A หลักสูตร 54 มคอ2

Page 1

0

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม พุทธศักราช 2554

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


1

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเทีย่ ว หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา :

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ 2. ชื่อปริญญา ชื่อเต็ม ชื่อยอ

3. วิชาเอก

: หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว : Bachelor of Arts Program in Geography and History for Tourism

: ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว) Bachelor of Arts (Geography and History for Tourism) : ศศ.บ. (ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว) B.A. (Geography and History for Tourism) :

ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร

4. จํานวนหหนวยกิตทีเ่ รียนตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 124 หนวยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ป ตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2548

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


2

5.2 ภาษาที่ใช ภาษาไทย 5.3 การรับเขาศึกษา รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาแลกเปลี่ยนระหวางประเทศที่ใชภาษาไทยได 5.4 ความรวมมือกับสถาบันอืน่ เปนหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง 5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมตั /ิ เห็นชอบหลักสูตร ; หลักสูตรปรับปรุง พ .ศ. 2554 ปรับปรุงจากหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภูมิศาสตร และประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว พ.ศ.2549 เปดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2554 เปนตนไป สภาวิชาการเห็นชอบในการประชุมครั้งที่ 10 / 2554 วันที่ 18 เดือน เมษายน พ.ศ. 2554 สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบในการประชุมครั้งที่ 8/2554 วันที่ 11 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2554 7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรทีม่ คี ณ ุ ภาพและมาตรฐาน : ปการศึกษา 2556 8. อาชีพทีส่ ามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา : หลักสูตรนี้ไดออกแบบเพื่อใหนักศึกษาที่จบการศึกษา สามารถทํางานในวิชาชีพที่ใชความรู ทางดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตร ที่เกี่ยวของกับธุ รกิจการทองเที่ยว ในภาคสวนของเอกชนและหนวยงาน ภาครัฐ เชน เจาหนาที่ภายในกรมพัฒนาที่ดิน สํานักผังเมือง พนักงาน โรงแรมฯ พนักงาน บริษัทนําเที่ยว เจาหนาที่พิพิธภัณฑทองถิ่น

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


3

9. ชื่อ ตําแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ตําแหนง ลําดับ ทาง วิชาการ

ชื่อ – สกุล

1.

อาจารย นางสุกานดา สารนอย

2.

อาจารย นางสาวธมาภรณ พูมพิจ

3.

อาจารย นายสมคเน แผลงฤทธิ์

4.

อาจารย นางสาวสุพรรณี ปลัดศรีชว ย

5.

อาจารย นางสาวอรวรรณ เชือ้ นอย

คุณ วุฒิ

สาขาวิชา

กศ.ม. กศ.บ. ศศ.ม ศศ.บ. ศศ.ม ศศ.บ.

ภูมศิ าสตร สังคมศึกษา ประวัตศิ าสตรเอเชีย ประวัตศิ าสตร ประวัตศิ าสตรไทย ประวัตศิ าสตร

วท.ม การรับรูจากระยะ ไกลและระบบสาร สนเทศภูมิศาสตร วท.บ. เทคโนโลยีชนบท ศศ.ม ประวัติศาสตรศิลปะ ศศ.บ ประวัตศิ าสตรศลิ ปะ

สถาบัน การศึกษา

พ.ศ. ที่สําเร็จ การศึกษา

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยทักษิณ

2546 2543 2547 2543 2548 2541

มหาวิทยาลัยขอนแกน

2551

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร

2545 2550 2546

10. สถานทีจ่ ดั การเรียนการสอน หองเรียนทฤษฏีและหองปฏิบัติการของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาที่จําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 11.1.1 ความสําคัญของรายไดของประเทศที่เกิดจ ากการทองเที่ยวดานภูมิศาสตรและ ประวัติศาสตรมีบทบาทสูงมากทั้งในปจจุบันและอนาคต 11.1.2 การนําความรูทางดานภูมิศาสตรและประวัติศาสตร เพื่อสรางมูลคาตอการทองเที่ยวทั้งใน ปจจุบันและอนาคต 11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม 11.2.1 การรวมมือทางการศึกษาเพื่อสรางแนวทางในการแลกเปลี่ยนแรงงานที่มีมาตรฐาน ทางการทองเที่ยว 11.2.2 การใชการพัฒนาการทองเที่ยวเปนปจจัยในการดํารงรักษาและอนุรักษวัฒนธรรมและ มรดกทางประวัติศาสตร 11.2.3 การมีสวนรวมของชุมชนตอการวางแผนและพัฒนาการทองเที่ยวทางธรรมชาติ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


4

12. ผลกระทบจากขอ 11 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกีย่ วของกับพันธกิจของสถาบัน 12.1 การพัฒนาหลักสูตร 12.1.1 หลักสูตรตองมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาใหสอดคลองกับสถานการณ ทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา 12.1.2 ตองสรางหลักสูตรใหมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับทั้งภายในและตางประเทศ 12.1.3 หลักสูตรตองมีแนวทางในการที่จะใหผูจบการศึกษาเปนที่ตองการของผูประกอบการ 12.1.4 หลักสูตรตองพัฒนาใหผูเรียนมีความสามารถในการคนควา ทําวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ และสังคม 12.1.5 หลักสูตรตองไดรับการพิจารณาใหมีลักษณะเฉพาะของแตละทองถิ่น 12.1.6 หลักสูตรตองพัฒนาใหผูเรียนมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มีความรูที่เปนมาตรฐาน มีภูมิปญญาทองถิ่น แกปญหาเฉพาะหนาได และดํารงชีวิตรวมกับผูอื่นในสังคมได 12.2 ความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน 12.2.1 ผลิตบัณฑิตใหมีความรูคูคุณธรรม 12.2.2 ผลิตบัณฑิตใหมีภูมิปญญาที่มีศักยภาพสูมาตรฐานสากล 12.2.3 บริการทางวิชาการที่สอดคลองกับความตองการของสังคม 12.2.4 เสริมสราง ทํานุบํารุงและเผยแพรศิลปวัฒนธรรมแกสังคม 12.2.5 สงเสริมการพัฒนาสังคมใหสอดคลองกับแนวทาพระราชดําริฯ 12.2.6 สรางโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิต 13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอื่นที่เปดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน 13.1 กลุม วิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอืน่ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 13.2 กลุม วิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปดสอนใหภาควิชา/หลักสูตรอืน่ ตองมาเรียน GOHI1101 ภูมิศาสตรประเทศไทย Geography of Thailand GOHI1102 แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรสําหรับการทองเที่ยว Maps and Tools Geographical for Tourism GOHI1103 ภูมิศาสตรกายภาพ Physical Geography GOHI1104 ภูมิศาสตรวัฒนธรรมและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย Cultural and Settlement Geography คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


5

GOHI1201 ประวัติศาสตรไทย Thai History GOHI1202 ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย Thai History and Culture GOHI1203 การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร Historical Tourism GOHI1204 การศึกษาประวัติศาสตรในภาพยนตรไทย Historical Study in Thai Movie GOHI2101 ภูมิศาสตรโลก World Geography GOHI2102 ภูมิศาสตรประชากร Population Geography GOHI2103 ภูมิศาสตรการทองเที่ยวไทย Geography of Thai Tourism GOHI2104 ภูมิศาสตรการพัฒนาและอนุรักษทรัพยากรการทองเที่ยว Geography of Tourism Resources Development and Conservation GOHI2105 แผนที่และการแปลความหมายของแผนที่ Maps and Map Interpretation GOHI2106 เทคนิคและวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร Techniques and Methods in Geography GOHI2107 ภูมิศาสตรทองถิ่น Local Geography GOHI2201 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 1 History of Art in Thailand 1 GOHI2202 ประวัติศาสตรโลก World History GOHI2203 ประวัติศาสตรไทยสมัยใหม Modern Thai History GOHI2204 ประวัติศาสตรทองถิ่น Local History GOHI2205 ประวัติศาสตรไทยรวมสมัย Contemporary Thai History คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


6

GOHI2206 การศึกษาเอกสารและหลักฐานทางประวัติศาสตร 3(3-0-6) Study of Historical Document and Evidence GOHI2207 ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย 3(3-0-6) Thai Economic History GOHI2208 ประวัติศาสตรสังคมไทย 3(3-0-6) Thai Social History GOHI2209 พิพิธภัณฑศึกษาเพื่อการทองเทีย่ ว 3(3-0-6) Museum study for Tourism GOHI3101 ภูมิศาสตรการตลาดและอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Marketing and Industrial Geography GOHI3102 ภูมิศาสตรประชากรกับการพัฒนาดานการทองเที่ยว 3(3-0-6) Population Geography and Tourism Development GOHI3103 การวางแผนและพัฒนาพื้นที่เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3(3-0-6) Spatial Planning and Development for Sustainable GOHI3104 ภูมิศาสตรเมือง 3(3-0-6) Urban Geography GOHI3105 การสํารวจขอมูลระยะไกลและระบบ 3(2-2-5) กําหนดพิกัดตําแหนงบนพื้นโลกดวยดาวเทียม Remote Sensing and Global Positioning System GOHI3106 ความรูเบื้องตนระบบภูมิสารสนเทศและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร 3(2-2-5) Fundamentals of Geo-Informatics and Geographic Information System GOHI3107 ภูมิศาสตรเอเชีย 3(3-0-6) Geography of Asia GOHI3108 ภูมิศาสตรยุโรป 3(3-0-6) Geography of Europe GOHI3109 ภูมิศาสตรแอฟริกา 3(3-0-6) Geography of Africa GOHI3110 ภูมิศาสตรชายฝงทะเล 3(3-0-6) Coastal Geography GOHI3201 ประวัติศาสตรไทยเพื่อการทองเที่ยว 3(3-0-6) Thai History for Tourism คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


7

GOHI3202 ประวัติศาสตรในวรรณกรรมสําหรับการทองเที่ยว History in Literature for Tourism GOHI3203 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 2 History of Art in Thailand 2 GOHI3204 ประวัติศาสตรการเมืองการปกครองไทย History of Thai Politics GOHI3205 ประวัติศาสตรภูมิปญญาไทย Thai Intellectual History GOHI3206 ประวัติศาสตรและโบราณคดีในทองถิ่นเพื่อการทองเที่ยว Local History and Archaeology for Tourism GOHI3207 เหตุการณโลกปจจุบัน Contemporary World Affairs GOHI3208 ประวัติศาสตรเอเชีย History of Asia GOHI3209 ประวัติศาสตรยุโรป History of Europe GOHI3210 ประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต History of Southeast Asia GOHI4101 ภูมิศาสตรประเทศไทยเชิงวิเคราะห Analytical Geography of Thailand GOHI4102 การจัดการฐานขอมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อการทองเที่ยว Geo-Informatics Database Management for Tourism GOHI4201 ประวัติศาสตรไทยเชิงวิเคราะห Analytical Thai History

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6)

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


8

13.3 การบริหารจัดการ 13.3.1 ใหมีการปรึกษาหารือระหวางผูสอนรายวิชาที่สอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น เพื่อใหไดเนื้อหาความรูและทักษะทางดานภูมิศาสตรและประวัติศาสตรตาม ความตองการของหลักสูตร 13.3.2 สํารวจความตองการเชิงวิชาชีพจากรวมกันกับผูสอนรายวิชาที่สอนโดยคณะ/ภาควิชา/ หลักสูตรอื่น 13.3.3 จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อทบทวนความตองการหรือเงื่อนไขการเรียนรูและทักษะวิชาชีพ เปนระยะ เพื่อแสวงหาลูทางในการปรับปรุงรายวิชารวมกัน

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


9

หมวดที่ 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา ผลิตบัณฑิตมีจรรยาบรรณ มีความรูทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตร สิ่งแวดลอมและ วัฒนธรรมไทยในเชิงทองเที่ยว “สงเสริม พัฒนาและอนุรักษการทองเที่ยวในทองถิ่นไทย” 1.2 วัตถุประสงค 1. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรม 2. เพื่อสงเสริมบุคลากรใหสามารถพัฒนาตนเองและสังคม 3. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีวิสัยทัศน มีความรับผิดชอบ มีความรอบรูทางดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตร สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมไทยในเชิงการทองเที่ยว 2. แผนพัฒนาปรับปรุง หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตรรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยวมีแผนพัฒนา ปรับปรุงที่มีรายละเอียดของแผนการพัฒนา ยุทธศาสตร และตัวบงชี้การพัฒนาปรับปรุง คาดวาจะดําเนินการ แลวเสร็จภายใน 5 ป นับจากเปดการเรียนการสอนตามหลักสูตร ดังนี้ แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง 1. ปรับปรุงหลักสูตรตาม ความเปลี่ยนแปลงของ อุตสาหกรรมการทองเที่ยว และความตองการของ ธุรกิจการทองเที่ยวและ การโรงแรม

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

กลยุทธ

หลักฐาน/ตัวบงชี้

1. สรางเครือขายกับ หนวยงานภาครัฐและ ภาคเอกชนเพื่อวิเคราะห ความตองการและแนวโนม ความเปลี่ยนแปลงของ อุตสาหกรรมทองเที่ยว

ตัวบงชี้ 1. จํานวนหนวยงานภาครัฐที่เขารวมเครือขาย มีไมนอยกวา 5 หนวยงาน 2. จํานวนหนวยงานภาคเอกชนที่เขารวมเครือขาย มีไมนอยกวา 5 หนวยงาน 3. จํานวนครั้งในการประชุมรวมกันมีไมนอยกวา 1 ครัง้ /ป หลักฐาน 1. รายงานการประชุม 2. บันทึกการปรึกษากับหนวยงานภาครัฐและ ภาคเอกชน สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


10

แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง

2. ปรับปรุงปจจัย สนับสนุนการ เรียนการสอน

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

กลยุทธ

หลักฐาน/ตัวบงชี้

2. สํารวจความตองการของ ตัวบงชี้ ธุรกิจการทองเที่ยวและการ 1. จํานวนครั้งในการสํารวจมีไมนอยกวา 2 ครัง้ โรงแรม ภายในรอบ 5ป 2. รายงานการสํารวจแสดงขอมูลอยางนอย 3 ประเด็น คือ - แนวโนมของอุตสาหกรรมทองเที่ยว - คุณสมบัติของแรงงานที่เปนที่ตองการ - ความรูและทักษะดานการทองเที่ยวและการ โรงแรมที่จําเปนตอการทํางาน หลักฐาน รายงานการสํารวจ 1. สํารวจความตองการของ ตัวบงชี้ นักศึกษาและผูสอน 1. จํานวนครั้งในการสํารวจมีไมนอยกวา 1 ครัง้ / ป 2. รายงานการสํารวจแสดงขอมูลอยางนอย 3 ประเด็น คือ - รูปแบบและลักษณะของปจจัยสนับสนุนที่เปน ที่ตองการ - ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะในการจัดการ และการใชปจจัยสนับสนุนอยางมีประสิทธิภาพ - ความเปนไปไดในการพัฒนา /ปรับปรุงปจจัย สนับสนุนตามขอเสนอแนะ หลักฐาน รายงานการสํารวจ

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


11

แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง

กลยุทธ

หลักฐาน/ตัวบงชี้

2. จัดหาและจัดสรรทุนเพื่อ ตัวบงชี้ ปรับปรุงปจจัยสนับสนุน 1. จํานวนเงินทุนเพิ่มขึ้นจากปที่ผานมา ไมนอยกวา 10% การเรียนการสอนใหมี 2. จํานวนอุปกรณ/กิจกรรม/โครงการที่ปรับปรุง ความทันสมัยและมี ปจจัยสนับสนุนการเรียนการสอนมีไมนอย ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กวา 2 รายการ/ป หลักฐาน 1. จํานวนเงินทุน 2. จํานวนเงินรายจาย 3. จํานวนอุปกรณ/กิจกรรม/โครงการที่ปรับปรุง ปจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


12

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ ใชระบบการศึกษาแบบทวิภาค ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมวาดวยการจัด การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอ น เปนไปตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค ไมมี 2 . การดําเนินการหลักสูตร 2.1 วัน- เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน ภาคการศึกษาที่ 1 มิถุนายน – ตุลาคม ภาคการศึกษาที่ 2 พฤศจิกายน – มีนาคม ภาคการศึกษาฤดูรอ น เปนไปตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 2.2.1 ตองสําเร็จการศึกษาไมต่ํากวามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา 2.2.2 ผานการคัดเลือกตามเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ/หรือ เปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม การคัดเลือกผูเ ขาศึกษา ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมวาดวยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 (ภาคผนวกเอกสารหมายเลข 2) 2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา 2.3.1 นักศึกษามีพื้นฐานความสามารถทางภาษาตางประเทศไมเทากัน และยังไมสามารถ สื่อสารเพื่อการปฏิบัติงานไดอยางเพียงพอ และมีประสิทธิภาพ 2.3.2 นักศึกษามีพื้นความรูทางดานภูมิศาสตรและประวัติศาสตร ไมเทากัน 2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพื่อแกไขปญหา /ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3 2.4.1 กําหนดตารางเวลาใหนักศึกษา มีการอบรมปรับพื้นฐานความรูทางดานภาษา 2.4.2 จัดการทดสอบ และอบรมปรับพื้นฐาน ความรูท างดานภูมิศาสตรและประวัติศาสตร ใหแกนักศึกษาใหม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


13

2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูส าํ เร็จการศึกษาในระยะเวลา 5 ป ปการศึกษา จํานวนนักศึกษาระดับ 2554 2555 2556 ปริญญาตรีชั้นปที่ (คน) 60 60 60 1 54 54 2 51 3 4 รวม 60 114 165 จํานวนนักศึกษาที่คาดวาจะ สําเร็จการศึกษา

2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรับ รายการ คาบํารุงการศึกษา คาลงทะเบียน เงินอุดหนุนจากรัฐบาล รวมรายรับทัง้ หมด

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

2554 576,000 576,000

2557 60 54 51 48 213 48

2558 60 54 51 48 213 48

ปงบประมาณ 2555 2556 2557 2558 1,094,400 1,584,000 2,044,800 2,044,800 1,094,400 1,584,000 2,044,800 2,044,800

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


14

2.6.2 งบประมาณรายจาย รายการ ก.งบดําเนินการ 1. คาใชจายบุคลากร 2. คาใชจายดําเนินการ 3. ทุนการศึกษา 4. รายจายระดับมหาวิทยาลัย รวม (ก) ข. งบลงทุน คาครุภัณฑ รวม (ข) รวม (ก) + (ข) จํานวนนักศึกษา * คาใชจายตอหัวนักศึกษา

2554 756,000 79,760 836,360

ปงบประมาณ 2555 2556 2557 817,128 83,748 900,930

2558

882,498 953,098 1,029,345 87,935.4 92,337.17 96,948.77 970,433 1,045,430 1,126,293

836,360 900,930 970,433 1,045,430 1,126,293 60 54 51 48 48 13,939.33 16,683.88 19,028.09 21,779.79 23,464.43

2.7 ระบบการจัดการศึกษา จัดการศึกษาแบบชั้นเรียนตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมวาดวยการจัด การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 (ภาคผนวกเอกสารหมายเลข 2) 2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมวาดวยการจัดการศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 (ภาคผนวกเอกสารหมายเลข 2)

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


15

3 หลักสูตรและอาจารยผสู อน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอ ยกวา 124 หนวยกิต 3.1.2 โครงสรางหลักสูตร 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุมวิชาเอก 2.1.1 เอกบังคับ 2.1.2 เอกเลือก 2.3 กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 3.1.3 รายวิชาในโครงสรางหลักสูตร 1 หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป กลุมวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร เลือกเรียน GESC1101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Information Technology and Communication GESC1102 วิทยาศาสตรเพื่อชีวิต Sciences for Life GESC1103 พืชพรรณเพื่อชีวิต Plants for Life GESC1104 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อชีวิต Natural Resources and Environment for Life GESC1105 ชีวิตกับเทคโนโลยี Life and Technology GESC1106 การคิดและคณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน Thinking and Mathematics Daily Life กลุมภาษา วิชาบังคับ GETH1001 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร Thai for Communication คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

30 88 81 51 30 7 6

หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต หนวยกิต

30 หนวยกิต 6 หนวยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 9 หนวยกิต 6 หนวยกิต 3(3-0-6)

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


16

GEEN1001 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร English for Communication วิชาเลือก GEKR1101 ภาษาเกาหลีเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร Basic Korean for Communication GEKM1101 ภาษาเขมรเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร Basic Khmer for Communication GECN1101 ภาษาจีนเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร Basic Chinese for Communication GEJP1101 ภาษาญี่ปุนเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร Basic Japanese for Communication GEFR1101 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร Basic French for Communication GEVN1101 ภาษาเวียดนามเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร Basic Vietnamese for Communication GEEN1101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารขั้นสูง English for Advanced Communication GEEN1102 ภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการสมัครงาน English for Career Application กลุมวิชามนุษยศาสตร วิชาบังคับ GEHS1001 สารสนเทศเพื่อการเรียนรู Information for Learning วิชาเลือก GEHS1101 สุนทรียภาพของชีวิต Aesthetics of Life GEHS1102 การพัฒนาตนเพื่อความสุขของชีวิต Self-development for Happiness in Life GEHS1103 จริยธรรมทางสังคมและการใชเหตุผล Social Morality and Reasoning คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

3(3-0-6) 3 หนวยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

7 หนวยกิต 1 หนวยกิต 1(1-0-2) 6 หนวยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


17

กลุมวิชาสังคมศาสตร วิชาบังคับ GESO1001 พลวัตสังคมไทย Dynamics of Thai Society

6 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3(3-0-6)

วิชาเลือก GESO1101 พลวัตสังคมโลก Dynamics of Global Society GESO1102 มนุษยกับสิ่งแวดลอม Man and Environment GESO1103 กฎหมายในชีวิตประจําวัน Law in Daily Life GESO1104 เศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกตใช Sufficiency Economy and Applications GESO1105 ธุรกิจสําหรับชีวิตประจําวัน Business for Daily Life

3 หนวยกิต 3(3-0-6)

กลุมวิชาพลานามัย วิชาบังคับ GEPA1001 การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ Exercises for Health GEPA1002 กีฬาประเภทบุคคล Individual Sports

2 หนวยกิต 2 หนวยกิต 1(0-2-1)

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

1(0-2-1)

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


18

2 หมวดวิชาเฉพาะ 88 หนวยกิต 2.1 วิชาเอก 81 หนวยกิต 2.1.1 วิชาเอกบังคับ 51 หนวยกิต - กลุมวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเทีย่ ว 48 หนวยกิต GOHI1101 ภูมิศาสตรประเทศไทย 3(3-0-6) Geography of Thailand GOHI1102 แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรสําหรับการทองเที่ยว 3(2-2-5) Maps and Tools for Geography for Tourism GOHI1103 ภูมิศาสตรกายภาพ 3(3-0-6) Physical Geography GOHI1201 ประวัติศาสตรไทย 3(3-0-6) Thai History GOHI1202 ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6) Thai History and Culture GOHI2101 ภูมิศาสตรโลก 3(3-0-6) World Geography GOHI2103 ภูมิศาสตรการทองเที่ยวไทย 3(3-0-6) Geography of Thai Tourism GOHI2201 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 1 3(3-0-6) History of Art in Thailand 1 GOHI2202 ประวัติศาสตรโลก 3(3-0-6) World Civilization GOHI2209 พิพิธภัณฑศึกษาเพื่อการทองเที่ยว 3(3-0-6) Museum for Tourism GOHI3101 ภูมิศาสตรการตลาดและอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Geographical Marketing and Industry GOHI3106 ความรูเบื้องตนระบบภูมิสารสนเทศและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร 3(2-2-5) Fundamental of Geo-informatics and Geographic Information System GOHI3201 ประวัติศาสตรไทยเพื่อการทองเที่ยว 3(3-0-6) Thai History for Tourism GOHI3202 ประวัติศาสตรในวรรณกรรมสําหรับการทองเที่ยว 3(3-0-6) History in Literature for Tourism คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


19

GOHI3901 ระเบียบวิธีการวิจัยทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว 3(3-0-6) Research Methodology in Geography and History for Tourism GOHI4901 สัมมนาทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว 3(2-2-5) Seminar Geography and History for Tourism - กลุมวิชาภาษาตางประเทศ เลือกเรียน 1 รายวิชา BENG1721 ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรมทองเที่ยว 1 English for Tourism Industry 1 CHIN1101 ภาษาจีนพื้นฐาน 1 Foundation Chinese 1 FREN1201 สนทนาภาษาฝรั่งเศส 1 Conversation 1

3 หนวยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

2.1.2 วิชาเอกเลือก 30 หนวยกิต ใหนักศึกษาเลือกศึกษารายวิชาตอไปนี้ โดยนับหนวยกิตตองไมนอยกวา 30 หนวยกิต CHIN1102 ภาษาจีนพื้นฐาน 2 3(3-0-6) Foundation Chinese 2 BENG1722 ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรมทองเที่ยว 2 3(3-0-6) English for Tourism Industry 2 FREN1202 สนทนาภาษาฝรั่งเศส 2 3(3-0-6) Conversation 2 GOHI1104 ภูมิศาสตรวัฒนธรรมและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย 3(3-0-6) Geography of Cultural and Settlement GOHI1203 การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร 3(3-0-6) Historical Tourism GOHI2102 ภูมิศาสตรประชากร 3(3-0-6) Geography of Population GOHI1204 การศึกษาประวัติศาสตรในภาพยนตรไทย 3(3-0-6) Historical Study in Thai Movie GOHI2104 ภูมิศาสตรการพัฒนาและอนุรักษทรัพยากรการทองเที่ยว 3(3-0-6) Geography of Development and Conservation Tourism Resources คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


