พระบรมราโชวาท
㹡Òû¯ÔºÑμÔÃÒª¡ÒùÑé¹¢ÍãËŒ·Ó˹ŒÒ·Õèà¾×èÍ˹ŒÒ·Õè Í‹ҹ֡¶Ö§ºÓà˹ç¨ÃÒ§ÇÑÅËÃ×ͼŻÃÐ⪹ ãËŒÁÒ¡ ¢ÍãËŒ¶×ÍÇ‹Ò¡Ò÷Ó˹ŒÒ·Õèä´ŒÊÁºÙó ໚¹·Ñé§ÃÒ§ÇÑÅ áÅлÃÐ⪹ Í‹ҧ»ÃÐàÊÃÔ° ¨Ð·ÓãËŒºŒÒ¹àÁ×ͧä·Â¢Í§àÃÒÍÂÙ‹àÂç¹à»š¹ÊØ¢áÅÐÁÑ蹤§
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกขาราชการพลเรือน เนื่องในโอกาสวันขาราชการพลเรือน พุทธศักราช ๒๕๓๓ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๑๙ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๓๓
ÊÒèҡºÃóҸԡÒà ชวงกลางเดือนมีนาคม 2554 ที่ผานมา สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ (สบน.) ได ร ว มกั บ ธนาคารพั ฒ นาเอเชี ย (Asian D e v e l o p m e n t B a n k ห รื อ A D B ) จั ด การประชุ ม Asian Regional Public Debt Management Forum ครั้ ง ที่ 2 ที่ โ ร ง แ ร ม L a g u n a B e a c h R e s o r t จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต โดยมี ผู เ ข า ร ว มประชุ ม จาก สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ จ ากประเทศต า งๆ ใน ภู มิ ภ าคเอเชี ย รวมถึ ง ประเทศพั ฒ นาอื่ น ๆ และองค ก รระหว า งประเทศ จำนวนกว า 1 5 0 ค น เ พื่ อ ส ร า ง ค ว า ม สั ม พั น ธ อั น ดี ระหว า ง Debt Managers อีก ทั้งยังไดรวม แ ล ก เ ป ลี่ ย น ความคิ ด และประสบการณ แนวทางการบริ ห ารจั ด การหนี้ ใ นช ว งวิ ก ฤต เศรษฐกิ จ นั บ ได ว า การจั ด การประชุ ม ครั้ ง นี้ ประสบความสำเร็ จ เป น อย า งดี สบน. ตองขอขอบคุณหนวยงานตางๆ ที่ ร ว มสนั บ สนุ น การจั ด การประชุ ม ครั้ ง นี้ ใหสำเร็จลุลวงไปได โดยวารสารหนี้สาธารณะ เลม นี้จ ะมีรูป บรรยากาศในการประชุ ม ดวย
สิริภา สัตยานนท ผูอำนวยการสวนความรวมมือระหวางประเทศ สำนักนโยบายและแผน
ÊÒúÑÞ
2
ผลการประชุม
Asian Regional Public Debt Management Forum ครัง้ ที่ 2
3
กลยุทธการระดมทุน
แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555
6
ขาวประชาสัมพันธ จากสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
7
กรอบติดตามและประเมินผลโครงการ ภายใตแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555
10
สบน. มีแนวทางปฏิบัติ
ในการชำระคืนหนี้เงินกู ตปท. ของรัฐบาลอยางไร ?
13
มุมอรอย
HOBS (House of Beers)
สถานะของหนี้สาธารณะ
สถานะของหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 31 มกราคม 2554
16
14
ธรรมะกับการงาน
ดับความโกรธเพราะ “วาจา” เพื่อชีวิตที่เปนสุข
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) วิสัยทัศน: เปนมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน พันธกิจ: บริหารหนี้สาธารณะตามกฎหมายวาดวยการบริหารหนี้สาธารณะ โดยการวางแผน กำกับ และดำเนินการกอหนี้ ค้ำประกัน และปรับโครงสรางหนี้ของรัฐบาล หนวยงานในกำกับดูแลของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมทั้ง การชำระหนี้ของรัฐบาล และการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อใหการบริหารหนี้สาธารณะเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ และเสริมสรางความยั่งยืนทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ วารสารหนี้สาธารณะ จัดทำโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ สังกัดกระทรวงการคลัง เพื่อเผยแพรแกประชาชนทั่วไป
รานี อิฐรัตน เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน
¼Å¡ÒûÃЪØÁ Asian Regional Public Debt Management Forum ¤ÃÑ駷Õè 2
สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะและธนาคารพั ฒ นา เอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ไดรวมเปนเจาภาพ จัดการประชุม Asian Regional Public Debt Management Forum ครั้งที่ 2 ในระหวางวันที่ 16-18 มีนาคม 2554 ณ โรงแรม Laguna Beach Resort จังหวัดภูเก็ต โดยการประชุม ครั้งนี้มีผูบริหารจากหนวยงานดานการบริหารหนี้สาธารณะ จากประเทศในภูมิภาคเอเชียและยุโรป รวม 46 ประเทศ และ ผู แ ทนจากสถาบั น การเงิ น ระหว า งประเทศและภาคเอกชน ไดแก องคการความรวมมือระหวางประเทศของญี่ปุน ADB ธนาคารโลก กองทุ น การเงิ น ระหว า งประเทศ และบริ ษั ท Standard & Poor’s เปนตน เขารวมทั้งสิ้นประมาณ 150 คน การประชุ ม Asian Regional Public Debt Management Forum ในครั้งนี้ไดรับความสำเร็จเปนอยางมาก โดยผู เ ข า ร ว มประชุ ม ได ห ารื อ แลกเปลี่ ย นองค ค วามรู และ ประสบการณ ใ นการบริ ห ารหนี้ ส าธารณะอย า งกว า งขวาง ตลอดระยะเวลา 3 วัน และมีทิศทางอันดีในการที่จะทำใหเกิด ความรวมมือจากหนวยงานดานการบริหารหนี้สาธารณะทั้งใน ภูมิภาคเอเชียตลอดจนภูมิภาคอื่นๆ ในการที่จะรวมกันบริหาร จัดการหนี้สาธารณะทั้งในเวลาที่เกิดวิกฤติหรือเวลาปกติ โดย สาระสำคัญของการประชุมครั้งนี้สรุปไดวา ถึงแมประเทศใน กลุมเอเชียไดรับผลกระทบจากวิกฤติการเงินโลก แตก็สามารถ ปรั บ ตั ว รั บ มื อ ได อ ย า งค อ นข า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อย า งไรก็ ดี มี ข อ สั ง เกตว า กระแสเงิ น ทุ น ที่ ไ หลเข า -ออกอย า งเสรี การจัดการอัตราแลกเปลี่ยน และนโยบายการเงิน อาจสงผล ให ก ารดำเนิ น นโยบายของรั ฐ บาลและบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ
2
