PIM Magazine 17

Page 1



lssue January 2013

04 06 14 16 17 18 20 21

PIM Lobby PIM Highlight คนเก่ง PIM Letter From OSAKA เก็บโลกมาเล่า : โลกใหญ่ ในกำ�มือ เรื่องจีนจากซีหนาน New Innovation : มิสเตอร์เอ็ม Our Network : สยามสปอร์ต ซินดิเคท นิเทศศาสตร์ที่ไม่เหมือนใคร ... ฝึกงานตามเป้าหมาย ไม่ใช่ตามใจชอบ ฉบับนี้เป็นฉบับเปิดตัวคณะนิเทศศาสตร์ PIM แบบเจาะลึก ซึ่งเปิดสอน มาแล้ว 2 ปีการศึกษา กับ 2 สาขาวิชาที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก จากน้องๆ ม.6 คือ สาขาการสื่อสารแบรนด์และสาขาการสื่อสารองค์กร น�ำทีม “นิเทศศาสตร์ที่ไม่เหมือนใคร” ที่เน้นจุดเด่นตามแนวการเรียนรู้ ควบคูก่ บั การปฏิบตั ิ โดย ดร.สุดารัตน์ ดิษยวรรธนะ จันทราวัฒนากุล หรือ อาจารย์ไก่

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (Panyapiwat Institute of Management) PIM Magazine : พี ไอ เอ็ม แมกกาซีน ปีที่ 4 ฉบับที่ 17 เดือนมกราคม 2556 สำ�นักสื่อสารองค์กร ที่ปรึกษา พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล บรรณาธิการบริหาร ปาริชาต บัวขาว บรรณาธิการ วรินทรา วิริยา กองบรรณาธิการ ดร.ธันยวัต สมใจทวีพร มนตกานต์ วีรชัยเดชอุดม วาร์วี ชานวิทิตกุล พิสูจน์อักษร สุธาสินี พ่วงพลับ กันย์อักษร ชื่นชมภู อรทัย ทับทองห้วย ศิลปกรรม เอกภพ สุขทอง

คทาเทพ พงศ์ทอง ชนิดา วนารักษ์สกุล จุฬนี ศิริขันธ์ คทาเทพ พงศ์ทอง ชนิดา วนารักษ์สกุล

85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำ�บลบางตลาด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2832 0200 ถึง 14 โทรสาร 0 2832 0391 85/1, Moo 2, Chaengwattana Road, Bang-Talad, Prakkred, Nonthaburi, 11120 THAILAND Tel. 0 2832 0200 to 14 Fax 0 2832 0391 www.pim.ac.th www.facebook/pimfanpage

และแนะน�ำสาขาน้องใหม่ “วารสารศาสตร์คอนเวอร์เจ้นท์ (Convergent Journalism)” ซึง่ จะเปิดสอนในปีการศึกษา 2556 นี้ มาดูกนั ว่านักสือ่ สาร มวลชนจะปรับตัวอย่างไร ในยุคทีพ่ ฤติกรรมผูบ้ ริโภคข่าวสารมีแนวโน้มที่ เปลีย่ นไป คนอ่านหนังสือกันน้อยลงท่ามกลางการด�ำเนินชีวติ ทีเ่ ร่งรีบและ มีช่องทางรับข่าวสารเพิ่มมากขึ้น ติดตามกันได้ที่ PIM Highlight ในคนเก่ง PIM เรามาท�ำความรู้จักน้องฮัทและพัชส์ นักศึกษาปี 2 สาขา การสื่อสารองค์กร นอกจากเป็นนักศึกษารุ่นบุกเบิกของคณะแล้ว ยังเป็น รุน่ น�ำร่องทีอ่ อกไปเก็บเกีย่ วประสบการณ์จริงกับองค์กรภายนอก หลังกลับ จากฝึกงาน น้องฮัทและพัชส์บอกกับ PIM Mag ว่า งานนี้คุ้มค่าจริงๆ ได้ เรียนรูก้ ารท�ำงานร่วมกับผูอ้ นื่ รวมถึงรูจ้ กั ตัวเองมากขึน้ ว่าเมือ่ เรียนจบแล้ว อยากเป็นอะไร แปลกใหม่ในวงการนักสื่อสารกับหลักสูตรหนึ่งเดียวในประเทศไทยที่ ใช้แนว Work-based Learning ติดตามชีวติ ในต่างแดนของน้องๆ นักศึกษา ณ นครโอซาก้า ประเทศญีป่ นุ่ ได้เช่นเคยใน “จดหมายจากโอซาก้า รุ่น 2” มีเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยหลายมุม มาฝากชาว PIM Mag เลยนะคะ ส่วนน้องนักศึกษาสาขาภาษาจีนธุรกิจ ก็ไม่นอ้ ยหน้า ส่ง “เรือ่ งจีนจากซีหนาน” มาเหมือนกัน ได้อา่ นแล้วก็โล่งใจ น้องๆ ประสบปัญหาน้อยมากในการปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ และ ตัวช่วยที่ส�ำคัญก็คือ เพื่อนบัดดี้ชาวจีน พลาดไม่ได้เลยค่ะ รักษาสุขภาพกายและจิตใจกันให้ดี เป็นห่วงเช่นเคยค่ะ บก.แอมป์

3


ให้ นั ก วิ จั ย และนั ก ประดิ ษ ฐ์ น� ำ ผลงาน ประดิษฐ์ที่ได้รับรางวัลจากสภาวิจัยแห่ง ชาติ รางวัลจากกิจกรรมต่างๆ ของ วช. รวมถึงผลงานของหน่วยงานเครือข่าย เข้ า ร่ ว มประกวดและการจั ด แสดง นิทรรศการในงานนี้ นอกจากได้แสดง ผลงานประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น จากความคิ ด สร้ า งสรรค์ ยั ง เป็ น พื้ น ที่ แ ลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ระหว่างนักประดิษฐ์ไทย และนักประดิษฐ์นานาประเทศ ตลอดจน ได้พบปะกับนักธุรกิจ นักลงทุนผู้สนใจ ผลิตภัณฑ์สิ่งประดิษฐ์อีกทางหนึ่ง

อธิการบดี PIM บรรยายความรู้ ด้านเศรษฐกิจในหลักสูตร ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรม ระดับสูง รุ่นที่ 17

ด็อกเตอร์นักประดิษฐ์ คณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี PIM สร้างชื่อระดับประเทศ คว้าเหรียญเงิน 2 ปีซ้อน

เมื่อเร็วๆ นี้ รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี PIM ให้เกียรติบรรยายในหัวข้อ “อาชญากรรมทางเศรษฐกิจกับสังคมที่ ก�ำลังเปลี่ยนแปลง” ให้แก่ผู้เข้ารับการ อบรมในหลักสูตร “ผู้บริหารกระบวนการ ยุติธรรมระดับสูง” รุ่นที่ 17 ณ สถาบัน พัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุตธิ รรม ถ.รัชดาภิเษก ซึ่งส�ำนักงานศาลยุติธรรม อนุมัติให้สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่าย ตุ ล าการศาลยุ ติ ธ รรม จั ด อบรมให้ แ ก่ ผู้เข้ารับการอบรม จ�ำนวน 90 คน เพื่อให้ ทราบถึงความเป็นมาและสาเหตุส�ำคัญ ของปัญหาอาชญากรรมทางเศรษฐกิจใน ภาพรวม และแนวความคิดในการป้องกัน และปราบปราม เพื่อสร้างความเป็นผู้น�ำ ทีม่ วี สิ ยั ทัศน์ในการบริหารงานพร้อมด้วย คุณธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบ และสามารถน� ำ องค์ ก รไปสู ่ ผ ลส� ำ เร็ จ สอดคล้องกับนโยบายพั ฒ นาประเทศ ต่อไป

ดร.ธันยวัต สมใจทวีพร อาจารย์ประจ�ำ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี PIM ได้รับรางวัลเหรียญเงิน จากผลงาน หุ ่ น ยนต์ ส ่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ ด ้ า นการ สนทนาภาษาอังกฤษ ประเภท Class C : Information / Communication ในงาน คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ แถลงข่าว นักประดิษฐ์ไทยคว้ารางวัลในงาน ได้รับเชิญเป็นกรรมการ Seoul International Fair 2012 (SIIF) โทรทัศน์ทองค�ำ ครั้งที่ 27 ณ ห้องประชุมจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) จัดขึ้นโดยสมาคมส่งเสริมการประดิษฐ์ ดร.สุดารัตน์ ดิษยวรรธนะ จันทราวัฒนากุล แห่งสาธารณรัฐเกาหลี (Korea Invention คณบดี ค ณะนิ เ ทศศาสตร์ ได้ รั บ เชิ ญ จากคณะกรรมการอ� ำ นวยการจั ด งาน Promotion Association, KIPA) ประกาศผลรางวัลดีเด่นทางโทรทัศน์ ภาย ผลงานประดิษฐ์คิดค้นของนักวิจัยและ ใต้ชื่อ “โทรทัศน์ทองค�ำ” ให้เป็นคณะ นั ก ประดิ ษ ฐ์ ไ ทย สามารถคว้ า รางวั ล กรรมการพิจารณารางวัลโทรทัศน์ทองค�ำ เกียรติยศ 5 ผลงาน รางวัลเหรียญทอง 23 ครั้ ง ที่ 27 ในชุ ด ประเภทละคร ซึ่ ง จะ ผลงาน รางวัลเหรียญเงิน 4 ผลงาน และ พิจารณาละครที่ออกอากาศในปี 2555 รางวัลเหรียญทองแดง 5 ผลงาน รวม ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 3, 5, 7, 9, สทท. รางวัลทัง้ สิน้ 38 ผลงาน จากผูเ้ ข้าร่วมงาน 11 และทีวีไทย 12 หน่วยงาน โดยการสนับสนุนของ วช.