20

GOHI2105 แผนที่และการแปลความหมายของแผนที่ Maps and Map Interpretation GOHI2106 เทคนิคและวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร Techniques and Methods in Geography GOHI2107 ภูมิศาสตรทองถิ่น Local Geography GOHI2203 ประวัติศาสตรไทยสมัยใหม Modern Thai History GOHI2204 ประวัติศาสตรทองถิ่น Local History GOHI2205 ประวัติศาสตรไทยรวมสมัย Contemporary Thai History GOHI2206 การศึกษาเอกสารและหลักฐานทางประวัติศาสตร Methods of Study in Historical Document and Evidence GOHI2207 ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย Thai Economic History GOHI2208 ประวัติศาสตรสังคมไทย Thai Social History GOHI3102 ภูมิศาสตรประชากรกับการพัฒนาดานการทองเที่ยว Population Geography and Tourism Development GOHI3103 การวางแผนและพัฒนาพื้นที่เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน Planning and Tourism Spatial Development GOHI3104 ภูมิศาสตรเมือง Urban Geography GOHI3105 การสํารวจขอมูลระยะไกลและระบบ กําหนดพิกัดตําแหนงบนพื้นโลกดวยดาวเทียม Remote Sensing and Global Positioning System GOHI3107 ภูมิศาสตรเอเชีย Geography of Asia GOHI3108 ภูมิศาสตรยุโรป Geography of Europe คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5)

3(3-0-6) 3(3-0-6)

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


21

GOHI3109 ภูมิศาสตรแอฟริกา Geography of Africa GOHI3110 ภูมิศาสตรชายฝงทะเล Coastal Geography GOHI3203 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 2 History of Art in Thailand 2 GOHI3204 ประวัติศาสตรการเมืองการปกครองไทย History of Thai Politics GOHI3205 ประวัติศาสตรภูมิปญญาไทย Thai Intellectual History GOHI3206 ประวัติศาสตรและโบราณคดีในทองถิ่นเพื่อการทองเที่ยว History and Archaeology in Local for Tourism GOHI3207 เหตุการณโลกปจจุบัน Contemporary World Affairs GOHI3208 ประวัติศาสตรเอเชีย History of Asia GOHI3209 ประวัติศาสตรยุโรป History of Europe GOHI3210 ประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต History of Southeast Asia GOHI4101 ภูมิศาสตรประเทศไทยเชิงวิเคราะห Analytical Geography of Thailand GOHI4201 ประวัติศาสตรไทยเชิงวิเคราะห Analytical Thai History of Thailand GOHI4102 การจัดการฐานขอมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อการทองเทีย่ ว Geo-informatics Databases Management for Tourism GOHI4902 การวิจัยทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตร Research in Geography and History LAWS3702 กฎหมายเกี่ยวกับการทองเที่ยว Tourism Laws TRHM2201 จิตวิทยาการบริการ Service Psychology คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(0-6-3) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


22

TRHM2202 อุตสาหกรรมทองเที่ยว 3(3-0-6) Tourism Industry TRHM3202 หลักการมัคคุเทศก 1 3(3-0-6) Tour Guiding TRHM4202 การวางแผนและการจัดนําเที่ยว 3(3-0-6) Tour Planning and Organizing 2.2 กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ 7 หนวยกิต GOHI4801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพภูมิศาสตรและประวัติศาสตร 2(90) เชิงทองเที่ยว Preparation for Field Experience in Geography and History for Tourism GOHI4802 การฝกประสบการณวิชาชีพภูมิศาสตรและประวัติศาสตร 5(450) เชิงทองเที่ยว Field Experience in Geography and History for Tourism 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต ใหเลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมโดยไมซ้ํากับรายวิชาที่ เคยเรียนมาแลว และตองไมเปนรายวิชาที่กําหนดใหเรียนโดยไมนับหนวยกิตรวมในเกณฑการสําเร็จหลักสูตร ของสาขาวิชานี้

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


23

3.1.4 แผนการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุมวิชาเอกบังคับ

2.2 กลุมวิชาเอกเลือก 2.3 กลุม วิชาฝกประสบการณวชิ าชีพ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุมวิชาเอกบังคับ

2.2 กลุมวิชาเอกเลือก 2.3 กลุม วิชาฝกประสบการณวชิ าชีพ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ชั้นปที่ 1 รหัสวิชา GESO 1001 GESO1102 GETH 1001 GEPA 1001

ชื่อวิชา พลวัตสังคมไทย มนุษยกับสิ่งแวดลอม ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร การออกกําลังกายเพือ่ สุขภาพ

GOHI1101 ภูมิศาสตรประเทศไทย GOHI1102 แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรสําหรับการ ทองเที่ยว GOHI1201 ประวัตศิ าสตรไทย รวม

หนวยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 1(0-2-1) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 19

ชั้นปที่ 1 รหัสวิชา GEEN1001 GEHS1101 GEHS1103 GEPA1002 GOHI1103 GOHI1202

ชื่อวิชา ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร สุนทรียภาพของชีวติ จริยธรรมทางสังคมและการใชเหตุผล กีฬาประเภทบุคคล ภูมศิ าสตรกายภาพ ประวัตศิ าสตรและวัฒนธรรมไทย เลือก 1 รายวิชาจากกลุม วิชาภาษาตางประเทศ BENG1721 ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรมทองเที่ยว 1 รวม

หนวยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 1(0-2-1) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 19

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


24

ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

ชั้นปที่ 2 รหัสวิชา GEEN1003 GEHS 1001

2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุมวิชาเอกบังคับ 2.2 กลุมวิชาเอกเลือก

2.4 กลุม วิชาฝกประสบการณวชิ าชีพ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุมวิชาเอกบังคับ 2.2 กลุมวิชาเอกเลือก

2.3 กลุมวิชาฝกประสบการณวชิ าชีพ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

GOHI2101 GOHI2202 GOHI2203 GOHI2104 xxxxxxxxx

ชื่อวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับ การสมัครงาน สารสนเทศเพือ่ การเรียนรู

หนวยกิต 3(3-0-6)

ภูมิศาสตรโลก ประวัตศิ าสตรโลก ประวัติศาสตรไทยสมัยใหม ภูมศิ าสตรกับการพัฒนาและอนุรักษทรัพยากร การทองเที่ยว เลือกเสรี รวม

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

1(1-0-2)

3(3-0-6) 19

ชั้นปที่ 2 รหัสวิชา GESC 1101 GESC1102

ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร วิทยาศาสตรเพือ่ ชีวติ

หนวยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6)

GOHI2201 GOHI2103 GOHI1203 GOHI3105

ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 1 ภูมศิ าสตรการทองเทีย่ วไทย การทองเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร การสํารวจขอมูลระยะไกลและระบบกําหนดพิกัด ตําแหนงบนพื้นโลกดวยดาวเทียม เลือกเสรี รวม

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-2-5)

xxxxxxxxx

3(3-0-6) 21

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


25

ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุมวิชาเอกบังคับ

2.2 กลุมวิชาเอกเลือก 2.3 กลุม วิชาฝกประสบการณวชิ าชีพ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุมวิชาเอกบังคับ

2.2 กลุมวิชาเอกเลือก

2.3 กลุม วิชาฝกประสบการณวชิ าชีพ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ชั้นปที่ 3 รหัสวิชา

ชื่อวิชา

-

-

GOHI3101 GOHI3106 GOHI2209 GOHI3201 GOHI3206 -

ภูมศิ าสตรการตลาดและอุตสาหกรรม ความรูเ บื้องตนระบบภูมิสารสนเทศและระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร พิพธิ ภัณฑศกึ ษาเพือ่ การทองเทีย่ ว ประวัติศาสตรไทยเพื่อการทองเที่ยว ประวัติศาสตรและโบราณคดีในทองถิ่นเพื่อการ ทองเที่ยว รวม

หนวย กิต 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 15

ชั้นปที่ 3 รหัสวิชา -

ชื่อวิชา -

หนวยกิต -

GOHI3202 GOHI3901

ประวัติศาสตรในวรรณกรรมสําหรับการทองเที่ยว ระเบียบวิธวี จิ ยั ทางภูมศิ าสตรและประวัตศิ าสตร เชิงทองเที่ยว การจัดการฐานขอมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อการทองเที่ยว กฎหมายเกี่ยวกับการทองเที่ยว หลักการมัคคุเทศก 1 รวม

3(3-0-6) 3(3-0-6)

GOHI4102 LAWS3702 TRHM3202 -

3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 15

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


26

ภาคการศึกษาที่ 1

ชั้นปที่ 4

หมวดวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุมวิชาแกน 2.2 กลุมวิชาเอกบังคับ

รหัสวิชา GOHI4901

2.3 กลุมวิชาเอกเลือก

GOHI4101 GOHI4201 GOHI4801

2.4 กลุม วิชาฝกประสบการณวชิ าชีพ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 กลุมวิชาแกน 2.2 กลุมวิชาเอกบังคับ 2.3 กลุมวิชาเอกเลือก 2.4 กลุม วิชาฝกประสบการณวชิ าชีพ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

-

ชื่อวิชา สัมมนาทางภูมศิ าสตรและประวัตศิ าสตรเชิง ทองเที่ยว ภูมิศาสตรประเทศไทยเชิงวิเคราะห ประวัตศิ าสตรไทยเชิงวิเคราะห การเตรียมฝกประสบการณวชิ าชีพภูมศิ าสตรและ ประวัตศิ าสตรเชิงทองเทีย่ ว รวม

หนวยกิต 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 2(90) 11

ชั้นปที่ 4 รหัส GOHI4802 -

ชื่อวิชา การฝกประสบการณวชิ าชีพภูมศิ าสตรและ ประวัตศิ าสตรเชิงทองเทีย่ ว รวม

หนวยกิต 5(450) 5

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


27

3.1.5 คําอธิบายรายวิชา GECN1101 ภาษาจีนเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic Chinese for Communication ทักษะพื้นฐานภาษาจีนเบื้องตนดานการฟง พูด อาน เขียน ในหัวขอที่ใชใน ชีวิตประจําวัน การแนะนําตัว การกลาวทักทาย การกลาวขอบคุณ การกลาวขอโทษ กลาวคํา อําลา ถามและใหขอมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดินฟาอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจําวัน GEEN1001 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) English for Communication ทักษะภาษาอังกฤษดานการฟง พูด อาน และเขียน เนนการฟง การพูด เพื่อการสื่อสาร ขั้นพื้นฐานในสถานการณตางๆ ใหมีทักษะในการอานสื่อสิ่งพิมพในชีวิตประจําวัน สามารถเขียน ประโยคพื้นฐานและขอความสั้น ๆ เพื่อใชในการสื่อสาร GEEN1101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารขั้นสูง 3(3-0-6) English for Advanced Communication พัฒนาทักษะในการใชภาษาดานการฟง พูด อาน และเขียน ในระดับสูง การสื่อสาร โดย ใชศัพท และรูปแบบของประโยคที่ซับซอน การสนทนา อ ภิปรายโตตอบ การนําเสนอ การอาน ขอความที่ซับซอน บทความเชิงวิชาการ และตําราจากสื่อตาง ๆ การเขียนประโยคระดับซับซอน เขียนขอความตั้งแตสองยอหนา และเขียนสรุปสาระสําคัญของบทความทางวิชาการ GEEN1102 ภาษาอังกฤษเพือ่ เตรียมความพรอมสําหรับการสมัครงาน 3(3-0-6) English for Career Application พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพรอมในก ารสมัครงาน การอานเอกสาร ประชาสัมพันธการรับสมัครงาน การเขียนประวัติโดยยอ การเขีย นจดหมายสมัครงานและเอกสาร ที่เกี่ยวของ การพัฒนาทักษะการพูดเพื่อการเตรียมตัวสัมภาษณและการติดตามผลการสมัครงาน GEFR1101 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic French for Communication ทักษะพื้นฐานภาษาฝรั่งเศสเบื้องตนดานการฟง พูด อาน เขียน ในหัวขอที่ ใชใน ชีวิตประจําวัน การกลาวทักทาย การกลาวขอบคุณ กลาวขอโทษ กลาวคําอําลา ถามและให ขอมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดินฟาอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจําวัน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


28

GEHS1001 สารสนเทศเพือ่ การเรียนรู 1(1-0-2) Information for Learning ความหมาย ความสําคัญของสา รสนเทศ แหลงสารสนเทศในการศึกษาคนควาภายใน สถา บันการศึกษาและแหลงสารสนเทศอื่น ๆ วิธีการสืบคนฐานขอมูลตาง ๆ การรวบรวม สารสนเทศเพื่อการศึกษาคนควาดวยตนเอง และวิธีการนําเสนอผลการศึกษาคนควาตามรูปแบบ มาตรฐาน GEHS1101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6) Aesthetics of Life ความหมายของสุนทรียศาสตร และความงดงามของศาสตรทางดนตรี นาฏศิลปและ ศิลปะ ทั้งไทยและสากลใหเกิดความซาบซึ้งและเห็นคุณคาของศาสตรทางความงาม สามารถ วิเคราะห คุณคาทางสุนทรียศิลป โดยผานขั้นตอนการเรียนรูเชิงคุณคา อันเปนประโยชนตอกา ร พัฒนารสนิยม สามารถดํารงตนอยูในสังคมไดอยางมีความสุข GEHS1102 การพัฒนาตนเพื่อความสุขของชีวิต 3(3-0-6) Self-development for Happiness of Life พฤติกรรมมนุษยกับการพัฒนาตน องคประกอบของพฤติกรรมพื้นฐานทางสรีรวิทยาที่ สงผลตอพฤติกรรมมนุษย พัฒนาการขอ งมนุษยทุกชวงวัย การศึกษาตนเอง และการประเมิน ตนเองเพื่อการพัฒนาบุคลิกภาพ และการปรับตัวใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง การเสริมสราง บุคลิกภาพ มนุษย สัมพันธในการทํางาน สุขภาพจิตและการจัดการความเครียด การสรางเสริม ชีวิตใหมีความสุข GEHS1103 จริยธรรมทางสังคมและการใชเหตุผล 3(3-0-6) Social Morality and Rationality แนวคิดพื้นฐานของมนุษย โลกทัศน ชีวทัศน การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม การ มี วินัย ความรับผิดชอบ การพัฒนาปญญาตามหลักศาสนธรรม การใชเหตุผลอยางสรางสรรค เพื่อการดํารงชีวิตในสังคมอยางมีสันติสุข และสันติธรรม

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


29

GEJP1101 ภาษาญี่ปุนเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic Japanese for Communication ทักษะพื้นฐานภาษาญี่ปุนเบื้องตนดานการฟง พูด อาน เขียน ในหัวขอที่ใชใน ชีวิตประจําวัน การกลาวทักทาย การกลาวขอบคุณ กลาวขอโทษ กลาวคําอําลา ถามและให ขอมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดินฟาอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจําวัน GEKM1101 ภาษาเขมรเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic Khmer for Communication ทักษะพื้นฐานภ าษาเขมรเบื้องตนดานการฟง พูด อาน เขียน ในหัวขอที่ใชใน ชีวิตประจําวัน การกลาวทักทาย การกลาวขอบคุณ กลาวขอโทษ กลาวคําอําลา ถามและให ขอมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดินฟาอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจําวัน GEKR1101 ภาษาเกาหลีเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic Korean for Communication ทักษะพื้นฐานภาษาเกาหลีเบื้องตนดานการฟง พูด อาน เขียน ในหัวขอที่ใชใน ชีวิตประจําวัน การกลาวทักทาย การกลาวขอบคุณ กลาวขอโทษ กลาวคําอําลา ถามและให ขอมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดินฟาอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจําวัน GEPA1001 การออกกําลังกายเพือ่ สุขภาพ 1(0-2-1) Exercises for Health หลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ การทดสอบสมรรถภาพ ทางกาย การออกกําลังกายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางจิตตลอดจนสามารถนํา การออกกําลังกายไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต GEPA1002 กีฬาประเภทบุคคล 1(0-2-1) Individual Sports ทักษะการเลนกีฬา และมารยาทการเลนกีฬาประเภทบุคคลตามความสนใจและความ ตองการของผูเรียน เพื่อการพัฒนา รางกาย อารมณ สังคมและจิตใจ ใหสามารถนําเอาการเลนกีฬเปา น ทักษะทางสังคม และการใชเวลาวางใหเปนประโยชน

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


30

GESC1101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3(3-0-6) Information Technology and Communication ระบบคอมพิวเตอร ระบบโทรคมนาคม ระบบการจัดการสารสนเทศ การใชงาน โปรแกรมระบบ โปรแกรมสําเร็จรูปตาง ๆ ระบบเครือขายคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ต เพื่อ การศึกษาคนควา การทํารายงาน การนําเสนอผลงาน และประยุกตใชงานในชีวิตประจําวันอยางมี ประสิทธิภาพโดยเคารพในสิทธิทางปญญาจริยธรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ GESC1102 วิทยาศาสตรเพื่อชีวิต 3(3-0-6) Science for Life กระบวนการและการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การพัฒนาคุณภาพชีวิต ความสัมพันธของสุขภาพกับอาหาร การออกกําลังกาย ยาและสมุนไพร การใชสารเคมีใน ชีวิตประจําวันอยางถูกตองและเหมาะสม ความสําคัขญองพลังงานตอโลกและชีวิต ความปลอดภัยใน การดําเนินชีวิต การสงเสริมสุขภาพจิตและการปองกันสารเสพติด GESC1103 พืชพรรณเพื่อชีวิต 3(3-0-6) Plants for Life คุณและคาของพืชพรรณที่มีตอชีวิต และการจัดการทรัพยากรตาง ๆ ตามแนวทางโครงการอนุรักษ พันธุกรรมพืชอันนืเ ่องมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี GESC1104 ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมเพือ่ ชีวติ 3(3-0-6) Natural Resources and Environment for Life ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม การอนุรักษ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากคว ามกาวหนา ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มีตอทรัพยากรทางดานกายภาพ ชีวภาพ และการดํารงชีวิตของ มนุษยการมีสวนรวมในการจัดการฟนฟู สงเสริม บํารุงรักษา คุมครองทรัพยากร ตามหลักการ ทางวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมเพื่อพัฒนาอยางยั่งยืน GESC1105 ชีวิตกับเทคโนโลยี 3(3-0-6) Life and Technology ความกาวหนาและการพัฒนาเทคโนโลยีในปจจุบันและอนาคต บทบาทและผลกระทบ ของเทคโนโลยีตอวิถีชีวิต เทคโนโลยีดานเทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยี

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


31

พลังงาน เทคโนโลยีสุขภาพและความปลอดภัย เทคโนโลยีสะอาด และการใชเทคโนโลยีอยาง ชาญฉลาด GESC1106 การคิดและคณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) Thinking Process and Mathematics in Daily Life การคิดและกระบวนการคิดของมนุษย รูปแบบการคิด กระบว นการคิดทาง คณิตศาสตรและการใหเหตุ การแปลความหมายและการสื่อสารทางคณิตศาสตร การเปรียบเทียบ หนวยวัด อัตราการเปลี่ยนแปลงสกุลเงิน ดอกเบี้ย ภาษี การประยุกตคณิตศาสตรและสถิติ เพื่อ การตัดสินใจ การคาดการณ และการแกไขปญหาในชีวิตประจําวัน GESO1001 พลวัตสังคมไทย 3(3-0-6) Dynamics of Thai Society ความเปนมาและวิวัฒนาการของสังคมไทย ในดานการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ศึกษาเหตุการณและบุคคลสําคัญที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม ลักษณะพิเศษของสังคมไทยและวัฒนธรรมไทย ปลูกฝงแนวทางก ารดําเนินชีวิตในสังคมตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อรักษาและสงเสริมคุณคาความเปนไทย GESO1101 พลวัตสังคมโลก 3(3-0-6) Dynamics of Global Society วิวัฒนาการของมนุษยและสังคม อารยธรรม ระบบความคิด ระบบเศรษฐกิจ และ ระบบเมือง การปกคร อง โดยเฉพาะกระแสความคิดภายใตระบอบประชาธิปไตยเนนหลักสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาคและหนาที่ของพลเมือง รวมทั้งวิเคราะหสถานการณความเปลี่ยนแปลง ตางๆ ของสังคมโลกและมีผลกระทบตอสังคมไทย เพื่อใหรูจัก เขาใจ และสามารถดํารงชีวิตได อยางมีดุลยภาพและมีความเข าใจในโลกปจจุบันและอนาคตไดอยางมีสํานึกและความรับผิดชอบ ตอความเปนสังคมพลเมือง (Civil society) ทั้งในระดับชาติและระดับโลกตอไป GESO1102 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) Man and Environment ความหมาย ความสําคัญของสิ่งแวดลอมและปญหาสิ่งแวดลอมที่มีผล กระทบตอ การ ดํารงชีวิตของ มนุษย เพื่อ สรางจิตสํานึกสาธารณะในการ อนุรักษ การจัดการและการพัฒนา สิ่งแวดลอม ตามหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยเนนการมีสวนรวมของชุมชนและสังคม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


32

GESO1103 กฎหมายในชีวติ ประจําวัน 3(3-0-6) Law in Daily Life กฎหม ายสําคัญๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตประจําวันที่พึงทราบ ทั้งในระดับ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ เพื่อใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมายสารบัญญัติ และวิธีสบัญญัติที่เกี่ยวของกับกิจกรรมในชีวิตประจําวัน เห็นความสําคัญของกฎหมายในฐานะที่ เปนกติกาของสังคม และปฏิบัติตนไดอยางถูกตองตามที่กฎหมายบัญญัติในฐานะที่เปนสมาชิกที่ดี ของสังคม GESO1104 เศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกตใช 3(3-0-6) Sufficiency Economy and Applications แนวทางการศึกษาและการวิเคราะหสังคมแล ะเศรษฐกิจ เพื่อนําไปสูการวิเคราะห วิวัฒนาการของสังคมและเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยเนนใหเห็นถึงอิทธิพลของ วัฒนธรรมและสถาบันที่มีตอระบบสังคมและเศรษฐกิจ ศึกษาปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และวิธีการนําไปประยุกตใชกับเศรษฐกิจและสังคมไทย เพื่อนําไปสู การพัฒนาที่ยั่งยืนและมี ภูมิคุมกัน นอกจากนี้การศึกษายังครอบคลุมถึงการวิเคราะหผลสัมฤทธิ์กรณีศึกษา (Case Studies) ตางๆ ที่มีการนําแนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหมไปใชกับเหตุการณจริง GESO1105 ธุรกิจสําหรับชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) Business for Daily Life ลักษณะพื้นฐานและโครงสรางของธุรกิจประเภทตางๆ และองคประกอบที่ใชในการ ประกอบธุรกิจ ไดแกการจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารงานบุคคล การบริหาร สํานักงาน การบริหารการผลิต ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารธุรกิจประเภทตา งๆ แนวทางการ ประกอบธุรกิจ ตลอดจนศึกษาปญหาและประโยชนที่เกี่ยวของในการดําเนินธุรกิจ จรรยาบรรณ นักธุรกิจเพื่อสามารถนําไปประยุกตใชในการดํารงชีวิต GETH1001 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Thai for Communication ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสารและทักษะการเ ขียนที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน โดย เนนกระบวนการทักษะสัมพันธทางภาษา

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


33

GEVN1101 ภาษาเวียดนามเบื้องตนเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Basic Vietnamese for Communication ทักษะพื้นฐานภาษาเวียดนามเบื้องตนดานการฟง พูด อาน เขียน ในหัวขอที่ใชใน ชีวิตประจําวัน การกลาวทักทาย การกลาวขอบคุณ กลาวขอโทษ กลาวคําอําลา ถามและให ขอมูลเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ ดินฟาอากาศ และกิจกรรมในชีวิตประจําวัน GOHI1101 ภูมศิ าสตรประเทศไทย 3(3-0-6) Geography of Thailand ลักษณะภูมิศาสตรของประเทศ ไทยเกี่ยวกับที่ตั้ง ขนาด บริเวณแวดลอม พรมแดน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ประชากร สภาพแวดลอม เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม GOHI1102

แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรสําหรับการทองเที่ยว 3(2-2-5) Maps and Tools for Geography for Tourism การใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการสํารวจขอมูล การเก็บขอมูล วิเคราะหขอมูลเพื่อ การวางแผนและพัฒนาการทองเที่ยว แหลงทองเที่ยว องคประกอบที่เหมาะสมกับการทองเที่ยว สําหรับการประกอบกิจกรรมทางดานนันทนาการเศรษฐกิจ

GOHI1103

ภูมิศาสตรกายภาพ 3(3-0-6) Physical Geography สภาวะตามธรรมชาติของโลก ไดแก ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ดิน น้ํา หิน ซึ่งเปนขอมูล พื้นฐานในการนํามาประยุกตใชใหเกิดประโยชน

GOHI1104

ภูมศิ าสตรวฒ ั นธรรมและการตัง้ ถิน่ ฐานของมนุษย 3(3-0-6) Geography of Cultural and Settlement องคประกอบทางดานภูมิศาสตร และลักษณะทางดานสังคมวัฒนธรรมของมนุษยที่ สงผลใหเกิดรูปแบบการดํารงชีวิตของมนุษยในภูมิภาคตางๆของโลก ไดแก การปรับตัวใหเขากับ สภาพแวดลอม ระดับความกาวหนาทางวิทยาการ การใชที่ดิน ความแตกตางทางเศรษฐกิจ สังคม และการปกครอง

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


34

GOHI1201

ประวัตศิ าสตรไทย 3(3-0-6) Thai History ประวัติศาสตรไทยตั้งแต สมัย กอนสุโขทัยถึงสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ทั้งทางดาน การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธระหวางประเทศโดยสังเขป

GOHI 1202

ประวัตศิ าสตรและวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6) Thai History and Culture ประวัติความเปนมาของไทย เมืองสําคัญ สถานที่สําคัญ บุคคลสําคัญของไทย ประวัติศาสตรและตํานานทองถิ่น ศิลปวัฒนธรรมของคนไทยโดยสวนรวมแ ละของทองถิ่น การละเลนในทองถิ่นตางๆ ของไทย วิวัฒนาการการดํารงชีวิตของไทย เพื่อใหเกิดความซาบซึ้ง และเห็นคุณคา รวมทั้งสามารถเปนผูถายทอดความรูดังกลาวได

GOHI1203

การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร 3(3-0-6) Historical Tourism ประวัติค วามเปนมาของการเดินทางทองเที่ยว ลักษณะการทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร แหลงทองเที่ยวที่สําคัญของประเทศไทย

GOHI1204

การศึกษาประวัติศาสตรในภาพยนตรไทย 3(3-0-6) Historical Study in Thai Movie ประวัติศาสตรที่ปรากฏในภาพยนตรไทย โดยเนนการวิเค ราะหเนื้อหาภาพยนตรเพื่อ เชื่อมโยงความรูทางดานประวัติศาสตรกับเหตุการณในภาพยนตร

