Welcome เปิดเทอม
2
PIM Magazine \ May 2001
Say hi
lssue June 2012
04
PIM Lobby
06
PIM Highlight
12
คนเก่ง PIM
14
Letter From OSAKA
16
WWW : World Wide Web
18
PIM in Trend
19
New Innovation
20
Our Network
21
What’s New
22
What’s Next
w.warintara@gmail.com
เมือ่ มองมาทีเ่ รือ่ งการเลือกเรียน จึงต้องถามตัวเองว่าอยากประกอบ อาชีพอะไร ที่ต้องท�ำงานไปอีก 40 ปี ถามตัวเองว่านิสัยเราเป็นอย่างไร เป็นคนชอบเงียบๆ หรือเฮฮาพบปะผู้คน เลือกให้ได้ แล้วค่อยมองว่าจะ ไปเรียนทีไ่ หน เพราะบริษทั เอกชนไม่ได้สนใจว่าคุณเรียนจบสถาบันไหน มา แต่จะพิจารณาว่าคุณท�ำงานเป็นไหม ซึง่ บางแห่งก็พจิ ารณาตัง้ แต่เรา ยังเป็นนักศึกษาฝึกงาน
สวัสดีสมาชิก PIM Magazine ทุกคนค่ะ
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (Panyapiwat Institute of Management) PIM Magazine : พี ไอ เอ็ม แมกกาซีน ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 เดือนพฤษภาคม 2555 สำ�นักสื่อสารองค์กร
ที่ปรึกษา: พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล บรรณาธิการบริหาร ปาริชาต บัวขาว บรรณาธิการ วรินทรา วิริยา กองบรรณาธิการ ดร.ธันยวัต สมใจทวีพร มนตกานต์ วีรชัยเดชอุดม ชนิดา วนารักษ์สกุล พิสูจน์อักษร สุธาสินี พ่วงพลับ กันย์อักษร ชื่นชมภู อรทัย ทับทองห้วย ศิลปกรรม เอกภพ สุขทอง
คฑาเทพ พงศ์ทอง จุฬนี ศิริขันธ์ วาร์วี ชานวิทิตกุล คฑาเทพ พงศ์ทอง ชนิดา วนารักษ์สกุล
85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำ�บลบางตลาด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2832 0200 ถึง 14 โทรสาร 0 2832 0391 85/1 Moo 2 Chaengwattana Road Bang-Talad Nonthaburi 11120 THAILAND Tel. 0 2832 0200 to 14 Fax 0 2832 0391
เริ่มต้น Say Hi ทักทายกันด้วยข้อคิดดีๆ จาก อ.พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รองอธิก ารบดีฝ ่ายบริหาร สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) ที่ ให้ สัมภาษณ์ไว้ใน Manager Online “สอบเข้ามหา’ลัยไม่ติด ชีวิตยังมีทางเลือก” ส�ำหรับน้องที่พลาดหวังจากการสอบ admission เข้ามหาวิทยาลัยในฝัน PIM Magazine ขอเป็นก�ำลังใจให้มีพลังที่จะก้าวข้ามช่วงเวลานี้ไปให้ได้นะคะ เสียใจได้ ล้มได้ แต่อย่านาน! ต้องรีบลุกขึ้นแล้วก้าวเดินต่อไป หนทางข้างหน้า ยังอีกยาวไกล ล้มนานเดี๋ยวตามคนอื่นไม่ทันนะ PIM Magazine กลับมาฉบับนี้ อัดแน่นด้วยเนื้อหาทั้งสาระและบันเทิง หลากหลาย มาไขข้อข้องใจกันว่า Corporate University คืออะไร แตกต่างจาก มหาวิทยาลัยทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั มากน้อยขนาดไหน แล้วถ้าเลือกเรียนในสถาบัน ลักษณะนี้ การเรียนการสอนหรือเนือ้ หาวิชาทีเ่ รียนจะเหมือนทีอ่ นื่ ๆ หรือไม่ หรือ ว่า Work-based Learning ที่ช่วงนี้เริ่มมีพูดเข้าหูบ่อยๆ เค้าเรียนกันแบบไหน จะดีหรือไม่ อย่างไร หาค�ำตอบที่ PIM Highlight และต้อนรับคอลัมน์ใหม่ “WWW : World Wide Web เก็บโลกมาเล่า” โดย อ.คทาเทพ พงศ์ทอง เปิดตัวด้วย “หลากวัฒนธรรมคนท�ำงาน” อยากรู้ว่าชาติ ไหน มีวัฒนธรรมในการท�ำงานอย่างไร สงสัยหรือไม่ รู้เขารู้เราก่อนเข้าท�ำงาน หรือติดต่อองค์กรข้ามชาติ ลองอ่านดูนะคะ พลาดไม่ได้กับ จดหมายจากโอซาก้า ฉบับแรกจากน้องๆ รุ่นที่ 2 เขียนมา เล่าให้เราฟังถึงวันแรกของการเริม่ ต้นในการใช้ชวี ติ ต่างแดน จะเศร้าเคล้าน�ำ้ ตา หรือเฮฮาอย่างไร มีใครมาแนะน�ำข้อคิดและเคล็ดลับ ลองติดตาม บอกใบ้ให้วา่ ไม่ใช่คนอื่นคนไกล ไม่ไหวแล้วค่ะ ถ้าจะบรรยายสรรพคุณของ PIM Magazine ฉบับนี้ คงใช้ พื้นที่อีกหลายหน้ากระดาษ ขอให้มีความสุขกันทุกคนนะคะ คิดถึงเหมือนเดิมค่ะ
PIM Lobby
PIM สร้างความร่วมมือกับ Brunel University
PIM Open House ครั้งที่ 3 “เจาะลึกแนวทางการศึกษาใหม่ Corporate University”
ส�ำนักสือ่ สารองค์กร จัดโครงการเปิดบ้าน PIM ต้อนรับอาจารย์แนะแนวจาก 25 โรงเรียน เพื่อกระชับความสัมพันธ์อันดีและเผยแพร่ ข้อมูลเชิงลึกว่าด้วยการสนับสนุนของกลุ่ม บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) รวมถึง พันธมิตรที่มีต่อสถาบันฯ ทั้งในแง่องค์ความรู้ และสถานที่ ฝ ึ ก งาน ตลอดจนรั บ ฟั ง การ บรรยายพิเศษในหัวข้อ “การค้นหาศักยภาพ ที่ซ่อนอยู่ในตัวคุณผ่านลายผิววิทยา” โดย คุ ณเบญญาภา ชาติ เจริ ญ ศูน ย์ วิ เคราะห์ ศักยภาพปัญญธารา (P-PAC)
PIM ให้การต้อนรับคณะเยี่ยมชมจาก Brunel University ประเทศอังกฤษ น�ำโดย Dr.Ray Holland, Honorable Associate Professor และ Dr.Busayawan Lam, Course Director of MA in Design, Strategy and Innovation เพื่อสร้างความสัมพันธ์ อันดีและความร่วมมือของหลักสูตร Luxury Brand และ Luxury Excellence Center ใน อนาคต
PIM ต้อนรับคณะเยี่ยมชม ผู้เข้ารับการ อบรมหลักสูตรผู้ช่วยผู้พิพากษา รุ่นที่ 60
PIM ให้การต้อนรับผู้เข้ารับการอบรม หลักสูตรผู้ช่วยผู้พิพากษา รุ่นที่ 60 โดยได้รับ เกียรติจาก คุณณรงค์ศกั ดิ์ ภูมศิ รีสอาด ผูช้ ว่ ย กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) กล่ า วต้ อ นรั บ และ อ.พรวิ ท ย์ พัชรินทร์ตนะกุล รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร บรรยายพิเศษในหัวข้อ “การบริหารจัดการ ของ PIM”
4
PIM Magazine \ June 2012
PIM อวยพรวันเกิดและเยี่ยมเยียน สื่อมวลชน
PIM โดย คุ ณ วริ น ทรา วิ ริ ย า ผู ้ ช ่ ว ย ผู้อ�ำนวยการส�ำนักสื่อสารองค์กร ร่วมท�ำบุญ และแสดงความยินดีเนื่องในโอกาสครบรอบ “60 ปี ไทยโทรทัศน์ 35 ปี อสมท” โดยมี คุณ เขมทัตต์ พลเดช รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ ใหญ่สายการตลาดและการขาย ให้เกียรติรบั มอบ ร่วมท�ำบุญและแสดงความยินดีเนือ่ งใน โอกาส “วันคล้ายวันก่อตัง้ กรมประชาสัมพันธ์ ปีที่ 79” โดยมี คุณธีระพงศ์ โสดาศรี อธิบดี กรมประชาสัมพันธ์ ให้เกียรติรบั มอบ หลังจาก นั้ น เข้ า เยี่ ย มเยี ย น คุ ณ กั ล ยา โลหิ ต คุ ป ต์ หัวหน้ากองบรรณาธิการข่าวสังคม โมเดิร์น ไนน์ทวี ี คุณภากร ยังแจ่ม คุณภีระ ไกรแสงศรี บรรณาธิการข่าวและหัวหน้าข่าวการศึกษา หนังสือพิมพ์สยามธุรกิจ และคุณกาญจน์วดี โชควิ ท ยานุ กู ล หั ว หน้ า ข่ า วการศึ ก ษา หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ตามล�ำดับ
PIM Lobby
Corporate University ดีอย่างไร
งานนวัตกรรมการศึกษา จัดการบรรยาย พิเศษเรื่อง “การรู้จักและเข้าใจบทบาทของ Corporate University ที่มีต่อองค์กรธุรกิจ ไทย” โดย รศ.ดร.สมภพ มานะรั ง สรรค์ อธิการบดี และ “กลยุทธ์การสร้างและพัฒนา คนตามแบบฉบับ ซีพี ออลล์” โดย ดร.เลิศชัย สุธรรมานนท์ มีผู้บริหารและบุคลากรจาก องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความสนใจ เข้าร่วมงานกันอย่างคับคั่ง
เสวนาพิเศษ โครงการปัญญาพารวย
PIM ร่วมกับ ส�ำนักบริหารเครือข่ายทาง ธุรกิจ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) จัดเสวนาพิเศษ โครงการปัญญาพารวย ใน หัวข้อ “ตระกูลโชควัฒนา สูตรเด็ด ตระกูลดัง” โดยได้รับเกียรติจาก คุณพิภพ โชควัฒนา กรรมการผู้จัดการ บริษัท นิวซิตี้ (กรุงเทพ) จ�ำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายถุงน่อง เชอรีล่อน และผลิตภัณฑ์คุณภาพมากมาย ถ่ายทอดประสบการณ์การบริหารงานแบบ ประยุ ก ต์ ใ ช้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด ตลอดจนการให้ ค วาม ส�ำคัญกับงานพัฒนาบุคลากรและสร้างทีม งานคุณภาพ เพือ่ ขับเคลือ่ นองค์กรขนาดใหญ่ ให้แข็งแกร่งและยืนหยัดในประเทศไทยมา ยาวนานกว่า 40 ปี คุณกรุณา อักษราวุธ ที่ ปรึกษาด้านการศึกษา บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้ด�ำเนินรายการ อ.พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร กลยุทธ์สร้างคนในยุค AEC และคุณลอองดาว บุนนาค รองผูจ้ ดั การทัว่ ไป คุ ณ ก่ อ ศั ก ดิ์ ไชยรั ศ มี ศั ก ดิ์ ประธาน บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมให้การ เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด ต้อนรับนักธุรกิจแนวหน้าของประเทศกว่า (มหาชน) และ รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ 60 ท่าน อธิการบดี PIM ร่วมแถลงข่าว “เปิดโลกการ ศึกษา PIM กลยุทธ์สร้างคนในยุค AEC” ตาม นโยบายให้การสนับสนุนส่งเสริมด้านการ ศึกษาแก่เยาวชน ซึ่งเป็นกิจกรรม CSR หลัก ของกลุ่ม บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยทุ่มงบกว่า 800 ล้านบาท ก่อสร้างอาคาร เรียนทันสมัย 16 ชัน้ และทุนการศึกษาอีกกว่า 360 ล้านบาท เพื่อผลิตบุคลากรป้อนภาค ธุรกิจในหลายสาขา เตรียมความพร้อมในการ เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ่ง ในปีการศึกษา 2555 PIM เปิดหลักสูตรใหม่ เพิ่มขึ้นอีก 2 สาขา คือการจัดการทรัพยากร มนุษย์ และวารสารศาสตร์คอนเวอร์เจ้นท์
อาจารย์ PIM สร้างประวัติศาสตร์คว้า เหรียญทองสิ่งประดิษฐ์ระดับโลก
ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) แถลงข่าว “วช.หนุนสิง่ ประดิษฐ์ไทยคว้า รางวัลจากรุงเจนีวา” เพื่อเป็นเกียรติแก่นัก ประดิ ษ ฐ์ ไ ทยที่ น� ำ ผลงานไปจั ด แสดงใน นิทรรศการ “40th International Exhibition of Inventions of Geneva” ณ กรุงเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ซึ่งการจัดงานดังกล่าวได้รับ การสนับสนุนจากรัฐบาลสวิสและองค์การ ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาโลก (WIPO) มี สิ่ ง ประดิษฐ์ 648 ผลงานจาก 46 ประเทศเข้าร่วม แสดง ประเทศไทยคว้ารางวัล 5 เหรียญทอง 4 เหรียญเงิน และ 2 เหรียญทองแดง โดยมี ดร.ธันยวัต สมใจทวีพร อาจารย์ประจ�ำคณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี PIM ได้รับ รางวัลเหรียญทองเหรียญแรกของประเทศไทย ในกลุ่มเทคนิคและสื่อการเรียนรู้จากผลงาน เรือ่ ง “ระบบสนทนาอัตโนมัตเิ พือ่ พัฒนาทักษะ การสนทนาภาษาอังกฤษ”
PIM Magazine \ June 2012
5
PIM Highlight
1.
