WE ARE PIM สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ หรือ พีไอเอ็มเป็นสถาบันอุดมศึกษาทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนในการจัดตั้งจากบริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน) โดยได้รับ การรั บ รองวิ ท ยฐานะจากกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร ภายใต้ คำ � แนะนำ � ของ คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เพื่ อ จัดการเรียนการสอนและให้ปริญญา ในระดั บ บั ณ ฑิ ต และมหาบั ณ ฑิ ต ตั้งแต่ปี 2550 และระดับดุษฎีบัณฑิต ตั้ ง แต่ ปี 2555 สถาบั น การจั ด การ ปัญญาภิวฒ ั น์ เป็นสถาบันอุดมศึกษา ที่เน้นการเรียนการสอนแบบ Workbased Education โดยนำ�การเรียนรู้
01
จากประสบการณ์จริงมาขับเคลื่อน สถาบั น ในฐานะมหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง องค์กรธุรกิจ (Corporate University) ที่มีความแตกต่างด้วยความเป็นเลิศ ทางวิชาการ มุ่งเน้นให้นักศึกษาได้ เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติงานจริงกับ กลุ่มธุรกิจซีพี ออลล์ เครือซีพี และ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ที่ ข ยายความ ร่ ว มมื อ อย่ า งกว้ า งขวางทั้ ง ในและ ต่างประเทศ เพื่อให้นักศึกษาได้รับ ประสบการณ์ ใ นการทำ � งานจนเกิ ด ความเชี่ ย วชาญ บั ณ ฑิ ต พี ไ อเอ็ ม จึ ง เป็ น บุ ค ลากรคุ ณ ภาพผู้ มี ค วามรู้ ทางวิชาการ และมีความพร้อมในการ ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ
ปั จ จุ บั น พี ไ อเอ็ ม เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ที่ไ ด้ รับ การสนั บ สนุ น จากเครื อ ข่ า ย พั น ธ มิ ต ร ม า ก ที่ สุ ด ทั้ ง ภ า ค รั ฐ ภาคเอกชน และภาคการศึกษา นี่คือ จุ ดแข็ ง ที่ ทำ� ให้ นักศึ กษาพี ไ อเอ็ มได้ เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ที่กว้างขวาง และหลากหลาย ไม่จ�ำ กัดเฉพาะธุรกิจ ในเครือซีพเี ท่านัน้ เพราะเครือข่ายของ พีไอเอ็มมีอยูท่ ว่ั โลกและพร้อมให้ความ ร่วมมือในการยกระดับการศึกษาไทย
Iowa State University
University of Akansas
Chemnitz University of Technology
Stenden University of Applied Sciences
Southwest University Cheng Shiu University Teikyo University Hankuk University of Foreign Studies
William Angliss Institute
PIM’s Worldwide Network
492
องค์กรธุรกิจทั่วโลก
35 สถานทูต ธุรกิจของเครือ C.P. ใน ประเทศ
18
Massey University
115 มหาวิทยาลัยใน 26 ประเทศ อาเซียน : กัมพูชา ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม เอเชีย : จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เนปาล เกาหลีใต้ ไต้หวัน ภูฏาน ยุโรป : ฝรั่งเศส เยอรมนี ลิธัวเนีย เนเธอร์แลนด์ สวีเดน อังกฤษ โปแลนด์ ฟินแลนด์ ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย : ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อเมริกาเหนือ : สหรัฐอเมริกา แคนาดา เอเชีย : ภูฏาน มาเลเซีย ศรีลังกา อินโดนีเซีย กัมพูชา มองโกเลีย อินเดีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ลาว สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โอมาน สิงคโปร์ คาซัคสถาน อุซเบกิซสถาน ยุโรป : อังกฤษ ฝรั่งเศส สวีเดน เดนมาร์ก อิตาลี โปแลนด์ ฟินแลนด์ รัสเซีย สาธารณรัฐเช็ก ออสเตรีย เบลเยียม ฮังการี ลัตเวีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย : ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ : สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก อาร์เจนตินา เปรู แอฟริกา : แอฟริกาใต้
ประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ อินเดีย บังคลาเทศ ปากีสถาน ตุรกี ไต้หวัน สิงคโปร์ จีน รัสเซีย แทนซาเนีย และเบลเยียม 02
HIGHLIGHT คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต* ประกอบด้วย 3 วิชาเอก ได้แก่
การจัดการ โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
การจัดการ การคมนาคมขนส่ง
การจัดการ สถานีและพื้นที่
(Logistics and Supply Chain Management)
(Transportation Management)
(Terminal and Estate Management)
เป็นหลักสูตรที่เน้นการปฏิบัติงานจริง ในคลังสินค้า เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ โครงสร้างของการจัดการโลจิสติกส์ ในเชิงลึก
เป็ น หลั ก สู ต รที่ เ น้ น ให้ นั ก ศึ ก ษามี ความชำ�นาญการในทุกช่องทางของ การขนส่ ง เพื่ อ รองรั บ ยุ ค 4.0 ซึ่ ง ประเทศไทยได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง เศรษฐกิ จ ไปสู่ “Value-Based Economy” หรือเศรษฐกิจทีข่ บั เคลือ่ น ด้วยนวัตกรรม
เป็ น หลั ก สู ต รที่ เ น้ น ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร และบริ ห ารพื้ น ที่ ใ นส่ ว นที่ เ กี่ ย วกั บ การจัดการโลจิสติกส์
นอกจากศึกษารายวิชาต่างๆ ตามโครงสร้างหลักสูตรแล้ว นักศึกษาของคณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่งจะได้เรียนรูเ้ พิม่ เติม จากกรณีศึกษาภายในองค์กรต่างๆ ทั้งในประเทศและอาเซียน เพื่อสร้างประสบการณ์ให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษา โครงสร้างหลักสูตร
เกณฑ์มาตรฐาน ของ สกอ.
1. จำ�นวนหน่วยกิต 2. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 3. หมวดวิชาเฉพาะ 3.1. กลุ่มวิชาแกน 3.1.1. วิชาแกนบริหารธุรกิจ (BA) 3.1.2. วิชาแกนโลจิสติกส์ (LM) 3.1.3. วิชาแกนปฎิบัติ (LM) 3.2. กลุ่มวิชาเอกบังคับ 3.3. กลุ่มวิชาเอกเลือก 4. หมวดวิชาเลือกเสรี
120 30 84 6
การจัดการ โลจิสติกส์ และซัพพลาย เชน 03
การจัดการ การคมนาคม ขนส่ง
การจัดการ สถานีและ พื้นที่
หลักสูตร 4 ปี หลักสูตรปรับปรุง หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2557 (หลักสูตรเดิม) พ.ศ. 2560 138 121 33 31 99 84 42 66 24 15 27 42 12 15 6 6 6
โครงสร้าง หลักสูตร กรณีศึกษา
*หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560
LEARNING FROM REAL PROFESSIONAL
รองศาสตราจารย์ ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์
รักษาการคณบดี คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ประวัติการศึกษา • Hon.D.Eng., Engineering, Nagaoka University of Technology, Japan • D.Eng., Metallurgical Engineering, The University of Tokyo, Japan • บธ.ม.บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • วศ.ม.วิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วศ.บ.วิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประสบการณ์การทำ�งาน • ที่ปรึกษาประธานกรรมการ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม • ที่ปรึกษาผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ • ผู้อำ�นวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ • ผู้อำ�นวยการสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) • หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโลหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วิศวกรผู้ช่วยตรี การรถไฟแห่งประเทศไทย 04
