09 MBA Connected

Page 1

December2013February2014

คุณวิเศษ วิศิษฏ์วิญญู

กับเส้นทางนวัตกรรมน�ำองค์กร สู่ความส�ำเร็จของซีพีแรม

Biz on the Move

ต้องซ่า ต้องกล้า ส่งโค้กให้

Logistics Intelligence

The Smart Technology for Energy Saving & Lifestyle

HR Focus

Corporate University มิติใหม่ของ HRD



มีหลายเหตุผลว่าท�ำไมนวัตกรรมทางธุรกิจ (Business Innovation) จึงเป็นปัจจัยส�ำคัญ ต่อความส�ำเร็จขององค์กร ถึงแม้ว่าให้ความส�ำคัญกับเรื่องอื่นๆ ที่เป็นปัญหาหลัก แต่หาก องค์กรไม่สามารถปรับตัวในเรื่องของนวัตกรรมได้ ก็จะท�ำให้มีความเสี่ยงสูงที่จะสูญเสีย โอกาสส�ำคัญ หรือถูกคู่แข่งขันช่วงชิงโอกาสทางธุรกิจไปได้ จากข้อมูลการส�ำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับสูงจากหลายประเทศทั่วโลก พบว่า องค์กรระดับโลกอย่าง Apple, 3M, Google, P&G, Samsung, Amazon และ Starbucks ต่างก็ใช้นวัตกรรมน�ำองค์กรไปสู่ความส�ำเร็จแทบทั้งสิ้น Apple สร้างประสบการณ์ใหม่ให้ กับผูบ้ ริโภค โดยมีโมเดลธุรกิจทีผ่ ลักดันให้มกี ารพัฒนาแนวคิดของผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และน�ำ ออกสูต่ ลาดอย่างต่อเนือ่ ง พัฒนากระบวนการในการให้บริการและสร้างแบรนด์ทเี่ ป็นสินค้า นวัตกรรมในสายตาของผู้บริโภค ขณะที่ Starbucks น�ำเสนอแนวคิดใหม่ในการบริโภค กาแฟ มีโมเดลธุรกิจทีท่ ำ� ให้รา้ นกาแฟของตนกลายเป็นจุดนัดพบของคนรุน่ ใหม่ บรรยากาศ ในร้านที่เป็นเอกลักษณ์ พัฒนากาแฟสูตรใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา สร้างแบรนด์ของตนให้มี ความโดดเด่นแตกต่างอย่างชัดเจน December2013February2014

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อาจารย์พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รศ.ดร.สมโรตม์ โกมลวนิช คุณสยาม โชคสว่างวงศ์ รศ.ดร.เรืองศักดิ์ แก้วธรรมชัย คุณปาริชาต บัวขาว

คอลัมนิสต์กิตติมศักดิ์

ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์ ดร.กิตติ เศรษฐวรพันธุ์ อาจารย์วิเชศ คำ�บุญรัตน์

บรรณาธิการ

ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย

หัวหน้ากองบรรณาธิการ ธมลวรรณ อัศเวศน์

กองบรรณาธิการ

ภัทรกมล ภู่เจริญ ฑิมภ์พร พรตรีสัตย์ เพชรไพลิน สายสุวรรณ วรานี จรูญลักษณ์คนา อรุณรัตน์ มงคลพิทักษ์กุล

ศิลปกรรม

เอกภพ สุขทอง

ตัวอย่างองค์กรระดับแนวหน้าของไทยที่ประสบความส�ำเร็จด้วยการใช้นวัตกรรม คงต้อง กล่าวถึง 7-ELEVEn ซึ่งเป็นองค์กรหนึ่งที่มีการพัฒนาตนเองและสร้างนวัตกรรมอย่าง ต่อเนือ่ ง มีวฒ ั นธรรมองค์กรทีฝ่ งั รากลึกมานานในการส่งเสริมพัฒนาแนวคิดใหม่ๆ อยูต่ ลอด เวลา จัดประกวดโครงการปลาฝูงใหญ่, Ant Mission, Baby Ant, President Award, Process Excellence Award ไปจนถึง Chairman Award เพื่อกระตุ้นผลงานด้านความ คิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ของบุคลากรในทุกระดับชัน้ การฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนือ่ ง เป็นการเสริมความแกร่งที่ท�ำให้ธุรกิจยืนอยู่อันดับที่หนึ่งมาได้อย่างยาวนาน การทุ่มเทงบ ประมาณในการวิจัยและพัฒนามุ่งเน้นการออกแบบสินค้าให้สะดวกต่อการบริการในร้าน เน้นการพัฒนาสินค้าและบริการใหม่ๆ จากการศึกษาพฤติกรรมผูบ้ ริโภค ซึง่ ไม่ได้ทำ� แค่การ วิจัยความต้องการของตลาดเท่านั้น แต่ยังเฝ้าสังเกตพฤติกรรมของผู้บริโภคอย่างใกล้ชิด ด้วยการพัฒนาเทคโนโลยีในการสนับสนุนระบบการสั่งสินค้าในร้านหรือระบบแนะน�ำการ สั่งสินค้าแบบอัตโนมัติ การใช้อุปกรณ์ที่ทันสมัยเข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการ ด�ำเนินการในร้านอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการเปิดกว้างให้กับพันธมิตรทางธุรกิจที่มีแนวคิด หรือสินค้าที่แปลกใหม่และพัฒนาธุรกิจร่วมกันจนประสบความส�ำเร็จ สภาวะการแข่งขัน ที่รุนแรงท�ำให้ธุรกิจต้องเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน นวัตกรรมกลายเป็นเครื่องมือ ใหม่ของการแข่งขันในยุคนี้ และสามารถสร้างโอกาสใหม่ๆ ในอนาคต ซึ่งอาจเป็นทางออก หรือจุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญให้กับธุรกิจได้ การที่ธุรกิจจะประสบความส�ำเร็จได้นั้นไม่ใช่แค่ สามารถดูแลหรือตอบสนองความต้องการของลูกค้าในปัจจุบัน (Current Customer) ได้ เท่านั้น แต่การจับเทรนด์ (Trend) ในอนาคต และการพัฒนาสินค้าหรือบริการให้ตรงกับ ความต้องการของตลาดได้ทันเวลาอย่างมีประสิทธิภาพต่างหากที่เป็นนวัตกรรมทางธุรกิจ ที่จะท�ำให้องค์กรสามารถรักษาต�ำแหน่งของตนในตลาดให้มีความเป็นเลิศและอยู่เหนือ คู่แข่งขันได้ นวัตกรรมทางธุรกิจคงไม่ได้หมายถึงความคิดสร้างสรรค์ที่มุ่งแต่จะสร้างความ แตกต่างทางธุรกิจแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น เพราะการที่เราสามารถท�ำอะไรให้แตกต่าง จากคนอื่นได้นั้น ไม่ได้หมายความว่าเราจะดีกว่าเขาเสมอไป แต่หากว่าเราต้องการที่จะดี กว่าคนอื่นให้ได้ เราจะต้องท�ำสิ่งที่แตกต่างจากพวกเขา ดร.ภญ.ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย บรรณาธิการ

3


แนวทางการเพิ่มศักยภาพทางการค้ากับ 7-ELEVEn และทิศทางค้าปลีกปี 57

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) ร่วมกับบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) จัดการบรรยายพิเศษโครงการ Modern Executive Relationship Program หัวข้อ “แนวทางการเพิ่มศักยภาพ ทางการค้ากับ 7-ELEVEn และทิศทางค้าปลีกปี 57” เมื่อวันศุกร์ ที่ 20 กันยายน 2556 ณ หอประชุมปัญญาภิวฒ ั น์ โดยได้รบั เกียรติ จาก คุณปิยะวัฒน์ ฐิตะสัทธาวรกุล รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวบรรยายในช่วงที่ 1 ต่อ ด้วยการบรรยายช่วงที่ 2 โดย คุณสกล เตชะสถาพร รองกรรมการ ผู้จัดการอาวุโส ส�ำนักจัดซื้อ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) และการบรรยายช่วงที่ 3 โดย คุณยุทธศักดิ์ ภูมสิ รุ กุล รองกรรมการ ผูจ้ ดั การ ส�ำนักบริหารการตลาด บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน)

กลยุทธ์การพัฒนาองค์กรและทรัพยากร มนุษย์แบบ CORPORATE UNIVERSITY ที่ทุกองค์กรร่วมทำ�ได้

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สาขาวิชากลยุทธ์การ บริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์การร่วมกับศูนย์พัฒนาเครือข่าย ทางธุรกิจ จัดงานสัมมนาเรื่อง “กลยุทธ์การพัฒนาองค์กรและ ทรัพยากรมนุษย์ แบบ Corporate University ที่ทุกองค์กรร่วม 4

ซีพีแรม ผลัดใบสู่ยุคนวัตกรรม

ส�ำนักบริการวิชาการ ร่วมกับ ส�ำนักทรัพยากรมนุษย์ PIM จัด งานบรรยายพิเศษ หัวข้อ “ซีพีแรม ผลัดใบสู่ยุคนวัตกรรม” โดยได้รับเกียรติจาก คุณวิเศษ วิศิษฎ์วิญญู รองกรรมการ ผูจ้ ดั การอาวุโส บริษทั ซีพแี รม จ�ำกัด ให้เกียรติมาเป็นวิทยากร เมื่อวันอังคารที่ 1 ตุลาคม 2556 ณ หอประชุมปัญญาภิวัฒน์ โดยคุณวิเศษให้ความรู้เรื่องการสร้างนวัตกรรมแบบจ�ำลอง ธุรกิจ (Business Model Innovation) นวัตกรรมเทคโนโลยี (Technology Innovation) นวัตกรรมกระบวนการ (Product Innovation) รวมทั้ ง ถ่ า ยทอดแนวคิ ด ในการสร้ า งศู น ย์ นวัตกรรมธุรกิจอาหาร (CPRAM Food Innovation Center) และน�ำเสนอศูนย์แสดงนวัตกรรมด้านอาหารและนวัตกรรม การผลิตในโรงงานแห่งเดียวในโลกทีอ่ อกแบบขึน้ โดยเฉพาะ

ท�ำได้” เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2556 ณ หอประชุมปัญญาภิวัฒน์ โดยในการสัมมนาช่วงแรกได้รับเกียรติจาก รศ.ดร.สมภพ มานะ รังสรรค์ อธิการบดี PIM กล่าวถึง เรื่อง “กลยุทธ์การพัฒนาองค์กร และทรัพยากรมนุษย์แบบ Corporate University ที่ทุกองค์กร ร่วมท�ำได้” ทีเ่ น้นหลักสูตรการเรียนทฤษฎีควบคูก่ บั การเรียนปฎิบตั ิ หรือฝึกงานที่ตรงกับสาขาวิชาที่เรียนจริงๆ (Work-based Learning) และความเป็นมหาวิทยาลัยเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายใน


PANYAPIWAT MBA

Create Professionals by Professionals

ต้อนรับวิทยากร พร้อมด้วยหลายหลาย Case Studies

MBA in Retail Business Management & Logistics Management ปี 1 17 สิงหาคม 56

อ.ชัยสุชา โชติพฤกษ์

Regional Director/East Asia บริษัท เมอร์ริซันท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หัวข้อ : Market Segmentation 31 สิงหาคม 56

