วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1

Page 1


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2561 PANYAPIWAT JOURNAL Volume 10 No.1 January-April 2018 สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2561 PANYAPIWAT JOURNAL Volume 10 No.1 January-April 2018

จัดท�ำโดย

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2855-1102, 0-2855-0908 โทรสาร 0-2855-0392

พิมพ์ที่

โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2218-3549-50 โทรสาร 0-2215-3612 http://www.cuprint.chula.ac.th E-mail: cuprint@hotmail.com

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ


ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2561 Vol.10 No.1 January - April 2018 ISSN 1906-7658 วารสารปัญญาภิวฒ ั น์ ได้ดำ� เนินการตีพมิ พ์เผยแพร่อย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2552 ปัจจุบนั เป็นวารสารทีอ่ ยู่ ในฐานข้อมูล TCI (Thai-Journal Citation Index Centre) กลุ่มที่ 1 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเป็น วารสารที่ผ่านการคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI) โดยมีนโยบายการจัดพิมพ์ ดังนี้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นเวทีในการเผยแพร่ผลงานวิจัยและวิชาการในสาขาวิชา บริหารธุรกิจ การจัดการธุรกิจอาหาร วิทยาการจัดการ ศิลปศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ นิเทศศาสตร์ และสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง ส� ำหรับคณาจารย์ ผู้วิจัย และ นักศึกษาทั้งในและต่างประเทศ 2. เพื่อเป็นแหล่งสารสนเทศและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในด้านต่างๆ อันจะน�ำมาสู่ประโยชน์ในการพัฒนา ธุรกิจและประเทศต่อไป ขอบเขตผลงานที่รับตีพิมพ์ ขอบเขตเนือ้ หา ประกอบด้วย สาขาวิชาบริหารธุรกิจ การจัดการธุรกิจอาหาร วิทยาการจัดการ ศิลปศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ นิเทศศาสตร์ และสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง ประเภทผลงาน ประกอบด้วย บทความวิจัย (Research article) บทความวิชาการ (Academic article) บทวิจารณ์หนังสือ (Book review) และบทความปริทัศน์ (Review article) นโยบายการพิจารณากลั่นกรองบทความ 1. บทความทีจ่ ะได้รบั การตีพมิ พ์ ต้องผ่านการพิจารณากลัน่ กรองจากผูท้ รงคุณวุฒิ (Peer review) ในสาขา ทีเ่ กีย่ วข้อง จ�ำนวนอย่างน้อย 2 ท่านต่อบทความ โดยผูท้ รงคุณวุฒจิ ะไม่ทราบข้อมูลของผูส้ ง่ บทความ (Double-Blind Peer review) 2. บทความทีจ่ ะได้รบั การตีพมิ พ์ ต้องไม่เคยตีพมิ พ์เผยแพร่ทใี่ ดมาก่อนและต้องไม่อยูใ่ นกระบวนการพิจารณา ของวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด รวมทั้งผู้เขียนบทความต้องไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานผู้อื่น 3. บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางประกอบ ที่ตีพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นและความ รับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์แต่อย่างใด 4. กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตัดสินการตีพิมพ์บทความในวารสาร ก�ำหนดพิมพ์เผยแพร่ ปีละ 3 ฉบับ (ฉบับแรก เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ฉบับที่สอง เดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม และ ฉบับที่สาม เดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคม)


ติดต่อกองบรรณาธิการ ส�ำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์: 0-2855-1102, 0-2855-0908 โทรสาร: 0-2855-0392 อีเมล: journal@pim.ac.th เว็บไซต์: http://journal.pim.ac.th


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2561 PANYAPIWAT JOURNAL Vol.10 No.1 January - April 2018 ISSN 1906-7658

ที่ปรึกษา อธิการบดี รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี และคณบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ บรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์พาพร มหาสินไพศาล

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

รองบรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พูลทรัพย์ นาคนาคา

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

กองบรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน ศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา สัจจานันท์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชนิดา ม่วงแก้ว รองศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.พร้อมพิไล บัวสุวรรณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธิตินันธุ์ ชาญโกศล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุษยา วงษ์ชวลิตกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุจินดา ศรีวัฒนะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุพงศ์ อวิรุทธา ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิมพา หิรัญกิตติ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตอาจารย์ประจ�ำมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเกริก มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ผู้ทรงคุณวุฒิภายในสถาบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาคร สมเสริฐ อาจารย์ ดร.กันยิกา ชอว์ อาจารย์ ดร.ณตา ทับทิมจรูญ อาจารย์ ดร.พิฑูร ธนบดีกิจ อาจารย์ ดร.วัชราภรณ์ เขื่อนวัง อาจารย์ ดร.สรชาติ รังคะภูติ อาจารย์ ดร.อนันต์ บุญปาน

คณะศิลปศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ วิทยาลัยนานาชาติ คณะศึกษาศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะการจัดการธุรกิจอาหาร

ฝ่ายจัดการและเลขานุการกองบรรณาธิการ นางสาวเมธาวี ฮั่นพงษ์กุล นางสาวหทัยชนก เสาร์สูง

ส�ำนักวิจัยและพัฒนา ส�ำนักวิจัยและพัฒนา


ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ (Reviewers) รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ทองเลิศ รองศาสตราจารย์ ดร.ฐาปนีย์ ธรรมเมธา รองศาสตราจารย์ ดร.ทิวัตถ์ มณีโชติ รองศาสตราจารย์ ดร.นาตยา ปิลันธนานนท์ รองศาสตราจารย์ ดร.นิรมล ศตวุฒิ รองศาสตราจารย์ ดร.ประพนธ์ เจียรกูล รองศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ ปานมณี รองศาสตราจารย์ ดร.พรพรรณ จันทโรนานนท์ รองศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญศรี เจริญวานิช รองศาสตราจารย์ ดร.ยุภาดี ปณะราช รองศาสตราจารย์ ดร.เลิศพร ภาระสกุล รองศาสตราจารย์ ดร.วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์ รองศาสตราจารย์ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ รองศาสตราจารย์ชื่นจิตต์ แจ้งเจนกิจ รองศาสตราจารย์ทองฟู ศิริวงศ์ รองศาสตราจารย์ประภาศรี พงศ์ธนาพาณิช รองศาสตราจารย์สมชาย หิรัญกิตติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา ชาตตระกูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญณ์ระวี อนันตอัครกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ ทวีไพบูลย์วงษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูกลิ่น อุนวิจิตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนายุ ภู่วิทยาธร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นงนุช ศรีอัษฎาพร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุรินทร์ ศรีสมถวิล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ปานจันทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลภา สบายยิ่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สูติเทพ ศิริพิพัฒนกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิชาติ พงศ์สุพัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ ดร.มนตรี ช่วยชู ดร.ศิริเพ็ชร ทฤษณาวดี ดร.สมชาย วงศ์รัศมี

มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตอาจารย์ประจ�ำมหาวิทยาลัยรามค�ำแหง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตอาจารย์ประจ�ำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยราชภัฏก�ำแพงเพชร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตอาจารย์ประจ�ำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา อดีตอาจารย์ประจ�ำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตอาจารย์ประจ�ำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอาจารย์ประจ�ำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร


บทบรรณาธิการ “10 ปี วารสารปัญญาภิวัฒน์” วารสารปัญญาภิวฒ ั น์เริม่ ด�ำเนินการในปีพทุ ธศักราช 2551 หลังจากก่อตัง้ สถาบันการจัดการปัญญาวัฒน์ 1 ปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแหล่งเผยแพร่ผลงานของ คณาจารย์ และแลกเปลี่ยนความรู้กับสถาบันต่างๆ ซึง่ วารสารฉบับแรกๆ มีบทความตีพมิ พ์ราว 10 บทความ โดยจัดพิมพ์เป็นเล่มวารสารเผยแพร่ไปยังสถาบันการศึกษา ทัง้ ภาครัฐและเอกชน รวมถึงหน่วยงานต่างๆ และได้พฒ ั นา คุณภาพของการจัดท�ำวารสารทางวิชาการอย่างต่อเนือ่ ง จนวารสารปั ญญาภิวัฒน์ไ ด้รับการประเมินคุณภาพ ของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre: TCI) ให้อยู่ในฐานกลุ่มที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2555 และได้รับการประเมินคุณภาพให้อยู่ ในฐานกลุม่ ที่ 1 ตัง้ แต่วนั ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2556 และ ได้รับการประเมินคุณภาพให้อยู่ในฐานข้อมูลภูมิภาค อาเซียน (ASEAN Citation Index: ACI) ตัง้ แต่วนั ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2558 ปัจจุบันวารสารปัญญาภิวัฒน์ได้จัดท�ำเป็นรูปแบบ E-Journal เพือ่ ความเป็นมาตรฐานสากลและเพิม่ ศักยภาพ ในการเข้าถึงองค์ความรูต้ า่ งๆ ของบทความทางวิชาการ ที่มาจากหลากหลายสาขาวิชาและหลากหลายสถาบัน ให้กบั นักวิชาการ นักวิชาชีพ และผูส้ นใจทัว่ ไป สามารถ สืบค้นและอ่านบทความในวารสารได้ตลอดเวลาในทุกที่ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ในโอกาสครบรอบ 10 ปี วารสารปัญญาภิวัฒน์ ขอขอบพระคุณผูท้ ใี่ ห้การสนับสนุนการจัดท�ำวารสารมา ตลอดจนท�ำให้สามารถพัฒนาคุณภาพวารสารทางวิชาการ ได้อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ จากผูเ้ ชีย่ วชาญ ผูท้ รงคุณวุฒิ ผูเ้ ขียน บทความ นักวิชาการ นักวิชาชีพ เครือข่ายความร่วมมือ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย และคณะท�ำงานใน กองบรรณาธิการทุกท่าน รวมถึงผูบ้ ริหารสถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ ทัง้ นีก้ องบรรณาธิการยังคงมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเรียนรู้

และพัฒนาคุณภาพของวารสารให้ดยี งิ่ ขึน้ และยินดีนอ้ มรับ ข้อแนะน�ำและค�ำติชม รวมทั้งผลงานวิชาการและวิจัย จากทุกท่าน ฉบับเข้าสูป่ ที ี่ 10 ของวารสารปัญญาภิวฒ ั น์นี้ ได้รบั เกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร. พร้อมพิไล บัวสุวรรณ หัวหน้าภาควิชาการศึกษา และอาจารย์ประจ�ำสาขาวิชา การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เขียนบทความพิเศษเรือ่ ง “การจัดการเรียน การสอนแบบบูรณาการผ่านการเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลง และการให้บริการชุมชนเพื่อพัฒนาผู้น�ำทางการศึกษา ทีร่ บั ผิดชอบต่อสังคม” และมีบทความทีน่ า่ สนใจในสาขา วิชาต่างๆ เช่น สาขาบริหารธุรกิจ เรื่อง “การประกอบ ธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในยุคเศรษฐกิจดิจทิ ลั เพือ่ รองรับ Prosumer 4.0” สาขาบัญชี เรือ่ ง “การบัญชีสงั คมและ ความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีต่อความยั่งยืนของบริษัท ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย” สาขา นิเทศศาสตร์ เรือ่ ง “การใช้ภาษาเพือ่ การโฆษณาในนิตยสาร วัยรุ่น” และสาขาศึกษาศาสตร์ เรื่อง “ผลการสอนด้วย กิจกรรมโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะเพือ่ การพัฒนาวิธี การสอนส�ำหรับนักศึกษากลุม่ Generation Y” เป็นต้น ผูส้ นใจสามารถติดตามบทความวิชาการต่างๆ ได้ทเี่ ว็บไซต์ journal.pim.ac.th เนื่องในเทศกาลวันสงกรานต์หรือวันขึ้นปีใหม่ตาม ประเพณีไทยเดือนเมษายนนี้ขออาราธนาคุณพระศรี รัตนตรัยคุ้มครองให้ทุกท่านประสบแต่ความสุข หน้าที่ การงานประสบความส�ำเร็จและก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป บรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์พาพร มหาสินไพศาล tippapornmah@pim.ac.th


สารบัญ บทความพิเศษ การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการผ่านการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงและการให้บริการชุมชน เพื่อพัฒนาผู้น�ำทางการศึกษาที่รับผิดชอบต่อสังคม พร้อมพิไล บัวสุวรรณ, สุดารัตน์ สารสว่าง บทความวิจัย แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ธัญชาติตามความต้องการของลูกค้าโดยประยุกต์ใช้คาโนโมเดล รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร, ภาคภูมิ ภัควิภาส, กิตติโชค นิธิเสธียร, จตุรงค์ โตพานิช, สมพร ศรีฉ�่ำ

1

15

ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเห็นและพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดของร้านอาหาร ประเภทบริการตนเองในจังหวัดชัยภูมิ วิระพงศ์ จันทร์สนาม, ภัทรภรณ์ หิรัญค�ำ, มัสยา หงษ์ค�ำมี, อิทธิพล ส�ำราญรื่น

29

อิทธิพลคั่นกลางของทุนโครงสร้างและการเป็นผู้ประกอบการในการถ่ายทอดทุนเชิงความสัมพันธ์ สู่ผลิตภาพส�ำหรับอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย ธัญนันท์ บุญอยู่

41

CRITICAL SUCCESS FACTORS IN CUSTOMER LOYALTY: CASE STUDY OF INTERNATIONAL FAST FOOD BRAND IN MYANMAR Naw Glynda Wah, Pithoon Thanabordeekij

54

ผลกระทบของการวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการต้นทุน ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในประเทศไทย ชนัญฎา สินชื่น

65

ตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความเป็นเมืองน่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ศุภกฤต ปิติพัฒน์

78

กลยุทธ์ทางการตลาดส�ำหรับธุรกิจร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร รจิต คงหาญ, อนุชิต แสงอ่อน

91

ความสามารถในการพัฒนาตนเองที่มีผลต่อประสิทธิภาพการท�ำงานผ่านบุคลิกภาพแบบประนีประนอม ของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน พรธิดา เทพประสิทธิ์, วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์

107

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสร้างความผูกพัน ระดับความผูกพัน และผลงานของพนักงาน: กรณีศึกษา บริษัท NMO จ�ำกัด เรือนขวัญ อยู่สบาย, กัญชพร ศรมณี

121


การธ�ำรงรักษาพนักงานกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายที่มีความสามารถสูงในธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารแบบครบวงจร 134 ในเขตกรุงเทพมหานคร วิลัย จันโต, ธนาสิทธิ์ เพิ่มเพียร การใช้ภาษาเพื่อการโฆษณาในนิตยสารวัยรุ่น รพิรัตน์ วริศจันทร์เปล่ง, ปฐมา สตะเวทิน, พีรยา หาญพงศ์พันธุ์

144

ธรรมชาติของการเกิดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่งส�ำหรับการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาล นพัชนันต์ นวกิจรังสรรค์

159

ผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการสร้างความรู้และการคิดสร้างสรรค์ 175 ในศตวรรษที่ 21 ส�ำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปรมะ แขวงเมือง การให้ค�ำปรึกษากลุ่มแบบผสมผสานเทคนิคเพื่อเสริมสร้างปณิธานแห่งตนทางการเรียน ของนักศึกษาวิชาชีพครู สรรเสริญ หุ่นแสน, พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์, ชูศรี เลิศรัตน์เดชากุล, วิไลลักษณ์ ลังกา

185

การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ สราวุธ หลิมไชยกุล, มิ่งขวัญ คงเจริญ, กัมปนาท บริบูรณ์

196

การพัฒนาชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีจิตนิสัย ทางคณิตศาสตร์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา พงศธร มหาวิจิตร, สุนทรีย์ ปาลวัฒน์ชัย

209

ผลการสอนด้วยกิจกรรมโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะเพื่อการพัฒนาวิธีการสอนส�ำหรับนักศึกษา กลุ่ม Generation Y ชนกพร ทองตากรณ์

222

บทความวิชาการ การจัดการห่วงโซ่อุปทานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมฟอกย้อมในประเทศไทย สายพิณ ปั้นทอง, ไชยนันท์ ปัญญาศิริ

236

การบัญชีสังคมและความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีต่อความยั่งยืนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ชื่นกมล สินบางหว้า

248


การประกอบธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อรองรับ Prosumer 4.0 ณตา ทับทิมจรูญ

261

การสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของจีน (เกาเข่า): มุมมองเชิงอ�ำนาจ จิตติ เอื้อนรการกิจ

279

ENGLISH AS A GLOBAL LANGUAGE AND INTEGRATING IN ENGLISH LANGUAGE TEACHING Charisopon Inthapat

289

IS IT SUITABLE TO USE L1 IN THE FOREIGN LANGUAGE CLASSROOM? Mett Robrue

304

บทความปริทัศน์ ปริทัศน์การศึกษาข้อผิดพลาดในการใช้โครงสร้าง “是…的” ในภาษาจีนของผู้เรียนภาษาจีนชาวไทย นลินทิพย์ วิภาวัฒนกุล

314


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

1

บทความพิเศษ การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการผ่านการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง และการให้บริการชุมชนเพื่อพัฒนาผู้น�ำทางการศึกษาที่รับผิดชอบต่อสังคม INTEGRATED LEARNING APPROACH THROUGH TRANSFORMATIVE LEARNING AND SERVICE LEARNING TO DEVELOP EDUCATIONAL LEADERSFOR SOCIAL RESPONSIBILITY รองศาสตราจารย์ ดร.พร้อมพิไล บัวสุวรรณ1 และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สารสว่าง2

บทน�ำ

การศึกษาเป็นเครือ่ งมือส�ำคัญในการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์และน�ำความเจริญก้าวหน้ามาสู่ประเทศชาติและ สังคม อย่างไรก็ตามการพัฒนาประเทศทีใ่ ห้ความส�ำคัญ กับการแข่งขันทางเศรษฐกิจอาจน�ำมาซึง่ สังคมทีอ่ อ่ นแอ ขาดความสมดุล และความยั่งยืนในการพัฒนาประเทศ ส่งผลให้ชมุ ชนและสังคมขาดความเข้มแข็งและไม่สามารถ ด� ำ รงอยู ่ ไ ด้ ใ นบริ บ ทสั ง คมโลกที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ นและ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มี ความตระหนักรู้ (Consciousness) ในความเปลีย่ นแปลง และมีความรับผิดชอบต่อสังคม (Social responsibility) จึงเป็นสิ่งส�ำคัญในการน�ำมาซึ่งการพัฒนาประเทศและ สังคมโลกให้มคี วามยัง่ ยืนน�ำสูส่ งั คมฐานปัญญาทีป่ ระชาชน รู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลง มีความรู้ความสามารถ ในการสร้างความกินดีอยูด่ ี (Well-being) มีความเสมอภาค เป็ น ธรรม (Equity) และเอื้ อ อาทรต่ อ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ (Compassion) องค์การสหประชาชาติได้เล็งเห็นความส�ำคัญของ การพัฒนาที่ยั่งยืนโดยได้ก�ำหนดเป้าหมายการพัฒนา ภายในปี ค.ศ. 2030 ให้เป็นการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน Sustain-

able Development Goals (SDGs) ซึง่ ให้ความส�ำคัญ กับการพัฒนาที่สมดุล ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อม และเรียกร้องให้ทุกภาคส่วนโดยเฉพาะ อย่างยิง่ ภาคธุรกิจแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึน้ แนวคิด Corporate Social Responsibility (CSR) หรือการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ จึงได้รับการส่งเสริมและต่อมาได้ขยายสู่ภาคการศึกษา (พร้อมพิไล บัวสุวรรณ, 2551; อุดมศักดิ์ กุลครอง, 2553) อย่างไรก็ตามความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งสร้าง ให้เกิดขึน้ กับคนทุกคนจึงได้มกี ารผลักดันแนวคิดการศึกษา เพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม (Education for Social Responsibility หรือ ESR) โดยได้จัดท�ำเป็นโครงการ น�ำร่องความเป็นหุ้นส่วน (Partnership) ที่สถานศึกษา และนักการศึกษามาด�ำเนินกิจกรรมร่วมกันเพื่อพัฒนา นวัตกรรม องค์ความรู้ และวิธปี ฏิบตั ทิ ดี่ ใี นการจัดการศึกษา เพือ่ ความรับผิดชอบต่อสังคม (United Nation, 2016) แม้ว่าการศึกษาไทยได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการ จัดการศึกษาเพือ่ ความรับผิดชอบต่อสังคมโดยได้สง่ เสริม ให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา และปลูกฝังคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ให้เกิดขึน้ ในผูเ้ รียน

1 หัวหน้าภาควิชาการศึกษาและอาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

E-mail: drprompilai@gmail.com

2 อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรการบริหารการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


2

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ผ่านหลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรม เสริมหลักสูตร เช่น กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมบ�ำเพ็ญ สาธารณประโยชน์ต่างๆ การบ่มเพาะคุณลักษณะที่มี ความรับผิดชอบต่อสังคมของผูเ้ รียนจะเกิดขึน้ อย่างยัง่ ยืน ได้ตอ่ เมือ่ บุคลากรทางการศึกษาและผูน้ ำ� ทางการศึกษา มีมโนส�ำนึกเห็นความส�ำคัญ ตระหนักรูใ้ นเป้าหมายของ การพัฒนาที่ยั่งยืน เข้าใจในบริบทความเปลี่ยนแปลง ประพฤติปฏิบตั ติ นเป็นแบบอย่างทีด่ ี และให้ความส�ำคัญ กับการจัดการศึกษาเพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม สถาบันผลิตครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหาร การศึกษามีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาบุคลากรทาง การศึกษาและผูน้ ำ� ทางการศึกษาในอนาคตจึงต้องเล็งเห็น ความส�ำคัญและออกแบบพัฒนากระบวนการจัดการเรียน การสอนทีม่ งุ่ สร้างมโนส�ำนึก (Consciences) คุณลักษณะ (Building character) ผู้น�ำทางการศึกษาเพื่อความ รับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งการจัดการเรียนการสอนแบบ ดัง้ เดิมทีเ่ น้นการถ่ายทอดองค์ความรูเ้ ชิงเนือ้ หาการเรียนรู้ ในห้องเรียน และเน้นการพัฒนาทักษะด้านบริหารจัดการ คงไม่สามารถน�ำมาซึง่ การปลูกฝังมโนส�ำนึกคุณลักษณะ และพฤติกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมได้ (Marshall, 2004) แต่ต้องเป็นการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) ที่ลงลึกถึงมโนส�ำนึกของ การเป็นผูน้ ำ� ทางการศึกษาเพือ่ ความรับผิดชอบต่อสังคม ผ่านการเรียนรูจ้ ากสภาพบริบทจริงของชุมชนและสังคม แล้วน�ำมาศึกษา วิเคราะห์ เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง ผ่านการริเริม่ สร้างสรรค์โครงการกิจกรรมการให้บริการ (Service Learning) และเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ ชุมชน เนือ่ งด้วยผูว้ จิ ยั เป็นอาจารย์ประจ�ำหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา และเป็นผู้รับผิดชอบ รายวิชาความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษาและชุมชน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถ ในการวิเคราะห์และท�ำความเข้าใจในบริบททางสังคมที่ สัมพันธ์กบั การจัดการศึกษา มีทกั ษะการสร้างความสัมพันธ์ กับชุมชน นอกจากนีผ้ วู้ จิ ยั ตระหนักเห็นความส�ำคัญของ

การพัฒนาผู้น�ำทางการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา ที่มีมโนส�ำนึกความรับผิดชอบต่อสังคมมากกว่าเพียงมุ่ง ผลิตบัณฑิตที่สามารถออกไปเป็นผู้บริหารสถานศึกษา หรือมีสมรรถนะด้านการบริหารจัดการเท่านั้น ผู้วิจัยจึง พยายามพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพือ่ ปรับเปลีย่ น กระบวนทัศน์และช่วยให้นิสิตหรือผู้เรียนได้เชื่อมโยง การเรียนรู้ของตนเองกับชุมชนสังคมและน�ำสู่การเป็น ผู้น�ำที่รับผิดชอบต่อสังคมได้ บทความนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ น� ำ เสนอรู ป แบบ การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการผ่านการเรียนรู้ เพือ่ การเปลีย่ นแปลงและการให้บริการชุมชนเพือ่ พัฒนา ผู้น�ำทางการศึกษาที่รับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งผู้วิจัยได้ พัฒนาขึน้ ผ่านกระบวนการวิจยั และพัฒนาการจัดการเรียน การสอนมาเป็นเวลากว่า 4 ปี ในหลักสูตรปริญญาโทสาขา วิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์

วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการผ่านการเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลงและการให้ บริการชุมชนเพื่อพัฒนาผู้น�ำทางการศึกษาที่รับผิดชอบ ต่อสังคม ผู้วิจัยได้ทบทวนแนวคิดที่เกี่ยวข้องดังนี้ การศึกษาเพือ่ ความรับผิดชอบต่อสังคม (Education for Social Responsibility) แนวคิดการจัดการศึกษามีการพัฒนาและเปลีย่ นแปลง มาอย่างต่อเนื่องตามบริบทจุดเน้นและความต้องการ ในการพัฒนาประเทศ การศึกษาไทยทีผ่ า่ นมากล่าวได้วา่ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การพั ฒ นาผู ้ เ รี ย นเพื่ อ ตอบสนอง ความสามารถในการแข่ ง ขั น ทางเศรษฐกิ จ และเน้ น การผลิตก�ำลังคนให้มสี มรรถนะทีจ่ ำ� เป็นเพือ่ การมีงานท�ำ อย่างไรก็ตามการศึกษายังต้องเป็นไปเพื่อความเจริญ งอกงามของสังคมประเทศ กล่าวคือ สร้างสังคมที่มี ดุลยภาพมีความสมดุลทัง้ ในมิตเิ ศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม หากแต่เมื่อสังคมมีการแข่งขันที่สูงขึ้น ส่งผลให้สงั คมมีการเอารัดเอาเปรียบขาดความเอือ้ อาทร

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ต่อเพื่อนมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ขาดความเสมอภาค ทางสังคม อันจะน�ำมาซึ่งความหายนะของสังคมโลก การศึกษาที่น�ำมาซึ่งความเจริญงอกงามจึงต้องเป็นไป เพื่อสร้างความเป็นมนุษย์ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม และช่วยขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศและสังคมโลก ไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนตามปฏิญญาสากลขององค์การ สหประชาชาติ การจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม เป็นการศึกษาทีเ่ น้นการสร้างค่านิยมร่วมกันว่า “เราทุกคน สามารถมีสว่ นร่วมในการสร้างความเปลีย่ นแปลงทีด่ ขี นึ้ ให้กับสังคม” ที่ผ่านมาแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการจัด การศึกษาเพือ่ ความรับผิดชอบต่อสังคม ได้แก่ การเรียนรู้ แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การจัดการ ความขัดแย้ง (Conflict Resolution) การศึกษาพหุ วัฒนธรรม (Multicultural Education) การพัฒนา คุณธรรมจริยธรรม (Moral Development) การศึกษา สิง่ แวดล้อม (Environmental Education) การให้บริการ ชุมชน (Community Service) การศึกษาเพือ่ ความเป็น พลเมือง เป็นต้น (Berman, 1990; Sihem, 2013) อย่างไรก็ตามต่อมาแนวคิดการศึกษาเพือ่ ความรับผิดชอบ ต่อสังคมได้รบั การพัฒนาอย่างเป็นองค์รวมมากขึน้ โดยเป็น การจัดการศึกษาที่เป็นไปเพื่อตอบสนองต่อเป้าหมาย การพัฒนาใน 6 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ความเป็นอยู่ ที่ดี สิทธิความเป็นมนุษย์ ความรับผิดชอบ พฤติกรรมที่ ชาญฉลาด ความรู้ และโอกาส โดยมุง่ ผลลัพธ์คอื ผูเ้ รียน มีความเอาใจใส่เพื่อนมนุษย์ เตรียมพร้อมเพื่อรับความ เปลีย่ นแปลง มีความเป็นผูน้ ำ� และแสดงความรับผิดชอบ ต่อสถานศึกษาของตนเองเมือ่ เวลามาถึง โดยมีเป้าหมาย ผลลัพธ์ปลายทางทีส่ ำ� คัญคือ การเป็นสังคมทีม่ กี ารพึง่ พา อาศั ย ซึ่ ง กั น และกั น และเพื่ อ ความยั่ ง ยื น ของชุ ม ชน (United Nation, 2016) แม้วา่ แนวทางการจัดการศึกษาเพือ่ ความรับผิดชอบ ต่อสังคมให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาหลักสูตร การจัด การเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามรับผิดชอบ ต่อสังคม (United Nation, 2016) Berman (1990) กล่าวว่า ปัจจัยส�ำคัญของการจัดการศึกษาเพื่อความ

3

รับผิดชอบต่อสังคมอยูท่ กี่ ารออกแบบการจัดการศึกษาและ การเรียนการสอนทีส่ ร้างวัฒนธรรม ค่านิยม การเสริมสร้าง พลังอ�ำนาจ ความร่วมมือ ความเห็นอกเห็นใจซึง่ กันและกัน และความเคารพซึ่งกันและกัน ดังนั้นการจัดการศึกษา เพือ่ ความรับผิดชอบต่อสังคมจึงต้องเป็นการจัดการศึกษา เพื่อสร้างมโนส�ำนึกว่า “อะไรคือสิ่งที่พวกเราสามารถ ร่วมกันท�ำเพื่อความเป็นอยู่ของสังคมที่ดีขึ้น” ผู้น�ำทางการศึกษาเพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นทีน่ า่ สังเกตว่า แม้การศึกษาไทยก�ำหนดจุดเน้น ในการพัฒนาคุณลักษณะผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แต่ในสภาพความเป็นจริง สั ง คมไทยกลั บ เสื่ อ มถอยในด้ า นค่ า นิ ย มและจิ ต ใจ ความไม่เสมอภาคทางสังคม ความเหลือ่ มล�ำ้ ทางเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมถูกท�ำลาย มีปรากฏ ให้เห็นและทวีความรุนแรงมากยิง่ ขึน้ ความเสือ่ มศรัทธา ในวิชาชีพทางการศึกษาลดลงส่วนหนึ่งอาจเนื่องจาก บุคลากรทางการศึกษายังไม่สามารถเป็นที่พึ่งให้แก่ สังคมได้ การปฏิรปู การศึกษาเพือ่ การเปลีย่ นแปลงสังคม สูก่ ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืนจ�ำเป็นต้องปลูกจิตส�ำนึกและค่านิยม เพื่อความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้น�ำทางการศึกษา ให้สามารถเป็นเสาหลักในการเปลี่ยนแปลงสังคมให้มี ความเสมอภาคเป็นธรรมในการพัฒนาเยาวชนและน�ำมา ซึ่งความเข้มแข็งของชุมชน จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง พบว่า ภาวะผูน้ ำ� เพือ่ การเปลีย่ นแปลงมีความสัมพันธ์กบั ความรับผิดชอบต่อสังคม (อุดมศักดิ์ กุลครอง, 2553) นอกจากนีภ้ าวะผูน้ ำ� เพือ่ ความเป็นธรรมทางสังคม (Social justice leadership) มีความเกีย่ วข้องสัมพันธ์กบั การเป็น ผูน้ ำ� ทีค่ วามรับผิดชอบต่อสังคม โดยเป็นแนวคิดทีม่ งุ่ เน้น การสร้างให้เกิดความเป็นผูน้ ำ� และความรับผิดชอบต่อผูอ้ นื่ และสังคมโดยรวม ผูน้ ำ� ทางการศึกษาเพือ่ ความเป็นธรรม ทางสังคมจะมุ่งเน้นการสร้างค่านิยม การบ่งชี้ประเด็น ทางสังคมที่ต้องน�ำสู่การแสดงความรับผิดชอบร่วมกัน การแก้ไขความไม่เป็นธรรมทีเ่ กิดขึน้ ในบริบททางการศึกษา Marshall (2004) กล่าวว่า แนวคิดภาวะผูน้ ำ� แบบดัง้ เดิม เพิกเฉยต่อประเด็นความเป็นธรรมทางสังคม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


4

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ความเป็นธรรมทางสังคม สามารถนิยามได้ว่าคือ “การมีส่วนร่วมของคนทุกกลุ่มในสังคมเพื่อตอบสนอง ความต้องการจ�ำเป็น อันได้แก่ การกระจายทรัพยากร อย่างเป็นธรรม การทีส่ มาชิกมีความรูส้ กึ ปลอดภัยทัง้ ด้าน ร่างกายและจิตใจ การพึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน” ดังนัน้ ภาวะผู้น�ำเพื่อความเป็นธรรมทางสังคมให้ความส�ำคัญ กับการบริการกลุม่ ผูข้ าดโอกาสทางสังคม การท้าทายวิธี ปฏิบัติเดิม (Shields, 2003) การเอื้ออ�ำนวยให้เกิดการ สนทนาเชิงคุณธรรมเพือ่ ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผูเ้ รียน ที่มาจากพื้นฐานที่หลากหลาย (Jayavant, 2016) การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงสู่การเป็นผู้น�ำ ทางการศึกษาที่รับผิดชอบต่อสังคม การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรการบริหาร สถานศึกษาหรือภาวะผูน้ ำ� และการจัดการศึกษากล่าวได้วา่ เป็นการจัดการศึกษาในระดับผู้ใหญ่ซึ่งนอกจากเป็นไป เพือ่ เตรียมความพร้อมผูเ้ รียนให้มสี มรรถนะทางการบริหาร องค์กรทางการศึกษาแล้วยังต้องเป็นไปเพื่อสร้างผู้น�ำ และนักบริหารการศึกษาที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ในยุคศตวรรษที่ 21 ซึ่งต้องเป็นการเสริมพลังอ�ำนาจให้ ผูเ้ รียนมีความคิดเชิงวิพากษ์ในการเป็นผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง ทางสังคมมากกว่าการเป็นผูน้ อ้ มรับค�ำสัง่ หรือยอมจ�ำนน ต่อความคิดของผูอ้ นื่ ดังที่ Mezirow (1997: 8) กล่าวว่า ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าจะต้องมีความเป็นนักคิดที่ รับผิดชอบต่อสังคม (Socially responsible thinkers) นักวิชาการหลายท่านกล่าวว่า การเรียนการสอน ในระดับอุดมศึกษาต้องเป็นไปเพือ่ สร้างนักคิด (Barnett, 1997; Patel, 2003) ที่บ่มเพาะคุณลักษณะของผู้เรียน ให้สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่น เป็น ตัวของตัวเอง และสามารถเป็นผูน้ ำ� การเรียนรูแ้ ห่งตนได้ ซึง่ ผูเ้ รียนสามารถสร้างองค์ความรูผ้ า่ นการมีปฏิสมั พันธ์ กับผูอ้ นื่ และสังคมภายนอกทีอ่ ยูร่ อบตัว (Sable, 2007) การเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาจึงควรเน้นให้ผเู้ รียน ได้สะท้อนคิด (Reflective thinking) เกีย่ วกับการเรียนรู้ ของตนเองผ่านกระบวนการทางความคิดและความเข้าใจ ของตนเองเป็นส�ำคัญเพือ่ ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงมุมมอง

แนวคิดจากภายใน การเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลงเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ ในผูใ้ หญ่ทอี่ ยูบ่ นพืน้ ฐานของการเพิม่ พูนขึน้ ของประสบการณ์ และการเรียนรู้ที่สูงขึ้นจากวัยเด็ก (Taylor, Marienau & Fiddle, 2000) โดย Paulo Freire (1972) เป็นผู้น�ำ ทางความคิดในทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นการยกระดับมโนธรรมส�ำนึก (Conscientization) เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในโครงสร้าง ทางสังคม และน�ำสู่การปรับเปลี่ยนกรอบทางความคิด (Perspective transformation) ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการมอง โลกและสิง่ ต่างๆ (Paradigm) รอบตัว ซึง่ การปรับเปลีย่ น มโนทัศน์จะเป็นรากฐานส�ำคัญของการเปลี่ยนแปลง อย่างยั่งยืน (Hipot, 2557) อย่างไรก็ตามงานวิจัย หลายชิ้นพบว่า การปรับเปลี่ยนมุมมอง ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอาจมี ความแตกต่างกันและมีความยากง่ายตามบริบท นิสัย บุคลิกลักษณะ และประสบการณ์การเรียนรู้ที่ผ่านมา ของแต่ละบุคคล แต่เป้าหมายสุดท้ายของการเรียนรูเ้ พือ่ การเปลี่ยนแปลงคือ การที่ผู้เรียนได้รับการเสริมพลัง อ�ำนาจให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสามารถ ในการเป็นผู้นำ� การเรียนรู้แห่งตน และมีความตระหนัก อย่างมีวิจารณญาณในสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวที่ครอบง�ำ ความคิดดั้งเดิมของตนเอง (Mezirow, 2000; Taylor, 1998; 2000) การจัดการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ผู้สอน มีบทบาทในการเอื้ออ�ำนวยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บน ความตระหนักและใคร่ครวญสะท้อนคิด (Reflective thinking) เกี่ยวกับตนเองและความเชื่อเดิมที่มีต่อผู้อื่น โดยใช้จินตนาการและวาทกรรมเชิงวิพากษ์ (Critical discourse) เพือ่ ให้เกิดความกระจ่างทางปัญญาในการท�ำ ความเข้าใจกับปัญหาจากมุมมองทางเลือกทีอ่ าจแตกต่าง จากเดิมร่วมกัน ซึ่งวาทกรรมเป็นสิ่งส�ำคัญในการน�ำมา ซึ่ ง ความเข้ า ใจที่ ลึ ก ซึ้ ง และน� ำ สู ่ ก ารตั ด สิ น ใจเพื่ อ ให้ ความหมายกับสิง่ ต่างๆ การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ให้ผเู้ รียนได้ชว่ ยเหลือซึง่ กันและกันและร่วมกันแก้ปญ ั หา

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ของกลุ่มจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ (Mezirow, 1997) Mezirow (2000: 22) น�ำเสนอกระบวนการเรียนรู้ เพือ่ การเปลีย่ นแปลงซึง่ อาจไม่เป็นตามล�ำดับขัน้ ประกอบ ด้วย 1) ความสับสนเมื่อเผชิญกับภาวะวิกฤตข้อขัดแย้ง ทางความคิด 2) การตรวจสอบอารมณ์ ความรู้สึกของ ตนเอง 3) การประเมินสมมติฐานดั้งเดิมของตนเองเชิง วิพากษ์ 4) การตระหนักถึงความไม่พึงพอใจและความ ต้องการสร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงร่วมกัน 5) การ แสวงหาทางเลือกเพื่อก�ำหนดบทบาทหรือด�ำเนินการ 6) การวางแผนการท�ำงานเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 7) การแสวงหาความรูแ้ ละทักษะเพือ่ ด�ำเนินการตามแผน 8) การลองแสดงบทบาทใหม่ 9) การสร้างศักยภาพและ ความมัน่ ใจในการแสดงบทบาทใหม่ของตนเอง 10) การ บูรณาการมโนทัศน์ใหม่เข้ากับวิถีการด�ำเนินชีวิตของ ตนเองที่เป็นหนึ่งเดียว การสะท้อนคิดเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการช่วยให้ เกิดการปรับเปลี่ยนมโนทัศน์และน�ำสู่การเปลี่ยนแปลง อย่างยัง่ ยืน วิจารณ์ พานิช (2558) เสนอว่า การสะท้อน คิดนั้นสามารถท�ำได้ใน 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) Content Reflection คือ การสะท้อนคิดสิง่ ทีเ่ รารับรูร้ สู้ กึ คิด และท�ำ คือ การตอบค�ำถามว่า “อะไร หรือ What” 2) Process Reflection คือ การสะท้อนคิดว่าเรารับรู้รู้สึก คิด และ ท�ำอย่างไร คือ การตอบค�ำถามว่า“อย่างไรหรือ How” และ 3) Premise Reflection คือ การสะท้อนคิดว่า ท�ำไมเราจึงรับรูร้ สู้ กึ คิด และท�ำ คือ การตอบค�ำถามว่า “ท�ำไม หรือ Why” โดยมีเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการ สะท้อนคิดอย่างจริงจังที่ส�ำคัญอย่างหนึ่งคือ การเขียน บันทึกที่เรียกว่า Journal ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งการเขียนใน รูปแบบ Online และเขียนแบบสะท้อนคิด (Reflective Journal) และการท�ำ AAR (After Action Review) โดยครูทมี่ ที กั ษะในการตัง้ ค�ำถามให้ครอบคลุมค�ำถาม Why การเรียนรู้แบบให้บริการชุมชนสู่การเรียนรู้เพื่อ การเปลี่ยนแปลง การพัฒนาผูน้ ำ� ทางการศึกษาควรเป็นกระบวนการ เรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม (Holistic education) ที่เน้น

5

ให้ผู้เรียนสามารถสร้างความหมายและประสบการณ์ การเรียนรูข้ องตนเองผ่านการเชือ่ มโยงกับชุมชนภายนอก (Miller, 1999) ผูส้ อนเป็นเสมือนเพือ่ น พีเ่ ลีย้ ง ผูอ้ ำ� นวย ความสะดวก นอกจากนี้ชุมชนคือ แหล่งเรียนรู้ที่ส�ำคัญ ในการช่วยให้ผเู้ รียนได้เข้าใจตนเองและระบบความสัมพันธ์ ที่มีอยู่กับสังคมโดยรอบ (Forbes, 1996) การเรียนรู้ แบบให้บริการชุมชน (Service Learning) จึงสามารถ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เพื่อการ เปลี่ยนแปลงได้ (Bamber & Hankin, 2011) เพราะ ช่วยให้ผเู้ รียนได้เข้าถึงสภาพแวดล้อมและบริบททีแ่ สดง โครงสร้างทางสังคมที่อาจครอบง�ำความคิดดั้งเดิมของ ตนเองและน�ำสูม่ มุ มองใหม่ Bringle & Hatcher (1996: 222) กล่าวว่า การเรียนรูแ้ บบให้บริการชุมชน (Service learning) หมายถึง “ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ผู้เรียน ได้จากการเข้าร่วมในกิจกรรมการให้บริการทีต่ อบสนอง ต่ อ ความต้ อ งการจ� ำ เป็ น ของชุ ม ชนและกิ จ กรรมนั้ น สามารถช่วยให้ผู้เรียนสามารถท�ำความเข้าใจกับเนื้อหา การเรียนรู้ มีความซาบซึ้งในศาสตร์สาขาวิชา และช่วย ส่งเสริมจิตส�ำนึกรู้ในความรับผิดชอบของตนเองต่อการ ให้บริการแก่ชุมชน” การเรียนรูแ้ บบให้บริการชุมชนมีจดุ เน้นเชิงผลลัพธ์ 3 ประการ ได้แก่ 1) การให้บริการแก่ชุมชน 2) การ เสริมสร้างทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และทักษะการแก้ปญั หา และ 3) การปลูกฝังการเรียนรูต้ ลอดชีวติ มโนธรรม และ ความเป็นพลเมืองตามแนวทางประชาธิปไตย (Harkavy, 2004) นอกจากนี้ Dauenhauer et al. (2010) ยัง กล่าวว่า การเรียนรูแ้ บบให้บริการชุมชนมีเป้าหมายส�ำคัญ คือ การเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติในโลกแห่งความ เป็นจริง อีกทั้งการเรียนรู้แบบให้บริการชุมชนสามารถ น�ำมาซึง่ การเปลีย่ นแปลงทัศนคติเกีย่ วกับกลุม่ ผูด้ อ้ ยโอกาส ทางสังคม และสามารถเพิม่ ศักยภาพแห่งตน (Williams & Reeves, 2004) และช่วยให้ผเู้ รียนสามารถเก็บรักษา ความรูค้ วามเข้าใจในเนือ้ หาวิชาทีเ่ รียนได้อย่างมีความหมาย และน�ำสูก่ ารปฏิบตั ไิ ด้อย่างยัง่ ยืน (Dauenhauer et al., 2010)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


6

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการนอกจากช่วยลด ความซ�ำ้ ซ้อนของเนือ้ หาแล้วยังช่วยให้ผเู้ รียนเกิดความคิด รวบยอดและช่วยให้การบริหารจัดการตารางเวลาเรียน ที่มีประสิทธิภาพ เอื้ออ�ำนวยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ นอกห้องเรียนเพื่อน�ำสู่การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ได้อีกด้วย ซึ่งการเรียนการสอนแบบบูรณาการสามารถ จ�ำแนกได้เป็น 4 รูปแบบ ได้แก่ (ส�ำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา, 2550) 1. การสอนบูรณาการแบบสอดแทรก (Infusion) เป็นการสอนที่ผู้สอนรายวิชาหนึ่งสอดแทรกเนื้อหาของ รายวิชาอื่นเข้าไปในรายวิชาของตนเอง 2. การสอนบูรณาการแบบคูข่ นาน (Parallel Instruction) เป็นการสอนทีม่ ผี สู้ อนตัง้ แต่สองคนขึน้ ไป วางแผน การสอนร่วมกันแต่สอนต่างวิชากัน มีการก�ำหนดหัวเรือ่ ง การสอนร่วมกันแล้วน�ำสู่ความคิดรวบยอดร่วมกัน 3. การสอนบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Multidisciplinary Instruction) เป็นการบูรณาการการสอน แบบคูข่ นานแต่มกี ารมอบหมายงานหรือโครงงานร่วมกัน 4. การสอนบูรณาการแบบข้ามวิชา หรือการสอน เป็นคณะ (Transdisciplinary Instruction) เป็นการสอน ทีผ่ สู้ อนวิชาต่างๆ มาร่วมกันสอนเป็นคณะ มีการวางแผน การสอน ก�ำหนดหัวเรือ่ งและความคิดรวบยอดการสอน ร่วมกัน แล้วร่วมกันสอน โดยมีผู้เรียนเป็นกลุ่มเดียวกัน

วิธีดำ� เนินการวิจัย

ในการออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน การสอนแบบบูรณาการผ่านการเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลง และการให้บริการชุมชนเพื่อพัฒนาผู้น�ำทางการศึกษา ที่รับผิดชอบต่อสังคม ผู้วิจัยได้ใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ของ Kemmis & McTaggart (1988) ที่ประกอบด้วยขั้นตอน 1) การวางแผน (Plan) 2) การด�ำเนินการ (Act) 3) การสังเกต (Observe) และ 4) การสะท้อนย้อนคิด/ประเมิน (Reflect) โดยมี กลุ่มเป้าหมายคือ นิสิตปริญญาโทสาขาวิชาการบริหาร

การศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาความสัมพันธ์ ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน และรายวิชานิเทศการศึกษา ในภาคเรียนที่ 3 ของหลักสูตรภาคพิเศษ (เรียนวันเสาร์ และอาทิตย์) ระหว่างปีการศึกษา 2556-2559 รุ่นละ ประมาณ 30 คน ผูว้ จิ ยั ได้ดำ� เนินการตามวงรอบดังกล่าว จ�ำนวน 4 วงรอบ รอบละ 1 ภาคการศึกษา เป็นระยะเวลา 4 ปี ตั้งแต่ปีการศึกษา 2556-2559 ดังมีรายละเอียด ของการด�ำเนินงานวิจัยดังนี้ 1. ขั้นวางแผนและการพัฒนารูปแบบ ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนนัน้ ผู้วิจัยซึ่งเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาความสัมพันธ์ ระหว่ า งสถานศึ ก ษากั บ ชุ ม ชนและผู ้ ร ่ ว มวิ จั ย ซึ่ ง เป็ น อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบรายวิชาการนิเทศการศึกษาได้รว่ มกัน ศึกษาเป้าหมายจุดประสงค์ของหลักสูตรและรายวิชา ทีร่ บั ผิดชอบการเรียนการสอน แลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ นวทาง การจัดการเรียนการสอนทีด่ ำ� เนินการอยูใ่ นรายวิชาของ ตนเอง และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ผ่านมาของผู้เรียนเพื่อ วิพากษ์การจัดการเรียนการสอนที่เป็นอยู่และน�ำเสนอ แนวคิดเพื่อเป็นทางเลือกในการเปลี่ยนแปลงการจัด การเรียนการสอนร่วมกัน จากนั้นได้ก�ำหนดเป้าหมาย การจัดการเรียนรู้ในรายวิชาของตนเองเพิ่มเติมร่วมกัน คือ เพื่อพัฒนานิสิตให้มีความเป็นผู้น�ำทางการศึกษาที่ รับผิดชอบต่อสังคม จากนัน้ ผูว้ จิ ยั ได้ทบทวนวรรณกรรม ทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนาผูน้ ำ� ทางการศึกษาทีร่ บั ผิดชอบ ต่อสังคมพบว่า มีแนวคิดส�ำคัญทีส่ ามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ เพือ่ ออกแบบรูปแบบการจัดการเรียนการสอนคือ การจัด การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Transformative learning) การจัดการเรียนรู้แบบให้บริการ (Service learning) และการจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการ โดยผูว้ จิ ยั ได้ดำ� เนินการเป็นวงจรกล่าวคือ เมือ่ มีการน�ำผลสะท้อน ในแต่ละรอบปีการศึกษามาเข้าสูว่ งรอบต่อไปเพือ่ วางแผน การด�ำเนินงานให้มคี วามเหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของ นิสติ ทีเ่ ข้ามาในแต่ละกลุม่ เช่น ประสบการณ์การท�ำงาน การศึกษา สถานทีท่ ำ� งาน และหน่วยงานทีส่ งั กัด เป็นต้น เนือ่ งจากปัจจัยเหล่านีพ้ บว่า มีผลต่อการด�ำเนินกิจกรรม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

เพื่อให้บริการชุมชน จากนั้นผู้วิจัยได้จัดท�ำแผนการจัด การเรียนการสอนร่วมกันน�ำแนวทางการจัดการเรียน การสอนเพื่อการเปลี่ยนแปลงไปประยุกต์ใช้ในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนของตนเอง และก�ำหนดให้มี การจัดท�ำโครงงานบริการชุมชนร่วมกันของ 2 รายวิชา โดยผูว้ จิ ยั ได้เสนอทีป่ ระชุมกรรมการบริหารหลักสูตรให้จดั ตารางการเรียนการสอนของสองรายวิชาอยูใ่ นวันเดียวกัน เพือ่ ให้สะดวกแก่การจัดตารางเรียนทีเ่ อือ้ อ�ำนวยให้นสิ ติ ได้ออกไปท�ำกิจกรรมนอกห้องเรียน นอกจากนี้ผู้วิจัย ได้ทำ� ความร่วมมือกับสถานศึกษาเครือข่ายทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ที่ ใกล้เคียงเพือ่ เป็นแหล่งเรียนรูใ้ ห้นสิ ติ ได้เข้าไปฝึกปฏิบตั กิ าร ให้บริการชุมชนในช่วงเวลาวันเสาร์-อาทิตย์ได้ โดยลด จ�ำนวนชัว่ โมงเรียนในห้องเรียนของทัง้ สองรายวิชาจากเดิม รายวิชาละ 15 สัปดาห์ เหลือรายวิชาละ 12 สัปดาห์ เพื่อให้เวลานิสิตได้เรียนรู้ในบริบทจริง โดยในการท�ำ โครงการบริการชุมชนนั้น นิสิตน�ำองค์ความรู้ที่เรียน ในรายวิชาความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน มาใช้เพือ่ ท�ำการส�ำรวจสภาพบริบท วิเคราะห์ปญ ั หาเพือ่ ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับสถานศึกษาและชุมชนที่ศึกษา จากนัน้ น�ำข้อมูลมาวิเคราะห์วางแผนเพือ่ จัดท�ำโครงการ ให้บริการชุมชนโดยน�ำองค์ความรู้ที่เรียนในรายวิชา นิเทศการศึกษามาใช้เพือ่ ให้ความรูแ้ ก่กลุม่ เป้าหมายและ ด�ำเนินการติดตามผล 2. ขั้นด�ำเนินการ ผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัยที่เป็นผู้รับผิดชอบรายวิชา ทั้งสองเข้าพบนิสิตพร้อมกันจ�ำนวน 3 ครั้งคือ สัปดาห์ ที่ 1 เพือ่ ท�ำความเข้าใจกับนิสติ และให้นสิ ติ ได้มสี ว่ นร่วม ในการสะท้อนมุมมองต่อรูปแบบและแนวทางการจัด การเรียนการสอนและรับฟังความคิดเห็นของนิสิตต่อ แนวทางการจัดการเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 7 เป็นการ ติดตามความก้าวหน้า และน�ำข้อมูลที่ได้จากการจัดท�ำ โครงการส�ำรวจสถานศึกษาและชุมชนมาวิเคราะห์เพื่อ ก�ำหนดปัญหาและแนวทางการพัฒนาโครงการให้บริการ ชุมชน และสัปดาห์ที่ 15 ซึง่ เป็นสัปดาห์สดุ ท้ายเพือ่ เป็น การสะท้อนผลการเรียนรูร้ ว่ มกัน โดยได้เชิญสถานศึกษา

7

เครือข่ายที่รับนิสิตให้เข้าไปบริการชุมชนได้เข้ามาร่วม สะท้อนผลการจัดการเรียนรูแ้ บบให้บริการชุมชนร่วมกัน นอกจากนี้ผู้วิจัยให้นิสิตติดตามข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับ ประเด็นปัญหาทางสังคมมาโพสต์ลงใน Facebook เพือ่ ให้มีการสะท้อนมุมมองความคิด อารมณ์ความรู้สึกต่อ ประเด็นดังกล่าว รวมถึงกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดท�ำ โครงการบริการชุมชนลงใน Facebook เพือ่ น�ำประเด็น ที่ได้มาสนทนาเชิงวิพากษ์ร่วมกันในชั้นเรียน 3. ขั้นสังเกต ผู ้ วิ จั ย และผู ้ ร ่ ว มวิ จั ย สั ง เกตพฤติ ก รรมและ คุณลักษณะของนิสิตตามจุดประสงค์ผลลัพธ์การเรียนรู้ ของแต่ละรายวิชาทีก่ ำ� หนด และผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้ ที่ก�ำหนดร่วมกันเพื่อสะท้อนคุณลักษณะความเป็นผู้น�ำ ที่รับผิดชอบต่อสังคม ได้แก่ การสนทนาเชิงวิพากษ์ เกีย่ วกับประเด็นปัญหาความเป็นธรรมทางสังคม จิตส�ำนึก ในการริเริม่ เพือ่ ท�ำประโยชน์แก่สงั คม ทักษะการคิดริเริม่ สร้างสรรค์ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การท�ำงาน เป็นทีม และทักษะการแก้ปญั หา เป็นต้น โดยเป็นการสังเกต พฤติกรรมและคุณลักษณะทัง้ ในระหว่างการท�ำกิจกรรม ในชัน้ เรียนและนอกชัน้ เรียน โดยผูว้ จิ ยั ได้สงั เกตพฤติกรรม และมุ ม มองความคิ ด ของนิ สิ ต ผ่ า นทาง Facebook รายวิชาทีจ่ ดั ท�ำขึน้ เพือ่ สังเกตพฤติกรรม มุมมองความคิด ที่ นิ สิ ต มี ก ารแลกเปลี่ ย นกั น บั น ทึ ก สะท้ อ นความคิ ด (Reflective journal) และผลงานที่นิสิตได้ด�ำเนินการ 4. ขั้นสะท้อนผล ในการสะท้อนผลนั้นผู้วิจัยได้ให้นิสิตร่วมกัน สะท้อนผลทั้งในระหว่างรายวิชาที่ผู้สอนแต่ละท่าน รับผิดชอบ รวมถึงการสะท้อนผลในสัปดาห์ที่ 7 ทีผ่ สู้ อน ทั้งสองรายวิชาได้เข้าพบนิสิตร่วมกัน และสะท้อนผล ในสัปดาห์ที่ 15 ซึ่งเป็นสัปดาห์สุดท้ายโดยมีผู้แทน สถานศึกษาเครือข่ายทีร่ บั นิสติ ไปบริการชุมชน โดยเป็น การสะท้อนผลการเรียนรู้ที่นิสิตได้รับ ได้แก่ มุมมอง การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไปจากเดิม มุมมองความสัมพันธ์ ในบทบาทของผู้น�ำทางการศึกษากับชุมชนและสังคม ประสบการณ์ ทักษะการเรียนรู้ที่ได้รับ การเชื่อมโยง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


8

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

เนือ้ หาสูบ่ ริบทจริง ประโยชน์ทเี่ กิดขึน้ กับชุมชนและผูเ้ รียน และการปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ดขี นึ้ เป็นต้น เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ได้แก่ แบบสอบถามปลายเปิด และปลายปิด แบบสังเกตพฤติกรรมและคุณลักษณะ แบบสัมภาษณ์ ประเด็นการสนทนากลุ่ม แบบสะท้อน ความคิดและการเรียนรู้ของตนเองแบบประเมินความ พึงพอใจของชุมชนและของนิสิตใช้การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาความถี่ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์เนื้อหา

ผลการวิจัยและการอภิปรายผล

จากการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการผ่านการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงและการ ให้บริการชุมชนเพือ่ พัฒนาผูน้ ำ� ทางการศึกษาทีร่ บั ผิดชอบ ต่อสังคมมาเป็นเวลากว่า 4 ปี ผู้วิจัยสามารถน�ำเสนอ ผลการวิจัยได้ดังนี้ องค์ประกอบและลักษณะของรูปแบบ “รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ผ่านการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงและการให้บริการ ชุมชนเพือ่ พัฒนาผูน้ ำ� ทางการศึกษาทีร่ บั ผิดชอบต่อสังคม” มีองค์ประกอบและลักษณะที่ส�ำคัญ ได้แก่

ที่มา: ผู้เขียน 1. วัตถุประสงค์และหลักการของรูปแบบ 1.1 นิสิตมีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามจุดประสงค์ ของรายวิชาและจุดประสงค์ทกี่ ำ� หนดร่วมกันของการเป็น ผู้น�ำทางการศึกษาที่รับผิดชอบต่อสังคม 1.2 นิสติ สามารถเชือ่ มโยงเนือ้ หาการเรียนรูข้ อง ตนเองกับสภาพบริบทจริงของชุมชนและการน�ำศักยภาพ ที่มีอยู่ของตนเองมาท�ำให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน

1.3 ด�ำเนินโครงการบริการชุมชนที่ตอบสนอง ต่อความต้องการจ�ำเป็นของชุมชนบนพื้นฐานของความ เป็นไปได้ในการปฏิบัติ 2. กลุ่มบุคคลผู้มีส่วนร่วมในการด�ำเนินการ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องในการจัดการเรียนการสอนตาม แนวทางนี้ ได้แก่

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

2.1 ผูร้ บั ผิดชอบรายวิชาทีจ่ ดั การเรียนการสอน ร่วมกันท�ำหน้าที่เป็นผู้เอื้ออ�ำนวยให้ผู้เรียนเป็นผู้น�ำ การเรียนรู้ของตนเอง มีการวางแผนการจัดการเรียน การสอนร่วมกัน มีการสื่อสาร ติดตาม และสะท้อนผล การเรียนรู้ร่วมกัน 2.2 นิสติ มีสว่ นร่วมในวาทกรรมเชิงวิพากษ์ รับฟัง มุมมองความคิดเห็นที่แตกต่าง คิดใคร่ครวญอย่างมี วิจารณญาณในความคิดการกระท�ำของตนเอง มุมมอง ความเชือ่ ดัง้ เดิมเกีย่ วกับโครงสร้างทางสังคม การท�ำงาน ร่วมกันเป็นทีมเพื่อก�ำหนดเป้าหมาย ริเริ่มลงมือปฏิบัติ แสวงหาความรู้และทักษะที่จ�ำเป็นเพื่อด�ำเนินโครงการ ร่วมกัน 2.3 ชุมชนหรือสถานศึกษาเครือข่ายให้ความ ร่วมมือเป็นแหล่งเรียนรูใ้ นการฝึกปฏิบตั แิ ก่ผเู้ รียนในการ ให้บริการชุมชนอย่างเป็นกัลยาณมิตรเน้นชุมชน หรือ สถานศึกษาที่ขาดโอกาสและยินดีเข้าร่วมเป็นเครือข่าย แหล่งเรียนรู้ 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.1 การเรียนรูบ้ นฐานของปัญหาและความต้องการ จ�ำเป็นของชุมชน (Problem-based/Communitybased Approach) การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เข้าไป ศึกษาสภาพบริบทที่เป็นจริงของชุมชน สังคม เพื่อมา วิเคราะห์ ก�ำหนดประเด็นปัญหาและริเริ่มโครงการให้ บริการชุมชน 3.2 การเรียนรู้วาทกรรมเชิงวิพากษ์และการ สะท้อนย้อนคิด (Critical discourse and Reflective Learning) เน้นการจัดการเรียนการสอนที่ให้นิสิตน�ำ ประเด็นปัญหาทีพ่ บเห็นในชุมชนหรือสังคมมาคิดใคร่ครวญ อย่างมีวิจารณญาณและสนทนาเชิงวิพากษ์เพื่อให้เกิด มุมมองทีห่ ลากหลายหรือแตกต่างไปจากเดิม เน้นการใช้ ข้อมูลสารสนเทศเป็นฐานในการตัดสินใจหรือแสดงอารมณ์ ความรู้สึกต่อสิ่งที่เกิดขึ้น และตระหนักถึงศักยภาพของ ตนเองในการมีสว่ นร่วมเพือ่ สร้างให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ที่ดีขึ้น ซึ่งอาจมีการใช้เครื่องมือเพื่อการเอื้ออ�ำนวยให้ ผู้เรียนมีความรู้สึกปลอดภัยและสบายใจในการแสดง

