พี ไอ เอ็ม แมกกาซีน - ปที่ 3 ฉบับที่ 15 - ตุลาคม 2555
PIM Highlight สำนึกสวนรวม คือรากฐาน ทางวัฒนธรรม
JAPAN
日本
สารจาก อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ รองศาสตราจารย์ ดร. สมภพ มานะรังสรรค์ ในนามของผู้บริหาร คณาจารย์ และบุ ค ลากร ขอแสดงความยิ น ดี พ ร้ อ มกั บ ชื่ น ชมและ ภาคภูมใิ จกับมหาบัณฑิตและบัณฑิตทุกท่าน ในโอกาสทีส่ ำ� เร็จการศึกษา เป็ น บั ณ ฑิ ต ของสถาบั น การจั ด การปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ รุ ่ น ที่ 2 ประจ� ำ ปีการศึกษา 2554 ขอให้บัณฑิตใช้โอกาสแห่งความส�ำเร็จเป็นแนวทางน�ำความรู้ ความ สามารถและความเป็นมืออาชีพไปเป็นเครือ่ งมือในการประกอบอาชีพ สร้างชือ่ เสียงสูส่ าธารณะ และสร้างสรรค์สิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัวและสังคมต่อไป ในการเริ่มต้นในการ ประกอบอาชีพของท่านทั้งหลาย ขอให้มั่นใจในสติปัญญา ความสามารถ และองค์ความรู้ที่ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติจริงได้ พร้อมทั้งประพฤติตนให้เหมาะสม อยู่บนพื้นฐาน ของความซื่อสัตย์สุจริตในหน้าที่การงาน มีคุณธรรมและจริยธรรมตามจรรยาบรรณทางวิชาชีพ อย่างมั่นคง ดังปรัชญาของสถาบันที่ว่า “การศึกษาคือบ่อเกิดแห่งภูมิปัญญา” (Education is the Matrix of Intellect) จึงจะเกิดผลส�ำเร็จแก่ตนเองและประเทศชาติในส่วนรวมได้ ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โปรดคุ้มครองและดลบันดาลให้มหาบัณฑิต และบัณฑิตทุกท่านประสบความส�ำเร็จ มีความเจริญก้าวหน้าในชีวิต และสัมฤทธิ์ผลในสิ่ง อันพึงปรารถนาทุกประการ (รองศาสตราจารย์ ดร. สมภพ มานะรังสรรค์) อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
04 06 14 16 17 18 19 21 22
PIM Lobby PIM Highlight คนเก่ง PIM Letter From OSAKA PIM in Trend PIM Underline New Innnovation เก็บโลกมาเล่า Our Network
ต้อนรับสายฝนด้วย PIM Magazine ฉบับเดือนตุลาคม ที่มาพร้อมกับ กลิ่นไอแดนอาทิตย์อุทัย อย่างที่ชาว PIM Mag ทราบกันแล้วจากฉบับก่อนหน้านี้ ว่าสถาบัน การจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) สถาบันการศึกษาในกลุ่มซีพี ออลล์ มีโมเดลการศึกษาแบบ DJT (Deutsch Japan Thailand Business Model) ซึ่งอิงแนวทาง Work-based Learning ตามระบบการศึกษา แนวเยอรมัน ผสานแนวทางการพัฒนานวัตกรรมจากญี่ปุ่นและความ คิดสร้างสรรค์แบบคนไทย เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ที่เหมาะสมเพื่อสร้าง บุคลากรที่มีศักยภาพให้กับประเทศ แต่ท�ำไมต้อง “แบบญี่ปุ่น” PIM Magazine ฉบับนี้มีค�ำตอบให้ค่ะ
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (Panyapiwat Institute of Management) PIM Magazine : พี ไอ เอ็ม แมกกาซีน ปีที่ 3 ฉบับที่ 15 เดือนตุลาคม 2555 สำ�นักสื่อสารองค์กร ที่ปรึกษา: พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล บรรณาธิการบริหาร ปาริชาต บัวขาว บรรณาธิการ วรินทรา วิริยา กองบรรณาธิการ ดร.ธันยวัต สมใจทวีพร มนตกานต์ วีรชัยเดชอุดม ชนิดา วนารักษ์สกุล จุฬนี ศิริขันธ์ พิสูจน์อักษร สุธาสินี พ่วงพลับ กันย์อักษร ชื่นชมภู อรทัย ทับทองห้วย ศิลปกรรม เอกภพ สุขทอง
คทาเทพ พงศ์ทอง ดร.ดัชกรณ์ ตันเจริญ วาร์วี ชานวิทิตกุล คทาเทพ พงศ์ทอง ชนิดา วนารักษ์สกุล จุฬนี ศิริขันธ์
85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำ�บลบางตลาด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2832 0200 ถึง 14 โทรสาร 0 2832 0391 85/1, Moo 2, Chaengwattana Road, Bang-Talad, Prakkred, Nonthaburi, 11120 THAILAND Tel. 0 2832 0200 to 14 Fax 0 2832 0391
มาดูญี่ปุ่นในแง่มุมต่างๆ ย้อนไปยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นผัน ตัวเองจากประเทศเกษตรกรรมมาเป็นประเทศอุตสาหกรรมภายใน เวลา 50 ปี และอะไรเป็นแรงผลักดันให้ชาตินี้เติบโตอย่างน่าอัศจรรย์ จากความย่อยยับของสงคราม ผู้น�ำประเทศและคนในชาติได้รับการปลูกฝังอย่างไรให้มี “จิตส�ำนึกรัก ส่วนรวม” จนก่อเกิดเป็น “วินัยในการอยู่ร่วมกันของคนญี่ปุ่น” ที่เป็น รากฐานทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นของประเทศญี่ปุ่น และในคอลัมน์คนเก่ง PIM ชาว PIM Mag คงจ�ำน้องออยและน้องจูน 2 ใน 5 คนที่ได้รับทุนการศึกษาจากโครงการ Study & Work in Japan รุ่นที่ 1 ด้วยศักยภาพและประสบการณ์ที่สั่งสมมาตลอด 1 ปี ณ นคร โอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น ตอนนี้น้องทั้ง 2 คนได้น�ำองค์ความรู้ที่ได้กลับ มาพัฒนาธุรกิจร้านอิ่มสะดวกของบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ในต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่ Food Store Excellence และเจ้าหน้าที่พัฒนา หลักสูตรและการเรียนรู้ บริษัท ปัญญธารา จ�ำกัด เรียกได้ว่าถูกจอง ตัวตั้งแต่ยังเรียนไม่จบกันเลยนะคะ ปิดท้ายด้วยนวัตกรรมฮาๆ จากญี่ปุ่นใน New Innovation อ่านกันข�ำๆ มันส์ๆ มาดูกันว่าชาวญี่ปุ่นหยิบจับของใกล้ตัวมาใช้ประโยชน์ในชีวิต ประจ�ำวันได้ข�ำอย่างไร เมื่ออ่านจบกันคงไขรหัส DJT ได้ว่าญี่ปุ่นมีดีอย่างไร อากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย รักษาสุขภาพนะคะ
3
4
PIM เปิดบ้านรับรอง ทัพนักกีฬาฟันดาบซามูไร
PIM ลงนามบันทึกความร่วมมือ กับชมรมครูหุ่นยนต์ไทย
ในการเข้าแข่งขันรายการชิงแชมป์เอเชียสปอร์ต จัมบาระ ครั้งที่ 6 ประจ�ำปี 2555 The 6th AsiaOceania Sports Chanbara Championship 2012 เพือ่ เฟ้นหาสุดยอดนักกีฬาจาก 7 ประเทศ ทั่วเอเชีย ได้แก่ ญี่ปุ่น อินเดีย มาเลเซีย เนปาล สิงคโปร์ นิวแคลิโดเนีย และประเทศไทยไป แข่งขันชิงแชมป์โลกที่ประเทศญี่ปุ่นในเดือน พฤศจิกายนที่จะมาถึง ในการนี้ ดร.ดัชกรณ์ ตั น เจริ ญ รองคณบดี ฝ ่ า ยบริ ห ารและวิ เ ทศ สัมพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี PIM ในฐานะนายกสมาคมสปอร์ ต จั ม บาระ ประเทศไทย (TSCA) และเจ้าของรางวัลจากการ แข่ ง ขั น หลายสนามทั้ ง ในระดั บ ประเทศและ ระดับโลก เป็นหัวเรือใหญ่ในการประสานความ ร่ ว มมื อ จากหน่ ว ยงานต่ า งๆ อาทิ สถาบั น เทคโนโลยีไทย-ญีป่ นุ่ (TNI) สมาคมนักเรียนเก่า ญี่ปุ่นในพระบรมราชูปถัมภ์ (OJSAT) คณะ กรรมการจาก International Sports Chanbara Association (ISCA) ตลอดจนผู้สนับสนุนการ จัดแข่งขันครั้งนี้ให้ประสบความส�ำเร็จได้อย่าง สวยงาม
PIM ร่วมกับ บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จ�ำกัด บริษัท แกมมาโก้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และโรบอท บีกินส์ สร้างเครือข่ายและขยาย ความร่ ว มมื อ สนั บ สนุ น เยาวชนไทยในการ สร้างสรรค์นวัตกรรมด้านเทคโนโลยี ตลอดจน พัฒนาหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนา อุตสาหกรรมไทยให้ทัดเทียมกับนานาชาติ โดย เปิดบ้านต้อนรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลายกว่า 60 คนจากโรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี เข้า ค่ายปัญญาภิวัฒน์พัฒนาทักษะคอมพิวเตอร์ (GoGo Board) ฝึกทักษะการคิดแก้ปญ ั หาอย่าง เป็นระบบด้วยสมองกลในการสร้างหุน่ ยนต์ หรือ GoGo Board กับวิทยากรเจ้าของรางวัลสิ่ง ประดิ ษ ฐ์ ร ะดั บ โลก ดร.ธั น ยวั ต สมใจทวี พ ร อาจารย์ ป ระจ� ำ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี PIM
PIM Executive Lounge ครั้งที่ 1 รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี PIM ให้เกียรติเป็นประธานในงานเลี้ยงอาหารค�่ำ โครงการ PIM Executive Lounge ครั้งที่ 1 ใน ชื่อ “Dinner Talk with PIM President” พร้อม ด้วยคุณปาริชาต บัวขาว ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก สื่ อ สารองค์ ก ร PIM ร่ ว มให้ ก ารต้ อ นรั บ และ รับประทานอาหารค�่ำอย่างเป็นกันเองกับสื่อ มวลชนหลายส�ำนัก ได้แก่ คุณประหยัด เวศนา รัตน์ บรรณาธิการบริหารฐานออนไลน์ ฐาน เศรษฐกิจ คุณสาโรจน์ มณีรัตน์ หัวหน้าข่าว คุณปัญญ์ชลี พิมลวงศ์ ผู้สื่อข่าว หนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ และคุณจินดาวัฒน์ ลาภเลี้ยง ตระกูล ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ นับเป็น เวที แ ลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และถ่ า ยทอด ประสบการณ์ด้านการศึกษาในแบบเฉพาะของ PIM พร้อมให้ข้อมูลพัฒนาการด้านต่างๆ ของ PIM อย่างก้าวกระโดด เพื่อการต่อยอดด้าน ข่าวสารในสายสื่อมวลชนแวดวงการศึกษาของ ไทยต่อไป