LTM INSIDE คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต* เกิดขึ้นจากปัจจัยต่างๆ ดังนี้่
• แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ไทย มีนโยบายสนับสนุนการลงทุน โครงสร้างพื้นฐานการคมนาคมขนส่ง และการขั บ เคลื่ อ นให้ ป ระเทศเข้ า สู่ ยุ ค เทคโนโลยี 4.0 เต็ ม รู ป แบบ ประกอบด้วยการจัดการด้านโลจิสติกส์ และการคมนาคมขนส่ ง เพื่ อ เพิ่ ม ศักยภาพในการเคลือ่ นย้าย การขนส่ง สิ น ค้ า บริ ก าร และผู้ โ ดยสารทั้ ง ใน ประเทศและระหว่างประเทศ
• รองรับตลาดแรงงานในอุตสาหกรรม ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ โลจิ ส ติ ก ส์ แ ละการ คมนาคมขนส่ง เพื่อตอบสนองสังคม ยุค ใหม่ รวมทั้งส่ ง เสริ มและพั ฒ นา ศักยภาพบุคลากร
• ขยายโอกาสทางอาชีพแก่นักศึกษา โดยนั ก ศึ ก ษาจะได้ รั บ ความรู้ ทั้ ง ด้ า นการจั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละการ คมนาคมขนส่ ง ซึ่ ง สามารถนำ � ไป ประกอบอาชีพได้หลากหลายสาขา มากขึ้ น ทั้ ง ในภาครั ฐ และเอกชน รวมถึงการเป็นผู้ประกอบการ
*หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560
05
ความต้องการบุคลากร ด้านโลจิสติกส์ ในอีก 5 ปีข้างหน้า
จำ�นวนบุคลากรด้านโลจิสติกส์ ที่สถาบันการศึกษาในประเทศไทยสามารถ ผลิตได้ในอีก 5 ปีข้างหน้า
ที่มา : กองยุทธศาสตร์และเครือข่ายพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
เป้าหมายในการรับนักศึกษาคณะการจัดการโลจิสติกส์ และการคมนาคมขนส่ง พี ไอเอ็ม
06
WORK-BASED EDUCATION สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ หรือพีไอเอ็ม จัดการศึกษาโดยใช้ระบบ Work-based Education ที่มุ่งเน้นการเรียนรู้ จากประสบการณ์จริงและการสร้างสรรค์นวัตกรรมโดยร่วมมือกับองค์กรธุรกิจทัง้ ในและต่างประเทศ มีรปู แบบดังต่อไปนี้
Work-based Teaching (WBT)
Work-based Learning (WBL)
Work-based Researching (WBR)
International
National
Education Network
Business Network
OUR NETWORK คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง พีไอเอ็ม มีเครือข่ายพันธมิตรที่เป็นองค์กรชั้นนำ�ของประเทศ พร้อมรองรับนักศึกษาไปฝึกงานในส่วนต่างๆ ดังนี้
07
CAREER OPPORTUNITIES รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ/บริษัท เอกชน ในหน่วยงานดังต่อไปนี้ ห น่ ว ย ง า น ด้ า น โ ล จิ ส ติ ก ส์ แ ล ะ ซั พ พลายเชน เช่ น งานด้ า นการ วิเคราะห์วางแผนโลจิสติกส์ จัดการ การขนส่ ง วางแผนควบคุ ม สิ น ค้ า ค ง ค ลั ง ใ ห้ กั บ บ ริ ษั ท ข น ส่ ง ห รื อ ศูนย์กระจายสินค้า
สถาบันการศึกษา
ธุรกิจส่วนตัว
ครูอาจารย์และบุคลากร ในสถาบัน เจ้าของกิจการ ที่ปรึกษา อาชีพอิสระ หรื อ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ เ ปิ ด สอนด้ า น การจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคม ขนส่ง หรือสาขาวิชาทีเ่ กีย่ วข้อง
หน่วยงานด้านคมนาคมขนส่ง เช่น งานในบริ ษั ท หรื อ องค์ ก รที่ ป รึ ก ษา หรื อ วางแผนการจั ด การ และการ ดำ�เนินงานระบบขนส่งมวลชนทางบก ทางนํ้ า ทางอากาศ การคมนาคม ขนส่ง เช่น องค์การรถไฟฟ้ามหานคร ขนส่งมวลชนกรุงเทพฯ สายการบิน บริหารจัดการเจริญเติบโตของกรุงเทพฯ และเมืองหลักของประเทศ
08