9

มุมมองความคิดของตนเอง เช่น บันทึกสะท้อนความคิด และการเรียนรู้ Facebook หรือการใช้ซอฟต์แวร์ทชี่ ว่ ย ให้ผู้เรียนสามารถแสดงมุมมองความคิดเห็นของตนเอง โดยไม่เปิดเผยตัวตน เช่น Flinga, Today’s Meet เป็นต้น 3.3 การบูรณาการการจัดการเรียนรู้ (Integrated Learning Approach) โดยเป็นการบูรณาการข้ามรายวิชา ทีม่ กี ารวางแผนและก�ำหนดเป้าหมายการเรียนรูร้ ว่ มกัน มี ก ารมอบหมายโครงการให้ ท� ำ ร่ ว มกั น เพื่ อ ให้ นิ สิ ต สามารถมองภาพความสัมพันธ์ระหว่างรายวิชาและอ�ำนวย ความสะดวกในการบริหารจัดการเวลาเรียนให้เอื้อต่อ การเรียนรู้แบบให้บริการชุมชน ผลของการใช้รูปแบบ ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น ของการใช้ รู ป แบบการจั ด การเรี ย น การสอนแบบบูรณาการผ่านการเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลง และการให้บริการชุมชนเพื่อพัฒนาผู้น�ำทางการศึกษา ที่รับผิดชอบต่อสังคม ผู้วิจัยสามารถน�ำเสนอผลและ อภิปรายผลที่เกิดขึ้นใน 3 ระดับ ดังนี้ 1. ผลที่เกิดขึ้นกับนิสิต 1.1 การปรั บ เปลี่ ย นมุ ม มองแนวคิ ด เกี่ ย วกั บ โครงสร้างทางสังคม การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการผ่านการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงและ การให้บริการชุมชนช่วยให้นสิ ติ มีการปรับเปลีย่ นมุมมอง ความคิดเกีย่ วกับโครงสร้างทางสังคม (Merzirow, 2000; Williams & Reeves, 2004) เช่น การที่นิสิตได้ท�ำ โครงการบริการชุมชนให้กบั โรงเรียนเอกชนแห่งหนึง่ ซึง่ เป็น โรงเรียนเอกชนที่จัดการเรียนการสอนเพื่อผู้ด้อยโอกาส จากเดิมที่นิสิตส่วนใหญ่มีมุมมองความคิดว่า โรงเรียน เอกชนส่วนใหญ่จดั การเรียนการสอนเพือ่ ผูเ้ รียนทีม่ ฐี านะ ทางเศรษฐกิจดีและด�ำเนินกิจกรรมเพื่อผลประโยชน์ ทางธุรกิจ โรงเรียนจึงน่าจะมีความพร้อมด้านโอกาสและ ทรัพยากร แต่เมือ่ นิสติ ได้มโี อกาสเข้าไปศึกษาบริบทของ โรงเรียนเอกชนแห่งนีน้ สิ ติ มีการเปลีย่ นแปลงแนวความคิด ดังค�ำกล่าวของนิสติ คนหนึง่ ว่า “ไม่เคยคิดว่าจะมีโรงเรียน เอกชนทีม่ สี ภาพแวดล้อมและขาดทรัพยากรมากขนาดนี้ สภาพแย่กว่าโรงเรียนรัฐบาลอีก”

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


10

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

1.2 ความเชือ่ มัน่ ในศักยภาพแห่งตน ในระยะแรก นิสิตมีความไม่มั่นใจในการตอบรับต่อแนวทางการจัด การเรียนการสอนแบบให้บริการชุมชน เนือ่ งจากผูเ้ รียน มีความคิดว่า เป็นการเรียนที่หนักเกินไปและการเรียน ช่วงเวลาเสาร์-อาทิตย์ อาจไม่มเี วลาทีจ่ ะสามารถด�ำเนิน โครงการเพื่อแก้ปัญหาให้กับชุมชนได้ สอดคล้องกับ Mezirow (2000) ที่ ก ล่ า วว่ า การเรี ย นรู ้ เ พื่ อ การ เปลีย่ นแปลงนัน้ ในระยะแรกจะมีความสับสนและไม่มนั่ ใจ ในความสามารถของตนเองที่สามารถสร้างให้เกิดการ เปลีย่ นแปลง อย่างไรก็ตามเมือ่ ผูส้ อนแสดงบทบาทของ การเป็นผู้เอื้ออ�ำนวย เช่น จัดสรรเวลาให้นิสิตได้มีเวลา ท�ำกิจกรรมร่วมกัน การให้เวลาแก่นิสิตได้เรียนรู้ด้วย ตนเองและท�ำงานเป็นทีมนอกห้องเรียน การส่งเสริม ให้นิสิตช่วยเหลือเกื้อกูลกัน การช่วยประสานติดต่อ สถานศึกษาเครือข่ายที่มีความเป็นกัลยาณมิตรเพื่อเป็น แหล่งเรียนรู้ และการเป็นพี่เลี้ยงให้นิสิตสามารถด�ำเนิน กิจกรรมได้ส�ำเร็จเป็นระยะๆ ท�ำให้นิสิตมีความมั่นใจ ในการด�ำเนินโครงการมากขึน้ ซึง่ สอดคล้องกับที่ Hipot (2557) กล่าวว่า การเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลงช่วยให้ เกิดการเรียนรู้ที่ก้าวข้ามเหนือการยกระดับศักยภาพ แบบเดิมๆ 1.3 การเชือ่ มโยงเนือ้ หาการเรียนรูส้ กู่ ารปฏิบตั จิ ริง เมือ่ นิสติ ได้ผา่ นการเรียนรูต้ ามแนวทางทีพ่ ฒ ั นาขึน้ นิสติ ได้เล็งเห็นประโยชน์ของการจัดการเรียนการสอนทีใ่ ห้ได้ ลงมือปฏิบตั จิ ริง (Experiential learning) (Kolb, 1984) นอกจากนี้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางที่ พัฒนาขึน้ ช่วยให้นสิ ติ เกิดมุมมองใหม่ในวิชาชีพของตนเอง ดังข้อมูลทีน่ สิ ติ คนหนึง่ ได้เขียนข้อความลงใน Facebook วิชาว่า “หนูชอบการเรียนการสอนแบบนี้มาก มันสนุก และได้ประสบการณ์ตรง ท�ำให้หนูเกิดมุมมองใหม่ของ การเป็นครูทจี่ ดั การเรียนการสอนให้ผเู้ รียนได้ปฏิบตั จิ ริง และได้ลงมือท�ำประโยชน์ให้แก่ชุมชน ตอนนี้เราเป็น หุน้ ส่วนกันไปแล้ว” สอดคล้องกับ Dauenhauer et al. (2010) ทีก่ ล่าวว่า การเรียนรูแ้ บบให้บริการชุมชนช่วยให้ เกิดการเชือ่ มโยงเนือ้ หากับการเรียนรูผ้ า่ นการปฏิบตั จิ ริง

นอกจากนีน้ สิ ติ ส่วนใหญ่เห็นว่าการจัดการเรียนการสอน แบบบูรณาการโครงการกิจกรรมระหว่างวิชาช่วยให้เกิด การเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวมและมีผลต่อการเรียนรู้ที่ มากกว่า ดังค�ำกล่าวทีว่ า่ “การเรียนทีม่ อบหมายงานในวิชา ต่างๆ มีมากเกินไป การบูรณาชิ้นงานระหว่างรายวิชา โดยให้ทำ� โครงการใหญ่โครงการเดียวช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ได้มากกว่า” 1.4 การมี จิ ต ส� ำ นึ ก ความรั บ ผิ ด ชอบเพื่ อ การ เปลีย่ นแปลงสังคมให้ดขี นึ้ Bringle & Hatcher (1996) การให้นสิ ติ ได้ศกึ ษาบริบทสภาพแวดล้อมทีเ่ ป็นจริงของ ชุมชนช่วยให้นิสิตเกิดมุมมองใหม่เกี่ยวกับบทบาทของ ผูน้ ำ� ทางการศึกษากับชุมชน ดังค�ำกล่าวว่า “บางครัง้ เรา ไม่ให้ความส�ำคัญกับชุมชนมากเท่าที่ควร ส่วนใหญ่ สถานศึกษามองเพียงว่าชุมชนจะให้อะไรแก่เรา เช่น ระดมทรัพยากรจากชุมชน แต่เราไม่เคยมองว่า เราสอน ลูกหลานเขาเราเข้าใจเขามากน้อยแค่ไหนและเราจะ สามารถตอบสนองความต้องการของเขาได้อย่างไร” นอกจากนีผ้ เู้ รียนหลายคนสะท้อนความคิดว่า “มีความรูส้ กึ อิม่ เอมใจทีไ่ ด้ทำ� ประโยชน์ให้แก่ชมุ ชน” เช่น การอบรม เพิม่ ทักษะความรูเ้ ทคนิคการจัดการเรียนการสอนให้แก่ ครูทขี่ าดโอกาสการพัฒนา การอบรมสร้างอาชีพให้แก่คน ในชุมชน โดยในการจัดกิจกรรมนั้นนิสิตมีการวิเคราะห์ ศักยภาพที่ตนเองมีอยู่เพื่อน�ำออกไปท�ำประโยชน์ให้กับ ผู้อื่น เป็นต้น 1.5 ทักษะการท�ำงานเป็นทีม การเรียนรู้ด้วย ตนเอง และการคิดเชิงวิพากษ์ การกระตุ้นให้นิสิตมี วาทกรรมเชิงวิพากษ์ผา่ นการน�ำประเด็นปัญหาของชุมชน มาอภิปรายพบว่า นิสิตมีความกล้าในการแสดงมุมมอง ความคิดมากขึน้ (Schön, 1983) เห็นได้จากพฤติกรรม ของนิสติ บางคนทีจ่ ากเดิมไม่มสี ว่ นร่วมในชัน้ เรียนกลับมี ส่วนร่วมมากขึ้น นอกจากนี้พบว่า นิสิตบางคนที่ไม่ค่อย แสดงมุมมองความคิดในชัน้ เรียนกลับสามารถแสดงมุมมอง ความคิดผ่านบันทึกสะท้อนการเรียนรู้ได้ดี นอกจากนี้ การที่นิสิตริเริ่มท�ำโครงการบริการชุมชนเพื่อตอบสนอง ความต้องการจ�ำเป็นของชุมชนท�ำให้นิสิตต้องแสวงหา

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ความรูเ้ พิม่ เติมผ่านวิธกี ารทีห่ ลากหลาย (Harkavy, 2004) เช่น การแลกเปลีย่ นเรียนรูจ้ ากเพือ่ นในกลุม่ การเรียนรู้ จากสือ่ ออนไลน์ การหาความรูจ้ ากผูร้ ู้ การระดมทรัพยากร ผ่านเครือข่ายทางสังคมทีแ่ ต่ละคนมีอยู่ เป็นต้น ดังเช่น กรณี การจัดท�ำโครงการอบรมครูในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เพือ่ เป็นแหล่งรายได้ให้กบั นักเรียนทีด่ อ้ ยโอกาส นิสติ ได้ แสวงหาความรูจ้ ากเพือ่ นครูในโรงเรียนทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ แล้วมาทดลองท�ำด้วยตนเอง จากนัน้ พัฒนาสือ่ การอบรม เพื่อน�ำมาสอนครูและนักเรียนในโรงเรียนที่ไปให้บริการ ชุมชน เป็นต้น 2. ผลที่เกิดขึ้นกับผู้สอน แม้วา่ ผลทีเ่ กิดขึน้ กับผูส้ อนไม่ได้อยูใ่ นจุดประสงค์ ที่ตั้งไว้ของรูปแบบที่พัฒนาขึ้น เนื่องจากเป็นรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนทีม่ งุ่ เน้นพัฒนานิสติ และชุมชน เป็นส�ำคัญ แต่จากการจัดการเรียนการสอนตามแนวทาง ที่พัฒนาขึ้นผู้วิจัยได้สะท้อนผลการด�ำเนินงานและการ เรียนรูร้ ว่ มกันพบว่า เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอน ทีป่ รับเปลีย่ นรูปแบบการท�ำงานของผูส้ อนให้มกี ารท�ำงาน ร่วมกันมากขึน้ จากเดิมทีเ่ ป็นการสอนแบบแยกรายวิชา เน้นเนื้อหาองค์ความรู้มาเป็นการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือกระท�ำ (Active Learning) เล็ง เป้าหมายผลลัพธ์ดา้ นคุณลักษณะของนิสติ (Character Building) อย่างเป็นองค์รวม (Holistic learning) มากขึน้ อีกทั้งท�ำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเทคนิควิธีการ จัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนมากขึ้น 3. ผลทีเ่ กิดขึน้ กับชุมชน/สถานศึกษาเครือข่ายทีเ่ ป็น แหล่งเรียนรู้ จากการสะท้อนผลการเรียนรู้ร่วมกันกับชุมชน พบว่า ชุมชนมีความพึงพอใจในการร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางที่พัฒนาขึ้น เนื่องจาก ชุมชนหรือสถานศึกษาเครือข่ายได้รบั ประโยชน์จากการที่ ผูเ้ รียนได้ให้บริการแก่ชมุ ชน เช่น กรณีทโี่ รงเรียนเอกชน ได้รบั บริการจากนิสติ ให้ไปอบรมการจัดการเรียนรูท้ สี่ ง่ เสริม การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนผ่านกิจกรรม ปั้นดินน�้ำมัน ซึ่งในโครงการนี้มีนิสิตที่ได้รับรางวัลระดับ

11

ประเทศในด้านการปั้นดินน�้ำมันไปอบรมครูในโรงเรียน เอกชนแห่งนี้ ท�ำให้ครูในโรงเรียนได้ตระหนักเห็นศักยภาพ ที่แตกต่างของผู้เรียน ดังค�ำพูดของครูในโรงเรียนนี้ว่า “กิจกรรมปัน้ ดินน�ำ้ มันท�ำให้เห็นว่า นักเรียนทีเ่ ราเคยคิดว่า เขาเป็นเด็กไม่เก่งกลับมีความสามารถในการปัน้ ดินน�ำ้ มัน แล้วเล่าเรือ่ งราวได้เก่งกว่าเด็กทีเ่ ราคิดว่า เขาเรียนเก่งอีก” ซึง่ จากการติดตามผลความยัง่ ยืนในการน�ำความรูท้ ไี่ ด้รบั การอบรมไปใช้จดั กิจกรรมการเรียนการสอนกับนักเรียน ในโรงเรียนพบว่า โรงเรียนยังมีการน�ำกิจกรรมดังกล่าว ไปใช้กับนักเรียนอยู่จนทุกวันนี้ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการ เรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลงช่วยให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ที่ยั่งยืนด้วยเช่นกัน (Hipot, 2557) แม้ ว ่ า การน� ำ รู ป แบบดั ง กล่ า วไปใช้ พ บว่ า มี ประสิ ท ธิ ผ ลตรงตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ผ ลลั พ ธ์ ที่ ต ้ อ งการ ให้เกิดขึ้นของรูปแบบได้ในระดับหนึ่ง การจัดการเรียน การสอนตามแนวทางดังกล่าวพบว่า มีข้อจ�ำกัดในทาง ปฏิบัติด้วยเช่นกัน กล่าวคือ ผู้สอนในหลักสูตรที่น�ำ รายวิชามาบูรณาการกันควรมีกระบวนทัศน์ในการจัด การเรียนการสอนที่อยู่บนฐานความเชื่อที่คล้ายคลึงกัน มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ อย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ยังมีข้อจ�ำกัดด้านการออกแบบ และบริหารหลักสูตร (Berman, 1990) ทีต่ อ้ งเกีย่ วข้อง กับการจัดตารางเวลาการเรียนการสอนให้เอือ้ อ�ำนวยต่อ การด�ำเนินกิจกรรมตามแนวทางดังกล่าว และที่ส�ำคัญ คือ การวิเคราะห์ภาพความสัมพันธ์และเชื่อมโยงของ รายวิชาต่างๆ ในหลักสูตร รวมถึงข้อจ�ำกัดส่วนบุคคล ได้แก่ มุมมอง ความคิด อารมณ์ ความรูส้ กึ ประสบการณ์ ระบบความสั ม พั น ธ์ ที่ อ าจเข้ า มามี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ การน�ำแนวทางดังกล่าวไปใช้

สรุป

การพัฒนาสังคมประเทศให้มคี วามยัง่ ยืนเริม่ ต้นจาก การพัฒนาเยาวชนของชาติให้มคี วามรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งการศึกษาเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการสร้างอนาคต ของชาติ การพัฒนาผูน้ ำ� ทางการศึกษาให้มจี ติ ส�ำนึกด้าน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


12

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นบทบาทหน้าที่ส�ำคัญของ สถาบันผลิตครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้น�ำทาง การศึกษา ดังนัน้ การวิจยั และออกแบบการจัดการเรียน การสอนเพื่อสร้างมโนส�ำนึกความรับผิดชอบต่อสังคม ของผู้น�ำทางการศึกษาควบคู่กับการพัฒนาสมรรถนะ ด้านการบริหารจัดการจะเป็นกุญแจส�ำคัญในการพัฒนา การศึกษาให้นำ� มาซึง่ ความยัง่ ยืนและความเจริญงอกงาม สูส่ งั คม รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ผ่านการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงและการให้บริการ ชุมชนเพือ่ สร้างผูน้ ำ� ทางการศึกษาทีร่ บั ผิดชอบต่อสังคม

เป็นเพียงแนวทางหนึง่ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เพือ่ ให้ผสู้ นใจสามารถ น�ำแนวทางดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในบริบททีค่ ล้ายคลึงกัน การพัฒนาผู้น�ำทางการศึกษาและการจัดการศึกษาที่ ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมยังต้องการนวัตกรรม และองค์ความรู้เพื่อน�ำสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม จึงเป็นบทบาทหน้าทีข่ องนักวิชาการในการช่วยสร้างสรรค์ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนที่สามารถน�ำสู่การ พัฒนาผูน้ ำ� ทางการศึกษาและการจัดการศึกษาทีส่ ง่ เสริม ความรับผิดชอบต่อสังคมได้อย่างยั่งยืนต่อไป

เอกสารอ้างอิง

พร้อมพิไล บัวสุวรรณ. (2551). Corporate social responsibility (CSR) กับการสนธิพลังเพื่อพัฒนาสถานศึกษา อัจฉริยะ. Kasetsart Applied Business Journal, 2(1), 1-12. วิจารณ์ พานิช. (2558). การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: บริษัท เอส.อาร์.พริ้นติ้งแมสโปรดักส์ จ�ำกัด. ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการสูพ่ หุปญ ั ญา. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย. อุดมศักดิ์ กุลครอง. (2553). ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงกับความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้บริหารสถานศึกษา. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. Bamber, P. & Hankin, L. (2011). Transformative learning through service-learning: no passport required. Education and Training, 53(2/3), 120-190. Barnett, R. (1997). Higher Education: A Critical Business. Buckingham: SRHE/Open University Press. Berman, S. (1990). Educating for Social Responsibility. Retrieved April 21, 2018, from http://www. ascd.org/ASCD/pdf/journals/ed_lead/el_199011_berman.pdf Bringle, R. G. & Hatcher, J. A. (1996). Implementing Service Learning in Higher Education. Higher Education. Retrieved April 21, 2018, from https://digitalcommons.unomaha.edu/slcehighered/186 Dauenhauer, J. A., Steiz, D. W., Aponte, C. I. & Faria, D. F. (2010). Enhancing student gerocompetencies: Evaluation of an intergenerational service-learning course. Journal of Gerontological Social Work, 53(4), 319-335. Forbes, S. H. (1996). Values in Holistic Education. Paper presented at the Third Annual Conference on Education, Spiritualty and the Whole Child, Roehampton Institute, London, June 28, 1996. Freire, P. (1972). Pedagogy of the oppressed. London: Penguin. Harkavy, I. (2004). Service-learning and the development of democratic universities, democratic schools, and democratic good societies in the 21st century. In M. Welch & S. Billig (Eds.), New perspectives in service-learning: Research to advance the field. (pp. 3-22). Greenwich, ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

13

CN: Information Age. Hipot. (2557). Integral Human Potential Transformation. Hipot, 1(2). Jayavant, S. (2016). Mapping the Complexities of Effective Leadership for Social Justice Praxis in Urban Auckland Primary Schools. Education Sciences, 6(11), 1-25. Kemmis, S. & McTaggart, R. (Eds.). (1988). The Action Research Planner (3rd ed.). Geelong, Victoria: Deakin University Press. Kolb, D. (1984). Experiential learning: Experience as the source of learning and development. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. Marshall, C. (2004). Social Justice Challenges to Educational Administration: Introduction to a Special Issue. Educational Administration Quarterly, 40(1), 5-15. Mezirow, J. & Associates. (2000). Learning as transformation: Critical perspectives on a theory in progress. San Francisco: Jossey-Bass. Mezirow, J. (1997). Transformative Learning: Theory to Practice. New Directions for Adult and Continuing Education, 74, 5-12. Mezirow, J. (2000). Learning to think like an adult: Core concepts of transformation theory. In J. Meizrow & Associates, (Eds.). Learning as transformation: Critical perspectives on a theory in progress. (pp. 3-34). San Francisco: Jossey-Bass. Miller, D. (1999). Principles of social justice. Cambridge, MA: Harvard University Press. Patel, V. N. (2003). A Holistic Approach to Learning and Teaching Interaction: Factors in the Development of Critical Learners. The International Journal of Educational Management, 17(6/7), 272-284. Sable, D. (2007). The impact of contemplative practices on transformative learning. Proceeding of the Seventh International Transformative Learning Conference, October 24-26, 2007 at Albuquerque, New Mexico, 288-293. Schön, D. (1983). The Reflective Practitioner: How professionals think in action. London: Temple Smith. Shields, C. M. (2003). Good intentions are not enough: Transformative leadership for communities of difference. Lanham, MD: Scarecrow. Sihem, B. (2013). Social Responsibility of Educators. International Journal of Educational Research and Technology, 4(1), 46-51. Taylor, E. W. (2000). Analyzing research on transformative learning theory. In J. Mezirow & Associates, (Eds.). Learning as transformation. (pp. 285-328). San Francisco: Jossey-Bass. Taylor, E. W. (1998). The Theory and Practice of Transformative Learning: A Critical Review. Center on Education and Training for Employment. Columbus: The Ohio State University. Taylor, K., Marienau, C. & Fiddler, M. (2000). Developing adult learners: Strategies for teachers ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


14

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

and trainers. San Francisco: Jossey-Bass. United Nation. (2016). Education for Social Responsibility. Retrieved April 21, 2018, from https:// sustainabledevelopment.un.org/partnership/?p=2418 Williams, N. & Reeves, P. (2004). MSW students go to burn camp: Exploring social work values through service-learning. Social Work Education, 23(4), 383-398.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

15

แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ธัญชาติ ตามความต้องการของลูกค้าโดยประยุกต์ใช้คาโนโมเดล THE GUIDELINES FOR THE DESIGN AND DEVELOPMENT OF CEREAL GRAIN PRODUCT ACCORDING TO THE NEEDS OF THE CUSTOMER BY APPLYING THE KANO MODEL รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร1 ภาคภูมิ ภัควิภาส2 กิตติโชค นิธิเสธียร3 จตุรงค์ โตพานิช4 และสมพร ศรีฉ�่ำ5 Ratthanan Pongwiritton1 Pakphum Pakvipas2 Kittichok Nithisathian3 Jaturong Thopanich4 and Somporn Srichum5 1,2ศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญาและนวัตกรรมชุมชน 3หลักบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด 4,5คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร 1,2Information Center of Knowledge, Local Wisdom and Community Innovation 3Master of Business Administration Program, Stamford International University 4,5School of Management, Shinawatra University

บทคัดย่อ

การวิจยั มีจดุ ประสงค์เพือ่ ศึกษาส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่าย ด้านการส่งเสริมทางการตลาด และการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ธัญชาติที่เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้า โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคคลทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 20 ปีขนึ้ ไปทีเ่ คยมีประสบการณ์ในการซือ้ สินค้า อาหารเช้าพร้อมบริโภค (ซีเรียล) ในเขตอ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 400 ราย ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารธัญชาติในภาพรวมอยู่ในระดับมากในทุกด้าน (X = 3.85, S.D. = 0.84) ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) (X = 3.87, S.D. = 0.59) ด้านราคา (Price) (X = 3.97, S.D. = 0.65) ด้านช่องทางการจ�ำหน่าย (Place) (X = 4.11, S.D. = 0.82) ด้านการส่งเสริมทางการตลาด (Promotion) (X = 3.46, S.D. = 0.35) แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ธัญชาติที่เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้า ที่ท�ำให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจที่ควรต้องมีในผลิตภัณฑ์ธัญชาติคือ 1) มีมาตรฐาน อย. รับรอง 2) มีตราสินค้าติด ที่แสดงความใส่ใจในสุขภาพ และ 3) มีวันผลิตและวันหมดอายุบนบรรจุภัณฑ์ ค�ำส�ำคัญ: การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ธัญชาติ ส่วนประสมทางการตลาด คาโนโมเดล

Corresponding Author E-mail: dr_tok2029@hotmail.com


16

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

This study aimed to investigate the marketing mix’s factors in terms of product, price, place of distribution and promotion, as well as the form of the cereal grain product that meet the customers’ needs. The questionnaires were used to collect information from 400 respondents who age more than 20 years old that live in Muang, Chiang Mai and had experience in purchase and consume ready-to-eat breakfast (cereals). The results showed that the marketing mix’s factors that affect the decision to purchase cereal grain product in overall was at a high level for all aspects (X = 3.85, S.D. = 0.84), which included product aspect (X = 3.87, S.D. = 0.59), in terms of price aspect (X = 3.97, S.D. = 0.65), in terms of place aspect (X = 4.11, S.D. = 0.82), and in terms of promotion aspect (X = 3.46, S.D. = 0.35). The guidelines for the product design and development of cereal grain product that meet the customers’ needs and able to satisfy the customers are as follows; 1) The product should be standardized and certified by Thai FDA. 2) The product should show the brand or logo that represents consumer health consciousness. And 3) Manufacturing and expiry date should be specified on packaging clearly. Keywords: Product Design and Development, Cereal Grain, Marketing Mix, Kano Model

บทน�ำ

ข้ า วเหนี ย วด� ำ หรื อ เรี ย กตามภาษาพื้ น เมื อ งของ ทางเหนือว่า ข้าวก�่ำ เป็นผลผลิตทางการเกษตร และ เรียกตามลักษณะสีของเมล็ดที่มีสีม่วงด�ำ หรือแดงก�่ำ นิยมปลูกมากในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ของประเทศ ข้าวก�ำ่ มีคณ ุ สมบัตติ า้ นการเกิด ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน่ (Antioxidant) ช่วยการหมุนเวียน ของกระแสโลหิต ชะลอการเสือ่ มของเซลล์รา่ งกาย และ พบว่า ข้าวก�ำ่ สีม่วงกลุ่มอินดิกา (Indica Type) อย่าง ข้าวเหนียวก�่ำของไทยมีสารแอนโทไซยานิน (Anthocyanin) ชนิดที่ชื่อว่า Cyanindin 3-Glucoside พบว่า มีคณ ุ สมบัตใิ นการยับยัง้ การเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้ ยังเต็มไปด้วยแกมม่าโอไรซานอล (Gamma oryzanol) สูง (มีคา่ ORAC สูงกว่าพืชตระกูลเบอร์ร)ี่ ช่วยลดคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ และเพิ่มระดับของไขมันชนิดดีในเลือด ยับยั้งการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร ยับยั้งการรวมตัว ของเม็ดเลือด เพิ่มระดับฮอร์โมนอินซูลินของคนที่เป็น โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และยังช่วยยับยัง้ การเจริญเติบโต ของเซลล์มะเร็งในกระเพาะอาหารได้ด้วย มีโปรตีน

วิตามินอี มีธาตุเหล็กสูง รวมถึงธาตุอนื่ ๆ เช่น แมกนีเซียม และเป็นแหล่งใยอาหารที่ดี (Dietary Fiber) ช่วยให้ ระบบขับถ่ายเป็นปกติ และยังช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกัน ทั้งยัง มีหน้าที่ต้านการหืนของไขมันในร�ำข้าว และของนมผง ไขมันเต็ม นอกจากจะใช้ปอ้ งกันโรคแล้ว ตามภูมปิ ญ ั ญา ของชาวเหนือและอีสานยังน�ำข้าวเหนียวด�ำหรือข้าวก�่ำ มาเป็นยารักษาโรคได้ด้วย อย่างโรคตกเลือดในสตรี ในสมัยก่อนหากสตรีคลอดบุตรแล้วเกิดอาการตกเลือด ก็จะน�ำเอาต้นข้าวก�่ำมาเคี่ยวน�้ำให้งวดลงเล็กน้อยแล้ว ให้รับประทาน (Hinthao, 2012) การบริโภคมีการ เปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา การพัฒนารูปแบบทางธุรกิจ และเลื อ กสิ น ค้ า เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ พฤติ ก รรมของ ผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นแปลงเป็นสิง่ ส�ำคัญ รวมไปถึงวัฒนธรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่และความต้องการที่แตกต่างของ ผู้คนในแต่ละพื้นที่ยังมีแนวโน้มเป็นที่นิยมไปถึงกลุ่มคน รักสุขภาพ ผู้บริโภคสนใจสินค้าและบริการเพื่อสุขภาพ มากขึน้ ตัวอย่างทีเ่ ห็นชัดคือ ผลิตภัณฑ์อาหาร ไม่เพียงแต่ ผลิตภัณฑ์ประเภท organic food เท่านัน้ แต่เราจะเห็น ผูบ้ ริโภคให้ความสนใจผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารสุขภาพ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

(functional food) ซึ่งมีการเพิ่มส่วนผสมเพื่อเสริม ร่างกายหรือป้องกันโรคต่างๆ รวมถึงวิตามินและยาบ�ำรุง ต่างๆ (Green Net, 2014) ผลิตภัณฑ์ธัญชาติเป็นงานวิจัยที่เกิดขึ้นจากคณะ อุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ให้ ความส�ำคัญกับการผลิตเป็นอาหารเช้าพร้อมบริโภค เนื่องจากเป็นอาหารที่เหมาะกับทุกเพศทุกวัยและเป็น การสนับสนุนให้บริโภคอาหารเช้า และใช้กระบวนการ เอกซ์ทรูชันในการผลิต เนื่องจากเป็นกระบวนการผลิต ทีไ่ ม่ซบั ซ้อน ใช้เวลาสัน้ และมีของเสียจากกระบวนการ ผลิตต�ำ่ โดยเลือกใช้ขา้ วก�ำ่ เป็นวัตถุดบิ หลัก เริม่ จากการ ท�ำให้ข้าวก�่ำมีค่า GI ลดลง โดยท�ำให้มีปริมาณสตาร์ช ทีต่ า้ นทานต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ในระบบทางเดินอาหาร เพิม่ ขึน้ ซึง่ ในผลิตภัณฑ์ธญ ั ชาติจะใช้การนึง่ ข้าวเปลือกก�่ำ แล้วท�ำให้เย็นเพื่อให้เกิดรีโทรกราเดชันของแอมิโลส (retrogradation) ผสมกับแป้งถัว่ เขียวนึง่ ทีผ่ า่ นการอบแห้ง และบดละเอียด ซึ่งมีค่า GI ในระดับต�่ำถึงปานกลาง (Ong-in & Naruenartwongsakul, 2010) เสริมด้วย ร�ำข้าวและอินนูลินซึ่งเป็นใยอาหารชนิดไม่ละลายน�้ำ และละลายได้ในน�้ำตามล�ำดับ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มี ใยอาหารสูงและมีคา่ GI ต�ำ่ ซึง่ เป็นประโยชน์ตอ่ ผูบ้ ริโภค ทั้ ง ที่ มี สุ ข ภาพดี แ ละผู ้ บ ริ โ ภคกลุ ่ ม ที่ มี ป ั จ จั ย เสี่ ย งต่ อ การเป็นโรค เช่น โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคอ้วน นอกจากนี้ยังช่วยในเรื่องระบบการขับถ่ายซึ่งส่งผลดี ต่อสุขภาพ ลดความเสี่ยงของการเป็นโรคมะเร็งล�ำไส้ ลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือด (Cui & Roberts, 2009) อีกทัง้ ยังเป็นการเพิม่ มูลค่าของข้าวก�ำ่ ให้สงู ขึน้ เพิม่ ความ หลากหลายให้แก่ผลิตภัณฑ์จากข้าวก�ำ่ และเป็นการสร้าง ช่องทางส�ำหรับประเทศให้สามารถขยายตลาดผลิตภัณฑ์ ข้าวก�่ำได้อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น รวมทั้งมีส่วนช่วย ในการอนุรกั ษ์และศึกษาวิจยั ข้าวพันธุพ์ นื้ เมืองของประเทศ โดยในช่วงเริม่ ต้นของผลิตภัณฑ์ธญั ชาตินยี้ งั ไม่มบี รรจุภณ ั ฑ์ และการวิจัยเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาดเพื่อที่ จะใช้ประโยชน์จากการวิจยั เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลขัน้ พืน้ ฐาน ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ดังนั้นจากบริบทข้างต้นท�ำให้ คณะผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษารูปแบบทางธุรกิจผลิตภัณฑ์

17

และส่วนประสมทางการตลาดทีเ่ หมาะสมกับการบริโภค เพือ่ สุขภาพของผูบ้ ริโภคยุคใหม่เพือ่ การพัฒนาการแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ธัญชาติสามารถน�ำไปวางแผนการผลิต ในเชิงพาณิชย์ได้

วัตถุประสงค์ในการวิจัย

เพือ่ ศึกษาส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่าย ด้านการส่งเสริม ทางการตลาด และการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ธัญชาติที่เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้า

วิธีการด�ำเนินการวิจัย

1. ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยมุ่งศึกษาองค์ประกอบของการศึกษา แนวคิดส่วนประสมทางการตลาดและการออกแบบ โดยการด�ำเนินวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณและมุ่งเน้น ในลักษณะของการวิจยั แบบพหุเทศะกรณีศกึ ษา (Multisite Multi-Research) จากการทบทวนแนวคิดทฤษฎีสามารถ สรุปแนวคิดทฤษฎีดังนี้ 1.1 แนวคิดเกีย่ วกับส่วนประสมทางการตลาด McCarthy & Perreault (1996: 46-49) ได้กล่าวถึงส่วนประสมทางการตลาด 4’Ps ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) สถานทีห่ รือช่องทาง การจัดจ�ำหน่าย (Place) และการส่งเสริมการขาย (Promotion) ซึ่งทั้ง 4’Ps ต่างมีความจ�ำเป็นในการน�ำ มาใช้วางแผนด้านการก�ำหนดส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) แต่ขณะเดียวกันก็มีบางตัวที่มีความ ส�ำคัญกว่าตัวอืน่ ๆ ดังค�ำกล่าวทีว่ า่ ไม่มสี งิ่ ใดทีจ่ ะโดดเด่น อยูเ่ พียงสิง่ เดียว เมือ่ ส่วนผสมทางการตลาดได้ถกู พัฒนา กระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ จะมีความ ใกล้เคียงกัน ชีใ้ ห้เห็นว่า ปัจจัยเหล่านัน้ ล้วนมีความส�ำคัญ ทั้งสิ้น และเมื่อน�ำส่วนผสมทางการตลาดมาพิจารณา โดยกว้างจะสังเกตเห็นว่า ตัวผลิตภัณฑ์เองจะเป็นตัว สร้างความพึงพอใจให้แก่ลกู ค้าเป้าหมาย การมีชอ่ งทาง น�ำสินค้าวางในสถานทีท่ ลี่ กู ค้าเข้าถึงการส่งเสริมการขาย เพือ่ สือ่ สารกับลูกค้าเป้าหมายและผลิตภัณฑ์ได้ถกู ออกแบบ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


18

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

และวางแผนไว้เพือ่ ผูบ้ ริโภค และตัง้ ราคาสินค้าโดยประมาณ จากพฤติกรรมในการซื้อหรือมูลค่าของสินค้าที่ผู้บริโภค ใช้อยูใ่ นปัจจุบนั การสร้างความพึงพอใจให้ลกู ค้าเป้าหมาย และผูบ้ ริโภคมีเส้นทางหลายทาง เช่น ผลิตภัณฑ์สามารถ มีหลายขนาดและรูปร่าง รวมไปถึงระดับคุณภาพของ สินค้า และระดับการบริการที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ บรรจุภณ ั ฑ์สามารถมีหลากหลายขนาด หลายสี หรือวัสดุ ตรายีห่ อ้ สินค้า และการรับประกันสามารถเปลีย่ นแปลงได้ นอกจากนีก้ ารโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทงั้ จากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ป้ายโฆษณา ก็สามารถเลือกใช้ ตามความเหมาะสมตามแต่เจ้าของบริษัท ผู้ผลิตหรือ จัดจ�ำหน่ายจะพิจารณาราคาของสินค้าก็สามารถปรับขึน้ หรือลงได้ ด้วยหลายเหตุปัจจัยจึงเป็นแรงสนับสนุนให้ องค์กรตัดสินใจเลือกกระบวนการส่งเสริมการตลาดโดยใช้ แนวคิดส่วนผสมทางการตลาดมาใช้ในองค์กรของตน 1.2 การวิเคราะห์คาโนโมเดล (Kano’s model) การศึกษาถึงความต้องการของลูกค้าช่วยให้ เข้าใจถึงความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี คาโนโมเดล สร้างขึ้นโดย ดร.โนริยากิ คาโน ผู้ช�ำนาญการทางด้าน คุณภาพชาวญี่ปุ่น (Kano et al., 1984) สาเหตุที่ต้อง น�ำคาโนโมเดลมาใช้ในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เนือ่ งจากความพึงพอใจของลูกค้าทีจ่ ะมีตอ่ ผลิตภัณฑ์นนั้ มีความสัมพันธ์อย่างยิง่ กับความสามารถในการตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า ซึ่งต้องให้เกิดความพึงพอใจ สูงสุด โดยที่จะต้องมีความบกพร่องที่ท�ำให้ลูกค้าเกิด ความไม่พงึ พอใจน้อยทีส่ ดุ หรือรวมเรียกว่าคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์นนั่ เอง แต่เนือ่ งจากพฤติกรรมและความคาดหวัง ในผลิตภัณฑ์ของลูกค้ามีหลายรูปแบบ หลายส่วน หลาย ปัจจัย และเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลาก็ยงิ่ ท�ำให้ การวิเคราะห์ยากมากตามไป คาโนโมเดลแบ่งคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ออกเป็น 3 ส่วนดังนี้ 1) ส่วนที่ 1 เรียกว่า ส่วนทีท่ ำ� ให้ลกู ค้าไม่พอใจ (Dissatisfies) เป็นลักษณะทางคุณภาพทีล่ กู ค้าคาดหวัง โดยลูกค้าจะบอกหรือไม่บอกก็ได้ แต่อย่างไรก็ตามถ้า คุณลักษณะดังกล่าวขาดหายไป ลูกค้าจะเกิดความไม่ พึงพอใจขึน้ มาในทันที เช่น ความเรียบร้อยของผลิตภัณฑ์

ซื้อกระเป๋าสตางค์ก็ต้องมีรอยเย็บที่ดี มีหนังที่สวยงาม ไม่มรี อยด่างด�ำ หรือซือ้ ทีวกี ต็ อ้ งมีคมู่ อื การใช้งาน ซือ้ มาแล้ว ก็ต้องสามารถใช้งานปุ่มต่างๆ ที่มีได้ตามที่เขียนบอกไว้ เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ส�ำคัญกับลูกค้ามากๆ โดยทาง ผู้ประกอบการสามารถตรวจหาได้จากการร้องเรียน ของลูกค้าที่มีตามศูนย์บริการหรือตัวแทนจ�ำหน่ายได้ เนื่องจากว่าหากผลิตภัณฑ์ไม่สามารถท�ำได้ตามความ ต้องการดังกล่าวลูกค้าจะร้องเรียนในทันที 2) ส่วนที่ 2 เรียกว่า ส่วนทีท่ ำ� ให้ลกู ค้าพอใจ (Satisfies) เป็นลักษณะทางคุณภาพที่ลูกค้าต้องการ ให้มใี นผลิตภัณฑ์ ในกรณีทสี่ ามารถเพิม่ คุณลักษณะทาง คุณภาพเหล่านีม้ ากขึน้ จะท�ำให้ความพึงพอใจของลูกค้า ที่มีต่อผลิตภัณฑ์มีมากขึ้นด้วย หรือมีลักษณะที่แปรผัน ตรงกับความพึงพอใจของลูกค้า เช่น การเพิม่ ความเร็วในการ ใช้งานของคอมพิวเตอร์ การปรับปรุงให้ไมโครซอฟต์ออฟฟิศ สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น การเพิ่มความจุหน่วยความจ�ำ ในโทรศัพท์ หรืองานบริการทีส่ ามารถให้บริการได้รวดเร็ว มากขึน้ ซึง่ ความพึงพอใจแบบนีเ้ มือ่ ลูกค้าเห็นว่าผลิตภัณฑ์ ใดๆ มีเหมือนกันลูกค้าก็จะไปพิจารณาด้านอื่นๆ ต่อไป เช่น ราคาของผลิตภัณฑ์ที่ต�่ำกว่า เป็นต้น 3) ส่วนที่ 3 เรียกว่า ส่วนที่ท� ำให้ลูกค้า ประทับใจ (Delighter) เป็นลักษณะทางคุณภาพทีม่ แี ล้ว จะท�ำให้ลูกค้าเกิดความประหลาดใจหรือเรียกว่าเกิน ความคาดหวังที่จะมี เนื่องจากว่าเป็นสิ่งที่ลูกค้าไม่ได้ คาดหวัง เมื่อผลิตภัณฑ์ไม่มีสิ่งเหล่านี้ก็ไม่ได้ท�ำให้ลูกค้า รู้สึกไม่ดีแต่อย่างใด ซึ่งในมุมมองของธุรกิจ สิ่งเหล่านี้ ถือว่าเป็นตัวแปรส�ำคัญในการสร้างความแตกต่างให้กับ ผลิตภัณฑ์ เช่น ไฟอ่านหนังสือทีบ่ ริเวณเบาะหลังรถยนต์ ที่วางแก้วน�้ำในรถยนต์ หรือยิ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการ เปลีย่ นแปลงรวดเร็ว เช่น โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ส่วนทีท่ ำ� ให้ ลูกค้าเบิกบานก็จะสร้างจุดเด่นที่แตกต่างได้มาก เช่น โทรศัพท์ที่มีหลายภาษา สามารถฟังเพลงได้ ถ่ายรูปได้ เป็นออร์แกไนเซอร์ได้ (Organizer) คุณสมบัติเหล่านี้ สามารถเพิ่มคุณค่าให้ผลิตภัณฑ์ได้เป็นอย่างมาก แต่ หากว่าในอนาคตผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งสามารถพัฒนา จนกระทัง่ สิง่ ทีเ่ ป็นส่วนทีท่ ำ� ให้ลกู ค้าประทับใจนีจ้ ะเปลีย่ น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

สถานะเป็นมาตรฐานความคาดหวังของลูกค้าในทันที ตามทิศทางของลูกศรในตารางที่ 2 เหมือนผลิตภัณฑ์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ปัจจุบัน การถ่ายรูปหรือการฟังเพลง ถือเป็นเรื่องปกติหรือความคาดหวังพื้นฐานไปแล้ว จากคาโนโมเดลทีถ่ กู แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ส่วนทีท่ ำ� ให้ลกู ค้าไม่พอใจ (Dissatisfies) ทีเ่ ป็นส่วน ทีผ่ ลิตภัณฑ์ตอ้ งมีและห้ามพลาด ส่วนทีท่ ำ� ให้ลกู ค้าพอใจ (Satisfies) หรือส่วนที่เราต้องพัฒนาให้มากขึ้นเรื่อยๆ และส่วนที่ทำ� ให้ลูกค้าประทับใจ (Delighter) หรือส่วน ที่จะเกิดความประหลาดใจ (Surprise) ให้กับลูกค้า ซึ่ง ผูอ้ อกแบบและพัฒนาต้องพยายามค้นหาให้ได้เพือ่ สร้าง จุดเด่นดึงดูดให้ผลิตภัณฑ์ดูน่าสนใจต่อลูกค้า ซึ่งย่อม สามารถเพิ่มยอดขายและจ�ำนวนลูกค้าได้จ�ำนวนมาก แต่อย่างไรก็ตามความสามารถพื้นฐานของผลิตภัณฑ์ก็ จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมาก่อนส่วนอืน่ ๆ จนลูกค้าเชือ่ มัน่ หรือถือว่า ปกติให้ได้ ขั้ น ตอนวิ เ คราะห์ ค าโนโมเดล แบ่ ง เป็ น 3 ขัน้ ตอน ดังนี้ 1) การจ�ำแนกความต้องการของลูกค้า โดยเริ่มต้นจากการเรียกร้องของลูกค้าหรือ (Voice of Customer) ซึ่งโดยปกติแล้วความต้องการของลูกค้า ที่สามารถทราบได้จะมีลักษณะเป็นถ้อยค�ำที่พูดออกมา จากความรู ้ สึ ก หรื อ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า โดยตรง

19

ซึง่ โดยพืน้ ฐานข้อมูลเสียงเรียกร้องจากลูกค้าเหล่านีย้ อ่ มจะ ไม่มีความเรียบร้อยในการเรียบเรียงแนวคิดหรือการใช้ ค�ำศัพท์ ดังนั้นข้อมูลที่ได้จึงค่อนข้างที่จะสับสนวุ่นวาย ปนเปกัน นอกจากนีข้ อ้ มูลทีไ่ ด้ยงั รวมถึงข้อต�ำหนิทลี่ กู ค้า ไม่ชอบอีกด้วย ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มีประโยชน์อย่างมาก ในการน�ำมาตีความเพื่อใช้ในการออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ โดยทัว่ ไปแล้วการรวบรวมเสียงเรียกร้องของ ลูกค้าสามารถกระท�ำได้หลายวิธี เช่น การสอบถามโดยตรง จากลูกค้า การใช้แบบสอบถาม การระดมสมองของทีมงาน การสังเกตการณ์ใช้งานผลิตภัณฑ์โดยตรงจากลูกค้า เป็นต้น โดยในการด�ำเนินงานดังกล่าวนีจ้ ำ� เป็นทีจ่ ะต้องใช้ ความร่วมมือจากหลายหน่วยงานมาช่วยกันเก็บข้อมูล เช่น ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฝ่ายการตลาด รวมถึงอาจจ�ำเป็นต้องมีฝ่ายวิศวกรรมร่วมด้วย ถ้ากรณี ผลิตภัณฑ์เป็นผลิตภัณฑ์ทตี่ อ้ งการข้อมูลทางเทคนิคมากๆ 2) การสร้างแบบสอบถามของคาโน เมื่อสามารถหา ข้อเรียกร้องของลูกค้าได้แล้ว ทีมพัฒนาต้องน�ำเสียงของ ลูกค้าเหล่านัน้ มาท�ำการจัดกลุม่ แยกเป็นส่วนๆ ตามการ แบ่งคุณภาพผลิตภัณฑ์ 3 ส่วนของคาโนโมเดลและเมื่อ ท�ำการจ�ำแนกลักษณะส�ำคัญได้แล้วก็จะท�ำการออกแบบ ค�ำถาม ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ค�ำถามแบบด้านบวก (Positive Question) และด้านลบ (Negative Question) ของคาโนโมเดล หน้าที่ (Functional) ที่ได้จากค�ำถาม ถ้าผลิตภัณฑ์มีคุณลักษณะนี้ คุณรู้สึกอย่างไร (Positive Question)

ถ้าผลิตภัณฑ์ไม่มีคุณลักษณะนี้ คุณรู้สึกอย่างไร (Negative Question)

ค�ำตอบ 1) ชอบถ้ามีแบบนั้น (Like) 2) ควรเป็นแบบนี้ (Must be) 3) รู้สึกเฉยๆ (Neutral) 4) ไม่ควรเป็นแบบ (Live with) 5) ไม่ชอบแบบนั้นเลย (Dislike) 1) ชอบถ้ามีแบบนั้น (Like) 2) ควรเป็นแบบนี้ (Must be) 3) รู้สึกเฉยๆ (Neutral) 4) ไม่ควรเป็นแบบ (Live with) 5) ไม่ชอบแบบนั้นเลย (Dislike)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


20

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ซึ่งเมื่อทราบค�ำตอบแล้วในขั้นตอนต่อไปคือ การน�ำค�ำตอบที่ได้จากทั้ง 2 ค�ำถามมาผสมกันตาม ตารางการประเมินของคาโนในตารางที่ 2 โดยให้แกน y

เป็นค�ำตอบจากด้านบวกและแกน x เป็นค�ำตอบจาก ด้านลบ

ตารางที่ 2 การประเมินของคาโนโมเดล Dysfunctional (negative question) 1) like 2) must be 3) neutral 4) live with 5) dislike 1) like Q A A A O 2) must be R I I I M 3) neutral R I I I M Functional R I I I M (positive question) 4) live with 5) dislike R R R R Q

Customer Requirements

หมายเหตุ

A (attractive) คือ หน้าที่นี้ดึงดูดลูกค้า O (one-dimensional) คือ หน้าที่นี้อยู่ส่วนที่ทำ� ให้ลูกค้าพอใจ M (must-be) คือ หน้าที่นี้จ�ำเป็นต้องมีส�ำหรับผลิตภัณฑ์ R (reverse) คือ หน้าที่นี้นอกจากไม่ต้องการแล้วควรมีการปรับปรุง Q (questionable) คือ หน้าที่นี้จำ� เป็นต้องตระหนักให้มากเพราะอยู่ในส่วนที่ไม่พอใจ I (indifferent) คือ หน้าที่นี้ไม่แตกต่างในความรู้สึกของลูกค้า และแปลความหมาย หลังจากทีไ่ ด้ผลลัพธ์จากการแปล ความหมายในขัน้ ตอนที่ 2 แล้ว ผลลัพธ์ทไี่ ด้จะถูกน�ำมา ท�ำการประเมินความต้องการที่ได้มาจากลูกค้าทั้งหมด โดยประเมินจากค่าความถีใ่ นการตอบของลูกค้า ดังแสดง ในตารางที่ 3

สมมติว่าค�ำตอบที่ได้จากค�ำถามในตารางที่ 1 จากค�ำถามทั้ง 2 ข้อคือ ค�ำถามด้านบวก (Positive question) ลูกค้าตอบว่า ชอบถ้ามีแบบนัน้ (Like) และ ค�ำถามด้านลบ (Negative question) ลูกค้าตอบว่ารูส้ กึ เฉยๆ (Neutral) ผลลัพธ์ในตารางที่ 2 คือ A หรือความ ต้องการนีเ้ ป็นหน้าทีท่ ดี่ งึ ดูดลูกค้า และ 3) การประเมิน ตารางที่ 3 ตัวอย่างการประเมินผลลัพธ์จากการประเมิน ความต้องการที่มีต่อผลิตภัณฑ์ A คุณลักษณะที่ 1 7 คุณลักษณะที่ 2 10.4 คุณลักษณะที่ 3 63.8

O 32.3 45.1 21.6

M 49.3 30.5 2.9

I 0.5 11.5 8.5

R 0.3 1.2 0.7

Q 1.5 1.2 2.5

รวม การจ�ำแนก 100% M 100% O 100% A

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

จากตารางที่ 3 จะเห็นได้ว่า ความต้องการที่มี ต่อผลิตภัณฑ์ในคุณลักษณะที่ 1 มีคา่ เท่ากับ M (49.3%) หรือหน้าทีน่ จี้ ำ� เป็นต้องมีสำ� หรับผลิตภัณฑ์ คุณลักษณะ ที่ 2 เท่ากับ O (45.1%) หน้าที่นี้อยู่ส่วนที่ทำ� ให้ลูกค้า พอใจ และคุณลักษณะที่ 3 เท่ากับ A (63.8%) หน้าทีน่ ี้ ดึงดูดลูกค้า กฎในการประเมิน M>O>A>I ใช้ในกรณีที่ ความต้องการที่มีต่อผลิตภัณฑ์ได้ผลลัพธ์ที่ตัดสินใจยาก หรือไม่ชัดเจนแล้ว การประยุกต์ใช้กฎในการประเมิน M>O>A>I นับว่ามีประโยชน์อย่างมาก เนื่องจากความ ต้องการแรกที่จ�ำเป็นต้องท�ำการปรับปรุงหรือท�ำให้กับ ผลิตภัณฑ์นั่นคือ ส่วนแรกที่รุนแรงต่อความรู้สึกมากคือ M หมายถึง หน้าทีน่ จี้ ำ� เป็นต้องมีสำ� หรับผลิตภัณฑ์ สาเหตุ เนือ่ งจากเพือ่ ป้องกันความไม่พงึ พอใจทีจ่ ะมีตอ่ ผลิตภัณฑ์ ซึง่ นับว่าส�ำคัญทีส่ ดุ และต้องรีบท�ำการปรับปรุง ตามด้วย ส่วนที่สอง สาม และสี่ นั่นคือ O, A และ I ตามล�ำดับ นัน่ คือ เมือ่ ลดความไม่พอใจแล้วต้องหาความส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ ลูกค้าพอใจไปจนกระทั่งถึงท�ำให้ลูกค้าเบิกบานตามมา โดยปกติถ้าผลิตภัณฑ์สามารถท�ำให้ลูกค้ามีความรู้สึก ทีม่ ตี อ่ ผลิตภัณฑ์ในระดับเบิกบานได้ 2-3 ปัจจัย ก็นบั ว่า การปรับปรุงผลิตภัณฑ์สามารถด�ำเนินการได้ดีในระดับ

21

หนึ่งแล้ว การค�ำนวณสัมประสิทธิ์ระดับความพึงพอใจ ของลูกค้า (Customer Satisfaction Coefficient) เป็นการค�ำนวณระดับความพึงพอใจหรือไม่พงึ พอใจของ ลูกค้าเป็นค่าทีส่ ำ� คัญอย่างมากในการทีจ่ ะท�ำให้เข้าใจถึง ระดับความพึงพอใจของลูกค้าทีม่ ตี อ่ ผลิตภัณฑ์ เนือ่ งจาก ว่าในบางครั้งที่การประเมินผลิตภัณฑ์ได้ผลลัพธ์มาจาก กลุ่มตลาดที่แตกต่างกัน ท�ำให้ผลลัพธ์ที่ได้แตกต่างกัน และการวิเคราะห์ผลก็จะเป็นไปได้ยากด้วย ดังนัน้ การหา ค่าเฉลีย่ ของผลกระทบทีม่ ตี อ่ ลูกค้าจึงมีประโยชน์อย่างมาก โดยสมการในการหาค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ ของลูกค้ามีดังนี้ (Sauerwein, 1997) ค่าความพึงพอใจ Satisfaction = (A+O)/(A+O+M+I) ค่าความไม่พึงพอใจ Dissatisfaction = (O+M)/((A+O+M+I)x(-1)) โดยที่ค่าความพึงพอใจจะมีค่าอยู่ระหว่าง 0-1 ถ้าค่าเข้าใกล้ 1 แสดงว่ามีความพึงพอใจต่อลูกค้ามาก ในทางกลับกันค่าความไม่พึงพอใจ ถ้ามีค่าเข้าใกล้ -1 แสดงว่าปัจจัยนั้นมีผลต่อความไม่พึงพอใจมาก

ตารางที่ 4 ตัวอย่างการประเมินสัมประสิทธิ์ความพอใจและไม่พอใจ ความต้องการ ค่าความพึงพอใจ A O M I ที่มีต่อผลิตภัณฑ์ (A+O)/(A+O+M+I) คุณลักษณะที่ 1 7 32.3 49.3 0.5 0.40 คุณลักษณะที่ 2 10.4 45.1 30.5 11.5 0.57 คุณลักษณะที่ 3 63.8 21.6 2.9 8.5 0.89 จากตารางที่ 4 สามารถอธิบายได้วา่ ทางด้านลบ ความต้องการที่มีต่อผลิตภัณฑ์ด้านคุณลักษณะที่ 1 ถ้า ไม่สามารถมีในผลิตภัณฑ์ได้จะส่งผลต่อความไม่พอใจ ของลูกค้ามาก ระดับ -0.83 แต่ในด้านบวก คุณลักษณะ ที่ 1 ส่งผลต่อความพึงพอใจไม่มาก คือ อยูใ่ นระดับเพียง

ค่าความไม่พึงพอใจ (O+M)/((A+O+M+I)x(-1)) -0.83 -0.78 -0.25

0.4 เท่านั้น 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา วิจัยครั้งนี้ คือ บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปที่เคยมี ประสบการณ์ในการซื้อสินค้าอาหารเช้าพร้อมบริโภค

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


22

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

(ซีเรียล) ในเขตอ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ท�ำการ ก�ำหนดกลุม่ ตัวอย่างในการศึกษาด้วยวิธกี ารค�ำนวณขนาด ของกลุ่มตัวอย่างไม่ใช้ความน่าจะเป็น เนื่องจากจ�ำนวน ประชากรทั้งหมดที่ไม่สามารถหาจ�ำนวนที่แท้จริงได้ จึงเลือกใช้การสุ่มตัวอย่างแบบก�ำหนดจ�ำนวนตัวอย่าง (Quota Sampling) จ�ำนวน 400 คน โดยรวบรวม ในพื้นที่อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ 1) ห้างสรรพสินค้าริมปิงซูเปอร์สโตร์ 2) ห้างสรรพสินค้า โลตัส สาขาถนนเชียงใหม่ หางดง 3) ห้างสรรพสินค้า บิ๊กซี และ 4) ห้างสรรพสินค้าแม็คโคร 3. เครื่องมือในการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณใช้การรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม (Questionnaire) ได้สร้างตามความมุง่ หมาย และกรอบแนวคิดของการวิจัยที่ก�ำหนด โดยแบ่งออก เป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของ ผู้บริโภค ตอนที่ 2 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มี ผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ธัญชาติ โดยมาตรวัด 5 ระดับ ให้ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกคือ 1 หมายถึง ระดับความคิดเห็นด้วยน้อยที่สุดเป็นล�ำดับไปจนถึง ระดับ 5 หมายถึง ระดับความคิดเห็นด้วยมากที่สุด และใช้เกณฑ์การแปลความหมายของค่าเฉลี่ย 5 ระดับ โดยใช้แบบมาตราส่วนประมาณค่าโดยค่าเฉลีย่ 1.00-1.80 หมายถึง มีระดับความคิดเห็นด้วยน้อยทีส่ ดุ และค่าเฉลีย่ 4.21-5.00 หมายถึง มีระดับความคิดเห็นด้วยมากที่สุด และตอนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการรูปแบบและ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ธญั ชาติตามแนวคิดของคาโนโมเดล โดยแบบสอบถามเป็ น แบบมาตราส่ ว นประมาณค่ า โดยก�ำหนดการให้คะแนนค�ำตอบของแบบสอบถาม โดยมาตรวัด 5 ระดับ ให้ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกคือ 1 หมายถึง ระดับความคิดเห็นด้วยน้อยที่สุดเป็นล�ำดับ ไปจนถึง ระดับ 5 หมายถึง ระดับความคิดเห็นด้วย มากทีส่ ดุ และใช้เกณฑ์การแปลความหมายของค่าเฉลีย่ 5 ระดับ โดยค่าเฉลีย่ 1.00-1.80 หมายถึง มีระดับความ คิดเห็นด้วยไม่ชอบแบบนั้นเลย (Dislike) และค่าเฉลี่ย 4.21-5.00 หมายถึง มีระดับความคิดเห็นชอบถ้ามีแบบนี้

