Year 2 Volume 4 July-September 2011
¡Òè´·ÐàºÕ¹໚¹·Õè»ÃÖ¡ÉÒä·Â
พระบรมราโชวาท
“...¤ÇÒÁ¤Ô´¹Ñé¹à»š¹áÁ‹º·ãËÞ‹¢Í§¤Ó¾Ù´ áÅСÒáÃÐ·Ó à¾ÃÒСԨ·Õè¨Ð·Ó ¤Ó·Õè¨Ð¾Ù´ ·Ø¡Í‹ҧŌǹÊÓàÃ稨ҡ¤ÇÒÁ¤Ô´ ¡ÒäԴ¡‹Í¹¾Ù´ áÅФԴ¡‹Í¹·Ó¨Ö§ª‹ÇÂãËŒºØ¤¤ÅÊÒÁÒöÂѺÂÑé§ ¤Ó¾Ù´·ÕèäÁ‹ÊÁ¤Çà ËÂØ´ÂÑ駡ÒáÃзӷÕèäÁ‹¶Ù¡μŒÍ§ ¾Ù´áÅзÓáμ‹ÊÔ觷Õè¨ÐÊÑÁÄ·¸Ôì¼Å໚¹»ÃÐ⪹ áÅР໚¹¤ÇÒÁà¨ÃÔÞ...”
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร แกนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม พุทธศักราช 2540
ÊÒèҡºÃóҸԡÒà ว า ร ส า ร ห นี้ ส า ธ า ร ณ ะ ฉ บั บ ที่ 4 ประจำปงบประมาณ 2554 เปนฉบับสงทาย ของปงบประมาณ 2554 คณะทำงานผูจัดทำ ว า ร ส า ร ห นี้ ส า ธ า ร ณ ะ ทุ ก ค น พ ย า ย า ม คั ด เลื อ กและกลั่ น กรองบทความเกี่ ย วกั บ ก า ร ด ำ เ นิ น ง า น ข อ ง ส ำ นั ก ง า น บ ริ ห า ร หนี้ ส าธารณะที่ ไ ม เ พี ย งแต คิ ด ว า จะเป น ป ร ะ โ ย ช น แ ต ยั ง ส อ ด แ ท ร ก ส า ร ะ แ ล ะ ความบั น เทิ ง เพื่ อ ให ผู อ า นทุ ก ท า นได รั บ ความพึ ง พอใจอย า งสู ง สุ ด เท า ที่ เ ราสามารถ คั ด เลื อ กมาลงตามความเหมาะสมได หาก ผู อ า นมี ข อ เสนอที่ อ ยากจะให ค ณะทำงาน เพิ่ ม เติ ม บทความใดๆ หรื อ ปรั บ ปรุ ง เนื้ อ หา และรู ป เล ม ประการใด คณะทำงานผู จั ด ทำ วารสารหนี้ ส าธารณะยิ น ดี แ ละพร อ มรั บ ฟ ง ขอเสนอจากทุกๆ ทาน นอกจากนี้ เรายั ง มี มุ ม ตอบคำถาม ชิ ง รางวั ล เช น เคย ถ า ท า นผู อ า นได อ า น บทความในเลมแลวขอเชิญรวมสนุกไดนะคะ สิริภา สัตยานนท ผูอำนวยการสวนความรวมมือระหวางประเทศ สำนักนโยบายและแผน
ÊÒúÑÞ
2
Behind the Scenes :
Role of PDDF in Bond Market Development
5
การจดทะเบียน เปนที่ปรึกษาไทย
สถานะของหนี้สาธารณะ
สถานะของหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554
10 13
8
ขาวกิจกรรม
มุมอรอย
Uchi Yakiniku รานปงยางสไตลญี่ปุน อรอยสูตรตนตำรับ
14
สารพันบันเทิง
พระราชพิธมี หามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 / คนโขน
15
มุมสุขภาพ
ออฟฟศ ซินโดรม โรคยอดฮิตคนวัยทำงาน
ธรรมะกับการงาน
แนวทางสรางมนุษยสัมพันธ จากทาน ว.วชิรเมธี
16
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) วิสัยทัศน: เปนมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน พันธกิจ: บริหารหนี้สาธารณะตามกฎหมายวาดวยการบริหารหนี้สาธารณะ โดยการวางแผน กำกับ และดำเนินการกอหนี้ ค้ำประกัน และปรับโครงสรางหนี้ของรัฐบาล หนวยงานในกำกับดูแลของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมทั้ง การชำระหนี้ของรัฐบาล และการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อใหการบริหารหนี้สาธารณะเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ และเสริมสรางความยั่งยืนทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ วารสารหนี้สาธารณะ จัดทำโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ สังกัดกระทรวงการคลัง เพื่อเผยแพรแกประชาชนทั่วไป
Paroche Hutachareon Senior Economist, Bond Market Development Bureau
Behind the Scenes : Role of PDDF in Bond Market Development Background : Bond Market Development One of the primary objectives of the Public Debt Management Office (PDMO) is to develop the local currency bond market. Over the past couple of years enormous progress have been made as a result of an overhaul of the issuance programs to include regular sizable (up to 100,000 million baht per issuance) issuance of benchmark bonds (5, 10, 15, 20 and 30 yrs) as well as the introduction of alternative funding tools including the step up Saving Bonds (SB), Inflation Linked Bonds (ILB), Floating Rate Bonds (FRB), Promissory Notes (PNs) and the ultra long Loan Bond (LB) of 50 years. These reforms and initiatives led to the establishment of the benchmark yield curves to be used as a reference rate for the private sector, enhance liquidity in the secondary market as well as provide investors with various types of instruments that suit their investment mandate.
2
Having made significant progress on the debt issuance side, behind the scenes, PDMO has also concentrated on addressing concerns with regards to the current maturity profile which is highly uneven which contains several large bonds (FIDF1 and 3) (figure 1) maturing over the next couple of years. Furthermore, looking ahead, maturity profile of PDMO debt will change significantly as a result of the large benchmark bonds issuance. Therefore, PDMO could potentially face liquidity shortages when conducting refinancing of debt, which has always been implemented through bridge financing of short term bank loans on the day of the maturing date. However, as of now, all of PDMO’s maturing debt has always been less than 50,000 million baht hence PDMO has never encountered liquidity problems. Nevertheless, PDMO will need to introduce new measures in debt restructuring as new issuance programs include bonds with volumes much greater than 55,000 million baht (THB), some as high as around 120,000 million THB.
250000
Figure 1 : Maturing Debt with value greater than 50,000 million THB MT HB
SB129A
200000 150000 100000
LB11NA
LB133A
LB145B SB147A LB155A SB166A
50000
LB183B
0 Nov
Sep
FY2012
Mar FY2013
Source : PDMO as of end March 2011
May
Sep
FY2014
May
Jun
Mar
FY2015 FY 2016 FY201 7
Maturity Dates
Critical role of PDDF is PDMO debt restructuring To address issues of debt restructuring and to provide the foundations for PDMO’s bond market development initiatives, the Public Debt Restructuring and Bond Market Development Fund (PDDF) was established in 2008 under the Public Debt Management Act 2008. Specifically, to invest the proceeds from the following 1) pre-funding of no more than 12 months of date of the maturing debt and 2) to invest proceeds from bond issuance for bond market development (will be triggered when government financial needs is deemed not sufficient to maintain bond market). The PDDF is established as a separate entity to the PDMO,
governed by a committee chaired by the Permanent Secretary of Ministry of Finance. The Director-General of PDMO acts as a Fund Manager of PDDF as stipulated by Public Debt Management Act 2008 to promote smooth coordination between the two organizations. As the source of proceeds is from the issuance of PDMO and the money must be transferred back to the PDMO for debt repayments thus failure in any shape or form of the PDDF may lead to a sovereign default. As a result, the PDDF main objective of the PDDF is capital preservation and may invest low-risk assets as specified in table 1:
Table 1 : Investment Criterior reflects PDDF’s objectives of capital preservation Allocation >= 60 %
<= 40 %
Investment Universe Domestic • Low Risk Fixed Income Instruments Issued and/or guaranteed by Ministry of Finance (MoF) • Reverse Repo (government securities as collateral) External • Issued and/or guaranteed by government’s financial Institutions & International Financial Institutions (IFIs) • Highest ratings and major currency • Other Fixed Income Instruments (Corporate, SOEs) with highest rating
With regards to the investment in foreign currency, the PDDF may only invest in major currencies as specified in the investment guidelines issued by the committee. In addition, the sovereign must also have the highest possible ratings from one of the international rating agencies. Furthermore, to protect the PDDF from foreign exchange (FX) volatilities, in particular, in the current economic environment, all of the foreign investment must be fully hedged. Apart from the capital preservation, another important objective of the PDDF is to minimize the impact of its investment on the market. As the volume of PDDF investment is expected to be relatively large, hence investment strategy must not only concentrate on yield enhance but must be one with a mix of investments aiming to minimize the impact on financial markets.
