บทที่ 14 ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

Page 1

หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

บทที่ 14 ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ มาตรฐานสากล 14.1 ความหมายของใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์คือใบรับรองความสามารถที่มอบให้บุคคล ที่มีคุณสมบัติเฉพาะโดยเจ้าของใบรับรอง เป็นเสมือนสิ่ง รับรองว่าบุคคลที่ ได้ รั บ ใบรั บ รองนั้ น มี ค วามรู้ ค วามช านาญเฉพาะด้ า นทางคอมพิ ว เตอร์ เทคโนโลยี ตามคุณสมบัติซึ่งอาจประกอบด้วยการผ่านการอบรมความรู้ทาง คอมพิวเตอร์เทคโนโลยี การผ่านการทดสอบคุณสมบัติเฉพาะทางวิชาชีพ ด้ า นคอมพิ ว เตอร์ หรื อ การได้ ค ะแนนผ่ า นในการทดสอบด้ ว ยข้ อ สอบ มาตรฐาน ซึ่งเป็นไปได้ว่าบางมาตรฐานอาจต้องผ่านทุกด้านที่กล่าวมา โดย เจตจ านงค์ ที่ จ ะสร้ า งให้ ผู้ ไ ด้ รั บ การรั บ รองมี คุ ณ ภาพทางด้ า นเทคนิ ค ใน สาขาทางด้านคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่ได้รับการรับรอง ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีปกติจะมีกาหนดอายุการรับรอง หรือบางครั้งอายุของการรับรองจะหมดไปพร้อมกับรุ่นของผลิตภัณฑ์ทาง คอมพิ ว เตอร์ ที่ เ ป็ น ส่ ว นประกอบของใบรั บ รอง เช่ น การเปลี่ ย นรุ่ น ของ ซอฟต์แวร์ เป็นต้น ส่วนหนึ่งของการต่ออายุ ของใบรับรองของผู้ได้รับการ รับรองแต่ละคน จะต้องแสดงการเรียนรู้ทางสาขาที่ได้รับการรับรองอย่าง ต่อเนื่อง หรื อศึ กษาต่อเนื่ องไปยัง หน่ วยอื่น ๆ ของสาขานั้ น ๆ ใบรั บรองนี้ มักจะใช้บ่อย ๆกับอุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การสมัคร งาน การเข้าร่วมการประมูลงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

14.2 ความสาคัญของใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ ผลจากการสารวจความคิดเห็นของ eWEEK Poll แสดงให้เห็นว่า มี องค์กรมากถึง 42 เปอร์เซ็นต์ให้ความสาคัญกับใบรับรองทางด้านไอทีใน :Page | 1


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

ระดับสาคัญมาก และ 24 เปอร์เซ็นต์ให้ความสาคัญในระดับปานกลาง และ 8 เปอร์เซ็นต์ให้ความสาคัญน้อย ที่น่าแปลกใจก็คือ มีถึง 24 เปอร์เซ็นต์ของ ผู้ออกเสียงไม่ให้ความสาคัญกับใบรับรอง จากตั ว เลขดั ง กล่ า วแสดงให้ เ ห็ น ว่ า ใบรั บ รองทางด้ า นไอที เ ริ่ ม มี ความส าคั ญ มากขึ้ น ส าหรั บ องค์ ก รต่ า งๆ ในประเทศไทย หลายองค์ ก ร ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานของตนเองเข้ า รั บ การฝึ ก อบรม และสอบใบรั บ รอง เหล่ า นี้ โดยมี เ ป้ า หมายในลั ก ษณะที่ ค ล้ า ยกั น เช่ น เพื่ อ ยกระดั บ ความรู้ ความสามารถของบุคลากร ซึ่งจะส่งผลไปถึงคุณภาพในการให้บริการ และ ภาพพจน์ ข ององค์ ก ร อย่ า งไรก็ ต าม ยั ง มี อ งค์ ก รอี ก เป็ น จ านวนมากที่ ใ ห้ ความสาคัญกับประสบการณ์มากกว่าใบรับรองเหล่านี้ นอกจากในส่วนของ องค์กรแล้ว ตัวของพนักงานเองก็เริ่มตื่นตัวที่จะแสวงหาความรู้เพิ่มเติม ชัยวุฒิ จิรันดร ผู้จัดการฝ่ายไอที บริษัท เสริมสุข จากัด (มหาชน) ซึ่ง เป็นบริษัทผู้ผลิตและจัดจาหน่ายเครื่องดื่มตรา Pepsi, Miranda, คริสตัน ฯลฯ กล่าวถึงความสาคัญของใบรับรองทางด้านไอทีว่า ทางบริษัทของเรา ให้ค วามสาคั ญ ในระดั บ หนึ่ ง เท่ านั้ น เนื่ อ งจากเราไม่ ไ ด้เ ป็น ผู้ ประกอบการ ด้านไอที แต่การที่พนักงานในฝ่ายคอมพิวเตอร์มีใบรับรองก็เปรียบเสมือน เป็ น ใบรั บ ประกั น ความรู้ ค วามสามารถของบุ ค ลากรในองค์ ก ร รวมถึ ง ภาพลักษณ์ของทางบริษัทด้วยว่ามีบุคลากรที่มีคุณภาพเข้า มาทางาน และ เป็นการเพิ่มศักยภาพในการทางานให้กับองค์กรด้วย จาก http://www.arip.co.th ความสาคัญของใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ยังแบ่งตามผู้ใช้ได้ดังนี้ 1.สาหรับผู้ที่เพิ่งเรียนจบมหาวิทยาลัย มักจะให้เหตุผลว่า เพื่อใช้เป็น เอกสารประกอบการสมั ค รงานเพราะปั จ จุ บั น บริ ษั ท ชั้ น น าส่ ว นใหญ่ ที่ ต้ อ งการรั บ สมั ค รพนั ก งานด้ า น IT

มั ก จะระบุ คุ ณ สมบั ติ ว่ า ถ้ า มี Cert.

