการลดการกระจุก ตัวของภาระหนี้รฐั บาลด้วย ในส่วนของสัดส่วนหนี้ระยะสั้น (หนีท้ ี่ มีอายุคงเหลือน้อยกว่า 1 ปี) ต่อระยะยาวมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 8 เป็น 11ของหนี้คงค้างในประเทศ โดยมีสาเหตุหลักจาก การที่ในปีงบประมาณ 2555 จะมีพนั ธบัตร FIDF1 และ FIDF3 ครบ ก�าหนดวงเงินประมาณ 350,000 ล้านบาท และการออกตั๋วเงิน คลังอายุ 3 วัน วงเงิน 125,691 ล้านบาท ในช่วงสิ้นปีงบประมาณ 2554 เพื่อรักษากรอบวงเงินของตั๋วเงินคลังและใช้ในการบริหาร เงินสดของรัฐบาล รวมถึงการช�าระคืนหนี้ระยะยาวก่อนก�าหนด ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินจ�านวน 8,825.52 ล้านบาท

Moreover, since the 30-year government bond yield was below 4 percent per year and investors had a strong demand for the government bonds with the rate of return at least 4.5 percent per year, so government has issued 50-year government bonds in order to increase an average duration in government debt portfolio and diversify government due debt bunching. Short-term to Long-term debt increased from 8 to 11 percent of total domestic debt because of three reasons. First reason was that FIDF1 and FIDF3 bonds matured in the amount of 350,000 million Baht in FY 2011. Secondly, government has issued 3 day T-bills in the amount of 125,691 million Baht to preserve the cash management framework. Also, government has prepaid PNs in the amount of 8,825.52 million Baht.

ตารางที่ 3 หนี้ต่างประเทศของรัฐบาล Table 3 External Government Debt หนี้ที่รัฐบำลกู้โดยตรง / Direct Government Debt

2553/2010 2554/2011

อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย / Annual Avg. Interest Rate (%) หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ คงที ่ : หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ ลอยตัว / Fixed-interest debt : Floating Rate debt ATM / Average Time to Maturity: ATM (Year) หนี้สั้น : หนี้ยาว / Debt with Maturity <1 year : Debt with Maturity >1 year

ในปี ง บประมาณ 2554 รั ฐ บาลได้ ม ีก ารช� า ระคื น หนี ้ ต่างประเทศก่อนก�าหนด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสกุลเงินเยน โดย พิจารณาจากหนีท้ มี่ ีอัตราดอกเบีย้ ค่อนข้างสูง มีอัตราดอกเบี้ย แบบคงที่ และมีอายุคงเหลือค่อนข้างยาว ท�าให้เมื่อเปรียบเทียบ กับปีกอ่ นหน้าอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของหนี้ตา่ งประเทศของรัฐบาล ลดลงจากร้อยละ 1.49 เป็น 1.44 เนื่องจากหนี้ที่ช�าระคืนมีอัตรา ดอกเบี้ยเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 1.49 และจากการที่หนี้ส่วนใหญ่ที่

1.49 90 : 10 5.67 17 : 83

1.44 78 : 22 4.33 7 : 93

In FY 2011, government has prepaid its external debt, which is mostly in Yen, through considering high interest rate, floating rate and long time to maturity debt. Compare to the former fiscal year, the average foreign interest rate decreased from 1.49 to 1.44 percent because government prepaid debt with average interest rate higher than 1.49 percent. Also, ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

107


ลดลงเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ทา� ให้สัดส่วนหนี้ท่เี ป็นอัตราดอกเบี้ย คงที่ลดลงไปด้วย ในส่วนของอายุเฉลี่ย ได้ลดลงจาก 5.67 ปี เหลือ เพียง 4.33 ปี นอกจากนี้ สัดส่วนหนี้ระยะสั้น (หนี้ท่มี ีอายุคงเหลือ น้อยกว่า 1 ปี) ต่อระยะยาวได้ลดลงจากร้อยละ 17 เป็นเพียง ร้อยละ 7 ซึ่งแสดงว่า มีการกระจุกตัวของหนีล้ ดลง โดยหนี้ ส่วนใหญ่ที่จะครบก�าหนดใน 1 ปี เป็นหนี้สกุลเงินยูโร 1.2 หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน หนีร้ ฐั วิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงินในปีงบประมาณ 2554 ลดลงสุทธิ 4,278.73 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการช�าระคืน มากกว่าเบิกจ่ายของทัง้ หนีต้ ่างประเทศและในประเทศ โดย หนีใ้ นประเทศลดลงสุทธิ 1,451.22 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ในปีงบประมาณ 2554 หนี้ในประเทศของรัฐวิสาหกิจมีการกูใ้ หม่ ทั้งในรูปของการออกพันธบัตรและการกูย้ ืมในรูปแบบของสัญญา เงินกู้ ซึ่งมีโครงการที่ส�าคัญๆ ดังต่อไปนี้ • การทางพิ เ ศษแห่ ง ประเทศไทย ได้ ม ีก ารกู ้ ย ืม ในรูปแบบของสัญญาเงินกู้ จ�านวน 510 ล้านบาท เพื่อด�าเนิน ในโครงการก่อสร้างทางเชื่อมต่อโครงการทางพิเศษสายบางพลีสุขสวัสดิ์กับถนนวงแหวนอุตสาหกรรมจ�านวน 400 ล้านบาท และโครงการทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ (ค่าจัดกรรมสิทธิ์ ที่ดิน) จ�านวน 110 ล้านบาท • การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้ออกพันธบัตร จ�านวน 7,376.16 ล้านบาท เพื่อลงทุนในโครงการต่างๆ เช่น โครงการ พัฒนาระบบสายส่งและสถานีไฟฟ้า จ�านวน 1,734.80 ล้านบาท โครงการก่อสร้างและปรับปรุงเสริมระบบจ�าหน่ายระยะที่ 7 จ�านวน 1,756.26 ล้านบาท โครงการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบจ�าหน่าย จ�านวน 2,151.30 ล้านบาท และอื่นๆ จ�านวน 1,733.80 ล้านบาท

fixed to floating rate debt ratio decreased. Average Time to Maturity (ATM) of external debts decreased from 5.67 to 4.33 years. Additionally, short-term debt to long-term debt decreased from 17 to 7 percent which indicated government’s effort to avoid the debt bunching. 1.2 Non-Financial State Owned Enterprises Non-Financial SOEs debt decreased in the amount of 4,278.73 million Baht in FY 2011. Domestic debt decreased in the amount of 1,451.22 million Baht. However, Non-Financial SOEs borrowed new debts through bonds and PNs to operate important infrastructure projects as follows: • Expressway Authority of Thailand (EXAT) signed PNs in the amount of 510 million Baht in order to implement the Connecting way between BangpleaSuksawat project and Industrial Outer Round project in the amount of 400 million Baht and the expressway Bangplea-Suksawat project. • Provincial Electricity Authority (PEA) issued bond in the amount of 7,376.16 million Baht to operate the electric wire system and station development in the amount of 1,734.80 million Baht, the electric distribution development project Phase VII in the amount of 1,756.26 million Baht, the projects to enhance an efficiency of electric distribution system and others in the amount of 1,733.80 million Baht