การจัดการเรียนการสอนของ PIM และสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป 1 ปีการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ภาคการศึกษาต้น (เรียน)
ปิดเทอม
ภาคการศึกษาปลาย (เรียนหรือฝึกงานในชั้นปีท้ายๆ)
1 ปีการศึกษาของ PIM
ภาคการศึกษาต้น
2.
ปิดเทอม เรียน หรือฝึกงาน ในชั้นปีท้ายๆ
ภาคการศึกษาปลาย
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
(เรียนหรือฝึกงาน)
(เรียนหรือฝึกงาน)
(เรียนหรือฝึกงาน)
(เรียนหรือฝึกงาน)
(เรียนควบคู่การท�ำงานทุกชั้นปี ไม่มีปิดเทอม)
Work-based Learning หรือการเรียนควบคู่กับการฝึกปฏิบัติงานของหลักสูตรต่างๆ คณะบริหารธุรกิจ
เริ่มท�ำงานตั้งแต่ชั้นปีแรก จนส�ำเร็จการศึกษา เรียน 1 ไตรมาส สลับท�ำงาน 1 ไตรมาส
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี เริ่มท�ำงานตั้งแต่ชั้นปีแรก จนส�ำเร็จการศึกษา ชั้นปีที่ 1-2 ท�ำงานปีละ 1 ไตรมาส ชั้นปีที่ 3-4 ท�ำงานปีละ 2 ไตรมาส
3.
6
คณะนิเทศศาสตร์
เริ่มท�ำงานตั้งแต่ชั้นปีที่ 2 จนส�ำเร็จการศึกษา เรียน 1 ไตรมาส สลับท�ำงาน 1 ไตรมาส
ค่าตอบแทนการฝึกงานในร้าน 7-Eleven ของนักศึกษาหลักสูตรการจัดการธุรกิจค้าปลีก คณะบริหารธุรกิจ ชั้นปีที่ 1-4 เติบโตขึ้นปีละ 3%
PIM Magazine \ June 2012
คณะศิลปศาสตร์
เริ่มท�ำงานตั้งแต่ชั้นปีแรก จนส�ำเร็จการศึกษา ชั้นปีที่ 1 ท�ำงาน 1 ไตรมาส ชั้นปีที่ 2-3 ท�ำงานเสาร์-อาทิตย์ และเต็มเวลาอีก 1 ไตรมาส ชั้นปีที่ 4 ท�ำงานปีละ 2 ไตรมาส
PIM Highlight
4.
บัณฑิต PIM รุ่นที่ 1-2 มีงานท�ำ 100% (เป็นบัณฑิตจากคณะบริหารธุรกิจทั้งหมด) • โรงเรียนปัญญาภิวัฒน์เทคโนธุรกิจ 2% • ส�ำนักงานในกลุ่ม ซีพี ออลล์ 12% • ศูนย์กระจายสินค้า 14%
• 7-Eleven 41% • ร้าน eXta สินค้าสุขภาพและความงาม 9% • ร้านกาแฟและเบเกอรี่คัดสรร 20% • อื่นๆ 2%
5.
Russia
Corporate University ที่มีชื่อเสียงในโลก
- Corporate Institute of Gazprom - Sberbank Corporate University - Beeline University - Corporate University Norilsk nickel - Corporate University of Rosgosstrakh - Corporate University of RZHD
Europe
United States
- Disney University - General Motors Institute - McDonald’s Hamburger University - Boeing Corporate University - Mars Corporate University - Motorola University
- Sodexho Corporate University - Unilever - British Telecom - Lufthansa School of Business - Siemens - Nestle University
Asia
- Fujitsu - Oracle University - LG - Honda - Kantana Institute (สถาบันกันตนา) - Toyota Technological lnstitute
ต ส าพแล อรแ์ ละเ ินค้าอุป ะควา ทคโน โภคบ มงาม โลย ริโภค ี สุขภ
คอม พิวเ
อาห ม นด์เน แบร
สินค ้า
โทรค
คม
ารมว ลชน มนา
องค์กรธุรกิจที่นักศึกษา PIM ไปฝึกงาน
สื่อส
6.
าร
- PIM (สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์)
PIM Magazine \ June 2012
7
PIM Highlight
ท�ำไมหลักสูตร Work-based Learning ที่ PIM ถึงน่าเรียน
แนวโน้มในอนาคตอันใกล้ องค์กรต่างๆ จะรับคนเข้าท�ำงาน
โดยเลือกเฟ้นคนที่มีความสามารถ มีประสบการณ์ท�ำงาน และ ศักยภาพในการที่จะท�ำงานมากกว่าพิจารณาจากวุฒิการ ศึกษา ซึ่งความต้องการของตลาดงานท�ำให้สถาบันการ ศึกษาต่างถือเป็นโจทย์ใหญ่ในการพัฒนาหลักสูตรการ เรียนการสอน เพื่อสร้างบัณฑิตที่เข้าใจหลักทฤษฎี และมีทักษะพร้อมท�ำงาน สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ หรือ PIM คื อ สถาบั น การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาที่ สนับสนุนโดย บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) องค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีองค์ความรู้ทางธุรกิจ อยูอ่ ย่างมหาศาล เห็นความส�ำคัญของการศึกษา จึงก่อตัง้ PIM ขึน้ เพือ่ สร้างบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ ให้สังคมและองค์กร
รู้จัก Work-based Learning
Work-based Learning เป็นหัวใจส�ำคัญของ หลักสูตรการเรียนการสอนที่ PIM คือเรียนภาค ทฤษฎีพร้อมไปกับท�ำงานจริง และในห้องเรียนก็เรียน จากกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริงตามสาขาวิชา Work-based Learning ของ PIM ใช้ Model การ ศึกษา DJT ย่อมาจาก Deutsche Japan Thailand Business Model ซึ่ง PIM อิงจากโมเดล Work-based Learning จากเยอรมันเป็นหลัก แต่ปรับผสานความรู้จาก จุดเด่นของญี่ปุ่นและไทยเข้าด้วยกัน เพื่อประยุกต์ให้เกิด องค์ความรู้ที่เหมาะสม และสร้างบุคลากรที่มีพลังของ ประเทศ
D – Deutsche
คือ เยอรมนี ชาติที่มีความโดดเด่นด้านการฝึกบุคลากร แบบ Work-based Learning เป็นผู้คิดค้นนวัตกรรม (Innovation) เจ้ า แห่ ง การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลในงาน (Productivity & Perfectionism)
J – Japan
ญี่ปุ่น ชาติที่ขยันท�ำงานมากอันดับต้นๆ ของโลก มี ความเป็นเจ้าตลาด (Marketability) และเป็นชาติแห่ง ข้อมูลข่าวสาร (Information) และเทคโนโลยี (Technology)
T – Thailand
ชาติที่มีความสร้างสรรค์ (Creativity) ยืดหยุ่น (Flexibility) และเรียบง่ายสบายๆ (Relaxation) ความโดดเด่นของแต่ละชาติทกี่ ล่าวมา เมือ่ ถูกน�ำมา ผสมผสานเกิดเป็นโมเดลการศึกษาเฉพาะตัวที่ PIM
8
PIM Magazine \ June 2012
แม้เรียนหนักกว่าหลักสูตรการศึกษาทัว่ ไป เพราะขณะเรียนต้องฝึกงาน จริงจัง เหมือนท�ำงานจริงเช่นนี้ นักศึกษา PIM จึงได้สัมผัสประสบการณ์ ท�ำงานก่อนคนอืน่ ได้เจอปัญหาการท�ำงาน เรียนรูก้ ารแก้ปญ ั หางาน พร้อม กับเรียนรูก้ ารแบ่งเวลา ฝึกความอดทน เมือ่ เรียนจบก็จะมีความพร้อมท�ำงาน อย่างมาก ที่ส�ำคัญคือการมีทักษะซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาด ที่ PIM สาขาวิชาที่โดดเด่น คือการจัดการธุรกิจค้าปลีก นักศึกษาทุก คนในสาขานี้ ต้องฝึกงานและเรียนในสัดส่วนที่เท่ากันทุกเทอม คือใน 1 เทอม ต้องฝึกงาน 3 เดือน เรียน 3 เดือน ตั้งแต่ปี 1 จนถึงปี 4 นักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีกทุกคน จะต้องผ่านการฝึกงาน หนักหน่วงที่สุด ในร้านค้าปลีกที่มีสาขามากที่สุดในประเทศ 7-Eleven ที่นี่ ทุกคนจะได้รบั ประสบการณ์เต็มที่ ฉะนัน้ ถึงจะเป็นเวลาเพียง 4 ปีในรัว้ PIM แต่นักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีกทุกคน จะมีประสบการณ์ที่อัด แน่น มีความอดทน ที่ส�ำคัญ ทุกคนจะท�ำงานในสาขาธุรกิจค้าปลีกได้เป็น อย่างดี นีค่ อื หัวใจของ Work-based Learning เรียนทฤษฎีและท�ำงานไปพร้อม กัน ไม่ใช่แค่การจัดการธุรกิจค้าปลีกเท่านั้นที่ได้ฝึกงานอย่างเข้มข้น แต่ นักศึกษาของ 5 คณะ 11 สาขาวิชา ทุกคนจะได้ฝึกงานตรงตามสาขาวิชาที่ เรียนอย่างเต็มที่เช่นกัน
องค์กรเอกชนไม่วา่ ที่ ไหน ก็มอี งค์ความรูส้ ะสมอยูม่ ากมาย ซึง่ เหล่า นี้เป็นสิ่งที่มหาวิทยาลัยไม่มี มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ก็ต้องรีเสิร์ช เอา ประสบการณ์จากการท�ำงานมาพัฒนาเป็นบทเรียน แต่ที่นี่องค์ความรู้มี สะสมอยู่แล้ว เพราะเราเอาคนท�ำงานมืออาชีพมาสอนเด็ก จึงเป็นองค์ ความรู้ที่เป็นของแท้ สามารถเชื่อมโยงออกมาเป็นทฤษฎีสอนเด็กให้ ท�ำงานได้ เด็กก็เรียนตรงกับงาน หรือระหว่างเรียน เด็กก็ ไม่ตอ้ งสงสัย ว่าวิชานี้จะเรียนไปท�ำไม เพราะไม่ ได้ใช้จริง คนที่รับคนไปท�ำงานก็ ไม่มี ปัญหาว่าเด็กไม่รู้เรื่อง ท�ำงานไม่เป็น นี่คือความแตกต่างระหว่างเรากับ มหาวิทยาลัยทั่วไป PIM เปิดมาห้าปี มีบณ ั ฑิตจบออกไปแล้วหนึง่ รุน่ แต่ทกุ คนได้ท�ำงาน กับซีพที นั ทีทจี่ บ รุน่ แรกเป็นรุน่ ทีพ่ สิ จู น์ ให้เห็นว่าเด็กทีจ่ บท�ำงานได้ เพราะ ระหว่างนี้เขาท�ำงานมาตลอด พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM)