GOHI2101

ภูมิศาสตรโลก 3(3-0-6) World Geography สภาพทางภูมิศาสตรเกี่ยวกับการแบงภูมิภาคของโลก ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ประชากร ทรัพยากรธรรมชาติ และเปรียบเทียบปจจัยทางภูมิศาสตรที่มีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมในแตละภูมิภาค

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


35

GOHI2102

ภูมิศาสตรประชากร 3(3-0-6) Geography of Population การกระจายตัว ความหนาแนนและองคประกอบของประชากร ภาวะการเจริญพันธุ ภาวะการตาย การยายถิ่น และการเพิ่มประชากรในภูมิภาคตางๆของโลก โดยเนนถึงสาเหตุและผล ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากปจจัยตางๆในภูมิภาคนั้นๆ

GOHI2103

ภูมศิ าสตรการทองเทีย่ วไทย 3(3-0-6) Geography of Thai Tourism สภาพทางภูมิศาสตรของแหลงทองเที่ยวในประเทศไทย เกี่ยวกับที่ตั้งการเขา ถึงและ เสนทางคมนาคม สภาพทางธรรมชาติและการกําเนิดของแหลงทองเที่ยว สภาพทางวัฒนธรรม และประวัติของแหลงทองเที่ยว ประเภทแหลงทองเที่ยว องคประกอบที่เหมาะสมสําหรับการ ทองเที่ยว สถานบริการและหนวยงานที่ดําเนินการทองเที่ยว การวางแผนสํา หรับการจัดการ ทองเที่ยวและฝกปฏิบัติงานภาคสนาม

GOHI2104

ภูมศิ าสตรการพัฒนาและอนุรกั ษทรัพยากรการทองเทีย่ ว 3(3-0-6) Geography of Development and Conservation Tourism Resources ความหมายและความสําคัญของการพัฒนาและการอนุรักษ วิธีการอนุรักษมรดกทาง ธรรมชาติและทางวัฒนธร รม ประโยชนของการพิทักษทรัพยากรการทองเที่ยว การฟนฟู วัฒนธรรม ประเพณีและธรรมชาติ บทบาทของมัคคุเทศกตอการสรางจิตสํานึกของประชาชน และฝกปฏิบัติในพื้นที่จริง

GOHI 2105

แผนที่และการแปลความหมายจากแผนที่ 3(2-2-5) Maps and Map Interpretation ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่ รูปถายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม การใชแผนที่ภูมิ ประเทศมาตราสวน 1 : 250,000 และ 1: 50,000 เพื่อการอาน ตีความ วิเคราะหขอมูล ลักษณะทาง กายภาพ และทางสังคม วัฒนธรรม และใหมีการปฏิบัติการภาคสนามโดยใชแผนที่ภูมิประเทศ ประกอบการศึกษา

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


36

GOHI 2106

เทคนิคและวิธกี ารศึกษาทางภูมศิ าสตร 3(3-0-6) Techniques and Methods in Geography การใชและออกแบบเครื่องมือทางภูมิศาสตร การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะห ขอมูลและเสนอขอมูลทางภูมิศาสตร และฝกปฏิบัติในพื้นที่จริง

GOHI 2107

ภูมิศาสตรทองถิ่น 3(3-0-6) Local Geography สภาพภูมิศาสตรของทองถิ่นทางสภาพแวดลอม เศรษฐกิจประชากร ระบบโครงสราง พื้นฐานและสถาบันทางสังคม วิเคราะหปญหาและแนวทางการแกไขทองถิ่น ใหนักศึกษาฝกเก็บ ขอมูลในภาคสนามแลวนํามาวิเคราะหสภาพทองถิ่น

GOHI2201

ประวัตศิ าสตรศลิ ปะในประเทศไทย 1 3(3-0-6) History of Art in Thailand 1 งานศิลปกรรมตางๆ ในประเทศไทยเบื้องตน ทั้งทางดานสถาปตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรมและประณีตศิลป ตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรจนถึงสมัยปจจุบัน

GOHI2202

ประวัตศิ าสตรโลก 3(3-0-6) World History ประวัติความเปนมาของ ทวีปตางๆ ในโลก อารยธรรมที่สําคัญของมนุษย ตั้งแตสมัย โบราณ พัฒนาการของอาณาจักรโบราณ จนกลายเปนประเทศตางๆ ที่มีความสําคัญในปจจุบัน

GOHI2203

ประวัตศิ าสตรไทยสมัยใหม 3(3-0-6) Modern Thai History ประวัติศาสตรไทยสมัยรัตนโกสินทร ตั้งแตการปรับตัวเขาสูสมัยใหมในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทั้งทางดานการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม รวมถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจนถึงป พ.ศ. 2475

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


37

GOHI2204

ประวัติศาสตรทองถิ่น 3(3-0-6) Local History ประวัติศาสตรทองถิ่นสมัยตางๆ หลักฐานทางประวัติศาสตรในทองถิ่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ความคิดความเชื่อของทองถิ่น อิทธิพลของอารยธรรมตางๆ ที่มีตอ ทองถิ่น โดยจัดการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับทองถิ่นของสถาบันการศึกษา

GOHI2205

ประวัตศิ าสตรไทยรวมสมัย 3(3-0-6) Contemporary Thai History ประวัติศาสตรไทยสมัยรัตนโกสินทร ตั้งแตเริ่มเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศเขาสู สมัยประชาธิปไตยใน พ.ศ. 2475 รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางดานตางๆ ที่เกิดขึ้นจนถึงปจจุบัน

GOHI 2206

การศึกษาเอกสารและหลักฐานทางประวัตศิ าสตร 3(3-0-6) Methods of Study in Historical Document and Evidence ลักษณะและขอจํากัดของเอกสารและ หลักฐานทางประวัติศาสตร ประเภทตางๆ เพื่อ เปนพื้นฐานในการเลือกใชเอกสารและหลักฐานทางประวั ติศาสตร ตามกระบวนการทาง ประวัติศาสตร โดยจะเนนการฝกปฏิบัติควบคูกับการเรียนภาคทฤษฎี

GOHI2207

ประวัตศิ าสตรเศรษฐกิจไทย 3(3-0-6) Thai Economic History ประวัติศาสตรทางเศ รษฐกิจของไทย การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และผลที่เกิดขึ้น ตั้งแตสมัยโบราณจนกระทั่งถึงชวงการทําสนธิสัญญาเบาวริงในป พ.ศ. 2398

GOHI2208

ประวัตศิ าสตรสงั คมไทย 3(3-0-6) Thai Social History ประวัติศาสตรทางสังคมไทย สภาพวิถีชีวิตและความเปนอยูของคนไทย รวมถึงการ เปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจนถึงปจจุบัน

GOHI2209

พิพิธภัณฑศึกษาเพื่อการทองเที่ยว 3(3-0-6) Museum for Tourism พัฒนาการของพิพิธภัณฑในประเทศไทย ลักษณะพิพิธภัณฑรูปแบบตาง ๆ รวมทัง้ ขั้นตอนการจัดการพิพิธภัณฑ และกระบวนการจัดนิทรรศการ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


38

GOHI3101

ภูมศิ าสตรการตลาดและอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Geographical Marketing and Industry ปจจัยตางๆ ทางภูมิศาสตรทีมีผลตอเศรษฐกิจดานการตลาดและอุตสาหกรรม โดยเนน การวิเคราะหการกําหนดที่ตั้งและบริเวณของการตลาดและอุตสาหกรรม

GOHI3102

ภูมศิ าสตรประชากรกับการพัฒนาดานการทองเทีย่ ว 3(3-0-6) Population Geography and Tourism Development ลักษณะ ประชากรในภูมิภาคตางๆ ของโลก โดยพิจารณาถึงสภาพทางภูมิศาสตรที่ เกี่ยวของหรือมีผลตอชีวิตความเปนอยูของประชากรในภูมิภาคนั้นๆ เชน จํานวน การกระจาย ความหนาแนน การยายถิ่น คุณภาพ และปญหาของประชากร ซึ่งใชเปนขอมูลพื้นฐานในการ พัฒนาดานการทองเที่ยว

GOHI3103

การวางแผนและพัฒนาพื้นที่การทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3(3-0-6) Planning and Tourism Spatial Development ความหมายและประเภทของทรัพยากร แหลงทองเที่ยว ทั้งทางกายภาพ และวัฒนธรรม ในแตละทองถิ่นทางสภาพแวดลอม เศรษฐกิจ ประชากร ระบบโครงสรางพื้นฐาน การจัดการ ทรัพยากรแหลงทองเที่ยวไทยรวมถึงปญหา โดยใหนักศึกษาฝกเก็บขอมูลในภาคสนามแลวนํามา วิเคราะหวางแผนและพัฒนาพื้นที่และฝกปฏิบัติในพื้นที่จริง

GOHI3104

ภูมิศาสตรเมือง 3(3-0-6) Urban Geography องคประกอบของเมือง รูปแบบการตั้งฐานประชากร ลักษณะเศรษฐกิจ สังคม การใช ที่ดิน ลักษณะภูมิศาสตรที่มีผลกระทบตอการพัฒนาเมือง เพื่อวิเคราะหปญหาและการแกไขและ ฝกปฏิบัติในพื้นที่จริง

GOHI3105

การสํารวจขอมูลระยะไกลและระบบกําหนดพิกัดตําแหนงบนพื้นโลกดวยดาวเทียม 3(2-2-5) Remote Sensing and Global Positioning System ความหมายของการสํารวจขอมูลระยะไกล หลักการพลังงานคลื่นแมเหล็กไฟฟา หลักการแปลความหมายและการวิเคราะหภาพถายทางอากาศและภา พถายจากดาวเทียม การ สํารวจภาคสนามในพื้นที่ศึกษาจริง โดยศึกษาระบบกําหนดตําแหนงพื้นโลกดวยดาวเทียม และมี การศึกษาดูงานนอกสถานที่

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


39

GOHI3106

ความรูเบื้องตนระบบภูมิสารสนเทศและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร 3(2-2-5) Fundamental of Geo-informatics and Geographic Information System ความรูเบื้อ งตนเทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร การสํารวจจากขอมูลระยะไกล และระบบกําหนดตําแหนงพื้นโลกดวยดาวเทียม และการศึกษาหลักการ แนวคิดระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร เทคโนโลยีการประมวลผลขอมูล ระบบการจัดเก็บ และประมวลผลขอมูล โครงสรางฐานขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ตัวอยางการ ประยุกตใชงานของระบบภูมิสารสนเทศในดานตางๆ ทั้งกรณีศึกษาของไทยและตางประเทศ และ มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่

GOHI3107

ภูมิศาสตรเอเชีย 3(3-0-6) Geography of Asia สภาพทางภูมิศาสตรของภูมิภาคในเอเชียโดยภาพรวม และใหการศึกษาลักษณะทาง ภูมิศาสตรของประเทศตางๆ ที่เกี่ยวกับลักษณะทางดานกายภาพ ประชากร เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง

GOHI3108

ภูมิศาสตรยุโรป 3(3-0-6) Geography of Europe สภาพทางภูมิศาสตรขอ งทวีปยุโรปโดยภาพรวม และศึกษาถึงลักษณะทางภูมิศาสตร ของประเทศตางๆ เกี่ยวกับลักษณะทางดานกายภาพ ประชากร เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ ปกครอง

GOHI3109

ภูมศิ าสตรแอฟริกา 3(3-0-6) Geography of Africa สภาพทางภูมิศาสตรของทวีปแอฟริกาโดย ภาพรวม แล ะลักษณะทางภูมิศาสตรของ ประเทศตางๆ เกี่ยวกับลักษณะทางดานอื่นๆ เชน กายภาพ ประชากร เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง เปนตน

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


40

GOHI3110

ภูมิศาสตรชายฝงทะเล 3(3-0-6) Coastal Geography ธรรมชาติของลักษณะชายฝงทะเลที่เกี่ยวกับการกําเนิ ด และการเปลี่ยนแปลงของ ชายฝงทะเล กระแสน้ํา ระดับน้ําขึ้น-ลง ความสัมพันธระหวางมนุษยกับชายฝงทะเล โดยมุงเนน การใชประโยชนจากชายฝงทะเลไทยเพื่อการประกอบกิจกรรมทางดานเศรษฐกิจและการลด มลภาวะสิ่งแวดลอมอันเนื่องมาจากการใชประโยชนจากชายฝงทะเล

GOHI3201

ประวัตศิ าสตรไทยเพือ่ การทองเทีย่ ว 3(3-0-6) Thai History for Tourism ความหมายและความสําคัญ ของประวัติศาสตร แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรไทย รวมถึงขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรที่สําคัญในประเทศไทย

GOHI3202

ประวัติศาสตรในวรรณกรรมสําหรับการทองเทีย่ ว 3(3-0-6) History in Literature for Tourism ประวัติศาสตรและเนือ้ หาวรรณกรรมที่ปรากฏตามแหลงทองเที่ยวตางๆ โดยแสดงออก ในรูปแบบของงานประติมากรรมและจิตรกรรม

GOHI3203

ประวัตศิ าสตรศลิ ปะในประเทศไทย 2 3(3-0-6) History of Art in Thailand 2 งานศิลปกรรมไทยดานตางๆ และศิลปะอื่นที่เกี่ยวของ ซึ่งไดมีการคนพบตามแหลง ประวัติศาสตรและแหลงโบราณคดีในประเทศไทยตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรจนกระทั่งถึงสมัย ปจจุบันโดยละเอียด โดยเนนการวิเคราะห และฝกปฏิบัติในพื้นที่จริง

GOHI3204

ประวัตศิ าสตรการเมืองการปกครองไทย 3(3-0-6) History of Thai Politics พัฒนาการและความสัมพันธของบานเมืองและอาณาจักรในดินแดนประเทศไทย ตั้งแต เริ่มแรกจนถึงสมัยรัตนโกสินทร ลักษณะสําคัญของการวางรูปแบบการปกครองและก ารปรับปรุง การปกครองในชวงสมัยสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทรตอนตน การเปลี่ยนแปลงที่มีผลตอ การรับแนวความคิดทางการเมืองตามแนวตะวันตก จนถึงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการ ปกครอง พ.ศ. 2475 เหตุการณสําคัญทางดานการเมืองการปกครองไทยจนถึงปจจุบัน

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


41

GOHI3205

ประวัติศาสตรภูมิปญญาไทย 3(3-0-6) Thai Intellectual History ความหมายของภูมิปญญาไทย มรดกไทย วรรณคดีไทยที่สะทอนใหเห็นวิถีชีวิตและ สภาพความเปนอยูของสังคมไทย การใชความรู และภูมิปญญาในทองถิ่ นตั้งแตสมัยอดีตถึง ปจจุบัน

GOHI3206

ประวัตศิ าสตรและโบราณคดีในทองถิ่นเพือ่ การทองเทีย่ ว 3(3-0-6) History and Archaeology in Local for Tourism ความสําคัญของแหลงประวัติศาสตรและโบราณคดี โบราณวัตถุสถาน และพิพิธภัณฑ ในทองถิ่นของไทย โดยเนนการศึกษาจากแหลงทองเที่ยวในสถานที่จริง

GOHI3207

เหตุการณโลกปจจุบัน 3(3-0-6) Contemporary World Affairs เหตุการณสําคัญที่เกิดขึ้นตั้งแตชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การเกิดวิกฤตการณตางๆ ในโลกยุคปจจุบัน บทบาทชาติมหาอํานาจในการ แสวงหาความรวมมือและ การแกไขปญหา ที่ เกิดขึ้น

GOHI3208

ประวัติศาสตรเอเชีย 3(3-0-6) History of Asia ภูมิภาคเอเชียสมัยโบราณโดยสังเขป เนนความสําคัญตั้งแตการแผอิทธิพลของ จักรวรรดินิยมตะวันตก การเรียกรองเอกราช ปญหาของเอเชียภายหลังไดรับเอกราช บทบาท นโยบายตางประเทศ และองคการระหวางประเทศของกลุมเอเชียในปจจุบัน

GOHI3209

ประวัติศาสตรยุโรป 3(3-0-6) History of Europe ประวัติศาสตรของยุโรปตั้งแตสมัยฟนฟูศิลปวิทยาการ การปฏิรูปศาสนา และอิทธิพล อื่นที่ทําใหสังคมยุโรปเปลี่ยนแปลง การปฏิวัติอุตสาหกรรมและผลตอการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ ศึกษาสภาพของประเทศสําคัญในยุโรป อิทธิพลของลัทธิชาตินิยมทําใหเกิดการรวมประเทศอิตาลี และเยอรมนี บทบาทของประเทศทั้งสองหลังการรวมประเทศจนนําไปสูวิกฤติการณตางๆ กอน สงครามโลกครั้งที่ 1 ความสําคัญของสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่มีตอการเปลี่ยนแปลงของยุโรป

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


42

กําเนิดลัท ธิฟาสซิสตและนาซี ความสัมพันธของประเทศตางๆ กอนการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 และความรวมมือของนานาประเทศกอนยุติสงคราม GOHI3210

ประวัตศิ าสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3(3-0-6) History of Southeast Asia ลัทธิจักรวรรดินิยมที่มีตอภูมิภาคเอเชียตะวั นออกเฉียงใต ในดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ขบวนการชาตินิยม การเรียกรองเอกราช การยึดครองของญี่ปุนในระหวาง สงครามโลกครั้งที่ 2 ปญหาและสภาพของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตั้งแตไดรับเอกราชจนถึง ปจจุบัน ความรวมมือระหวางประเทศในภูมิภาค

GOHI3901

ระเบียบวิธีการวิจัยทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตร 3(3-0-6) Research Methodology in Geography and History ลักษณะระเบียบวิธีวิจัย และวิธีการใชหลักฐาน การวิเคราะหทางภูมิศาสตรและ /หรือ ทางประวัติศาสตร ตลอดจนการเขียน บทความเพื่อพัฒนาทางวิชาการในเชิงภูมิศาสตรและ /หรือ ทางประวัติศาสตร

GOHI4101

ภูมศิ าสตรประเทศไทยเชิงวิเคราะห 3(3-0-6) Analytical Geography of Thailand สภาพภูมิศาสตรของประเทศไทย ทั้งทางดานที่ตั้งอาณาเขต ลักษณะทางดานกายภาพ ลักษณะเศรษฐกิจ ประชากรวิเคราะหความสามารถในการผลิตเชิงเกษตร อุตสาหกรรม การ คมนาคมขนสง และการศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับปจจุบันใหปฏิบัติการ ภาคสนาม เพื่อศึกษาและวิเคราะหตามสภาพที่เปนจริง

GOHI4102

การจัดการฐานขอมูลในระบบสารสนเทศภูมศิ าสตรเพือ่ การทองเที่ยว 3(2-2-5) Geo-informatics Databases Management for Tourism ระบบขอมูลในภูมิสารสนเทศ ประเภทของขอมูล การจัดเก็บ ระบบฐานขอมูล รูปแบบ ความสัมพันธในฐานขอมูล มาตรฐานขอมูลระบบสารสนเทศ การปองกันฐานขอมูล รวมไปถึง การใชโปรแกรมประยุกตเพื่อจัดก ารฐานขอมูลระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการทองเที่ยว และมี การศึกษาดูงานนอกสถานที่

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


43

GOHI4201

ประวัตศิ าสตรไทยเชิงวิเคราะห 3(3-0-6) Analytical Thai History of Thailand ประเด็นทางประวัติศาสตรไทย ทั้งทางดาน การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และ สังคม ตั้งแตสมัยสุโขทัยจนกระทั่งถึงปจจุบัน

GOHI4801

การเตรียมฝกประสบการณวชิ าชีพภูมศิ าสตรและ ประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว 2(90) Preparation for Field Experience in Geography and History for Tourism การเตรียม ความพรอม เพื่อการฝกประสบการณวิชาชีพภู มิศาสตรและประวัติศาสตร เพื่อการทองเที่ยว โดยจะเนนทั้งการฝกดูงานและการทดสอบในภาคทฤษฎี เพื่อใหมีความพรอม สําหรับการฝกประสบการณวิชาชีพภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเพื่อการทองเที่ยวตอไป

GOHI4802

การฝกประสบการณวิชาชีพภูมิศาสตรและ ประวัตศิ าสตรเชิงทองเที่ยว 5(450) Field Experience in Geography and History for Tourism การฝกประสบการณวิชาชีพดานการทองเที่ยว ในหนวยงานรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ หรือ ธุรกิจเอกชนทั้งในและตางประเทศ ภายใตการควบคุมดูแลของอาจารยที่ปรึกษา รวมถึงศึกษ าดู งานและปฏิบัติงานดานภูมิศาสตรและประวัติศาสตร โดยนําความรูทั้งทางภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่ไดจากการศึกษาไปใชในสถานการณจริง

GOHI4901

สัมมนาทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว 3(2-2-5) Seminar Geography and History for Tourism ความหมาย องคประกอบของการสัมมนา รวมถึงการจัดสัมมนาในประเด็นที่เกี่ยวของ กับทางดานภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรูอยาง สรางสรรค

GOHI4902

การวิจยั ทางภูมศิ าสตรและประวัตศิ าสตรเชิงทองเที่ยว 3(0-6-3) Research in Geography and History ความหมาย ความสําคัญ แนวคิด วิธีการวิจัยทางภูมิศาสตรและ /หรือทางประวัติศาสตร ไทย เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจอยางละเอียดมากขึ้นในการศึกษาทางภูมิศาสตรและ ประวัติศาสตร

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


44

BENG 1721

ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรมทองเทีย่ ว 1 3(3-0-6) English for Tourism Industry 1 คําศัพท สํานวนภาษา และบทสนทนาที่จําเปนในการติดตอสื่ อสารในอุตสาหกรรมการ ทองเที่ยว โดยมุ งเนนการฝกทักษะภาษาอังกฤษและความรูเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการทองเที่ยว ภายในประเทศ ไดแก แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร , สถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติ , สถานที่ ซื้อสินคา ของที่ระลึก การบรรยายสถานที่ทองเที่ยว การวางแผนการเดินทางและการทํางานใน อุตสาหกรรมการทองเที่ยว

BENG 1722

ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรมทองเทีย่ ว 2 3(3-0-6) English for Tourism Industry 2 รายวิชาที่ตองเรียนมากอน : BENG 1721 ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรมทองเที่ยว 1 ศึกษาคําศัพท สํานวนภาษา และบทสนทนาภาษาอังกฤษที่ใชในอุตสาหกรรมการ ทองเที่ยวในสถานการณตางๆไดอยางถูกตองและเหมาะสม ผูเรียนสามารถใหขอแนะนําในเรื่อง ตารางการเดินทาง การเลือกที่พัก สายการบิน การวางแผนการเดินทางในตางประเทศตลอดจนการ คมนาคมในการทองเที่ยว เชน การเดินทางโดยรถยนต รถไฟ หรือเครื่องบิน เปนตน เพื่อเตรียม ความพรอมในการทํางานในอุตสาหกรรมการทองเที่ยว

CHIN1101

ภาษาจีนพื้นฐาน 1 3(3-0-6) Foundation Chinese 1 ฝก การออกเสียงตามสําเนียง ภาษามาตรฐานปกกิ่ง ระบบ พินอิน ความรูทั่วไป เกี่ยวกับอักษรจีน ศัพท สํานวน ไวยากรณพื้นฐานจากบทสนทนา

CHIN1102

ภาษาจีนพื้นฐาน 2 3(3-0-6) Foundation Chinese 2 วิชาที่ตองเรียนมากอน : ภาษาจีนพื้นฐาน 1 ฝก การอานแบงวรรคตอน ศัพท สํานวน ไวยากรณ ในบทสนทนาที่ ยากขึน้ สนทนาในสถานการณตางๆ และเขียนขอความสั้นๆ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


45

FREN1201

สนทนาภาษาฝรั่งเศส 1 3(3-0-6) Conversation 1 ฝกสนทนาในหัวขอที่เกี่ยวกับชีวิตประจําวัน การแนะนําตนเอง การทักทาย การ กลาว ขอบคุณ กลาวคําขอโทษ ถามและใหขอมูลเกี่ยวกับวัน เวลา ดินฟาอากาศ บรรยายรูปราง ลักษณะบุคคล การสนทนาทางโทรศัพท

FREN1202

สนทนาภาษาฝรั่งเศส 2 3(3-0-6) Conversation 2 วิชาบังคับกอน: FREN 1201 สนทนาภาษาฝรั่งเศส 1 ฝกสนทนาในหัวขอที่เกี่ยวกับ ชีวิตประจําวันในสถานการณที่ซับซอนมากขึ้นและมี ความหลากหลาย บรรยายรูปรางลักษณะของบุคคล สถานที่ สิ่งของและกิจกรรมตาง ๆ โดย ละเอียด ถามและใหขอมูลเกี่ยวกับทิศทาง ราคาสินคา การเดินทาง การสนทนาทางโทรศัพทการ ใชศัพท สํานวนเพื่อแสดงการเปรียบเทียบ แสด งความรูสึกและแสดงความตั้งใจ รวมถึงการ นําเสนอโครงการตาง ๆ

LAWS3702

กฎหมายเกีย่ วกับการทองเทีย่ ว 3(3-0-6) Tourism Law (สําหรับนักศึกษาสาขาวิชาอื่น) กฎหมายที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการทองเที่ยวที่สําคัญ โดยเฉพาะกฎหมายวาดวยธุรกิจ นําเที่ยวและมัคคุ เทศกกฎหมายวาดวยการทองเที่ยวแหงปรเทศไทย กฎหมายวาดวยสภา อุตสาหกรรมการทองเที่ยวแหงประเทศไทย กฎหมายวาดวยคนเขาเมือง กฎหมายวาดวยสถาน บริการ กฎหมายวาดวยโรงแรมกฎหมายวาดวยการทํางานหรือประกอบธุรกิจของคนตางดาวและ สัญญาทางธุรกิจเกี่ยวกับธุรกิจการทองเที่ยว

TRHM2201

จิตวิทยาการบริการ 3(3-0-6) Service Psychology ลักษณะ พฤติกรรมทางสังคมของบุคคล ดานเจตคติ แรงจูงใจ คานิยมเกี่ยวกับการ ทํางานและการพักผอน การนําเอาหลักการทางจิตวิทยาไปใชในการใหบริการ การสรางจิตสํานึ ก ในการบริการและปฏิบัติงานระหวางผูบังคับบัญชา ผูใตบังคับบัญชา และเพื่อนรวมงาน