• การรถไฟแห่ ง ประเทศไทยได้ ม ีก ารกู ้ ย ืม ในรู ป • State Railway of Thailand signed the PNs แบบของสัญญาเงินกู้ จ�านวน 1,461.90 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น in the amount of 1,461.90 million Baht to operate the โครงการปรับปรุงทางระยะที่ 5 จ�านวน 807 ล้านบาท และระยะ track rehabilitation project Phase V and VI. ที่ 6 จ�านวน 654.90 ล้านบาท

108

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


• การกูย้ ืมในรูปแบบของสัญญาเงินกูเ้ พื่อด�าเนินงาน • Other financial instruments to finance SOEs ตามนโยบายมาตรการลดค่าครองชีพของรัฐบาลของรัฐวิสากิจ to implement government policy in order to ease the จ�านวน 14,520.65 ล้านบาท cost of living.

ตัวชี้วัดทางความเสี่ยงของหนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน Non-Financial State Owned Enterprises Risk Indicators ตารางที่ 4 หนี้ในประเทศของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิ​ิน Table 4 Demestic Debt of Non-Financial State Owned Enterprises หนี้รัฐวิสำหกิจที่ไม่เป็นสถำบันกำรเงิน / Non-Financial State Owned Enterprises 2553/2010 2554/2011

อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย / Annual Avg. Interest Rate (%) หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ คงที ่ : หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ ลอยตัว / Fixed-interest debt : Floating Rate debt ATM / Average Time to Maturity: ATM (Year) หนี้สั้น : หนี้ยาว / Debt with Maturity <1 year : Debt with Maturity >1 year

เมือ่ เปรียบเทียบกับปีก่อนหน้า พบว่าอัตราดอกเบีย้ เฉลีย่ มีการเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.34 เป็น 4.40 เนื่องจากการเพิ่มขึ้น ของอัตราดอกเบีย้ นโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทยและ เส้นอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้รัฐบาล ท�าให้ต้นทุนการกู้ เงินของรัฐวิสาหกิจทัง้ กู้ใหม่และเพื่อปรับโครงสร้างหนีเ้ ดิมเพิ่ม ขึ้น โดยรัฐวิสาหกิจทีไ่ ม่เป็นสถาบันการเงินก่อหนีใ้ หม่และปรับ โครงสร้างหนีเ้ ป็นอัตราดอกเบีย้ แบบลอยตัวเพิ่มขึ้น รวมถึงได้มี การช�าระคืนหนี้ที่เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ ท�าให้สัดส่วนของหนี้ที่ เป็นอัตราลอยตัวสูงขึ้นเล็กน้อย นอกจากนี ้ ได้มีการก่อหนี้ใหม่ และปรับโครงสร้างหนี้เป็นระยะยาวเพิ่มขึ้น ท�าให้อายุเฉลี่ยปรับ เพิ่มขึ้นจาก 4.60 ปี เป็น 4.92 ปี ในขณะที่สัดส่วนหนี้ระยะสั้น (หนี้ที่มีอายุคงเหลือน้อยกว่า 1 ปี) มีการปรับตัวเพิ่มขึ้น จากร้อย ละ 13 เป็นร้อยละ 19 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ยังมีการกระจุกตัวของ หนี้ที่จะครบก�าหนดในปีงบประมาณ 2554 ค่อนข้างมาก

4.34 80 : 20 4.60 13 : 87

4.40 77 : 23 4.92 19 : 81

Compared to the former fiscal year, the average interest rate increased from 4.34 to 4.40 percent due to an increasing in SOEs cost of borrowing. Nonfinancial State Owned Enterprises borrowed new debt and refinanced some outstanding debt to floating rate more than the former year. Also, non-financial SOEs paid due debt which is fixed interest rate. As the result, floating rate debt ratio slightly increased. Moreover, the average time to maturity of Non-financial SOEs debt increased from 4.60 to 4.92 years through long-term new borrowing and refinancing. Short-term debt ratio increased from 13 to 19 percent which is illustrated the bunching of maturities debt problem in the fiscal year 2011.

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

109


ตารางที่ 5 หนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิ​ิน Table 5 Non-Financial State Owned Enterprises Foreign Debt หนี้รัฐวิสำหกิจที่ไม่เป็นสถำบันกำรเงิน / Non-Financial State Owned Enterprises 2553/2010 2554/2011

อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย / Annual Avg. Interest Rate (%) หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ คงที ่ : หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ ลอยตัว / Fixed-interest debt : Floating Rate debt ATM / Average Time to Maturity: ATM (Year) หนี้สั้น : หนี้ยาว / Debt with Maturity <1 year : Debt with Maturity >1 year

2.49 76 : 24 9.89 1 : 99

2.36 78 : 22 8.93 2 : 98

เมือ่ เปรียบเทียบกับปีก่อนหน้า อัตราดอกเบีย้ เฉลีย่ ลดลง จากร้อยละ 2.49 เป็น 2.36 เนือ่ งจากรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบัน การเงินได้ช�าระคืนหนีต้ ่างประเทศทีม่ ีอัตราดอกเบีย้ ค่อนข้างสูง มากกว่าเบิกจ่าย รวมถึงส่งผลให้อายุเฉลีย่ ของหนี้ต่างประเทศ ลดลงจาก 9.89 ปี เป็น 8.93 ปี ส�าหรับสัดส่วนหนี้ตา่ งประเทศที่ เป็นอัตราคงที่เพิ่มขึ้น เนือ่ งจากหนี้สว่ นใหญ่ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่ เป็นสถาบันการเงินเป็นหนี้สกุลเงินเยน ซึง่ ในปีท่ผี า่ นมาค่าเงินบาท เมื่อเทียบกับเงินเยนอ่อนค่าลงมาก ท�าให้เมื่อค�านวณหนี้คงค้างสกุล เงินเยนมาเป็นเงินบาทแล้ว เพิม่ ขึ้นในส่วนของหนี้ระยะสั้น (หนีท้ ี่ มีอายุคงเหลือน้อยกว่า 1 ปี) ต่อระยะยาว มีสดั ส่วนเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 1 เป็นร้อยละ 2 ของหนี้ตา่ งประเทศทั้งหมด ซงึ่ ในจ�านวนนี้เป็น หนี้ในสกุลเงินเหรียญสหรัฐ ประมาณ 3,000 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 70 ของหนี้ระยะสั้นทั้งหมด