3
Overview of PDMO and PDDFâ&#x20AC;&#x2122;s operations
In order to understand the important role of the PDDF and its operations, we take a look at figure 2. First step, the PDMO plans and executes the restructuring of the maturing debt (LB, Financial Institution Development Fund (FIDF) saving bond) through the issuance of bonds priors to the date of maturity. The proceeds from pre-funding are immediately transferred into the PDDF and investment is thus activated.
Figure 2 : Illustration of Prefunding Operations
After the fund is received by the PDDF, the PDDF then proceeds with investment executions. The investment could be done by the fund itself or through external mandates (the first couple of years it has been determined that funds will be managed by a couple of external fund managers). The investment must follow the regulations and mandate approved by the committee. At the day prior to the maturing date, the PDDF must transfer all of the funds back to the PDMO for debt repayment. The PDDF may choose to keep the returns for internal expenditures or to assist PDMO in repaying the interest of the bond issued specifically for the prefunding but it is not allowed to be used to repay any other bonds issued by PDMO.
4
Looking Aheadâ&#x20AC;Ś
The PDDF is expected to be activated for the first time in October 2011 when the PDMO prefunds the LB11NA 2 months prior to its maturity date in November 2011. The relevant systems are already in place to facilitate and execute the first phase of investment by the PDDF. Looking ahead, the PDMO expects that the PDDF will be critical in supporting PDMO debt management operations and bond market development initiatives. The Fund will assist in restructuring the maturity profile of the PDMO and thus eliminates the current refinancing risks posed by large maturing FIDF debt. Furthermore, the PDDF will be crucial in ensuring that the large volumes of Benchmark bonds issued for bond market development are invested in low risk assets thus helps minimize the borrowing cost of the government.
มณฑาทิพย ชุมทอง นิติกรปฏิบัติการ กลุมกฎหมาย
¡Òè´·ÐàºÕ¹ ໚¹·Õè»ÃÖ¡ÉÒ ÉÒää·Â “ที่ ป รึ ก ษา” คื อ บุ ค คลธรรมดาหรื อ นิ ติ บุ ค คลที่ มี ค วามรู ทางวิ ช าการ มี ป ระสบการณ แ ละความสามารถในการ ให ค ำปรึ ก ษา แนะนำ เสนอแนะเชิ ง วิ ช าการในสาขาต า งๆ 1 โดยผูที่ประกอบอาชีพหรือประกอบธุรกิจในการเปนที่ปรึกษา อยู แ ล ว หากมี ค วามประสงค ที่ จ ะรั บ ทำงานเป น ที่ ป รึ ก ษาให กั บ ส ว นราชการ จะต อ งจดทะเบี ย นเพื่ อ เป น ที่ ป รึ ก ษาไทยกั บ ศู น ย ข อ มู ล ที่ ป รึ ก ษาไทยก อ น ซึ่งศูนยขอมูลที่ปรึกษาไทยเปนหนวยงานภายใตการกำกับดูแลของสำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) กระทรวงการคลัง จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค เพื่ อ รวบรวมข อ มู ล ของที่ ป รึ ก ษาไทย สำหรั บ การนำไปใช เ พื่ อ สนั บ สนุ น และ สงเสริมทีป่ รึกษาไทยใหมคี วามสามารถในการแขงขันและมีโอกาสรับงานไดมากขึน้ รวมทั้ ง ให บ ริ ก ารข อ มู ล ข า วสารที่ เ ป น ประโยชน เ กี่ ย วกั บ การให บ ริ ก ารและ ความสามารถของที่ปรึกษาไทย โดยมีวัตถุประสงคหลัก ดังนี้2 1 . ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล ข อ ง ที่ ป รึ ก ษ า ไ ท ย ที่ ประกอบกิจการในการเปนที่ปรึกษา อาทิ สถานที่ติดตอ ทุ น จดทะเบี ย น รายการบุ ค ลากร ความสามารถและ ผลงานที่เคยทำมาในอดีต ทั้งนี้ เพื่อใหบริการขาวสาร ข อ มู ล ของที่ ป รึ ก ษาไทยที่ มี ค วามถู ก ต อ ง สะดวก และรวดเร็ ว แก ห น ว ยงานผู ใ ช บ ริ ก ารทั้ ง ในส ว นของ ภาครัฐ บาลและภาคเอกชน 2. ให ห น ว ยงานผู ใ ช บ ริ ก ารสามารถคั ด เลื อ ก ที่ ป รึ ก ษาในสาขาที่ ต รงตามความต อ งการเพื่ อ ให ไ ด ที่ ป รึ ก ษาที่ มี ค วามรู แ ละประสบการณ เ หมาะสมกั บ ลั ก ษณะงานที่ จ ะจ า งได โ ดยง า ยและรวดเร็ ว อี ก ทั้ ง สามารถจั ด ทำ Short List ได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตรงตามเปาหมายและวัตถุประสงคของโครงการ
1 2
