Volum 2ฉบับที่ 2 มกราคม-มีนาคม 2554

Page 1


พระบรมราโชวาท

㹡Òû¯ÔºÑμÔÃÒª¡ÒùÑé¹¢ÍãËŒ·Ó˹ŒÒ·Õèà¾×èÍ˹ŒÒ·Õè Í‹ҹ֡¶Ö§ºÓà˹ç¨ÃÒ§ÇÑÅËÃ×ͼŻÃÐ⪹ ãËŒÁÒ¡ ¢ÍãËŒ¶×ÍÇ‹Ò¡Ò÷Ó˹ŒÒ·Õèä´ŒÊÁºÙó ໚¹·Ñé§ÃÒ§ÇÑÅ áÅлÃÐ⪹ Í‹ҧ»ÃÐàÊÃÔ° ¨Ð·ÓãËŒºŒÒ¹àÁ×ͧä·Â¢Í§àÃÒÍÂÙ‹àÂç¹à»š¹ÊØ¢áÅÐÁÑ蹤§

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกขาราชการพลเรือน เนื่องในโอกาสวันขาราชการพลเรือน พุทธศักราช ๒๕๓๓ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๑๙ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๓๓


ÊÒèҡºÃóҸԡÒà ชวงกลางเดือนมีนาคม 2554 ที่ผานมา สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ (สบน.) ได ร ว มกั บ ธนาคารพั ฒ นาเอเชี ย (Asian D e v e l o p m e n t B a n k ห รื อ A D B ) จั ด การประชุ ม Asian Regional Public Debt Management Forum ครั้ ง ที่ 2 ที่ โ ร ง แ ร ม L a g u n a B e a c h R e s o r t จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต โดยมี ผู เ ข า ร ว มประชุ ม จาก สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ จ ากประเทศต า งๆ ใน ภู มิ ภ าคเอเชี ย รวมถึ ง ประเทศพั ฒ นาอื่ น ๆ และองค ก รระหว า งประเทศ จำนวนกว า 1 5 0 ค น เ พื่ อ ส ร า ง ค ว า ม สั ม พั น ธ อั น ดี ระหว า ง Debt Managers อีก ทั้งยังไดรวม แ ล ก เ ป ลี่ ย น ความคิ ด และประสบการณ แนวทางการบริ ห ารจั ด การหนี้ ใ นช ว งวิ ก ฤต เศรษฐกิ จ นั บ ได ว า การจั ด การประชุ ม ครั้ ง นี้ ประสบความสำเร็ จ เป น อย า งดี สบน. ตองขอขอบคุณหนวยงานตางๆ ที่ ร ว มสนั บ สนุ น การจั ด การประชุ ม ครั้ ง นี้ ใหสำเร็จลุลวงไปได โดยวารสารหนี้สาธารณะ เลม นี้จ ะมีรูป บรรยากาศในการประชุ ม ดวย

สิริภา สัตยานนท ผูอำนวยการสวนความรวมมือระหวางประเทศ สำนักนโยบายและแผน

ÊÒúÑÞ

2

ผลการประชุม

Asian Regional Public Debt Management Forum ครัง้ ที่ 2

3

กลยุทธการระดมทุน

แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555

6

ขาวประชาสัมพันธ จากสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

7

กรอบติดตามและประเมินผลโครงการ ภายใตแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555

10

สบน. มีแนวทางปฏิบัติ

ในการชำระคืนหนี้เงินกู ตปท. ของรัฐบาลอยางไร ?

13

มุมอรอย

HOBS (House of Beers)

สถานะของหนี้สาธารณะ

สถานะของหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 31 มกราคม 2554

16

14

ธรรมะกับการงาน

ดับความโกรธเพราะ “วาจา” เพื่อชีวิตที่เปนสุข

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) วิสัยทัศน: เปนมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน พันธกิจ: บริหารหนี้สาธารณะตามกฎหมายวาดวยการบริหารหนี้สาธารณะ โดยการวางแผน กำกับ และดำเนินการกอหนี้ ค้ำประกัน และปรับโครงสรางหนี้ของรัฐบาล หนวยงานในกำกับดูแลของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมทั้ง การชำระหนี้ของรัฐบาล และการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อใหการบริหารหนี้สาธารณะเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ และเสริมสรางความยั่งยืนทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ วารสารหนี้สาธารณะ จัดทำโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ สังกัดกระทรวงการคลัง เพื่อเผยแพรแกประชาชนทั่วไป


รานี อิฐรัตน เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน

¼Å¡ÒûÃЪØÁ Asian Regional Public Debt Management Forum ¤ÃÑ駷Õè 2

สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะและธนาคารพั ฒ นา เอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ไดรวมเปนเจาภาพ จัดการประชุม Asian Regional Public Debt Management Forum ครั้งที่ 2 ในระหวางวันที่ 16-18 มีนาคม 2554 ณ โรงแรม Laguna Beach Resort จังหวัดภูเก็ต โดยการประชุม ครั้งนี้มีผูบริหารจากหนวยงานดานการบริหารหนี้สาธารณะ จากประเทศในภูมิภาคเอเชียและยุโรป รวม 46 ประเทศ และ ผู แ ทนจากสถาบั น การเงิ น ระหว า งประเทศและภาคเอกชน ไดแก องคการความรวมมือระหวางประเทศของญี่ปุน ADB ธนาคารโลก กองทุ น การเงิ น ระหว า งประเทศ และบริ ษั ท Standard & Poor’s เปนตน เขารวมทั้งสิ้นประมาณ 150 คน การประชุ ม Asian Regional Public Debt Management Forum ในครั้งนี้ไดรับความสำเร็จเปนอยางมาก โดยผู เ ข า ร ว มประชุ ม ได ห ารื อ แลกเปลี่ ย นองค ค วามรู และ ประสบการณ ใ นการบริ ห ารหนี้ ส าธารณะอย า งกว า งขวาง ตลอดระยะเวลา 3 วัน และมีทิศทางอันดีในการที่จะทำใหเกิด ความรวมมือจากหนวยงานดานการบริหารหนี้สาธารณะทั้งใน ภูมิภาคเอเชียตลอดจนภูมิภาคอื่นๆ ในการที่จะรวมกันบริหาร จัดการหนี้สาธารณะทั้งในเวลาที่เกิดวิกฤติหรือเวลาปกติ โดย สาระสำคัญของการประชุมครั้งนี้สรุปไดวา ถึงแมประเทศใน กลุมเอเชียไดรับผลกระทบจากวิกฤติการเงินโลก แตก็สามารถ ปรั บ ตั ว รั บ มื อ ได อ ย า งค อ นข า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อย า งไรก็ ดี มี ข อ สั ง เกตว า กระแสเงิ น ทุ น ที่ ไ หลเข า -ออกอย า งเสรี การจัดการอัตราแลกเปลี่ยน และนโยบายการเงิน อาจสงผล ให ก ารดำเนิ น นโยบายของรั ฐ บาลและบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ

2

มีความทาทายมากขึ้น โดยประเทศตางๆ ไดหันมากูเงินจาก ตลาดตราสารหนี้ในประเทศมากขึ้น มีการพัฒนาผลิตภัณฑ ตราสารหนี้ ใ หม ๆ เพื่ อ ขยายฐานนั ก ลงทุ น โดยแนวทางใน การบริหารหนี้สาธารณะใหมีประสิทธิภาพ ไดแก (1) มีกรอบ กฎหมายและกรอบการดำเนินการที่เอื้อใหการบริหารหนี้เปน ไปอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งหลายประเทศไดแสดงความสนใจ สอบถามเกี่ยวกับการกำหนดใหรัฐบาลสามารถออกพันธบัตร เพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้ของประเทศไทยเปนอยางมาก โดยเห็ น ว า มี ป ระโยชน ใ นการพั ฒ นาตลาดทุ น เพื่ อ รองรั บ การระดมทุนและลดตนทุนในการกูเงินของประเทศในระยะยาว (2) พัฒนาความสามารถในการดำเนินงานอยางตอเนื่อง อาทิ มีการอบรมใหความรูแกเจาหนาที่ใหมีความชำนาญเพียงพอ (3) พั ฒ นาตลาดตราสารหนี้ ใ นประเทศให ส ามารถรองรั บ ความตองการระดมทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ ในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ (4) มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ หมาะสม โดยการพั ฒ นา แบบจำลองใหเหมาะสมกับความตองการของแตละประเทศ การพั ฒ นาระบบการจั ด เก็ บ ฐานข อ มู ล ให ส อดคล อ งกั บ การใชงาน การประมาณการภาวะตลาดและภาวะเศรษฐกิจ ใหมีความแมนยำ เปนตน และ (5) มีระบบการบันทึกและ ติดตามภาระผูกพันที่มีประสิทธิภาพ ทั้งภาระผูกพันที่เปดเผย (Explicit Contingent Liabilities) เชน การค้ำประกันของ รัฐบาลในการกูยืมเงิน และการค้ำประกันเงินฝากใหธนาคาร พาณิชย เปนตน และภาระผูกพันแฝง (Implicit Contingent Liabilities) เชน การเขาชวยเหลือสถาบันการเงินในชวงวิกฤติ และการบรรเทาความเสียหายที่เกิดจากภัยธรรมชาติ เปนตน