CCNA,MCSE,RHCEเป็นต้นจะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ ดังนั้น การมี Cert. จึงเท่ากับเป็นใบเบิกทางในการถูกเรียกตัวไปสัมภาษณ์งานซึ่งนั่น หมายถึงว่าโอกาสของคุณที่จะได้รับการคัดเลือกเข้าเป็นพนักงานในบริษัท นั้นมีมากขึ้นตามไปด้วย

:Page | 2


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

2.ส าหรั บ ผู้ ที่ ท างานมาสั ก ระยะหนึ่ ง แล้ ว มั ก จะให้ เ หตุ ผ ลว่ า ใช้ ประกอบการพิ จ ารณาเพื่ อ เลื่ อ นต าแหน่ ง งาน ,

เพื่ อ การขอปรั บ อั ต รา

เงิ น เดือนเพิ่มขึ้น , เพื่อต้องการเปลี่ ยนงานใหม่ไ ม่ว่าจะเป็น การย้ายไป หน่ ว ยงานใหม่ ที่ อ ยู่ ภ ายในบริ ษั ท เดี ย วกั น หรื อ ย้ า ยไปบริ ษั ท อื่ น ที่ ดี ก ว่ า บริ ษั ทเดิม เหล่ านี้ เป็ น ต้ น และนอกจากนี้ ใ นปัจจุ บัน หลายๆบริ ษั ทมั กมีการ จ่ายเงินเพิ่มพิเศษสาหรับผู้ที่มีใบ Cert. IT ซึ่งอัตราค่า Cert. ก็จะแตกต่าง กันไป ขึ้นอยู่กับนโยบายของบริษัทนั้นๆ 3.สาหรับ ผู้ ที่ทางานมาหลายปีแล้ ว หรื อมีตาแหน่ งเป็น ระดับหัวหน้ า งาน มักจะให้เหตุผลว่า ใช้เพื่อ

“เขียนเสือให้วัวกลัวหรือตัด ไม้ข่มนาม”

กล่ าวคื อเมื่อมี Cert. แล้ วผู้ ใ ต้บัง คับบัญชาจะได้รู้ ว่า ผู้ บังคับบัญชาหรื อ หัวหน้างานของตนนั้นเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเช่นกัน เพราะมีหลักฐาน คือใบ Cert. เป็นสิ่งยืนยัน เมื่อมีการสั่งงานก็จะต้องปฏิบัติตามและอีกเหตุผล หนึ่ ง ส าหรั บ ผู้ ที่ ท างานมานานคื อ เมื่ อ มี น้ อ งๆพนั ก งานใหม่ ที่ เ พิ่ ง เข้ า มา ท างานมี ใ บ Cert.

มาแล้ ว แต่ ต นเองซึ่ ง เป็ น หั ว หน้ า งานหรื อ เป็ น

ผู้บังคับบัญชาตามสายงาน กลับไม่มีCert. ก็เริ่มอยู่ลาบาก เพราะมีสิทธิ์ที่จะ ถูกน้องๆ “เกทับ” หรือไม่เชื่อฟังเวลาสั่งงาน 4.สาหรับบริษัทที่ทาธุรกิจด้าน IT ก็ย่อมต้องการพนักงานที่มีCert. IT โดยให้เหตุผลว่าเพื่อเป็นการยืนยันว่าพนักงานของบริษัทเป็นพนักงานมือ อาชีพมีความรู้ความสามารถ และนอกจากนี้แล้ว บางบริษัทยังจาเป็นต้องใช้ Cert.ในการประมูล งานหรื อ Support

ลู กค้ า หรื อแม้แ ต่ การสมั ค รเป็ น

partner ของเจ้าของ product ก็ยังต้องใช้Cert. เพื่อประกอบการสมัครอีก ด้วย 5.ส าหรั บ อาจารย์ ที่ ส อนในมหาวิ ท ยาลั ย หรื อ สถานศึ ก ษาต่ า งๆ ก็ จาเป็นต้องสอบ Cert. IT โดยให้เหตุผลว่าต้องการจะทาเพื่อเป็น “ตัวอย่าง” แก่ลูกศิษย์และนอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มทักษะความรู้ให้แก่ตัวเองเพื่อที่จะ สามารถแนะนาแนวทางให้กับลูกศิษย์ได้อีกด้วย 6.ส าหรั บ พนั ก งานฝ่ า ยการตลาด หรื อ ฝ่ า ยขาย ก็ จ าเป็ น ต้ อ งสอบ Cert. โดยให้เหตุผลว่าเพื่อเป็นสิ่งรับรองว่าตนเองนั้นเป็นผู้มีความรู้ความ ชานาญในสินค้าที่จาหน่าย :Page | 3


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

จาก www.mict.go.th

14.3 ประเภทของใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากล ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ (Certificate) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ประกอบด้วย 1. ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ (Certificate) แบบอิงผลิตภัณฑ์ 2. ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ (Certificate) แบบไม่อิงผลิตภัณฑ์

14.4 การทดสอบใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากล ประกาศนียบัตรของไมโครซอฟต์ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องบริ ษั ท ไมโครซอฟท์ จั ด ได้ ว่ า เป็ น ที่ นิ ย มอย่ า งแพร่ ห ลาย ประกาศนียบัตรต่างๆของไมโครซอฟท์จึงเน้นในส่วนของระบบปฏิบัติการ ไมโครซอฟท์วินโดวส์สาหรับเครื่องแม่ข่าย เช่น 1.Microsoft Certified Professional (MCP) เป็ นประกาศนี ยบัตรที่ ง่ ายสุด เพียงสอบผ่ านวิชาใดวิชาหนึ่ งเพียง 1 วิชา ก็ได้รับ MCP แล้ว แต่มียกเว้นอยู่ 2 วิชาคือ Networking Essentials และ Microsoft Windows 2000 Accelerated Exam for MCPs Certified on Microsoft Windows NT 4.0 เท่านั้น 2. Microsoft Certified Systems Administrator (MCSA) มีข้อกาหนดว่าผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตร MCSA ต้องสอบผ่าน 3 วิชา หลัก (Core Exam) และ 1 วิชาเลือก (Elective Exam) ผู้ที่เป็น MCSA เป็ น ผู้ ที่ มี ค วามรู้ ใ นการจั ด การระบบและสามารถแก้ ปัญ หาที่ เ กี่ย วข้อ งกั บ ระบบปฏิบัติการได้ ประกาศนียบัตร MCSA นี้เหมาะกับบุคลากรที่มีอาชีพ ดังนี้ system

administrator,

information

system

administrator, :Page | 4


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

network administrator, network technician, network operation analyst และ technical support specialist เป็นต้น 3. Microsoft Certified Systems Engineer (MCSE) นับได้ว่าประกาศนียบัตรนี้เป็นประกาศนียบัตรหลัก มีความสาคัญและ เป็นที่ยอมรับมากที่สุด ผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตร MCSE

ต้องสอบผ่าน 5

วิชาหลัก และ 2 วิชาเลือก ผู้ที่เป็น MCSE เป็นผู้ที่มีความรู้ในการวางแผน และจัดการระบบสามารถติดตั้งและดูแลบริหารงานระบบรวมถึงสามารถใช้ ง า น ใ น ส่ ว น ข อ ง เ ซิ ร์ ฟ เ ว อ ร์ แ บ บ ต่ า ง ๆ แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ที่ เ กิ ด ขึ้ น แ ก่ ระบบปฏิบัติการได้ ประกาศนียบัตร MCSE นี้เหมาะกับบุคลากรที่มีอาชีพ ดังนี้ system engineer, system analyst, network engineer, network analyst และ consultant ต่างๆ เป็นต้น 4. Microsoft Certified Database Administrator (MCDBA) ผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตร MCDBA ต้องสอบผ่าน 3 วิชาหลัก และ 1 วิชาเลือกผู้ที่เป็น MCDBA มีความสามารถในการติดตั้งและดูแลจัดการใน เรื่ อ งของระบบฐานข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประกาศนี ยบัตร MCDBA