3. เป น แหล ง ข อ มู ล ที่ ช ว ยสะท อ นให ภ าครั ฐ และวงการ ที่ปรึกษาไทยทราบถึงความขาดแคลนที่ปรึกษาสาขาตางๆ ของ ประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อประโยชนในการกำหนดนโยบายที่ชัดเจน เพื่ อ เป น การส ง เสริ ม และพั ฒ นาวิ ช าชี พ ในสาขาที่ ข าดแคลน ใหกวางขวางและเพียงพอกับความตองการที่เพิ่มขึ้นในอนาคตได โดยที่ผานมาการจดทะเบียนที่ปรึกษาไทยไดดำเนินการ โดยอางอิงจากคูมือ อยางไรก็ดี เพื่อใหการดำเนินการมีกรอบ กำหนดขั้นตอนและแนวปฏิบัติที่ชัดเจนมากขึ้น ในปงบประมาณ พ.ศ. 2554 สบน. จึงไดดำเนินการจัดทำเปนประกาศกระทรวง การคลั ง เรื่ อ ง การกำหนดหลั ก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารจดทะเบี ย น ที่ปรึกษาไทย ซึ่งคาดวากฎหมายดังกลาวจะมีการประกาศใช บังคับภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2554 ดังนั้น ในบทความนี้ จะไดอธิบายถึงเหตุผล หลักการและสาระสำคัญของกฎหมาย ฉบับนี้
คำศัพท เศรษฐกิจ การเงิน การคลัง ฉบับประชาชน จัดทำโดยสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง http://www.thaiconsult.pdmo.go.th
5
ในการดำเนิ น โครงการของภาครั ฐ บางโครงการ จะต อ งใช ค วามรู ค วามเชี่ ย วชาญที่ ห ลากหลาย เพื่ อ ให การดำเนิ น โครงการเป น ไปอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค ต ามเป า หมายที่ ไ ด ก ำหนดไว จึ ง มี ความจำเปนจะตองมีการวาจางที่ปรึกษาเพื่อใหความเห็น หรือขอเสนอแนะประกอบการดำเนินโครงการตางๆ ดวย เพื่ อ ให ไ ด ที่ ป รึ ก ษาที่ มี ค วามรู ค วามสามารถและมี ความเหมาะสม ทั้ ง นี้ จะต อ งดำเนิ น การตามเงื่ อ นไข ที่กำหนดไวในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 753 และขอ 864 กลาวคือ ในขั้นตอนของ การดำเนินการจางที่ปรึกษา โดยหลักใหจางที่ปรึกษาไทย เทานัน้ โดยผูร บั ผิดชอบโครงการจะตองขอรายชือ่ ทีป่ รึกษา จากศูนยขอ มูลฯ ใหไดจำนวนมากรายทีส่ ดุ สำหรับการนำมา ประกอบการพิจารณาคัดกรองทีป่ รึกษาใหมคี วามเหมาะสม ตอไป (Short List) ดังนั้น หากที่ปรึกษารายใดตองการ จะรับงานเปนทีป่ รึกษาใหกบั สวนราชการจะตองดำเนินการ จดทะเบี ย นเพื่ อ เป น ที่ ป รึ ก ษาไทยกั บ ศู น ย ข อ มู ล ฯ แล ว เทานั้น เมื่ อ ทราบถึ ง เหตุ ผ ลและความจำเป น ที่ จ ะต อ ง จดทะเบียนเพื่อเปนที่ปรึกษาไทยแลว ในลำดับถัดไปจะได อธิ บ ายถึ ง สาระสำคั ญ ของร า งกฎหมายฯ วิ ธี ก ารและ ขั้นตอนในการจดทะเบียนที่ปรึกษาไทยตอไป
3
4
6
2.1 ประเภทของที่ปรึกษาไทย มี 2 ประเภท ดังนี้ (1) ที่ปรึกษาอิสระ คือ บุคคลธรรมดาที่ประกอบ วิชาชีพในการเปนที่ปรึกษา (2) ที่ปรึกษานิติบุคคล คือ นิติบุคคลที่ประกอบ กิจการในการเปนที่ปรึกษา 2.2 ผูที่จะมาจดทะเบียนเพื่อเปนที่ปรึกษาไทยตอง มีคุณสมบัติ ดังนี้ (1) ที่ปรึกษาอิสระตองมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) เปนผูมีสัญชาติไทย 2) สำเร็ จ การศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกมาแลวมากกวาสิบป หาป และ สามป ตามลำดับ จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงาน ก.พ. รั บ รอง และมี ป ระสบการณ ใ นการเป น ที่ ป รึ ก ษาในสาขา ที่เกี่ยวของมากกวากึ่งหนึ่ง 3) ไม เ ป น ข า ราชการ พนั ก งานราชการ พนั ก งาน เจ า หน า ที่ หรื อ ลู ก จ า งในหน ว ยงานของรั ฐ รั ฐ วิ ส า ห กิ จ ห า ง หุ น ส ว น บ ริ ษั ท มู ล นิ ธิ ส ม า ค ม หรือ หน วยงานอื่นใดแล วแต ก รณี (2) ที่ปรึกษานิติบุคคลตองมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) จดทะเบี ย นในประเทศไทย และต อ งมี วัตถุประสงคในการเปนที่ปรึกษา 2) ตองมีทนุ จดทะเบียนตัง้ แตหนึง่ ลานบาทขึน้ ไป 3) ตองมีจำนวนหุนของผูมีสัญชาติไทยถือหุน ไม น อ ยกว า ร อ ยละห า สิ บ เอ็ ด ซึ่ ง มี สิ ท ธิ ใ นการออกเสี ย ง และจำหนายไดแลวทั้งหมด 4) ต อ งมี ก รรมการและกรรมการผู มี อ ำนาจ ลงนามผูกพันเปนผูมีสัญชาติไทยมากกวากึ่งหนึ่ง 5) ต อ งมี บุ ค ลากรที่ ป รึ ก ษาที่ มี สั ญ ชาติ ไ ทย ไม น อ ยกว า สองคน และต อ งเป น ผู มี สั ญ ชาติ ไ ทยมากกว า กึ่งหนึ่งของจำนวนบุคลากรที่ปรึกษาทั้งหมด 2.3 ระดับของที่ปรึกษาไทย (1) ที่ปรึกษาอิสระมี 2 ระดับ ดังนี้ 1) ที่ปรึกษาอิสระระดับ A หมายถึง ก) ตองมีประสบการณในการเปนที่ปรึกษา ไมนอยกวาสามป
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 75 กำหนดวา “การจางที่ปรึกษาที่เปนนิติบุคคล นอกจากการจางที่ปรึกษาที่ดำเนินการดานเงินชวยเหลือ หรือเงินกูจากแหลงที่กำหนด ใหดำเนินการวาจางโดยวิธีอื่น ใหสวนราชการจางที่ปรึกษาไทยเปนที่ปรึกษาหลัก (Lead Firm) ในการดำเนินงาน เวนแตไดรับการยืนยัน เปนหนังสือจากศูนยขอมูลที่ปรึกษาวาไมมีที่ปรึกษาไทยในสาขาบริการหรืองานนั้น...” ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 86 กำหนดวา “เพื่อใหไดรายชื่อของที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติเหมาะสมมากรายที่สุด ใหเจาหนาที่ที่รับผิดชอบ ในการจางที่ปรึกษา ดำเนินการดังตอไปนี้ … (2) ที่ปรึกษาไทย ใหขอรายชื่อที่ปรึกษาจากศูนยขอมูลที่ปรึกษา กระทรวงการคลัง ...”