PIM Highlight
Corporate University คืออะไร
เหตุผลที่ท�ำให้ Corporate University น่าเรียน
Corporate University มักสอนความรู้เฉพาะขององค์กร หาเรียน
Corporate University หรือผู้รู้บางท่านเรียกว่า มหาวิทยาลัยบรรษัท ที่ไหนไม่ได้ และองค์กรก็ไม่อยากสอนคนนอก เพราะถือเป็นอาวุธใน
คือมหาวิทยาลัยทีก่ อ่ ตัง้ โดยบริษทั เอกชนทีต่ อ้ งการสร้างและฝึกฝนบุคลากร ให้มีทักษะความสามารถที่จะท�ำงานให้บริษัทได้เต็มที่มากที่สุด Corporate University เริ่มต้นจากความต้องการพัฒนาศักยภาพ บุคลากรของบริษทั เอกชนต่างๆ เพือ่ ให้พวกเขาท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ จึงออกแบบกระบวนการให้บคุ ลากรเข้าเรียนรูป้ ระสบการณ์ทจี่ ำ� เป็นในการ ท�ำงาน หลายบริษทั อาจเริม่ จากการสร้างส่วนฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพ บุคลากรในบริษทั ซึง่ บางทีก่ ใ็ ห้การอบรมแก่ลกู ค้าและผูผ้ ลิตทีเ่ กีย่ วข้องกับ บริษัทด้วย บางแห่งก�ำหนดขอบเขตการเรียนให้เกี่ยวข้องกับองค์กรหลักที่ ก่อตั้งมหาวิทยาลัย ในขณะที่บางแห่งอาจเป็นแค่คอร์สฝึกอบรมสั้นๆ ก็มี เช่นกัน บริษทั ชัน้ น�ำขนาดใหญ่บางแห่งสร้าง Corporate University ขึน้ มาเพือ่ แทนที่ความจ�ำเป็นในการเข้ามหาวิทยาลัยแบบเดิม การเรียนการสอนจึง เป็นหลักสูตรเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน แต่มคี วามสัมพันธ์กบั กลยุทธ์ของบริษัท และเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกอบรมและพัฒนาให้เกิด บุคลากรทีเ่ ป็นมืออาชีพให้บริษทั ด้วย ฉะนัน้ ภาพพจน์ของมหาวิทยาลัยก็มี ความใกล้ชิดกับภาพพจน์ของบริษัท Corporate University หลายแห่งประสบความส�ำเร็จในการฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากร เช่น Hamburger University ของบริษัท McDonald ที่ผลิตบุคลากรได้ปีละหลายหมื่นคน และบาง Corporate University ก็มี หลักสูตรที่แข็งแรงจนท�ำรายได้จากการสอนคนภายนอกอย่าง Disney University ของบริษัท Walt Disney วันนี้แนวคิด Corporate University เป็นแนวโน้มที่ส�ำคัญและก�ำลัง เป็นทีน่ ยิ มในบริษทั ชัน้ น�ำของโลก ทีต่ อ้ งการพัฒนาการเรียนรูท้ วั่ ทัง้ องค์กร
การแข่งขัน ฉะนั้นนักศึกษาที่จบจาก Corporate University จึงมี โอกาสสูงที่จะได้ท�ำงานกับองค์กรแม่
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ Corporate University ของกลุ่ม ซีพี ออลล์
การตัง้ Corporate University สร้างความเชือ่ มโยง กับธุรกิจหลายด้าน ด้านหนึ่งคือการใช้องค์ความรู้ที่ สะสมมาจากภาคธุรกิจถ่ายทอดมาสู่บุคลากร และ สามารถผลิตบุคลากรที่สอดคล้องกับความต้องการ ของภาคเอกชนมากขึ้น PIM มีจดุ แข็งเพราะมีเครือข่ายกับพันธมิตร ทัง้ ซัพพลายเออร์ สถาบันการเงิน ธุรกิจเอกชนต่างๆ รวมถึ ง สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษามี โอกาสเรี ย นรู ้ ป ระสบการณ์ ที่ ก ว้ า งขวางและ หลากหลาย ไม่ได้จ�ำกัดเฉพาะธุรกิจในกลุ่มซีพี ออลล์ PIM มุ่งเป็น Corporate University แห่ง แรกของไทย โดยมีภาคธุรกิจสนับสนุนพัฒนา ด้านการศึกษา เพื่อยกระดับทรัพยากรมนุษย์ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อตอบโจทย์ความ ต้องการของประเทศ เช่น เพิ่มสมรรถนะและขีด ความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจและ ธุ ร กิ จ ของประเทศ พร้ อ มกั บ เตรี ย มตั ว มุ ่ ง สู ่ โ ลก เศรษฐกิจทีอ่ งิ กับภาคบริการ ทีเ่ รียกว่า Service-based เหตุผลที่ท�ำให้เกิด Corporate University Economy รองรับการขยายของภาคเมืองที่จะตามมากับ 1. โลกเปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนือ่ ง จนมหาวิทยาลัยรูปแบบเดิมผลิตคน การลงทุนด้านสาธารณูปโภค เพิ่มสมรรถนะภาคเกษตร ท�ำงานให้ไม่ทัน และไม่ตรงความต้องการของงาน หลายบริษัทที่เปิด Corเน้นการใช้องค์ความรู้และภูมิปัญญาเป็นปัจจัยในการเพิ่ม porate University มักต้องการบุคลากรที่พร้อมท�ำงาน เพราะธุรกิจขยาย มูลค่าแก่เศรษฐกิจและธุรกิจของประเทศ ตัวอย่างรวดเร็วมาก 2. Corporate University มักสอนความรู้เฉพาะขององค์กร หาเรียน องค์ความรู้ที่สะสมอยู่ ในภาคเอกชนมี ไม่น้อยกว่า ที่ไหนไม่ได้ และองค์กรก็ไม่อยากสอนคนนอก เพราะถือเป็นอาวุธ ในการ สถาบั นการศึกษา ซึ่งองค์ความรู้เหล่านี้ ได้รับการพิสูจน์ แข่งขัน มาแล้ว แทนที่จะเก็บความรู้ไว้ในองค์กรอย่างเดียว คิดว่า 3. บัณฑิตที่จบจากมหาวิทยาลัยทั่วไปไม่สามารถท�ำงานตอบสนอง น่าจะถ่ายทอดสู่การรับรู้ในวงกว้าง เพื่อเป็นประโยชน์ต่อ ความต้องการของบริษัทได้ ธุรกิจและประเทศด้วย 4. องค์กรได้ส่งผ่านองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่นอย่างเป็นระบบ
เด็กที่เรียนที่ PIM จะได้เรียนและท�ำงานสลับกันทีละ 3 เดือน เป็นเวลา 4 ปี เป็นการเรียนแบบ Work-based เพื่ อ ให้ คิ ด เป็ น ท�ำเป็ น เมื่ อ จบออกไปก็ ท�ำงานได้ คล่องแคล่ว ไม่ต้อง Internship ใหม่เหมือนเด็กจบ มหาวิทยาลัยทัว่ ไป เราพยายามให้เขาสุกงอมในความเป็น ปัญญาชน ไม่ ใช่เก่งแค่ทฤษฎี ในห้องเรียน แต่ต้องฝึก ประสบการณ์การท�ำงานด้วย และเรื่องส�ำคัญมากที่เรา ต้องมีคือ Work Moral ว่าการท�ำงานเป็นสิ่งดีงามของ ชีวิต เยอรมนีและญี่ปุ่นสร้างชาติจนยิ่งใหญ่เพราะเขารัก งาน งานเป็นจรรยาบรรณ สิง่ นีเ้ ป็นสิง่ ทีเ่ ราพยายามสร้าง ให้เกิดขึ้น รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM)
PIM Magazine \ June 2012
9
PIM Highlight
Motorola University โดย Motorola บริษทั สือ่ สาร โทรคมนาคมขนาดใหญ่ สัญชาติอเมริกา อดีตหนึ่งใน ผู้น�ำแบรนด์โทรศัพท์มือถือรายใหญ่ของโลกเคยเปิด โปรแกรมเทรนนิ่ง โดยมีจุดขายคือ MU Six Sigma หรือ Motorola Six Sigma ที่ตั้งเป้าไว้ว่าจะพัฒนา ความพึงพอใจของผูบ้ ริโภค พัฒนาประสิทธิภาพ สร้าง ความได้เปรียบทางการแข่งขัน และเพิ่มส่วนแบ่ง ตลาด รวมถึงประหยัดค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน Disney University โดย Walt Disney บริษัทผลิต สื่อบันเทิง ที่ก่อตั้งโดยวอลท์ ดิสนีย์ นักสร้างการ์ตูน แอนิเมชันผู้เป็นต�ำนาน มหาวิทยาลัยดิสนีย์ตั้งอยู่ที่ รัฐฟลอริดา้ ประเทศสหรัฐอเมริกา เปิดสอนทักษะด้าน คอมพิวเตอร์จนถึงเทรนนิ่งคอมพิวเตอร์ขั้นสูง ไปถึง เรื่องศิลปะ และจัดอบรมทั่วไป Hamburger University โดย McDonald บริษัท ผูผ้ ลิตฟาสต์ฟดู้ แฮมเบอร์เกอร์อนั ดับหนึง่ ของโลก เริม่ ต้นในปี 1961ที่ห้องใต้ดินของร้านที่เมือง ELK Grove Village คลาสแรกสอนพนักงานเรื่องการย่างอาหาร หลักสูตรการเรียน มีตั้งแต่การจัดการหน้าร้าน การ บริหาร คุณภาพอาหาร และความสะอาด ตามมาตรฐานของแมคโดนัลด์ ในเมืองไทยก็มีหลักสูตรย่อยๆ ของศูนย์ฝกึ อบรม People Development Center หรือ PDC Microsoft University โดย Microsoft บริษัทยักษ์ ใหญ่ เจ้าแห่งซอฟท์แวร์ สัญชาติอเมริกัน เลือกก่อตั้ง ที่กรุงบังกาลอร์ ประเทศอินเดีย ซึ่งถือเป็นซิลิคอน วัลเล่ย์แห่งอินเดีย แม้ไมโครซอฟท์ให้ทุนการศึกษา และการวิจยั ผ่านมหาวิทยาลัยทัว่ โลกเป็นจ�ำนวนมาก อยู่แล้ว แต่มหาวิทยาลัยที่บังคาลอร์แห่งนี้ ถือเป็นที่ แรกของทุนในการสร้างสถานศึกษาทั้งหมดมาจาก ไมโครซอฟท์
10
PIM Magazine \ June 2012