กุลกานต อรามทอง เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

¡ÅÂØ·¸ ¡ÒÃÃдÁ·Ø¹ á¼¹»¯ÔºÑμÔ¡ÒÃä·ÂࢌÁá¢ç§ 2555

ความเปนมาของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555

จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจโลกหดตัวอยางรุนแรงเมื่อป 2551 เศรษฐกิ จ ไทยได รั บ ผลกระทบทั้ ง ในภาคการส ง ออก การผลิ ต การบริ โ ภค การท อ งเที่ ย ว และการลงทุ น ของภาคเอกชน โดย ในไตรมาสสุดทายของป 2551 เศรษฐกิจไทยหดตัวรอยละ 4.3 ซึ่ง จากปญหาวิกฤติการณดงั กลาวทำใหธรุ กิจตองปดตัวลงเปนจำนวนมาก โดยมีแนวโนมวาอัตราการเลิกจางจะสูงขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลใหเกิด ปญหาการวางงานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังสงผลใหการจัดเก็บรายได ของรัฐบาลต่ำกวาที่ไดประมาณการไวเปนอยางมาก ซึ่งสงผลกระทบ ตอฐานะการคลัง รายไดของรัฐบาล และความสามารถในการใชจาย และการจัดทำบริการสาธารณะของรัฐ รัฐบาลจึงตองกลับมาพึ่งพา การใช จ า ยภายในประเทศทั้ ง ในส ว นของการบริ โ ภคและการลงทุ น เปนหลัก รัฐบาลจึงจำเปนตองกระตุนการลงทุนโดยการเพิ่มการใชจาย การลงทุ น ของภาครั ฐ โดยเฉพาะการลงทุ น ในส ว นที่ เ ป น โครงการ โครงสรางพื้นฐานดานบริการสาธารณะเปนสำคัญ เพื่อเปนการเพิ่ม แรงกระตุนทางเศรษฐกิจของประเทศใหเติบโต โดยจัดทำ “แผนฟนฟู เศรษฐกิจระยะที่ 2 (Stimulus Package II : SP2) หรือแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555” วงเงินรวม 1,309,655 ลานบาท โดยการลงทุนตางๆ ตามแผนปฏิบตั กิ ารไทยเขมแข็ง 2555 ไดมงุ เนนการกระจายการลงทุน ไปสูชนบททั่วประเทศ ซึ่งจะไปสรางงานสรางรายไดใหแกประชาชน อย า งทั่ ว ถึ ง โดยจะทำให ก ารบริ โ ภคและการลงทุ น ภาคเอกชนเริ่ ม ฟนตัวขึ้น ซึ่งสุดทายก็จะทำใหระบบเศรษฐกิจฟนตัวไดในที่สุด

แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง

แผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข ม แข็ ง 2555 เป น การลงทุนในโครงการพื้นฐานในสาขาตางๆ ที่จำเปน ต อ งเร ง ดำเนิ น งาน เพื่ อ สร า งการจ า งงานและ ยกระดับคุณภาพชีวิตใหแกประชาชนในพื้นที่ตางๆ ทั่ ว ประเทศ และสามารถกระทำได ทั น ที ซึ่ ง ได แ ก การพัฒนาแหลงน้ำและระบบชลประทานขนาดกลาง และขนาดเล็ ก การพั ฒ นาระบบถนนในชนบท การพัฒนาและปรับปรุงสถานีอนามัยและโรงเรียน ขนาดเล็ ก ในท อ งถิ่ น และชนบท โดยควบคู ไ ปกั บ การพั ฒ นาระบบโครงสร า งพื้ น ฐานขนาดใหญ ที่ จำเปนตอการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ของประเทศในระยะยาว เชน ระบบขนสงมวลชน ในพื้ น ที่ ก รุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล รวมทั้ ง การพัฒนาระบบขนสงมวลชนทางราง ทั้งนี้ รัฐบาล มิไดมุงเนนเฉพาะการลงทุนในโครงการขนาดใหญ เทานั้น แตยังคงใหความสำคัญแกโครงการลงทุน ขนาดกลางและขนาดเล็ ก ที่ มี พื้ น ที่ ก ารดำเนิ น โครงการกระจายไปทั่วประเทศ ดังนั้น การดำเนิน โครงการตางๆ จึงเปนเรื่องเรงดวน ซึ่งหากสามารถ ดำเนินการไดยอมแกไขปญหาวิกฤติเศรษฐกิจของ ประเทศไทยไดอยางทันทวงที

3


สัดสวนการลงทุนในสาขาตางๆ ของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 (1,309,655 ลานบาท) ประกันรายไดเกษตรกร 3%

อื่นๆ 21%

สาธารณสุข 7% ขนสง 29%

ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (2554)

การลงทุน ในระดับชุมชน 11% ทรัพยากรน้ำ และการเกษตร 18%

กลยุทธการระดมทุนของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555

แหลงเงินสำหรับสนับสนุนการดำเนินโครงการภายใต แผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข ม แข็ ง จะมาจากหลายแหล ง เงิ น เช น เงิ น งบประมาณประจำป เงิ น กู ต ามกฎหมายปกติ (พระราชบั ญ ญั ติ ก ารบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ พ.ศ. 2548) และอื่ น ๆ โดยจะมี แ หล ง เงิ น จากการกู เ งิ น ในประเทศ ของรัฐบาลเปนหลักผานกฎหมายพิเศษ (พระราชกำหนดให อำนาจกระทรวงการคลั ง กู เ งิ น เพื่ อ ฟ น ฟู แ ละเสริ ม สร า ง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552) เนื่องจากโครงการ

4

ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 สวนใหญ เป น โครงการที่ มี สั ด ส ว นการซื้ อ สิ น ค า และบริ ก ารจาก ในประเทศ โดยจากการประมาณการของธนาคาร แห ง ประเทศไทยในขณะนั้ น พบว า สภาพคล อ งของระบบ การเงินในประเทศยังคงมีอยูคอนขางสูง และเพียงพอที่จะ สามารถรองรับการระดมทุนของรัฐบาลภายใตแผนปฏิบัติการ ไทยเข ม แข็ ง 2555 ในช ว งป ง บประมาณ 2553-2555 ได สำหรับรูปแบบการกูนั้นจะเปนการกูเงินโดยการออกตราสาร เพื่อกูเงินจากประชาชนทั้งในรูปแบบของตราสารการกูเงิน ระยะสั้ น และตราสารระยะยาว อาทิ การออกพั น ธบั ต ร ออมทรั พ ย ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการ ในการลงทุ น ของประชาชนและนั ก ลงทุ น ในแต ล ะกลุ ม โดยเฉพาะในขณะนั้นที่อัตราดอกเบี้ยอยูในระดับต่ำมาก และประชาชนในกลุมผูเกษียณอายุและผูสูงอายุไดรับ ผลกระทบจากรายไดที่ลดลง ดังนั้น จากการที่อัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากที่ลดลงสงผลใหประชาชนจะเขามา ลงทุ น ในพั น ธบั ต รออมทรั พ ย ข องรั ฐ บาล ซึ่ ง เป น การลงทุ น ที่ ป ลอดภั ย สู ง โดยได รั บ อั ต ราดอกเบี้ ย ที่เหมาะสม


แหลงระดมทุนของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 แบงออกเปน 2 กลุมหลัก ดังนี้