ข) ตองมีประสบการณในการดำเนินโครงการ ไมนอยกวาสามโครงการที่ไดดำเนินการแลวเสร็จ (2) ที่ปรึกษาอิสระระดับ B หมายถึง ที่ปรึกษา อิสระที่ขาดคุณสมบัติตาม (1) 2) ที่ปรึกษานิติบุคคลมี 2 ระดับ ดังนี้ (1) ที่ปรึกษานิติบุคคลระดับ A หมายถึง ก) ต อ งจดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง เป น นิ ติ บุ ค คล ไมนอยกวาสามป ข) ตองมีประสบการณโครงการไมนอยกวา สามโครงการที่ไดดำเนินการแลวเสร็จ ค) ตองมีบุคลากรที่ปรึกษาที่มีประสบการณ ในการเปนที่ปรึกษาไมนอยกวาสามป และทำงานเต็มเวลา การทำงานปกติของที่ปรึกษานิติบุคคลนั้นไมนอยกวาสองคน (2) ที่ ป รึ ก ษานิ ติ บุ ค คลระดั บ B หมายถึ ง ที่ปรึกษานิติบุคคลที่ขาดคุณสมบัตติ าม (1) 2.4 สาขาที่จะไดรับจดทะเบียน สบน. จะดำเนินการจดทะเบียนใหที่ปรึกษาไทยเปน ที่ ป รึ ก ษาในสาขาใดสาขาหนึ่ ง หรื อ หลายสาขาได เช น อุ ต สาหกรรมก อ สร า ง การศึ ก ษา พลั ง งาน สิ่ ง แวดล อ ม การเงิน สาธารณสุข อุตสาหกรรม การสื่อสารโทรคมนาคม การทองเที่ยว และคมนาคมขนสง ฯลฯ 2.5 เงื่อนไขการไดรับจดทะเบียนในแตละสาขา (1) ที่ปรึกษาอิสระจะไดรับจดทะเบียนเปนที่ปรึกษา ในสาขาใดนั้น ที่ปรึกษาอิสระจะตองมีประสบการณโครงการ ในสาขาเดี ย วกั น ไม น อ ยกว า สามโครงการที่ ไ ด ด ำเนิ น การ แลวเสร็จ (2) ที่ ป รึ ก ษานิ ติ บุ ค คลจะได รั บ จดทะเบี ย นเป น ที่ปรึกษาในสาขาใดนั้น จะพิจารณาจากเงื่อนไขดังตอไปนี้ 1) วั ต ถุ ป ระสงค ข องการจั ด ตั้ ง ที่ ป รึ ก ษา นิติบุคคลตองมีความสอดคลองกับสาขาที่จะไดรับจดทะเบียน 2) ต อ งมี ป ระสบการณ โ ครงการในสาขา เดียวกันไมนอยกวาสามโครงการที่ไดดำเนินการแลวเสร็จ 3) ตองมีบุคลากรที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญ โดยตรงในแตละสาขาไมนอยกวาหนึ่งคน
3.1 ผู ที่ ป ระสงค จ ะจดทะเบี ย นเป น ที่ ป รึ ก ษาไทย ต อ งดำเนิ น การลงทะเบี ย นผ า นทางระบบเครื อ ข า ย สารสนเทศของศูนยขอมูลฯ 3.2 เมื่อไดดำเนินการตามขอ 3.1 แลว ใหจัดสง เอกสารต า งๆ ตามประเภทของการจดทะเบี ย น (ตามที่ กำหนดไวใน www.thaiconsult.pdmo.go.th) ให สบน. ภายในสามวัน นับแตวันที่ไดดำเนินการดังกลาว พรอมทั้ง ลงนามรับรองความถูกตองของเอกสารดวย 3.3 สบน. จะตรวจสอบความถูกตองครบถวนของ เอกสารที่ไดยื่นไวตามขอ 3.2 หากเปนไปตามหลักเกณฑ และเงื่ อ นไขที่ ก ำหนดไว สบน. จะออกหนั ง สื อ รั บ รอง การจดทะเบี ย นให ต ามระดั บ และสาขาที่ ข อจดทะเบี ย น ภายในสามสิบวันนับจากวันที่ไดรับเอกสารครบถวนและ ถูกตอง โดยหนังสือรับรองการจดทะเบียนดังกลาวมีกำหนด เวลาสองป 3.4 การตออายุการจดทะเบียน หากที่ปรึกษาไทย รายใดมีความประสงคจะตออายุการจดทะเบียน ใหดำเนินการ ยืน่ คำขอตอ สบน. ไมนอ ยกวาสามสิบวันกอนวันครบกำหนด เวลาตามหนั ง สื อ รั บ รองตามข อ 3.3 โดยเอกสารที่ ใ ช ในการต อ อายุ ก ารจดทะเบี ย นจะเป น ไปตามที่ ก ำหนดไว ในขอ 3.2
ทั้ ง นี้ หากต อ งการทราบรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ การจดทะเบียนเพื่อเปนที่ปรึก.ษาไทยเพิ่มเติม สามารถ ศึ ก ษาข อ มู ล ได ที่ www.thaiconsult.pdmo.go.th หรื อ ที่ หมายเลขโทรศัพท 0 2265 8050 ตอ 5716 และ 5718
7
ศิรี จงดี เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักนโยบายและแผน
ʶҹТͧ˹ÕéÊÒ¸ÒóР³ Çѹ·Õè 31 ¾ÄÉÀÒ¤Á 2554
สถานะหนีส้ าธารณะ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554 อยูท ี่ 4,279,265.07 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 41.08 ของ GDP1 ซึ่งสามารถจำแนกหนี้สาธารณะตามหนวยงานที่กอหนี้ ไดแก 1. หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง จำนวน 3,016,739.14 ลานบาท 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน จำนวน 1,073,735.90 ลานบาท 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาล ค้ำประกัน) จำนวน 158,207.58 ลานบาท และ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาสถาบันการเงิน จำนวน 30,582.45 ลานบาท สรุปไดดงั ตารางที่ 1
ตารางที่ 1 : สถานะหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554 หนี้สาธารณะ หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาสถาบันการเงิน ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
วงเงิน (ลานบาท) 4,279,265.07 3,016,739.14 1,073,735.90 158,207.58 30,582.45
สัดสวน (%) 100.00% 70.50% 25.09% 3.70% 0.71%
แผนภาพที่ 1 : การแสดงสัดสวนหนี้สาธารณะตามกลุมหนวยงานที่กอหนี้ หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ 1% หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 4%
หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 70%
หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน 25% ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
˹շé ÃÕè °Ñ ºÒÅ¡Ù⌠´Âμç
หนีท้ รี่ ฐั บาลกูโ ดยตรง เปนการกอหนีเ้ พือ่ หลายๆ วัตถุประสงค รวมถึงการกอหนีเ้ พือ่ การลงทุน (ตารางที่ 2 รายการ 1 และบางสวนของ 2.1) เพือ่ ใชตามแผนการใชจา ยของรัฐบาลประจำป (ตารางที่ 2 รายการ 2.1) เพือ่ การชดเชยความเสียหายแก กองทุนเพือ่ การฟน ฟูฯ (ตารางที่ 2 รายการ 2.2) และเพือ่ การกระตุน เศรษฐกิจ (ตารางที่ 2 รายการ 2.3)
ตารางที่ 2 : สถานะหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554 หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 1. หนี้ตางประเทศ 2. หนี้ในประเทศ 2.1 เงินกูชดเชยการขาดดุลงบประมาณและการบริหารหนี้ 2.2 เงินกูชดเชยความเสียหายใหแกกองทุนเพื่อการฟนฟูฯ 2.3 เงินกูเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ (ไทยเขมแข็งฯ) ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
สัดสวน (%) 100.00% 1.47% 98.53% -
สบน. ไดปรับวิธีการคำนวณ GDP ในแตละเดือน เพื่อใหสัดสวน Debt/GDP สะทอนคาที่ใกลเคียงความเปนจริงที่สุด โดยไดคำนวณ GDP ของเดือนพฤษภาคม 2554 ดังนี้ [(GDP ป 53/12)*7]+[(GDP ป 54/12)*5] เทากับ 10,416.39 พันลานบาท ทั้งนี้ ประมาณการ GDP ป 2553 และป 2554 เทากับ 10,104.82 พันลานบาท และ 10,852.58 พันลานบาท ตามลำดับ (สศช. ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2554)
1
8
วงเงิน (ลานบาท) 3,016,739.14 44,388.19 2,972,350.95 1,441,309.99 1,132,100.87 398,940.09
แผนภาพที่ 2 : การแสดงสัดสวนหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง หนี้ตางประเทศ 1% เงินกูเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 13%
เงินกูชดเชยการขาดดุล งบประมาณ 48%
เงินกูชดเชยความเสียหายใหแกกองทุนเพื่อการฟนฟูฯ 38% ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
¡ÒúÃÔËÒÃ˹Õéμ‹Ò§»ÃÐà·È¢Í§ÃÑ°ºÒÅ
รัฐบาลมีนโยบายใหลดความเสี่ยงจากหนี้สกุลเงินตราตางประเทศ โดยการปดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลีย่ น ซึง่ อาจมีผลทำใหตน ทุนการกอหนีเ้ ปลีย่ นแปลงอยางไมคาดหมายได ทัง้ นี้ การดำเนินการบริหารความเสีย่ งดังกลาว รวมถึงการชำระหนีก้ อ นครบกำหนดชำระ (Prepayment) เมือ่ ภาวะตลาดเอือ้ อำนวย และการแปลงหนีต้ า งประเทศใหเปนสกุลเงินบาท (Cross Currency Swap) ผลของการดำเนินการไดทำใหปจจุบันเงินกูรัฐบาลที่เปนสกุลเงินตางประเทศคงค างมีสัดสวน ทีน่ อ ยเพียงจำนวน 44,388.19 ลานบาท และภายใตวงเงินดังกลาวยังมีสดั สวนทีไ่ ดปด ความเสีย่ งอัตราแลกเปลีย่ นไปแลวประมาณ รอยละ 41 ทำใหสัดสวนหนี้ตางประเทศที่มีภาระหนี้ที่ตองชำระเปนสกุลเงินตางประเทศเหลือประมาณ 26,189.03 ลานบาท
แผนภาพที่ 3 : การคืนเงินตนหนี้สกุลเงินตางประเทศของรัฐบาลกอนครบกำหนดชำระ ระหวางป 2543-2554 ล 70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000 0
านบาท
2543 2544 25 45 2546 2547 2548 2549 25 50 2551 2552 2553 2554 ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
แผนภาพที่ 4 : การแสดงสัดสวนหนี้ตางประเทศคงคางของรัฐบาลและไดดำเนินการปดความเสี่ยง (Hedged) ของอัตราแลกเปลี่ยนแลว Unhedged Government Foreign Debt 59% Hedged Government Foreign Debt 41% ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
9
ขาวประชาสัมพันธ จาก สบน.