Toyota Technological Institute (TTI) โดย Toyota บริษัทผลิตยานพาหนะอันดับหนึ่งของญี่ปุ่น ก่อตั้งในปี 1981 ที่เมืองนาโงย่า ประเทศญี่ปุ่น พอปี 2003 เปิดสถาบันที่กรุงชิคาโก้ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยร่วมกับมหาวิทยาลัยชิคาโก้ ศึกษาเรือ่ งเครือ่ งยนต์ Algorithms & Complexity, Computer Vision, Speech Technologies and Computational Biology ในปี 2010 TTI ติดอันดับ 1 ใน 5 ของมหาวิทยาลัย ที่ดีที่สุดของญี่ปุ่นด้วย และนักศึกษาที่จบจากที่นี่ก็มี อัตราการได้รับเข้าท�ำงานสูงสุดด้วย Oracle University โดย Oracle Corporation บริ ษั ท ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารซอฟท์ แ วร์ ด าต้ า เบสรายใหญ่ สัญชาติอเมริกัน Oracle University เป็นหน่วยงานที่ ยกระดับขึ้นมาจากแผนกฝึกอบรมของ Oracle เพื่อ เน้นพัฒนาบุคลกรที่มีความรู้ด้านซอฟท์แวร์โซลูชั่น และซอฟท์แวร์แอพพลิเคชัน่ ของ Oracle โดยมีรปู แบบ การพัฒนาบุคลากรทั้งภายในและภายนอกองค์กร Research Center โดย Nestle บริษทั ผลิตสินค้า อาหารเพื่อโภชนาการและสุขภาพที่ใหญ่ที่สุดในโลก สัญชาติสวิส ก่อตั้งศูนย์วิจัยหลักในปี 1987 ที่กรุงโล ซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ต่อมาก็ตั้งศูนย์วิจัยที่ สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น ชิลี เพื่อเป็นพื้นที่ศึกษาวิจัย ของนักวิจยั ผลิตภัณฑ์ของเนสท์เล่ และให้นกั วิจยั จาก องค์กรอื่นเข้าไปเรียนรู้องค์ความรู้ของเนสท์เล่ และ ศึกษาวิจยั และผลงานวิจยั เหล่านัน้ ก็ได้รบั การรับรอง ทางวิชาการด้วย เนสท์เล่ให้ความส�ำคัญในการท�ำวิจยั มาก เพราะผลิตภัณฑ์แรกคืออาหารเสริม ซีเรียลผสม นมส�ำหรับเด็กอ่อน ปัจจุบันคือซีรีแล็คที่เรารู้จัก ก็เกิด จากการวิจัยของอองรี เนสท์เล่ นักวิทยาศาสตร์ที่ คิดค้นอาหารเสริมเพื่อลดอัตราการเสียชีวิตของเด็ก ทารกในสมัยนั้น Beeline University ก่อตั้งขึ้นในปี 2551 โดย VimpelCom บริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือที่ใหญ่ ที่ สุ ด ของประเทศรั ส เซี ย และกลุ ่ ม ประเทศเครื อ รั ฐ เอกราช อีก 14 ประเทศ รวมถึงประเทศอาร์เมเนียที่ มหาวิทยาลัยบีไลน์ตงั้ อยู่ ซึง่ ก่อตัง้ เพือ่ พัฒนาศักยภาพ การท� ำ งานของพนั ก งานของบริ ษั ท ในประเทศ อาร์เมเนีย
PIM Highlight
สถาบันกันตนา เป็นสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางที่มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตด้านการ ผลิตภาพยนตร์และแอนิเมชันแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตัง้ ขึน้ ในปี 2553 เปิดสอนระดับปริญญาตรี ระบบทวิภาค หลักสูตรศิลปกรรม ศาสตรบัณฑิต สาขาการผลิตภาพยนตร์และแอนิเมชัน บริษทั กันตนา กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) เริ่มต้นจากคณะละครวิทยุกันตนา เมื่อปี 2494 จากนั้นผลิตละครโทรทัศน์ในปี 2501 และต่อมาขยายสู่การผลิต รายการสารคดีโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ก่อตั้งกันตนาแอนิเมชัน ผลิต แอนิเมชันระดับสากล และร่วมมือกับบริษทั ล็อกซเล่ย์ วีดโี พสท์ จ�ำกัด ตัง้ บริษทั โอเรียลทัล โพสท์ จ�ำกัด บริษทั เพือ่ จัดการงาน Post Production ที่มีเทคโนโลยีระดับโลกที่ครบวงจรที่สุดในภาคพื้นเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้
วิทยาลัยดุสิตธานี
มหาวิทยาลัยเนชั่น ก่อตั้งโดยการร่วมทุนระหว่างบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กับ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ เข้าซื้อใบอนุญาตประกอบ กิจการสถานศึกษาจากมหาวิทยาลัยโยนก เปิดสอนระดับปริญญาตรี และปริญญาโท หลายสาขาวิชา แต่ด้วยความเชี่ยวชาญด้านสื่อสาร มวลชนของกลุ่มบริษัทเนชั่น การสอนหลักสูตรนิเทศศาสตร์สาขา สื่อสารมวลชนจึงมีความน่าสนใจเป็นพิเศษ ในปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยเนชั่นเปิดสอนรุ่นแรกที่กรุงเทพฯ ศูนย์เนชั่นทาวเวอร์ หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ซึ่งมหาวิทยาลัยเนชั่น ล�ำปาง ที่ตั้งอยู่ บริเวณมหาวิทยาลัยโยนกเดิมเปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรีและ ปริญญาโทหลายสาขาวิชา เช่น สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขา มหาวิทญยาลั วิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบั ชี ยเนชั่น
ก่อตั้งโดยกลุ่มบริษัทในเครือโรงแรมดุสิตธานี ซึ่งถือเป็นโรงแรม เก่าแก่แห่งหนึ่งของไทย เพราะขาดแคลนคนท�ำงานในสายงาน โรงแรม แม้มีสถาบันการศึกษาของรัฐผลิตบุคลากรอยู่ แต่ส่วนใหญ่ ขาดความเชีย่ วชาญด้านปฏิบตั ิ โรงเรียนการโรงแรมดุสติ ธานีจงึ ได้กอ่ ตั้งขึ้นในปี 2536 เปิดสอนหลักสูตรการพัฒนาธุรกิจโรงแรมและการ ประกอบอาหาร ต่อมาในปี 2539 โรงเรียนการโรงแรมดุสิตธานีได้รับ อนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้มีฐานะเป็นวิทยาลัยเปิดสอนระดับ ปริญญาตรี โดยมีหลักสูตรที่สอนหลากหลายซึ่งล้วนอยู่ในธุรกิจ โรงแรมและการท่องเที่ยว ทั้งสาขาวิชาการจัดการโรงแรมและรีสอร์ท สาขาวิชาการจัดการครัวและศิลปะการประกอบอาหาร สาขาวิชาการ จัดการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการสปา สาขาวิชาการจัดการ การไมซ์และอิเว็นตส์ (Mice and Events)
PIM Magazine \ June 2012
11
คนเก่ง PIM
แนท เป็นพี่สาวคนโตของน้องชายอีกคน อยู่บ้านกับพ่อ
บุญธรรม แม่ น้องชาย และลูกแมว 3 ตัว ที่ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี พ่อบุญธรรมเป็นทนายความ แม่เป็นแม่บ้านและเป็น เลขาให้พ่อด้วย ด้วยค�ำแนะน�ำของพ่อว่าอยากให้เรียนจบแล้วอนาคตมีงาน ท�ำ เลยอยากให้แนทมาเรียนทีโ่ รงเรียนปัญญาภิวฒ ั น์เทคโนธุรกิจ (PTB) สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก จากนั้นเลยเรียนต่อ ระดับปริญญาตรีที่ PIM สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีกเหมือน เดิม พอเรียนจบ ได้เข้าท�ำงานในส�ำนักสื่อสารองค์กร ท�ำหน้าที่ แนะแนวการศึกษาแบบ Work-based Learning ให้รุ่นน้องต่อ ไป
Work-based Learning ในความคิดของแนท
เหตุผลที่แนทเลือกเรียนสาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก เพราะเป็นสาขาที่ครอบคลุมการจัดการร้านค้า ร้านอาหารหรือ สิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับการขายของทั้งหมด สามารถน�ำไปประยุกต์ ได้กับทุกธุรกิจ ตั้งแต่เรียนที่ PTB จนจบปริญญาตรีที่ PIM ประสบการณ์ 7 ปี ในสาขาวิชาและการฝึกงานทีจ่ ริงจังของ Workbased Learning ท�ำให้ได้เรียนเรื่องการจัดการสินค้าในร้านค้า ในสต็อค การจัดวางสินค้าในร้านและหน้าร้าน การบริหารร้าน การบริหารต้นทุน รวมถึงการดูแลพนักงานภายในร้าน ซึ่งการ เรียนสิ่งเหล่านี้ถ้าไม่ได้ปฏิบัติจริงก็ยากที่จะเห็นภาพและเข้าใจ เรียนในห้องอาจให้ความรู้ระดับหนึ่ง ถ้าเกิดเรียนไปแล้ว เจอปัญหาหรือ case study ที่อาจารย์ให้ท�ำแต่ว่าเราไม่เคย เจอเรื่องจริง อาจตอบค�ำถามไม่ตรงประเด็น แต่พอได้ ท�ำงานจริง เวลาเจอปัญหาก็ท�ำให้แก้ปัญหานั้นได้ง่ายขึ้น การฝึกงานถึงหนักและเหนื่อยแต่แนทก็ท�ำได้ดีจนได้เป็น พนักงานฝึกหัดดีเด่นหลายปีติดๆ กัน เมื่อถามว่าท�ำได้ยังไง แนทบอกว่า “ขยัน อดทน ตั้งใจ เรียนรู้ทุกอย่างที่ผู้จัดการสอน และไม่เคยขาดงานค่ะ”
เริ่มต้นชีวิตการท�ำงานจริง