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


46

TRHM2202

อุตสาหกรรมทองเทีย่ ว 3(3-0-6) Tourism Industry ระบบการทองเที่ยว ตนกําเนิดและพัฒนาการทองเที่ยว ความหมายและความสําคัญของ การทองเที่ยว องคประกอบและบทบาทของอุตสาหกรรมทองเที่ยว ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการ วางแผนพัฒนา การจัดการทองเที่ยวประเภทตางๆ การดําเนินงานธุรกิจทองเที่ยว ประเภทของ นักทองเที่ยว ตลอดจนปจจัยตาง ๆ ที่เปนองคประกอบของอุตสาหกรรมทองเที่ยว การบริการดาน โรงแรม การนําเที่ยว การขนสง ภัตตาคาร รานขายของที่ระลึก และสถานบันเทิง

TRHM3202

หลักการมัคคุเทศก 1 3(3-0-6) Tour Guiding 1 ความหมายและความสําคัญของมัคคุเทศก บทบาทและหนาที่ขอ งมัคคุเทศกที่มีตอ อุตสาหกรรม การทองเที่ยว บุคลิกลักษณะที่จําเ ปนของมัคคุเทศก บทบาทและมารยาทในการ วางตัว การสื่อสาร ศิลปะการนําชมแหลงทองเที่ยว และจรรยาบรรณของมัคคุเทศก ตลอดจน ศึกษาคนควาเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว ในดานโบราณสถาน โบราณวัตถุ ประวัติศาสตร ภูมิศาสตร ศิลปวัฒนธรรม วรรณคดีไทย พุทธศาสนา และศาสนาอื่ นๆ โดยรวมของแตละภาคใน ประเทศไทย แบบฝกหัดและฝกปฏิบัติภาคสนามในกรุงเทพฯและจังหวัดใกลเคียง

TRHM4202

การวางแผนและการจัดนําเที่ยว 3(3-0-6) Tour Planning and Organizing องคประกอบที่สําคัญของการ นําเที่ยว การสํารวจเสนทาง การจัดรายการ นําเที่ยว หลักการเขียนและการคิดราคารายการนําเที่ยว การวางแผนการใชงบประมาณ การดําเนินการ ผลกําไรทางธุรกิจ การจัดแผนการทองเที่ยวโดยเนนความปลอดภัย ปญหาและอุปสรรคและ ความสัมพันธกับกฎหมายการทองเที่ยวระหวางประเทศ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


47

ที่

3.2 ชื่อ สกุล ตําแหนง และคุณวุฒิของอาจารย 3.2.1 อาจารยประจําหลักสูตร ตําแหนง/ชื่อ – สกุล คุณวุฒิ

1 อาจารยสกุ านดา สารนอย 2 อาจารยธมาภรณ พูมพิจ 3 อาจารยสมคเน แผลงฤทธิ์ 4 อาจารยสุพรรณี ปลัดศรีชวย

5 อาจารยอรวรรณ เชื้อนอย

ที่

กศ.ม. กศ.บ. ศศ.ม ศศ.บ. ศศ.ม ศศ.บ. วท.ม วท.บ. ศศ.ม ศศ.บ

3.2.2 อาจารยประจํา ตําแหนง/ชื่อ – สกุล คุณวุฒิ

1 อาจารยสกุ านดา สารนอย 2 อาจารยธมาภรณ พูมพิจ 3 อาจารยสมคเน แผลงฤทธิ์ 4 อาจารยสุพรรณี ปลัดศรีชวย

5 อาจารยอรวรรณ เชื้อนอย

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

กศ.ม. กศ.บ. ศศ.ม ศศ.บ. ศศ.ม ศศ.บ. วท.ม วท.บ. ศศ.ม ศศ.บ

สาขาวิชาและสถาบัน

ภูมศิ าสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สังคมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัตศิ าสตรเอเชีย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัตศิ าสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประวัตศิ าสตรไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัตศิ าสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ การรับรูจ ากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เทคโนโลยีชนบท มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประวัตศิ าสตรศลิ ปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัตศิ าสตรศลิ ปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร

สาขาวิชาและสถาบัน ภูมศิ าสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สังคมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัตศิ าสตรเอเชีย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัตศิ าสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประวัตศิ าสตรไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัตศิ าสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ การรับรูจ ากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เทคโนโลยีชนบท มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประวัติศาสตรศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัตศิ าสตรศลิ ปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ภาระการสอน ชม.ตอป 30 ชัว่ โมงตอป 30 ชัว่ โมงตอป 30 ชั่วโมงตอป 30 ชัว่ โมงตอป

30 ชัว่ โมงตอป

ภาระการสอน ชม.ตอป 30 ชัว่ โมงตอป 30 ชัว่ โมงตอป 30 ชัว่ โมงตอป 30 ชัว่ โมงตอป

30 ชัว่ โมงตอป

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


48

3.2.3 อาจารยพิเศษ ที่

ตําแหนง/ชื่อ – สกุล

1 ผศ.ประเจตน เกษนอย 2 ผศ.อรทรรศน กุศลกุล 4 อาจารยประจักษ แปะสกุล 5 อาจารยพนู ศักดิ์ ไมโภค ทรัพย

คุณวุฒิ สค.ม. กศ.บ. ศศ.ม กศ.บ ศศ.ม ศศ.บ. PHD MS ศศ.บ

สาขาวิชาและสถาบัน

ภาระการสอน ชม.ตอป

ประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภูมศิ าสตร วิทยาลัยวิชาการศึกษาปทุมวัน การสอนสังคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ประวัตศิ าสตร วิทยาลัยวิชาการศึกษาปทุมวัน ประวัตศิ าสตรเอเชีย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัตศิ าสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ RS&GIS Asian Institute of Technology RS&GIS Asian Institute of Technology ภูมศิ าสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ประธานหลักสูตรและคณะกรรมการประจําหลักสูตรจะเปนผูพ ิจารณาคัดเลือกอาจารยพิเศษโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคณะ 4. องคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน หรือสหกิจศึกษา) การฝกประสบการณภาคสนามในสาขาวิชาการทองเที่ยวมี วัตถุประสงคเพื่อเพิ่มความรูแล ะ ประสบการณใหแก นักศึกษา โดยเปนการฝกปฏิ บัติงานในสถานประกอบการ หรือ การฝกปฏิบัติงานสหกิจ ศึกษา ไดแก ฝกปฏิบัติงานดานการทองเที่ยว : บริษัทจัดนําเที่ยว บริษัทสายการบิน ศูนยการประชุม สถาน ประกอบการอื่น ๆ และฝกในหนวยงานราชการ เชน การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ภายใตการดูแล ของอาจารยนิเทศก เปนเวลา 16 สัปดาห 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรูของประสบการณภาคสนาม 4.1.1 ประยุกตใชหลักการ แนวคิด ทฤษฎีเขาไปเพิ่มความชํานาญในวิชาชีพ สามารถคิด วิเคราะห คนควา และวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน 4.1.2 ปฏิบัติงานดวยความรับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริต เพิ่มภาวะผูนําในการทํางาน รูจักการคิดริเริ่ม สรางสรรค และเขาใจจรรยาบรรณทางวิชาชีพ 4.1.3 แกปญหาเฉพาะหนาในการทํางาน และคิดคนนวัตกรรมใหม ๆ เพื่อลดปญหาการทํางานและเพิ่ม ศักยภาพของบุคลากรในแผนกตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 4.1.4 รวมกันวิเคราะหปญหา และหาแนวทางแกไขรวมกันกับผูบังคับบัญชาขั้นตนได 4.1.5 สื่อสารกับผูมาใชบริการไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถใช IT ไดเหมาะสมกับระดับการทํางาน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


49

4.2 ชวงเวลา การฝกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ของแผนการเรียนชั้นปที่ 4 จํานวนไมนอยกวา 16 สัปดาห หรือการฝกปฏิบัติงานในชวงภาคฤดูรอน จํานวนไมนอยกวา 400 ชั่วโมง ตอเนื่องกัน 4.3 การจัดเวลาและตารางสอน 4.3.1 การฝกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาจัดในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ รวมเวลา 16 สัปดาห จัดเต็มเวลาใน 1 ภาคการศึกษา หรือ 4.3.2 การฝกปฏิบัติงานในชวงภาคฤดูรอน จัดในเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม จัดเต็มเวลาไมนอย กวา 400 ชั่วโมงตอเนื่องกัน 5. ขอกําหนดเกีย่ วกับการทําโครงงานหรืองานวิจยั ไมมี

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


50

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา คุณลักษณะพิเศษ/คุณสมบัติที่พึงประสงค ดานบุคลิกภาพ 1. ทางกาย - การแตงกายที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน - ใชทาทางในการแสดงออกอยางเหมาะสม - เรียนรูมารยาทสากล 2. ทางวาจา - ใชวาจาสุภาพตลอดเวลา - รูจักกาลเทศะในการพูดตามสถานการณ - มีความสามารถในการอธิบายหรือสื่อสาร - เรียนรูความเหมาะควรในการพูดกับบุคคล ทุกระดับ - ความสามารถในการใชภาษาตางประเทศ 3. ทางใจ - มีจิตสํานึกในการบริการ - เขาใจความแตกตางระหวางบุคคลและรูจัก ใหอภัย - มีความภาคภูมิใจในอาชีพของตนเอง 4. ศักยภาพอื่น - แสวงหาความรู ชางสังเกต - ตัดสินปญหาเฉพาะหนาไดดี - มีเทคนิคในการตอรองและแกปญหา รองเรียน ดานภาวะผูนําและความรับผิดชอบตลอดจนมีวินัย ในตนเอง คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา

- ฝกการแสดงออกในหองเรียน - ฝกแสดงทาทางและการเคลื่อนไหว - บรรจุคําสอนในรายวิชา - ฝกและแสดงบทบาทในหองเรียน - ฝกฝนการนําเสนอหนาหองเรียน - ฝกพูดอธิบายโดยการเลาเรื่อง

- สอนในรายวิชา - สอนประวัติของผูมีชื่อเสียงในดานการบริการที่ ประสบความสําเร็จ - เชิญวิทยากรที่ประสบความสําเร็จในงานวิชาชีพมา บรรยาย - สอบภาคปฏิบัติในหองเรียน - สอนเชิงวิชาการและกรณีศึกษา - ฝกโดยใชกรณีศึกษา

- กําหนดใหมีกิจกรรมการทํางานเปนกลุมและการ นําเสนอรายงาน/ผลงานในบางรายวิชา เพื่อฝก สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


51

คุณลักษณะพิเศษ/คุณสมบัติที่พึงประสงค

จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ

กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา ทักษะในการทํางานเปนทีม การมีสวนรวม และ เสริมสรางภาวะผูนําและผูตามที่ดี เปนตน - กําหนดกติกาที่มุงเสริมสรางวินัยในตนเอง เชน การเขาเรียนตรงเวลา การสงงานตรงเวลา การกลา แสดงความคิดเห็น/แสดงออก และการมีสวนรวมใน ชั้นเรียนอยางสม่ําเสมอ เปนตน - มีการใหความรูในขอกฎหมายที่เกี่ยวของกับ ลิขสิทธิ์ทางปญญา - จัดอบรมจริยธรรม - สอดแทรกความมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพ และจิตสํานึกสาธารณะแกนักศึกษาในการ เรียนการสอนอยางตอเนื่องตามโอกาสที่เหมาะสม - จัดกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนเพื่อสวนรวม และการ ใหบริการวิชาการแกชุมชน

2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน 2.1 ดานคุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรูด า นคุณธรรม จริยธรรม (1) มีความซื่อสัตย สุจริต และสามารถจัดการปญหาดานจริยธรรม และความขัดแยงระหวาง ผลประโยชนที่ไดรับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ (2) มีทัศนคติที่ดีตออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการ ปฏิบัติตนตอผูอื่นอยางสม่ําเสมอ (3) มีความรับผิดชอบในหนาที่ เปนสมาชิกที่ดี และมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนาเปน แบบอยางที่ดีตอผูอื่น และมีภาวะผูนํา (4) มีวินัย มีความตรงตอเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและขอบังคับขององคกรและสังคม 2.1.2 กลยุทธการสอนทีใ่ ชพฒ ั นาการเรียนรูด า นคุณธรรม จริยธรรม (1) กําหนดใหมีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะ และทํารายงาน (2) สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ (3) สอนโดยใชกรณีศกึ ษาและอภิปรายรวมกัน (4) การบรรยายพิเศษโดยผูมีประสบการณหรือพระในศาสนาตาง ๆ (5) การแสดงออกอันเปนแบบอยางที่ดีของผูสอน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


52

2.1.3 วิธกี ารวัดและประเมินผลการเรียนรูด า นคุณธรรม จริยธรรม (1) ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง (2) สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหวางผูเรียนรวมกันและกับผูสอนทุกคน (3) ทํางานเปนกลุม และรายงานผลงาน (4) กําหนดหัวขอทางคุณธรรม จริยธรรมใหพูดแสดงออก (5) ผลการประเมินจากการฝกงานโดยองคกรที่ผูเรียนเขาฝกงาน (6) สรางแบบสอบถามใหผูปกครองตอบ สํารวจความคิดเห็นของผูปกครอง 2.2 ดานความรู 2.2.1 ผลการเรียนรูด า นความรู (1) มีความรูในสาขาวิชา ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอยางกวางขวาง เปนระบบ เปนสากล และทันสมัยตอสถานการณโลก (2) มีความรูที่เกิดจากการบูรณาการความรูในศาสตรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ (3) มีความรูในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อ แกไขปญหาและตอยอดองคความรูใ น งานอาชีพ 2.2.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู (1) การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ (2) มอบหัวขอเรื่องใหคนควาและทํารายงานทั้งเดี่ยวและกลุม (3) ทํารายงานเปรียบเทียบความรูจากหองเรียนกับการทํางานจริง ภาคปฏิบัติ (4) อภิปรายเปนกลุม โดยใหผูสอนตั้งคําถามตามระบบการสอนยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง (5) การศึกษานอกสถานที่และทํารายงาน (6) สอนโดยการสาธิตและฝกภายในหองปฏิบัติการ (7) สอนโดยการติว (Tutorial Group) 2.2.3 วิธกี ารวัดและประเมินผลการเรียนรูด า นความรู (1) ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบยอย และใหคะแนน (2) ทดสอบโดยการสอบขอเขียนกลางภาคและปลายภาค (3) ประเมินผลจากการทํางานที่ไดรับมอบหมายและรายงาน (4) ประเมินจากรายงานที่ใหคนควา

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


53

2.3 ทักษะทางปญญา 2.3.1 ผลการเรียนรูด า นทักษะทางปญญา (1) มีความสามารถประมวล และศึกษาขอมูลเพื่อวิเคราะหสาเหตุของปญหา ขอโตแยง และ สังเคราะหไดอยางถูกตองตามหลักการ และตามขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร รวมทั้ง หาแนวทางปองกันและแกไขปญหาไดอยางเหมาะสมทั้งเชิงกวางและเชิงลึก (2) สามารถสาธิตทักษะในการแกปญหาที่ใชเหตุผลเชิงวิเคราะหใหผูอื่นเขาใจได (3) มีความสามารถประยุกตใชความรูภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปสูการฝกประสบการณ ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณไดอยางเหมาะสม (4) สามารถประยุกตใชนวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของมาพัฒนา ทักษะการทํางานใหเกิดประสิทธิผล 2.3.2 กลยุทธการสอนทีใ่ ชในการพัฒนาการเรียนรูด า นทักษะทางปญญา (1) กรณีศึกษาเกี่ยวกับธุรกิจนําเที่ยว ธุรกิจโรงแรม และการวิจัย (2) การอภิปรายเปนกลุม (3) การทํางานที่ไดรับมอบหมายใหคนควาหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา (4) การบรรยายโดยผูเชี่ยวชาญหรือผูประกอบการที่มีความสําเร็จในอาชีพ (5) กําหนดใหมีรายวิชาที่ตองใชทักษะการคํานวณ เชน การจัดการการบริการ การควบคุ ม ตนทุนอาหารและเครื่องดื่ม 2.3.3 วิธกี ารวัดและประเมินผลการเรียนรูด า นทักษะทางปญญา (1) ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายใหทํา (2) การสอบขอเขียน (3) การเขียนรายงาน 2.4 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 2.4.1 ผลการเรียนรูด า นทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมายตามหนาที่และบทบาทของตนใน กลุมงานไดอยางเหมาะสม รวมทั้งมีสวนรว มในการชวยเหลือผูรวมงานและแกไขปญหา กลุม (2) สามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพใหทันสมัยอยางตอเนื่อง และตรงตาม มาตรฐานสากล (3) มีความสามารถในการจัดการกับทรัพยากรเพื่อการทํางานและการบริหาร

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


54

2.4.2 กลยุทธการสอนทีใ่ ชในการพัฒนาการเรียนรูด า นทักษะความสัมพันธ ระหวางบุคคลและ ความรับผิดชอบ (1) บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบตอผูมีสวนเกี่ยวของในรายวิชาชีพ (2) มอบหมายงานเปนกลุมยอย และแบงหนาที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุม (3) สอนโดยใชกรณีศึกษา 2.4.3 วิธกี ารวัดและประเมินผลการเรียนรูด า นทักษะความสัมพันธ ระหวางบุคคลและ ความรับผิดชอบ (1) ประเมินจากผลงานของกลุมและผลงานของผูเรียนในกลุมที่ไดรับมอบหมายใหทํางาน (2) ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer) (3) ใชประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน (4) สังเกตพฤติกรรมในการเรียน (5) ใชผลการประเมินจากการฝกงาน 2.5 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรียนรูด า นทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (1) สามารถใชภาษาตางประเทศในการฟง การพูด การอาน และการเขียนอยางมีประสิทธิภาพ (2) สามารถสื่อสารกับชาวตางชาติไดอยางเหมาะสมตามสถานการณและวัฒนธรรม (3) สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตอสื่อสาร และการนําเสนอขอมูลไดอยางมี ประสิทธิภาพ 2.5.2 กลยุทธการสอนทีใ่ ชในการพัฒนาการเรียนรูด า นทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสือ่ สาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (1) ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดตอกับคนไทยและตางชาติโดยการสอบ ขอเขียน (2) ฝกใหนําเสนอผลงานที่คนควาดวยตนเองในหองเรียน (3) บูรณาการการใชคอมพิวเตอร เครือขาย และซอฟตแวรหรือสื่อตาง ๆ ในทุกรายวิชาที่ สามารถทําได 2.5.3 วิธกี ารวัดและประเมินผลการเรียนรูด า นทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) ประเมินผลโดยการสอบขอเขียนและปากเปลา (2) ประเมินผลจากการนําเสนอผลงาน (3) ประเมินผลจากการใชคอมพิวเตอร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


55

(4) ประเมินผลจากการสรุปหัวขอที่มอบหมายใหคนควา (5) ตั้งคําถามแลวสังเกตวิธีการตอบ (โดยจับเวลา) (6) ประเมินผลจากการยอเรื่องที่ใหอานในหองเรียน

3. แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจ ากหลักสูตรสูร ายวิชา (Curriculum Mapping) ผลการเรียนรูข องหมวดวิชาศึกษาทั่วไปในตาราง มีความหมายดังนี้ 3.1 คุณธรรม จริยธรรม 3.1.1 มีความซื่อสัตย สุจริต และสามารถจัดการปญหาความขัดแยงระหวางผลประโยชนที่ ไดรับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 3.1.2 มีทัศนคติที่ดีตออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและ การปฏิบัติตนตอผูอื่นอยางสม่ําเสมอ 3.1.3 มีความรับผิดชอบในหนาที่ เปนสมาชิกที่ดี และมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีผูนํา และเปนแบบอยางที่ดีตอผูอื่น 3.1.4 มีวินัยในการทํางาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและขอบังคับขององคกรและสังคม 3.2 ความรู 3.2.1 มีความรูในสาขาวิชา ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ อยางกวางขวาง เปนระบบ เปนสากล และทันสมัยตอสถานการณโลก 3.2.2 มีความรูที่เกิดจากการบูรณาการความรูในศาสตรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 3.2.3 มีความรูในกระบวนการ เพื่อแกไขปญหาและตอยอดองคความรูในงานอาชีพ 3.3 ทักษะทางปญญา 3.3.1 มีความสามารถประมวล และศึกษาขอมูลเพื่อวิเคราะหสาเหตุของปญหาและ ความขัดแยง รวมทั้งหาแนวทางปองกันและแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม 3.3.2 มีความสามารถประยุกตใชความรูภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใชประโยชนในการฝก ประสบการณภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณไดอยางเหมาะสม 3.3.3 มีความสามารถประยุกตใชนวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อพัฒนาทักษะการทํางานใหเกิดประสิทธิผล 3.4 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 3.4.1 มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอ บงานที่ไดรับมอบหมายตามหนาที่และ บทบาทของตนในกลุมงานไดอยางเหมาะสม รวมทั้งมีสวนรวมในการชวยเหลือ ผูรวมงานและแกไขปญหากลุม 3.4.2 มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพใหทันสมัยอยางตอเนื่องและ ตรงตามมาตรฐานสากล คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


56

3.5 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.5.1 มีความสามารถในการใชภาษาไทย และภาษาตางประเทศในการฟง การพูด การอาน การเขียน และการสรุปประเด็นไดอยางมีประสิทธิภาพ 3.5.2 มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวตางชาติไดอยางเหมาะสมตามสถานการณและ วัฒนธรรม 3.5.3 มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตอสื่อสาร รูจักเลือกรูปแบบ ของการนําเสนอที่เหมาะสมสําหรับเรื่อง และผูฟงที่แตกตางกันไดอยางมีประสิทธิภาพ 3.5.4 มีความสามารถในการใชเทคนิคการประมวลและแปลความหมาย การวิเคราะห ขอมูล ไดอยางมีประสิทธิภาพ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


57

แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผิดชอบตอผลการเรียนรู (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป

รายวิชา / ผลการเรียนรู 1 2 3 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชา วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร GESC1101 เทคโนโลยีสารสนเทศและ    การสื่อสาร GESC1102 วิทยาศาสตรเพื่อชีวิต    GESC1103 พืชพรรณเพื่อชีวิต    GESC1104 ทรัพยากรธรรมชาติและ    สิ่งแวดลอมเพื่อชีวิต GESC1105 ชีวิตกับเทคโนโลยี    GESC1106 กระบวนการคิดและ    คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

2. ความรู

1. คุณธรรม จริยธรรม

3. ทักษะทางปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวาง บุคคลและความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิง ตัวเลขการสื่อสารและ การใชเทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3

4

5

6

7

8

1

2

3

1

2

3

1

2

3

4

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


58

1. คุณธรรม จริยธรรม

รายวิชา / ผลการเรียนรู

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชา ภาษา GETH1001 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร GEEN1001 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร GEKR1101 ภาษาเกาหลีเบื้องตนเพื่อการ สื่อสาร GEKM1101 ภาษาเขมรเบื้องตนเพื่อการ สื่อสาร GECN1101 ภาษาจีนเบื้องตนเพื่อการ สื่อสาร GEJP1101 ภาษาญี่ปุนเบื้องตนเพื่อการ สื่อสาร GEVN1101 ภาษาเวียดนามเบื้องตนเพื่อ การสื่อสาร GEFR1101 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตนเพื่อ การสื่อสาร GEEN1101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ขั้นสูง GEEN1102 ภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความ พรอมสําหรับการสมัครงาน

2. ความรู

3. ทักษะทางปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวาง บุคคลและความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิง ตัวเลขการสื่อสารและ การใชเทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3

1

2

3

4

5

6

7

8

1

2

3

1

2

3

1

2

3

4

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


59

2

3

4

5

6

7

8

1

2

3

1

2

3

1

2

3

4

5. ทักษะการวิเคราะห เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รายวิชา / ผลการเรียนรู 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชา มนุษยศาสตร GEHS1001 สารสนเทศเพื่อการเรียนรู  GEHS1101 l สุนทรียภาพของชีวิต  GEHS1102 การพัฒนาตนเพื่อความสุข  ของชีวิต GEHS1103 จริยธรรมทางสังคมและ  การใชเหตุผล

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

2. ความรู

1. คุณธรรม จริยธรรม

3. ทักษะทางปญญา

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

4. ทักษะความสัมพันธระหวาง บุคคลและความรับผิดชอบ


60

3

4

5

6

7

8

1

2

3

1

2

3

1

2

3

4

5. ทักษะการวิเคราะห เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รายวิชา / ผลการเรียนรู 1 2 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชา สังคมศาสตร GESO1001 พลวัตสังคมไทย   GESO1101 พลวัตสังคมโลก   GESO1102 มนุษยกับ   สิ่งแวดลอม GESO1103 กฎหมายใน   ชีวิตประจําวัน GESO1104 เศรษฐกิจพอเพียง   และการประยุกตใช GESO1105 ธุรกิจสําหรับ   ชีวิตประจําวัน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชา พลานามัย GEPA1001 การออกกําลังกาย   เพื่อสุขภาพ GEPA1002 กีฬาประเภทบุคคล  

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

2. ความรู

1. คุณธรรม จริยธรรม

3. ทักษะทางปญญา

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

4. ทักษะความสัมพันธระหวาง บุคคลและความรับผิดชอบ


61

รายวิชา

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาแกน GOHI1101 ภูมิศาสตรประเทศไทย GOHI1201 ประวัตศิ าสตรไทย GOHI2101 ภูมิศาสตรโลก GOHI2202 ประวัตศิ าสตรโลก TRHM1101 การพัฒนาบุคลิกภาพในอุตสาหกรรมบริการ วิชาเอกบังคับ GOHI1102 แผนทีแ่ ละเครือ่ งมือทางภูมศิ าสตรสาํ หรับการทองเทีย่ ว GOHI1103 ภูมศิ าสตรกายภาพ GOHI1202 ประวัตศิ าสตรและวัฒนธรรมไทย GOHI2103 ภูมศิ าสตรการทองเทีย่ วไทย GOHI2201 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 1 GOHI3101 ภูมศิ าสตรการตลาดและอุตสาหกรรม GOHI3106 ความรูเบื้องตนระบบภูมิสารสนเทศและระบบสารสนเทศ ภูมศิ าสตร GOHI3201 ประวัตศิ าสตรไทยเพือ่ การทองเทีย่ ว คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คุณธรรม จริยธรรม

