ภาพถ่ายความงามของสถาปัตยกรรม

Page 1

Beauty in architecture

1


คำ�นำ� สถาปั ต ยกรรมแสดงให้ เห็ นถึ ง การดำ � รงอยู่ ร่ ว มกั น ระหว่ า งสั ญ ลั ก ษณ์ กั บ วั ต ถุ ที่ มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อสื่อถึงความหมายมโนคติหรือศรัทธาในศาสนาต่อสังคม ศาสนสถานใช้ประกอบกิจกรรมทางศาสนา ซึ่งหมายถึงตัวอาคารและปูชนียวัตถุ รวมถึงบริเวณวัด เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยของพระสงฆ์และการบำ�เพ็ญศาสนกิจของ พุทธศาสนิกชนในสมัยพุทธกาลการประกอบพิธีกรรมหรือกิจกรรมทางศาสนา ไม่ จำ�เป็นต้องมีอาคารแบบถาวร เพียงแต่กำ�หนดขอบเขต หรือใช้สถานที่ที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติหรืออาคารที่มีอยู่แล้วตามสภาพความจำ�เป็น และความเหมาะสมต่อ สถานการณ์ ครั้นเมื่อพระพุทธศาสนาได้รับการยอมรับนับถือกันแพร่หลาย มีพระ สงฆ์ในพระพุทธศาสนามากขึ้น มีผู้ศรัทธามากขึ้น วัดก็กลายเป็นสิ่งสำ�คัญที่จะต้อง ก่อสร้างขึ้นอย่างถาวรและตกแต่งอย่างวิจิตรด้วยวัสดุที่มีค่าและฝีมือของช่างชั้นสูง

2


สารบัญ

วัดเหมืองปิล๊อก วัดใต้น้ำ� วัดเสาร้อยต้น

4 22 36

3


4


วัดเหมืองปิล๊อก

สุดแดนธรรมชายแดนตะวันตก

ไม่ว่าแผ่นดินไทยผืนไหนจะอยู่ห่างไกล เพียงใด ใต้ร่มธงธรรมแห่งพระศาสนา ปกป้องผองชนให้ได้รับผลบุญโดยถ้วน ทั่ว สุดแผ่นดินที่ชายแดนตะวันตก ต่อเชื่อมกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น พม่า ยังมีแสงธรรมนำ�ทางสุกสว่าง กลางขุนเขา ที่เปล่าเปลี่ยวและห่าง ไกล แต่ที่นั่นพี่น้องผองพุทธศาสนิกชน

ที่ต้องดิ้นรนหากิน และอยู่กันอย่างสุข สงบ มี วัดเหมืองปิล็อก แผ่ผลบุญให้ ทุกคนร่มเย็น ดุจเดียวกับพี่น้องผองชาว ไทยทั่วไปในเมืองกรุง ความแตก

ต่างย่อมมีได้และมีเสีย

5


พระพุทธรูปยืน

วัดเหมืองปิล็อก ที่สุดชายแดนตะวันตก บนขุนเขาที่สูงจากระดับ น้ำ�ทะเลกว่า ๑,๘๐๐ เมตร เป็นเครื่องยืนยันได้เป็นอย่างดีว่า ไม่ ว่าจะมีชุมชนคนพุทธอยู่ ณ แห่งหนตำ�บลใด พระพุทธศาสนาย่อม แผ่ไพศาลไปถึง โอบล้อมให้ความอบอุ่นใจ โดยมีวัดเป็นที่พึ่งทางใจ เสมอ

6


7


บรรยากาศรอบๆวัด

วัดเหมืองปิล๊อก สุดแดนธรรมชายแดนตะวันตก

8


9


10


วัดเหมืองปิล็อกสร้างตามศิลปะ พม่า แต่ไม่สมบูรณ์นัก วัดนี้สร้าง เมื่อ ๕๐-๖๐ ปีก่อน บรรยากาศ วัดปลอดโปร่งเย็นสบาย ที่ใกล้ๆ นั้นมีสถานที่สำ�คัญ คือ จุด ประสานสัมพันธไมตรีไทย-พม่า หรือ เนินชักธง มีธงไทยปักไว้ให้ รู้ว่า ที่นี่คือดินแดนไทย และมีธง พม่าปักไว้คู่กัน ตรงเส้นแดนพม่า

