มคอ 3 ภูมิศาสตร์ไทยวิเคราะห์

Page 1

มคอ.3

รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554) รหัสวิชา GOHI 4101 ชื่อวิชา ภูมศิ าสตรประเทศไทยเชิงวิเคราะห ชื่อวิชา Analytical Geography of Thailand

ภาควิชาสังคมศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

ภาควิชาสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

สารบัญ หนา หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป

2

หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค

3

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ

4

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา

5

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

8

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

11

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา

12

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

ภาควิชาสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา จันทรเกษม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ภาควิชาสังคมศาสตร

หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชารหัสวิชา GOHI4101ภูมิศาสตรประเทศไทยเชิงวิเคราะห 2. จํานวนหนวยกิต (6-0-3)3 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว วิชาเอก 4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา อาจารยสุกานดา สารนอย 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปที่เรียน 1/ 2554 ชั้นปที่ 4 ตามแผนการศึกษาของหลักสูตร 6. รายวิชาทีต่ อ งเรียนมากอน (pre-requisite) ไมมี 7. รายวิชาทีต่ อ งเรียนพรอมกัน (co-requisites) ไมมี 8. สถานที่เรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม รัชดา 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด วันที่ 18 เมษายน 2554

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

ภาควิชาสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค 1. จุดมุงหมายของรายวิชา เพื่อใหนักศึกษามีความรูทางวิชาการ เรื่องแนวคิดและการวิเคราะหของมูลเชิงภูมิศาสตรประเทศไทยใน การศึกษา วิเคราะหขอมูลลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ ของประเทศไทยเพื่อการวางแผนและพัฒนาการ ประเทศ 2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนใหนักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะการเรียนรูดวยตนเองและ สงเสริมใหดึงศักยภาพของตนออกมาไดและ เพื่อเปดโอกาสใหนักศึกษาไดแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณและ มุมมองจากผูอื่นมากขึ้น

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

ภาควิชาสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ 1. คําอธิบายรายวิชา สภาพภูมิศาสตรของประเทศไทย ทั้งทางดานที่ตั้งอาณาเขต ลักษณะทางดานกายภาพ ลักษณะเศรษฐกิจ ประชากรวิเคราะหความสามารถในการผลิตเชิงเกษตร อุตสาหกรรม การคมนาคม ขนสง และการศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแ หงชาติฉบับปจจุบันใหปฏิบัติการภาคสนาม เพื่อศึกษาและวิเคราะหตามสภาพที่เปนจริง 2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอ ภาคการศึกษา บรรยาย

สอนเสริม

การฝกปฏิบัต/ิ งาน ภาคสนาม/การฝกงาน

การศึกษาดวยตนเอง

45 (3 คาบ x 15 สัปดาห)

-ไมม-ี

-ไมม-ี

90 (6 คาบ x 15 สัปดาห)

3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล -3 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา ไวในประมวลการสอน และแจงใหนักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการเรียน การสอน - สามารถนัดหมายเปนรายบุคคลไดในกรณีที่นักศึกษาตองการปรึกษาเพิ่มและเปนกรณีพิเศษ