Compared to the former fiscal year, the average interest rate decreased 2.49 to 2.36 percent because non-financial SOEs paid foreign debt with high interest rate more than disbursed. As the result, the average time to maturity of foreign debt decreased from 9.89 to 8.93 year. Fixed rate foreign debt ratio increased due to debt outstanding in Yen increased from Yen appreciation. Short-term debt to Long-term debt increased from, 1 to 2 percent of total foreign debt. This increased short-term debt is in US dollar in the amount of 3,000 million Baht as equivalent 70 percent of total short-term debt.

ในปีงบประมาณ 2554 หนีข้ องรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบัน การเงิน (รัฐบาลค�้าประกัน) ลดลงสุทธิ 20,237.47 ล้านบาท โดย เกิดจากการช�าระคืนมากกว่าเบิกจ่ายของทั้งหนี้ตา่ งประเทศและ ในประเทศ ในส่วนของหนี้ในประเทศมีการลดลงสุทธิ 19,705.79 ล้านบาท จากการช�าระคืนหนีเ้ นือ่ งจากในปีงบประมาณ 2554 รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้าประกัน) ไม่มีการกูใ้ หม่ และมีเพียงการปรับโครงสร้างหนี้ของธนาคารอาคารสงเคราะห์และ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรเท่านั้น ในส่วนของ หนี้ตา่ งประเทศมีการลดลงสุทธิ 531.68 ล้านบาท

In fiscal year 2011, Financial State Owned Enterprises Debt with government guaranteed decreased 20,237.47 million Baht. Domestic debt decreased net 19,705.79 million Baht from payment in fiscal year 2011. Financial SOEs did not borrow new debt but only refinance debt of Government Housing Bank and Bank of Agriculture and Agricultural Co-operatives. In addition, foreign debt decreased 531.68 million Baht.

1.3 Financial State Owned Enterprises Debt 1.3 หนี้รัฐวิสำหกิจที่เป็นสถำบันกำรเงิน (รัฐบำลค�ำ้ ประกัน) (Government guaranteed)

110

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ตัวชี้วัดทางความเสี่ยงของหนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำาประกัน) Risk Indicator of Financial State Owned Enterprise Debt (Government Guaranteed) ตารางที่ 6 หนี้ในประเทศของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิ​ิน (รัฐบาลค้ำาประกัน) Table 6 Domestic Debt of Financial State Owned Enterprise (Government Guaranteed)

หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้าประกัน) Financial State Owned Enterprise Debt (Government Guaranteed)

2553 2010

2554 2011

อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย / Annual Avg. Interest Rate (%) หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ คงที ่ : หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ ลอยตัว / Fixed-interest debt : Floating Rate debt ATM / Average Time to Maturity: ATM (Year) หนี้สั้น : หนี้ยาว / Debt with Maturity <1 year : Debt with Maturity >1 year

3.11 94 : 6 3.41 40 : 60

3.76 93 : 7 3.63 36 : 64

เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนหน้า พบว่าอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยมี การเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.11 เป็น 3.76 เนื่องจากในปีงบประมาณ 2554 มีการกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนีโ้ ดยการขยายอายุสัญญา เงินกู้ (Roll Over) เป็นระยะยาวอายุตั้งแต่ 7 – 15 ปี จ�านวน 50,120 ล้านบาท โดยรัฐวิสาหกิจที่มีการปรับโครงสร้างมากที่สดุ คือธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร อันเป็นผลจาก โครงการรับจ�าน�าผลผลิตทางการเกษตร ปีการผลิต 2551/2552 จ�านวน 43,120 ล้านบาท ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของอัตรา ดอกเบีย้ นโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทยและเส้นอัตรา ผลตอบแทนของตราสารหนีร้ ัฐบาล ท�าให้ต้นทุนการกู้เงินของ รัฐวิสาหกิจเพื่อปรับโครงสร้างหนีเ้ พิ่มขึ้น นอกจากนี้ จากการ ปรับโครงสร้างหนี้เป็นอัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัวเพิ่มขึ้น รวมถึง ได้มีการช�าระคืนหนีท้ เี่ ป็นอัตราดอกเบีย้ คงที่ ท�าให้สัดส่วนของ หนีท้ เี่ ป็นอัตราลอยตัวสูงขึ้นเล็กน้อย และผลจากการขยายอายุ สัญญาเงินกูท้ า� ให้อายุเฉลี่ยของหนี้ปรับเพิ่มขึ้นจาก 3.41 ปี เป็น 3.63 ปี และสัดส่วนหนี้ระยะสั้น (หนี้ท่มี ีอายุคงเหลือน้อยกว่า 1 ปี) ลดลง จากร้อยละ 40 เป็นร้อยละ 36

Compared to FY 2010, the average interest rate has increased from 3.11% to 3.76%. The reason is because the financial SOEs has borrowed for the total amount of 50,120 million Baht to roll over their longmaturity debts with maturities between 7-15 years. The financial SOEs that has the highest amount of debt to be rolled over is Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives (BAAC), which is the result from Agricultural Product Pledging Project, Production year 2008/2009 for the amount of 43,120 million Baht. Moreover, the Bank of Thailand’s decision to raise the policy rate and the upward movement of the government bond yield curve has resulted in the higher cost of borrowing for the financial SOEs. The proportion of the floating rate debt has increased over FY 2011 because of the conversion of the fixed-interest debt into the floating rate debt as well as the repayment of the matured fixed interest debt. The average time to maturity has increased from 3.41 to 3.63 years and the proportion of the debt with maturity less than 1 year has decreased from 40% to 36% of the portfolio, both because of the roll over of the long-maturity debt. ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