มีความทาทายมากขึ้น โดยประเทศตางๆ ไดหันมากูเงินจาก ตลาดตราสารหนี้ในประเทศมากขึ้น มีการพัฒนาผลิตภัณฑ ตราสารหนี้ ใ หม ๆ เพื่ อ ขยายฐานนั ก ลงทุ น โดยแนวทางใน การบริหารหนี้สาธารณะใหมีประสิทธิภาพ ไดแก (1) มีกรอบ กฎหมายและกรอบการดำเนินการที่เอื้อใหการบริหารหนี้เปน ไปอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งหลายประเทศไดแสดงความสนใจ สอบถามเกี่ยวกับการกำหนดใหรัฐบาลสามารถออกพันธบัตร เพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้ของประเทศไทยเปนอยางมาก โดยเห็ น ว า มี ป ระโยชน ใ นการพั ฒ นาตลาดทุ น เพื่ อ รองรั บ การระดมทุนและลดตนทุนในการกูเงินของประเทศในระยะยาว (2) พัฒนาความสามารถในการดำเนินงานอยางตอเนื่อง อาทิ มีการอบรมใหความรูแกเจาหนาที่ใหมีความชำนาญเพียงพอ (3) พั ฒ นาตลาดตราสารหนี้ ใ นประเทศให ส ามารถรองรั บ ความตองการระดมทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ ในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ (4) มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ หมาะสม โดยการพั ฒ นา แบบจำลองใหเหมาะสมกับความตองการของแตละประเทศ การพั ฒ นาระบบการจั ด เก็ บ ฐานข อ มู ล ให ส อดคล อ งกั บ การใชงาน การประมาณการภาวะตลาดและภาวะเศรษฐกิจ ใหมีความแมนยำ เปนตน และ (5) มีระบบการบันทึกและ ติดตามภาระผูกพันที่มีประสิทธิภาพ ทั้งภาระผูกพันที่เปดเผย (Explicit Contingent Liabilities) เชน การค้ำประกันของ รัฐบาลในการกูยืมเงิน และการค้ำประกันเงินฝากใหธนาคาร พาณิชย เปนตน และภาระผูกพันแฝง (Implicit Contingent Liabilities) เชน การเขาชวยเหลือสถาบันการเงินในชวงวิกฤติ และการบรรเทาความเสียหายที่เกิดจากภัยธรรมชาติ เปนตน
กุลกานต อรามทอง เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ
¡ÅÂØ·¸ ¡ÒÃÃдÁ·Ø¹ á¼¹»¯ÔºÑμÔ¡ÒÃä·ÂࢌÁá¢ç§ 2555
ความเปนมาของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555
จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจโลกหดตัวอยางรุนแรงเมื่อป 2551 เศรษฐกิ จ ไทยได รั บ ผลกระทบทั้ ง ในภาคการส ง ออก การผลิ ต การบริ โ ภค การท อ งเที่ ย ว และการลงทุ น ของภาคเอกชน โดย ในไตรมาสสุดทายของป 2551 เศรษฐกิจไทยหดตัวรอยละ 4.3 ซึ่ง จากปญหาวิกฤติการณดงั กลาวทำใหธรุ กิจตองปดตัวลงเปนจำนวนมาก โดยมีแนวโนมวาอัตราการเลิกจางจะสูงขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลใหเกิด ปญหาการวางงานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังสงผลใหการจัดเก็บรายได ของรัฐบาลต่ำกวาที่ไดประมาณการไวเปนอยางมาก ซึ่งสงผลกระทบ ตอฐานะการคลัง รายไดของรัฐบาล และความสามารถในการใชจาย และการจัดทำบริการสาธารณะของรัฐ รัฐบาลจึงตองกลับมาพึ่งพา การใช จ า ยภายในประเทศทั้ ง ในส ว นของการบริ โ ภคและการลงทุ น เปนหลัก รัฐบาลจึงจำเปนตองกระตุนการลงทุนโดยการเพิ่มการใชจาย การลงทุ น ของภาครั ฐ โดยเฉพาะการลงทุ น ในส ว นที่ เ ป น โครงการ โครงสรางพื้นฐานดานบริการสาธารณะเปนสำคัญ เพื่อเปนการเพิ่ม แรงกระตุนทางเศรษฐกิจของประเทศใหเติบโต โดยจัดทำ “แผนฟนฟู เศรษฐกิจระยะที่ 2 (Stimulus Package II : SP2) หรือแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555” วงเงินรวม 1,309,655 ลานบาท โดยการลงทุนตางๆ ตามแผนปฏิบตั กิ ารไทยเขมแข็ง 2555 ไดมงุ เนนการกระจายการลงทุน ไปสูชนบททั่วประเทศ ซึ่งจะไปสรางงานสรางรายไดใหแกประชาชน อย า งทั่ ว ถึ ง โดยจะทำให ก ารบริ โ ภคและการลงทุ น ภาคเอกชนเริ่ ม ฟนตัวขึ้น ซึ่งสุดทายก็จะทำใหระบบเศรษฐกิจฟนตัวไดในที่สุด
แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง
แผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข ม แข็ ง 2555 เป น การลงทุนในโครงการพื้นฐานในสาขาตางๆ ที่จำเปน ต อ งเร ง ดำเนิ น งาน เพื่ อ สร า งการจ า งงานและ ยกระดับคุณภาพชีวิตใหแกประชาชนในพื้นที่ตางๆ ทั่ ว ประเทศ และสามารถกระทำได ทั น ที ซึ่ ง ได แ ก การพัฒนาแหลงน้ำและระบบชลประทานขนาดกลาง และขนาดเล็ ก การพั ฒ นาระบบถนนในชนบท การพัฒนาและปรับปรุงสถานีอนามัยและโรงเรียน ขนาดเล็ ก ในท อ งถิ่ น และชนบท โดยควบคู ไ ปกั บ การพั ฒ นาระบบโครงสร า งพื้ น ฐานขนาดใหญ ที่ จำเปนตอการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ของประเทศในระยะยาว เชน ระบบขนสงมวลชน ในพื้ น ที่ ก รุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล รวมทั้ ง การพัฒนาระบบขนสงมวลชนทางราง ทั้งนี้ รัฐบาล มิไดมุงเนนเฉพาะการลงทุนในโครงการขนาดใหญ เทานั้น แตยังคงใหความสำคัญแกโครงการลงทุน ขนาดกลางและขนาดเล็ ก ที่ มี พื้ น ที่ ก ารดำเนิ น โครงการกระจายไปทั่วประเทศ ดังนั้น การดำเนิน โครงการตางๆ จึงเปนเรื่องเรงดวน ซึ่งหากสามารถ ดำเนินการไดยอมแกไขปญหาวิกฤติเศรษฐกิจของ ประเทศไทยไดอยางทันทวงที
3
สัดสวนการลงทุนในสาขาตางๆ ของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 (1,309,655 ลานบาท) ประกันรายไดเกษตรกร 3%
อื่นๆ 21%
สาธารณสุข 7% ขนสง 29%
ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (2554)
การลงทุน ในระดับชุมชน 11% ทรัพยากรน้ำ และการเกษตร 18%
กลยุทธการระดมทุนของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555
แหลงเงินสำหรับสนับสนุนการดำเนินโครงการภายใต แผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข ม แข็ ง จะมาจากหลายแหล ง เงิ น เช น เงิ น งบประมาณประจำป เงิ น กู ต ามกฎหมายปกติ (พระราชบั ญ ญั ติ ก ารบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ พ.ศ. 2548) และอื่ น ๆ โดยจะมี แ หล ง เงิ น จากการกู เ งิ น ในประเทศ ของรัฐบาลเปนหลักผานกฎหมายพิเศษ (พระราชกำหนดให อำนาจกระทรวงการคลั ง กู เ งิ น เพื่ อ ฟ น ฟู แ ละเสริ ม สร า ง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552) เนื่องจากโครงการ
4
ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 สวนใหญ เป น โครงการที่ มี สั ด ส ว นการซื้ อ สิ น ค า และบริ ก ารจาก ในประเทศ โดยจากการประมาณการของธนาคาร แห ง ประเทศไทยในขณะนั้ น พบว า สภาพคล อ งของระบบ การเงินในประเทศยังคงมีอยูคอนขางสูง และเพียงพอที่จะ สามารถรองรับการระดมทุนของรัฐบาลภายใตแผนปฏิบัติการ ไทยเข ม แข็ ง 2555 ในช ว งป ง บประมาณ 2553-2555 ได สำหรับรูปแบบการกูนั้นจะเปนการกูเงินโดยการออกตราสาร เพื่อกูเงินจากประชาชนทั้งในรูปแบบของตราสารการกูเงิน ระยะสั้ น และตราสารระยะยาว อาทิ การออกพั น ธบั ต ร ออมทรั พ ย ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการ ในการลงทุ น ของประชาชนและนั ก ลงทุ น ในแต ล ะกลุ ม โดยเฉพาะในขณะนั้นที่อัตราดอกเบี้ยอยูในระดับต่ำมาก และประชาชนในกลุมผูเกษียณอายุและผูสูงอายุไดรับ ผลกระทบจากรายไดที่ลดลง ดังนั้น จากการที่อัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากที่ลดลงสงผลใหประชาชนจะเขามา ลงทุ น ในพั น ธบั ต รออมทรั พ ย ข องรั ฐ บาล ซึ่ ง เป น การลงทุ น ที่ ป ลอดภั ย สู ง โดยได รั บ อั ต ราดอกเบี้ ย ที่เหมาะสม
แหลงระดมทุนของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 แบงออกเปน 2 กลุมหลัก ดังนี้
กลุมที่ 1 โครงการลงทุนของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจที่รัฐบาลรับภาระการลงทุน : ประกอบดวย โครงการลงทุนภายใต โครงการแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจที่รัฐบาลรับภาระการลงทุน วงเงินลงทุนจำนวน 1,088,776 ลานบาท จะมีความตองการแหลงเงินลงทุนหลักจากพระราชกำหนดใหอำนาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อฟนฟู และเสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ในวงเงิน 350,000 ลานบาท นอกจากนี้ จะมีการใชงบประมาณประจำป รวมทั้งเงินกูทั้งจากในประเทศและตางประเทศเพื่อสนับสนุนการดำเนินโครงการดังกลาวดวย ทั้งนี้ โครงการลงทุนในกลุมที่ 1 ประกอบด ว ย โครงการภายใต ส าขาบริ ห ารจั ด การน้ ำ เพื่ อ การเกษตร สาขาขนส ง ทางถนน ราง สาขาการศึ ก ษา สาขาสาธารณสุ ข สวั ส ดิ ภ าพประชาชน วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม โครงการ สรางพื้นฐานเพื่อการทองเที่ยว พัฒนาการทองเที่ยว เศรษฐกิจสรางสรรค และการลงทุนในระดับชุมชน ในปจจุบันสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ได ด ำเนิ น การกู เ งิ น ภายใต พ ระราชกำหนดให อ ำนาจ แหลงเงินลงทุนแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555 อื่นๆ กระทรวงการคลังกูเงินเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความมั่นคง 459,000 PPPs 23,000 ทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ผานเครื่องมือทางการเงินตางๆ ได แ ก สั ญ ญากู เ งิ น (Bank Loan) อายุ 2 ป วงเงิ น พ.ร.บ.หนี้ฯ 150,000 ลานบาท และอายุ 4 ป วงเงิน 200,000 ลานบาท 134,000 พ.ร.ก. 350,000 เพื่อใหสอดคลองกับความตองการใชจายเงินของโครงการ งปม. และ สบน. ได มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งจากการกู เ งิ น 146,000 SOEs ดั ง กล า ว โดยการยื ด อายุ เ ฉลี่ ย ของหนี้ ที่ จ ะครบกำหนด 198,000 ชำระ (Averaged Time to Maturity : ATM) ดวยการปรับ โครงสรางหนี้ผานการออกพันธบัตรออมทรัพยอายุ 6 ป ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ และ 15 ป และตั๋วสัญญาใชเงินอายุ 12 ปและ 18 ป กลุมที่ 2 โครงการลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่รัฐวิสาหกิจรับภาระการลงทุนเอง : ประกอบดวย โครงการลงทุนของ รัฐวิสาหกิจในสาขาพลังงาน สาขาการสื่อสาร และโครงการลงทุนในสาขาการขนสงบางสวน วงเงินลงทุน 220,879 ลานบาท โดยมี แ ผนการระดมทุ น จากรายได ข องรั ฐ วิ ส าหกิ จ เป น หลั ก และมี ก ารกู เ งิ น จากในประเทศและต า งประเทศเพื่ อ สมทบ การลงทุนดวย นอกจากนี้ รัฐบาลยังสนับสนุนการใหเอกชนเขามารวมลงทุนในรูปแบบ PPPs
สรุป
จากป ญ หาวิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ โลกที่ ส ง ผลกระทบต อ เศรษฐกิ จ ไทย ภาครั ฐ บาลจึ ง เป น กลไกที่ ส ำคั ญ ในการลด ผลกระทบที่เกิดขึ้นและฟนฟูเศรษฐกิจใหกลับสูสภาพปกติ โดยเร็ ว โดยการออกมาตรการกระตุ น การลงทุ น ภายใน ประเทศหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ที่มุงเนนการลงทุนในโครงการขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ ก และมี พื้ น ที่ ด ำเนิ น โครงการกระจายไป ทั่ ว ประเทศ ซึ่ ง การลงทุ นของภาครั ฐ ดั ง กล า วจะก อ ใหเกิ ด การจ า งงาน การเพิ่ ม ขึ้ น ของรายได ข องประชากร พั ฒ นา
ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ อีกทั้งสนับสนุน การลงทุนของภาคเอกชนและการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ อยางไรก็ดี แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จะไมสามารถ ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว หากขาดกลยุทธ การระดมทุ น จากแหล ง เงิ น ที่ เ หมาะสมและสอดคล อ งกั บ สถานการณ เ ศรษฐกิ จ ในขณะนั้ น ทั้ ง นี้ เพื่ อ ไม ใ ห เ กิ ด การกอหนี้ใหแกประเทศมากเกินไปจนสูญเสียความยั่งยืน ทางการคลั ง รวมทั้ ง ไม ก อ ให เ กิ ด ต น ทุ น ทางการเงิ น สู ง จน เกินไปและใหเพียงพอตอความตองการลงทุนในอนาคตตอไป
5
ข่าวประชาสัมพันธ์ จาก สบน.
สุเนตรา เล็กอุทัย เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน
สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะร่ ว มกั บ ธนาคารพั ฒ นาเอเชี ย (ADB) ได้ จั ด การประชุม Asian Regional Public Debt Management Forum ในระหว่างวันที่ 16-18 มีนาคม 2554 ณ โรงแรม Laguna Beach Resort จังหวัดภูเก็ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ รวมทัง้ พัฒนาเครือข่าย การเรียนรูร้ ะหว่างประเทศ ซึง่ จะเป็นประโยชน์ในการดำเนินงานและการวางนโยบายในอนาคต ทั้งนี้มีผู้ร่วมการประชุมกว่า 46 ประเทศ จากกระทรวงการคลัง Debt Management Office และธนาคารกลางประเทศต่างๆ รวมทั้งองค์กรระหว่างประเทศ รวมประมาณ 150 คน
ข่าวกิจกรรม
เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2554 นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผู้อำนวยการสำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ ขึ้นรับรางวัลในพิธีมอบรางวัลเพชรวายุภักษ์ ครั้งที่ 2 (MOF Innovation Awards 2010) ประเภทรางวั ล ระดั บ กรมด้ า นการให้ บ ริ ก ารภายในกระทรวงการคลั ง ณ ห้องคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต โดยในปีนี้ สบน. ได้ รั บ 2 รางวั ล ได้ แ ก่ รางวั ล รองชนะเลิ ศ ชื่ อ นวั ต กรรม “ก่ อ หนี้ ใ หม่ อ ย่ า งไรให้ ยั่ ง ยื น ชำระหนี้ เ ก่ า คื น อย่ า งไรให้ มี เ สถี ย รภาพ” และรางวั ล ชมเชย ชื่ อ นวั ต กรรม “การพั ฒ นา เครื่องมือการระดมทุนของรัฐบาลในตลาดตราสารหนี้ไทย”