กลุมที่ 1 โครงการลงทุนของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจที่รัฐบาลรับภาระการลงทุน : ประกอบดวย โครงการลงทุนภายใต โครงการแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจที่รัฐบาลรับภาระการลงทุน วงเงินลงทุนจำนวน 1,088,776 ลานบาท จะมีความตองการแหลงเงินลงทุนหลักจากพระราชกำหนดใหอำนาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อฟนฟู และเสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ในวงเงิน 350,000 ลานบาท นอกจากนี้ จะมีการใชงบประมาณประจำป รวมทั้งเงินกูทั้งจากในประเทศและตางประเทศเพื่อสนับสนุนการดำเนินโครงการดังกลาวดวย ทั้งนี้ โครงการลงทุนในกลุมที่ 1 ประกอบด ว ย โครงการภายใต ส าขาบริ ห ารจั ด การน้ ำ เพื่ อ การเกษตร สาขาขนส ง ทางถนน ราง สาขาการศึ ก ษา สาขาสาธารณสุ ข สวั ส ดิ ภ าพประชาชน วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม โครงการ สรางพื้นฐานเพื่อการทองเที่ยว พัฒนาการทองเที่ยว เศรษฐกิจสรางสรรค และการลงทุนในระดับชุมชน ในปจจุบันสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ได ด ำเนิ น การกู เ งิ น ภายใต พ ระราชกำหนดให อ ำนาจ แหลงเงินลงทุนแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555 อื่นๆ กระทรวงการคลังกูเงินเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความมั่นคง 459,000 PPPs 23,000 ทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ผานเครื่องมือทางการเงินตางๆ ได แ ก สั ญ ญากู เ งิ น (Bank Loan) อายุ 2 ป วงเงิ น พ.ร.บ.หนี้ฯ 150,000 ลานบาท และอายุ 4 ป วงเงิน 200,000 ลานบาท 134,000 พ.ร.ก. 350,000 เพื่อใหสอดคลองกับความตองการใชจายเงินของโครงการ งปม. และ สบน. ได มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งจากการกู เ งิ น 146,000 SOEs ดั ง กล า ว โดยการยื ด อายุ เ ฉลี่ ย ของหนี้ ที่ จ ะครบกำหนด 198,000 ชำระ (Averaged Time to Maturity : ATM) ดวยการปรับ โครงสรางหนี้ผานการออกพันธบัตรออมทรัพยอายุ 6 ป ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ และ 15 ป และตั๋วสัญญาใชเงินอายุ 12 ปและ 18 ป กลุมที่ 2 โครงการลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่รัฐวิสาหกิจรับภาระการลงทุนเอง : ประกอบดวย โครงการลงทุนของ รัฐวิสาหกิจในสาขาพลังงาน สาขาการสื่อสาร และโครงการลงทุนในสาขาการขนสงบางสวน วงเงินลงทุน 220,879 ลานบาท โดยมี แ ผนการระดมทุ น จากรายได ข องรั ฐ วิ ส าหกิ จ เป น หลั ก และมี ก ารกู เ งิ น จากในประเทศและต า งประเทศเพื่ อ สมทบ การลงทุนดวย นอกจากนี้ รัฐบาลยังสนับสนุนการใหเอกชนเขามารวมลงทุนในรูปแบบ PPPs

สรุป

จากป ญ หาวิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ โลกที่ ส ง ผลกระทบต อ เศรษฐกิ จ ไทย ภาครั ฐ บาลจึ ง เป น กลไกที่ ส ำคั ญ ในการลด ผลกระทบที่เกิดขึ้นและฟนฟูเศรษฐกิจใหกลับสูสภาพปกติ โดยเร็ ว โดยการออกมาตรการกระตุ น การลงทุ น ภายใน ประเทศหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ที่มุงเนนการลงทุนในโครงการขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ ก และมี พื้ น ที่ ด ำเนิ น โครงการกระจายไป ทั่ ว ประเทศ ซึ่ ง การลงทุ นของภาครั ฐ ดั ง กล า วจะก อ ใหเกิ ด การจ า งงาน การเพิ่ ม ขึ้ น ของรายได ข องประชากร พั ฒ นา

ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ อีกทั้งสนับสนุน การลงทุนของภาคเอกชนและการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ อยางไรก็ดี แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จะไมสามารถ ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว หากขาดกลยุทธ การระดมทุ น จากแหล ง เงิ น ที่ เ หมาะสมและสอดคล อ งกั บ สถานการณ เ ศรษฐกิ จ ในขณะนั้ น ทั้ ง นี้ เพื่ อ ไม ใ ห เ กิ ด การกอหนี้ใหแกประเทศมากเกินไปจนสูญเสียความยั่งยืน ทางการคลั ง รวมทั้ ง ไม ก อ ให เ กิ ด ต น ทุ น ทางการเงิ น สู ง จน เกินไปและใหเพียงพอตอความตองการลงทุนในอนาคตตอไป

5


ข่าวประชาสัมพันธ์ จาก สบน.

สุเนตรา เล็กอุทัย เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน

สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะร่ ว มกั บ ธนาคารพั ฒ นาเอเชี ย (ADB) ได้ จั ด การประชุม Asian Regional Public Debt Management Forum ในระหว่างวันที่ 16-18 มีนาคม 2554 ณ โรงแรม Laguna Beach Resort จังหวัดภูเก็ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ รวมทัง้ พัฒนาเครือข่าย การเรียนรูร้ ะหว่างประเทศ ซึง่ จะเป็นประโยชน์ในการดำเนินงานและการวางนโยบายในอนาคต ทั้งนี้มีผู้ร่วมการประชุมกว่า 46 ประเทศ จากกระทรวงการคลัง Debt Management Office และธนาคารกลางประเทศต่างๆ รวมทั้งองค์กรระหว่างประเทศ รวมประมาณ 150 คน

ข่าวกิจกรรม

เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2554 นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผู้อำนวยการสำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ ขึ้นรับรางวัลในพิธีมอบรางวัลเพชรวายุภักษ์ ครั้งที่ 2 (MOF Innovation Awards 2010) ประเภทรางวั ล ระดั บ กรมด้ า นการให้ บ ริ ก ารภายในกระทรวงการคลั ง ณ ห้องคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต โดยในปีนี้ สบน. ได้ รั บ 2 รางวั ล ได้ แ ก่ รางวั ล รองชนะเลิ ศ ชื่ อ นวั ต กรรม “ก่ อ หนี้ ใ หม่ อ ย่ า งไรให้ ยั่ ง ยื น ชำระหนี้ เ ก่ า คื น อย่ า งไรให้ มี เ สถี ย รภาพ” และรางวั ล ชมเชย ชื่ อ นวั ต กรรม “การพั ฒ นา เครื่องมือการระดมทุนของรัฐบาลในตลาดตราสารหนี้ไทย”

ข่าวประชาสัมพันธ์ สำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) จะจัดจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ของกระทรวงการคลัง ในงานมหกรรมทางการเงินและการลงทุน Money Expo 2011 ระหว่างวันที่ 12-15 พฤษภาคม 2554 ในช่วงเวลา 10.00-21.00 น. ณ อาคารชาเลนเจอร์ 2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี โดยจำหน่ายพันธบัตรรุ่นอายุ 3 ปี อัตราดอกเบี้ยจะประกาศในช่วงก่อนจัดงานประมาณ 1-2 สัปดาห์ นอกจากนั้ น ภายในงานจะมี ก ารเผยแพร่ ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ พั น ธบั ต รออมทรั พ ย์ แ ละ ตราสารหนีอ้ นื่ ๆ ของภาครัฐ รวมทัง้ ประชาสัมพันธ์บทบาทหน้าทีข่ อง สบน. ผูส้ นใจสามารถเข้าร่วมงาน ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.moneyexpo.net


ภาวณี บำรุงศรี เศรษฐกรชำนาญการ สำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