4


ช่วงบ่าย ได้รับเกียรติจากคุณพิมพ์พร บรรจงรัตนะงาม ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายการ ตลาดและประชาสัมพันธ์ และคุณพัชรา ภรณ์ คงสวัสดิ์ นักวิเคราะห์ศกั ยภาพ จาก ศู น ย์ วิ เ คราะห์ ศั ก ยภาพปั ญ ญธารา (P-PAC) บริ ษั ท ปั ญ ญธารา จ� ำ กั ด วิ ทยากรบรรยายเกี่ ยวกั บการ “ค้น หา ศักยภาพที่ซ่อนอยู่ในตัวคุณผ่านลายผิว วิทยา” วิเคราะห์บคุ ลิกภาพเบือ้ งต้น สร้าง ความประทับใจให้คณาจารย์ที่เข้าร่วม งานอย่างมาก

นักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ ฝึกปฎิบัติงาน ณ นครเซี่ยงไฮ้ รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา 2555 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ PIM เข้าร่วมโครงการ รวมทั้งสิ้น 10 คน โดยมีก�ำหนดการเดินทางไปฝึกปฏิบัติ งานทีห่ า้ งสรรพสินค้า Super Brand Mall ณ นครเซี่ยงไฮ้ ตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม ถึง 3 เมษายน 2556 โดยก่ อ นเดิ น ทาง นักศึกษาได้เข้ารับการอบรมเตรียมความ พร้ อ มทางภาษาและการปรั บ ตั ว ใน เซี่ยงไฮ้ โดยได้รับเกียรติจากคณาจารย์ ในคณะศิ ล ปศาสตร์ แ ละวิ ท ยากรจาก บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) แนะน�ำ การเตรียมความพร้อมก่อนเดินทาง

PIM Open House ครั้งที่ 7 “เจาะลึกแนวทางการศึกษาใหม่ Corporate University”

ส�ำนักสื่อสารองค์กร จัดโครงการ PIM Open House ครั้งที่ 7 “เจาะลึกแนวทาง การศึกษาใหม่ Corporate University” กรณี ศึ ก ษาสถาบั น การจั ด การปั ญ ญา ภิวฒ ั น์ ตอน “ค้นหาศักยภาพทีซ่ อ่ นอยูใ่ น ตัวคุณผ่านลายผิววิทยา” เพื่อกระชับ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งคณาจารย์ กั บ กิจกรรมโครงการชุมชน บุคลากรของ PIM รวมถึงเผยแพร่ข้อมูล สัมพันธ์ รอบบ้าน “PIM” เชิงลึกว่าด้วยการสนับสนุนของกลุ่มซีพี โอกาสนี้ คุ ณ ก่ อ ศั ก ดิ์ ไชยรั ศ มี ศั ก ดิ์ ออลล์ และพันธมิตร ทั้งในแง่องค์ความรู้ งานกิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษา ส� ำ นั ก กิ จ การ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร บริ ษั ท ซี พี และสถานที่ฝึกงาน ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) คุณปิยะวัฒน์ ช่วงเช้า คุณวรินทรา วิรยิ า ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวย นักศึกษา PIM จัดงานชุมชนสัมพันธ์ สาน ฐิตะสัทธาวรกุล กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั การส�ำนักสื่อสารองค์กร กล่าวต้อนรับ ความอบอุ่นรอบรั้ว PIM โดยมีนักศึกษา ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) รศ.ดร.สมภพ และบรรยายพิเศษเจาะลึกกลุ่มธุรกิจใน และบุคลากร PIM ร่วมสร้างสีสัน มอบ มานะรังสรรค์ อธิการบดี คุณสยาม โชค เครือเจริญโภคภัณฑ์และกลุ่มซีพี ออลล์ ความบันเทิงให้สมาชิกชุมชนกว่า 500 สว่างวงศ์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหาร จากนั้น คุณกันย์อักษร ชื่นชมภู ผู้จัดการ ชีวิต ภายในงานเต็มไปด้วยความสนุก และคณะผู้บริหาร PIM ได้ให้นักศึกษา ฝ่ายการตลาดและประชาสัมพันธ์บรรยาย และอบอุ่น อาทิ การแสดงดนตรีพื้นบ้าน เข้าพบ และกล่าวให้โอวาทก่อนเดินทาง เรื่อง “เจาะลึกแนวทางการศึกษาใหม่ อีสาน โดยนักศึกษา PIM “วงโปงลาง มังคลอุบล” ศิลปะการแสดงดนตรีพนื้ เมือง Corporate University กรณี ศึ ก ษา ผสานกับนาฏศิลป์ลลี า จากส�ำนักส่งเสริม สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์” และ ศิลปะและวัฒนธรรม เกมสันทนาการพร้อม รองคณบดี คณะศิลปศาสตร์ อาจารย์ ของรางวัลมากมาย ณ หอประชุมปัญญา ทิพวรรณ อภิวันท์วรรัตน์ บรรยายพิเศษ ภิวัฒน์ PIM แนะน�ำภาพรวมสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ธุรกิจ 5


ทุกเช้าหนุ่มสาวคนทำ�งานในเมืองใหญ่ตื่นเช้าหยิบสมาร์ทโฟนมาเช็ค

ฟีดข่าว ที่ส่งผ่านมาตามสัญญาณ 3G ก่อนล้างหน้าแปรงฟันกินข้าว อาบน้ำ� ทำ�กิจวัตรประจำ�วัน พ่อแม่บางคนเปิดโทรทัศน์ดูข่าวเช้า รายการทีม่ ี พิธกี รย่อยข่าวเล่าเป็นเรื่องเป็นราวเคล้าอารมณ์ แล้วค่อยไปเรียนหนังสือ หรื อทำ � งาน ส่ วนคนรุ่ น คุ ณ ลุ งคุ ณ ตาอาจกำ � ลั งกวาดสายตาไล่ เรีย งดู พาดหัวข่าวประจำ�วัน ระหว่างนั่งรอกาแฟปาท่องโก๋ที่ร้านสภากาแฟใน ชุมชน เช่นเดียวกับลูกจ้างแรงงานในภาคเกษตรอาจจะกำ�ลังเริ่มงานใน ไร่แตงก็เปิดวิทยุทรานซิสเตอร์ฟังคลื่น AM ท้องถิ่น ฟังข่าวราคากลาง พืชผัก ตามด้วยเพลงลูกทุ่งฮิตร่วมสมัย ไม่ว่าใครจะรับข่าวสารด้วยช่องทางไหน บริโภคข่าวสารประเภทใด แต่คน ทั้งหลายย่อมต้องบริโภคข้อมูลมากกว่าหนึง่ ประเภท โดยหนึง่ ในนัน้ อาจเป็น ข่าวสารบันเทิงตามความชอบ อีกหนึ่งย่อมไม่พ้นข่าวสารพื้นฐานประจำ�วัน ต่อให้เลือกรับสารเฉพาะกลุ่มอย่างไร แต่ข่าวสารพื้นฐานข่าวสารที่ ไม่สนุก ก็ยังเป็นข่าวสารที่มีคุณค่าเพราะเป็นเงื่อนไขสำ�คัญในการตัดสินใจของชีวิต ถึงแม้คนเราสื่อสารกันอยู่ตลอดเวลาทั้งทางตรงทางอ้อม ระดับมวลชน กลุ่มย่อยหรือระดับบุคคล แต่ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเท่านั้นที่จะเป็นผู้กุม เป้าหมายได้อยูม่ อื กว่า และการเป็นมืออาชีพในการสื่อสารก็ ไม่ ใช่เรื่องง่ายนัก ฉะนั้นการเรียนอย่างเป็นระบบจึงเป็นเครื่องมือที่มองข้ามไปไม่ได้

6


นิเทศศาสตร์ PIM เน้นการเรียนรู้ควบคู่ การปฏิ บั ติ ง านบนพื้ น ฐานความเข้ า ใจ ธุรกิจและกรอบคิดความรับผิดชอบ เป็น นิเทศศาสตร์ที่เจาะเฉพาะธุรกิจ ประกอบ กับจ�ำนวนนักศึกษาทีไ่ ม่มาก นิเทศศาสตร์ PIM จึ ง เป็ น Work-based Learning ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยความใส่ ใ จของอาจารย์ มี ก ารติ ด ตามผล ปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รให้ สอดคล้องกับความต้องการเสมอ เพื่อ สร้างนักนิเทศศาสตร์ที่มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้านธุรกิจ และเน้นตอบโจทย์ธรุ กิจ ด้วยความเป็น Corporate University

7


ness) ธุรกิจกีฬาและบันเทิง (Sport and Entertainment Busiนักศึกษาที่เลือกเรียนสาขานี้จะได้เรียนรู้ทฤษฎีและทักษะที่ ness) และอุตสาหกรรมการต้อนรับและบริการ (Hospitality ท�ำให้สามารถสื่อสารและบริหารจัดการการสื่อสารทั้งภายใน Industry) และภายนอกองค์กรธุรกิจ โดยยึดหลักความสัมพันธ์และการมี ส่วนร่วมของกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกับองค์กร และความรับผิด เมื่อเรียนจบแล้วสามารถประกอบอาชีพเหล่านี้ได้ ชอบต่อสังคมขององค์กร รวมถึงจะได้มีความรู้ความเข้าใจ นักสื่อสารองค์กร นักมวลชนสัมพันธ์ นักชุมชนสัมพันธ์ กระบวนการท�ำสือ่ ด้วยการฝึกปฏิบตั งิ านในองค์กรสือ่ มวลชนจริง นักประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าทีโ่ ครงการความรับผิดชอบต่อสังคม ที่ PIM นั ก ศึ ก ษาจะได้ เ ลื อ กเรี ย นเน้ น และฝึ ก ปฏิ บั ติ ใ น 3 ขององค์กร ผู้เชี่ยวชาญการสื่อสารในธุรกิจหรืออุตสาหกรรม ประเภทธุรกิจอุตสาหกรรม ได้แก่ ธุรกิจค้าปลีก (Retail Busi- การต้อนรับและบริการ การค้าปลีก หรือกีฬาและบันเทิง การสื่อสารองค์กร (Corporate Communication)

8


การสื่อสารแบรนด์ (Brand Communication)

ความเป็นผู้ประกอบการ วางแผนปรับกลยุทธ์การสื่อสารการ ตลาดอย่างทันกระแส อีกทั้งเข้าใจภาพรวมการสื่อสารและ พฤติกรรมผูบ้ ริโภคอุตสาหกรรมสินค้าทรงคุณค่าทีม่ คี วามพิเศษ เฉพาะ เพื่อให้แบรนด์สินค้าหรือบริการครองใจกลุ่มเป้าหมาย และตลาดได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ยังสามารถน�ำความรู้ที่ได้ รับมาต่อยอดพัฒนา สร้างมูลค่าให้กับสินค้าและบริการใน ประเทศอีกด้วย