Microsoft

SQL

ได้ เ ป็ น อย่ า งดี

นี้เหมาะกับบุคลากรที่มีอาชีพดังนี้ database

administrator และ database operator เป็นต้น 5. Microsoft Certified Solution Developer (MCSD) ผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตร MCSD ต้องสอบผ่าน 3 วิชาหลัก และ 1 วิชาเลื อกผู้ที่เป็น MCSD

เป็นผู้ที่สามารถออกแบบและพัฒนาระบบตาม

ความต้องการทางด้านธุรกิจได้ประกาศนียบัตร MCSD นี้เหมาะกับบุคลากร ที่มีอาชีพดังนี้ software engineer, software developer, software application developer และ application analyst เป็นต้น 6. Microsoft Certified Application Developer (MCAD) ผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตร MCAD ต้องสอบผ่าน 2 วิชาหลัก และ 1 วิชาเลือกผู้ที่เป็น MCAD

เป็นผู้มีความรู้ในการดูแลและพัฒนาระบบงาน :Page | 5


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

ประกาศนียบัตร MCAD นี้เหมาะกับบุคลากรที่มีอาชีพดังนี้ programmer, software engineer, software developer และ software application specialist เป็นต้น 7. Microsoft Certified Trainer (MCT) ผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตร MCT เป็นผู้ที่มีความรู้และความสามารถใน การถ่ายทอดเทคโนโลยีของทางไมโครซอฟท์โดยใช้เอกสารประกอบการ อบรมของ Microsoft

Official

Curriculum

(MOC)

การที่จะได้รั บ

ประกาศนียบัตร MCT ต้องมีการสอบ MCT ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ คือต้องสอบ ได้ประกาศนียบัตร MCP และเข้ารับการอบรมในสถาบันที่ไมโครซอฟท์ ยอมรับเป็น Microsoft CTEC และเรียนรู้ทักษะในการเป็นผู้สอนสุดท้าย สมั ค รและจั ด ส่ ง เอกสารให้ แ ก่ ท างไมโครซอฟท์ โ ดยอาจกระท าผ่ า นทาง เว็บไซต์ของไมโครซอฟท์ก็ได้ 8. Microsoft Office User Specialist (MOUS) ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ประกาศนี ย บั ต ร MOUS เป็ น ผู้ ที่ ส ามารถใช้ ง าน แอพพลิเคชั่นต่างๆของไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ชุด ข อ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม โ ค ร ซ อ ฟ ท์ อ อ ฟ ฟิ ศ ที่ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ใ น ก า ร ส อ บ ประกาศนียบัตร MOUS นี้ได้แก่ Microsoft Office 97, Microsoft Office 2000 และ Microsoft Office XP รวมถึง Microsoft Project 2000 ด้วย 9. Microsoft Office User Specialist (MOUS) Master Instructor ผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตร MOUS Master Instructor เป็นผู้มีความรู้ และความสามารถในการถ่ ายทอดความรู้ ใ นส่ว นของแอพพลิ เ คชัน ต่า งๆ ของไมโครซอฟท์ ออฟฟิศโดยใช้ MOC ได้อย่างมีประสิทธิภาพการที่จะ ได้รับประกาศนียบัตร MOUS

Master

Instructor

มีขั้นตอนคล้ายกับ

ประกาศนียบัตร MCT ประกาศนียบัตรของซิสโก้ ซิสเต็ม

:Page | 6


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

ซิ ส โก้ เ ป็ น บริ ษั ท ชั้ น น าและมี ชื่ อ เสี ย งเป็ น อย่ า งมากในเรื่ อ งของ เทคโนโลยี ใ นส่ ว นของระบบเครื อ ข่ า ยและผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ป กรณ์ เ ครื อ ข่ า ย โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุปกรณ์เราท์เตอร์โดยทั่วไปประกาศนียบัตรของซิสโก้ จะแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. Network Installation and Support Certification 2. Network Engineering and Design Certification 3. Communication and Services Certification นอกจากนั้นแล้วประกาศนียบัตรเหล่านี้ยังมีการแบ่งออกเป็นระดับอีก 3 ระดับ คือ ระดับ associate ระดับ professional และระดับ expert ประกาศนียบัตรต่างๆของซิสโก้ ได้แก่ 1. Cisco Certified Network Associate (CCNA) เป็ น ประกาศนี ย บั ต รที่ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ต้ อ งมี ค วามรู้ ใ นเรื่ อ งของระบบเครื อ ข่ า ย สามารถติดตั้งและดูแลจัดการระบบเครือข่ายขนาดเล็กได้ CCNA นี้ไม่มี วิชาบังคับที่ต้องได้รับมาก่อน (Exam Prerequisite) เมื่อสอบผ่านวิชาใด วิชาหนึ่ง ก็สามารถได้รับประกาศนียบัตรนี้ :Page | 7


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

2. Cisco Certified Network Professional (CCNP) เป็ น ประกาศนี ยบั ตรที่ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บต้ อ งมี ความรู้ เป็ น อย่ างดี ใ นเรื่ อ งของ ระบบเครือข่าย สามารถติดตั้งและดูแลจัดการระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ได้ การที่จะสามารถสอบ CCNP ได้ต้องสอบผ่าน CCNA มาก่อน 3. Cisco Certified Design Associate (CCDA) เป็นประกาศนียบัตรที่ผู้ที่ได้รับต้องมีความรู้ในเรื่องการออกแบบระบบ เครือข่ายขนาดเล็กได้ 4. Cisco Certified Design Professional (CCDP) เป็นประกาศนียบัตรที่ผู้ที่ได้รับต้องมีความรู้ในเรื่องการออกแบบระบบ เครื อข่ายขนาดใหญ่ ไ ด้ การที่จะสามารถสอบ CCDP

ได้ต้องสอบผ่ าน

CCNA และ CCDA มาก่อน 5. Cisco Certified Internetwork Professional (CCIP) เป็ น ประกาศนี ย บั ต รที่ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ต้ อ งมี ค วามรู้ ใ นเรื่ อ งการออกแบบ วางแผนในการจัดการระบบเครือข่ายสามารถติดตั้ง และดูแลบริการระบบ เครือข่ายได้ 6. Cisco Certified Internetwork Expert (CCIE) เป็นประกาศนียบัตรขั้นสูงสุดในส่วนของ Network Installation and Support