Train the Trainer เสริมสร้างบุคลิกภาพครู
CLCP ต้อนรับและแนะแนว การเรียนต่อภาษาจีนธุรกิจ
นักศึกษาจีนธุรกิจคว้ารางวัล ประกวดทักษะภาษาจีน
PIM ร่วมกับส�ำนักบริหารเครือข่ายทางธุรกิจ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท โมเดิร์น คาส อินเตอร์เนชั่นแนล คอสเมติกส์ จ�ำกัด จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร Train the Trainer ตอน “เสริมสร้างบุคลิกภาพสู่การเป็น ครูยุคใหม่” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ คณาจารย์ได้มีองค์ความรู้และความพร้อมด้าน บุคลิกภาพ สามารถถ่ายทอดให้กลุม่ นักเรียนได้ ตลอดจนเพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่าง PIM กั บ โรงเรี ย นต่ า งๆ โดยได้ รั บ การสนั บ สนุ น ผลิตภัณฑ์จดั แต่งทรงผม Dcash พร้อมวิทยากร อ.ทนงศักดิ์ ทองน้อย Hair Stylist และผลิตภัณฑ์ เครื่องส�ำอาง Lifeford Paris พร้อมวิทยากร อ.ปาริฉตั ร ค�ำศรี Make Up Guru ให้ความรูแ้ ละ สาธิตการใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมบุคลิกภาพ
อ.นลินรัตน์ ธรรมพุฒิพงศ์ ผู้อ�ำนวยการอุทยาน ภาษาและวัฒนธรรมจีน PIM ให้การต้อนรับ คณะนักเรียนจากโรงเรียนเขลางค์นคร จ.ล�ำปาง เยี่ยมชมและฟังบรรยายเกี่ยวกับแนวทางการ เข้ า ศึ ก ษาต่ อ สาขาวิ ช าภาษาจี น ธุ ร กิ จ คณะ ศิ ล ปศาสตร์ โดยมี ค ณาจารย์ แ ละตั ว แทน นักศึกษาร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และถ่ายทอดประสบการณ์ในรัว้ PIM อย่างเป็น กันเอง
นางสาวชัชชลัยย์ เกตุแก้ว นักศึกษาสาขาวิชา ภาษาจีนธุรกิจ ชั้นปีที่ 2 คณะศิลปศาสตร์ คว้า รางวัลที่ 3 จากการประกวดทักษะภาษาจีน ครั้งที่ 2 ประจ�ำปี 2555 จัดโดยโรงเรียนสอน ภาษานานมี ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพ รั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เพื่ อ ให้ เยาวชนได้ แ สดงทั ก ษะการสื่ อ สารภาษาจี น อย่างสร้างสรรค์ ผ่านการท่องกลอน เล่านิทาน และร้องเพลง มีตัวแทนนักเรียน นักศึกษา จาก โรงเรียนและสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศเข้า ร่ ว มการแข่ ง ขั น กว่ า 300 ที ม โดยนางสาว ชัชชลัยย์ แสดงความสามารถด้วยการร้องเพลง และคว้ารางวัลในกลุม่ มัธยม-อุดมศึกษาได้สำ� เร็จ
PIM ต้อนรับคณะเยี่ยมชม จาก RMIT University (Australia) รศ.ดร.สมโรตม์ โกมลวนิช ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่าย วิ ช าการ พร้ อ มคณะผู ้ บ ริ ห าร ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก บริหารเครือข่ายทางธุรกิจ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ให้การต้อนรับ Mr.John Tyler และคณะเยี่ยมชมจาก RMIT University (Australia) เข้าประชุมหารือเกีย่ วกับความร่วมมือใน อนาคต โดยมหาวิทยาลัยดังกล่าวมีชื่อเสียง ด้านเทคโนโลยีและการออกแบบ ตลอดจนมี ผลงานวิจัยเป็นที่ยอมรับในระดับโลก
5
ญี่ปุ่นเป็นชาติแรกที่ ได้รับ การยกย่องว่ามีความเป็นสมัยใหม่ โดยไม่ ใช่ชาติตะวันตก
บ
ริษัทสัญชาติญี่ปุ่นย่านธุรกิจกลางกรุงเทพฯ และโรงงานสัญชาติญี่ปุ่นใน นิคมอุตสาหกรรมทัว่ ประเทศ ท�ำให้เกิดการจ้างงานและผลต่อเนือ่ งจากการ ลงทุนมากมาย เศรษฐกิจญีป่ ่นุ ทีซ่ อ้ นอยู่ในเศรษฐกิจไทยนัน้ มีขนาดมหึมา จนเราต้องศึกษาญี่ปุ่นให้รู้จักญี่ปุ่น มากกว่ารู้จักแค่สินค้า ดารา ชาเขียว และความ น่ารักคาวาอี้
ประเทศเกาะย่อมๆ กลางมหาสมุทรแปซิฟิกที่เป็นต้นแบบทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม เทคโนโลยี ไปจนถึงความคิดสร้างสรรค์ทเี่ กิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ งและทรงพลังจนไม่อาจ คลาดสายตา แม้ทั้งโลกมองด้วยความชื่นชม ทว่าหลายสิ่งก็เป็นเรื่องที่คนนอกยัง ฉงนฉงายเสมอมา การด�ำรงอยูข่ องความขัดแย้งอย่างยิง่ ระหว่างความละเมียดละไม ความเร่งรีบในเมืองใหญ่ นักชอปปิง้ อันดับต้นๆ ของโลก เทคโนโลยีลำ�้ หน้า ประเพณี โบราณที่แข็งแรง J-POP แฟชั่นความบันเทิงสุดขั้ว คุณภาพชีวิตสูงสุด และอัตรา การฆ่าตัวตายอันดับต้นๆ ของโลก นี่แหละคือญี่ปุ่นที่เราสนใจ มีเอกลักษณ์อย่าง ไม่มีใครเลียนแบบได้ PIM Magazine เล่มนี้ ขอชวนเลาะดูส่วนประกอบสร้างและความเป็นญี่ปุ่นจากแง่ มุมต่างๆ ทีท่ ำ� ให้ญปี่ นุ่ เป็นประเทศเดียวในโลกทีป่ รับเปลีย่ นจากประเทศเกษตรกรรม มาเป็นประเทศอุตสาหกรรมได้ส�ำเร็จในเวลาเพียง 50 ปี
6
เริ่มต้นจากจุดจบที่ย่อยยับ หลังระเบิดปรมาณูลูกแรกจากสหรัฐอเมริกาถูกส่งทิ้งลงฮิโรชิม่า ในเช้าวันที่ 8 สิงหาคม 1945 และตามมาด้วยลูกที่สอง ในวันที่ 9 สิงหาคม 1945 ที่นางาซากิ มีคนตายทันที 220,000 คน และเจ็บป่วยจากกัมมันตภาพรังสีของระเบิดอีก นับแสนคน ถือเป็นจุดตัดสินความพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ของญี่ปุ่น ไม่กี่วันต่อมา จักรพรรดิฮิโรอิโตประกาศยอมแพ้ออกอากาศทางวิทยุ และทรงบอก 1 ให้ประชาชน “ทนสิง่ ทีไ่ ม่อาจทนได้ และยอมรับสิง่ ทีม่ อิ าจยอมรับได้” นัน่ คือการเรียก ร้องให้ชาวญี่ปุ่นอดทนต่อความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นตามมา หลังจักรพรรดิฮิโรอิโตลงนามยอมแพ้สงครามบนเรือหลวงมิสซูรีของสหรัฐฯ ที่อ่าว โตเกียว กองทัพก็ถกู สลายลงกลายเป็นกองก�ำลังป้องกันประเทศภายใต้การควบคุม ของสหรัฐฯ พีเ่ ลีย้ งทีจ่ ะพาญีป่ นุ่ สลัดจากความเป็นเจ้าลัทธิจกั รวรรดินยิ มสูค่ วามเป็น ประชาธิปไตย ย้อนกลับไปหลายสิบปีก่อนหน้าในวันที่ญี่ปุ่นเริ่มปลดปล่อยตัวเองจากสนธิสัญญา ที่ไม่เป็นธรรมที่ท�ำขึ้นในสมัยจักรวรรดินิยมของตะวันตกเรืองอ�ำนาจ ญี่ปุ่นตั้งใจท�ำ ประเทศให้ทนั สมัยและเป็นอุตสาหกรรมเพือ่ ป้องกันตนเองจากชาติตะวันตก จนทีส่ ดุ กลายเป็นการสร้างลัทธิจกั รวรรดินยิ มของตัวเองขึน้ มีการปลูกฝังความคิดชาตินยิ ม อย่างจริงจังและรุนแรงตัง้ แต่ชว่ งทศวรรษที่ 1930 เป็นต้นมา เริม่ รุกรานอย่างก้าวร้าว เข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้านแถบเอเชียไปจนถึงประเทศยุโรปอย่างรัสเซีย ด้วยการน�ำ ของกองทัพ จนน�ำไปสูส่ งครามมหาเอเชียบูรพา และเข้าสูส่ งครามโลกครัง้ ที่ 2 ญีป่ นุ่ ทุม่ เทเกียรติยศและทรัพยากรมากมายในสงครามทุกครัง้ การท�ำสงครามเต็มรูปแบบ ท�ำให้ชาวญี่ปุ่นจ�ำนวนมากอยู่ในภาวะยากล�ำบากถึงขั้นอดอยากทั่วหัวระแหง แต่ ชาวญี่ปุ่นยังรบด้วยความดุดันและสิ้นหวัง เกิดนักบินรบที่เรียกว่า “กามิกาเซ่” การ บินเครือ่ งบินบรรทุกระเบิดพลีชพี ของนักบินหนุม่ หรือการ สูด้ ว้ ยท่อนไม้ หิน และมือ เปล่าของพลเรือนที่เกาะโอกินาว่าที่ไม่ยอมจ�ำนนต่อชาวอเมริกัน จนถอยร่นเข้าไป ในภูเขาจนไม่มที างหนีได้อกี จากนัน้ จึงฆ่าตัวตายเพราะไม่อยากถูกจับกุม เมือ่ โอกิน าว่าแตกมีชาวญี่ปุ่นเสียชีวิต 250,000 คน เป็นพลเรือน 150,000 คน เมื่อสงคราม สิ้นสุด ญี่ปุ่นสูญเสียผู้คนไปมากกว่า 3 ล้านคน เมือ่ ประสบความพ่ายแพ้ การถูกจ�ำกัดและควบคุมนโยบายระดับประเทศ ชาวญีป่ นุ่ จึงต้องใช้ก�ำลังใจและความเชื่อมั่นในชาติของตนอย่างยิ่งยวดเพื่อฟื้นฟูประเทศ ความพ่ายแพ้ในสงครามนีส้ ร้างความบอบช�ำ้ มาก จนนักเขียนทีศ่ กึ ษาเรือ่ งญีป่ นุ่ บอก ว่า “มิใช่การล้มละลายทางธุรกิจ หากเป็นการล้มละลายทางจิตวิญญาณ”2 แต่หลังจากนัน้ เพียง 20 ปี ญีป่ นุ่ ฟืน้ ประเทศและกลับเข้าสูส่ งั คมโลกได้อย่างมีศกั ดิศ์ รี การพลิกเปลี่ยนจากประเทศผู้แพ้สงครามสู่การเป็นประเทศที่มีความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจได้ เพราะการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง “ชีวิตส่วนตัว” กับ “ชีวิต สาธารณะ” เข้าด้วยกัน ซึง่ ส�ำนึกทางประวัตศิ าสตร์เช่นนีท้ ำ� ให้ชาวญีป่ นุ่ จะคิดถึง “คน อืน่ ” พร้อมกับการคิดถึง “ตนเอง” แต่จะไม่คดิ ถึง “ตนเอง” ก่อน”คนอืน่ ” -------------------------------------------------1. ญี่ปุ่นสมัยใหม่ ความรู้ฉบับพกพา, คริสโตเฟอร์ โกโต-โจนส์ เขียน, พลอยแสง เอกญาติ แปล 2. ปัญญาญี่ปุ่น, ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา เขียน
7