PIM เป็นสถาบันแรกที่เน้นการสื่อสารแบรนด์ที่เจาะเฉพาะ อุตสาหกรรมสินค้าทรงคุณค่าหรือ ลักชัวรี่แบรนด์ (Luxury Brand) ที่ก�ำลังมีอัตราการเติบโตสูงและรวดเร็วมากในขณะนี้ อุตสาหกรรมสินค้าทรงคุณค่ามีความพิเศษเฉพาะ มีความ พิถีพิถันในการผลิตที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรม ค่านิยม วิถีชีวิต และความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งสินค้าและบริการเหล่านี้จัดเป็น สินค้าทีม่ ขี นั้ ตอนการตัดสินใจซือ้ ทีซ่ บั ซ้อน (High-Involvement) เมื่อเรียนจบแล้วสามารถประกอบอาชีพเหล่านี้ได้ อาทิ แฟชั่น เครื่องประดับ อัญมณี นาฬิกา สินค้าเพื่อสุขภาพ นักสือ่ สารแบรนด์ นักสร้างสรรค์และพัฒนาแบรนด์ ผูจ้ ดั การ และบริการ รถยนต์ สายการบิน และอื่นๆ ร้าน ผู้จัดการแบรนด์ นักวางแผนการตลาด นักวางแผน การเรียนการสอนในวิชาเอกสื่อสารแบรนด์ (Brand Commu- กลยุทธ์ นักบริหารความสัมพันธ์ ผู้เชี่ยวชาญการสื่อสารใน nication) มุ่งเน้นให้นักศึกษามีวิสัยทัศน์ทางธุรกิจ มีทักษะ อุตสาหกรรมแบรนด์ทรงคุณค่า (Luxury Brand)

9


วันนี้ ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ท�ำให้นักข่าว นอกจากต้องเก่งประเด็นข่าว มีความสามารถเข้าถึงแหล่งข่าว และเขียนข่าว ได้ ดี แ ล้ ว ยั ง ต้ อ งจั ด การเนื้ อ หาที่ มี อ ยู ่ ทั้ ง ในรู ป ของข้ อ มู ล ภาพนิ่ ง ภาพ เคลือ่ นไหว มาน�ำเสนอให้เหมาะสมกับช่องทางสือ่ ทีห่ ลากหลาย ทัง้ สือ่ สิง่ พิมพ์ สื่ อ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ และนิ ว มี เ ดี ย หรื อ สื่ อ ออนไลน์ ใ น อินเตอร์เน็ตต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขอแนะน�ำหลักสูตรล่าสุดของคณะนิเทศศาสตร์ PIM “วารสารศาสตร์คอนเวอร์ เจ้นท์” ชื่อไทยปนอังกฤษ นิเทศแบบคอนเวอร์เจ้นท์ ชื่อภาษาอังกฤษยากๆ นี้ คืออะไร อยากรู้อยากเข้าใจ รีบอ่านบรรทัดถัดไปทันที!

วารสารศาสตร์คอนเวอร์เจ้นท์คืออะไร

วารสารศาสตร์คอนเวอร์เจ้นท์ (Convergent Journalism) เป็นวิวัฒนาการของ การรายงานข่าวแบบหลากหลายสื่อ เมื่อเทคโนโลยีท�ำให้การรับสารของคนธรรมดา เข้าถึงข้อมูลหลากหลายได้ง่ายขึ้น เข้าถึงข้อมูลตรงความชอบความสนใจมากขึ้น ช่องทางการสื่อสารที่เปิดกว้าง ยังท�ำให้ผู้รับสารกลายเป็นผู้ส่งสาร เมื่อเกิดพื้นที่แลก เปลี่ยนและส่งต่อข่าวสารด้วยตัวเองได้เร็วขึ้น นักข่าวในฐานะผู้ส่งสารต้องปรับตัวให้ ทันความเปลี่ยนแปลงในการผลิตข้อมูลข่าวสารเช่นกัน วารสารศาสตร์ทั่วโลกจึงต้องปรับทั้งทัศนคติในการท�ำงานข่าว ปรับห้องข่าวที่เอื้อต่อ การหลอมรวมสื่อมากขึ้น ปรับความต้องการบุคลากรในงานข่าว ต้องการคนที่ท�ำงาน เพื่อใช้ได้หลากหลายช่องทาง เชี่ยวชาญเทคโนโลยี และมีทักษะท�ำงานหลายอย่าง พร้อมๆ กัน ที่เรียกว่า multi-tasking skills เช่นเจอสถานการณ์ข่าวก็สามารถเลือก ประเด็น โพสต์ผ่านเครือข่ายสังคมทวิตเตอร์ เขียนลงเฟสบุ๊ค ระหว่างนั้นเก็บทั้งภาพ นิง่ และภาพเคลือ่ นไหวไว้เขียนข่าว เพิม่ คลิปภาพเคลือ่ นไหวสัน้ ๆ ประกอบลงเว็บไซต์ ข่าว รวบรวมองค์ประกอบเพิม่ เขียนแบบเต็มลงหนังสือพิมพ์อกี ที และอาจน�ำประเด็น ที่เหมาะสมมาออกอากาศทางโทรทัศน์ทั้งในรูปแบบข่าว หรือน�ำเสนอในรูปแบบอื่น อีกครั้งหนึ่ง นี่คือสิ่งที่เรียกว่า “การท�ำงานข่าวแบบคอนเวอร์เจ้นท์” 10


อนาคตประเทศไทยกับคอนเวอร์เจ้นท์

เมืองไทยเพิง่ ตืน่ ตัวกับคอนเวอร์เจ้นท์มาไม่เกิน 5 ปี เพราะคนทัว่ ไปเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้มากขึน้ ขณะทีต่ า่ งประเทศรูจ้ กั คอนเวอร์เจ้นท์ ประมาณ 10 ปีแล้ว และในประเทศที่คนทั่วไปเข้าถึงอินเตอร์เน็ตง่ายมาก ก็ส่งผลให้หนังสือพิมพ์ตายเร็วขึ้น ตอนนี้หนังสือพิมพ์ ต่างประเทศหลายฉบับปิดตัวฉบับตีพิมพ์แล้ว เหลือเฉพาะฉบับดิจิตอล แต่ประเทศเรายังมีเวลาอยู่ เพราะความเชื่องช้าเรื่องการ เข้าถึงอินเตอร์เน็ต ซึง่ ดูเหมือนกระจายตัวสูง แต่ความจริงยังกระจุกอยูเ่ ฉพาะกลุม่ คนในเมืองทีม่ ลี กั ษณะการใช้ชวี ติ แบบคนเมือง ฉะนั้น หนังสือพิมพ์ที่เจาะกลุ่มเป้าหมายคนเมืองโอกาสหดตัวก็เยอะ เพราะคนหันไปใช้เทคโนโลยีเข้าถึงข่าวสารแทน ขณะที่ หนังสือพิมพ์ที่เจาะกลุ่มเป้าหมายคนต่างจังหวัดก็อาจชะลอไปได้อีกสักหน่อย แต่การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีของคน ทั่วไปก็เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สื่อสิ่งพิมพ์ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์จึงต้องปรับตัวครั้งใหญ่

จุดต่างนิเทศศาสตร์ PIM คือ Work-Based Learning (WBL)

สาขานิเทศศาสตร์เป็นสาขาที่มีความพิเศษเฉพาะ มีรายละเอียดในทางปฏิบัติมาก จึงต้องการทักษะและความเชี่ยวชาญซึ่งการ เรียนรู้ที่ดีที่สุดคือการลงมือท�ำ และคนสอนที่ดีที่สุดคือคนปฏิบัติงานจริง ครูจึงท�ำหน้าที่เป็นผู้เอื้อ (Facilitator) ให้เกิดการเรียนรู้ อย่างมีทศิ ทาง ลักษณะเฉพาะของนิเทศศาสตร์ PIM คือ เรียนทฤษฎีพร้อมฝึกปฏิบตั งิ านจริงหรือทีเ่ รียกว่า Work-based Learning (WBL) ใช้เวลาประมาณ 76 สัปดาห์ หรือ 41% ของเวลาเรียนทั้งหมด ภายใต้แนวคิด PDCA

Plan Do Check Action

วางเป้าหมายการฝึกปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ตาม วิชาชีพและศักยภาพนักศึกษา ส่งนักศึกษาฝึกปฏิบัติงานภายใต้การดูแลและคำ�แนะนำ�อย่างใกล้ชิด ประเมินผลการเรียนรู้ทั้งระดับรายบุคคลและภาพรวม ปรับแผนการเรียนให้สัมพันธ์กับความรู้และทักษะที่ต้องการส่งเสริม และปรับปรุง

ที่นิเทศ PIM ฝึกงานตั้งแต่ปี 2 ถึงปี 4 เพราะปี 1 เรียนปูพื้นฐานทางนิเทศศาสตร์ เรียนทฤษฎีเต็มที่ ตั้งแต่ปี 2 ถึงปี 4 นักศึกษา ทุกคนจะต้องฝึกงาน ภาคการศึกษาละ 3 เดือน เท่ากับนักศึกษาจะได้ฝึกงานปีการศึกษาละ 6 เดือน ซึ่งการฝึกงานแต่ละครั้งจะ มีเป้าหมายที่สอดคล้องกับคุณลักษณะของวิชาชีพ ซึ่งจะเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ และเน้นการดูแลอย่างใกล้ชิด ประเมินผลทั้งในระดับ บุคคลและภาพรวม และน�ำผลทีไ่ ด้มาปรับแผนการเรียน รวมทัง้ จัดโครงการอบรมเพิม่ เติมเพือ่ ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนานักศึกษา อย่างเป็นระบบก่อนออกไปฝึกงานใหม่ในอีกสามเดือนถัดไป 11


ฝึกงานตามเป้าหมาย ไม่ ใช่ตามใจชอบ

ขอยกตัวอย่างวิชาเอกสื่อสารองค์กร นักศึกษารุ่นแรกของเราที่ อยู่ปี 2 เริ่มต้นฝึกงานครั้งที่ 1 กับสื่อ ท�ำไมเรียนสื่อสารองค์กร ต้องไปฝึกงานสื่อ เพราะคนท�ำงานสื่อสารองค์กรต้องเขียนเป็น และต้องรูจ้ กั สือ่ เราท�ำวิจยั แล้วพบว่านักประชาสัมพันธ์มปี ญ ั หา มากที่สุด คือเรื่องความสัมพันธ์กับสื่อ ที่เรียกว่า Media Relations แล้วก็เรือ่ งการเขียน ฉะนัน้ เราก็สง่ เด็กไปอยูก่ บั คนทีเ่ ขียน ข่าวเลย จะได้รู้จักวิถีชีวิตของนักข่าวว่าท�ำข่าวยังไง ล�ำบาก ยังไง ไปเห็นความยุ่งยากในกระบวนการข่าวว่าเป็นยังไง ซึ่ ง โชคดี ม ากที่ ไ ด้ รั บ ความอนุ เ คราะห์ จ ากสื่ อ มวลชนทั้ ง หนังสือพิมพ์ เว็บไซต์ สถานีวิทยุ สถานีโทรทัศน์รับนักศึกษา PIM ไปสอนการท�ำงานข่าวให้ เราพบว่านักข่าวจ�ำนวนมากทีม่ า เป็นพี่เลี้ยงวิชาชีพให้นักศึกษาปี 2 มีความเป็น “ครู” สูงมาก มี การวางแผนการเรียนรู้เป็นขั้นเป็นตอน ฝึกให้อ่าน สอนเขียน ตรวจแก้ตน้ ฉบับ เทคนิคการถ่ายภาพ ท�ำงานโปรดักชัน่ รายการ ข่าว ฯลฯ และที่ส�ำคัญ “ให้โอกาส” นักศึกษาท�ำงานข่าวและ เผยแพร่เหมือนนักข่าวอาชีพจริงๆ