ก่อนเลือกมาเรียนที่ PIM แนทได้รับข้อมูลจากอาจารย์ แนะแนวว่า ถ้ามาเรียนต่อที่ PIM สามารถเรียนต่อเนือ่ งจาก PTB และมีโอกาสการท�ำงานที่ก้าวหน้ามาก ก็สนใจ ส่วนหนึ่งก็อยาก ท�ำงานกับซีพี เพราะเป็นองค์กรใหญ่ มีความมั่นคงสูง ที่ส�ำคัญ พนักงานที่ได้ท�ำงานกับซีพีก็มีคุณภาพทั้งนั้น ตอนนีแ้ นทท�ำงานในส�ำนักสือ่ สารองค์กร ที่ PIM เพราะถือว่า เป็นผูม้ ปี ระสบการณ์การเรียนแบบ Work-based Learning อย่าง มากคนหนึ่ง “อยากเผยแพร่ความรู้ความสามารถที่ได้จากการเรียนรู้ให้ กับรุ่นน้องที่ก�ำลังหาที่เรียน เลยคิดว่าถ้าน�ำความรู้ที่ได้มาเผย แพร่ผ่านการท�ำงานกับส�ำนักสื่อสารองค์กรน่าจะดีที่สุด” ตาม ประสาเด็กจบใหม่ไฟแรง เป้าหมายการท�ำงานของแนทตอนนี้ คือ ได้ออกแนะแนวการศึกษา ประชาสัมพันธ์องค์กร ท�ำความ รู้จักกับหน่วยงานภายนอก
12
PIM Magazine \ June 2012
คนเก่ง PIM
ตอนนี้ ฝึกงานอยู่ที่ร้าน 7-Eleven ในซอยสามัคคี อ.ปากเกร็ด
จ.นนทบุรี ผู้เข้าประกวดในโครงการ Smile & Smart Idol ของร้าน 7-Eleven เป็นการประกวดพนักงานร้านทีม่ คี วามสามารถ บุคลิกภาพดี และมีความ เป็นเลิศด้านการบริการ ถ้าผ่านการคัดเลือกจะได้ไปต่อในระดับเขต ภาค และบริษัทต่อไป จัดโดย บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน)
บิวและครอบครัว
บิวเป็นลูกชายคนโต มีน้องสาวอีกคนอยู่ ม.4 เขาและครอบครัวเป็น คนจังหวัดน่าน ครอบครัวมีฐานะปานกลาง แม่มอี าชีพขายเสือ้ ผ้าพอเรียน จบมัธยมปลายสายวิทย์-คณิต จากโรงเรียนนาน้อย จ.น่าน ด้วยผลการเรียนปานกลางแต่สายตายาวไกล บิวไม่อยากเรียนต่อ มหาวิทยาลัยเพียงเพือ่ ได้ปริญญาบัตรแต่ไม่มคี วามสามารถและไม่มงี าน ท�ำ จึงตัดสินใจมาเรียนที่ PIM เพราะได้ฝกึ ท�ำงานตัง้ แต่เรียนปี 1 และเมือ่ เรียนจบก็มีงานที่มั่นคงรออยู่
Work-based Learning ในความคิดของบิว
บิวคิดว่าการเรียนแบบ Work-based Learning ท�ำให้บิวเป็นผู้ใหญ่ เร็วกว่าเพื่อนๆ วัยเดียวกัน เพราะฝึกให้มีความรับผิดชอบ และรู้จักแก้ ปัญหาเฉพาะหน้าตัง้ แต่เรียนอยูช่ นั้ ปีแรก บิวสรุปประสบการณ์ทไี่ ด้เรียน รู้จากการไปท�ำงานไดั 2 ข้อใหญ่ๆ คือ 1. เราจะได้พบเพื่อนร่วมงานที่หลากหลาย มาจากต่างที่ ต่างบุคลิก หรือทัศนคติกัน การที่เรามีมนุษยสัมพันธ์ดี รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา จะ ท�ำให้การท�ำงานเป็นทีมเป็นไปด้วยความราบรื่นและงานประสบความ ส�ำเร็จ 2. การท�ำงานในร้าน เราต้องมีความพร้อมในการให้บริการลูกค้าเสมอ เมื่อลูกค้าพึงพอใจก็จะท�ำให้กิจการเติบโต
บทเรียนจากปัญหา
บิวเคยตรวจสอบสินค้าที่ส่งมาไม่ละเอียด แต่เซ็นรับสินค้า พอน�ำสินค้าไปเติมที่ชั้นถึงรู้ว่าขาด ผู้จัดการร้านลงมาช่วยแก้ ปัญหาให้บิวดูเป็นตัวอย่าง ตั้งแต่การติดตามกับ Supplier และจัดการเรื่องเอกสารจนเรียบร้อยในที่สุด ตั้งแต่นั้นมา บิวตรวจสอบสินค้าด้วยความรอบคอบเสมอ ไม่อยากผิด ซ�้ำสองอีก ผลการฝึกปฏิบัติงานของบิวอยู่ในเกณฑ์ดีมาก เขา ได้ A จากการประเมินผลติดต่อกันถึง 3 ครัง้ และได้รบั ค�ำ ชมทั้งจากผู้จัดการร้าน FC (Field Counselor) และ ผู้จัดการเขต เพราะบิวบริการลูกค้าด้วยใจ อัธยาศัยดี และด้วยความที่เป็นคนช่างสังเกต บิวประยุกต์ความรู้ ทางทฤษฏีเกีย่ วกับพฤติกรรมผูบ้ ริโภคมาใช้ในร้าน 7-Eleven ด้วย ผมอาจจะเป็นคนคุยเก่ง แต่ถ้าให้พูดน�้ำไหลไฟดับอย่างเดียวก็คง ไม่เกิดประโยชน์ ในชั้นเรียน เราเรียนรู้เรื่องจิตวิทยาการให้บริการ การพูดคุยและสบตา คอยสังเกตว่าลูกค้าน่าจะเป็นกลุ่มไหนและ สนใจสินค้าชิ้นไหนอยู่ เมื่อน�ำเอาทฤษฎีไปใช้จริงในร้าน เราจึง สามารถน�ำเสนอโปรโมชัน่ ทีต่ รงกับกลุม่ ลูกค้าของเรา และเพิม่ ยอด ขายได้ดีครับ
PIM Magazine \ June 2012
13
Letter from OSAKA
เผลอแป๊บเดียวเราทั้ง 5 คนมาอยู่ที่ประเทศญี่ปุ่นได้ 2 เดือนกว่าแล้ว ก้าวแรก ที่สนามบินคันไซ พวกเราได้สัมผัสกับอากาศที่หนาวเย็นถึง 11 องศาเซลเซียส และอุ่น ขึน้ ราวกลางเดือนเมษายน ตอนนีฝ้ นเริม่ ตกอาทิตย์ละ 3 วัน แต่เราทุกคนแข็งแรงดีและ ยังคงตื่นเต้นกับประสบการณ์ใหม่ๆ ที่ได้เจอทุกวัน บ้านเมืองโอซาก้ามีความเป็น ระเบียบและสะอาดมาก คนที่นี่ชอบขี่จักรยานกัน จักรยานสามารถไปถึงได้ทุกตรอก ซอกซอย และมีความปลอดภัยสูงเพราะปริมาณรถยนต์น้อย ช่วงสั้นๆ ที่ได้พบกับรุ่นพี่นักศึกษาทุนรุ่น 1 เป็นเวลาที่มีค่ามาก เพราะนอกจากได้ จับฉลากพี่รหัสน้องรหัสกันแล้ว รุ่นพี่ยังแบ่งปันเคล็ดลับการใช้ชีวิตที่โอซาก้า แนะน�ำ เส้นทางต่างๆ และส่งต่อข้าวของเครื่องใช้ที่จ�ำเป็นรวมถึงจักรยานคู่ใจให้ไว้ใช้ออกไป เรียนรู้โลกกว้างในดินแดนอาทิตย์อุทัยแห่งนี้ ซึ่งเราก็ไม่ปล่อยให้เวลาผ่านไปอย่างไร้ ประโยชน์ หลังจากส่งรุ่นพี่กลับเมืองไทยแล้ว เราพากันปั่นจักรยานฝ่าอากาศหนาวไป เยี่ยมชมสถานที่ส�ำคัญต่างๆ เช่น Osaka Museum of History สถานีโทรทัศน์ NHK ปราสาทโอซาก้า และชมการแข่งขันซูโม่ จนกระทั่งโรงเรียนเปิดเทอม มีการสอบวัดระดับเพื่อจัดห้องเรียน ซึ่งมีทั้งชั้นเรียน ภาษาญี่ปุ่นขั้นพื้นฐานและชั้นเรียนที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมและธุรกิจ มีเพื่อนร่วมชั้น นานาชาติ ทัง้ ชาวอเมริกนั นอร์เวย์ บราซิล รัสเซีย และคนเอเชียด้วยกัน ท�ำให้ตอ้ งขยัน ท่องคันจิและฝึกภาษาญี่ปุ่นเพื่อจะสามารถสื่อสารได้คล่องแคล่วให้เร็วที่สุด มีอยู่วัน หนึ่ง เพื่อนที่โรงเรียนชวนกันไปชมดอกซากุระบาน แต่ละคนท�ำอาหารไปแบ่งกันทาน มื้อนั้นพวกเราเลยได้ชิมอาหารนานาชาติกันคิดถึง บัว เพชร แมท หลิว อั้ม
14
PIM Magazine \ June 2012
Letter from OSAKA จากทีพ่ กั ใช้เวลาขีจ่ กั รยานไปโรงเรียนเทีย่ วละ 40 นาที ถึงเมือ่ ยแต่กไ็ ด้คำ� ศัพท์ใหม่ๆ จากสองข้างทางที่ มีปา้ ยร้านอาหาร ชือ่ ถนน และป้ายโฆษณาต่างๆ เต็ม ไปหมด ที่โรงเรียนมีการสอบค�ำศัพท์ทุกวัน และมี การบ้านให้ท�ำทุกวัน โดยเฉพาะสัปดาห์สุดท้ายของ เดือนเมษายนถึงต้นพฤษภาคม ทีอ่ าจารย์ให้การบ้าน เยอะเป็นพิเศษ เพราะเป็นวันหยุดของชาวญีป่ นุ่ ทีเ่ รียก ว่า Golden Week หรือวันหยุดยาวคล้ายๆ เทศกาล สงกรานต์ บ ้ า นเรา มี วั น ส� ำ คั ญ ตั้ ง แต่ วั น อนุ รั ก ษ์ ธรรมชาติ วันรัฐธรรมนูญ วันหยุดประชาชาติ และวัน เด็ก ชาวญี่ปุ่นจะน�ำธงปลาคาร์ฟมาแขวนที่หน้าบ้าน เป็นสัญลักษณ์ของความแข็งแรง และความพยายาม ไม่ท้อถอย ก่อนวันหยุดยาว อาจารย์จาก YMCA มาเยี่ยม ติดตามพัฒนาการด้านภาษา และช่วยแนะน�ำสิ่งที่ ควรปรับปรุง ให้ความรู้เกี่ยวกับภาษาญี่ปุ่นในการ บริการ และให้การบ้านเพิ่ม เพื่อให้เราเตรียมแนะน�ำ ตัวกับเจ้าของร้าน 7-Eleven ซึ่งจะเขียนมาเล่าให้ เพื่อนๆ ฟังใน PIM Magazine เล่มต่อๆ ไป ก่อนจบจดหมายฉบับแรก อยากบอกรุ่นน้อง ที่สนใจมาใช้ชีวิตนักศึกษาทุนในประเทศญี่ปุ่น เหมือนเราทัง้ 5 คน ว่าให้พยายามตัง้ แต่วนั นีเ้ ลย ไม่มอี ะไรทีย่ ากเกินความพยายามของเราค่ะ/ครับ คิดถึง บัว/ เพชร/ แมท/ หลิว/ อั้ม
PIM Magazine \ June 2012
15
WWW : World Wide Web เก็บโลกมาเล่า คทาเทพ พงศ์ทอง
เยอรมัน : รักษาความลับ ยึดมั่นกับความเป็น
นอกเหนือจากการเรียนรู้ “ชีวิตในห้องเรียน” นักศึกษายังต้อง
ศึกษา “ชีวติ คนท�ำงาน” ทีจ่ ะช่วยสร้างเสริมประสบการณ์ของ “มืออาชีพ” รุ่นใหม่ ที่จะต้อง “เข้าใจโลก” อันกว้างใหญ่และต้องตามให้ทัน ที่ส�ำคัญ จะ “ก้าวน�ำ” โลกได้อย่างไร? ถ้าเราไม่รู้จักพวกเขา ดังนั้น เรามาเริ่มต้น รู้จักแนวคิดในการท�ำงาน วัฒนธรรมในการท�ำงานของประเทศต่างๆ ใน โลกกันดีกว่าครับ
ญี่ปุ่น :
งานเป็นงาน เล่นเป็นเล่น เน้นความสัมพันธ์กันในองค์กร ลดทอนการแสดงอารมณ์ ชืน่ ชมและเคารพผูใ้ หญ่ และก้าวไปสูเ่ ป้าหมายร่วม กัน คุย “ธุรกิจ” กับชาวญีป่ นุ่ ต้องไม่ลมื พก “นามบัตร” ทีต่ อ้ งแลกกับเขาเสมอ เพราะนีค่ อื สัญลักษณ์ของการให้เกียรติกนั และทีส่ ำ� คัญต้องเอาใจใส่อา่ นราย ละเอียดในนามบัตรด้วย ไม่ต้องแปลกใจที่นามบัตรชาวญี่ปุ่นมักจะมีรูปถ่าย ของตนอยู่ในนามบัตร ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่น่ารักตามสไตล์แดนอาทิตย์อุทัย และการนัดพบชาวแดนปลาดิบควรไปก่อนเวลานัด