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

ภาควิชาสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมทีต่ อ งพัฒนา 1. มีทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในหนาที่ 2. มีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนาองคกรและสังคม 3. มีวินัย ตรงตอเวลาและแสดงออกซึ่งคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน 1.2 วิธีการสอนที่จะใชพัฒนาการเรียนรู 1. กําหนดหนาที่ภาระงานที่นักศึกษาตองรับผิดชอบ 2. สงเสริมใหนักศึกษาทํางานเปนกลุม 3. สงเสริมใหนักศึกษามีสวนรวมในการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้น 1.3 วิธกี ารประเมินผล 1. ประเมินจากการเขาชั้นเรียนและกิจกรรมในชั้นเรียน 2. ประเมินจากความตรงตอเวลาในการสงงานและประสิทธิภาพของงานที่ไดรับมอบหมาย 3. ประเมินจากคําตอบของขอสอบเชิงวิชาการและการประยุกตใช 2. ความรู 2.1 ความรูที่จะไดรับ 1. นักศึกษามีความรูความเขาใจทางภูมิศาสตรประเทศไทยที่มีความสําคัญตอการพัฒนาการประเทศ 2. นักศึกษาสามารถประยุกตใชความรูภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิไปสูการวางแผนการพัฒนาประเทศได 3. นักศึกษามีความรูและเห็นความสําคัญในการพัฒนา และการเปลี่ยนแปลงของภูมิศาสตรประเทศไทย 2.2 วิธกี ารสอน 1. บรรยายและทําแบบฝกปฏิบัติ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2. บรรยายในชั้นเรียน โดยการยกตัวอยางกรณีศึกษา 2-3 พื้นที่ในประเทศไทย เพื่อให เกิดการเรียนรูอยางเขาใจ อันนําไปสูการตั้งขอสังเกตและอภิปรายแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน 3. ใหนักศึกษาคนควาดวยตนเองและปฏิบัติในพื้นที่จริง

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

ภาควิชาสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

2.3 วิธกี ารประเมินผล 1. ประเมินจากประสิทธิผลของการคนควาและรายงาน 2. ประเมินจากประสิทธิผลของแบบฝกปฏิบัติ และการปฏิบัติจริง 3. ประเมินจากคําตอบขอสอบอัตนัยทั้งทางวิชาการและการวิเคราะห 3. ทักษะทางปญญา 3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา 1. สามารถประยุกตใชความรูทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติไปสูการวิเคราะหลักษณะทางภูมิศาสตรประเทศไทย 2. สามารถประมวลความรูและศึกษาขอมูลเพื่อนําไปสูการพัฒนาประเทศไทยอยางยั่งยืน 3.2 วิธกี ารสอน 1. บรรยายและศึกษาจากกรณีตัวอยางในปจจุบันใหเกิดความเขาใจ 2. มีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา ลักษณะทางกายภาพ สังคม และเศรษฐกิจของประเทศ 3. มีวินัย ตรงตอเวลาและแสดงออกซึ่งคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน 3.3 วิธกี ารประเมินผลทักษะทางปญญาของนักศึกษา 1. ประเมินจากผลการสอบปลายภาค โดยวัดจากคําตอบที่มีเหตุผล มีระบบความคิด ถูกตองตามหลักวิชาการ 2. ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองการพัฒนา 1. รูจักการวิเคราะหลักษณะทางภูมิศาสตร สังคมและเศรษฐกิจ อยางเขาใจและถูกกาลเทศะ 2. สามารถนําความรูไปใชประโยชนอยางสรางสรรค เพื่อใหเกิดประโยชนตอผูอื่นและประเทศไทย 3. ทักษะการเรียนรูดวยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายใหครบถวนตามกําหนดเวลา 4. ทักษะการวิเคราะหเรื่องราวทางภูมิศาสตรประเทศไทย 5. ทักษะการปฏิบัติหนาที่ที่ดีของนักศึกษาและการปฏิบัติตัวที่ดีตอ อาจารย