กรอบติดตามและประเมินผลโครงการ

ภายใต้แผนปฏิบัติการ

ไทยเข้มแข็ง 2555 1. เหตุผลความจำเป็น

เป็นทีท่ ราบกันทัว่ ไปว่า รัฐบาลได้จดั ทำโครงการภายใต้แผนปฏิบตั กิ าร ไทยเข้ ม แข็ ง 2555 หรื อ แผนฟื้ น ฟู เ ศรษฐกิ จ ระยะที่ 2 วงเงิ น 1,309,655 ล้านบาท โดยมีเป้าหมายเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศ ทั้งนี้ โดยเพิ่ม การลงทุ น ของภาครั ฐ เพิ่ ม การจ้ า งงานผ่ า นโครงการลงทุ น ขนาดเล็ ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ในสาขาเศรษฐกิ จ และสั ง คมต่ า งๆ กระจาย การลงทุนด้านบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานไปสู่ชนบท รวม 19 สาขา ซึ่งมี โครงการย่อยทีก่ ระจายในพืน้ ทีภ่ าคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ จำนวนสูงถึง 40,000 โครงการย่อย ดังนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ในการจัดทำโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 สำนักงาน บริ ห ารหนี้ ส าธารณะ (สบน.) จึ ง ได้ จั ด ทำกรอบติ ด ตามและประเมิ น ผล โครงการภายใต้ แ ผนดั ง กล่ า ว เพื่ อ จะนำไปใช้ ติ ด ตามและประเมิ น ผล โครงการต่ า งๆ ในพื้ น ที่ 4 ภาค (ภาคกลาง ภาคเหนื อ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และภาคใต้ ) โดยที ม ที่ ป รึ ก ษาและเจ้ า หน้ า ที่ สบน. จะลงสำรวจพื้ น ที่ ดำเนิ น โครงการจริ ง ทั้ ง นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการลงทุนต่างๆ ภายใต้ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 รวมทั้งเสนอแนะแนวทาง แก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ เพื่อให้โครงการบรรลุ วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ ผลการประเมินโครงการจะใช้เป็นบทเรียน สำหรับจัดเตรียมโครงการลงทุนของภาครัฐในอนาคต


2. กรอบแนวคิดในการติดตามและประเมินผลโครงการ

กรอบการติดตามและประเมินผลโครงการ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การติดตามโครงการและการประเมินผล โครงการ มีแนวทางการดำเนินการดังนี้ 2.1 การติดตามโครงการ การติ ด ตามโครงการเป็ น การตรวจสอบ ความก้ า วหน้ า ของโครงการประการหนึ่ ง และอี ก ประการหนึ่ ง เป็ น การกระตุ้ น และเร่ ง รั ด การดำเนิ น โครงการของแต่ ล ะโครงการให้ ด ำเนิ น การตาม เป้ า หมายที่ ก ำหนดไว้ ทั้ ง นี้ เพื่ อ ช่ ว ยให้ ท ราบถึ ง ปัญหา อุปสรรค ตลอดจนแนวทางแก้ไขให้โครงการ ดำเนิ น การต่ อ ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ หรื อ อาจ ยกเลิกโครงการกรณีที่ไม่สามารถดำเนินการต่อไปได้ การติ ด ตามต้ อ งกระทำทุ ก โครงการ โดยประเด็ น ที่ใช้ในการติดตามโครงการ ประกอบด้วย (1) การอนุมัติโครงการ โดยตรวจสอบคำขอ ที่หน่วยงานจัดทำว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตาม ระเบี ย บสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยการบริ ห าร โครงการตามแผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข้ ม แข็ ง 2555 และผ่ า นการพิ จ ารณากลั่ น กรองโครงการจาก คณะกรรมการกลั่ น กรองและบริ ห ารฯ และได้ รั บ การอนุ มั ติ โ ครงการโดยคณะรัฐมนตรี (2) งบประมาณ โดยพิจารณาถึงงบประมาณ ที่ขอ งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ และงบประมาณที่ใช้ ดำเนินการจริง (3) ก ารเบิ ก จ่ า ยงบประมาณ การเบิ ก จ่ า ย งบประมาณของโครงการเป็นไปตามแผนการจัดทำ งบประมาณโครงการหรือไม่ (4) การดำเนินการ ด้านกิจกรรมที่ดำเนินการ เป็นไปตามแผนหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดซื้อ จัดจ้างและการก่อสร้างโครงการ (5) ผลผลิต ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริงกับที่กำหนด ไว้ในแผนมีความสอดคล้องกันหรือไม่เพียงใด (6) ส รุ ป ประเด็ น ปั ญ หา อุ ป สรรค และ แนวทางแก้ ไ ข ตลอดจนข้ อ เสนอแนะอื่ น ๆ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ต่อการดำเนินโครงการในลักษณะเดียวกัน หรือเพื่อใช้กับโครงการอื่น

รูประหว่าง ถนนสายแยก ทล. 401-บ.ด่านขุนเดช ตำบลปากแพรก อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี

สภาพน้ำหนุนสูงขึ้นท่วมพื้นที่ก่อสร้างบริเวณคลองโกรกพระ โครงการก่อสร้างระบบ ป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์


2.2 การประเมินผลโครงการ การประเมินผลโครงการจะดำเนิน การกั บ โครงการ ที่ดำเนินการแล้วเสร็จว่า โครงการนั้นๆ ประสบความสำเร็จ มากน้ อ ยเพี ย งใด โดยจะมี ก ารสุ่ ม ตั ว อย่ า งร้ อ ยละ 5 ของโครงการที่ แ ล้ ว เสร็ จ ทั้ ง นี้ จะมี ก ารแบ่ ง กลุ่ ม โครงการ ดังกล่าวเป็น 3 กลุ่ม คือ (1) โครงการที่เสร็จก่อนกำหนด (2) โครงการที่ แ ล้ ว เสร็ จ ตามแผน และ (3) โครงการที่ เสร็ จ ล่ า ช้ า กว่ า แผน การแบ่ ง กลุ่ ม จะทำให้ ท ราบถึ ง ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ ระยะเวลาให้ โ ครงการเสร็ จ เพื่ อ นำมาใช้ เ ป็ น บทเรี ย นสำหรั บ โครงการอื่ น ๆ ในอนาคต โดยข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ ประกอบในการประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน (1) รวบรวม ข้อมูลโครงการตามตัวชี้วัดที่จัดไว้ และ (2) การสัมภาษณ์ ผู้ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ จ ากโครงการโดยใช้ แ บบสอบถามเป็ น เครื่องมือ จากนั้นจึงทำการประเมินในด้านต่างๆ กล่าวคือ (1) การประเมิ น ตั ว โครงการ เป็ น การประเมิ น ความสำเร็ จ ของโครงการว่ า อยู่ ใ นระดั บ ใด ตั้ ง แต่ ผ ลผลิ ต ผลลัพธ์ของโครงการ รวมทั้งการจัดซื้อจัดจ้างว่าเป็นไปตาม ระเบียบราชการหรือไม่ ตลอดจนการตรวจสอบด้านเทคนิค โดยเน้นการตรวจสอบการก่อสร้างว่าเป็นไปตามข้อกำหนด และมาตรฐานทั่วไปหรือไม่ (2) การประเมินผูไ้ ด้รบั ผลประโยชน์จากโครงการ เป็ น การประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู้ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ จ าก โครงการและประโยชน์ที่ได้รับว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของโครงการด้วยหรือไม่ โดยสอบถามกับหน่วยงานที่ดำเนิน โครงการและผู้รับประโยชน์จากโครงการทั้งตรงและทางอ้อม อนึ่ ง ตามมาตรฐานของแหล่ ง เงิ น กู้ ต่ า งประเทศ มีการกำหนดเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของโครงการ 5 ประการ ประกอบด้ ว ย (1) Relevance ประเมิ น ความสอดคล้ อ งของโครงการกั บ นโยบายของรั ฐ บาล (2) Effectiveness ประเมินความสำเร็จตรงตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ (3) Efficiency ประเมินด้านประสิทธิภาพของ การใช้ ง บประมาณและระยะ เ ว ล า ต ร ง ต า ม แ ผ น ห รื อ ไ ม่ (4) Impact ประเมินผลกระทบ ของโครงการที่ มี ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ของโครงการ และ (5) Sustainable ประเมิ น ความยั่ ง ยื น ของโครงการที่ ไ ด้ ดำเนินการว่ามีมากน้อยเพียงใด