(Like) (Pongwiritthon et al., 2017) ซึ่งการหา ความเชือ่ มัน่ รายข้อ โดยการหาค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้อ (Item-Total Correlation) และหาค่าความเชือ่ มัน่ ทัง้ ฉบับ (Reliability) โดยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวิธขี องครอนบาค (Cronbach) ได้คา่ ความเชื่อมั่นของเครื่องมือที่ระดับ 0.865 4. วิธีวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ เชิงปริมาณใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยการหาค่าความถี่ และร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อให้ได้ตาม ความมุ่งหมายตามกรอบแนวคิดของการวิจัยที่ก�ำหนด โดยพิจารณาถึงรายละเอียดที่ครอบคลุมความมุ่งหมาย ประยุกต์จากแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

ผลการวิจัย

ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม พบว่า ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง จ�ำนวน 232 คน คิดเป็นร้อยละ 58 และ เป็นเพศชาย จ�ำนวน 168 คน คิดเป็นร้อยละ 42 อายุ 21-30 ปี มากทีส่ ดุ จ�ำนวน 208 คน คิดเป็นร้อยละ 52 รองลงมาอยู่ในช่วงอายุตำ�่ กว่า 21 ปี จ�ำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 30 ช่วงอายุ 31-40 ปี จ�ำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 16 ช่วงอายุมากกว่า 50 ปี จ�ำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2 การศึกษาปริญญาตรีมากที่สุด จ�ำนวน 304 คน คิดเป็นร้อยละ 76 รองลงมาอยูใ่ นระดับ การศึกษาต�่ำกว่าปริญญาตรี จ�ำนวน 72 คน คิดเป็น ร้อยละ 18 และระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี จ�ำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 6 ซึ่งมีอาชีพนักเรียน/นักศึกษา มากทีส่ ดุ จ�ำนวน 272 คน คิดเป็นร้อยละ 68 รองลงมา อยู่ในพนักงานเอกชนและเจ้าของธุรกิจจ�ำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 14 รับราชการ/รัฐวิสาหกิจและอาชีพ อื่นๆ จ�ำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2 มีรายได้ต่อเดือน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5,000 บาท จ�ำนวน 152 คน คิดเป็น ร้อยละ 38 รองลงมามีรายได้ตอ่ เดือน 5,001-10,000 บาท จ�ำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 26 รายได้ต่อเดือน 10,001-15,000 บาท จ�ำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 22

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

รายได้ต่อเดือนมากกว่า 40,000 บาท จ�ำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 6 รายได้ตอ่ เดือน 15,001-20,000 บาท และ 20,001-40,000 บาท จ�ำนวน 16 คน คิดเป็น ร้อยละ 4 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดทีม่ ผี ลต่อการตัดสินใจ การซือ้ ผลิตภัณฑ์อาหารธัญชาติ ในภาพรวมอยูใ่ นระดับ มาก (X = 3.85, S.D. = 0.84) โดยแบ่งส่วนประสม ทางการตลาดในแต่ละด้านได้ดังนี้ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X = 3.87, S.D. = 0.59) โดยเรียงล�ำดับรายข้อมากไปล�ำดับน้อย 3 ล�ำดับ ได้แก่ ด้านความสะอาด (X = 4.26, S.D. = 0.72) ด้านรสชาติ (X = 4.14, S.D. = 0.35) และด้านคุณค่า ทางอาหาร (X = 4.06, S.D. = 0.69) 2) ด้านราคา (Price) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X = 3.97, S.D. = 0.65) โดยเรียงล�ำดับรายข้อมากไปล�ำดับน้อย 3 ล�ำดับ ได้แก่ ด้านราคาเหมาะสมกับคุณภาพและด้านราคา เหมาะสมกับปริมาณ (X = 4.00, S.D. = 0.89) ด้านราคา ทีเ่ หมาะสมเมือ่ เทียบกับรายอืน่ (X = 3.90, S.D. = 0.45) 3) ด้านช่องทางการจ�ำหน่าย (Place) โดยภาพรวมอยูใ่ น ระดับมาก (X = 4.11, S.D. = 0.82) โดยเรียงล�ำดับ รายข้อมากไปล�ำดับน้อย 3 ล�ำดับ ได้แก่ มีวางจ�ำหน่าย ในศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้าที่ทันสมัย (X = 4.22, S.D. = 0.25) ผลิตภัณฑ์จัดอยู่ในหมวดหมู่ที่ชัดเจน (X = 4.00, S.D. = 0.91) มีจำ� หน่ายผ่าน Social Media (X = 3.85, S.D. = 0.63) 4) ด้านการส่งเสริมทาง การตลาด (Promotion) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X = 3.46, S.D. = 0.35) โดยเรียงล�ำดับรายข้อมาก ไปล�ำดับน้อย 3 ล�ำดับ ได้แก่ ด้านการโฆษณาตามสื่อ ต่างๆ (X = 3.66, S.D. = 0.54) ด้านการเพิ่มปริมาณ สินค้า (X = 3.48, S.D. = 0.85) ด้านการจัดแสดงสินค้า ณ จุดขาย (X = 3.40, S.D. = 0.71) การวิเคราะห์การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ธัญชาติตามความต้องการของลูกค้าโดยประยุกต์ใช้ คาโนโมเดล พบว่า จ�ำแนกความต้องการทีม่ ตี อ่ ผลิตภัณฑ์ โดยพิจารณาจากค่าร้อยละความถี่ของผลลัพธ์ที่มีค่า มากสุดในแต่ละคุณลักษณะพบว่า คุณลักษณะส่วนใหญ่

23

(7 คุณลักษณะ) ถูกจัดเป็น Indifferent ซึ่งหมายถึง คุณลักษณะเหล่านี้ไม่มีความแตกต่างในความรู้สึกของ ผูบ้ ริโภค นอกจากพิจารณาความถีม่ ากสุดในแต่ละผลลัพธ์ ที่ได้แล้ว สิ่งส�ำคัญที่ควรพิจารณาร่วมด้วยคือ ผลลัพธ์ ทีเ่ ป็น Q (Question) ซึง่ เป็นคุณลักษณะทีต่ อ้ งตระหนัก ให้มากเพราะอยู่ในส่วนที่ท�ำให้ผู้บริโภคไม่พอใจ ไม่ควร มีเกินร้อยละ 2 หรือไม่ควรมีเลย แต่ผลประเมินทีไ่ ด้พบว่า คุณลักษณะทีม่ คี า่ ความถีข่ อง Q มากกว่าร้อยละ 2 อยูใ่ น ทุกคุณลักษณะ ดังนัน้ ต้องให้ความส�ำคัญในการปรับปรุง และพัฒนาคุณลักษณะที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ มีตราสินค้า ติดทีแ่ สดงความใส่ใจในสุขภาพ (Q7) คิดเป็นร้อยละ 30 มี อย. รับรอง (Q8) และมีบรรจุภัณฑ์แบบกล่อง (Q6) คิดเป็นร้อยละ 28 ดังตารางที่ 5 เมื่อท�ำการจ�ำแนกความต้องการของนักท่องเที่ยว ชาวไทยและชาวต่างชาติแล้ว น�ำความต้องการผลิตภัณฑ์ มาประเมิ น ด้ ว ยกฎการประเมิ น M>O>A>I นั บ ว่ า มีประโยชน์อย่างมาก ความต้องการแรกทีจ่ ำ� เป็นต้องท�ำ การปรับปรุง คือ ความต้องการประเภท M ตามตาราง ที่ 5 คือ 3 คือ รูปแบบและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ธญ ั ชาติ ที่มีคุณลักษณะตรงตามความต้องการของลูกค้า ซึ่งเป็น หน้าทีท่ จี่ ำ� เป็นต้องมีสำ� หรับผลิตภัณฑ์ เพือ่ ป้องกันความ ไม่พงึ พอใจทีจ่ ะมีตอ่ ผลิตภัณฑ์ธญั ชาติ จึงนับว่าส�ำคัญทีส่ ดุ และต้องรีบท�ำการปรับปรุง ตามด้วยส่วนทีส่ อง สาม และ สีน่ นั้ คือ ความต้องการประเภท O, A และ I ตามล�ำดับ คือ เมื่อลดความไม่พึงพอใจแล้ว ต้องหาความต้องการ ที่ท�ำให้ผู้บริโภคพึงพอใจไปจนกระทั่งถึงท�ำให้ผู้บริโภค รู้สึกประทับใจและกลับมาซื้อซ�้ำในอนาคต โดยปกติถ้า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ามารถท� ำ ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคมี ค วามรู ้ สึ ก ที่ ดี ต ่ อ ผลิตภัณฑ์ในระดับที่ประทับใจได้ 2-3 ปัจจัย ก็นับว่า การปรับปรุงผลิตภัณฑ์สามารถด�ำเนินการได้ดีในระดับ หนึง่ แล้ว ความต้องการทีส่ ามารถสร้างความพึงพอใจแก่ ลูกค้า ซึ่งการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธัญชาตินั้นควรปรับปรุง ทุกด้านของผลิตภัณฑ์ โดยมุ่งเน้นที่จะพัฒนาที่ส�ำคัญ ได้ดังนี้ 1) มีมาตรฐาน อย. รับรอง 2) มีตราสินค้าติด ที่แสดงความใส่ใจในสุขภาพ และ 3) มีวันผลิตและวัน หมดอายุบนบรรจุภัณฑ์ ดังตารางที่ 6 และภาพที่ 1

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


24

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตารางที่ 5 จ�ำนวนร้อยละและการแปลผลของความรู้สึกต่อการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ธัญชาติ จ�ำแนกตาม ความต้องการที่มีต่อผลิตภัณฑ์ ความต้องการที่มีต่อผลิตภัณฑ์ มีมาตรฐาน อย. รับรอง (Q8) มีกลิ่นแบบดั้งเดิม (Q2) มีตราสินค้าติดที่แสดงความใส่ใจ ในสุขภาพ (Q7) มีบรรจุภัณฑ์แบบกล่อง (Q6) มีวันผลิตและวันหมดอายุบนบรรจุภัณฑ์ (Q5) มีรสชาติหลากหลาย (Q1) มีสีแดงก�่ำแบบดั้งเดิม (Q3) มีหลายขนาด (Q4)

Q 14 10

A 20 12

R 0 2

O 22 2

I 30 74

M รวม การจ�ำแนก 6 100% I 0 100% I

8

30

2

18

40

2 100%

I

4

28

4

4

54

6 100%

I

4

26

4

24

34

8 100%

I

4 4 3

20 16 13

10 8 4

2 2 6

62 68 74

2 100% 2 100% 0 100%

I I I

ตารางที่ 6 ประเมินค่าสัมประสิทธิ์ความพอใจและไม่พอใจต่อการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ธัญชาติ ความต้องการที่มีต่อผลิตภัณฑ์

A

I

M

มี อย. รับรอง (Q8) มีกลิ่นแบบดั้งเดิม (Q2) มีตราสินค้าติดที่แสดงความใส่ใจ ในสุขภาพ (Q7) มีบรรจุภัณฑ์แบบกล่อง (Q6) มีวันผลิตและวันหมดอายุ บนบรรจุภัณฑ์ (Q5) มีรสชาติหลากหลาย (Q1) มีสีแดงก�่ำแบบดั้งเดิม (Q3) มีหลายขนาด (Q4)

28 22 30 12 2 74

6 0

ค่าความพึงพอใจ (A+O) (A+O+M+I) 0.58 0.16

30 18 40

2

0.53

-0.33

28

54

6

0.35

-0.11

26 24 34

8

0.54

-0.35

20 18 16

2 2 0

0.27 0.22 0.23

-0.05 -0.04 -0.06

O

4

2 2 6

62 68 74

ค่าความไม่พึงพอใจ (O+M) (A+O+M+I)x(-1) -0.33 -0.02

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

25

ภาพที่ 1 ค่าความพึงพอใจและไม่พึงพอใจในแต่ละคุณลักษณะของตัวผลิตภัณฑ์

อภิปรายผลและสรุปผลการวิจัย

แนวทางการพัฒนาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ธัญชาติตามความต้องการของลูกค้าโดยประยุกต์ใช้ คาโนโมเดลเชียงใหม่ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็น เพศหญิง จ�ำนวน 232 คน อายุ 21-30 ปี มากที่สุด การศึกษาปริญญาตรีมากที่สุด ซึ่งมีอาชีพนักเรียน/ นักศึกษามากทีส่ ดุ มีรายได้ตอ่ เดือนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5,000 บาท ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อ การตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารธัญชาติ ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (X = 3.85, S.D. = 0.84) โดยแบ่ง ส่วนประสมทางการตลาดในแต่ละด้านได้ดังนี้ 1) ด้าน ผลิตภัณฑ์ (Product) (X = 3.87, S.D. = 0.59) 2) ด้านราคา (Price) (X = 3.97, S.D. = 0.65) 3) ด้าน ช่องทางการจ�ำหน่าย (Place) (X = 4.11, S.D. = 0.82) 4) ด้านการส่งเสริมทางการตลาด (Promotion) (X = 3.46, S.D. = 0.35) สอดคล้องกับงานวิจยั ของ Pongwiritthon & Syers (2014) ทีก่ ล่าวไว้วา่ ความต้องการส่วนประสม ทางการตลาดต่อการตัดสินใจซื้อข้าวแคบ ในภาพรวม อยูใ่ นระดับค่อนข้างมาก ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านสถานที่และช่องทางการจัดจ�ำหน่วย และด้านการ ส่งเสริมการตลาด และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ Hinthao (2012) พบว่า ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อ การตัดสินใจซื้ออาหารแปรรูปจากข้าว โดยมีค่าเฉลี่ย

การตัดสินใจซือ้ การให้ความส�ำคัญ ความคุม้ ค่ากับผลิตภัณฑ์ แปรรูปข้าว ในปัจจัยด้านราคามากที่สุด ส่วนปัจจัยรอง ลงมาคือ การตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวอบกรอบอยู่ใน ระดับมากเช่นเดียวกัน การวิเคราะห์การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ธัญชาติตามความต้องการของลูกค้าโดยประยุกต์ใช้ คาโนโมเดล การตลาดมุง่ ความต้องการของลูกค้าตามแบบ ของคาโนโมเดลเน้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ส ามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า ซึ่งต้องให้เกิดความพึงพอใจ สูงสุด ซึ่งความพึงพอใจตามหลักของคาโนโมเดลนั้น สรุปได้วา่ การพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดควรเน้น ด้านตัวของผลิตภัณฑ์ ซึง่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธญ ั ชาตินนั้ ควรปรับปรุงทุกด้านของผลิตภัณฑ์ โดยมุง่ เน้นทีจ่ ะพัฒนา ที่ส�ำคัญ ได้แก่ 1. มีมาตรฐาน อย. รับรอง 2. มีตรา สินค้าติดทีแ่ สดงความใส่ใจในสุขภาพ และ 3. มีวนั ผลิต และวันหมดอายุบนบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ Pongwiritthon & Syers (2014) ที่กล่าวไว้ว่า การตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวแคบของลูกค้า ต้องเน้น ข้อความทีส่ ามารถสือ่ ถึงผูบ้ ริโภคโดยตรง เนือ่ งจากปัจจัย ด้านผลิตภัณฑ์มผี ลต่อการตัดสินใจซือ้ ข้าวแคบของลูกค้า ดังนั้นจึงควรมีมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ รวมถึงคุณภาพ และคุณค่าของผลิตภัณฑ์แต่หากสามารถท�ำให้ผู้บริโภค เชือ่ ถือและมัน่ ใจได้แล้วก็จะส่งผลให้เกิดการซือ้ ผลิตภัณฑ์

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


26

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ครั้งต่อไป และในระยะยาวก็จะท�ำให้เกิดความซื่อสัตย์ ต่อผลิตภัณฑ์รวมถึงการบอกต่อด้วย และยังสอดคล้อง กับแนวคิดการวิเคราะห์คาโนโมเดลของความต้องการ ของลูกค้าและการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพือ่ ให้ เกิดความพึงพอใจของลูกค้าที่จะมีต่อผลิตภัณฑ์ (Kano et al., 1984)

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณผูป้ ระกอบการในเขตอ�ำเภอเมือง จังหวัด

เชียงใหม่ ที่ให้ข้อมูลประกอบงานวิจัย, Information Center of Knowledge, Local Wisdom and Community Innovation และ ดร.กิตติโชค นิธเิ สธียร อาจารย์ที่ปรึกษา ในการให้ค�ำแนะน�ำช่วยสนับสนุนให้ บทความนี้ผ่านการแก้ไขจนเสร็จสมบูรณ์ และคณะ บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยฉบับนี้ ขอขอบคุณก�ำลังใจจาก ครอบครัวทีม่ สี ว่ นช่วยให้การท�ำงานส�ำเร็จลุลว่ งไปด้วยดี

References

Cui, S. W. & Roberts, K. T. (2009). Chapter 13 Dietary fiber: fulfilling the promise of added-value formulations. In Kasapis, S., Norton, I. T. & Ubbink, J. B. (Eds.). Modern Biopolymer Science: bridging the divide between fundamental treatise and industrial application. (pp. 399-448). USA: Academic Press. Green Net. (2014). Consumers of Organic product in Thailand: The analysis. Retrieved March 23, 2016, from http://www.greennet.or.th/article/1781 [in Thai] Hinthao, B. (2012). The Participatory Action Research for the Development of Community Enterprise Network Pattern: A Case Study of Rice Product Housewife Groups in Phitsanuloke Province. Retrieved July 10, 2014, from http://ms.psru.ac.th/admin/file/Bussaba2014.pdf [in Thai] Kano, N., Seraku, N., Takahashi, F. & Tsjui, S. (1984). Attractive Quality and must be Quality. Hinshitsu, 14(2), 147-156. McCarthy, E. J. & Perreault, W. D. Jr. (1996). Basic marketing: A global managerial approach. (12th ed.). Chicago: Irwin. Ong-in, P. & Naruenartwongsakul, S. (2010). Effect of flour preconditioning and extrusion conditions on physicochemical properties and glycemic index of mung bean flour based extruded. Rajamangala University of Technology Tawan-Ok. The 3rd seminar, 20-21 May 2010. [in Thai] Pongwiritthon, R. & Syers, K. (2014). Guidelines for Sustainable Tribe Cultural Tourism Development. Journal of Community Development Research, 7(2), 35-46. [in Thai] Pongwiritton, R., Pakvipas, P., Chongesiriroj, S. & Kantawongwan, B. (2017). Marketing mix Factors Affecting Buying Decision Decision of Textile Handicraft from Lanna’s Ethnic Wisdom: Pgazkoenyau. Panyapiwat Journal, 9(1), 25-37. [in Thai] Sauerwein, E. (1997). The Kano Model: How to delight your customers. International Working Seminar on production Economics, Innsbruck/Igls/Igls/Austria, February 19-23, 1996, pp. 313-327. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

27

Name and Surname: Ratthanan Pongwiritthon Highest Education: Doctor’s Degree in Business Administration, Shinawatra University University or Agency: Information Center of Knowledge, Local Wisdom and Community Innovation Field of Expertise: Finance, Account Information Management, MIS, Business Management and Community Address: 350 Moo 6, Mae Hia, Mueang Chiang Mai, Chiang Mai 50100 Name and Surname: Pakphum Pakvipas Highest Education: International Business Management, International College, Payap University University or Agency: Information Center of Knowledge, Local Wisdom and Community Innovation Field of Expertise: International Business, Business Management and Community Address: 350 Moo 6, Mae Hia, Mueang Chiang Mai, Chiang Mai 50100 Name and Surname: Kittichok Nithisathian Highest Education: Ph.D in Management Science, Shinawatra University University or Agency: Stamford International University Field of Expertise: International Business Field, Both Local and International Firm Address: 388 Sukhumvit, Klongtoey, Bangkok 10110 Name and Surname: Jaturong Thopanich Highest Education: Master Degree of Business Administration (International Program), Bangkok University University or Agency: School of Management, Shinawatra University Field of Expertise: International Business Address: 99 Moo 10, Bang Toey, Sam Khok, Pathum Thani 12160

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


28

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Name and Surname: Somporn Srichum Highest Education: Master Degree (M.B.A.) Program in Management, Rajamangala University of Technology Thanyaburi University or Agency: School of Management, Shinawatra University Field of Expertise: Business Management Address: 99 Moo 10, Bang Toey, Sam Khok, Pathum Thani 12160

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

29

ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเห็นและพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาด ของร้านอาหารประเภทบริการตนเองในจังหวัดชัยภูมิ RELATIONSHIPS BETWEEN ATTITUDE AND CONSUMER BEHAVIOR FOR MARKETING MIX OF SELF-SERVE MEAL RESTAURANT IN CHAIYAPHUM PROVINCE วิระพงศ์ จันทร์สนาม1 ภัทรภรณ์ หิรัญค�ำ2 มัสยา หงษ์ค�ำมี3 และอิทธิพล ส�ำราญรื่น4 Wirapong Chansanam1 Pattaraporn Hirankham2 Matsaya Hongkhammee3 and Ittipol Samranruen4 1,2,3,4คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 1,2,3,4Faculty of Business Administration, Chaiyaphum Rajabhat University

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเห็นและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อ ส่วนประสมทางการตลาดของการบริโภคอาหารประเภทให้ลูกค้าบริการตนเอง ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริโภคที่เข้ามาใช้และเคยใช้บริการกับร้านอาหารประเภทให้ลูกค้าบริการตนเองหรือบุฟเฟต์ ในจังหวัดชัยภูมิ สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่าง รายคู่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สนั ผลการวิจยั พบว่า ความสัมพันธ์ ระหว่างความคิดเห็นและพฤติกรรมผูบ้ ริโภคกับส่วนประสมทางการตลาด คือ ผูบ้ ริโภคชอบรับประทานอาหารประเภท เนือ้ สัตว์ (หมู) ผูบ้ ริโภคชืน่ ชอบรับประทานอาหารประเภทอืน่ ๆ (ข้าวผัด) ความถีใ่ นการมารับประทานอาหาร 2-3 ครัง้ ต่อเดือน และจ�ำนวนคนทีม่ ารับประทานอาหาร 4-5 คน มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับส่วนประสมทางการตลาดโดยรวม และรายด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านบริการ ด้านกายภาพ และด้านกระบวนการ ค�ำส�ำคัญ: ความคิดเห็น พฤติกรรมผู้บริโภค อาหารประเภทบริการตนเอง จังหวัดชัยภูมิ

Abstract

The purposes of this study were to investigate the relationship between consumers’ attitude toward marketing mix of self-serve meal restaurant in Chaiyaphum province, their lifestyle and consumption behavior. The questionnaire was used as a tool for collecting data from consumers who have visited the restaurant. Several statistics techniques were used to analyze the data; including frequency, percentage, average, standard deviation, t-test, ANOVA, and Pearson’s product Corresponding Author E-mail: wriapongc@cpru.ac.th


30

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

moment correlation analysis. The findings revealed that through the statistical analysis with particular reference to relations, it was found that the attitude and consumer behaviors including prefer pork, fried rice, frequency to restaurant, and number of member to joint eat per time work with others and relationship positively related to marketing mixed regarding product, price, personal services, physical, and process. Keywords: Attitude, Consumer Behavior, Self-serve Meal Restaurant, Chaiyaphum Province

บทน�ำ

องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศญี่ปุ่น (เจโทร) ระบุวา่ ไทยยังคงเป็นประเทศทีต่ ลาดอาหารแดนปลาดิบ เติบโตสุดในอาเซียน โดยมีจ�ำนวนร้านอาหารมากถึง 2,364 แห่ ง และมี แ นวโน้ ม ขยายตั ว มากขึ้ น เรื่ อ ยๆ เมื่อเจาะลึกลงไปพบว่า ประเภทอาหารที่ก�ำลังได้รับ ความนิยมเป็นอย่างสูง คือ “บุฟเฟต์” หรือร้านอาหาร ประเภทให้บริการตนเองในหลายสัญชาติ จาก “พฤติกรรม ผูบ้ ริโภค” เริม่ มองหาความ “คุม้ ค่า” (Value for money) มากขึ้นๆ ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึกคุ้มจากเมนูอาหารที่ หลากหลาย “คุม้ ” ทีไ่ ด้รบั ประทานอย่างไม่อนั้ ทัง้ อาหาร คาว หวาน บางร้านมีบริการเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์รวมอยู่ ในเมนูด้วย ยิ่งเพิ่มความน่าสนใจในการตัดสินใจของ ผู้บริโภค (Rinwong, 2017) เมื่อพิจารณารายได้จากการท่องเที่ยวที่มีมากถึง 2 ล้านล้านบาท ในจ�ำนวนนี้เป็นการใช้จ่ายเพื่อบริโภค อาหารประมาณ 25-30% หรือคิดเป็นมูลค่า 3-4 แสน ล้านบาท ปัจจุบันธุรกิจภัตตาคารและร้านอาหารได้ เปลีย่ นแปลงไปอย่างมาก จากในอดีตเมือ่ 20-30 ปีกอ่ น จะสามารถพบเห็นภัตตาคารร้านอาหารใหญ่ตงั้ อยูเ่ ดีย่ วๆ (Stand Alone) เช่น ร้านจิตโภชนา ต่อมาก็ววิ ฒ ั นาการ เป็นสวนอาหาร และขยายสาขาสู่ศูนย์การค้า แต่ในยุค ปัจจุบนั ร้านอาหารประเภท “บุฟเฟต์” หรือร้านอาหาร ประเภทที่ให้ลูกค้าบริการตนเอง ก�ำลังได้รับความนิยม เพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีลูกค้าตั้งแต่ตลาดระดับล่างไปจนถึง ระดับบน กล่าวคือ มีร้านหมูกระทะราคาเริ่มต้นตั้งแต่ 100 กว่าบาท ไปจนถึงบุฟเฟต์ปิ้งย่างราคาไม่ต�่ำกว่า

500 บาทต่อคน การทีผ่ บู้ ริโภคหันมารับประทานอาหาร บุฟเฟต์กนั มากขึน้ เกิดจากกลยุทธ์ของทัง้ ฝ่ายผูป้ ระกอบการ และผู้บริโภคด้วยประโยคดึงดูด “All you can eat” กินอะไรก็ได้ และกินได้ปริมาณเยอะ ที่ส�ำคัญสามารถ คาดคะเนราคาค่าใช้จา่ ยได้วา่ หนึง่ โต๊ะอาจต้องช�ำระเงิน ที่ 2,000 บาท แต่ถ้ารับประทานแบบ à la carte (ตามสัง่ จากเมนู) อาจไม่สามารถคุมงบประมาณให้อยูใ่ น วงเงินดังกล่าวได้ จากแนวโน้มทางด้านการตลาดอาหาร มีราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อก่อนอาจสั่ง à la carte ได้ 6 เมนู ในราคาหนึ่ง แต่ปัจจุบันราคาเท่าเดิมแต่อาจ สั่งได้แค่ 4 เมนู ขณะที่ร้านอาหารหรู (Fine Dining) มีปริมาณอาหารไม่มาก แต่มีราคาค่อนข้างสูงเพราะมี การสร้างสรรค์ ตกแต่ง และวัตถุดิบที่คัดสรรมากยิ่งขึ้น (Rinwong, 2017) ร้ า นอาหารประเภทให้ บ ริ ก ารตนเองเป็ น ธุ ร กิ จ ร้านอาหารประเภทหนึ่งที่ยังมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง ปัจจัยหนุนคือ พฤติกรรมคนไทยที่ยังนิยมรับประทาน อาหารนอกบ้าน และผูป้ ระกอบการธุรกิจร้านอาหารมีการ ปรับกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมผูบ้ ริโภค ทัง้ ด้าน ความสนใจสุขภาพ (Chen, 2007) และประหยัดค่าใช้จา่ ย ธุรกิจร้านอาหารจึงมีแนวโน้มแข่งขันรุนแรง เนื่องจาก ผูป้ ระกอบการรายใหม่ทยอยเข้าสูต่ ลาด โดยเฉพาะตลาด ผูป้ ระกอบการรายย่อย อันเป็นผลจากการลงทุนทีไ่ ม่สงู นัก และระยะเวลาคืนทุนค่อนข้างสั้น ท�ำให้ผู้ประกอบการ ทัง้ รายเก่าและใหม่ตอ้ งปรับกลยุทธ์เพือ่ ช่วงชิงส่วนแบ่งตลาด (MGR Online, 2004) จากเหตุผลดังกล่าว คณะผู้วิจัย จึงมีความสนใจทีจ่ ะศึกษาถึงความคิดเห็นและพฤติกรรม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ของผู้บริโภค (Consumer Behavior) (Loudon & Della Bitta, 1988) ซึง่ หมายถึงการศึกษากระบวนการ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหา การเลือกสรร การซื้อ การใช้ และการจัดการภายหลังการบริโภคสินค้าและบริการ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภคในช่วงเวลาหนึง่ ๆ (Solomon, 2013) ในจังหวัดชัยภูมิที่มีต่อส่วนประสม ทางการตลาด (McCarthy & Perreault, 1996) เพือ่ ทีจ่ ะ น�ำผลการวิจยั ทีไ่ ด้ไปใช้ประโยชน์ทงั้ ในแง่ของผูป้ ระกอบการ และทางด้านวิชาการต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพือ่ ศึกษาความคิดเห็นของผูบ้ ริโภคทีม่ ตี อ่ ปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดของร้านอาหารประเภทบริการ ตนเองในจังหวัดชัยภูมิ 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดของอาหารประเภทบริการ ตนเองในจังหวัดชัยภูมิ 3. เพือ่ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเห็นของ ผูบ้ ริโภคทีม่ ตี อ่ ส่วนประสมทางการตลาด และพฤติกรรม การบริโภคอาหารประเภทให้ลกู ค้าบริการตนเองในจังหวัด ชัยภูมิ

วิธีการวิจัย

การศึกษาค้นคว้าและวิจัยเรื่อง ความคิดเห็นและ พฤติกรรมผูบ้ ริโภคอาหารประเภทบริการตนเองในจังหวัด ชัยภูมินั้น ผู้วิจัยได้ก�ำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ดังต่อไปนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นีค้ อื ผูบ้ ริโภคทีเ่ ข้า มาใช้และเคยใช้บริการกับร้านอาหารประเภทบริการ ตนเองในเขตจังหวัดชัยภูมิ กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ในครัง้ นีค้ อื ผูบ้ ริโภค ที่เข้ามาใช้และเคยใช้บริการกับร้านอาหารประเภท บริการตนเองในจังหวัดชัยภูมิ จึงก�ำหนดขนาดกลุ่ม ตัวอย่าง โดยค�ำนวณจากสูตรทีท่ ราบประชากรทีแ่ น่นอน

31

(Treevanich, 2010) โดยก�ำหนดความผิดพลาดไม่เกิน 5% ด้วยความเชือ่ มัน่ 95% ได้ขนาดกลุม่ ตัวอย่างในการ วิจัยครั้งนี้เท่ากับ 400 คน โดยใช้สูตรดังนี้ Z2 4e2 (1.96)2 =   =  384.16 4(.05)2

n =

ในที่นี้ Z.975 = 1.96, e 0.05 n = จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่าง Z = ค่าปกติมาตรฐานทีไ่ ด้จากตารางการแจกแจง แบบปกติมาตรฐาน ณ ระดับความเชื่อมั่นที่ก�ำหนดคือ 95% e = ความคลาดเคลือ่ นในการประมาณสัดส่วน ประชากรทั้งหมด (p) ที่ยอมรับได้ที่ 5% ส�ำหรับวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างของการวิจัย ครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ใช้วธิ กี ารสุม่ ตัวอย่างแบบหลายขัน้ ตอน (Multi Stage Random Sampling) ดังนี้คือ ขั้นตอนที่ 1 ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) โดยผูว้ จิ ยั ได้กำ� หนดขนาดตัวอย่าง ไว้ทั้งหมด 400 คน จึงได้จัดแบ่งร้านละ 40-50 คน ขั้นตอนที่ 2 ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเฉพาะ เจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกไปทีร่ า้ นอาหาร ประเภทบริการตนเอง ร้านละ 40-50 คน โดยเลือกเก็บ จากร้านอาหารประเภทบริการตนเองทีม่ ลี กู ค้าเข้ามาใช้ บริการจ�ำนวนมาก ขั้นตอนที่ 3 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอาศัย ความสะดวก (Convenience Sampling) เพื่อเก็บ รวบรวมข้อมูล โดยแจกแบบสอบถามให้กบั กลุม่ ตัวอย่าง ที่เต็มใจและสะดวกที่จะให้ข้อมูล อย่างไรก็ตามด้วย ข้อจ�ำกัดของระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลและ การสมัครใจตอบของกลุม่ ตัวอย่างท�ำให้ได้ขอ้ มูลกลับมา 100 ตัวอย่าง ซึ่งสอดคล้องกับ Aaker et al. (2001) ได้น�ำเสนอว่าการใช้แบบสอบถามต้องมีอัตราตอบกลับ อย่างน้อยร้อยละ 20 จึงจะถือว่ายอมรับได้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


32

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

2. เครื่องมือที่ใช้ เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นีค้ อื แบบสอบถาม ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้ ส่วนที่ 1 เป็นค�ำถามลักษณะด้านประชากรศาสตร์ โดยเป็นค�ำถามแบบให้เลือกตอบเพียงค�ำตอบเดียวและเป็น ค�ำถามปลายปิด (Close-Ended Response Question) ส่วนที่ 2 เป็นค�ำถามเกี่ยวกับความคิดเห็นที่มี ต่อร้านอาหารประเภทบริการตนเองและส่วนประสม ทางการตลาดของร้านอาหารในจังหวัดชัยภูมิ โดยระดับ การวัดข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ส่วนที่ 3 เป็นค�ำถามเกีย่ วกับรูปแบบการด�ำเนิน ชีวติ ของผูต้ อบแบบสอบถาม ซึง่ แบบสอบถามมีลกั ษณะ เป็นแบบ Semantic Differential Scale คือ แบ่งระดับ ความคิ ด เห็ น ออกเป็ น 5 ระดั บ ซึ่ ง ค� ำ ถามที่ ผู ้ ต อบ แบบสอบถามจะต้องตอบ จะมีค�ำตอบก�ำหนดไว้ใน แต่ละข้างของระดับคะแนนสูงสุดโดยมีคุณลักษณะของ สิง่ ทีก่ ำ� ลังถูกวัดอยูใ่ นลักษณะตรงกันข้ามเรียกว่า Bipolar Adjective ส่วนที่ 4 เป็นค�ำถามเกีย่ วกับพฤติกรรมการบริโภค อาหารประเภทบริการตนเองของผู้ตอบแบบสอบถาม 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูลในการวิจยั ครัง้ นีป้ ระกอบด้วย 2 ส่วน คือ 3.1 ข้อมูลทุตยิ ภูมิ เป็นการค้นคว้าหาข้อมูลจาก เอกสารอ้างอิงได้ ผลงานวิจยั ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ประกอบ การสร้างแบบสอบถาม 3.2 ข้อมูลปฐมภูมิ เป็นการน�ำข้อมูลจากผูบ้ ริโภค ที่เข้ามาใช้บริการกับร้านอาหารประเภทบริการตนเอง ในจังหวัดชัยภูมิ จากการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง โดยน� ำ ข้ อ มู ล จากแบบสอบถามเพื่ อ วั ด ความคิ ด เห็ น และพฤติกรรมการบริโภคอาหารประเภทบริการตนเอง ในจังหวัดชัยภูมิที่สร้างขึ้น 4. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ท�ำการประมวลผล โดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูป PSPP (GNU Project, 2015)

และโปรแกรมภาษา R (Chansanam, 2014) ซึ่งเป็น ซอฟต์แวร์ประเภทรหัสเปิด (Open Source) โดยด�ำเนิน ตามขั้นตอนดังนี้ 4.1 น�ำแบบสอบถามทีไ่ ด้ทงั้ หมดมาตรวจความ สมบูรณ์ของแบบสอบถามและแยกแบบสอบถามที่ไม่ สมบูรณ์ออก วิเคราะห์หาค่าความเชือ่ มัน่ ของแบบสอบถาม (Reliability) ในส่วนของข้อค�ำถามทีม่ ลี กั ษณะเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ด้วยวิธีหา สัมประสิทธิแ์ อลฟาของ Cronbach Alpha Coefficient พบว่า แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.7841 4.2 น�ำแบบสอบถามทีต่ รวจสอบความสมบูรณ์ แล้วมาลงรหัสตัวเลขตามทีก่ ำ� หนดไว้สำ� หรับแบบสอบถาม ปลายปิด ส่วนแบบสอบถามปลายเปิดผู้วิจัยได้จัดกลุ่ม ค�ำตอบแล้วจึงนับคะแนนใส่รหัส และท�ำการบันทึกข้อมูล เข้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 4.3 ท�ำการประมวลผลข้อมูล และวิเคราะห์ขอ้ มูล ซึง่ ใช้โปรแกรมสถิตสิ ำ� เร็จรูปเพือ่ การวิจยั ทางสังคมศาสตร์ โดยการวิจยั ครัง้ นีใ้ ช้ระดับนัยส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 5. สถิติที่ใช้ในการวิจัย 5.1 ค่าสถิติพื้นฐานทั่วไปประกอบด้วย 5.1.1 ใช้สูตรหาค่าร้อยละ (Percentage) 5.1.2 สูตรค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean หรือ x) 5.1.3 สูตรความเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) (Treevanich, 2010) 5.2 สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน 5.2.1 สถิติ t-test ใช้ส�ำหรับเปรียบเทียบ ความแตกต่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มโดยใช้ ทดสอบสมมติฐานด้านเพศข้อที่ 1 (Pongwichai, 2013) 5.2.2 สถิติ F-test ใช้วเิ คราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว (One Way ANOVA) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ของกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป (Treevanich, 2010) เพื่อทดสอบสมมติฐาน 5.2.3 สถิ ติ สั ม ประสิ ท ธิ์ ส หสั ม พั น ธ์ ข อง เพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

Coefficient) ใช้หาค่าความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัว ทีเ่ ป็นอิสระต่อกัน เป็นค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรสองตัวที่แต่ละตัวต่างมีระดับการวัดของข้อมูล ต่างกัน (Treevanich, 2010)

ผลการวิจัย

1. ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ของผูบ้ ริโภคร้านอาหาร ประเภทบริการตนเอง ลูกค้าที่มาบริโภคอาหารส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุต�่ำกว่า 20 ปี และมีสถานภาพโสด มีการศึกษา ส่วนใหญ่อยูใ่ นระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพส่วนใหญ่ เป็นนักเรียนนักศึกษา รองลงมาข้าราชการ/พนักงานของรัฐ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต�่ำกว่าหรือเท่ากับ 15,000 บาท 2. พฤติกรรมการบริโภคร้านอาหารประเภทบริการ ตนเอง อาหารประเภทเนื้อสัตว์ ส่วนใหญ่เลือกบริโภค อาหารประเภทเนื้อหมูเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ กุ้ง หมึก หอย หรืออาหารทะเล ส่วนอาหารประเภทผัก ส่วนใหญ่เลือกบริโภคผักบุ้งเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมา คือ ผักกาด ส่วนประเภทอาหารอื่นๆ ส่วนใหญ่เลือก บริโภคข้าวผัดเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ ย�ำต่างๆ

33

ส่วนวัตถุประสงค์ในการบริโภคอาหารประเภทบริการ ตนเองนั้นส่วนใหญ่เพื่อเป็นที่พบปะสังสรรค์กับเพื่อน หรือคนในครอบครัวเป็นอันดับหนึง่ รองลงมาคือ เนือ่ งใน โอกาสพิเศษ และช่วงเวลาทีม่ กั จะมาใช้บริการส่วนใหญ่ มาใช้บริการเวลา 18.31 ถึง 20.30 น. เป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ มาใช้บริการเวลา 20.31 ถึง 22.30 น. ตามล�ำดับ ความถีใ่ นการบริโภค 2-3 ครัง้ ต่อเดือน ใช้เวลา ในแต่ละครัง้ 2-2.30 ชม. ในแต่ละครัง้ มีผรู้ ว่ มรับประทาน อาหาร 4-5 คน ค่าใช้จา่ ยโดยเฉลีย่ 188 บาท ส่วนใหญ่ ต้องการให้ร้านอาหารแสดงดนตรีสดด้วย และต้องการ ให้ตดิ ตัง้ เครือ่ งรับสัญญาณโทรทัศน์เพือ่ ชมรายการละคร หรือการถ่ายทอดสดกีฬาในขณะรับประทานอาหารอีกด้วย 3. ความคิดเห็นของผู้บริโภคเกี่ยวกับส่วนประสม ทางการตลาดโดยรวม 3.1 ความคิดเห็นของผูบ้ ริโภคเกีย่ วกับส่วนประสม ทางการตลาดโดยรวมอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่า อยู่ในระดับดี 5 ด้าน โดยเรียงล�ำดับ ค่าเฉลีย่ จากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ดังนี้ 1) ปัจจัย ด้านผลิตภัณฑ์ 2) ปัจจัยด้านราคา 3) ปัจจัยทางด้าน ลักษณะกายภาพ ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ความคิดเห็นของผู้บริโภคเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาดโดยรวม ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาด ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยส่งเสริมทางด้านการตลาด ปัจจัยทางด้านบริการของพนักงาน ปัจจัยทางด้านลักษณะกายภาพ ปัจจัยทางด้านกระบวนการในการให้บริการ โดยรวม

x 3.97 3.88 2.41 3.52 3.71 3.62 3.52

S.D. 0.49 0.70 0.82 0.54 0.76 0.53 0.39

ระดับ ดี ดี น้อย ดี ดี ดี ดี

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


34

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

3.2 ปั จ จั ย ทางด้ า นรู ป แบบการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ด้านกิจกรรม เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยความคิดเห็นด้าน กิจกรรมของผูบ้ ริโภคพบว่า มีระดับรูปแบบการด�ำเนินชีวติ อยู่ในระดับปานกลาง โดยผู้บริโภคชอบไปรับประทาน อาหารนอกบ้านกับครอบครัวเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมา คือ มีความชอบเข้าสังคม พบปะผู้คน 3.3 ปั จ จั ย ทางด้ า นรู ป แบบการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ด้านความสนใจ เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยรายความคิดเห็น ด้านความสนใจ มีระดับรูปแบบการด�ำเนินชีวติ อยูใ่ นระดับ ค่อนข้างไปทางซ้าย โดยชอบอาหารประเภทปิ้ง-ย่าง เป็นอันดับหนึ่ง และรองลงมาคือ ชอบอาหารประเภท บุฟเฟต์ 4. ความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อส่วนประสมทาง การตลาด 4.1 ผูบ้ ริโภคทีม่ สี ถานภาพต่างกันมีความคิดเห็น ต่อส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกันทีร่ ะดับนัยส�ำคัญ ทางสถิติ 0.05 เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผูบ้ ริโภค ที่มีสถานภาพแตกต่างกันมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน 2 ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านการส่งเสริมการตลาด 4.2 ผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีความ คิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกันทีร่ ะดับ นัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความคิดเห็น ที่แตกต่างกัน 2 ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคา 4.3 ผูบ้ ริโภคทีม่ รี ะดับอาชีพต่างกันมีความคิดเห็น ต่อส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกันทีร่ ะดับนัยส�ำคัญ ทางสถิติ 0.05 เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผูบ้ ริโภค ที่มีระดับอาชีพแตกต่างกันมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน 3 ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการบริการ 4.4 ผูบ้ ริโภคทีม่ รี ะดับรายได้ตา่ งกันมีความคิดเห็น ต่อส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกันทีร่ ะดับนัยส�ำคัญ ทางสถิติ 0.05 เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผูบ้ ริโภค ที่มีระดับรายได้แตกต่างกันมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน 3 ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการบริการ

5. การเปรียบเทียบพฤติกรรมรูปแบบการด�ำเนิน ชีวิตกับส่วนประสมทางการตลาด 5.1 ความถีใ่ นการมารับประทานอาหารประเภท บริการตนเองต่อเดือนของผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อ ส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกันที่ระดับนัยส�ำคัญ ทางสถิติ 0.05 เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า แตกต่างกัน 4 ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการบริการ และด้านกระบวนการ 5.2 ระยะเวลาในการนั่ ง รั บ ประทานอาหาร ประเภทบริการตนเองต่อครัง้ ของผูบ้ ริโภคมีตอ่ ส่วนประสม ทางการตลาดแตกต่างกันทีร่ ะดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า แตกต่างกันทุกด้าน 5.3 จ� ำ นวนคนในการมารั บ ประทานอาหาร ประเภทบริการตนเองต่อครัง้ ของผูบ้ ริโภคมีตอ่ ส่วนประสม ทางการตลาดแตกต่างกันทีร่ ะดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า แตกต่างกัน 3 ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการบริการ 5.4 ค่าใช้จา่ ยต่อครัง้ ในการนัง่ รับประทานอาหาร ประเภทบริการตนเองต่อครัง้ ของผูบ้ ริโภคมีตอ่ ส่วนประสม ทางการตลาดแตกต่างกันทีร่ ะดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า แตกต่างกันทุกด้าน 5.5 ความต้องการให้มกี ารแสดงดนตรีสดในขณะ ทีม่ กี ารมารับประทานอาหารประเภทบริการตนเองของ ผูบ้ ริโภคมีตอ่ ส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกันทีร่ ะดับ นัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า แตกต่างกัน 3 ด้านคือ ด้านราคา ด้านส่งเสริมการตลาด และด้านกระบวนการ 5.6 ความต้องการให้มกี ารติดตัง้ เครือ่ งรับโทรทัศน์ เพือ่ ชมละครหรือการถ่ายทอดฟุตบอลสดในขณะทีม่ กี าร มารับประทานอาหารประเภทบริการตนเองของผูบ้ ริโภค มีตอ่ ส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกันทีร่ ะดับนัยส�ำคัญ ทางสถิติ 0.05 เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า แตกต่างกัน ทุกด้าน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

35

6. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้บริโภคกับ รูปแบบการด�ำเนินชีวิต 6.1 ความถีใ่ นการมารับประทานอาหารประเภท บริการตนเองมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับรูปแบบการด�ำเนิน ชีวิตด้านความสนใจในการชอบอาหารประเภทปิ้ง-ย่าง 6.2 ระยะเวลาในการนั่ ง รั บ ประทานอาหาร ประเภทบริการตนเองในแต่ละครัง้ มีความสัมพันธ์เชิงบวก กับรูปแบบการด�ำเนินชีวิตด้านกิจกรรมในการชอบเข้า สังคม 6.3 จ� ำ นวนคนในการมารั บ ประทานอาหาร ประเภทบริการตนเองมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับรูปแบบ การด�ำเนินชีวติ ด้านความสนใจในการชอบอาหารประเภท ปิ้ง-ย่าง และร้านอาหารที่มีลักษณะให้บริการตนเอง หรือบุฟเฟต์ 6.4 ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยมีความสัมพันธ์เชิงบวก กับรูปแบบการด�ำเนินชีวติ ด้านความสนใจในร้านอาหาร ที่มีลักษณะให้บริการตนเองหรือบุฟเฟต์ 7. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้บริโภคกับ ส่วนประสมทางการตลาด 7.1 ผู้บริโภคที่ชอบรับประทานอาหารประเภท เนื้อสัตว์ (หมู) มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับส่วนประสม ทางการตลาดโดยรวม เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้าน บริการ และด้านกายภาพ

7.2 ผู้บริโภคที่รับประทานอาหารประเภทอื่นๆ (ข้าวผัด) มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับส่วนประสมทาง การตลาดโดยรวม เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับด้านกายภาพเพียงด้านเดียว

ภาพที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการชอบรับประทาน อาหารประเภทเนื้อสัตว์ กับส่วนประสมทางการตลาด

ภาพที่ 3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ที่มา รับประทานอาหารต่อเดือนกับส่วนประสมทางการตลาด

ภาพที่ 2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการชอบรับประทาน อาหารประเภทอื่นๆ กับส่วนประสมทางการตลาด 7.3 ความถีใ่ นการมารับประทานอาหารประเภท บริการตนเองของผู้บริโภค 2-3 ครั้งต่อเดือน มีความ สัมพันธ์เชิงบวกกับส่วนประสมทางการตลาดโดยรวม เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวก กับด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านบริการ และด้าน กระบวนการ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


36

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

7.4 จ� ำ นวนคน 4-5 คนต่ อ ครั้ ง ในการมา รับประทานอาหารประเภทบริการตนเองมีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับส่วนประสมทางการตลาดโดยรวม เมือ่ พิจารณา เป็นรายด้านพบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคา

ภาพที่ 4 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจ�ำนวนผู้ร่วม รับประทานอาหารต่อครั้งกับส่วนประสมทางการตลาด การตรวจสอบข้อมูลเชิงสัมพันธ์โดยใช้ค่าเฉลี่ย โดยรวมของส่วนประสมทางการตลาด แล้ววาดภาพเป็น กราฟด้วย quantile-quantile plots วาดความสัมพันธ์ ระหว่างตัวอย่างทีก่ ำ� หนด พบว่า มีการแจกแจงแบบปกติ ดังภาพที่ 5

ภาพที่ 5 การตรวจสอบข้อมูลเชิงสัมพัทธ์โดยใช้ ข้อมูลเชิงปริมาณ

สรุปและอภิปรายผล

1. ความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อส่วนประสมทาง การตลาด พบว่า ผู้บริโภคที่มีสถานภาพต่างกันมีความ คิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกัน 2 ด้าน คือ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านการส่งเสริมการตลาด สอดคล้องกับ Sribureeruk et al. (2017) พบว่า ระดับ ความส�ำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของ น�้ำนมข้าวโพดพาสเจอร์ไรส์ในภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก โดยด้านผลิตภัณฑ์มีความส�ำคัญเป็น ล�ำดับแรก รองลงมาคือ ด้านส่งเสริมการตลาด ราคา และช่องทางการจัดจ�ำหน่าย ส่วนระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกัน 2 ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคา ในด้านการ ประกอบอาชีพทีแ่ ตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อส่วนประสม ทางการตลาดแตกต่างกัน 3 ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการบริการ สอดคล้องกับ Jadjumras (2012) ที่พบว่า ลูกค้ามีความพึงพอใจในปัจจัยแต่ละ ด้าน ดังนี้ ด้านผลิตภัณฑ์ ได้แก่ อาหารมีความสะอาด ถูกสุขลักษณะ และอาหารมีความหลากหลาย ปัจจัย ด้านราคา ได้แก่ ราคาอาหารคุ้มค่าเมื่อเปรียบเทียบกับ ร้านอาหารชนิดเดียวกัน และอาหารเหมาะสมกับปริมาณ และคุณภาพของวัตถุดบิ ด้านส่งเสริมทางด้านการตลาด และด้านส่งเสริมการขาย เกิดจากการแนะน�ำ การบอกต่อ จากเพือ่ นหรือคนรูจ้ กั ให้ใช้บริการ ด้านการบริการ ได้แก่ จ�ำนวนพนักงานทีเ่ พียงพอ และมีความรวดเร็วในการให้ บริการ ด้านสถานที่ ได้แก่ สถานทีภ่ ายในร้านกว้างขวาง มีที่นั่งเพียงพอ บรรยากาศภายในร้านมีอากาศถ่ายเท ไม่แออัด มีทจี่ อดรถรองรับลูกค้าเพียงพอ ห้องน�ำ้ สะอาด และที่จอดรถเข้า-ออกสะดวก ด้านปัจจัยทั่วไปที่ส่งผล ถึงการเลือกบริโภคบุฟเฟต์หมูกระทะ ได้แก่ มีอาหารเติม สม�ำ่ เสมอ มีความปลอดภัย (เตาย่าง) และร้านมีเมนูใหม่ เป็นประจ�ำ สุดท้ายระดับรายได้ของผูบ้ ริโภคทีแ่ ตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกัน 3 ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการบริการ สอดคล้องกับ Noothong (2012) กระบวนการตัดสินใจ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

เข้าใช้บริการเพราะต้องการลองชิมอาหารแปลกใหม่ โดยมีเพื่อนและญาติเป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารมีการหา ข้อมูลในด้านของรสชาติของอาหารมากทีส่ ดุ จะตัดสินใจ เมื่อได้ท�ำการหาข้อมูลจากหลายๆ แหล่งจนแน่ใจแล้ว ซึง่ เรือ่ งทีใ่ ห้ความส�ำคัญในการประกอบการตัดสินใจมาก ที่สุดคือ เรื่องรสชาติและความหลากหลาย ผู้มีอิทธิพล ในการตัดสินใจมากที่สุดคือ ตนเอง เมื่อใช้บริการแล้ว ส่วนใหญ่มคี วามพึงพอใจ ยินดีเข้าใช้บริการอีกในอนาคต พร้อมจะแนะน�ำบุคคลอื่นให้เข้าใช้บริการต่อไป 2. การเปรียบเทียบพฤติกรรมรูปแบบในการด�ำเนิน ชีวิตกับส่วนประสมทางการตลาด พบว่า ความถี่ในการ มารับประทานอาหารประเภทบริการตนเองต่อเดือน ของผูบ้ ริโภคมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาด แตกต่างกัน 4 ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้าน การบริการ และด้านกระบวนการ ระยะเวลาในการนั่ง รับประทานมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาด แตกต่างกันทุกด้าน ส่วนจ�ำนวนคนในการมารับประทาน อาหารด้วยกันต่อครั้งมีความคิดเห็นต่อส่วนประสม ทางการตลาดแตกต่างกัน 3 ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการบริการ ด้านค่าใช้จ่ายต่อครั้ง ในการนัง่ รับประทานอาหารมีความคิดเห็นต่อส่วนประสม ทางการตลาดแตกต่างกันทุกด้าน ในด้านความต้องการ ให้มีการแสดงดนตรีสดในขณะที่มีการมารับประทาน อาหารมี ค วามคิ ด เห็ น ต่ อ ส่ ว นประสมทางการตลาด แตกต่างกัน 3 ด้านคือ ด้านราคา ด้านส่งเสริมการตลาด และด้านกระบวนการ และสุดท้ายความต้องการให้มกี าร ติดตั้งเครื่องรับสัญญาณโทรทัศน์เพื่อชมละครหรือการ ถ่ายทอดสดกีฬาในขณะที่มีการมารับประทานอาหาร มีความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกัน ทุกด้าน สอดคล้องกับ Noothong (2012) รูปแบบ การใช้ชีวิตชอบเข้าสังคม ชอบรวมกลุ่มกันสังสรรค์กับ เพื่อนและครอบครัว ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าใช้บริการมีความส�ำคัญอยู่ใน ระดับมากทุกปัจจัย โดยปัจจัยทีม่ ลี ำ� ดับค่าเฉลีย่ สูงสุดคือ ด้านบุคคล รองลงมาคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านกระบวนการ

37

ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านราคา ด้านการจัดจ�ำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาดตามล�ำดับ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้บริโภคกับ รูปแบบการด�ำเนินชีวติ พบว่า ความถีใ่ นการมารับประทาน อาหารประเภทบริการตนเองมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ รู ป แบบการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ด้ า นความสนใจในการชอบ อาหารประเภทปิง้ -ย่าง ระยะเวลาในการนัง่ รับประทาน อาหารประเภทบริการตนเองในแต่ละครัง้ มีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับรูปแบบการด�ำเนินชีวิตด้านกิจกรรมในการ ชอบเข้าสังคม จ�ำนวนคนในการมารับประทานอาหาร ประเภทบริการตนเองมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับรูปแบบ การด�ำเนินชีวติ ด้านความสนใจในการชอบอาหารประเภท ปิง้ -ย่าง และร้านอาหารทีม่ ลี กั ษณะให้ลกู ค้าบริการตนเอง หรือบุฟเฟต์ สอดคล้องกับ Tianate (2014) ที่พบว่า พฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารประเภทบุฟเฟต์ ปิ้งย่างของลูกค้าในเขตกรุงเทพมหานครนั้นลูกค้าเลือก รับประทานประเภทอาหารทะเลในร้านอาหารปิ้ง-ย่าง มากที่สุด ส่วนใหญ่มาใช้บริการเวลา 18.01-21.00 น. ลูกค้าเลือกใช้บริการเพราะรสชาติของน�ำ้ จิม้ ให้เพือ่ นสนิท มีสว่ นร่วมในการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านอาหารปิง้ -ย่าง และได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับร้านอาหารปิ้ง-ย่าง โดยผ่านโทรทัศน์ ระดับความมีอิทธิพลของส่วนประสม ทางการตลาด 7Ps พบว่า ลูกค้าให้ความส�ำคัญต่อระดับ ความมีอิทธิพลของรสชาติของอาหาร ความมีอิทธิพล ของราคาบุฟเฟต์ต่อคนที่เหมาะสม และความมีอิทธิพล ของท�ำเลทีต่ งั้ สะดวกต่อการเดินทาง ความมีอทิ ธิพลของ โฆษณา ประชาสัมพันธ์ อย่างต่อเนือ่ ง ความมีอทิ ธิพลของ พนักงานภายในร้านกระตือรือร้นและเอาใจใส่ ความมี อิทธิพลของสถานทีใ่ ห้บริการมีความสะอาด และความมี อิทธิพลของการมีความปลอดภัยในการให้บริการมากทีส่ ดุ พฤติกรรมการใช้บริการกับปัจจัยด้านส่วนประสมทาง การตลาด7Ps ในการเลือกใช้บริการร้านอาหารประเภท บุฟเฟต์ปิ้งย่างของคนกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมมี ความสัมพันธ์กนั รวมถึงในด้านความสัมพันธ์ของพฤติกรรม ในการใช้บริการทีแ่ ตกต่างกันก็มคี วามสัมพันธ์กบั ปัจจัย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


38

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ด้านส่วนประสมทางการตลาด 7Ps ในการเลือกใช้บริการ ร้านอาหารประเภทบุฟเฟต์ปง้ิ -ย่างของคนกรุงเทพมหานคร ในภาพรวมด้วยเช่นกัน ค่าใช้จา่ ยโดยเฉลีย่ มีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับรูปแบบการด�ำเนินชีวติ ด้านความสนใจในร้าน อาหารที่มีลักษณะให้ลูกค้าบริการตนเองหรือบุฟเฟต์ ซึง่ สอดคล้องกับ Sripan (2007) พบว่า ปัจจัยส่วนประสม ทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ราคา การส่งเสริมการขาย บุคลากร กระบวนการ และปัจจัยรูปแบบการด�ำเนินชีวติ ในด้านความสนใจมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้าม ในระดับต�่ำกับพฤติกรรมการใช้บริการในด้านความถี่ ส่วนประสมทางการตลาดด้านราคาและปัจจัยรูปแบบ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ในด้ า นความสนใจมี ค วามสั ม พั น ธ์ ในทิศทางตรงกันข้ามในระดับต�ำ่ กับพฤติกรรมการบริโภค ในด้านระยะเวลาในการบริโภคที่ร้าน ส่วนประสมทาง การตลาดด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ใ นทิ ศ ทาง ตรงกันข้ามระดับต�ำ่ กับพฤติกรรมการบริโภคด้านจ�ำนวน คนทีไ่ ปรับประทานอาหาร และส่วนประสมทางการตลาด ด้ า นลั ก ษณะทางกายภาพมี ค วามสั ม พั น ธ์ ใ นทิ ศ ทาง ตรงกันข้ามในระดับต�่ำกับพฤติกรรมการบริโภคด้าน ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยต่อครั้งอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 4. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผูบ้ ริโภคกับส่วน ประสมทางการตลาด พบว่า ผูบ้ ริโภคทีช่ อบรับประทาน

อาหารประเภทเนื้อสัตว์ (หมู) มีความสัมพันธ์เชิงบวก กับส่วนประสมทางการตลาดโดยรวม เมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านบริการ และด้านกายภาพ ผู้บริโภคที่ ชืน่ ชอบรับประทานอาหารประเภทอืน่ ๆ (ข้าวผัด) ด้วยมี ความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง บวกกั บ ส่ ว นประสมทางการตลาด โดยรวม แต่เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับด้านกายภาพเพียงด้านเดียว ความถีใ่ นการมา รับประทานอาหารประเภทบริการตนเองของผู้บริโภค 2-3 ครัง้ ต่อเดือน มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับส่วนประสม ทางการตลาดโดยรวม เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้าน บริการ และด้านกระบวนการ และจ�ำนวนคนในการมา รับประทานอาหารประเภทบริการตนเอง 4-5 คนต่อครัง้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับส่วนประสมทางการตลาด โดยรวม เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคา สอดคล้องกับ Horpiromsakul, Vibunpattanawong & Vaewhong (2010) โดยพบว่า กลยุทธ์ดา้ นส่วนประสมทางการตลาด เน้นสร้างความแตกต่างในตัวผลิตภัณฑ์ ราคาทีน่ า่ ดึงดูด ส�ำหรับผูบ้ ริโภค สถานทีท่ บี่ ง่ บอกถึงความเป็นเอกลักษณ์ ของประเทศญี่ปุ่นและการส่งเสริมการตลาดที่สามารถ สื่อสารถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้