สุเนตรา เล็กอุทัย เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน
¢‹ÒÇ¡Ô¨¡ÃÃÁ 1. นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผูอำนวยการสำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ ไดรับคะแนนตัวชี้วัดระดับความพึงพอใจ ของผู ก ำหนดนโยบายของกระทรวงการคลั ง เป น ลำดั บ ที่ 1 จากการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ร าชการ ประจำป ง บประมาณ พ.ศ. 2554 โดยรั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงการคลั ง และ ปลั ด กระทรวงการคลั ง เป น ผู ป ระเมิ น ซึ่ ง คะแนนดั ง กล า ว เป น การแสดงถึ ง ระดั บ ความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ของผู ก ำหนด นโยบายในด า นต า งๆ คื อ ด า นความเข า ใจต อ นโยบาย ด า นการนำนโยบายไปปฏิ บัติ และด า นการติ ด ตามรวมทั้ ง การนำเสนอผลงาน
3. เมือ่ วันที่ 3 มิถนุ ายน 2554 นายจั ก รกฤศฏิ์ พาราพั น ธกุ ล ผู อ ำนวยการสำนั ก งานบริ ห าร หนี้ ส าธารณะ ร ว มพิ ธี ล งนาม บันทึกความตกลงในการจำหนาย พั น ธบั ต รชดเชยเงิ น เฟ อ (Inflation-Linked Bond : ILB) ระหว า งธนาคารแห ง ประเทศไทย กรรมการผู จั ด การสมาคม ตลาดตราสารหนี้ไทย และกรรมการบริหารระดับสูงจากธนาคาร ผูจัดจำหนาย ณ หองบอลรูม โรงแรมแกรนด ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพฯ ซึง่ นับเปนการออกพันธบัตร ILB ครัง้ แรกของประเทศไทย และทำใหประเทศไทยเปนประเทศแรกในตลาดเกิดใหมทสี่ ามารถออก ILB ได สำเร็ จ 5. เมื่ อ วั น ที่ 17-18 มิ ถุ น ายน 2554 สำนั ก งานบริ ห าร หนี้สาธารณะไดจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ เพื่อพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรในการบริหารโครงการ เงินกู และการบริหารความเสีย่ ง โดยมีผเู ชีย่ วชาญจากองคการความรวมมือ ระหวางประเทศของญี่ปุน (JICA) รวมเปนวิทยากรบรรยายเกี่ยวกับ ODA Loans การดำเนิ น โครงการ รวมทั้ ง ขั้ น ตอนการจั ด ซื้ อ จั ด จ า ง ภายใตเงินกูจากรัฐบาลญี่ปุน
10
2. สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ ร ว มเสนอผลงาน และได รั บ รางวั ล ชมเชย ป ร ะ เ ภ ท ส ว น ร า ช ก า ร ที่ เ ป น แ บ บ อ ย า ง ความสำเร็ จ ในการบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล ป ร ะ จ ำ ป 2 5 5 3 ด า น ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ผลการปฏิบัติงาน (PM) โดยคณะกรรมการ ตัดสินประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจากสำนักงาน ขาราชการพลเรือน และสถาบันเพิ่มผลผลิต แ ห ง ช า ติ ทั้ ง นี้ จ ะ มี ก า ร ม อ บ ร า ง วั ล ในเดื อ นสิ ง หาคม 2554 4. ส ำ นั ก ง า น บ ริ ห า ร ห นี้ ส า ธ า ร ณ ะ และกลุ ม ธนาคารผู แ ทน จำหนายพันธบัตรชดเชย เงิ น เฟ อ ได ร ว มประชุ ม เผยแพร ข อ มู ล ในเชิ ง ลึ ก และสร า งความมั่ น ใจ ใหแกนกั ลงทุน ในระหวาง วันที่ 20-24 มิถนุ ายน 2554 ณ สหราชอาณาจั ก ร สาธารณรั ฐ สิ ง คโปร แ ละ เขตบริหารพิเศษฮองกง ซึ่ ง เ ป น ศู น ย ก ล า ง ทางการเงินของภูมิภาคและมีฐานนักลงทุนที่สนใจลงทุน ใน ILB
6. สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะจั ด การสั ม มนาวิ ช าการภายใต โ ครงการส ง เสริ ม ภาพลักษณทดี่ ขี องหนีส้ าธารณะ “PDMO Roadshow : Future Partnership” โดยเปดเวทีสญ ั จร ในเดือนกรกฎาคม เดินทางไป 4 มหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร ไดแก จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อเปนเวทีแลกเปลี่ยนความรูกับนิสิตนักศึกษาในสายเศรษฐศาสตร บัญชี การจัดการและ บริ ห ารธุ ร กิ จ และชวนนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาเข า ร ว มแข ง ขั น ตอบคำถามและร ว มกิ จ กรรมต า งๆ ใน PDMO Camp ในเดือนสิงหาคม
11
1. สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะร ว มกั บ องค ก ารความร ว มมื อ ระหว า งประเทศของญี่ ปุ น จัดโครงการฝกอบรมการบริหารโครงการ การจัดซื้อ จั ด จ า ง และการติ ด ตามประเมิ น ผลภายใต เ งิ น กู ODA โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหความรูความเขาใจ แก บุ ค ลากรของสำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ ส ว นราชการและรั ฐ วิ ส าหกิ จ เกี่ ย วกั บ หลั ก เกณฑ และระเบี ย บการใช เ งิ น กู ODA จากรั ฐ บาลญี่ ปุ น ผานองคการความรวมมือระหวางประเทศของญี่ปุน (JICA) ณ โรงแรม Siam@Siam กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 10-11 สิงหาคม 2554
2. สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะจัดจำหนายพันธบัตรออมทรัพยของกระทรวงการคลัง ในงานมหกรรมการเงินโคราช ครั้งที่ 5 MONEY EXPO KORAT 2011 ระหวางวันที่ 19-21 สิงหาคม 2554 ชวงเวลา 10.00-20.00 น. ณ หางสรรพสินคา The Mall จังหวัดนครราชสีมา โดยจำหนายพันธบัตรรุนอายุ 3 ป อัตราผลตอบแทนรอยละ 4 ตอป นอกจากนั้น ภายในงาน มีการเผยแพรความรูความเขาใจเกี่ยวกับพันธบัตรออมทรัพย และตราสารหนี้อื่นๆ ของภาครัฐ รวมทั้งประชาสัมพันธบทบาทหนาที่ของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