อ.กฤชบดี เรืองรุจิระ

พม่า เจาะได้ไม่ยาก หากรู้วิธี

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) วิชาเอกการจัดการ โลจิสติกส์ ร่วมกับบริษัท ลีโอ โกลบอล โลจิสติกส์ จ�ำกัด จัดงาน เสวนาพิเศษ ภายใต้หัวข้อ "พม่าเจาะได้ไม่ยาก หากรู้วิธี" ในวัน พฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม 2556 ณ หอประชุมปัญญาภิวัฒน์ สถาบัน การจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ โดยมีกรู ดู า้ นโลจิสติกส์ชอื่ ดัง 3 ท่าน ได้แก่ รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ นักเศรษฐศาสตร์ชื่อดัง/ กูรูอาเซียน/ อธิการบดี PIM คุณประจวบ สุภิณี ผู้อ�ำนวยการศูนย์พัฒนาธุรกิจ สูส่ ากล กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และ คุณเกตวิทย์ สิทธิสุนทรวงศ์ President & CEO กลุ่มบริษัทลีโอ โกลบอล โลจิสติกส์ และบริษัท ไอทูยู คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด มาพูด คุยถึงกลวิธีต่างๆ ตั้งแต่ประวัติศาสตร์พม่า การเตรียมพร้อมปรับ ตัวในขณะที่ทั้งโลกก�ำลังจะเข้าพม่าเช่นกัน รวมทั้งแนวโน้มของ สินค้าและบริการทีข่ ายดี เพือ่ การเจาะตลาดพม่าอย่างมีชนั้ เชิงและ ประสบความส�ำเร็จ

Business Development Director บริษัท จี โมทีฟ โปรดักชั่น จ�ำกัด หัวข้อ : Integrated Marketing Communication (IMC) 7 กันยายน 56

อ.ศักดิ์ดา หวานแก้ว

หัวข้อ : การบริหารทรัพยากรมนุษย์ธุรกิจโลจิสติกส์ 8 กันยายน 56

อ.ทรงพล ชีวะปัญญาโรจน์

รองกรรมการผู้จัดการ สายงานผลิตภัณฑ์บรรษัทและผู้ประกอบการ ธนาคาร กสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : ความพร้อมของตลาดเงินและตลาดทุนไทยในการเข้าสู่ AEC 8 กันยายน 56

อ.สุกฤษฎิ์ เหรียญภิญญวัฒน์

General Manager บริษัท ไพศาลอินเตอร์ลิสซิ่ง จ�ำกัด หัวข้อ : การจัดท�ำแผนทางการเงินของธุรกิจ Financial Protections 8 กันยายน 56

อ.ปัญญา จรรยารุ่งโรจน์ ธนาคาร HSBC หัวข้อ : การเงินระหว่างประเทศ 14 กันยายน 56

ดร.ประวิตร ไวรุ่งเรืองกุล

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีพี คอนซูมเมอร์ โพรดักส์ จ�ำกัด หัวข้อ : Consumer Product 14 กันยายน 56

ดร.บุญมา ชัยเสถียรทรัพย์ และต่างประเทศ (Networking University) ต่อด้วยการเสนอบท สรุปจากงานวิจยั และกรณีศกึ ษา หัวข้อ “Corporate University: The HR&OD outside in Perspectives” โดย ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์ ผูอ้ ำ� นวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขา วิชากลยุทธ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์และองค์การ รวมทัง้ แนะน�ำ ภาคธุรกิจที่สนใจที่จะน�ำแนวคิด Corporate University ไปใช้ ไม่ จ�ำเป็นต้องท�ำเองแต่สามารถมาร่วมมือกับ PIM ได้ และปิดท้ายด้วย การมอบโล่ให้กบั บริษทั ต่างๆ ทีม่ คี วามร่วมมือกับ PIM

หัวข้อ : DHL Excel Supply Chain 14 กันยายน 56

อ.ชลัช วงศ์สงวน

หัวข้อ : การบริหาร HR ธุรกิจโลจิสติกส์ กรณีศึกษา SCG 15 กันยายน 56

อ.ชัยมงคล โรจนสินธ

General Manager, Corporate Finance บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : การจัดการทางการเงิน กรณีศึกษา ซีพี ออลล์

5


14 กันยายน 56 15 กันยายน 56

อ.สุรพล โอภาสเสถียร

ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จ�ำกัด หัวข้อ : ความเสี่ยงทางการบริหารการเงิน 27 ตุลาคม 56

อ.พิมล วชิรมนาภรณ์

บริษัท โสธร ลอจิสติคส์ จ�ำกัด หัวข้อ : เคล็ดลับการตลาดธุรกิจขนส่งและตัวแทนจ�ำหน่ายสินค้า กรณีศึกษา:บริษัท โสธร ลอจิสติคส์ จ�ำกัด

Customer service & Distribution Group Manager บริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จ�ำกัด หัวข้อ : Supply Chain Management กรณีศึกษา บริษัท เนสท์เล่ 14 กันยายน 56

อ.นิติโรจน์ กิจเจริญ

หัวข้อ : ระบบการโลจิสติกส์ กรณีศึกษา สายการบิน แอร์เอเซีย 15 กันยายน 56

อ.วุฒิชาติ อนันต์สุทธิวรา

10 พฤศจิกายน 56

President Bluecope Lysaght (Thailand) Co.,Ltd หัวข้อ : Strategic Capacity Management/Demand Management

UPS Marketing Manager UPS SCS Service (Thailand) Limited หัวข้อ "UPS Strategic Marketing"

15 กันยายน 56

อ.นันทนัช พิชญ์สกุล

หลักสูตร MBA in Retail Business Management & Logistics Management ปี 2 8 กันยายน 56

อ.ชยุต ตรงประกอบ

ผู้จัดการทั่วไปอาวุโส ส�ำนักปฏิบัติการกรุงเทพภาค B5 บริษัท ซีพีออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : การจัดการการด�ำเนินงานในธุรกิจค้าปลีก 1 กันยายน 56

อ.สมควร ฉายศิลป์รุ่งเรือง

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซัมมิท อีเล็คโทรนิค คอมโพเน้นท์ จ�ำกัด หัวข้อ : การบริหารจัดการธุรกิจที่ดี 1 กันยายน 56

อ.ชูศิลป์ จิรวงค์ศรี

รองกรรมการผู้จัดการ ส�ำนักกระจายสินค้า บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : การบริหารจัดการโลจิสติกส์ 7 กันยายน 56

ดร.วิไล จิระรัตนกุล

ธนาคารแห่งประเทศไทย หัวข้อ : กลยุทธการเลือกวิธีช�ำระสินค้าระหว่างประเทศเพื่อชิง ความได้เปรียบ (Payment Strategy for International Business to Win Advantages) 14 กันยายน 56

อ.สกล เตชะสถาพร

อ.คณิทธิ์ สว่างวโรรส

ที่ปรึกษาประธานเจ้าหน้าที่ปริหาร บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : Financial Analysis and Decision Model 28 กันยายน 56

อ.ศุภฤกษ์ อาจราชกิจ

Deputy General Manager Marketing Research บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : ธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ 28 กันยายน 56

อ.สมควร ฉายศิลป์รุ่งเรือง

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซัมมิท อิเล้กโทรนิค คอมโพเน้นท์ จ�ำกัด หัวข้อ : ผู้น�ำกับพรหมวิหาร 4 (Beyond Leadership) และ ผู้น�ำกับใจบริการ (Service Plus) 28 กันยายน 56

อ.วรพันธ์ โลกิตสถาพร

Managing Director บริษัท สถาพร บุ๊คส์ จ�ำกัด หัวข้อ : Idea การตลาดที่พลิกวงการธุรกิจหนังสือ 5 ตุลาคม 56

อ.สุรินทร์ อมรชัชวาลกุล

กรรมการผู้จัดการ บริษัท มีเดีย อินฟินิตี้ จ�ำกัด หัวข้อ : ล้วงลึกกลยุทธ์การตลาด High Speed 5 ตุลาคม 56

อ.สมชาย ครองสมบูรณ์

President & CEO บริษัทโฟโต้ฮัท กรุ๊ป (ประเทศไทย) จ�ำกัด หัวข้อ : กลุยุทธ์การท�ำธุรกิจ ของ Photo hut 5 ตุลาคม 56

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ด้านจัดซื้อ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด มหาชน หัวข้อ : Supplier Relationship Management

อ.วัลลภ สถิตาภา

14 กันยายน 56

5 ตุลาคม 56

ผู้จัดการกองลูกค้าสัมพันธ์ บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : Customer Relationship Management

รองกรรมการผู้จัดการ ส�ำนักกระจายสินค้า บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : ผู้น�ำกับชีวิต (4L leadership)

อ.วิรุจ สโรบล 6

อ.เอกชัย กาญจนเวนิช

อ.ประจ�ำคณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ หัวข้อ : ผู้น�ำกับอ�ำนาจเงิน (Smart Money)

อ.ชูศิลป์ จิรวงค์ศรี


หลักสูตร MBA in Strategic Human Resource and Organization Management 30 มิถุนายน 56

อ.สุธน โรจน์อนุสรณ์

Department Manager- E commerce บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : การจัดความคิดเชิงระบบ ริเริ่มสร้างสรรค์ และนวัตกรรมด้วย ICT ยุคใหม่ 27 กรกฎาคม 56

อ.เวโรจน์ ลิ้มจรูญ

ผู้อ�ำนวยการสายอาวุโส - ทรัพยากรมนุษย์ บริษัท บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : การบริหารค่าจ้างบริษัทไทยที่ก้าวสู่ International Company

วันที่ 31 กรกฎาคม 2556 ผู้บริหารจาก บริษัท พัทยาฟู้ดอินดัสตรี จำ�กัด (นอติลุส) และ บริษัท เฮลซ์ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำ�กัด (เฮลซ์บลูบอย)

1 กันยายน 56

ดร.คณาภรณ์ กัมพลกัญจนา

Deputy Manager of General Merchandise Department (Consumer Service Business Division) บริษัท มิตซุยแอนด์คัมปนี (ไทยแลนด์) จ�ำกัด หัวข้อ : ระบบและเครื่องมือจากพื้นฐานทางทฤษฎีต่างๆ ในการบริหารทรัพยากรบุคคลและองค์การแบบญี่ปุ่น

วันที่ 18 กันยายน 2556 ผู้บริหารจาก บริษัท พรี ไซซ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด

1 กันยายน 56

ดร.สกลทร นทีสวัสดิ์

ผู้จัดการอาวุโส ด้านการวางแผนและบริหารทรัพย์สิน ส�ำนักวางแผนและบริหารทรัพย์สิน บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : กลยุทธ์การจัดการองค์การประสิทธิภาพสูง 7 กันยายน 56

อ.ศิระ บุณยกิดา

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักทรัพยากรบุคคล บริษัท เอสซีจี เปเปอร์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : กรณีศึกษา SCG ปรัชญาและแนวความคิดในการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ตะวันออกแบบไทยและพระพุทธศาสนา