111


ตารางที่ 7 หนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิ​ิน (รัฐบาลค้ำาประกัน) Table 7 External Debt of Financial State Owned Enterprise (Government Guaranteed)

หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้าประกัน) Financial State Owned Enterprise Debt (Government Guaranteed)

2553 2010

2554 2011

อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย / Annual Avg. Interest Rate (%) หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ คงที ่ : หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ ลอยตัว / Fixed-interest debt : Floating Rate debt ATM / Average Time to Maturity: ATM (Year) หนี้สั้น : หนี้ยาว / Debt with Maturity <1 year : Debt with Maturity >1 year

2.33 77 : 23 5.92 2 : 98

2.34 80 : 20 5.38 0 : 100

เมือ่ เปรียบเทียบกับปีก่อนหน้า อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยเพิ่ม ขึ้นเพียงเล็กน้อยจากร้อยละ 2.33 เป็น 2.34 เนื่องจากหนี้ ต่างประเทศทีค่ รบก�าหนดในปี 2554 มีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย ค่อนข้างต�า่ ส�าหรับสัดส่วนหนีต้ ่างประเทศทีเ่ ป็นอัตราคงทีเ่ พิ่ม ขึ้นเนือ่ งจากหนีต้ ่างประเทศทีม่ ีอัตราคงทีส่ ่วนใหญ่เป็นหนี้สกุล เงินเยน ซึ่งในปีทผี่ ่านมาค่าเงินบาทเมือ่ เทียบกับเงินเยนอ่อน ค่าลงมาก ท�าให้เมือ่ ค�านวณหนีค้ งค้างสกุลเงินเยนมาเป็นเงิน บาทแล้วเพิ่มขึ้น ในส่วนของอายุเฉลี่ยของหนี้ต่างประเทศลดลง จาก 5.92 ปี เป็น 5.38 ปี เนื่องจากมีหนี้ต่างประเทศบางส่วน ครบก�าหนดช�าระและมีการก่อหนีใ้ หม่เพิ่มเพียงเล็กน้อย ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2554 ไม่มีหนี้ที่จะครบก�าหนดภายใน 1 ปี

1.4 หนี้ของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ

Compared to FY 2010, the annual average interest rate has increased from 2.33% to 2.34% because the matured external debt during FY 2011 had a relatively low interest rate. The proportion of the fixed-interest external debt has increased because the majority of the external debt is the JPY-denominated loan, and the JPY has appreciated substantially compared to THB during FY 2011. The average time to maturity of the external debt has decreased from 5.92 to 5.38 years because some external debt has matured and the state owned enterprises have borrowed externally for a very small amount. During FY 2011, there is no external debt matured within the year.

หนีก้ องทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ในปีงบประมาณ 2554 1.4 Financial Institutions Development Fund ลดลงสุทธิ 31,000 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการไถ่ถอนพันธบัตร (FIDF) Debt ในส่วนที่รัฐบาลไม่ค�้าประกันทั้งจ�านวน FIDF Debt has decreased by 31,000 million Baht over FY 2011, which has come from the redemption of the non-guaranteed FIDF bond.

112

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ตัวชี้วัดทางความเสี่ยงของหนี้ของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ Risk Indicator of FIDF Debt ตารางที่ 8 หนี้ของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ Table 8 FIDF Debt

หนี้ของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ / FIDF Debt

อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย / Annual Avg. Interest Rate (%) หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ คงที ่ : หนีอ้ ตั ราดอกเบีย้ ลอยตัว / Fixed-interest debt : Floating Rate debt ATM / Average Time to Maturity: ATM (Year) หนี้สั้น : หนี้ยาว / Debt with Maturity <1 year : Debt with Maturity >1 year

เมือ่ เปรียบเทียบกับปีก่อนหน้า ถึงแม้หนีข้ องกองทุนเพื่อ การฟืน้ ฟูฯ จะลดลง 31,000 ล้านบาท แต่อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยไม่มี การเปลี่ยนแปลงจากปีกอ่ นหน้า เนื่องจากหนี้ของกองทุนเพื่อการ ฟืน้ ฟูฯ ที่เหลือเป็นแบบอัตราดอกเบี้ยคงที่ท่รี อ้ ยละ 4.65 ต่อปี โดย ณ สิน้ ปีงบประมาณ 2554 อายุเฉลีย่ ของหนีก้ องทุนเพือ่ การ ฟื้นฟูฯ จะลดลงเหลือเพียง 0.17 ปี เนื่องจากไม่มีการกู้หนี้ของ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ เพิ่มและหนี้คงค้างที่เหลือทั้งหมดจะครบ ก�าหนดช�าระในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554

2553/2010 2554/2011 4.65 100 : 0 1.17 0 : 100

4.65 100 : 0 0.17 100 : 0

Compared to FY 2010, even though the FIDF debt has decrease by the amount of 31,000 million Baht, the average interest rate is still unchanged because all of the remaining FIDF debt has a fixed interest rate of 4.65%. At the end of FY 2011, the average time to maturity of the outstanding FIDF debt has decreased to 0.17 year because there is no new borrowing for FIDF during FY 2011 and all the remaining FIDF debt will mature in November 30, 2011.

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

113


ประมวลภาพกิจกรรม

114

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ประมวลภาพกิจกรรมในรอบปี 2554

วันคล้ายวันสถาปนา สบน. ครบรอบปีที่ 8 นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. ให้การต้อนรับ นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายมั่น พัธโนทัย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และนายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงการคลัง เนื่องในโอกาศวันคล้ายวันสถาปนา สบน. ครบรอบปีที่ 8 ณ ห้องประชุม 401 ชั้น 4 อาคารส�านักงานปลัดกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2553

การประชุมประจำาปีสภาผู้ว่าการธนาคารโลก นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง พร้อมนายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. ในฐานะคณะผู้แทนไทย เข้าร่วมการประชุมประจ�าปีสภาผูว้ ่าการธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ประจ�าปี 2553 และการประชุมอื่น ที่เกี่ยวข้อง ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 7-12 ตุลาคม 2553