12
มุมอรอย
Uchi Yakiniku Ìҹ» œ§Â‹Ò§ÊäμÅ ÞÕè»Ø†¹ ÍËÍÂÊÙμÃμŒ¹μÓÃѺ ซอยอารียเปนอีกสถานที่ที่ไดชื่อวามีรานอาหาร ร า นเครื่ อ งดื่ ม มากมายที่ เ ชิ ญ ชวนให บ รรดานั ก ชิ ม ทั้งหลายตองแวะเวียนเขาไปลิ้มลอง และแนนอนเมื่อเรา มาถึงซอยอารียทั้งทีก็ตองมองหารานที่นาสนใจใหเราได เข า ไปฝากท อ ง และเราก็ ม าสะดุ ด ตากั บ ร า นสี ข าว สไตลญปี่ นุ นารักๆ ทีม่ ชี อื่ วา “Uchi Yakiniku” รานอาหาร บุ ฟ เฟต ป ง ย า งบนเตาถ า นแบบไร ค วั น สไตล ญี่ ปุ น เมือ่ กาวยางเขาไปเราจะสัมผัสไดถงึ การตกแตงสไตลญปี่ นุ แตอบอุนเหมือนทานอาหารอยูในบานของเราเอง และยิง่ ไดพดู คุยกับคุณขวัญ-ขวัญจิรา รัตนอุบลชัย เจาของรานก็ทำใหเราไดรูวารานนี้มาจากความชอบของ คุณขวัญและพี่ชายที่มีโอกาสเดินทางไปญี่ปุนและไดทาน เนื้อยางสไตลญี่ปุน ทำใหติดใจในรสชาติ จึงตัดสินใจ ซื้อสูตรและนำมาปรับรสชาติใหเขากับคนไทยมากยิ่งขึ้น โดยคำว า Uchi (ยู ชิ ) หมายถึ ง บ า น ซึ่ ง ต อ งการให คนที่ ม าทานรู สึ ก สบายๆ เป น กั น เองเหมื อ นได ท าน อาหารรวมกันอยูที่บานนั่นเอง สำหรั บ การตกแต ง ร า น น อ ก จ า ก ข า ว ข อ ง ตกแตงตางๆ จะออกสไตล ญี่ ปุ น แล ว ส ว นที่ โ ดดเด น เห็นจะเปนภาพวาดการตูน ที่ ผ นั ง ที่ ใ ช รู ป แมวกวั ก และ โคมไฟแบบญี่ปุน ทำใหเรา รู สึ ก เหมื อ นนั่ ง ในร า นญี่ ปุ น ตนตำรับเลยทีเดียว
มาถึงรานยูชทิ งั้ ทีกต็ อ งมาดูกนั วาทีน่ มี่ เี มนูพเิ ศษอะไรกันบาง เมนู ข องร า นได คั ด สรรเนื้ อ ชั้ น เลิ ศ ทั้ ง เนื้ อ นำเข า และเนื้ อ ไทย คุณภาพดี อาทิ เนื้อลายเกรดเอ ปลาแซลมอนซาซึมิ เนื้อติดมัน สันคอหมูพิเศษยูริ ปลาดอรี่ราดซอส กุงแมน้ำ ปลาหมึก สลัดญี่ปุน ผักดอง ยูชิ ซุปมิโซะ และมีเมนูใหเลือกสรรมากกวา 30 รายการ ให ป ง ย า งพร อ มกั บ น้ ำ จิ้ ม สู ต รเด็ ด จากญี่ ปุ น รั บ รองว า ถ า ใครได ลิ้มลองแลวหยุดไมอยูแนนอน
เกี่ยวกับราน Uchi
ทีต่ งั้ ซอยอารีย (ซอยพหลโยธิน 7) BTS สถานีรถไฟฟาอารีย จำนวนที่นั่ง 150 ที่นั่ง สำรองที่นั่ง โทรศัพท 0 2619 5330 วันและเวลาเปดทำการ วันจันทร-วันศุกร เวลา 11.00-14.00 น. และ 16.00-23.00 น. วันเสาร-วันอาทิตย เวลา 11.00-23.00 น.
พิเศษ สวนลดสำหรับผูอานวารสารหนี้สาธารณะ เพียงนำคูปองนี้มาที่ราน รับสวนลด 10% หมดเขต 31 ตุลาคม 2554 13
สารพันบันเทิง
“พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554” ป 2554 ถื อ เป น ป ม หามงคลของปวงชนชาวไทย เนื่ อ งจากพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงเจริญพระชนมพรรษา 7 รอบ 84 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม 2554 รัฐบาลจึงเชิญชวนใหหนวยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไปพรอมกันประดับธงชาติไทย ธงตราสัญลักษณ และประทับ ตราสัญลักษณ ตั้งแตบัดนี้ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เพื่อเปนการถวายความจงรักภักดีและสำนึก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของในหลวง ผู ท รงพระปรี ช าชาญยิ่ ง และทรงพระวิ ริ ย อุ ต สาหะ บำเพ็ ญ พระราชกรณียกิจเปนคุณูปการแกประเทศและประชาชน อี ก หนึ่ ง กิ จ กรรมที่ ร ว มเฉลิ ม พระเกี ย รติ ใ นโอกาส สำคัญนี้ดวยคือ การจัดทำซีดีบรรเลงบทเพลงพระราชนิพนธ ในรูปแบบนิวออรลีนสแจ็ซ โดยวงดนตรี The Preservation Hall Jazz Band จากประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ร ว มกั บ ดร.ภาธร ศรีกรานนท ชื่อวา Royal New Orleans Jazz Celebration ซึ่ ง นั บ เป น ซี ดี ที่ ท รงคุ ณ ค า ยิ่ ง เนื่ อ งจากมี ความพิเศษคือไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รวมทรงดนตรีระนาดฝรั่ง และพระราชทานภาพฝพระหัตถ กระตายเปาทรอมโบน มาไวบนหนาปกซีดี โดยซีดีชุดนี้บรรเลงเพลงพระราชนิพนธทั้งหมด 14 เพลง และเพลงสุดทายเปนเพลงที่ ดร.ภาธรและวง The Preservation Hall Jazz Band รวมกันแตงถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว คือเพลง Royal Celebration 2011 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงนำการบรรเลง ดนตรีและมีพระสุรเสียงในตอนทายถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัววา ขอจงทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน และที่สำคัญ บทเพลงพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดแสดงใหเห็นถึงอัจฉริยะภาพของพระองคทาน ทรงประพันธ ดวยความตั้งใจ ดวยจิตวิญญาณที่ฉายออกมาดวยความล้ำลึก ดวยความปลื้มปติแหงคีตมหาราชนิพนธอยางแทจริง
คนโขน