3. บทสรุป

กรอบการติ ด ตามและประเมิ น ผลโครงการที่ ก ล่ า ว ข้างต้นจะถูกนำไปใช้ในการติดตามและประเมินผลโครงการ ภายใต้ แ ผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข้ ม แข็ ง 2555 พื้ น ที่ 4 ภาค (ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้) โดยที่ปรึกษาติดตามและประเมินผลโครงการ พื้นที่ 4 ภาค เริม่ ลงสำรวจพืน้ ทีโ่ ครงการเพือ่ ติดตามและประเมินผลในเดือน มีนาคม 2554 มีระยะเวลาดำเนินการ 1 ปี โดยมีงานด้าน การติ ด ตามโครงการ เป็ น การติ ด ตามความก้ า วหน้ า ของ ผลผลิ ต ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ในพื้ น ที่ มี ก ารรายงานปั ญ หาและ อุ ป สรรคที่ เ กิ ด ขึ้ น และเสนอแนวทางแก้ ไ ขปั ญ หาและ ตรวจสอบความโปร่ ง ใส (Transparency) ในการดำเนิ น โครงการ สำหรับงานด้านประเมินผลจะประเมินผลโครงการ ที่ แ ล้ ว เสร็ จ โดยมี เ กณฑ์ ก ารประเมิ น ด้ า นความสอดคล้ อ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ประสิ ท ธิ ภ าพ ประสิ ท ธิ ผ ล ผลกระทบ และ ความยั่งยืนของโครงการ โดยได้กำหนดตัวชี้วัดและออกไป สัมภาษณ์ผู้ได้รับประโยชน์ของโครงการ เพื่อจัดทำรายงาน ประเมินผลวิเคราะห์ปจั จัยแห่งผลความสำเร็จหรือความล้มเหลว ที่ เ กิ ด ขึ้ น ของโครงการภายใต้ แ ผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข้ ม แข็ ง 2555 ทั้ ง นี้ รายงานติ ด ตามและประเมิ น ผลที่ ไ ด้ รั บ จาก การดำเนินงานตามโครงการนี้จะได้นำเสนอต่อคณะกรรมการ ติ ด ตามและประเมิ น ผลการดำเนิ น โครงการตามแผน ปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง ซึง่ มี ดร.พนัส สิมะเสถียร เป็นประธาน รวมทั้ ง เสนอต่ อ คณะรั ฐ มนตรี เ พื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ประกอบใน การพิจารณาจัดสรรงบประมาณหรือเงินกูใ้ ห้แก่โครงการต่างๆ ในโอกาสต่อไป และเป็นบทเรียนสำหรับการจัดเตรียมการ โครงการลงทุนของภาครัฐในอนาคตต่อไป

ฝายเชียงดาว โครงการชลประทานเชียงใหม่


ธีระศักดิ์ อิญญาวงค นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักบริหารการชำระหนี้

ʺ¹. ÁÕá¹Ç·Ò§»¯ÔºÑμÔ ã¹¡ÒêÓÃФ׹˹Õéà§Ô¹¡ÙŒ μ»·. ¢Í§ÃÑ°ºÒÅÍ‹ҧäà ? “หนี้สาธารณะ” (Public Debt) เปนประเด็นที่พูดถึงกันมากเรื่องหนึ่ง ความน า สนใจของหนี้ ส าธารณะไม ไ ด มี เ พี ย งการกู เ งิ น หรื อ การจั ด หาเงิ น กู (Financing) เท า นั้ น แต ยั ง มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย ง (Risk Management) การติดตามและประเมินผลโครงการตางๆ ที่ใชเงินกูของหนวยงานของรัฐ และ การชำระคืนหนีเ้ งินกู (Repayment) ของรัฐบาล เปนตน การดำเนินการในเรือ่ งตางๆ เหล า นี้ ล ว นเป น ภารกิ จ ของสำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ (สบน.) โดยสิ้ น เดื อ น มกราคม 2554 ประเทศไทยมียอดหนี้สาธารณะคงคาง (Outstanding Debt) จำนวน 4.26 ลานลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 41.94 ของ GDP ซึ่งประกอบดวยหนี้ในประเทศ และหนี้ตางประเทศ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.pdmo.go.th ในหัวขอ “รายงาน หนี้สาธารณะ”) ในส ว นของแหล ง เงิ น กู ต า งประเทศที่ ป ระเทศไทยมี ภ าระผู ก พั น ในลั ก ษณะ “หนีท้ รี่ ฐั บาลกูโ ดยตรง” ปจจุบนั (กุมภาพันธ 2554) ประกอบดวยเงินกูจ ากแหลงเงินกูต า งๆ คือ ธนาคารโลก (IBRD) ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) สมาคมพัฒนาการระหวางประเทศ (IDA) รัฐบาลสหรัฐอเมริกา (AID) สถาบันเครดิตเพื่อการบูรณะและพัฒนาแหงสหพันธ สาธารณรัฐเยอรมนี (KfW) องคการความรวมมือระหวางประเทศของญีป่ นุ (JICA) รัฐบาล แคนาดา รัฐบาลเดนมารก รัฐบาลออสเตรีย และพันธบัตรเงินเยนชนิดจำหนายทั่วไป ในตลาดทุนญี่ปุน (Samurai Bond) โดยมียอดหนี้สาธารณะคงคางจำแนกเปนสกุลเงิน 4 สกุลเงิน คือ สกุลเงินเหรียญแคนาดา ยูโร เยน และเหรียญสหรัฐ จำนวน 15.82 ลานเหรียญ แคนาดา 30.23 ลานยูโร 124,753.21 ลานเยน และ 214.64 ลานเหรียญสหรัฐ ตามลำดับ ในบทความนี้จะกลาวเพียงแนวทางในการชำระคืนหนี้เงินกูตางประเทศของรัฐบาลเทานั้น สวนแนวทางและวิธีการชำระคืนหนี้เงินกูในประเทศจะไดกลาวในโอกาสตอไป

10


สบน. มี แ นวทางการชำระคื น หนี้ เ งิ น กู ต า งประเทศ 2 รู ป แบบ คื อ 1) การชำระคื น หนี้ เ งิ น กู ที่ ค รบกำหนด (Repayment): เปนการชำระคืนหนี้เงินกูตามกำหนดอายุ (Due Date) ซึ่ ง เป น ภาระผู ก พั น ตามสั ญ ญาและเงื่ อ นไข การกูเงินที่ไดตกลงไวกับแหลงเงินกู และ 2) การชำระคืน หนี้เงินกูกอนครบกำหนด (Prepayment): เปนการชำระ คืนหนี้กอนกำหนดอายุเงินกู ทั้งนี้ มีจุดมุงหมายในการลด ภาระดอกเบี้ยในอนาคต และเปนการปดความเสี่ยงของอัตรา แลกเปลี่ ย นกรณี ที่ เ ป น ภาระหนี้ ส กุ ล เงิ น ตราต า งประเทศ รวมทั้ ง ป ด ความเสี่ ย งอั ต ราดอกเบี้ ย สำหรั บ กรณี ภ าระหนี้ ที่เปนอัตราดอกเบี้ยลอยตัว (Floating Rate) ในการชำระคืนหนี้เงินกูตางประเทศของรัฐบาล สบน. จะดำเนินการตามหลักเกณฑและวิธีการที่กระทรวงการคลัง ไดอนุมัติให สบน. ใชเปนแนวทางปฏิบัติ โดยมีจุดมุงหมาย เพื่อใหเกิดประโยชนตอราชการ กลาวคือ 1) การแขงขัน การเสนอราคาขายของธนาคารพาณิชย ทำให สบน. สามารถ จั ด ซื้ อ เงิ น ตราต า งประเทศได ใ นราคาต่ ำ ที่ สุ ด 2) ป อ งกั น ไม ใ ห มี ผ ลกระทบต อ ตลาดเงิ น ในกรณี ก ารจั ด ซื้ อ เงิ น ตรา ตางประเทศจำนวนที่สูงมากตอครั้ง 3) ปองกันความเสี่ยง กรณี อั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต า งประเทศที่ ผั น ผวน 4) หากเปนการปดความเสี่ยง (Hedging) จะทำใหมีเงินตรา ตางประเทศที่ชำระหนี้ และที่สำคัญทราบตนทุนการชำระ (เงิ น บาท) ที่ แ น น อน และ 5) เตรี ย มความพร อ มให แ ก สบน. สำหรับการพัฒนาระบบงาน เพื่อเชื่อมโยงกับระบบ e-Banking ของธนาคารพาณิชยตางๆ ในอนาคต เปนตน โดยมีวิธีการและรูปแบบ ดังนี้