ข่าวประชาสัมพันธ์ สำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) จะจัดจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ของกระทรวงการคลัง ในงานมหกรรมทางการเงินและการลงทุน Money Expo 2011 ระหว่างวันที่ 12-15 พฤษภาคม 2554 ในช่วงเวลา 10.00-21.00 น. ณ อาคารชาเลนเจอร์ 2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี โดยจำหน่ายพันธบัตรรุ่นอายุ 3 ปี อัตราดอกเบี้ยจะประกาศในช่วงก่อนจัดงานประมาณ 1-2 สัปดาห์ นอกจากนั้ น ภายในงานจะมี ก ารเผยแพร่ ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ พั น ธบั ต รออมทรั พ ย์ แ ละ ตราสารหนีอ้ นื่ ๆ ของภาครัฐ รวมทัง้ ประชาสัมพันธ์บทบาทหน้าทีข่ อง สบน. ผูส้ นใจสามารถเข้าร่วมงาน ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.moneyexpo.net
ภาวณี บำรุงศรี เศรษฐกรชำนาญการ สำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ
กรอบติดตามและประเมินผลโครงการ
ภายใต้แผนปฏิบัติการ
ไทยเข้มแข็ง 2555 1. เหตุผลความจำเป็น
เป็นทีท่ ราบกันทัว่ ไปว่า รัฐบาลได้จดั ทำโครงการภายใต้แผนปฏิบตั กิ าร ไทยเข้ ม แข็ ง 2555 หรื อ แผนฟื้ น ฟู เ ศรษฐกิ จ ระยะที่ 2 วงเงิ น 1,309,655 ล้านบาท โดยมีเป้าหมายเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศ ทั้งนี้ โดยเพิ่ม การลงทุ น ของภาครั ฐ เพิ่ ม การจ้ า งงานผ่ า นโครงการลงทุ น ขนาดเล็ ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ในสาขาเศรษฐกิ จ และสั ง คมต่ า งๆ กระจาย การลงทุนด้านบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานไปสู่ชนบท รวม 19 สาขา ซึ่งมี โครงการย่อยทีก่ ระจายในพืน้ ทีภ่ าคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ จำนวนสูงถึง 40,000 โครงการย่อย ดังนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ในการจัดทำโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 สำนักงาน บริ ห ารหนี้ ส าธารณะ (สบน.) จึ ง ได้ จั ด ทำกรอบติ ด ตามและประเมิ น ผล โครงการภายใต้ แ ผนดั ง กล่ า ว เพื่ อ จะนำไปใช้ ติ ด ตามและประเมิ น ผล โครงการต่ า งๆ ในพื้ น ที่ 4 ภาค (ภาคกลาง ภาคเหนื อ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และภาคใต้ ) โดยที ม ที่ ป รึ ก ษาและเจ้ า หน้ า ที่ สบน. จะลงสำรวจพื้ น ที่ ดำเนิ น โครงการจริ ง ทั้ ง นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการลงทุนต่างๆ ภายใต้ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 รวมทั้งเสนอแนะแนวทาง แก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ เพื่อให้โครงการบรรลุ วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ ผลการประเมินโครงการจะใช้เป็นบทเรียน สำหรับจัดเตรียมโครงการลงทุนของภาครัฐในอนาคต
2. กรอบแนวคิดในการติดตามและประเมินผลโครงการ
กรอบการติดตามและประเมินผลโครงการ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การติดตามโครงการและการประเมินผล โครงการ มีแนวทางการดำเนินการดังนี้ 2.1 การติดตามโครงการ การติ ด ตามโครงการเป็ น การตรวจสอบ ความก้ า วหน้ า ของโครงการประการหนึ่ ง และอี ก ประการหนึ่ ง เป็ น การกระตุ้ น และเร่ ง รั ด การดำเนิ น โครงการของแต่ ล ะโครงการให้ ด ำเนิ น การตาม เป้ า หมายที่ ก ำหนดไว้ ทั้ ง นี้ เพื่ อ ช่ ว ยให้ ท ราบถึ ง ปัญหา อุปสรรค ตลอดจนแนวทางแก้ไขให้โครงการ ดำเนิ น การต่ อ ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ หรื อ อาจ ยกเลิกโครงการกรณีที่ไม่สามารถดำเนินการต่อไปได้ การติ ด ตามต้ อ งกระทำทุ ก โครงการ โดยประเด็ น ที่ใช้ในการติดตามโครงการ ประกอบด้วย (1) การอนุมัติโครงการ โดยตรวจสอบคำขอ ที่หน่วยงานจัดทำว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตาม ระเบี ย บสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยการบริ ห าร โครงการตามแผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข้ ม แข็ ง 2555 และผ่ า นการพิ จ ารณากลั่ น กรองโครงการจาก คณะกรรมการกลั่ น กรองและบริ ห ารฯ และได้ รั บ การอนุ มั ติ โ ครงการโดยคณะรัฐมนตรี (2) งบประมาณ โดยพิจารณาถึงงบประมาณ ที่ขอ งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ และงบประมาณที่ใช้ ดำเนินการจริง (3) ก ารเบิ ก จ่ า ยงบประมาณ การเบิ ก จ่ า ย งบประมาณของโครงการเป็นไปตามแผนการจัดทำ งบประมาณโครงการหรือไม่ (4) การดำเนินการ ด้านกิจกรรมที่ดำเนินการ เป็นไปตามแผนหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดซื้อ จัดจ้างและการก่อสร้างโครงการ (5) ผลผลิต ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริงกับที่กำหนด ไว้ในแผนมีความสอดคล้องกันหรือไม่เพียงใด (6) ส รุ ป ประเด็ น ปั ญ หา อุ ป สรรค และ แนวทางแก้ ไ ข ตลอดจนข้ อ เสนอแนะอื่ น ๆ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ต่อการดำเนินโครงการในลักษณะเดียวกัน หรือเพื่อใช้กับโครงการอื่น
รูประหว่าง ถนนสายแยก ทล. 401-บ.ด่านขุนเดช ตำบลปากแพรก อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี
สภาพน้ำหนุนสูงขึ้นท่วมพื้นที่ก่อสร้างบริเวณคลองโกรกพระ โครงการก่อสร้างระบบ ป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์
2.2 การประเมินผลโครงการ การประเมินผลโครงการจะดำเนิน การกั บ โครงการ ที่ดำเนินการแล้วเสร็จว่า โครงการนั้นๆ ประสบความสำเร็จ มากน้ อ ยเพี ย งใด โดยจะมี ก ารสุ่ ม ตั ว อย่ า งร้ อ ยละ 5 ของโครงการที่ แ ล้ ว เสร็ จ ทั้ ง นี้ จะมี ก ารแบ่ ง กลุ่ ม โครงการ ดังกล่าวเป็น 3 กลุ่ม คือ (1) โครงการที่เสร็จก่อนกำหนด (2) โครงการที่ แ ล้ ว เสร็ จ ตามแผน และ (3) โครงการที่ เสร็ จ ล่ า ช้ า กว่ า แผน การแบ่ ง กลุ่ ม จะทำให้ ท ราบถึ ง ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ ระยะเวลาให้ โ ครงการเสร็ จ เพื่ อ นำมาใช้ เ ป็ น บทเรี ย นสำหรั บ โครงการอื่ น ๆ ในอนาคต โดยข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ ประกอบในการประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน (1) รวบรวม ข้อมูลโครงการตามตัวชี้วัดที่จัดไว้ และ (2) การสัมภาษณ์ ผู้ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ จ ากโครงการโดยใช้ แ บบสอบถามเป็ น เครื่องมือ จากนั้นจึงทำการประเมินในด้านต่างๆ กล่าวคือ (1) การประเมิ น ตั ว โครงการ เป็ น การประเมิ น ความสำเร็ จ ของโครงการว่ า อยู่ ใ นระดั บ ใด ตั้ ง แต่ ผ ลผลิ ต ผลลัพธ์ของโครงการ รวมทั้งการจัดซื้อจัดจ้างว่าเป็นไปตาม ระเบียบราชการหรือไม่ ตลอดจนการตรวจสอบด้านเทคนิค โดยเน้นการตรวจสอบการก่อสร้างว่าเป็นไปตามข้อกำหนด และมาตรฐานทั่วไปหรือไม่ (2) การประเมินผูไ้ ด้รบั ผลประโยชน์จากโครงการ เป็ น การประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู้ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ จ าก โครงการและประโยชน์ที่ได้รับว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของโครงการด้วยหรือไม่ โดยสอบถามกับหน่วยงานที่ดำเนิน โครงการและผู้รับประโยชน์จากโครงการทั้งตรงและทางอ้อม อนึ่ ง ตามมาตรฐานของแหล่ ง เงิ น กู้ ต่ า งประเทศ มีการกำหนดเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของโครงการ 5 ประการ ประกอบด้ ว ย (1) Relevance ประเมิ น ความสอดคล้ อ งของโครงการกั บ นโยบายของรั ฐ บาล (2) Effectiveness ประเมินความสำเร็จตรงตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ (3) Efficiency ประเมินด้านประสิทธิภาพของ การใช้ ง บประมาณและระยะ เ ว ล า ต ร ง ต า ม แ ผ น ห รื อ ไ ม่ (4) Impact ประเมินผลกระทบ ของโครงการที่ มี ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ของโครงการ และ (5) Sustainable ประเมิ น ความยั่ ง ยื น ของโครงการที่ ไ ด้ ดำเนินการว่ามีมากน้อยเพียงใด
3. บทสรุป
กรอบการติ ด ตามและประเมิ น ผลโครงการที่ ก ล่ า ว ข้างต้นจะถูกนำไปใช้ในการติดตามและประเมินผลโครงการ ภายใต้ แ ผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข้ ม แข็ ง 2555 พื้ น ที่ 4 ภาค (ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้) โดยที่ปรึกษาติดตามและประเมินผลโครงการ พื้นที่ 4 ภาค เริม่ ลงสำรวจพืน้ ทีโ่ ครงการเพือ่ ติดตามและประเมินผลในเดือน มีนาคม 2554 มีระยะเวลาดำเนินการ 1 ปี โดยมีงานด้าน การติ ด ตามโครงการ เป็ น การติ ด ตามความก้ า วหน้ า ของ ผลผลิ ต ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ในพื้ น ที่ มี ก ารรายงานปั ญ หาและ อุ ป สรรคที่ เ กิ ด ขึ้ น และเสนอแนวทางแก้ ไ ขปั ญ หาและ ตรวจสอบความโปร่ ง ใส (Transparency) ในการดำเนิ น โครงการ สำหรับงานด้านประเมินผลจะประเมินผลโครงการ ที่ แ ล้ ว เสร็ จ โดยมี เ กณฑ์ ก ารประเมิ น ด้ า นความสอดคล้ อ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ประสิ ท ธิ ภ าพ ประสิ ท ธิ ผ ล ผลกระทบ และ ความยั่งยืนของโครงการ โดยได้กำหนดตัวชี้วัดและออกไป สัมภาษณ์ผู้ได้รับประโยชน์ของโครงการ เพื่อจัดทำรายงาน ประเมินผลวิเคราะห์ปจั จัยแห่งผลความสำเร็จหรือความล้มเหลว ที่ เ กิ ด ขึ้ น ของโครงการภายใต้ แ ผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข้ ม แข็ ง 2555 ทั้ ง นี้ รายงานติ ด ตามและประเมิ น ผลที่ ไ ด้ รั บ จาก การดำเนินงานตามโครงการนี้จะได้นำเสนอต่อคณะกรรมการ ติ ด ตามและประเมิ น ผลการดำเนิ น โครงการตามแผน ปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง ซึง่ มี ดร.พนัส สิมะเสถียร เป็นประธาน รวมทั้ ง เสนอต่ อ คณะรั ฐ มนตรี เ พื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ประกอบใน การพิจารณาจัดสรรงบประมาณหรือเงินกูใ้ ห้แก่โครงการต่างๆ ในโอกาสต่อไป และเป็นบทเรียนสำหรับการจัดเตรียมการ โครงการลงทุนของภาครัฐในอนาคตต่อไป
ฝายเชียงดาว โครงการชลประทานเชียงใหม่
ธีระศักดิ์ อิญญาวงค นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักบริหารการชำระหนี้
ʺ¹. ÁÕá¹Ç·Ò§»¯ÔºÑμÔ ã¹¡ÒêÓÃФ׹˹Õéà§Ô¹¡ÙŒ μ»·. ¢Í§ÃÑ°ºÒÅÍ‹ҧäà ? “หนี้สาธารณะ” (Public Debt) เปนประเด็นที่พูดถึงกันมากเรื่องหนึ่ง ความน า สนใจของหนี้ ส าธารณะไม ไ ด มี เ พี ย งการกู เ งิ น หรื อ การจั ด หาเงิ น กู (Financing) เท า นั้ น แต ยั ง มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย ง (Risk Management) การติดตามและประเมินผลโครงการตางๆ ที่ใชเงินกูของหนวยงานของรัฐ และ การชำระคืนหนีเ้ งินกู (Repayment) ของรัฐบาล เปนตน การดำเนินการในเรือ่ งตางๆ เหล า นี้ ล ว นเป น ภารกิ จ ของสำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ (สบน.) โดยสิ้ น เดื อ น มกราคม 2554 ประเทศไทยมียอดหนี้สาธารณะคงคาง (Outstanding Debt) จำนวน 4.26 ลานลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 41.94 ของ GDP ซึ่งประกอบดวยหนี้ในประเทศ และหนี้ตางประเทศ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.pdmo.go.th ในหัวขอ “รายงาน หนี้สาธารณะ”) ในส ว นของแหล ง เงิ น กู ต า งประเทศที่ ป ระเทศไทยมี ภ าระผู ก พั น ในลั ก ษณะ “หนีท้ รี่ ฐั บาลกูโ ดยตรง” ปจจุบนั (กุมภาพันธ 2554) ประกอบดวยเงินกูจ ากแหลงเงินกูต า งๆ คือ ธนาคารโลก (IBRD) ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) สมาคมพัฒนาการระหวางประเทศ (IDA) รัฐบาลสหรัฐอเมริกา (AID) สถาบันเครดิตเพื่อการบูรณะและพัฒนาแหงสหพันธ สาธารณรัฐเยอรมนี (KfW) องคการความรวมมือระหวางประเทศของญีป่ นุ (JICA) รัฐบาล แคนาดา รัฐบาลเดนมารก รัฐบาลออสเตรีย และพันธบัตรเงินเยนชนิดจำหนายทั่วไป ในตลาดทุนญี่ปุน (Samurai Bond) โดยมียอดหนี้สาธารณะคงคางจำแนกเปนสกุลเงิน 4 สกุลเงิน คือ สกุลเงินเหรียญแคนาดา ยูโร เยน และเหรียญสหรัฐ จำนวน 15.82 ลานเหรียญ แคนาดา 30.23 ลานยูโร 124,753.21 ลานเยน และ 214.64 ลานเหรียญสหรัฐ ตามลำดับ ในบทความนี้จะกลาวเพียงแนวทางในการชำระคืนหนี้เงินกูตางประเทศของรัฐบาลเทานั้น สวนแนวทางและวิธีการชำระคืนหนี้เงินกูในประเทศจะไดกลาวในโอกาสตอไป
10