คิดถึงคนอื่นก่อนตัวเอง ความเจ็บปวดแสนสาหัส ไม่อาจทำ�ลายการยึดถือส่วนรวมได้ 67 ปีก่อนความปราชัยในสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงเหตุการณ์แผ่น ดินไหวระดับ 9 เกิดสึนามิถล่มญี่ปุ่นเมื่อปีก่อน สร้างความเสียหาย ทัง้ ชีวติ และทรัพย์สนิ มหาศาล สถานการณ์ตงึ เครียด น�ำ้ ไฟ ยารักษา โรค และอาหารขาดแคลน หวัน่ วิตกกับสารกัมมันตภาพรังสี แต่ไม่มี คนญีป่ ่นุ ตะโกนด่าทอรัฐบาล เจ้าหน้าทีบ่ า้ นเมือง ภาพทีเ่ ห็นคือชาว ญีป่ นุ่ ทัง้ หญิงชายเด็กแก่ยนื เข้าแถวอย่างสงบนิง่ รอคิวซือ้ สินค้า หรือ รอรับการแจกเจ้าหน้าทีน่ านนับชัว่ โมงอย่างมีวนิ ยั เป็นระเบียบ และ อดทน เมื่อถึงคิวเข้าซื้อของในซูเปอร์มาร์เก็ต ไม่มีการหยิบซื้อข้าว ของอย่างระห�ำ่ กักตุน พวกเขาหยิบในจ�ำนวนทีพ่ อเพียงในระดับน้อย ทีส่ ดุ เพือ่ แบ่งให้คนอืน่ ในวันเวลาวิกฤติอย่างนัน้ คนญีป่ นุ่ ผ่านความ ทุกข์มาได้อย่างไร
วินัยของคนญี่ปุ่นเกิดจากอะไร ญี่ปุ่นเป็นประเทศเกาะที่มีขนาดใหญ่กว่าอังกฤษไม่มาก แต่มี ประชากรระดับร้อยกว่าล้านคน การมีคนจ�ำนวนมากอาศัยบนเกาะ ซึง่ พืน้ ทีจ่ ำ� กัดทรัพยากรจ�ำกัด และมีพนื้ ทีร่ าบเป็นสัดส่วนไม่มาก คน ญีป่ นุ่ จึงเข้าใจดีวา่ การจัดสรรทรัพยากรอย่างเป็นธรรม จะเกิดได้เมือ่ ทุกคนได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน ภายใต้กฎกติกาที่ทุกคน เคารพร่วมกัน ชาวญี่ปุ่นเคร่งครัดในวินัย ด้วยความเชื่อพื้นฐานว่าต้องเคารพสิทธิ ของคนอื่น เพราะเชื่อว่าจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกลับมา เช่นกัน วินัยในความหมายของคนญี่ปุ่น ไม่ได้มีความหมายแค่การ ท�ำตามค�ำสั่ง อย่างนักเรียนท�ำตามค�ำสั่งครู ต�ำรวจทหารท�ำตามค�ำ สัง่ ผูบ้ งั คับบัญชา แต่วนิ ยั ของคนญีป่ นุ่ คือการแสดงออกถึงการเคารพ สิทธิของคนอื่น เคารพสิทธิของคนเข้าคิวก่อน เคารพการอยู่ร่วมกัน ในสังคม ทุกคนท�ำตามกติกาของสังคมอย่างเสมอภาค
ภาวะที่สงบนิ่งนี้ไม่ใช่การยอมรับชะตากรรมโดยไม่ดิ้นรน แต่การ ดิ้นรนต้องไม่ท�ำตามอ�ำเภอใจที่อาจกลายเป็นการละเมิดสิทธิส่วน สส.หรือรัฐมนตรีญปี่ นุ่ มีรถประจ�ำต�ำแหน่ง แต่การเดินทางโดยรถไฟ บุคคลของคนอ่ื่น หรือท�ำร้ายท�ำลายสังคม นี่คือพลังส�ำนึกถึงส่วน อย่างประชาชนทั่วไปก็ไม่ใช่เรื่องสมถะผิดปกติ เพราะสังคมญี่ปุ่น เป็นสังคมที่ทุกคนมีความเสมอหน้าเท่าเทียมกัน เพียงแต่ สส.หรือ รวมที่สร้างความเป็นญี่ปุ่นมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน รัฐมนตรีอาจมีชอ่ งหรือบัตรพิเศษเพือ่ ให้เข้าออกได้รวดเร็วขึน้ เพราะ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบมีความส�ำคัญต้องท�ำงานเพือ่ คนทัง้ ชาติ การ ได้รับสิทธิพิเศษที่ไม่มากเกินไปบางประการเพื่อให้ไปถึงสภาเร็วขึ้น ร่วมตัดสินใจผ่านกฎหมายได้เร็วขึ้น ประโยชน์จะกลับมาอยู่กับ ประชาชน
8
จากผู้แพ้สงคราม สู่ความร่ำ�รวยและสุขสบาย มากที่สุดประเทศหนึ่งในโลก
อู่ต่อเรือ ยุคฟื้นฟูหลังสงคราม
อนุสรณ์สันติภาพฮิโรชิมา หรือ โดมปรมาณู เพื่อระลึกถึงความน่าสะพรึงกลัวของระเบิดปรมาณู รถไฟหัวกระสุนรุ่นแรกๆ
โตเกียวทาวเวอร์ระหว่างก่อสร้าง
เติบโตอย่างน่าอัศจรรย์จากความย่อยยับของสงคราม เมื่อถึงต้นทศวรรษ 1950 รัฐบาลญี่ปุ่นมุ่งสู่ อุตสาหกรรมผลิตเหล็กกล้าและท�ำเหมือง ถ่านหิน พอปี 1960 ญี่ปุ่นกลายเป็นผู้ผลิต เรือรายใหญ่ที่สุดของโลก ถึงปี 1975 ร้อย ละ 50 ของเรือใหม่ในโลกผลิตจากญี่ปุ่น สงครามเกาหลี ท�ำให้นิสสัน โตโยต้า และ อีซูซุเติบโตเป็นอุตสาหกรรมยานยนต์ขนาด ใหญ่ ทีท่ ำ� ให้เศรษฐกิจญีป่ นุ่ เติบโตอย่างก้าว กระโดด ระหว่างปี 1950-1970 เมื่อไม่มีราย จ่ายทางการทหารอีกต่อไป เงินตราทีห่ นาขึน้ จึงถูกน�ำมาใช้กระตุ้นการส่งออกให้เติบโต อย่างรวดเร็ว ญี่ปุ่นทุ่มซื้อเทคโนโลยีใหม่ๆ จากฝั่งตะวันตก จึงไม่เสียเวลาและเงินกับ การพัฒนาเลย ช่วง 1950 โทรทัศน์ ตู้เย็น เครือ่ งซักผ้า เป็นเทคโนโลยี 3 สิง่ ทีค่ รอบครัว ต้องมี ฮิตาชิ มัตสุชิตะอิเล็คทริคจึงเริ่มผลิต เครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านั้น ปี 1956 ครอบครัว ญีป่ นุ่ มีโทรทัศน์ดแู ค่รอ้ ยละ 1 แต่ถงึ ปี 1960 ครึ่งหนึ่งของครอบครัวญี่ปุ่นต่างมีโทรทัศน์ ในบ้ า น และ 3 สิ่ ง ที่ บ ้ า นญี่ ปุ ่ น ต้ อ งมี คื อ เครื่องปรับอากาศ รถยนต์ และโทรทัศน์สี
ภาคเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรมเจริ ญ เติ บ โต สุดขีด ขณะที่ฟากสิ่งแวดล้อม ป่าร่นไปถึง ภูเขา ปี 1950 ผู้คนเจ็บป่วยด้วยโรคมินามา ตะจากพิษสารปรอท และโรคอิไตอิไตจาก แคดเมียม ผู้ได้รับผลกระทบถูกทิ้งไม่ได้รับ การแยแสใดๆ ต้องรออีก 20 ปีต่อมา เมื่อ ญี่ปุ่นตื่นตัวเรื่องสิ่งแวดล้อม และกลายมา เป็นผู้น�ำด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของโลก ตัง้ แต่ยคุ นัน้ เป็นต้นมา คนญีป่ นุ่ ท�ำงานหนัก อย่างมากเพื่อสร้างชาติ แต่การท�ำงานหนัก จนเกินไป ท�ำให้พนักงานผู้ทุ่มเทหลายคน ถึงขั้นเสียชีวิตระหว่างการท�ำงาน (Karoshi Syndrome) เมื่ อ เศรษฐกิ จ โตเร็ ว จึ ง เกิ ด ชนชั้นกลางกลุ่มใหม่ ท�ำงานและอาศัยใน เมือง เกิดเครือข่ายรถไฟครอบคลุมการเดิน ทาง ปี 1964 รถไฟชินคันเซ็น (Shinkansen) เปิดให้บริการ เชือ่ มโอซาก้าและโตเกียว และ ปีนนั้ นัน่ เอง ญีป่ นุ่ กลับเข้าสูช่ มุ ชนนานาชาติ อย่ า งน่ า นั บ ถื อ ในฐานะเจ้ า ภาพกี ฬ า โอลิมปิค
โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ โตเกียวโอลิมปิค 1964
9
สำ�นึกส่วนรวม คือ รากฐานทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมที่เริ่มจากธรรมชาติและการนึกถึงคนอื่น ความสะอาด
ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีความสะอาดมากๆ กระทั่งตามพื้นที่สาธารณะที่คน พลุกพล่านก็มคี วามสะอาดตาอยูส่ งู ซึง่ ความสะอาดสะอ้านระดับนี้ เกิดจากการ จัดการขยะอย่างเป็นระบบและจริงจัง ถังขยะส�ำหรับทิ้งขยะต่างประเภทวาง เรียงในพืน้ ทีส่ าธารณะ ตามบ้านตามชุมชนก็มกี ำ� หนดการทิง้ ขยะชนิดต่างๆ ตาม วันและเวลา ในพืน้ ทีท่ กี่ ำ� หนด ซึง่ กติกาอย่างนีอ้ าศัยวินยั ของคนอย่างมาก ความ จุกจิกซับซ้อนแบบนีท้ ำ� ให้คนญีป่ นุ่ สับสนเช่นกัน แต่เขาก็พยายามเรียนรู้ เพราะ ผลลัพธ์ที่ได้คือสภาพแวดล้อมเมืองและชุมชนที่ดีน่าอยู่อาศัย
ละเอียดลออรายละเอียดยุบยับ
ถามว่าชาวญี่ปุ่นให้ความส�ำคัญกับรายละเอียดแค่ไหน ให้เดินเข้าร้านร้อยเยน ร้านขายของราคาเดียวทีม่ ขี า้ วของเครือ่ งใช้ในบ้านเป็นพันรายการ แค่ของใช้ใน ครัวก็มีอุปกรณ์แยกยิบย่อย เครื่องปอกเครื่องตัดเครื่องหั่นเฉพาะอย่าง ตะกร้า ตะแกรงอีกสารพัด มีกระทัง่ ตะแกรงส�ำหรับรองหมูทอดทงคัทสึให้สะเด็ดน�ำ้ มัน ซึ่งนั่นแค่เครื่องครัว ซึ่งโดยทั่วไปชาวญี่ปุ่นให้ความส�ำคัญกับรายละเอียดแทบ ทุกสิ่ง ชาวญีป่ นุ่ ให้ความส�ำคัญกับฤดูกาลมาก แต่ละฤดูกาลมีรายละเอียดการใช้ชวี ติ ต่างกันไปเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพอากาศ เสื้อผ้า อาหาร ข้าวของเครื่องใช้ ประจ�ำฤดูจะถูกน�ำมาสับเปลี่ยน และผู้คนก็จะเฝ้ารอเทศกาลพิเศษประจ�ำฤดู ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูแห่งการเริ่มต้นสิ่งใหม่ เฝ้าดูการผลิบานและร่วงโรยของดอก ซากุระ พอเข้าฤดูร้อนคุณแม่บ้านจะน�ำข้าวของส�ำหรับฤดูร้อนมาผลัดเปลี่ยน ชุดเครื่องนอนฤดูร้อนที่บางกว่าถูกน�ำมาตากแดด กระดิ่งลมถูกน�ำมาแขวน ชุด ถ้วยชามแก้วใสถูกน�ำออกมาใช้แทนชุดถ้วยชามเซรามิคดินเผาสีทึม สาวๆ จะ ใส่ชดุ ยูกาตะไปชมเทศกาลดอกไม้ไฟ เมือ่ เข้าสูฤ่ ดูใบไม้รว่ งอากาศเย็น ก็ถงึ เวลา รอชมใบไม้เปลีย่ นสี และฤดูนเี้ ป็นฤดูแห่งศิลปะและการอ่าน พอเริม่ เข้าฤดูหนาว ผ้านวมผืนบางจะถูกเพิ่มความหนาหรืออาจใส่ผ้าขนสัตว์เพื่อให้อุ่นขึ้น
มีมารยาทอย่างสุดซึ้ง คนญี่ปุ่นมีความเกรงใจผู้อื่นอยู่ในระดับสูงมาก จึงปฏิบัติต่อคนอื่นด้วยความ ระวังรักษามารยาทและน�ำ้ ใจเสมอ หลายสิง่ จึงมีธรรมเนียมปฏิบตั ทิ มี่ แี บบแผน ตัวอย่างเรื่องเล็กๆ ที่คนญี่ปุ่นให้ความส�ำคัญ เช่น การส่งมอบนามบัตร เมื่อได้ รับนามบัตร ฝ่ายรับจะพูดว่า “โชได ชิมะสึ” ซึง่ หมายถึง “ขอรับไว้ดว้ ยความยินดี” และต้องระมัดระวังไม่ให้นวิ้ มือปิดส่วนทีเ่ ขียนชือ่ อีกฝ่ายหนึง่ หรือการเขียนอะไร ลงไปในนามบัตรต่อหน้าเจ้าของก็เป็นเรื่องเสียมารยาท ธรรมเนียมการให้ของขวัญช่วงปีใหม่ เรียกว่า “โอะเซโบะ” เป็นของขวัญที่มอบ แก่คนที่เรารบกวนเมื่อปีที่แล้ว เช่น เจ้านาย ครูของลูก พ่อแม่ ถึงฤดูร้อนมี “โอ ชูเก็น” เยี่ยมเยียนเยี่ยมไข้ เพราะฤดูร้อนคนญี่ปุ่นมักไม่สบาย สิ่งที่มอบให้จึง เป็นพวกของเย็นๆ เครื่องดื่มเย็นใส่โซดา เส้นบะหมี่เย็นโซเมนที่กินเฉพาะตอน หน้าร้อน