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

115


สบน. เปิดตัวพันธบัตรออมทรัพย์ ปีงบประมาณ 54 ครั้งที่ 1

ภายในงาน SET in the City นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. เปิดตัวพันธบัตรออมทรัพย์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ครัง้ ที ่ 1 รุน่ อายุ 3 ปี อัตราดอกเบี้ย 2.70% ต่อปี วงเงินรวม 2,000 ล้านบาท ภายในงาน SET in the City กรุงเทพมหานคร 2010 ซึ่งได้รับความสนใจจากประชาชน เป็นจ�านวนมาก ณ Paragon Hall ศูนย์การค้า Siam Paragon ระหว่างวันที่ 18-21 พฤศจิกายน 2553

สบน. จัดกิจกรรม CSR ในโครงการ “PDMO ทำาดีเพื่อสังคม” นายจักรกฤศฏิ ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. พร้อมคณะผู้บริหาร ข้าราชการ พนักงาน ราชการ และลูกจ้าง ร่วมกันท�ากิจกรรมช่วยเหลือสังคมโดยการบริจาคคอมพิวเตอร์ โต๊ะ คอมพิวเตอร์ เก้าอี้เลคเชอร์ อุปกรณ์การเรียน พร้อมปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยการท�าความ สะอาดทางเดินและบริเวณโดยรอบให้ดูสวยงาม และยังสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการสร้าง ห้องน�้า จ�านวน 200,000 บาท ณ วัดศรีปันเงิน และโรงเรียนพระปริยัติธรรมสันป่าตอง ศึกษา จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2554 116

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


งานมหกรรมการเงินหาดใหญ่ ครั้งที่ 1 Money Expo Hatyai 2011 สบน. เปิดตัวพันธบัตรออมทรัพย์ รุ่นอายุ 3 ปี อัตราดอกเบี้ย 3.35% ต่อปี วงเงินรวม 500 ล้านบาท ภายในงาน “มหกรรม การเงิน หาดใหญ่ ครั้งที่ 1 Money Expo Hatyai 2011” ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ จ.สงขลา ระหว่างวันที่ 11-13 กุมภาพันธ์ 2554

พิธีลงนามสัญญาเงินกู้ระหว่างรัฐบาลไทยกับ ADB นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการ คลัง ร่วมลงนามสัญญาเงินกู้ระหว่างรัฐบาลไทยกับ ADB ส�าหรับ เงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงการพื้นฐาน โดยมี ผูบ้ ริหารของ สบน. เข้าร่วมพิธีดังกล่าวด้วย ณ ห้องประชุม 401 ชั้น 4 อาคารส�านักงานปลัดกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

117


โครงการติดตามและประเมินผลโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 พื้นที่ 4 ภาค นายประวิ ช สารกิ จ ปรี ช า ที่ ป รึ ก ษาด้ า นหนี้ ส าธารณะ เป็ น ประธานเปิ ด งานสั ม มนา “โครงการติ ด ตามและประเมิ น ผล โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 พื้นที่ 4 ภาค” โดยมีผู้เข้าร่วมสัมมนาจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ซึ่งรับผิดชอบดูแลโครงการไทยเข้มแข็งทั่วประเทศ รวมทั้งหน่วยงานกลาง ได้แก่ กระทรวงการคลัง ส�านักงบประมาณ ส�านักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2555 ณ ห้อง Jupiter 4-7 อาคาร ชาเลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554

การประชุม ASIAN BOND MARKET INITIATIVE MEETING นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. พร้อมคณะ เป็นตัวแทนประเทศไทย ในการเข้าร่วมการประชุม ASIAN BOND MARKET INITIATIVE MEETING ณ Holiday Inn Resort Baruna Bali เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2554 118

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


การประชุม Asian Regional Public Debt Management Forum ครั้งที่ 2 นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. เป็นประธานร่วมกับ Mr. Bindu N. Lohani, Vice President Finance and Administration ของ ADB ใน การประชุม Asian Regional Public Debt Management Forum ครัง้ ที ่ 2 และได้มีการประชุมแลกเปลีย่ นความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นกับ ประเทศต่างๆ จากวิกฤตการณ์การเงินโลก เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2554

พิธีมอบรางวัลเพชรวายุภักษ์ ครั้งที่ 2 นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. รับโล่รางวัลรองชนะเลิศประเภทรางวัลระดับกรม ด้านการให้บริการภายในกระทรวง การคลัง ชื่อนวัตกรรม “ก่อหนีใ้ หม่อย่างไรให้ยงั่ ยืน ช�าระหนีเ้ ก่าคืนอย่างไรให้มเี สถียรภาพ” และรางวัลชมเชยชื่อนวัตกรรม “การพัฒนาเครื่องมือการระดมทุนของรัฐบาลในตลาดตราสารหนีไ้ ทย” จากนายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การคลัง ในพิธีมอบรางวัลเพชรวายุภักษ์ ครั้งที่ 2 (MOF Innovation Awards 2010) ณ ห้องคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรม รามาการ์เด้นส์ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2554 ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

119


พิธีลงนามบันทึกความตกลงในการ จำาหน่ายพันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อ (Inflation-Linked Bond) นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. ร่วมพิธี ลงนามบันทึกความตกลงในการจ�าหน่ายพันธบัตร ชดเชยเงินเฟ้อ (Inflation-Linked Bond) โดย มีผแู้ ทนจากธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมการ ผู้จดั การสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยและกรรมการ บริหารระดับสูงจากธนาคารผูจ้ ัดจ�าหน่ายร่วมพิธี ดั ง กล่ า วด้ ว ย ณ ห้ อ งบอลรู ม โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ เมือ่ วันที่ 3 มิถนุ ายน 2554

ผอ.สบน. ร่วมหารือและประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับพันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อ นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. พร้อมคณะผู้แทนจาก สบน. ธนาคารแห่งประเทศไทย และธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จ�ากัด (ประเทศไทย) ในฐานะธนาคาร ตัวแทนจ�าหน่ายหลัก เข้าร่วมประชุมหารือและประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับพันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อ ให้นักลงทุนผูส้ นใจ ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐสิงคโปร์ และเขตบริหารพิเศษ ฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 21-24 มิถุนายน 2554 120

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


โครงการสัมมนาวิชาการสัญจร (Roadshow) ภายใต้ แผนงานโครงการส่งเสริมภาพลักษณ์ทด่ี ขี องหนีส้ าธารณะ ประจำาปี 2554 ส� า นัก งานบริ ห ารหนีส้ าธารณะจั ด โครงการสัม มนาวิ ช าการสัญ จร (Roadshow) ภายใต้แผนงานโครงการส่งเสริมภาพลักษณ์ทดี่ ีของหนี้ สาธารณะ ประจ�าปี 2554 ให้กับนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของหนี้สาธารณะ พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ บทบาท พันธกิจของ สบน. ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น ระหว่างวันที่ 6-21 กรกฎาคม 2554