วันที่ 25 กันยายน 2556 ผู้บริหารจาก บริษัทคอลเกต-ปาล์มโอลีฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด

7 กันยายน 56

อ.พิชิต จิระวัฒนะ

Plant HR Manager Lear Corporation Southeast Asia CO.,LTD. หัวข้อ : ปรัชญาและแนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เปรียบเทียบ ตะวันตก-ตะวันออก (จีน-อเมริกา) และแนวทางในการประยุกต์

วันที่ 26 กันยายน 2556 ทีมผู้บริหารจาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

8 กันยายน 56

อ.อาณัติ จุลินทร

ผู้อ�ำนวยการบริหารธุรกิจน�้ำดื่ม บริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จ�ำกัด หัวข้อ : การจัดการเชิงกลยุทธ์ การน�ำแผนกลยุทธ์มาสู่แผนการปฏิบัติ ของ Nestle ประเทศไทย 8 กันยายน 56

รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์

อธิการบดี PIM หัวข้อ : องค์กรในบริบทโลกาภิวัฒน์และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ทีมผู้บริหารจาก ชมรมบริหารบุคคลรังสิต

19 ตุลาคม 56

อ.จรูญศักดิ์ ฉวีศักดิ์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ส�ำนักระบบและกลยุทธ์งานบุคคล บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) หัวข้อ : Talent & Career Development

7


วิเศษ วิศิษฏ์วิญญู รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด

หากพูดถึงค�ำวา่ “นวัตกรรม” หลายท่านอาจนึกถึงสิง่ ประดิษฐ์ ใหม่ๆ หรือสินค้าล�้ำๆ ที่ช่วยให้ ชีวติ ของเราง่ายขึน้ แต่แท้ทจี่ ริง แล้วค�ำว่านวัตกรรมไม่ได้ถูก จ�ำกัดอยู่เพียงแค่นั้น หากยัง หมายรวมถึงทุกสิ่งทุกอย่าง ตัง้ แต่กระบวนการทางความคิด และการจัดการที่ขับเคลื่อนให้ โลกของเราก้าวไปข้างหน้าได้ดี ยิ่งขึ้น จึงไม่น่าแปลกใจที่หลาย ธุรกิจหันมาให้ความส�ำคัญกับ การสร้างนวัตกรรม Cover Story

ฉบับนี้เราได้รับเกียรติจาก

คุณวิเศษ วิศิษฏ์วิญญู รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด ซึ่งถือเป็นอีกหนึ่งบริษัทที่ ได้รับการยอมรับ ในฐานะผู้น�ำด้านนวัตกรรมด้วยรางวัลมากมายจากสถาบันต่างๆ โดยท่านเล่าถึงการเดินทางบนเส้นทางแห่งนวัตกรรม ตลอด 25 ปีของซีพีแรมที่เปรียบเสมือน กุญแจดอกส�ำคัญ ที่ท�ำให้ซีพีแรมก้าวขึ้นสู่ องค์กรชั้นน�ำได้อย่าง ไร้ข้อกังขา 8


คุณวิเศษเล่าว่า บนเส้นทางของซีพีแรม ใช่ว่าจะโรยด้วยกลีบ กุหลาบ เราก็เคยเผชิญหน้ากับวิกฤติหลายอย่าง ไม่วา่ จะเป็นวิกฤติ ต้มย�ำกุ้งปี 2540 หรือวิกฤติมหาอุทกภัยปี 2554 แต่เพราะเตรียม ความพร้อมและมองหาโอกาสอยูเ่ สมอ จึงท�ำให้เราผ่านวิกฤติเหล่า นั้นมาได้ ซีพีแรมก่อตั้งมาเมื่อปี 2531 พร้อมกับ 7-ELEVEn ตลอด 25 ปี เราใช้กลยุทธ์ที่แตกต่างกันออกไป เพราะแต่ละช่วงลูกค้าก็มี ความต้องการไม่เหมือนกัน ยุคแรก เรียกยุคนี้ว่า “ยุคก่อร่างสร้างตัว” ช่วงปี 2531-2535 เป็นยุคที่ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง เราท�ำทุกอย่างเพื่อสนองความ ต้องการของลูกค้า ยุคที่สอง หรือ “ยุคพัฒนา” ช่วงปี 2536-2540 มุ่งเน้นพัฒนา มาตรฐาน มี ก ารน� ำ มาตรฐานทางอุ ต สาหกรรมอาหารมาใช้ ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของสินค้า และในยุคนี้เองที่เราเจอ วิกฤติหนักครั้งแรก นั่นคือวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ซึ่งในวิกฤติยังมี โอกาสส�ำหรับผู้ที่ไม่ยอมแพ้เสมอ ช่วงปี 2540 เป็นช่วงที่ต่างชาติ เข้ามาเมืองไทยเพื่อเลือกสินค้ากลับไปขาย แล้วเขาก็สนใจที่จะน�ำ สินค้าของเราไปขายยังต่างประเทศ ซึ่งหากโอกาสมาถึงแต่เราไม่ พร้อมก็คงเปล่าประโยชน์ แต่ด้วยความที่ซีพีแรมเข้มงวดเรื่อง มาตรฐานสินค้า จึงท�ำให้หลังจากทีต่ า่ งชาติเข้ามาเยีย่ มโรงงานแล้ว สร้างโรงงานใหม่ถึง 3 แห่ง ซึ่งแต่ละแห่งเรามุ่งเน้นน�ำนวัตกรรม เกิดความมัน่ ใจจนสัง่ สินค้าเราไปขาย และนัน่ ถือเป็นจุดเริม่ ต้นของ ใหม่ๆ มาใช้ในการออกแบบและผลิต ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ชดั คือโรงงาน การส่งออกสินค้าของซีพีแรมไปยังต่างประเทศ ใหม่ท่ีจังหวัดชลบุรี หรือ CPRAM Innovation Center and ยุคที่สาม หรือ “ยุคสู่สากล” ช่วงปี 2541-2545 หลังจากที่ส่ง Chonburi Plant ถ้ามองจากภายนอก อาจดูไม่ออกว่านีค่ อื โรงงาน ออกสินค้าไปยังต่างประเทศ ก็พบความจริงข้อหนึง่ ทีท่ ำ� ให้กลยุทธ์ ผลิตอาหาร เพราะนอกจากจะใช้ทนี่ เี่ ป็นโรงงานในการผลิตอาหาร ของเราเปลี่ยนไป นั่นคือการพัฒนาตัวสินค้าให้ได้มาตรฐานเพียง พร้อมรับประทานแล้ว ยังใช้เป็นศูนย์นวัตกรรมทีจ่ ะท�ำให้ลกู ค้าและ อย่างเดียวไม่เพียงพออีกต่อไป หากแต่ต้องเพิ่มประสิทธิภาพและ บุคคลทั่วไปมีโอกาสได้รู้จักธุรกิจของซีพีแรมมากขึ้น พร้อมทั้งมี โอกาสได้สมั ผัสนวัตกรรมอีกด้วย ในโรงงานจะถูกแบ่งออกเป็นโซน ประสิทธิผลในการท�ำงานอีกด้วย ต่างๆ ส�ำหรับโซนที่น่าสนใจมากคือ โซนประสบการณ์ลูกค้า หรือ ยุคที่สี่ หรือ “ยุคสู่ความเป็นเลิศ” ช่วงปี 2546-2550 ยุคแห่ง Customer Experience Zone จะถูกจัดท�ำขึ้นเป็นลักษณะห้อง การเพิ่มปริมาณการผลิต ด้วยการสร้างโรงงานไปยังที่ต่างๆ และ สัมมนาแบบ 72 ที่นั่ง มีการน�ำเสนอความเป็นมาของธุรกิจซีพีแรม เพิ่มคุณภาพการผลิต โดยการใช้เครื่องจักรที่มีคุณภาพสูงขึ้น แบบ 3 มิติ ยิ่งไปกว่านั้นผู้เยี่ยมชมยังสามารถนั่งรถกอล์ฟเพื่อดู ยุคทีห่ า้ หรือ “ยุคเติบโตอย่างมัน่ คง” ช่วงปี 2551-2555 หลัง นวัตกรรมต่างๆ ของซีพีแรมบนพื้นที่กว่า 400 ตารางเมตร ไม่ว่า จากทีเ่ รามีความเป็นเลิศเรือ่ งของสินค้าและบริการ เราก็มองถึงการ จะเป็นนวัตกรรมกระบวนการ หรือ Process Innovation เป็น เติบโตอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนขององค์กรนัน่ คือการพัฒนาคน เพราะ กระบวนการผลิตที่ควบคุมโดยระบบคอมพิวเตอร์ โดยวิศวกรของ ซีพแี รมร่วมคิดค้นกับผูผ้ ลิตมากว่า 2 ปี ซึง่ หนึง่ ในเครือ่ งจักรทีเ่ รียก คนถือเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญอันดับต้นๆ ในการขับเคลื่อนองค์กร ได้ว่าเป็นความภูมิใจของชาวซีพีแรมทุกคนคือการสร้างเครื่องจักร ยุคที่หก หรือ “ยุคครบเครื่องด้วยนวัตกรรม” ช่วงปี 2556- ผลิตอาหารส�ำเร็จรูปที่ทันสมัยที่สุดในโลก ก่อนกลับจะได้แวะห้อง 2560 เมือ่ สินค้าพร้อม คนพร้อม จึงจะสามารถผลิดอกออกผลด้าน ทานอาหารที่เรามีไว้ให้ทุกท่านได้ลองชิมสินค้านวัตกรรมแห่งปี นวัตกรรมได้ ซึ่งส�ำหรับซีพีแรม เราให้ความส�ำคัญกับการสร้าง และอีกหนึ่งสิ่งที่ถือเป็นความน่ารักเล็กๆ น้อยๆ ที่เราใส่เข้าไป นั่น นวัตกรรมในทุกด้าน ด้วยการใช้องค์ความรู้จากหลายๆด้าน หรือ คือ Digital Count เป็นตัวนับชิ้นซาลาเปาที่ผลิต เพื่อให้แขกที่มา ที่เรียกว่า Cross-functional Team เยี่ยมชมได้ทราบว่า ณ วันที่มาเยี่ยมชมเป็นวันที่ผลิตซาลาเปาลูก ในส่วนของยอดขาย เรามีเป้าหมายชัดเจนที่จะเติบโตปีละ 15% ทีเ่ ท่าไหร่นบั ตัง้ แต่วนั ทีก่ อ่ ตัง้ ซีพแี รม โดยแต่ละวันเราผลิตซาลาเปา โดยปีนี้มีเป้าการขายอยู่ที่ 11,500 ล้านบาท นอกจากนี้ยังลงทุน กว่า 5 แสนลูก 9