วิ ธี ก ารในการจั ด ซื้ อ เงิ น ตราต า งประเทศ เพื่อการชำระหนี้เงินกูของรัฐบาลมี 3 วิธี คือ • การสอบราคา (Price Checking) เป น การสอบถามราคาขายเงิ น ตราต า งประเทศ จากธนาคารพาณิชย จำนวนไมเกิน 3 แหง ในเวลา ใกล เ คี ย งกั น และเลื อ กราคาขายต่ ำ ที่ สุ ด เพื่ อ การจั ด ซื้ อ เงิ น ตราต า งประเทศที่ มี ว งเงิ น ต่ ำ กว า 1 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ หรื อ เที ย บเท า ต อ การชำระ ใน 1 วัน • การประมูล (Open Bidding) เปนการให ธนาคารพาณิ ช ย เ สนอราคาขายเข า มาในเวลา เดียวกันและเลือกราคาขายต่ำทีส่ ดุ ทัง้ นี้ เปนการจัดซือ้ เงินตราตางประเทศทีม่ วี งเงินตัง้ แต 1 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทา ตอการชำระใน 1 วัน โดยดำเนินการ ดังนี้ (1) วงเงินตั้งแต 1 ลานเหรียญสหรัฐ แตไมถึง 2 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ ประมู ล ราคาจากธนาคาร พาณิ ช ย จำนวน 3 แห ง (2) วงเงิ น ตั้ ง แต 2 ลานเหรียญสหรัฐ แตไมถึง 10 ลานเหรียญสหรัฐ ประมูลราคาจากธนาคารพาณิชย จำนวน 4 แหง และ (3) วงเงินตั้งแต 10 ลานเหรียญสหรัฐ แตไมถึง 20 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ ประมู ล ราคาจากธนาคาร พาณิชย จำนวน 5 แหง • การฝากซื้ อ (Leave Order) เป น การกำหนดอั ต ราแลกเปลี่ ย นที่ ต อ งการซื้ อ โดย ธนาคารพาณิ ช ย จ ะดำเนิ น การซื้ อ ทั น ที เ มื่ อ อั ต รา เป น ไปตามที่ ก ำหนด มี ร ะยะเวลาการฝากซื้ อ ในแตละครัง้ ไมเกิน 24 ชัว่ โมง ทัง้ นี้ วงเงินการฝากซือ้ ครั้งละไมเกิน 2 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทา

11


รูปแบบในการจัดซื้อเงินตราตางประเทศเพื่อการชำระหนี้เงินกู ตางประเทศของรัฐบาล 2 แนวทาง คือ • การซื้อเงินตราตางประเทศ ณ อัตราแลกเปลี่ยนปจจุบัน (Spot Value) ไดแก กรณีการจัดซื้อเงินตราตางประเทศในภาวะที่อัตรา แลกเปลี่ยนไมมีความผันผวน และวงเงินการซื้อต่ำกวา 20 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทา ตอการชำระภายใน 1 วัน โดยจะดำเนินการซือ้ 2 วันทำการลวงหนา ก อ นวั น ครบกำหนดชำระ ทั้ ง นี้ จะดำเนิ น การได ทั้ ง วิ ธี ก ารสอบราคาและ การประมูล และ สบน. จะซื้อเงินตราตางประเทศจากธนาคารพาณิชยผูที่เสนอ ราคาต่ำสุด และธนาคารพาณิชยนั้นเปนผูโอนชำระหนี้ใหกระทรวงการคลัง • การซื้ อ เงิ น ตราต า งประเทศล ว งหน า โดยกำหนดอั ต ราไว เ พื่ อ สงมอบในอนาคต (Forward Value) มีวัตถุประสงคเพื่อใหสามารถจัดหาเงินตรา ต า งประเทศได เ พี ย งพอสำหรั บ การชำระคื น หนี้ โดยป ด ความเสี่ ย งจากอั ต รา แลกเปลี่ ย นในกรณี ที่ อั ต ราแลกเปลี่ ย นมี ค วามผั น ผวน และในกรณี ที่ มี จ ำนวน เงินตราตางประเทศที่จะซื้อในจำนวนที่สูงมากตอวัน อาจทำใหไมสามารถจัดซื้อ เงินตราตางประเทศไดครบตามจำนวนที่ตองการ หรือทำใหอัตราที่จะซื้อสูงกวา ที่ควรจะเปน เนื่องจากเปนการเพิ่มการเสนอซื้อในตลาด การซื้อ Forward Value จะดำเนิ น การในกรณี ที่ มี ว งเงิ น สู ง กว า 20 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ หรื อ เที ย บเท า ตอการชำระใน 1 วัน โดยจะดำเนินการทยอยซื้อทีละสวนจนครบจำนวนที่ตองการ ในอนาคต สบน. จะมีการปรับปรุงวิธีการหรือแนวทางดังกลาว รวมถึง การใช น วั ต กรรมต า งๆ ตามความเหมาะสมกั บ สถานการณ แ ละตลาดเงิ น โดยคำนึง ถึง ประโยชน สู ง สุ ด ต อ ราชการเปนสำคั ญ สำหรั บ การชำระคื น หนี้ เ งิ น กู ก อ นครบกำหนด (Prepayment) สบน. จะพิจารณาตามแนวทางที่เปนประโยชนตอราชการ ดังนี้ 1) ลดภาระงบประมาณ รายจาย 2) กระจายความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศ 3) สนองนโยบายรัฐบาลตามมาตรการและแนวทางการเรงรัดติดตาม การใช จ า ยงบประมาณรายจ า ยประจำป ดั ง นั้ น หาก สบน. ได รั บ การจั ด สรร งบประมาณรายจ า ยประจำป เ พื่ อ การชำระคื น หนี้ เ งิ น กู ใ นจำนวนที่ เ หมาะสม พรอมกับการบริหารหนี้สาธารณะที่มีประสิทธิภาพของ สบน. จะทำใหสามารถ ลดยอดหนี้สาธารณะคงคางและยังลดภาระดอกเบี้ยไดมากยิ่งขึ้นอีกดวย ทำให ประหยัดงบประมาณรายจายประจำปซึ่งเปนประโยชนตอราชการอยางยิ่ง

12


มุมอรอย

HOBS (House of Beers) áËÅ‹§ Hang out ÊäμÅ ÂØâûàºÅàÂÕÂÁ หากใครที่ไดมีโอกาสผานไปแถวซอยอารียสัมพันธ คงจะสะดุดตากับโครงการ อารียการเดน (Aree Garden) ที่แมจะ มีพื้นที่ไมมากนัก แตดวยการตกแตงโครงการดวยการยกปามาไวในเมือง ทำใหบรรยากาศโดยรอบดูรมรื่นไมนอย และเมื่อ ไดกาวเขาไปสัมผัสบรรยากาศภายในก็มีรานคา รานอาหารหลายรานใหเราไดเลือกเขาไปฝากทองตามความพอใจ ซึ่งราน ทีเ่ ราจะแนะนำกันในครัง้ นีก้ ค็ อื ราน HOBS (House of Beers) Bar & Rest ซึง่ นอกจากจะมีอาหารอรอยๆ ไวใหไดลมิ้ ลองแลว จุดเดนของรานนี้ยังมีเบียรสดและเบียรที่นำเขาจากตางประเทศมากมายกวา 50 ยี่หอ อาทิ Hoegaarden, Leffe Blonde, STELLA ARTOIS, Lager, Boddingtons HOBS (House of Beers) เหมาะเป น ร า นสำหรั บ เพื่ อ นฝู ง ได ม าเฮฮาสั ง สรรค กั น ด ว ยบรรยากาศอั น ร ม รื่ น ของโครงการ การตกแตงรานที่โดดเดนเนนเฟอรนิเจอรไมสไตลยุโรปเบลเยียมยอนยุค ผูที่เขามาสามารถเลือกมุมนั่งได ไมวาจะเปนในหองปรับอากาศเย็นฉ่ำ หรือจะเลือกนั่งชิลๆ แบบโอเพนแอรพรอมๆ กับการชมสวนสวยๆ ก็ไดเชนกัน เมื่อมา HOBS (House of Beers) ทั้งที เราเลยขอชิมเมนูแนะนำของรานที่ขอบอกวาไมควรพลาดอยางยิ่ง Mussel leffe