โครงการเพชรวายุภกั ษ์สญ ั จร ครัง้ ที่ 1-3 นายจักรกฤศฏิ ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. ร่วมงาน เสวนา “CCO - MOF พบผู้บริหารและข้าราชการ กระทรวงการคลังส่วนภูมิภาค” ในโครงการเพชร วายุภักษ์สัญจร ครั้งที่ 1-3 ณ จังหวัดขอนแก่น จั ง หวั ด สงขลา และจั ง หวั ด ชลบุรี ระหว่ า งเดื อ น กรกฎาคม-กันยายน 2554

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

121


ผอ.สบน. ลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ศึกษาดูงานโครงการบริหาร จัดการน้ำาอย่างยั่งยืน อ่างเก็บน้ำาห้วยคล้าย อันเนือ่ งมาจากพระราชดำาริ นายจั ก รกฤศฏิ ์ พาราพั น ธกุ ล ผอ.สบน. ร่ ว มกั บ มูล นิธิ ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวทางพระราชด�าริ พร้อมคณะ ลงพื ้น ทีเ่ พื ่อ ศึ ก ษาดู แ นวทางการพั ฒ นาแหล่ ง น� า้ ที่ ยั่ ง ยืน ตามแนวพระราชด� า ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ในโครงการบริหารจัดการน�้าอย่างยั่งยืน อ่างเก็บน�้าห้วยคล้าย อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ เพือ่ เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาจัดท�าแผนการลงทุนระยะ 5 ปี (2554-2558) ในสาขาทรัพยากร น�้าและการเกษตร ให้สอดคล้องกับนโยบายและงบประมาณสมดุล ณ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2554

พิธเี ปิด-ปิดกิจกรรม PDMO CAMP 2011 นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. เป็นประธานในพิธีเปิด กิจกรรม PDMO CAMP 2011 เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับหนี้สาธาณะ บทบาทของ สบน. และสร้างทัศนคติที่ดีต่อ หนีส้ าธารณะ รวมทั้งด�าเนินการสรรหาบุคลากรเชิงรุกให้กบั นิสิต นักศึกษาที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมกิจกรรม PDMO CAMP 2011 จ�านวน 80 คน ระหว่างวันที่ 16-20 สิงหาคม 2554 ณ ห้องบอลรูม 2 ชั้น 3 โรงแรม ดิ เอมเมอรัล รัชดา เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2554 นายสุวิชญ โรจนวานิช รอง ผอ.สบน. เป็นประธานในพิธีปิด กิจกรรมและมอบรางวัลให้แก่ผู้ชนะเลิศการแข่งขันตอบค�าถาม ประเภทเดี่ยวและประเภททีม รวมทัง้ มอบประกาศนียบัตรแก่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ณ โรงแรมฮิลล์ไซด์คันทรี โฮม กอล์ฟ แอนด์ รีสอร์ท จ.ปราจีนบุรี เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2554 122

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


พิธลี งนามบันทึกความตกลงว่าด้วยการจำาหน่าย พันธบัตรรัฐบาล นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. ร่วมพิธีลงนามบันทึก ความตกลงว่ า ด้ ว ยการจ� า หน่ า ย “พั น ธบั ต รรั ฐ บาลเพื่ อ ราย ย่อยพิเศษในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแหล่งออมเงินที่มีคุณภาพที่ประชาชนทุกคนสามารถ เข้าถึง พร้อมทั้งเพิ่มช่องทางการจ�าหน่ายพันธบัตรผ่านเครื่อง ถอนเงินอัตโนมัต ิ (ATM) ณ บมจ. ธนาคารกรุงไทย สนง.ใหญ่ เมือ่ วันที่ 29 สิงหาคม 2554

สบน. เข้าศึกษาดูงาน ณ ศูนย์การเรียนรูป้ รัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและศิลปาชีพภาคกลาง นายประวิช สารกิจปรีชา ทีป่ รึกษาด้านหนี้สาธารณะ พร้อมคณะ เข้าร่วมโครงการกิจกรรมการศึกษาดูงานกับหน่วยงานภายนอก (KM Journey) ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางหลัก การบริหารจัดการตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและน�ามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานของ สบน. รวมทัง้ เพื่อให้เกิด การปรับกระบวนทัศน์ใหม่ในการปรับปรุงระบบการท�างาน ณ ศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและศิลปาชีพภาคกลาง จ.ฉะเชิงเทรา เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2554

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

123


ทำาเนียบผู้บริหาร ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2555 PDMO Management Team (as of September 2012) ที่อยู่ : ส�านักงานบริหารหนีส้ าธารณะ กระทรวงการคลัง ถนนพระรามที ่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 address : Public Debt Management Office, Ministry of Finance, Rama 6 Road, Phayathai, Bangkok, 10400

ชือ่ -สกุล (Name)

อีเมล (E-mail)

ผู้อ�านวยการส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ Director - General นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล Mr.Chakkrit Parapuntakul

0-2273-9825 0-2265-8050 ต่อ 5100 โทรสาร 0-2273-9167

chakkrit@pdmo.go.th

ที่ปรึกษาด้านหนี้สาธารณะ Public Debt Advisor นายประวิช สารกิจปรีชา Mr.Prawit Sarakitprija

0-2265-8058 0-2265-8050 ต่อ 5111 โทรสาร 0-2273-9145

prawit@pdmo.go.th

รองผู้อ�านวยการส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ Deputy Director - General นายสุวิชญ โรจนวานิช Mr.Suwit Rojanavanich

0-2273-9158 0-2265-8050 ต่อ 5104 โทรสาร 0-2273-9109

suwit@pdmo.go.th

Deputy Director - General นายทวี ไอศูรย์พิศาลศิริ Mr.Thavee Aisoonpisarnsiri

0-2618-3381 0-2265-8050 ต่อ 5107 โทรสาร 0-2273-9822

thavee@pdmo.go.th

ส�านักจัดการหนี้ 1 (Debt Management Bureau 1)

124

โทรศัพท์/โทรสาร (Tel/Fax)

ผู้อ�านวยการ Executive Director of the Debt Management Bureau 1 นายวิสุทธิ์ จันมณี Mr.Wisut Chanmanee