ส�ำหรับกลยุทธ์ในการขาย ซีพแี รมพยายาม สร้ า งนวั ต กรรมคิ ด ค้ น สิ น ค้ า และบริ ก าร ใหม่ๆ ขึ้นมาเพื่อสนับสนุนยอดขาย โดยใน ส่วนของนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (Product Innovation) ซีพีแรมถือว่า หากเรารู้ความ ต้องการของลูกค้าแล้วสามารถตอบสนอง ความคาดหวังของลูกค้าได้ เรียกว่าดี แต่ถา้ สามารถให้สงิ่ ทีเ่ กินความคาดหวังของลูกค้า ได้ อันนี้ถึงจะเรียกว่าดีมาก ดังนั้นเราจึง ต้องหาความต้องการของลูกค้าให้เจอและ ตอบสนองให้ลูกค้าเกินความคาดหวัง วิธี หนึ่งที่ใช้คือการคิดค้นและออกผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ เช่น เบอเกอร์ข้าวเหนียวหมูย่าง ซึ่ง ประสบความส�ำเร็จอย่างมาก ในส่วนของ นวัตกรรมการบริการ (Service Innovation) ก็เป็นสิ่งส�ำคัญไม่แพ้กัน เรามีการ สร้ า งสรรค์ บ ริ ก ารใหม่ ๆ มาตอบความ ต้องการของลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของ Central Kitchen ซึ่งเป็นการจัดเตรียม สินค้าพร้อมรับประทานส่งร้าน 7-ELEVEn เพื่อช่วยลดระยะเวลาและขั้นตอนในการ ปรุงที่ร้าน เช่น แซนด์วิชอบร้อน อีกหนึ่ง สินค้าที่ขายดีของร้าน Central Kitchen เข้าไปมีบทบาทในการเตรียมแซนด์วิชให้ เรียบร้อยแล้วจัดส่งไปทีร่ า้ น 7-ELEVEn เมือ่ ลูกค้าสั่ง พนักงานมีหน้าที่เพียงแค่อุ่นร้อน ให้ลูกค้าเท่านั้น เป็นการลดระยะเวลาการ ให้บริการ เพื่อตอบโจทย์ความเป็นร้านอิ่ม สะดวกของคนไทย อันเป็นปณิธานของร้าน 7-ELEVEn อีกสิ่งที่ซีพีแรมเล็งเห็นถึงความ ส�ำคัญและโอกาสที่จะสนับสนุนยอดขาย คือในปัจจุบันมีงานอีเวนต์ใหญ่ๆ เกิดขึ้น แทบทุกวัน เราจึงมีบริการ Food Van เพื่อ ให้บริการอาหารพร้อมรับประทานถึงงาน อีเวนต์ด้วย

“คน” ก็เป็นอีกปัจจัยที่ซีพีแรมให้ความ

ส�ำคัญอย่างมาก เรามุง่ เน้นการพัฒนาบุคคล อย่างต่อเนือ่ ง ในการปลูกฝังและหล่อหลอม บุคลากร ซีพีแรมมีหลักการง่ายๆ ที่เรียกว่า เป็น CPRAM Value อยู่ 2 หลัก คือหลัก 4 ใจ และหลัก 5 กล้า ส�ำหรับหลัก 4 ใจ ได้แก่ เข้าใจ ต้องรูว้ า่ ทุกคนมีความรู้ ความสามารถ ไม่เหมือนกัน แต่ทุกคนล้วนแต่มีประโยชน์ 10

ต่อองค์กร เพราะฉะนั้นต้องเข้าใจจุดแข็ง ของแต่ละคน จูงใจ ท�ำให้ทุกคนมองเห็น ศักยภาพและพร้อมจะท�ำงาน สานใจ มุ่ง เน้นให้เกิดการยอมรับ ได้ใจ สร้างความรัก และผูกพันกับองค์กร ส่วนหลัก 5 กล้า ได้แก่ กล้าเรียนรู้ ทุกคนต้องพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่ง ใหม่ๆ กล้าคิด เปิดโอกาสให้ทุกคนได้คิด สร้างสรรค์ กล้าน�ำเสนอ เมื่อคิดแล้วต้อง กล้าบอกให้คนอื่นรับรู้ด้วย มิเช่นนั้นความ คิดนัน้ จะไม่เกิดประโยชน์อะไร กล้าท�ำ ต้อง ลงมือท�ำจริง กล้ารับผิดชอบ เน้นให้ทุกคน มีความรับผิดชอบ

นอกจากนี้มีกิจกรรมสร้างบรรยากาศดีใน การท�ำงาน เช่น โครงการ Happy work place มีการจัดตัง้ ชมรมเพือ่ ให้พนักงานเข้า ร่วมตามความสนใจ โครงการใจประสานใจ ที่จัดขึ้นเพื่อทลายก�ำแพงแบ่งกั้นระหว่าง หั ว หน้ า กั บ ลู ก น้ อ ง อี ก สิ่ ง ที่ เ ตรี ย มไว้ คื อ การเตรียมคน เนื่องจากในปี 2560 จะมี ผูบ้ ริหารระดับสูงตัง้ แต่ระดับผูจ้ ดั การทัว่ ไป ขึน้ ไปเกษียนอายุกว่าครึง่ เราจึงมีการจัดท�ำ Individual Development Plan มาตัง้ แต่

ปี 2551 เพื่อเตรียมบุคลากรขึ้นสู่ระดับ บริหาร สุดท้ายแล้ว สิ่งที่ถือเป็นหัวใจส�ำคัญที่จะ ท�ำให้ซีพีแรมยืนหยัดและก้าวเดินต่อไปได้ อย่างมั่นคงคือ Creating Share Value หรือ CSV นั่นคือการที่องค์กรต้องให้ความ ส�ำคัญกับทั้งคุณค่าทางธุรกิจ (Creative Business Value) และคุณค่าทางสังคม (Creative Social Value) CSV นั้นไม่เหมือนกับ CSR (Corporate Social Responsibility) เพราะการท�ำ CSR นั้น เน้นท�ำเพื่อสร้างคุณค่าให้กับของสังคม เป็นหลัก แต่การท�ำ CSV เป็นการสร้าง คุณค่าร่วมกันทัง้ ธุรกิจและสังคม ตัวอย่างที่ เห็นง่ายๆ อย่าง Food Waste หรือขยะ จากอาหาร ซึ่งเป็นขยะส่วนใหญ่ในโลก Food Waste หลักมาจากครัวเรือน เพราะ พฤติกรรม 3 อย่างของผู้บริโภค ได้แก่ ซื้อ เหลือ ปรุงเหลือ กินเหลือ ในฐานะที่เป็นผู้ ผลิตอาหาร เราจึงมีหน้าทีต่ อ้ งรับผิดชอบต่อ ปัญหานี้เช่นกัน ดังนั้นในอาหารส�ำเร็จรูปที่ เราผลิต มีการค�ำนวณอาหารในปริมาณที่ พอดี เช่น เมนูสปาเก็ตตี้ ปริมาณซอสและ เส้นถูกค�ำนวณให้อยู่สัมพันธ์กัน ไม่ใช่เส้น เยอะ ซอสน้อย เพราะเมื่อมองในมุมด้าน คุณค่าต่อสังคม ถือเป็นการช่วยลดขยะ รักษาสิง่ แวดล้อม ในทางกลับกัน ถ้ามองใน มุ ม ของคุ ณ ค่ า ทางธุ ร กิ จ ถื อ เป็ น การลด ความเสี ย หายทางธุ ร กิ จ และเพิ่ ม ผล ตอบแทนทางธุรกิจอีกด้วย แต่กใ็ ช่วา่ เราจะ ไม่ท�ำกิจกรรม CSR เลย เรายังท�ำอยู่หลาย กิจกรรม เช่น โครงการเรียนฟรีมีรายได้ ถึง วันนี้เข้าปีที่ 4 แล้วและยังคงท�ำต่อไป หรือ การเปิดตลาดนัดชุมชนให้ชาวบ้านในชุมชน ใกล้โรงงานสามารถมาขายผลิตภัณฑ์ที่เกิด ขึ้นในครัวเรือนภายในบริเวณโรงอาหารได้ ทุกวันศุกร์ เป็นต้น

จะเห็นได้ว่าธุรกิจจะเติบโตอย่างมั่นคงและ ยั่งยืนได้ต้องอาศัยนวัตกรรมในทุกด้าน และสิ่งที่ส�ำคัญไม่แพ้กันคืออย่ามุ่งให้ความ ส�ำคัญแต่กับคุณค่าทางธุรกิจเท่านั้น ต้อง ให้ความส�ำคัญกับคุณค่าทางสังคมด้วย



ถ้าพูดถึงเครื่องดื่มอัดลมน�้ำสีด�ำ แน่นอนว่า “โค้ก” ต้องเป็นแบรนด์แรกๆ ที่แล่นเข้ามาในความคิดของทุกท่าน ด้วยรสชาติ กลมกล่อมมาพร้อมกับความซ่า คุ้นลิ้นคนไทยมานานหลายสิบปี แต่ค�ำถามหนึ่งที่สร้างความแปลกใจให้กับนักการตลาดไม่ น้อย คืออะไรเป็นเหตุผลที่โค้กครองใจคนไทยมาได้ยาวนาน ทั้งที่มีผลิตภัณฑ์อยู่เพียงไม่กี่ตัว Biz on the move ฉบับ นี้ จะมาร่วมไขปริศนาข้อนี้กัน นอกจากความมุ่งมั่นผลิตและพัฒนาสินค้าที่มีคุณภาพให้ผู้บริโภค สิ่งหนึ่งที่โค้กให้ความส�ำคัญมาก คือการสร้างสรรค์นวัตกรรม ทางการตลาด เห็นได้จากการสร้างสรรค์แคมเปญทางการตลาด ใหม่ๆ ออกมาทุกปี และแทบทุกแคมเปญของโค้กก็มักจะประสบ ความส�ำเร็จอย่างล้นหลาม ส่งผลให้โค้กก้าวขึน้ สูก่ ารเป็นผูน้ ำ� ตลาด ธุรกิจเครือ่ งดืม่ น�ำ้ อัดลมในประเทศไทย ด้วยอัตราการเติบโตอย่าง ต่อเนื่อง เพียงช่วงครึ่งปีแรกแบรนด์ “โค้ก” มีอัตราการการเติบโต อย่างแข็งแกร่งกว่า 21% ส�ำหรับในปี 2556 นี้ โค้กเปิดตัวแคมเปญล่าสุด “ต้องซ่า ต้องกล้า ส่งโค้กให้” ซึ่งเป็นการต่อยอดความส�ำเร็จของแคมเปญอินเตอร์ “Share a Coke” ทัง้ นี้ มร.คอสตาส เดลิอาลิส ผูอ้ ำ� นวยการฝ่าย การตลาด และคุณประกรณ์ เมฆจ�ำเริญ Vice President Modern

12

Trade บริษัท โคคา-โคลา (ประเทศไทย) จ�ำกัด เล่าถึงที่มาของ แคมเปญนี้ว่า ผู้บริโภคดื่มโค้กด้วยเหตุผลหลายอย่าง บ้างก็ว่า เพราะร้อนจึงต้องการดื่มเพื่อเติมความสดชื่น บ้างก็ว่าโค้กท�ำให้ อาหารรสชาติอร่อยขึน้ แต่จะด้วยเหตุผลอะไรก็ตามแต่ เราขอเรียก เหตุผลนั้นว่าดื่มเพื่อเติมความสุขให้กับชีวิต แต่ในเมื่อชีวิตเรามีคน ที่เรารักและรักเรามากมาย โค้กจึงไม่ต้องการให้เราเก็บความสุขไว้ คนเดียว แต่ต้องการให้เราแบ่งปันด้วยการส่งต่อความสุขไปยังคน ที่เรารักและรักเราด้วย เพื่อที่ทุกคนจะได้มีความสุขร่วมกัน โดย ก่อนทีโ่ ค้กจะเปิดตัวแคมเปญนีใ้ นประเทศไทย ก็ได้มกี ารพัฒนาตัว คอนเซปต์และปรับให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมการแบ่งปันความสุข ของคนไทย เนือ่ งจากปกติแล้ว คนไทยมักจะไม่คอ่ ยกล้าแสดงความ รู้สึกในใจให้ใครรับรู้ง่ายๆ