10
วินัยสุดเคร่ง ก่อความกดดันสุดโต่ง เกิดเป็นวัฒนธรรมสุดคัลท์*
ความหนาแน่นของประชากรทีม่ สี ดั ส่วนต่อพืน้ ทีส่ งู มากๆ ยิง่ ตามเมืองใหญ่ ก็ยงิ่ แออัดขึน้ ไปอีก การอยูรู่ วมกันในพืน้ ทีเ่ ล็กๆ ท�ำให้ตอ้ งจัดการเส้นแบ่ง ระหว่างพืน้ ทีส่ ว่ นตัวกับพืน้ ทีส่ าธารณะ เมือ่ เข้าสูพ่ นื้ ทีส่ าธารณะทีค่ บั แคบ อย่างรถไฟรถเมล์ ชาวญีป่ นุ่ จึงมีหนังสือเล่มเล็กอ่านเสมอ ไม่กฟ็ งั เพลงจาก อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ส่วนตัว หรือไม่ก็อ่าน ข่ า วอ่ า นหนั ง สื อ จาก โทรศัพท์มอื ถือ ในพืน้ ที่ สาธารณะพื้นที่น้อยๆ ญี่ปุ่นไม่อนุญาตให้ท�ำ เรื่องส่วนตัวที่จะท�ำให้ คนอืน่ อึดอัด ฉะนัน้ การ โทรศั พ ท์ บ นรถเมล์ รถไฟ อาจท�ำให้ถกู มอง ด้ ว ยสายตาแปลกๆ หรือไม่กถ็ กู เชิญลงจาก รถไปเลย ซึง่ การขีดเส้น แบ่งระหว่างพื้นที่ส่วน ตัวกับพื้นที่สาธารณะ อย่างเข้มงวดระดับนี้ ก็ เพื่ อ รั ก ษาความเป็ น ส่วนตัวของคนอื่นและ ตัวเอง ในภาวะปกติกรอบวินยั เข้มงวดของกฎเกณฑ์ กติกา บรรทัดฐานทาง สั ง คม และพิ ธี ก รรม ต่างๆ ก็สร้างแรงกดดัน แก่คนญี่ปุ่นอย่างหนัก เช่ น กั น อย่ า งความ กดดั น ของซาราริ มั ง ซารารี่แมน หรือมนุษย์เงินเดือนต่อล�ำดับชั้นการท�ำงานในบริษัท ล�ำดับ ความอาวุโส ภาพความเคร่งเครียดของพนักงานบริษัทชายหญิงในช่วง เวลากลางวัน จะกลายเป็นกลุม่ เพือ่ นร่วมงานทีเ่ ฮฮาสังสรรจนดึกดืน่ เพราะ
กลางวันเครียดมาก หลังเลิกงานจึงถือเป็นเวลาปลดปล่อยผ่อนคลาย จนชาวออฟฟิศจ�ำนวนไม่นอ้ ยอยูใ่ นสภาพเมาหัวราน�ำ้ ยามดึกดืน่ บางคน เมาอาเจียนริมถนน หรือนอนสลบคาสถานีรถไฟกลายเป็นภาพที่ชินตา นั่นเป็นตัวอย่างหนึ่ง วัยวันแห่งการปลดปล่อย แฟชั่นสุดชีวิตตามแบบ ฮาราจูกุ ผมสีแดงสุดปีด๊ ไถเกรี ย นรอบข้ า งซ้ า ย ขวา หรือผมสีฟ้าติดกิ๊บ เต็มหัว สวมใส่เสื้อผ้าที่ มีสีสันลวดลายผสมผเส ยากจะอธิบาย บางคน อาจแต่ ง ตั ว ในสไตล์ สตรอเบอร์รี่หวานใสปน กัปตันโจรสลัด บ้างก็อบ ผิ ว จนเกรี ย มแทนและ ทาเล็ บ สี พ าสเทลราว บาร์ บี้ ความเหนื อ จริ ง หลุดโลกเหล่านี้ มีเวลา ให้หนุม่ สาวปล่อยผีเพียง สั้ น ๆ แค่ ช ่ ว งม.ปลาย จนถึงมหาวิทยาลัยไม่กี่ ปี และวัยรุน่ ในแฟชัน่ สุด แสบจะกลับคืนสู่สภาพ เดิ ม ตอนประมาณปี 3 เทอม 2 และด�ำเนินเข้าสู่ แพทเทิร์นการท�ำงานใส่ ชุดสูทด�ำผูกเน็คไท ถือ กระเป๋าเจมส์บอนด์ ผู้ หญิงก็จะคืนสู่สภาพผม ด� ำ ตรงเรี ย บร้ อ ยเพื่ อ สมัครงาน ไม่นานจากนั้นพนักงานหนุ่มสาวหน้าใหม่ในบริษัทก็จะถูกฝึก ให้โค้งค�ำนับอย่างถูกต้อง 30 องศา 45 องศา และจะจริงจังมากขึ้นไปอีก ในงานบริการ นั่นคือวิถีทางสังคมซึ่งมีระเบียบปฏิบัติที่แข็งแรงมาก
*Cult - คัลท์ เป็นค�ำนาม แปลว่า ศาสนา ความเชื่อ พิธีปฏิบัติของคนกลุ่มเล็กๆ ต่อมาถูกน�ำมาใช้ในการอธิบายลักษณะของภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาถูกใจคนเฉพาะ กลุ่ม ซึ่งโดยมากมักเป็นหนังสยองขวัญ เพี้ยนๆ หลุดโลก ทุนต�่ำ อย่างภาพยนตร์ไทยก็ได้แก่เรื่อง บ้านผีปอบ (1989-2011) จนปัจจุบันค�ำว่า “คัลท์” ถูกน�ำมาใช้ อธิบายพฤติกรรมของกลุ่มวัฒนธรรมย่อยทางสังคมที่มีความเฉพาะกลุ่ม มีความเป็นต�ำนาน นอกกระแส และมักมีลักษณะต่อต้านสังคมกระแสหลัก
11
ห้องสมุดสาธารณะ มหาวิทยาลัยศิลปะมูซาชิโนะ
ความรู้เริ่มต้นจากการอ่าน ญี่ปุ่นมีอัตราการอ่านออกเขียนได้ร้อยละ 99 ตัวเลขนี้เกิดจาก การสนับสนุนจากระบบการศึกษา ค่านิยม และวัฒนธรรมการ อ่าน ห้องสมุดประชาชนญี่ปุ่นเปิดครั้งแรกในปี 1872 แต่ความ เปลี่ยนแปลงของห้องสมุดเกิดอย่างจริงจังหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2
หลังสงคราม
การศึกษาของญี่ปุ่นเป็นไปอย่างเข้มงวด สอนเร็ว เนื้อเยอะและอัดแน่น จนเด็กๆ เรียนตามไม่ทัน ท�ำให้เด็กญี่ปุ่นกลัวโรงเรียน หนีเรียน ก้าวร้าว ฯลฯ ถือเป็นหลักสูตรการศึกษาที่ล้มเหลว เมื่อถึงปี 1977 จึงเกิดนโยบาย การศึกษาที่ผ่อนคลายมากขึ้น และปรับปรุงหลักสูตรเรื่อยมา พอปี 2001 รัฐสภาผ่านกฎหมาย เพื่อส่งเสริมการศึกษา 6 ฉบับรวด เช่น ก�ำหนดลด จ�ำนวนนักเรียนจากห้องละ 40 คนเหลือ 20 คน ผ่านกฎหมายกองทุน ความฝันของเด็ก สนับสนุนกิจกรรมเสริมประสบการณ์ชีวิตและการอ่าน ย้อนกลับไปในสมัยญี่ปุ่นเพิ่งเปิดประเทศในยุคเมจิ ราวปี 1800 ญี่ปุ่นรับ ออกกฎหมายส่ ง เสริ ม การอ่ า นซึ่ ง ก� ำ หนดตั ว ชี้ วั ด ความก้ า วหน้ า ของ วิทยาการจากตะวันตกด้วยการส่งนักศึกษาไปเรียนต่อต่างประเทศ คน กิจกรรม ในกฎหมายยังระบุชัดเจนถึงผู้รับผิดชอบของรัฐบาลและผู้ที่ เหล่านัน้ กลับมาพร้อมความรูแ้ ละประสบการณ์ทนี่ �ำมาปรับปรุงกิจการใน เกีย่ วข้อง ก�ำหนดให้วนั ที่ 23 เมษายน ของทุกปีเป็นวันอ่านหนังสือส�ำหรับ ประเทศให้ทันสมัย และยุคนั้นก็น�ำเข้าผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวนมากโดยเฉพาะ เด็ก ปี 2002 ปฏิรูปให้สอนภาษาอังกฤษมากขึ้น ลดเวลาเรียนลงเหลือ ด้านอุตสาหกรรม ญี่ปุ่นยังคิดถึงการแพร่วิทยาการเข้าถึงประชาชนด้วย สัปดาห์ละ 5 วัน เมื่อพบว่าห้องสมุดไม่ได้รับการปรับปรุงและมีหนังสือ สื่อที่ผลิตง่าย ราคาถูก ผู้น�ำญี่ปุ่นยุคนั้นจึงเร่งแปลหนังสือต่างประเทศ น้อยเกินไป ปี 2007-2011 รัฐบาลญี่ปุ่นจึงตั้งงบประมาณ 37,000 ล้าน ปัญญาชนเข้ามาสานต่องานด้านนี้จากรัฐบาล เกิดการแปลและพิมพ์ บาท ให้พัฒนาห้องสมุดโรงเรียนมัธยมและประถม หนังสือเผยแพร่อย่างกว้างขวาง ถึงปี 1880 ขณะที่การศึกษาแบบตะวัน ตกแพร่หลายในญี่ปุ่น โรงเรียนก็หันกลับมาสอนประวัติศาสตร์ วรรณคดี ทุกวันนีแ้ ม้สภาพเศรษฐกิจถดถอยแต่ญปี่ นุ่ ยังตีพมิ พ์หนังสือและนิตยสาร และแก่นความคิดตะวันออกเพือ่ สร้างสมดุลทางการศึกษา ขยายเวลาการ ปีละหลายหมืน่ ปก และยอดดาวน์โหลดหนังสือและนิตยสารออนไลน์กย็ งั คงเพิ่มขึ้น การอ่านคือส่วนหนึ่งของชีวิตคนญี่ปุ่นเสียแล้ว โอกาสทางการ ศึกษาภาคบังคับ และสร้างโรงเรียนที่มีมาตรฐานขึ้นทั่วประเทศ ศึกษานอกห้องเรียนที่มีสูงระดับนี้เองจึงท�ำให้สังคมญี่ปุ่นสร้างนักธุรกิจ วิสัยทัศน์ไกล ศิลปิน ดีไซน์เนอร์ นักการศึกษา นักธุรกิจ เกษตรกรและ ปัจเจกบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะในสาขาต่างๆ รวมกันขับเคลื่อน สังคมญี่ปุ่นให้ทยานไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง
ก่อนสงคราม
12
คิดค้นเทคโนโลยีสนับสนุนการใช้ชีวิต ย้อนเวลากลับไปดูเจ้าแห่งเทคโนโลยี เปลี่ยนโลกด้วยประดิษฐกรรมตอบ สนองวิ ถี ชี วิ ต ผู ้ ค น ปลายศตวรรษ 1800 สะคิจิ โตโยดะ เดิน ทางไปยุโรปเพื่อศึกษา เครื่ อ งทอผ้ า ที่ ส หราช อาณาจั ก ร จากบริ ษั ท ผลิตเครือ่ งทอผ้า แพลตต์ บราเธอร์ส แอนด์ โค (Platt Brothers & Co., Ltd.) และกลับมาพัฒนาเครื่อง ทอผ้าให้โรงงานโตโยดะเอง ต่อมา คิอชิ โิ ร โตโยดะ ตกลงขายลิขสิทธิ์เครื่องทอผ้าที่พัฒนาแล้วให้แก่ แพลตต์ บราเธอร์ส เขาจึงเปลีย่ นโรงงานทอผ้าเป็น โรงงานผลิตรถยนต์ โดยอาศัยการลอกแบบจาก รถยนต์ไครสเลอร์ ของอเมริกาเป็นหลัก ผสมกับ ความรู้ที่ได้จากเฮนรี ฟอร์ด เมื่อครั้งไป ศึ ก ษาการผลิ ต รถยนต์ในช่วง ที่ฟอร์ดก�ำลัง ปฏิ วั ติ ว งการ ยานยนต์ดว้ ยการ คิ ด ค้ น ระบบสายพานการ ผลิต ซึ่งลดต้นทุนการผลิต จนราคา รถยนต์ถูกลง ผู้คนซื้อหามาใช้ได้ เมื่อ คิอชิ โิ รผลิตรถคันแรกส�ำเร็จในปี 1935 ไม่นานจาก นั้นรถยนต์ของโตโยดะก็เข้าตีตลาดสหรัฐอเมริกา และทั่วโลกในชื่อ “โตโยต้า” ความส�ำเร็จที่กลาย เป็นกรณีศึกษาคลาสสิค หลังสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นเสียหายมาก การคมนาคมขนส่งสาธารณะเป็นไปอย่างยาก ล�ำบาก พาหนะที่ใช้ในการขนส่งจึงจ�ำเป็นส�ำหรับ การเดินชีวิตช่วงนั้นมาก ปี 1946 โซอิจิโร ฮอนด้า ชายจากครอบครัวชาวบ้านที่เกเร ดื้อรั้น เสเพล ผู ้ ชื่ น ชอบและช� ำ นาญงานด้ า นจั ก รยานและ