0-2265-8050 ต่อ 5300 โทรสาร 0-2618-4705

wisut@pdmo.go.th

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเงินกู้โครงการ Senior Expert on Loan Project นายณรงค์ แก้วเศวตพันธุ์ Mr.Narong Keowsawetabhan

0-2265-8050 ต่อ 5403

narong@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 1 Director of the Government Debt Management Division 1 นายถาวร เสรีประยูร Mr.Tharwon Seareeprayoon

0-2265-8050 ต่อ 5304

tharwon@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 2 Director of the Government Debt Management Division 2 นางสาวยอดเยาวมาลย์ สุคนธพันธุ์ Ms.Yodyaovamarn Sukonthaphant

0-2265-8050 ต่อ 5303

yod@pdmo.go.th

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ชือ่ -สกุล (Name)

โทรศัพท์/โทรสาร (Tel/Fax)

อีเมล (E-mail)

ผู้อ�านวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 3 Director of the Government Debt Management Division 3 นายยุทธพงศ์ เอี่ยมแจ้ง Mr.Yuthapong Eamchang

0-2265-8050 ต่อ 5305

yuthapong@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนจัดการเงินกู้หน่วยงานอื่น Director of the Government Debt Management Division นายฐิติเทพ สิทธิยศ Mr.Thitithep Sitthiyot

0-2265-8050 ต่อ 5302

thitithep@pdmo.go.th

ส�านักจัดการหนี้ 2 (Debt Management Bureau 2)

ผู้อ�านวยการ Executive Director of the Debt Management Bureau 2 นางสาวศิรสา กันต์พิทยา Ms.Sirasa Kanpittaya

0-2265-8050 ต่อ 5400 โทรสาร 0-2278-4151

sirasa@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนบริหารจัดการเงินกู้ในประเทศรัฐวิสาหกิจ Director of the State Enterprise Domestic Debt Management Division นางชนันภรณ์ พิศิษฐวานิช Mrs.Chanunporn Phisitvanich

0-2265-8050 ต่อ 5404

chanunporn@pdmo.go.th

ผูอ้ �านวยการส่วนบริหารจัดการเงินกูต้ า่ งประเทศรัฐวิสาหกิจ Director of the State Enterprise Foreign Debt Management Division นางสาวเสาวนีย์ จันทพันธ์ (รักษาการในต�าแหน่ง) Ms.Saowanee Chantapun

0-2265-8050 ต่อ 5412

saowanee@pdmo.go.th

ผูอ้ �านวยการส่วนเงินกูต้ ลาดเงินทุนต่างประเทศและการจัดระดับความน่าเชื่อถือ Director of the Debt Capital Market Division นางสาวอรุณวรรณ ยมจินดา Ms.Arunwan Yomjinda

0-2265-8050 ต่อ 5402

arunwan@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนบริหารจัดการเงินให้กู้ต่อและการช�าระหนี้รัฐวิสาหกิจ Director of the On - Lending and Payment of State Enterprise Management Division นางปัณฑารีย์ ศรีแก้วพันธ์ Mrs.Puntaree Srikaewpun

0-2265-8050 ต่อ 5406

puntaree@pdmo.go.th

ส�านักนโยบายและแผน (Policy and Planning Bureau)

ผู้อ�านวยการ Executive Director of the Policy and Planning Bureau นายธาดา พฤฒิธาดา Mr.Tada Phutthitada

0-2265-8050 ต่อ 5500

tada@pdmo.go.th

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านหนี้สาธารณะและเงินคงคลัง Senior Expert on Public Debt and Treasury นางสุณี เอกสมทราเมษฐ์ Mrs.Sunee Eksomtramate

0-2265-8050 ต่อ 5506

sunee@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนนโยบายและแผน Director of the Policy and Planning Division นางสาวนีรชา มรกตราภรณ์ (รักษาการในต�าแหน่ง) Ms.Neeracha Morakottapron

0-2265-8050 ต่อ 5514

neeracha@pdmo.go.th

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

125


ชือ่ -สกุล (Name)

ผู้อ�านวยการส่วนความร่วมมือระหว่างประเทศ Director of the International Cooperation Division นางสาวอุปมา ใจหงษ์ Ms.Upama Jaihong

อีเมล (E-mail)

0-2265-8050 ต่อ 5503

upama@pdmo.go.th

0-2265-8050 ต่อ 5505

ranee@pdmo.go.th

ส�านักบริหารการช�าระหนี้ (Payment Administration Bureau)

ผู้อ�านวยการ Executive Director of the Payment Administration Bureau นายเอด วิบูลย์เจริญ Mr.Ace Viboolcharern

0-2265-8050 ต่อ 5600

ace@pdmo.go.th

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านบริหารการช�าระหนี้ Senior Expert on Debt Payment Management นายเอกราช เขื่อนขันธ์สถิตย์ Mr.Ekaraj Khuankhunsathid

0-2265-8050 ต่อ 5666

ekaraj@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนบริหารการช�าระหนี้ในประเทศ Director of the Internal Debt Payment Division นายอัคนิทัต บุญโญ Mr.Aknetat Boonyo

0-2265-8050 ต่อ 5602

aknetat@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนบริหารการช�าระหนี้ต่างประเทศ Director of the External Debt Payment Division นางสาวชิดชไม ไมตรี Ms.Chidchamai Maitree

0-2265-8050 ต่อ 5604

chidchamai@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนบริหารเงินกองทุน Director of the Fund Management Division นางพรพิมล บุนนาค Mrs.Pornpimol Boonnag

0-2265-8050 ต่อ 5603

pornpimol@pdmo.go.th

ส�านักงานเลขานุการกรม (Office of the Secretary)

เลขานุการกรม Secretary นายธีรลักษ์ แสงสนิท Mr.Teeralak Sangsnit

0-2265-8050 ต่อ 5110 โทรสาร 0-2263-9147

teeralak@pdmo.go.th

หัวหน้าฝ่ายการเจ้าหน้าที่ Chief of Human Resource Division นางรุ่งระวี รุกเขต Mrs.Rungrawee Roogkate

0-2265-8050 ต่อ 5116

rungrawee@pdmo.go.th

หัวหน้าฝ่ายคลัง Chief of Budgetary Division นางสาวมนัสนันท์ ประเสริฐผล Ms.Manusanan Prasertphol