“คนโขน” อี ก หนึ่ ง ภาพยนตร น้ ำ ดี ที่ ค นไทยต อ งดู เป น ผลงานการกำกั บ ฯ ของ “ศรั ณ ยู วงศ ก ระจ า ง” ซึ่ ง ตั้ ง ใจจะนำเสนอคุ ณ ค า แห ง ความเป น ไทยสะท อ นผ า น ศิลปวัฒนธรรมการแสดงโขนทีเ่ หมือนจะกำลังเลือนหายไปจากสังคมไทย โดยบอกเลาเรือ่ งราว ความรัก ความผูกพัน มิตรภาพ ตัณหา และแรงอาฆาตแคนของหลากหลายตัวละครที่มี วิถีศิลปะนาฏกรรมการรายรำโขนเปนฉากหลังของชะตากรรมชีวิต ผานการประชันฝมือ สุดเขมขนของนักแสดงชั้นครูอยาง “สรพงษ ชาตรี” และ “นิรุตติ์ ศิริจรรยา” พรอมกับ นักแสดงหนาใหมที่มีฝไมลายมือการแสดงและการรายรำโขนที่นาจับตามองไมวาจะเปน “อภิญญา รุงพิทักษมานะ” พระเอกของเรื่องผูใฝฝนจะขึ้นสูจุดสุดยอดของโขน “ขจรพงศ พรพิ สุ ท ธิ์ ” คู อ ริ ข องพระเอก “กองทุ น พงษ พั ฒ นะ” คู ซี้ ข องพระเอก และ “นั น ทรั ต น เชาวราษฎร” สาวนอยผูอยากจะเปนนางเอกลิเก นอกจากนี้ ยั ง ยื น ยั น ความถู ก ต อ งสมจริ ง ในทุ ก รายละเอี ย ดของบทภาพยนตร และควบคุมดูแลฉากการแสดงโขน โดย “ครูมืด ประสาท ทองอราม” ศิลปนดานโขนละคร และดนตรีไทย รวมทั้งผูเชี่ยวชาญดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทยจากกรมศิลปากร ศิษยเอกของอาจารยเสรี หวังในธรรม ศิลปนแหงชาติสาขาศิลปะการแสดง เมื่อ พ.ศ. 2531
14
มุมสุขภาพ มีหลายคนเขาใจวาการนั่งทำงานในออฟฟศแสนสบาย ไดนั่งตากแอรเย็นฉ่ำ ไมตองทนเมื่อย ทนรอนจากการตากแดด แตหลายคนก็เริม่ รูแ ลววาแมการนัง่ ทำงานในออฟฟศดูเหมือนจะสบาย มันไดแฝงไวซึ่งโรครายที่ใครๆ หลายคนกำลังเปนอยู คุ ณ เคยสั ง เกตอาการที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ตั ว คุ ณ หรื อ ไม วานัง่ ทำงานไปก็รสู กึ ปวดศีรษะบริเวณขมับ บางทีกป็ วดตนคอราว ลงไปทีห่ ลัง ชาตามนิว้ มือ นิว้ ล็อก สายตาพรามัว และอาการเหลานี้ ก็เหมือนจะกวนใจคุณอยูร ำ่ ไป เมือ่ คุณกินยาบรรเทาอาการไปแลว อาการก็ดีขึ้น แตพอสักพักอาการที่วานี้ก็กลับมาอีก แมอาการ ที่เปนจะไมรุนแรงแตก็สรางความรำคาญและสรางความกังวลใจ
ใหไมนอย หากคุณมีอาการที่วานี้คุณกำลังเผชิญกับอาการ “ออฟฟ ศ ซิ น โดรม” (Office Syndrome) หรื อ โรค จากการทำงานนั่นเอง ซึ่งอาการปวดจากโรคออฟฟศจะพบ ในวัยทำงานถึง 60-70% สวนใหญพบในกลุมคนชวงอายุ ระหวาง 16-35 ป ที่ตองทำงานแขงกับเวลา สวนกลุมคน ทำงานอายุ 55 ป ขึ้ น ไป มั ก มี อ าการปวดศี ร ษะเนื่ อ งจาก เปนการทำงานที่ตองรับผิดชอบการตัดสินใจเรื่องสำคัญ มาดู กั น ว า อาการที่ เ ข า ข า ยโรคของคนออฟฟ ศ นั้ น มีอะไรกันบาง
ÍÍ¿¿ È «Ô¹â´ÃÁ âäÂÍ´ÎÔμ¤¹ÇÑ·ӧҹ ไมเกรน ปวดศีรษะเรือ้ รัง
สั ง เกตได จ ากเวลาที่ คุ ณ ทำงานเครี ย ดๆ จะรูสึกปวดศีรษะบริเวณขมับดานหนา หลังตนคอ นี่คือสัญญาณเตือนโรคยอดฮิตของคนทำงาน นั่นคือ โรคไมเกรน นอกจากความเครี ย ดแล ว การพั ก ผ อ น ไม เ พี ย งพอ แสงแดด ความร อ น และการขาดฮอร โ มนบางชนิ ด ก็เปนปจจัยกอใหเกิดโรคนี้ไดเชนกัน
ปวดหลังเรือ้ รัง
คนที่ใชชีวิตทำงานอยูหนาจอคอมพิวเตอรวันละ 8 ชั่วโมง หรือ ใสรองเทาสนสูงบอยๆ อาจเปนสาเหตุสำคัญทีท่ ำใหคณ ุ เกิดอาการปวดคอ บา ไหล หลัง แขน ขา และสะโพก อันเนือ่ งมาจากการนัง่ ทำงานผิดทา และการเกร็งของกลามเนือ้ มากเกินไปเมือ่ ยืนหรือเดินนานๆ
มือชา เอ็นอักเสบ นิว้ ล็อก
นอกจากการใชงานคอมพิวเตอรในทาเดิมเปนเวลานานแลว การใชอปุ กรณสมัยใหมอยางสมารตโฟน โทรศัพทมอื ถือ ไอแพด ไอโฟน ฯลฯ การทำอะไรในท า เดิ ม นานๆ จะทำให ก ล า มเนื้ อ กดทั บ เส น ประสาท และเสนเอ็นจนอักเสบ เกิดพังผืดยึดจับบริเวณนัน้ เปนจำนวนมาก ทำให เกิดอาการปวดของปลายประสาท นิว้ ล็อก หรือขอมือล็อก สวนในคนที่ ตองใชนิ้วในการพิมพขอความจากอุปกรณขนาดเล็กซึ่งตองเกร็งนิ้ว เวลากดนั้น จะทำใหเกิดอาการเสนเอ็นอักเสบ ปวดตามขอนิ้วได หรือ ทีเ่ รียกกันอีกอยางวาโรค BlackBerry Thumb แหลงขอมูลเพิ่มเติม 1. โรงพยาบาลกรุงเทพ 2. นิตยสาร sciMag www.scimag.info
ตาพรามัว ตอหิน
1 ใน 10 ของคนอายุ 40 ปขนึ้ ไป มีความเสีย่ งสูง ตอการเปนโรคตอหิน และหลายคนก็กำลังเปนโรคนี้ โดยไมรตู วั หากไมไดรบั การรักษาอยางถูกตองตาอาจ บอดได สาเหตุของตาพรามัวและตอหินมาจากการใช สายตานานๆ การอักเสบหรือติดเชือ้ ของกระจกตาจาก การใส ค อนแทกต เ ลนส การมี ค วามดั น ในลู ก ตาสู ง ดั ง นั้ น ค ว ร ต ร ว จ สุ ข ภ า พ ต า เ ป น ป ร ะ จ ำ ทุ ก ป เพื่อปองกันและลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคตอหิน และภัยรายตางๆ ในดวงตา ดังนัน้ คนทำงานออฟฟศหากไมอยากทรมาน กั บ อาการต า งๆ ที่ ม ากวนใจ ควรหาเวลาพั ก ผ อ น ใหเพียงพอ รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู ไมเครียด หมัน่ ออกกำลังกาย และทำกิจกรรมตางๆ ดวยทวงทา ที่ถูกตอง ทั้งการเดิน ยืน นั่ง หลีกเลี่ยงการอยูใน ทาเดิมซ้ำๆ เปนเวลานาน การปฏิบัติตามแนวทาง เหลานีจ้ ะชวยใหไกลจากโรคออฟฟศได
15
ธรรมะกับการงาน