แคมเปญนี้ริเริ่มขึ้น เพื่อจะสร้างแรงบันดาลใจให้วัยรุ่นไทยและคน ไทยกล้าที่จะแสดงออกถึงความรู้สึกดีๆ และแบ่งปันความสุขกับ เพือ่ น ครอบครัว และบุคคลอันเป็นทีร่ กั รวมถึงกล้าผูกมิตรสัมพันธ์ และความรูส้ กึ ชืน่ ชม โดยโค้กได้น�ำนวัตกรรมใหม่ในการผลิตเข้ามา ใช้ ท�ำให้สามารถประทับชื่อเล่นและถ้อยค�ำแสดงความรู้สึกดีๆ ลง บนกระป๋องได้ พร้อมกับเชิญชวนคนไทยให้หาขวดหรือกระป๋อง โค้กที่มีชื่อหรือถ้อยค�ำตรงใจดังกล่าว แล้วส่งโค้ก ส่งความรู้สึกดีๆ เพื่อแบ่งปันช่วงเวลาแห่งความสุขแด่เพื่อน คนรัก สมาชิกใน ครอบครัว คนทีอ่ ยากรูจ้ กั หรือคนทีแ่ อบชืน่ ชม จึงเป็นทีม่ าของการ ประทับชื่อเล่นและค�ำชมบนขวดและกระป๋องโค้กถึง 250 ล้าน ขวด/กระป๋อง นีถ่ อื เป็นครัง้ แรกในเอเชียทีม่ กี ารประทับค�ำชมแสดง ความรู้สึกบนขวดและกระป๋องโค้ก หลังจากเปิดตัวแคมเปญนีอ้ อกไป ก็ได้รบั เสียงตอบรับอย่างท่วมท้น จากผู้บริโภค กลายเป็นปรากฏการณ์เลยก็ว่าได้ เพราะโค้กได้จัด ท�ำกิจกรรมสื่อสารการตลาดกับผู้บริโภคอย่างครบวงจร ไม่ว่าจะ เป็นโฆษณาชุด “เฟิร์น” ในรูปแบบความยาว 45 วินาทีและ 30 วินาที รวมถึงสือ่ ดิจติ อล โซเชียลมีเดีย และกิจกรรมภาคสนามต่างๆ ซึง่ ให้เห็นว่ามีการแชร์ภาพขวด/กระป๋องโค้กทีม่ กี ารประทับชือ่ เล่น

และค�ำชมในโซเชียลมีเดียมากมาย ทัง้ ทางเฟซบุค๊ และอินสตาแกรม หรือแม้แต่ผบู้ ริโภคยอมต่อแถวยาวเหยียดตามบูธทีโ่ ค้กไปเปิด เพือ่ ที่จะได้ประทับชื่อเล่นหรือค�ำชมแสดงความรู้สึกของตัวเองลงบน ขวด/กระป๋องโค้ก ทั้งเพื่อเก็บไว้เป็นที่ระลึกและเพื่อส่งต่อให้คน ใกล้ตัว นอกจากนี้โค้กยังเปิดโอกาสให้ผู้บริโภคได้ร่วมกิจกรรม สนุกๆ เพียงแค่ผู้บริโภคลงทะเบียนเพื่อร่วมสนุกที่ www.ICoke. co.th” แล้วสะสมบรรจุภณ ั ฑ์ฉลากพิเศษของเครือ่ งดืม่ โค้กทีม่ วี าง จ�ำหน่ายทีเ่ มืองไทย ทัง้ กระป๋องและขวด PET โดยผูท้ สี่ ะสมชือ่ และ ความรู้สึกชื่นชมได้หลากหลายที่สุด 5 อันดับแรกประจ�ำเดือน ตุลาคมและเดือนพฤศจิกายน สามารถเลือกรับรางวัลเป็นแพ็คเกจ ทัวร์พิเศษชมฟุตบอลโลกกันถึงขอบสนามที่ประเทศบราซิล หรือ รับบัตรชมคอนเสิร์ตระดับโลกที่ประเทศอังกฤษ พร้อมแพ็คเกจ ทัวร์ (1 รางวัลรับ 2 ที่นั่ง) ไม่เพียงเท่านั้น แคมเปญ “ต้องซ่า ต้อง กล้า ส่งโค้กให้” ยังได้เปิดตัวและประสบความส�ำเร็จอย่างสูงเป็น ปรากฏการณ์ในอีกกว่า 50 ประเทศ อาทิ ออสเตรเลีย อังกฤษ อิตาลี ฝรั่งเศส บราซิล เยอรมนี ออสเตรีย กรีซ และอิสราเอล แล้ว คุณล่ะ...ได้เป็นเจ้าของขวด/กระป๋องโค้กสุดพิเศษนีห้ รือยัง ถ้ายัง... คุณยังมีโอกาสได้เป็นเจ้าของถึงเดือนธันวาคม 2556 นี้เท่านั้น 13


อาจารย์กิตติ เศรษฐวรพันธุ์

อาจารย์ประจำ�หลักสูตร MBA in Logistics Management

The Smart Technology for Energy Saving & Lifestyle

ปัจจุบันประเทศไทยมีปริมาณการบริโภค พลังงานไฟฟ้าที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมากอย่าง ต่อเนื่องทุกปี ซึ่งเกิดจากการขยายตัวทาง เศรษฐกิจทั้งภาคเอกชนและรัฐบาล ส่งผล กระทบโดยตรงให้พฤติกรรมการบริโภค ภาคครัวเรือนสูงขึ้นด้วย นี่จึงเป็นสาเหตุ หลักทีท่ ำ� ให้เกิดการใช้พลังงานไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ ในทุกภาคส่วน ทั้งที่ทุกคนทราบดีว่าพลัง งานไฟฟ้าส่วนใหญ่ได้มาจาก “ถ่านหิน” ทรัพยากรธรรมชาติที่มีจ�ำกัด และประเทศ

ไทยต้องซือ้ มาจากต่างประเทศเพือ่ ผลิตเป็น พลังงานไฟฟ้า จุดนีถ้ อื เป็นความเปราะบาง ด้านความมั่นคงของชาติ ดังนั้นภาคครัว เรื อ นและเอกชนจะต้ อ งพั ฒ นาตนเอง เรียนรู้ และแก้ ไขพฤติ ก รรมการบริ โ ภค พลังงานให้เกิดความคุม้ ค่ามากทีส่ ดุ ขณะที่ รัฐบาลสรรหาแหล่งพลังงานไฟฟ้าทดแทน และจัดสรรพลังงานไฟฟ้าให้เพียงพอต่อ ความต้องการ รวมถึงการสร้างจิตส�ำนึกให้ แก่ประชาชนให้ตระหนัก ให้มีความรู้ และ

ส่ ง เสริ ม ทุ ก นโยบายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ ประหยัด พลังงานไฟฟ้า ซึ่งถือเป็นวาระ แห่งชาติให้เป็นรูปธรรมให้มากที่สุด เพื่อ ให้การใช้พลังงานไฟฟ้าเกิดประสิทธิ ภาพ สู ง สุ ด เพื่ อ ความยั่ ง ยื น และมั่ น คงด้ า น พลังงานของชาติ และเป็นการสร้างภาพ ลักษณ์ที่ดีในแง่ของความรับผิดชอบต่อสิ่ง แวดล้ อ มและสั ง คม ดั ง นั้ น ค� ำ ถามที่ เรา ต้องหาค�ำตอบคือ

“เราจะทำ�อย่างไรให้ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่เราใช้ในองค์กรปัจจุบัน เท่ากันกับ ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่เราต้องการใช้จริงๆ” ซึ่งถ้าท�ำได้ หมายความว่าเราสามารถลด ต้นทุนค่าไฟฟ้าต่อเดือนและใช้พลังงาน ไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อ เป็นการประหยัดพลังงานไฟฟ้าอย่างยัง่ ยืน และเป็นรูปธรรม

แบบน�ำร่องให้องค์กรภาคธุรกิจอืน่ เห็นความ จะลดการใช้พลังงานไฟฟ้าได้จริง แต่ในขณะ ส�ำคัญของการน�ำเสนอทางแก้ปญ ั หาทีเ่ ป็น เดียวกัน ปริมาณแสงสว่างที่ได้ก็จะลดลง มิตรต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ตามสัดส่วนของจ�ำนวนวัตต์ทลี่ ดลงด้วย ซึง่ ปัจจุบัน เรามีทางเลือกในการลดการใช้ สามารถดูได้จากค่าลูเมนต่อวัตต์ หมายถึง พลังงานไฟฟ้าแสงสว่างคือการปิดไฟดวง ค่ า ที่ แสดงปริ มาณของแสงสว่ า งที่ได้ต่อ การเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานในขณะที่ เว้นดวง ซึ่งจะเกิดปัญหาในเรื่องของการ ปริมาณพลังงานไฟฟ้า 1 วัตต์ ของหลอด ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้า ยังสะท้อน กระจายของแสงทีไ่ ม่ทวั่ ถึง หรือการเปลีย่ น ไฟฟ้าแต่ละประเภท ดังนี้ วิสยั ทัศน์การเป็นองค์กรทีม่ สี ว่ นรับผิดชอบ หลอดไฟที่มีก�ำลังวัตต์น้อยลง ซึ่งผลจาก ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ยังเป็นต้น การลดปริมาณวัตต์ของหลอดไฟนั้น แม้ว่า 14


ประเภทของหลอดไฟ 1.

หลอดไส้ (Incandescent)

2.

หลอดฮาโลเจน (Halogen)

3.

หลอดตะเกียบ (PL-C)

4.

หลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent T8)

5.

หลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent T5)

6.

หลอดดาวไลท์ LED (LED Downlight)

7.

หลอด LED T8 (LED T8)

8.