จริง เป็นน�้ำนิ่งไหลลึก ตรึกตรองอย่างมีระบบ เลือกคบคน ที่ตรงไปตรงมา และการตรงต่อเวลาเป็นเรื่องส�ำคัญ ปกติแล้วการทักทายแบบยุโรปจะใช้การจับมือ หรือ เราเรียกติดปากทับศัพท์กันว่า Shake hand แต่หาก เป็ น การทั ก ทายกั บ คนเยอรมั น แล้ ว เราต้ อ งใส่ ค วาม นอบน้อมลงไปด้วยการ “ก้มศีรษะ” เล็กน้อย จะให้ดีที่สุด ควรแต่งกายแบบอนุรักษ์นิยม สุภาพ และดูภูมิฐานแบบ มืออาชีพ มากกว่าจะเน้นแบบแฟชั่นราวกับเดินออกมา จากรันเวย์
ไทย : ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง ไม่ชอบการแข่งขัน
ความสัมพันธ์เป็นเรื่องใหญ่ ไม่เป็นไรเป็นค�ำติดปาก ไม่ อยากมีปัญหา และไม่กล้าเอ่ยปาก “ปลอดภัยไว้กอ่ น” น่าจะเป็นค�ำจ�ำกัดความทีด่ สี ำ� หรับ การท�ำงานกับคนไทย ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ค่อยอยากมีปัญหา กับใคร และมีคา่ นิยม “ท�ำดีได้แต่อย่าเด่นจะเป็นภัย” ท�ำให้ หลายความคิดแนวใหม่ไม่คลอดสักที ข้อดีคือมีความรัก ความผูกพันแบบครอบครัวในองค์กร แต่ถา้ ได้ยนิ ค�ำว่า “ไม่ เป็นไร” ให้คดิ สักนิดว่าอาจจะ “เป็นอะไร” ก็ได้ ให้ออ่ นน้อม กับผู้ใหญ่ ไม่ก้าวร้าว จะเป็นผลดีกับตน และพยายาม หลีกเลีย่ งความขัดแย้ง และดูทศิ ทางลมให้ดกี อ่ นตัดสินใจ ใดๆ ลงไป และสร้างเสริมก�ำลังใจด้วยการ “ยิ้มสู้”
จีน : ขยันอยู่เป็นนิจ ผูกมิตรก่อนคิดเจรจา ใบหน้า
ต้องมีรอยยิ้ม เน้นพูดช้าๆ ชัดๆ และอย่าลืมจัดของก�ำนัล แทนน�้ำใจ การเริ่มต้นธุรกิจกับชาวจีน “การสร้างความสัมพันธ์” ส�ำคัญอย่างยิง่ อย่าด่วน Hit to the point หรือตีหวั เข้าบ้าน คุยงานในการเริม่ ต้นบทสนทนา ชวนจิบน�ำ้ ชาหรือเปิดโต๊ะ อาหาร การคุยงานจะราบรืน่ ฟันธง! ควรระมัดระวังการให้ เกียรติผู้อาวุโส ไม่คุยโวโอ้อวดมากจนเกินไป ให้พยายาม สร้างความรู้สึกในเชิงบวก และขาดไม่ได้คือการให้ของ ขวัญในโอกาสส�ำคัญต่างๆ แทนความใส่ใจและน�้ำใจของ ผู้ให้ต่อผู้รับ
สหรัฐอเมริกา : มีความคิดสร้างสรรค์ แยก ความสัมพันธ์ออกจากงาน ฉะฉาน ตรงไปตรงมา วัดคุณค่า ด้วยประสิทธิภาพงาน มหาอ�ำนาจทีม่ คี วามหลากหลายในเรือ่ งของชาติพนั ธุ์ ท�ำให้การท�ำงานแบบอเมริกันนั้นเปิดกว้าง เสรีและไม่มี พิธีรีตองมากนัก แต่อย่างไรก็ตามแม้ไม่ยึดติดในรูปแบบ แต่การวิจารณ์การท�ำงานอย่างตรงไปตรงมา ถือเป็นสไตล์ ที่หลายคนอาจรู้สึกว่าแรงและดูจะกระทบความสัมพันธ์ ส่วนตัว แต่อย่าตระหนกไปครับ ชาวอเมริกัน “แยกแยะ เรือ่ งส่วนตัวกับงานอย่างชัดเจน” และมุง่ เน้นผลส�ำเร็จหรือ ประสิทธิภาพของงาน หลังจากนัน้ ก็เฮฮากันได้เหมือนเดิม 16
PIM Magazine \ June 2012
“นี่คือ หนังโฆษณา ของเรา” PIM ในโทรทัศน์ ภาพยนตร์โฆษณา PIM ปี 2555 มีแนวคิดว่า จุดเด่นและแตกต่างของ PIM สถาบันอุดมศึกษาหนึ่งเดียวที่เน้น หลักสูตรการเรียนทฤษฎีควบคู่ปฏิบัติ (Work-based Learning) ตลอด 4 ปี กับมืออาชีพ องค์กรธุรกิจชั้นน�ำอย่าง บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) และองค์กรพันธมิตร เนื้อเรื่องเล่าผ่านกลุ่มนักศึกษาในห้องเรียน ผลักก�ำแพงห้องเรียน ออกไปพบการฝึกปฏิบตั ใิ นสถานทีจ่ ริง ทีต่ กึ ทรู (True) เป็นทีน่ กั ศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝึกประสบการณ์การจัดการข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ กับ บริษัท ทรู ทัช จ�ำกัด ผู้น�ำการให้บริการด้าน Customer Service Solution นักศึกษาอีกกลุ่มผลักก�ำแพงอีกด้าน เข้าไปฝึกประสบการณ์จริงกับ ธนาคารแห่งประเทศจีน (Bank of China) ธนาคารที่ ใหญ่เป็นอันดับ 1 ของประเทศจีน นักศึกษาจากคณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาจีน ธุรกิจ ได้ใช้ภาษาจีนแนะน�ำด้านการติดต่อลงทุนกับลูกค้า ภาพตัดกลับมาที่กลุ่มนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ สาชาวิชาการจัดการ ค้าปลีก ผลักก�ำแพงห้องพบกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) พวกเขาได้เรียนประสบการณ์กับผู้น�ำธุรกิจค้าปลีก ตั้งแต่ขั้นตอน การคัดสรรสินค้า เพื่อส่งมอบสินค้าคุณภาพแก่ลูกค้ากว่า 8 ล้านคน ต่อวัน เม่ื่อนักศึกษาคนหนึ่งหาปากกาเพื่อจดข้อมูลนี้ คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ CEO บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) และผู้ก่อตั้ง PIM ได้เดินเข้ามายื่นปากกาให้นักศึกษา นี่คือความใส่ ใจของมืออาชีพ กับบุคลากรในอนาคต
“ประสบการณ์จากองค์กรที่มีคุณภาพ หล่อหลอมบัณฑิตให้พร้อมท�ำงานอย่างมืออาชีพ” PIM Magazine \ June 2012
17
PIM in Trend
เสื้อสูทเป็นเสื้อนอกที่ผู้คนคุ้นเคยกันมานานมากที่สุด แต่โลกแฟชั่นและโลกการท�ำงานยุคนี้ เสื้อนอกกลายเป็นส่วน ส�ำคัญที่คนท�ำงานหลายคนขาดไม่ได้ไปเสียแล้ว ค�ำว่า “suit” ยืมมาจากค�ำว่า “suite” ในภาษาฝรั่งเศส มีความ หมายว่า “ตาม” เพราะสูทเป็นชุดเครือ่ งแต่งกายทีต่ อ้ งใส่คกู่ นั มีเสือ้ นอก กางเกงขายาว และเสื้อกั๊ก โดยทุกชิ้นมักมีสีเดียวกันและใส่ ด้วยกันเสมอ บางยุคต้องสวมหมวก ถุงมือ และต้องถือไม้เท้าด้วย สูท จากความเคร่งขรึมเป็นทางการ เฉพาะผู้ชาย สวมใส่อย่าง มีพธิ รี ตี รองของชนชัน้ สูงชาวตะวันตก ความเปลีย่ นแปลงของโลกก็ ปรับสูทให้กลายเป็นเครือ่ งแต่งกายทีย่ งั คงเป็นทางการ ทว่าร่วมสมัย และมีสีสันขึ้น และเป็นที่นิยมข้ามมาสู่ซีกโลกตะวันออก ที่ส�ำคัญ สูทกลายเป็นอาภรณ์ตัวส�ำคัญส�ำหรับผู้หญิงไม่ต่างจากผู้ชายเช่น กัน ทุกวันนี้ “สูท” คือเครื่องแต่งกายส�ำคัญโดยเฉพาะในแวดวง ธุรกิจเอกชน อาจไม่เคร่งครัดในธรรมเนียมการใส่นัก ส�ำหรับผู้ชาย ถึงการสวมเสื้อสูททับเสื้อเชิ้ตไม่ผูกเนคไทจะดูเท่ก็ตาม แต่ในวันที่ ต้องการความเป็นทางการแล้ว เนคไทคือส่วนประกอบส�ำคัญตาม ธรรมเนียม การใส่สูทอาจดูมีข้อปฏิบัติเคร่งครัด แต่แฟชั่นการสวม เสือ้ นอกของผูช้ ายก็หลากหลายไม่แพ้ผหู้ ญิง เพราะเดีย๋ วนีด้ ไี ซน์เนอร์ ก็ขยันออกแบบเสื้อนอกทั้งแจ็คเก็ต เบลเซอร์ (Blazor) มาสวยๆ แพทเทิร์นเก๋ เนื้อผ้าแปลกตา ดูสมาร์ทมาให้เลือกใส่ทุกฤดูกาล
แจ็คเก็ตพิมพ์ลาย สวมทับเสื้อผ้า สีเข้ม เท่านี้ก็แทบไม่ต้องใส่เครื่อง ประดับเพิ่มแล้ว
ปกติเสื้อเบลเซอร์คือเสื้อแบบ เรียบๆ คัตติ้งเนี้ยบ แต่สีสันสดใส
เบลเซอร์สไตล์ทักซิโด เรียบ หรู และสมาร์ท
แจ็คเก็ตทักซิโด เสื้อเชิ้ต และกางเกง สีสด เปลี่ยนลุคเรียบๆ ให้สะดุดตา
เบลเซอร์ผ้าลูกไม้
เสื้อสูททับเสื้อเชิ้ตเต็มยศแต่ น่าสนใจที่เนคไทหลากสี
ชุดเบลเซอร์ เสื้อนอกและกางเกงเข้าชุด ดูเป็นทางการถึงเสื้อตัวในไม่ใช่เชิ้ตตามสูตร
สูท เบลเซอร์ และแจ็คเก็ตต่างกันอย่างไร
สูท ชุดเสื้อผ้าซึ่งมีดีไซน์ค่อนข้างเคร่งขรึมและแพทเทิร์นค่อนข้าง ตายตัว ถูกสวมใส่ในโอกาสเป็นทางการ ต้องสวมให้เข้ากันเป็นชุดเสือ้ สูทกับกางเกงหรือกระโปรง ในบรรดาแจ็คเก็ตที่หลากหลาย เบลเซอร์ ก็คือเสื้อแจ็คเก็ตชนิดหนึ่ง เสื้อนอกที่ตัดเย็บอย่างมีดีไซน์ แพทเทิร์น ปรับไปตามสมัยและกระแสแฟชั่น เนื้อผ้าอาจมีลวดลายหรือสีสัน สดใส และมีน�้ำหนักเบาสวมใส่สบาย มีความล�ำลองมากกว่าสูท จึง สวมใส่ได้ในหลายสภาพอากาศตามลักษณะเนื้อผ้าและการตัดเย็บ การเลือกสูทและเบลเซอร์ ไม่ว่าดีไซน์จะเก๋ไก๋อย่างไร ควรเลือก การตัดเย็บที่ประณีต ขนาดพอดีตัวไม่คับหรือหลวมเกินไป ง่ายที่จะ แมทช์กบั เสือ้ ผ้าในตู้ แบบเก๋แต่กค็ วรใช้งานได้นาน แต่สดุ ท้ายคงต้อง เลือกตามความชอบและรสนิยมของเราเอง