สบน. มี แ นวทางการชำระคื น หนี้ เ งิ น กู ต า งประเทศ 2 รู ป แบบ คื อ 1) การชำระคื น หนี้ เ งิ น กู ที่ ค รบกำหนด (Repayment): เปนการชำระคืนหนี้เงินกูตามกำหนดอายุ (Due Date) ซึ่ ง เป น ภาระผู ก พั น ตามสั ญ ญาและเงื่ อ นไข การกูเงินที่ไดตกลงไวกับแหลงเงินกู และ 2) การชำระคืน หนี้เงินกูกอนครบกำหนด (Prepayment): เปนการชำระ คืนหนี้กอนกำหนดอายุเงินกู ทั้งนี้ มีจุดมุงหมายในการลด ภาระดอกเบี้ยในอนาคต และเปนการปดความเสี่ยงของอัตรา แลกเปลี่ ย นกรณี ที่ เ ป น ภาระหนี้ ส กุ ล เงิ น ตราต า งประเทศ รวมทั้ ง ป ด ความเสี่ ย งอั ต ราดอกเบี้ ย สำหรั บ กรณี ภ าระหนี้ ที่เปนอัตราดอกเบี้ยลอยตัว (Floating Rate) ในการชำระคืนหนี้เงินกูตางประเทศของรัฐบาล สบน. จะดำเนินการตามหลักเกณฑและวิธีการที่กระทรวงการคลัง ไดอนุมัติให สบน. ใชเปนแนวทางปฏิบัติ โดยมีจุดมุงหมาย เพื่อใหเกิดประโยชนตอราชการ กลาวคือ 1) การแขงขัน การเสนอราคาขายของธนาคารพาณิชย ทำให สบน. สามารถ จั ด ซื้ อ เงิ น ตราต า งประเทศได ใ นราคาต่ ำ ที่ สุ ด 2) ป อ งกั น ไม ใ ห มี ผ ลกระทบต อ ตลาดเงิ น ในกรณี ก ารจั ด ซื้ อ เงิ น ตรา ตางประเทศจำนวนที่สูงมากตอครั้ง 3) ปองกันความเสี่ยง กรณี อั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต า งประเทศที่ ผั น ผวน 4) หากเปนการปดความเสี่ยง (Hedging) จะทำใหมีเงินตรา ตางประเทศที่ชำระหนี้ และที่สำคัญทราบตนทุนการชำระ (เงิ น บาท) ที่ แ น น อน และ 5) เตรี ย มความพร อ มให แ ก สบน. สำหรับการพัฒนาระบบงาน เพื่อเชื่อมโยงกับระบบ e-Banking ของธนาคารพาณิชยตางๆ ในอนาคต เปนตน โดยมีวิธีการและรูปแบบ ดังนี้
วิ ธี ก ารในการจั ด ซื้ อ เงิ น ตราต า งประเทศ เพื่อการชำระหนี้เงินกูของรัฐบาลมี 3 วิธี คือ • การสอบราคา (Price Checking) เป น การสอบถามราคาขายเงิ น ตราต า งประเทศ จากธนาคารพาณิชย จำนวนไมเกิน 3 แหง ในเวลา ใกล เ คี ย งกั น และเลื อ กราคาขายต่ ำ ที่ สุ ด เพื่ อ การจั ด ซื้ อ เงิ น ตราต า งประเทศที่ มี ว งเงิ น ต่ ำ กว า 1 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ หรื อ เที ย บเท า ต อ การชำระ ใน 1 วัน • การประมูล (Open Bidding) เปนการให ธนาคารพาณิ ช ย เ สนอราคาขายเข า มาในเวลา เดียวกันและเลือกราคาขายต่ำทีส่ ดุ ทัง้ นี้ เปนการจัดซือ้ เงินตราตางประเทศทีม่ วี งเงินตัง้ แต 1 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทา ตอการชำระใน 1 วัน โดยดำเนินการ ดังนี้ (1) วงเงินตั้งแต 1 ลานเหรียญสหรัฐ แตไมถึง 2 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ ประมู ล ราคาจากธนาคาร พาณิ ช ย จำนวน 3 แห ง (2) วงเงิ น ตั้ ง แต 2 ลานเหรียญสหรัฐ แตไมถึง 10 ลานเหรียญสหรัฐ ประมูลราคาจากธนาคารพาณิชย จำนวน 4 แหง และ (3) วงเงินตั้งแต 10 ลานเหรียญสหรัฐ แตไมถึง 20 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ ประมู ล ราคาจากธนาคาร พาณิชย จำนวน 5 แหง • การฝากซื้ อ (Leave Order) เป น การกำหนดอั ต ราแลกเปลี่ ย นที่ ต อ งการซื้ อ โดย ธนาคารพาณิ ช ย จ ะดำเนิ น การซื้ อ ทั น ที เ มื่ อ อั ต รา เป น ไปตามที่ ก ำหนด มี ร ะยะเวลาการฝากซื้ อ ในแตละครัง้ ไมเกิน 24 ชัว่ โมง ทัง้ นี้ วงเงินการฝากซือ้ ครั้งละไมเกิน 2 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทา
11
รูปแบบในการจัดซื้อเงินตราตางประเทศเพื่อการชำระหนี้เงินกู ตางประเทศของรัฐบาล 2 แนวทาง คือ • การซื้อเงินตราตางประเทศ ณ อัตราแลกเปลี่ยนปจจุบัน (Spot Value) ไดแก กรณีการจัดซื้อเงินตราตางประเทศในภาวะที่อัตรา แลกเปลี่ยนไมมีความผันผวน และวงเงินการซื้อต่ำกวา 20 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทา ตอการชำระภายใน 1 วัน โดยจะดำเนินการซือ้ 2 วันทำการลวงหนา ก อ นวั น ครบกำหนดชำระ ทั้ ง นี้ จะดำเนิ น การได ทั้ ง วิ ธี ก ารสอบราคาและ การประมูล และ สบน. จะซื้อเงินตราตางประเทศจากธนาคารพาณิชยผูที่เสนอ ราคาต่ำสุด และธนาคารพาณิชยนั้นเปนผูโอนชำระหนี้ใหกระทรวงการคลัง • การซื้ อ เงิ น ตราต า งประเทศล ว งหน า โดยกำหนดอั ต ราไว เ พื่ อ สงมอบในอนาคต (Forward Value) มีวัตถุประสงคเพื่อใหสามารถจัดหาเงินตรา ต า งประเทศได เ พี ย งพอสำหรั บ การชำระคื น หนี้ โดยป ด ความเสี่ ย งจากอั ต รา แลกเปลี่ ย นในกรณี ที่ อั ต ราแลกเปลี่ ย นมี ค วามผั น ผวน และในกรณี ที่ มี จ ำนวน เงินตราตางประเทศที่จะซื้อในจำนวนที่สูงมากตอวัน อาจทำใหไมสามารถจัดซื้อ เงินตราตางประเทศไดครบตามจำนวนที่ตองการ หรือทำใหอัตราที่จะซื้อสูงกวา ที่ควรจะเปน เนื่องจากเปนการเพิ่มการเสนอซื้อในตลาด การซื้อ Forward Value จะดำเนิ น การในกรณี ที่ มี ว งเงิ น สู ง กว า 20 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ หรื อ เที ย บเท า ตอการชำระใน 1 วัน โดยจะดำเนินการทยอยซื้อทีละสวนจนครบจำนวนที่ตองการ ในอนาคต สบน. จะมีการปรับปรุงวิธีการหรือแนวทางดังกลาว รวมถึง การใช น วั ต กรรมต า งๆ ตามความเหมาะสมกั บ สถานการณ แ ละตลาดเงิ น โดยคำนึง ถึง ประโยชน สู ง สุ ด ต อ ราชการเปนสำคั ญ สำหรั บ การชำระคื น หนี้ เ งิ น กู ก อ นครบกำหนด (Prepayment) สบน. จะพิจารณาตามแนวทางที่เปนประโยชนตอราชการ ดังนี้ 1) ลดภาระงบประมาณ รายจาย 2) กระจายความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศ 3) สนองนโยบายรัฐบาลตามมาตรการและแนวทางการเรงรัดติดตาม การใช จ า ยงบประมาณรายจ า ยประจำป ดั ง นั้ น หาก สบน. ได รั บ การจั ด สรร งบประมาณรายจ า ยประจำป เ พื่ อ การชำระคื น หนี้ เ งิ น กู ใ นจำนวนที่ เ หมาะสม พรอมกับการบริหารหนี้สาธารณะที่มีประสิทธิภาพของ สบน. จะทำใหสามารถ ลดยอดหนี้สาธารณะคงคางและยังลดภาระดอกเบี้ยไดมากยิ่งขึ้นอีกดวย ทำให ประหยัดงบประมาณรายจายประจำปซึ่งเปนประโยชนตอราชการอยางยิ่ง
12
มุมอรอย
HOBS (House of Beers) áËÅ‹§ Hang out ÊäμÅ ÂØâûàºÅàÂÕÂÁ หากใครที่ไดมีโอกาสผานไปแถวซอยอารียสัมพันธ คงจะสะดุดตากับโครงการ อารียการเดน (Aree Garden) ที่แมจะ มีพื้นที่ไมมากนัก แตดวยการตกแตงโครงการดวยการยกปามาไวในเมือง ทำใหบรรยากาศโดยรอบดูรมรื่นไมนอย และเมื่อ ไดกาวเขาไปสัมผัสบรรยากาศภายในก็มีรานคา รานอาหารหลายรานใหเราไดเลือกเขาไปฝากทองตามความพอใจ ซึ่งราน ทีเ่ ราจะแนะนำกันในครัง้ นีก้ ค็ อื ราน HOBS (House of Beers) Bar & Rest ซึง่ นอกจากจะมีอาหารอรอยๆ ไวใหไดลมิ้ ลองแลว จุดเดนของรานนี้ยังมีเบียรสดและเบียรที่นำเขาจากตางประเทศมากมายกวา 50 ยี่หอ อาทิ Hoegaarden, Leffe Blonde, STELLA ARTOIS, Lager, Boddingtons HOBS (House of Beers) เหมาะเป น ร า นสำหรั บ เพื่ อ นฝู ง ได ม าเฮฮาสั ง สรรค กั น ด ว ยบรรยากาศอั น ร ม รื่ น ของโครงการ การตกแตงรานที่โดดเดนเนนเฟอรนิเจอรไมสไตลยุโรปเบลเยียมยอนยุค ผูที่เขามาสามารถเลือกมุมนั่งได ไมวาจะเปนในหองปรับอากาศเย็นฉ่ำ หรือจะเลือกนั่งชิลๆ แบบโอเพนแอรพรอมๆ กับการชมสวนสวยๆ ก็ไดเชนกัน เมื่อมา HOBS (House of Beers) ทั้งที เราเลยขอชิมเมนูแนะนำของรานที่ขอบอกวาไมควรพลาดอยางยิ่ง Mussel leffe