STUDENT & ALUMNI ขวัญ - ขวัญชีวา เมืองคล้าย นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ “ขวัญเลือกเรียนการจัดการโลจิสติกส์ เพราะงานด้านคมนาคมขนส่งน่าจะมีอนาคตที่ สดใสหลังเปิด AEC สาขานี้ไม่ได้สอนเรื่องการขนส่งเท่านั้น แต่เน้นการบริหารคลังสินค้า การกระจายสินค้า กระบวนการภายในคลัง และการคำ�นวณต้นทุน ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น ทุกวัน หากเราขนส่งสินค้าไปต่างประเทศได้ ก็จะนำ�รายได้มหาศาลเข้าประเทศ ขวัญ ฝึกงานที่บริษัท เอสซีจี โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์ จำ�กัด ได้ฝึกในส่วน Sales & Marketing เน้นการนำ�เสนอการขายและบริการขนส่ง ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่ดีมากเพื่อนำ�ไปใช้ใน การทำ�งานในอนาคตค่ะ” นินิว - ณิชากานต์ อมรไพโรจน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ “นิวเรียนจบ ปวช. จากวิทยาลัยเทคโนโลยีปญ ั ญาภิวฒ ั น์ มาเรียนทีพ่ ไี อเอ็มเพราะสนใจ การเรียนการสอนที่ได้เรียนควบคู่กับฝึกงาน การเรียนโลจิสติกส์ท�ำให้เข้าใจเรื่องการ บริหารเพื่อลดต้นทุนการขนส่ง การเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง การลดการสูญเสียจาก การจัดการไม่เหมาะสม ฯลฯ ซึง่ เป็น Key Success ในการท�ำธุรกิจทุกประเภท นิวฝึกงาน ทีบ่ ริษทั ขนส่งน�ำ้ มันทางท่อ จ�ำกัด ได้ฝกึ ทุกแผนกซึง่ ถือเป็นประสบการณ์ทดี่ มี าก เรียน ที่อื่นเราอาจได้ฝึกงานแค่ไม่กี่เดือน แต่เรียนที่พีไอเอ็มเราได้ฝึกงานตลอดทั้ง 4 ปี ท�ำให้ ได้ประสบการณ์การท�ำงานมากกว่าคนอื่นค่ะ”
พล - พรพล พลอยธรรมชาติ บัณฑิตสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ ปัจจุบัน: รองผู้จัดการแผนก บริหารผลิตภัณฑ์ Cold Sandwich สำ�นักบริหารผลิตภัณฑ์ บมจ. ซีพี ออลล์ “ผมเป็นนักศึกษารุ่นแรกของพีไอเอ็ม ซึ่งขณะนั้นสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์เป็น หลักสูตรค่อนข้างใหม่ในไทย ได้เรียนเกี่ยวกับการจัดการด้านการขนส่ง คลังสินค้า การ Demand Forecast ต่างๆ การที่เราได้เรียนรู้วิชาเหล่านี้ควบคู่กับการฝึกงานนั้น ถือว่าได้เปรียบที่อ่ืนมาก เพราะเมื่อทำ�งานจริงแล้วจะรู้เลยว่าการฝึกงานทำ�ให้มีความ พร้อมมากกว่าคนอื่น การเรียนที่พีไอเอ็มนั้น นอกจากจะเรียนจบได้ปริญญาแล้ว ยัง ได้ประสบการณ์ที่คนอื่นไม่มี การฝึกงานทำ�ให้เราได้เริ่มต้นชีวิตการทำ�งานก่อนคนอื่น ถึง 4 ปี” 09
มาร์ค - อนพัทย์ บริจินดากุล บัณฑิตสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ ปัจจุบัน : Customs Agent II บริษัท เฟดเดอรัล เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำ�กัด “สมัยนัน้ หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์เปิดสอนเพียงไม่กแี่ ห่ง ผมประทับใจการฝึกงาน มากที่สุดเพราะได้ฝึกในสถานที่แตกต่างกัน ทั้งในร้าน 7-Eleven ศูนย์กระจายสินค้า DC/CDC รวมถึงบริษัทเอกชนอื่นๆ ที่เป็นพันธมิตรกับพีไอเอ็ม การเรียนและฝึกงาน ทำ�ให้มีความรับผิดชอบและอดทน ได้ประสบการณ์แปลกใหม่ และมุมมองความคิด ในการทำ�งานที่นอกเหนือไปจากที่เราเรียน ปัจจุบันผมทำ�งานในส่วน Clearance และ Manifest Review เกี่ยวกับการนำ�เข้าและส่งออกสินค้า การใช้สิทธิประโยชน์ต่างๆ ซึ่ง นำ�ความรู้ที่เรียนมาใช้ประโยชน์ได้มากครับ”
ADMISSION คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ประกอบด้วย 3 วิชาเอก* ได้แก่
*เลือกวิชาเอกหลังจากเข้ามาเรียนแล้ว
ค่าใช้จ่ายต่อเทอมเป็นอัตราเหมาจ่าย และมีทุนการศึกษาสำ�หรับนักเรียนที่สอบผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ที่สถาบันกำ�หนด 10