หลอดเมทัล ฮาไลท์ (Metal Halide)

ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ ใช้

ใช้งานกันมาตั้งแต่สมัยโทมัส เอดิสัน ให้แสงน้อย ปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว เป็นหลอดไฟที่ให้แสงสีเหลืองส้ม มีความร้อนสูง ให้แสงน้อย เป็นนวัตกรรมที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นการปฏิวัติหลอดไฟที่ดีที่สุด เพราะให้แสงมากขึ้นมาก หลอดอ้วน ใช้กับบัลลาสต์แกนเหล็ก ให้แสงมาก ทนทาน ราคาถูก หลอดผอม ใช้กับบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์

มี Driver ที่ขั้ว เพื่อง่ายในการเปลี่ยนจากหลอดเดิม ใช้แทนหลอดฟลูออเรสเซนต์ แต่แสงได้น้อยกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ทั่วไป ให้แสงสว่างสีค่อนข้างขาวใกล้เคียงกับแสงอาทิตย์มีประสิทธิภาพสูง

ค�ำถามเกิดขึ้นว่า “วิธีการเหล่านี้เป็นการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่มี ประสิทธิภาพในการใช้งานจริงมากน้อยเพียงใด” เนือ่ งจากมีปจั จัยทีต่ อ้ ง พิจารณามากกว่าปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ลดลง อาทิเช่น ปริมาณสัดส่วน พลังงานไฟฟ้าทีล่ ดลง ความคงทนและเสถียรของระบบ รวมถึงประสิทธิภาพ ในการจัดสรรพลังงานในสถานะการณ์ใช้งานจริง ดังนั้นเราจึงมีนวัตกรรมใหม่อีกหนึ่งทางเลือกที่จะสามารถจัดการพลังงาน ไฟฟ้าแสงสว่างให้มกี ารใช้อย่างมีประสิทธภาพสูงสุด โดยสามารถลดปริมาณ การใช้พลังงานได้มากและมีความยืดหยุ่นสูง ในสภาวะการใช้งานจริง นั่น ก็คือการควบคุมพลังงานและแสงด้วยอุปกรณ์ Lighting Power Controller ซึง่ หลักการของอุปกรณ์ Lighting Power Controller คือการใช้ไมโคร โปรเซสเซอร์ (CPU) ที่มีความเร็วสูง จัดการปรับลดปริมาณพลังงานไฟฟ้า ที่ใช้งานให้เหมาะสม สอดคล้องกับช่วงเวลาและสถานการณ์ที่ใช้พลังงาน ไฟฟ้าแตกต่างกัน โดยติดตั้งอุปกรณ์เสริมกับระบบไฟฟ้าแสงสว่างเดิม เท่านั้น ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำการเปลี่ยนหลอดไฟใหม่หรือเปลี่ยนระบบไฟฟ้า ใหม่แต่อย่างใด

N.C.W.I. Technology (Non Critical Wave Intersection)

ปริมาณแสง

10-15

Lumens/Watt

ปริมาณแสง

20

Lumens/Watt

ปริมาณแสง

70-75

Lumens/Watt

ปริมาณแสง

90-105

Lumens/Watt

ปริมาณแสง

90-100

Lumens/Watt

ปริมาณแสง

60-77

Lumens/Watt

ปริมาณแสง

70-90

Lumens/Watt

ปริมาณแสง

100-200

Lumens/Watt

N.C.W.I. Technology เป็นแนวคิดจากประเทศเยอรมัน ที่มีจุดประสงค์เพื่อลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าแสง สว่าง ด้วยการตัดส่วนเกินทีไ่ ม่จ�ำเป็นทีอ่ ยูใ่ นรูปของความ ร้อน (Heat Lost) ในบัลลาสต์แกนเหล็กออกไปจาก กระบวนการท�ำงานของหลอดไฟฟ้า โดยใช้ระบบ Microprocessor ควบคุมอุปกรณ์ Power Electronic เพื่อ จัดการควบคุม และปรับลดปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่สูญ เสียไปกับความร้อนให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม และที่ ส�ำคัญที่สุดคือกระบวนการดังกล่าวจะไม่กระทบต่อค่า Minimum Holding Voltage ที่หลอดไฟต้องการในการ จุดสตาร์ทและรักษาสถานะการท�ำงานของหลอดไฟแต่ อย่างใด ดังนัน้ หลอดไฟจะไม่เกิดการกระพริบหรือดับ ด้วย เทคโนโลยีการตัดรูปให้คลื่นส่วนที่ไม่ส�ำคัญ (พลังงาน ไฟฟ้าที่สูญเสียไปกับความร้อน) ออกไป และจัดคลื่นที่ เหมาะสมสูร่ ะบบของหลอดก๊าซชนิดต่างๆ อาทิเช่น หลอด Fluorescent ซึง่ อยูใ่ นกลุม่ ประเภท Low Pressure และ หลอด Mercury Vapor, High Pressure Sodium, Metal Halide ซึ่งเป็นกลุ่มประเภท High Pressure ใน ขณะทีร่ ะบบหรีห่ รือ Dimmer ธรรมดาไม่สามารถจัดการ ได้ ดังนั้นหลักการ N.C.W.I. นี้เราสามารถลดการใช้ พลังงานไฟฟ้าส�ำหรับแสงสว่างได้สงู สุดถึง 50% ให้เหมาะ สมกับการใช้งานตามช่วงเวลา และยังมีข้อดีอีกประการ หนึ่ ง คื อ อายุ ก ารใช้ ง านของหลอดไฟจะยาวนานขึ้ น เนื่องจากการ burn แก๊ซในหลอดจะน้อยลง อุณหภูมิที่ ขั้วหลอดก็จะลดลงตามเปอร์เซ็นต์การปรับลดพลังงาน ไฟฟ้าลงด้วย 15


ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์

ผู้อำ�นวยการหลักสูตร MBA in S-HRM

Corporate University มิติใหม่ของ HRD

รูปที่ 1: Collaborative CU

มุมมองด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ปัจจุบัน มองเห็นการเพิ่ม มูลค่าของตัวบุคคลหรือพนักงานในองค์กรเป็นสิง่ ส�ำคัญ การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development: HRD) จึงเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาพนักงานในองค์กรให้มีความรู้ ความสามารถที่มากขึ้น และเป็นผู้มีความรู้ความสามารถที่เป็นที่ ต้องการขององค์กร ค�ำว่า “เป็นผู้มีความรู้ความสามารถที่เป็นที่ต้องการขององค์กร” นีแ่ หละคือประเด็นส�ำคัญว่า องค์กรธุรกิจจะท�ำอย่างไร ทีจ่ ะพัฒนา คนเหล่านัน้ ให้มคี วามสามารถผ่านการฝึกอบรม พัฒนาหลากหลาย รูปแบบ ซึง่ ค�ำถามทีเ่ กิดตามมาก็คอื การฝึกอบรมทีฉ่ าบฉวยในเวลา 2-3 วันในประเด็นที่หลากหลายเหล่านั้น (Fancy Training) มี ผลลัพธ์สามารถตอบโจทย์ได้จริงหรือ? การด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบนั องค์กรไม่สามารถเก่งเฉพาะตนเอง หาก แต่ว่าการแบ่งงานกันท�ำเป็นส่วนๆ ตลอดห่วงโซ่แห่งคุณค่าทาง ธุรกิจ (Value Chain) จึงต้องการพัฒนาคนเก่งตลอด Value Chain ด้วย Corporate University (CU) จึงเป็นทางออกที่ตอบโจทย์ ส�ำหรับการด�ำเนินธุรกิจแห่งยุคปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะ CU เป็นแนว ความคิดในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ร่วมกันทั้ง Value Chain ดังแสดงในรูปที่ 1 16

CU คืออะไร หากมองในแง่มมุ ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์แล้ว CU คือเครื่องมือทางกลยุทธ์อย่างหนึ่ง ที่บริษัทแม่ใช้ในการสร้าง สติปัญญาขององค์กรให้คงอยู่อย่างยั่งยืน CU จะเป็นหน่วยงาน กลางที่รวบรวมความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ถ่ายทอดให้กับพนักงาน รวมไปถึงด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่จะสร้างองค์ความรู้ให้กับตัว พนักงาน สร้างบรรยากาศขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ไปจนถึงเป็น แหล่งพัฒนาสติปัญญาใหม่ๆ ขององค์กร แล้วน�ำมาเก็บไว้ แล้วน�ำ ไปพัฒนาต่อ วนเป็นวงจรไปอย่างต่อเนื่อง และจากรูปที่ 1 จะเห็น ว่าองค์ความรู้เหล่านั้นไม่ใช่มาจากบริษัทแม่เพียงอย่างเดียว ยัง สามารถน�ำมาจาก สังคม (Social) คู่ค้า (Vender/Supplier) และ ลูกค้า (Customer) ได้อีกด้วย ซึ่งองค์ความรู้เหล่านี้นี่เองที่ตอบ โจทย์และเป็นเครื่องมือทางกลยุทธ์ในการพัฒนาคนอย่างแท้จริง


HRD กับพัฒนาการสู่ CU

การจัดโครงสร้างในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละองค์กรมีระดับพัฒนาการที่แตกต่างกัน บางองค์กรงาน HRD ถือเป็นงานฝาก ซ่อนอยู่ในส่วนงานอื่น ต่อมาเมื่อมีความส�ำคัญมากขึ้นจะมีฝ่ายฝึกอบรม (Training Department) แยกออกมาเฉพาะ และเมื่อเริ่มเห็น ความส�ำคัญเพิม่ ขึน้ มีวธิ กี ารพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทมี่ คี วามหลากหลายมากขึน้ ก็จะตัง้ เป็นศูนย์เรียนรู้ หรือศูนย์พฒ ั นาทรัพยากรมนุษย์ (Learning Center) แต่หากขอบเขตการให้บริการครอบคลุมถึง คู่ค้า พันธมิตรด้วย ความเป็น CU ก็เริ่มปรากฏขึ้น อาจเรียกว่าเป็น In house Corporate U ก็ว่าได้ ดังแสดงในรูปที่ 2

รูปที่ 2: HRD in CU Context

จากรูปที่ 2 CU อาจพัฒนาไปถึงขัน้ บริการการ ศึกษาให้กับบุคคลทั่วไป ให้ปริญญาได้ อย่าง นี้เรียกว่าเป็น Public Corporate U ซึ่งถือว่า เป็นพัฒนาการขัน้ สูงสุดของ CU จะเห็นว่า CU ท�ำให้การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สง่ คุณค่าต่อ ธุรกิจโดยตรง จนเรียกได้ว่า CU ท�ำให้ HRD Strategy เป็น HRD Business Strategy

ทุกองค์กรเป็นเจ้าของ CU ได้

การเห็นคุณค่าของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ในฐานะกลยุทธ์ธุรกิจอย่างนี้ จึงเสนอให้ทุก องค์กรหันมาให้ความสนใจพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ครบทัง้ Value Chain ซึง่ เป็นความร่วมมือ กั น ของกลุ ่ ม พั น ธมิ ต รธุ ร กิ จ ซึ่ ง เดิ ม คิ ด แต่ ประเด็ น ทางธุ ร กิ จ ได้ หั น มาร่ ว มมื อ กั น ใน ประเด็นด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไป ด้วยกัน เพือ่ ความสามารถทางการแข่งขันของ กลุ่มพันธมิตรธุรกิจที่ยั่งยืน 17


เชื่อหรือไม่?