ความรู

ทักษะทางปญญา

ทักษะความสัมพันธระหวาง บุคคลและความรับผิดชอบ

ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ

1

2

3

1

2

3

1

2

3

1

2

3

1

2

3

o o o o •

o o o o •

o o o o •

• • • • •

• • • • •

• • • • •

o o o o •

• • • • •

• • • • •

• • • • •

• • • • •

• • • • •

• • • • •

o o o o •

• • • • •

o o o o o o o

o o o o o o o

o o o o o o o

• • • • • • •

• • • • • • •

• • • • • • •

o o o o o o o

• • • • • • •

• • • • • • •

• • • • • • •

• • • • • • •

• • • • • • •

• • • • • • •

o o o o o o o

• • • • • • •

o

3

o

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


62

รายวิชา

GOHI3202 ประวัตศิ าสตรในวรรณกรรมสําหรับการทองเทีย่ ว GOHI3207 เหตุการณโลกปจจุบนั GOHI3901 ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางภูมศิ าสตรและประวัตศิ าสตร GOHI4901 การสัมมนาทางภูมศิ าสตรและประวัตศิ าสตรเชิงทองเทีย่ ว CHIN1101 ภาษาจีนพืน้ ฐาน 1 ENGL2721 ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรมทองเที่ยว1 FREN1101 ภาษาฝรัง่ เศส 1 JPAN1101 ภาษาญีป่ ุน 1 วิชาเอกเลือก CHIN1102 ภาษาจีนพืน้ ฐาน 2 ENGL2272 ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรมทองเที่ยว2 FREN1102 ภาษาฝรัง่ เศส 2 GOHI1104 ภูมศิ าสตรวฒ ั นธรรมและการตัง้ ถิน่ ฐานของมนุษย GOHI1203 การทองเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร GOHI2102 ภูมศิ าสตรประชากร GOHI1204 การศึกษาประวัตศิ าสตรในภาพยนตรไทย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คุณธรรม จริยธรรม

ความรู

ทักษะทางปญญา

ทักษะความสัมพันธระหวาง บุคคลและความรับผิดชอบ

ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ

1

2

3

1

2

3

1

2

3

1

2

3

1

2

3

o o o • o o o o

o o • • o o o o

o o o • o o o o

• • • • o o o o

• • • • o o o o

• • • • • • • •

o • • • o o o o

• • • • • • • •

• • • • o o o o

• • • • o o o o

• • • • • • • •

• • • • • • • •

• • • • • • • •

o o o o • • • •

• • • • • • • •

o o o o o o o

o o o o o o o

o o o o o o o

o o o • • • •

o o o • • • •

• • • • • • •

o o o o • o o

• • • • • • •

o o o • • • •

o o o • • • •

• • • • • • •

• • • • • • •

• • • • • • •

• • • o o o o

• • • • • • •

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


63

รายวิชา

GOHI2104 ภูมิศาสตรการพัฒนาและอนุรักษทรัพยากร การทองเที่ยว GOHI2105 แผนทีแ่ ละการแปลความหมายของแผนที่ GOHI 2106 เทคนิคและวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร GOHI 2107 ภูมิศาสตรทองถิ่น GOHI2203 ประวัตศิ าสตรไทยสมัยใหม GOHI2204 ประวัตศิ าสตรทอ งถิน่ GOHI2205 ประวัติศาสตรไทยรวมสมัย GOHI2206 การศึกษาเอกสารและหลักฐานทางประวัตศิ าสตร GOHI2207 ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย GOHI2208 ประวัติศาสตรสังคมไทย GOHI2209 พิพิธภัณฑศึกษาเพื่อการทองเที่ยว GOHI3102 ภูมศิ าสตรประชากรกับการพัฒนาดานการทองเทีย่ ว GOHI3103 การวางแผนและพัฒนาพื้นที่เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน GOHI3104 ภูมศิ าสตรเมือง GOHI3105 การสํารวจขอมูลระยะไกลและระบบกําหนดพิกัดตําแหนงบนพื้น โลกดวยดาวเทียม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คุณธรรม จริยธรรม

ความรู

ทักษะทางปญญา

ทักษะความสัมพันธระหวาง บุคคลและความรับผิดชอบ

ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ

1

2

3

1

2

3

1

2

3

1

2

3

1

2

3

• o o o o o o o o o o o o o o

• o o o o o o o o o o o • o o

• o o o o o o o o o o o • o o

• • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • •

• o o o o o o o o o o o • o o

• • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • •

o o o o o o o o o o o o o o o

• • • • • • • • • • • • • • •

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


64

รายวิชา

GOHI3107 ภูมศิ าสตรเอเชีย GOHI3108 ภูมศิ าสตรยโุ รป GOHI3109 ภูมศิ าสตรแอฟริกา GOHI3110 ภูมศิ าสตรชายฝง ทะเล GOHI3203 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 2 GOHI3204 ประวัติศาสตรการเมืองการปกครองไทย GOHI3205 ประวัตศิ าสตรภมู ปิ ญ  ญาไทย GOHI3206 ประวัติศาสตรและโบราณคดีในทองถิ่นเพื่อการทองเที่ยว GOHI3208 ประวัตศิ าสตรเอเชีย GOHI3209 ประวัตศิ าสตรยุโรป GOHI3210 ประวัตศิ าสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต GOHI4101 ภูมศิ าสตรประเทศไทยเชิงวิเคราะห GOHI4201 ประวัตศิ าสตรไทยเชิงวิเคราะห GOHI4102 การจัดการฐานขอมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อการ ทองเทีย่ ว GOHI4902 การวิจยั ทางภูมศิ าสตรและประวัตศิ าสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คุณธรรม จริยธรรม

ความรู

ทักษะทางปญญา

ทักษะความสัมพันธระหวาง บุคคลและความรับผิดชอบ

ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ

1

2

3

1

2

3

1

2

3

1

2

3

1

2

3

o o o o o o o o o o o o o o

o o o o o o o o o o o o o o

o o o o o o o o o o o o o o

• • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • •

o o o o o o o o o o o • • o

• • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • •

o o o o o o o o o o o o o o

• • • • • • • • • • • • • •

o

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


65

รายวิชา

LAWS3702 กฎหมายเกีย่ วกับการทองเทีย่ ว วิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ GOHI4801 การเตรียมฝกประสบการณวชิ าชีพภูมศิ าสตรและประวัตศิ าสตร เชิงทองเที่ยว GOHI4802 การฝกประสบการณวชิ าชีพภูมศิ าสตรและประวัตศิ าสตรเชิง ทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คุณธรรม จริยธรรม

ความรู

ทักษะทางปญญา

ทักษะความสัมพันธระหวาง บุคคลและความรับผิดชอบ

ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ

1

2

3

1

2

3

1

2

3

1

2

3

1

2

3

o

o

o

o

o

o

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


66

หมวดที่ 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (เกรด) ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมวาดวยการจัดการศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิข์ องนักศึกษา 2.1 ใหอาจารยแสดงตัวอยางการประเมินผลทุกรายวิชาเพื่อการทวนสอบ 2.2 (อาจ) จัดตั้งกรรมการทวนสอบ เพื่อสุมตรวจสอบการใหคะแนนในรายวิชาหรือรายงานของ ผูเรียน 2.3 เปรียบเทียบการใหคะแนนขอสอบแตละขอในแตละรายวิชา ตามเกณฑที่กําหนด เพื่อใหผูสอนมี มาตรฐานการใหคะแนน โดยเฉพาะรายวิชาที่มีผูสอนมากกวา 1 คน 2.4 (อาจ) จัดทําขอสอบมาตรฐานสําหรับรายวิชาเดียวกันในกรณีที่มีผูสอนหลายคน 2.5 (อาจ) จัดทําขอสอบมาตรฐานสําหรับรายวิชาที่มีเนื้อหาตรงกันกับสถาบันในเครือขาย 2.6 สํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับคําถามในขอสอบจากผูใชบัณฑิต เพื่อปรับมาตรฐานขอสอบ 3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมวาดวยการจัดการศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


67

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย 1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม 1.1 จัดหลักสูตรการอบรมสําหรับอาจารยใหม ซึ่งอาจจัดขึ้นในระดับมหาวิทยาลัย หรือคณะ 1.2 ใหอาจารยใหมสังเกตการณการสอนของอาจารยผูมีประสบการณ 1.3 จัดระบบแนะนํา / ระบบพี่เลี้ยง (mentoring system) แกอาจารยใหม 1.4 จัดเตรียมคูมืออาจารยและเอกสารที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานใหอาจารยใหม 1.5 จัดปฐมนิเทศอาจารยใหม เรือ่ ง บทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบ รายละเอียดหลักสูตร และการจัดทํา ประมวลรายวิชา (course syllabus) 2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล 2.1.1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน วิธีการสอน กลยุทธในการสอน และการวัดและการประเมินผลในรายวิชา 2.1.2 สนับสนุนใหผูสอนรวมสัมมนาเชิงวิชาการในดานการเรียนการสอน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ ความคิดเห็นกับผูสอนอื่นหรือผูชํานาญการ 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอื่นๆ 2.2.1 สนับสนุนใหผูสอนทํางานวิจัยที่เปนประโยชนตอชุมชน 2.2.2 พัฒนาใหผูสอนไดศึกษาตอเมื่อทํางานไดระยะหนึ่ง และมีผลงานดีเดน 2.2.3 ใหผูสอนมีสวนรวมในการจัดทําหลักสูตร ปรับปรุงรายวิชา หรือพัฒนาหลักสูตรใหม 2.2.4 สนับสนุนใหผูสอนไดรับประสบการณจริง โดยสงไปฝกงานในสถานประกอบ การและจัด สวัสดิการในการฝกงานใหตามสมควร 2.2.5 สนับสนุนใหผูสอนไปใหบริการทางวิชาการที่ตรงกับความตองการของตลาดแรงงานและสังคม เพื่อใหสามารถนําประสบการณมาพัฒนาการเรียนการสอน 2.2.6 เปดโอกาสหรือจัดงบประมาณใหผูสอนซื้อตําราเรียนใหม ๆ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน รวมทั้ง อํานวยความสะดวกในดานการจัดหาอุปกรณปฏิบัติการในหองปฏิบัติการใหเพียงพอ 2.2.7 จัดโครงการเยี่ยม – ศึกษาดูงานตางมหาวิทยาลัย ทั้งในประเทศและตางประเทศ 2.2.8 มอบประกาศเกียรติคุณและใหรางวัล เพื่อธํารงรักษาคณาจารยที่มีคุณภาพ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


68

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การบริหารหลักสูตร ในการบริหารหลักสูตร จะมีคณะกรรมการประจําหลักสูตร อันประกอบดวยรองคณบดีฝาย วิชาการ หัวหนาภาค ประธานหลักสูตร และอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร โดยมีคณบดีเปนผูกํากับดูแลคอยให คําแนะนํา ตลอดจนกําหนดนโยบายปฏิบัติใหแกอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จะวางแผนการจัดการเรียนการสอนรวมกับผูบริหารของคณะและ อาจารยผูสอน ติดตามและรวบรวมขอมูลสําหรับใชในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโดยกระทําทุกปอยาง ตอเนื่อง เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล 1. พัฒนาหลักสูตรใหทันสมัยโดย อาจารยและนักศึกษาสามารถ กาวทันหรือเปนผูนําในการสราง องคความรู/นวตกรรมและ ผลงานใหมๆ ทางดานศิลปกรรม 2. กระตุนใหนักศึกษาเกิดความใฝรู มีแนวทางการเรียนที่เสริมสราง ทั้งความรู ทักษะ และความ สามารถในวิชาการและวิชาชีพที่ ทันสมัย 3. ตรวจสอบและปรับปรุงหลักสูตร ใหมีคุณภาพมาตรฐาน 4. มีการประเมินมาตรฐานของ หลักสูตรอยางสม่ําเสมอ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

1. จัดใหมีหลักสูตรที่สอดคลองกับ มาตรฐานวิชาชีพดานศิลปกรรม ระดับชาติหรือระดับสากล (หากมีการกําหนด) 2. ปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัย โดย มีการพิจารณาปรับปรุง หลักสูตรทุก ๆ 3 ป 3. จัดแนวทางการเรียนในวิชา เรียนใหมีทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบตั ิ และมีแนวทางการ เรียนหรือกิจกรรมประจําวิชาที่ สงเสริมใหนักศึกษาไดศึกษาหา ความรูที่ทันสมัยดวยตนเอง 4. จัดใหมีผูสนับสนุนการเรียนรู และหรือผูชวยสอน เพื่อกระตุน ใหนักศึกษาเกิดความใฝรู 5. กําหนดใหอาจารยที่สอนมี คุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาโท หรือเปนผูมีประสบการณหลาย ป และมีจํานวนคณาจารยประจํา ไมนอยกวาเกณฑมาตรฐาน

- หลักสูตรที่สามารถอางอิงกับ มาตรฐานที่กําหนดโดยหนวย งานวิชาชีพดานศิลปกรรม มี ความทันสมัยและมีการปรับปรุง สม่ําเสมอ - จํานวนวิชาเรียนที่มที ั้ง ภาคปฏิบตั แิ ละวิชาเรียนที่มี แนวทางใหนักศึกษาไดคนควา ความรูใหมไดดวยตนเอง - จํานวนและรายชือ่ คณาจารย ประจํา ประวัติอาจารยในดาน คุณวุฒิ ประสบการณ และการ พัฒนาฝกอบรมของอาจารย - จํานวนบุคลากรผูสนับสนุนการ เรียนรู และบันทึกกิจกรรมใน การสนับสนุนการเรียนรู - ผลการประเมินการเรียนการสอน อาจารยผูสอน และการ สนับสนุนการเรียนรูของ ผูสนับสนุนการเรียนรู โดย นักศึกษา

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


69

เปาหมาย

การดําเนินการ

การประเมินผล

6. สนับสนุนใหอาจารยผูสอนเปน ผูน าํ ในทางวิชาการ และ/หรือ เปนผูเชี่ยวชาญทางวิชาชีพดาน ศิลปกรรมหรือในดานที่ เกี่ยวของ 7. สงเสริมอาจารยประจําหลักสูตร ใหไปศึกษาดูงานในหลักสูตร หรือวิชาการที่เกี่ยวของทั้งใน และตางประเทศ 8. มีการประเมินหลักสูตรโดย คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ภายในทุก 2 ป และภายนอก อยางนอยทุก 4 ป 9. จัดทําฐานขอมูลทางดาน นักศึกษา อาจารย อุปกรณ งบประมาณ ความรวมมือกับ ตางประเทศ ผลงานทางวิชาการ ในทุกภาคการศึกษา เพื่อเปน ขอมูลในการประเมินของ คณะกรรมการ 10. ประเมินความพึงพอใจของ หลักสูตรและการเรียนการสอน โดยบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา

- ประเมินผลโดยคณะกรรมการที่ ประกอบดวยอาจารยภายในคณะ ทุก 2 ป - ประเมินผลโดยคณะกรรมการ ผูทรงคุณวุฒิภายนอกทุก ๆ 4 ป - ประเมินผลโดยบัณฑิตผูสําเร็จ การศึกษาทุก ๆ 2 ป

ระบบและกลไกในการบริหารหลักสูตรมีดังนี้ 1.1 การเตรียมความพรอมกอนการเปดการเรียนการสอน - ภาควิชา/ผูรับผิดชอบหลักสูตรมอบหมายผูสอนเตรียมความพรอมในเรื่องอุปกรณการเรียน การสอน สือ่ การสอน เอกสารประกอบการสอน และสิ่งอํานวยความสะดวกอื่น ๆ รวมทั้งการติดตามผลการ เรียนการสอนและการจัดทํารายงาน 1.2 การติดตามการจัดการเรียนการสอน - ภาควิชา/ผูรับผิดชอบหลักสูตรจัดทําระบบสังเกตการณจัดการเรียนการสอน เพื่อใหทราบ ปญหา อุปสรรค และขีดความสามารถของผูสอน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


70

1.3 เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน ภาควิชา/ผูรับผิดชอบหลักสูตร/สถาบัน จัดทําระบบการประเมินผล ผูส อน โดยผูเรียน ผูสอนประเมินการสอนของตนเอง และผูสอนประเมินผลรายวิชา 1.4 เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา ภาควิชา/ผูรับผิดชอบหลักสูตร ติดตามผลการประเมินคุณภาพการสอน การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 1.5 เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแตละป ผูรับผิดชอบหลักสูตรจัดทํารางรายงานผลการดําเนินงาน หลักสูตรประจําป ซึ่งประกอบดวยผลการประเมินคุณภาพการสอน รายงานรายวิชา ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ ของนักศึกษา เสนอตอภาควิชา/คณบดี 1.6 หัวหนาภาควิชารวมกับอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรจัดประชุมอาจารยประจําหลักสูตร วิเคราะ ห ผลการดําเนินงานหลักสูตรประจําป และใชขอมูลเพื่อการปรับปรุงกลยุทธการสอนทักษะของอาจารยผูสอนใน การใชกลยุทธการสอน และสิ่งอํานวยความสะดวกที่สงผลกระทบตอคุณภาพของหลักสูตร และจัดทํารายงาน ผลการดําเนินงานหลักสูตรเสนอคณบดี 1.7 เมือ่ ครบรอบ 4 ป ภาควิชาแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิประเมินผลการดําเนินงานหลักสูตร โดยประเมินจาก การเยี่ยมชม รางรายงานผลการดําเนินงานหลักสูตร และจัดประเมินคุณภาพหลักสูตรโดยนักศึกษาชั้นปสุดทาย กอนสําเร็จการศึกษา และผูใชบัณฑิต 1.8 แตงตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร ที่มีจํานวนและคุณสมบัติตามหลักเกณฑของ สกอ. เพื่อให มีการปรับปรุงหลักสูตรอยางนอยทุก 5 ป โดยนําความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิ บัณฑิตใหม ผูใชบัณฑิต การ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลกระทบตอลักษณะที่พึงประสงคของบัณฑิตมาประกอบการ พิจารณา 2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 2.1 การบริหารงบประมาณ วิเคราะหคาใชจายและรายไดลวงหนา 4 ป ซึ่งชวยในการวางแผนงบประมาณเงินรายไดในแต ละปใหสอดคลองกับรายไดและคาใชจายที่จะเกิดขึ้น นอกจากนี้ ผลการวิเคราะหการเงินยังนํามาใชในการวาง แผนการปฏิบัติงานประจําปการศึกษา โดยเฉพาะในเรื่องการเพิ่มกิจกรรม /โครงการที่จะเพิ่มรายไดใหกับ ภาควิชา การจัดสรรจํานวนรายวิชา /ชั่วโมงของอาจารยพิเศษใหสอดคลองกับงบประมาณเงินรายไดการ วางแผน การจัดหา การใช และการเพิ่มจํานวนทรัพยากรการเรียนการสอนของภาควิชา 2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนทีม่ อี ยูเ ดิม ขอมูลแสดงความพรอมของทรัพยากรการเรียนการสอน ตํารา หนังสืออางอิง เอกสาร อุปกรณ การเรียนการสอน หองปฏิบัติการ หองสมุด สื่ออิเล็กทรอนิกส 2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิม่ เติม 2.3.1 คณะ/ภาควิชาจัดสรรงบประมาณประจําปในการจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอน ตํารา วารสารทางวิชาการ และสือ่ อิเล็กทรอนิกส คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


71

2.3.2 คณะ/ภาควิชาใหผูสอนเสนอความตองการทรัพยากรเพื่อการจัดหา 2.3.3 คณาจารยรวมกันประชุมเพื่อวางแผนจัดทําขอเสนองบประมาณครุภัณฑ และอุปกรณ การเรียนการสอน 2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร 2.4.1 สํารวจความตองการทรัพยากรการเรียนการสอนเปนประจําทุกปจากผูสอนและผูเรียน 2.4.2 ประเมินความพอเพียงของทรัพยากรการเรียนการสอนทุกรายวิชา 2.4.3 สรุปแหลงทรัพยากรการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย คณะ และภาควิชาที่ผูสอนและ ผูเรียนสามารถใชบริการได 3. การบริหารคณาจารย 3.1 การรับอาจารยใหม 3.1.1 การกําหนดคุณสมบัติ (1) คุณสมบัติทั่วไปเปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย (2) คุณสมบัติของผูสมัคร - สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาระดับปริญญาโทดานการทองเที่ยว หรือสาขาวิชา อื่นที่เกี่ยวของ ซึ่งตองมีผลงานทางวิชาการ หรือผลงานวิจัยดานการทองเที่ยวโดยตรง - มีประสบการณการสอน หรือเปนวิทยากรเชิงวิชาการดานการทองเที่ยวใน ระดับอุดมศึกษาอยางนอย 2 ป - มีประสบการณการทํางานในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวโดยตรงอยางตอเนื่อง อยางนอย 2 ป 3.1.2 การคัดเลือก โดยการสอบขอเขียน สอบสัมภาษณ และสอบสอนโดยคณะกรรมการที่ คณบดีแตงตั้ง 3.2 การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร 3.2.1 จัดประชุมอาจารยในภาควิชาเดือนละ 1 ครัง้ เพื่อติดตามผลการดําเนินงานตามแผนงาน ประจําปของภาควิชา 3.2.2 แตงตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร ซึ่งทําหนาที่ทบทวนการบริหารหลักสูตรทุกสิ้น ภาคการศึกษา และประจําป เพื่อนําไปสูการปรับปรุงหลักสูตร 3.2.3 สํารวจความตองการจากผูที่เกี่ยวของเพื่อเปนขอมูลในการปรับปรุงหลักสูตร 3.3 การแตงตั้งคณาจารยพิเศษ 3.3.1 มีนโยบายในการเชิญผูทรงคุณวุฒิภายนอกมารวมสอนในบางรายวิชา และบางหัวขอที่ ตองการความเชี่ยวชาญเฉพาะหรือประสบการณจริง คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


72

3.3.2 จัดระบบคัดกรองคณาจารยที่จะเชิญมาบรรยายบางเวลา และสอนพิเศษ โดยกําหนด หลักเกณฑกวาง ๆ เพื่อเปนแนวทางในการคัดเลือกเชน ผลงานทางวิชาการ เปนผูเชี่ยวชาญที่ยอมรับในวิชาชีพ เปนตน 3.3.3 ขออนุมัติการเชิญตามระเบียบของสถาบัน 3.3.4 คณาจารยที่สอนบางเวลา และสอนพิเศษตองมีแผนการสอนตามคําอธิบายรายวิชาที่ สถาบันจัดทําไวประกอบการสอน โดยประสานงานกับอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร 4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 4.1 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง 4.1.1 มีการกําหนดคุณสมบัติบุคลากรสนับสนุนใหตรงตามภาระหนาที่ที่ตองรับผิดชอบกอน การรับเขาทํางาน 4.1.2 ตองผานการสอบแขงขันที่ประกอบดวยการสอบขอเขียนและการสอบสัมภาษณ โดยให ความสําคัญตอความสามารถในการปฏิบัติงานตามตําแหนง และทัศนคติตองานการใหบริการอาจารยและ นักศึกษา 4.1.3 สถาบันออกกฎ ระเบียบในการบริ หารทรัพยากรบุคคลสนับสนุนการเรียนการสอนให ครบวงจร(รับสมัคร คัดเลือก ตอรอง บรรจุ ปฐมนิเทศ อบรม และพัฒนาบุคลากร ระบบการพิจารณาความดี ความชอบ) 4.2 การเพิ่มทักษะความรูเพื่อการปฏิบัติงาน 4.2.1 จัดการฝกอบรมในดานการปฏิบัติงานในหนาที่และการบริหาร (เชน การตรวจสอบ บัญชีการวางแผน การบริหารเวลา ฯลฯ) 4.2.2 จัดระบบการศึกษาดูงาน เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูการทํางานในหนวยงานอื่น 4.2.3 สนับสนุนใหบุคลากรไดรวมงานกับอาจารยในโครงการบริการทางวิชาการ และ โครงการวิจัยของสาขาวิชา 4.2.4 สรางระบบพัฒนาบุคลากรสนับสนุนการเ รียนการสอนที่มีความสามารถดีเดน และ คุณวุฒิเหมาะสมใหสามารถทําหนาที่ผูสอน 4.2.5 ใหทุนการศึกษาเพิ่มเติมในสาขาที่เกี่ยวของกับหลักสูตรสําหรับผูปฏิบัติงานดีเดน 5. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา 5.1 การใหคําปรึกษาดานวิชาการ และอื่นๆ แกนกั ศึกษา 5.1.1 คณะมีคณะกรรมการอาจารยที่ปรึกษา นักศึกษา ทําหนาที่สงเสริม สนับสนุน ให คําแนะนําและกํากับดูแลการทํางานของอาจารยที่ปรึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