ติดหูกระต่ายอันเดียวก็เปลี่ยน อารมณ์เสื้อผ้า
เสื้อเบลเซอร์ไม่ผูกเนคไท ก็ ยังดูภูมิฐานและเท่
18
PIM Magazine \ June 2012
เพิ่มความเป็นทางการ ด้วย แจ็คเก็ตสีด�ำเรียบสวมทับ เดรสสีสด
New Innovation ดร.ธันยวัต สมใจทวีพร porpostbox@hotmail.com
ผมเป็นคนไม่ชอบห้องเรียนมาตัง้ แต่เด็ก
แต่ถึงเกลียดก็ไม่เกเร ในตอนแรกที่บ้าน วางแผนให้เรียนถึงแค่ ม.6 และก็กลับไป เป็นเถ้าแก่ขายมอเตอร์ไซค์ที่ต่างจังหวัด แต่เหตุการณ์หลายอย่างพลิกผัน จากแผนเดิมทีเ่ คยวางไว้กลายเป็นจบดอกเตอร์ไป แต่ถงึ อย่างนัน้ ผมเองก็ไม่ เคยชื่นชอบเรื่องการศึกษาสักเท่าไหร่ ในดุษฎีนิพนธ์ของผม (รายงานระดับ ปริญญาเอก) ได้ระบุไว้ว่านี่เป็นงานทางด้านการศึกษาชิ้นสุดท้ายที่ผมจะท�ำ แต่รู้ตัวอีกทีก็มาเป็นอาจารย์ที่ PIM ได้ปีกว่าแล้ว
PIM
มีความพิเศษ คือ การเรียนรู้ก็เป็นแบบพิเศษ ต้องท�ำงานควบคู่กับ การเรียน การบริหารก็เป็นแบบพิเศษโดยมีบริษทั ยักษ์ใหญ่หนุนหลัง นักเรียนทีน่ ไี่ ม่ ได้มาเพื่อเรียนหนังสือ แต่มาเพื่อสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผมเชื่อว่าสถาบันอื่นๆ ไม่สามารถให้ได้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยเท่าทีน่ ี่ สงสัยว่านีแ่ หละคือเสน่หท์ ที่ ำ� ให้ผม อยูท่ ี่ PIM แต่ดว้ ยความไม่ชอบห้องเรียนแบบเดิมๆ ผมจึงแสวงหานวัตกรรมทางการ เรียนรู้แปลกๆ มาใช้ บทความนี้ผมจะเล่าถึงประสบการณ์ในการน�ำเอานวัตกรรม เหล่านั้นมาใช้ใน PIM นะครับ ช่วงแรกของการท�ำงาน ผมต้องไปประจ�ำอยู่ในส่วนของปริญญาโท (MBA Retail Management) เจอโจทย์ยากเพราะต้องสอนวิชาธุรกิจให้กับพวกพี่ๆ นักศึกษาที่มีประสบการณ์การท�ำงานในองค์กรธุรกิจมาแล้วหลายปี ดีที่ว่า MIT ( Massachusetts Institute of Technology) ประเทศสหรัฐอเมริกาได้คิดค้น “เบียร์ เกม” ขึ้นมา เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนรู้วิชาการบริหารธุรกิจ เบียร์เกมเป็นเกมง่ายๆ แต่ท้าทาย ในเกมหนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยผู้เล่น 4-8 คน โดยเล่นเป็น ร้านค้าปลีก ร้านค้าส่ง ศูนย์กระจายสินค้า และโรงงานผลิตเบียร์ ผูเ้ ล่นจะต้องคอยสัง่ ของให้พอเหมาะแก่การขาย โดยผูเ้ ล่นเป็นร้านค้าปลีกจะมีการ์ด วางอยู่ข้างหน้า เมื่อเปิดออกมาจะทราบว่าต้องส่งเบียร์ให้ลูกค้ากี่ลัง หลังจากส่ง สินค้าเสร็จ ก็จะสั่งของไปที่ร้านค้าส่ง จากนั้นร้านค้าส่งจะสั่งของไปที่ศูนย์กระจาย สินค้า โดยสินค้าก็มาจากโรงงานนั่นเอง เป็นเกมทีม่ แี นวคิดง่ายๆ แต่เมือ่ ได้เล่นแล้ว ผูเ้ รียนจะเข้าใจถึงแก่นแท้ของระบบ พลวัตทางธุรกิจ (System Dynamic) และทฤษฎีแส้มา้ (Bullwhip Effects) จากการ เล่นเกมผู้เรียนจะได้รู้ว่าตนเองสั่งของเกินขนาดอย่างมาก การบริหารโกดังของตน ก็ไม่ได้เป็นไปตามทีค่ าดหวังไว้ แต่วธิ กี ารเรียนรูน้ ใี้ ห้ผลดีอย่างไม่นา่ เชือ่ เพราะพวก พีๆ่ นักศึกษาต่างชืน่ ชอบกัน เกิดความเข้าใจว่าท�ำไมบางครัง้ สัง่ ของไปถึงไม่สง่ ของ มา ส่วนใครที่อยากรู้ก็ต้องลองเรียนดูกับทาง MBA ครับ ส�ำหรับตอนนี้ก็ขอเล่าให้ฟังสั้นๆ ก่อน ติดตามต่อในตอนถัดไปนะครับ
PIM Magazine \ June 2012
19
Our Network เรื่องเล่าขององค์กรบิ๊กไซส์
มนตกานต์ วีรชัยเดชอุดม montakanwer@cpall.co.th
กลับมาอีกครัง้ กับคอลัมน์เล็กๆ ขององค์กรบิก๊ ไซส์ ฉบับ Back to University ในฉบับนี้ น�ำเรื่องราวของอีกหนึ่งองค์กรที่ถือว่า เป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลือ่ นทางธุรกิจให้เกิดความสัมพันธ์ทดี่ ขี นึ้ ระหว่าง “ลูกค้า” และ “ธุรกิจ” ด้วยหัวใจทีพ่ ร้อมบริการเสมอของ “True Touch” ทุกวันนี้ เราคงจะปฏิเสธกันไม่ได้แล้วว่า การให้บริการด้วย มิตรภาพ สามารถกุมหัวใจลูกค้าและส่งผลให้กลับมาเลือกใช้สินค้า และบริการต่างๆ ได้โดยอัตโนมัติ ท�ำให้ศาสตร์ของลูกค้าสัมพันธ์นั้น เข้ามามีบทบาทในวงการธุรกิจมากขึน้ ถือเป็นศาสตร์พเิ ศษทีต่ อ้ งการ ผู้ที่เข้าใจเป็นพิเศษเลยทีเดียว และจะดีแค่ไหนคะ ถ้าเรามีองค์กรที่ เชีย่ วชาญเป็นสือ่ กลางให้เราสามารถ “เข้าถึง” และ “เข้าใจ” กลุม่ ลูกค้า ที่มากขึ้นได้ หนึ่งในผู้น�ำด้านนี้ หากไม่คิดถึง “True Touch“ ก็คงต้อง บอกว่า งานนี้พลาดอย่างแรง!!!
20
PIM Magazine \ June 2012
ด้วยชื่อของ True น�ำหน้าอาจจะสร้างความคุ้นหูให้น้องๆ หลายคน แต่บางคนก็คงยังไม่แน่ใจว่าจริงๆ แล้ว True Touch เป็น องค์กรแบบไหนกันนะ ไม่ต้องรอเล่มหน้า PIM Magazine มีค�ำ เฉลยให้น้องๆ ณ บัดนาวเลยค่ะ True Touch เป็นอีกหนึ่งองค์กรผู้น�ำในการให้บริการด้าน Customer Service Solution ครบวงจร มีมาตรฐานการท�ำงาน เทียบเท่าระดับสากล มีความพร้อมในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น เทคโนโลยีที่น�ำสมัย กระบวนการท�ำงาน และบุคลากร พร้อมทั้ง ออกแบบและสร้างสรรค์บริการต่างๆ ให้เหมาะสมกับองค์กรแต่ละ แห่ง ส่งผลให้ True Touch ไม่ได้ให้บริการเพียงแค่ศูนย์ลูกค้า สัมพันธ์ครบวงจรเท่านั้น แต่ยังเป็นผู้ให้บริการในการวางระบบ Customer Service (การให้บริการลูกค้า) และให้ค�ำปรึกษาด้าน เทคโนโลยีที่ได้ใจลูกค้าอีกด้วย ด้วยความมุง่ มัน่ ของ True Touch ทีจ่ ะ “ดูแลลูกค้าขององค์กร ต่างๆ ให้เสมือนลูกค้าของตัวเอง” มุง่ เน้นการพัฒนาการให้บริการ ด้าน Call Service ที่น่าประทับใจ และบุคลากร รวมถึงเทคโนโลยี ที่พร้อมเติมเต็มระบบการให้บริการในรูปแบบศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ แบบครบวงจร ส่งผลให้ตลอดระยะเวลา 15 ปีที่ผ่านมา True Touch ได้เป็นทีร่ จู้ กั และได้รบั ความไว้วางใจจากองค์กรยักษ์ใหญ่ ในการให้บริการลูกค้า เริม่ ตัง้ แต่ True รวมถึงองค์กรทัง้ ภาครัฐและ เอกชนต่างๆ เช่น ธุรกิจธนาคาร ประกันภัย ไอที สายการบิน อสังหาริมทรัพย์ น้องๆ เริ่มอยากรู้แล้วสิคะว่า ความส�ำเร็จภายใต้รอยยิ้มแห่ง มิตรภาพเหล่านี้ยังมีเคล็ดลับอะไรที่มัดใจลูกค้าได้อีก มาสิคะ มา เป็นสมาชิก PIM พร้อมกับลงมือปฏิบัติจริงด้านงานระบบกับ องค์กรบิ๊กๆ แห่งนี้ “True Touch” แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้ากับเรือ่ งเล่าขององค์กรบิก๊ ไซส์ทยี่ งั คง มีเรื่องเล่าอย่างไม่สิ้นสุด
What’s New
ไคเซ็นในส�ำนักงาน (Office no Jimukaizen)
ผู้เขียน ฟุจิอิ มิโฮโยะ แปลและเรียบเรียงโดย สุลภัส เครือกาญจนา ส�ำนักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2554
คู่มือหมากกลยุทธ์
ผู้เขียน พีรยุทธ พิริยะโยธิน ส�ำนักพิมพ์ธรรมสาร, 2554
คู่มือเกมจ�ำลองยุทธยุคปัจจุบัน เล่นบน แผ่นตารางช่องหกเหลี่ยม ตัวหมากใช้แทน หน่วยรบส�ำคัญฝ่ายละ 16 หน่วย กฎกติกา ผลงานของวิทยากรผู้เชี่ยวชาญและที่ สั้นๆ เข้าใจง่าย คล้ายหมากรุก สามารถเล่น ปรึกษาไคเซ็นงานธุรการให้กับองค์กรต่างๆ โต้ตอบกันได้ดว้ ยกลยุทธ์หลายรูปแบบ เลียน ในญี่ปุ่นกว่า 800 แห่ง น�ำเสนอวิธีปรับปรุง แบบการยุทธจริง (ไคเซ็น) งานในส�ำนักงานอย่างรอบด้าน ซึ่ง จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน การ สื่ อ สารกั บ เพื่ อ นร่ ว มงานอย่ า งราบรื่ น ลด ความสูญเปล่าในองค์กร และงานเสร็จทัน ก�ำหนดโดยไม่ต้องท�ำล่วงเวลา น�ำไปสู่ความ สมดุลทั้งในชีวิตการท�ำงานและชีวิตส่วนตัว
Revolutionary Road ถนนแห่งฝัน สองเรานิรันดร์
ผลงานก�ำกับของ Sam Mendes น�ำแสดงโดย Leonardo DiCaprio Kate Winslet / Christopher Fitzgerald
จดหมายรักฝรั่งเขียนอย่างไร
(How to write English love letters)
ผู้เขียน ประเพศ ไกรจันทร์ พี เอส เพรส, 2554