มองไกลๆ ในฐานะนักนิเทศศาสตร์ ถึงโครงสร้างการสื่อสารที่เปลี่ยนไป

ครัง้ ที่ 3-4 เริม่ ฝึกกับบริษทั ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั อื่นๆ ในกลุ่มซีพี ออลล์ โดยมีเป้าหมายให้เกิดความเข้าใจและ เรียนรู้การท�ำงานการสื่อสารภายในองค์กร

จากเดิมการสือ่ สารของสือ่ มวลชนเป็นลักษณะสือ่ สารทาง เดียว คือสือ่ ส่งสารออกมาแล้ว คนรับสารอย่างเราก็รบั ไป ทางเดียว ไม่สามารถสะท้อนอะไรกลับไปได้ แต่ปัจจุบัน เป็นลักษณะ user generated content คือคนรับสารเอง ก็สร้างสารและส่งต่อ หรือไม่ก็ส่งกลับไปยังสื่ออีกที รวม ทัง้ ช่องทางสือ่ สารก็หลากหลายขึน้ แต่ความสนใจของคน แคบลง เพราะคนเรามีเวลาเท่าเดิม แต่มีข้อมูลเยอะมาก จึงต้องเลือก เช่น แทนทีจ่ ะซือ้ หนังสือทัง้ เล่ม แล้วอ่านทีละ หน้าจนถึงหน้าที่เราชอบ หลังๆ คนเลือกเปิดหน้านิยาย หน้าบันเทิงเลย คนท�ำข่าวต้องรวบรวมข่าวสารไว้เยอะ และต้องจัดหมวดหมูเ่ ป็นกลุม่ ๆ เพือ่ ตอบสนองคนยุคใหม่ ที่มีความสนใจเฉพาะด้าน

และเพือ่ ให้นกั ศึกษาได้มคี วามเชีย่ วชาญเฉพาะ การฝึกงานครัง้ ที่ 5 และ 6 จะเริม่ เจาะไปยังธุรกิจอุตสาหกรรมทีน่ กั ศึกษาสนใจ เป็นพิเศษ อาทิ ธุรกิจค้าปลีก กีฬาและบันเทิง หรืองานบริการ และต้อนรับ นักศึกษาจะเลือกประเภทองค์กรทีจ่ ะไปฝึกงานเอง รวมทัง้ พัฒนาโครงงานทีช่ ว่ ยพัฒนาการสือ่ สารองค์กรของสถาน ประกอบการนั้นๆ ด้วยน�ำเสนอองค์กร เพื่อให้องค์กรเลือกรับ เขาเข้าท�ำงานด้วย

ถึงคนจะติดละครยังไงแต่ก็ยังต้องบริโภคข่าวสาร เพราะ ข่าวสารเป็นเงื่อนไขของการตัดสินใจในชีวิตประจ�ำวัน หลายอย่าง ในกระบวนการเติบโตของคนเราต้องการ ข่าวสารทั้งนั้น เพียงแต่อาจจะต่างกันในรูปแบบ ขนาด เล่นเกมเรายังต้องได้ข่าวสารว่าเกมไหนดี เกมไหนไม่ดี ยังไง แล้วเรื่องที่ส�ำคัญกว่านั้น คนก็ต้องการข้อมูลเพื่อ ประมวลและตัดสินใจแน่นอน

ครั้งที่ 2 ไปฝึกกับสื่อที่เกี่ยวข้องกับงานประชาสัมพันธ์ เพื่อไป สังเกตอีกมุมว่าเวลาที่ส่งข่าวไป สื่ออยากไปมั้ย มันจะไปลง ตะกร้ามั้ย ควรส่งไปช่วงเวลาไหนถึงจะได้พอดี จะได้มองภาพ นั้นจากองค์กรสื่อ

โลกวันนีห้ ำ�้ หัน่ กันด้วยข้อมูลข่าวสาร สงครามการช่วงชิงพืน้ ทีส่ อื่ ดุเดือดเข้มข้นขึน้ มาก แม้วา่ ในเรือ่ ง ราวนั้นต่างมีความจริงเท็จชนิดกลับตาลปัตร บ่อยครั้งเรื่องแต่งกลับได้รับความเชื่อถือราวกับเป็น เรือ่ งจริงทีพ ่ สิ จู น์ได้ ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ ขึน้ อยูก่ บั บรรทัดฐาน ประสบการณ์ และค่านิยมของสังคม สือ่ มีหน้าที่ น�ำเสนอข้อมูลที่สังคมสนใจหรือน่าจะสนใจ หลายครั้งสื่อเป็นผู้น�ำประเด็นสู่สังคม และหลายครั้ง สือ่ ก็เป็นเพียงผูต้ ามกระแส ไม่วา่ บทบาทนีจ้ ะพลิกกลับไปมาเท่าใด แต่การน�ำเสนอข้อมูลของสือ่ สาร มวลชนที่ดีคือ น�ำเสนอประเด็นและข้อเท็จจริงที่น�ำไปสู่การเรียนรู้กระตุ้นสร้างปัญญาให้แก่สังคม 12


วารสารศาสตร์คอนเวอร์เจ้นท์ (Convergent Journalism) มุง่ สร้างบัณฑิตทีพ่ ร้อมจบท�ำงานในวิชาชีพข่าว ซึง่ มีความเป็นผูป้ ระกอบการ ข่าวที่สามารถท�ำงานในสภาพแวดล้อมที่มีการผสานทั้งในการบริหารจัดการ งานข่าว การจัดการเนื้อหาและการสื่อสารผ่านช่องทางสื่อที่หลากหลาย พร้อมๆ กันทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และนิวมีเดียได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรมจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม เมื่อเรียนจบแล้วสามารถประกอบอาชีพเหล่านี้ได้ นักข่าวหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ นิวมีเดีย นักข่าวในองค์กรข่าว ทีม่ คี วามหลากหลายช่องทางการสือ่ สาร ผูป้ ระกอบการด้านข่าว ผูส้ อื่ ข่าว ต่างประเทศ นักสารคดี ช่างภาพอิสระ นักเขียนอิสระ

13


รัชนี วงษ์แสงแก้ว

คณะนิเทศศาสตร์ สาขาการสื่อสารองค์กร

ภูชิสส์ กิจประเสริฐศักดิ์

คณะนิเทศศาสตร์ สาขาการสื่อสารองค์กร

ตัวแทนเด็กนิเทศรุ่นแรกกลุ่มแรกที่ออกไปฝึกปฏิบัติงานจริงในองค์กรข่าวชั้นน�ำของไทย ประสบการณ์ Work-based Learning ที่มากล้นจากการฝึกงานครั้งแรก ท�ำให้พัชส์และฮัทกระตือรือร้นอยากเรียนและตั้งตารอไปฝึกงานครั้งที่ 2 3 4 5 6 ต่อไป ตอนนี้เรามาคุยกับนักข่าวฝึกหัดรุ่นแรกของ PIM กัน ฝึกงานที่ไหน ได้ท�ำอะไรบ้าง พัชส์ : หนูฝกึ ทีก่ รุงเทพธุรกิจทีวี เป็นช่วงเพิง่ เริม่ ออกอากาศพอดี ตัง้ แต่บวงสรวงเปิดช่อง เป็นจังหวะทีอ่ ะไรๆ ยังไม่ลงตัว พนักงาน ไม่พอ การท�ำงานยังไม่ลงตัว พอพี่ๆ เห็นว่าพอท�ำงานได้ก็ให้ท�ำทุกอย่าง ได้ท�ำหน้าที่เหมือนเป็นโปรดิวเซอร์รายการ คือดูแล ควบคุม ติดไมค์ผู้ประกาศ เช็คข่าว ตามข่าว ดูภาพอินเสิร์ทข่าวทุกอย่าง แล้วก็สอนพนักงานกับเด็กฝึกงานที่มาใหม่ด้วย ฮัท : ผมฝึกมติชนออนไลน์ เบื้องต้นคือท�ำเว็บไซต์ออนไลน์ แต่พอไปท�ำจริงๆ ก็ได้ท�ำทั้งเว็บไซต์และทีวีด้วย เลยได้ลงภาคสนาม บ่อย หนึ่งเดือนแรกไปการเมืองอย่างเดียวเลย วิ่งไปท�ำเนียบรัฐบาลรัฐสภาบ่อยมาก จับประเด็นข่าว งานล่าสุดได้เขียนข่าวลง เว็บไซต์ ไปต่างจังหวัดท�ำสกู๊ปคนเดียว ได้ท�ำข่าวทุกสายเลยหรือเปล่า ใช่ค่ะ/ใช่ครับ พัชส์ : ท�ำหมดทุกสายเลย หนูเป็นโปรดิวเซอร์ต้องดูรายละเอียดทั้งหมด คือสามารถแลกเปลี่ยนและน�ำเสนอได้ว่าต้องเพิ่มหรือ ไม่เอาตรงไหน ได้แสดงความคิดเห็น เป็นส่วนหนึ่งขององค์กรเขาเลย ฮัท : หนึ่งเดือนแรกเต็มๆ ผมอยู่กับการเมือง แต่สองเดือนหลังผมเริ่มไปสายอื่น และก็ฝึกเป็นช่างภาพด้วย ทั้งภาพนิ่งและภาพ เคลื่อนไหว ผมได้อัดรายการในสตูดิโอ ถ่ายออกมาเป็นฟุตเทจ ตัดต่อออกอากาศด้วย ที่มติชนสอนเด็กฝึกงานให้ท�ำเป็นทุกอย่าง ถ่ายภาพก็ได้ อินเสิร์ทภาพก็ได้ เขียนข่าวก็ได้ คือท�ำเป็นในคนๆ เดียวเลย ท�ำไมได้ท�ำอะไรเยอะจัง พัชส์ : เพราะคนน้อย แล้วหนูก็ไม่อยากนั่งเฉยๆ รู้ว่ายังจับประเด็นไม่ค่อยได้ พื้นฐานยังมีไม่มากพอ เลยขอท�ำอย่างอื่นที่พอจะ ช่วยได้ พอรูแ้ นวทางปุบ๊ ท�ำงานก็เริม่ คล่อง พีเ่ ลยเบาใจ ให้ลองท�ำ เพราะถือเป็นกระบวนการหนึง่ ทีเ่ กีย่ วกับงานนิเทศศาสตร์สอื่ สาร องค์กรเหมือนกัน 14