Certification

และ Communication

and

Services

Certification

:Page | 8


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

ประกาศนียบัตรของซัน ประกาศนี ยบัตรของซันเป็น เครื่ องบ่ง บอกถึง ความสามารถของผู้ ได้ รั บ ประกาศนี ย บั ต รนี้ ใ นเรื่ อ งของเทคโนโลยี ใ นส่ ว นของจาวา และ ระบบปฏิบัติการโซลาริสมีประกาศนียบัตรในส่วนต่างๆ ได้แก่ 1. Java Technology ในส่วนของเทคโนโลยีจาวามีประกาศนียบัตรต่างๆ คือ Sun Certified Programmer for the JavaTM 2 Platform เป็นประกาศนียบัตรในเรื่อง ของการใช้ ง านเทคโนโลยี จ าวาแพลตฟอร์ ม ของซั น Sun

Certified

Developer for the JavaTM 2 Platform เป็นประกาศนียบัตรที่ผู้ได้รับต้อง มี พื้ น ฐานในเรื่ อ งของโครงสร้ า งและซิ น แท็ ก ของภาษาจาวาส าหรั บ การ พัฒนาแอพพลิเคชันได้ เป็นอย่างดี Sun Certified Web Component Developer for J2EETM 2 Platform เป็นประกาศนียบัตรสาหรับผู้พัฒนา เว็บแอพพลิเคชันด้วย J2EE

และสุดท้าย Sun

Certified

Enterprise

Architect for JavaTM 2 Platform, EnterpriseTM Edition เป็น ประกาศนียบัตรที่เหมะสาหรับผู้ออกแบบโครงสร้างระบบด้วยภาษาจาวาใน มาตรฐาน J2EE :Page | 9


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

2. iPlanet มีป ระกาศนี ยบั ตร คื อ iPlanetTM Certification

Application

Server

6.0

เป็ น ประกาศนี ยบั ต รการใช้ ง านแพลตฟอร์ ม iPlanetTM

Application Server 6.0 ของซัน 3. Solaris Operating Environment ในส่วนของ Solaris Operating Environment นี้มีประกาศนียบัตร ต่างๆ คือ Sun Certified System Administrator for the SolarisTM Operating

Environment

เป็ น ประกาศนี ย บั ต รที่ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ต้ อ งมี

ความสามารถในการใช้ง านระบบปฏิบั ติ การโซลาริ ส ได้เ ป็ น อย่ างดี Sun Certified Network Administrator for the SolarisTM Operating Environment เป็นประกาศนียบัตรที่ผู้ที่ได้รับต้องมีความรู้ในเรื่องของระบบ เครือข่ายบนระบบปฏิบัติการโซลาริส 4. NetSun Certification Track ในส่ ว นนี้ มี ป ระกาศนี ย บั ต รต่ า งๆ คื อ Sun

Certified

Data

Management Engineer เป็นประกาศนียบัตรที่ผู้ที่ได้รับต้องมีความรู้และ ความสามารถในเรื่ อ งของการจั ด การส่ ว นของระบบฐานข้ อ มู ล Sun Certified Backup and Recovery Engineer เป็นประกาศนียบัตรที่ผู้ที่ ได้รับต้องมีความสามารถในเรื่องของการสารองและกู้คืนในส่วนของข้อมูล ต่างๆ Sun Certified Storage Architect เป็นประกาศนียบัตรที่รับรองผู้ที่มี ความสามารถในการออกแบบและดูแลระบบการจัดเก็บข้อมูลบนฐานข้อมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกาศนียบัตรของ CompTIA CompTIAคื อ องค์ ก รที่ใ ห้ข้อ มูล ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่อสาร(Information and Communication Technology : ICT) มี ภารกิจหลัรคือการออกใบรับรองให้บุคคลในวงการ ICT (Certification) ซึ่ง :Page | 10


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

รวมทุ ก ประเภทตั้ ง แต่ ระดั บ เริ่ ม ต้ น ไปจนถึ ง ระดั บ ผู้ เ ชี่ ย วชาญ ซึ่ ง ได้ แ ก่ Security, Networking, Cloud, Mobile และมีส่วนช่วยในเรื่องการให้ ความรู้การให้การศึกษาแก่ อุตสาหกรรมด้าน ICT ช่วยในเรื่ องของการ ฝึ ก อ บ ร ม เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร ท า ธ รุ กิ จ เ ป็ น ไ ป ใ น ทิ ศ ท า ง ที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น แ ล ะ ยั ง ทาการศึ กษาเรี ยนรู้ เพื่ออุตสาหกรรม ในเรื่องที่จะช่วยให้ ICT รับมือกับผลกระทบด้านเศรษกิจได้ในทุกรูปแบบ

สามารถ

ใบรับรองของ CompTIAจะแบ่งออกเป็นระดับดังนี้ 1. ระดับ Master CompTIA Advanced Security Practitioner (CASP):เป็นหลักสูตร ครอบคลุมการรั กษาความปลอดภัยขององค์กรการจัดการความเสี่ยงวินั ย และบูรณาการประมวลผลการสื่อสารและธุรกิจการวิจัยและการวิเคราะห์

2. ระดับ Professional CompTIA A+ (701-702) :หลักสูตรการอบรม A+ เป็นหลักสูตร เริ่ มต้น สาหรั บ อาชีพทางด้านไอที การอบรมและการสอบจะครอบคลุ มถึ ง การบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์, อุปกรณ์มือถือ, โน๊ตบุ๊ค, ระบบปฏิบัติการ และเครื่องพิมพ์ CompTIA Network+ :หลักสูตรการอบรม Network+ เป็นหลักสูตรที่ จะท าให้ คุ ณ เป็ น มื อ อาชี พ ทางด้ า นระบบเครื อ ข่ า ย ครอบคลุ ม ถึ ง การ เชื่อมโยงเครื อข่าย การจัด การระบบรั กษาความปลอดภัย และหน้ าที่ของ เจ้าหน้าที่ระดับช่างไปจนถึงระดับผู้ดูแลระบบ CompTIA Security+ :หลักสูตรการอบรม Security+ เป็นหลักสูตรที่ ให้ ค วามรู้ ความเชี่ ย วชาญในด้ า นการรั ก ษาความปลอดภั ย ของระบบ เครือข่าย ซึ่งมีการเจริญเติบโตไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบัน

:Page | 11


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

CompTIA CTT+ :หลักสูตรการอบรม CTT+ เป็นหลักสูตรที่จะมอบ ทักษะให้คุณเป็นผู้สอนที่ดี เราจะสอนเทคนิคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการยืน การ แสดงท่าทาง การมอง การใช้อุปกรณ์การสอน การตอบคาถาม สาหรับการ สอบของหลักสูตรนี้ ก็ไม่ใช่เรื่ องง่ายเลยทีเดียว เพราะจะมีทั้งการสอบภาค ทฤษฏี และการสอบภาคปฏิบัติ 3. ระดับ Specialty CompTIA Healthcare IT Technician :เป็นหลักสูตรการอบรม เจ้าหน้าที่ทางด้านไอที ที่อยู่ตามสถานที่สุขภาพต่างๆ หลักสูตรนี้จะช่วยเพิ่ม ทักษะการทางาน ตั้งแต่เริ่มวางระบบ ไปจนถึงการแก้ปัญหา เนื่องจากตาม สถานที่เหล่านี้ จะมีเครื่องอุปกรณ์แพทย์ที่มีความละเอียดอ่อน ดังนั้นผู้ที่จะ ทางานในสถานที่เหล่านี้ จาเป็นต้องมีทักษะที่ไว้ใช้เฉพาะทาง 4. ระดับพื้นฐาน Strata IT Fundamentals:เป็นหลักสูตรครอบคลุมความเข้าใจ พื้นฐานของชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ทางานเข้ากันได้และหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยี

ใบรับรองด้ านคอมพิวเตอร์ (Certificate)

ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ (Certificate) แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ประกอบด้วย :Page | 12


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

1. ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ (Certificate)

แบบอิงผลิตภัณฑ์ 2. ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ (Certificate) แบบไม่อิงผลิตภัณฑ์  ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ มาตรฐานระดับสากลในแถบประเทศอเมริ กาและยุโรป Level

IT user

Software Architect -MCA

Level 5 Expert

มาตรฐานอาชีพระดับสากล (อเมริกาและยุโรป) Service/ Help Database Network Security desk Administrator Administrator Specialist Technician -OCM -MCNE -CCIE -CCIE -CCIA -RFID+ -ITIL

-OCP -MCITP

-CNE/CLE -MCSE -CCDP/CCNP -LPIC 3 -RHCA -CCEA

-MCPD

-CNA/CLP -MCSA -CCNA/CCDA -LPIC2 -RHCE -CCA - Network+ -Linux -LPIC I -Server+ -RHCT

PRACTITIONER

Level 4 Specialist

-SCJD -MCPD Level 3 Advanced

-MOS Master -ECDL Level 2 Advanced Intermediate -A+

Level Beginner

-Strata - IC3 -ECDL -MOS - ITPE

-MCTS -SCJP -MOS Master -ECDL Advanced

-ITIL

-A+ -Strata - IC3 -ECDL -MOS - ITPE

-A+ -Strata - IC3 -ECDL -MOS - ITPE

FOUNDATION

-MCDST

-MOS Master -ECDL Advanced -MCTS -OCA -MCP Windows - Network+ -A+ -Strata - IC3 -ECDL -MOS - ITPE

-A+ -Strata - IC3 -ECDL -MOS - ITPE

-CNE/CLE -MCSE -CCDP /CCNP -LPIC 3 -RHCA -CCEA -Security+ -MCSE Sec -CCSP

Network Analyst -MCA

Trainer

-CTT+ -MCT -CNI

-CCIE

-CCNP

- Network+ -MCP Windows

- Network+ -CCNA -MCP Windows

-A+ -Strata - IC3 -ECDL -MOS - ITPE

-A+ -Strata - IC3 -ECDL -MOS - ITPE

Product Specialist Knowledge Certificate

:Page | 13


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ (Certificate) มาตรฐานระดับสากลในแต่ละประเภท

Level Level 4 Advance Knowledge &Skills Level 3 Applied Knowledge &Skills Level 2 Basic Knowledge &Skills Level 1 Basic Working Knowledge

ITPE Certificate (ญี่ปุ่น และสมาชิก 10 ชาติ เอเซีย) IT Systems Project Network Database Embedded Information Strategis Architect Manager Specialist Specialist System Security t Specialist Specialist ST SA PM NW DB ES SC

Level Level 4 Mastery Level 3 Professional Level 2 Specialty Level 1 Basic Level Level 3 ECDL / ICDL Professional

Level 2 ECDL / ICDL Advanced

Level 1 ECDL / ICDL Basic

IT Service Manager

System Auditor

SM

AU

Applied Information Technology Engineer Exam (AP) Fundamental Information Technology Engineer Exam (PE) IT Passport Exam (IP)

CompTIA Certificate (อเมริการ ยุโรป เอเซีย) Vender Technology (Hardware, System, Methodology) CompTIA Advanced Security practitioner (CASP), Storage Architect, Advanced Mobility, Virtualization A+, CDIA+, CTP+, CTT+, Linux+ ,Network+, PDI+, Project+, Security+, Server+, Storage+, Project+ Cloud Essentials , Green IT , Healthcare IT Technician, IT for Sales, Mobility Strata IT Fundamentals ECDL / ICDL Certificate (อเมริการ ยุโรป เอเซีย) EUCIP : European Certification of Informatics Professionals) Certified Training Professional (CTP) is an international qualification in ICT training ECDL / ICDL Advanced Word Processing ECDL / ICDL Advanced Spreadsheets ECDL / ICDL Advanced Database ECDL / ICDL Advanced Presentation ECDL / ICDL Module 13 - Project Planning ECDL / ICDL Module 12 - IT Security ECDL / ICDL Module 11 - Health Information Systems Usage ECDL / ICDL Module 10 - Web Editing ECDL / ICDL Module 9 - Image Editing ECDL / ICDL Module 8 - 2D Computer-Aided Design ECDL / ICDL Module 7 - Web Browsing and Communication ECDL / ICDL Module 6 - Presentation ECDL / ICDL Module 5 - Using Databases ECDL / ICDL Module 4 - Spreadsheets ECDL / ICDL Module 3 - Word Processing ECDL / ICDL Module 2 - Using the Computer and Managing Files ECDL / ICDL Module 1 - Concepts of Information and Communication Technology (ICT) :Page | 14


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

แสดงสัญลักษณ์ของ ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากล (Certificate) ที่ สอดคล้องกับ ระดับสมรรถนะมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากลของบุคลากรสาย วิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

Level

ใบรับรองด้ านคอมพิวเตอร์ มาตรฐานระดับสากล (Certificate)

ระดับ เชี่ยวชาญ (Professional)

Linux+ ,Network+, Security+, Server+, Storage+, Project, CLOUD,ITPEC-AP, ECDL/ICDL, ITIL, All Product

ระดับ ชานาญ การ (Specialist) A+, CTT+, ECDL/ICDL, ITIL, ITPE-PE , MOS, Computer Language

ระดับ ต้น (Basic)