MARTINI

คุณเคยได้ยินว่า ที่ญี่ปุ่นมีแตงโมทรงสี่เหลี่ยม ใช่ไหมล่ะ?แต่ถ้าเป็นรูปหัวใจล่ะ

เชื่อหรือไม่? หลังจากใช้เวลา

ศึกษามาหลายปี Mr.Hiroichi Kimura เกษตรกรจาก จังหวัดคุมาโมโตะก็ท�ำส�ำเร็จ แตงโมรูปหัวใจของ Mr.Kimura เป็นแตงโมที่มีความกรอบและความหวานของเนื้อแตงโม เข้ากันได้อย่างลงตัว อีกทั้งยังได้รับความนิยม เป็นอย่างมากในกลุ่มวัยรุ่น โดยเฉพาะในช่วงเทศกาล วันวาเลนไทน์

นักวิจัย Changing Places จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซ็ตส์ (MIT) สหรัฐอเมริกา ร่วมกับ DENOKINN จากสเปน พัฒนารถยนต์รุ่นใหม่ที่พับเก็บตัวเองได้เพื่อให้พอดีกับที่ จอดรถ รถยนต์ดังกล่าวชื่อ ฮิริโก โฟลด์ (Hiriko Fold) เป็น รถยนต์อีโคคาร์ (Eco Car) เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ขับเคลื่อน ด้วยพลังไฟฟ้า มีขนาดกะทัดรัด 2 ที่นั่ง เป็นซิตี้คาร์อย่าง แท้จริงเพราะมีความคล่องตัวสูง ชาร์จหนึ่งครั้งวิ่งได้ไกล 75 ไมล์หรือราว 120 กิโลเมตร พวงมาลัยหมุนได้ รอบทิศทาง ช่วยให้หักเลี้ยวเข้าจอด ในมุมแคบได้สะดวก อีกด้วย

เชื่อหรือไม่?

ทมี่ า http ://a nn

อีกไม่นาน เราก็จะอ�ำลาปี 2556 และก้าวเข้าสู่ปีใหม่ 2557 อะไรเป็นเหตุผล

ww.energysavin g m e d ttp://w ia.co h/ h m .or.t .nia ww

t-shaped-watermelo s/hear n.htm w e n / l htt h t / p:/ .l org /w e g

ที่ท�ำให้ชีวิตเราซึ่งก้าวเดินไปข้างหน้าทุกวันนั้นดีขึ้น ค�ำตอบง่ายๆ คือเราทุกคนต่างมีความฝัน มีความคิด

“ใหม่”

และลงมือท�ำสิ่งใหม่ๆ อยู่เสมอ ค�ำว่า นี่แหละ เป็นค�ำตอบ โลกใบนี้จึงน่าอยู่ขึ้นส�ำหรับทุกคน Believe it or not ฉบับนี้ขอรวบรวม สิ่งประดิษฐ์ที่ถือเป็นนวัตกรรม ใหม่ๆตลอดช่วงปี 2556 มาดูกันว่ามีนวัตกรรม อะไรบ้างที่ท�ำให้ชีวิตเรา มีสีสันสดใสมากขึ้น

เชื่อหรือไม่?

นักออกแบบจากสหรัฐอเมริกา มีความคิดสร้างสรรค์ประดิษฐ์โคมไฟ ที่มีรูปลักษณ์เป็นหนังสือ ชื่อว่า “Lumio” เป็นหนังสือ ขนาดกะทัดรัด สามารถพกพาไปไหนมาไหนได้สะดวกเมื่อ กางออกจะกลายเป็นโคมไฟให้แสงสว่าง “Lumio”เป็นได้ทั้ง โคมไฟตั้งโต๊ะ โคมไฟติดผนัง หรือโคมไฟส�ำหรับอ่านหนังสือ วิธีใช้ก็แสนง่าย เพียงแค่เปิดหนังสือออกเมื่อต้องการใช้และ พับปิดลงเมื่อเลิกการท�ำงาน โดยไม่จ�ำเป็นต้องใช้สายไฟ ให้ยุ่งยาก เพราะโคมไฟท�ำงานด้วยแบตเตอรี่ลิเธียม ไอออนที่ให้พลังงานได้นาน 8 ชั่วโมง โดยไม่ต้องชาร์จใหม่ 18

แผ่นเจลห้ามเลือดภายในร่างกาย จากบริษัท บุณยนิตย์วัสดุการแพทย์ จ�ำกัด สามารถห้ามเลือดระหว่างผ่าตัดได้รวดเร็ว และย่อย สลายได้ในร่างกาย เพราะเป็นแผ่นเจลที่ได้จากแป้งข้าวเจ้า บริสุทธิ์ น�ำมาดัดแปลงโครงสร้างทางกายภาพให้เป็นเจลและ เพิ่มสารเติมแต่งให้มีฤทธิ์เป็นกรด เมื่อสัมผัสของเหลวภาย ในร่างกาย และสิ่งส�ำคัญแผ่นเจลห้ามเลือดภายในจาก ข้าวเจ้านี้ยังได้คว้ารางวัลสุดยอดนวัตกรรม ข้าวปี 2556 ด้านอุตสาหกรรม อีกด้วย

เชื่อหรือไม่?

“ที่เย็บกระดาษแบบไม่ต้องใช้ลวด เย็บกระดาษ” เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยลดขยะ อันเกิดจากลวดเย็บกระดาษ ซึ่งแม้จะเป็นเพียงสิ่ง เล็กๆ แต่ก็มีการใช้งานในปริมาณมหาศาลเลยทีเดียว หลักการท�ำงานของเจ้าเครื่องนี้น่าทึ่งไม่น้อยเลยล่ะ เพราะกลไกที่คิดประดิษฐ์ขึ้นนั้นไม่ใช่การประดิษฐ์ อีกสิ่งเพื่อมาใช้แทนลวดเย็บกระดาษ แต่มันท�ำ ให้กระดาษที่เราจะเย็บนั่นแหละให้เป็น ตัวยึดติดกระดาษด้วย กันเอง



iMBA@PIM

หลักสูตรบริหารธุรกิจ จากนวัตกรรมทางความคิด นวั ต กรรมไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ เ ป็ น รู ป ธรรมที่สัมผัสหรือจับต้องได้ เพี ย งอย่ า งเดี ย ว แต่ ร วมถึ ง กระบวนการคิด เทคนิค และวิธี การต่างๆ ที่น�ำไปใช้เพื่อให้เกิด สิ่งที่แตกต่างและพัฒนาให้ดีขึ้น ได้อีกด้วย การเรียนการสอนก็ เป็ น อี ก ศาสตร์ ที่ ส ามารถใช้ นวัตกรรมทางความคิดมาช่วย ให้ ผู ้ เ รี ย นสามารถคิ ด ได้ ด ้ ว ย ตนเอง เข้าใจตนเองและคิดนอก กรอบ เพื่อต่อยอดความสนใจ หรือเป้าหมายของตนเองให้เกิด ขึ้นเป็นรูปธรรมที่มีคุณค่าขึ้นมา 20

สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ (PIM) ให้ความส�ำคัญกับ “นวัตกรรม” เราเปิดหลักสูตรทัง้ ในระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยจุดเริ่มต้นของแต่ละหลักสูตรนั้นอาจจะแตกต่างกับ สถาบันการศึกษาอื่นเสียหน่อย ตรงที่เราเน้นมองตลาดแบบ outside-in เราเริ่มด้วยค� ำถามที่ว่า ตอนนี้ภาคธุรกิจขาดอะไร ต้องการคนแบบไหน แล้วจึงเปิดแต่ละหลักสูตรขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์นั้น ปีนี้ถือเป็นอีกก้าวใหม่ที่ส�ำคัญของสถาบันฯ เพราะอีกเพียงปีกว่าๆ เท่านั้น ประเทศไทยจะก้าวเข้า สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในฐานะของสถาบันการศึกษาเองก็จ�ำเป็นต้องเตรียมตัวและ ปรับตัวให้พร้อม จึงเปิดหลักสูตรใหม่ขึ้นหลายหลักสูตร หนึ่งในนั้นคือหลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ – iMBA) เป็นหลักสูตรเปิดโอกาสให้ ผู้สนใจศึกษาการบริหารธุรกิจ โดยมีจุดเด่นที่เน้นกรอบความคิดการบริหารเชิงตะวันออก ซึ่งก�ำลัง ผงาดสู่โลกธุรกิจอย่างน่าเกรงขาม ขณะเดียวกันก็ผสานแนวการบริหารเชิงตะวันตกซึ่งยังคงมี บทบาทส�ำคัญต่อโลกธุรกิจและอุตสาหกรรมในปัจจุบนั ก่อนหน้านี้ สถาบันฯ เปิดการเรียนการสอน บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรภาษาไทย (TMBA) และภาษาจีน (CMBA) ให้กบั นักศึกษาทีส่ นใจ ด้านการบริหารธุรกิจ เมื่อเห็นถึงแนวโน้มโลกธุรกิจว่าควรมีการผสานแนวคิดและองค์ความรู้ของ ทัง้ ฝัง่ ตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกันในการบริหารและสร้างความเข้าใจในการท�ำธุรกิจ ซึง่ ภาษา อังกฤษคือสิ่งจ�ำเป็นในการสื่อสารแบบสากล ดังนั้นหลักสูตร iMBA จึงได้เกิดขึ้น


ส�ำหรับจุดเด่นของหลักสูตร iMBA คือมีการเรียนการสอนที่ ผสานการเรียนในชั้นเรียนที่เน้น interactive และ two-way communication คือ เน้นการสือ่ สารระหว่างผูเ้ รียนและผูส้ อน โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก นักศึกษาสามารถสอบถามหรือ ชี้แจงกับอาจารย์ผู้สอนได้อย่างตรงไปตรงมา สามารถแสดง ความคิดเห็นได้ทั้งแบบต่อหน้า (Face to Face) หรือผ่านช่อง ทางอิเลคทรอนิกส์อนื่ ๆ นอกจากนีน้ กั ศึกษาสามารถเรียนรูผ้ า่ น การศึกษาดูงานนอกสถานที่ (Field Trip) ที่ผู้เรียนสามารถเห็น ลั ก ษณะการท� ำ งานจริ ง จากสถานประกอบการที่ มี ค วาม เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในหลักสูตรยังมี หมวดวิชา China & AEC Module ซึง่ มีเนือ้ หาเกีย่ วกับลักษณะ การด�ำเนินธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่งถือเป็นก้าวย่าง ส�ำคัญทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ ในไม่ชา้ ในโลกธุรกิจปัจจุบนั นอกจากนี้ ผู้เรียนยังได้รับค�ำแนะน�ำจาก Corporate Mentors ซึ่งเป็น ระดั บ ผู ้ บ ริ ห ารที่ ส ละเวลามาช่ ว ยแบ่ ง ปั น ความรู ้ แ ละ ประสบการณ์ในการบริหารและประกอบธุรกิจที่ตรงกับความ สนใจของนักศึกษาแบบหนึ่งต่อหนึ่ง เหล่านี้คือตัวอย่างของ นวัตกรรมทางความคิดที่ท�ำให้เกิดหลักสูตร iMBA ที่พัฒนา หลักสูตรบริหารธุรกิจให้เกิดความต่างอย่างสร้างสรรค์ ลองมาดูมมุ มองของนักศึกษา iMBA ทีม่ ตี อ่ คำ�ว่า "Innovation" จากภาคการศึกษาไปสู่โลกธุรกิจจริง