73

5.1.2 ใหอาจารยทุกคนทําหนาที่เปนอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการและกิจกรรมแก นักศึกษา และตองจัดตารางเวลาใหนักศึกษาเขาพบหรือขอคําปรึกษา 5.1.3 จัดระบบการสอนเสริมใหแกนักศึกษาที่ออนดอยในบางรายวิชา 5.1.4 จัดระบบแนะแนวเกี่ยวกับการเลือกและวางแผนสําหรับอาชีพใหนักศึกษา 5.2 การอุทธรณของนักศึกษา สถาบันตองมีการจัดระบบที่เปดโอกาสให นักศึกษาอุทธรณในเรื่องตาง ๆ โดยเฉพาะเรือ่ ง เกี่ยวกับวิชาการ โดยกําหนดเปนกฎระเบียบ และกระบวนการในการพิจารณาคําอุทธรณเหลานั้น 6. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต 6.1 จัดการสํารวจความตองการของตลาดแรงงาน และความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตกอนการพัฒนา หรือปรับปรุงหลักสูตร 6.2 ประมาณการความตองการแรงงานประจําปจากภาวะการไดงานทําของบัณฑิต และรายงานผลการ สํารวจความตองการแรงงานของหนวยงานราชการ และหนวยงานภาคธุรกิจที่เกี่ยวของ 6.3 ติดตามขอมูลความรูและทักษะที่เปนที่ตองการของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว ซึ่งเปลี่ยนแปลงตาม ความกาวหนาทางเทคโนโลยี การแขงขันทางการคาธุรกิจบริการและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการ บริโภคทางการทองเที่ยว 6.4 มีแผนการจัดการสํารวจความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตเมื่อครบรอบหลักสูตร เพื่อใชเปนขอมูลใน การปรับปรุงหลักสูตรครั้งตอไป 6.5 แนวทางการประเมินประสิทธิผลของบัณฑิต พิจารณาจากปจจัยความตองการของตลาดแรงงาน ดังนี้ 1) ภาษาตางประเทศ 2) การใชระบบสารสนเทศ 3) พฤติกรรมในการทํางานและวินัยการทํางาน 4) บุคลิกภาพในการทํางาน 5) ความรูเชิงวิชาชีพ และการแกปญหาเฉพาะหนา 6) ความสามารถในการเรียนรูและศักยภาพในการตัดสินใจ 7) มนุษยสัมพันธ การทํางานเปนทีม และการเปนผูนํา 8) การสื่อความกับผูอื่น 9) การสรางความประทับใจใหกับลูกคา 10) ความคิดสรางสรรค - กลุมตัวอยางที่ใชในการประเมินเปนผูใชบัณฑิตในสถานประกอบการธุรกิจการทองเที่ยวและการ โรงแรม - ชวงเวลาของการประเมิน 2 ปหลังจากรับบัณฑิตสาขาวิชาการทองเที่ยวเขาไปทํางานแลว คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


74

7. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicator)

ปการศึกษา ตัวบงชี้และเปาหมาย ปท1ี่ ปท2ี่ ปท3ี่ ปท4ี่ ปท5ี่ 1. อาจารยประจํา หลักสูตรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการ X X X X X ประชุม เพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร 2. มีการจัดทํารายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. 2 ที่สอดคลอง X X X X X กับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา / สาขาวิชา 3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ X X X X X ภาคสนาม ตามแบบ มคอ. 3 และ มคอ. 4 อยางนอยกอนการเปดสอน ในแตละภาคการศึกษาใหครบทุกรายวิชา 4. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา และรายงานผลการ X X X X X ดําเนินการของประสบการณภาคสนาม ตามแบบ มคอ. 5 และ มคอ. 6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปดสอนใหครบทุกรายวิชา 5. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. 7 X X X X X ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปการศึกษา 6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู X X X X X ที่กําหนดใน มคอ. 3 และมคอ. 4 (ถามี) อยางนอยรอยละ 25 ของ รายวิชาที่เปดสอนในแตละปการศึกษา 7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอน X X X X หรือ การประเมินผลการเรียนรูจากผลการประเมินการดําเนินงานที่ รายงานใน มคอ. 7 ปที่แลว 8. อาจารยใหม (ถามี) ทุกคน ไดรับการปฐมนิเทศหรือคําแนะนําดาน X X X X X การจัดการเรียนการสอน 9. อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ X X X X X อยางนอยปละหนึ่งครั้ง 10. จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถามี) ไดรับการ X X X X X พัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไมนอยกวารอยละ 50 ตอป 11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทาย/บัณฑิตใหมที่มีตอ X X คุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไมนอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


75

ปการศึกษา ตัวบงชี้และเปาหมาย ปท1ี่ ปท2ี่ ปท3ี่ ปท4ี่ ปท5ี่ 12. ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิตใหม เฉลี่ยไม X นอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 13. อื่นๆ ระบุ........ 9 10 10 11 12 รวมตัวบงชี้ (ขอ) ในแตละป 1-5 1-5 1-5 1-5 1-5 ตัวบงชี้บังคับ (ขอที่) 7 8 8 9 10 ตัวบงชี้ตองผานรวม (ขอ) เกณฑประเมิน : หลักสูตรไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ ตองผานเกณฑประเมินดังนี้ ตัวบงชี้บังคับ (ตัวบงชี้ที่ 1-5) มีผลดําเนินการบรรลุตามเปาหมาย และมีจํานวนตัวบงชี้ที่มีผลดําเนินการบรรลุเปาหมายไม นอยกวา 80% ของตัวบงชี้รวม โดยพิจารณาจากจํานวนตัวบงชี้บังคับและตัวบงชี้รวมในแตละป

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


76

หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธการสอน 1.1.1 การประชุมรวมกันของอาจารยในภาควิชา เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขอ คําแนะนํา ขอเสนอแนะจากอาจารยที่มีความรูในการใชกลยุทธการสอน เพื่อนําไปวางแผนกลยุทธการสอนสําหรับ รายวิชาที่ผูสอนแตละคนรับผิดชอบ 1.1.2 การสอบถามจาก นักศึกษา ถึงประสิทธิผลของการเรียนรูจากวิธีการที่ใช โดยใช แบบสอบถามหรือการสนทนากับกลุมนักศึกษา ระหวางภาคการศึกษา โดยอาจารยผูสอน 1.1.3 การประเมินการเรียนรูของนักศึกษาจากพฤติกรรมการแสดงออก การทํากิจกรรมและผล การสอบ 1.1.4 การปรึกษาหารือกับผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตรหรือวิธีการสอน ในกรณีที่ตองพัฒนา / ปรับปรุงกลยุทธการสอนในรายวิชาที่ตองการสมรรถนะ และทักษะอาชีพในระดับสากล 1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน 1.2.1 การประเมินการสอนโดย นักศึกษาทุกปลายภาคการศึกษา โดยสํานักทะเบี ยนและ ประมวลผล 1.2.2 การประเมินการสอนของอาจารยจากการสังเกตในชั้นเรียนถึงวิธีการสอน กิจกรรม งาน ที่มอบหมายแกนักศึกษา โดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา 1.2.3 การประเมินการสอนโดยผูสอน โดยวิเคราะหจุดแข็ง จุดออนของกลยุทธ ผลการเรียน ของนักศึกษาและเขียนไวในรายงานรายวิชา 1.2.4 การทดสอบการเรียนรูข องนักศึกษาเทียบเคียงกับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยอื่น โดยใช ขอสอบกลางของเครือขายสถาบัน 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 2.1 ประเมินจากนักศึกษาปจจุบันและบัณฑิตที่จบตามหลักสูตร โดยใชแบบสอบถามนักศึกษาชั้นปที่ 4 ในโครงการปจฉิ มนิเทศ การสัมภาษณตัวแทนของนักศึกษา/บัณฑิต กับตัวแทนคณาจารย และการเปดเว็บไซต (web site) เพื่อรับขอมูลยอนกลับจากนักศึกษาและผูที่เกี่ยวของ 2.2 ประเมินจากผูทรงคุณวุฒิ และ/หรือผูประเมินภายนอก โดยดูจากผลการประเมินตนเองของผูสอน และรายงานผลการดําเนินการหลักสูตร และการเยี่ยมชม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


77

2.3 ประเมินจากนายจางหรือผูมีสวนเกี่ยวของ โดยประเมินความพึงพอใจตอคุณภาพของบัณฑิต การวิพากษหลักสูตร และการสํารวจอัตราการวาจางแรงงานและความกาวหนาของบัณฑิตที่กาวขึ้นไปสู ตําแหนงระดับผูนําในองคกร 3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร ประเมินคุณภาพการศึกษาประจําป ตามตัวบงชี้ในหมวดที่ 7 ขอ 7 โดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายในระดับภาควิชา/สาขาวิชา ที่แตงตั้งโดยคณบดี 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง 4.1 อาจารยประจําวิชาทบทวนผลการประเมินประสิทธิผลของการสอนในวิชาที่รับผิดชอบในระหวาง ภาคการศึกษา และปรับปรุงทันทีเมื่อไดรับขอมูลในกรณีที่จําเปน และเมื่อสิ้นภาคการศึกษา จัดทํารายงานผล การดําเนินการรายวิชาเสนอหัวหนาภาควิชาผานอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร 4.2 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ใน หมวดที่ 7 ขอ 7 จากการ ประเมินคุณภาพภายในภาควิชา 4.3 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรสรุปผลการดําเนินงานหลักสูตรประจําป โดยรวบรวมขอมูลการ ประเมินประสิทธิผลของการสอน รายงานผลการดําเนินการของรายวิชา รายงานผลการดําเนินการของ ประสบการณภาคสนาม รายงานผลการประเมินการสอนและสิ่งอํานวยความสะดวก รายงานผลการทวนสอบ ผลสัมฤทธิข์ องนักศึกษา รายงานผลการประเมินหลักสูตร รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน ความคิดเห็น ของผูทรงคุณวุฒิ จัดทํารายงานผลการดําเนินงานหลักสูตรประจําปเสนอหัวหนาภาควิชา 4.4 ประชุมอาจารยประจําหลักสูตร พิจารณาทบทวนสรุปผลการดํา เนินงานหลักสูตร เพื่อวางแผน ปรับปรุงการดําเนินงาน เพื่อใชในปการศึกษาตอไป และจัดทํารายงานผลการดําเนินงานหลักสูตรเสนอตอ คณบดี

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


78

เอกสารแนบภาคผนวก

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


79

เอกสารหมายเลข 1 ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรเดิม พ.ศ.2549 และ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


60

การเปรียบเทียบหลักสูตรเดิม พ.ศ. 2549 กับหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2549

อาจารยประจําหลักสูตร และรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยดรุณี แกวมวง ผศ.ปราณี นิลเหม ผศ.อรทรรศน กุศลกุล อาจารยสุกานดา จารุเวฬ อาจารยธมาภรณ พูมพิจ อาจารยสมคเน แผลงฤทธิ์ อาจารยผูสอน อาจารยดรุณี แกวมวง ผศ.ปราณี นิลเหม ผศ.อรทรรศน กุศลกุล อาจารยสุกานดา จารุเวฬ อาจารยธมาภรณ พูมพิจ อาจารยสมคเน แผลงฤทธิ์ อาจารยพิเศษ อาจารยทัศนา ชวาลสันตติ อาจารยพยุงศักดิ์ พงศาปาน

จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 134 หนวยกิต

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554

เหตุผล

อาจารยประจําหลักสูตร และรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยสุกานดา สารนอย อาจารยธมาภรณ พูมพิจ อาจารยสมคเน แผลงฤทธิ์ อาจารยสุพรรณี ปลัดศรีชวย อาจารยอรวรรณ เชื้อนอย

อาจารยในหลักสูตรเดิมเกษียณอายุ จึงมีการรับอาจารยใหมทดแทน

อาจารยประจํา อาจารยสุกานดา สารนอย อาจารยธมาภรณ พูมพิจ อาจารยสมคเน แผลงฤทธิ์ อาจารยสุพรรณี ปลัดศรีชวย อาจารยอรวรรณ เชื้อนอย อาจารยพิเศษ ผศ.ประเจตน เกษนอย ผศ.อรทรรศน กุศลกุล อาจารยประจักษ แปะสกุล อาจารยพูนศักดิ์ ไมโภคทรัพย จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 124 หนวยกิต

อาจารยในหลักสูตรเดิมเกษียณอายุ จึงมีการรับอาจารยใหมทดแทน

- ลดจํานวนหนวยกิต ตลอดหลักสูตรจากไมนอ ยกวา 134 เปน ไมนอ ยกวา 124 เพื่อความ เหมาะสมตอการศึกษาในระดับปริญญาตรี

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


61

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2549 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต 1.1 กลุมวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 6 หนวยกิต 1.2 กลุมวิชาภาษา 9 หนวยกิต 1.3 กลุมวิชามนุษยศาสตร 7 หนวยกิต 1.4 กลุมวิชาสังคมศาสตร 6 หนวยกิต 1.5 กลุมวิชาพลานามัย 2 หนวยกิต

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต 1.1 กลุมวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 6 หนวยกิต 1.2 กลุมวิชาภาษา 9 หนวยกิต 1.3 กลุมวิชามนุษยศาสตร 7 หนวยกิต 1.4 กลุมวิชาสังคมศาสตร 6 หนวยกิต 1.5 กลุมวิชาพลานามัย 2 หนวยกิต

เหตุผล -ไมเปลี่ยนแปลง

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


62

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2549

2 หมวดวิชาเฉพาะ 98 หนวยกิต 2.1 กลุมวิชาแกน 15 หนวยกิต ENGL4711 ภาษาอังกฤษเพื่อการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ GOHI1101 ภูมิศาสตรประเทศไทย GOHI1201 ประวัติศาสตรไทย GOHI1301 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรโลก GOHI2401 การจัดการธุรกิจบริการภูมิศาสตรและ ประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว 2.2 วิชาเอกบังคับ 49 หนวยกิต ENGL2721 ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรมทองเที่ยว 1 GOHI1102 เครื่องมือทางภูมิศาสตรสําหรับการทองเที่ยว GOHI1202 ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย GOHI2101 ภูมิศาสตรเพื่อการทองเที่ยวแบบยั่งยืน GOHI2201 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 1 GOHI2301 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรภาคเหนือ GOHI2302 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ GOHI2303 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร ภาคกลางและตะวันออก GOHI2304 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรภาคใต GOHI2402 จรรยาบรรณของบุคลากรในวิชาชีพ ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว GOHI3101 ภูมิศาสตรการตลาดและอุตสาหกรรม GOHI3301 ภูมิศาสตรการจัดการโรงแรมเพื่อการทองเที่ยว คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

2. หมวดวิชาเฉพาะ 88 หนวยกิต 2.1 วิชาเอก 81 หนวยกิต 2.1.1 วิชาเอกบังคับ 51 หนวยกิต GOHI1101 ภูมิศาสตรประเทศไทย 3(3-0-6) GOHI1102 แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร 3(2-2-5) สําหรับการทองเที่ยว GOHI1103 ภูมิศาสตรกายภาพ 3(3-0-6) GOHI1201 ประวัติศาสตรไทย 3(3-0-6) GOHI1202 ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6) GOHI2101 ภูมิศาสตรโลก 3(3-0-6) GOHI2103 ภูมิศาสตรการทองเที่ยวไทย 3(3-0-6) GOHI2201 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 1 3(3-0-6) GOHI2202 ประวัติศาสตรโลก 3(3-0-6) GOHI3101 ภูมิศาสตรการตลาดและอุตสาหกรรม 3(3-0-6) GOHI3106 ความรูเบื้องตนระบบภูมิสารสนเทศและ 3(2-2-5) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร GOHI3201 ประวัติศาสตรไทยเพื่อการทองเที่ยว 3(3-0-6) GOHI3202 ประวัติศาสตรในวรรณกรรมสําหรับ 3(3-0-6) การทองเที่ยว GOHI3207 เหตุการณโลกปจจุบัน 3(3-0-6) GOHI3901 ระเบียบวิธีการวิจัยทางภูมิศาสตรและ 3(3-0-6) ประวัติศาสตร GOHI4901 การสัมมนาทางภูมิศาสตรและ 3(2-2-5) ประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

เหตุผล

วิชาเอกบังคับ - ปรับวิชาแกนในหลักสูตรเดิมใหอยูในวิชาเอกบังคับในหลักสู ตรใหมตามระเบียบของ มหาวิทยาลัย - ตัดวิชา ENGL4711 และ GOHI2401 เนือ่ งจากทัง้ สองรายวิชานี้ มีการเรียนการสอนใน หลักสูตรภาษาอังกฤษและหลักสูตรอุตสาหกรรมทองเที่ยว จึงใหนักศึกษาเลือกเปนวิชา เลือกเสรีตามรายวิชาทีเ่ ปดสอน - ปรับวิชา GOHI1301 แยกเปนวิชา GOHI2101 และGOHI2202 เพื่อแยกศาสตรระหวาง ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรออกจากกัน - เปลีย่ นชือ่ และทักษะรายวิชาGOHI1102 เพือ่ ใหสอดคลองกับรายละเอียดของเนือ้ หา – เปลีย่ นชื่อ - รหัสและทักษะวิชา GOHI3108 เปน GOHI3105 เพื่อใหสอดคลองกับ รายละเอียดของเนือ้ หา - เปลี่ยนรหัสวิชา GOHI3118 เปน GOHI2103 และเปลี่ยนวิชาเอกเลือกเปนเอกบังคับ เพื่อ บังคับใหนักศึกษาไดเรียนวิชานี้ - รวมวิชา GOHI2101 และ GOHI4401 เปนวิชา GOHI2104 และเปลี่ยนจากวิชาเอก บังคับ เปนวิชาเอกเลือก - เปลี่ยนรหัสและชื่อวิชา จาก GOHI3401 เปน GOHI3202 เพือ่ เรียงลําดับรายวิชาตาม ความเหมาะสม เนื่องจากมีการตัด เพิ่มและรวมบางรายวิชา - เพิ่มหนวยกิตวิชา GOHI4901 ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย - ปรับวิชา LAWS3702 จากเอกบังคับเปนวิชาเอกเลือก เพื่อความเหมาะสมของหลักสูตร - ปรับวิชา GOHI3201 จากเอกเลือกมาเปนเอกบังคับ เพื่อบังคับใหนักศึกษาในสาขาได เรียนทุกคน - เปลี่ยนรหัสวิชาจาก GOHI3211 เปน GOHI3207 และปรับจากเอกเลือก เปนเอกบังคับ เพือ่ เรียงลําดับรายวิชาตามความเหมาะสม เนือ่ งจากมีการตัด เพิม่ และรวมบางรายวิชาและ บังคับใหนักศึกษาในสาขาไดเรียนทุกคน - เพิ่มวิชา GOHI1103 เพื่อความสมบูรณของหลักสูตร

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


63

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2549 GOHI3401 ประวัติศาสตรในวรรณกรรมไทย GOHI3901 ระเบียบวิธีการวิจัยทางภูมิศาสตร และประวัติศาสตร GOHI4401 ภูมิศาสตรการพัฒนาและอนุรักษสิ่งแวดลอม GOHI4901 การสัมมนาทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตร เชิงทองเที่ยว LAWS3702 กฎหมายเกี่ยวกับการทองเที่ยว

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 1(0-2-1) 3(3-0-6)

2.3 วิชาเอกเลือก 27 หนวยกิต GOHI2202 อารยธรรมโลก 3(3-0-6) GOHI2203 ประวัติศาสตรไทยสมัยใหม 3(3-0-6) GOHI2204 ประวัติศาสตรทองถิ่น 3(3-0-6) GOHI2205 อารยธรรมไทย 3(3-0-6) GOHI2206 โบราณคดี 3(3-0-6) GOHI2207 ไทยศึกษา 3(3-0-6) GOHI3102 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรเพื่อพัฒนาทองถิ่น3(3-0-6) GOHI3103 ภูมิศาสตรการพัฒนาประชากร 3(3-0-6) GOHI3104 ระบบฐานขอมูลเชิงแผนที่เพื่อ 3(3-0-6) การวางแผนการทองเที่ยว GOHI3105 การวางแผนและพัฒนาพื้นที่การทองเที่ยว 3(3-0-6) GOHI3106 ภูมิศาสตรการพัฒนาเมือง 3(3-0-6) GOHI3107 ภูมิศาสตรกายภาพและเศรษฐกิจ 3(3-0-6) GOHI3108 แผนที่และการสํารวจระยะไกลเบื้องตน 3(3-0-6) GOHI3109 เทคนิคและวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร 3(3-0-6) คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

บังคับเลือก กลุมภาษา 1 รายวิชา 3 หนวยกิต BENG1721 ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรม 3(3-0-6) ทองเที่ยว 1 CHIN1101 ภาษาจีนพื้นฐาน 1 3(3-0-6) FREN1201 สนทนาภาษาฝรั่งเศส 1 3(3-0-6)

2.1.2 วิชาเอกเลือก ไมนอยกวา 30 หนวยกิต CHIN1102 ภาษาจีนพื้นฐาน 2 3(3-0-6) BENG1722 ภาษาอังกฤษสําหรับอุตสาหกรรม 3(3-0-6) ทองเที่ยว 2 FREN1202 สนทนาภาษาฝรั่งเศส 2 3(3-0-6) GOHI1104 ภูมิศาสตรวัฒนธรรมและการตั้งถิ่นฐาน 3(3-0-6) ของมนุษย GOHI1203 การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร 3(3-0-6) GOHI1204 การศึกษาประวัติศาสตรใน 3(3-0-6) ภาพยนตรไทย GOHI2102 ภูมิศาสตรประชากร 3(3-0-6) GOHI2104 ภูมิศาสตรการพัฒนาและอนุรักษ 3(3-0-6) ทรัพยากรการทองเที่ยว GOHI2105 แผนที่และการแปลความหมาย 3(2-2-5) ของแผนที่ GOHI2106 เทคนิคและวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร 3(3-0-6)

เหตุผล - รวมวิชา GOHI3102 และ GOHI3104 เปนวิชา GOHI3106 และเปลี่ยนชื่อ รหัสและ ทักษะการเรียนรู เพื่อบูรณาการเนื้อหาวิชาใหสอดคลองกับหลักสูตร - ตัดวิชา ENGL2721 GOHI2301, GOHI2302 GOHI2303, GOHI2304 GOHI2402, GOHI3301 เพื่อแยกศาสตรระหวางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรออกจากกัน - เพิม่ วิชาสาขาภาษาตางประเทศ 1 รายวิชา โดยปรับตามสาขาวิชานัน้ ๆ ทีเ่ ปดทําการสอน อยูในมหาวิทยาลัย

วิชาเอกเลือก - เนื่องจากมีการตัด เพิ่มและรวมบางรายวิชา จึงมีการเปลีย่ นรหัสวิชา เรียงลําดับรายวิชา ตามความเหมาะสม ดังนี้ GOHI3109 - GOHI2106 GOHI3110 - GOHI2107 GOHI3112 - GOHI3108 GOHI3115 - GOHI3110 GOHI3202 - GOHI2206 GOHI3205 - GOHI2207 GOHI3206 - GOHI2208 GOHI3209 - GOHI3205 GOHI3212 - GOHI3208 GOHI3213 - GOHI3209 GOHI3214 - GOHI3210

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


64

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2549 GOHI3110 ภูมิศาสตรทองถิ่น 3(3-0-6) GOHI3111 ภูมิศาสตรภูมิภาคเอเชีย 3(3-0-6) GOHI3112 ภูมิศาสตรยุโรป 3(3-0-6) GOHI3113 ภูมิศาสตรอเมริกา 3(3-0-6) GOHI3114 ภูมิศาสตรออสเตรเลียและโอเชียเนีย 3(3-0-6) GOHI3115 ภูมิศาสตรชายฝงทะเล 3(3-0-6) GOHI3116 ภูมิศาสตรการวางแผนและพัฒนาภูมิภาค 3(3-0-6) GOHI3117 ภูมิศาสตรวัฒนธรรม 3(3-0-6) GOHI3118 ภูมิศาสตรการทองเที่ยวไทย 3(3-0-6) GOHI3201 ประวัติศาสตรไทยเพื่อการทองเที่ยว 3(3-0-6) GOHI3202 การศึกษาเอกสารและหลักฐานทางประวัติศาสตร 3(3-0-6) GOHI3203 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 2 3(3-0-6) GOHI3204 ประวัติศาสตรการเมืองการปกครองไทย 3(3-0-6) GOHI3205 ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย 3(3-0-6) GOHI3206 ประวัติศาสตรสังคมไทย 3(3-0-6) GOHI3207 ประวัติศาสตรไทยสมัยโบราณจนถึงสมัยอยุธยา 3(3-0-6) GOHI3208 ประวัติศาสตรสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร 3(3-0-6) GOHI3209 ประวัติศาสตรภูมิปญญาไทย 3(3-0-6) GOHI3210 ประวัติศาสตรและโบราณคดีในทองถิ่น 3(3-0-6) GOHI3211 เหตุการณโลกปจจุบัน 3(3-0-6) GOHI3212 ประวัติศาสตรเอเชีย 3(3-0-6) GOHI3213 ประวัติศาสตรยุโรป 3(3-0-6) GOHI3214 ประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3(3-0-6) GOHI3215 ประวัติศาสตรอเมริกา 3(3-0-6) GOHI3216 ประวัติศาสตรออสเตรเลียและนิวซีแลนด 3(3-0-6) GOHI4101 ภูมิศาสตรประเทศไทยเชิงวิเคราะห 3(3-0-6) คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 GOHI2107 ภูมิศาสตรทองถิ่น 3(3-0-6) GOHI2203 ประวัติศาสตรไทยสมัยใหม 3(3-0-6) GOHI2204 ประวัติศาสตรทองถิ่น 3(3-0-6) GOHI2205 ประวัติศาสตรไทยรวมสมัย 3(3-0-6) GOHI2206 การศึกษาเอกสารและหลักฐาน 3(3-0-6) ทางประวัติศาสตร GOHI2207 ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย 3(3-0-6) GOHI2208 ประวัติศาสตรสังคมไทย 3(3-0-6) GOHI2209 พิพิธภัณฑศึกษาเพือ่ การทองเที่ยว 3(3-0-6) GOHI3102 ภูมิศาสตรประชากรกับการพัฒนา 3(3-0-6) ดานการทองเที่ยว GOHI3103 การวางแผนและพัฒนาพื้นที่ 3(3-0-6) เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน GOHI3104 ภูมิศาสตรเมือง 3(3-0-6) GOHI3105 การสํารวจขอมูลระยะไกลและระบบ 3(2-2-5) กําหนดพิกัดตําแหนงบนพื้นโลกดวยดาวเทียม GOHI3107 ภูมิศาสตรเอเชีย 3(3-0-6) GOHI3108 ภูมิศาสตรยุโรป 3(3-0-6) GOHI3109 ภูมิศาสตรแอฟริกา 3(3-0-6) GOHI3110 ภูมิศาสตรชายฝงทะเล 3(3-0-6) GOHI3203 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 2 3(3-0-6) GOHI3204 ประวัติศาสตรการเมืองการปกครองไทย 3(3-0-6) GOHI3205 ประวัติศาสตรภูมิปญญาไทย 3(3-0-6) GOHI3206 ประวัติศาสตรและโบราณคดีในทองถิ่น 3(3-0-6) เพื่อการทองเที่ยว GOHI3208 ประวัติศาสตรเอเชีย 3(3-0-6)