0-2265-8050 ต่อ 5117

Manusanan@pdmo.go.th

หัวหน้าฝ่ายพัสดุ Chief of Logistics Division นางเสาวรส สีวรรณ์ Mrs.Sawaros Srivan

0-2265-8050 ต่อ 5119

sawaros@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนวิเคราะห์แผนการบริหารความเสี่ยง

126

โทรศัพท์/โทรสาร (Tel/Fax)

ผู้อ�านวยการส่วนวิจัยนโยบายหนี้สาธารณะ Director of the Public Debt Policy Research Division นางสาวรานี อิฐรัตน์ Ms.Ranee Itarat

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ


ชือ่ -สกุล (Name)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Center)

โทรศัพท์/โทรสาร (Tel/Fax)

อีเมล (E-mail)

ผู้อ�านวยการ Director of the Information Technology Center นางสาววราภรณ์ ปัญญศิริ Ms.Waraporn Panyasiri

0-2265-8062 0-2265-8050 ต่อ 5200 โทรสาร 0-2298-5481

waraporn@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนวิเคราะห์นโยบายและแผนสารสนเทศ Senior Computer Technical Officer นายครรชิต พะลัง (ปฏิบัติหน้าที่) Mr.Kanchit Bhalang

0-2265-8050 ต่อ 5209

kanchit@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนบริหารระบบข้อมูลสารสนเทศ Director of the Information System and Management Division นายวศิน ชูจิตารมย์ Mr.Vasin Choojitarom

0-2265-8050 ต่อ 5207

vasin@pdmo.go.th

0-2265-8050 ต่อ 5900 โทรสาร 0-2618-3399

porntip@pdmo.go.th

0-2265-8050 ต่อ 5220 โทรสาร 0-2618-3384

sophida@pdmo.go.th

กลุ่มกฎหมาย (Legal Advisory Group)

0-2265-8050 ต่อ 5913 โทรสาร 0-2273-9058

teeredet@pdmo.go.th

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (Public Sector Development Group)

ผู้อ�านวยการ Director of the Public Sector Development Group นางสาวพรทิพย์ พันเลิศยอดยิ่ง Ms.Porntip Phunleartyodying

กลุ่มตรวจสอบภายใน

ผู้อ�านวยการ Director of the Internal Audit Group นางสาวโสภิดา ศรีถมยา Ms.Sophida Sritomya ผู้อ�านวยการ Director of the Legal Advisory Group นายธีรเดช ลิขิตตระกูลวงศ์ Mr.Teeradet Likitragolwong

ที่อยู่ : 118/1 อาคารทิปโก้ ชั้น 32 ถนนพระรามที ่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 address : Public Debt Management Office 118/1 Tipco Tower 32th Floor, Rama 6 Road, Samsen Nai, Phayathai, Bangkok, 10400

ชือ่ -สกุล (Name)

โทรศัพท์/โทรสาร (Tel/Fax)

อีเมล (E-mail)

ส�านักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ (Bond Market Development Bureau)

0-2271-7999 ต่อ 5802 โทรสาร 0-2357-3576

pimpen@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการ Executive Director of the Bond Market Development Bureau นางสาวพิมพ์เพ็ญ ลัดพลี (รักษาราชการแทน) Ms.Pimpen Ladpli

ANNUAL REPORT 2011 • PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

127


128

ชือ่ -สกุล (Name)

โทรศัพท์/โทรสาร (Tel/Fax)

อีเมล (E-mail)

ผู้อ�านวยการส่วนพัฒนาตลาดตราสารหนี้ Director of the Government Bond Market Development Division นางสาวพิมพ์เพ็ญ ลัดพลี Ms.Pimpen Ladpli

0-2271-7999 ต่อ 5802

pimpen@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนบริหารกองทุนและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน Director of the Fund Management and Bond Market Infrastructure Development Division นายณัฐการ บุญศรี Mr.Nattakarn Boonsri

0-2271-7999 ต่อ 5803

nattakarn@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนนโยบายตลาดตราสารหนี้ระหว่างประเทศ Director of the International Bond Market Policy Division นางฉัตรมณี สินสิริ Mrs.Chatmanee Sinsiri

0-2271-7999 ต่อ 5804

chatmanee@pdmo.go.th

ส�านักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ (Public Infrastructure Project Financing Bureau)

ผู้อ�านวยการ Executive Director of the Public Infrastructure Project Financing Bureau 0-2271-7999 นายธีรัชย์ อัตนวานิช ต่อ 5700 Mr.Theeraj Athanavanich โทรสาร 0-2357-3576

theeraj@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนนโยบายและแผนการระดมทุน Director of the Financing Policy and Planning Division นางสาวสิริภา สัตยานนท์ Ms.Siribha Satayanon

0-2271-7999 ต่อ 5703

siribha@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนวิเคราะห์และจัดการเงินทุน โครงการ 1 Director of the Project Financing Division 1 นางสาวอัญจนา วงศ์สว่าง Ms.Anchana Wongsawang

0-2271-7999 ต่อ 5705

anchana@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนวิเคราะห์และจัดการเงินทุน โครงการ 2 Director of the Project Financing Division 2 นางสาวเบญจมาศ เรืองอ�านาจ Ms.Benjamart Ruangamnart

0-2271-7999 ต่อ 5704

benjamart@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย Director of the Consultant Database Center นางอนงค์นาฏ โมราสุข Mrs.Anongnart Morasook

0-2271-7999 ต่อ 5702

anongnart@pdmo.go.th

ส�านักบริหารการระดมทุนระบบบริหารจัดการน�้า (Water Manegement Project Financing Bureau)

ผู้อ�านวยการ Director of the Water Manegement Project Financing Bureau นางจินดารัตน์ วิริยะทวีกุล Mrs.Jindarat Viriyataveekul

02271-7999 ต่อ 5777

jindarat@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนนโยบายและแผนการลงทุน Director of Financing Policy and Planning Division นางอรพร ถมยา Mrs.Oraporn Thomya

02271-7999 ต่อ 5722

onraporn@pdmo.go.th

ผู้อ�านวยการส่วนก�ากับ ติดตาม และประเมินผลโครงการ Director of Project Monitoring and Evaluation Division นางสาวจารุณี เล็กด�ารงศักดิ์ Ms.Jarunee Lekdamrongsak

02271-7999 ต่อ 5710

jarunee@pdmo.go.th

รายงานประจำาปี 2554 • สำ�นักง�นบริห�รหนี้ส�ธ�รณะ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.