HOBS Nachos

Marinara

Mussel leffe (หอยแมลงภูอบเบียร leffe) สูตรพิเศษที่ทางรานคิดขึ้นมาใหม ซึ่งมีทั้ง หอยแมลงภูของไทยและนิวซีแลนด เสิรฟพรอมกับ Belgium Fried (เบลเยียมฟราย) หรือ มันฝรั่งทอดชิ้นใหญกรอบนอกนุมใน มาพรอมกับ Dips สูตรพิเศษจากทางราน HOBS Nachos เป น แผ น ชิ ป ทำมาจากแป ง ข า วโพดราดซอสเนื้ อ หรื อ ซอสไก โปะหน า ด ว ยชี ส แล ว นำไปอบให ชี ส ละลาย เสิ ร ฟ พร อ มกั บ ซาวร ค รี ม และซั ล ซา รสชาติเขากันลงตัว Marinara สปาเกตตี ซี ฟู ด ซอสมะเขื อ เทศ รสชาติ ก ลมกล อ ม หากใครที่ ไ ม ช อบ สปาเกตตีก็สามารถเลือกเสน Fettuccine ก็ได Mojito โมฮิโตเปนค็อกเทลที่ขายดีของทางราน เปนอีกตัวเลือกของคนที่ไมชอบ ดื่มเบียร นอกจากเมนู ที่ เ ราแนะนำกั น แล ว ทางร า นยั ง มี เ มนู อ ร อ ยๆ ให เ ลื อ กอี ก มาก ใครสนใจก็แวะเวียนมากันได รานเปดตั้งแต 11.30-01.00 น. เย็นวันศุกร-วันอาทิตย ควรโทร.มาจองโตะลวงหนาเนื่องจากคนคอนขางแนนที่โทร. 0 2617 1600

Mojito สถานที่ตั้ง : ซอยอารียสัมพันธ 11 ชั้น 2 โครงการอารียการเดน การเดินทาง : จากถนนพหลโยธิน เขาซอยอารียสัมพันธ มุงหนา ไปทางกระทรวงการคลัง ราน HOBS อยูบริเวณชั้น 2 ภายในโครงการอารียการเดน

พิเศษ

สวนลดสำหรับผูอานวารสารหนี้สาธารณะ เพียงนำคูปองนี้มาที่ราน รับสวนลด 10% หมดเขต 15 มิถุนายน 2554

13


สุเนตรา เล็กอุทัย เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน

สถานะของหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 หนี้สาธารณะคงคางมีจำนวนทั้งสิ้น 4,263 พันลานบาท หรือรอยละ 41.94 ของ GDP สัดสวนหนี้สาธารณะคงคาง ประกอบดวย หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 2,984.47 พันลานบาท หรือรอยละ 70 ของหนี้สาธารณะ คงคาง หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (SOEs) 1,085.86 พันลานบาท หรือรอยละ 25 ของหนี้สาธารณะคงคาง หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) (SFIs) 162.08 พันลานบาท หรือรอยละ 4 ของหนี้สาธารณะคงคาง และหนี้กองทุนฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF) 30.58 พันลานบาท หรือรอยละ 1 ของหนี้สาธารณะคงคาง ดังแสดงในแผนภาพที่ 1 SFls 4% FlDF 1% SOEs 25% หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 70%

แผนภาพที่ 1 หนี้สาธารณะคงคาง ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 รายการ หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (SOEs) หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) (SFIs) หนี้กองทุนฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF) รวม

วงเงิน (พันลานบาท) 2,984.47 1,085.86 162.08 30.58 4,263.00

รอยละ 70 25 4 1 100

ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

หนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ หนี้สาธารณะสวนใหญของประเทศเปนหนี้ในประเทศ หรื อ หนี้ ส กุ ล เงิ น บาท ณ วั น ที่ 31 มกราคม 2554 หนี้ ใ นประเทศทั้ ง ของรั ฐ บาลและรั ฐ วิ ส าหกิ จ คิ ด เป น รอยละ 93 ของหนี้สาธารณะทั้งหมด และหนี้ตางประเทศ คิ ด เป น ร อ ยละ 7 ของหนี้ ส าธารณะทั้ ง หมด สั ด ส ว นหนี้ ตางประเทศลดลงอยางชัดเจนจากที่เคยอยูที่ระดับรอยละ 24 ของหนี้ ส าธารณะในป 2546 ซึ่ ง เกิ ด จากการบริ ห ารหนี้ ตางประเทศของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจในภาวะทีต่ ลาดเอือ้ อำนวย ด ว ยการชำระคื น เงิ น ต น ก อ นครบกำหนด (Prepayment) การกูเงินดวยเงื่อนไขใหมเพื่อชำระหนี้เดิม (Refinance) และ การปองกันความเสี่ยง (Hedging) สงผลใหความเสี่ยงดาน อัตราแลกเปลีย่ นของ Portfolio หนีส้ าธารณะของประเทศลดลง

14

สาเหตุที่รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจกูเงินจากตางประเทศ เนื่ อ งจากอั ต ราดอกเบี้ ย หรื อ ต น ทุ น การกู ยื ม เหมาะสม โดยเฉพาะการกูเงินจากแหลงเงินกูทางการตางประเทศที่มี อัตราดอกเบี้ยเงินกูต่ำและมีระยะเวลาชำระคืนเงินกูรวมทั้ง ระยะปลอดเงิ น ต น ยาว สอดคล อ งกั บ ระยะเวลาดำเนิ น โครงการผลตอบแทนและรายไดของโครงการ ซึง่ สวนใหญเปน โครงการขนาดใหญ อาทิ โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชน และสนามบิน นอกจากนัน้ การลงทุนในโครงการบางโครงการ มี ก ารนำเข า สิ น ค า และบริ ก ารจากต า งประเทศ รวมทั้ ง การดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจบางแหงมีรายไดเปนเงินตรา ตางประเทศ จึงกูเงินเปนสกุลตางประเทศจากแหลงทางการ และสถาบันการเงินเพื่อลดปญหา Currency Mismatch


แผนภาพที่ 2 สัดสวนหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศของรัฐบาล €, 4% $, 17% ¥, 79% External* 1% Domestic 99%

ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ หมายเหตุ * ขอมูลหนี้สกุลตางประเทศที่ไมนับรวมสวนที่บริหารความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยนแลว

หากแยกวิ เ คราะห ใ นรายละเอี ย ดจะพบว า หนี้ ต า งประเทศของรั ฐ บาลคิ ด เป น ร อ ยละ 1 ของหนี้ รั ฐ บาลทั้ ง หมด โดยสัดสวนหนี้สกุลเงินตางประเทศประกอบดวย สกุลเงินเยนรอยละ 79 สกุลเหรียญสหรัฐรอยละ 17 และสกุลยูโรรอยละ 4 ดังแสดงในแผนภาพที่ 2 ทั้งนี้ สาเหตุที่สัดสวนหนี้ตางประเทศของรัฐบาลคอนขางต่ำนั้น เนื่องจากตลาดตราสารหนี้ใน ประเทศไดรับการพัฒนา การกูเงินสวนใหญของรัฐบาลในระยะหลังจึงเปนเงินกูสกุลบาท ประกอบกับสภาพคลองภายใน ประเทศเพียงพอ จึงสามารถระดมทุนหรือกูเงินจากภายในประเทศไดมากขึ้น นอกจากนั้น เงินกูตางประเทศสวนใหญ ของรั ฐ บาลได รั บ การป ด ความเสี่ ย งด า นอั ต ราแลกเปลี่ ย นโดยทำการแปลงหนี้ ส กุ ล เงิ น ต า งประเทศเป น สกุ ล เงิ น บาท (Cross Currency Swap) เพื่อใหสอดคลองกับรายไดของรัฐบาลที่เปนสกุลเงินบาทแลว แผนภาพที่ 3 สัดสวนหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศของรัฐวิสาหกิจ €, 20% $, 21%

¥, 60%

External 22% Domestic 78% ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

หนี้ตางประเทศของรัฐวิสาหกิจคิดเปนรอยละ 22 ของหนี้รัฐวิสาหกิจทั้งหมด ดังแสดงในแผนภาพที่ 3 โดยสัดสวนหนี้ สกุ ล เงิ น ต า งประเทศประกอบด ว ย สกุ ล เงิ น เยนร อ ยละ 60 สกุ ล เหรี ย ญสหรั ฐ ร อ ยละ 21 และสกุ ล ยู โ รร อ ยละ 20 ซึ่ ง หนี้ตางประเทศของรัฐวิสาหกิจสวนใหญที่เปนสกุลเงินเยนที่ยังไมดำเนินการบริหารความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเนื่องจาก รอภาวะตลาดที่เหมาะสม และบางรัฐวิสาหกิจที่มีหนี้เปนสกุลเงินเหรียญสหรัฐและสกุลยูโรไมมีความจำเปนตองบริหาร ความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเนื่องจากเงินกูดังกลาวสอดคลองกับรายไดของหนวยงานที่เปนสกุลตางประเทศ

