Beauty in architecture
THE BEAUTY OF ARCHITECTURE
IN SANGKLABHURI 1
2
3
4
วัดเหมืองปิล๊อก วัดใต้น้ำ� วัดเสาร้อยต้น
6 18 32
5
6
วัดเหมืองปิล๊อก
สุดแดนธรรมชายแดนตะวันตก ไม่ว่าแผ่นดินไทยผืนไหนจะอยู่ห่างไกลเพียงใด ใต้ร่มธงธรรมแห่งพระศาสนาปกป้องผองชนให้ได้รับผล บุญโดยถ้วนทั่ว สุดแผ่นดินที่ชายแดนตะวันตกต่อเชื่อมกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น พม่า ยังมีแสงธรรม นำ�ทางสุก สว่างกลางขุนเขา ที่เปล่าเปลี่ยวและห่างไกล อยู่กันอย่างสุขสงบ มี วัดเหมืองปิล็อก แผ่ผลบุญให้ทุกคนร่มเย็น ดุจเดียวกับพี่น้องผองชาวไทยทั่วไปในเมืองกรุง ความแตกต่างย่อมมีได้และ
7
พระพุทธรูปยืน
วัดเหมืองปิล็อก ที่สุดชายแดนตะวันตก บนขุนเขาที่สูงจากระดับน้ำ�ทะเลกว่า ๑,๘๐๐ เมตร เป็นเครื่องยืนยันได้เป็นอย่างดีว่า ไม่ว่าจะมีชุมชนคนพุทธอยู่ ณ แห่งหนตำ�บล ใด พระพุทธศาสนาย่อมแผ่ไพศาลไปถึง โอบล้อมให้ความอบอุ่นใจ
8
9
บรรยากาศ รอบๆวัด วัดเหมือง ปิล๊อก 10
11
12
วัดเหมืองปิล็อกสร้างตามศิลปะพม่า แต่ไม่สมบูรณ์นัก วัดนี้สร้างเมื่อ ๕๐-๖๐ ปีก่อน บรรยากาศวัดปลอดโปร่งเย็นสบาย ที่ใกล้ๆ นั้นมีสถานที่สำ�คัญ คือ จุด ประสานสัมพันธไมตรีไทย-พม่า หรือ เนินชักธง มีธงไทยปักไว้ให้รู้ว่า ที่นี่คือดิน แดนไทย และมีธงพม่าปักไว้คู่กัน ตรงเส้นแดนพม่า
13
14
ที่ลานโล่งหน้าอุโบสถ เมื่อนักท่องเที่ยวพลัดขึ้นมาแล้วหาที่นอนค้างไม่ได้ ก็ เคยมาขอกางเต็นท์นอนกันทุกปี แต่เพราะว่าอยู่สูงและโดดเด่น จึงมีลมพัด แรงกว่าจุดอื่นๆ
โบสถ์ วัดเหมือง ปิล๊อก
บางรายก็ไปขอกางเต็นท์ที่ ตชด. หรือหน้าสนามโรงเรียนเหมืองปิล็อก รอบๆ บริเวณตลาด มีดอกไม้เมืองหนาวหลายชนิดให้ชมอย่างมากมาย
15
16
17
18
วัดใต้น้ำ�
“วัดวังก์วิเวการาม”
19
หลวงพ่ออุตตมะ ได้รับพระราชทาน สมณศักดิ์ เป็นพระครูอุดมสิทธาจาร ย์ เมื่อ พ.ศ. 2512 ได้รับพระราชทาน
20
สมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะที่พระอุดม สังวรเถร เมื่อ พ.ศ. 2524 และได้รับ พระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระราชอุดมมงคลพหลนราทรเมื่อ พ.ศ. 2534
21
22
สำ�หรับ “วัดวังก์วิเวกา ราม”หรือ “วัดหลวง พ่อ อุตตมะ” เป็นวัดที่หลวงพ่อ อุตตมะ ร่วมกับชาวบ้าน อพยพชาวกะเหรี่ ย งและ ชาวมอญ ได้ร่วมกันสร้าง ขึ้น ในปี พ.ศ.2496 ที่บ้าน วังกะล่าง อำ�เภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ใกล้กับ ชายแดนไทย-พม่า ห่าง จากอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี ประมาณ 220 กิโลเมตร ในระยะแรกมีเพียง กุฏิและศาลา มีฐานะเป็น สำ�นักสงฆ์ แต่ชาวบ้านโดย ทั่วไปเรียกว่า วัดหลวงพ่อ อุตตมะ ตั้งอยู่บนเนินสูง ในบริเวณที่เรียกว่า สาม ประสบ ซึ่งเป็นจุดที่แม่น้ำ� 3 สาย คือแม่น้ำ�ซองกาเลีย แม่น้ำ�บีคลี่ แม่น้ำ�รันตี ไหล มาบรรจบกัน