HOBS Nachos
Marinara
Mussel leffe (หอยแมลงภูอบเบียร leffe) สูตรพิเศษที่ทางรานคิดขึ้นมาใหม ซึ่งมีทั้ง หอยแมลงภูของไทยและนิวซีแลนด เสิรฟพรอมกับ Belgium Fried (เบลเยียมฟราย) หรือ มันฝรั่งทอดชิ้นใหญกรอบนอกนุมใน มาพรอมกับ Dips สูตรพิเศษจากทางราน HOBS Nachos เป น แผ น ชิ ป ทำมาจากแป ง ข า วโพดราดซอสเนื้ อ หรื อ ซอสไก โปะหน า ด ว ยชี ส แล ว นำไปอบให ชี ส ละลาย เสิ ร ฟ พร อ มกั บ ซาวร ค รี ม และซั ล ซา รสชาติเขากันลงตัว Marinara สปาเกตตี ซี ฟู ด ซอสมะเขื อ เทศ รสชาติ ก ลมกล อ ม หากใครที่ ไ ม ช อบ สปาเกตตีก็สามารถเลือกเสน Fettuccine ก็ได Mojito โมฮิโตเปนค็อกเทลที่ขายดีของทางราน เปนอีกตัวเลือกของคนที่ไมชอบ ดื่มเบียร นอกจากเมนู ที่ เ ราแนะนำกั น แล ว ทางร า นยั ง มี เ มนู อ ร อ ยๆ ให เ ลื อ กอี ก มาก ใครสนใจก็แวะเวียนมากันได รานเปดตั้งแต 11.30-01.00 น. เย็นวันศุกร-วันอาทิตย ควรโทร.มาจองโตะลวงหนาเนื่องจากคนคอนขางแนนที่โทร. 0 2617 1600
Mojito สถานที่ตั้ง : ซอยอารียสัมพันธ 11 ชั้น 2 โครงการอารียการเดน การเดินทาง : จากถนนพหลโยธิน เขาซอยอารียสัมพันธ มุงหนา ไปทางกระทรวงการคลัง ราน HOBS อยูบริเวณชั้น 2 ภายในโครงการอารียการเดน
พิเศษ
สวนลดสำหรับผูอานวารสารหนี้สาธารณะ เพียงนำคูปองนี้มาที่ราน รับสวนลด 10% หมดเขต 15 มิถุนายน 2554
13
สุเนตรา เล็กอุทัย เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน
สถานะของหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 หนี้สาธารณะคงคางมีจำนวนทั้งสิ้น 4,263 พันลานบาท หรือรอยละ 41.94 ของ GDP สัดสวนหนี้สาธารณะคงคาง ประกอบดวย หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 2,984.47 พันลานบาท หรือรอยละ 70 ของหนี้สาธารณะ คงคาง หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (SOEs) 1,085.86 พันลานบาท หรือรอยละ 25 ของหนี้สาธารณะคงคาง หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) (SFIs) 162.08 พันลานบาท หรือรอยละ 4 ของหนี้สาธารณะคงคาง และหนี้กองทุนฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF) 30.58 พันลานบาท หรือรอยละ 1 ของหนี้สาธารณะคงคาง ดังแสดงในแผนภาพที่ 1 SFls 4% FlDF 1% SOEs 25% หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 70%
แผนภาพที่ 1 หนี้สาธารณะคงคาง ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 รายการ หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (SOEs) หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) (SFIs) หนี้กองทุนฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF) รวม
วงเงิน (พันลานบาท) 2,984.47 1,085.86 162.08 30.58 4,263.00
รอยละ 70 25 4 1 100
ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
หนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ หนี้สาธารณะสวนใหญของประเทศเปนหนี้ในประเทศ หรื อ หนี้ ส กุ ล เงิ น บาท ณ วั น ที่ 31 มกราคม 2554 หนี้ ใ นประเทศทั้ ง ของรั ฐ บาลและรั ฐ วิ ส าหกิ จ คิ ด เป น รอยละ 93 ของหนี้สาธารณะทั้งหมด และหนี้ตางประเทศ คิ ด เป น ร อ ยละ 7 ของหนี้ ส าธารณะทั้ ง หมด สั ด ส ว นหนี้ ตางประเทศลดลงอยางชัดเจนจากที่เคยอยูที่ระดับรอยละ 24 ของหนี้ ส าธารณะในป 2546 ซึ่ ง เกิ ด จากการบริ ห ารหนี้ ตางประเทศของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจในภาวะทีต่ ลาดเอือ้ อำนวย ด ว ยการชำระคื น เงิ น ต น ก อ นครบกำหนด (Prepayment) การกูเงินดวยเงื่อนไขใหมเพื่อชำระหนี้เดิม (Refinance) และ การปองกันความเสี่ยง (Hedging) สงผลใหความเสี่ยงดาน อัตราแลกเปลีย่ นของ Portfolio หนีส้ าธารณะของประเทศลดลง
14
สาเหตุที่รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจกูเงินจากตางประเทศ เนื่ อ งจากอั ต ราดอกเบี้ ย หรื อ ต น ทุ น การกู ยื ม เหมาะสม โดยเฉพาะการกูเงินจากแหลงเงินกูทางการตางประเทศที่มี อัตราดอกเบี้ยเงินกูต่ำและมีระยะเวลาชำระคืนเงินกูรวมทั้ง ระยะปลอดเงิ น ต น ยาว สอดคล อ งกั บ ระยะเวลาดำเนิ น โครงการผลตอบแทนและรายไดของโครงการ ซึง่ สวนใหญเปน โครงการขนาดใหญ อาทิ โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชน และสนามบิน นอกจากนัน้ การลงทุนในโครงการบางโครงการ มี ก ารนำเข า สิ น ค า และบริ ก ารจากต า งประเทศ รวมทั้ ง การดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจบางแหงมีรายไดเปนเงินตรา ตางประเทศ จึงกูเงินเปนสกุลตางประเทศจากแหลงทางการ และสถาบันการเงินเพื่อลดปญหา Currency Mismatch
แผนภาพที่ 2 สัดสวนหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศของรัฐบาล €, 4% $, 17% ¥, 79% External* 1% Domestic 99%
ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ หมายเหตุ * ขอมูลหนี้สกุลตางประเทศที่ไมนับรวมสวนที่บริหารความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยนแลว
หากแยกวิ เ คราะห ใ นรายละเอี ย ดจะพบว า หนี้ ต า งประเทศของรั ฐ บาลคิ ด เป น ร อ ยละ 1 ของหนี้ รั ฐ บาลทั้ ง หมด โดยสัดสวนหนี้สกุลเงินตางประเทศประกอบดวย สกุลเงินเยนรอยละ 79 สกุลเหรียญสหรัฐรอยละ 17 และสกุลยูโรรอยละ 4 ดังแสดงในแผนภาพที่ 2 ทั้งนี้ สาเหตุที่สัดสวนหนี้ตางประเทศของรัฐบาลคอนขางต่ำนั้น เนื่องจากตลาดตราสารหนี้ใน ประเทศไดรับการพัฒนา การกูเงินสวนใหญของรัฐบาลในระยะหลังจึงเปนเงินกูสกุลบาท ประกอบกับสภาพคลองภายใน ประเทศเพียงพอ จึงสามารถระดมทุนหรือกูเงินจากภายในประเทศไดมากขึ้น นอกจากนั้น เงินกูตางประเทศสวนใหญ ของรั ฐ บาลได รั บ การป ด ความเสี่ ย งด า นอั ต ราแลกเปลี่ ย นโดยทำการแปลงหนี้ ส กุ ล เงิ น ต า งประเทศเป น สกุ ล เงิ น บาท (Cross Currency Swap) เพื่อใหสอดคลองกับรายไดของรัฐบาลที่เปนสกุลเงินบาทแลว แผนภาพที่ 3 สัดสวนหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศของรัฐวิสาหกิจ €, 20% $, 21%