เครื่องยนต์ เริ่มผลิตจักรยานติดเครื่องยนต์ขาย ซึ่งก็มีปัญหาแต่ก็แก้ไขปรับปรุง จนเป็ น ที่ นิ ย มอย่ า ง รวดเร็ ว พอปี 1949 จั ก รยานยนต์ รุ่น Dream ราคา ถู ก ใช้ งานง่ า ย กลายเป็ น ของขายดี และพาฮอนด้าบุกตลาดโลก ถึงวันนี้ฮอนด้าก็พา อาซิโม (Asimo) หุ่นยนต์จ�ำพวกฮิวแมนนอยด์ (Humanoid Robot) หุ่นยนต์ต้นแบบที่ได้รับการ ออกแบบให้มีความสามารถรอบด้านเพื่อรองรับ ความต้องการของมนุษย์ในอนาคต วอล์ ค แมนอุ ป กรณ์ ฟ ั ง เพลงระดับต�ำนานจาก โซนี่ เครื่ อ งมื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิกส์ขนาดพกพาที่ ถูกใช้เป็นเครื่องมือขีด เส้นแบ่งระหว่างโลกส่วน ตั ว กั บ พื้ น ที่ ส าธารณะ ที่ สร้างรายได้มหาศาลให้โซนี่ บริษัทผลิตอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ทีเ่ ข้าใจผสานความเปลีย่ นแปลงของสังคมเข้ากับ เทคโนโลยี ในวันนี้ ญี่ปุ่นก�ำลังเผชิญปัญหาการลดลงของ ประชากร ซึ่งจะท�ำให้ในอีกไม่กี่สิบ ปีข้างหน้าประชากรเด็กและหนุ่ม สาววัยแรงงานมีจ�ำนวนน้อยกว่า ประชากรผู้สูงอายุ วิกฤตินี้บีบให้ ญี่ปุ่นวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่จะ ตอบสนองการใช้ชวี ติ ของสังคมผูส้ งู อายุ ในอนาคต ข้าวของเครื่องใช้ สภาพแวดล้อมเมือง ก�ำลังถูกคิดค้นเพื่อให้วันข้างหน้าคนญี่ปุ่นจะมา สามารถด�ำเนินชีวิตได้อย่างปกติสมบูรณ์
บาดแผลที่เจ็บปวด บทเรียนจากอดีต การ งานของปั จ จุ บั น และสายตาที่ ม องเห็ น อนาคตจึงยังเป็นแรงผลักดันให้ชาวญี่ปุ่นร่วม เป็นหนึ่งในการผลักดันประเทศให้ก้าวไปข้าง หน้าเสมอ
บรรณานุกรม: จีน-ญี่ปุ่น, ไชยวัฒน์ ค�้ำชู, ส�ำนักพิมพ์ openbooks | ปัญญาญี่ปุ่น, ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา, ส�ำนักพิมพ์ openbooks | ญี่ปุ่นสมัยใหม่, คริสโตเฟอร์ โกโต-โจนส์ เขียน, พลอยแสง เอกญาติ แปล, ส�ำนักพิมพ์ openworlds | ญี่ปุ่นสร้างชาติด้วยความรักและภักดี, ยุพา คลังสุวรรณ, ส�ำนักพิมพ์มติชน | นโยบายส่งเสริมการอ่านของประเทศญี่ปุ่น, ส�ำนัก อุทยานการเรียนรู้ (TK PARK) | http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/opinion/attachak/20110318/382461/ญี่ปุ่นผู้เป็นหนึ่ง.html
13
ฉบับนี้พูดถึงแง่มุมต่างๆ ของประเทศญี่ปุ่นไปแล้ว คอลัมน์ คนเก่ง PIM ขอเชิญพบกับสองหนุ่มสาว ว่าที่บัณฑิต PIM รุ่นที่ 2 ผู้มีดีกรีผ่านการใช้ชีวิตแบบสุดคุ้มในประเทศญี่ปุ่น วันนี้เขาและเธอก้าวเข้าสู่ชีวิตการท�ำงานเต็มตัว หนึ่งปีเต็มที่ ประเทศญี่ปุ่นท�ำให้เรียนรู้อะไร และวันนี้ถูกน�ำมาใช้ประโยชน์ อย่างไร ออย นันทนา อินขาว และ จูน นรเศรษฐ เนียมประเสริฐ อดีตนักศึกษาทุน Study & Work in Japan รุ่นที่ 1 จะมาเล่าให้ฟัง
นันทนา อินขาว สาวมัน่ สุดฮาจากครอบครัวเกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลก ผูย้ ดึ คติวา่ การกระท�ำ เสียงดังกว่าค�ำพูด ก�ำลังลงมือท�ำงานอย่างแข็งขันในต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่ Food Store Excellence บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ ออยเป็น ว่าที่บัณฑิตจากสาขาการจัดการธุรกิจอาหาร คณะบริหารธุรกิจ PIM “ก็สนุกกับงานทีท่ ำ� อยูค่ ะ่ มีเหนือ่ ยบ้าง เพราะเป็นงานทีต่ อ้ งออกไปตามร้าน 7-Eleven สาขา ต่างๆ เพื่อแนะน�ำวิธีการใช้งาน การดูแลรักษาอุปกรณ์เกี่ยวกับการจ�ำหน่ายอาหาร ซึ่งยัง เป็นเพียงโครงการทดลองใช้ เพือ่ ดูวา่ อุปกรณ์นนั้ ๆ ท�ำให้การท�ำงานสะดวกขึน้ ไหม ใช้ได้จริง หรือเปล่า มีข้อดีข้อด้อยอย่างไร แล้วน�ำมาวิเคราะห์รายงานผลอีกที ก่อนที่ส่วนงาน Research & Development และ Merchandise จะน�ำไปใช้จริง ความเป็นเจ้าแห่ง เทคโนโลยีและสุดยอดการเก็บรายละเอียดของญี่ปุ่น ก็มีผลท�ำให้เราเป็นคน ละเอียดกับเนื้องาน คอมพิวเตอร์ในร้าน 7-Eleven ที่ญี่ปุ่นไม่ได้ถูกใช้แค่คิด เงินอย่างเดียวนะคะ แต่สามารถตรวจสอบได้เลยว่าสินค้าในสต๊อคยังมีอีก เท่าไร ช่วยลดขั้นตอนการนับสินค้าได้ ลดงานเอกสารลงมีแม้กระทั่ง พยากรณ์อากาศขึน้ บนมอนิเตอร์ ท�ำให้เราวางแผนได้วา่ วันทีฝ่ นตกหนัก แดดร้อนจัด สินค้าประเภทไหนน่าจะขายดี สามารถเพิ่มหรือลดการสั่ง สินค้าต่างๆ ได้ทนั ที มีสรุปยอดขายและยอดคงเหลือในแต่ละวันให้ดู แถม เครื่องยังไม่สามารถคิดเงินได้หากสินค้านั้นๆ หมดอายุไปแล้วนี่ก็เป็นอีก โครงการที่อยากเอามาท�ำในบ้านเรามากๆ ค่ะ อีกเรือ่ งหนึง่ ทีอ่ ยากเล่าคือวัฒนธรรมการท�ำงานของคนญีป่ นุ่ ซึง่ มีวนิ ยั มาก เข้าออกงานตรงเวลาเป๊ะ และต้องให้ความเคารพรุน่ พีท่ ที่ ำ� งานมาก่อน ไม่ เกี่ยวกับอายุมากหรือน้อย เจ้าของร้านชาวญี่ปุ่นเคยให้ออยสอนงาน พนักงานทีเ่ ข้ามาใหม่ เขาก็ตงั้ ใจฟังและท�ำตามทีเ่ ราบอกทุกอย่าง ทัง้ ๆ ที่ออยเด็กกว่าและเป็นชาวต่างชาติ เรื่องนี้สอนเลยค่ะว่าความรับผิด ชอบต่อหน้าที่ส�ำคัญที่สุด”
14
นรเศรษฐ เนียมประเสริฐ พีค่ นโตของน้องชายอีก 2 คนจากครอบครัวแสนอบอุน่ พ่อขับแท็กซี่ และแม่ท�ำธุรกิจส่วนตัวในจังหวัดปทุมธานี เขาประกาศตัวว่าครอบครัวนี่แหละ คือพลังที่ท�ำให้มาถึงวันนี้ และพร้อมจะก้าวต่อไปข้างหน้า “5 ตุลานี้ ผมจะรับปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีกเป็นรุ่นที่ 2 ตอนนี้ท�ำงานเป็น เจ้าหน้าที่พัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ที่บริษัท ปัญญธารา จ�ำกัด ศูนย์อบรมในกลุ่มธุรกิจ ซีพี ออลล์ มีหน้าที่ ออกแบบหลักสูตรเกี่ยวกับการบริการในสไตล์ญี่ปุ่น และงานที่เกี่ยวข้องกับภาษาญี่ปุ่น ผมสนุกกับงานมากเพราะได้ใช้ทั้งความรู้ที่เรียนมาประกอบกันกับภาษาญี่ปุ่น งานนี้เป็นงานที่ต้องครีเอทเสมอ ก็เลยยิ่งท�ำให้รู้สึกตื่นตัวและท้าทายอยู่ตลอด แต่ในวันว่าง ผมชอบอยู่กับครอบครัวและอ่านหนังสือ เพราะคิด ว่าการให้เวลากับคนรอบตัวเป็นเรื่องส�ำคัญ กิจกรรมที่ท�ำด้วยกันนอกจากเราเองจะมีความสุขแล้ว คนรอบข้างก็ มีความสุขด้วย บางทีการแลกเปลี่ยนความคิดกันในโต๊ะอาหาร ก็ท�ำให้เราได้คิดอะไรใหม่ๆ ขึ้นมาอีก งานพัฒนาหลักสูตร เป็นงานที่ต้องคิดอย่างเป็นขั้นตอน มีระเบียบ ผมติดนิสัยคนญี่ปุ่นอย่างหนึ่งมา คือ แม้ปกติจะเป็นคนสนุกสนาน เข้ากับคนง่าย ไม่ค่อยเครียด แต่เวลาท�ำงานจะจริงจังมาก พยายามจัด ระเบียบให้ชีวิต ท�ำให้ตัวเองเข้มแข็งและอดทนในการใช้ชีวิตด้วยตัวเองมากขึ้น ผมตั้งเป้าว่าอีก 3 ปีจะ เรียนให้จบปริญญาโท และ 5 ปีน่าจะท�ำงานสะสมเงิน เริ่มสร้างครอบครัวที่มั่นคงได้ วีรกรรมครัง้ หนึง่ ตอนอยูญ ่ ปี่ นุ่ คือการจ�ำวันท�ำงานผิด อย่างทีท่ ราบครับว่าคนญีป่ นุ่ เคร่งครัดเรือ่ งเวลามาก การไปสายหรือขาดงานเป็นเรื่องที่รับไม่ได้ ผมเองดันสับสนกับตัวคันจิ ซึ่งวันอังคาร และวันพุธเขียนคล้ายๆ กัน เจ้าของร้านโกรธมากที่ผมขาดงานไป ต้อง ขอโทษขอโพยกันยกใหญ่พร้อมกับสัญญาว่าจะไม่จ�ำผิดอีก ทั้งยัง จะจดลงสมุ ดทุ ก ครั้ งที่ มาท� ำ งานเลย เขาจึ งให้ อ ภั ย และ อนุญาตให้ผมท�ำงานต่อ เรียกว่าวีรกรรมจ�ำไปตลอดชีวิต ทีเดียว ผมคิดว่าคนไทยใจดี มีความอะลุ้มอล่วยชนิดที่เรียกว่า มากกว่ามาก แต่คนญี่ปุ่นเคร่งครัดและหวั่นไหวต่อเรื่อง ต่างๆ ได้งา่ ย โดยเฉพาะเรือ่ งอาชญากรรมและแผ่นดินไหว เขาจึงคิดแล้วคิดอีก จริงจังกับหลายสิง่ รอบตัว ยกตัวอย่างเช่น การออกแบบการใช้พนื้ ทีแ่ บบ 100% เป็นข้อแตกต่างทีเ่ ห็นได้ชดั เมือ่ เทียบกับประเทศไทย นีเ่ ป็นอีกสิง่ ทีผ่ มเรียนรูม้ าและพยายาม น�ำมาปรับใช้กบั การท�ำงานของตัวเอง คิ ด ว่ า น่ า จะเป็ น ประโยชน์ กั บ องค์กรครับ”
15
แดดร้อน รุนแรง แตงโมก�ำลังมา
สวัสดีชาว PIM ที่รักทุกคน