IC3,CompTIA Strata ,ITPEC- IP , ECDL

:Page | 15


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

มาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากลของบุคลากรสายวิชาการมหา วิทยลัยเทคโนโลยีราชมงคล มาตรฐานคุณวุฒิวชิ าชี พด้ านคอมพิวเตอร์ ระดับสากล ระดับมาตรฐานคุณวุฒิ ใบรับรองด้ านคอมพิวเตอร์ ระดับสากล ระดับสมรรถนะเฉพาะ วิชาชีพ CDIA+, CTP+, CTT+, Linux+ ,Network+, 5 ระดับเชี่ยวชาญ Professional

ระดับชานาญการ Specialist

ระดับ ต้ น

PDI+, Project+, Security+, Server+, Storage+, ECDL/ICDL, ตามผลิตภัณฑ์ A+, ECDL/ICDL, MOS, CTT+, PE , Computer Language

5

Strata IT Fundamentals, IP , ECDL, IC3

5

Basic

บุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

ตารางความสอดคล้อง ขอบเขต 5 ด้านตามมาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society (IEEE-CS)

กับ ระดับคุณวุฒิวิชาชีพมาตรฐานด้านคอมพิวเตอร์

ฮาร์แวร์และสถาปัตยกรรม คอมพิวเตอร์

โครงสร้างพื้นฐานของระบบ

เทคโนโลยีและวิธีการทาง ซอฟต์แวร์

เทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์

ระดับคุณวุฒิวชิ าชีพมาตรฐานด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล สาหรับบุคลากรสายวิชาการ

องค์การและระบบสารสนเทศ

มาตรฐานสากลสาหรับบุคลากร สายวิชาการ

:Page | 16


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

ระดับ เชี่ยวชาญ Professional

ระดับ ชานาญ การ

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล X

X

X

X

X

A+, ECDL/ICDL, MOS, PE , AP, CTT+, Computer Language

X

X

X

X

X

Strata IT Fundamentals, IP , ECDL, IC3

X

X

X

Linux+ ,Network+, Project+, Security+, Server+, Storage+, ECDL/ICDL, All Product

Specialist

ระดับ พืน้ ฐาน Basic

เป็ นการแสดงความสอดคล้อ งกับ ขอบเขต 5 ด้า นตามมาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society (IEEE-CS) โดยที่ขอบเขต 5 ด้านได้ระบุไว้ มาตรฐาน หลักสู ตรสาขาวิชา (มคอ. 1 และ มอค.2) ของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ของประทศไทยตาม มาตรฐาน TQF กับระดับสมรรถนะเฉพาะ(Functional Competency) ของบุคลากรสายวิชาการด้าน คอมพิวเตอร์ตามมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช และใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากล (Certificate) ในแต่ละระดับสมรรถนะ เป็ นต้น

ตาราง ความสอดคล้องขององค์ความรู้ (Body of Knowledge) สาขาคอมพิวเตอร์ตาม TQF กับ ขอบเขต 5 ด้านตามมาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society

ฮาร์แวร์และสถาปัตยกรรม คอมพิวเตอร์

Discrete Structures Programming Fundamentals Algorithms and Complexity Architecture and Organization

โครงสร้างพื้นฐานของระบบ

โครงสร้างดิสครี ต พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ความซับซ้อนและขั้นตอนวิธี โครงสร้างและสถาปัตยกรรม

เทคโนโลยีและวิธีการทาง ซอฟต์แวร์

1. 2. 3. 4.

เทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์

องค์ความรู้ (Body of Knowledge) สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science :CS)

องค์การและระบบสารสนเทศ

(IEEE-CS)

X X X

X X X X

X :Page | 17


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

ระบบปฏิบตั ิการ การประมวลผลเครื อข่าย ภาษาการเขียนโปรแกรม ปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ กราฟิ กและการประมวลผล ระบบชาญฉลาด การจัดการสารสนเทศ ประเด็นทางสังคมและวิชาชีพ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ศาสตร์เพื่อการคานวณ

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล Operating System Net-Centric Computing Programming Languages Human-Computer Interaction Graphics and Visual Computing Intelligent System Information Management Social and Professional Issues Software Engineering Computational Science

X X X X

X X X

X X

X X X X

ความสอดคล้องขององค์ความรู้ (Body of Knowledge) สาขาคอมพิวเตอร์ ตาม TQF กับ ขอบเขต 5 ด้านตาม มาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society (IEEE-CS) ของสาขา วิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science :CS)

ตารางความสอดคล้องขององค์ความรู้ (Body of Knowledge) สาขาคอมพิวเตอร์ตาม TQF กับ ขอบเขต 5 ด้านตามมาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society

ฮาร์แวร์และสถาปัตยกรรม คอมพิวเตอร์

Programming Fundamentals Computer Mathematics

โครงสร้างพื้นฐานของระบบ

พื้นฐานการเขียนโปรแกรม คณิ ตศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์

เทคโนโลยีและวิธีการทาง ซอฟต์แวร์

1. 2.

เทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์

องค์ความรู้ (Body of Knowledge) ตาม IEEE&ACM สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering : CE)

องค์การและระบบสารสนเทศ

(IEEE-CS)

X

X X

X X :Page | 18


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

อิเล็กทรอนิกส์ ตรรกศาสตร์ดิจิทลั โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี โครงสร้างและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบตั ิการ ระบบฐานข้อมูล วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล Electronics Digital Logic Data Structures and Algorithms Computer Architecture and Organization Operating Systems Database Systems Software Engineering Computer Networks

X X X

X X

X

X

X X X

ความสอดคล้องขององค์ความรู้ ( Body of Knowledge) สาขาคอมพิวเตอร์ ตาม TQF กับ ขอบเขต 5 ด้าน ตามมาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society (IEEE-CS) ของสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering : CE)

ตารางความสอดคล้องขององค์ความรู้ (Body of Knowledge) สาขาคอมพิวเตอร์ตาม TQF กับ ขอบเขต 5 ด้านตามมาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society (IEEE-CS)

:Page | 19


Computer Essentials Mathematical and Engineering Fundamentals Professional Practices Software Modeling and Analysis Software Design Software Validation and Verification Software Evolution Software Process Software Quality Software Management

ฮาร์แวร์และสถาปัตยกรรม คอมพิวเตอร์

ความจาเป็ นของคอมพิวเตอร์ พื้นฐานคณิ ตศาสตร์และวิศวกรรม วิชาชีพภาคปฏิบตั ิ การวิเคราะห์และการสร้างแบบจาลองซอฟต์แวร์ การออกแบบซอฟต์แวร์ การทวนสอบและทดสอบซอฟต์แวร์ วิวฒั นาการของซอฟต์แวร์ กระบวนการทางซอฟต์แวร์ คุณภาพซอฟต์แวร์ การจัดการซอฟต์แวร์