á¹Ç·Ò§ ÊÌҧÁ¹ØÉÂÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¨Ò¡·‹Ò¹ Ç.ǪÔÃàÁ¸Õ ...การทำงานนั้น ไมวาจะทำงานอะไรก็ตาม ควรคำนึงถึง คุณภาพชีวิตดวยเสมอไป เพราะหากคุณทำงานไป แตไมได คุ ณ ภาพชี วิ ต ป ญ หาทางจิ ต ป ญ หาสุ ข ภาพ รวมทั้ ง ป ญ หาสั ง คมคื อ การ “ตอ” กับใครไมติดก็จะตามมา และหากเราทิ้งอาการอยางนี้ไวนานๆ วันหนึ่งเราก็จะเปนเพียงคนที่ประสบความสำเร็จในการทำงาน แตทวากลับเปน มนุ ษ ย ที่ ล ม เ หลว ทั้ ง นี้ แ นวทางสร า งมนุ ษ ยสั ม พั น ธ ต ามสู ต รของ พระพุ ท ธเจ า นั้ น มี 4 ประการ คื อ เอื้ อ อารี หมายถึ ง ฝ ก การเป น ผู ใ ห เพราะผู ใ ห ย อ มได รั บ การให ต อบ ก า ร ใ ห คื อ ก า ร เ ชื่ อ ม ไ ม ต รี ที่ มี ผ ล ต อ สัมพันธภาพดีเยี่ยม ผูรูกลาววา “ผูกสนิท ชิ ด เชื้ อ นั้ น เหลื อ ยาก เหมื อ นเหล็ ก ฟาก ผู ก ไว ก็ ไ ม มั่ น ถึ ง ผู ก ด ว ยมนต เ สกลง เลขยันต ก็ไมมั่นเหมือนผูกไวดวยไมตรี” คุ ณ อ า จ ห ยิ บ ยื่ น อ ะ ไ ร ใ ห ใ ค ร สั ก คนหนึ่ ง โดยไม เ คยหวั ง ผลด ว ยซ้ ำ แตบางทีหนึ่งครั้งที่คุณใหออกไป อาจจารึก อยู ใ นใจของผู รั บ ตราบนานเทานาน ท า นพุ ท ธทาสภิ ก ขุ เคยกลาววา “หากเรามี ขนมอยูในมือชิ้นหนึ่ง เ ร า กิ น ค น เ ดี ย ว ก็ อิ่ ม แ ค มื้ อ เ ดี ย ว แต ห ากแบ ง ให เ พื่ อ น ข น ม ชิ้ น นั้ น จ ะ อิ่ ม อ ยู ใ น ใ จ เ พื่ อ น ไ ป ตลอดกาล”
16
วจีไพเราะ หมายถึง การเปนคนพูดจา นารับฟง ชางพูดชางจา มีวาทศิลปในการพูด รูจักวาเมื่อไหรจะพูด เมื่อไหรจะนิ่ง เมื่อไหรควรพูดเลน เมื่อไหรควรพูดจริง การพูดเปนเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดชนิดหนึ่ง ในการสร า งความสำเร็ จ คุ ณ ลองสั ง เกตดู สิ คนสำคั ญ ๆ ของโลกที่ ป ระสบ ความสำเร็ จ โดยมากล ว นแล ว แต เ ป น นั ก พู ด เก ง ๆ กั น ทั้ ง นั้ น ไม ว า จะเป น ลินคอลน จอหน เอฟ เคเนดี มารติน ลูเธอร คิง จูเนียร หรือแมแตบารัก โอบามา พลังของการพูดนั้นมีมหาศาลสามารถเปลี่ยนทางน้ำ ยายขุนเขา สะกด ทั พ นั บ แสนก็ ยั ง ได หากคุ ณ ไม ค อ ยพู ด ก็ ล องบอกตั ว เองใหม สิ ว า ธรรมชาติ สรางปากมาไมเฉพาะแตใชรับประทานอาหารเทานั้น แตยังสรางมาใหเรารูจัก การพูดจาอยางมีวาทศิลปอีกดวย สงเคราะหมวลชน หมายถึง การเปนคนมีอัธยาศัยไมตรี อั น ดี เข า กั บ คนส ว นใหญ ไ ด เห็ น ใครทำอะไรแล ว ไม นิ่ ง เฉย มี จิ ต สำนึ ก สาธารณะ ชอบช ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล เพื่ อ นร ว มงาน เพื่อนมนุษย กลาวอยางสั้นที่สุดก็คือ “การไมเห็นแกตัว” นั่นเอง วางตนเสมอสมาน หมายถึง การปรับตัวใหสามารถ อยูรวมกับเพื่อนรวมงานไดอยางปกติในลักษณะ “มีสุขรวมเสพ มีทุกขรวมตาน” หากเราลงเรือพาย แตเราไมพายเรือเหมือนคนอื่น ก็คงไมแคลวตองกลายเปนคนแปลกแยก ถาคุณรูวา คุณไมชอบ พายเรือก็ไมควรจะไปนั่งอยูในเรือพายซึ่งเขาตองการความรวมมือ รวมใจ คุณควรออกไปหาที่นั่งที่เหมาะกับคุณจะดีกวา…
แหลงอางอิงขอมูล ฝายสงเสริมการมีงานทำ สำนักงานจัดหางานจังหวัดเชียงใหม www.cmemployment.org
คำคม
“When life is giving you a hard time, try to endure and live through it. You must never run away from a problem. Convince yourself that you will survive and get to the other side.” - - Margaret Ramsey - เมื่อคุณเห็นการมีชีวิตเปนสิ่งที่หนักหนาสาหัส ลองพยายามอดกลั้นและตอสูกับมัน จงอยาวิ่งหนีตอปญหาใดๆ ที่คุณเผชิญอยู และเชื่อใจในตัวเองวา สองมือของคุณสามารถทำใหคุณฝาฟนชวงวิกฤตและผานมันไปได
ล ั ว ง า ร ง ิ ช ม า dmo.go.th ตอบคำถ dress : pr@p
เทพฯ 10400 ุ ง ร ก ท ไ า ญ พ เขต นพระรามที่ 6 น ถ ั ง ล ค ร า ก d ง A รว il ามรวมสนุก) a ท ถ ะ ำ ร -m ค ก E บ ่ ี ะ อ ท า ต ณ า ร ม า ว บ ง ธ ี้สา ซอ กรุณาสงคำตอ งานบริหารหน ตอ กลบั ใหช ดั เจน (วงเล็บมุม ก ั น ำ ส ู ย ะ อ ่ ี ท ย ี ดิ ณ ารหนี้สาธารณ ห ิ ร บ หรือทางไปรษ น 2554 พรอ มระบุ ชอื่ -ทอี่ ยตู น า ง ก ั น กสำ ยาย ดรับรางวัลจา ไ ะ จ ูแลของใคร ภายในเดอื นกนั น ้ ั ด น บ ั า ก ำ เท ก ก ร ร า แ ก น า ายใต 0ท ผูที่ตอบถูก 1 ึกษาไทย อยูภ ร ป ่ ี ท ล ู ม อ ข ย 1. ศูน ไทย บียนที่ปรึกษา ไดอยางไรบาง ะเ ำ ท ท ด ล จ า ง บ อ ฐ ั ร ต ง ไม ศขอ 2. ทำ หนี้ตางประเท ง ย ่ ี เส ม า ว ค ร O? 3. การบริหา tives of PDM c er ? je b o ry a m pri Fund Manag e a th s a is t ts a c h a o 4. W nd for ? Wh ta s F D D P s e รองเรียน/รองทุกข 5. What do
แจงเบาะแสการทุจริต ประพฤติมิชอบ ของบุคลากรสำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ ผานทาง
6. หรือมาดวยตนเองที่ สบน. อาคารสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ชัน้ 4 ทีอ่ ยู ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. 10400
5. กลองแสดง ความคิดเห็น ณ ศูนยขอ มูลขาวสาร สบน.
1. ทางโทรศัพท หมายเลข 02-2658050 ตอ 5128, 5105 2. ทางโทรสาร หมายเลข 02-2739147
4. เว็บไซต www.pdmo.go.th (หัวขอ “ศูนยรบั เรือ่ งรองเรียน”)
3. ทางไปรษณีย ถึงคณะกรรมการบริหาร ศูนยรบั เรือ่ งรองเรียน สบน. กระทรวงการคลัง ทีอ่ ยู ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. 10400
17