รวมขั้นตอนวิธีการเขียนจดหมายภาษา อั ง กฤษหลากหลายรู ป แบบที่ ง ่ า ยต่ อ การ ท�ำความเข้าใจ ทั้งโครงสร้างและตัวอย่าง ประกอบ พร้อมค�ำแปลชัดเจน เหมาะอย่างยิง่ ส�ำหรับผู้ที่ก�ำลังเริ่มเขียนจดหมายรัก หรือ จดหมายภาษาอังกฤษ รวมถึงผู้ที่ต้องการน�ำ ภาษาอังกฤษไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
ดั ด แปลงจากนวนิ ย ายของ Richard Yates ซึ่งนิตยสารไทมส์จัดให้เป็นหนังสือ 1 ใน 100 เล่มที่คนอเมริกันควรอ่าน เรื่องราว ของคู่สามีภรรยาที่ตัดสินใจซื้อบ้านหลังหนึ่ง บนถนนชื่อ “ปฏิวัติปรับเปลี่ยน” โดยมีฉาก หลักเป็นอเมริกายุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สะท้อนแง่มุมชีวิตครอบครัวอเมริกัน และ สภาพสังคมที่บีบบังคับให้หัวหน้าครอบครัว ตกเป็นทาสของระบบทุนนิยม ภายใต้เปลือก ของมนุษย์เงินเดือนผู้สมบูรณ์แบบ ในขณะที่ ภรรยาคื อ ตั ว ละครฝั ่ ง ตรงข้ า มที่ ต ้ อ งการ ปลดแอกความซ�้ำซากจ�ำเจ
Contagion สัมผัสล้างโลก
ผลงานก�ำกับของ Steven Soderbergh น�ำแสดงโดย Matt Damon Kate Winslet / Jude Law
เรื่องราวการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส ทางอากาศ ซึ่งร้ายแรงขนาดฆ่าคนตายได้ เพียงชัว่ ข้ามคืน เมือ่ ไวรัสนีแ้ พร่กระจายอย่าง รวดเร็ ว ไปทั่ ว โลก บรรดาหมอและนั ก วิทยาศาสตร์ตา่ งร่วมมือกันคิดค้นหาวิธยี บั ยัง้ รักษา ในขณะเดียวกัน ประชาชนต่างก็ดิ้นรน เอาชีวิตรอด
The Change-up โสดปุ๊บปั๊บ สลับพ่อเรือพ่วง
ผลงานก�ำกับของ David Dobkin น�ำแสดงโดย Jason Bateman Ryan Reynolds / Olivia Wilde
เหตุการณ์อันยุ่งเหยิงเกิดขึ้นเมื่อทนายความลูกสาม ผู้มีทุกอย่างในชีวิตพร้อมสรรพ ต้ อ งมาสลั บ ร่ า งกั บ เพื่ อ นซี้ ห นุ ่ ม โสดเจ้ า ส�ำราญ เรือ่ งราวยิง่ เข้มข้นขึน้ เมือ่ มีผชู้ ว่ ยสาว สุดเซ็กซี่ และพ่อผู้ห่างเหินเข้ามาช่วยด�ำเนิน เรื่อง สองหนุ่มต้องคอยระวังที่จะไม่ท�ำลาย ชีวติ ของกันและกันก่อนทีจ่ ะหาวิธกี ลับคืนร่าง ตัวเองให้ได้
PIM Magazine \ June 2012
21
What’s Next
30 พฤษภาคม งานสัมมนา “SMEs Go Inter ชี้ช่องรวยด้วยการส่งออก”
บรรยายพิเศษโดย คุณจิรภาพรรณ มลิทอง ผูอ้ �ำนวยการส�ำนักส่งเสริม ธุรกิจ SMEs เพือ่ การส่งออก กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้อง 3303 ชัน้ 3 อาคารอเนกประสงค์ สถาบัน การจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) สอบถามเพิ่มเติม: คุณพิมพ์ภัทรา จีระมนตรานนท์ ศูนย์บริหาร เครือข่าย SMEs บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) โทร. 0 2677 1023 E-mail : pimpattrajee@cpall.co.th
30 พฤษภาคม งานสัมมนา “เพิ่มความแกร่ง...แข่งขันธุรกิจแบบเหนือชั้น”
ผ่านกรณีศึกษา บริษัท ซีแมช คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด จัดโดย โครงการ Advanced Retail Management (ARM) ร่วมกับศูนย์นวัตกรรมทาง ธุรกิจ (BIC) ส�ำนักเครือข่ายทางธุรกิจ บมจ. ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) และส�ำนักบริการวิชาการ PIM เวลา 13.30 -16.30 น. ณ ห้อง 1111c ชั้น 11 CP Tower ถนนสีลม สอบถามเพิ่มเติม: คุณลักษมี กองชัยมงคล โทร. 0 2677 9064
9 มิถุนายน
12 มิถุนายน เสวนาพิเศษ โครงการปัญญาพารวย “4P ทีต่ อ้ งคิด: Product,
Price, Place, Promotions” โดยคุณชาย ปราบเล่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท พาภิญโญ กรุ๊ป จ�ำกัด (สบู่ Bennett) เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมกมลร�ำลึก ชั้น 20 อาคารธาราสาทร สอบถามเพิ่มเติม: คุณพัชนิษฐ์ จงรักษ์เดชสกุล ส�ำนักบริหาร เครือข่ายทางธุรกิจ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) โทร. 0 26771027 E-mail: phattchanittjon@cpall.co.th
20 มิถุนายน เสวนาพิเศษ “การสร้างแบรนด์แบบยั่งยืน” โดย ดร.ลักขณา
ลีละยุทธโยธิน ประธานกรรมการบริหารฝ่ายผลิตภัณฑ์อาหารเสริม เพื่อสุขภาพ บริษัท เซเรบอส แปซิฟิค จ�ำกัด เวลา 13.00-16.00 น. ณ Convention Hall ชั้น 3 สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) ส�ำรองที่นั่งและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อ คุณสุพจี ข�ำโสภี โครงการแข่งขันหุ่นยนต์เยาวชนชิงแชมป์ประเทศไทยประจ�ำปี ส�ำนักบริหารเครือข่ายทางธุรกิจ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) 2555 “Thailand Robofest Junior 2012” จัดโดย โรงเรียนสวนกุหลาบ โทร. 0 2677 1026 หรือ E-mail: supajeecom@cpall.co.th วิทยาลัย นนทบุรี ร่วมกับ PIM เวลา 08.30-16.00 น. ณ Convention Hall ชั้น 3 สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) สอบถามเพิ่มเติม: คุณวรรณวิภา วงศ์วิไลสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี สถาบั น การจั ด การปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ (PIM) โทร. 0 2832 0328 E-mail: wanvipawon@pim.ac.th
28 หรือ 29 มิถุนายน
11 มิถุนายน เปิดภาคเรียนหลักสูตรปริญญาตรี ปีการศึกษา 2555 22
PIM Magazine \ June 2012
กิจกรรมพิเศษ โครงการ PIM Open House ครัง้ ที่ 4 เปิดบ้าน
PIM และ CP All: เคล็ดลับการกระจายสินค้าไปยัง 7-Eleven 6,000 กว่าสาขา เวลา 08.30-16.00 น. ณ สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ (PIM) และศูนย์กระจายสินค้าบางบัวทอง สอบถามเพิ่มเติม: คุณอรทัย ทับทองห้วย ส�ำนักสื่อสารองค์กร สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) โทร. 0 2832 0203 E-mail: orathaithu@pim.ac.th
หน่วยงานต่างๆ ของ PIM ยินดีสนับสนุนและให้บริการอย่างมืออาชีพ สำ�นักส่งเสริมวิชาการ
“ส่งเสริมวิชาการ สร้างมาตรฐานทางการศึกษา” รับผิดชอบงานด้านหลักสูตร มาตรฐานการศึกษา งานทะเบียน ประมวลผล และงานบริการทรัพยากรสารสนเทศ (ห้องสมุด)
สำ�นักกิจการนักศึกษา
“กิจกรรมและวินัยสร้างสรรค์ ศิษย์เก่าสัมพันธ์ก้าวหน้า จัดหาทุนและสวัสดิการนักศึกษา จิตอาสาเพื่อสังคม” จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา สร้างเครือข่ายศิษย์เก่า จัดหาสวัสดิการและแหล่งทุน ตลอดจนงานวินัยนักศึกษา
สำ�นักเทคโนโลยีสารสนเทศ
“ส่งเสริมปัญญา พัฒนาเทคโนโลยี บริการที่ดีสู่สถาบัน” ให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ งานรักษาความปลอดภัย ของระบบ ตลอดจนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภายใน สถาบันฯ
สำ�นักส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม
“รู้คุณค่า พัฒนาศาสตร์ สืบสานศิลปะและวัฒนธรรม” สร้างจิตสำ�นึก และสนับสนุนกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมเพื่อ พัฒนาองค์ความรู้ของนักศึกษาในการสืบสานศิลปวัฒนธรรม ประจำ�ชาติ รวมถึงงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมจากนานา ประเทศ
สำ�นักพัฒนานักศึกษา
“เป็นหน่วยงานสำ�คัญที่ผลักดันและสนับสนุนรูปแบบการเรียน การสอน ด้วยการเรียนรู้จากการทำ�งาน” สนับสนุนการเรียนรู้ภาคปฏิบัติของนักศึกษา งานพี่เลี้ยงดูแล และติดตามนักศึกษา จัดกิจกรรมเตรียมฝึกเข้าทำ�งาน สรรหา ตำ�แหน่งงานของบัณฑิต ตลอดจนงานพิเศษสำ�หรับนักศึกษา
สำ�นักสื่อสารองค์กร
“บริหารจัดการด้านการตลาด การประชาสัมพันธ์ ทั้งในระดับ สถาบันการศึกษา ชุมชน สังคม ประเทศและภูมิภาค เพื่อเผย แพร่และดำ�รงไว้ซึ่งภาพลักษณ์ในการเป็นสถานศึกษาชั้นแนว หน้าด้านการจัดการธุรกิจ” รับผิดชอบงานแนะแนว รับสมัครนักศึกษา พัฒนาเครือข่าย และให้การต้อนรับผู้เยี่ยมชมสถาบันฯ ตลอดจนสื่อสารประชาสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกองค์กร