ฮัท : ในส่วนของออนไลน์ กระบวนการก็เป็นไปตามขัน้ ตอน ส่ ว นใหญ่ ไ ด้ ล งภาคสนามเยอะ ได้ ท� ำ ทั้ ง ออนไลน์ ทั้ ง ทีวีออนไลน์ท�ำง่ายกว่า ตรงที่ได้ข่าวมา เขียนข่าวแล้วส่ง เข้าบริษัท บริษัทก็จะลงออนไลน์ให้เลยทันที ส่วนทีวีต้อง กลับมาที่ออฟฟิศก่อน ลงภาพฟุตเทจ เขียนสคริปต์ให้ โปรดิวเซอร์ถึงจะออกอากาศได้ กลัวหรือเปล่าตอนจะไปฝึกงาน พัชส์ : ตอนแรกไม่ค่อยมั่นใจว่าจะท�ำได้หรือเปล่า เพราะ เป็นองค์กรทีม่ ชี อื่ เสียง เกร็งค่ะ แรกๆ ไปไม่คอ่ ยพูดกับใคร แต่เราต้องเข้าหา เราต้องถาม ฮัท : ใช่ครับ ต้องเข้าหา เพราะพี่แต่ละคนก็มีหน้าที่ เวลา ท�ำงานก็ท�ำงาน ไม่มีเวลาว่างมาสอนเรา ถ้าไม่เข้าไปถาม แต่ถ้าถาม พี่กย็ ินดีสอนให้ พัชส์ : ได้องค์กรดีด้วย พี่ๆ ใส่ใจพวกเรา ไม่รังเกียจ ไม่มี ท่าทีแบบพี่ไม่ว่าง เขาบอกไม่รู้ก็ถาม แค่ไม่มีเวลามาสอน เพราะการท�ำงานสื่อไม่มีเวลานั่งว่าง งานมีตลอด ต้องรู้ ต้องตามข่าว ต้องยิงข่าวออนแอร์ ต้องเข้าเว็บ ต้องเช็ค ทวิตเตอร์ ต้องเช็คความคิดเห็น ฮัท : อย่างข่าวอาชญากรรม มีรถชนกัน เกิดเหตุการณ์ ก็ ต้องรีบไปท�ำข่าวแล้ว เพราะข่าวเกิดขึ้นได้ตลอดทุกเวลา ไม่แน่ไม่นอน เรียนอะไรบ้างตอนปี 1 ถึงมีทักษะไปฝึกงานได้ ฮัท : ตอนปี 1 ส่วนใหญ่เป็นการพรีเซ็นต์งาน ปี 2 บล็อค แรกเรียนเขียนข่าวเขียนสกู๊ป เขียนสารคดี ทุกอย่าง ก็พอ มีพื้นก่อนอยู่แล้ว พอไปปฏิบัติงานจริง พี่นักข่าวเห็นเรา เป็นนักศึกษาฝึกงานก็ยนิ ดีสอนให้ พอเห็นว่าท�ำได้กใ็ ห้ทำ� เรือ่ ยๆ อย่างผมโดนส่งไปต่างจังหวัดก็ไปคนเดียว ไม่มใี คร ไปด้วย พัชส์ : วัตถุประสงค์ที่ไปฝึกงานตอนแรกคือต้องการให้ไป รู้การท�ำข่าว การเขียนข่าวเบื้องต้น การเขียนข่าวเพื่อ ประชาสัมพันธ์ มีการพูดการน�ำเสนอ พอเรียนแล้วไป ฝึกงาน รูว้ า่ ข้อผิดพลาดข้อเพิม่ เติมของเรามีอะไรบ้าง กลับ มาบอกอาจารย์ได้ แล้วอาจารย์ก็ตามผลการฝึกงานกับ พี่นักข่าวตลอดว่าเรามีจุดด้อยตรงไหนที่ต้องเพิ่มเติม เพื่อ การฝึกงานครั้งต่อไปจะได้ดีขึ้น เราท�ำงานเหมือนเป็น เกลียว การเรียนคูก่ บั ท�ำงาน ได้เรียนรูท้ กุ อย่าง พีๆ่ บอกว่า ถือว่ามีโอกาสดีมาก มีโอกาสได้เรียนรู้ตั้งแต่ปี 2 กว่าจะ จบปี 4 ความรู้เราก็มาก ประสบการณ์เราก็มี ผลการประเมินเป็นยังไง ฮัท : ตอนอาจารย์ไปประเมินรอบสุดท้าย อาจารย์บอกพีๆ่ ว่าเดี๋ยวจะกลับไปเรียนแล้ว เพราะเพิ่งอยู่ปี 2 พี่คนอื่นๆ

ทีไ่ ม่ใช่พเี่ ลีย้ งก็งงกันเป็นแถว ว่าใช่เหรอ นึกว่าทดลองงาน อยู่ซะอีก พัชส์ : ใช่ค่ะ เขาถามว่ายังไม่ได้รับเข้าท�ำงานอีกเหรอ หนู ก็บอกไปว่า พี่คะ หนูเป็นแค่เด็กฝึกงาน เขาบอกว่าออก เถอะมาท� ำ งานด้ ว ยกั น ไปครั้ ง นี้ คุ ้ ม มาก คื อ รู ้ ห มด กระบวนการท�ำข่าว รวมทั้งขั้นตอนประชาสัมพันธ์ ได้ ทุกอย่างเลย ได้เกินที่เขาป้อนให้ อาจารย์เป็นยังไง อาจารย์เอาใจใส่มาก (ประสานเสียงพร้อมกัน) พัชส์ : เหมือนเป็นครอบครัวเลยค่ะ สามารถคุยกันได้ ทุกเรือ่ ง มีปญ ั หาก็คยุ กันได้ตลอด รวมทัง้ การท�ำงานคุยกัน ตลอดผ่านเฟสบุ๊คของกลุ่ม ทุกคนจะแชร์สิ่งที่เจอ ฮัท : เพือ่ นผมฝึกงานไม่ผา่ น อาจารย์กไ็ ปคุยให้หลายรอบ เลย ช่วยแบบสุดๆ ไปช่วยกันหาทางออกว่าจะแก้ยังไง พัชส์ : เพราะเพือ่ นมีปญ ั หาสุขภาพ เลยมีผลต่อการท�ำงาน อาจารย์เอาใจใส่ดีมาก เหมือนเป็นอีกครอบครัวหนึ่งเลย ครอบครัวนิเทศค่ะ จบแล้วอยากท�ำอะไร ฮัท : ผมน่ะ แน่นอนเลยว่าอยากเป็นช่างภาพอิสระ พั ช ส์ : ตอนนี้ อ ยากท� ำ งานประชาสั ม พั น ธ์ หรื อ เป็ น โปรดิวเซอร์ก็ได้ ท�ำงานเกี่ยวกับการประสานงานทั้งหมด คือเป็นคนที่ชอบพูด ชอบติดต่อ หนูชอบเจอคนที่หลาก หลาย ไม่ปิดกั้นตัวเอง

พัชส์ เรียนจบจากสายวิทย์-คณิต โรงเรียนบางแก้วประชาสรรค์ ฮัท เรียนจบปวช. ธุรกิจค้าปลีก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ แต่ผันตัวมาเรียนนิเทศศาสตร์ ภาพอินเสิร์ท คือ ภาพประกอบในรายการข่าว ภาพฟุตเทจ คือ ภาพวิดีโอต้นฉบับที่ยังไม่ได้ตัดต่อ สกู๊ป คือ รายงานข่าวพิเศษ เลือกเฉพาะประเด็น