References

Aaker, D. A., Kumar, V., Leone, R. & Day, G. S. (2001). Marketing research. NY: John Wiley & Son. Chansanam, W. (2014). Data Processing and Analysis in Business Research. Chaiyaphum: CPRU Press. [in Thai] Chen, M. F. (2007). Consumer attitudes and purchase intentions in relation to organic foods in Taiwan: Moderating effects of food-related personality traits. Food Quality and Preference, 18(7), 1008-1021. GNU Project. (2015). GNU PSPP. Retrieved March 16, 2017, from https://www.gnu.org/software/ pspp/ Horpiromsakul, P., Vibunpattanawong, N. & Vaewhong, P. (2010). Buffet Restaurant in Japanese Style. Master of Business Administration, Thammasart University. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

39

Jadjumras, N. (2012). Factors influencing in consumption of grill in Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai Province. Master of Arts (Political Economy), Chiang Mai University. [in Thai] Loudon, D. L. & Della Bitta, A. J. (1988). Consumer Behavior: Concepts and Application (3rd ed.). NY: McGraw Hill. McCarthy, E. J. & Perreault, W. D. Jr. (1996). Basic marketing: A global managerial approach (12th ed.). Chicago: Irwin. MGR Online. (2004). Domestic restaurant business: Continuing expansion... enterprises accelerate the strategy. Retrieved March 10, 2017, from http://www.manager.co.th/iBizChannel/ ViewNews.aspx?NewsID=9470000097944 [in Thai] Noothong, P. (2012). Selection of Japanese restaurant service using on belt buffet of consumers in Muang district, Chiang Mai province. Master of Business Administration in Business Administration, Maejo University. [in Thai] Pongwichai, S. (2013). Statistical Data Analysis by Computer. Bangkok: Chulalongkorn University Printing. [in Thai] Rinwong, S. (2017). “Buffet” is hot! Limited budget. Retrieved March 10, 2017, from http://www. bangkokbiznews.com/news/detail/742264 [in Thai] Solomon, M. R. (2013). Consumer Behavior: Buying, Having, and Being (8th ed.). NJ: Pearson Prentice Hall. Sribureeruk, P., Yambunjong, P., Nakasiri, S. & Chomtrakan, K. (2017). Consumers opinions towards marketing mix factors of pasteurized corn milk at convenience stores in Bangkok. Panyapiwat Journal, 9(2), 60-68. [in Thai] Sripan, S. (2007). Consumer’s and behaviors towards grilled food of Moo Kata shop in Perimeter. Master of Business Administration in Management, Srinakharinwirot University. [in Thai] Tianate, T. (2014). Relations between behavior and 7Ps marketing mix influential level of choosing grilled buffet restaurants of Bangkok people. Master of Business Administration, University of the Thai Chamber of Commerce. [in Thai] Treevanich, A. (2010). Business Statistics. Khon Kaen: Khon Kaen University. [in Thai]

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


40

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Name and Surname: Wirapong Chansanam Highest Education: Ph.D. (Information Studies), Khon Kaen University University or Agency: Chaiyaphum Rajabhat University Field of Expertise: Business Administration, Information System, Ontology, Semantic web, Knowledge-based system Address: Chaiyaphum Rajabhat University, Chaiyaphum 36000 Name and Surname: Pattaraporn Hirankham Highest Education: BBA (Business Computer), Chaiyaphum Rajabhat University University or Agency: Chaiyaphum Rajabhat University Field of Expertise: Business Administration Address: 21 Moo 2, Huay Rai, Khon Sawan, Chaiyaphum 36140 Name and Surname: Matsaya Hongkhammee Highest Education: BBA (Business Computer), Chaiyaphum Rajabhat University University or Agency: Chaiyaphum Rajabhat University Field of Expertise: Business Administration Address: 56 Moo 6, Sra Phontong, Kaset Sombun, Chaiyaphum 36120 Name and Surname: Ittipol Samranruen Highest Education: BBA (Business Computer), Chaiyaphum Rajabhat University University or Agency: Chaiyaphum Rajabhat University Field of Expertise: Business Administration Address: 229/1 Moo 2, Ban Pao, Kaset Sombun, Chaiyaphum 36120

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

41

อิทธิพลคั่นกลางของทุนโครงสร้างและการเป็นผู้ประกอบการในการถ่ายทอดทุน เชิงความสัมพันธ์สู่ผลิตภาพส�ำหรับอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย MEDIATED EFFECTS OF STRUCTURAL CAPITAL AND ENTREPRENEURSHIP IN TRANSMITTING RELATIONAL CAPITAL TO THE PRODUCTIVITY FOR THAILAND’S GEMS AND JEWELRY INDUSTRY ธัญนันท์ บุญอยู่ Thanyanan Boonyoo หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ Doctor of Business Administration Program, Graduate school, Southeast Asia University

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทุนเชิงความสัมพันธ์ ทุนโครงสร้าง การเป็นผู้ประกอบการ และผลิตภาพของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย และ 2) ศึกษาทุนโครงสร้างและการเป็นผู้ประกอบการ ในฐานะตัวแปรคั่นกลางที่เชื่อมโยงทุนเชิงความสัมพันธ์สู่ผลิตภาพของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย งานวิจยั นีเ้ ป็นการวิจยั เชิงปริมาณ (quantitative research) ด้วยวิธกี ารวิจยั เชิงส�ำรวจ (survey research) กับประชากร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอัญมณีไทย จ�ำนวน 128 ตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถาม สถิตทิ ใี่ ช้คอื วิเคราะห์ดว้ ยค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ตวั แบบสมการ โครงสร้างโดยใช้โปรแกรม PLS Graph 3.0 ผลการวิจัยพบว่า 1) ทุนเชิงความสัมพันธ์ ทุนโครงสร้าง การเป็นผู้ประกอบการ และผลิตภาพขององค์การ มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก และ 2) ทุนโครงสร้างและการเป็นผู้ประกอบการเป็นปัจจัยคั่นกลางที่เชื่อมโยงทุน เชิงความสัมพันธ์สผู่ ลิตภาพเข้าด้วยกัน แต่การเป็นผูป้ ระกอบการไม่เป็นปัจจัยคัน่ กลางระหว่างทุนโครงสร้างกับผลิตภาพ ขององค์การ ค�ำส�ำคัญ: ทุนเชิงความสัมพันธ์ ทุนโครงสร้าง การเป็นผู้ประกอบการ ผลิตภาพขององค์การ

Corresponding Author E-mail: thanyanan7@gmail.com


42

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

The objectives of the research were: 1) to study the relational capital, structural capital, entrepreneurship, and the productivity of Thailand’s gems and jewelry industry, 2) to study the structural capital and entrepreneurship as linkage mediators for relational capital to the productivity of Thailand’s gems and jewelry industry. In the quantitative phase of investigation, the researcher deployed a survey research methodology. The research samples population included 128 operators of the Thailand’s gems and jewelry industry. Using a questionnaire as a research instrument to collect data, the researcher distributed copies of the questionnaire to the members of the sample population. Using techniques of descriptive statistics, the researcher analyzed the data collected in terms of percentage, mean and standard deviation. Furthermore, the researcher employed structural equation model (SEM) analysis by virtue of using the Partial Least Square (PLS) Graph 3.0 computer software application. The research results revealed that relational capital, structural capital, entrepreneurship, and organizational productivity showed overall means at a high level. The results obtained by the structural equation modeling analysis of factors influencing organizational productivity revealed that 1) influences structural capital and entrepreneurship as the mediating exhibited correlation between relational capital and organizational productivity, 2) influences entrepreneurship as the mediating exhibited no correlation between structural capital and organizational productivity. Keywords: Relational Capital, Structural Capital, Entrepreneurship, Organizational productivity

บทน�ำ

อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทยถือเป็น อุตสาหกรรมหนึ่งที่มีความส�ำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ ของประเทศ และเป็นอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าในตัวเอง มีความผันผวนอยู่ตลอดเวลา มีการสร้างรายได้ สร้าง เสถียรภาพและความมัน่ คงให้กบั เศรษฐกิจของประเทศ มีอตั ราการเติบโตอย่างต่อเนือ่ งหากเปรียบเทียบกับมูลค่า การส่งออก ซึ่งถือว่าเป็นอุตสาหกรรมที่มีความส�ำคัญ ต่อระบบเศรษฐกิจไทยสูง โดยอุตสาหกรรมอัญมณีและ เครื่องประดับไทยเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการส่งออกเป็น อันดับ 4 รองจากอุตสาหกรรมอุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ และมีจ�ำนวนแรงงานมากถึง 1.30 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 3.31 ของแรงงานทั้งหมด ในประเทศ (Office of Small and Medium Enterprise

Promotion, 2013: 2) โดยอุตสาหกรรมอัญมณีและเครือ่ งประดับไทยได้รบั การยอมรับจากนานาประเทศ ทั้งในด้านของคุณภาพ การเจียระไน การออกแบบที่ละเอียดอ่อนที่ต้องอาศัย ทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นก� ำลังส�ำคัญในการขับเคลื่อน ให้เกิดการพัฒนาและสร้างสรรค์กลยุทธ์ให้เกิดเป็นความ ได้เปรียบทีเ่ หนือกว่าคูแ่ ข่งขันและให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง อย่างรวดเร็ว แต่ปจั จุบนั อุตสาหกรรมอัญมณีและเครือ่ ง ประดับไทยกลับต้องประสบกับสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจที่ เข้าสูภ่ าวการณ์แข่งขันทีร่ นุ แรง จึงส่งผลให้ผลประกอบการ ของอุตสาหกรรมอยู่ในระดับที่ไม่ดีเท่าที่ควร ตลอดจน อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทยต้องอาศัย ความรู้ ทักษะและความเชีย่ วชาญของช่างฝีมอื ในการผลิต และการออกแบบเพียงอย่างเดียว โดยขาดการพัฒนา

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ของเทคโนโลยีทที่ นั สมัย จึงส่งผลให้อตุ สาหกรรมอัญมณี และเครือ่ งประดับไทย ไม่สามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้ และมีผลประกอบการที่ลดลง ดังนั้นหากอุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่องประดับไทยจะรักษาซึ่งส่วนแบ่งทาง การตลาดให้คงอยู่ได้ในระยะยาวจ�ำเป็นที่อุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่องประดับไทยต้องสร้างกลยุทธ์ให้เกิด ความได้เปรียบทางการแข่งขันที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน โดยผูป้ ระกอบการต้องตระหนักถึงสภาพของปัญหาและ หาแนวทางในการสร้างโอกาสในการแข่งขันทีเ่ หนือกว่า ด้ ว ยการใช้ ท รั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ ม าใช้ ใ นการผลิ ต ให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างคุ้มค่า ได้ตรงตาม มาตรฐานและเกิดเป็นต้นทุนต�่ำที่สามารถสร้างผลการ ด�ำเนินงานให้เกิดเป็นผลิตภาพแก่องค์การ (Hannula, 2002: 59) การจะสร้างให้เกิดผลิตภาพแก่องค์การที่เป็นการ จัดการผลการด�ำเนินงานทีม่ คี วามสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย น� ำ เข้ า และปั จ จั ย น� ำ ออกให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลของการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าและบรรลุ ซึ่งเป้าหมายที่องค์การวางไว้นั้น (Morgan, Vorhies & Schlegelmilch, 2006: 623; Deepateep, Knantanapha & Piriyakul, 2017: 122) จ�ำเป็นต้องอาศัยปัจจัย ที่เป็นทุนเชิงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นจากภายในองค์การ รวมทัง้ ความรูท้ เี่ กิดขึน้ ในตัวผูป้ ระกอบการและพนักงาน ขององค์การ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในกลุม่ ต่างๆ ภายนอก องค์การเหล่านี้ที่จะเป็นปัจจัยน�ำไปสู่ความได้เปรียบ ในการแข่งขันในตลาดได้อย่างยัง่ ยืน (Wang, 2012: 192; Mehdivand et al., 2012: 159) ตลอดจนต้องอาศัย ปัจจัยทุนโครงสร้างที่เป็นเครื่องมือพื้นฐานส�ำหรับการ สร้างความสัมพันธ์ให้เกิดเป็นการสร้างสรรค์นวัตกรรม ด้านผลิตภัณฑ์และกระบวนการทีเ่ ป็นกลไกขององค์การ (Ngah & Ibrahim, 2009: 4) โดยผ่านโครงสร้างของ ผูป้ ระกอบการทีม่ คี ณ ุ ลักษณะมุง่ เน้นกระบวนการสร้างสรรค์ สิ่งใหม่ๆ ที่แตกต่างด้วยคุณค่าหรือสิ่งที่เกิดจากความ สามารถด้วยการอุทศิ เวลา ความมานะเงินทุน จิตวิทยา ความรูแ้ ละการกล้าเผชิญกับความเสีย่ งทีเ่ ป็นการกระท�ำ

43

ความรู้สึกรับผิดชอบของผู้ประกอบการ (Boonyoo et al., 2016: 84) เพื่อสร้างคุณค่าให้กับองค์การและ ผลักดันให้เกิดเป็นผลิตภาพทีบ่ รรลุซงึ่ เป้าหมายแก่องค์การ ต่อไป ดังนัน้ จากประเด็นปัญหาข้างต้น ผูว้ จิ ยั จึงสนใจทีจ่ ะ ศึกษาอิทธิพลคั่นกลางของทุนโครงสร้างและการเป็น ผู้ประกอบการในการถ่ายทอดทุนเชิงความสัมพันธ์สู่ ผลิตภาพส�ำหรับอุตสาหกรรมอัญมณีและเครือ่ งประดับไทย โดยจะศึกษาประเด็นที่ว่า เพราะเหตุใด หรือมีปัจจัยใด บ้างหรือไม่ที่จะเป็นปัจจัยน�ำไปสู่การสร้างผลิตภาพที่ดี ให้แก่อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทยที่จะ สามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน และความอยู่รอดภายใต้การแข่งขันในปัจจุบันสืบไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาทุนเชิงความสัมพันธ์ ทุนโครงสร้าง การเป็นผู้ประกอบการ และผลิตภาพของอุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่องประดับไทย 2. เพือ่ ศึกษาทุนโครงสร้างและการเป็นผูป้ ระกอบการ ในฐานะตัวแปรคั่นกลางที่เชื่อมโยงทุนเชิงความสัมพันธ์ สูผ่ ลิตภาพของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครือ่ งประดับไทย

ขอบเขตของการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยระดับองค์การ โดยมี อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทยเป็นหน่วย วิเคราะห์ ซึ่งผู้วิจัยได้ท�ำการศึกษาอิทธิพลคั่นกลางของ ทุนโครงสร้างและการเป็นผูป้ ระกอบการในการถ่ายทอด ทุนเชิงความสัมพันธ์สผู่ ลิตภาพส�ำหรับอุตสาหกรรมอัญมณี และเครือ่ งประดับไทย ส่วนประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั คือ ผูป้ ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลางของอุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่องประดับที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล มีจำ� นวนทัง้ สิน้ 161 แห่ง (Office of Small and Medium Enterprise Promotion, 2013) และ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้ประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


44

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีจ�ำนวน 128 แห่ง

การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

การวิจยั ครัง้ นีเ้ ป็นการศึกษาตามแนวคิดของทฤษฎี ฐานทรัพยากรที่มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาเป็นผลิตภาพ ที่สูงขึ้นแก่องค์การ โดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างทุน ทางปัญญาทีเ่ กิดจากการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ งทุกกิจกรรม ที่สัมพันธ์กันกับโครงสร้างพื้นฐานภายในและภายนอก องค์การอย่างเป็นระบบ ตลอดจนผูป้ ระกอบการซึง่ เป็น ทรัพยากรหนึ่งที่จะสามารถขับเคลื่อนและน�ำความรู้ที่ เกิดขึน้ มาสร้างสรรค์ให้เกิดเป็นผลิตภาพทีม่ คี ณ ุ ค่ายากต่อ การลอกเลียนแบบหรือหาสิง่ ใดมาทดแทนได้อย่างต่อเนือ่ ง สืบไป (Tahooneh & Shatalebi, 2012: 5626) จากการทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องผู้วิจัยได้ทำ� การสรุปไว้ดังนี้ 1. ทุนเชิงความสัมพันธ์ (relational capital) เป็นความสัมพันธ์โดยรวมขององค์การทีม่ ปี ฏิสมั พันธ์กบั กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย เช่น ลูกค้า ผู้จัดหาวัตถุดิบ ชุมชน และรัฐบาล เป็นต้น เพือ่ น�ำไปสูค่ วามรูท้ เี่ ป็นประโยชน์ของ องค์การ โดยทัว่ ไปทุนเชิงความสัมพันธ์จะประกอบด้วย (1) ทุนทางธุรกิจ (business capital) ที่เป็นคุณค่า ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การธุรกิจกับผู้มีส่วนได้เสีย กลุม่ หลัก ซึง่ เกีย่ วข้องสัมพันธ์กบั องค์การในกระบวนการ ทางธุรกิจ และ (2) ทุนทางสังคม (social capital) ซึ่งเป็นคุณค่าความสัมพันธ์ระหว่างองค์การธุรกิจกับผู้มี ส่วนได้เสียกลุ่มรอง ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมขององค์การ ธุรกิจแต่ไม่ได้อยู่ในกระบวนการทางธุรกิจ องค์การธุรกิจจะประสบความส�ำเร็จและสามารถ ตอบสนองต่อเหตุการณ์ในอนาคตทีส่ ามารถเพิม่ ผลิตภาพ ขององค์การให้มปี ระสิทธิภาพได้นนั้ Sofian, Tayles & Pike (2004: 6) กล่าวว่า ทุนเชิงความสัมพันธ์จะมี อิทธิพลต่อทุนโครงสร้าง โดยองค์การต้องมุง่ เน้นไปทีก่ าร สร้างให้เกิดทุนเชิงความสัมพันธ์ระหว่างกันเพือ่ ให้ได้รบั ประโยชน์สงู สุดจากการลงทุน และอาศัยปัจจัยหนึง่ ทีเ่ ป็น

คุณลักษณะส�ำคัญของผู้ประกอบการบูรณาการให้เกิด เป็นผลลัพธ์การด�ำเนินงานขององค์การที่สูงขึ้นได้อย่าง เหมาะสม (Mehdivand et al., 2012: 150; Bollen, Vergauwen & Schnieders, 2005: 1164; Rafiei, Feyzi & Azimi, 2011: 504) ดังนั้นจากการศึกษา วรรณกรรมและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทุนเชิงความ สัมพันธ์ ผู้วิจัยจึงน�ำมาตั้งเป็นสมมติฐานได้ดังนี้ สมมติฐานที่ 1 (H1) ทุนเชิงความสัมพันธ์มอี ทิ ธิพล ต่อทุนโครงสร้าง สมมติฐานที่ 2 (H2) ทุนเชิงความสัมพันธ์มอี ทิ ธิพล ต่อการเป็นผู้ประกอบการ สมมติฐานที่ 3 (H3) ทุนเชิงความสัมพันธ์มอี ทิ ธิพล ต่อผลิตภาพขององค์การ 2. ทุนโครงสร้าง (structural capital) ถือเป็น โครงสร้างพืน้ ฐานขององค์ความรูท้ มี่ งุ่ เน้นการคิดสร้างสรรค์ ความร่วมมือในการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานภายในของ องค์การ อาทิ วิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ การบริหาร วัฒนธรรม องค์การ เป็นต้น ให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพ สูงสุดแก่องค์การ (Ngah & Ibrahim, 2009: 4) ทุนโครงสร้างจะดีหรือไม่นั้นต้องอาศัยพื้นฐาน การจัดการอย่างเหมาะสม มีเครื่องมือที่มีคุณภาพที่จะ สะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้างต่างๆ ภายในองค์การ มีการ เชื่อมโยงในเชิงบวกระหว่างองค์การกับการสร้างคุณค่า โดยเฉพาะการจะเกิดทุนโครงสร้างที่มีประสิทธิภาพได้ ต้องอาศัยตัวกลางที่ส�ำคัญที่เป็นผู้ประกอบการในการ สร้างสรรค์ และบูรณาการใช้ความสามารถทีเ่ ป็นทรัพยากร ต่างๆ ภายในองค์การมาใช้ให้เกิดความคุ้มค่าและเกิด ประสิทธิภาพของมูลค่าทางการตลาด ซึ่ง Mehdivand et al. (2012: 150) ได้สนับสนุนว่า การจะจัดการ องค์การทุนโครงสร้างให้เกิดประสิทธิภาพจ�ำเป็นต้องอาศัย ผูป้ ระกอบการเป็นผูข้ บั เคลือ่ นให้เกิดเป็นความได้เปรียบ ทางการแข่งขัน เช่นเดียวกับ Bollen, Vergauwen & Schnieders (2005: 1164) ก็ได้ให้ความส�ำคัญกับปัจจัย ทุนโครงสร้างว่ามีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญต่อผลิตภาพ ขององค์การ (Rafiei, Feyzi & Azimi, 2011: 505)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

เพือ่ น�ำไปสูก่ ารพัฒนากระบวนการผลิตและการสร้างสรรค์ ที่เป็นประโยชน์และเกิดความมั่งคั่งแก่องค์การเช่นกัน (Talebi & Bahamir, 2012: 40) ดังนั้นจากการศึกษา วรรณกรรมและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทุนโครงสร้าง ผู้วิจัยจึงน�ำมาตั้งเป็นสมมติฐานได้ดังนี้ สมมติฐานที่ 4 (H4) ทุนโครงสร้างมีอิทธิพลต่อ การเป็นผู้ประกอบการ สมมติฐานที่ 5 (H5) ทุนโครงสร้างมีอิทธิพลต่อ ผลิตภาพขององค์การ สมมติฐานที่ 6 (H6) ทุนโครงสร้างเป็นปัจจัยคัน่ กลางระหว่ า งทุ น เชิ ง ความสั ม พั น ธ์ กั บ ผลิ ต ภาพของ องค์การ 3. การเป็นผูป้ ระกอบการ (entrepreneurship) ถือเป็นกลไกและตัวกลางหลักที่ส�ำคัญต่อบทบาทของ การสร้างและพัฒนานวัตกรรมที่เป็นกระบวนการและ พฤติกรรมในการกระท�ำให้เกิดความแตกต่างอย่างสม�ำ่ เสมอ มองหาโอกาสใหม่เข้าสู่ตลาด (Sonmanee, Piriyakul & Skulitsariyaporn, 2016: 14) โดยผู้ประกอบการ จะเปรียบเสมือนนวัตกร (innovator) ที่จะผสมผสาน การเป็นผู้ประกอบการและความรู้เพื่อใช้ทรัพยากรทาง ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เชื่อมโยงให้เกิดเป็น โอกาสทางธุรกิจที่จะท�ำให้องค์การประสบความส�ำเร็จ ตลอดจนสามารถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ที่ยั่งยืนและท�ำให้เศรษฐกิจเติบโตได้ในระยะยาวต่อไป (Gurbuz & Aykol, 2009: 323) โดยผู้ประกอบการหลายองค์การต่างสร้างและ พัฒนาให้องค์การของตนเกิดความได้เปรียบทางการแข่งขัน การสร้างจุดเด่นและคุณค่าของธุรกิจที่ผู้ประกอบการ สร้างขึ้นมาผ่านเครือข่ายในการด�ำเนินธุรกิจที่เชื่อมโยง การท�ำงานอันจะน�ำไปสู่การบริหารจัดการให้เกิดความ คล่องตัวและส่งผลให้องค์การธุรกิจเกิดผลิตภาพการ ด�ำเนินงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ (Wingworn, Noithonglek & Piriyakul, 2015: 49) เช่นเดียวกับ Mehdivand et al. (2012: 151) ที่ได้กล่าวว่า ทุนเชิงความสัมพันธ์ และทุนโครงสร้างมีผลต่อผลิตภาพขององค์การ โดยมี

45

การเป็นผูป้ ระกอบการทีถ่ อื เป็นปัจจัยส�ำคัญเข้ามาสร้าง ให้ผลิตภาพขององค์การดีขนึ้ (Abdullah & Mahmood, 2012: 1719) และเป็นปัจจัยส�ำคัญที่สุดของการสร้าง นวัตกรรมและแหล่งข้อมูลทีม่ คี ณ ุ ภาพทีจ่ ะสามารถช่วยให้ องค์การเพิม่ คุณค่าในการปรับปรุงความรูท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลได้ (Behram & Ozdemirci, 2014: 265; Pratono & Mahmood, 2014: 286) ดังนัน้ จาก การศึกษาวรรณกรรมและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ การเป็นผู้ประกอบการ ผู้วิจัยจึงน�ำมาตั้งเป็นสมมติฐาน ได้ดังนี้ สมมติฐานที่ 7 (H7) การเป็นผู้ประกอบการมี อิทธิพลต่อผลิตภาพขององค์การ สมมติฐานที่ 8 (H8) การเป็นผูป้ ระกอบการเป็น ปัจจัยคัน่ กลางระหว่างทุนเชิงความสัมพันธ์กบั ผลิตภาพ ขององค์การ สมมติฐานที่ 9 (H9) การเป็นผูป้ ระกอบการเป็น ปัจจัยคั่นกลางระหว่างทุนโครงสร้างกับผลิตภาพของ องค์การ 4. ผลิตภาพขององค์การ (productivity) ถือเป็น จุดเริ่มต้นจากการมองผลผลิตและคุณค่าการผลิตที่เต็ม ไปด้วยประสิทธิภาพร่วมกัน และเป็นผลลัพธ์สุดท้าย ในการประเมินความส�ำเร็จหรือความล้มเหลว โดยปัจจัย ที่จะท�ำให้เกิดผลิตภาพขององค์การนั้นต้องอาศัยความ สัมพันธ์ระหว่างผลผลิต (outputs) กับการใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่ในกระบวนการผลิตหรืออาจเป็นผลิตภัณฑ์หรือ บริการที่ได้จากระบบการท� ำงานขององค์การที่ใช้ไป (inputs) เพื่อให้ได้ผลผลิตออกมาในปริมาณที่มากกว่า และดีกว่าเดิม โดยใช้ทรัพยากรเท่าเดิมก็จะถือว่าเป็น ผลิตภาพที่ดีขึ้น (Bemolak, 1997: 204) ดังนัน้ จากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับอิทธิพลคัน่ กลางของทุนโครงสร้างและการ เป็นผู้ประกอบการในการถ่ายทอดทุนเชิงความสัมพันธ์ สูผ่ ลิตภาพส�ำหรับอุตสาหกรรมอัญมณีและเครือ่ งประดับ ไทย ผูว้ จิ ยั ได้ทำ� การสรุปและสร้างกรอบแนวคิดในการวิจยั ครั้งนี้ ดังแสดงในภาพที่ 1

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


46

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ภาพที่ 1 กรอบแนวความคิดในการวิจัย

วิธีดำ� เนินการวิจัย

การวิจยั ครัง้ นีเ้ ป็นการวิจยั เชิงปริมาณและใช้รปู แบบ การวิจยั เชิงส�ำรวจ โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ซึ่งวิธีการวิจัยได้มีขอบเขตและรายละเอียดดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั คือ ผูป้ ระกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครือ่ ง ประดั บ ที่ อ ยู ่ ใ นเขตกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 161 แห่ง (Office of Small and Medium Enterprise Promotion, 2013) 1.2 กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั คือ ผูป้ ระกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครือ่ ง ประดั บ ที่ อ ยู ่ ใ นเขตกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล มีจ�ำนวน 128 แห่ง โดยใช้การค�ำนวณขนาดของกลุ่ม ตัวอย่างตามแนวคิดของ Westland (2010: 476-478) ซึ่งได้ก�ำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างดังนี้ n ≥ 50r2–450r + 1100 โดยที่ r คือ อัตราส่วนระหว่างตัวแปรสังเกต (manifest variables) หรือตัวชีว้ ดั (indicators variable) กับตัวแปรแฝง (latent variables) ซึง่ ในงานวิจยั ครัง้ นี้ ประกอบด้วยตัวแปรชีว้ ดั 21 ตัว และตัวแปรแฝง จ�ำนวน 4 ตัว ดังนั้นค่าของ r จึงเท่ากับ 5.25 และจากการ ค�ำนวณสูตรข้างต้น ท�ำให้จำ� นวนขนาดของกลุม่ ตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้นั้นต้องมีอย่างน้อย 128 ตัวอย่าง

2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ซึ่ง ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบ แบบสอบถาม โดยลักษณะค�ำถามเป็นแบบตรวจสอบ รายการ (check list) และส่วนที่ 2-5 เป็นแบบสอบถาม ในการประเมินทุนเชิงความสัมพันธ์ ทุนโครงสร้าง การเป็น ผู้ประกอบการและผลิตภาพขององค์การ โดยลักษณะ ของข้อค�ำถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) ตามแบบของ Likert (Likert’ Scale) 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผูว้ จิ ยั ได้แจกแบบสอบถาม จ�ำนวน 128 ฉบับ กับผูป้ ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง ของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับที่อยู่ในเขต กรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล ซึ่ ง มี ก ารตอบกลั บ ครบทุกฉบับ หลังจากนัน้ น�ำแบบสอบถามทีไ่ ด้รบั คืนมา ตรวจสอบความสมบูรณ์ และน�ำมาวิเคราะห์ขอ้ มูลต่อไป 4. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ตรวจสอบความ สมบูรณ์ของแบบสอบถามแล้วน�ำมาลงข้อมูลโดยใช้ โปรแกรมส�ำเร็จรูปและตัวแบบโครงสร้าง เพื่อน�ำข้อมูล มาวิเคราะห์ทางสถิติที่ประกอบด้วย 4.1 สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) 4.2 สถิตกิ ารวิเคราะห์ตวั แบบสมการโครงสร้าง (SEM) โดยใช้โปรแกรม PLS Graph 3.0 (Chin, 2001)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

สรุปผลการวิจัย

ผลการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ในครั้ ง นี้ พ บว่ า ผู ้ ต อบ แบบสอบถามส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เพศชาย อายุ ข องกลุ ่ ม ตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 25-35 ปี (ร้อยละ 65.80) มีระดับการศึกษาปริญญาตรี (ร้อยละ 81.60) และมี ประสบการณ์การท�ำงานอยูร่ ะหว่าง 10 ปี (ร้อยละ 64.00) ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางของอุตสาหกรรม อัญมณีและเครือ่ ง ประดั บ ที่ อ ยู ่ ใ นเขตกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล

47

ส่วนใหญ่มคี วามคิดเห็นเกีย่ วกับปัจจัยการเป็นผูป้ ระกอบการ ในระดับมากทีส่ ดุ (X = 3.73, S.D. = 0.68) รองลงมาคือ ปัจจัยทุนโครงสร้าง (X = 3.70, S.D. = 0.72) ปัจจัยทุน เชิงความสัมพันธ์ (X = 3.68, S.D. = 0.60) และสุดท้าย ปัจจัยผลิตภาพขององค์การ (X = 3.65, S.D. = 0.76) ผลการวิเคราะห์ตวั แบบสมการโครงสร้างในภาพรวม ซึ่งเป็นผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยสัมประสิทธิ์ ความถดถอยอิทธิพลทางตรง และทางอ้อมที่ส่งผลต่อ ผลิตภาพขององค์การดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2 เส้นทางความสัมพันธ์ของสมการโครงสร้าง จากภาพที่ 2 แสดงเส้นทางความสัมพันธ์ตัวแบบ สมการโครงสร้างของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลิตภาพของ องค์การ พบว่า (1) ทุนเชิงความสัมพันธ์มอี ทิ ธิพลทางตรง ต่อทุนโครงสร้าง (DE = 0.482) การเป็นผูป้ ระกอบการ (DE = 0.268) และผลิตภาพขององค์การ (DE = 0.097) ตลอดจนมีอิทธิพลทางอ้อมต่อการเป็นผู้ประกอบการ

(IE = 0.222) และผลิตภาพขององค์การ (IE = 0.197) (2) ทุนโครงสร้างมีอทิ ธิพลทางตรงต่อการเป็นผูป้ ระกอบการ (DE = 0.462) และผลิตภาพขององค์การ (DE = 0.380) และ (3) การเป็นผู้ประกอบการมีอิทธิพลต่อผลิตภาพ ขององค์การ (DE = 0.055)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


48

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตารางที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลิตภาพขององค์การ ตัวแปร (LV) ผลิตภาพขององค์การ (PY)

ความผันแปร (R2) 0.222

การเป็นผู้ประกอบการ (EN)

0.405

ทุนโครงสร้าง (SC)

0.232

อิทธิพล (effect) DE IE TE DE IE TE DE IE TE

RC

SC

EN

0.097 0.197 0.294 0.268 0.222 0.490 0.482 0.000 0.482

0.380 0.000 0.380 0.462 0.000 0.462 0.000 0.000 0.000

0.055 0.000 0.055 0.000 0.000 0.000 N/A N/A N/A

หมายเหตุ: DE = Direct Effect, IE = Indirect Effect, TE = Total Effect, N/A = Not Applicable ผลการทดสอบสมมติฐานการวิเคราะห์ตวั แบบอิทธิพล คั่นกลางของทุนโครงสร้างและการเป็นผู้ประกอบการ ในการถ่ายทอดทุนเชิงความสัมพันธ์สู่ผลิตภาพส�ำหรับ

อุ ต สาหกรรมอั ญ มณี แ ละเครื่ อ งประดั บ ไทยพบว่ า ค่าสัมประสิทธิเ์ ส้นทางมีความแตกต่างกันได้ดงั ตารางที่ 2

ตารางที่ 2 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานการวิจัย (hypothesis) H1 H2 H3 H4 H5 H7

ทุนเชิงความสัมพันธ์มีอิทธิพลต่อทุนโครงสร้าง ทุนเชิงความสัมพันธ์มีอิทธิพลต่อการเป็นผู้ประกอบการ ทุนเชิงความสัมพันธ์มีอิทธิพลต่อผลิตภาพขององค์การ ทุนโครงสร้างมีอิทธิพลต่อการเป็นผู้ประกอบการ ทุนโครงสร้างมีอิทธิพลต่อผลิตภาพขององค์การ การเป็นผู้ประกอบการมีอิทธิพลต่อผลิตภาพขององค์การ

สัมประสิทธิ์ เส้นทาง (Coef.) 0.482*** 0.268*** 0.097 0.462*** 0.380*** 0.055

ค่า t-test

ผลลัพธ์

9.188 4.346 1.043 7.175 4.384 0.447

มีอิทธิพล มีอิทธิพล ไม่มีอิทธิพล มีอิทธิพล มีอิทธิพล ไม่มีอิทธิพล

หมายเหตุ: (* หมายถึง p-value ≤ 0.10 หรือ ค่า t ≥ 1.65) (** หมายถึง p-value ≤ 0.05 หรือ ค่า t ≥ 1.96) (*** หมายถึง p-value ≤ 0.01 หรือ ค่า t ≥ 2.58)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า ทุนเชิงความสัมพันธ์ มีอิทธิพลต่อทุนโครงสร้างและการเป็นผู้ประกอบการ แต่ไม่มอี ทิ ธิพลต่อผลิตภาพขององค์การ ส่วนทุนโครงสร้าง มีอิทธิพลต่อการเป็นผู้ประกอบการและผลิตภาพของ องค์การ และการเป็นผู้ประกอบการไม่มีอิทธิพลต่อ ผลิตภาพขององค์การ

49

ผลการวิเคราะห์อทิ ธิพลคัน่ กลางซึง่ เป็นตัวแปรทีเ่ ข้ามา เปลีย่ นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม โดยที่มีตัวแปรคั่นกลางที่จะมาอธิบายอิทธิพลทางอ้อม ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ซึง่ ผลการทดสอบ อิทธิพลทางอ้อมจะปรากฏดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 ผลการทดสอบอิทธิพลทางอ้อมของโครงสร้างปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลิตภาพขององค์การ สมมติฐานการวิจัย (hypothesis) H6 ทุนโครงสร้างเป็นปัจจัยคั่นกลางระหว่างทุนเชิง ความสัมพันธ์กับผลิตภาพขององค์การ H8 การเป็นผู้ประกอบการเป็นปัจจัยคั่นกลางระหว่างทุน เชิงความสัมพันธ์กับผลิตภาพขององค์การ H9 การเป็นผู้ประกอบการเป็นปัจจัยคั่นกลางระหว่างทุน โครงสร้างกับผลิตภาพขององค์การ จากตารางที่ 3 แสดงให้เห็นว่า ทุนโครงสร้างและ การเป็นผูป้ ระกอบการเป็นปัจจัยคัน่ กลางระหว่างทุนเชิง ความสัมพันธ์กับผลิตภาพขององค์การ เพราะค่าผลคูณ ของสัมประสิทธิข์ อบเขตล่าง (Boot LLCI) – ขอบเขตบน (Boot ULCL) มีค่าไม่คลุม 0 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ทุน โครงสร้างและการเป็นผูป้ ระกอบการเป็นปัจจัยคัน่ กลาง ระหว่างทุนเชิงความสัมพันธ์กับผลิตภาพขององค์การ แต่การเป็นผูป้ ระกอบการไม่เป็นปัจจัยคัน่ กลางระหว่าง ทุนโครงสร้างกับผลิตภาพขององค์การ เพราะค่าผลคูณ ของสัมประสิทธิข์ อบเขตล่าง (Boot LLCI) – ขอบเขตบน (Boot ULCL) มีค่าคลุม 0

อภิปรายผล

การวิจยั ครัง้ นีไ้ ด้แบ่งการอภิปรายผลออกเป็นแต่ละ ปัจจัยดังนี้ 1. ปัจจัยทุนความสัมพันธ์ จากผลการวิจัยพบว่า ทุ น เชิ ง ความสั ม พั น ธ์ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ทุ น โครงสร้ า งและ

.1850

Boot SE .0558

Boot LLCI .0801

Boot ULCI .3000

.1179

.0546

.0087

.2244

.0723

.0771

-.0851

.2279

Effect

การเป็นผูป้ ระกอบการ โดยสอดคล้องกับการศึกษาวิจยั ของ Sofian, Tayles & Pike (2004: 6) ที่กล่าวว่า ทุ น เชิ ง ความสั ม พั น ธ์ จ ะมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ทุ น โครงสร้ า ง โดยองค์การต้องมุง่ เน้นไปทีก่ ารสร้างให้เกิดทุนเชิงความ สัมพันธ์ระหว่างกันเพื่อให้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการ ลงทุน และอาศัยปัจจัยหนึง่ ทีเ่ ป็นคุณลักษณะส�ำคัญของ ผูป้ ระกอบการบูรณาการให้เกิดเป็นผลลัพธ์การด�ำเนินงาน ขององค์การที่สูงขึ้นได้อย่างเหมาะสม (Mehdivand et al., 2012: 150; Bollen, Vergauwen & Schnieders, 2005: 1164; Rafiei, Feyzi & Azimi, 2011: 504) แต่ทุนเชิงความสัมพันธ์ไม่มีอิทธิพลต่อผลิตภาพของ องค์การ อาจสืบเนือ่ งจากบริบทขององค์การทีเ่ กิดความ แตกต่างกันทางการจัดการจึงท�ำให้ทนุ เชิงความสัมพันธ์ ไม่มีอิทธิพลต่อผลิตภาพขององค์การ 2. ปัจจัยทุนโครงสร้าง จากผลการวิจัยพบว่า ทุน โครงสร้างมีอทิ ธิพลต่อการเป็นผูป้ ระกอบการและผลิตภาพ ขององค์การ และทุนโครงสร้างก็เป็นปัจจัยคั่นกลาง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


50

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ระหว่างทุนเชิงความสัมพันธ์กับผลิตภาพขององค์การ โดยสอดคล้ อ งกั บ การศึ ก ษาวิ จั ย ของ Mehdivand et al. (2012: 150) ได้สนับสนุนว่า การจัดการองค์การ ทุ น โครงสร้ า งให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพจ� ำ เป็ น ต้ อ งอาศั ย ผูป้ ระกอบการเป็นผูข้ บั เคลือ่ นให้เกิดเป็นความได้เปรียบ ทางการแข่งขัน เช่นเดียวกับ Bollen, Vergauwen & Schnieders (2005: 1164) ก็ได้ให้ความส�ำคัญกับปัจจัย ทุนโครงสร้างว่ามีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญต่อผลิตภาพ ขององค์การ (Rafiei, Feyzi & Azimi, 2011: 505) เพือ่ น�ำไปสู่การพัฒนากระบวนการผลิตและการสร้างสรรค์ ที่เป็นประโยชน์และเกิดความมั่งคั่งแก่องค์การเช่นกัน (Talebi & Bahamir, 2012: 40) 3. ปัจจัยการเป็นผู้ประกอบการ จากผลการวิจัย พบว่า การเป็นผูป้ ระกอบการเป็นปัจจัยคัน่ กลางระหว่าง ทุนเชิงความสัมพันธ์กบั ผลิตภาพขององค์การ และการเป็น ผูป้ ระกอบการก็เป็นปัจจัยคัน่ กลางระหว่างทุนโครงสร้าง กับผลิตภาพขององค์การ โดยสอดคล้องกับการศึกษา วิจยั ของ Mehdivand et al. (2012: 151) ทีไ่ ด้กล่าวว่า ทุนเชิงความสัมพันธ์และทุนโครงสร้างมีผลต่อผลิตภาพ ขององค์การ โดยผู้ประกอบการถือเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญ เข้ามาสร้างให้ผลิตภาพดีขนึ้ (Abdullah & Mahmood, 2012: 1719) และเป็นปัจจัยส�ำคัญที่สุดของการสร้าง นวัตกรรมและแหล่งข้อมูลทีม่ คี ณ ุ ภาพทีจ่ ะสามารถช่วยให้ องค์การเพิม่ คุณค่าในการปรับปรุงความรูท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลได้เช่นกัน (Behram & Ozdemirci, 2014: 265; Pratono & Mahmood, 2014: 286) แต่ทุนโครงสร้างไม่มีอิทธิพลต่อการเป็นผู้ประกอบการ เพราะทุ น โครงสร้ า งเป็ น บริ บ ทของสภาพแวดล้ อ ม ทัง้ ภายในและภายนอกทีม่ กี ารก�ำหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ

และกลยุทธ์ที่เอื้ออ�ำนวยให้เกิดผลิตภาพขององค์การ ที่แตกต่างกัน และอาจมีการปรับเปลี่ยนตามสภาพ แวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจึงท�ำให้การเป็นผูป้ ระกอบการ ไม่มีอิทธิพลต่อผลิตภาพขององค์การได้เช่นกัน

ข้อเสนอแนะ

จากผลการศึกษาผู้วิจัยมีประเด็นข้อเสนอแนะเพื่อ การวิจัยดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะเชิงการประยุกต์ใช้ในการจัดการ 1.1 จากผลการวิจยั พบว่า ทุนเชิงความสัมพันธ์ เพียงแค่ปจั จัยเดียวจะไม่สามารถท�ำให้ผลิตภาพขององค์การ สูงขึ้นได้ อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย จ�ำเป็นต้องขับเคลื่อนทุนโครงสร้างพื้นฐานให้กลายเป็น องค์ความรูท้ สี่ ามารถสร้างคุณค่าให้แก่อตุ สาหกรรมอัญมณี และเครื่องประดับไทย 1.2 จากผลการวิจยั พบว่า ทุนโครงสร้างเป็นปัจจัย ส�ำคัญทีเ่ ชือ่ มโยงให้เกิดผลิตภาพทีส่ งู ขึน้ ผูป้ ระกอบการ อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทยต้องมุ่งเน้น โครงสร้างพื้นฐานในการพัฒนากลยุทธ์ทางการแข่งขัน ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและมุ่งเน้นผลลัพธ์ในการ ด�ำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น วัฒนธรรมการปรับตัว (adaptation culture) มาใช้เป็น ตัวแปรในการจัดการบริหารองค์การให้เกิดผลิตภาพทีส่ งู ขึน้ 2.2 ควรน�ำทฤษฎีทสี่ ร้างจากข้อมูลและน�ำความรู้ ที่ได้จากผลการศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์ไปประยุกต์ใช้ ในอุตสาหกรรมเดียวกันหรืออุตสาหกรรมอื่นๆ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

51

References

Abdullah, K. A. S. & Mahmood, R. (2012). Total quality management, entrepreneurial orientation and organizational performance: The role of organizational culture. African Journal of Business Management, 6(13), 4717-4727. Behram, N. K. & Ozdemirci, A. (2014). The empirical link between environmental conditions, organizational culture, corporate entrepreneurship and performance: The mediating role of corporate entrepreneurship. International Journal of Business and Social Science, 5(2), 264-276. Bemolak, I. (1997). Effective measurement and successful elements of company productivity: The basis of competitive-ness and world prosperity. International Journal of Production Economics, 52(1), 203-213. Bollen, L., Vergauwen, P. & Schnieders, S. (2005). Linking intellectual capital and intellectual property to company performance. Management Decision, 43(9), 1161-1185. Boonyoo, T., Rungruangwuddikrai, N., Piriyakul, M. & Khantanapha, N. (2016). Serial mediated effects of intellectual capital and entrepreneurship in transmitting organizational culture to performance of Bus Body Industry. Doctor of Philosophy in Social Sciences Association Ramkhamhaeng University, 6(1), 78-94. [in Thai] Chin, W. W. (2001). PLS graph user’s guide version 3.0. Retrieved April 8, 2016, from http://www. Pubinfo.vcu.edu/carma/documents Deepateep, A., Knantanapha, N. & Piriyakul, R. (2017). The effects of the factors of organizational culture, communication, and empowerment on organizational citizenship behaviors after bank mergers and acquisitions as transmitted by role stress. Doctor of Philosophy in Social Sciences Association Ramkhamhaeng University, 7(1), 120-135. [in Thai] Gurbuz, G. & Aykol, S. (2009). Entrepreneurial management, entrepreneurial orientation and Turkish small firm growth. Management Research News, 32(4), 321-336. Hannula, M. (2002). Total productivity measurement based on partial productivity ratios. International Journal of Production Economics, 78(1), 57-67. Mehdivand, M., Zali, M. R., Madhoshi, M. & Kordnaeij, A. (2012). Intellectual capital and nano-businesses performance: The Moderating role of entrepreneurial orientation. European Journal of Economics, Finance and Administrative Sciences, 52, 147-162. Morgan, N. A., Vorhies, D. W. & Schlegelmilch, B. B. (2006). Resource performance relationships in industrial export ventures: The role of resource inimitability and substitutability. Industrial Marketing Management, 35(5), 621-633.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


52

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Ngah, R. & Ibrahim, A. R. (2009). The relationship of intellectual capital, innovation and organizational performance: A preliminary study in Malaysian SMEs. International Journal of Management Innovation Systems, 1(1), 1-13. Office of Small and Medium Enterprise Promotion. (2013). Strategy and Action Plan for Small and Medium Enterprises. Retrieved November 10, 2017, from http://thaifranchisedownload. com/dl/group154_6587_20140110154445.pdf [in Thai] Pratono, A. H. & Mahmood, R. (2014). The moderating effect of environmental turbulence in the relationship between entrepreneurial management and firm performance. Universal Journal of Management, 2(7), 285-292. Rafiei, M., Feyzi, T. & Azimi, H. (2011). Intellectual capital and its effect in economic performance: A case study in Iranian automotive industry. Journal of American Science, 7(6), 495-507. Sofian, S., Tayles, M. E. & Pike, R. H. (2004). Intellectual capital: An evolutionary change in management accounting practices. Retrieved May 28, 2016, from http://www.brad.ac.uk/ acad/management Sonmanee, K., Piriyakul, R. & Skulitsariyaporn, C. (2016). The influence of the advantage of franchisor justice, support and franchisor brand image on the success of the fresh roasted coffee franchise business in Thailand. Panyapiwat Journal, 8(2), 11-24. [in Thai] Tahooneh, S. & Shatalebi, B. (2012). The relationship between intellectual capital and organizational creativity among faculty members of Islamic Azad University, Khorasgan Branch in 2011-2012. Life Science Journal, 9(4), 5626-5632. Talebi, K. & Bahamir, A. (2012). Identification of intellectual capital effects on promoting organization entrepreneurship. International Journal of Business economics & Management Research, 2(6), 37-48. Wang, C. L. & Ahmed, P. K. (2004). The development and validation of the organizational innovativeness construct using confirmatory factor analysis. European Journal of Innovation Management, 7(4), 303-313. Wang, G. L. (2012). A study of how the organizational culture of international tourist hotels affects organizational performance: Using intellectual capital as the mediating variable. The Journal of Global Business Management, 8(1), 189-201. Westland, J. C. (2010). Lower bounds on sample size in structural equation modeling. Electronic Commerce Research and Applications, 9(6), 476-487. Wingworn, B., Noithonglek, T. & Piriyakul, M. (2015). The mediating effect of innovation, family constitution, business networking on entrepreneurship and family business performance. Journal of the Association of Researchers, 2(1), 46-61. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

53

Name and Surname: Thanyanan Boonyoo Highest Education: D.B.A. (Business Administration), Ramkhamhaeng University University or Agency: Southeast Asia University Field of Expertise: Business Management Address: 60 Moo 12, Suankluai, Banpong, Ratchaburi 70110

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

54

CRITICAL SUCCESS FACTORS IN CUSTOMER LOYALTY: CASE STUDY OF INTERNATIONAL FAST FOOD BRAND IN MYANMAR ปัจจัยที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้าร้านอาหารฟาสต์ฟู้ด: กรณีศึกษาในประเทศพม่า Naw Glynda Wah1 and Pithoon Thanabordeekij2 1,2International College, Panyapiwat Institute of Management

Abstract

The purpose of this study is to examine the relationship between five dimensions of perceived service quality, brand image and customer satisfaction towards customer loyalty of fast food restaurant in Yangon, Myanmar. The quantitative questionnaires were approached by using linear regression analysis to confirm the results. Survey data were collected from 400 customers who experienced the service of international fast food restaurant in Yangon namely KFC, Mary Brown and Lotteria. Survey data were collected from customers who are visiting in shopping malls namely Myanmar Plaza, Junction City, and Junction Square. Results of the study suggest customer loyalty is most influenced by the “Tangibility” dimension. The finding also shows that brand image is also positively influenced customer satisfaction and loyalty. Keywords: Perceived service quality, Brand image, Customer satisfaction, Customer loyalty, Fast food restaurant

Corresponding Author E-mail: glyndawah@gmail.com


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

55

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้คือ หาความสัมพันธ์จากปัจจัยทั้งห้าด้านเกี่ยวกับการรับรู้คุณภาพบริการ ภาพลักษณ์และความพึงพอใจต่อความภักดีของลูกค้าร้านอาหารฟาสต์ฟูดในย่างกุ้ง ประเทศพม่า การวิจัยครั้งนี้ ใช้แบบสอบถามเชิงปริมาณในการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความภักดีของลูกค้า โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการส�ำรวจ มีจ�ำนวนทั้งหมด 400 คน ที่มีประสบการณ์ในการรับบริการจากร้านอาหารฟาสต์ฟู้ด 3 แบรนด์ ได้แก่ (1) KFC (2) Mary Brown และ (3) Lotteria ในศูนย์การค้า 3 แห่งในย่างกุ้ง ได้แก่ (1) Myanmar Plaza (2) Junction City และ (3) Junction Square ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ความจงรักภักดีของลูกค้าได้รับ อิทธิพลมากทีส่ ดุ จากการให้บริการทีเ่ ป็นรูปธรรม อีกทัง้ ภาพลักษณ์ของแบรนด์ยงั ส่งผลทางบวกต่อความพึงพอใจและ ความภักดีของลูกค้า ค�ำส�ำคัญ: การรับรูค้ ณ ุ ภาพบริการ ภาพลักษณ์ของแบรนด์ ความพึงพอใจของลูกค้า ความภักดีของลูกค้า ร้านอาหาร ฟาสต์ฟู้ด

Introduction

The recent opening of Myanmar’s economy has led to an influx of foreign investments and a growing middle class. In 2013, some famous Asia fast food brands such as Lotteria from Korea and Mary Brown from Malaysia were entering the country and opening the franchise shops in Myanmar. These fast food chains introduced the fast food culture to Myanmar. Historically, fast food industry has been growing after the partial lifting of the US sanctions on Myanmar in 2015. Today, the fast food restaurants can be found in most of the shopping malls and downtown area. There three famous international fast food brands in Myanmar namely KFC, Lotteria and Mary Brown. Among these the international brands, Lotteria has the most outlets (15 outlets) followed by KFC (13 outlets) and Mary Brown (7 outlets). With this highly competitive market rivalry, the fast food restaurants have to keep up with their competitors in term of products and

services offered to satisfy customers. Delivering high-quality products and services are important to create a good image of the business which enhancing their customer experience and satisfaction for returning business. Understanding the factors that impact customer loyalty is a must for the service provider. Thus, the main objective of this study is to investigate the critical success factors in customer loyalty towards fast food restaurants in Myanmar.

Literature review

Service Quality There are several factors that drive restaurant business to success. Service quality is one of the key success factors which lead to the growth of the restaurant business in differentiating itself from competitors. Providing high-quality service is an opportunity to influence customers’ satisfaction and loyalty. Many restaurants try to provide high-quality service which is beyond customer’s

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


56

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

expectation to maintain their customers and survive in a competitive environment (Dabholkar, Shepherd & Thorpe, 2000). Cronin & Taylor (1992) suggested that one of the most important strategies to improve service quality would be for a service provider to distinguish themselves from competitors and to be effectively positioned in the marketplace. The SERVQUAL Model The SERVQUAL approach was designed by Parasuraman, Zeithaml & Berry (1985), in response to the lack of conclusive published research material link with service quality management. Since service quality has been described as intangible, desperate and indivisible, it is very difficult to measure it objectively (Zhao, Bai & Hui, 2002). Past researchers have indicated, reconstructed and proposed various versions of the SERVQUAL model to bring about specific aspects in the numerous service sectors (Pizam, Shapoval & Ellis, 2016). SERVQUAL model is based on customers’ evaluation of the quality of a service across five distinct dimensions for service sectors: tangibility, reliability, assurance, responsiveness, and empathy. 1) Tangibility is the feature of the restaurant, which the customer will experience once they are in the restaurant (Ramseook-Munhurrun, 2012). The tangible factors related to restaurant include comfortable store designs, clean dining area, hygienic equipment and enough and well-dressed service employees to provide professional services.

2) According to Zeithaml (1988), reliability is the ability to provide a promised service attentively and precisely. For the restaurant industry, reliability means providing fresh food with a right temperature and serving error-free orders to the customers. 3) Responsiveness means helping customers willingly and providing prompt service. Accurate and passionate service quality are the main important things that service employees need to contribute to customers. 4) Assurance is the knowledge and politeness of service provider and their skill to deliver trust and confidence to the customers Zeithaml (1988). Employees need to be knowledgeable to solve and answer customer’s questions. 5) Empathy can be defined as individualized attention and care that restaurant staff provide to their customers (Gorla, 2011; Ball & Millen, 2003). The customer will be better-off and feel comfortable if provided individual attention. Customer Satisfaction Customer satisfaction can be defined as an individual’s feeling such as enjoyment or disappointment that results from comparing a product’s perceived performance to a particular expectation (Oliver, 1981; Brady & Robertson, 2001). Customer satisfaction is the main indicator of a company’s past, current, and future performance in order to determine retention of the customers (Lee, 2004). As customer service is key in the restaurant industry, restaurant owners and managers need to ensure that customer satisfaction is reached (Harrington et al., 2011).

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

Customer Loyalty Jones & Sasser (1995) expressed that customer loyalty is “a feeling of attachment to or affection for a company’s people, products, or services”. Customer satisfaction and loyalty can be built by offering different services to the customers. Consequently, the core value of a loyal customer will be in retaining a sustainable relationship with customers. A higher level of customer loyalty can be seen from a satisfied customer. According to Evanschitzky et al. (2012) loyal customers are pleased to pay more with strong purchase intentions and hardly change. The importance of customer loyalty in global markets has been made stronger due to high level of competition in a bid to attain sustainable competitive advantages (Aksoy, 2013).

57

Brand Image Brand image is the perception of a customer on the band or the way they view it. According to Keller (1993) brand image is a sign that consists of all the information and expectationrelated to product and service, based on customer perception. Aaker (1997) also defines it as the ability to identify and remember a brand as a member of a certain product category by potential customers. There is increasing importance in brand identification being an aspect that causes symbolic consumption in the restaurant industry (Lam et al., 2013)

Framework:

The conceptual framework for this research appears below:

Figure 1 Source: adapted from Parasuraman, Zeithaml & Berry (1985), Cronin & Taylor (1992), Szymanski & Henard (2001), Namkung & Jang (2007), Ryu, Han & Jang (2010), Kim, Hertzman & Hwang (2010)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


58

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Research objectives

The purpose of this study is to examine the relationship between five dimensions of SERVQUAL model, brand image and customer satisfaction towards customer loyalty.

Hypothesis

Perceived Service Quality and Customer satisfaction Restaurants are facing an increasingly competitive pressure to survive and great efforts are being devoted to better understanding customers’ needs and to provide the services that meet their expectations. The perceived service quality is critical for the success of organizations because of its direct link with customer satisfaction and behavioral intentions (Parasuraman, Zeithaml & Berry, 1985). Service quality affects customer loyalty although indirectly as it assists customers decide on their satisfaction with what has been offered (Demirci Orel & Kara, 2014). Thus, the following hypotheses were proposed: H1a: Tangibility is positively related to customer satisfaction. H1b: Responsiveness is positively related to customer satisfaction. H1c: Reliability is positively related to customer satisfaction. H1d: Assurance is positively related to customer satisfaction. H1e: Empathy is positively related to customer satisfaction.

Perceived Service Quality and Customer Loyalty Cronin & Taylor (1992) previously hypothesize that the perceived service quality has a positive effect when it comes to consumer loyalty. The research conducted previously point out that there is a positive relationship between perceived quality and customer loyalty (Aydin & Ozer, 2005). Loyal customers maintain profits consistently (Berezan et al., 2013) and also word of mouth which is trustworthy hence attract new customers (Garnefeld, Helm & Eggert, 2011) Thus, we can now develop the hypothesis as follows: H2a: Tangibility is positively related to customer loyalty. H2b: Responsiveness is positively related to customer loyalty. H2c: Reliability is positively related to customer loyalty. H2d: Assurance is positively related to customer loyalty. H2e: Empathy is positively related to customer loyalty. Brand Image, Customer Satisfaction, and Customer Loyalty Customer satisfaction depends upon the users’ perception of past events (Oliver 1980). Studies in the field of relationship between satisfaction and brand loyalty have implied that the consumer opts for their preferred brand (Szymanski & Henard, 2001). But past researches have shown that the image of the restaurant was more influential when it comes

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

to customer satisfaction and significance which is also a byproduct of customer loyalty (Ryu, Han & Jang, 2010; Kim, Hertzman & Hwang, 2010; Namkung & Jang, 2007). Marzocchi, Morandin & Bergami (2013) stated that customer creates a strong relationship with the brand in order to convey their identity and create a positive emotion towards the brand. So, in respect of the above-mentioned facts, we now extend this hypothesis as: H3: Brand Image positively influences customer satisfaction. H4: Brand Image positively influences customer loyalty. Customer satisfaction and customer loyalty It was also found that a greater number of customers who declare themselves as loyal customers did shift to another brand although they are pleased with their regular brand. Therefore, in order to become loyal and profitable for the company, a customer must be highly satisfied. The decline of customer satisfaction will lead to a major decline in customer loyalty (Jones & Sasser, 1995). H5: Customer satisfaction positively influences customer loyalty.

Research Methodology

The quantitative method was applied for analyzing the survey of this study. The target population of the study was customers who had dining experiences at KFC, Mary Brown and Lotteria in Yangon. The random sampling

59

technique was employed. Proportion sampling based on number of outlets was applied: 40% (160 respondents) from KFC, 44% (176 respondents) from Lotteria, and 16% (64 respondents) from Mary Brown in the total of 400 respondents. Five-point Likert scales with the range of “strongly disagree” (1) and “strongly agree” (5) will be used to measure in this study based on customer experiences and perceptions. In this study, a pilot test was conducted among 30 respondents. Table 1 shows that the questionnaires of this study were accepted for internal consistency as all the value were above 0.7 (Cronbach, 1951). Cronbach’s alpha value was from 0.838 to 0.974.

Results of the Study

From the respondents’ demographics were classified as gender, age, occupation, education, monthly income level, frequency of visit per week, spending per visit, and most preferred restaurant. Based on the results, the majority of the respondents were female which consists of 55% of the sample size. Respondents aged between 26-35 years old represented the largest age group which consists of 51%. Besides that, 64% of the respondents held of bachelor degrees with the majority working for private organizations. Moreover, 26% of respondents’ monthly incomes were between 100,001 Ks to 300,000 Ks; 57% of respondents visited fast food restaurants once a week. They spent about 5,000 Ks to 10,000 Ks per visit and most of the respondents, 44%, preferred Lotteria.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


60

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Table 1 Cronbach’s Alpha Scale Reliability Results Cronbach’s Alpha Variables Item no. n = 30 Tangible 4 0.913 Reliability 5 0.908 Perceived Responsiveness 4 0.838 Quality Assurance 4 0.895 Empathy 5 0.913 Brand Image 16 0.970 Customer Satisfaction 5 0.930 Customer Loyalty 7 0.948 Source: Author’s calculation

Cronbach’s Alpha n = 400 0.904 0.909 0.907 0.929 0.925 0.974 0.949 0.963

Relationship of relevant variables and the research hypothesis Table 2 Summary of Testing Hypotheses No.