เหตุผล - เนื่องจากมีการตัด เพิ่มและรวมบางรายวิชา จึงมีการเปลี่ยนรหัสวิชา เรียงลําดับรายวิชา ตามความเหมาะสม ดังนี้ GOHI3103 – GOHI3102 GOHI3106 – GOHI3104 GOHI3111 - GOHI3107 GOHI3117 – GOHI1104 GOHI3210 - GOHI3206 - เพิ่มวิชา GOHI1203 GOHI1204, GOHI2102, GOHI2105, GOHI2205 GOHI2209, TRHM2201, TRHM2202, TRHM3202, TRHM4202 เพื่อใหนักศึกษา สามารถเลือกเรียนไดตามหลักสูตร - ตัดวิชา GOHI2202 GOHI2205, GOHI2206 ,GOHI2207, GOHI3102,GOHI3113 GOHI3114, GOHI3116 ,GOHI3207 GOHI3208, GOHI3215,GOHI3216, MNGT4501 เนือ่ งจากรายวิชาดังกลาว มีการเรียนการสอนในหลักสูตรอืน่ ๆ ภายในมหาวิทยาลัย จึงให นักศึกษาเลือกเปนวิชาเลือกเสรีตามรายวิชาทีเ่ ปดสอน

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


65

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2549 GOHI4201 ประวัติศาสตรไทยเชิงวิเคราะห GOHI4902 การวิจัยทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตร MNGT4501 การจัดการธุรกิจบริการในอุตสาหกรรม การทองเที่ยว

2.4 กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ GOHI4801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพภูมิศาสตร และประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว GOHI4802 การฝกประสบการณวิชาชีพภูมิศาสตร และประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

2(90) 5(225)

3 หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต ใหเลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมโดย ไมซ้ํากับรายวิชาที่เคยเรียนมาแลว และตองไมเปนรายวิชาที่กําหนดให เรียนโดยไมนับหนวยกิตรวมในเกณฑการสําเร็จหลักสูตรของสาขาวิชานี้

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

เหตุผล

GOHI3209 ประวัติศาสตรยุโรป 3(3-0-6) GOHI3210 ประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3(3-0-6) GOHI4101 ภูมิศาสตรประเทศไทยเชิงวิเคราะห 3(3-0-6) GOHI4201 ประวัติศาสตรไทยเชิงวิเคราะห 3(3-0-6) GOHI4102 การจัดการฐานขอมูลระบบสารสนเทศ 3(2-2-5) ภูมิศาสตรเพื่อการทองเที่ยว GOHI4902 การวิจัยทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตร3(0-6-3) LAWS3702 กฎหมายเกี่ยวกับการทองเที่ยว 3(3-0-6) TRHM2201 จิตวิทยาการบริการ 3(3-0-6) TRHM2202 อุตสาหกรรมทองเที่ยว 3(3-0-6) TRHM3202 หลักการมัคคุเทศก 1 3(3-0-6) TRHM4202 การวางแผนและการจัดนําเที่ยว 3(3-0-6)

2.2 กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ 7 หนวยกิต GOHI4801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ 2(90) ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว GOHI4802 การฝกประสบการณวิชาชีพภูมิศาสตร 5(450) และประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

- เพิ่มหนวยกิต วิชา GOHI4802 ตามขอตกลงของคณะมนุษยศาตรและสังคมศาสตร

3 หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต ใหเลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษมโดยไมซ้ํากับรายวิชาที่เคยเรียนมาแลว และตอง ไมเปนรายวิชาที่กําหนดใหเรียนโดยไมนับหนวยกิตรวมใน เกณฑการสําเร็จหลักสูตรของสาขาวิชานี้ สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


60

เอกสารหมายเลข 2 ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วาดวยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2548

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


61

ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วาดวยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 -----------------------------โดยที่เปนการสมควรออกขอบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 18(2) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม จึงออกขอบังคับไวดังตอไปนี้ ขอ 1 ขอบังคับนี้เรียกวา ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วาดวยการจัดการศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ขอ 2 ขอบังคับนี้ใหใชบังคับนักศึกษาภาคปกติที่เขาศึกษาตั้งแตภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2548 เปนตนไป ขอ 3 ในขอบังคับนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม “สภามหาวิทยาลัย” หมายถึง สภามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม “สภาวิชาการ” หมายถึง สภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม “การจัดการศึกษา” หมายถึง การจัดการศึกษาภาคปกติตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย หรือ หลักสูตรอื่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง “การศึกษาในระบบ” หมายถึง การศึกษาที่กําหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา การศึกษา การวัดผลและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขของการสําเร็จการศึกษาที่แนนอน “การศึกษานอกระบบ” หมายถึง การศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดผลและประเมินผล ซึ่งเปนไปตามเงื่อนไขสําคัญของการ สําเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ ของบุคคลแตละกลุม “การศึกษาตามอัธยาศัย” หมายถึง การศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเอง ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพรอมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม สื่อหรือแหลงความรู อื่นๆ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


62

“อาจารยที่ปรึกษา” หมายถึง บุคคลที่มหาวิทยาลัยแตงตั้งใหทําหนาที่เปนที่ปรึกษาดูแล สนับสนุนทางวิชาการ วิธีการเรียน ควบคุมโปรแกรมการเรียน และมีสวนชวยประเมินความกาวหนาในการ เรียนของนักศึกษา “นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษาภาคปกติที่ศึกษาในวันทําการปกติของมหาวิทยาลัยและหรือวัน เวลาอื่นใด ซึ่งเปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย “ศูนยการศึกษา” หมายถึง สถานที่ภายนอกมหาวิทยาลัยที่จัดการศึกษา “วิทยาเขต” หมายถึง เขตการศึกษาของมหาวิทยาลัยทีม่ ีคณะ สถาบัน สํานัก วิทยาลัย ศูนย สวนราชการหรือหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทาคณะตั้งแตสองสวนราชการขึ้นไป ตั้งอยูในเขต การศึกษานั้น ตามที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด “การเรียนโดยสือ่ ประสม” หมายถึง วิธีการจัดการเรียนการสอนสําหรับรายวิชาใน หลักสูตร โดยผูเรียนอาศัยวิธีเรียนจากชุดวิชาและสื่อตางๆ “ระบบการศึกษาทางไกล” หมายถึง วิธีการจัดการศึกษาสําหรับรายวิชาในหลักสูตร มหาวิทยาลัย โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมตางๆ เปนสื่อกลางในการถายทอดความรู “สหกิจศึกษา” หมายถึง ระบบการศึกษาที่เนนการปฏิบัติงานในสถานประกอบการอยางมี ระบบ “อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม “คณบดี” หมายถึง คณบดีคณะตางๆ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ขอ 4 ผูมีสิทธิ์เขาศึกษา คุณสมบัติและการสมัคร 4.1 ผูมีสิทธิ์เขาศึกษาตองมีคุณสมบัติดังนี้ 4.1.1 หลักสูตรปริญญาตรี จะตองเปนผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเทา 4.1.2 หลักสูตรปริญญาตรี (ตอเนื่อง) จะตองเปนผูสําเร็จการศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือเทียบเทาหรือระดับอนุปริญญา(3 ป) หรือเทียบเทา ตามเกณฑมาตรฐาน หลักสูตรของทบวงมหาวิทยาลัยหรือตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ อนุปริญญา พ.ศ. 2548 4.2 ผูสมัครเขาเปนนักศึกษาตามขอ 4.1 ตองมีคุณสมบัติตามขอกําหนดของ สาขาวิชาที่สมัครเขาศึกษา 4.3 การสมัครและการรับเขาเปนนักศึกษา ใหเปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย ขอ 5 ระบบการศึกษา 5.1 ระบบการจัดการศึกษาใชระบบทวิภาค โดย 1 ปการศึกษาจัดการศึกษา แบงเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห และอาจจัดการศึกษาภาค คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


63

การศึกษาฤดูรอน ซึ่งมีระยะเวลาศึกษาและจํานวนหนวยกิตมีสัดสวนเทียบเคียง ไดกับการศึกษาภาคการศึกษา ปกติ การจัดการศึกษาภาคการศึกษาฤดูรอนใหเปนไปตามประกาศมหาวิทยาลัย 5.2 มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาดวยระบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary System) โดย คณะหรือภาควิชาที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาใด ใหมีหนาที่อํานวยการศึกษาและวิจัยในสาขาวิชานั้นๆ แกนักศึกษา ของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ คณะหรือภาควิชาตางๆ จะไมเปดสอนรายวิชาซ้ําซอนกัน โครงสรางหลักสูตร จํานวนหนวยกิต ใหเปนไปตามประกาศกระทรวง ศึกษาธิการ เรื่องเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ขอ 6 ระยะเวลาการศึกษา 6.1 หลักสูตรปริญญาตรี 4 ป ใชเวลาศึกษาไมเกิน 8 ปการศึกษา และ สําเร็จ การศึกษาไดไมกอน 6 ภาคการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา 6.2 หลักสูตรปริญญาตรี 5 ป ใชเวลาศึกษาไมเกิน 10 ปการศึกษา และสําเร็จ การศึกษาไดไมกอน 8 ภาคการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา 6.3 หลักสูตรปริญญาตรี 6 ป ใชเวลาศึกษาไมเกิน 12 ปการศึกษา และสําเร็จการศึกษา ไดไมกอน 10 ภาคการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา 6.4 หลักสูตรปริญญาตรี (ตอเนื่อง) ใชเวลาศึกษาไมเกิน 4 ปการศึกษา และสําเร็จ การศึกษาไดไมกอน 4 ภาคการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา ขอ 7 การลงทะเบียนเรียน 7.1 การลงทะเบียนเรียน ใหลงทะเบียนเรียนไดไมนอยกวา 9 หนวยกิต และไมเกิน 22 หนวยกิต ในแตละภาคการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาฤดูรอนใหลงทะเบียนเรียนได ไมเกิน 9 หนวยกิต การลงทะเบียนเรียนที่มีจํานวนหนวยกิตมากกวาหรือนอยกวาที่กําหนด อาจทําไดหาก มีเหตุผลและความจําเปน แตตองไดรับอนุมัติจากคณบดี หรือผูที่คณบดีมอบหมาย โดยผานความเห็นชอบของ อาจารยที่ปรึกษา หนวยกิตขั้นต่ําที่กําหนดไวไมใชบังคับนักศึกษาที่ศึกษาครบทุกวิชาตามหลักสูตรของ สาขาวิชานั้นๆ แตยังมีวิชาที่สอบตก หรือมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไมถึงเกณฑที่กําหนด หรือภาคการศึกษาที่คาด วาจะเปนภาคการศึกษาสุดทายกอนที่จะสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 7.2 ในการลงทะเบียนเรียน หากวิชาใดมีขอกําหนดในหลักสูตรวาตองเคยศึกษาวิชา ใดมากอน (Pre-requisite) นักศึกษาก็จะตองเคยศึกษาและสอบไลไดวิชานั้นแลว จึงจะมีสิทธิ์ลงทะเบียนเรียน 7.3 นักศึกษาที่เขาศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรีตอเนื่อง จะลงทะเบียนเรียนรายวิชาซ้ํา กับรายวิชาที่ศึกษามาแลวในระดับอนุปริญญาไมได คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


64

7.4 การลงทะเบียนเรียนปกติจะกระทําไดกอนวันเปดภาคการศึกษา แตละภาค การ ลงทะเบียนลาชาจะกระทําไดไมเกิน 14 วัน นับจากวันเปดภาคการศึกษาปกติหรือไมเกิน 7 วัน นับจากวันเปด ภาคการศึกษาฤดูรอน และจะตองชําระคาธรรมเนียมตามทีม่ หาวิทยาลัยกําหนด 7.5 นักศึกษาที่ไมไดลงทะเบียนภายใน 14 วัน นับจากวันเปดภาคการศึกษาปกติ หรือภายใน 7 วัน นับจากวันเปดภาคการศึกษาฤดูรอน จะหมดสิทธิ์ในการลงทะเบียนเรียนสําหรับภาค การศึกษานั้น เวนแตมีเหตุผลและความจําเปน โดยไดรับอนุมัติจากคณบดี หรือผูที่คณบดีมอบหมาย โดยผาน ความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา แตทั้งนี้ตองไมเกิน 28 วัน นับจากวันเปดภาคการศึกษาปกติ หรือไมเกิน 14 วัน นับจากวันเปดภาคการศึกษาฤดูรอน โดยเสียคาปรับตามระเบียบ 7.6 ในภาคการศึกษาปกติใดหากนักศึกษาไมไดลงทะเบียนเรียน จะตองขอลาพัก การศึกษาสําหรับภาคการศึกษานั้น เพื่อรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษาภายใน 30 วัน นับจากวันเปดภาค การศึกษา โดยตองชําระคาธรรมเนียมเพื่อรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา หากไมปฏิบัติตามมหาวิทยาลัยจะ ถอนชื่อนักศึกษาผูนั้นจากทะเบียนนักศึกษา 7.7 อธิการบดีอาจอนุมัติใหนักศึกษาที่ถูกถอนชื่อตามขอ 7.6 กลับเขาเปนนักศึกษา ใหมได ถามีเหตุผลอันสมควร โดยใหถือวาระยะเวลาที่ถูกถอนชื่อนั้นเปนระยะเวลาพักการศึกษา โดยนักศึกษา ตองชําระคาธรรมเนียมเพื่อขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา รวมทั้งคาธรรมเนียมอื่น ๆ ที่คางชําระเสมือนเปนผูลาพัก การศึกษา อธิการบดีจะไมอนุมัติใหกลับเขาเปนนักศึกษาตามวรรคหนึ่ง หากพนกําหนดเวลาสองปนับจากวันที่ นักศึกษาผูนั้นถูกถอนชื่อจากทะเบียน 7.8 การลงทะเบียนเรียนจะสมบูรณก็ตอเมื่อไดชําระคาธรรมเนียมตาง ๆ พรอมทั้ง ยื่นหลักฐานการลงทะเบียนนั้นตอมหาวิทยาลัย ขอ 8 การเพิ่มและถอนรายวิชา การเพิ่มและถอนรายวิชา ตองไดรับความยินยอมจากอาจารยที่ปรึกษา ทั้งนี้ ใหยื่น หลักฐานการยินยอมนั้นตอมหาวิทยาลัย 8.1 การเพิ่มรายวิชา จะกระทําไดภายใน 2 สัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษา ปกติ หรือภายใน 1 สัปดาหแรกนับจากวันเปดภาคการศึกษาฤดูรอน 8.2 การถอนรายวิชา จะกระทําไดกอนกําหนดการสอบปลายภาคไมนอยกวา 2 สัปดาห สําหรับการศึกษาภาคการศึกษาปกติ หรือกอนกําหนดสอบปลายภาคไมนอยกวา 1 สัปดาห สําหรับ การศึกษาภาคการศึกษาฤดูรอน การถอนรายวิชาภายในกําหนดเวลาเดียวกันกับการเพิ่มรายวิชาจะไมปรากฏอักษร W (Withdraw) ในระเบียนผลการเรียน และจะไดรับเงินคาหนวยกิตคืน แตถาถอนรายวิชา หลังกําหนดเวลาการ เพิ่มรายวิชา นักศึกษาจะไดรับอักษร W และจะไมไดรับเงินคาหนวยกิตคืน 8.3 ขั้นตอนปฏิบัติในการเพิ่มและถอนรายวิชา ใหเปนไปตามที่กําหนดไวในประกาศ มหาวิทยาลัย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


65

ขอ 9 การเรียนการสอน 9.1 มหาวิทยาลัยอาจตั้งศูนยการศึกษาและวิทยาเขตไดตามความเหมาะสม 9.2 การจัดการเรียนการสอนอาจทําไดทั้งในเวลาราชการและนอกเวลา ราชการ และอาจจัดการเรียนโดยสื่อประสมหรือระบบการศึกษาทางไกล ทั้งนี้ ใหเปนไปตามประกาศของ มหาวิทยาลัย 9.3 กําหนดวันเปดและปดภาคการศึกษาของมหาวิทยาลัย มีดังนี้ ภาคการศึกษาที่ 1 วันเปดภาคการศึกษา เดือนมิถุนายน วันปดภาคการศึกษา เดือนตุลาคม ภาคการศึกษาที่ 2 วันเปดภาคการศึกษา เดือนพฤศจิกายน วันปดภาคการศึกษา เดือนมีนาคม ภาคการศึกษาฤดูรอน วันเปดภาคการศึกษา เดือนเมษายน วันปดภาคการศึกษา เดือนพฤษภาคม มหาวิทยาลัยอาจกําหนดวันเปดและวันปดภาคการศึกษาที่แตกตางจากวรรคหนึ่งก็ได แตตองเปนไปตามความเหมาะสมและความตองการของทองถิ่น และตองสอดคลองกับเกณฑมาตรฐานของ หลักสูตร และใหทําเปนประกาศของมหาวิทยาลัย 9.4 การเปดสอนสาขาวิชาใด ระดับใด ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานของหลักสูตร โดยผานความเห็นชอบจากสภาวิชาการ และรายงานผลการปฏิบัติงานใหสภามหาวิทยาลัยทราบทุกสิ้นป การศึกษา 9.5 ใหอาจารยผูสอนจัดทําแนวการสอน เอกสารประกอบการสอน หรือเอกสารคํา สอน หรือกําหนดตําราหลักทุกรายวิชาที่เปดสอนใหแกนักศึกษาในแตละภาคการศึกษา 9.6 รายวิชาใดที่เปดสอนมากกวา 1 กลุม ในภาคเรียนเดียวกัน ใหอาจารยผูสอนใช แนวการสอน ขอสอบ และใชเกณฑการวัดผลและประเมินผลเดียวกัน 9.7 ตําราหลักในรายวิชาที่เปดสอน อาจเรียบเรียงโดยอาจารยของ มหาวิทยาลัย หรือผูเชี่ยวชาญภายนอกก็ได โดยจะตองมีขอบเขตของเนื้อหาครอบคลุมหลักสูตร และระดับการศึกษา 9.8 มหาวิทยาลัยตองสนับสนุนการจัดหาหรือผลิตสื่อ เพื่อใชประกอบ การเรียนการ สอน และพัฒนาโสตทัศนูปกรณพื้นฐาน สื่อการเรียนการสอนใหมีมาตรฐานและเพียงพอกับจํานวนนักศึกษา 9.9 ใหสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และสํานักศิลปะและวัฒนธรรม อํานวยความสะดวกแกนักศึกษาในรูปแบบตางๆ เพื่อสงเสริมใหนักศึกษามีโอกาสศึกษา คนควาหาความรูและ ประสบการณเพิ่มขึ้น 9.10 การนิเทศการฝกประสบการณวิชาชีพ สหกิจศึกษา ใหคณะแตงตั้ง คณะกรรมการทําหนาที่เปนผูดําเนินการกํากับ และควบคุมการฝกประสบการณวิชาชีพและสหกิจ-ศึกษาใหมี ประสิทธิภาพและคุณภาพ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


66

9.11 คณะตองจัดอาจารยที่ปรึกษาทําหนาที่ใหคําปรึกษาดานวิชาการ วิธีการเรียน ควบคุมแผนการเรียน และติดตามความกาวหนาในการเรียนของนักศึกษา 9.12 ใหคณะกรรมการประจําคณะ ทําหนาที่กลั่นกรอง ตรวจสอบ และใหความ เห็นชอบการประเมินผลการเรียน 9.13 ใหมีการโอนผลการเรียน และการยกเวนการเรียนในรายวิชาที่ไดศึกษาแลวใน ระดับเดียวกัน หลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการขอโอนผลการเรียนและการยกเวนการเรียนใน รายวิชา ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัย วาดวยการโอนผลการเรียนและการยกเวนการเรียน ในรายวิชา และตามขอกําหนดของแตละสาขาวิชา ขอ 10 ใหมีการวัดผลการศึกษาระหวางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ในทุกรายวิชาที่มีการ เรียนการสอนในแตละภาคเรียน การวัดผลระหวางภาคเรียน ใชวิธีสอบยอยและหรือการทํารายงานและหรือการสอบ ปฏิบัติและหรือทํากิจกรรมตามที่กําหนดและหรือการสอบกลางภาคเรียน โดยมีคะแนนเก็บระหวางรอยละ 4070 ของคะแนนรวมทั้งหมด หรือตามมติของสภาวิชาการ การวัดผลปลายภาคเรียน ใชวิธีสอบขอเขียนและหรือสอบปฏิบัติ โดยมีคะแนนอยู ระหวางรอยละ 30-60 ของคะแนนรวมทั้งหมด หรือตามมติของสภาวิชาการ ขอ 11 ใหใชการประเมินผลการเรียนในรายวิชาตางๆ ตามหลักสูตร เปน 2 ระบบ ดังนี้ (๑) ระบบคาระดับคะแนน แบงเปน 8 ระดับ ระดับคะแนน ความหมายของผลการเรียน คาระดับคะแนน A ดีเยี่ยม (Excellent) 4.0 B+ ดีมาก (Very Good) 3.5 B ดี (Good) 3.0 C+ ดีพอใช (Fairly Good) 2.5 C พอใช (Fair) 2.0 D+ ออน (Poor) 1.5 D ออนมาก (Very Poor) 1.0 F ตก (Fail) 0.0 ระบบนี้ ใชสําหรับการประเมินผลการเรียนรายวิชาที่เรียนตามหลักสูตร คาระดับ คะแนนที่ถือวาสอบไดตองไมต่ํากวา “D” นักศึกษาไดคาระดับคะแนนรายวิชาบังคับเปน “F” ตองลงทะเบียนและ เรียนใหม จนกวาจะสอบได และใหบันทึกลงในระเบียนแสดงผลการเรียน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


67

สําหรับวิชาเลือกถาไดคาระดับคะแนน “F” จะลงทะเบียนรายวิชานั้นซ้ําอีกหรือเลือก รายวิชาอื่นแทนได และบันทึกลงในระเบียนแสดงผลการเรียน สําหรับวิชาการฝกประสบการณวิชาชีพครู จะตองไดคาระดับคะแนน ไมต่ํากวา “C” (2) ระบบไมมีคาระดับคะแนน กําหนดสัญลักษณการประเมินดังนี้ ระดับการประเมิน ความหมายของผลการเรียน คารอยละ PD ผานดีเยี่ยม (Pass with Distinction) 90-100 P ผาน (Pass) 50-89 NP ไมผาน (No Pass) 0-49 ระบบนี้ใชสําหรับการประเมินรายวิชาเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ รายวิชาการฝก ประสบการณวิชาชีพ รายวิชาสหกิจศึกษา รายวิชาที่หลักสูตรบังคับใหเรียนเพิ่มตามขอกําหนดเฉพาะ และ รายวิชาที่สภามหาวิทยาลัยกําหนดใหเรียนเพิ่ม รายวิชาที่ไดผลประเมิน “NP” นักศึกษาตองลงทะเบียนและเรียนใหมจนกวาจะผาน การประเมินสัญลักษณอื่น มีดังนี้ Au (Audit) ใชสําหรับการลงทะเบียนเพื่อรวมฟง โดยไมนับหนวยกิต W (Withdraw) ใชสําหรับการบันทึกหลังจากไดรับอนุมัติใหถอนรายวิชานั้นกอน กําหนดการสอบปลายภาคไมนอยกวา 2 สัปดาห รวมทั้งกรณีที่นักศึกษาลาพักการศึกษาหรือ ถูกสั่งใหพัก การศึกษา หลังจากลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้นแลว และรายวิชาเลือกที่ไดรับอนุมัติใหไปเรียนรายวิชาอื่น แทน I (Incomplete) ใชสําหรับบันทึกการประเมินที่ไมสมบูรณในรายวิชาที่ นักศึกษายังทํางานไมเสร็จตามกําหนด โดยมีเหตุผลสมควร เมื่อสิ้นภาคเรียน โดยผูส อนตองสงคะแนนที่มี อยูพรอมแนบเกณฑการประเมินผล นักศึกษาที่ได “I” ตองดําเนินการขอรับการประเมิน เพื่อเปลี่ยนระดับคาคะแนนให เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนถัดไป ถานักศึกษายังทํางานไมเสร็จ คณะกรรมการประจําคณะ จะพิจารณาผลงานที่ คางอยูเปนศูนย และประเมินผลการเรียนจากคะแนนที่มีอยูแลว ตามเกณฑของอาจารยประจําวิชา FM (Final Missing) ใชบันทึกการประเมินในรายวิชาที่นักศึกษาขาดสอบปลายภาค โดยผูสอนตองสงคะแนนที่มีอยูพรอมแนบเกณฑการประเมินผล นักศึกษาที่ขาดสอบปลายภาค จะตองสมัครสอบและชําระคาธรรมเนียม รายวิชา ละ 300 บาท ภายใน 14 วัน หลังจากเสร็จสิ้นการสอบตามกําหนดของมหาวิทยาลัย นักศึกษาที่ขาดสอบและ ไมสมัครสอบตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด หรือสมัครและชําระเงินแตไมมาสอบตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด คณะกรรมการประจําคณะจะปรับคะแนนสวนที่เหลืออยูเปนศูนย แลวประเมินผลการเรียนจากคะแนนที่มีอยู คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