Innovative Product “Laily” ผลิตภัณฑ์สปาส�ำหรับชีวิตที่ง่ายขึ้น “การเรียน iMBA ช่วยท�ำให้ผมเห็นภาพการท�ำธุรกิจในภาพ กว้างมากขึ้น คือทุกวันนี้การแข่งขันสูง เราไม่ควรหยุดนิ่งที่จะ ใช้ความคิดพัฒนาต่อยอดธุรกิจให้เกิดสิ่งใหม่เพื่อตอบสนอง ความต้องการของคน เพราะความต้องการและพฤติกรรมของ ลูกค้ามีได้ไม่จ�ำกัด ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ทั้งเพศ อายุ เชื้อชาติ ลักษณะครอบครัว หรือลักษณะสังคม เราจึงต้องสังเกต เรียนรู้ พยายามคิดต่อยอด และสร้างสินค้าใหม่ๆ เพื่อให้ตอบโจทย์ ความต้องการให้มากที่สุด อย่างสินค้าของผมเองซึ่งเป็นสินค้า ประเภท Spa Product อยู่ในตลาดที่มีการแข่งขันสูง ผมก็ พยายามสร้างความโดดเด่นและแตกต่าง เช่น Body salt scrub จากเดิมมักท�ำให้ผิวแห้งและไม่กักเก็บความชุ่มชื้น Laily จึง คิดค้นเนือ้ สัมผัสและปรับเปลีย่ นส่วนผสมเพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้เป็นสครับเนื้อบัตเตอร์ที่เป็น all in one scrub คือเป็น สครับขั้นตอนเดียวที่ท�ำหน้าที่ทั้งบ�ำรุงและท�ำความสะอาดผิว ซึ่งส่วนประกอบหลักคือน�้ำนม ซึ่งน�้ำนมจะช่วยบ�ำรุงผิวพรรณ ให้ดูอ่อนนุ่มและชุ่มชื้น” นายเจนวิทย์ หงส์ปิติเจริญ (เกี๋ยง)

21


OVERSEAS EDU พื้ น ที่ ข อง Alumni’s Corner ฉบั บ นี้ ข อรวบรวม บรรยากาศกิจกรรมของนักศึกษา Panyapiwat MBA รุ่น 6 (ชั้นปีที่ 2) ที่ ไปเก็บเกี่ยวประสบการณ์และความรู้ ด้าน Business Innovation ไกลถึงต่างแดน กับกิจกรรมศึกษาดูงานต่างประเทศ ประจ�ำปี 2556 จุดหมายปลายทางของ ทริปนี้คือ นครเซี่ยงไฮ้ หรือ ช่างไห่ ในภาษาจีน ซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษและถือเป็นเมืองที่ ใหญ่ที่สุดของจีนนั่นเอง

จากนั้นคณะดูงานเดินทางมาเยือน Landmark ส�ำคัญของนคร เซี่ยงไฮ้ ซึ่งคือ “หาดเจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้” และ “หอไข่มุกตะวันออก” ซึง่ มีความสูงถึง 468 เมตร ท�ำให้เราได้ชมวิวทิวทัศน์ทสี่ วยงามและ เช้าวันที่ 22 สิงหาคม 2556 นักศึกษา MBA ทัง้ สาขา Retail Logis- ทันสมัยของเมืองเซี่ยงไฮ้ได้แบบ 360 องศา tics และ S-HRM ทุกคนบินลัดฟ้ามาถึงสนามบินผู่ตง ที่หมายแรก เช้ า วั น ที่ 23 สิ ง หาคม ของการดูงาน คือ “โรงงานผลิตรถยนต์ SAIC Motor Corpora2556 ทุ ก คนตื่ น มาด้วย tion Limited” ซึง่ ถือเป็นหนึง่ ในกลุม่ Big Four ของผูผ้ ลิตรถยนต์ ความสดชืน่ พร้อมส�ำหรับ รายใหญ่ในสาธารณรัฐประชาชนจีน ณ ปัจจุบันถือเป็นบริษัทที่มี การเดิ น ทางสู ่ ย ่ า นศู น ย์ ก�ำลังการผลิตรถยนต์มากที่สุดในประเทศ (ประมาณ 5 ล้านคัน/ กลางการค้าเศรษฐกิจฝั่ง ปี) และไม่กี่ปีที่ผ่านมาก็ได้ joint venture กับบริษัทรถยนต์ค่าย เมืองใหม่ของเซี่ยงไฮ้ ซึ่ง ใหญ่อย่าง Volkswagen และ General Motors ด้วย ดังนัน้ โรงงาน เป็นที่ตั้งของ “ซุปเปอร์ แห่งนี้จึงผลิตรถยนต์แบรนด์หรูออกขายในจีนเป็นหลักนั่นเอง แบรนด์ มอลล์” (Super

เจ้าหน้าที่พาเรานั่งรถเข้าไปชมถึงสายการผลิตอย่างใกล้ชิด ก็พบ ว่าความพิเศษของโรงงานแห่งนี้ก็คือทุกๆ 7 นาที สามารถผลิต รถยนต์ออกมาได้ 1 คัน โดยใช้ระบบสั่งการด้วยคอมพิวเตอร์ให้ แขนกลต่างๆ ท�ำงานผลิต ซึ่งในสายการผลิตเดียวกันสามารถสั่ง ผลิตรถยนต์รนุ่ หรือโมเดลทีแ่ ตกต่างกันสลับได้อย่างต่อเนือ่ ง สร้าง ความประทับใจให้นักศึกษาของเราอย่างยิ่ง

22

Brand Mall) ผู้น�ำแห่ง ศู น ย์ ก ารค้ า และความ บันเทิงทันสมัยในจีนตะวัน ออก จนได้ รั บ การจั ด อันดับเป็น Top 10 Commercial Landmarks in Shanghai และยั ง เป็ น หนึ่ ง ในโครงการลงทุ น ที่ ส� ำ คั ญ ของเครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ ใ นสาธารณรั ฐ ประชาชนจีนอีกด้วย


UCATION TRIP @ SHANGHAI ที่นี่เรามีนัดกับ “คุณประเสริฐศักดิ์ องค์ วั ฒ นกุ ล ” กรรมการผู้จัดการ ใหญ่ กลุม่ ธุรกิจยานยนต์และอุตสาหกรรมเครือเจริญโภคภัณฑ์ในจีน ผูท้ มี่ ี ประสบการณ์การท�ำธุรกิจในจีนมากว่า 40 ปี ให้เกียรติบรรยายให้ความรู้แก่ นักศึกษาถึงแนวคิด วัฒนธรรมการ สร้างชาติ ศักยภาพการแข่งขันทาง ธุรกิจของจีน ท�ำให้นกั ศึกษา MBA ได้ ความรูอ้ นั เป็นประโยชน์มหาศาลจาก ผู้น�ำองค์กรที่เก่งฉกาจเช่นนี้ ต่อด้วยการบรรยายให้ความรู้เรื่องกลยุทธ์แห่งความส�ำเร็จของ ซุปเปอร์แบรนด์มอลล์จาก “คุณชนัยพร เดชะปัญญา ผูอ้ ำ� นวยการ ศูนย์การค้าซุปเปอร์แบรนด์มอลล์” พร้อมทั้งน�ำเหล่านักศึกษาไป เดินเยีย่ มชมภายในศูนย์การค้าอีกด้วย เมือ่ ความรูอ้ ดั แน่นเต็มเปีย่ ม

แล้ว ก็ถงึ เวลาของความบันเทิงบ้าง ตลอดระยะเวลาทีเ่ หลืออีกหนึง่ วันครึ่ง นักศึกษา MBA ของเราก็ตะลุยเที่ยวและชอปปิ้งกันเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็น Walking Street ถนนนานกิง วัดพระหยก ร้านผ้า ไหม ศูนย์สมุนไพร โรงงานท�ำหยก และแหล่งชอปปิ้งสินค้าก๊อปปี้ แห่งใหม่นามว่า เถาเป่าเถิง เรียกได้ว่างานนี้ Pocket Money ที่ แลกกันมาสลายหายไปในพริบตา

ตบท้ายด้วยไฮไลต์พเิ ศษสุดของทริปด้วยการนัง่ รถไฟแม่เหล็กแมกเลฟ (Maglev Train) ที่มีความเร็วสูงที่สุดในโลก เทียบเท่า 430 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง แต่ ค วามตื่ น เต้ น ของคณะดู ง านของเรากั บ ความเร็วของรถไฟทีส่ ปิน้ ขึน้ ไปถึง 300 กว่ากิโลเมตร/ชัว่ โมงนัน้ สัน้ เหลือเกิน เนื่องจากการเดินทาง 40 กิโลเมตรของเราเพื่อไปยัง

สนามบินผู่ตงนั้น รถไฟขบวนนี้ใช้เวลาเพียงแค่ 7 นาทีเท่านั้น ยัง ชักภาพกันได้ไม่ครบทุกคนเลยก็ถงึ สถานีปลายทางเสียแล้วเอาเป็น ว่าทริปดูงานต่างประเทศในปีนเี้ ป็นอีกหนึง่ การเดินทางดีๆ ทีเ่ หล่า เพื่อนพ้อง MBA รุ่น 6 นั้น ได้มีโอกาสเก็บเกี่ยวทั้งความรู้และ ประสบการณ์นา่ ประทับใจทีห่ าทีไ่ หนไม่ได้แล้ว นอกจากทีน่ ที่ เี่ ดียว “ห้องเรียน PANYAPIWAT MBA” สุดท้ายนี้ขอขอบคุณรูปภาพสวยๆ จากคุณศรายุทธ หรือพี่อู๋ RT รุ่น 6

ตามมาด้วยข่าวที่น่ายินดีอย่างยิ่ง ส�ำหรับ Panyapiwat MBA รุน่ 4 กับคุณเพชรไพลิน สายสุวรรณ (คุณเพชร) สาวน้อยหน้าแป้น ของรุ่น 4 จากสาขาวิชา Retail Business management และ คุณศรัณย์ สาวะดี (คุณบวบ) หนุ่มน้อยโปรแกรมเมอร์แห่ง PIM ของเรานั่นเอง ที่ลั่นระฆังวิวาห์กันไปเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2556 ที่สโมสรต�ำรวจความรักของรุ่นพี่สุกงอมไปแล้ว ทางด้านอาจารย์ก็ไม่น้อยหน้าเช่นกัน อาจารย์ ดร.กิตติ เศรษฐวรพันธุ์ อาจารย์สุดหล่อประจ�ำหลักสูตร Logistics ก็ได้สละโสด กับอาจารย์สาวสุดสวย ดร.เอมม่า อาสนจินดา อาจารย์ประจ�ำคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ไปเมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 ธันวาคม 2556 ทีโ่ รงแรมธรรมรินทร์ธนา จังหวัดตรัง ในนามของ Panyapiwat MBA จึงขอแสดงความยินดีย้อนหลังมา ณ ที่นี้ด้วย ขอให้ ทั้งสองคู่อยู่ครองคู่กันอย่างมีความสุข เป็นคู่ที่น่ารัก สดใส แบบนี้ ไปนานแสนนาน ถือไม้เท้ายอดทอง กระบองยอดเพชร มีหลาน น่ารักๆ ให้กับชาว Panyapiwat MBA เร็วๆ นะคะ

แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ ติดตามความสนุกครั้งต่อไปได้ทาง ค้นหาค�ำว่า “Panyapiwat MBA”

23



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.