Hypothesis Path

H1a Tangible  Satisfaction H1b Reliability  Satisfaction H1c Responsiveness  Satisfaction H1d Assurance  Satisfaction H1e Empathy  Satisfaction H2a Tangible  Loyalty H2b Reliability  Loyalty H2c Responsiveness  Loyalty H2d Assurance  Loyalty H2e Empathy  Loyalty H3 Brand Image  Satisfaction H4 Brand Image  Loyalty H5 Satisfaction  Loyalty *significant at 0.05, ** significant at 0.01 Source: Author’s calculation

β

t-value

p-value

0.273** 0.036 0.137* 0.206** 0.226** 0.193** 0.127 0.091 0.112 0.301** 0.861** 0.786** 0.846**

5.455 0.535 2.092 3.300 4.057 3.521 1.731 1.275 1.648 4.937 33.775 25.367 31.675

0.000 0.593 0.037 0.001 0.000 0.000 0.084 0.203 0.100 0.000 0.000 0.000 0.000

Hypothesis Supported Yes No Yes No Yes Yes No No No Yes Yes Yes Yes

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

Based on the finding of Table 2, the results showed that tangible, responsiveness, assurance, reliability and empathy had positively impact on customer satisfaction. Among all the five independent variables, Tangible had the strongest influence on customer satisfaction (β = 0.273), followed by Empathy (β = 0.226), Assurance (β = 0.206), Responsibility (β = 0.137), and Reliability (β = 0.036). As for the customer loyalty, only Tangible and empathy had a significant relationship with loyalty. Empathy had the strongest influence on customer loyalty (β = 0.301). Moreover, Brand image showed positively influence on both customer satisfaction and loyalty.

Implication and Conclusion

The main objective of the study was to investigate service quality, brand image and customer satisfaction toward customer loyalty in the fast food service dimension. Customer satisfaction plays an important role in determining the success of the fast food restaurant business. Customers are always willing to try new and interesting things. When the customer does not satisfied with the products and services, they will switch to other restaurants. It is crucial for management to maintain their brand image through high product and service quality. Findings indicate that tangibility had the strongest impact than other dimensions (reliability, assurance, responsiveness, and empathy) towards customer satisfaction and loyalty. Therefore, management should focus on providing high quality of foods, drinks, comfort seats, and

61

appearance of staffs as well as conveying personalized or customized service to make customers feel that they are special. As for the improvement, staffs should be knowledgeable about foods and beverages as well as serving the products accurately and in a timely manner. This finding reinforces the need for the management to improve their service quality especially reliability, assurance, and responsiveness by not allowing customers to wait a long time in the restaurant, avoiding wrong order and improving the skill of the staff to gain trust and confidence of the customers. Additionally, customer satisfaction from products and services has directly impact on customer loyalty. Staff’s attitude greatly impacts the customers’ experiences. Happy customers come from happy staffs. In order to strengthen the performance of the staff, they should be trained regularly. Staffs are key motors to run the business. They should be valued and treated as an important team member. The management has to create employee engagement environment to make sure that their staffs perform their best such as create knowledge sharing session among team members, provide skill development opportunities as well as mentoring and coaching programs. The finest level of customer service depends on how accurately managements assess their customer perceptions. Customer satisfaction levels have to be monitoring regularly from customer feedbacks and complaints. Service improvement plan such as a process for gathering feedback from dissatisfied customers; plan to

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


62

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

improve the performance of staffs; and plan to improve customer experience, can be implemented to enhance customer satisfaction and loyalty.

Acknowledgements

I sincerely thank my advisor, the dean and all the anonymous respondents that gave their valuable time to answer the questionnaires.

References

Aaker, D. (1997). Should you take your brand to where the action is? Harvard Business Review, 75(5), 135-143. Aksoy, L. (2013). How do you measure what you can’t define? The current state of loyalty measurement and management. Journal of Service Management, 24(4), 356-381. Aydin, S. & Ozer, G. (2005). The analysis of antecedents of customer loyalty in the Turkish mobile telecommunication market. European Journal of Marketing, 38(7/8), 910-925. Ball, L. & Millen, R. (2003). Applying SERVQUAL to WEb sites: an exploratory study. The International Journal of Quality and Reliability Management, 20(8), 919-935. Berezan, O., Raab, C., Yoo, M. & Love, C. (2013). Sustainable hotel practices and nationality: the impact on guest satisfaction and guest intention to return. International Journal of Hospitality Management, 34, 27-233. Brady, M. & Robertson, C. (2001). Searching for a consensus on the antecedent role of service quality and satisfaction: An exploratory cross national study. Journal of Business Research, 51(1), 53-60. Cronbach, L. (1951). Coefficient alpha and the interanl structure of tests. Psychometrika, 16(3), 297-334. Cronin, J. & Taylor, S. (1992). Measuring service quality: A reexamination and extension. Journal of Marketing, 56(3), 55-68. Dabholkar, P., Shepherd, D. & Thorpe, D. (2000). A comprehensive framework for service quality: An investigation of critical conceptual and measurement issues through a longitudinal study. Journal of Retailing, 76(2), 139-173. Demirci Orel, F. & Kara, A. (2014). Supermarket self-checkout service quality, customer satisfaction, and loyalty: empirical evidence from an emerging market. Journal of Retailing and Consumer Services, 21(2), 118-129. Evanschitzky, H., Ramaseshan, B., Woisetschläger, D. M., Richelsen, V., Blut, M. & Backhaus, C. (2012). Consequences of customer loyalty to the loyalty program and to the company. Journal of the Academy of Marketing Science, 40(5), 625-638. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

63

Garnefeld, I., Helm, S. & Eggert, A. (2011). Walk your talk: an experimental investigation of the relationship between word of mouth and communicators’ loyalty. Journal of Service Research, 14(1), 93-107. Gorla, N. (2011). An Assessment of information systems service quality using SERVQUAL. Database for Advances in Information Systems, 42(3), 46-70. Harrington, R., Ottenbacher, M., Staggs, A. & Powell, F. (2011). Generation Y consumers: Key restaurant attributes affecting positive and negative experiences. Journal of Hospitality & Tourism Research, 36(4), 431-449. Jones, T. O. & Sasser, W. E. (1995). Why satisfied customers defect. Harvard Business Review, 73(6), 88-99. Keller, K. L. (1993). Conceptualizing, Measuring, and Managing Customer-Based Brand Equity. Journal of Marketing, 57(1), 1-22. Kim, Y., Hertzman, J. & Hwang, J. (2010). Assessment of Service Quality in the Fast-Food Restaurant. Journal of Foodservice Business Research, 16(4), 346-359. Lam, S. K., Ahearne, M., Mullins, R., Hayati, B. & Schillewaert, N. (2013). Exploring the dynamics of antecedents to consumer–brand identification with a new brand. Journal of the Academy of Marketing Science, 41(2), 234-252. Lee, S. (2004). College student’s perception and preference of brand name foodservices in university dining operations. Unpublished master’s thesis, Oklahoma State University, Stillwater. Marzocchi, G., Morandin, G. & Bergami, M. (2013). Brand communities: loyal to the community or the brand? European Journal of Marketing, 47(1/2), 93-114. Namkung, Y. & Jang, S. (2007). Does food quality really matter in restaurant? Its impact on customer satisfaction and behavioral intentions. Journal of Hospitality & Tourism Research, 31(3), 387-410. Oliver, R. (1980). A cognitive model of the antecedents and consequences of satisfaction decisions. Journal of Marketing Research, 17(4), 460-9. Oliver, R. (1981). Measurement and evaluation of satisfaction processes in retail settings. Journal of Retailing, 57(3), 25-48. Parasuraman, A., Zeithamal, V. A. & Berry, L. L. (1985). A conceptual model of service quality and its implications for future research. Journal of Marketing, 49(4), 41-50. Pizam, I., Shapoval, V. & Ellis, T. (2016). Customer satisfaction and its measurement in hospitality enterprises: a revisit and update. International Journal of Contemporary Hospitality Management, 28(1), 2-35. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


64

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Ramseook-Munhurrun, P. (2012). Perceived service quality in restaurant services. Global Conference on Business and Finance Proceedings, 630-643. Ryu, K., Han, H. & Jang, S. (2010). The effect of hedonic and utilitarian values on customers’ satisfaction and behavioral intention in the fast-casual restaurant industry. International Journal of Contemporary Hospitality Management, 22(3), 416-432. Szymanski, D. & Henard, D. (2001). Customer satisfaction: a meta-analysis of the empirical evidence. Journal of Academy of Marketing Science, 29(1), 16-35. Zeithaml, V. (1988). Consumer perceptions on price, quality, and value: a mean-end model and synthesis of evidence. Journal of Marketing, 52(3), 2-22. Zhao, X., Bai, C. & Hui, Y. (2002). An empirical assessment and application of SERVQUAL in a Mainland Chinese department store. Total Quality Management, 13(2), 241-254.

Name and Surname: Naw Glynda Wah Highest Education: MBA, Panyapiwat Institute of Management University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field of Expertise: Marketing Address: Yangon, Myanmar Name and Surname: Pithoon Thanabordeekij Highest Education: Doctor of Philosophy, University of WisconsinMilwaukee University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field of Expertise: Industrial Organization, Consumer Behavior Address: 85/1 Moo 2, Chaengwattana Rd., Pakkred, Bang Talad, Nonthaburi 11120

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

65

ผลกระทบของการวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการ ต้นทุนของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในประเทศไทย THE EFFECT OF STRATEGIC PROFIT PLANNING AND CONTROL ON EFFECTIVE COST MANAGEMENT OF SME FIRMS OF THAILAND ชนัญฎา สินชื่น Chananda Sinchuen คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี Faculty of Management Science, Udon Thani Rajabhat University

บทคัดย่อ

งานวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาผลกระทบของการวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ทมี่ ตี อ่ ประสิทธิผล การบริหารจัดการต้นทุน และศึกษาผลกระทบของการสนับสนุนของผูบ้ ริหารระดับสูงทีส่ ง่ ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ ระหว่างการวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์กบั ประสิทธิผลการบริหารจัดการต้นทุนของธุรกิจ SMEs ในประเทศไทย งานวิจัยนี้เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารของกิจการ SMEs ในประเทศไทย จ�ำนวน 400 ราย ใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือ โดยสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานคือ การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ (OLS) ผลการวิจัยพบว่า การวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ในด้านการมีส่วนร่วมในการจัดท�ำงบประมาณ อย่างโดดเด่น การประเมินความเสี่ยงอย่างสมบูรณ์ และการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องมีความสัมพันธ์ ทางบวกกับประสิทธิผลการบริหารจัดการต้นทุน ยิง่ ไปกว่านัน้ การสนับสนุนของผูบ้ ริหารระดับสูงส่งผลกระทบเชิงบวก ต่อความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์กบั ประสิทธิผลการบริหารจัดการต้นทุนอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 ค�ำส�ำคัญ: การวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ การมีสว่ นร่วมในการจัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น การประเมิน ความเสี่ยงอย่างสมบูรณ์ การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศ ประสิทธิผลการบริหารจัดการต้นทุน

Corresponding Author E-mail: chananda_nida@hotmail.com


66

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

The objective of this study is to examine the effect of strategic profit planning and control on effective cost management and the effect of top management support on those relationships of SME firms of Thailand are also examined. Mailed-questionnaire determined as data collection instrument and the key informant is chief executive of each SME firms in Thailand, 400 samples are used in the analysis. The ordinary least squared multiple regression (OLS) is used to test all postulated hypotheses. The results indicated that outstanding budget participation, integrate resource management and comprehensive relevance information have a positive significant effect on effective cost management. Specially, top management support has a positive significant on those relationships with statistical significance level of 0.01. Keywords: Strategic profit planning and control, Outstanding budget participation, Integrate resource management, Comprehensive relevance information, Effective cost management

บทน�ำ

ปัจจุบันธุรกิจ SMEs มีจ�ำนวนมากกว่า 90% ของ จ�ำนวนธุรกิจทั้งหมดในประเทศไทย ซึ่งมีส่วนช่วยเป็น ฐานสนับสนุนธุรกิจขนาดใหญ่ เพราะเมื่อธุรกิจ SMEs อยูร่ อดและสามารถเติบโตได้ ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ที่แท้จริง (Real Sector) ก็จะอยู่รอดได้ ดังนั้นการให้ การสนับสนุนและส่งเสริมธุรกิจ SMEs จึงมีความส�ำคัญยิง่ ต่อเศรษฐกิจไทยในปัจจุบนั อย่างไรก็ตามธุรกิจ SMEs ยังมี ปัญหาเกีย่ วกับระบบการบริหารจัดการทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ ส่งผลให้เสียเปรียบในการแข่งขันในระดับสากล ดั ง นั้ น ผู ้ บ ริ ห ารจึ ง พยายามสรรหากลยุ ท ธ์ ที่ มี ประสิทธิภาพในการลดต้นทุน (Chenhall & Euske, 2007) เพือ่ รักษาไว้ซงึ่ ความได้เปรียบทางการแข่งขันและ ความยั่งยืนของธุรกิจ โดยผู้บริหารจะน�ำหลักการบัญชี บริหารมาใช้ในการปรับโฉมกลยุทธ์ภายใต้การเปลีย่ นแปลง ทางเศรษฐกิจ โดยระมัดระวังในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างจ�ำกัดให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้มากทีส่ ดุ (Marcelino-Aranda, Herrera & Chavez, 2013) ธุรกิจส่วนใหญ่จึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหาร ให้ยืดหยุ่นตามสภาพเศรษฐกิจจึงก่อให้เกิดแนวคิดของ

การบริห ารต้นทุนเชิงกลยุทธ์ส มัยใหม่เพื่อให้ทันต่อ โลกาภิวตั น์ทเี่ ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว (Wangjaroendej, 2014) ซึ่งนอกจากจะมีผลต่อการผลิตแล้วยังท�ำให้ทุก กระบวนการมีความคล่องตัว และประสานงานกันเป็น อย่างดี ก่อให้เกิดพัฒนาการขององค์กรในระยะยาว โดยหนึ่งในเครื่องมือที่จะช่วยผู้บริหารสามารถวางแผน และควบคุมการด�ำเนินงานของกิจการให้มปี ระสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลก็คือ การวางแผนและควบคุมก�ำไร เชิงกลยุทธ์ การวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ (Strategic Profit Planning and Control) เป็นแผนงานทีม่ คี วาม ส�ำคัญเป็นอันดับแรก และถือเป็นภาระหน้าทีข่ องผูบ้ ริหาร ที่จะต้องท�ำอย่างไรให้กิจการบรรลุเป้าหมาย มีผลก�ำไร ตามที่ได้วางแผนไว้ (Frow, Marginson & Ogden, 2010) ข้อมูลที่ได้จากการวางแผนและควบคุมก�ำไรโดย งบประมาณมี ผ ลกระทบกั บ ผลการด� ำ เนิ น งานด้ า น ประสิทธิภาพการบริหารงาน (Managerial Performance) (Pungboonpanich & Ussahawanitchakit, 2009) โดยเป็นประโยชน์ตอ่ การวางแผนธุรกิจ สามารถใช้ขอ้ มูล ในอดีตส�ำหรับการวางแผนและควบคุมก�ำไรในอนาคต

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

(Pavasudtinan & Kongsawas, 2011) เพือ่ เพิม่ ความ ส�ำเร็จขององค์กรในอนาคตได้ นอกจากนี้ผู้บริหารยังใช้ข้อมูลการวางแผนและ ควบคุมก�ำไรในการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงล่วงหน้า เพื่อจะได้จัดเตรียมทรัพยากรและใช้ทรัพยากรได้อย่าง เหมาะสม (Tontiset & Ussahawanichakit, 2009) ซึ่งถือเป็นเครื่องมือในด้านการวางแผน การวัดผลการ ด�ำเนินงาน และการควบคุมการด�ำเนินงาน (Kaewphab, 2011) รวมถึงสามารถประเมินประสิทธิภาพในการท�ำงาน ได้เป็นอย่างดี แต่อย่างไรก็ตามการวางแผนและควบคุม ก�ำไรจะต้องมีความยืดหยุน่ และต้องจัดท�ำอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สอดคล้องกับเงือ่ นไขการด�ำเนินงานของกิจการหรือ สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจของกิจการที่เปลี่ยนแปลงไป (Frow, Marginson & Ogden, 2010) ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะท�ำการศึกษาผลกระทบของการ วางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อความยั่งยืน ของธุรกิจ SMEs ในประเทศไทยเพื่อเพิ่มศักยภาพการ บริหารจัดการ และยกระดับ SMEs สูก่ ารแข่งขันในตลาด สากลตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) เพื่อสร้างประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ในการด�ำเนินงานของกิจการอย่างยั่งยืน

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพือ่ ศึกษาผลกระทบของการวางแผนและควบคุม ก�ำไรเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการ ต้นทุนของธุรกิจ SMEs ในประเทศไทย 2. เพื่ อ ศึ ก ษาผลกระทบของการสนั บ สนุ น ของ ผูบ้ ริหารระดับสูงทีส่ ง่ ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่าง การวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์กบั ประสิทธิผล การบริหารจัดการต้นทุน

67

ทบทวนวรรณกรรม

งานวิจัยนี้ได้น�ำทฤษฎี Resources Based View (RBV) มาอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและ ควบคุ ม ก� ำ ไรเชิ ง กลยุ ท ธ์ กั บ ประสิ ท ธิ ผ ลการบริ ห าร จัดการต้นทุน ซึ่งทฤษฎี RBV กล่าวว่า หากกิจการมีทรัพยากร เฉพาะในกิจการทีโ่ ดดเด่นจะสามารถสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันอย่างยัง่ ยืน และส่งผลให้ผลการด�ำเนินงาน มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ (Barney, 1991) ซึง่ งานวิจยั นี้ ก�ำหนดให้การวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ ถือเป็น ทรัพยากรที่มีคุณค่า หายาก ลอกเลียนแบบได้ยากใน กิจการ ซึ่งเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่กิจการในที่สุด โดยระดั บ ของประสิ ท ธิ ผ ลของการประยุ ก ต์ ใ ช้ กลยุทธ์การวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ขึ้นอยู่ กับความสามารถในการประยุกต์ใช้ของแต่ละองค์กร และการเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ปั จ จั ย ภายในและภายนอก โดยงานวิจัยนี้ได้ก�ำหนดให้การสนับสนุนจากผู้บริหาร เป็นปัจจัยภายในที่มีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่าง การวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์กบั ประสิทธิผล การบริหารจัดการต้นทุน โดยงานวิจัยนี้ได้พัฒนากรอบ แนวคิดขึน้ จากทฤษฎี RBV และการทบทวนวรรณกรรม ที่เกี่ยวข้อง กิจการ SMEs ที่มีการวางแผนและควบคุมก�ำไร เชิงกลยุทธ์ โดยมีสว่ นร่วมในการจัดท�ำงบประมาณอย่าง โดดเด่น (Outstanding Budget Participation: OBP) มีการบริหารทรัพยากรทีเ่ ชือ่ มโยง (Integrate Resource Management: IRM) มีการประเมินความเสี่ยงอย่าง ครบถ้วนสมบูรณ์ (Complete Risk Assessment: CRA) และมีการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้องในกิจการ (Comprehensive Relevance Information: CRI) จะส่งผลให้กิจการนั้นมีประสิทธิภาพในการลดต้นทุน เพือ่ รักษาไว้ซงึ่ ความได้เปรียบทางการแข่งขัน และสร้าง ความยั่งยืนของธุรกิจ จึงตั้งสมมติฐานดังภาพที่ 1 ดังนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


68

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

กรอบแนวคิดโครงการวิจัย

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดโครงการวิจัย สมมติฐานที่ 1: การวางแผนและควบคุมก�ำไร เชิงกลยุทธ์โดย (a) มีส่วนร่วมในการจัดท�ำงบประมาณ อย่างโดดเด่น (b) มีการบริหารทรัพยากรที่เชื่อมโยง (c) มีการประเมินความเสีย่ งอย่างสมบูรณ์ และ (d) มีการ บูรณาการข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง มีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับประสิทธิผลการบริหารจัดการต้นทุน หากกิจการมุ่งแต่ให้ความส�ำคัญด้านการวางแผน และควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์เพียงด้านเดียว โดยผูบ้ ริหาร ไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับกลยุทธ์การวางแผนและควบคุม ก�ำไร ซึ่งปัจจุบันนี้การแข่งขันมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น จะท�ำให้กิจการไม่สามารถสร้างความได้เปรียบทางการ แข่งขันได้เท่าที่ควร ด้วยเหตุนี้ จึงตั้งสมมติฐานดังนี้ สมมติฐานที่ 2: การสนับสนุนจากผูบ้ ริหารระดับสูง มีผลกระทบเชิงบวกต่อความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผน และควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์กับประสิทธิผลการบริหาร จัดการต้นทุน

แนวคิดเกีย่ วกับการวางแผนและควบคุมก�ำไร เชิงกลยุทธ์

การวางแผนและควบคุ ม ก� ำ ไรเชิ ง กลยุ ท ธ์ คื อ กระบวนการเพือ่ น�ำไปสูจ่ ดุ หมายทีต่ อ้ งการและการปฏิบตั ิ

ทีค่ าดหวัง เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร กิจการ SMEs ทีม่ กี ารวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์จะส่งผล ให้กิจการมีประสิทธิภาพในการลดต้นทุน เพื่อรักษาไว้ ซึ่งความได้เปรียบทางการแข่งขัน ซึ่งการวางแผนและ ควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบคือ 1. การมีส่วนร่วมในการจัดท�ำงบประมาณอย่าง โดดเด่น (Outstanding Budget Participation: OBP) ตามแนวคิดของ Cohen & Uphoff (1977) หมายถึง พนักงานทุกคนมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ การปฏิบตั กิ าร การประเมินผล และร่วมรับผลประโยชน์ในการจัดท�ำ งบประมาณ โดยผูบ้ ริหารรับฟังความคิดเห็นของพนักงาน ในการจัดท�ำงบประมาณ 2. การบริหารทรัพยากรที่เชื่อมโยง (Integrate Resource Management: IRM) หมายถึง ในการ จัดการและวางแผนการใช้ทรัพยากรต่างๆ ขององค์กร โดยเชื่อมโยงระบบต่างๆ ขององค์กรเข้าด้วยกัน ตั้งแต่ ระบบงานทางด้านบัญชีและการเงิน ระบบงานทรัพยากร บุคคล ระบบบริหารการผลิต รวมถึงระบบการกระจาย สินค้า โดยทีม่ ฐี านข้อมูลเก็บข้อมูลทุกอย่างไว้ทเี่ ดียวกัน เพือ่ ป้องกันความซ�ำ้ ซ้อนของข้อมูล และเพิม่ ประสิทธิภาพ การจัดสรรข้อมูลให้ได้ประโยชน์

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

การประเมินความเสีย่ งอย่างครอบคลุม (Complete Risk Assessment: CRA) ตามแนวคิดของ COSO ERM หมายถึง การวิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นอย่าง สม�ำ่ เสมอ เพือ่ เตรียมหาแนวทางป้องกันและตอบสนอง ความเสี่ยงนั้น โดยมีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ของตัววัด ระดับความเสี่ยงเพื่อประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นใน อนาคต และมีเครือ่ งมือวัดและวิธกี ารประเมินความเสีย่ ง ทีเ่ ป็นระบบ เพือ่ ก�ำหนดระดับความเสีย่ งได้อย่างแม่นย�ำ การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศ (Comprehensive Relevance Information: CRI) ตามแนวความคิดของ ERP หมายถึง การใช้ข้อมูลระบบสารสนเทศที่ให้ข้อมูล ที่เป็นปัจจุบันและได้รับการปรับปรุงอย่างสม�่ำเสมอ โดยข้อมูลสารสนเทศทีไ่ ด้รบั มีความน่าเชือ่ ถือ และมีการ สื่อสารกับพนักงานอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิผลการบริหารจัดการ ต้นทุน (Effective Cost Management) ประสิทธิผลการบริหารจัดการต้นทุน (Effective Cost Management) เป็นกลยุทธ์ในการบริหารจัดการ เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันองค์กรจะต้องปรับ กลยุทธ์เพือ่ เพิม่ มูลค่า (Value–Added) เป็นกระบวนการ ทางธุ ร กิ จ ที่ จ ะพั ฒ นาการบริ ห ารต้ น ทุ น เชิ ง กลยุ ท ธ์ ให้องค์กรสามารถอยู่รอดได้ (Wangjaroendej, 2014: 60-66) ส�ำหรับงานวิจัยนี้ให้ความหมายของประสิทธิผล การบริหารจัดการต้นทุนเชิงกลยุทธ์คอื ผลของการบริหาร งานขององค์กรในการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ หรือเปลี่ยน โครงสร้างและรูปแบบการผลิตและการบริหารให้ยดื หยุน่ ตามสภาพการตลาดโดยการสร้างความพึงพอใจให้ลกู ค้า (Customer Satisfaction) การมีตน้ ทุนทีต่ ำ�่ กว่าคูแ่ ข่งขัน รวมถึงต้องรักษาคุณภาพในการผลิตสินค้าและให้การ บริการแก่ลูกค้า จัดให้มีกระบวนการวิเคราะห์คุณค่า (Value Chain Analysis) มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement หรือ Kaizen Management)

69

แนวคิดเกีย่ วกับการสนับสนุนของผูบ้ ริหารระดับสูง (Top Management Support) การสนับสนุนของผูบ้ ริหารระดับสูง (Top Management Support) คือ แนวคิดของผูบ้ ริหารทีต่ อ้ งติดตาม ข้อมูลต้นทุนที่ถูกต้องและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อน�ำไป ใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ ปรับเปลี่ยนแนวคิดให้ สอดคล้องกับสภาพการแข่งขันในตลาดทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยู่ ตลอดเวลา และรองรับความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี ระบบข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ส�ำหรับงานวิจัยนี้ให้ความหมายของการสนับสนุน ของผูบ้ ริหารระดับสูงคือ ผูบ้ ริหารทีม่ วี สิ ยั ทัศน์กว้างไกล ในการก� ำ หนดเป้ า หมายและแนวทางในการท� ำ งาน การสนับสนุนการบริหารจัดการกิจการเพือ่ ให้สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และค่านิยมขององค์การ และจะต้องมุ่งมั่นน�ำวิสัยทัศน์สู่การปฏิบัติให้บรรลุผล ส�ำเร็จอยู่เสมอ ซึ่งเป็นผู้บริหารที่มีความรู้ความสามารถ เป็นผู้นำ� การเปลี่ยนแปลง (Chief Change Officer)

วิธีการวิจัย

ส�ำหรับการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการส่งแบบสอบถาม (Questionnaires) ทางไปรษณีย์ โดยกลุม่ ประชากรคือ ผู้บริหารระดับสูง/ผู้ประกอบการของกิจการ SMEs ทั้งอุตสาหกรรมการผลิต การค้า และการบริการใน ประเทศไทย (The Office of Small and Medium Enterprises Promotion, 2015) โดยตามกฎกระทรวง อุตสาหกรรม ลักษณะ SMEs ตามพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. 2543 ได้ก�ำหนด ลักษณะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยพิจารณา จากจ�ำนวนการจ้างงาน (ไม่เกิน 200 คน) และจ�ำนวน สินทรัพย์ถาวร (ไม่เกิน 200 ล้านบาท) โดยใช้วธิ กี ารสุม่ ตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) และสุ่ม ตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ได้ กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 400 กิจการ อัตราแบบสอบถาม ตอบกลั บ คื น มาที่ มี ค วามครบถ้ ว นสมบู ร ณ์ ใ ช้ ใ นการ วิเคราะห์ข้อมูลได้จริง 255 ฉบับ คิดเป็นอัตราร้อยละ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


70

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

63.75 ซึง่ เกินกว่าร้อยละ 20 โดยไม่ตอ้ งใช้วธิ กี ารติดตาม แบบสอบถาม ถือเป็นอัตราการตอบกลับที่สามารถ ยอมรับได้ เนือ้ หาของแบบสอบถามสร้างตามวัตถุประสงค์และ กรอบแนวความคิดทีก่ ำ� หนดขึน้ โดยแบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้ ข้อมูลทัว่ ไปของกิจการ SMEs มีลกั ษณะแบบตัวเลือก จ�ำนวน 3 ข้อ โดยครอบคลุมข้อมูลเกี่ยวกับประเภท กิจการ ระยะเวลาในการประกอบกิจการ จ�ำนวนพนักงาน ค�ำถามเกี่ยวกับความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางแผนและ ควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ของกิจการ SMEs ในประเทศไทย และค�ำถามเกี่ยวกับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผล การบริหารจัดการต้นทุน และผลการด�ำเนินงานของกิจการ

SMEs ในประเทศไทย เป็นลักษณะค�ำถามทีใ่ ช้มาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) (1 = ไม่เห็นด้วย อย่างยิ่ง และ 5 = เห็นด้วยอย่างยิ่ง)

ความเทีย่ งตรงและความเชือ่ มัน่ ของเครือ่ งมือ

แบบสอบถามนี้ได้เสนอให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ความถูกต้องและความเหมาะสมของเนือ้ หา การใช้ภาษา รวมทั้งความชัดเจนของข้อความ เพื่อให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของการวิจยั (Index of Item–Objective Congruence หรือ IOC) จ�ำนวน 3 ท่าน โดยสามารถ ค�ำนวณค่า IOC = 0.849

ตารางที่ 1 ค่า Factor Loadings และค่า Cronbach Alpha coefficient ตัวแปร การวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ (SPP) การมีส่วนร่วมในการจัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น (OBP) การบริหารทรัพยากรที่เชื่อมโยง (IRM) การประเมินความเสี่ยงอย่างสมบูรณ์ (CRA) การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง (CRI) การสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง (TMS) ประสิทธิผลการบริหารต้นทุน (ECM)

การวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) โดยน�ำ แบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try-Out) กับประชากรที่ ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง 30 กิจการ เพื่อหาความเที่ยงตรง (Validity) และหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของ เครือ่ งมือ ดังตารางที่ 1 ค�ำนวณค่าสถิติ Factor Loadings ซึง่ มีคา่ ระหว่าง 0.569–0.918 ซึง่ มากกว่า 0.4 (Hair et al.,

Factor Loadings 0.795-0.897 0.849-0.918 0.768-0.891 0.864-0.897 0.612-0.834 0.688-0.825 0.569-0.789

Cronbach Alpha 0.949 0.837 0.918 0.899 0.874 0.797 0.794

2006) เมือ่ พิจารณาค่าสัมประสิทธิแ์ อลฟา (Cronbach Alpha coefficient) (Vanidbancha, 2016) โดยได้ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของแบบสอบถามเฉลี่ยทั้งหมด อยูท่ ี่ 0.794–0.949 ซึง่ มากกว่า 0.7 (Hair et al., 2006) แสดงให้เห็นว่าแบบสอบถามในงานวิจยั นีม้ คี วามเทีย่ งตรง และความเชื่อมั่นของเครื่องมือ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

71

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปร และค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ Variables Mean S.D. IRM CRA CRI TMS

OBP 3.956 0.621 0.549* 0.526* 0.522* 0.624*

IRM 4.041 0.519

CRA 4.034 0.540

CRI 4.029 0.532

0.823* 0.668* 0.597*

0.718* 0.674*

0.531*

จากตารางที่ 2 ค่าสถิตเิ ชิงพรรณนาและการวิเคราะห์ Correlation Matrix ของตัวแปรทุกตัว โดยพิจารณา ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ซึง่ มีคา่ ระหว่าง 0.522-0.823 และมีคา่ ต�ำ่ กว่า 10 แสดงให้เห็นว่า งานวิจยั นีไ้ ม่มปี ญ ั หา Multi collinearly

สถิติที่ใช้ในการวิจัย

งานวิจยั นีไ้ ด้ใช้การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคณ ู (Multiple Regression Analysis) และการวิเคราะห์พหุคณ ู มีเทอมปฏิสัมพันธ์ (Multiple Regression Analysis model with interaction term) (Vitratchai, 2010) ด้วยวิธีก�ำลังสองน้อยที่สุด (OLS) ที่เหมาะสม เพื่อใช้ ในการทดสอบความสัมพันธ์ และการวิจัยประมาณค่า พารามิเตอร์ของตัวแปรที่อยู่ในมาตรวัดทั้งที่เป็นแบบ Interval และ Numerical data โดยก�ำหนดค�ำนิยามศัพท์ ตัวแปรต่างๆ คือ OBP หมายถึง การมีส่วนร่วมในการ จัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น, IRM หมายถึง การบริหาร ทรัพยากรทีเ่ ชือ่ มโยง, CRA หมายถึง การประเมินความ เสี่ยงอย่างสมบูรณ์, CRI หมายถึง การบูรณาการข้อมูล

TMS 4.217 0.612

สารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้อง, TMS หมายถึง การสนับสนุนของ ผูบ้ ริหารระดับสูง, ECM หมายถึง ประสิทธิผลการบริหาร ต้นทุน, OBP*TMS หมายถึง อิทธิพลปฏิสมั พันธ์ระหว่าง การมีส่วนร่วมในการจัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น กับการสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง, CRM*TMS หมายถึง อิทธิพลปฏิสมั พันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากร ที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ การสนั บ สนุ น ของผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง , CRA*TMS หมายถึง อิทธิพลปฏิสัมพันธ์ระหว่างการ ประเมินความเสี่ยงอย่างสมบูรณ์กับการสนับสนุนของ ผูบ้ ริหารระดับสูง, CRI*TMS หมายถึง อิทธิพลปฏิสมั พันธ์ การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้องกับการสนับสนุน ของผู้บริหารระดับสูง โดยมีรูปแบบสมการที่ใช้ทดสอบ ความสัมพันธ์ ดังนี้ สมการที่ 1: ECM = α1 + β1OBP + β2IRM + β3CRA + β4CRI + ε สมการที่ 2: ECM = α1 + β1OBP + β2IRM + β3CRA + β4CRI + β5OBP*TMS + β6IRM*TMS + β7CRA*TMS + β8CRI*TMS + ε

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


72

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตารางที่ 3 ค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกีย่ วกับการวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ของ กิจการ SMEs ในประเทศไทย

การมีส่วนร่วมในการจัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น (OBP) การบริหารทรัพยากรที่เชื่อมโยง (IRM) การประเมินความเสี่ยงอย่างสมบูรณ์ (CRA) การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง (CRI) โดยรวม

ผลการวิจัย

ธุรกิจ SMEs ที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีที่ตั้ง ธุรกิจทีก่ รุงเทพมหานครและปริมณฑล (ร้อยละ 30.59) ระยะเวลาในการประกอบกิจการ (ร้อยละ 48.63) จ�ำนวน พนักงาน จ�ำนวน 50-100 คน (ร้อยละ 44.71) และ เงินทุนปัจจุบันต�่ำกว่า 50 ล้านบาท (ร้อยละ 62.74) จากตารางที่ 3 พบว่า ธุรกิจ SMEs ให้ความคิดเห็น เกี่ยวกับการวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ของ

X

S.D.

3.66 3.86 3.77 3.72 3.75

0.49 0.67 0.54 0.94 0.52

ระดับ ความคิดเห็น เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมาก

กิจการ SMEs ในประเทศไทยโดยรวม อยู่ในระดับมาก (X = 3.75) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมาก ทุกด้าน โดยเรียงล�ำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการ บริหารทรัพยากรทีเ่ ชือ่ มโยง (X = 3.66) ด้านการประเมิน ความเสีย่ งอย่างครอบคลุม (X = 3.86) ด้านการบูรณาการ ข้อมูลสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้อง (X = 3.77) และด้านการมี ส่วนร่วมในการจัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น (X = 3.72)

ตารางที่ 4 ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและการควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์กบั ประสิทธิผลการบริหาร จัดการต้นทุน ECM

Variables Constant OBP IRM CRA CRI F = 19.249, Adjusted R2 = 0.368 *ที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ

b 0.118 0.465 0.171 0.226 0.106

S.D. 0.165 0.054 0.189 0.076 0.088

t-value

P-value

1.610 4.487 1.844 3.769 3.723

0.157 0.000* 0.183 0.000* 0.000*

0.01

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

จากตารางที่ 4 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอย เพื่อเป็นการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผน และควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์รายด้าน ได้แก่ การมีสว่ นร่วม ในการจัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น (H1a), การบริหาร ทรัพยากรทีเ่ ชือ่ มโยง (H1b), การประเมินความเสีย่ งอย่าง สมบูรณ์ (H1c), และการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศ ทีเ่ กีย่ วข้อง (H1d) มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผล การบริหารจัดการต้นทุน ตามสมการที่ 1 ผลการวิเคราะห์ การถดถอยพบว่า การวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ ในด้านการมีสว่ นในการจัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น (H1a, b1 = 0.465, p < 0.01) การประเมินความเสี่ยง อย่างสมบูรณ์ (H1c, b3 = 0.226, p < 0.01), และ การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้อง (H1d, b4 =

73

0.106, p < 0.01) มีความสัมพันธ์ทางบวกต่อประสิทธิผล การบริหารต้นทุนอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 จากผลการวิเคราะห์การถดถอยสามารถกล่าวได้วา่ การมีส่วนร่วมในการจัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น มีผลกระทบต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการต้นทุนมาก ทีส่ ดุ (b1 = 0.465) รองลงมาคือ การประเมินความเสีย่ ง อย่างสมบูรณ์ (b3 = 0.226) อย่างไรก็ตามการวางแผนและควบคุมก�ำ ไรเชิง กลยุทธ์ดา้ นการบริหารทรัพยากรทีเ่ ชือ่ มโยง (H1b, b2 = 0.171, p > 0.01) ไม่ได้มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผล การบริหารจัดการต้นทุน ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า งานวิจัยนี้ ยอมรับสมมติฐานที่ H1a, H1c และ H1d

ตารางที่ 5 ผลการทดสอบการสนับสนุนของผูบ้ ริหารระดับสูงทีม่ ผี ลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและ การควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์กับประสิทธิผลการบริหารจัดการต้นทุน ECM

Variables Constant OBP IRM CRA CRI OBP*TMS IRM*TMS CRA*TMS CRI*TMS F = 25.113, Adjusted R2 = 0.517 *ที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ

b 0.201 0.346 0.225 0.287 0.309 0.406 0.381 0.539 0.597

S.D. 0.211 0.504 0.218 0.421 0.304 0.109 0.495 0.511 0.517

t-value

P-value

1.978 4.487 1.815 2.977 3.048 3.723 5.789 5.647 6.841

0.214 0.000* 0.123 0.000* 0.000* 0.000* 0.000* 0.000* 0.000*

0.01

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


74

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

จากตารางที่ 5 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอย เพื่อทดสอบผลกระทบของการสนับสนุนของผู้บริหาร ระดับสูงทีม่ ผี ลต่อความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและ การควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์กับประสิทธิผลการบริหาร จัดการต้นทุน โดยการสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง มีผลกระทบเชิงบวกต่อความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผน และควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ทกุ ด้าน ได้แก่ การมีสว่ นร่วม ในการจัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น (H2a), การบริหาร ทรัพยากรทีเ่ ชือ่ มโยง (H2b), การประเมินความเสีย่ งอย่าง สมบูรณ์ (H2c), และการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศ ทีเ่ กีย่ วข้อง (H2d) มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผล การบริหารจัดการต้นทุน ตามสมการที่ 2 ผลการวิเคราะห์ การถดถอยแสดงให้เห็นว่า การสนับสนุนจากผู้บริหาร ระดับสูงมีผลกระทบเชิงบวกต่อความสัมพันธ์ระหว่าง การวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ในทุกด้าน ได้แก่ ด้านการมีสว่ นร่วมในการจัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น (H2a, b1 = 0.406, p < 0.01) ด้านการบริหารทรัพยากร ทีเ่ ชือ่ มโยง (H2b, b2 = 0.381, p < 0.01) การประเมิน ความเสีย่ งอย่างสมบูรณ์ (H2c, b3 = 0.539, p < 0.01) และการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง (H2d, b4 = 0.597, p < 0.01) จึงสรุปได้วา่ งานวิจยั นีย้ อมรับ สมมติฐาน H2a–H2d

สรุปและอภิปรายผล

จากผลวิจัยพบว่า การวางแผนและควบคุมก�ำไร เชิงกลยุทธ์ในด้านการมีสว่ นร่วมในการจัดท�ำงบประมาณ อย่างโดดเด่น และการประเมินความเสีย่ งอย่างสมบูรณ์ มีผลกระทบต่อประสิทธิผลการบริหารต้นทุนมากที่สุด ชีใ้ ห้เห็นว่า การวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ดา้ น การมีส่วนร่วมในการจัดท�ำงบประมาณอย่างโดดเด่น และการประเมินความเสี่ยงอย่างสมบูรณ์เป็นปัจจัย ส�ำคัญอย่างหนึง่ ทีจ่ ะช่วยบริหารต้นทุนให้มปี ระสิทธิภาพ โดยเฉพาะการทีผ่ บู้ ริหารระดับสูงให้การสนับสนุนอย่าง เต็มที่จะส่งผลให้การบริหารจัดการต้นทุนมีประสิทธิผล สูงสุด ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ในอดีตของ Bryer (2014)

พบว่า การมีสว่ นร่วมในการท�ำงบประมาณส่งผลให้กจิ การ มีกำ� ไรสูงสุด และสอดคล้องกับงานวิจัยของ Arnold & Gillenkirch (2015) พบว่า การมีส่วนร่วมในการจัดท�ำ งบประมาณมีอิทธิพลกับผลการด�ำเนินงานในทุกด้าน โดยสามารถลดข้อโต้แย้ง และข้อจ�ำกัดต่างๆ ขององค์กร และเพิ่มศักยภาพการท�ำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ องค์กร (Sato, 2012; Covaleski, Dirsmith & Weiss, 2013) สอดคล้องกับงานวิจัยของ Burirum, Boonlua & Pradsriphum (2014) พบว่า การวางแผนการใช้ งบประมาณด้านการประเมินสภาวะแวดล้อม และด้าน การจัดท�ำงบประมาณมีความสัมพันธ์และผลกระทบ เชิงบวกกับประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณ และพบว่า การประเมินความเสี่ยงอย่างครอบคลุมมีความสัมพันธ์ เชิงบวกและมีอทิ ธิพลต่อผลการด�ำเนินงานในด้านการเงิน และด้านกระบวนการภายใน ผลการวิจัยนี้พบว่า ประสิทธิผลการบริหารจัดการ ต้นทุนมีความสัมพันธ์ทางบวกต่อผลการด�ำเนินงานของ กิจการ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Wangjaroendej (2014) พบว่า ประสิทธิผลการบริหารต้นทุนมีความสัมพันธ์ ต่อผลการด�ำเนินงานของกิจการ สร้างก�ำไรสูงสุดให้กับ กิจการ ท�ำให้ผบู้ ริหารต้องติดตามข้อมูลต้นทุนทีถ่ กู ต้อง และทันต่อเหตุการณ์ เพื่อน�ำไปใช้เป็นเครื่องมือในการ ปรับเปลี่ยนแนวคิดให้สอดคล้องกับสภาพการแข่งขัน ในตลาดที่ เ ปลี่ ย นแปลงอยู ่ ต ลอดเวลา (Arnold & Gillenkirch, 2015) นอกจากนี้ผลการวิจัยนี้พบว่า ผลกระทบของการ สนับสนุนของผู้บริหารระดับสูงมีผลต่อความสัมพันธ์ ระหว่างการวางแผนและการควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์กบั ประสิทธิผลการบริหารจัดการต้นทุนในทุกด้าน สอดคล้อง กับงานวิจัยของ Tontiset & Ussahawanichakit (2009) พบว่า การสนับสนุนจากผูบ้ ริหารระดับสูงในการ ใช้ขอ้ มูลการวางแผนและควบคุมก�ำไร โดยการวิเคราะห์ การเปลีย่ นแปลงล่วงหน้าเพือ่ ให้สอดคล้องกับสิง่ แวดล้อม ทางเศรษฐกิ จ ของกิ จ การที่ เ ปลี่ ย นแปลงตลอดเวลา (Frow, Marginson & Ogden, 2010) สามารถท�ำงาน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

เพือ่ บรรลุเป้าหมายของกิจการ และก้าวสูค่ วามส�ำเร็จได้ อย่างมีประสิทธิภาพ (Sarfaraz et al., 2015)

ข้อเสนอแนะส�ำหรับงานวิจัยในอนาคต

1. จากผลการวิจัยพบว่า การวางแผนและควบคุม ก�ำไรเชิงกลยุทธ์มีผลต่อประสิทธิผลการบริหารต้นทุน ดังนัน้ ในการวิจยั ครัง้ ต่อไปควรท�ำการศึกษาปัจจัยทีม่ ผี ล ต่อการวางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ 2. ควรท�ำการศึกษาปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลร่วมกับการ วางแผนและควบคุมก�ำไรเชิงกลยุทธ์ทมี่ ตี อ่ ผลการด�ำเนินงาน ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 3. ควรเก็บข้อมูลเปรียบเทียบกิจการทีใ่ ช้เครือ่ งมือ การบริหารจัดการทีท่ นั สมัยกับกิจการทีไ่ ม่ได้ใช้เครือ่ งมือ ดังกล่าว

ประโยชน์ของงานวิจัย

งานวิจยั นีม้ ปี ระโยชน์ในการขยายองค์ความรูเ้ กีย่ วกับ

75

การวางแผนและควบคุมก�ำไร ผลการวิจยั นีช้ ว่ ยยืนยันว่า การวางแผนและควบคุมก�ำไรที่มีประสิทธิภาพจะส่งผล ให้การบริหารต้นทุนมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และยังชี้ให้ เห็นว่า การวางแผนและควบคุมก�ำไรทีด่ จี ะต้องตระหนักถึง การมีสว่ นร่วมในการจัดท�ำงบประมาณ โดยใช้ทรัพยากร ของกิจการที่มีอยู่อย่างจ�ำกัดให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ภายใต้สภาวะความเสีย่ งและความไม่แน่นอนในปัจจุบนั นอกจากนี้งานวิจัยยังเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจการ SMEs ในประเทศไทย ทีจ่ ะผลักดัน และส่งเสริมให้กิจการ SMEs ยึดถือปฏิบัติเกี่ยวกับ การบัญชีบริหาร โดยเฉพาะด้านการวางแผนและควบคุม ก�ำไรที่สามารถเตรียมพร้อมกับสภาวการณ์ที่จะเกิดขึ้น ขององค์กร โดยทุกคนในองค์กร ร่วมรับรู้ และมีการ ก�ำหนดเป้าหมายเดียวกัน เป็นอันหนึง่ อันเดียวกันในองค์กร ส่งผลให้การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อ เตรียมพร้อมสู่ตลาดสากลต่อไป

References

Arnold, C. M. & Gillenkirch, M. R. (2015). Using negotiated budgets for planning and performance evaluation: An experimental study. Accounting, Organizations and Society, 43, 1-16. Barney, J. (1991). Firm Resources and Sustained Competitive Advantage. Journal of Management, 17, 99-120. Bryer, R. A. (2014). Participation in budgeting: A critical anthropological approach. Accounting, Organizations and Society, 39, 511-530. Burirum, T., Boonlua, S. & Pradsriphum, S. (2014). Effect of Budgeting planning on effective of budgeting management of Education Institute in Thailand. Accounting and Management Journal, 6(4), 87-96. [in Thai] Chenhall, R. H. & Euske, K. J. (2007). The role of management control systems in planned organizational change: An analysis of two organizations. Accounting, Organizations and Society, 32(7-8), 601-637. Cohen, J. M. & Uphoff, N. T. (1977). Rural Participation: Concepts and Measures for Project Design, Implementation and Evaluation. Conference on the Rural Development Committee Center for International Studies, Cornell University. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


76

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Covaleski, M., Dirsmith, M. & Weiss, J. (2013). The Social construction, Challenge and transformation of a budgetary regime: The endogenization of welfare regulation by institutional entrepreneurs. Accounting, Organizations and Society, 38(5), 333-364. Department of Business Development. (2015). Statistic of Company Limited Registration. Retrieved June 2, 2015, from http://www.dbd.go.th/main.php?filename=index [in Thai] Frow, N., Marginson, D. & Ogden, S. (2010). Continuous budgeting: Reconciling budget flexibility with budgetary control. Accounting Organizations and Society, 35(4), 444-461. Hair, J. F., William, B. C., Barry, B. J., Rolph, A. E. & Roland, T. L. (2006). Multivariate Data Analysis (6th ed.). New York: Pearson Education International. Kaewphab, K. (2011). Budgeting for Future Profit Planning. Executive Journal, 24(1), 135-144. [in Thai] Kaplan, R. S. & Anderson, S. (2004). Time-driven activity-based costing. Harvard Business Review, 82(11), 131-138. Kaplan, R. S. & Norton, D. P. (1996). The Balanced Scorecard: Translating Strategy into Action. Boston: Harvard Business School Press. Marcelino-Aranda, M., Herrera, D. R. & Chavez, M. Y. (2013). Quality Management System Case Study, in a Mexican company’s services. Journal of Basic and Applied Scientific Research, 3(1), 67-77. Pavasudtinan, K. & Kongsawas, S. (2011). Managerial Accounting: Important role for new generation Leader. Executive Journal, 31(3), 125-129. [in Thai] Pungboonpanich, P. & Ussahawanitchakit, P. (2009). The Impacts of Strategic Budgetary Participation on Sustainable Performance of Thai Companies. International Journal of Strategic Management, 9(3), 1-12. Sarfaraz, H. A., Taheri, M. S., Vatandoost, R. & Dastani, R. (2015). Strategy planning for joint-stock companies, Case study: software development and production in DIDGAH RAYAHEH SAMA. Procedia – Social and Behavioral Sciences, 181, 303-312. Sato, Y. (2012). Optimal budget planning for investment in safety measures of a chemical company. International Journal of Production Economics, 140, 579-585. The Office of Small and Medium Enterprises Promotion (OSMEP). (2015). Situation Report the report of the situation of Small and Medium Enterprises (2015). Retrieved October 20, 2015, from http://www.sme.go.th/th/index.php/data-alert/alert/report-smes-year/report-year/ report-year-2558 Tontiset, N. & Ussahawanitchakit, P. (2009). Effects of Cost Management Effectiveness on Cost Information Usefulness, Corporate Competitiveness, and Firm Success: An Empirical Study of Thai Manufacturing Firms. Journal of Academy of Business and Economics, 9(2), 91-102. Vanidbancha, K. (2016). Statistic for Research. Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

77

Vitratchai, N. (2010). Descriptive and Parametric Statistic. Bangkok: Sukhothai Thammathirat University. [in Thai] Wangjaroendej, S. (2014). Strategic Cost Management. Executive Journal, 27(1), 60-68. [in Thai]

Name and Surname: Chananda Sinchuen Highest Education: Ph.D. (Accounting), Mahasarakham University University or Agency: Udon Thani Rajabhat University Field of Expertise: Accounting Address: Faculty of Management Science, Udon Thani Rajabhat University, 64 Thaharn Rd., Mueang, Udon Thani 41000

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


78

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความเป็นเมืองน่าอยู่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน A CAUSAL RELATIONSHIP MODEL OF HEALTHY CITY IN THE UPPER NORTH EAST REGION, THAILAND ศุภกฤต ปิติพัฒน์ Supagrit Pitiphat คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี Faculty of Management Science, Udon Thani Rajabhat University

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความเป็นเมืองน่าอยู่ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และ 2) ศึกษาอิทธิพลทางตรงของปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผล ต่อความเป็นเมืองน่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน กลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาล ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จ�ำนวน 380 ราย ท�ำการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย และเก็บรวบรวม ข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลกั ษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยผ่านการหาความเทีย่ งตรง มีคา่ ดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 0.94 และผ่านการหาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอนบาคเท่ากับ 0.895 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปส�ำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ผลจากการวิจัยพบว่า ตัวแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไคสแควร์ (χ2) มีคา่ เท่ากับ 109.63 ทีอ่ งศาอิสระ (df) 90 P-value เท่ากับ 0.078 ค่าดัชนีวดั ระดับความกลมกลืน (GFI) เท่ากับ 0.97 ค่าดัชนีวดั ระดับความกลมกลืนทีป่ รับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.95 ค่ารากก�ำลังสองของความคลาดเคลือ่ นโดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.024 และค่ารากของค่าเฉลีย่ ก�ำลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (Standardized RMR) เท่ากับ 0.035 ความเป็นเมืองน่าอยู่ได้รับอิทธิพลทางตรงจากปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านสังคม และปัจจัยด้าน สิง่ แวดล้อมอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 โดยปัจจัยด้านสิง่ แวดล้อมมีคา่ อิทธิพลมากทีส่ ดุ รองลงมาคือ ปัจจัย ด้านเศรษฐกิจ และปัจจัยด้านสังคม ตามล�ำดับ ค�ำส�ำคัญ: ตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ เมืองน่าอยู่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

Corresponding Author E-mail: samart_mbe@yahoo.com


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

79

Abstract

This research aims to 1) develop model of healthy city in the upper north east region 2) study the direct effect of economic, social, and environmental factors that influence the healthy city in the upper north east region. The samples were obtained from residents of the municipalities in upper north east region 380 cases were used by means of a simple random sampling. The research instrument was a questionnaire of 5 levels, with the IOC of 0.94 and the reliability of the questionnaire was 0.895. The data was analyzed by software for social science research. Model of healthy city in the upper north east region correlates with the empirical data by having χ2 = 109.63, df = 90, P-value = 0.078, GFI = 0.97, AGFI = 0.95, RMSEA = 0.024 and Standardized RMR = 0.035. The Healthy City are directly influenced by economic factors, Social factors and environmental factors at the statistically significant level of 0.01. The most direct influential aspect is environmental factors, followed by economic factors and social factors. Keywords: A Causal Relationship Model, Healthy City, the Upper North East Region

บทน�ำ

นับตั้งแต่ประเทศไทยเริ่มใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติในปี พ.ศ. 2504 เป็นต้นมา ส่งผลต่อ การขยายตัวทางเศรษฐกิจทัง้ ในระดับประเทศและภูมภิ าค โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุม่ จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน (ประกอบด้วย 5 จังหวัด คือ อุดรธานี เลย หนองบัวล�ำภู หนองคาย และบึงกาฬ) มีการเติบโตทาง เศรษฐกิจเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง พิจารณาได้จากอัตรา การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมกลุ่มจังหวัด (Gross Province Product: GPP) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552-2557 พบว่า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 8.37 ซึ่งสูงกว่าอัตรา การขยายตั ว ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ทีม่ คี า่ เฉลีย่ เท่ากับ ร้อยละ 4.74 นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนเป็นกลุ่ม จังหวัดที่มีมูลค่าการค้าชายแดนระหว่างไทยกับ สปป. ลาว สูงที่สุด มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 70,440.32 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 47.17 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และร้อยละ 39.92 ของประเทศ (The Office of Strategy Management Upper North East Provincial

Cluster 1, 2016: 43-46) โดยผลจากการพัฒนาทาง เศรษฐกิจส่งผลกระทบต่อความเป็นเมือง ซึง่ เป็นศูนย์กลาง ความเจริญได้ขยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ รองรับนโยบาย การพัฒนาซึง่ เน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม เป็นหลัก และผลพวงจากการขยายตัวอย่างก้าวกระโดด ของเมืองได้กอ่ ให้เกิดปัญหาต่างๆ ซึง่ เกิดขึน้ จากการพัฒนา อย่างรีบเร่งจนเกินกว่าจะรับมือได้ทนั (Noyraiphoom, 2008: 190) การขยายตัวของเมืองก่อให้เกิดปัญหา ซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในเมือง ทั้งในด้านสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม อาทิ การขยายตัวของชุมชนแออัด ปัญหาอาชญากรรม ปัญหา มลภาวะต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นขยะ น�้ำเสีย ฝุ่น ควัน และ ก๊าซพิษ ที่เกิดจากการด� ำเนินธุรกิจ (Khumhome, 2014: 94) จากปรากฏการณ์ทกี่ ล่าวมาจึงท�ำให้ในปัจจุบนั ต้องมีการปรับเปลี่ยนกระแสการขยายตัวของเมืองเพื่อ รองรับประชากรที่มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นในอนาคต (Piputsoongnern, 2015: 33-34) เมืองน่าอยู่ (Healthy City) เป็นแนวคิดการพัฒนา เมืองแนวใหม่ ซึ่งมีความสอดคล้องกับหลักการพัฒนา ที่ยั่งยืนที่เน้นการพัฒนาอย่างเป็นระบบเชิงองค์รวม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


80

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

(Holistic Approach) เป็นกระบวนการพัฒนาที่มีการ วางกรอบวิสัยทัศน์ และแนวทางพัฒนาที่สอดคล้องกัน ทัง้ ในด้านประชากร ทรัพยากร สิง่ แวดล้อมตามธรรมชาติ และสภาพแวดล้อมอื่นๆ ทางกายภาพที่สร้างขึ้น (Built Environment) ศิลปวัฒนธรรม ความรู้ และวิทยาการ สมัยใหม่ (Buranasiri, 2009) โดยมีเป้าหมายคือ เพือ่ สร้าง ความน่าอยู่ ความยั่งยืน สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้ครบ ทุกด้านแก่คนที่อยู่อาศัยในเมืองนั้นๆ และเพื่อดึงดูด นักลงทุนให้เข้ามาประกอบธุรกิจสร้างความเจริญด้าน เศรษฐกิจในเมืองของตน (Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 3) การศึกษาเกี่ยวกับตัวแบบความเป็นเมืองน่าอยู่ ทีผ่ า่ นมา อาทิ งานของ Chutan (2012), Choosuk (2010) และ Thailand Environment Institute Foundation (2012) พบว่า เป็นการใช้วิธีวิทยาในลักษณะการวิจัย เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซึ่งมีข้อจ�ำกัด ในการให้ อ รรถาธิ บ ายจ� ำ กั ด แวดวงเฉพาะในบริ บ ท (Contextualization) หรือเฉพาะกรณีที่ท�ำการศึกษา มากกว่าทีจ่ ะเป็นข้อสรุปทัว่ ไป (Generalization) รวมทัง้ ขาดการพิสูจน์แนวคิดและทฤษฎีด้วยวิธีการทางสถิติ (Statistical Methods) จึงท�ำให้องค์ประกอบและ ตัวบ่งชี้ความเป็นเมืองน่าอยู่จากการศึกษาดังกล่าวมี ข้อจ�ำกัดส�ำหรับการน�ำไปใช้ในวงกว้าง ตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (A Causal Relationship Model) เป็นวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ที่ใช้วิเคราะห์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรเหตุ (Cause) หรือทีน่ ยิ มเรียกว่า ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ที่ส่งผลต่อ ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ซึง่ เป็นผลทีเ่ กิดขึน้ ตามมา โดยมีวัตถุประสงค์ที่ส�ำคัญของการศึกษาคือ การทดสอบทางทฤษฎี (theory testing) ซึ่งเทคนิค การวิเคราะห์ดังกล่าวเป็นเทคนิคผสมผสานระหว่าง การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor analysis) และการ วิเคราะห์การถดถอย (Regression analysis) เข้าด้วยกัน รวมทั้งสามารถตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของ

ตัวแบบได้ จากความส�ำคัญของปัญหาทีก่ ล่าวมาข้างต้น ผูว้ จิ ยั จึงมีความสนใจในการพัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์เชิง สาเหตุความเป็นเมืองน่าอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน โดยใช้วธิ กี ารวิจยั เชิงปริมาณเพือ่ ทดสอบทฤษฎี ด้วยวิธีการทางสถิติ ซึ่งผลที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ตอ่ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทัง้ องค์กรภาคีเครือข่ายทีเ่ กีย่ วข้องสามารถใช้เป็นสารสนเทศ ประกอบการก�ำหนดนโยบายการพัฒนาเมืองน่าอยู่เพื่อ รองรับการขยายตัวของเมืองให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพือ่ พัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความ เป็นเมืองน่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2. เพือ่ ศึกษาอิทธิพลทางตรงของปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อความเป็นเมืองน่าอยู่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