อากาศทีโ่ อซาก้ายังคงร้อนอบอ้าวเหมือนเดิมในช่วง 2 เดือนนี้ แสงแดดแผดเผาให้เราตัวด�ำขึน้ กันถ้วนหน้า หลายคนที่สู้ร้อนไม่ไหว ก็เปลี่ยนไปใช้บริการรถไฟฟ้าแทนจักรยาน รถไฟฟ้าที่นี่มีหลายสาย สะดวก และ ตรงเวลาสุดๆ ที่ส�ำคัญคือแอร์เย็นฉ�่ำแต่ก็มาพร้อมกับค่าโดยสารที่ค่อนข้างแพง เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย พวกเราทั้ง 5 จึงยังเป็นนักปั่นน่องเหล็กกันเหมือนเดิม การท�ำงานในร้าน 7-Eleven เข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ จดหมายฉบับนี้ เรามีเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยที่ได้ เรียนรู้จากการท�ำงานมาเล่าให้ฟัง เริ่มด้วยการแนะน�ำสินค้ายอดนิยม Salty Watermelon หรือน�้ำแตงโมเกลือ เครื่องดื่มดับกระหายที่วางจ�ำหน่ายในร้านสะดวกซื้อทั่วประเทศญี่ปุ่น ต้อนรับฤดูกาลนี้โดยเฉพาะ มาพร้อมกับโปรโมชั่นลดราคาโอนิกิริ หรือข้าวปั้นห่อสาหร่าย ซึ่งท�ำให้ร้าน 7-Eleven คึกคักขึ้นอย่างเห็นได้ชัด จะเห็นได้ว่าโปรโมชั่นต่างๆ มีผลมากกับ ยอดขาย ทีน่ จี่ ดั รายการส่งเสริมการขายใหม่ทกุ ๆ เดือน ล่าสุดเดือนกรกฎาคม ซือ้ ครบ 700 เยนรับสิทธิ์จับคูปอง 1 ใบ โดยคูปองดังกล่าวสามารถน�ำมาแลกเป็นสินค้าที่ร่วมรายการ ได้ 1 ชิ้น หรือจะสะสมแลกของรางวัลทางอินเตอร์เน็ตก็ได้ เราสังเกตเห็นลูกบอลสีแดง 2 ลูก วางอยูใ่ นกล่องกันกระแทกอย่างดีหลังเครือ่ งคิดเงิน ด้วย ความสงสัยจึงถามรุ่นพี่พนักงานในร้าน และได้ค�ำตอบมาว่าเวลามีคนเข้ามาจี้ปล้น ให้ พนักงานหลบลงด้านล่างเค้าน์เตอร์เหมือนเวลาเกิดแผ่นดินไหว ด้านหลังของแคชเชียร์ จะมีโล่เสียบอยู่ มีไว้ส�ำหรับป้องกันตัวขณะหลบ เมื่อคนร้ายก�ำลังจะหนีออกจากร้าน ให้ ปาลูกบอลนีไ้ ปทีค่ นร้าย ผิวของลูกบอลเป็นพลาสติกบางๆ ภายในบรรจุสสี ม้ สะท้อนแสง เมื่อสีติดตัว ก็จะท�ำให้ต�ำรวจสามารถแยกคนร้ายออกจากฝูงชนได้โดยง่าย หากปา ไม่โดน ก็มีลูกที่สองเผื่อไว้ให้ด้วย เราก็ได้แต่หวังว่าลูกบอลของร้านเราจะวางอยู่ที่เดิม อย่ามีโอกาสได้ใช้เลย อีกหนึง่ เรือ่ งทีอ่ ยากเล่าให้ฟงั คือบริการส่งจดหมายและพัสดุ นอกจาก 7-Eleven จะมีแสตมป์จำ� หน่ายแล้ว ยังมีบริการต่างๆ เสมือนหนึ่งไปรษณีย์ทีเดียว จะส่งแบบธรรมดา ด่วนพิเศษ ทางเรือ เครื่องบิน หรืออยากส่งโดยก�ำหนดวันเวลาเองก็ท�ำได้ หมด หลังแคชเชียร์จึงมีทั้งเครื่องชั่งน�้ำหนัก ตลับเมตร และอุปกรณ์วัดขนาดต่างๆ ให้ครบ คอมพิวเตอร์สามารถค้นหาที่อยู่ ได้ 3 แบบ คือจากเบอร์โทรศัพท์ จากแผนที่ หรือจากรหัสไปรษณีย์ พนักงานเพียงสอบถามข้อมูลจากลูกค้าและคีย์เข้า ระบบ ข้อมูลจะถูกออนไลน์ไปยังต้นสังกัด วันรุ่งขึ้นก็จะมีพนักงานมารับไปส่งได้ตามก�ำหนด ท�ำเอาเราทึ่งในบริการที่ แสนสะดวกนี้จริงๆ ปิดท้ายด้วยภาพบรรยากาศในเทศกาลเทนจินมัตสึริ หรืองานดอกไม้ไฟซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 3 ของญี่ปุ่น คนมาเที่ยวงาน กันเยอะมาก ร้านที่เพชรท�ำงานตั้งอยู่ปากทางเข้าใกล้กับจุดชมดอกไม้ไฟพอดี ท�ำให้มีลูกค้าแน่นมาก คิวจ่ายเงินยาว ตั้งแต่แคชเชียร์ทะลุออกไปนอกร้านเลยทีเดียว 4 สาว PIM ก็สวมยูกาตะไปเที่ยวมาด้วยเหมือนกัน กลางเดือนสิงหาคมเป็นช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อนของเรา แต่จะได้หยุดจริงๆ หรือเปล่านั้น ฉบับหน้าจะมา เล่าให้ฟังใหม่
16
คิดถึง บัว เพชร แมท หลิว อั้ม
ญีป่ นุ่ กับแฟชัน่ ดีไซน์ นอกจากเทคโนโลยีล�้ำหน้าแล้ว อีกฟากฝั่งคือการสร้างสรรค์ ศิลปะและการออกแบบจากญี่ปุ่นก็มีผลงานอันเป็นต้นฉบับที่นานาประเทศให้การจับตา ถ้า ISSEY MIYAKE คือแบรนด์เสื้อผ้าส�ำเร็จรูประดับบนจากดีไซน์เนอร์ญี่ปุ่นที่เหยาะย่างไปในตลาดแฟชั่นทั่วโลก UNIQLO คือซูเปอร์แบรนด์ที่เจาะ ตลาดเบสิคแวร์ ที่มุ่งตรงยังถนนทุกสายทั่วโลก น่าสนใจว่ากระทั่งเสื้อผ้าธรรมดาๆ ก็ยังครองใจคนจากหลายประเทศทั่วโลกได้ ปรัชญาแบรนด์เสื้อผ้า สองรูปแบบที่มีรากฐานจากสังคมเดียวกันสะท้อนบรรยากาศความคิดและการเรียนรู้ซึ่งเป็นรากฐานที่แข็งแรงของสังคมให้ก�ำเนิดนักคิดสร้างสรรค์ใน แขนงต่างๆ มากมาย
UNIQLO
ISSEY MIYAKE
เสื้อผ้าเบสิคที่ทำ�ให้เกิดปรากฏการณ์
นักทดลองด้านแฟชั่นคนส�ำคัญ
เสื้อผ้าแฟชั่นมาแล้วก็ไป แต่เสื้อผ้าเบสิคจะอยู่ ในตู้รอการสวมใส่เสมอ ฉะนั้น ทั้งเสื้อยืด เสื้อ เชิ้ต เสื้อกันหนาว กางเกงยีนส์ กระโปรงและ กางเกงขาสัน้ ขายาว ฯลฯ ทุกแบบของยูนโิ คล่จะ ไม่มลี วดลายหรือแพทเทิรน์ หวือหวาเกินจ�ำเป็น แต่มีเนื้อผ้าคุณภาพดี แพทเทิร์นที่ถูกสัดส่วน และการตัดเย็บอย่างดี ท�ำให้ใส่สบายและดูดถี งึ เป็นเพียงเสื้อผ้าเรียบๆ
มิยาเกะ ผู้รอดชีวิตจากการทิ้งระเบิดปรมาณูที่ ฮิโรชิมา สมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เมือ่ อายุ 7 ขวบ ในขณะที่แม่ของเขาบาดเจ็บสาหัสจากการถูก เผาไหม้และเสียชีวิตในอีก 4 ปีถัดมา ปี 1960 มิยาเกะเข้าเรียนที่คณะกราฟิกดีไซน์ มหาวิทยาลัยศิลปะทามะ ทีโ่ ตเกียว เมือ่ เรียนจบ ก็ได้ออกแบบเสือ้ ผ้าส�ำหรับถ่ายปฏิทนิ ให้บริษทั โตโย เรยอน (ปัจจุบันคือบริษัทโทเร อินดรัสทรี่) จากนั้นไปเรียนตัดเสื้อชั้นสูงที่ปารีสและท�ำงาน ระหว่างนั้นในปี 1968 เกิดเหตุการณ์จลาจลที่ ปารีส นัน่ คือจุดเปลีย่ นทีท่ ำ� ให้มยิ าเกะคิดว่าต้อง ท�ำเสื้อผ้าเพื่อกลุ่มคนที่หลากหลาย ปีถัดมาเขา เดินทางไปท�ำงานที่นิวยอร์ค
ทัง้ ทีเ่ ป็นเสือ้ ผ้าราคาไม่แพง แต่กล็ งทุนวิจยั และ พัฒนานวัตกรรมเรื่องเส้นใยผ้าให้เหมาะกับ สภาพอากาศ ผลิต Airism ผ้าเพือ่ สวมใส่ในหน้า ร้อน ให้ความรู้สึกเย็นไม่เหนอะหนะ ระบาย เหงื่อได้ดี ส�ำหรับหน้าหนาวมี HEATTECH ที่ เมื่อสวมใส่จะรักษาและเพิ่มอุณหภูมิร่างกาย ท�ำให้อบอุ่นทั้งที่ตัวเสื้อไม่หนามาก
ปี 1970 เปิดมิยาเกะ ดีไซน์ สตูดิโอ ที่โดดเด่น ด้านการทดลองน�ำเทคโนโลยีมาสร้างสรรค์ผ้า และเส้นใยผ้า ค้นหาและตีความความสัมพันธ์ เชือ่ มโยงระหว่างร่างกายและเสือ้ ผ้า ด้วยพืน้ ฐาน ความเป็นเอเชีย สัดส่วนร่างกายที่แตกต่างจาก ชาวตะวันตก มิยาเกะจึงออกแบบเสื้อผ้าที่ไม่ เน้นรูปร่าง สวมใส่สบาย มีโครงสร้างเสื้อที่น่า สนใจด้วยความเป็นกราฟิก รูปทรงเรขาคณิต และสีสัน
จาก “Unique Clothing Warehouse” กลายเป็น UNIQLO ในปี 1997 ยูนโิ คล่จงึ เริม่ สร้างฐานการ ผลิตในเมืองจีน เพราะ ณ เวลานั้นญี่ปุ่นก�ำลัง อยู่ในภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำ ของดีราคาถูกจึง เป็นที่ต้องการ ปี 1998 ยูนิโคล่เปิดร้านในฮารา จูกุ ย่านแฟชั่นของโตเกียว พอถึงปี 2001 ผลประกอบการก็พุ่งสูงสุดขีด พร้อมร้านสาขากว่า 500 ร้านในประเทศ ปี 2002 ยูนิโคล่ตัดสินใจข้ามน�้ำข้ามทะเลทุ่มเปิดร้านที่ เซีย่ งไฮ้และลอนดอน แต่ยอดขายก็ไม่ดจี นเกือบ ท�ำให้ยูนิโคล่ล้มละลาย หลังลุม่ ๆ ดอนๆ อยู่ 2-3 ปี ยูนโิ คล่กป็ รับกระบวน ใหม่ เชิญเหล่าคนดังเป็นพรีเซ็นเตอร์ สร้างทีม ดีไซน์เนอร์รุ่นใหม่ และตั้งโปรเจ็คท์เชิญดีไซน์ เนอร์ที่มีชื่อเสียงมาออกแบบคอลเลคชั่นพิเศษ ให้ ความฉลาดด้านการตลาดที่ลดความเป็น ญี่ปุ่นจ๋าลงและผสมเติมความหลากหลายทาง วัฒนธรรมเข้าไป ส่งผ่านภาพลักษณ์ความเป็น Global Citizen อย่างมีชีวิตชีวา และใช้สื่อ ออนไลน์อย่างน่าสนใจด้วยการท�ำไวรัลแคม เปญ (Viral Campaign) ท�ำให้ยูนิโคล่เป็น
แบรนด์ที่คนทั่วโลกคุ้นเคยในเวลารวดเร็ว ผล ประกอบการก็ไต่ระดับสูงขึ้นเรื่อยๆ จนท�ำให้ ทาดาชิ ยานาอิ เจ้าของและผู้ก่อตั้งยูนิโคล่ กลายเป็นคนที่ร�่ำรวยที่สุดในญี่ปุ่น และยูนิโคล่ ก็เป็นแบรนด์เสือ้ ผ้าทีข่ ายดีเป็นอันดับ 3 ของโลก
การค้นหาทดลองที่ไม่หยุดยั้ง จนถึงช่วงปลาย ยุ ค 80 มิ ย าเกะเริ่ ม ต้ น ทดลองการจั บ พลี ต (Pleat) พอถึงปี 1993 จึงสร้างเทคนิคใหม่ทเี่ รียก ว่า Garment Pleating คือตัดเย็บเสื้อผ้าก่อน แล้วน�ำไปจับจีบอัดพลีต และเกิดเป็นแบรนด์ ด้ ว ยสโลแกน MADE FOR ALL คื อ เสื้ อ ผ้ า Pleats Please ซึ่งเป็นที่นิยมอยู่ในปัจจุบัน ส�ำหรับทุกคน เรียบง่าย เป็นส่วนหนึ่งในชีวิต ความคิดทีล่ ำ�้ หน้าของมิยาเกะยังบ่มเพาะทักษะ ประจ�ำวัน สะท้อนทัศนคติว่าอยากให้ทุกคนเข้า ความสามารถให้แก่ผู้คนซึ่งท�ำงานรอบข้างเขา ถึงเสือ้ ผ้าดีได้อย่างเท่าเทียมกัน จึงไม่นา่ แปลกใจ และการมองเสือ้ ผ้าด้วยวิธคี ดิ ใหม่กไ็ ด้ขยับขนบ ที่เสื้อผ้าเบสิค ไม่แฟชั่น ไม่เอ็กซ์คลูซีฟ แต่ งานออกแบบ เสื้อผ้าของเขาจึงเป็นมากกว่าชุด คุณภาพดี ราคาไม่แพง เกิดจากประเทศทีไ่ ด้ชอื่ เสื้อผ้า แต่กลายเป็นงานออกแบบที่สร้างแรง ว่ า ผู ้ ค นแต่ ง ตั ว ดี ที่ สุ ด ประเทศหนึ่ ง ของโลก บันดาลใจเฉกเช่นงานศิลปะ จะสร้างปรากฏการณ์ที่ผู้คนต่อคิวรอซื้อเสื้อผ้า ธรรมดาๆ
17
รู้จักญี่ปุ่นผ่านแอนิเมชั่นและกราฟิกโมชั่น
Japan The Strange Country (2012)
Summer Wars (2009)
Spirited Away (2001)
ก�ำกับโดย มาโมรุ โฮโซดะ (Mamoru Hosoda) ความยาว 114 นาที
ก�ำกับโดย ฮายาโอะ มิยาซากิ (Hayao Miyazaki) ความยาว 123 นาที
www.vimeo.com, ความยาว 10 นาที