โครงสร้างพื้นฐานของระบบ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

เทคโนโลยีและวิธีการทาง ซอฟต์แวร์

องค์ความรู้ (Body of Knowledge) ตาม IEEE&ACM สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering :SE)

เทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

องค์การและระบบสารสนเทศ

หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

X

X X X

X

X

X X X

X X X X X X

ความสอดคล้องขององค์ความรู้ (Body of Knowledge) สาขาคอมพิวเตอร์ ตาม TQF กับ ขอบเขต 5 ด้านตาม มาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society (IEEE-CS) ของสาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering :SE)

ความสอดคล้องขององค์ความรู้ (Body of Knowledge) สาขาคอมพิวเตอร์ตาม TQF กับ ขอบเขต 5 ด้านตามมาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The :Page | 20


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

10. การบารุ งรักษาและการบริ หารระบบ 11. สถาปัตยกรรมและการบูรณาการระบบ 12. ประเด็นทางสังคมและวิชาชีพ 13. ระบบเว็บและเทคโนโลยี

Formation Technology Fundamentals Human-Computer Interaction Information Assurance and Security Information Management Integrative Programming and Technologies Mathematics and Statistics for Information Technology Network Programming Fundamentals Platform Technologies Systems Administration and Maintenance Systems Integration and Architecture Social and Professional Issues Web System and Technologies

X

X X

X X

X

X

X X X

X

X X

X

X

X X

X X

X

X

X

X

X

X

X X X X X

ฮาร์แวร์และสถาปัตยกรรม คอมพิวเตอร์

โครงสร้างพื้นฐานของระบบ

พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์และ คอมพิวเตอร์ ความมัน่ คงและการประกันสารสนเทศ การจัดการสารสนเทศ การบูรณาการการเขียนโปรแกรมและ เทคโนโลยี คณิ ตศาสตร์และสถิติสาหรับนัก เทคโนโลยีสารสนเทศ เครื อข่าย พื้นฐานการเขียนโปรแกรม แพลตฟอร์มเทคโนโลยี

เทคโนโลยีและวิธีการทาง ซอฟต์แวร์

1. 2.

เทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์

องค์ความรู้ (Body of Knowledge) ตาม IEEE&ACM สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology : IT ) หรื อ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร (Information Technology and Communication : ICT)

องค์การและระบบสารสนเทศ

(IEEE-CS)

ความสอดคล้องขององค์ความรู้ (Body of Knowledge) สาขาคอมพิวเตอร์ ตาม TQF กับ ขอบเขต 5 ด้านตาม มาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society (IEEE-CS) ของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology : IT ) หรื อ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ( Information Technology and Communication : ICT)

:Page | 21


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

ความสอดคล้องขององค์ความรู้ (Body of Knowledge) สาขาคอมพิวเตอร์ตาม TQF กับ ขอบเขต 5 ด้านตามมาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society

Computer and Information Technology Fundamentals Computer Programming Data Structures And Algorithms Web Programming Database Systems Management Information Systems Systems Analysis and Design Computer Networking Information Systems Security Business Computer Project Computer Software Usage Skill

X X X X

X X X

ฮาร์แวร์และสถาปัตยกรรม คอมพิวเตอร์

X

โครงสร้างพื้นฐานของระบบ

พื้นฐานคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3. โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี 4. การเขียนโปรแกรมบนเว็บ 5. ระบบฐานข้อมูล 6. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 7. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 8. เครื อข่ยคอมพิวเตอร์ 9. ความมัน่ คงของระบบสารสนเทศ 10. โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อธุรกิจ 11. ทักษะการใช้ซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์

เทคโนโลยีและวิธีการทาง ซอฟต์แวร์

1.

เทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์

องค์ความรู้ (Body of Knowledge) ตาม IEEE&ACM สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ (Business Computer: BC) หรื อ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information System :BIS)

องค์การและระบบสารสนเทศ

(IEEE-CS)

X X X X

X

X X X

ความสอดคล้องขององค์ความรู้ (Body of Knowledge) สาขาคอมพิวเตอร์ ตาม TQF กับ ขอบเขต 5 ด้านตาม มาตรฐานสากลของ The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information System (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer Computer Society (IEEE-CS) ของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิ จ (Business Computer: BC) หรื อ ระบบสารสนเทศทางธุ รกิจ (Business Information System :BIS)

:Page | 22


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม

บทที่ 14: ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

:Page | 23


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

บทที่ 14:

รายชื่อศูนย์ทดสอบมาตรฐานวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากลของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล (International Computer Certificate Testing Center)

ชื่อมหาวิทยาลัย

รายชื่อศูนย์ทดสอบมาตรฐานวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ระดับ สากล (International Computer Certificate Testing Center) ITPE

1. มทร.สุวรรณ ภูมิ 2. มทร.ธัญบุรี 3. มทร.อีสาน 4. มทร.พระนคร 5. มทร.ตะวัน ออก 6. มทร.กรุ งเทพ 7. มทร. รัตนโกสิ นทร์ 8. มทร.ศรี วิชยั 9. มทร.ล้านนา

PEARSON VUE X

X

CERTIPORT X

X

PROMETRIC X

ECDL / ICDL X

X

X X

X

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)

หน้า 369


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

บทที่ 14:

รายชื่ อศูนย์ทดสอบมาตรฐานวิชาชี พด้านคอมพิวเตอร์ ระดับสากลของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล (International Computer Certificate Testing Center) ในแต่ละ มทร. ในปัจจุบนั ปี การศึกษา 2555 ซึ่งประกอบไปด้วยศูนย์สอบ ITPE ศูนย์สอบ PEARSON VUE ศูนย์สอบ CERTIPORT ศูนย์สอบ PROMETRIC ศูนย์สอบ ECDL / ICDL เป็ นต้น

 ความสอดคล้องสมรรถนะเฉพาะมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากล

กับหัวข้อความรู้ (Topic) ของใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ (Certificate) มาตรฐานระดับสากล ระดับสมรถนะ ชื่อใบรับรอง เฉพาะ ด้าน

รู ปแบบ การ

หัวข้อความรู้ (Topic)

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)

หน้า 370


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

บทที่ 14:

คอมพิวเตอร์

ทดสอบ

Certificate 1. CompTIA Strata

ระดับต้น (Basic)