ทบทวนวรรณกรรม

เมืองน่าอยู่ เป็นกระบวนการพัฒนาแบบองค์รวม (Holistic Approach) ในทัศนะขององค์การอนามัยโลก ได้ให้ความหมายว่า เมืองน่าอยู่ หมายถึง เมืองที่มีการ สร้างสรรค์และปรับปรุงสิง่ แวดล้อมทัง้ ทางด้านกายภาพ และสังคมอย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ มีการขยายแหล่งทรัพยากร ของชุมชน ซึง่ สามารถเสริมสร้างให้ประชาชนมีสว่ นร่วม และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการด�ำเนินวิถีชีวิตเพื่อให้ ได้ศักยภาพหรือคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด (Webster & Sanderson, 2012: 52) สอดคล้องกับองค์กร หน่วยงาน และนักวิชาการในประเทศไทยที่ให้นิยามเมืองน่าอยู่ว่า เป็นกระบวนการพัฒนาโดยยึดคนเป็นศูนย์กลางเพือ่ สร้าง ความสมดุลทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในชุมชน (Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14; Chutan, 2012: 14; Saguansup, 2010: 4; Choosuk, 2010: 70-73; Buranasiri, 2009;

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

Chunloy, 2008: 7; Thadaniti, 2007) โดยลักษณะ ของความเป็นเมืองน่าอยู่มีดังต่อไปนี้ 1. สิ่งก่อสร้างภายในเมืองและที่อยู่อาศัยมีความ สะอาด สวยงาม และเป็นระเบียบเรียบร้อย (Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14; Chutan, 2012: 14; Saguansup, 2010: 4) 2. ประชาชนทุ ก ระดั บ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ผู ้ มี ฐ านะดี ชนชัน้ กลาง ผูม้ รี ายได้นอ้ ย และผูด้ อ้ ยโอกาสทีอ่ าศัยอยู่ ภายในเมือง มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ อี ย่างเท่าเทียมกัน (Barton & Grant, 2011: 131; Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14; Chutan, 2012: 14) 3. ประชาชนทีอ่ าศัยอยูภ่ ายในเมืองสามารถใช้ชวี ติ ได้อย่างมีความสุข ได้รบั ความสะดวกสบาย และมีความ ปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ (Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14; Saguansup, 2010: 4) 4. มีความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ซึ่งแสดงถึง เอกลักษณ์ของเมืองที่ประชาชนยึดมั่นเป็นหลักในการ ด�ำเนินชีวติ เป็นสิง่ ดีงาม และได้รบั การยกย่อง (Chutan, 2012: 14: Choosuk, 2010: 71; Chunloy, 2008: 7) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ เป็นปัจจัยส�ำคัญที่มีความ สัมพันธ์และส่งผลกระทบต่อความเป็นเมืองน่าอยู่ เนือ่ งจาก ความต้องการทางเศรษฐกิจเป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่อาจจะ หลีกเลี่ยงได้ ทั้งความต้องการทางด้านร่างกายเพื่อให้ สามารถด�ำรงชีวติ อยูไ่ ด้ และความต้องการสิง่ จรรโลงจิตใจ ในการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์ โดยปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ที่ส่งผลต่อความเป็นเมืองน่าอยู่ มีดังต่อไปนี้ 1. ค่าครองชีพมีความเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ รายได้ และรูปแบบการด�ำเนินชีวติ ของประชาชนทีอ่ าศัย อยูภ่ ายในเมือง (Barton & Grant, 2011: 131; Choosuk, 2010: 72; Buranasiri, 2009) 2. เศรษฐกิจท้องถิน่ มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง มีความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ และมีสงิ่ สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน ที่ เ หมาะสมและเพี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการของผู ้ ค น ภายในเมือง (Thailand Environment Institute

81

Foundation, 2012: 14; Choosuk, 2010: 72; Thadaniti, 2007) 3. มีบรรยากาศทีด่ สี ำ� หรับการค้าขายและการลงทุน เพื่อสร้างโอกาสทางการค้าและเอื้อประโยชน์ต่อการ ประกอบธุ ร กิ จ (Barton & Grant, 2011: 131; Buranasiri, 2009; Thadaniti, 2007) ปัจจัยด้านสังคม การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ภายใน สังคมเมือง เป็นการสร้างระบบความสัมพันธ์เพือ่ ให้สงั คม ของตนด�ำรงอยูไ่ ด้ เพือ่ ให้เกิดความเจริญก้าวหน้าต่อตนเอง และส่วนรวม โดยปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อความเป็น เมืองน่าอยู่มีดังต่อไปนี้ 1. คนทุกวัยได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนด้าน การศึกษาอย่างหลากหลายและเท่าเทียมกัน (Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14; Choosuk, 2010: 70; Buranasiri, 2009; Chunloy, 2008: 7) 2. มีระบบการสาธารณสุขที่ดี ประชาชนได้รับการ บริการพืน้ ฐานด้านสุขอนามัยอย่างเท่าเทียมกัน (Rydin, 2012: 14; Choosuk, 2010: 70; Buranasiri, 2009; Thadaniti, 2007) 3. มี ก ารรั ก ษาประเพณี แ ละภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น เพือ่ ให้ประชาชนทีอ่ าศัยอยูภ่ ายในเมืองมีความรูส้ กึ ผูกพัน เกิดความสามัคคี เป็นปึกแผ่น และอุทิศตนเพื่อการ พัฒนาเมืองของตนเองให้เจริญและยั่งยืน (Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14; Choosuk, 2010: 71; Buranasiri, 2009; Chunloy, 2008: 7) 4. มีการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และศาสนา เพือ่ เป็นทีพ่ งึ่ ทางจิตใจของผูค้ นทีอ่ าศัยอยูภ่ ายในเมือง ท�ำให้ เป็นคนทีม่ คี ณ ุ ธรรม มีเหตุผล และศรัทธาในความถูกต้อง ทุกคนอยูร่ ว่ มกันได้อย่างสันติ (Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14; Choosuk, 2010: 71; Thadaniti, 2007) ปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยพื้นฐานการด�ำรงชีวิต ของมนุษย์ มีจดุ เริม่ ต้นจากการตอบสนองความต้องการ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


82

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ทางกายและความปลอดภัย มั่นคงในชีวิตจากการใช้ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่รอบตนเองและชุมชน ดังนั้นมนุษย์จึงมีความเชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมโดยตรง โดยปัจจัยทางด้านสิง่ แวดล้อมทีส่ ง่ ผลต่อความเป็นเมือง น่าอยู่ มีดังต่อไปนี้ 1. ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง ชีวภาพภายในเมืองได้รับการดูแลรักษาอนุรักษ์ไว้ซึ่ง ระบบนิเวศที่ดี (Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14) 2. ประชาชนมีรูปแบบการใช้ชีวิตและการบริโภค ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการใช้พลังงานสะอาดที่ ไม่กอ่ ให้เกิดมลพิษ (Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14; Choosuk, 2010: 73) 3. ของเสียหรือมลพิษถูกจัดการอย่างถูกต้องและ เหมาะสม รวมทัง้ มีระบบก�ำจัดขยะมูลฝอยและสิง่ ปฏิกลู

ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ (Rydin, 2012: 13; Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14; Buranasiri, 2009; Thadaniti, (2007) 4. มีแหล่งน�้ำสะอาดเพียงพอต่อความต้องการของ ชุมชน (Rydin, 2012: 13; Barton & Grant, 2011: 131; Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14; Buranasiri, 2009; Thadaniti, 2007) 5. มีอากาศที่บริสุทธิ์ ปราศจากมลพิษที่เจือปนอยู่ ในอากาศ (Rydin, 2012: 13; Barton & Grant, 2011: 131; Thailand Environment Institute Foundation, 2012: 14; Buranasiri, 2009; Thadaniti, 2007) จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องผู้วิจัยจึง ก�ำหนดตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความเป็นเมือง น่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เพื่อใช้เป็น กรอบแนวคิดการวิจัยได้ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

83

วิธีการวิจัย

การวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ให้ความส�ำคัญกับปัจจัย ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมทีส่ ง่ ผลต่อความเป็น เมืองน่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน โดยผล จากการทบทวนแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องสามารถ ก�ำหนดสมมติฐานทางสถิติได้ดังต่อไปนี้ สมมติฐานที่ 1 H0: ปัจจัยด้านเศรษฐกิจไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อ ความเป็นเมืองน่าอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน H1: ปัจจัยด้านเศรษฐกิจมีอทิ ธิพลทางตรงต่อความ เป็นเมืองน่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน สมมติฐานที่ 2 H0: ปัจจัยด้านสังคมไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อความ เป็นเมืองน่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน H1: ปัจจัยด้านสังคมมีอทิ ธิพลทางตรงต่อความเป็น เมืองน่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน สมมติฐานที่ 3 H0: ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อ ความเป็นเมืองน่าอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน H1: ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลทางตรงต่อ ความเป็นเมืองน่าอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ประชาชน ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลต�ำบล เทศบาลเมือง และ เทศบาลนคร จ�ำนวน 7 แห่ง ในกลุ่มภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนบน (อุดรธานี เลย หนองบัวล�ำภู หนองคาย และบึงกาฬ) (The Office of Strategy Management Upper North East Provincial Cluster 1, 2016: 43) โดยก�ำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกพื้นที่ 2 ประการคือ 1) มีจ�ำนวนประชากรมากกว่า 10,000 คน และ 2) มี ความหนาแน่นของประชากรมากกว่า 1,500 คน/ตร.กม. ก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สัดส่วน 20 ตัวอย่าง ต่อ 1 ตัวแปร (Angsuchoti, Wijitwanna & Pinyopanuwat, 2008: 31) ส�ำหรับการศึกษาครัง้ นีม้ ตี วั แปร สังเกตได้ที่ใช้ในการสร้างตัวแบบ จ�ำนวน 16 ตัวแปร จึงประมาณขนาดกลุม่ ตัวอย่างขัน้ ต�ำ่ ได้ จ�ำนวน 320 ราย และเพื่อให้การประมาณค่าทางสถิติมีความน่าเชื่อถือ มากขึ้นและเพิ่มอ�ำนาจการทดสอบ (Power of test) ผูว้ จิ ยั จึงได้เพิม่ ขนาดกลุม่ ตัวอย่างในการศึกษาเป็น 380 ราย โดยวิธีการสุ่มแบบง่าย (Simple random sampling) ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงจ�ำนวนประชากรและตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา รายชื่อเทศบาล เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลเมืองหนองส�ำโรง เทศบาลเมืองบ้านดุง เทศบาลเมืองโนนสูง-น�ำ้ ค�ำ เทศบาลต�ำบลหนองบัว เทศบาลเมืองท่าบ่อ เทศบาลต�ำบลศรีเชียงใหม่ รวม

ประชากร* (ราย) 155,339 39,489 16,146 10,440 23,953 21,126 12,171 278,664

ความหนาแน่น* (ราย/ตร.กม.) 3,257 1,589 1,906 1,711 6,943 8,125 3,043

ตัวอย่าง (ราย) 109 68 50 30 34 60 29 380

ที่มา: *Department of Local Administration (2015) ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


84

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ผูว้ จิ ยั ได้พฒ ั นาแบบวัดความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ ปัจจัย ทีส่ ง่ ผลต่อความเป็นเมืองน่าอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ซึง่ มีตวั เลือก 5 ระดับ มีลกั ษณะการตอบ ตัง้ แต่ระดับมากทีส่ ดุ จนถึงน้อยทีส่ ดุ โดยมีขนั้ ตอนในการ ตรวจสอบคุณภาพดังต่อไปนี้ 2.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อใช้เป็นกรอบในการพัฒนาแบบสอบถาม 2.2 ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยผูเ้ ชีย่ วชาญจ�ำนวน 3 ท่าน เพือ่ ตรวจสอบ ความครอบคลุมของเนือ้ หาและความถูกต้องของส�ำนวน และภาษาที่ใช้ โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อ ค�ำถามกับวัตถุประสงค์ (Index of Item Objective Congruence: IOC) ซึง่ ข้อค�ำถามมีคา่ ดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 0.94 2.3 ทดสอบความเชื่อมัน (Reliability) โดยน�ำ แบบสอบถามไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกับประชากรทีใ่ ช้ในการศึกษา จ�ำนวน 50 ราย เพื่ อ น� ำ มาวิ เ คราะห์ ห าค่ า ความเชื่ อ มั่ น โดยสู ต รของ ครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) พบว่า แบบสอบถามมีระดับความเชือ่ มัน่ เท่ากับ 0.895 สรุปได้วา่ แบบสอบถามมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ในเกณฑ์ดี และ สามารถน�ำไปใช้ได้ 3. การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความเป็นเมือง น่าอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน โดยใช้โปรแกรม ส�ำเร็จรูปส�ำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ มีขั้นตอน ดังต่อไปนี้

3.1 การก� ำ หนดข้ อ มู ล จ� ำ เพาะของตั ว แบบ (Specification of model) คือ การก�ำหนดความสัมพันธ์ เชิงโครงสร้างในแต่ละองค์ประกอบของตัวแบบ 3.2 การระบุความเป็นไปได้คา่ เดียวของตัวแบบ (Identification of model) คือ การระบุว่าตัวแบบ สามารถประมาณค่าพารามิเตอร์ได้เป็นค่าเดียวหรือไม่ กล่าวคือ เป็นการทดสอบตัวแบบระบุเกินพอดี (Overidentified model) ที่มีจ�ำนวนพารามิเตอร์ที่ทราบค่า มากกว่าพารามิเตอร์ที่ไม่ทราบค่า 3.3 ประมาณค่าพารามิเตอร์จากตัวแบบ (Parameter estimation from the model) คือ การวิเคราะห์ ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อหาค่าพารามิเตอร์ โดยใช้ วิธกี ารประมาณค่าแบบวิธไี ลค์ลฮิ ดู้ สูงสุด (A Maximum Likelihood) 3.4 การทดสอบความกลมกลื น สอดคล้ อ ง (Goodness of fit test) เพื่อตรวจสอบความตรงของ ตัวแบบ (Model validation) โดยใช้ค่าสถิติทดสอบ ความกลมกลืนของตัวแบบ (ดังตารางที่ 2) 3.5 การปรับตัวแบบ (Model adjustment) ในกรณีทตี่ วั แบบไม่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ตอ้ ง มีการปรับแก้ตวั แบบเพือ่ ให้มกี ารประมาณค่าพารามิเตอร์ ขึ้นใหม่ จนกว่าตัวแบบที่วิเคราะห์ใหม่จะสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ 3.6 การแปลความหมายผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล เป็นการน�ำค่าสัมประสิทธิ์ที่ได้จากการค�ำนวณมาใช้ ในการอธิบายความสัมพันธ์ภายใต้ตัวแบบที่พัฒนาขึ้น 3.7 ทดสอบสมมติฐานทางสถิตโิ ดยใช้สถิตทิ ดสอบ ที (t-test)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

85

ตารางที่ 2 ค่าสถิติทดสอบความกลมกลืนของตัวแบบ ค่าดัชนี

เกณฑ์ที่ใช้พิจารณา ไม่มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p > .05)

ค่าไคสแควร์ (Chi-square: χ2) ดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness of Fit Index: GFI) ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนปรับแก้แล้ว (Adjusted the Goodness of Fit Index: AGFI) ค่ารากของค่าเฉลี่ยก�ำลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (Standardized root mean square residual: Standardized RMR) ค่ารากก�ำลังสองของความคลาดเคลื่อนโดยประมาณ (Root Mean Square Error of Approximation: RMSEA)

มีค่ามากกว่า 0.95 มีค่ามากกว่า 0.90 มีค่าต�่ำกว่า 0.05 มีค่าต�่ำกว่า 0.05

ที่มา: Tirakanan (2012: 249)

ผลการวิจัย

1. ผลการพัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ความเป็นเมืองน่าอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน พบว่า ตัวแบบไม่มคี วามสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผูว้ จิ ยั จึงได้ทำ� การปรับตัวแบบโดยการผ่อนคลายข้อตกลง เบื้องต้น กล่าวคือ ให้ความคลาดเคลื่อนของตัวแปร สังเกตได้มคี วามสัมพันธ์กนั หลังจากการปรับตัวแบบแล้ว พบว่า ตัวแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อยู่ในเกณฑ์ดี โดยพิจารณาจากค่าไคสแควร์ (χ2) มีค่า

เท่ากับ 109.63 ที่องศาอิสระ (df) 90 P-value เท่ากับ 0.078 ค่าดัชนีวดั ระดับความกลมกลืน (GFI) เท่ากับ 0.97 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.95 ค่ารากก�ำลังสองของความคลาดเคลื่อน โดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.024 และค่ารากของ ค่าเฉลี่ยก�ำลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (Standardized RMR) เท่ากับ 0.035 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่ ก�ำหนดไว้ ดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติทดสอบความกลมกลืนของตัวแบบ ค่าดัชนี Chi-square (χ2) GFI AGFI Standardized RMR RMSEA

เกณฑ์ที่ใช้พิจารณา ไม่มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p > .05) มีค่ามากกว่า 0.95 มีค่ามากกว่า 0.90 มีค่าต�ำ่ กว่า 0.05 มีค่าต�ำ่ กว่า 0.05

ค่าดัชนีจากการวิเคราะห์ 109.63 (p = 0.078) 0.97 0.95 0.035 0.024

แปลผล ผ่านเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

86

เมือ่ พิจารณาจากตัวแบบทีพ่ ฒ ั นาขึน้ พบว่า ตัวแปร สังเกตได้ทั้ง 16 ตัวแปร มีค่าน�้ำหนักองค์ประกอบอยู่ ระหว่าง 0.53-0.85 เมื่อพิจารณาจากค่าสถิติที (t) พบว่า น�้ำหนักองค์ประกอบทุกตัวแปรมีนัยส�ำคัญทาง สถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 แสดงว่าทุกตัวแปรสังเกตได้มนี ำ�้ หนัก องค์ประกอบอยูใ่ นระดับทีน่ า่ เชือ่ ถือและสามารถอธิบาย ได้อย่างมีความหมาย เมือ่ พิจารณาตัวแปรสังเกตได้ในแต่ละองค์ประกอบ พบว่า องค์ประกอบปัจจัยความเป็นเมืองน่าอยู่ (CITY) ตัวแปรสังเกตได้ทงั้ 4 ตัวแปร มีคา่ น�้ำหนักองค์ประกอบ อยูร่ ะหว่าง 0.53-0.60 มีคา่ ความเทีย่ ง (R2) อยูร่ ะหว่าง 0.28-0.36 โดยตัวแปรเรื่องความสะอาด สวยงาม เป็น ระเบียบ (CITY_1) มีน�้ำหนักองค์ประกอบสูงสุด องค์ประกอบปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (ECON) ตัวแปร

สังเกตได้ทงั้ 3 ตัวแปร มีคา่ น�ำ้ หนักองค์ประกอบอยูร่ ะหว่าง 0.70-0.84 มีค่าความเที่ยง (R2) อยู่ระหว่าง 0.49-0.70 โดยตัวแปรเรือ่ งเศรษฐกิจท้องถิน่ มีการเจริญเติบโตอย่าง ต่อเนื่อง (ECON_2) มีน�้ำหนักองค์ประกอบสูงสุด องค์ประกอบปัจจัยด้านสังคม (SOCIAL) ตัวแปร สังเกตได้ทงั้ 4 ตัวแปร มีคา่ น�ำ้ หนักองค์ประกอบอยูร่ ะหว่าง 0.55-0.85 มีค่าความเที่ยง (R2) อยู่ระหว่าง 0.31-0.72 โดยตัวแปรเรื่องการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และ ศาสนา (SOCIAL_4) มีน�้ำหนักองค์ประกอบสูงสุด องค์ประกอบปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ตัวแปร สังเกตได้ทงั้ 5 ตัวแปร มีคา่ น�ำ้ หนักองค์ประกอบอยูร่ ะหว่าง 0.60-0.72 มีค่าความเที่ยง (R2) อยู่ระหว่าง 0.36-0.52 โดยตัวแปรเรื่องมีน�้ำสะอาดเพียงพอต่อความต้องการ ของชุมชน (ENVI_4) มีน�้ำหนักองค์ประกอบสูงสุด

ตารางที่ 4 แสดงน�้ำหนักองค์ประกอบมาตรฐาน ค่าสถิติที ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน และค่าความเที่ยงของ ตัวแปรแฝงและตัวแปรสังเกตได้ ตัวแปรแฝง ความเป็น เมืองน่าอยู่ (CITY) เศรษฐกิจ (ECON) สังคม (SOCIAL) สิ่งแวดล้อม (ENVI)

น�้ำหนักองค์ประกอบ มาตรฐาน ความสะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ (CITY_1) 0.60 ผู้คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี (CITY_2) 0.55** ผู้คนสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข (CITY_3) 0.53** 0.57** มีเอกลักษณ์ของท้องถิ่น (CITY_4) ค่าครองชีพเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ (ECON_1) 0.71** 0.84** เศรษฐกิจท้องถิ่นเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง (ECON_2) บรรยากาศที่ดีสำ� หรับการค้าและการลงทุน (ECON_3) 0.70** การส่งเสริมและสนับสนุนด้านการศึกษา (SOCIAL_1) 0.55** 0.80** ระบบการสาธารณสุขที่ดี (SOCIAL_2) 0.76** การรักษาประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น (SOCIAL_3) การท�ำนุบ�ำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และศาสนา (SOCIAL_4) 0.85** การอนุรักษ์ทรัพยากรในท้องถิ่น (ENVI_1) 0.67** 0.69** การใช้พลังงานสะอาดที่ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ (ENVI_2) ระบบก�ำจัดขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ (ENVI_3) 0.70** มีน�้ำสะอาดเพียงพอต่อความต้องการของชุมชน (ENVI_4) 0.72** อากาศที่บริสุทธิ์ (ENVI_5) 0.60** ตัวแปรสังเกตได้

t

S.E.

R2

8.22 7.90 8.43 14.44 17.63 14.08 10.47 15.97 15.92 16.35 13.34 13.78 13.82 14.34 11.77

0.050 0.054 0.056 0.046 0.040 0.042 0.042 0.040 0.041 0.043 0.042 0.045 0.044 0.043 0.044

0.36 0.30 0.28 0.32 0.51 0.70 0.49 0.31 0.64 0.57 0.72 0.46 0.47 0.49 0.52 0.36

หมายเหตุ: **p < 0.01 ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

2. ผลจากการศึกษาอิทธิพลทางตรงของปัจจัยด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อความเป็น เมืองน่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน พบว่า ตัวแปรแฝงภายนอกทั้ง 3 ตัวแปร ได้แก่ ปัจจัยด้าน เศรษฐกิจ ปัจจัยด้านสังคม และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม

87

มีอทิ ธิพลทางตรงในเชิงบวกต่อปัจจัยความเป็นเมืองน่าอยู่ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยปัจจัยด้าน สิง่ แวดล้อมมีคา่ อิทธิพลมากทีส่ ดุ เท่ากับ 0.42 รองลงมา คือ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (0.39) และปัจจัยด้านสังคม (0.24) ตามล�ำดับ ดังตารางที่ 5

ตารางที่ 5 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ สมมติฐาน ECON CITY SOCIAL CITY ENVI CITY

ขนาดอิทธิพล 0.39** 0.24** 0.42**

t 5.06 3.35 4.42

S.E. 0.078 0.073 0.095

ผลการทดสอบ ปฏิเสธ H0 ปฏิเสธ H0 ปฏิเสธ H0

หมายเหตุ: **p < 0.01

ภาพที่ 2 ตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความเป็นเมืองน่าอยู่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


88

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

อภิปรายผล

ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ ผู้วิจัยมีประเด็นส�ำคัญ ที่ น� ำ มาอภิ ป รายผลเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความชั ด เจน ดังต่อไปนี้ 1. ผลจากการพัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ความเป็นเมืองน่าอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน พบว่า ตัวแบบทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ มีความสอดคล้องกับข้อมูล เชิงประจักษ์ แสดงให้เห็นว่าปัจจัยเชิงสาเหตุทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม เป็นปัจจัยทีม่ คี วามส�ำคัญต่อการพัฒนาสูค่ วามเป็นเมือง น่าอยู่เพื่อการสร้างสรรค์เมืองที่มีสภาพแวดล้อมที่ดี ทัง้ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและทางกายภาพ มีความ สะอาด สวยงาม และเป็นระเบียบเรียบร้อย รวมถึง เป็นเมืองที่ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจมั่นคง แข็งแรง ใช้ชวี ติ ได้อย่างมีความสุข และแสดงถึงความเป็น เอกลักษณ์ของท้องถิ่นตนเอง ซึ่งมีความสอดคล้องกับ กรอบแนวคิดเมืองน่าอยูข่ อง Choosuk (2010: 70-73) และ Thadaniti (2007) ที่เสนอว่า ปัจจัยที่มีผลต่อ ชุมชนเมืองทีม่ คี วามน่าอยูป่ ระกอบด้วย 3 มิติ คือ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม 2. ผลจากการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงต่อ ความเป็นเมืองน่าอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน พบว่า ปัจจัยด้านสิง่ แวดล้อมมีคา่ อิทธิพลมากทีส่ ดุ แสดงให้ เห็นว่าประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองให้ความส�ำคัญ กับสภาพแวดล้อมในชุมชนเป็นอันดับแรก เนื่องจากใน ปัจจุบันสภาพเมืองโดยส่วนใหญ่ประสบปัญหาเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมเมืองซึง่ ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพชีวติ ของ มนุษย์ทอี่ าศัยอยูใ่ นเมืองนัน้ ๆ รวมไปถึงคุณภาพสิง่ แวดล้อม ทีส่ ง่ ผลกระทบในวงกว้าง ปัญหาสิง่ แวดล้อมและการเร่ง ใช้ทรัพยากรอันเป็นผลมาจากการเร่งพัฒนาเศรษฐกิจ ที่เน้นตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (เช่น มูลค่า การส่งออก รายได้จากการท่องเทีย่ ว หรือรายได้ประชาชาติ เป็นต้น) ซึง่ เกิดขึน้ ภายหลังการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมน�ำไป สู่การผลิตที่เน้นปริมาณในการผลิตจ�ำนวนมาก (Mass production) โดยส่งผลต่อความเป็นธรรมในการใช้

ทรัพยากรธรรมชาติ จากปัญหาต่างๆ จึงเป็นผลให้คน ในชุมชนเมืองให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาที่มีความ สมดุลระหว่างมนุษย์ เศรษฐกิจ และธรรมชาติ เพื่อการ พัฒนาเมืองอย่างยัง่ ยืน สอดคล้องกับแนวคิดของ Rydin (2012: 13), Barton & Grant (2011: 131), Thailand Environment Institute Foundation (2012: 14), Choosuk (2010: 73), Buranasiri (2009) และ Thadaniti (2007) ทีม่ องว่า การรักษาและฟืน้ ฟูทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในท้องถิน่ เป็นพืน้ ฐานของการ สร้างเมืองน่าอยู่ที่ก่อให้เกิดความยั่งยืนได้อย่างแท้จริง

สรุปผลการวิจัย

1. ผลการพัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ความเป็นเมืองน่าอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน พบว่า มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยปัจจัย เชิงสาเหตุดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม เป็นปัจจัย ที่มีความส�ำคัญต่อการพัฒนาสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่ 2. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม มีอทิ ธิพลทางตรงในเชิงบวกต่อปัจจัยความเป็นเมืองน่าอยู่ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจัยในครั้งนี้ ผลจากการวิจัยในครั้งนี้ ชุมชน ผู้ประกอบการ องค์กรภาครัฐและเอกชน รวมทั้งองค์กรภาคีเครือข่าย ที่เกี่ยวข้องสามารถน�ำตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ความเป็นเมืองน่าอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่ได้ ตามล�ำดับความส�ำคัญ ดังนี้ 1.1 ด้านสิง่ แวดล้อม ควรด�ำเนินการดังนี้ ควรจัด ให้มแี หล่งน�ำ้ ทีส่ ะอาดและเพียงพอต่อความต้องการของ ชุมชน จัดให้มีระบบก�ำจัดขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ รณรงค์การใช้พลังงานสะอาดทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดมลพิษ ส่งเสริม และสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่น และควร แก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศเพื่ออากาศที่บริสุทธิ์

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

1.2 ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ควรด�ำเนินการดังนี้ ควรมีการพัฒนาเศรษฐกิจในท้องถิน่ ให้มกี ารเจริญเติบโต อย่างต่อเนือ่ ง ควรก�ำหนดค่าครองชีพให้มคี วามเหมาะสม กับสภาพเศรษฐกิจ และควรสร้างบรรยากาศทีด่ สี ำ� หรับ การค้าขายและการลงทุน 1.3 ปัจจัยด้านสังคม ควรด�ำเนินการดังนี้ ควร ส่งเสริมและสนับสนุนการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และศาสนา ควรจัดให้มีระบบการสาธารณสุขที่ดี เพื่อ ดูแลสุขอนามัยทีด่ ขี องคนในชุมชน ควรก�ำหนดแนวทาง ในการรักษาประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้าง เอกลักษณ์หรือเสน่หภ์ ายในชุมชนเมืองของตนเอง และ ควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนด้านการศึกษาให้กับ

89

คนในชุมชนอย่างทั่วถึง 2. ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจัยครั้งต่อไป การน�ำผลการวิจยั ไปใช้ยงั มีขอ้ จ�ำกัดหลายประการ ถึงอย่างไรก็ตามข้อจ�ำกัดเหล่านี้จะเป็นแนวทางในการ ศึกษาวิจยั ครัง้ ต่อไป เนือ่ งจากการวิจยั ครัง้ นีม้ จี ดุ มุง่ หมาย เพือ่ ค้นหาปัจจัยเชิงสาเหตุทสี่ ง่ ผลต่อความเป็นเมืองน่าอยู่ ซึง่ มาจากความคิดเห็นของภาคประชาชนเพียงกลุม่ เดียว เท่านั้น ดังนั้นการวิจัยครั้งต่อไปควรศึกษาในประเด็น ยุทธศาสตร์การพัฒนาสูค่ วามเป็นเมืองน่าอยู่ เพือ่ ก�ำหนด เป็นแนวนโยบาย โครงการ และแนวปฏิบัติที่ชัดเจน ซึ่งเกิดจากการมีส่วนร่วมของคนทุกภาคส่วนในสังคม

References

Angsuchoti, S., Wijitwanna, S. & Pinyopanuwat, R. (2008). Statistical Analysis for the Behavioral and Social Science Research: technical using LISREL program. Bangkok: Mission Media. [in Thai] Barton, H. & Grant, M. (2011). Urban Planning for Healthy Cities: A Review of the Progress of the European Healthy Cities Programme. Journal of Urban Health: Bulletin of the New York Academy of Medicine, 90(Suppl.1), 129-141. Buranasiri, P. (2009). Healthy City. Retrieved August 8, 2014, from http://sawasdee.bu.ac.th/article/ gl440702.htm [in Thai] Choosuk, C. (2010). Final Report, Mechanisms in Mobilizing the Livable City Policy: the Case Studies of Songkhla and Prik Municipalities, Songkhla Province. Bangkok: Thai Health Promotion Foundation. [in Thai] Chunloy, M. (2008). The Study of Perception on Livable Cities, Case Study Suthep Sub-District, Muang District, Chiang Mai Province. Thesis, Master of Science, Mahidol University. [in Thai] Chutan, N. (2012). The Strategy for Developing a Healthy Urban Community based on World Heritage City Identity of Kamphaeng Phet Province. Thesis, Ph.D. (Administration and Development Strategy), Kamphaeng Phet Rajabhat University. [in Thai] Department of Local Administration. (2015). Information of Local Administrative Organization. Retrieved January 10, 2015, from http://dla.go.th/work/abt/ [in Thai] Khumhome, B. (2014). Factors Influencing the Decision to Participate in A Green Industial Project of Enterpreneurs in Ubonratchatani. Panyapiwat Journal, 5(Special Issue), 92-104. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


90

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Noyraiphoom, J. (2008). The Urban Sufficiency Concept: A Sustainable Urban Design in Thai Pattern. Journal of The Faculty of Architecture, Silpakorn University, 23, 177-198. [in Thai] Piputsoongnern, P. (2015). Identifying Indicators of Factors Determining Healthy City: Applied Second-order Confirmatory Factor Analysis Model. Udon Thani Rajabhat University Journal of Humanities and Social Sciences, 4(1), 31-58. [in Thai] Rydin, Y. (2012). Viewpoint Healthy cities and planning. The Town Planning Review, 83(4), 13-18. Saguansup, J. (2010). Guidelines for Healthy City Development of Bangtaboon Municipality in Banlaem District of Phetchaburi Province. An Independent Study, Master of Public Administration, Khon Kaen University. [in Thai] Thadaniti, S. (2007). Sustainable Healthy City. Retrieved August 7, 2014, from http://www.chula. ac.th/resources/download/cu_rel/curel_50_2007.pdf [in Thai] Thailand Environment Institute Foundation. (2012). Sustainable Healthy Municipality Assessment Handbook 2012. Bangkok: Ministry of Natural Resources and Environment. [in Thai] The Office of Strategy Management Upper North East Provincial Cluster 1. (2016). Development Plan of Upper North East Provincial Cluster 1, 4 Years (2018-2021 A.D.). Udon Thani: Udon Thani City Hall. [in Thai] Tirakanan, S. (2012). Multivariate Analysis in Social Science Research (2nd ed.). Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai] Webster, P. & Sanderson, D. (2012). Healthy Cities Indicators–A Suitable Instrument to Measure Health? Journal of Urban Health: Bulletin of the New York Academy of Medicine, 90(Suppl.1), 52-61.

Name and Surname: Supagrit Pitiphat Highest Education: Master of Economics (Business Economics), Khon Kaen University University or Agency: Udon Thani Rajabhat University Field of Expertise: Small and Medium Enterprises (SMEs) Address: Department of Business Economics, Faculty of Management Science, Udon Thani Rajabhat University

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

91

กลยุทธ์ทางการตลาดส�ำหรับธุรกิจร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร MARKETING STRATEGY TO CREATING MODERN STREET FOOD IN BANGKOK รจิต คงหาญ1 และอนุชิต แสงอ่อน2 Rajit Khongharn1 and Anuchit Saeng-on2 1,2คณะวิทยาการจัดการ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 1,2Faculty of Management Sciences, Panyapiwat Institute of Management

บทคัดย่อ

การศึกษากลยุทธ์ทางการตลาดส�ำหรับธุรกิจร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์ เพือ่ ศึกษาปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ของผูบ้ ริโภคทีม่ าใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร ปัจจัย ด้านส่วนประสมการตลาด ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ของผู้บริโภค ในกรุงเทพมหานคร และเพือ่ บูรณาการผลการวิจยั เป็นกลยุทธ์การตลาดส�ำหรับร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ งานวิจยั นี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคร้านอาหารริมทางที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป จ� ำนวน 400 ตัวอย่าง เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในงานวิจยั คือ แบบสอบถาม ท�ำการสุม่ ตัวอย่างแบบเจาะจง โดยเลือกแหล่งร้านอาหารริมทางทีม่ ชี อื่ เสียง ในกรุงเทพมหานครจ�ำนวน 7 แห่ง โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบสมมติฐานโดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า เป็นเพศหญิงร้อยละ 55 เพศชายร้อยละ 45 ส่วนใหญ่มีอายุ 21-30 ปี ร้อยละ 43 มีอายุ 31-40 ปี ร้อยละ 28 โดยมีรายได้ระหว่าง 10,001-20,000 บาท ร้อยละ 37 มีรายได้ระหว่าง 20,001-30,000 บาท ร้อยละ 29 ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดมีความสัมพันธ์กบั ความถีต่ อ่ เดือนของผูบ้ ริโภคทีม่ าใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร และปัจจัยภายนอกมีความ สัมพันธ์กับความถี่ต่อเดือนของผู้บริโภคที่มาใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในของผู้บริโภคกรุงเทพมหานคร ค�ำส�ำคัญ: การตลาด ร้านอาหาร ร้านอาหารริมทาง

Corresponding Author E-mail: rajitkho@pim.ac.th


92

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

The study of Marketing Strategy to creating modern street food in Bangkok, aimed to study for the demographic factors of consumers using modern street food in Bangkok, The marketing mix factors, The external factors that affecting to behavior of using modern street food among consumers in Bangkok, To integrate research results and modifying to be marketing strategy for modern street food in Bangkok, This research is quantitative research the samples were 400 consumers of modern street food in Bangkok and age over 20 years. The research instrument was a questionnaire by specific sampling and chosen from 7 famous modern street food in Bangkok. This research were used descriptive statistics, frequency, percentage, mean, and standard deviation. And inferential statistics to test hypotheses. Using multiple regression analysis. The study indicated that most respondents were female 55% male 45% age of 21-30 years old 43% and aged 31-40 years, 28% with income between 10,001-20,000 Baht 37% and earned between 20,001-30,000 Baht 29%, The results of hypothesis test showed that the marketing mix factor is related to the monthly frequency of consumers using the modern street food in Bangkok, and external factors are related to monthly frequency of consumers using the modern street food in Bangkok. Keywords: Marketing, Restaurant, Street food

บทน�ำ

การค้าขายประกอบธุรกิจร้านอาหารริมทางเป็น อาชีพอิสระที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ไม่ใช่เฉพาะ ประเทศไทยเท่านั้น แต่หมายถึงทั่วทุกภูมิภาคของโลก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO, 1995) ได้ให้คำ� จ�ำกัดความของร้านอาหารริมทาง (Street Food) หมายถึง อาหารส�ำเร็จรูปและเครือ่ งดืม่ ทีจ่ ดั เตรียม หรือขายโดยผู้ขายหรือแผงลอยโดยเฉพาะอย่างยิ่งตาม ริมถนนและสถานทีอ่ นื่ ทีค่ ล้ายๆ กัน เป็นส่วนส�ำคัญของ การบริโภคอาหารในชีวิตประจ�ำวัน ส�ำหรับผู้มีรายได้ ระดับต�่ำและปานกลางของหลายล้านคนในชุมชนเมือง Food Institute (2017) กล่าวว่า ร้านอาหารริมทาง ในประเทศไทยจะขายอาหารพร้อมรับประทานหรือ เครื่องดื่มที่จ�ำหน่ายกันริมถนนหรือที่สาธารณะ มีทั้งที่ เป็นซุม้ ขายอาหาร รถเข็นริมทาง หรือรถบรรทุกอาหาร ทัง้ นีส้ ว่ นใหญ่ราคาอาหารมักต�ำ่ กว่าอาหารในภัตตาคาร และเป็นอาหารที่คนในท้องถิ่นนิยมรับประทานท�ำให้

อาหารริมทางสะท้อนถึงวัฒนธรรมการกินในแหล่งนัน้ ๆ จากสภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาท�ำให้คนไทยประหยัด ค่าใช้จา่ ย และปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการรับประทานอาหาร นอกบ้าน โดยหันมารับประทานอาหารริมทางมากขึ้น ลดการรับประทานอาหารในร้านอาหารหรือภัตตาคาร ท�ำให้กจิ การร้านอาหารริมทางขยายตัวอย่างรวดเร็วเพิม่ ขึน้ ถึง 60% (Khunmongkol, 2016) และในปลายปี 2559 ส�ำนักงานข่าว CNN จัดให้กรุงเทพมหานครเป็นเมือง ทีม่ อี าหารริมทางทีด่ ที สี่ ดุ อันดับที่ 23 ของโลก เนือ่ งจาก อาหารรสชาติอร่อย มีความหลากหลาย และมีชื่อเสียง โด่งดัง นักท่องเที่ยวสามารถเสาะหาอาหารได้ทุกพื้นที่ ตลอดเวลา ด้วยราคาทีย่ อ่ มเยา โดยย่านเยาวราชถูกยก ให้เป็นหนึ่งในพื้นที่ที่ดีที่สุดริมทาง ประกอบกับรัฐบาล ให้ความส�ำคัญกับเศรษฐกิจและการท่องเทีย่ วจึงมีนโยบาย ที่จะใช้อาหารริมทางเป็นจุดขายด้านการท่องเที่ยวด้วย การยกระดับมาตรฐานความสะอาดและความปลอดภัย ควบคู่กับการจัดระเบียบพื้นที่ค้าขายบนทางเท้าให้มี

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ความเหมาะสม เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคและภาพลักษณ์ ที่ดีต่อการท่องเที่ยวไทย ปัจจุบันร้านอาหารริมทางใน ประเทศไทยถูกยกระดับขึน้ จากเดิมมาก ทัง้ ในเรือ่ งของ สุขอนามัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารริมทางให้ทนั สมัย มากขึน้ รวมถึงการสร้างแบรนด์ตา่ งๆ ซึง่ มีทงั้ หน่วยงาน ภาครัฐและภาคเอกชนร่วมมือเปิดโครงการต่างๆ ที่ สนับสนุนผูป้ ระกอบการร้านอาหารริมทาง โดยให้ความ ช่วยเหลือแบบครบวงจรทั้งในรูปแบบบริการฟรีและ แบบเสียเงินค่าบริการ โดยประเมินว่าร้านอาหารริมทาง มีประมาณ 103,00 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 69 ของร้านอาหาร ทัง้ หมด ซึง่ เป็นฐานในการน�ำไปต่อยอดให้กบั ร้านอาหาร ระดับภัตตาคารหรู ร้านอาหารริมทางคงอยูม่ าเป็นเวลานาน มีขนาดเล็กกว่าธุรกิจขนาดย่อมที่สามารถเชื่อมโยงกับ เศรษฐกิจทั้งระบบ สร้างรายได้จ�ำนวนมากให้แก่ระบบ เศรษฐกิจโดยรวม และสนับสนุนการพึ่งพาตนเองของ ระบบเศรษฐกิจในประเทศ

ภาพที่ 1 มูลค่าตลาดร้านอาหาร ปี 2557-2560 ที่มา: Kasikorn Research Center (2016) ปัจจุบันร้านอาหารริมทางได้รับความนิยมมากขึ้น และได้พัฒนาไปไกล มีการน�ำเสนออาหารในรูปแบบที่ หลากหลาย ยกระดับมาตรฐานให้สงู ขึน้ ทัง้ ด้านการบริการ และรสชาติ จนได้รับรางวัลระดับโลกมากมายหลาย ประเทศ เช่น สิงคโปร์ ฮ่องกง และรวมทั้งประเทศไทย หนึ่งในนั้น ได้แก่ ร้านตึกแถวเก่าแก่ริมถนนมหาไชย หรือประตูผที สี่ ามารถคว้ารางวัลระดับมิชลินสตาร์มาได้ ในปลายปี 2560 ธุรกิจร้านอาหารเป็นธุรกิจที่ไม่มีวัน

93

สูญหายไปจากโลก ร้านอาหารริมทางเป็นอีกหนึ่งธุรกิจ ทีส่ ามารถสร้างโอกาสทางด้านการค้าและด้านการลงทุน ให้กับผู้ประกอบการไทยได้อย่างน่าสนใจ Kasikorn Research Center (2016) คาดการณ์ว่า มูลค่าตลาด ร้านอาหาร ในปี 2560 น่าจะมีมลู ค่า 390,000-397,000 ล้านบาท ซึ่งเติบโตจากปี 2559 ร้อยละ 2-4 และมี ผูป้ ระกอบการธุรกิจอาหารกว่า 4 แสนราย โดยจากมูลค่า ดังกล่าว แบ่งเป็นในกลุม่ ร้านอาหารริมทางประมาณ 40% และกลุ่มร้านอาหารภัตตาคารอีก 30% ขณะที่ตลาด อาหารเพือ่ สุขภาพยังเติบโตได้อย่างต่อเนือ่ ง ดังภาพที่ 1 การแข่งขันของธุรกิจร้านอาหารในปัจจุบนั มีความรุนแรง เนื่องจากการเข้าสู่ตลาดของผู้ประกอบการรายใหม่ จ�ำนวนมาก และการน�ำเสนออาหารทีแ่ ปลกใหม่สตู่ ลาด โดยน�ำความคิดสร้างสรรค์มาใช้ในการประกอบธุรกิจ ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับอาหารและสร้างความแตกต่างจาก คู่แข่ง เพื่อตอบโจทย์แนวโน้มการแสวงหาร้านอาหาร ทีแ่ ปลกใหม่ ทันสมัย และมีเอกลักษณ์ของผูค้ นในสังคม ซึ่งปัจจุบันมีการแข่งขันที่สูง สาเหตุที่ร้านอาหารริมทาง มีจำ� นวนมากเนือ่ งจากต้นทุนต�ำ่ มีเพียงรถเข็นและอุปกรณ์ ท� ำ อาหารเพี ย งไม่ กี่ ชิ้ น เท่ า นั้ น ก็ ส ามารถเปิ ด ร้ า นได้ ผู้ประกอบการสามารถเข้า-ออกธุรกิจได้โดยง่าย ทั้งนี้ ร้านอาหารทีม่ ชี อื่ เสียงในปัจจุบนั ไม่นอ้ ยเริม่ ต้นจากร้าน อาหารริมทาง บางร้านสามารถสร้างยอดขายได้มากกว่า หนึง่ ล้านบาทต่อเดือน บางร้านมีชอื่ เสียงโด่งดังจนได้รบั รางวัลมิชลินสตาร์ จากความส�ำคัญของร้านอาหารริมทางที่กล่าวมา ข้างต้นจึงมีความจ�ำเป็นที่จะต้องศึกษาถึงแนวทางการ สร้างกลยุทธ์ทางการตลาดเพือ่ สร้างความพึงพอใจให้กบั ผูบ้ ริโภคร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร และกระตุน้ ให้ผปู้ ระกอบการร้านอาหารริมทาง (Street Food) ทัว่ ประเทศ ได้เกิดการพัฒนาสร้างสรรค์รา้ นและ เมนูของตนเองเพือ่ จะเป็นการสร้างมูลค่าเพิม่ และรายได้ ให้กบั ร้านอาหาร และรายได้ให้การท่องเทีย่ วในประเทศไทย ต่อไป

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


94

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพือ่ ศึกษาปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ของผูบ้ ริโภค ทีใ่ ช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร 2. เพือ่ ศึกษาปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดทีส่ ง่ ผล ต่อพฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อศึกษาปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อพฤติกรรม การใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ของผู้บริโภค ในกรุงเทพมหานคร

ทบทวนวรรณกรรม

ส่วนประสมการตลาด (Marketing Mix) หมายถึง ตัวแปรทางการตลาดทีส่ ามารถควบคุมได้ ซึง่ ทางกิจการ จะใช้ร่วมกันเพื่อให้เกิดการตอบสนองความพึงพอใจแก่ กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งประกอบไปด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดจ�ำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด (Sareerat, 1998) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. ผลิตภัณฑ์ (Product) เป็นสิง่ ทีเ่ สนอขายโดยธุรกิจ เพือ่ ตอบสนองความจ�ำเป็นหรือความต้องการของลูกค้า ให้เกิดความพึงพอใจ ซึ่งอาจจะมีตัวตนหรือไม่มีตัวตน ก็ได้ เช่น สินค้าให้เลือกหลากหลาย สินค้ามีการปรับให้ ทันสมัย บรรจุภัณฑ์ สี ลักษณะ คุณภาพ การออกแบบ ขนาด ตรา การรับประกัน บริการ และชือ่ เสียงของผูข้ าย (Etzel, Walker & Stanton, 2007; Kotler & Keller, 2016) 2. ราคา (Price) เป็นจ�ำนวนเงินหรือสิง่ อืน่ ๆ ทีต่ อ้ ง จ่ายเพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์มา (Etzel, Walker & Stanton, 2007) ปัจจุบันราคาได้รับผลกระทบโดยตรงจากสื่อ ออนไลน์ ท�ำให้ผบู้ ริโภคมีความสามารถอย่างไร้ขดี จ�ำกัด ในการค้นหาราคาเพื่อเป็นทางเลือกในการตัดสินใจซื้อ (Meejinda, 2010) ซึ่งประกอบไปด้วยราคาสินค้าใน รายการ ระยะเวลาการช�ำระเงิน ระยะเวลาการให้สนิ เชือ่ (Kotler & Keller, 2016) 3. การจัดจ�ำหน่าย (Place or Distribution) เป็น โครงสร้างของช่องทางในการกระจายสินค้าหรือบริการ

(Hawkins & Mothersbaugh, 2010) ประกอบไปด้วย ช่องทาง ความครอบคลุม ความหลากหลายของสินค้า ที่คนกลางจ�ำหน่าย ท�ำเลที่ตั้ง การขนส่ง (Kotler & Keller, 2016) 4. การส่งเสริมการตลาด (Promotion) หรือการ สือ่ สารการตลาด (Marketing Communication) เป็น เครื่องมือการสื่อสารเพื่อสร้างความพึงพอใจต่อตรา ความคิด หรือบุคคล การใช้เครื่องมือการสื่อสารก็เพื่อ แจ้งข่าวสาร จูงใจให้เกิดความต้องการ และเตือนความ ทรงจ�ำในผลิตภัณฑ์ โดยคาดว่าจะมีอทิ ธิพลต่อความรูส้ กึ ความเชื่อ และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค (Etzel, Walker & Stanton, 2007) ประกอบไปด้วยการส่งเสริม การขาย การโฆษณา หน่วยงานขาย การประชาสัมพันธ์ การตลาดทางตรง (Kotler & Keller, 2016) ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ปัจจัยด้านสังคม (Social and Cultural Factor) และวัฒนธรรม (Cultural Factor) ถือเป็นปัจจัยภายนอกทีม่ ตี อ่ พฤติกรรมผูบ้ ริโภค นักการตลาดจึงต้องค้นหาและเข้าใจผลลัพธ์ทเี่ กิดขึน้ จาก การรับรู้ว่า ลักษณะของผู้ซื้อและความรู้สึกนึกคิดได้รับ อิทธิพลจากสิง่ ใดบ้าง (Sareerat et al., 2017) ซึง่ ปัจจัย ภายนอกมีรายละเอียดดังนี้ 1. วัฒนธรรม (Culture Factor) ประกอบด้วย 1.1 วัฒนธรรมพื้นฐาน (Culture) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นมาในสังคม ไม่ว่าจะเป็น สิ่งที่เป็นวัตถุและสิ่งที่ไม่ใช่วัตถุ เช่น ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม พฤติกรรม สิ่งเหล่านี้รวมกันเป็นวิถีการด�ำเนิน ชีวิตของผู้คนในสังคม และถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีก รุน่ หนึง่ ซึง่ วัฒนธรรมจ�ำแนกได้ 2 ประเภท (1) วัฒนธรรม ที่เป็นวัตถุ ได้แก่ สิ่งประดิษฐ์ สิ่งก่อสร้าง เทคโนโลยี (2) วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ ได้แ ก่ ความเชื่อ ภาษา ประเพณี ภูมิปัญญา กฎหมาย พิธีกรรม 1.2 วัฒนธรรมย่อย (Subculture) หมายถึง ความคิด ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม ประเพณี และ แบบแผนพฤติกรรมของกลุม่ คนในสังคมซึง่ มีเอกลักษณ์ เฉพาะกลุม่ อันเนือ่ งมาจากความแตกต่างด้านเพศ เชือ้ ชาติ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ศาสนา ถิ่นที่อยู่อาศัย หรือปัจจัยอื่นๆ 1.3 ชัน้ สังคม (Social Class) หมายถึง การจ�ำแนก กลุ่มบุคคลในสังคมออกเป็นชั้นๆ โดยบุคคลที่อยู่ในชั้น เดียวกันมักมีความคล้ายคลึงในด้านค่านิยม วิถีชีวิต ความสนใจ พฤติกรรม สถานภาพทางเศรษฐกิจและ การศึกษา (Blackwell, Miniard & Engle, 2006) โดยการจ�ำแนกชั้นนี้มักอาศัยเกณฑ์ด้านรายได้ ระดับ การศึกษา และภูมหิ ลังของครอบครัว (Solomon, 2009) โดยแบ่งเป็น 3 กลุม่ ใหญ่ ได้แก่ (1) ระดับสูง เป็นกลุม่ ทีม่ ี รายได้สงู การศึกษาดี ชาติตระกูลดีถงึ ปานกลาง (2) ระดับ ปานกลาง เป็นกลุ่มที่มีรายได้ปานกลาง การศึกษาดี ถึงปานกลาง ชาติกระกูลดีถึงปานกลาง (3) ระดับต�่ำ เป็นกลุ่มที่มีรายได้ต�่ำ การศึกษาดีถึงปานกลางถึงต�่ำ ชาติกระกูลต�ำ่ 2. ปัจจัยด้านสังคม (Social Factor) ประกอบด้วย 2.1 กลุม่ อ้างอิง (Reference Groups) หมายถึง กลุม่ บุคคลทีอ่ ทิ ธิพลทัง้ ทางตรงและทางอ้อมต่อทัศนคติ และพฤติกรรมของบุคคล (Sareerat et al., 2017) ประกอบด้วย (1) กลุ่มสมาชิก เป็นกลุ่มที่มีอิทธิพล โดยตรงกับผู้บริโภค ได้แก่ ครอบครัว เพื่อน เพื่อนบ้าน เพือ่ นร่วมงาน กลุม่ ศาสนา กลุม่ การค้า (2) กลุม่ ทีใ่ ฝ่ฝนั เป็นกลุม่ บุคคลทีป่ รารถนาจะเข้าร่วมเป็นสมาชิกหรือการ น�ำมาเป็นแบบอย่าง เช่น ดารา นักร้อง นักกีฬา (3) กลุม่ ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ เป็นกลุม่ ทีไ่ ม่ปรารถนาทีจ่ ะเกีย่ วข้องด้วย 2.2 ครอบครัว (Family) หมายถึง บุคคลที่ เกีย่ วข้องกันทางสายโลหิตหรือการแต่งงาน ซึง่ เป็นกลุม่ ที่มีอิทธิพลมากต่อทัศนคติ 2.3 บทบาทและสถานภาพ (Roles and Status) หมายถึง บุคคลจะมีบทบาทหน้าทีแ่ ตกต่างกันในแต่ละกลุม่ ผู้บริโภคมักซื้อสินค้าที่สามารถสื่อถึงบทบาทและหน้าที่ ของตนเองในสังคม ดังนัน้ การท�ำธุรกิจร้านอาหารเป็นธุรกิจพืน้ ฐานทีอ่ ยู่ ใกล้ชิดกับผู้บริโภคและมีผู้ประกอบการธุรกิจลักษณะ เช่นนีม้ ากมาย ซึง่ ตัวแปรทางการตลาดทีผ่ ปู้ ระกอบการ สามารถควบคุมได้ เพือ่ จะตอบสนองความพึงพอใจของ

95

ลูกค้า ผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดจ�ำหน่าย และการส่งเสริม การตลาด รวมไปถึงปัจจัยภายนอก ทางด้านสังคมและ วัฒนธรรม ย่อมมีความเชือ่ มโยงกับธุรกิจร้านอาหารริมทาง สมัยใหม่อย่างยิ่ง เพราะผู้ประกอบการมีความจ�ำเป็น ต้องสร้างธุรกิจรูปแบบนีท้ ปี่ จั จุบนั มีคแู่ ข่งมากขึน้ เรือ่ ยๆ ให้สามารถมีความยั่งยืนของธุรกิจ Khongjitrapa (2015) ศึกษาการรับรู้คุณค่าของ ปัจจัยด้านราคา คุณภาพการบริการ และความไว้วางใจ ที่มีผลต่อความภักดีของผู้บริโภคต่อร้านอาหารริมทาง ในย่านเยาวราช เพือ่ ทดสอบสมมติฐานพบว่า การรับรูป้ จั จัย ด้านราคา ด้านคุณภาพการให้บริการของร้านอาหารในย่าน เยาวราช มีความไว้วางใจในระดับปานกลาง ผลการทดสอบ สมมติฐานพบว่า การรับรู้คุณค่าของปัจจัยด้านราคา คุณภาพการบริการและความไว้วางใจมีอทิ ธิพลทางบวก ต่อความภักดีของผู้บริโภคต่อร้านอาหารริมทางในย่าน เยาวราช Kuhakatipob (2014) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพล เชิงบวกต่อความภักดีของผู้ใช้บริการร้านอาหารริมทาง ในจังหวัดนครปฐม ได้ศกึ ษาผลเชิงบวกต่อปัจจัยความภักดี ของลูกค้าพบว่า ปัจจัยความคิดเห็นด้านความปลอดภัย ของอาหารของร้านอาหารริมทาง ปัจจัยการรับรู้ต่อ ร้านอาหารริมทาง ปัจจัยการประเมินทัศนคติดา้ นความ ปลอดภัยของร้านอาหารริมทาง ปัจจัยการจัดการวัตถุดบิ ในการปรุงอาหาร และปัจจัยวิธีการท�ำความสะอาด อุปกรณ์ครัว มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความภักดีของลูกค้า ผูใ้ ช้บริการร้านอาหารริมทางในจังหวัดนครปฐม ซึง่ สามารถ อธิบายอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าผู้ใช้บริการร้าน อาหารริมทางในจังหวัดนครปฐมได้รอ้ ยละ 70.8 อย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Ratnitipong (2011) ศึกษาปัจจัยทีม่ ผี ลต่อพฤติกรรม การบริโภคจากร้านอาหารหาบเร่แผงลอยบนถนนสีลม ของผู้บริโภคกลุ่มวัยท�ำงาน เป็นการศึกษาลักษณะและ ราคาที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารแผงลอย บนถนนสีลมของผูบ้ ริโภคกลุม่ วัยท�ำงานทีม่ อี ายุระหว่าง 20-50 ปี พบว่า เพศ ระดับการศึกษา รายได้ มีผลต่อ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


96

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

พฤติกรรมการรับประทานอาหารจากร้านอาหารหาบเร่ แผงลอย ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มีผลต่อพฤติกรรมการ รับประทานร้านอาหารหาบเร่แผงลอยในด้านความถี่ ในการใช้บริการต่อสัปดาห์ ในด้านประเภทอาหารที่มัก จะไปรับประทานบ่อยที่สุด และรูปแบบการใช้บริการ ปัจจัยด้านราคามีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหาร จากร้านอาหารหาบเร่แผงลอยในด้านช่วงเวลาทีใ่ ช้บริการ Siratanon (2011) ศึกษาพฤติกรรมการรับประทาน อาหารริมทางในย่านถนนเยาวราชของผูบ้ ริโภควัยท�ำงาน ในกรุงเทพมหานครพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุ ระหว่าง 20-29 ปี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,00120,000 บาท ส่วนใหญ่มักรับประทานอาหารในมื้อเย็น ช่วงวันเสาร์-อาทิตย์ มีคา่ ใช้จา่ ยโดยเฉลีย่ ต่อครัง้ มากกว่า 300 บาทขึน้ ไป มีความถีใ่ นการรับประทานเฉลีย่ 1-2 ครัง้ ต่อเดือน และเลือกรับประทานทีร่ า้ นซึง่ ได้รบั การแนะน�ำ จากบุคคลรอบข้าง ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยภายนอกด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม และด้านกลุ่มอ้างอิง มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทาน อาหารริมทางในย่านถนนเยาวราชของผูบ้ ริโภควัยท�ำงาน ในกรุงเทพมหานคร ด้านช่วงวันที่มักไปรับประทาน

ขอบเขตการวิจัย

ศึ ก ษาปั จ จั ย ด้ า นประชากรศาสตร์ ปั จ จั ย ด้ า น ส่วนประสมการตลาด ปัจจัยภายนอก และปัจจัยด้าน การสือ่ สารการตลาดทีส่ ง่ ผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการ ร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ของผูบ้ ริโภคในกรุงเทพมหานคร โดยจะเก็ บ ตั ว อย่ า งทั้ ง หมด 400 ตั ว อย่ า ง โดยใช้ แบบสอบถามออนไลน์

วิธีการวิจัย

ในการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีสาระ ส�ำคัญถึงวิธดี ำ� เนินการวิจยั อย่างเป็นขัน้ ตอน เพือ่ ให้ได้มา ซึ่งข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง และน�ำไปวิเคราะห์ด้วยวิธี ทางสถิติ ขัน้ ตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูล เอกสาร ต�ำรา และงานวิจยั