แอนิเมชั่นเรื่องยาวสร้างโดยสตูดิโอชื่อ Madhouse ใช้เวลาสร้างนานถึง 3 ปี เหตุการณ์เกิด ขึ้นช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน เมื่อโคอิโซ เคนจิ นักเรียนเกรด 11 ที่ซื่อและขี้อาย แต่มีความ สามารถด้านคณิตศาสตร์เข้าขั้นอัจฉริยะ ถูก ชิโนฮาระ นัตสึกิ รุ่นพี่สุดน่ารักที่เขาแอบชอบ จ้างให้ท�ำงานพิเศษ เดินทางไปต่างจังหวัดเพื่อ ร่วมงานวันเกิดครบรอบ 90 ปีของคุณยาย ที่นั่น เคนจิเจอญาติพี่น้องของนัตสึกิที่มีจ�ำนวนมาก แต่ละคนก็มีหน้าที่การงานใหญ่โต และหนึ่งใน นั้นคือคาซุมะ หรือเจ้าของฉายา King Kazuma แห่งเกมต่อสู้ใน OZ คืนแรก เคนจิเกร็งจนนอน ไม่หลับ กระทัง่ มีเมจเสจชุดตัวเลขปริศนาส่งมา ให้แก้โจทย์ ซึ่งเคนจิใช้เวลาเกือบทั้งคืนหาค�ำ ตอบและส่งเมจเสจกลับไป รุ่งเช้า ตื่นมาพบว่า OZ ถูกแฮ็คและ Avatar ของเขาก็โดนขโมย และกลายเป็นวายร้ายทีก่ อ่ ความวุน่ วายในโลก ออนไลน์จนลามมาถึงโลกจริง ระบบสาธารณูปโภค ขัดข้องไปทั้งเมือง ไฟฟ้าดับ การจราจรสับสน เป็นอัมพาต เกิดเหตุรา้ ยมากมาย และกลายเป็น ว่าเขาเป็นตัวการ เมื่อตั้งตัวได้ทุกคนในครอบ ครัวช่วยกันใช้ทั้งเทคโนโลยีและไม่เทคโนโลยี รับมือกับตัวร้ายในโลกเสมือนทีส่ ง่ ผลต่อโลกจริง
หนึ่งในแอนิเมชั่นที่ดีที่สุดเรื่องหนึ่งของสตูดิโอ จิบลิ สตูดิโอแอนิเมชั่นที่ให้แรงบันดาลใจแก่ สังคม เป็นเรื่องของเด็กหญิงชาวเมืองที่เอาแต่ ใจชื่อจิฮิโร่ ที่เสียพ่อแม่ไประหว่างเดินทางย้าย บ้ า น เมื่ อ พ่ อ แม่ ก ลายเป็ น หมู เ พราะไปกิ น อาหารของเทพเจ้าและภูตเข้า หลังจากพ่อขับรถ หลงทางจนไปถึงสวนสนุกร้างที่กลายเป็นโรง อาบน�้ำและแหล่งบันเทิงของเทพเจ้าในยาม ค�่ำคืน ดูแลกิจการโดยแม่มดใจคดชื่อยูบาบะ พอเจอเหตุการณ์ประหลาดเหล่านั้นจิฮิโร่จึง ขวัญเสีย แต่ก็มีเด็กชายคนหนึ่งชื่อฮะคุ ช่วย เหลือให้คำ� แนะน�ำว่าตอนนีเ้ ธออยูใ่ นโลกของภูติ และต้องไปของานท�ำจากคะมะจิ คุณลุงหกแขน ผู้ท�ำหน้าที่ต้มน�้ำให้โรงอาบน�้ำ ในโลกของภูติ คนไม่มงี านท�ำจะหายไป และจิฮโิ ร่ตอ้ งไปขอต่อ รองกับยูบาบะเพื่อท�ำให้ได้พ่อแม่กลับคืนมา ยูบาบะยอมรับข้อตกลงแต่ก็ยึดชื่อจิฮิโร่ไว้ และ ให้ใช้ชื่อว่า “เซ็น” แทน ตลอดเวลาที่อยู่ในโรง อาบน�้ ำ เซ็ น ได้ เ จอเทพเจ้ า และภู ติ แ ปลกๆ มากมาย และต้องท�ำงานหนักมากๆ ซึ่งในคืน แรกก็เจอภูติไร้หน้าที่ชื่อว่าคาโอนาชิ ความใจดี ของเซ็นท�ำให้คาโอนาชิเฝ้าติดตามจนเกิดเรื่อง วุ่นวายมากมายในโรงอาบน�้ำ
สิ่งที่ปรากฏจากแอนิเมชั่นเรื่องยาวนี้คือ ชาว ญี่ปุ่นทุกเพศทุกวัยเข้าถึงเทคโนโลยีและใช้มัน เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจ�ำวันผสมไปกับความ เมื่อดูครบ 8 ประเด็นที่แจกแจงก็พอท�ำให้เห็น เป็นญี่ปุ่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี โดยไม่มี ภาพว่า ท�ำไมประเทศที่มีความเจริญระดับนี้ ถึง ความรูส้ กึ แปลกปลอม เพราะรูว้ า่ ใช้มนั เพือ่ อะไร มีลักษณะเฉพาะที่ขัดแย้งและแปลกอย่างเป็น และท�ำให้เห็นความส�ำคัญของเทคโนโลยีต่อ เอกลักษณ์ขนาดนั้น ชีวติ คน ความหมายของ “ครอบครัว” สายใยสาย สัมพันธ์ของคนที่เราห่วงใยใส่ใจและดูแล และ ความรับผิดชอบต่อสังคมที่ทุกคนพึงมี
การเดิ น ทางเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ คนที่ รั ก มิ ต รภาพ ความกล้าหาญ การไม่ตัดสินความดีความเลว การยอมรั บ ความบกพร่ อ งของตั ว เอง การ ยอมรับตัวตนของคนอื่น การมองชีวิตอย่างรอบ ด้านเปี่ยมความเข้าใจต่อความต่าง คือแก่น ส�ำคัญของแอนิเมชั่นจากสตูดิโอจิบลิ ซึ่งท�ำให้ Spirited Away ได้รับรางวัลออสการ์ สาขา ภาพยนตร์แอนิเมชัน่ ยอดเยีย่ ม ปี 2002 และชนะ ใจคนทั้งโลก
เรื่องแรกเป็นไฟนอลธีซีสของ Kenichi Tanaka ชื่อ Japan The Strange Country แอนิเมชั่น อินโฟกราฟิก (Infographic) เล่าภาพรวมความ เป็นญี่ปุ่นสมัยใหม่ไว้ ตั้งแต่ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ข้อมูลประชากร เอกลักษณ์ความเป็นญี่ปุ่นอัน โดดเด่น แต่น�ำเสนอด้วยสายตาคนต่างชาติที่ มองเห็นความแปลกของความเป็นญี่ปุ่น ใน 8 ประเด็ น 1. บุ ค ลิ ก ภาพ ความสู ง ความเตี้ ย ตาเล็ก ปากเล็ก ขี้อาย ขี้เกรงใจ ความหมกมุ่น ของเหล่ า นั ก เรี ย นสาวไฮสคู ล ที่ มี ต ่ อ สิ น ค้ า แบรนด์เนม 2. โตเกียว มหานครสุดแออัดท�ำให้ คนใช้พื้นที่อย่างจ�ำกัด 3. อาหาร คนญี่ปุ่นรัก อาหาร แต่ ค วามรั ก การกิ น ท� ำ ให้ ญี่ ปุ ่ น กลาย เป็ น ประเทศที่ กิ น ทิ้ ง กิ น ขว้ า งอย่ า งมโหฬาร 4. เทคโนโลยี เจ้ า แห่ ง เทคโนโลยี มี ก ระทั่ ง ชักโครกที่มีระบบล้างอวัยวะอัตโนมัติ แต่คน ญี่ปุ่นก็ยังชอบใช้ส้วมนั่งยองแบบญี่ปุ่นอยู่ดี 5. น�ำ้ ดืม่ ญีป่ นุ่ น�ำเข้าน�ำ้ ดืม่ ปีละพันกว่าล้านขวด 6. ซูชิ การบริโภคซูชิของคนญี่ปุ่นท�ำให้ทูน่าถูกคน ญี่ปุ่นกินปีละ 7 แสนตัน มีตะเกียบแบบใช้แล้ว ทิ้งปีละ 2 หมื่น 3 พันล้านคู่ 7. Love Hotel มีเลิฟ โฮเต็ลหน้าตาเหมือนปราสาทเทพนิยายในญีป่ นุ่ ประมาณ 3 หมืน่ แห่ง 8. การฆ่าตัวตาย คนญีป่ นุ่ ฆ่าตัวตายปีละหลายหมื่นคน เฉพาะที่ภูเขาฟูจิ ก็มีการพบศพคนตายปีละกว่าร้อยศพ
18
ดร.ธันยวัต สมใจทวีพร porpostbox@hotmail.com
10 นวัตกรรมฮาๆ จากญี่ปุ่น ชามขยายเสียง
อย่างทีท่ ราบกันอยูแ่ ล้วว่าญีป่ นุ่ เป็นเจ้าแห่งนวัตกรรม มีหลายชิน้ ทีด่ แู ล้ว ทึ่งในไอเดีย แต่บางชิ้นก็ดูแล้วแอบอมยิ้ม คอลัมน์นี้เรามาดูนวัตกรรม ฮาๆ สัก 10 ชิ้นก็แล้วกัน จะได้รู้กันว่าพี่เขากล้าคิดกล้าท�ำขนาดไหน
ถ้านั่งเรียนในห้องแล้วฟังอาจารย์ ไม่ชัดเท่าไหร่ ก็ใช้นี่เลย ชามขยาย เสียง รับรองเสียงใสแจ๋ว (แต่จะไป บังคนข้างหลังหรือเปล่าก็ไม่รู้นะ)
เน็คไท สารพัด ประโยชน์
ตัวนับวิดพื้น
ส�ำหรับผูท้ ชี่ นื่ ชอบการออกก�ำลังโดย เฉพาะ ตั้งท่าวิดพื้นแล้วเอาปลาย คางแตะ พอครบจ� ำ นวนที่ ตั้ ง ไว้ มี เพลงดังออกมาแสดงความยินดีดว้ ย นะเธอ
ริมฝีปากยาง
ผู้อ่านคงสงสัยว่าเราจะใส่ริมฝีปาก ยางไปท�ำไม ค�ำตอบก็คือเอาไว้ออก ก�ำลังกายใบหน้าให้ดอู อ่ นเยาว์ยงั ไง ล่ะ แต่อย่าให้ใครเห็นเชียวนะ คงข�ำ น่าดู
บางคนก็ ส งสั ย ว่ า จะ เอาเน็คไทผูกคอกันหา อะไร ค� ำ ตอบคื อ มั น เก็บของได้ ผมเพิ่งรู้นะ นี่
ทีค่ ำ�้ ยืนหลับ
แหมก็รถมันแน่น ที่นั่ง ไม่มี ท�ำงานมาเพลียๆ ทั้งวัน โชคดีที่มีที่ค�้ำคอ ยืนหลับได้ คิดได้ไงเนี่ย
ร่มเก็บน�้ำฝน
ไหนๆ ก็ต้องเดินฝ่าฝนแล้ว จะใช้ขัน รองน�้ำฝนก็ธรรมดาไปสักหน่อย สู้ กางร่มเก็บน�้ำฝนกลับไปใช้ที่บ้านดี กว่า
เกมเขี่ยเอามันส์
เครื่ อ งเกมธรรมดาที่ ไ ม่ ธ รรมดา เพราะต้องใช้นิ้วแหย่เข้าไปเพื่อเล่น มีหลายแบบ เช่น เกมเขีย่ หมี ใครเขีย่ รูเก่งๆ น่าหามาลองเล่นดู
พวงกุญแจเปิดสนุก
เคยเปิดกล่องป๊อกกี้ไหม ตอนเอานิ้วแหย่ เข้าไปแล้วรูดออกมา รู้สึกจังหวะปริของ กระดาษทีละขั้นๆ ช่างมีความสุขซาบซ่าน ตอนนี้มีพวกกุญแจที่ถ่ายทอดความรู้สึก ดังกล่าวออกมาขายแล้ว ใครชอบใจไปซือ้ ได้เลยครับ
หน้ากาก ช่วยทาลิปสติก
ทาปากอย่างไรไม่ถูกในซะ ที ลองนี่เลย หน้ากากช่วย ทาลิปสติก รับรองออกมา สวย แต่อย่าใส่กลับด้านก็ แล้วกัน
หมอนกอดส�ำหรับ คนขี้เหงา
ในวันที่ว้าเหว่ อยากให้มีใครสักคน คอยกอดเรา ไม่มีใครมีหมอนใบนี้ก็ ยังดี กอดได้ทุกทีรับรองไม่มีบ่น
19
ดร.ดัชกรณ์ ตันเจริญ / ประธานชมรม PIM Sport Club / ประธานชมรม Samurai Thailand
สปอร์ตจัมบาระ กีฬาซามูไร PIM Special ฉบับนี้ ขอแนะน�ำกีฬาประเภทหนึ่ง ซึ่งหลายคนอาจจะพอคุ้นเคยกันมาบ้าง หรือ บางคนเพิง่ มีโอกาสได้รจู้ กั ก็เป็นได้ หากพูดถึงประเทศญีป่ นุ่ แล้ว ทุกคนคงรูจ้ กั กับค�ำว่า “ซามูไร” อย่างแน่นอน กีฬานี้เรียกกันว่า กีฬาดาบซามูไร หรือ Samurai Sport มีลักษณะเหมือนกับการ การแข่งขันฟันดาบซามูไร โดยผู้แข่งขันจะใช้อาวุธดาบที่ผลิตเฉพาะส�ำหรับใช้ในการเล่นกีฬา ต่อสู้ป้องกันตัว ดาบที่ใช้แข่งเรียกว่า Air Soft ซึ่งมีความปลอดภัยสูงส�ำหรับใช้ในการแข่งขัน ปัจจุบนั กีฬาดาบซามูไรมีชอื่ เรียกเฉพาะตามภาษาญีป่ นุ่ ว่า สปอร์ตจัมบาระ (Sports Chanbara) เป็นการรวบรวมการแข่งขันด้วยอาวุธหลากหลายชนิด เพื่อต่อสู้ป้องกันตัว โดยใช้ทักษะการ เคลื่อนไหวและสมาธิเพื่อท�ำแต้มในการแข่งขัน ทุกคนสามารถฝึกฝนเล่นกีฬานี้ได้ตั้งแต่วัยเด็ก อายุ 5 ปี จนถึงระดับผู้บริหารอายุเกิน 60 ปี ก็ยังสามารถฝึกฝนกันได้ ซึ่งความน่าสนใจอยู่ที่การ ใช้สมาธิในการฝึกฝน การแข่งขันในช่วงเวลาสัน้ ๆ ใช้การตัดสินอย่างรวดเร็วในการออกดาบหรือ อาวุธต่างๆ เมื่อวันที่ 4-5 สิงหาคม 2555 ได้มีการจัดการแข่งขันชิงแชมป์เอเชีย รายการ The 6th Asia Oceania Sports Chanbara Championship 2012 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ณ หอประชุม ปัญญาภิวัฒน์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) ซึ่งได้รับการสนับสนุนอย่างดียิ่ง จาก PIM ผู้ร่วมงานทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมาร่วมงานกันคับคั่ง และได้รับความ ประทับใจกลับไปกันถ้วนหน้า สามารถเข้าไปดูภาพบรรยากาศงานได้ที่เว็บเพจ Samurai Sport ที่ http://www.facebook.com/samuraisport