15


โอซาก้า หนาวแล้ว ล่าสุด ฝนตกหนกั และอากาศเริม่ เย็นลงเรอื่ ยๆ จนกระทงั่ ตัง้ แต่สปั ดาหท์ ี่ 2 ของเดือนพฤศจิกายนเป็นต้นมา ตเพื่อ องศาเซลเซียส ระหว่างเดินกลับจากซูเปอร์มาร์เก็ 2 ง ย เพี อ ื เหล ดลง ล ิ ม หภู ณ อุ ม วาค น นธั อ เดื า เข้ อ ่ เมื องสขี าวกระจายเต็มท้องฟ้า เงียบกันไปหนึง่ อึดใจ ละอ ่ น ฝุ น เห็ เกต ั ง ็ ส เราก น คื ลาง อนก คาต ดรา ารล ซื้ออาห ลีนี่เอง นับเป็นประสบการณ์เผชิญหน้ากับ กาห เ ์ ย ่ ี ร ี ากซ ในฉ น ห็ คยเ เ ่ ี บบท ตกแ ง ลั ำ ะก� ม หิ า ่ ว ได้ ก่อนจะระลึก นติกไปอีกแบบ หิมะครั้งแรกในชีวิตของเรา แสนจะมึนงงแต่ก็โรแม ม งเป็นไข้ไม่สบายบ้าง แต่ก็ยังคงตั้งใจเรียน เตรีย นจึ างค เราบ ว ็ ดเร งรว า ย่ ลงอ นแป ย ่ ปลี เ ่ ศที ากา เพราะอ ว ฉบับนี้มีข้อสังเกตเกี่ยวกับสุขภาพของคน แล้ ภาพ ข งสุ อ ่ เรื ง ถึ ด พู ่ อยู น กั น ้ เขม ก มั งขะ า อย่ งาน สอบ และท�ำ ีปริมาณแคลอรี่ก�ำกับไว้เสมอ และคน จะม งๆ า นต่ า ร้ ของ ม ่ งดื อ ่ รื ะเค รแล าหา อ ู เมน ก ุ ที่นี่มาฝาก ในแทบท นได้ ดู กมาวิ่งกันตั้งแต่เช้ามืด แม้ในวันฝนตกก็ยังพบเห็ ส่วนใหญ่ก็ชอบออกก�ำลังกาย เราจะพบผู้คนออ ันอย่าง กด้านหนึ่ง ญี่ปุ่นกลับเป็นประเทศที่คนสูบบุหรี่ก นอี ใ แต่ ง จั ง จริ น กั ภาพ ข สุ ก ั จะร เขา พวก า นว่ อ ื เหม ว้ รีห่ ลายสิบชนิดให้เลือก และทุกแห่งทีไ่ ปก็มพี นื้ ทีไ่ ุ ห บ มี า นค้ ้ า ในร บ างล ์ ท ษณ ก ลั ภาพ ิ ด ต ไม่ โดย แพรห่ ลาย งหนึ่งที่เราต้องชมคือบนท้องถนนและพื้นที่ อ ่ รื เ แต่ ภาพ ข สุ ลาย ำ ะท� จ ่ รี ห ุ บ แม้ เผย ด ิ งเป า ย่ ให้สูบบุหรี่อ ง ยังมีทเี่ ขีย่ บุหรีแ่ บบพกพาวางจ�ำหน่าย แห่ ก ทุ ้ อ ซื ดวก นสะ า ร้ แถม เลย น ห็ เ ห้ ่ ใ รี ห บุ ้ น ศษก ี เ สาธารณะกลบั ไม่ม ด้วย ารพูดคุยเป็นเรื่องที่ก�ำลังอยู่ในกระแสสังคม ในก น ็ ระเด ป ห้ จะใ ก ั ม ์ ารย อาจ น ่ ุ ป ่ ญี าษา นาภ ในชั่วโมงสนท ความ ไ่ ด้กบั เรือ่ งการเลือกตัง้ ของญีป่ นุ่ ซึง่ ทัว่ โลกก�ำลังให้ ญีป่ นุ่ ขณะนัน้ เดือนธันวาคมทีผ่ า่ นมาจึงพลาดไม ่แพ้ ะได้เป็นนายกรัฐมนตรี เพราะอีกเรื่องที่น่าสนใจไม สนใจ แต่การพูดคุยของเรากลับไม่ได้พุ่งไปที่ใครจ าส ผูใ้ ช้งานของ Google+ (กูเกิลพลัส) โดยกูเกิลเปิดโอก ยอด ่ ม เพิ ่ อ พื เ ธ์ น พั ม สั ะชา ะปร ดแล ตลา ำ ท� การ อ คื น กั ชาชนที่ถูกคัดเลือกไป 5 คน ผ่านทาง Chat Room ประ ถาม ำ � อบค นาต สนท ้ นี ง ้ ั รคร ค มั ส ้ งผู อ เมื การ ก ให้ 8 นั าวให้ประชาชนชาวญี่ปุ่นชมเพื่อช่วยตัดสินใจ กล่ ง ดั ป ลิ ค ่ แพร เผย ว แล้ ๆ ง จริ น กั ย คุ ง ่ นนั อ ื เสม า แบบเห็นหน้ ดทีน่ า่ สนใจ และช่วยใหก้ ารฝกึ สนทนา ตลา การ ี ย ไอเด ก อี น ป็ เ ก็ งใด ื อ รเม คกา พรร ั บ ้ ก งให ย ว่าจะลงคะแนนเสี ภาษาญี่ปุ่นของเราได้ความรู้มากขึ้นอีกด้วย ายามฟื้นตัวของเศรษฐกิจญี่ปุ่น แต่จะเป็น มพย ควา สดง ณแ ญา ญ สั น เป็ า ว่ น กั า ว่ ้ นี ง ้ ครั ง ้ กตั หลังการเลือ ยฉบับนี้เพียงเท่านี้ก่อน อย่างไรต่อไป ปี 2556 เราคงได้รู้กัน ขอจบจดหมา สวัสดีปีใหม่จ้า บัว เพชร แมท หลิว อั้ม

16


อ.คทาเทพ พงศ์ทอง

ajarnkathathep@hotmail.com

เทคโนโลยีด้านการสื่อสารมีส่วนส�ำคัญยิ่งในการท�ำให้โลกที่กว้างใหญ่ไพศาลเชื่อมโยงถึงกัน และการสื่อสารเชื่อมโยง นีก้ เ็ ปลีย่ นวิถชี วี ติ หรือขนบเดิมๆ บางอย่างของคนไป เก็บโลกมาเล่าฉบับนี้ ขอน�ำวิถคี อนเวอร์เจ้นท์จากหลากมุมหลาย ประเด็นมาเล่า เพื่อความเข้าใจขนบใหม่ๆ ของโลกใหญ่ในมือเรากันครับ เมื่ อ ก่ อ นเราดู ก ารประกวดสาวงามทั้ ง นางงามจักรวาล นางงามโลก โดยเฝ้ารอ ผ่ า นสั ญ ญาณถ่ า ยทอดสดเพื่ อ ชื่ น ชม ความงามอย่างใกล้ชิดติดจอ แต่ปัจจุบัน การติ ด ตามและลุ ้ น สาวงามในดวงใจ อาจไม่ใช่เพียงการลุน้ หน้าจอ ยกตัวอย่าง เวทีนางงามโลก หรือ Miss World เวที ประกวดสัญชาติอังกฤษมี Fast track เส้ น ทางด่ ว นลั ด เข้ า สู ่ ร อบสุ ด ท้ า ยโดย อัตโนมัติส�ำหรับ Miss Multimedia คือ สาวงามที่เข้าถึงสื่อต่างๆ ได้อย่างครบ ถ้วน และการประกวดเวทีอนื่ ๆ สาวงามก็ จะต้องมีกลวิธีพิชิตใจแฟนๆ ทั่วโลกจะ ด้วยเฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ หรืออินสตาแกรม เหล่าสาวงามต้องขยันอัพโหลดข้อมูล ข่าวสารและภาพกิจกรรมต่างๆ ของพวก เธอตลอดการแข่งขัน เพื่อให้น�ำกระแส และอยู่ในความสนใจของสื่อตลอดเวลา เหมือนที่ดาราและคนดังจากฮอลลีวูด หรือแม้แต่ดารานักร้องดังฟากเอเชียก็ ไม่มีใครยอมหลุดกระแสสื่อสารเข้าถึง แฟนๆ ด้วยโซเชียลเน็ตเวิร์ค

การเชือ่ มโลกด้วยเทคโนโลยีสอื่ สารไม่ได้ ถูกใช้เฉพาะด้านบันเทิงเท่านั้น แต่วิถี จิตอาสาก็น�ำเทคโนโลยีนี้ ข้ามฟ้าข้าม ทวีปมาช่วยเหลือกันได้อย่างไร้พรมแดน อาทิเช่น การบริจาคเงินเพื่อผู้ป่วยจาก มูลนิธติ า่ งๆ ในประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว เพือ่ ช่วยผู้ป่วยที่ด้อยโอกาส ขาดแคลนทุน ทรัพย์หรือการเข้าถึงยารักษาโรคที่ได้ผล มี ก ารแบ่ ง ปั น ข้ อ มู ล ทางฟอร์ เ วิ ร ์ ด เมล เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ และ โซเซียลเน็ตเวิร์ค อื่นๆ ถือเป็นการย่อโลกลัดเวลาและช่วย ผูป้ ว่ ยได้รวดเร็วกว่าเดิมหลายเท่า ตลอด จนการย่นระยะเวลาแห่งกรรม เช่นการ ประนามมนุษย์ทที่ ำ� ทารุณกรรมสัตว์หรือ คนด้วยกัน อาจท�ำให้สังคมออนไลน์ใช้ ความง่ายกระจายข่าวสารจัดการบุคคล ไม่พงึ ประสงค์เหล่านี้ได้ทันท่วงที

หลายของคอนเวอร์เจ้นท์ท�ำให้สามารถ เข้าถึงมวลชนได้มากขึ้น โดยเฉพาะการ สือ่ สารเรือ่ งความเป็นความตาย เช่น การ เตื อ นภั ย แผ่ น ดิ น ไหว สึ น ามิ การรั บ บริจาคเลือดหรือสิง่ ของอุปโภคบริโภค ไป จนถึงการรณรงค์ตา่ งๆ การประกวดเฟ้นหา ดาวดวงใหม่ประดับวงการ ล้วนอาศัย ความเป็นคอนเวอร์เจ้นท์ทั้งนั้น ซึ่งใครๆ ก็เป็นผู้กุมสื่อคอนเวอร์เจ้นท์ในมือได้ แค่ มีสมาร์ทโฟนสักเครื่องก็สามารถครอง โลกคอนเวอร์เจ้นท์ของคุณได้ทันที เห็นทีจะละเลยวิถคี อนเวอร์เจ้นท์กนั ไม่ได้ ซะแล้ว เพราะนอกจากจะหลอมรวมเอา ระบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ ข้อมูล เนื้อหา ระบบเครือข่าย และสื่อต่างๆ ไว้ ด้วยกันทัง้ หมด แทบเรียกได้วา่ ย่อโลกมา ไว้ในมือเราเลย

ที่ส�ำคัญ “วิถีคอนเวอร์เจ้นท์” ยังเป็นช่อง มีโลกอยู่ใกล้ตัวขนาดนี้ ท่องโลกในมือ ทางที่ยิงปืนนัดเดียวได้นกทั้งฝูง เพราะ ของเราสักทีเป็นไรไป โอกาส “แชร์” อยู่ การเตรียมข้อมูลครั้งเดียวแต่ส่งผ่านสื่อ ในมือแล้ว...ลองดูครับ หลายช่องทางไปถึงผู้รอรับสารที่หลาก 17


เรื่องจีนจากซีหนาน บันทึกประสบการณ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2-3 สาขาภาษาจีนธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ PIM ระหว่างเรียนและใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยซีหนาน นครฉงชิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน

ผ่านมาหลายเดือน นักศึกษาในโครงการเรียนภาษาจีนทีซ่ หี นานก�ำลังปรับตัวทัง้ การใช้ชวี ติ ในสังคม สภาพแวดล้อมทีต่ า่ งออกไป การเรียนรูส้ อื่ สารภาษาจีนเป็นเป้าหมายใหญ่ทที่ กุ คน ตัง้ ใจไปเก็บเกีย่ วให้ได้มากทีส่ ดุ นักศึกษารุน่ นีม้ ี 23 คน แต่ละคนต้องฝึกฝนและเคีย่ วเข็ญ ตัวเอง และต้องดูแลเป็นก�ำลังใจให้กนั และกัน การอยูร่ ว่ มกันนอกเหนือจากการเรียนท�ำให้ มีเรือ่ งขลุกขลักอึดอัดใจ ต้องปรับตัวเข้าหากันมากขึน้ ขณะเดียวกัน เพือ่ นบัดดีช้ าวจีนคือ ตัวช่วยคนส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ชวี ติ ทีเ่ มืองจีนของชาว PIM ทีซ่ หี นานง่ายขึน้ อุน่ ใจขึน้ เป็นกอง