ทีเ่ กีย่ วข้องเพิม่ เติมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมการรับประทาน อาหารริมทางของผูบ้ ริโภคในกรุงเทพมหานคร เพือ่ เป็น แนวทางในการสุ่มตัวอย่าง และออกแบบแบบสอบถาม ขั้นตอนที่ 2 การก�ำหนดกลุ่มประชากรและกลุ่ม ตัวอย่าง ผูบ้ ริโภคร้านอาหารริมทางทีม่ อี ายุ 20 ปีขนึ้ ไป ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร มีจ�ำนวน 2,131,453 (Office Statistics Registration Systems, 2016) โดยจะค�ำนวณกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร Taro Yamane (1967) แสดงดังนี้

n =

N 1 + Ne2

2,131,453 = 400 ตัวอย่าง 1 + 2,131,453(0.05)2

โดย n = ขนาดตัวอย่างที่ค�ำนวณได้, N = จ�ำนวน ประชากรที่ทราบค่า, e = ค่าความคลาดเคลื่อนที่จะ ยอมรับได้ โดยก�ำหนดระดับความคลาดเคลือ่ นเท่ากับ 5% จะใช้ค่า 0.05 ผู้วิจัยใช้ 400 ตัวอย่าง ขัน้ ตอนที่ 3 ออกแบบแบบสอบถามทีใ่ ช้เป็นเครือ่ งมือ ในการวิจยั โดยแบบสอบถามจะมีทงั้ หมด 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 เป็นค�ำถามเกีย่ วกับปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ เป็นค�ำถามปลายปิด แบบมาตรนามบัญญัตแิ ละเรียงล�ำดับ ส่วนที่ 2 เป็นค�ำถามเกีย่ วกับปัจจัยส่วนประสมการตลาด เป็นค�ำถามปลายปิด แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ส่วนที่ 3 เป็นค�ำถามเกีย่ วกับปัจจัยภายนอก เป็นค�ำถาม ปลายปิด แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ และส่วนที่ 5 เป็นค�ำถามเกีย่ วกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารริมทาง เป็นค�ำถามปลายเปิดแบบมาตรอัตราส่วน และค�ำถาม ปลายปิดแบบมาตรนามบัญญัติ ขัน้ ตอนที่ 4 เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม ออนไลน์ ขั้นตอนที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูลโดยแยกออกแบบเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 วิเคราะห์สถิตเิ ชิงพรรณนา วิเคราะห์ โดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนที่ 2 วิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้สถิติความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple regression Analysis) ขัน้ ตอนที่ 6 สังเคราะห์ขอ้ มูลที่ศกึ ษาทั้งหมดน�ำมา

97

หาแนวทางการสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดส�ำหรับร้าน อาหารริมทางสมัยใหม่

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ผลการวิจัย

1. ผลการวิเคราะห์ปจั จัยด้านประชากรศาสตร์ของ ผูต้ อบแบบสอบถาม ผลการศึกษาแบบสอบถามทัง้ หมด 400 ตัวอย่าง พบว่า เป็นเพศหญิงร้อยละ 55 ส่วน เพศชายร้อยละ 45 ส่วนใหญ่มอี ายุ 21-30 ปี ร้อยละ 43 มีอายุ 31-40 ปี ร้อยละ 28 ส่วนใหญ่มีรายได้ระหว่าง 10,001-20,000 บาท ร้อยละ 37 มีรายได้ระหว่าง 20,001-30,000 บาท ร้อยละ 29 2. ความคิ ด เห็ น ของผู ้ ต อบแบบสอบถามที่ มี ต ่ อ ปัจจัยส่วนประสมการตลาด และปัจจัยภายนอกผู้ตอบ แบบสอบถามมี ค วามพึ ง พอใจต่ อ ปั จ จั ย ส่ ว นประสม การตลาด ด้านผลิตภัณฑ์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลีย่ = 4.25) ด้านราคาโดยรวมอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ (ค่าเฉลีย่ = 4.34) ด้านท�ำเลทีต่ งั้ โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก (ค่าเฉลีย่ = 3.61) และด้านการส่งเสริมการตลาดโดยรวม อยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ (ค่าเฉลีย่ = 3.85) ผูต้ อบแบบสอบถาม ให้ความส�ำคัญกับปัจจัยภายนอก ด้านวัฒนธรรมโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.29) และด้านสังคม โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 3.21)

3. ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมของผูต้ อบแบบสอบถาม พบว่า มูลค่าทีจ่ า่ ยต่อมือ้ ต่อคนของผูต้ อบแบบสอบถาม พบว่า มีมูลค่าประมาณ 100-150 บาท ความถี่ที่มา รับประทานต่อเดือนประมาณ 1-2 ครัง้ ต่อเดือน ช่วงเวลา ส่วนใหญ่ทชี่ อบมาใช้บริการคือ ช่วงเย็น/ค�ำ่ ร้อยละ 72.62 รองลงมาคือ ช่วงกลางวัน ร้อยละ 21.45 บุคคลทีม่ กั มา ใช้บริการด้วยส่วนใหญ่เป็นเพือ่ น ร้อยละ 36.14 รองลงมา คือ คนรัก ร้อยละ 30.65 และครอบครัว ร้อยละ 28 เหตุผลในการมาใช้บริการส่วนใหญ่เพือ่ พักผ่อนหย่อนใจ ร้อยละ 50.19 และรับประทานเพือ่ เป็นมือ้ อาหารทัว่ ไป ร้อยละ 30.45 และเพื่อสังสรรค์ ร้อยละ 12.36 และ รสชาติอาหารไทยที่ชอบส่วนใหญ่เป็นรสกลมกล่อม ร้อยละ 55.59 รองลงมาเป็นรสชาติเผ็ดจัดจ้าน ร้อยละ 38.70 ประเภทร้านอาหารที่ชอบรับประทานส่วนใหญ่ เป็นอาหารไทย ร้อยละ 70 4. การทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานที่ 1 ปัจจัยด้าน ส่วนประสมการตลาดมีความสัมพันธ์กบั ความถีต่ อ่ เดือน ของผู้บริโภคที่มาใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ ในกรุงเทพมหานคร สามารถเขียนสมมติฐานได้ดังนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


98

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุนามของตัวแปรส่วนประสมการตลาดที่ใช้พยากรณ์ความถี่ต่อเดือน ของผู้บริโภคที่มาใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร

จากตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ ของตัวแปรทีส่ ามารถพยากรณ์ความถีต่ อ่ เดือนของผูบ้ ริโภค ทีม่ าใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร พบว่า ตัวแปรพยากรณ์ดา้ นส่วนประสมการตลาดทีส่ ามารถ พยากรณ์ความถี่ต่อเดือนของผู้บริโภคที่มาใช้บริการได้ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา ท�ำเลที่ตั้ง และการส่งเสริมการตลาด ซึ่งมีค่า สัมประสิทธิ์ถดถอยเป็นบวกกับตัวแปรเกณฑ์คือ เมื่อ ค่าตัวแปรพยากรณ์เพิ่มขึ้น ค่าความถี่ต่อเดือนของ ผูบ้ ริโภคทีม่ าใช้บริการจะเพิม่ ขึน้ ด้วย โดยมีคา่ สัมประสิทธ์ สหสัมพันธ์พหุกบั ตัวแปรเกณฑ์เท่ากับ 0.412 ซึง่ สามารถ พยากรณ์ความถีข่ องผูบ้ ริโภคทีม่ าใช้บริการได้รอ้ ยละ 41.2 แสดงว่ายังมีตัวแปรเกณฑ์ในด้านอื่นๆ อีกร้อยละ 58.8 ที่มีผลต่อค่าความถี่ต่อเดือนของผู้บริโภคที่มาใช้บริการ ร้านอาหารร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร

และมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการพยากรณ์ เท่ากับ 0.519 สามารถน�ำมาเขียนสมการถดถอยเชิงพหุ ได้ดังนี้ ค่าความถี่ต่อเดือนของผู้บริโภคที่มาใช้บริการ = .157 ผลิตภัณฑ์ + .135 ราคา + .138 ท�ำเลทีต่ งั้ + .361 การส่งเสริมการตลาด สรุปได้วา่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์อาหารมีความสัมพันธ์ กับความถีต่ อ่ เดือนของผูบ้ ริโภคทีม่ าใช้บริการร้านอาหาร ริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งสอดคล้องกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ สมมติฐานที่ 2 ปัจจัยภายนอกมีความสัมพันธ์กับ ความถี่ต่อเดือนของผู้บริโภคที่มาใช้บริการร้านอาหาร ริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร สามารถเขียนสมมติฐาน ได้ดังนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

99

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุนามของตัวแปรภายนอกที่ใช้พยากรณ์ความถี่ต่อเดือนของผู้บริโภค ที่มาใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร

จากตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ ของตัวแปรทีส่ ามารถพยากรณ์ความถีต่ อ่ เดือนของผูบ้ ริโภค ที่มาใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ของผู้บริโภค ในกรุงเทพมหานครพบว่า ตัวแปรพยากรณ์ดา้ นภายนอก ที่สามารถพยากรณ์ความถี่ต่อเดือนของผู้บริโภคที่มาใช้ บริการได้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ วัฒนธรรมและสังคม ซึง่ มีคา่ สัมประสิทธิถ์ ดถอยเป็นบวก กับตัวแปรเกณฑ์คือ เมื่อค่าตัวแปรพยากรณ์เพิ่มขึ้น ค่าความถีต่ อ่ เดือนของผูบ้ ริโภคทีม่ าใช้บริการจะเพิม่ ขึน้ ด้วย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุกับตัวแปรเกณฑ์ เท่ากับ 0.358 ซึง่ สามารถพยากรณ์ความถีข่ องผูบ้ ริโภค ทีม่ าใช้บริการได้รอ้ ยละ 35.8 แสดงว่ายังมีตวั แปรเกณฑ์ ในด้านอืน่ ๆ อีกร้อยละ 64.2 ทีม่ ผี ลต่อค่าความถีต่ อ่ เดือน ของผูบ้ ริโภคทีม่ าใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ของ ผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร และมีความคลาดเคลื่อน มาตรฐานของการพยากรณ์เท่ากับ 0.542 สามารถน�ำมา เขียนสมการถดถอยเชิงพหุได้ดังนี้

ค่าความถี่ต่อเดือนของผู้บริโภคที่มาใช้บริการ = .269 วัฒนธรรม + .320 สังคม สรุปได้วา่ ปัจจัยภายนอกมีความสัมพันธ์กบั ความถี่ ต่อเดือนของผู้บริโภคที่มาใช้บริการร้านอาหารริมทาง สมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร ซึง่ สอดคล้องกับสมมติฐาน ที่ตั้งไว้ การบูรณาการผลการวิจัยเป็นกลยุทธ์การตลาด จากผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุนามในส่วน ของตัวแปรส่วนประสมทางการตลาดทัง้ 4 ด้าน รวมกับ ผลการวิเคราะห์ตัวแปรภายนอกอีก 2 ด้าน ได้แก่ ด้าน สังคมและด้านวัฒนธรรม รวมทั้งหมดเป็น 6 ด้านที่ใช้ พยากรณ์พฤติกรรมผู้บริโภค ผลการวิเคราะห์พบว่า ทั้งหมดมีความสัมพันธ์กับความถี่ต่อเดือนของผู้บริโภค ทีม่ าใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร หมายความว่า ยิง่ มีการท�ำให้ปจั จัยทัง้ หกด้านดีขนึ้ ผูบ้ ริโภค ยิง่ มาใช้บริการเพิม่ ขึน้ เพราะฉะนัน้ ผูป้ ระกอบการควรให้ ความส�ำคัญกับตัวแปรทั้งหกเหล่านั้น ซึ่งสามารถน�ำมา เขียนสรุปให้ง่ายขึ้นได้ดังนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


100

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

1. กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ (Product Strategy) จากผลส�ำรวจพฤติกรรมของผู้บริโภคพบว่า ให้ความ ส�ำคัญต่อรสชาติอาหารที่มีความกลมกล่อมแต่จัดจ้าน หมายความว่า รสจัดแต่ตอ้ งไม่กระโดด เช่น เผ็ดจัดหรือ เปรีย้ วจัดจนเกินไป ยกตัวอย่างร้านเจ๊ไฝ ประตูผี ทีค่ ลาคล�ำ่ ไปด้วยผู้คนที่ติดใจในรสชาติอาหารระดับโรงแรมที่มี ความกลมกล่อมได้เนือ้ ปูแบบเน้นๆ ทีก่ รอบนอกแต่นมุ่ ใน และทีล่ มื ไม่ได้คอื ต้องสร้างความแตกต่าง (Differentiate Strategy) ร้านอาหารริมทางไม่ได้หมายความว่า จะท�ำ อะไรแบบไหนมาขายก็ได้ ต้องฉีกตัวเองจากร้านพื้นๆ ให้โดดเด่นด้วยเครือ่ งปรุง วัตถุดบิ และส่วนประกอบของ อาหารที่แตกต่าง แม้กระทั่งรูปแบบการน�ำเสนอที่เป็น จุดขายไม่เหมือนหรือซ�ำ้ ใคร ยกตัวอย่างร้านผูช้ ายขายหอย ร้านเจ๊เบียร์คนละย�ำ ที่ใช้ความแตกต่างในการน�ำเสนอ จนน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ 2. กลยุทธ์ดา้ นราคา (Price Strategy) การตัง้ ราคา จากผลการส�ำรวจพบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่ที่จ่ายต่อมื้อ ไม่เกิน 150 บาท ยกตัวอย่างร้านหมูทอดเจ๊จง ทีข่ ายเพียง จานละ 24 บาท แถมยังซื้อใจลูกค้าด้วยการให้เติมข้าว ได้ไม่อนั้ น�ำ้ จิม้ เต็มที่ ผักฟรี เรียกว่า ทัง้ คุม้ ทัง้ โดนในทุก สภาวะเศรษฐกิจ หรือท�ำแบบร้านเชฟไกรอิตาเลียนฟู๊ด เป็นร้านขายอาหารอิตาเลียนข้างทางที่ประกาศจะไม่ ขึ้นราคาตลอด 10 ปี กับเมนูเบาๆ จานละไม่ถึงร้อย ต้องยอมรับว่าทั้งสองร้านประสบความส�ำเร็จอย่างมาก กับการใช้กลยุทธ์ดา้ นราคาทีผ่ ปู้ ระกอบการต้องพิจารณา ถึงความส�ำเร็จนี้ ดังนัน้ ราคาทีเ่ หมาะสมส�ำหรับร้านอาหาร ริมทางควรมีราคาไม่สูงเกินกว่า 150 บาท แต่ไม่ได้ หมายความว่า จะมีราคาที่สูงกว่านี้ไม่ได้ ต้องค�ำนึงถึง ผู้บริโภคส่วนใหญ่ที่มีกำ� ลังซื้อที่ไม่สูงมากนัก 3. กลยุทธ์ดา้ นท�ำเลทีต่ งั้ (Place) เหตุผลทีผ่ บู้ ริโภค ตัดสินใจมาใช้บริการคือ ท�ำเลที่ตั้งเดินทางมาสะดวก ร้านอาหารริมทางที่สร้างยอดขายหลักแสนต่อวันได้ ต้องมีท�ำเลที่ดี อยู่ในแหล่งชุมชน ถ้ายิ่งใกล้ที่พัก หรือ ส�ำนักงาน ก็ยิ่งเป็นผลบวก การจัดหน้าร้านให้สะดุดตา ครัวหน้าร้านต้องจัดเต็ม สะอาด ได้มาตรฐาน ตัวอย่าง

ร้านในท�ำเลทอง ได้แก่ ข้าวมันไก่ประตูน�้ำ ที่ตงั้ อยูพ่ ิกดั ถนนเพชรบุรี แยกประตูนำ�้ ขายอาหารราคาเบาๆ ตัง้ แต่ จานละ 40-60 บาท แต่เปิดยาวถึง 21 ชัว่ โมงคือ ตัง้ แต่ 6 โมงเช้าจนถึงตีสาม การอยูใ่ นท�ำเลทอง มีผคู้ นพลุกพล่าน จนมีรายได้หลักแสนต่อวัน ตรงกันข้ามถ้าท�ำเลเปลี่ยน ยอดขายก็เปลีย่ นได้ เช่น โจ๊กสามย่าน ทีไ่ ด้รบั ความนิยม มากๆ ตอนอยูส่ ามย่าน แต่พอท�ำเลเปลีย่ นท�ำให้ยอดขาย ต่อวันเปลี่ยนไปอย่างเห็นได้ชัดเมื่อย้ายร้านไปอยู่ที่ซอย อุดมสุข 9 เพราะฉะนั้นผู้ประกอบการต้องหมั่นส�ำรวจ ให้แน่ใจว่า ร้านอยู่ในเขตชุมชน จึงจะมีโอกาสประสบ ความส�ำเร็จดังตัวอย่างที่กล่าวมา 4. กลยุทธ์ดา้ นการส่งเสริมการตลาด (Promotion Strategy) ต้องยอมรับว่า การปล่อยโซเชียลมีเดีย หรือ ติดตามเฟซบุ๊ก หนีไม่พ้นเรื่องโปรโมชั่น ซึ่งผู้บริโภค ในปัจจุบันให้ความส�ำคัญกับเงินที่จ่ายไปว่าได้กลับมา คุ้มไหม ถ้าร้านไหนท�ำโปรโมชั่นแรงๆ ก็สามารถเรียก ลูกค้าได้ไม่ยาก แต่หากมาวิเคราะห์กนั ให้ชดั จะเห็นได้วา่ ลูกค้าที่เข้าไปรับประทานอาหารนั้นส่วนใหญ่แล้วมูลค่า ใช้จา่ ยต่อมือ้ ไม่สงู นัก และพฤติกรรมการรับประทานคือ การสั่งอาหารจานด่วน ใช้เวลาให้น้อยที่สุด แต่เมื่อเห็น ป้ายลดราคาหรือการแถมอาหารบางเมนู เช่น เมนูย�ำ จะได้รบั ความสนใจมากขึน้ โดยการกินคูก่ บั อาหารจานหลัก ทีส่ งั่ ไป ซึง่ ไม่มคี วามจ�ำเป็นต้องสัง่ เมนูประเภทนี้ แต่เมือ่ เห็นป้ายลดราคาหรือแถมฟรี ลูกค้าจะสัง่ มาโดยไม่คำ� นึงถึง หรือเสียดายเงิน เพราะเห็นว่าราคาไม่แพง ซึ่งในความ เป็นจริงแล้ว “เมนูยำ� ” เป็นอาหารว่าง ไม่จำ� เป็นต้องกิน ไม่จ�ำเป็นต้องสั่ง แต่เมื่อมีการลดราคาหรือฟรีสามารถ กระตุ้นยอดขายท�ำให้รายได้เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ 5. กลยุทธ์ด้านสังคม (Social Media Strategy) การส�ำรวจพฤติกรรมผู้บริโภคกว่า 400 ตัวอย่าง พบว่า บุคคลทีม่ กั มาใช้บริการด้วยส่วนใหญ่เป็นเพือ่ น มาเพราะ มีรีวิวตามสื่อโซเชียลมีเดีย มีการใช้สื่อออนไลน์กระจาย ไปตามกลุ่มต่างๆ มีการน�ำเสนอข้อมูลจากบล็อกเกอร์ นักชิม โดยการประชาสัมพันธ์ที่ใช้ค�ำลักษณะที่ไม่เป็น ทางการ เช่น ดูกันให้ชัดก็ต้องร้านพี่อ้อ ก๋วยเตี๋ยวต้มย�ำ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

101

น�ำ้ ข้น แม่คา้ แซ่บสุดเซ็กซีแ่ ห่งโลกโซเชียลทีใ่ ช้สอื่ ออนไลน์ สร้างการรู้จักและเป็นที่จดจ�ำ ซึ่งการคิดในกรอบเดิมๆ จะเป็นการน�ำเสนอเพือ่ ท�ำให้ตวั เองเป็นทีร่ จู้ กั เท่านัน้ การใช้ สื่อโฆษณาในแบบเดิมจะต้องใช้การลงทุนสูง ในขณะที่ ปัจจุบนั ผูป้ ระกอบการใช้งบประมาณในการประชาสัมพันธ์ น้อยโดยใช้โซเชียลมีเดีย แต่ใช้งบประมาณในการหา สินค้าเป็นของรางวัลให้แก่ผู้ที่ติดตามและช่วยเผยแพร่ การประชาสัมพันธ์ เช่น จัดกระเป๋าหลุยส์วติ ตองเป็นรางวัล ให้สมาชิกในแฟนเพจ กระตุ้นยอดสมาชิกในเฟซบุ๊ก กระตุน้ ให้ผบู้ ริโภคมาใช้บริการซ�ำ้ อย่างสม�ำ่ เสมอ ซึง่ เป็น สิ่งที่ผู้ประกอบการพิจารณาและเลือกใช้กลยุทธ์นี้ 6. กลยุทธ์ด้านวัฒนธรรม (Cultural Strategy) วัฒนธรรมอาหารไทยเป็นทรัพยากรทีม่ คี ณ ุ ค่าของประเทศ เนื่องจากเกิดจากการสั่งสมภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ในการน�ำเอาทรัพยากรธรรมชาติทมี่ อี ยูใ่ นท้องถิน่ มาใช้เป็น วัตถุดบิ ในต�ำรับอาหารส�ำหรับบริโภคในครัวเรือนและชุมชน วัฒนธรรมอาหารถูกหล่อหลอมมาจากประสบการณ์และ ทักษะของคนจากรุ่นสู่รุ่น และถ่ายทอดมายังลูกหลาน นอกจากนี้ วั ฒ นธรรมอาหารยั ง ซึ ม ซั บ เข้ า สู ่ วิ ถี ชี วิ ต ขนบธรรมเนียม ประเพณีทางศาสนา จากผลส�ำรวจพบว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคส่วนใหญ่บอกว่าร้านอาหาร ริมทางเป็นเอกลักษณ์ของไทย และเป็นอาหารทีม่ เี สน่ห์ เพราะฉะนั้นผู้ประกอบการต้องไม่ละทิ้งความเป็นไทย หากต้ อ งการประกอบกิ จ การร้ า นอาหารริ ม ทางใน ประเทศไทย

ราคา ท�ำเลที่ตั้ง และการส่งเสริมการตลาด ส่งผลต่อ พฤติกรรมด้านความถีต่ อ่ เดือนทีม่ าใช้บริการ ซึง่ สอดคล้อง กับงานวิจัยของ Ratnitipong (2011) ปัจจัยที่มีผลต่อ พฤติกรรมการบริโภคจากร้านอาหารหาบเร่ แผงลอย บนถนนสีลมของผูบ้ ริโภคกลุม่ วัยท�ำงาน ทีก่ ล่าวว่า ปัจจัย ด้านผลิตภัณฑ์มผี ลต่อพฤติกรรมการรับประทานร้านอาหาร หาบเร่แผงลอยในด้านความถีใ่ นการใช้บริการต่อสัปดาห์ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ Khongjitrapa (2015) การรับรู้คุณค่าของปัจจัยด้านราคา คุณภาพการบริการ และความไว้วางใจที่มีผลต่อความภักดีของผู้บริโภค ต่อร้านอาหารริมทางในย่านเยาวราชทีก่ ล่าวว่า ปัจจัยด้าน ราคา คุณภาพการบริการ และความไว้วางใจมีอิทธิพล ทางบวกต่อความภักดีของผู้บริโภค ซึ่งส่งผลท�ำให้มาใช้ บริการซ�้ำหรือถี่ขึ้น ปัจจัยภายนอกมีความสัมพันธ์กับความถี่ต่อเดือน ของผู้บริโภคที่มาใช้บริการร้านอาหารริมทางสมัยใหม่ ในกรุงเทพมหานคร โดยพบว่า ปัจจัยทั้ง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านสังคมและวัฒนธรรม ส่งผลต่อพฤติกรรมด้านความถี่ ต่อเดือนที่มาใช้บริการ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Siratanon (2011) ที่ได้ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการ รับประทานอาหารริมทางในย่านถนนเยาวราชของผูบ้ ริโภค วัยท�ำงานในกรุงเทพมหานคร กล่าวว่า ปัจจัยภายนอก ด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และด้านกลุม่ อ้างอิง มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารริมทางในย่าน ถนนเยาวราชของผูบ้ ริโภควัยท�ำงานในกรุงเทพมหานคร

สรุปและอภิปรายผล

ข้อเสนอแนะ

จากผลการวิ เ คราะห์ แ นวทางการสร้ า งกลยุ ท ธ์ ทางการตลาดเพือ่ สร้างความพึงพอใจให้กบั ผูบ้ ริโภคร้าน อาหารริมทางสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานครพบว่า ปัจจัย ด้านส่วนประสมการตลาดมีความสัมพันธ์กับความถี่ ต่อเดือนของผู้บริโภคที่มาใช้บริการร้านอาหารริมทาง สมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน ทีต่ งั้ ไว้ โดยพบว่า ปัจจัยทัง้ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์

1. ผู้ประกอบการสามารถน�ำข้อมูลนี้ไปเป็นความรู้ พื้นฐานส�ำหรับการประกอบกิจการร้านอาหารริมทาง สมัยใหม่ 2. ผู้ประกอบการร้านอาหารริมทางสามารถน�ำไป ใช้ก�ำหนดเป็นกลยุทธ์การตลาด เพื่อเพิ่มยอดขาย และ เพื่อการแข่งขันในตลาด

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


102

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

References

Blackwell, R. D., Miniard, P. W. & Engle, J. F. (2006). Consumer Behavior (10th ed.). Canada: Thomson South-Western. Etzel, M. J., Walker B. J. & Stanton, W. J. (2007). Marketing (12th ed.). Boston: McGraw-Hill. FAO. (1995). Street Food. Retrieved October 3, 2017, from www.fao.org/3/a-w3699t/W3699t04.pdf Food Institute. (2017). Food Street Food in Thailand. Retrieved October 3, 2017, from fic.nfi.or.th/ MarketOverviewDomesticDetail.php?id=145 [in Thai] Hawkins, D. I. & Mothersbaugh, D. L. (2010). Consumer behavior: Building marketing strategy. Boston: McGraw-Hill Irwin. Kasikorn Research Center. (2016). SME and business strategies for the second half of the year. Retrieved November 7, 2017, from https://www.kasikornbank.com/th/business/sme/ KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/SMELocalRestaurant.pdf [in Thai] Kasikorn Research Center. (2016). The Growing 11-15 percent in ordering food online in 2017. Retrieved November 7, 2017, from https://www.kasikornresearch.com/th/K-EconAnalysis/ Pages/ViewSummary.aspx?docid=35933 [in Thai] Khongjitrapa, V. (2015). Perceived value of price factors. Quality of service and trust affect consumers’ loyalty to restaurants along the way in Chinatown. Master of Business Administration, Bangkok University. [in Thai] Khunmongkol, T. (2016). Street food restaurant chain 4 organizations to reduce costs. Retrieved December 10, 2017, from http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID= 9590000082408 [in Thai] Kotler, P. & Keller, K. L. (2016). Marketing Management (15th ed.). NJ: Pearson Education. Kuhakatipob, P. (2014). Factors influencing the loyalty of the restaurant customers in Nakhon Pathom province. Master of Business Administration, Bangkok University. [in Thai] Meejinda, P. (2010). Consumer behavior. Bangkok: Thammasan. [in Thai] Office Statistics Registration Systems. (2016). Population in the metropolis. Retrieved December 2, 2017, from http://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/ [in Thai] Ratnitipong, T. (2011). Factors affecting street–food consumption behavior of working–age consumers on Silom Road. Master of Business Administration, Srinakharinwirot University. [in Thai] Sareerat, S. (1998). Organization Behavior. Bangkok: Terafilm and Sitex Publishing. [in Thai] Sareerat, S., Sareerat, S., Meejinda, P. & Anuwitchanon, J. (2017). New Marketing Management. Bangkok: Thammasan. [in Thai] Siratanon, N. (2011). Street food behavior in Yaowarat Road area of Bangkok consumers. Master of Business Administration, Srinakharinwirot University. [in Thai] Solomon, M. R. (2009). Consumer Behavior: Buying, Having and Being (8th ed.). NJ: Pantice-Hall. Yamane, T. (1967). Statistic: An Introductory Analysis. NY: Harpen & Row. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

103

Name and Surname: Rajit Khongharn Highest Education: Master of Business Administration: Tourism and Hotel Management, Silpakorn University University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field Expertise: Hospitality Management and Tourism Business Address: 85/1 Moo 2, Chaengwattana Rd., Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120 Name and Surname: Anuchit Saeng-on Highest Education: Master of Business Administration, Stamford International University University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field Expertise: Marketing Address: 85/1 Moo 2, Chaengwattana Rd., Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)





Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

107

ความสามารถในการพัฒนาตนเองที่มีผลต่อประสิทธิภาพการท�ำงาน ผ่านบุคลิกภาพแบบประนีประนอมของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน THE ABILITY TO SELF-DEVELOPMENT ON SKILLS ON AFFECTING EFFICLENCY THROUGH PERSONALITY AGREEABLENESS OF UNIVERSITY’S SUPPORTING พรธิดา เทพประสิทธิ์1 และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์2 Bhorntida Tepprasit1 and Viroj Jadesadalug2 1,2คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร 1,2Faculty of Management Science, Silpakorn University

บทคัดย่อ

งานวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์ 1) เพือ่ ศึกษาอิทธิพลของความสามารถในการพัฒนาตนเองด้านทักษะและด้าน การกระท�ำให้ส�ำเร็จต่อประสิทธิภาพการท�ำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของ ความสามารถในการพัฒนาตนเองด้านทักษะและด้านการกระท�ำให้ส�ำเร็จต่อบุคลิกภาพของพนักงานมหาวิทยาลัย สายสนับสนุน 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของบุคลิกภาพแบบประนีประนอมต่อประสิทธิภาพการท�ำงานของพนักงาน มหาวิทยาลัยสายสนับสนุน 4) เพือ่ ศึกษาอิทธิพลของความสามารถในการพัฒนาตนเองด้านทักษะและด้านการกระท�ำ ให้สำ� เร็จทีส่ ง่ ผลต่อประสิทธิภาพการท�ำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนผ่านบุคลิกภาพแบบประนีประนอม การวิจยั ครัง้ นีใ้ ช้ระเบียบวิธวี จิ ยั เชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามกับกลุม่ ตัวอย่างคือ พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน งานบริการในมหาวิทยาลัยแห่งหนึง่ จ�ำนวนทัง้ สิน้ 104 คน แล้วน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์อทิ ธิพลของตัวแปรด้วยการถดถอย พหุคูณ จากผลการศึกษาพบว่า ความสามารถในการพัฒนาตนเองด้านทักษะ และด้านการกระท�ำให้ส�ำเร็จมีอิทธิพล ทางบวกกับประสิทธิภาพในการท�ำงาน และความสามารถในการพัฒนาตนเองด้านทักษะและด้านการกระท�ำให้สำ� เร็จ มีอิทธิพลทางบวกกับบุคลิกภาพแบบประนีประนอม รวมถึงบุคลิกภาพแบบประนีประนอมมีอิทธิพลทางบวกกับ ประสิทธิภาพการท�ำงาน ส�ำหรับการทดสอบตัวแปรขั้นกลางพบว่า การควบคุมบุคลิกภาพแบบประนีประนอมเป็น ตัวแปรกลางที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการพัฒนาตนเองด้านทักษะและด้านการกระท�ำให้ส�ำเร็จโดยสมบูรณ์ (Fully mediators) ค�ำส�ำคัญ: การพัฒนาตนเอง ประสิทธิภาพการท�ำงาน บุคลิกภาพแบบประนีประนอม

Corresponding Author E-mail: ptd_t@hotmail.com


108

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

The objectives of this research are: 1) to study on influence of self-development on skills and completion on work efficiency of university’s supporting; 2) to study on influence of self-development on skills and completion on personalities of university’s supporting; 3) to study on influence of agreeableness on work efficiency of university’s supporting; 4) to study on influence of elf-development on skills and completion on work efficiency of university’s supporting through agreeableness. This research was conducted in the form of quantitative research by providing some questionnaires to the sample group for responding consisted of 104 a university. The obtained data were analyzed on influences of variables by using multiple regressions supping. The results showed that self-development on skills and completion on work efficiency had positive influence on work efficiency and agreeableness. Simultaneously, agreeableness had positive influence on work efficiency. For mediator variables test, it was found that agreeableness control was the mediator variables influencing on self-development on skills and completion on work efficiency (fully mediators). Keywords: Self-Development, Affecting Efficiency, Personality Agreeableness

บทน�ำ

สังคมยุคปัจจุบนั การเปลีย่ นแปลงได้มอี ทิ ธิพลให้เกิด การแข่งขันที่รุนแรงและรวดเร็วทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้าน การเมือง ด้านสังคม ซึง่ มีผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ ตลอดจนการเกิดโอกาสทางธุรกิจอย่าง รวดเร็วเพือ่ ต้องการทีจ่ ะก้าวสูร่ ะดับมืออาชีพ ทุกองค์กร ต่างก็พงึ ปรารถนาบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพและความสามารถ ทีอ่ งค์กรต้องการทัง้ ระบบงาน คุณสมบัติ และการท�ำงาน ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ความต้องการบุคคลทีม่ บี คุ ลิกภาพทีเ่ อือ้ ต่อการท�ำงาน บุคลิกภาพมีความส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวติ มนุษย์ในสังคม ทั้งในด้านส่วนตัวและอาชีพการงาน บุคลิกภาพเป็นส่วนประกอบทีส่ ำ� คัญส่วนหนึง่ ของบุคคล ทีจ่ ะเป็นผูน้ ำ� ในอนาคตจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องปรับปรุง บุคลิกภาพของตน เพราะบุคลิกภาพเป็นสิ่งที่ปรับปรุง กันได้ บุคลิกภาพที่ดีเป็นที่ชื่นชอบของคนโดยทั่วไป ท�ำให้สามารถสัมพันธ์กับบุคคลอื่นได้อย่างราบรื่นและ ประสบความส�ำเร็จในด้านต่างๆ ของชีวิตตามไปด้วย (Kunthong, 2006)

นอกจากนัน้ คุณลักษณะบุคลิกภาพเป็นอีกหนึง่ ตัวแปร ทีน่ กั วิจยั ส่วนใหญ่ให้ความสนใจและนํามาศึกษาเกีย่ วกับ การปรับตัวในการทาํ งาน (Saentikarn & Aphibanrat, 2013) เนื่องจากคุณลักษณะบุคลิกภาพของบุคคลจะ สะท้อนออกมาซึ่งการปรับตัวหรือการแสดงพฤติกรรม รูปแบบต่างๆ เช่น นักบัญชีควรมีลกั ษณะความละเอียด รอบคอบ มีความสนใจทุกรายละเอียดของเนื้อหา หรือ นักให้คําปรึกษาควรมีคุณลักษณะที่สําคัญ เช่น มีความ เข้าใจในความรูส้ กึ ของผูอ้ นื่ มีลกั ษณะท่าทีทอี่ บอุน่ และ มีความประนีประนอม เป็นต้น ดังนัน้ องค์กรต่างๆ จึงให้ความส�ำคัญต่อการคัดเลือก สรรหาบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพ มีประสิทธิภาพ มีบคุ ลิกภาพ ทีด่ เี หมาะสมกับองค์กรให้มากทีส่ ดุ และเป็นทีย่ อมรับกันว่า การบริหารที่ดีนั้นย่อมเกิดจากพนักงานที่มีบุคลิกภาพ ทีด่ เี พราะบุคลิกภาพมีบทบาทส�ำคัญต่อความส�ำเร็จและ ความล้มเหลวในการประกอบอาชีพของบุคคล โดยเฉพาะ อย่างยิง่ บุคลิกภาพมีสว่ นส�ำคัญทีจ่ ะใช้พจิ ารณาว่าบุคคลนัน้ เหมาะสมกับอาชีพใด และเป็นส่วนส�ำคัญทีจ่ ะสนับสนุน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ให้การปฏิบัติงานต่างๆ ประสบผลส�ำเร็จและมีความ ก้าวหน้าเป็นอย่างมาก จากปรากฏการณ์ข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจ ในการศึกษาบทบาทบุคลิกภาพแบบประนีประนอมที่มี อิทธิพลในความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการพัฒนา ตนเองและผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัย ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากพนักงานมหาวิทยาลัยเป็นบุคคลทีต่ อ้ งท�ำงาน โดยให้บริการทั้งนักศึกษาและอาจารย์ ดังนั้นสิ่งส�ำคัญ ของงานบริการคือ บุคลิกภาพแบบประนีประนอมพร้อมที่ จะให้บริการ

วัตถุประสงค์

1) เพือ่ ศึกษาอิทธิพลของความสามารถในการพัฒนา ตนเองด้ า นทั ก ษะและด้ า นการกระท� ำ ให้ ส� ำ เร็ จ ต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานของพนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย สายสนับสนุน 2) เพือ่ ศึกษาอิทธิพลของความสามารถในการพัฒนา ตนเองด้ า นทั ก ษะและด้ า นการกระท� ำ ให้ ส� ำ เร็ จ ต่ อ บุคลิกภาพของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน 3) เพื่ อ ศึ กษาอิ ท ธิ พลของบุ ค ลิ ก ภาพแบบประนี ประนอมต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานของพนั ก งาน มหาวิทยาลัยสายสนับสนุน 4) เพือ่ ศึกษาอิทธิพลของความสามารถในการพัฒนา ตนเองด้านทักษะและด้านการกระท�ำให้ส�ำเร็จที่ส่งผล ต่อประสิทธิภาพการท�ำงานของพนักงานมหาวิทยาลัย สายสนับสนุนผ่านบุคลิกภาพแบบประนีประนอม

ทบทวนวรรณกรรม

แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ ความสามารถในการพั ฒ นา ตนเอง (Ability Self-development) ความสามารถในการพัฒนาตนเอง (Ability Selfdevelopment) หมายถึง การสร้างความสามารถของ คุณเองให้มมี ากขึน้ และการพัฒนาความสามารถทีย่ งั ไม่ได้ พัฒนาของคุณเองด้วย โดยเหตุทมี่ นุษย์เรามีความต้องการ ที่จะให้ตนเองเจริญก้าวหน้า (ความต้องการความเจริญ

109

ก้าวหน้าส่วนตัว และการรับรูศ้ กั ยภาพของตนเอง) ดังนัน้ ทุกคนจึงต้องพยายามพัฒนาตนเองเพือ่ ให้มชี วี ติ ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ส�ำหรับความสามารถในการพัฒนาตนเองนัน้ ผูว้ จิ ยั ได้ทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้องซึง่ ได้มผี ใู้ ห้ความหมาย ไว้หลากหลาย แต่ทงั้ นีผ้ วู้ จิ ยั ได้ใช้หลักการพัฒนาตนเอง ของบอยเดล (Boydell, 1985 cited in Chotikunaset, 2001: 19-21) ซึ่งเป็นนักจิตวิทยาได้ก�ำหนดขอบเขต เนือ้ หาสาระส�ำคัญของทฤษฎีการพัฒนาตนเอง แบ่งเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านสุขภาพ หมายถึง การพัฒนา ตนเอง บุคลากรจะต้องมีสขุ ภาพจิตทีด่ แี ละร่างกายจะต้อง แข็งแรง ทั้งในระดับความคิด ไม่ดื้อรั้นดันทุรัง แต่จะ ยึดมัน่ ในความคิดเห็นและความเชือ่ ทีม่ นั่ คงและต่อเนือ่ ง มีความสมดุลทัง้ ภายในและภายนอกอย่างมัน่ คง 2) ด้าน ทักษะ หมายถึง การพัฒนาทักษะด้านสมอง และการ สร้างสรรค์ความคิดในหลายรูปแบบ รวมทัง้ ความทรงจ�ำ ความมีเหตุผล ความคิดสร้างสรรค์ ต้องน�ำความรู้สึก ของตนเข้าร่วมในแต่ละสถานการณ์ และสามารถถ่ายทอด ความรู้สึกได้ ระดับความมุ่งมั่นมีทักษะทางเทคนิค ทาง กายภาพ สามารถกระท�ำได้อย่างศิลปินมิใช่เป็นผูม้ คี วาม ช�ำนาญเท่านั้น 3) ด้านการกระท�ำให้ส�ำเร็จ หมายถึง การกระท�ำหรือการปฏิบตั สิ งิ่ ต่างๆ ให้สำ� เร็จลุลว่ งโดยกล้า กระท�ำด้วยตัวเอง ไม่ตอ้ งรอค�ำสัง่ หรือไม่รอคอยให้เกิด ขึน้ เอง 4) ด้านเอกภาพของตนเอง เป็นการยอมรับข้อดี และข้อเสียของตนเองด้วยความพึงพอใจในความสามารถ และยอมรับข้อบกพร่องของตนเองและพยายามแก้ไข ให้ดีที่สุด แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิภาพการท�ำงาน (Work Efficiency) ประสิทธิภาพการท�ำงาน (Work Efficiency) เป็น ความต้องการของเจ้าของ ผูจ้ ดั การ ผูบ้ ริหาร ผูป้ ระกอบการ เป็นอย่างยิ่ง เพราะการมีประสิทธิภาพการท�ำงานนั้น หมายถึง ศักยภาพของพนักงาน เจ้าหน้าที่มีคุณภาพ สามารถท�ำงานให้เกิดผลผลิตได้ตามวัตถุประสงค์ที่ ก�ำหนดไว้ ในเชิงธุรกิจจะท�ำให้เพิ่มผลผลิตได้อย่างดี มีผทู้ รงคุณวุฒใิ ห้ความหมายของประสิทธิภาพไว้ พอจะ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


110

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ประมวลมาเป็นตัวอย่างได้ดังนี้ Tanadrob (2002) ได้ให้ความหมายของประสิทธิภาพ การท�ำงานไว้ว่า ประสิทธิภาพการท� ำงาน หมายถึง การกระท�ำของแต่ละบุคคลที่มีความสามารถและความ พร้อม พยายามทุ่มเทอย่างเต็มใจในการปฏิบัติงานของ ตนอย่างคล่องแคล่ว ด้วยความมีระเบียบ มีกฎเกณฑ์ ปฏิบัติงานให้เสร็จทันเวลา รวดเร็ว ถูกต้องมีคุณภาพ โดยสอดคล้องกับพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2558 (The Royal Institute, 2015: 504) ได้ให้ ความหมายประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานไว้ ว ่ า หมายถึ ง ความสามารถทีท่ ำ� งานให้เกิดผลในการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ กรณีของ Pratchayapruet (1999) ได้ให้ความหมายว่า ประสิทธิภาพการท�ำงาน คือ การสนับสนุนให้มีวิธีการ บริหารที่จะได้รับผลดีมากที่สุด โดยสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย น้อยที่สุด ซึ่งไม่แตกต่างกับกรณีของปีเตอร์สัน และ โพวแมน (Petersen & Plowman, 1989: 325 cited in Endoorasd, 2007: 11) ได้ให้แนวคิดใกล้เคียงกับ Harring Emerson โดยน�ำไปประยุกต์ใช้และสรุปองค์ประกอบ ของประสิทธิภาพการท�ำงานไว้ 4 ด้าน ประกอบด้วย ด้านคุณภาพของงาน (Quality) ซึ่งในส่วนนี้จะต้องมี คุณภาพสูงคือ ผู้ผลิตและผู้ใช้ได้ประโยชน์คุ้มค่าและมี ความพึงพอใจ ด้านปริมาณงาน (Quantity) หมายถึง งานทีเ่ กิดขึน้ จะต้องเป็นไปตามความคาดหวังของหน่วยงาน ด้านเวลา (Time) คือ เวลาทีใ่ ช้ในการด�ำเนินงานจะต้อง อยู่ในลักษณะที่ถูกต้องตามหลักการ เหมาะสมกับงาน และทันสมัย และสุดท้ายด้านค่าใช้จา่ ย (Costs) หมายถึง ในการด�ำเนินการทั้งหมดจะต้องเหมาะสมกับงานและ วิธีการ คือ ต้องลงทุนน้อยและได้ก�ำไรมากที่สุด สรุปได้ว่า ประสิทธิภาพ คือ ระดับของพฤติกรรม หรือความพึงพอใจของบุคคลที่มีต่อคุณภาพของงานที่ บุคคลนั้นใช้ความพยายามที่จะกระท�ำให้ดีที่สุดภายใต้ มาตรฐานทีก่ ำ� หนดหรือความสามารถในการด�ำเนินงาน ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยเร็ว และส�ำหรับ การวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยเห็นว่าในการด�ำเนินงานที่มี ประสิทธิภาพนัน้ จะต้องประกอบด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง

และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า จากนั้นผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดทฤษฎีหรืองานวิจัยที่ เกี่ยวข้องที่ได้มีการอธิบายหรือมีผลการวิจัยที่แสดงถึง การเชื่อมโยงระหว่างความสามารถในการพัฒนาตนเอง ทีส่ ง่ ผลต่อประสิทธิภาพในการท�ำงาน พบว่า Permphol (2009) ได้กล่าวถึงประสิทธิภาพในการท�ำงานว่า การที่ จะท�ำให้มปี ระสิทธิภาพนัน้ ต้องพัฒนาตนเองในด้านของ ทักษะในการท�ำงานให้ดีขึ้น และตามแนวคิดของไมค์ วูดค็อก (Woodcock, 1989: 116) เห็นว่า การท�ำงาน ร่วมกัน บุคลากรจะต้องมีพฤติกรรมในการท�ำงานที่ แสดงถึงลักษณะส�ำคัญ 1 ด้าน คือ การพัฒนาตนเอง การท�ำงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพจากการพัฒนาทักษะต่างๆ ของ แต่ละคน ซึง่ การกระท�ำเช่นนีจ้ ะได้ผลดีขนึ้ ขณะเดียวกัน ประสิทธิภาพของทีมงานจะมากขึ้นถ้าหากหน่วยงาน ให้ความสนใจต่อการพัฒนาทักษะของแต่ละคน และ ท� ำ การฝึ ก อบรมเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ให้ ดี ขึ้ น แต่ ก ารท� ำ งาน ภาคปฏิบตั จิ ำ� เป็นต้องอาศัยตัวแปรหลายอย่าง ไม่เพียงแต่ ค�ำนึงถึงทักษะของความรูเ้ ท่านัน้ ซึง่ จากการทบทวนแนวคิด เกี่ยวกับความสามารถในการพัฒนาตนเอง (Ability Self-development) และประสิทธิภาพการท�ำงานใน ข้างต้น ผูว้ จิ ยั จึงมีความสนใจทีจ่ ะศึกษาส่วนทีเ่ ป็นทฤษฎี ที่เกี่ยวกับความสามารถในการพัฒนาตนเองว่า จะมี ความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการท�ำงานอย่างไร ซึ่งน�ำไปสู่สมมติฐานดังต่อไปนี้ สมมติฐานที่ 1a ความสามารถในการพัฒนาตนเอง ด้านทักษะมีอทิ ธิพลทางบวกกับประสิทธิภาพในการท�ำงาน สมมติฐานที่ 1b ความสามารถในการพัฒนาตนเอง ด้านการกระท�ำให้สำ� เร็จมีอทิ ธิพลทางบวกกับประสิทธิภาพ ในการท�ำงาน แนวคิดเกี่ยวกับบุคลิกภาพแบบประนีประนอม (Agreeableness) ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลจาก Chaingam (2005) ได้ สรุปแนวคิดบุคลิกภาพของอัลพอร์ท (Allport) ไว้ว่า บุคลิกภาพของบุคคลถูกก�ำหนดจากลักษณะนิสยั (Trait)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ซึ่ ง เป็ น ลั กษณะนิ สัยหรือความเคยชิน ลัก ษณะนิสัย มีมากมายหลายประการ ไม่มีลักษณะนิสัยใดตายตัว ในแต่ละบุคคลจะแสดงลักษณะนิสยั ใดๆ โดดเด่นออกมา นัน้ ขึน้ อยูก่ บั สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และพลังกดดัน ทางสังคมในขณะนัน้ โดยอัลพอร์ท (Allport) แบ่งลักษณะ นิสยั ของบุคคลออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1) คุณลักษณะ เด่น (Cardinal Traits) คือ Trait ที่โดดเด่นในตัวบุคคล ในแง่ใดแง่หนึง่ มีอทิ ธิพลอย่างยิง่ ต่อพฤติกรรมของบุคคล เกือบทุกด้าน 2) ศูนย์กลางคุณลักษณะเฉพาะตัวบุคคล (Central Traits) เป็นกลุ่มลักษณะนิสัยของบุคคลใด บุคคลหนึง่ ทีม่ อี ยูภ่ ายในตัวบุคคลมากบ้างน้อยบ้าง และ 3) คุณลักษณะทุติยภูมิ (Secondary Traits) เป็น ลักษณะนิสยั ทีไ่ ม่โดดเด่นมากนักภายในตัวบุคคล ซึง่ จาก ข้อมูลข้างต้นผูว้ จิ ยั ได้นำ� มาใช้ประโยชน์ในการเป็นฐานคิด ทีน่ ำ� ไปสูก่ ารศึกษาบทบาทบุคลิกภาพแบบประนีประนอม ทีม่ อี ทิ ธิพลในความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการ พัฒนาตนเองและประสิทธิภาพการท�ำงานของพนักงาน มหาวิทยาลัย และนอกจากนี้ Chaingam (2005) ได้สรุปแนวคิด บุคลิกภาพของไอแซงค์ (Hans Eysenck) ไว้วา่ เป็นการ อธิบายถึงบุคลิกภาพโดยการจัดกลุม่ ลักษณะนิสยั (Trait) และใช้กระบวนการทางสถิตดิ ว้ ยวิธวี เิ คราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) เช่นเดียวกับแคทเทลล์ (Cattell) เขาแบ่งกลุ่มนิสัยออกเป็น 2 มิติ มิติหนึ่งคือ อารมณ์ มัน่ คงคูค่ า้ นกับอารมณ์หวัน่ ไหว (Emotional StabilityNeuroticism) มิติที่สองคือ เก็บตัวคู่ค้านกับแสดงตัว (Introvert-Extraversion) หรือที่เรียกว่า “Big Two” ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 มิตินี้สามารถก�ำหนดลักษณะ นิสยั ได้ถงึ 32 ลักษณะ และได้พฒ ั นาแบบวัดบุคลิกภาพ MPI (Maudsley Personality Inventory) ซึ่งอยู่บน พื้นฐานของลักษณะนิสัย 2 มิติดังกล่าว ทฤษฎีของ ไอแซงค์ (Eysenck) คล้ายๆ กับทฤษฎีเทรท (Trait Theory) ของท่านอืน่ ๆ ตรงทีม่ กี ารวิเคราะห์บคุ ลิกภาพ ด้วยกระบวนการทางสถิติ แต่มคี วามแตกต่างจากทฤษฎีอนื่ ในประเด็นที่เขาได้ให้ความส�ำคัญต่อปัจจัยทางชีวภาพ

111

ว่าเป็นตัวก�ำหนดลักษณะบุคลิกภาพของบุคคลมากกว่า ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม ในส่วนนี้ผู้วิจัยมุ่งศึกษาบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ของคอสตาและแมคเคร (Costa & McCrae, 1992) จะมีลกั ษณะเป็นกลุม่ ของคุณลักษณะประจ�ำตัวของมนุษย์ ทีม่ กั จะเกิดด้วยกัน การให้คำ� จ�ำกัดความขององค์ประกอบ ทั้งห้าเป็นความพยายามที่จะอธิบายส่วนส�ำคัญรวมกัน ของคุณลักษณะเหล่านี้ ซึ่งค�ำอธิบายที่เป็นที่ยอมรับ ร่วมกันมากทีส่ ดุ คือ การพัฒนาของคอสตาและแมคเคร (Costa & McCrea, 1992 cited in Sabaiying, 1999) มีลักษณะ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หนึ่ง บุคลิกภาพแบบ หวั่นไหว (Neuroticism) หมายถึง เป็นผู้ที่มีความวิตก กังวล เป็นคนโกรธง่าย สอง บุคลิกภาพแบบแสดงตัว (Extraversion) หมายถึง การเป็นผูม้ คี วามอบอุน่ ความ ชอบอยู่ร่วมกับผู้อื่น การแสดงออกแบบตรงไปตรงมา การชอบมีกิจกรรม ชอบแสวงหาความตื่นเต้น การมี อารมณ์ดา้ นบวก สาม บุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ (Openness to experience) หมายถึง การเป็นคน ช่างฝัน ความสุนทรีย์ การเปิดเผยความรูส้ กึ การปฏิบตั ิ การมีความคิด การยอมรับค่านิยม สี่ บุคลิกภาพแบบ ประนีประนอม (Agreeableness) หมายถึง การเป็น ผู้ไว้วางใจผู้อื่น ความตรงไปตรงมา ความรู้สึกเอื้อเฟื้อ การยอมตามผูอ้ นื่ ความสุภาพ และความมีจติ ใจอ่อนโยน และสุดท้าย ห้า บุคลิกภาพแบบมีจติ ส�ำนึก (Conscientiousness) หมายถึง การมีความสามารถ ความเป็น ระเบียบ การมีความรับผิดชอบในหน้าที่ ความต้องการ สัมฤทธิผ์ ล ความมีวนิ ยั ต่อตนเองและแนวคิดทีใ่ ช้ปฏิบตั งิ าน โดยจากองค์ประกอบทั้งห้านั้นพบว่า บุคลิกภาพ แบบประนีประนอมเป็นบุคลิกภาพทีท่ ำ� ให้คนเราเข้ากับ ผู้อื่นได้ง่าย เปิดใจรับฟังผู้อื่น จึงเป็นบุคลิกภาพที่เป็น จุดเริ่มต้นของการท�ำงานที่ดีไม่มีอคติ ยอมรับฟังผู้อื่น จึงเป็นบุคลิกภาพทีส่ ง่ ผลต่อการปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ซึง่ การทีบ่ คุ คลมีบคุ ลิกภาพแบบประนีประนอม (Agreeableness) นัน้ จะมีการแสดงออกในลักษณะการไว้วางใจ ผู้อื่น (Trust) หมายถึง การที่เชื่อว่าผู้อื่นมีความซื่อสัตย์

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


112

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

และเจตนาดี มีความตรงไปตรงมา (Straight Forwardness) หมายถึง การมีความจริงใจที่จะปฏิบัติต่อผู้อื่น อย่างตรงไปตรงมา เป็นผู้ที่มีความเอื้อเฟื้อ (Altruism) หมายถึง ผู้ที่มีความห่วงใยในสวัสดิภาพของผู้อื่น เป็น ผู้ที่ชอบช่วยเหลือผู้อื่น ยอมตามผู้อื่น (Compliance) หมายถึง ผู้ที่มีลักษณะอ่อนโยนตอบสนองการกระท�ำ ของผู้อื่นอย่างสุขุม มีความสุภาพ (Modesty) หมายถึง ผูท้ ถี่ อ่ มตน ไม่ขม่ ว่าตนเองเหนือกว่าผูอ้ นื่ มีจติ ใจอ่อนโยน (Tender–Mindedness) หมายถึง ผู้ที่ให้ความส�ำคัญ ต่อความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น มีความหวั่นไหวต่อความ ต้องการของผู้อื่น ซึ่งลักษณะของผู้ที่ได้คะแนนต�่ำของ ผูม้ บี คุ ลิกภาพแบบประนีประนอม คือ การเป็นนักท้าทาย (Challenger) หมายถึง ผู้ที่มุ่งไปยังความต้องการและ บรรทัดฐานส่วนตัวของตนมากกว่าของกลุ่ม มีความ เกี่ยวข้องกับอ�ำนาจที่ได้มา อาชีพที่มีลักษณะพื้นฐาน ดังกล่าว ได้แก่ ผูน้ ำ� ทางทหาร ผูจ้ ดั การนักโฆษณา เป็นต้น และลักษณะของผู้ได้คะแนนสูงของผู้มีบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอม คือ การเป็นนักปรับตัว (Adapter) หมายถึง ผู้ที่มีแนวโน้มท�ำตามความต้องการของกลุ่ม ยอมรับตามบรรทัดฐานของกลุ่มมากกว่ายืนกรานตาม บรรทัดฐานของตนเอง มีความกลมกลืนในการปรับตัว อาชีพที่มีลักษณะพื้นฐานดังกล่าว ได้แก่ งานด้านสังคม สงเคราะห์ นักจิตวิทยา เป็นต้น ในส่วนงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง พบว่า Sripan (2012) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง บุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบกับประสิทธิผลในการท�ำงาน ของพนักงานธนาคารทิสโก้ จ�ำกัด (มหาชน) ส่วนงาน ควบคุมและบริหารสินเชื่อรายย่อยพบว่า บุคลิกภาพ แบบประนีประนอมมีความสัมพันธ์กบั ประสิทธิผลในการ ท�ำงานของพนักงานอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งสูงกว่า บางองค์ประกอบทีม่ คี วามสัมพันธ์อยูใ่ นระดับต�ำ่ ดังนัน้ การมีบุคลิกภาพแบบประนีประนอมจึงเป็นบุคคลที่จะ ได้รับความช่วยเหลือหรือส่งเสริมในการท�ำงานท�ำให้ ประสิทธิภาพในการท�ำงานดียงิ่ ขึน้ ส่วน Chaingam (2005) ได้ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ (The Big Five) กับประสิทธิภาพทีมงานของพนักงานขาย

เพื่ อ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่า งลั ก ษณะบุ ค ลิ ก ภาพ ห้าองค์ประกอบกับประสิทธิภาพทีมงานของพนักงาน ขายรถยนต์จำ� นวน 166 คน พบว่า ลักษณะบุคลิกภาพ แบบแสดงตัวกับแบบประนีประนอมมีความสัมพันธ์ ทางบวกกับประสิทธิภาพทีมงาน อย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 ซึง่ จากการทบทวนแนวคิดเกีย่ วกับบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมในข้างต้น ผูว้ จิ ยั จึงมีความสนใจทีจ่ ะศึกษา ส่วนทีเ่ ป็นทฤษฎีทเี่ กีย่ วกับบุคลิกภาพแบบประนีประนอม ว่าจะมีความสัมพันธ์กับความสามารถในการพัฒนา ตนเองและประสิทธิภาพในการท�ำงานอย่างไร จึงน�ำไปสู่ สมมติฐานดังต่อไปนี้ สมมติฐานที่ 2a ความสามารถในการพัฒนาตนเอง ด้ า นทั ก ษะมี อิ ท ธิ พ ลทางบวกกั บ บุ ค ลิ ก ภาพแบบ ประนีประนอม สมมติฐานที่ 2b ความสามารถในการพัฒนาตนเอง ด้านการกระท�ำให้สำ� เร็จมีอทิ ธิพลทางบวกกับบุคลิกภาพ แบบประนีประนอม สมมติฐานที่ 3 บุคลิกภาพแบบประนีประนอม มีอิทธิพลทางบวกกับประสิทธิภาพในการท�ำงาน จากการศึกษาของ Costa & McCrae (1992 cited in Heinstrom, 2003) ทีไ่ ด้กล่าวถึง บุคลิกภาพ หมายถึง คุณลักษณะเฉพาะทีเ่ กิดขึน้ ภายในบุคคล ซึง่ เกิดขึน้ จาก การผสมผสานของระบบภายในร่างกายและสภาพแวดล้อม ภายนอกเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงตัวตนของแต่ละบุคคล อย่างเป็นเอกลักษณ์ ท�ำให้บุคคลนั้นแตกต่างจากผู้อื่น บุคลิกภาพยังเป็นสิ่งที่ก�ำหนดลักษณะการมีปฏิสัมพันธ์ กับสิง่ แวดล้อมหรือสถานการณ์ของบุคคลนัน้ ท�ำให้แต่ละ บุคคลแสดงพฤติกรรมและปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม แตกต่างกัน โดยบุคลิกภาพแบบประนีประนอม (Agreeableness) คือ บุคลิกภาพด้านการก�ำหนดบรรทัดฐาน หรือต้นแบบในแต่ละส่วนของการด�ำเนินชีวิตและการ ท� ำ งานท� ำ ให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการท� ำ งานนั้ น เพิ่ ม ขึ้ น เนื่องจากผู้ที่มีบุคลิกภาพด้านนี้สูงจะเป็นนักปรับตัว (Adapter)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ซึ่ ง จากการทบทวนแนวคิ ด เกี่ ย วกั บ บุ ค ลิ ก ภาพ แบบประนีประนอมในข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจ ที่จะศึกษาส่วนที่เป็นทฤษฎีที่เกี่ยวกับบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมว่าจะมีความสัมพันธ์กับความสามารถ ในการพัฒนาตนเองและประสิทธิภาพในการท�ำงาน อย่างไร จึงน�ำไปสู่สมมติฐานดังต่อไปนี้ สมมติฐานที่ 4a บุคลิกภาพแบบประนีประนอม เป็นตัวแปรกลางในความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ

113

ในการพัฒนาตนเองด้านทักษะกับประสิทธิภาพการท�ำงาน ของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน สมมติฐานที่ 4b บุคลิกภาพแบบประนีประนอม เป็นตัวแปรกลางในความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการพั ฒ นาตนเองด้ า นการกระท� ำ ให้ ส� ำ เร็ จ กั บ ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานของพนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย สายสนับสนุน

กรอบแนวคิดของการวิจัย

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัย

ระเบียบวิธีวิจัย

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ คือ พนักงาน มหาวิทยาลัยสายสนับสนุนงานบริการแห่งหนึง่ ซึง่ มีจำ� นวน ทัง้ สิน้ 104 คน โดยผูว้ จิ ยั ใช้เป็นกลุม่ ตัวอย่างในงานวิจยั ทั้งหมด จากการวิจัยพบว่า พนักงานส่วนมากเป็นเพศหญิง จ�ำนวน 86 คน คิดเป็นร้อยละ 82.7 มีอายุไม่เกิน 25 ปี จ�ำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 44.2 และมีระดับ การศึกษาปริญญาตรีจำ� นวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 76.9 ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีระยะเวลาที่ปฏิบัติงานใน