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

ภาควิชาสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3 4.2 วิธกี ารสอน 1. ใหความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการลงพื้นที่เพื่อศึกษาเรียนรูเก็บขอมูล ทั้งดาน การแตงกายและการสนทนาที่เหมาะสม 2. นําศึกษาและประสบการณจากการลงพื้นที่ มาอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็นในชั้น เรียนเพื่อนําไปประยุกตใชในพื้นที่อื่นตอไป 3. แทรกประสบการณของอาจารยในระหวางสอนโดยผานการเลาเรื่องตาง ๆ 4. ชี้แจงกับนักศึกษาถึงความจําเปนของทักษะตาง ๆ ในระหวางทํากิจกรรมรวมกันตลอดจนการมีมนุษย สัมพันธ 4.3 วิธกี ารประเมิน 1. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาขณะออกศึกษานอก สถานที่ 2. ประเมินจากการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน และคุณภาพของ รายงานการศึกษานอกสถานที่ 3. ประเมินรายงานที่นําเสนอและพฤติกรรมการทํางานเปนทีม 4. ประเมินพฤติกรรมนอกหองเรียน 5. ทักษะปฏิบัติการในการนําเสนอรายงาน เชน รูปเลม การใชภาษา การใชสื่อ การสื่อสารในหองเรียน 5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ตองพัฒนา 1. สามารถรวบรวมและนําประเด็นความคิดเห็น สื่อสารใหเพื่อนและอาจารยเขาใจได 2. สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องตนในการสืบคน เก็บรวบรวมขอมูลเพิ่มเติม และวิเคราะหตีความนําเสนอไดอยางมีคุณภาพ 5.2 วิธกี ารสอน 1. ใหนักศึกษารวมอภิปรายแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 2. แนะนําใหนักศึกษาใชขอมูลจากเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการเรียนรูอยางมี วิจารณญาณ 3. ปฏิบัติการคนควาขอมูลที่เกี่ยวของบทเรียน จากประเด็นที่อาจารยกําหนดให สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

ภาควิชาสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3 5.3 วิธกี ารประเมิน 1.ประเมินจากประสิทธิภาพในการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน 2. ประเมินจากคุณภาพของรายงานในสวนที่มีการนําขอมูลจากเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช และการอางอิงถึงที่มาของขอมูล

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาหที่

หัวขอ/รายละเอียด

1

แนะนําแผนการเรียน

2

แนวคิดและหลักการวิเคราะห ภูมิศาสตรประเทศไทย

3

วิเคราะหที่ตั้ง ขนาด และ รูปรางประเทศไทยที่มีผลตอ ความมั่นคง

4-5

โครงสรางธรณีและภูมิประเทศ ของไทย

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

จํานวน* กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช (ชั่วโมง) 3 - บรรยายสรางความเขาใจ เบื้องตนและขอตกลงรวมกัน ในการเรียนวิชานี้ บรรยายประกอบสื่อการ 3 สอนภาพนิ่ง จัดทําดวย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - เปดอภิปรายเปรียบเทียบ บรรยายประกอบสื่อการ 3 สอนภาพนิ่ง จัดทําดวย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - เปดอภิปรายเปรียบเทียบ บรรยายประกอบสื่อการ 6 สอนภาพนิ่ง จัดทําดวย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - เปดอภิปรายเปรียบเทียบ ภาควิชาสังคมศาสตร

ผูสอน สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3 6

วิเคราะหภูมิอากาศประเทศไทย

3

7

ประชากรในมิติวัฒนธรรมและ ประชากรในมิติ ประชากรศาสตร

3

ฐานทรัพยากรธรรมชาติของ ประเทศไทย

3

10

ภูมิศาสตรเศรษฐกิจประเทศ ไทย : กิจกรรมเศรษฐกิจขั้นตน

3

11

กิจกรรมเศรษฐกิจขั้นที่ 2: การ อุตสาหกรรม

3

8 9

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

บรรยายประกอบสื่อการ สอนภาพนิ่ง จัดทําดวย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - เปดอภิปรายเปรียบเทียบ บรรยายประกอบสื่อการ สอนภาพนิ่ง จัดทําดวย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - เปดอภิปรายเปรียบเทียบ สอบกลางภาค บรรยายประกอบสื่อการ สอนภาพนิ่ง จัดทําดวย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - เปดอภิปรายเปรียบเทียบ บรรยายประกอบสื่อการ สอนภาพนิ่ง จัดทําดวย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - เปดอภิปรายเปรียบเทียบ บรรยายประกอบสื่อการ สอนภาพนิ่ง จัดทําดวย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - เปดอภิปรายเปรียบเทียบ