อยู่ซีหนาน 3 เดือนแล้วครับ ต้องบอกว่ามีเพื่อนคนจีนเยอะมาก เพื่อนคนจีนเป็นก�ำลังส�ำคัญที่ ผลักดันด้านภาษาให้สูงขึ้นไปอีกจริงๆ ส่วนใหญ่รู้จักกันจาก QQ, WeChat ซึ่งส่วนใหญ่คนจีนมา ขอเป็นเพื่อน เลยให้เขาช่วยสอนเราทีละนิดละหน่อย ค่อยเป็นค่อยไป อย่างบอกว่า 你教我汉语, 我教你泰语,好吗?(เธอสอนภาษาจีนให้ฉัน ฉันสอนภาษาไทยให้เธอ ดีไหม?) แค่นี้ก็เรียบร้อย รับประกัน ได้เพื่อนทุกราย ผมคุยกับเพื่อนคนจีนทุกวัน บางค�ำที่ไม่เข้าใจก็จดไว้ หรือใช้ google translate แปลเลย อาจจะแปลไม่ถูกบ้าง แต่ก็พอเดาได้ครับ คุยทุกวัน ซึมซับทุกวัน จะให้ดียิ่งขึ้น ต้องนัดเจอและพูดคุยกับเขาแบบเห็นหน้าเลย ถ้าฟังออกคือการฟังดีขึ้นแล้วนั่นเอง 555 นนท์ แก้วมรกต

เริ่มแรกไม่กล้าคุยกับเพื่อนคนจีนเพราะกลัวจะพูดผิดหรือพูดไม่ชัด แต่บัดดี้เป็นก�ำลังหลักที่ท�ำให้ มั่นใจท�ำสิ่งที่ต้องการ บัดดี้เป็นคนพูดเก่งอัธยาศัยดี น่ารักและเป็นกันเองมาก เธอชื่อ 屈爱月 (ชวี อ้ายเยว่) ฉันเรียกเธอว่า “อ้ายเยว่” วันแรกที่เจอกัน รู้สึกว่าเธอดีใจมากที่ได้รู้จักคนไทย เธอก็คอย ชมฉันไม่ขาดปากเลยว่าพูดภาษาจีนได้ดีและฟังเธอได้รู้เรื่อง เธอดีใจมาก ซึ่งท�ำให้ฉันอยากรู้จัก เธอมากยิง่ ขึน้ ทัง้ ทีเ่ จอกันเป็นครัง้ แรก เธอก็พดู คุยกับฉันเหมือนกับสนิทกันมานาน ฉันรูส้ กึ ดีใจและ คลายความกังวลในตอนแรกไปอย่างหมดสิ้น ครั้งหนึ่งอ้ายเยว่ชวนฉันและเพื่อนไปงานการแสดง ชมรมของเธอ เพือ่ รูจ้ กั วัฒนธรรมจีนมากขึน้ งานนีเ้ ป็นงานแสดงทีย่ งิ่ ใหญ่และตระการตามาก โดย ปกติแล้วไม่ค่อยมีคนต่างชาติได้โอกาสเข้ามาชมเท่าไหร่นัก จิตวดี ชูสิทธิ์

18


บ้าง ก็จะเก็บไว้ตลอด แล้วเดี๋ยวก็ผ่าน ฉันมีบัดดี้คนจีน ชื่อ “หลิว หง มิน” รู้จัก ไปเองครับ เพื่อนคนนี้จากการที่อาจารย์จับคู่ให้ นนท์ แก้วมรกต เป็นคนน่ารักและนิสัยดีมาก บางครั้ง พวกเราไปเดินเล่นริมแม่น�้ำ เดินไกล มากแต่สนุกดีเพราะเดินกันหลายคน การใช้ ชี วิ ต ที่ ซี ห นานไม่ ไ ด้ ล� ำ บาก หลิว หง มิน เป็นคนมีน�้ำใจมาก เธอถัก มากมาย ที่ นี่ ค ล้ า ยเมื อ งไทย มี ร ถ พวงกุญแจให้ฉัน ในวันที่เราได้เจอกัน โดยสาร มีแท็กซี่ มีร้านสะดวกซื้อ มี วันแรก ฉันดีใจมาก เลยให้กระเป๋าทีเ่ ป็น ซูเปอร์มาร์เก็ต มีแหล่งช้อปปิง้ และร้าน งานฝีมอื จากเมืองไทยไป เธอก็ดใี จมาก อาหารมากมาย ล�ำบากตรงภาษาและ บางครั้งที่มีการบ้านที่ไม่เข้าใจ ฉันก็จะ สภาพอากาศมากกว่า ภาษาส�ำคัญ ถาม ซึ่งเธอก็เต็มใจที่จะช่วยเหลือฉัน มากเพราะถ้าสือ่ สารไม่ได้ เราก็ไม่ได้สงิ่ เสมอ ล่าสุดฉันได้รู้จักกับเพื่อนใหม่ ชื่อ ที่ ต ้ อ งการ ถ้ า อยากซื้ อ หรื อ อยากสั่ ง “นีโม่” ชื่อภาษาจีนเรียกยาก เขาเลยให้ อะไร ก็อาศัยจดจ�ำ เห็นคนจีนพูดอะไร เรียกชื่อภาษาอังกฤษแทน เขาเป็นคน แล้วได้อะไรกลับมา ถ้าอยากได้บ้างก็ น่ารักคนนึง แต่ว่าเป็นเกย์ เขามักถาม ให้พูดแบบที่เขาพูด แต่ที่ยากกว่าคือ ฉันว่า “ไม่รังเกียจเหรอ? ที่เขาเป็นเกย์” ภาษาฉงชิ่ง ซึ่งนั้นต้องฟังให้ชินหูเข้าไว้ ฉันตอบว่า “ท�ำไมต้องรังเกียจ ในเมื่อ แล้วลองตอบกลับไปบ้าง แต่สักพักเรา เธอเป็ น เพื่ อ นฉั น ” เขาดู จ ะดี ใ จมาก ก็เข้าใจว่าเขาพูดอะไร เวลาออกไปข้าง เพราะคนจีนส่วนใหญ่ไม่เปิดรับคนที่เป็นเกย์ สุดท้ายนี้ ฉันรู้สึก นอกต้องมีสติตลอดเวลา เพราะคนจีนเดินไม่สนใจใคร เราก็ตอ้ ง ว่าตั้งแต่มาอยู่ที่นี่ คนจีนมักอยากเป็นเพื่อนกับคนไทย เพราะ คอยดูกระเป๋าด้วย เวลาข้ามถนนก็สำ� คัญ เพราะทีน่ ขี่ บั รถคนละ บางทีที่เราเดินคุยกันกับเพื่อนๆ คนไทย มักจะมีคนจีนเดินเข้า ฝั่งกับบ้านเราและขับรถเร็วมาก ชนแล้วหนี ไม่สนใจก็มี หทัยภัทร เบญจางค์กุล มาพูดว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ” อยู่เสมอ เป็นสิ่งที่ฉันภูมิใจมาก กานต์ชนก แตงสกุล

การใช้ชีวิตที่นี่ส่วนใหญ่เป็นเรื่องเรียน ต้องบังคับตัวเองให้อ่าน หนังสือท�ำการบ้าน ทบทวนบทเรียนเยอะๆ เพราะถ้าไม่อ่านก็ จะเรียนไม่รู้เรื่อง ตามเพื่อนไม่ทัน อย่างถ้ามีกิจกรรมการแสดง ทีจ่ ะต้องมีการฝึกซ้อม เราก็จะต้องแบ่งเวลาให้เหมาะสมกับการ เรียน รวมทั้งต้องแบ่งเวลาให้เพื่อนๆ ที่มาซ้อมด้วย เพื่อนจะได้ ไม่มีปัญหาการท�ำการบ้านและเวลาเรียน เพื่อที่ท�ำกิจกรรมกับ การเรียนควบคู่กันไป เช่น เช้าบ่ายมีเรียน เลิกเรียน 5 โมงเย็น ก็จะให้เพื่อนๆ ไปท�ำการบ้าน ทานข้าวให้เรียบร้อยก่อน พอ ประมาณ 2 ทุ่มครึ่ง ถึงจะมารวมตัวซ้อมกิจกรรม ถึงประมาณ เที่ยงคืน เพราะปกติช่วงเช้าเริ่มเรียนประมาณ 10 โมง ก็จะไม่มี ปัญหากับการพักผ่อน ส่วนเสาร์อาทิตย์กจ็ ะพักผ่อนอย่างเต็มที่ ถ้ า ว่ า งก็ ไ ปเดิ นต่ างเมื อง ไปเที่ ยวข้ า งนอก เที่ ยวสวนสนุก ดูธรรมชาติ ถือว่าเป็นการผักผ่อนสมองกับการเรียนที่หนัก

การใช้ชีวิตและการปรับตัวเข้ากับคนอื่นไม่ค่อยเป็นปัญหา ส�ำหรับผม เพราะผมเป็นคนง่ายๆ สบายๆ เริ่มคุ้นอากาศและ คนจีนแล้ว ฟังรูเ้ รือ่ งมากขึน้ ไปไหนมาไหนคนเดียวได้ ส่วนมาก ไปในเมืองคนเดียว เพราะคิดว่าไปคนเดียวได้อะไรมากกว่า เดิน ทางคนเดียว คุยกับคนจีนคนเดียว คิดว่าช่วยได้มากกว่าไปกับ เพื่อน เพราะถ้าไปกับเพื่อน เราจะได้อะไรไม่มากนัก บางครั้งก็ ไปกับเพือ่ นต่างชาติมากกว่าครับ ไปกับคนเกาหลีทสี่ ามารถพูด ภาษาจีนได้คล่อง รู้สึกว่าได้มากๆ เลย เพราะไม่สามารถใช้ ตอนนี้ชีวิตที่ประเทศจีนมีความสุขมากๆ ได้เจอในสิ่งที่ไม่เคย ภาษาไทยพูดกับเขาได้ ส่วนการปรับตัวกับคนรอบข้างนั้น เจอ ได้ท�ำในสิ่งที่ไม่เคยท�ำ ได้คิดและได้ใช้ชีวิต ฝึกตัวเองเป็น ไม่เป็นปัญหาส�ำหรับผมเลย ถึงแม้จะมีอะไรทีท่ �ำให้เราไม่พอใจ ผู้ใหญ่มากขึน้