11


พระธาตุบนเขาลูกเล็ก ของวัดเหมืองปิล็อก ร่อง รอยการพัฒนาวัดยังกลาดเกลื่อนไปด้วยวัตถุที่เหลือ และเตรียมทำ�งานต่อ อุโบสถขนาดกำ�ลังพอเหมาะ กับสภาพของชุมชนที่วัดนี้ ประชากรลดลงจนเมือง แทบร้าง ลูกนิมิตตั้งกลางอุโบสถ เพื่อรอเวลาฝังตาม ประเพณี พระสงฆ์ ๒ รูป เณรน้อยอีก ๓ รูป คงหนาวเหน็บ เมื่อฤดูหนาวมาเยือน เครื่องนอนอยู่ในสภาพที่อยาก จะขอบอกบุญให้ผู้มีจิตศรัทธาไปทำ�บุญถวายได้เสมอ

12


13


ที่ลานโล่งหน้าอุโบสถ เมื่อนักท่องเที่ยวพลัดขึ้นมาแล้วหาที่นอนค้างไม่ได้ ก็เคยมาขอกางเต็นท์นอนกันทุกปี แต่เพราะ ว่าอยู่สูงและโดดเด่น จึงมีลมพัดแรงกว่าจุดอื่นๆ บางรายก็ไปขอกางเต็นท์ที่ ตชด. หรือหน้าสนามโรงเรียนเหมืองปิล็อก รอบๆ บริเวณตลาด มีดอกไม้เมืองหนาวหลายชนิดให้ชมอย่างมากมาย 14


โบสถ์

วัดเหมือง ปิล๊อก

15


16


17


18


19


20


วัดเหมืองปิล๊อก

มองลงไปจะเห็นหมู่บ้าน

21


22


วั ด ใต้ น � ำ ้ “วัดวังก์วิเวการาม”

23


หลวงพ่ออุตตมะ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูอุดมสิทธาจารย์ เมื่อ พ.ศ. 2512 ได้ รั บ พระราชทานสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชา คณะ ที่พระอุดมสังวรเถร เมื่อ พ.ศ. 2524 และได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็น พระราชอุดมมงคลพหลนราทร เมื่อ พ.ศ. 2534

24


หลวงพ่ออุตตมะ เข้ารับรักษาตัวที่โรง พยาบาลศิริราช ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ด้วยโรคไต โรคหัวใจ โรคปอด สมองขาดเลือดไปเลี้ยง ท่านไม่รู้สึกตัวและไม่ สามารถลืมตาเองได้เป็นเวลากว่า 1 ปี จน กระทั่งเกิดอาการติดเชื้ออย่างรุนแรง และ มรณภาพจากการติดเชื้อในกระแสโลหิตจาก ภาวะปอดอักเสบ เมื่อเวลา 7.22 น. ของวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2549 อายุรวม 97 ปี

25


26


สำ�หรับ “วัดวังก์วิเวกา ราม”หรือ “วัดหลวง พ่ออุตตมะ” เป็นวัดที่หลวงพ่ออุตตมะ ร่วมกับ ชาวบ้ า นอพยพชาวกะเหรี่ ย งและ ชาวมอญ ได้ร่วมกันสร้างขึ้น ในปี พ.ศ.2496 ที่บ้านวังกะล่าง อำ�เภอ สังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ใกล้ กับชายแดนไทย-พม่า ห่างจาก อำ�เภอเมืองกาญจนบุรี ประมาณ 220 กิโลเมตร ในระยะแรกมีเพียงกุฏิและ ศาลา มีฐานะเป็นสำ�นักสงฆ์ แต่ ชาวบ้านโดยทั่วไปเรียกว่า วัดหลวง พ่ออุตตมะ ตั้งอยู่บนเนินสูงใน บริเวณที่เรียกว่า สามประสบ ซึ่ง เป็นจุดที่แม่น้ำ� 3 สาย คือแม่น้ำ� ซองกาเลีย แม่น้ำ�บีคลี่ แม่น้ำ�รันตี ไหลมาบรรจบกัน ในปี พ.ศ.2505 ได้รับอนุญาต จากกรมการศาสนาให้ใช้ชื่อว่า วัด วังก์วิเวการาม ซึ่งตั้งตามชื่ออำ�เภอ เดิม คืออำ�เภอวังกะ-สังขละบุรี ซึ่ง ต่อมาถูกยุบเป็นกิ่งอำ�เภอ ก่อนที่ จะยกฐานะเป็น อำ�เภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรีในปี พ.ศ.2508