มิตรภาพนานาชาติในการแข่งขัน ชิงแชมป์เอเชีย PIM เองก็มชี มรม PIM Sport Club ส�ำหรับบุคลากรทีส่ นใจมาร่วม เล่นกีฬาเพื่อสุขภาพกัน และยังมี Panyapiwat Chanbara Club ส�ำหรับผู้ที่สนใจกีฬาสปอร์ตจัมบาระโดยเฉพาะ จึงขอเชิญชวน ผู้ที่สนใจมาร่วมฝึกฝนกัน หรือเชิญชวนเด็กๆ นักเรียน นักศึกษา มาร่วมฝึกฝนและเข้าแข่งขันเพือ่ สร้างชื่อเสียงให้กบั ประเทศไทย นอกจากนัน้ ยังเป็นการเตรียมพร้อมส�ำหรับการชิงแชมป์โลก ณ ประเทศญี่ปุ่น ในเดือนพฤศจิกายน 2555 ที่จะถึงนี้
20
อ.คทาเทพ พงศ์ทอง ajarnkathathep@hotmail.com
อาทิตย์อุทัยในรอยจ�ำ ย้อนกลับไปเมื่อ 10 ปีที่แล้ว ประสบการณ์ของการเข้าร่วมโครงการเรือ เยาวชนเอเชียอาคเนย์ปี 2545 ยังคงชัดเจน ครัง้ นัน้ ตืน่ เต้นมากทีจ่ ะได้เดิน ทางสู่แดนอาทิตย์อุทัยเป็นครั้งแรกในชีวิต จวบจนวันนี้ก็ยังคงแจ่มชัดอยู่ ในความทรงจ�ำ ส�ำหรับฉบับนี้ขอเก็บโลกในรอยจ�ำ ณ ประเทศญี่ปุ่นมา เล่าให้ฟังกันครับ
เทศกาลเด็กผู้หญิง หรือเทศกาลฮินะ (Hinamatsuri) หรือบางทีเรียกว่า เทศกาลลูกท้อก็ได้ ครอบครัวทีม่ ลี กู สาวจะจัดวางตุก๊ ตาทีท่ ำ� ขึน้ เป็นพิเศษ ในชุดผ้าไหมลวดลายสวยงามและตัดเย็บอย่างประณีตที่สุด โดยเชื่อว่า เป็นการอธิษฐานขอพรให้เด็กผู้หญิงเติบโตขึ้นเป็นสุภาพสตรีที่น่ารัก อ่อนโยน มีสุขภาพแข็งแรง รวมไปถึงการมีคู่ครองที่ดีในอนาคตด้วย
ประเทศญี่ปุ่น นับเป็นประเทศที่มีอัตลักษณ์หรือเอกลักษณ์ประจ�ำชาติที่ ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นศิลปะและวัฒนธรรมที่แสดงออกถึงความเป็นชาติได้ อย่างละเอียดอ่อน งดงาม และสุขุม โดยสุนทรียะในแบบญี่ปุ่นผ่าน กระบวนการคิดที่แยบยลน่าค้นหา ไม่น่าแปลกใจเลยว่าท�ำไมเรามักจะ พูดถึงประเทศญี่ปุ่นว่ามีความเป็นตัวตนสูง ประสบความส�ำเร็จในด้าน ต่างๆ ทั้งอุตสาหกรรม ความบันเทิง แฟชั่น นวัตกรรม เทคโนโลยี อาหาร ตลอดจนการท่องเทีย่ ว และเป็นประเทศมหาอ�ำนาจทีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ของ โลก
เทศกาลเด็กผูช้ าย (Kodomo No Hi) ชาวญีป่ นุ่ นิยมประดับบ้านด้วยตุก๊ ตา ซามูไรแทนความแข็งแรงเข้มแข็งแบบชายชาตินักรบ ที่คุ้นตากันดีคือธง ปลาคาร์พ (Koi-nobori) หลากสี ท�ำจากกระดาษระบายสีหรือผ้าตกแต่ง ลวดลายปลาคาร์พ แฝงคติแห่งความอดทนในการว่ายทวนน�้ำ และ เป็นการอธิษฐานให้ลูกหลานมีสุขภาพดี ประสบความส�ำเร็จในชีวิต
วันบรรลุนิติภาวะ (Seijin No Hi) เพื่อเฉลิมฉลองการบรรลุนิติภาวะของ หนุ่มสาวที่อายุครบ 20 ปี พ่อแม่จะพาลูกไปฉลองและหาซื้อของขวัญที่ ระลึกที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ เช่น นาฬิกาส�ำหรับลูกชาย และกิโมโน ชาวญี่ปุ่น คือเบื้องหลังของความส�ำเร็จเหล่านี้ ผมประทับใจในความรับ ส�ำหรับลูกสาว รัฐจะส่งไปรษณียบัตรมาแสดงความยินดี แจ้งสิทธิและ ผิดชอบของชาวญี่ปุ่นที่มีต่อตนเองและสังคม ความมีระเบียบวินัยที่แฝง หน้าทีต่ ามกฎหมายให้ทราบ เพือ่ ให้หนุม่ สาวพึงระลึกว่าตนเองต้องมีความ ไปด้วยความน่ารักตามแบบฉบับญี่ปุ่น รวมไปถึงลักษณะนิสัยอันไม่ได้ รับผิดชอบมากขึน้ รูจ้ กั วางแผนชีวติ และประพฤติตนให้เหมาะสมกับทีพ่ อ่ เป็นมาแต่ก�ำเนิด แต่เกิดจากการบ่มเพาะตั้งแต่วัยเยาว์ ดังจะเห็นได้จาก แม่และสังคมยอมรับให้เกียรติว่าเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่แล้ว การแสดงออกถึงคติความเชื่อ และการให้ความส�ำคัญกับเยาวชนผ่าน หวังว่าเก็บโลกมาเล่าฉบับนี้ จะเป็นหนึง่ ในแรงบันดาลใจให้ทกุ ท่านสนใจ เทศกาลต่างๆ อาทิ อยากก้าวไปสัมผัสแดนอาทิตย์อุทัยด้วยตัวเอง ไปมาแล้วอย่าลืมเอามา แบ่งปันรอยจ�ำด้วยกันนะครับ ผมจะตั้งใจฟัง พบกันใหม่ฉบับหน้าครับ
21
เรื่องเล่าขององค์กรบิ๊กไซส์
มนตกานต์ วีรชัยเดชอุดม montakanwer@cpall.co.th
NEC กลับมาอีกครั้งกับคอลัมน์เล็กๆ ที่เต็มไปด้วยเรื่องราวขององค์กร ระดับบิ๊ก ในเล่มนี้ พี่ขอพาน้องๆ ไปรู้จักกับเอ็นอีซี คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด องค์กรระดับโลกที่มีฐานการผลิตอยู่ใน ประเทศไทย และเป็นองค์กรชั้นน�ำด้านเทคโนโลยีโทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายและมัลติมีเดีย ซึ่งเป็นหนึ่งในองค์กร ที่อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จขององค์กรชั้นน�ำต่างๆ มากมาย อาทิ เช่น ร้านอิ่มสะดวก 7-Eleven
22
กว่ า ศตวรรษที่ NEC เริ่ ม ต้ น ธุ ร กิ จ จาก คอมพิวเตอร์และการสื่อสาร จนปัจจุบัน NEC กลายเป็ น ผู ้ น� ำ ระดั บ โลกที่ น� ำ เสนอทางออก ส� ำ หรั บ การพั ฒ นาธุ ร กิ จ ด้ า นความปลอดภั ย โทรคมนาคมและระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ และเซิร์ฟเวอร์ อุปกรณ์มัลติมีเดีย โดยมีสินค้า หลากหลายครอบคลุ ม ความต้ อ งการของ ผู้บริโภค
Monitor) ที่สามารถประยุกต์ไปใช้งานได้หลาก บ�ำรุง พร้อมทีมช่างผูเ้ ชีย่ วชาญรอให้บริการด้วย รอยยิ้มอยู่เสมอ นี่คือเสน่ห์ของ NEC ที่สร้าง หลายด้าน NEC ประเทศไทย ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับระบบตู้ ความประทับใจให้กับผู้บริโภคตลอดช่วงเวลา สาขาโทรศัพท์ (PBX), IP Phone, Smartphone, แห่งความส�ำเร็จขององค์กรเรื่อยมา
เคยสังเกตรอบตัวบ้างไหมคะว่ามีสินค้าหรือ อุปกรณ์ชิ้นใดบ้างที่อยู่ภายใต้แบรนด์ NEC ซึ่ง หนึง่ ในสินค้ายอดนิยมทีว่ งการไอทีปฏิเสธไม่ได้ คือ LCD Monitor ที่ครอบคลุมการใช้งานทั้ง ธุรกิจห้างสรรพสินค้า ร้านค้า ที่ใช้จอ LCD แทน ป้ายโฆษณา ด้านการแพทย์ที่น�ำจอ LCD ใช้ ส�ำหรับอ่านฟิล์มเอ็กซเรย์ รวมถึงเทคโนโลยีล�้ำ สมัยของหน้าจอระบบสัมผัส (Touch Screen
มากกว่า 40 ปี ที่ NEC เข้ามาเริ่มต้นธุรกิจและ ขยายฐานการท�ำธุรกิจในประเทศไทย ยิง่ ตอกย�ำ้ ให้เห็นว่าสินค้าของ NEC เป็นที่ต้องการของ ผู้บริโภคทั่วโลกอย่างต่อเนื่องด้วยคุณภาพและ นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีทไี่ ม่หยุดยัง้ ไม่ใช่เพียง แค่คุณภาพของสินค้าที่สามารถมัดใจผู้บริโภค แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้ากับเรือ่ งเล่าไม่มวี นั หมด ของ NEC แต่ NEC ยังมีศูนย์ให้บริการและซ่อม ขององค์กรระดับบิ๊ก
หน้าจอ LCD, Projector, Server รุ่นต่างๆ รวม ไปถึ ง เครื่ อ ง POS ช� ำ ระเงิ น ที่ เ ห็ น ในร้ า นอิ่ ม สะดวก 7-Eleven ด้วย อุปกรณ์ของ NEC ใกล้ ตัวน้องๆ มากกว่าที่คิด
นอกจากนี้ NEC ยังเป็นหนึ่งองค์กรที่พร้อมให้ ความรู้กับน้องๆ ที่สนใจด้านระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมืออาชีพ ผ่าน การฝึกปฏิบัติงานแบบเจาะลึกกับผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทาง หากน้องๆ สนใจการเรียนวิศวกรรมศาสตร์แบบ Work-based Learning แบบนี้ รีบสมัครเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ PIM แล้วจะรู้ ว่าโอกาสในการเรียนรู้โลกแห่งการท�ำงานจริง สามารถเริ่มต้นได้ตั้งแต่ในรั้วสถาบันฯ
*ทุกสนามสอบ กำหนดการจัดสอบชิงทุนเขาศึกษาตอระดับปริญญาตรี
ประกาศผลทันที ภายในวันเดียวกัน
ประจำปการศึกษา 2556
พิษณุโลก ร.ร.จานกรอง
สนามสอบยอยแยกตามภูมิภาค ชลบุรี ขอนแก น กรุงเทพฯ เชียงใหม ศาลาประชาคม
ร.ร.สิงหสมุทร
อบจ.ขอนแกน
เทอม 1
สอบ วันเสารที่ 13 ตุลาคม 2555
เทอม 2
สอบ วันเสารที่ 19 มกราคม 2556
PIM
สงขลา
ร.ร.วัฒโนทัยพายัพ ร.ร.หาดใหญวิทยาลัย
เทอม 1
เทอม 1 สอบ
สอบ วันเสารที่ 20 ตุลาคม 2555
เทอม 2 สอบ
เทอม 2
เสาร 17 พ.ย. 55
สอบ วันเสารที่ 26 มกราคม 2556
เสาร 12 ม.ค. 56
สนามสอบใหญ หลังปดเทอม ครั้งที่ 1
สอบ วันเสารที่ 30 มีนาคม 2556
ครั้งที่ 2
สอบ วันเสารที่ 4 พฤษภาคม 2556
ครั้งที่ 3
สนามสอบ
สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน (PIM) ถ.แจงวัฒนะ จ.นนทบุรี
สอบ วันเสารที่ 25 พฤษภาคม 2556 สอบถามขอมูลเพิ่มเติม ศูนยใหคำปรึกษาการเลือกเรียนตอและประกอบอาชีพ สำนักส�อสารองคกร PIM โทรศัพท 0 2832 0200 ถึง 14
www.pim.ac.th pimfanpage