15


´Ñº¤ÇÒÁâ¡Ã¸à¾ÃÒÐ “ÇÒ¨Ò” à¾×èͪÕÇÔμ·Õè໚¹ÊØ¢ ความโกรธของคนเราอาจเกิดไดจากหลายสาเหตุ แตไมวาจะเกิดจากอะไรก็ใหผลรายมากกวา ผลดีเสมอ นั่นเพราะเมื่อคนเราโกรธมักลืมตัว พูดจาเสียงดัง พูดคำหยาบ ดาคน และไมมีเหตุผล จนคิดวาสิ่งนั้นสิ่งนี้มันนาโมโหเสมอ ไมวาใครพูดดีดวยแคไหน ทวาความอคติในอารมณก็ทำให เราแปลเจตนาของผูพูดเปลี่ยนไป หรือตอบโตกลับอยางรุน แรงโดยไมรูตัวหรือควบคุมตัวเอง ไมไดเสมอ หากคำพูดที่ไดยิน เปนไปในแงรายดวยแลว ยิ่งทำใหอารมณโกรธเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ อารมณโกรธจากการพูดในลักษณะดังตอไปนี้ 1. โกรธเพราะถูกนินทา “โบราณว า อั น นิ น ทากาเล เหมื อ นเทส ว ม ถ า รั บ ไว ย อ มได เ หม็ น หากไม รั บ กลั บ หาย คลายประเด็น ยอนไปเหม็นปากเนาของเขาเอง” การนินทา ไม ใ ช ข องใหม เ พราะมี ม าตั้ ง แต โ บราณแล ว ยิ่ ง ในยุ ค ป จ จุ บั น เมื่ อ สั ง คมมี แ ต ก ารแข ง ขั น การที่ เ ราถู ก คนอื่ น นิ น ทาว า ร า ย เพื่อทำลายใหตัวเราตกต่ำทั้งในชีวิตและหนาที่การงาน ขณะที่ ตั ว เขาก า วไปได สู ง จึ ง มี ม ากขึ้ น อย า งไรก็ ดี การนิ น ทาคื อ การพูด และการพูดเปนเพียงลมปากที่เมื่อพูดแลวคลื่นเสียงก็ จางหายไปในอากาศ ไมอาจทิ่มแทงหรือทำอันตรายรางกายได แลวเราจะมัวโกรธกับคำพูดเหลานั้นทำไม หากเราไมไดเปน อย า งคำที่ เ ขานิ น ทา สั ก วั น หนึ่ ง คนอื่ น จะรั บ รู แ ละคนที่ พู ด ตองรับผลจากการพูดของเขาเอง 2. โกรธเพราะถู ก กล า วร า ย ซึ่ ง เป น เสมื อ นยาพิ ษ ที่ ศั ต รู ว างไว เ พื่ อ ให เ ราโกรธแค น ทำลายสมรรถภาพใน การทำงาน สุขภาพอนามัยและความสงบกายสงบใจของเรา แล ว ทำไมเราต อ งกลื น กิ น ยาพิ ษ ที่ เ ขาวางไว เ พื่ อ ทำร า ย ตัวเองดวย เราควรรูจักมีความอดกลั้นใหมาก ไมตกเปนทาส ของความโกรธและความวูวามจนเผลอเลนตามเกมของอีกฝาย ปลอยใหสิ่งเหลานั้นผานหายไปดวยการทำเปนไมรูเทาทันหรือ ทำเป น ไม ไ ด ยิ น คิ ด เสี ย ว า เราไม ไ ด วิ เ ศษมาจากไหน ทำไม จะถูกกลาวรายบางไมได ในเมื่อคนใหญคนโตระดับผูมีอำนาจ ยังถูกวาไดเลย เทานี้เราจะสบายใจขึ้น ไมทุกขรอนจนทำงาน ไมไดเพราะคำวารายเลื่อนลอยอีกตอไป

3. โกรธเพราะถูกดาวา การที่ ค นอื่ น ด า เราเพราะเขา มุงหมายจะทำใหเรากลายเปนคนเลว คนไมดี หรือคนบา ใหดูแย ในสายตาเจานายหรือเพือ่ นรวมงานคนอืน่ ๆ แตถา เราควบคุมตัวเอง ไวได รูจักขมอารมณสงบนิ่งไมโตตอบกลับไปก็ถือวาเราชนะ ทวา เมื่อใดที่คิดตอบโต เราจะกลายเปนผูแพทันที จำไววาในโลกนี้ ไมมีใครสามารถทำใหเราเปนคนเลวได เพราะคนที่จะทำไดมีอยู คนเดี ย วก็ คื อ ตั ว เรา ดั ง นั้ น ต อ ให มี ค นเป น ร อ ยมารุ ม ด า เรา ตัวเราก็ยังคงเปนเราเสมอ ในทางกลับกัน ถาเราพูดจาหยาบคาย หรือดาตอบออกมาเมื่อใด เราจะเปนคนเลวอยางที่เขาวาไปดวย “...ธรรมดาน้ำยอมจะเย็นฉันใด ใจเราก็ควรจะเย็น ไมโกรธ ดวยอาศัยขันติและเมตตาฉันนั้น ...ธรรมดาอากาศไมมีใครจับยึดไวไดฉันใด เราก็ไมควรให ความโกรธยึดถือไดฉันนั้น ...ธรรมดาแผนดินยอมรับน้ำหนักของสิ่งตางๆ บนโลก ไวไดฉันใด เราก็ควรอดทนตอคำลวงเกินของผูคนในโลกไวได ฉันนั้น” ดังนั้น จงอยาโกรธหรือเดือดเนื้อรอนใจเพราะคำพูดใครที่ พูดวารายเรา เพราะเมื่อความโกรธเกิดกับผูใดยอมเผาใจผูนั้น ให เ ร า ร อ น ถึ ง เราจะโกรธแค น เพี ย งใดก็ ไ ม อ าจสาปแช ง หรื อ แผความโกรธไปเผาผูอื่นใหพลอยรอนใจกับเราไปดวยได แมเรา โกรธเขา แตผูที่รอนใจ เจ็บใจ ทุกขใจ กินไมไดนอนไมหลับ คือ เราไมใชเขา...เชนนั้นแลวจะยังดื้อถือโทษ โกรธอยูไย ไดอะไร เปนประโยชนโปรดคิดดู

ที่มา : พระธมฺมวฑฺโฒภิกฺขุ. พุทธวิธีชนะความโกรธ. กรุงเทพมหานคร : วัดโสมนัสวิหาร, 2542

16


คำคม

“Great minds must be ready not only to take opportunity, but to make them.” - - Colton - -

ความคิดที่ยิ่งใหญไมใชแคเตรียมพรอมตอโอกาส แตยังพรอมที่จะลงมือทำ มแ ฏิ บั ติ ก า ร ไท ย เข ป น ผ แ ง อ ข น ิ ง า ร กู เ

ข็ ง

1. รู ป แ บ บ ก 555 รไทยเขมแข็ง 2 2555 คืออะไร า ก ิ ต ั บ ิ ฏ ป น ผ แ ทุนของ 2. แหลงระดม ไดแกอะไรบาง รงการ (ตาม โค ง อ แบงเปนกี่กลุม ข จ ็ เร ำ ส ม ประเมินควา ระการ ไดแก ป 5 ) 3. เกณฑการ ศ ท ะเ ร ป หลงเงินกูตาง มาตรฐานของแ ง ม า จ า ก ที่ ใ ด บ า ย อะไรบาง ไท ง อ ข ศ ท ะเ ู ต า ง ป ร 4. แ ห ล ง เงิ น ก 3 แหลงเงิน) repayment) (P ด น (ตอบอยางนอย ห ำ ก บ ร จาก ืนเงินกูกอนค ก า ร พิ จ า ร ณ า 5. การชำระค ช า ร อ  ต  น ช ย ะโ เปนปร ตามแนวทางที่ อะไรบาง

μͺ¤Ó¶ÒÁªÔ§ÃÒ§ÇÑÅ

กรุณาสงคำตอบมาท ี่ E-mail Address mz_pdmo@hotm : ail.com หรือทางไป รษ ณีย ที่อยู สำนักงานบริหารห นี้สาธารณะ กระท รว งการคลัง ถนนพระรามที่ 6 เข ตพญาไท กรุงเทพ ฯ 10400 ภายในเดือนพฤษภ าคม 2554 พรอมระบุ ชื่อ-ที่อย ูติดตอกลับใหชัดเจ น (วงเล็บมุมซองวาต อบคำถามรวมสนุก ) ผูที่ตอบถูก 10 ทา นแรกเทานั้น จะไดรับรางวัลจา ก สำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ

17



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.