¥, 60%
External 22% Domestic 78% ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
หนี้ตางประเทศของรัฐวิสาหกิจคิดเปนรอยละ 22 ของหนี้รัฐวิสาหกิจทั้งหมด ดังแสดงในแผนภาพที่ 3 โดยสัดสวนหนี้ สกุ ล เงิ น ต า งประเทศประกอบด ว ย สกุ ล เงิ น เยนร อ ยละ 60 สกุ ล เหรี ย ญสหรั ฐ ร อ ยละ 21 และสกุ ล ยู โ รร อ ยละ 20 ซึ่ ง หนี้ตางประเทศของรัฐวิสาหกิจสวนใหญที่เปนสกุลเงินเยนที่ยังไมดำเนินการบริหารความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเนื่องจาก รอภาวะตลาดที่เหมาะสม และบางรัฐวิสาหกิจที่มีหนี้เปนสกุลเงินเหรียญสหรัฐและสกุลยูโรไมมีความจำเปนตองบริหาร ความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเนื่องจากเงินกูดังกลาวสอดคลองกับรายไดของหนวยงานที่เปนสกุลตางประเทศ
15
´Ñº¤ÇÒÁâ¡Ã¸à¾ÃÒÐ “ÇÒ¨Ò” à¾×èͪÕÇÔμ·Õè໚¹ÊØ¢ ความโกรธของคนเราอาจเกิดไดจากหลายสาเหตุ แตไมวาจะเกิดจากอะไรก็ใหผลรายมากกวา ผลดีเสมอ นั่นเพราะเมื่อคนเราโกรธมักลืมตัว พูดจาเสียงดัง พูดคำหยาบ ดาคน และไมมีเหตุผล จนคิดวาสิ่งนั้นสิ่งนี้มันนาโมโหเสมอ ไมวาใครพูดดีดวยแคไหน ทวาความอคติในอารมณก็ทำให เราแปลเจตนาของผูพูดเปลี่ยนไป หรือตอบโตกลับอยางรุน แรงโดยไมรูตัวหรือควบคุมตัวเอง ไมไดเสมอ หากคำพูดที่ไดยิน เปนไปในแงรายดวยแลว ยิ่งทำใหอารมณโกรธเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ อารมณโกรธจากการพูดในลักษณะดังตอไปนี้ 1. โกรธเพราะถูกนินทา “โบราณว า อั น นิ น ทากาเล เหมื อ นเทส ว ม ถ า รั บ ไว ย อ มได เ หม็ น หากไม รั บ กลั บ หาย คลายประเด็น ยอนไปเหม็นปากเนาของเขาเอง” การนินทา ไม ใ ช ข องใหม เ พราะมี ม าตั้ ง แต โ บราณแล ว ยิ่ ง ในยุ ค ป จ จุ บั น เมื่ อ สั ง คมมี แ ต ก ารแข ง ขั น การที่ เ ราถู ก คนอื่ น นิ น ทาว า ร า ย เพื่อทำลายใหตัวเราตกต่ำทั้งในชีวิตและหนาที่การงาน ขณะที่ ตั ว เขาก า วไปได สู ง จึ ง มี ม ากขึ้ น อย า งไรก็ ดี การนิ น ทาคื อ การพูด และการพูดเปนเพียงลมปากที่เมื่อพูดแลวคลื่นเสียงก็ จางหายไปในอากาศ ไมอาจทิ่มแทงหรือทำอันตรายรางกายได แลวเราจะมัวโกรธกับคำพูดเหลานั้นทำไม หากเราไมไดเปน อย า งคำที่ เ ขานิ น ทา สั ก วั น หนึ่ ง คนอื่ น จะรั บ รู แ ละคนที่ พู ด ตองรับผลจากการพูดของเขาเอง 2. โกรธเพราะถู ก กล า วร า ย ซึ่ ง เป น เสมื อ นยาพิ ษ ที่ ศั ต รู ว างไว เ พื่ อ ให เ ราโกรธแค น ทำลายสมรรถภาพใน การทำงาน สุขภาพอนามัยและความสงบกายสงบใจของเรา แล ว ทำไมเราต อ งกลื น กิ น ยาพิ ษ ที่ เ ขาวางไว เ พื่ อ ทำร า ย ตัวเองดวย เราควรรูจักมีความอดกลั้นใหมาก ไมตกเปนทาส ของความโกรธและความวูวามจนเผลอเลนตามเกมของอีกฝาย ปลอยใหสิ่งเหลานั้นผานหายไปดวยการทำเปนไมรูเทาทันหรือ ทำเป น ไม ไ ด ยิ น คิ ด เสี ย ว า เราไม ไ ด วิ เ ศษมาจากไหน ทำไม จะถูกกลาวรายบางไมได ในเมื่อคนใหญคนโตระดับผูมีอำนาจ ยังถูกวาไดเลย เทานี้เราจะสบายใจขึ้น ไมทุกขรอนจนทำงาน ไมไดเพราะคำวารายเลื่อนลอยอีกตอไป
3. โกรธเพราะถูกดาวา การที่ ค นอื่ น ด า เราเพราะเขา มุงหมายจะทำใหเรากลายเปนคนเลว คนไมดี หรือคนบา ใหดูแย ในสายตาเจานายหรือเพือ่ นรวมงานคนอืน่ ๆ แตถา เราควบคุมตัวเอง ไวได รูจักขมอารมณสงบนิ่งไมโตตอบกลับไปก็ถือวาเราชนะ ทวา เมื่อใดที่คิดตอบโต เราจะกลายเปนผูแพทันที จำไววาในโลกนี้ ไมมีใครสามารถทำใหเราเปนคนเลวได เพราะคนที่จะทำไดมีอยู คนเดี ย วก็ คื อ ตั ว เรา ดั ง นั้ น ต อ ให มี ค นเป น ร อ ยมารุ ม ด า เรา ตัวเราก็ยังคงเปนเราเสมอ ในทางกลับกัน ถาเราพูดจาหยาบคาย หรือดาตอบออกมาเมื่อใด เราจะเปนคนเลวอยางที่เขาวาไปดวย “...ธรรมดาน้ำยอมจะเย็นฉันใด ใจเราก็ควรจะเย็น ไมโกรธ ดวยอาศัยขันติและเมตตาฉันนั้น ...ธรรมดาอากาศไมมีใครจับยึดไวไดฉันใด เราก็ไมควรให ความโกรธยึดถือไดฉันนั้น ...ธรรมดาแผนดินยอมรับน้ำหนักของสิ่งตางๆ บนโลก ไวไดฉันใด เราก็ควรอดทนตอคำลวงเกินของผูคนในโลกไวได ฉันนั้น” ดังนั้น จงอยาโกรธหรือเดือดเนื้อรอนใจเพราะคำพูดใครที่ พูดวารายเรา เพราะเมื่อความโกรธเกิดกับผูใดยอมเผาใจผูนั้น ให เ ร า ร อ น ถึ ง เราจะโกรธแค น เพี ย งใดก็ ไ ม อ าจสาปแช ง หรื อ แผความโกรธไปเผาผูอื่นใหพลอยรอนใจกับเราไปดวยได แมเรา โกรธเขา แตผูที่รอนใจ เจ็บใจ ทุกขใจ กินไมไดนอนไมหลับ คือ เราไมใชเขา...เชนนั้นแลวจะยังดื้อถือโทษ โกรธอยูไย ไดอะไร เปนประโยชนโปรดคิดดู
ที่มา : พระธมฺมวฑฺโฒภิกฺขุ. พุทธวิธีชนะความโกรธ. กรุงเทพมหานคร : วัดโสมนัสวิหาร, 2542
16
คำคม
“Great minds must be ready not only to take opportunity, but to make them.” - - Colton - -
ความคิดที่ยิ่งใหญไมใชแคเตรียมพรอมตอโอกาส แตยังพรอมที่จะลงมือทำ มแ ฏิ บั ติ ก า ร ไท ย เข ป น ผ แ ง อ ข น ิ ง า ร กู เ
ข็ ง
1. รู ป แ บ บ ก 555 รไทยเขมแข็ง 2 2555 คืออะไร า ก ิ ต ั บ ิ ฏ ป น ผ แ ทุนของ 2. แหลงระดม ไดแกอะไรบาง รงการ (ตาม โค ง อ แบงเปนกี่กลุม ข จ ็ เร ำ ส ม ประเมินควา ระการ ไดแก ป 5 ) 3. เกณฑการ ศ ท ะเ ร ป หลงเงินกูตาง มาตรฐานของแ ง ม า จ า ก ที่ ใ ด บ า ย อะไรบาง ไท ง อ ข ศ ท ะเ ู ต า ง ป ร 4. แ ห ล ง เงิ น ก 3 แหลงเงิน) repayment) (P ด น (ตอบอยางนอย ห ำ ก บ ร จาก ืนเงินกูกอนค ก า ร พิ จ า ร ณ า 5. การชำระค ช า ร อ ต น ช ย ะโ เปนปร ตามแนวทางที่ อะไรบาง
μͺ¤Ó¶ÒÁªÔ§ÃÒ§ÇÑÅ
กรุณาสงคำตอบมาท ี่ E-mail Address mz_pdmo@hotm : ail.com หรือทางไป รษ ณีย ที่อยู สำนักงานบริหารห นี้สาธารณะ กระท รว งการคลัง ถนนพระรามที่ 6 เข ตพญาไท กรุงเทพ ฯ 10400 ภายในเดือนพฤษภ าคม 2554 พรอมระบุ ชื่อ-ที่อย ูติดตอกลับใหชัดเจ น (วงเล็บมุมซองวาต อบคำถามรวมสนุก ) ผูที่ตอบถูก 10 ทา นแรกเทานั้น จะไดรับรางวัลจา ก สำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ
17