27


28


สถานที่ต่างๆ ภายในวัดที่จมนำ�้

เนื่องจากเหตุการณ์บ้านเมืองในประเทศพม่าขณะนั้น อุตตมรัมโภภิกขุจึงเดินทางเข้าสู่ประเทศไทยอีกครั้งทาง หมู่บ้านอีต่อง ตำ�บลปิล็อก อำ�เภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ขณะจำ�พรรษาอยู่ที่วัดเกาะ อำ�เภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี มีคนมาแจ้งข่าวว่าที่สังขละบุรีมีชาวมอญจากบ้านเดิมของท่าน อพยพเข้าเมืองไทย และ ต้องการนิมนต์ท่านไปเยี่ยม ท่านได้พบกับชาวมอญที่อพยพมาจากโมกกะเนียง เจ้าคะเล และมะละแหม่ง และพาชาวมอญเหล่านี้ไปอาศัยอยู่ที่บ้านวังกะล่าง ถือเป็นจุดกำ�เนิดของชุมชนชาวมอญในสังขละบุรี

29


ในปี พ.ศ. 2499 หลวงพ่ออุตตมะร่วมกับชาวบ้านชาวกะเหรี่ยงและชาวมอญ ได้พร้อมใจกันสร้างศาลา วัดขึ้น มีฐานะเป็นสำ�นักสงฆ์ แต่ชาวบ้านโดยทั่วไปเรียกว่า วัดหลวงพ่ออุตตมะ ตั้งอยู่บนเนินสูงในบริเวณ ที่เรียกว่า สามประสบ เพราะมีแม่น้ำ� 3 สายไหลมาบรรจบกัน คือแม่น้ำ�ซองกาเลีย แม่น้ำ�บีคลี่ แม่น้ำ�รัน ตี ในปี พ.ศ. 2505 ได้รับอนุญาตจากกรมการศาสนาให้ใช้ชื่อว่า วัดวังก์วิเวการาม ซึ่งตั้งตามชื่ออำ�เภอวัง กะ ในวัดมีการก่อสร้างเจดีย์จำ�ลองแบบจาก เจดีย์พุทธคยา ประเทศอินเดีย เริ่มก่อสร้าง พ.ศ. 2518 แล้ว เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2529

30


ต่อมาทางการไฟฟ้าฝ่ายผลิตได้ก่อสร้างเขื่อนเขาแหลม หรือ เขื่อนวชิราลงกรณ์ ซึ่งเมื่อกักเก็บน้ำ�ในปี พ.ศ. 2527 น้ำ�ในเขื่อนเขาแหลมจะท่วมตัวอำ�เภอเก่ารวมทั้งหมู่บ้านชาวมอญ ทางวัดจึงได้ย้ายมาอยู่บนเนินเขาในที่ ปัจจุบัน โดยทางราชการได้ช่วยเหลือในการอพยพผู้คนซึ่งมีอยู่ราว 1,000 หลังคาเรือน บนพื้นที่ 1,000 ไร่เศษ ส่วนบริเวณวัดหลวงพ่ออุตตมะเดิม ปัจจุบันจมอยู่ใต้น้ำ� และมีชื่อเสียงเป็นสถานที่ท่องเที่ยว Unseen Thailand เป็นที่รู้จักในชื่อว่า วัดใต้น้ำ� สังขละบุรี

31


วั ด ใต้ น � ำ ้ “วัดวังก์วิเวการาม”

32


33


34


พระพุทธรูปปาง ต่างๆ สังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี่

35


วัดเสาร้อยต้น พม่า

36


37


38


39


40


นั ก ท่ อ งเที่ ย วส่ ว นใหญ่ เ ข้ า ไปเที่ ย วชมวั ด เสาร้ อ ยต้ น เนื่องจากมีสถาปัตยกรรมที่สวยงาม และมีเสาจำ�นวนมาก ที่ใช้ในการสร้างวัดจึงได้ชื่อวัดเสาร้อยต้น บริเวณวัดนักท่อง เที่ยวยังสามารถเลือกซื้อสินค้าจากประเทศพม่าได้ในราคา ไม่แพง เช่น เครื่องไม้ เครื่องประดับ 41


เป็นวัดเดิมที่หลวงพ่ออุตตมะ ท่านเคยมาจำ�พรรษา และสร้างไว้ สถาปัตยกรรมที่สร้างโดยเสาที่ทำ�จาก ไม้แดง นับร้อยต้น ทำ�ให้วัดมีชื่อเสียง วัดมีสามชั้น ชั้นบนสุดนั้นห้ามผู้หญิง

42


43


44


45


46


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.