Technology and Computer Hardware Basics IT Fundamentals Compatibility Issues and Common Errors Software Installation and Functions Security Green IT and Preventative Maintenance Corporate and legal affairs 2. IT Passport Business strategy Examination System strategy (IP) Development technology Project management Service management Basic theory Computer System Technical element 3. ECDL/ICDL (L1- Module 1 - Concepts of Information and Communication Technology (ICT) Module 2 - Using the Computer and Managing Files L7) Module 3 - Word Processing Module 4 - Spreadsheets Module 5 - Using Databases Module 6 – Presentation Module 7 - Web Browsing and Communication 3 Living Online 4. IC Communication Networks and the Internet Electronic Communication and Collaboration Using the Internet and the World Wide Web The Impact of Computing and the Internet on Society Key Applications Common Program Functions Word Processing Functions Spreadsheet Features Communicating with Presentation Software Computing Fundamentals Computer Hardware, Peripherals and Troubleshooting

On-line Testing center

Paper

On-line Testing center

On-line Testing center

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)

หน้า 371


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

บทที่ 14:

Computer Software Using an Operating System

ความสอดคล้องสมรรถนะเฉพาะมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากล กับหัวข้อความรู้ (Topic) ของใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ (Certificate) มาตรฐานระดับสากล (ต่อ)

ระดับ สมรรถนะ เฉพาะ

ชื่อใบรับรองด้าน คอมพิวเตอร์

รู ปแบบ การ ทดสอบ

หัวข้อความรู้ (Topic)

Certificate 1. CompTIA A+

CompTIA A+ Essentials (220-701) Module 1 PC and Laptop Hardware Module 2 Operating System Module 3 Networking and Printing Module 4 PC Support CompTIA A+ Practical (220-702) Module 1 Supporting Windows Module 2 Supporting Networks Module 3 Supporting PC Hardware

On-line

2. MOS

Recognition of core skills in Microsoft Office applications

On-line

3. ITPE/ITAP

Fundamental Information Technology Engineer Exam (PE) Computer System Information Security Data Structure and Algorithms Software Design Software Development Management Strategy

Paper

ระดับ ชานาญการ (Specialist)

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)

หน้า 372


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

4. ECDL/ICDL (L1-13)

ECDL / ICDL Advanced Word Processing ECDL / ICDL Advanced Spreadsheets ECDL / ICDL Advanced Database ECDL / ICDL Advanced Presentation

On-line

5. CTT+

Domain 1: Planning Prior to the Course Domain 2: Methods and Media for Instructional Delivery Domain 3: Instructor Credibility and Communications Domain 4: Group Facilitation Domain 5: Evaluate the Training Event The importance of IT services and the IT infrastructure to an organization The process-based approach to the business organization The ITIL® processes involved in the management of the IT infrastructure and their interrelationships The basic concepts C# , Java ,HTML 5 Mobile Language Open Source

On-line

6. ITIL

7. Computer Language

บทที่ 14:

On-line

On-line

ความสอดคล้องสมรรถนะเฉพาะมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากล กับหัวข้อความรู้ (Topic) ของใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ (Certificate) มาตรฐานระดับสากล (ต่อ)

ระดับ สมรรถนะ เฉพาะ ระดับ เชี่ยวชาญ

ชื่อใบรับรองด้าน คอมพิวเตอร์

รู ปแบบ การ ทดสอบ

หัวข้อความรู้ (Topic)

Certificate 1. Linux+

(Professional) 2. Network+

Installation and Configuration System Maintenance and Operations Application and Services Networking Security Network Concepts

On-line

On-line

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)

หน้า 373


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

3.

Security+

4. Server+

5. Storage+

บทที่ 14:

Network Installation and Configuration Network Media and Topologies Network Management Network Security Network Security Compliance and Operational Security Threats and Vulnerabilities Application, Data and Host Security Access Control and Identity Management Cryptography Comparing server systems General-purpose and appliance servers Application servers and services Providing service Server types Multi-tiered server architectures Exploring Storage and Networking Fundamentals Describing Physical Networking Hardware Examining Disk Technologies Identifying Removable Media Technologies Describing Modular Storage Arrays and Disk Enclosures Examining Storage Network Connectors and Cabling Describing Storage Architectures Describing Ethernet Network Technologies Describing an FC SAN Describing Storage Management Describing Storage Network Implementation Introducing Storage Virtualization Examining Storage Network Management Evaluating Storage Performance Securing Storage Networks

On-line

On-line

On-line

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)

หน้า 374


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

บทที่ 14:

 ความสอดคล้องสมรรถนะเฉพาะมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากล

กับหัวข้อความรู้ (Topic) ของใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ (Certificate) มาตรฐานระดับสากล (ต่อ) ระดับการสอบ Certificate

ระดับที่ 3 เชี่ยวชาญ (Professional)

ชื่อ Certificate

รู ปแบบการ ทดสอบ

หัวข้ อความรู้ (Topic)

6. Project+

Pre Project Setup/Initiating Project Planning Project Execution and Delivery Chang, Control and Communication Project Closure Characteristics of Cloud Services From a Business Perspective 7. Cloud Essentials Cloud Computing and Business Value Technical Perspective/Cloud Types Steps to Successful Adoption of Cloud Computing Impact and Changes of Cloud Computing on IT Service Management Risk and Consequences of Cloud Computing Applied Information Technology Engineer Exam (AP) 8. ITPEC-AP Business Strategy Information Strategy Strategy Planning and Consulting Techniques System Architecture IT Service Management Project Management Network Databases Embedded Systems Development Information Systems Development Programming Information Security 9. ECDL/ICDL (Advance) ECDL / ICDL Advanced Word Processing ECDL / ICDL Advanced Spreadsheets ECDL / ICDL Advanced Database ECDL / ICDL Advanced Presentation

On-line

On-line

Paper

On-line

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)

หน้า 375


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

10. ITIL

11. Certificate Product

บทที่ 14:

Service Management as a practice Service Lifecycle Key Principles and Models Generic Concepts Selected Processes Selected Roles Selected Functions Technology and Architecture Microsoft ,CISCO,IBM, Oracle

On-line

On-line

ใบงาน บทที่ 14 ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล ให้นักศึกษาทารายงานค้นคว้าข้อมูล ตามหัวข้อต่อไปนี้ 1. อธิบายความหมายของใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)

หน้า 376


หน่วยที่ 4 กฎหมายและจริยธรรม ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์มาตรฐานสากล

บทที่ 14:

2. อธิบายถึงความสาคัญของใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ 3. ประเภทของใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากลมีกี่ประเภท อะไรบ้าง 4. ให้นักศึกษายกตัวอย่างสัญลักษณ์ของ ใบรับรองด้านคอมพิวเตอร์ ระดับสากล (Certificate) อย่างน้อย 3 ชนิด 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิมีศูนย์ทดสอบมาตรฐาน วิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ระดับสากลอะไรบ้าง

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา 400-13-01 เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการ (Integrated Information Technology)

หน้า 377


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.