ภาควิชาสังคมศาสตร

สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3 12

13-15

กิจกรรมเศรษฐกิจขั้นที่ 3: การคาและการบริการ

3

เปรียบเทียบภูมิศาสตรประเทศ ไทยกับประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต

9

บรรยายประกอบสื่อการ สอนภาพนิ่ง จัดทําดวย โปรแกรม Microsoft PowerPoint - เปดอภิปรายเปรียบเทียบ บรรยายประกอบสื่อการ สอนภาพนิ่ง จัดทําดวย โปรแกรม Microsoft PowerPoint

สุกานดา สารนอย

สุกานดา สารนอย

- บรรยายสรุป - ใชสื่อสารคดีในรูปแบบวีดีทัศน ประกอบคําบรรยาย - อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิด สอบปลายภาค 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู ผลการ เรียนรู*

วิธกี ารประเมิน**

สัปดาหที่ประเมิน

คะแนนจากเวลาเรียน การรายงานและงานพิเศษ

1.1,1.3,2.1,2.2, กลางภาค 2.3,3.1,4.1,5.1 1.1,1.2,1.3,2.1, 2.3,3.1,3.2,4.1, 4.2,4.3,5.1,5.2, 5.3

สอบปลายภาค การเขาชั้นเรียน การมีสวนรวม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้น เรียน

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

ภาควิชาสังคมศาสตร

ตลอดภาคการศึกษา 8 16 ตลอดภาคการศึกษา

สัดสวนของการ ประเมิน 50% 20 % 30 % 5% 5%

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3 หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตําราและเอกสารหลัก สุภาพ บุญไชย. ภูมศิ าสตรประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร; ๒๕๔๘. www.gistda.or.th ของสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ( องคการมหาชน ) สทอภ. 2. 2. เอกสารและขอมูลสําคัญ มนัส สุวรรณ .2541 .แนวทางในการทําวิจยั ยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหมสถาบันวิจั . : เชียงใหม ___________. 2532. ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางภูมศิ าสตร. สํานักพิมพโอเดียนสโตร : กรุงเทพฯ. รุง กาญจนวิโรจน .2543 .แนวโนมการทองเทีย่ วในศตวรรษที่ 21 พิมพครั้งที่ .1ม พ.ป. การสํารวจเสนทางการเดินปา .2549.ปทุมพร แกวคําและคณะ .โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 3. เอกสารและขอมูลแนะนํา ชูกลิ่น อุนวิจิตรและคณะ .2546 .การพัฒนามาตรฐานคุณภาพการทองเที่ยวเดินปาของตําบลดอยฮาง อําเภอ เมือง จังหวัดเชียงราย. สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. www.energy.go.th กระทรวงพลังงาน www.onep.go.th สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม www.deqp.go.th กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม www.forest.go.th กรมปาไม www.dmr.go.th กองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม กรมทรัพยากรธรณี

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

ภาควิชาสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


มคอ.3

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 1การสนทนากลุมระหวางผูสอนและผูเรียน 2การสะทอนความคิด จากพฤติกรรมของผูเ รียน 3 แบบประเมินผูสอน และแบบประเมินรายวิชา 2. กลยุทธการประเมินการสอน 1 ผลการสอบ 2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู 3. การปรับปรุงการสอน 1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 2 ประมวลขอมูลจากความคิดเห็นและความสนใจของนักศึกษาในชั้นเรียน นําไปสูการปรับการ เรียนการสอนใหยืดหยุนตามสถานการณความเหมาะสมในการเรียนรายวิชานี้ 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิร์ ายวิชาของนักศึกษา 1 การทวนสอบการใหคะแนนจากการสุมตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารยอื่น ที่ไมใชอาจารยผูสอน แตอาจารยที่ทวนสอบตองมีความรูในวิชานี้ 5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา 1 ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาทุก 4 ป หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 4

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

ภาควิชาสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.