68

ตามเกณฑของอาจารยประจําวิชา และในการยื่นคํารองขอสอบปลายภาค ใหนักศึกษายื่นคํารองที่สํานักงาน คณบดีในรายวิชาที่ตนเองเรียนอยู เพื่อคณบดีพิจารณาตอไป กรณีมหาวิทยาลัยมีความจําเปน หรือนักศึกษาเจ็บปวยจนไมสามารถทําการสอบปลายภาคได คณบดีอาจพิจารณายกเวนการชําระคาธรรมเนียมการสอบได ขอ 12 รายวิชาที่ไดรับการยกเวนการเรียน ตามขอบังคับวาดวยการโอนผลการเรียนและยกเวน ผลการเรียนใหไดผลการเรียนดังนี้ 12.1 รายวิชาที่ไดรับการยกเวนการเรียน จากการศึกษาในระบบ ใหไดรับ ผลการ เรียน “P” 12.2 รายวิชาที่ไดรับการยกเวนการเรียน จากการศึกษานอกระบบและหรือการศึกษา ตามอัธยาศัย ใหไดผลการเรียน ดังนี้ CS (Credits from Standardized Test) กรณีไดหนวยกิต จากการทดสอบ มาตรฐาน (Standardized Test) CE (Credits from Exam) กรณีไดหนวยกิต จากการทดสอบดวยการสอบที่ ไมใชการทดสอบมาตรฐาน (Non-Standardized Test) CT (Credits from Training) กรณีไดหนวยกิตจากการประเมิน การศึกษา/ อบรมที่จัดโดยหนวยงานอื่นที่ไมใชสถาบันอุดมศึกษา (Evaluation of Non-Sponsored Training) CP (Credits from Portfolio) กรณีไดหนวยกิต จากการเสนอแฟมสะสม ผลงาน (Portfolio) ขอ 13 การหาคาระดับคะแนนเฉลี่ย คาระดับคะแนนเฉลี่ยประจําภาค และคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ใหคิดเปนเลข ทศนิยม 2 ตําแหนง โดยไมปดเศษ สําหรับรายวิชาที่ผลการเรียนเปน “I” หรือ “FM” ไมนํา หนวยกิตมา รวมเปนตัวหารเฉลี่ย 13.1 กรณีที่สอบตกและตองเรียนซ้ําในรายวิชาบังคับใหนับรวมทั้งหนวยกิตที่สอบ ตกและเรียนซ้ําเพื่อใชเปนตัวหาร สําหรับรายวิชาเลือก อาจเลือกเรียนวิชาเดิมหรือวิชาอื่นแทนได และใหนับ หนวยกิตที่สอบตกเปนตัวหารดวย 13.2 กรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาซ้ํากับรายวิชาที่สอบไดแลว หรือเรียนวิชาที่ ระบุไวในหลักสูตรที่เทียบเทา ใหนับหนวยกิตและคาระดับคะแนนเฉพาะรายวิชาที่ลงทะเบียนครั้งแรก เทานั้น ขอ 14 ผูที่สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ตองมีคุณสมบัติครบถวนทุกขอ ดังนี้ 14.1 มีความประพฤติดี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


69

กําหนด

14.2 สอบผานในรายวิชาตางๆ ครบตามหลักสูตร รวมทั้งรายวิชาที่สภามหาวิทยาลัย 14.3 ไดระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 2.00 14.4 มีระยะเวลาศึกษา ตามขอ 6 ขอ 15 วันสําเร็จการศึกษากําหนด 14 วัน หลังจากการสอบปลายภาควันสุดทาย ขอ 16 การพนสภาพการเปนนักศึกษา ใหเปนไปตามหลักเกณฑตอไปนี้ 16.1 ตาย 16.2 ลาออก 16.3 ขาดคุณสมบัติของผูสมัครเขาเปนนักศึกษา 16.4 ปฏิบัติตนผิดระเบียบของมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมีประกาศใหพนสภาพ

การเปนนักศึกษา

16.5 เมื่อพนกําหนดเวลา 2 สัปดาหแรกของภาคเรียนแลวยังไมมาลงทะเบียนเรียน หรือไมไดมารักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา นักศึกษาที่พนสภาพการเปนนักศึกษาอาจขอคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา ได โดยไดรับอนุมัติจากอธิการบดีหรือผูที่อธิการบดีมอบหมาย 16.6 นักศึกษาลงทะเบียนเรียนครบตามที่หลักสูตรกําหนด และไดคาระดับคะแนน เฉลี่ยสะสมต่ํากวา 1.80 16.7 เรียนครบหลักสูตรและไดรับอนุมัติใหสําเร็จการศึกษาตามขอ 14 16.8 มีผลการเรียนอยูในเกณฑขอใดขอหนึ่ง ดังตอไปนี้ 1) ผลการประเมินไดคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา 1.60 เมื่อสิ้นภาคเรียนปกติ ภาคเรียนที่ 2 นับแตวันเริ่มเขาเรียน 2) ผลการประเมินไดคะแนนเฉลีย่ สะสมต่ํากวา 1.80 ในภาคเรียนปกติที่ 4 ที่ 6 ที่ 8 ที่ 10 ที่ 12 ที่ 14 ที่ 16 ที่ 18 ที่ 20 ที่ 22 และที่ 24 นับแตวันเริ่มเขาเรียน 3) นักศึกษาไมผานการฝกประสบการณวิชาชีพเปนครั้งที่ 2 16.9 มีระยะเวลาการศึกษาเกินกําหนดเวลาตามขอ 6 ขอ 17 เมื่อนักศึกษาเรียนไดหนวยกิต ครบตามที่กําหนดไวในหลักสูตรแลวและไดคาระดับ คะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต 1.80 แตไมถึง 2.00 ใหเลือกเรียนรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อทําคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ใหถึง 2.00 ทั้งนี้ ตองอยูในระยะเวลาที่กําหนด ตามขอ 6 ขอ 18 นักศึกษาที่ทุจริตหรือรวมทุจริตในการสอบรายวิชาใดใหนักศึกษาผูนั้นไดรับผลการ เรียน F ในรายวิชานั้น และใหมหาวิทยาลัยพิจารณาโทษตามควรแกกรณี

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


70

ขอ 19 ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จะไดรับเกียรตินิยมตองมีคุณสมบัติดังนี้ 19.1 นักศึกษาระดับปริญญาตรีสอบไดระดับคะแนนเฉลี่ยจากการศึกษาไมนอยกวา 3.75 จะไดรับเกียรตินิยมอันดับ 1 นักศึกษาระดับปริญญาตรีสอบไดระดับคะแนนเฉลี่ยจากการศึกษาไมนอยกวา 3.25 แตไมถึง 3.75 จะไดรับเกียรตินิยมอันดับ 2 นักศึกษาระดับปริญญาตรี(ตอเนื่อง) สอบไดระดับคะแนนเฉลีย่ จากระดับ อนุปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือประกาศนียบัตรอื่นใดที่เทียบเทาไมนอยกวา 3.75 และเรียน ครบตามหลักสูตรไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยจากการศึกษาในมหาวิทยาลัย ไมนอยกวา 3.75 จะไดรับเกียรตินิยม อันดับ 1 นักศึกษาระดับปริญญาตรี (ตอเนื่อง) สอบไดระดับคะแนนเฉลี่ยจากระดับ อนุปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือประกาศนียบัตรอื่นใดที่เทียบเทาไมนอยกวา 3.25 และเรียน ครบตามหลักสูตรไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยจากการศึกษาในมหาวิทยาลัย ไมนอยกวา 3.25 จะไดรับเกียรตินิยม อันดับ 2 19.2 สอบไดในรายวิชาใดๆ ไมต่ํากวา “C” ตามระบบคาระดับคะแนน หรือไมได “NP” ตามระบบไมมีคาระดับคะแนน 19.3 มีระยะเวลาศึกษา 1) นักศึกษามีเวลาเรียนไมเกิน 4 ภาคเรียนปกติติดตอกัน สําหรับหลักสูตร 2 ป 2) นักศึกษามีเวลาเรียนไมเกิน 8 ภาคเรียนปกติติดตอกัน สําหรับหลักสูตร 4 ป 3) นักศึกษามีเวลาเรียนไมเกิน 10 ภาคเรียนปกติติดตอกัน สําหรับหลักสูตร 5 ป 4) นักศึกษามีเวลาเรียนไมเกิน 12 ภาคเรียนปกติติดตอกัน สําหรับหลักสูตร 6 ป ขอ 20 นักศึกษาที่ขอยกเวนผลการเรียนไมมีสิทธิ์ไดรับปริญญาเกียรตินิยม ขอ 21 ใหคณะกรรมการประจําคณะเปนผูอนุมัติการประเมินผลการศึกษา ขอ 22 คาธรรมเนียมการศึกษา การเก็บคาธรรมเนียมการศึกษาทุกระบบทุกประเภท ใหเปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย วาดวยการรับจายเงินเพื่อจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ขอ 23 การประเมินผล 23.1 ใหมหาวิทยาลัยประเมินการสอนของอาจารยผูสอนทุกภาคการศึกษาเพื่อให อาจารยผูสอนพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการสอน 23.2 ใหมหาวิทยาลัยมีการประเมินผลการจัดการศึกษาทุกๆ ระยะ 4 ป เพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนและพัฒนาหลักสูตร

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


71

ขอ 24 ใหอธิการบดีเปนผูรักษาการตามขอบังคับนี้ และมีอํานาจออกระเบียบ ประกาศหรือ คําสั่งเพื่อประโยชนในการปฏิบัติตามขอบังคับนี้ ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามขอบังคับนี้ ใหอธิการบดีมีอํานาจตีความ และ วินิจฉัย ประกาศ ณ วันที่

มิถุนายน พ.ศ. 2548

พลตรี

(สนั่น ขจรประศาสน) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


72

เอกสารหมายเลข 3 การกําหนดรหัสวิชาของสาขาวิชา

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


73

การกําหนดรหัสวิชา

หลักการ 1. ระบบรหัส กําหนดรหัสวิชาใชระบบตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพใหญ 4 ตัว อักษรนําหมูวิชา หรืออักษรยอ และ ตัวเลข 4 หลัก 2. การจัดหมวดวิชาและหมูว ชิ า ยึดหลัก 2 ประการ คือ 2.1 ยึดฐานกําเนิดของรายวิชา 2.2 ยึดสาระสําคัญ (concept) ของคําอธิบายรายวิชา 3. รหัสวิชา ประกอบดวย อักษรภาษาอังกฤษ 4 ตัว เปนหมวดวิชาและหมูวิชา/กลุมวิชา ตัวเลขที่ 1 บงบอกถึงระดับความยากงายหรือชั้นป ตัวเลขที่ 2 บงบอกถึงลักษณะเนื้อหาวิชา/แขนงวิชา ตัวเลขที่ 3 บงบอกถึงลําดับวิชากอนหลัง การกําหนดรหัสวิชาแตละตัวอักษร 1-8 1

อักษรตัวที่ 1-4

2

3

4

ลําดับกอนหลัง ของวิชา ลักษณะเนื้อหา/แขนงวิชา ระดับความยากงายของวิชา/ชั้นป หมวดวิชา/หมูวิชา/กลุมวิชา

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


74

หมูวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว (GOHI) หมูวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว ซึ่งอยูในหมวดวิชาสังคมศาสตร ไดจัดลักษณะเนื้อหาวิชา ดังนี้ 1. ภูมิศาสตร 2. ประวัติศาสตร

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

(GOHI-1--) (GOHI-2--)

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


75

เอกสารหมายเลข 4

ผลงานทางวิชาการ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


76

1. ประวัตกิ ารศึกษา ป พ.ศ. 2546 ป พ.ศ.

2543

อาจารยสุกานดา สารนอย SUKANDA SARNNOI กศ.ม. กศ.บ.

การศึกษามหาบัณฑิต (ภูมิศาสตร) การศึกษาบัณฑิต (สังคมศึกษา)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2. ภาระงานสอน 2.1 ภาระงานสอนในปจจุบัน GESO1102 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI1102 เครื่องมือทางภูมิศาสตรสําหรับการทองเที่ยว 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI2301 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรภาคเหนือ 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI2303 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรภาคกลางและตะวันออก 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI1301 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรโลก 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI3101 ภูมิศาสตรการตลาดและอุตสาหกรรม 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI3107 ภูมิศาสตรกายภาพและเศรษฐกิจ 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI3117 ภูมิศาสตรวัฒนธรรม 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI4101 ภูมิศาสตรประเทศไทยเชิงวิเคราะห 3(3-0-6) หนวยกิต 2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ GESO1102 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI2101 ภูมิศาสตรโลก 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI1102 แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรสําหรับการทองเที่ยว 3(2-2-5) หนวยกิต GOHI1103 ภูมิศาสตรกายภาพ 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI3101 ภูมิศาสตรการตลาดและอุตสาหกรรม 3(3-0-6) หนวยกิต GOHI4101 ภูมิศาสตรประเทศไทยเชิงวิเคราะห 3(3-0-6) หนวยกิต 3. ผลงานวิชาการ 1. วิเคราะหสภาพภูมิศาสตรของมลพิษทางน้ําในหนองหาน จังหวัดสกลนคร (2546) 2. โครงการเรียนรูรวมกันสรรคสรางชุมชน โดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2547) 3. โครงการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาระบบการจัดการทองเที่ยว อยางยั่งยืน ในตําบล บางสีทอง อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี (2549)

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


77

อาจารยสมคเน แผลงฤทธิ์ SOMKHANE PLAENGRITT 1 ประวัติการศึกษา ปพ.ศ. 2548 ปพ.ศ. 2541

ศศ.ม ศศ.บ

ประวัติศาสตรไทย ประวัติศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มหาวิทยาลัยทักษิณ

2.ภาระงานสอน 2.1ภาระงานสอนในปจจุบัน GESO 1001 พลวัตสังคมไทย GOHI 2203 ประวัติศาสตรไทยสมัยใหม GOHI 4201 ประวัติศาสตรไทยเชิงวิเคราะห

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ GESO 1001 พลวัตสังคมไทย GOHI 1203 การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร GOHI 2203 ประวัติศาสตรไทยสมัยใหม GOHI 2207 ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย GOHI 2208 ประวัติศาสตรสังคมไทย GOHI 3201 ประวัติศาสตรไทยเพื่อการทองเที่ยว GOHI 3207 เหตุการณโลกปจจุบัน GOHI 4201 ประวัติศาสตรไทยเชิงวิเคราะห GOHI 4901 สัมมนาทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว GOHI 4902 การวิจัยทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(0-6-3)

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


78

3 ผลงานวิชาการ สมคเน แผลงฤทธิ์. (2550). เอกสารประกอบการสอนวิชาพลวัตสังคมไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม. สมคเน แผลงฤทธิ์. Thai-Studies พาชมตลาดน้ําดําเนินสะดวก. มนุษยศาสตรปริทรรศน. ปที่ 6, ฉบับที่ 6 (มกราคม - ธันวาคม 2550) : หนา 88-93. สมคเน แผลงฤทธิ์. มรดกโลกแหงใหม : กรณีปราสาทพระวิหาร. มนุษยศาสตรปริทรรศน. ปที่ 7, ฉบับที่ 7 (มกราคม - ธันวาคม 2550) : หนา 88-93. สมคเน แผลงฤทธิ์. สภาพเศรษฐกิจของไทยสมัยกรุงธนบุรีภายหลังจากเสียกรุงครั้งที่ 2. บรรจบวิชาการ. ปที่ 2, ฉบับที่ 4 (มกราคม - มิถุนายน 2551) : หนา 117-125.

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


79

อาจารยธมาภรณ พูมพิจ Thamaporn Phumpij 1 ประวัติการศึกษา ปพ.ศ. 2546 ปพ.ศ. 2542

ศศ.ม. ศศ.บ

ประวัติศาสตร(เอเชีย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2.ภาระงานสอน 2.1ภาระงานสอนในปจจุบัน GESO1101 พลวัตสังคมโลก GOHI1202 ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย GOHI2401 การจัดการธุรกิจภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว GOHI3201 ประวัติศาสตรไทยเพื่อการทองเที่ยว 2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ GOHI 1202 ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย GOHI2202 ประวัติศาสตรโลก GOHI 2206 การศึกษาเอกสารและหลักฐานทางประวัติศาสตร GOHI3201 ประวัติศาสตรไทยเพื่อการทองเที่ยว GOHI3207 เหตุการณโลกปจจุบัน GOHI3208 ประวัติศาสตรเอเชีย GOHI3901 ระเบียบวิธีการวิจัยทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตร GOHI4801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพทางภูมิศาสตร และ ประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว GOHI4802 การฝกประสบการณวิชาชีพทางภูมิศาสตรและ ประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว GOHI4901 สัมมนาทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว GOHI4902 การวิจัยทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

3(3-0-6) หนวยกิต 3 (3-0-6) หนวยกิต 3 (3-0-6) หนวยกิต 3 (3-0-6) หนวยกิต

3 (3-0-6) หนวยกิต 3 (3-0-6) หนวยกิต 3 (3-0-6) หนวยกิต 3 (3-0-6) หนวยกิต 3 (3-0-6) หนวยกิต 3 (3-0-6) หนวยกิต 3 (3-0-6) หนวยกิต 2(90) 5(450) 3 (3-0-6) หนวยกิต 3 (3-0-6) หนวยกิต

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


80

3 ผลงานวิชาการ ธมาภรณ พูมพิจ.(2554). ผลของวิธีการสอนแบบทัศนศึกษาที่มีตอความสนใจในการเรียนวิชา GOHI1202 ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทยของนักศึกษาชั้นปที่ 1 สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิง ทองเที่ยวมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


81

อาจารยสุพรรณี ปลัดศรีชว ย Supunnee Pladsrichuay 1. ประวัตกิ ารศึกษา ป พ.ศ. 2551 ป พ.ศ.

2545

วท.ม. วท.บ.

การรับรูจากระยะไกล และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เทคโนโลยีชนบท

มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2. ภาระงานสอน 2.1 ภาระงานสอนในปจจุบัน GESO1102 มนุษยกับสิ่งแวดลอม GOHI1101 ภูมิศาสตรประเทศไทย GOHI2101 ภูมิศาสตรเพื่อการทองเที่ยวแบบยั่งยืน GOHI3108 แผนที่และการสํารวจระยะไกลเบื้องตน GOHI3118 ภูมิศาสตรการทองเที่ยวไทย GOHI4401 ภูมิศาสตรการพัฒนาและอนุรักษสิ่งแวดลอม 2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ GESO1102 มนุษยกับสิ่งแวดลอม GOHI1101 ภูมิศาสตรประเทศไทย GOHI2103 ภูมิศาสตรการทองเที่ยวไทย GOHI2104 ภูมิศาสตรการพัฒนาและอนุรักษทรัพยากร การทองเที่ยว GOHI3105 การสํารวจขอมูลระยะไกลและระบบ กําหนดพิกัดตําแหนงบนพื้นโลกดวยดาวเทียม GOHI3106 ความรูเบื้องตนระบบภูมิสารสนเทศ และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร GOHI4102 การจัดการฐานขอมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อการทองเที่ยว

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

3(3-0-6) หนวยกิต 3(3-0-6) หนวยกิต 3(3-0-6) หนวยกิต 3(3-0-6) หนวยกิต 3(3-0-6) หนวยกิต 3(3-0-6) หนวยกิต 3(3-0-6) หนวยกิต 3(3-0-6) หนวยกิต 3(3-0-6) หนวยกิต 3(3-0-6) หนวยกิต 3(2-2-5) หนวยกิต 3(2-2-5) หนวยกิต 3(2-2-5) หนวยกิต

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


82

3. ผลงานวิชาการ สุพรรณี ปลัดศรีชวย, รัศมี สุวรรณวีระกําธร, ชรัตน มงคลสวัสดิ์. การเปรียบเทียบสมรรถนะความแยกชัด ของภาพถายดาวเทียมกับการใชประโยชน (2550). ใน เอกสารการสัมมนาเชิงปฎิบตั กิ ารเทคโนโลยี อวกาศและภูมิสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน. (หนา 67-83). ขอนแกน: มหาวิทยาลัยขอนแกน. สุพรรณี ปลัดศรีชวย, อุราวรรณ จันทรเกษ, ฐาปณี คําชัย, ณกร วัฒนกิจ, สถาพร ไพบูลศักดิ์, ชรัตน มงคลสวัสดิ์. (2550). การประเมินทรัพยากรปาไมและที่ดินแบบเรงดวนในพื้นที่ลุมน้ําโขง. ใน เอกสารการสัมมนา SPOT/THEOS Enhancement Programme. (หนา 16-27). ขอนแกน: มหาวิทยาลัยขอนแกน. สุพรรณี ปลัดศรีชวย, อุราวรรณ จันทรเกษ, สถาพร ไพบูลศักดิ์, ชรัตน มงคลสวัสดิ์. (2551). การประเมิน เชิงบูรณาการพื้นที่เสี่ยงตอการเกิดดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดวยขอมูลจากดาวเทียมและ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร. ใน เอกสารการประชุมสัมมนาทางวิชาการระดับชาติดานเทคโนโลยี อวกาศและภูมสิ ารสนเทศเรือ่ ง “ธีออสกับเทคโนโยลีอวกาศฯ ไทย”. (หนา 6-1). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. สุพรรณี ปลัดศรีชวย, & ชรัตน มงคลสวัสดิ์. (2551). การประเมินสถานภาพพื้นผิวเพื่อแสดงศักยภาพความ เปนเกลือของดิน ในที่ราบสูงโคราชดวยขอมูลจากดาวเทียมและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร. ใน เอกสารการประชุมทางวิชาการ สิง่ แวดลอมนเรศวร ครัง้ ที่ 4. (หนา 100-115). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. สุพรรณี ปลัดศรีชวย, อุราวรรณ จันทรเกษ, ฐาปณี คําชัย, ณกร วัฒนกิจ, ชรัตน มงคลสวัสดิ์. (2551). การประเมินพืชพรรณริมน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือดวยขอมูลภาพถายจากดาวเทียม. วารสาร สมาคมสํารวจขอมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมศิ าสตรแหงประเทศไทย, 9(1), 7-17. สุพรรณี ปลัดศรีชวย, อุราวรรณ จันทรเกษ, ฐาปณี คําชัย, ชรัตน มงคลสวัสดิ์. (2551). การวิเคราะหการ เปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินในเขตทุงกุลารองไหดวยขอมูลภาพถายจากดาวเทียม. คนเมื่อ 29 มิถุนายน 2554 http://negistda.kku.ac.th/research/research11/ Mongkolsawat.,C.,Pladsrichuay.,S.,Chanket.,U.,Kamchai.,T., and Wattanakij.,N. Evaluating Spatial Information of Riparian Vegetation in Northeast Thailand Using Satellite Data. (2008). Journal of Remote Sensing and GIS Association of Thailand. Vol. 9 No. 1 January - April 2008. Mongkolsawat.,C. and Pladsrichuay.,S. Comparative Detection of Land Use Changes along the Mekong River between Border of Thailand and Lao PDR. (2008). The Second International conference on science and technology for sustainable development of the greater Mekong subregion. คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


83

อาจารยอรวรรณ เชือ้ นอย Orawan Chueanoi 1 ประวัติการศึกษา ปพ.ศ. 2550 ปพ.ศ. 2546

ศศ.ม ศศ.บ

ประวัติศาสตรศิลปะ ประวัติศาสตรศิลปะ

มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร

2.ภาระงานสอน 2.1ภาระงานสอนในปจจุบัน GOHI1201 ประวัติศาสตรไทย GOHI1202 ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย GOHI2201 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 1 GOHI2303 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรภาคกลางและภาคตะวันออก GOHI2204 ประวัติศาสตรทองถิ่น GOHI3401 ประวัติศาสตรในวรรณกรรมไทย

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ GOHI1201 ประวัติศาสตรไทย GOHI1202 ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย GOHI2201 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 1 GOHI2204 ประวัติศาสตรทองถิ่น GOHI2209 พิพิธภัณฑศึกษาเพื่อการทองเที่ยว GOHI3202 ประวัติศาสตรในวรรณกรรมสําหรับการทองเที่ยว GOHI3203 ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย 2 GOHI3206 ประวัติศาสตรและโบราณคดีในทองถิ่นเพื่อการทองเที่ยว GOHI3901 ระเบียบวิธีการวิจัยทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตร GOHI4901 สัมมนาทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว GOHI4902 การวิจัยทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(0-6-3)

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


84

3 ผลงานวิชาการ อรวรณ เชื้อนอย. หอศิลปเจาฟา : ที่มาของชื่อ. ในหนังสือประกอบนิทรรศการพิเศษ 30 ป พิพิธภัณฑสถาน แหงชาติ หอศิลป. กรุงเทพ : จัสพริ้นท จํากัด , 2551. อรวรรณ เชือ้ นอย. สืบเนื่องจากนิทรรศการ : มาจาก(คนละ)ฟากฟาของเพิงผา. พิพิธภัณฑสาร. ปที่ 15, ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม - กันยายน 2551) : หนา 4 – 6. อรวรรณ เชือ้ นอย. วัดชมภูเวก : วัดมอญสะทอนศิลปกรรมไทย. เสียงรามัญ. ปที่ 4, ฉบับที่ 22 (พฤศจิกายน – ธันวาคม 2552) : หนา 9 -11. อรวรรณ เชือ้ นอย. เขงปลาทูอยูคูเมืองนนท. เสียงรามัญ. ปที่ 4, ฉบับที่ 22 (พฤศจิกายน – ธันวาคม 2552) : หนา 9 -11. อรวรรณ เชือ้ นอย. กวาจะเปนไมกวาดสักดาม. เสียงรามัญ. ปที่ 5, ฉบับที่ 23 (มกราคม - กุมภาพันธ 2553) : หนา 29 -30. อรวรรณ เชือ้ นอย. (อาจ)เคยเปนมอญแตตอนนี้เปนพวน : ภาพสะทอนจากงานศิลปกรรม. เสียงรามัญ. ปที่ 5, ฉบับที่ 24 (มีนาคม – เมษายน 2553) : หนา 9 - 11. อรวรรณ เชือ้ นอย. หนองหมอหายความสัมพันธการคาแบบมอญๆ. เสียงรามัญ. ปที่ 5, ฉบับที่ 24 (มีนาคม – เมษายน 2553) : หนา 33 - 34. อรวรรณ เชือ้ นอย. หลังคามุงจาก. เสียงรามัญ. ปที่ 5, ฉบับที่ 26 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2553) : หนา 37 – 39. อรวรรณ เชือ้ นอย. โอทอปมอญ : กาละแมรามัญ. เสียงรามัญ. ปที่ 5, ฉบับที่ 27 (กันยายน – ตุลาคม 2553) : หนา 36 - 38. อรวรรณ เชือ้ นอย. ขาวแชเมืองเพชร. เสียงรามัญ. ปที่ 5, ฉบับที่ 28 (พฤศจิกายน – ธันวาคม 2553) : หนา 37 - 39. อรวรรณ เชือ้ นอย. เจดียวัดแกว ตัวแทนสะทอนความสัมพันธของอาณาจักรตาง ๆ สมัยศรีวิชัย. รูสมิแล. ปที่ 31, ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2553) : หนา 68- 72. อรวรรณ เชือ้ นอย. “ชางทอผา” , “ชางทําเทียน” , “ชางทองเหลือง” . บทความเนื่องในวันอนุรักษมรดกไทย พุทธศักราช 2553 เรื่อง งานชางพื้นถิ่น. กรุงเทพ : รุงศิลปการพิมพ, 2553.

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สาขาวิชาภูมิศาสตรและประวัติศาสตรเชิงทองเที่ยว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.