อัสนี สว่างศรี

19


ดร.ธันยวัต สมใจทวีพร porpostbox@hotmail.com

ดร.ธันยวัต สมใจทวีพร ผู้ออกแบบและสร้างมิสเตอร์เอ็ม

ย้อนเวลาไปเมื่อ 60 ปีที่แล้ว หุ่นยนต์ตัวแรกของโลกถูกสร้างขึ้นมา เพื่อใช้งานใน โรงงานแห่งหนึ่งในอเมริกา มีหน้าที่หลักคือยกเหล็กร้อนๆ ออกจากเบ้าหลอมมา ใส่ในถัง เพือ่ น�ำไปใช้งานในกระบวนการผลิตอืน่ ๆ ต่อไป เมือ่ เวลาล่วงเลยมาจนถึง ปัจจุบนั ความนิยมในการใช้หนุ่ ยนต์ได้แผ่ขยายไปทัว่ โลก หุน่ ยนต์สารพัดรูปแบบ ได้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในงานต่างๆ ตั้งแต่งานในโรงงาน เพื่อความบันเทิง ตลอด จนด้านการศึกษา หุ่นยนต์ด้านการศึกษานั้นส่วนใหญ่มัก มุ่งเน้นการเรียนรู้เชิงวิศวกรรม มีเพียง ส่ ว นน้ อ ยที่ ถู ก ออกแบบมาเพื่ อ ใช้ ใ น สาขาวิชาอื่น มิสเตอร์เอ็มจากรั้ว PIM นี้ ถือเป็นหุ่นยนต์ตัวแรกของประเทศไทย ที่สร้างขึ้นมาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน ภาษาอังกฤษ โดยสามารถพูดคุยโต้ตอบบท สนทนาง่ายๆ และสามารถฉายภาพยนตร์ การ์ตนู สัน้ ๆ ทีน่ กั เรียนสามารถพูดคุยกับ การ์ตูนได้

20

ล่าสุด มิสเตอร์เอ็มเพิ่งคว้ารางวัลระดับ โลกมาสดๆ ร้อนๆ จากงานนวัตกรรมโลก SIIF2012 ที่ ก รุ ง โซลแห่ ง ประเทศ เกาหลีใต้ โดยได้ร่วมเดินทางไปพร้อม กั บ สภาวิ จั ย แห่ ง ชาติ และรั บ รางวั ล เหรียญเงินมาเป็นอีกหนึ่งเกียรติยศของ ประเทศไทย

สาวน้อยชาวเกาหลีทดสอบการสนทนากับมิสเตอร์เอ็ม

ศ.ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช นักวิจัยเจ้าของรางวัล ระดับประเทศและระดับโลกหลายผลงานให้เกียรติ มาถ่ายรูปกับมิสเตอร์เอ็ม

มิสเตอร์เอ็มสามารถควบคุมแบบไร้สายได้


เรื่องเล่าขององค์กรบิ๊กไซส์

มนตกานต์ วีรชัยเดชอุดม montakanwer@cpall.co.th

กลับมาอีกครั้งกับคอลัมน์เล็กๆ ที่ว่าด้วย เรื่องขององค์กรระดับบิ๊ก ฉบับต้อนรับ ปี ใ หม่ ที่ เ ต็ ม เปี ่ ย มไปด้ ว ยกลิ่ น ไอของ ความสุข ฉบับนี้ พี่ๆ ขอเล่าถึงองค์กรที่มี ความส� ำ คั ญ ในวงการสื่ อ สารมวลชน องค์กรที่เริ่มต้นจากธุรกิจสิ่งพิมพ์ ด้าน ข่าวกีฬา ภายใต้ชอื่ “สยามกีฬา” ถึงตอนนี้ น้องแฟนคลับคอกีฬาคงจะถึงบางอ้อได้ อย่างไม่ต้องสงสัย แต่จะมีสักกี่คนที่จะ รูจ้ กั เบือ้ งหลังยักษ์ใหญ่แห่งวงการกีฬานี้ “บริษทั สยามสปอร์ต ซินดิเคท จ�ำกัด” ฉบับนี้มีค�ำตอบแบบฉับไวให้ค่ะ ก้าวแรกของ “สยามสปอร์ต” เริ่มต้นจาก ธุรกิจโรงพิมพ์ขนาดเล็ก ที่เน้นธุรกิจด้าน นิตยสารกีฬาและรับจ้างพิมพ์ทั่วไป ผล งานชิ้นแรกของส�ำนักพิมพ์เล็กๆ นี้ ได้แก่ “นิตยสารกีฬาสยาม” จากนั้นไม่นานจึง เติบโตเป็น “สยามสปอร์ต” เล็กพริกขี้หนู ประจ�ำวงการวารสารศาสตร์ เพราะมีผล งานหลากหลายด้านออกมาให้เป็นทีร่ จู้ กั อย่างไม่ขาดสาย ไม่ว่าจะเป็น นิตยสาร “สตาร์ ซ็ อ คเกอร์ ” (2518), นิ ต ยสาร “ฟุตบอลสยาม” (2523), นิตยสาร “เอน เตอร์เทน” (2524), นิตยสาร “มวยโลก”, หนั ง สื อ พิ ม พ์ “สยามกี ฬ ารายวั น ”, หนังสือพิมพ์ “สยามดารา”, หนังสือพิมพ์ “สยามบันเทิง”, นิตยสาร “มวยสยาม”, นิ ต ยสาร “มิ ว สิ ค เอ็ กเพรส”, นิ ต ยสาร “แค้มปิ้งท่องเที่ยว” และ นิตยสาร “เวิลด์ ซอกเกอร์” กว่า 40 ปี ในวงการธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ สยามสปอร์ตสามารถฝ่าฟันอุปสรรคจาก ธุรกิจขนาดเล็กๆ จนประสบความส�ำเร็จ ผงาดเป็นผู้น�ำในวงการสิ่งพิมพ์ ไม่ว่าจะ เป็น นิตยสารด้านกีฬา ท่องเที่ยว และ บันเทิง พร้อมทั้งขยายเป็นธุรกิจจัดซื้อ

ด้านกีฬาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จากประสบการณ์คร�่ำหวอดในวงการสื่อ สิ่ ง พิ ม พ์ มั่ น ใจได้ เ ลยค่ ะ ว่ า “สยาม สปอร์ ต ” พร้ อ มเป็ น อี ก หนึ่ ง องค์ ก รให้ น้ อ งๆ เข้ า ไปเรี ย นรู ้ ก ระบวนการและ เส้นทางของความส�ำเร็จของธุรกิจด้าน วารสารศาสตร์อย่างแท้จริง หากน้องๆ สนใจเป็นหนึง่ ในสมาชิกเปิดโลกแห่งการ เรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ทำ� งานจริงอย่าง ไม่ สิ้ น สุ ด แบบนี้ PIM พร้ อ มต้ อ นรั บ สมาชิกใหม่ เพราะ “PIM คือ สถาบันแห่ง การเรียนรู้แบบ Work-based Learning ที่พร้อมพัฒนาบุคลากรสู่สังคมอย่างต่อ เนื่อง” แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้ากับคอลัมน์เล็ก พริกขีห้ นูทเี่ ต็มไปด้วยเรือ่ งเล่าขององค์กร รายการกีฬาเพือ่ จัดจ�ำหน่ายและค้าปลีก ระดับบิ๊กไซส์...ที่ไม่มีวันหมด สินค้าที่ระลึกน�ำเข้าจากสโมสรฟุตบอล ต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบ การบริหารจาก “ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด” เป็น “บริษัท” และจากชื่อ “สยามสปอร์ตพริ้น ติ้ง” สู่ “สยามสปอร์ต ซินดิเคท” ด้วย วัตถุประสงค์เพื่อขยายกิจการให้สอดรับ กับความก้าวหน้าและความต้องการของ ผู้บริโภคที่เติบโตขึ้น ปัจจุบนั นอกจากสือ่ สิง่ พิมพ์ทเี่ ป็นจุดเด่น แล้ว สยามสปอร์ตยังก้าวเข้าสู่ความเป็น องค์กรแห่งคอนเวอร์เจ้นท์ ด้วยการเปิด ตัวเว็บไซต์ www.siamsport.co.th และ พัฒนา Mobile Application บน iPhone และ iPad อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้บริโภค เข้าถึงข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว อัพเดท ข้อมูลได้ไม่ตกเทรนด์ ไม่แน่นะคะ แฟน พันธุแ์ ท้ของสยามสปอร์ตทีก่ ำ� ลังอ่านพีไอ เอ็มแมกกาซีนบางคนอาจดาวน์โหลด แอพสยามสปอร์ตไว้คอยติดตามข่าวสาร

คุณวิลักษณ์ โหลทอง ประธานกรรมการบริหาร บริษัท Inspire Entertainment จำ�กัด

และกรรมการ บริษัท สยามสปอร์ต อินดิเคท จำ�กัด (มหาชน)

“สยามสปอร์ ต ยิ น ดี ที่ รั บ น้ อ งๆ มา ฝึกงาน และพร้อมสนับสนุนทุกด้าน เพราะเราเป็นองค์กรที่สนับสนุนด้าน เยาวชนและกีฬาอยู่แล้ว” 21




สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน Panyapiwat Institute of Management (PIM)

สมัครเรียนปริญญาตรี สอบชิงทุนการศึกษา และประกาศผลในวันเดียวกัน* *เฉพาะคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการธุรกิจคาปลีก สาขาอ�นๆ ประกาศผลภายใน 15 วันทำการ (แจงผลทางโทรศัพท)

15 มกราคม 2556 เปนตนไป

จันทร-ศุกร 9.00-16.00 น. เวนวันหยุดราชการ ณ สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน (PIM) ถ.แจงวัฒนะ

คณะศิลปศาสตร ภาษาจีนธุรกิจ ภาษาญี่ปุนธุรกิจ

โทร. ม ิ เต ม ่ ิ เพ ม า ถ สอบ ถึง 14 0 0 2 0 2 0 283 com/pimfanpage acebook.

คณะนิเทศศาสตร

ส�อสารแบรนด ส�อสารองคกร วารสารศาสตรคอนเวอรเจนท

www.f

คณะบริหารธุรกิจ การจัดการธุรกิจคาปลีก การจัดการธุรกิจอาหาร การจัดการโลจิสติกส

คณะวิทยาการจัดการ

การจัดการทรัพยากรมนุษย การจัดการอาคารและทรัพยากรกายภาพ

คณะนวัตกรรม การจัดการเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร และเทคโนโลยี วิศวกรรมคอมพิวเตอร วิศวกรรมอุตสาหการ เทคโนโลยีสารสนเทศ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.