23
24
สถานที่ต่างๆ ภายใน เนื่องจากเหตุการณ์บ้านเมืองในประเทศพม่าขณะนั้น อุตตมรัมโภภิกขุจึงเดินทางเข้าสู่ ประเทศไทยอีกครั้งทางหมู่บ้านอีต่อง ตำ�บลปิล็อก อำ�เภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ขณะจำ� พรรษาอยู่ที่วัดเกาะ อำ�เภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี มีคนมาแจ้งข่าวว่าที่สังขละบุรีมีชาวมอญจาก บ้านเดิมของท่าน อพยพเข้าเมืองไทย และต้องการนิมนต์ท่านไปเยี่ยม ท่านได้พบกับชาวมอญที่ อพยพมาจากโมกกะเนียง เจ้าคะเล และมะละแหม่ง และพาชาวมอญเหล่านี้ไปอาศัยอยู่ที่บ้านวัง กะล่าง ถือเป็นจุดกำ�เนิดของชุมชนชาวมอญในสังขละบุรี
25
ในปี พ.ศ. 2499 หลวงพ่ออุตตมะร่วมกับชาวบ้านชาวกะเหรี่ยงและชาวมอญ ได้พร้อมใจกันสร้าง ศาลาวัดขึ้น มีฐานะเป็นสำ�นักสงฆ์ แต่ชาวบ้านโดยทั่วไปเรียกว่า วัดหลวงพ่ออุตตมะ ตั้งอยู่บนเนินสูง ในบริเวณที่เรียกว่า สามประสบ เพราะมีแม่น้ำ� 3 สายไหลมาบรรจบกัน คือแม่น้ำ�ซองกาเลีย แม่น้ำ� บีคลี่ แม่น้ำ�รันตี ในปี พ.ศ. 2505 ได้รับอนุญาตจากกรมการศาสนาให้ใช้ชื่อว่า วัดวังก์วิเวการาม ซึ่ง ตั้งตามชื่ออำ�เภอวังกะ ในวัดมีการก่อสร้างเจดีย์จำ�ลองแบบจาก เจดีย์พุทธคยา ประเทศอินเดีย เริ่ม
26
ต่อมาทางการไฟฟ้าฝ่ายผลิตได้ก่อสร้างเขื่อนเขาแหลม หรือ เขื่อนวชิราลงกรณ์ ซึ่งเมื่อกักเก็บน้ำ�ใน ปี พ.ศ. 2527 น้ำ�ในเขื่อนเขาแหลมจะท่วมตัวอำ�เภอเก่ารวมทั้งหมู่บ้านชาวมอญ ทางวัดจึงได้ย้ายมา อยู่บนเนินเขาในที่ปัจจุบัน โดยทางราชการได้ช่วยเหลือในการอพยพผู้คนซึ่งมีอยู่ราว 1,000 หลังคา เรือน บนพื้นที่ 1,000 ไร่เศษ ส่วนบริเวณวัดหลวงพ่ออุตตมะเดิม ปัจจุบันจมอยู่ใต้น้ำ� และมีชื่อเสียง เป็นสถานที่ท่องเที่ยว Unseen Thailand เป็นที่รู้จักในชื่อว่า วัดใต้น้ำ� สังขละบุรี
27
วัดใต้น้ำ�
“วัดวังก์วิเวการาม”
28
29
30
พระพุทธรูป ปางต่างๆ
สังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี่
31
วัดเสาร้อยต้น พม่า
32
33
34
35
36
นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เข้าไปเที่ยวชมวัดเสาร้อยต้น เนื่องจากมีสถาปัตยกรรมที่ สวยงาม และมีเสาจำ�นวนมากที่ใช้ในการสร้างวัดจึงได้ชื่อวัดเสาร้อยต้น
บริเวณวัดนักท่องเที่ยวยังสามารถเลือกซื้อสินค้าจากประเทศพม่าได้ในราคาไม่ แพง เช่น เครื่องไม้ เครื่องประดับ
37
38
39
40
41
42
จัดทำ�โดย นายเพชรณะภา ชูวงศ์รหัส 5121302946 สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมปีการศึกษา 2556
43
44