องค์กรไม่เกิน 5 ปี จ�ำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 41.3 ตลอดจนมีรายได้ต่อเดือน 15,001-20,000 บาท/เดือน มีจ�ำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 41.3 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ผูว้ จิ ยั ได้ทำ� การศึกษาจาก วัตถุประสงค์การวิจัย (Objectives) กรอบแนวคิดของ การวิจัย (Conception Framework) และเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อน�ำมาเป็นแนวทางในการสร้าง ค�ำถามในแบบสอบถาม (Questionnaire) ซึง่ มีรายละเอียด ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


114

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผูต้ อบ แบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check list) ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับตัวแปรด้าน ความสามารถในการพัฒนาตนเอง พฤติกรรมเพื่อการ พัฒนาตนเองที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย Duangkaew (2002) ส่วนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับตัวแปรด้าน บุคลิกภาพแบบประนีประนอม ส่วนที่ 4 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับตัวแปรด้าน ประสิทธิภาพการท�ำงาน ประกอบด้ ว ยแบบทดสอบโดยใช้ ม าตราส่ ว น ประมาณค่า 5 ระดับ ตามวิธีของ Likert Scale โดยได้ ก�ำหนดน�ำ้ หนักการให้คะแนนของตัวเลือก 5 ระดับ ตัง้ แต่ 1 ถึง 5 โดยมีชว่ งคะแนนและการแปลความหมาย ดังนี้ (Wongrattana, 2007) ค่าคะแนนระหว่าง 1.00–1.80 หมายถึง น้อยที่สุด ค่าคะแนนระหว่าง 1.81–2.60 หมายถึง น้อย ค่าคะแนนระหว่าง 2.61–3.40 หมายถึง ปานกลาง ค่าคะแนนระหว่าง 3.41–4.20 หมายถึง มาก ค่าคะแนนระหว่าง 4.21–5.00 หมายถึง มากที่สุด โดยจ�ำนวนข้อค�ำถามทัง้ หมด 10 ข้อ และแบบสอบถาม เกี่ยวกับแบบวัดองค์ประกอบย่อยของบุคลิกภาพด้าน บุคลิกภาพแบบประนีประนอมของ Costa & McCrae (1995 cited in Chusanapanich, 2010) จ�ำนวน ข้อค�ำถามทั้งหมด 5 ข้อ

ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผูว้ จิ ยั ได้นำ� แบบสอบถามทีไ่ ด้ไปทดสอบความเชือ่ มัน่ (Reliability) ของเครือ่ งมือ (Pre-Test) กับกลุม่ ตัวอย่าง จ�ำนวน 30 ชุด และค�ำนวณหาค่าความเชือ่ มัน่ ด้วยวิธขี อง ครอนบาค (Cronbach’s Alpha) โดยใช้เกณฑ์ยอมรับ ที่ค่ามากกว่า 0.7 เพื่อแสดงว่าแบบสอบถามนี้มีความ เชื่อมั่นเพียงพอ โดยใช้สูตรหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (a-Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ผลลัพธ์ค่าแอลฟาที่ตัวจะแสดงถึงระดับ ความคงทีข่ องแบบสอบถาม โดยจะมีคา่ ระหว่าง 0<a<1 ค่าที่ได้ของแบบสอบถามเท่ากับ 0.919-0.931 (Kanchanawasi, Pitayanon & Srisuko, 2008) สถิติเพื่อใช้ในการวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูล ผูว้ จิ ยั ได้รวบรวมข้อมูลและตรวจสอบแบบสอบถาม แต่ละรายการ จากนั้นได้ท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรมส�ำเร็จรูปทางสถิตเิ พือ่ การวิจยั ทางสังคมศาสตร์ ได้แก่ 1) สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ค่าสถิติร้อยละ (Percentage) (Srisa-ard, 2013) ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (Lomax & Hahs, 1992) 2) สถิติเชิงอนุมาน (Inferential statistic) ค่า สหสัมพันธ์เพือ่ ใช้ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้และทดสอบ สมมติฐานด้านการวิเคราะห์อทิ ธิพลของตัวแปรด้วยการ ถดถอยพหุคูณ (Kanchanawasi, 2012)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

115

ผลการวิจัย

ผลการวิเคราะห์สถิติอนุมาน ตารางที่ 1 ค่าเฉลีย่ ค่าความเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาตนเองกับประสิทธิภาพ การท�ำงาน ตัวแปร ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ด้านทักษะ ด้านการกระท�ำให้ส�ำเร็จ บุคลิกภาพแบบประนีประนอม ประสิทธิภาพการท�ำงาน

ด้านทักษะ 4.13 0.34 0.655*** 0.231*** 0.661***

ด้านการกระท�ำ บุคลิกภาพแบบ ประสิทธิภาพ ให้ส�ำเร็จ ประนีประนอม การท�ำงาน 4.08 4.18 4.13 0.50 0.41 0.40 0.369*** 0.773***

0.370***

-

**P<0.01

จากตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์คา่ เฉลีย่ ค่าเบีย่ งเบน มาตรฐาน และค่าความสัมพันธ์ของตัวแปรพบว่า ตัวแปร ทุกตัวมีความสัมพันธ์กบั ประสิทธิภาพการท�ำงาน อย่างมี

นัยส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 กล่าวคือ บุคคลทีม่ กี าร พัฒนาตนเองทีด่ กี ส็ ง่ ผลให้มปี ระสิทธิภาพการท�ำงานทีด่ ี ด้วยเช่นกัน จึงน�ำไปสูก่ ารทดสอบสมมติฐานในล�ำดับต่อไป

ตารางที่ 2 การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุระหว่างการพัฒนาตนเองกับประสิทธิภาพการท�ำงาน ตัวแปรต้น

ด้านทักษะ ด้านการกระท�ำ ให้ส�ำเร็จ บุคลิกภาพแบบ ประนีประนอม Adjusted R2

สมมติฐานการวิจัย/ตัวแปรตาม 1a 1b 2a 2b 3 4a 4b ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ บุคลิกภาพแบบ บุคลิกภาพแบบ บุคลิกภาพแบบ บุคลิกภาพแบบ บุคลิกภาพแบบ การท�ำงาน การท�ำงาน ประนีประนอม ประนีประนอม ประนีประนอม ประนีประนอม ประนีประนอม ** 0.284* 0.719** 0.782 (0.088) (0.118) (0.087) 0.308** 0.591** 0.621** (0.050) (0.077) (0.054) 0.221** 0.094** 0.356** (0.088) (0.070) (0.065) 0.432 0.594 0.044 0.128 0.129 0.477 0.599

*p<0.05, **p<0.01

หมายเหตุ: จากการทดสอบเงื่อนไขของ Multiple Regression Analysis พบว่า ปัจจัยด้านการพัฒนาตนเองกับ ประสิทธิภาพการท�ำงานไม่เกิดปัญหา Multicollinearity เนื่องจาก Tolerance มีค่ามากกว่า 0.1 ทุกตัวแปรและ ค่า VIF มีค่าน้อยกว่า 10 ทุกตัวแปร ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


116

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

จากตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ เพื่อทดสอบสมมติฐาน ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้ สมการที่ 1a ความสามารถในการพัฒนาตนเองด้าน ทักษะ อ�ำนาจมีอทิ ธิพลทางบวกกับประสิทธิภาพในการ ท�ำงานอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (β = 0.782, p<0.01) โดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 43.2 จากผลการวิจัย เป็นไปตามสมมติฐานที่ 1a สมการที่ 1b ความสามารถในการพัฒนาตนเอง ด้านการกระท�ำให้ส�ำเร็จ อ�ำนาจมีอิทธิพลทางบวกกับ ประสิทธิภาพในการท�ำงานอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (β = 0.621, p<0.01) โดยสามารถพยากรณ์ได้รอ้ ยละ 5.0 จากผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่ 1b สมการที่ 2a ความสามารถในการพัฒนาตนเอง ด้านทักษะ อ�ำนาจมีอทิ ธิพลทางบวกกับบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (β = 0.284, p<0.05) โดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 11.8 จากผล การวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่ 2a สมการที่ 2b ความสามารถในการพัฒนาตนเอง ด้านการกระท�ำให้ส�ำเร็จ อ�ำนาจมีอิทธิพลทางบวกกับ บุคลิกภาพแบบประนีประนอมอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (β = 0.308, p<0.01) โดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 12.8 จากผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่ 2b สมการที่ 3 บุคลิกภาพแบบประนีประนอมมีอทิ ธิพล ทางบวกกับประสิทธิภาพในการท�ำงานอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติ (β = 0.356, p<0.01) โดยสามารถพยากรณ์ ได้รอ้ ยละ 12.9 จากผลการวิจยั เป็นไปตามสมมติฐานที่ 3 สมการที่ 4a เมื่อมีการควบคุมบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมซึง่ เป็นตัวแปรกลางปรากฏว่า ความสามารถ ในการพั ฒ นาตนเองด้ า นทั ก ษะมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ กับประสิทธิภาพการท�ำงาน (β = 0.719, p<0.01) ขณะเดียวกันบุคลิกภาพแบบประนีประนอมมีความสัมพันธ์ อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ( β = 0.221, p<0.01) โดยการศึกษานีจ้ ากค่าเบต้า (β) พบว่า บุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมได้ทำ� หน้าทีเ่ ป็นตัวแปรกลางโดยสมบูรณ์ (Fully mediators) ระหว่างความสามารถในการพัฒนา

ตนเองด้านทักษะกับประสิทธิภาพการท�ำงาน จากผล การวิจัยจึงเป็นไปตามสมมติฐานที่ 4a สมการที่ 4b เมื่อมีการควบคุมบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมซึง่ เป็นตัวแปรกลางปรากฏว่า ความสามารถ ในการพัฒนาตนเองด้านการกระท�ำให้สำ� เร็จมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติกับประสิทธิภาพการท�ำงาน ( β = 0.591, p<0.01) ขณะเดียวกันบุคลิกภาพแบบประนีประนอม มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (β = 0. 094, p<0.01) โดยการศึกษานีจ้ ากค่าเบต้า (β) พบว่า บุคลิกภาพ แบบประนีประนอมได้ท�ำหน้าที่เป็นตัวแปรกลางโดย สมบูรณ์ (Fully mediators) ระหว่างความสามารถในการ พัฒนาตนเองด้านการกระท�ำให้ส�ำเร็จกับประสิทธิภาพ การท�ำงาน จากผลการวิจยั จึงเป็นไปตามสมมติฐานที่ 4b

อภิปรายผลการวิจัย

การศึกษาความสามารถในการพัฒนาตนเองทีม่ ผี ลต่อ ประสิทธิภาพการท�ำงานผ่านบุคลิกภาพแบบประนีประนอม ของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน พบว่า การศึกษา อิทธิพลของความสามารถในการพัฒนาตนเองด้านทักษะ และด้านการกระท�ำให้สำ� เร็จต่อประสิทธิภาพการท�ำงาน ของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน จากผลการ ทดสอบสมมติฐานเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้สอดรับ กับงานวิจัยของ Wattanarangsan (2015) ที่ได้ศึกษา ประสิทธิภาพการปฏิบตั งิ านของพนักงานพบว่า การเพิม่ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานควรมีการมอบอ�ำนาจการ ตัดสินใจให้พนักงานมีส่วนร่วม ควรมีการตั้งเป้าหมาย การท�ำงานทีช่ ดั เจน โดยจากการทดสอบสมมติฐานพบว่า ความสามารถในการพัฒนาตนเองด้านทักษะอ�ำนาจ มีอิทธิพลทางบวกกับประสิทธิภาพในการท�ำงาน โดย ประเด็นส�ำคัญคือ ผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความช�ำนาญ ในการท�ำงานจนถ่ายทอดให้กับผู้อื่นได้ และมีการแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้าได้ และมีความสามารถในการพัฒนา ตนเองด้านการกระท�ำให้สำ� เร็จ อ�ำนาจมีอทิ ธิพลทางบวก กับประสิทธิภาพในการท�ำงาน โดยทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านจะต้อง มีความสามารถในการจัดการงานให้ส�ำเร็จ และมีความ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

สามารถทีจ่ ะเลือกตัดปัจจัยทีไ่ ม่จำ� เป็นเกีย่ วกับการท�ำงาน สอดคล้องกับงานวิจัยของ Thotphongchai (2006) ได้วิจัยเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มผลการปฏิบัติงาน ที่มีประสิทธิภาพ ศึกษาเฉพาะสาขารังสีวิทยาวินิจฉัย ฝ่ายรังสีวทิ ยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย พบว่า การพัฒนาทักษะด้านการท�ำงาน ด้วยการฝึกอบรม การมี ส ่ วนร่ วมในกิจ กรรมมีความสัมพันธ์กับ ผลการ ปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพในระดับสูง ส�ำหรับการศึกษาอิทธิพลของความสามารถในการ พัฒนาตนเองด้านทักษะและด้านการกระท�ำให้ส�ำเร็จ ต่อบุคลิกภาพของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน พบว่า ความสามารถในการพัฒนาตนเองด้านการกระท�ำ ให้สำ� เร็จก็เช่นกันพบว่า มีอทิ ธิพลทางบวกกับบุคลิกภาพ แบบประนีประนอม รวมถึงบุคลิกภาพแบบประนีประนอม มีอทิ ธิพลทางบวกกับประสิทธิภาพในการท�ำงาน โดยจาก ผลการศึกษาพบว่า ในด้านของประสิทธิภาพการท�ำงาน ประเด็นส�ำคัญคือ คุณภาพงานมีความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์เป็นไปตามเป้าหมายหรือมาตรฐานที่ก�ำหนด โดยที่ บุ ค ลิ กภาพแบบประนีป ระนอมช่วยเหลือผู้อื่น ด้วยความเต็มใจ มีจติ ใจดี สุภาพอ่อนโยนกับหัวหน้าและ เพือ่ นร่วมงาน สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Chaingam (2005) ได้ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค ลิ ก ภาพ ห้าองค์ประกอบ (The Big Five) กับประสิทธิภาพทีมงาน ของพนักงานขาย เพือ่ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบกับประสิทธิภาพทีมงานของ พนักงานขายรถยนต์ พบว่า ลักษณะบุคลิกภาพแบบ แสดงตัวกับแบบประนีประนอมมีความสัมพันธ์ทางบวก กับประสิทธิภาพทีมงานอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 และหากพิจารณาถึงอิทธิพลของบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมต่อประสิทธิภาพการท�ำงานของพนักงาน มหาวิทยาลัยสายสนับสนุน พบว่า บุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมมีอทิ ธิพลทางบวกกับประสิทธิภาพในการ ท�ำงานอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ตลอดจนผลการวิจัย ในประเด็นบุคลิกภาพแบบประนีประนอมซึง่ เป็นตัวแปร

117

กลางปรากฏว่า ความสามารถในการพัฒนาตนเองด้าน ทักษะสอดคล้องกับแนวคิดของ Costa & McCrae (1992 cited in Heinstrom, 2003) ที่ได้กล่าวไว้ว่า บุคลิกภาพแบบประนีประนอม (Agreeableness) คือ บุคลิกภาพด้านการก�ำหนด บรรทัดฐานหรือต้นแบบ ในแต่ละส่วนของการด�ำเนินชีวิตและการท�ำงาน ท�ำให้ ประสิทธิภาพในการท�ำงานนั้นเพิ่มขึ้น เนื่องจากผู้ที่มี บุคลิกภาพด้านนี้สูงจะเป็นนักปรับตัว (Adapter)

ประโยชน์จากการวิจัย

ประโยชน์เชิงการจัดการ 1. การศึกษาความสามารถในการพัฒนาตนเองทีม่ ี ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานผ่ า นบุ ค ลิ ก ภาพแบบ ประนีประนอมของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน ท�ำให้องค์กรเข้าใจถึงหลักในการพัฒนาบุคคลว่าจะต้อง มีส่วนประกอบของทักษะและด้านการกระท�ำให้ส�ำเร็จ เป็นส�ำคัญ 2. การที่จะปลูกฝังให้บุคลากรมีบุคลิกภาพแบบ ประนีประนอมในการมีจติ ใจดี สุภาพอ่อนโยนกับหัวหน้า และเพื่อนร่วมงาน ยอมรับและเชื่อฟังความคิดเห็น ค�ำต�ำหนิของผูอ้ นื่ และปรับปรุงตนเองให้เข้ากับผูอ้ นื่ ง่าย ก็เป็นตัวแปรส�ำคัญทีท่ ำ� ให้มคี วามสามารถในการตัดสินใจ ได้ด้วยตนเอง กล้ากระท�ำงานได้ด้วยตัวเองโดยไม่ต้อง รอค�ำสัง่ และความสามารถในการจัดการงานให้สำ� เร็จได้ ประโยชน์เชิงทฤษฎี งานวิจยั นีก้ อ่ ให้เกิดการบูรณาการทางทฤษฎีทเี่ กีย่ วกับ ความสามารถในการพัฒนาตนเอง ประสิทธิภาพในการ ท�ำงาน และบุคลิกภาพแบบประนีประนอม โดยเป็นการ ศึกษาในลักษณะของการพิสจู น์ความสัมพันธ์และอิทธิพล ระหว่างตัวแปรโดยผ่านตัวแปรกลางคือ บุคลิกภาพแบบ ประนีประนอม ซึ่งมีความแตกต่างจากความสามารถ ในการพัฒนาตนเอง โดยการศึกษาเกี่ยวกับพนักงาน มหาวิทยาลัยสายสนับสนุน ถือเป็นอาชีพทีส่ ำ� คัญในการ ช่วยสนับสนุนการด�ำเนินงานของอาจารย์และนักศึกษา ให้ประสบความส�ำเร็จ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


118

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ข้อเสนอแนะในอนาคต

1. การศึกษานีเ้ ป็นการวิจยั เชิงปริมาณ ซึง่ เป็นข้อมูล ยืนยันในเชิงตัวเลข แต่ยงั ขาดรายละเอียดในเชิงลึก ทัง้ นี้ งานวิจัยครั้งต่อไปควรศึกษาแบบเชิงคุณภาพเนื่องจาก จะท�ำให้ได้ขอ้ มูลเชิงลึกทีม่ รี ายละเอียดครบถ้วนสมบูรณ์

มากยิ่งขึ้น 2. เนื่องจากการศึกษานี้เป็นการศึกษาข้อมูลเพียง 4 ตัวแปร เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ควรด�ำเนินการศึกษาตัวแปรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม อันจะท�ำให้เกิดเป็นมิติใหม่ของการศึกษา

References

Asanathong, T. (2010). The study of self-improvement needs in order to improve service quality, case study: Flight attendant. Master of Business Administration, Graduate School Bangkok University. [in Thai] Boydell, T. (1985). Management self-development: A guide for managers, organizations and institution. Switzerland: International Labour Organization. Chaingam, J. (2005). The relationship between The Big Five and the team efficiency of automobile sales representative. Master of Arts Program in Industrial and Organizational Psychology in Humanities, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. [in Thai] Chotikunaset, P. (2001). The self-improvement needs in academic of secondary school government teacher under the Department of General Education in Seri Thai School Consortium. Master’s Degree Thesis, Faculty of Education, Ramkhamhaeng University. [in Thai] Churh, A. T. (1982). Sojourner adjustment. Psychological Bulletin, 9(3), 540-572. Chusanapanich, T. (2010). The relationship between personalities and career success in Medical supplies representatives, case study in MSD (Thailand) Ltd. Master of Business Administration, Bangkok University. [in Thai] Costa, P. T. Jr. & McCrae, R. R. (1995). Domains and Facets: Hierarchical Personality Assessment Using the Revised NEO Personality Inventory. Journal Of Personality Assessment, 64(1), 21-50. Costa, P. T. Jr. & McCrae, R. R. (1992). Primary Traits of Eysenck’s P-E-N System: Three and Five-Factor Solutions. Journal of Personality and Social Psychology, 62(2), 308-317. Duangkaew, T. (2002). The relationship between personalities, learning atmosphere awareness, and self-improvement activities participation of the Practitioner level employees. Master of Science Program in Industrial and Organizational Psychology, Chiang Mai University. [in Thai] Endoorasd, K. (2007). The factors that affect to the work efficiency of the employee of Grohe Siam Company Limited. Master’s Degree, Burapha University. [in Thai] Heinstrom, J. (2003). Five personality dimension and their influence on information behavior. Retrieved July 3, 2010, from http://www.informationr.net/ir/9-1/paper165.html ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

119

Kanchanawasi, S. (2012). Applied statistics for research (6th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai] Kanchanawasi, S., Pitayanon, T. & Srisuko, D. (2008). Proper Research Statistic Selection (5th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Printing. [in Thai] Kunthong, J. (2006). Personality of the employee of Bank of Ayudhya Public Company Limited head office. Master of Public Administration Program in General Management Graduate School of Public Administration, Burapha University. [in Thai] Lomax, R. G. & Hahs, D. L. (1992). Statistical Concepts: A Second Course. UK: Routledge. Mendenhall, M. & Odduo, G. (1985). The dimension of expatriate acculturation. Academy of Management Review, 10(4), 39-47. Permphol, K. (2009). Efficiency development (3rd ed.). Bangkok: Rajabhat Institute Suan Dusit. [in Thai] Petersen, E. & Plowman, E. G. (1989). Business Organization and Management. Illinois: Irwin. Pratchayapruet, T. (1999). Organization Theory. Bangkok: Thai Wattana Panich. [in Thai] Sabaiying, V. (1999). Goal Setting Factor Self-efficacy and the image the Effect on the Performance of Direct Suppliers. Doctor of Philosophy (Behavioral Sciences), Behavioral Science Research Institute. [in Thai] Saentikarn, B. & Aphibanrat, S. (2013). The Perception and Adjustment of Bachelor of Business Administration Graduates for The Working Response to Asean Economic Community. The Degree Bachelor of Business Administration Program in General Business Management, Silpakorn University. [in Thai] Sripan, P. (2012). The relationship between The Big Five and working effectiveness of the employees of TISCO Bank PLC. in Credit Control and Management field. Thesis of M.B.A. (Management), Graduate School Srinakharinwirot University. [in Thai] Srisa-ard, B. (2013). Fundamental research (7th ed.). Bangkok: Chomromdek. [in Thai] Stening, B. W. (1979). Problems of cross-cultural contact: a literature review. International Journal of Intercultural Relations, 3(4), 269-313. Tanadrob, N. (2002). The factors that affect to the operation efficiency of the employee of State Railway of Thailand. Master of Arts Thesis in Social Sciences for Development, Rajabhat Institute Bansomdejchaopraya. [in Thai] The Royal Institute. (2015). The Royal Institute Dictionary 2015 edition. Bangkok: Aksorn Charoenthat. [in Thai] Thotphongchai, V. (2006). Graduate Program in Human Resource Development. National Institute of Development Administration. [in Thai]

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


120

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Wattanarangsan, P. (2015). Increasing the operation efficiency of the 4 star hotel staff in Siam Square area. Master of Arts in Hospitality and Tourism Industry Management, Bangkok University. [in Thai] Wongrattana, C. (2007). Statistics for research (2nd ed.). Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai] WoodCock, M. (1989). Team development manual. Worcester: Billing and Sons.

Name and Surname: Bhorntida Tepprasit Highest Education: Master of Science in Renewable Energy, Naresuan University University or Agency: Silpakorn University Field of Expertise: Environmental Management Address: Faculty of Management Science, Silpakorn University Name and Surname: Viroj Jadesadalug Highest Education: Doctor of Philosophy in Management, Mahasarakham University University or Agency: Silpakorn University Field of Expertise: Management Address: Faculty of Management Science, Silpakorn University

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

121

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสร้างความผูกพัน ระดับความผูกพัน และผลงานของพนักงาน: กรณีศึกษา บริษัท NMO จ�ำกัด A STUDY OF RELATIONSHIPS BETWEEN EMPLOYEE’S ENGAGEMENT DRIVERS, ENGAGEMENT SCORES AND PERFORMANCE: CASE STUDY IN NMO CO., LTD. เรือนขวัญ อยู่สบาย1 และกัญชพร ศรมณี2 Rueankwan Yusabai1 and Kanchaporn Sonmanee2 1,2คณะวิทยาการจัดการ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 1,2Faculty of Management Sciences, Panyapiwat Institute of Management

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความผูกพัน 2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสร้างความผูกพัน ระดับความผูกพัน และผลงานของพนักงาน กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานบริษัท NMO จ�ำกัด 121 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยคือ แบบสอบถามระดับความผูกพันของพนักงาน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) หาค่าความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสร้างความผูกพัน ระดับความผูกพัน และผลงาน ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson Correlation) ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยสร้างความผูกพันอยู่ใน ระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยด้านบุคคลและสังคมในองค์กรสูงสุด (x = 4.01, S.D. = .49) รองลงมาคือ ด้านลักษณะงาน (x = 3.98, S.D. = .45) ด้านสภาพแวดล้อมขององค์กร (x = 3.94, S.D. = .50) ด้านระบบองค์กร (x = 3.70, S.D. = .51) ตามล�ำดับ ค่าเฉลี่ยระดับความผูกพันอยู่ในระดับมาก (x = 4.13, S.D. = .46) ค่าเฉลี่ยด้านผลงานอยู่ในระดับมาก ทั้งหมด โดยมีค่าเฉลี่ยด้านผลงานระดับบุคคลสูงสุด (x = 4.08, S.D. =.51) รองลงมาคือ ระดับทีมงาน (x = 4.03, S.D. = .52) และระดับองค์กร (x = 3.93, S.D. = .57) ตามล�ำดับ วิเคราะห์คา่ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เพียร์สนั พบว่า 1) ปัจจัยสร้างความผูกพันมีความสัมพันธ์กับระดับความผูกพันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยที่ปัจจัยด้าน ระบบองค์กรมีคา่ ความสัมพันธ์อยูใ่ นระดับสูงสุด (r = .700) 2) ระดับความผูกพันมีความสัมพันธ์กบั ผลงานของพนักงาน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยที่ผลงานระดับบุคคลมีค่าความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูงสุด (r = .678) ค�ำส�ำคัญ: ปัจจัยสร้างความผูกพัน ระดับความผูกพัน ผลงาน

Corresponding Author E-mail: rueankwanyus@pim.ac.th


122

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

The purposes of this study were to study 1) Engagement Scores 2) Relationships between Engagement Drivers, Engagement Scores and Performance of Employee. The samples were 121 participants who worked in NMO company. The research instrument was employee engagement questionnaires. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean (x) and standard deviation (S.D.). Found the relationship between employee’s engagement drivers, engagement scores and performance by Pearson’s product moment correlation coefficient statistic. The study found that engagement drivers were in high level which is the highest mean was a people/social (x = 4.01, S.D. = .49) followed by a mean of job characteristics (x = 3.98, S.D. = .45), organization climate (x = 3.94, S.D. = .50) and organization practice (x = 3.70, S.D. = .51) respectively. The mean of engagement scores were in high level (x = 4.13, S.D. = .46). The overall performance were in high level, the highest mean was individual performance (x = 4.08, S.D. = .51) followed by a mean of team performance (x = 4.03, S.D. = .52) and business performance (x = 3.93, S.D. = .57) respectively. The analytical of pearson’s correlation found 1) employee’s engagement drivers correlated to engagement scores at .01 statistically significant level, an organization practice had the highest correlation coefficient (r = .700). 2) engagement scores correlated to performance at .01 statistically significant level, an individual performance had the highest correlation coefficient (r = .678). Keywords: Engagement Drivers, Engagement Scores, Performance

บทน�ำ

ในปัจจุบนั สภาวการณ์ดา้ นธุรกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว การลงทุนทางการค้าเกิดขึน้ มากมายทัง้ การลงทุนภายใน ประเทศหรือต่างประเทศส่งผลให้เกิดการแข่งขันสูง ความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจที่ดีเกิดจากปัจจัย หลายประการ ซึ่งปัจจัยที่สําคัญ ประการแรกคือ การ บริหารจัดการองค์กรทีด่ ี และมีโครงสร้างองค์กรทีช่ ดั เจน (Soipetch, 2014) มีพนักงานที่มีความรู้ความสามารถ ในการท�ำงาน เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตัวเอง มีความ รับผิดชอบ มุง่ มัน่ และตัง้ ใจ พัฒนาตัวเอง และร่วมมือกัน พัฒนาองค์กร มีความคิดทัศนคติที่ดี มีประสิทธิภาพ ในการดําเนินงานเสมือนหนึ่งร่วมเป็นเจ้าขององค์กร เพื่อมุ่งสู่ความสําเร็จในการทําธุรกิจด้วยกัน นั่นเรียกว่า ความผูกพันจงรักภักดีต่อองค์กร (Anusirikul, 2014)

ความผูกพันต่อองค์กรจึงไม่ใช่เพียงแค่ความพึงพอใจ ในงานเท่านั้น แต่ความผูกพันที่มีต่อองค์กรจะแสดงถึง ความจงรักภักดี ความทุม่ เทแรงกายแรงใจ ความศรัทธา ต่อองค์กร ความผูกพันจะพัฒนาอย่างช้าๆ แต่มั่นคง เสมือนเป็นแรงจูงใจและผลักดันให้พนักงานปฏิบตั อิ ย่าง เต็มความสามารถ เป็นผลให้เกิดความภาคภูมิใจในการ เป็นส่วนหนึง่ ขององค์กร อุทศิ ตนเพือ่ องค์กรและต้องการ อยู่กับองค์กรตลอดไป ในทางกลับกันหากพนักงานไม่มี ความผูกพันจงรักภักดีต่อองค์กร เมื่อเกิดปัญหาหรือมี สิ่งเร้าจากปัจจัยภายนอกอื่นเข้ามา เช่น ข้อเสนอดีๆ จากองค์กรอืน่ พนักงานจะลาออกจากงาน ส่งผลกระทบ ต่อองค์กร เนือ่ งจากการสรรหาและพัฒนาพนักงานใหม่ ถือเป็นการสูญเสียทรัพยากรและเสียเวลาอย่างมาก ตลอดจนเกิดการเสียขวัญและก�ำลังใจ รวมถึงการส่งผล

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ต่อความเชื่อมั่นของพนักงานเดิมที่อยู่ในองค์กร บริษทั NMO จ�ำกัด มีวสิ ยั ทัศน์ คือ “เป็นผูน้ ำ� ธุรกิจ ชิน้ ส่วนอะไหล่และบริการของระบบทีเ่ กีย่ วข้องกับความ ปลอดภัยของยานยนต์ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” มีพันธกิจที่จะมุ่งเน้นให้ลูกค้าได้รับประโยชน์สูงสุดด้วย การคัดสรรสินค้าและบริการที่ดีที่สุด มุ่งเน้นการพัฒนา บุคลากรให้มปี ระสิทธิภาพด้วยการเสริมสร้างการเรียนรู้ และยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับพนักงานทุกระดับ มองหาโอกาสในการเจาะตลาดและขยายสถานทีใ่ นการ จัดจ�ำหน่ายใหม่ๆ อย่างสม�่ำเสมอ มุ่งเน้นพัฒนาระบบ ปฏิบัติการ การจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ดูแลและปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า พนักงาน ผู้ผลิต พันธมิตรทางธุรกิจ และชุมชน) อย่างเป็นธรรม ยึดมั่นในความเป็นองค์กรที่ดีในสังคม มีสว่ นร่วมในการสร้างประโยชน์ให้แก่สงั คม ซึง่ จะเห็นว่า หนึ่งในหกพันธกิจหลักของบริษัทคือ การตระหนักถึง ความส�ำคัญและคุณค่าของบุคลากร ซึง่ ถือเป็นส่วนส�ำคัญ ในการพัฒนาประสิทธิภาพในการส่งมอบบริการต่อลูกค้า เป็นอย่างยิ่ง ถึงแม้ว่าจะมีการเติบโตอย่างต่อเนื่องของ บริษทั เป็นเวลา 10 ปี บริษทั ยังคงประสบปัญหาการลาออก ของพนักงานโดยเฉพาะในต�ำแหน่งงานทีส่ ำ� คัญอยูต่ ลอดมา ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทีมผูว้ จิ ยั จึงมีความประสงค์ ทีจ่ ะศึกษาระดับความผูกพัน รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยสร้างความผูกพันและระดับความผูกพันของพนักงาน เพือ่ เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข ออกแบบกลยุทธ์ ทางด้านทรัพยากรมนุษย์ของบริษัทให้มีประสิทธิภาพ รักษาพนักงานที่มีคุณค่า ส่งเสริมให้พนักงานเกิดความ ผูกพัน (Engagement) และความจงรักภักดีต่อองค์กร ให้สามารถขับเคลือ่ นธุรกิจก้าวไปข้างหน้าอันจะส่งผลให้ ผลประกอบการขององค์กรดีขึ้นอย่างต่อเนื่องต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพือ่ ศึกษาระดับความผูกพันของพนักงานบริษทั NMO จ�ำกัด 2. เพือ่ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสร้างความ

123

ผูกพัน ระดับความผูกพัน และผลงานของพนักงาน บริษทั NMO จ�ำกัด

ทบทวนวรรณกรรม

ความหมายของความผูกพัน ความผูกพันของบุคคลที่มีต่อองค์กรเป็นเรื่องของ ทัศนคติวา่ ตนรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ขององค์กร มีเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ทจี่ ะปฏิบตั งิ านให้มคี วามสอดคล้องกับ องค์กรและต้องการที่จะเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิกของ องค์กรต่อไป นักวิชาการได้ให้ความหมายทีส่ ำ� คัญไว้ เช่น Buchanun (1974) ให้ความหมายของความผูกพัน ขององค์กรเป็นเรื่องของ 1. การระบุตนเองให้เข้ากับองค์กร (Identification) ด้วยความเต็มใจที่จะปฏิบัติงานและยอมรับในค่านิยม เงือ่ นไข แนวปฏิบตั ิ และวัตถุประสงค์ขององค์กร เปรียบ เสมือนเป็นของตน 2. การเข้ามามีสว่ นเกีย่ วพันในองค์กร (Involvement) โดยการเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร ตามบทบาทและหน้าที่ของตนอย่างเต็มความสามารถ 3. ความจงรักภักดีทมี่ ตี อ่ องค์กร (Loyalty) มีความ รู้สึกรักและผูกพันต่อองค์กร Allen & Meyer (1990) ให้ความหมายความผูกพัน ต่อองค์กร หมายถึง ความเป็นส่วนหนึ่งหรือเป็นพวก เดียวกัน (Partisan) เป็นความผูกพันที่มีต่อเป้าหมาย และค่านิยมขององค์กรและการปฏิบัติตนตามบทบาท หน้าที่ของตนเอง เพื่อให้งานที่รับมอบหมายบรรลุตาม เป้าหมายและค่านิยมขององค์กร Robbins (2005) ได้ให้ความหมายความผูกพันต่อ องค์กร หมายถึง สถานะที่พนักงานผูกพันตนเองกับ องค์กร ปรารถนาที่จะรักษาความเป็นสมาชิกส่วนหนึ่ง ขององค์กรนั้นไว้ตลอดไป Luthans (1992) ได้ให้ความหมายของความผูกพัน ของบุคคลที่มีต่อองค์กรว่าเป็นเรื่องของทัศนคติที่ดีที่ บุคคลมีความรู้สึกผูกพัน จงรักภักดี และต้องการมี ส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นเพือ่ ให้องค์กรบรรลุผล

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


124

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตามเป้าหมายที่ได้ก�ำหนดไว้ สรุป ความผูกพันต่อองค์กร หมายถึง ความรู้สึก ผูกพันระหว่างบุคลากรทีม่ ตี อ่ องค์กร พร้อมทีจ่ ะปฏิบตั งิ าน ในหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบหมายเพือ่ ให้การด�ำเนินงานได้บรรลุ ตามเป้าหมายที่ได้ก�ำหนดไว้ ซึ่งองค์ประกอบของความ ผูกพันต่อองค์กรแต่ละองค์ประกอบจะประกอบไปด้วย ความรูส้ กึ ว่า ตนเอง (บุคลากร) เป็นส่วนหนึง่ ขององค์กร การยอมรับเป้าหมาย และนโยบายการบริหารขององค์กร พร้อมทั้งมีการทุ่มเทแรงกาย แรงใจ ความพยายาม ในการปฏิบัติงาน และบุคลากรก็มีความภาคภูมิใจที่ได้ เป็นสมาชิกส่วนหนึ่งขององค์กร แนวคิดเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์กร Mowday, Porter & Steers (1983) ได้แบ่งลักษณะ ของความผูกพันองค์กรออกมาเป็น 3 ลักษณะคือ 1) ความเชื่อมั่นอย่างแรงกล้าและยอมรับอย่าง จริงจังในเป้าหมายและค่านิยมขององค์กรคือ การที่ บุคคลมองเป้าหมายและค่านิยมขององค์กรเป็นไปใน ทิศทางของตน ท�ำให้พนักงานพิจารณายอมรับเป้าหมาย และค่านิยมขององค์กรเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ เกิดการ ยอมรับในจุดหมายนัน้ ก่อให้เกิดความรูส้ กึ ทีด่ ตี อ่ องค์กร ท�ำให้พนักงานภาคภูมใิ จและยินดีกบั การได้เป็นส่วนหนึง่ ขององค์กร มีการเข้าเป็นส่วนร่วมและกระท�ำตนให้เป็น ประโยชน์ตอ่ องค์กร เพราะมีความเชือ่ ว่าจะเป็นส่วนหนึง่ ในการท�ำให้องค์กรประสบความส�ำเร็จ ดังนั้นพนักงาน จึงเกิดความรูส้ กึ ว่า จะมีโอกาสในการเติบโตและสามารถ ประสบความส�ำเร็จในหน้าที่การงานได้ 2) ความเต็มใจที่จะใช้ความพยายามอย่างเต็มที่ ในการท�ำงานเพื่อองค์กรคือ การที่บุคคลมีความเต็มที่ เต็มใจพยายามท�ำงานอย่างสุดก�ำลังความสามารถและ อุทิศตนเพื่อให้การท�ำงานขององค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยบุคลากรค�ำนึงถึงประโยชน์ขององค์กรเป็นหลักและ มีความเป็นห่วงเป็นใยความเป็นไปขององค์กร มีความคิด อยูเ่ สมอว่า งานคือ หนทางทีจ่ ะสามารถท�ำประโยชน์และ เป็นหนทางที่จะท�ำให้องค์กรบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ได้

3) ความผูกพันอย่างแรงกล้าที่จะรักษาความเป็น สมาชิกขององค์กรคือ การทีบ่ คุ คลแสดงให้เห็นถึงความ จงรักภักดีต่อองค์กรโดยมีความตั้งใจอย่างแน่วแน่ที่จะ อยูเ่ ป็นสมาชิกขององค์กรโดยไม่คดิ ทีจ่ ะโยกย้ายทีท่ �ำงาน สมาชิกมีความภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร และบอกผู้อื่นว่า ตนเป็นสมาชิกขององค์กร พร้อมและ เต็ ม ที่ ใ นการช่ ว ยสร้ า งสรรค์ ใ ห้ อ งค์ ก รมี ค วามเจริ ญ ก้าวหน้าขึ้น Allen, Meyer & Smith (1993) ได้จำ� แนกลักษณะ ความผูกพันของบุคคลที่มีต่อองค์กรไว้เป็น 3 ลักษณะ ประกอบด้วยประการที่ 1 ความผูกพันทางด้านจิตใจ (Affective commitment) เป็นความรูส้ กึ ผูกพันทีเ่ กีย่ วข้อง กับความรู้สึกด้านอารมณ์ (Want to) ท�ำให้บุคคลเกิด ความสามัคคีของกลุม่ พยายามรักษาสัมพันธภาพทีด่ ไี ว้ มีความรู้สึกเป็นเจ้าของ เป็นอารมณ์ที่บุคคลยึดติดกับ องค์กร (Attachment to) เห็นพ้องต้องกันกับองค์กร (Identification with) และรู้สึกว่า ตนเองมีส่วนส�ำคัญ และอยากมีส่วนร่วมในองค์กร (Involve in) เนื่องจาก เป้าหมายบุคคลสอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร และ จะอุทศิ แรงกายแรงใจพร้อมทีจ่ ะให้ความช่วยเหลือองค์กร ให้สามารถด�ำเนินกิจการบรรลุตามเป้าหมายทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ ความรู้สึกดังกล่าวสามารถที่จะพัฒนาให้มีมากขึ้นได้ โดยอาศัยประสบการณ์ของพนักงานทีผ่ า่ นมามีความรูส้ กึ ที่ดีเมื่ออยู่ในองค์กร เป็นมุมมองด้านทัศนคติของบุคคล ประการที่ 2 ความผูกพันด้านการคงอยู่ (Continuance commitment) เป็นความต้องการเฉพาะของบุคคล ที่ต้องการรักษาสัมพันธภาพที่มีต่อองค์กรไว้ เนื่องจาก สิง่ ตอบแทนทีไ่ ด้รบั จากองค์กรโดยไม่มคี วามรูส้ กึ อยากได้ มาก่อนเข้ามาเกีย่ วข้อง (Need to) เป็นการมองว่า การที่ คนต้องอยู่ในองค์กรเป็นความจ�ำเป็น ไม่เช่นนั้นบุคคล จะสูญเสียผลประโยชน์หลายๆ อย่างที่มีความจ�ำเป็น และควรทีจ่ ะได้รบั จากการลงทุนของตนเองเปรียบเทียบ ความสมดุลระหว่างผลตอบแทนที่ได้รับจากองค์กร ที่สามารถเปรียบเทียบกับองค์กรอื่น เป็นมุมมองด้าน พฤติกรรมของบุคคล ประการที่ 3 ความผูกพันด้าน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

บรรทัดฐาน (Normative commitment) หมายถึง ความรู ้ สึ ก ที่ บุ ค คลส� ำ นึ ก ในหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย หรือข้อตกลงที่จะต้องอยู่ในองค์กรต่อไป (Ought to) เป็นความผูกพันที่เกิดจากการประเมินว่า ความผูกพัน เป็นสิ่งที่ถูกต้องควรกระท�ำให้เป็นความจ�ำเป็น ซึ่งเป็น บรรทัดฐานที่บุคคลจะต้องผูกพัน เพื่อความถูกต้อง เหมาะสมทางสังคม สมาชิกเกิดความรูส้ กึ ว่า พันธะเป็น ส่วนหนึ่งขององค์กรจะต้องรับรู้บรรทัดฐานขององค์กร เช่น ความจงรักภักดี ความศรัทธาต่อองค์กรที่สังกัดอยู่ เป็นมุมมองด้านบรรทัดฐานของสังคม ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กร การสร้างความผูกพันต่อองค์กรตามตัวแบบความ ผูกพัน ABC Furniture Group Employee Engagement Model (Yusabai & Boonsong, 2017: 126) การสร้าง ความผูกพันต่อองค์กรประกอบด้วยปัจจัย 3 ส่วน คือ 1. ปัจจัยทีส่ ร้างความผูกพัน 2. ลักษณะของการแสดงออก

125

ถึงความผูกพัน และ 3. ผลลัพธ์ของความผูกพัน โดยมี ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยเพื่อสร้างความผูกพันจ�ำนวน 4 ด้านดังนี้ 1. ด้านลักษณะงาน (Job Characteristics) 2. ด้านบุคคลและสังคมในองค์กร (People/Social) 3. ด้านระบบองค์กร (Organization Practice) 4. ด้านสภาพแวดล้อมขององค์กร (Organization Climate) ซึง่ ปัจจัยดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดความรูส้ กึ ผูกพันของ พนักงาน (Feeling) แสดงออกเป็นพฤติกรรม (Behavior) วัดได้จากพฤติกรรมการปฏิบัติงาน และผลลัพธ์ของ พฤติกรรมการปฏิบตั งิ านต่างๆ เหล่านี้ ก่อให้เกิดผลงาน (Performance) ร่วมกันระหว่างบุคคล ทีมงาน และ องค์กรที่มีประสิทธิภาพ จากแนวคิดเรือ่ งระดับความผูกพัน ปัจจัยทีส่ ง่ ผลกับ ความผูกพัน ทีมผู้วิจัยมีกรอบแนวคิดการวิจัย แสดงดัง ภาพที่ 1

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

วิธีการวิจัย

ทีมผู้วิจัยด�ำเนินการดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาความหมาย แนวคิด และทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้อง กับความผูกพัน ปัจจัยทีส่ ง่ ผลกับความผูกพันของพนักงาน ในองค์กร

2. น�ำตัวแบบความผูกพันของพนักงานกลุ่มบริษัท ธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ ABC (ABC Furniture Group Employee Engagement Model) (Yusabai & Boonsong, 2017: 126) ดังแสดงในภาพที่ 2 มาเป็น ตัวแบบเบื้องต้นของการศึกษาวิจัยครั้งนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


126

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ภาพที่ 2 ABC Furniture Group Employee Engagement Model ที่มา: Yusabai & Boonsong (2017: 126) ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

3. ทีมผูว้ จิ ยั สัมภาษณ์เชิงลึกผูบ้ ริหาร 4 ท่าน เพือ่ เก็บ ข้อมูลเชิงคุณภาพในระดับกลยุทธ์ขององค์กรและระดับ หน่วยธุรกิจเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกและภายในองค์กร ทีม่ ผี ลกระทบต่อเป้าหมายการปฏิบตั งิ าน ประสิทธิภาพ การปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์กร 4. ทีมผูว้ จิ ยั สร้างแบบสอบถาม โดยการสังเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการเก็บและรวบรวมข้อมูล เพือ่ หาปัจจัยสร้างความผูกพันของพนักงาน ระดับความ ผูกพัน และผลงาน จัดท�ำเป็นแบบสอบถามระดับความ ผูกพันของพนักงานบริษัท NMO จ�ำกัด จ�ำนวน 66 ข้อ ค�ำถาม 5. ทีมผู้วิจัยน�ำแบบสอบถามฯ ไปให้ผู้บริหารของ บริษทั NMO จ�ำกัด จ�ำนวน 3 ท่าน และผูเ้ ชีย่ วชาญระดับ ปริญญาเอก 2 ท่าน เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้องด้านเนือ้ หา และภาษา (Content and Language Validity) น�ำคะแนน ของผูเ้ ชีย่ วชาญมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of consistency: IOC) ของข้อค�ำถามกับเนื้อหา ดังนี้ คะแนน +1 ส�ำหรับข้อที่แน่ใจว่า สอดคล้อง คะแนน 0 ส�ำหรับข้อที่ไม่แน่ใจ และคะแนน -1 ส�ำหรับข้อที่แน่ใจ ว่าไม่สอดคล้อง (Yusabai, 2013: 64) พิจารณาโดยใช้ ข้อค�ำถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไปเป็นข้อค�ำถามที่ ใช้ได้ ส่วนข้อค�ำถามทีม่ คี า่ IOC น้อยกว่า 0.5 ลงมา เป็น ข้อค�ำถามทีต่ อ้ งปรับปรุงหรือตัดออกพบว่า แบบสอบถามฯ มีคา่ IOC เท่ากับ 0.90 พิจารณาค่า IOC รายข้อค�ำถาม ของแบบสอบถามทุกข้อมีค่า IOC เกิน 0.5 จึงไม่มีข้อ ค�ำถามใดที่ต้องตัดออก 6. ทดสอบความเชือ่ มัน่ (Reliability Test) โดยทีม ผู้วิจัยน�ำแบบสอบถามที่ปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้กับ พนักงานที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คน เพือ่ น�ำข้อมูลมาทดสอบหาค่าความน่าเชือ่ ถือของ แบบสอบถามโดยใช้สตู รสัมประสิทธิแ์ อลฟาของครอนบาค

127

(Cronbach’s Alpha–Coefficient) ค่าความเชื่อมั่น ของแบบสอบถามเท่ากับ .921 7. ทีมผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้กลุ่มตัวอย่าง เป็นพนักงานบริษัท NMO จ�ำกัด จ�ำนวน 121 คน ท�ำแบบสอบถามระดับความผูกพันของพนักงานในช่วง เดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2560 8. การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติที่ใช้ในการประมวลผล ข้อมูลมีดังนี้ 8.1 การแสดงผลด้านข้อมูลทั่วไป เช่น สถานที่ ท�ำงาน อายุตามเจนเนอเรชัน่ อายุงาน และต�ำแหน่งงาน โดยใช้จ�ำนวน และร้อยละ (Percentage) 8.2 การแสดงผลลัพธ์ดา้ นปัจจัยสร้างความผูกพัน (Engagement Drivers) ระดับความผูกพัน (Engagement Scores) และผลงาน (Performance) โดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean หรือ x) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) 8.3 การหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสร้างความ ผูกพัน (Engagement Drivers) กับระดับความผูกพัน (Engagement Scores) และระหว่างระดับความผูกพัน (Engagement Scores) กับผลงาน (Performance) โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson Correlation) การพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ โดยทัว่ ไปอาจใช้เกณฑ์ดงั นี้ (Hinkle, 1998: 118 cited in Anusirikul, 2014: 33-34) ค่า (r) ระดับของความสัมพันธ์ 0.90-1.00 มีความสัมพันธ์กันสูงมาก 0.70-0.90 มีความสัมพันธ์กันในระดับสูง 0.50-0.70 มีความสัมพันธ์กนั ในระดับปานกลาง 0.30-0.50 มีความสัมพันธ์กันในระดับต�่ำ 0.00-0.30 มีความสัมพันธ์กันในระดับต�่ำมาก

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


128

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ผลการวิจัย

1. ข้อมูลทั่วไปของพนักงานบริษัท NMO จ�ำกัด แสดงได้ตามตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลทัว่ ไปของพนักงานบริษทั NMO จ�ำกัด รายละเอียด 1. สถานที่ทำ� งาน สุขุมวิท กิ่งแก้ว 2. ช่วงอายุตามเจนเนอเรชั่น (Generation) Baby Boomer (อายุตั้งแต่ 52 ปีขึ้นไป) Generation X (อายุ 37-51 ปี) Generation Y (อายุต�่ำกว่า 37 ปี) 3. อายุงาน น้อยกว่า 1 ปี 1-3 ปี 3-5 ปี 5-10 ปี มากกว่า 10 ปี 4. ต�ำแหน่งงาน ระดับบังคับบัญชา ระดับปฏิบัติการ

จ�ำนวน ร้อยละ (คน) (%) 64 57

52.9 47.1

3

2.5

29

24

89

73.6

37 27 19 25 13

30.6 22.3 15.7 20.7 10.7

31 90

25.6 74.4

จากตารางแสดงข้อมูลทัว่ ไปของพนักงานทีต่ อบ แบบสอบถามทั้งหมด 121 คน พบว่า 1.1 สถานที่ท�ำงาน พนักงานท�ำงานที่สุขุมวิท 64 คน (ร้อยละ 52.9) และกิง่ แก้ว 57 คน (ร้อยละ 47.1)

1.2 ช่วงอายุตามเจนเนอเรชัน่ พนักงานส่วนใหญ่ อยู่ใน Generation Y 89 คน (ร้อยละ 73.6) รองลงมา Generation X 29 คน (ร้อยละ 24) และ Baby Boomer 3 คน (ร้อยละ 2.5) ตามล�ำดับ 1.3 อายุงาน พนักงานส่วนใหญ่มีอายุงานน้อย กว่า 1 ปี 37 คน (ร้อยละ 30.6) รองลงมาคือ อายุงาน 1-3 ปี 27 คน (ร้อยละ 22.3) อายุงาน 5-10 ปี 25 คน (ร้อยละ 20.7) อายุงาน 3-5 ปี 19 คน (ร้อยละ 15.7) และอายุงานมากกว่า 10 ปี 13 คน (ร้อยละ 10.7) ตามล�ำดับ 1.4 ต�ำแหน่งงาน พนักงานอยูใ่ นระดับปฏิบตั กิ าร 90 คน (ร้อยละ 74.4) และระดับบังคับบัญชา 31 คน (ร้อยละ 25.6) 2. ปัจจัยสร้างความผูกพันทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน ลักษณะงาน ด้านบุคคลและสังคมในองค์กร ด้านระบบ องค์กร และด้านสภาพแวดล้อมขององค์กร รวมทัง้ ระดับ ความผูกพัน และผลงานในระดับบุคคล ระดับทีมงาน และระดับองค์กร แสดงดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยปัจจัยสร้างความผูกพัน 4 ด้าน ระดับความผูกพัน และผลงานของพนักงาน Total (n = 121) Topic X S.D. Job Characteristics 3.98 .45 People and Social 4.01 .49 Organization Practice 3.70 .51 Organization Climate 3.94 .50 Engagement Score 4.13 .46 Individual Performance 4.08 0.51 Team Performance 4.03 0.52 Business Performance 3.93 0.57

ระดับ ความ คิดเห็น มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

จากตารางพบว่า ปัจจัยสร้างความผูกพันทัง้ หมด อยู่ในระดับมาก ปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านบุคคล และสังคมในองค์กร (People and Social) (x = 4.01, S.D. = .49) รองลงมาคือ ด้านลักษณะงาน (Job Characteristics) (x = 3.98, S.D. = .45) ด้านสภาพแวดล้อม ขององค์กร (Organization Climate) (x = 3.94, S.D. = .50) และด้านระบบองค์กร (Organization Practice) (x = 3.70, S.D. = .51) ตามล�ำดับ ค่าเฉลีย่ ระดับความ ผูกพัน (Engagement Score) มีระดับความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก (x = 4.13, S.D. = .46) ส�ำหรับด้าน

129

ผลงาน (Performance) มีคา่ เฉลีย่ ของระดับความคิดเห็น อยู่ในระดับมากทั้งหมด โดยที่มีค่าเฉลี่ยด้านผลงาน ระดับบุคคล (Individual Performance) สูงสุด (x = 4.08, S.D. = .51) รองลงมาคือ ระดับทีมงาน (Team Performance) (x = 4.03, S.D. = .52) และระดับ องค์กร (Business Performance) (x = 3.93, S.D. = .57) ตามล�ำดับ 3. การหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสร้างความ ผูกพัน (Engagement Drivers) กับระดับความผูกพัน (Engagement Score) แสดงดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสร้างความผูกพัน (Engagement Drivers) กับระดับความผูกพัน (Engagement Scores) Engagement Drivers Job Characteristics People and Social Organization Practice Organization Climate

Engagement Scores Pearson Correlation Sig. .664 .000** .534 .000** .700 .000** .659 .000**

ระดับความสัมพันธ์ ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

หมายเหตุ: ** หมายถึง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 จากตารางพบว่า ปัจจัยสร้างความผูกพันทัง้ หมด มีค่าความสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลางและเป็นไปใน ทิศทางบวก โดยมีคา่ ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านระบบ องค์กรสูงสุด (r = .700) ส�ำหรับปัจจัยด้านอืน่ ๆ เรียงตาม ระดับค่าความสัมพันธ์จากมากไปน้อย ได้แก่ ปัจจัยด้าน ลักษณะงาน (r = .664) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของ

องค์กร (r = .659) และปัจจัยด้านบุคคลและสังคมของ องค์กร (r = .534) ตามล�ำดับ 4. การหาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความผูกพัน (Engagement Scores) กับผลงาน (Performance) แสดงดังตารางที่ 4

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


130

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตารางที่ 4 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างระดับความผูกพัน (Engagement Scores) กับผลงาน (Performance) Performance รายละเอียด

Individual Performance

Team Performance

Business Performance

Pearson Sig. ระดับความ Pearson Sig. ระดับความ Pearson Sig. ระดับความ Correlation สัมพันธ์ Correlation สัมพันธ์ Correlation สัมพันธ์

Engagement Scores

.678

.000** ปานกลาง

.538

.000** ปานกลาง

.545

.000** ปานกลาง

หมายเหตุ: ** หมายถึง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 จากตารางพบว่า ค่าความสัมพันธ์ระหว่างความ ผูกพันกับผลงานของพนักงานบริษทั NMO จ�ำกัด อยูใ่ น ระดับปานกลางทัง้ หมด และเป็นไปในทิศทางบวก โดยที่ ค่าความสัมพันธ์ระหว่างผลงานระดับบุคคลมีคา่ สูงทีส่ ดุ (r = .678) รองลงมาคือ ระดับองค์กร (r = .545) และ ระดับทีมงาน (r = .538) ตามล�ำดับ

สรุปและอภิปรายผล

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสร้างความผูกพัน ระดับความผูกพัน และผลงานของพนักงาน: กรณีศกึ ษา บริษัท NMO จ�ำกัด พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงาน บริษทั NMO จ�ำกัด ทีต่ อบแบบสอบถามทัง้ หมด 121 คน ท�ำงานที่สาขาสุขุมวิทร้อยละ 52.9 และสาขากิ่งแก้ว ร้อยละ 47.1 พนักงานส่วนใหญ่อยู่ใน Gen Y ร้อยละ 73.6 รองลงมา Gen X ร้อยละ 24 และ Baby Boomer ร้อยละ 2.5 ตามล�ำดับ พนักงานส่วนใหญ่มีอายุงาน น้อยกว่า 1 ปี ร้อยละ 30.6 รองลงมา อายุงาน 1-3 ปี ร้อยละ 22.3 อายุงาน 5-10 ปี ร้อยละ 20.7 อายุงาน 3-5 ปี ร้อยละ 15.7 และอายุงานมากกว่า 10 ปี ร้อยละ 10.7 ตามล�ำดับ เมือ่ พิจารณาต�ำแหน่งงานพบว่า เป็นระดับ ปฏิบัติการร้อยละ 74.4 และระดับบังคับบัญชาร้อยละ 25.6 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสร้างความผูกพันทั้ง 4 ด้าน ระดับความผูกพันและผลงานของพนักงาน จากการศึกษา ระดับความคิดเห็นของพนักงานต่อปัจจัยสร้างความ

ผูกพันของพนักงาน พบว่า ปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านบุคคลและสังคมในองค์กร (x = 4.01) รองลงมาคือ ด้านลักษณะงาน (x = 3.98) ด้านสภาพแวดล้อมของ องค์กร (x = 3.94) และด้านระบบองค์กร (x = 3.70) ตามล�ำดับ ค่าเฉลี่ยระดับความผูกพันอยู่ในระดับมาก (x = 4.13) ส�ำหรับด้านผลงานพบว่า ระดับบุคคลมีคา่ เฉลีย่ สูงสุด (x = 4.08) รองลงมาคือ ระดับทีมงาน (x = 4.03) และระดับองค์กร (x = 3.93) ตามล�ำดับ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสร้าง ความผูกพันกับระดับความผูกพันพบว่า ค่าความสัมพันธ์ ของปัจจัยสร้างความผูกพันทัง้ หมดอยูใ่ นระดับปานกลาง และเป็นไปในทิศทางบวก โดยมีค่าความสัมพันธ์ของ ปัจจัยด้านระบบองค์กรสูงสุด (r = .700) ส่วนปัจจัยด้าน อื่นๆ เรียงล�ำดับตามค่าความสัมพันธ์จากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านลักษณะงาน (r = .664) ด้านสภาพแวดล้อม ขององค์กร (r = .659) และด้านบุคคลและสังคมในองค์กร (r = .534) ตามล�ำดับ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความ ผูกพันกับผลงานพบว่า ค่าความสัมพันธ์ระหว่างระดับ ความผูกพันกับผลงานของพนักงานอยูใ่ นระดับปานกลาง ทัง้ หมด และเป็นไปในทิศทางบวก โดยค่าความสัมพันธ์ ระหว่างผลงานกับระดับบุคคลสูงสุด (r = .678) รองลงมา คือ ระดับองค์กร (r = .545) และระดับทีมงาน (r = .538) ตามล�ำดับ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

อภิปรายผล

เมื่อศึกษาปัจจัยสร้างความผูกพัน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านลักษณะงาน ด้านบุคคลและสังคมในองค์กร ด้านระบบ องค์กร และด้านสภาพแวดล้อมขององค์กร รวมทัง้ ระดับ ความผูกพันและผลงานในระดับบุคคล ระดับทีมงาน และ ระดับองค์กรพบว่า ปัจจัยด้านบุคคลและสังคมในองค์กร ของพนักงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (x = 4.01) รองลงมาคือ ด้านลักษณะงาน (x = 3.98) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย ของ Saejueng (2009) ที่ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความ ผูกพันองค์กรของบุคลากร สาํ นักวิทยบริการ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น โดยพบว่า ปัจจัยทีบ่ คุ ลากรมีระดับความคิดเห็น มากที่สุดคือ ปัจจัยด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน รองลงมาคือ ปัจจัยด้านเอกลักษณ์ของงาน และสอดคล้อง กับงานวิจยั ของ Lukthong (2014) ทีศ่ กึ ษาความผูกพัน ต่อองค์กรของพนักงานบริษัทผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรม ยานยนต์แห่งหนึง่ ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัด ชลบุรี พบว่า ค่าเฉลีย่ ความคิดเห็นด้านทัศนคติตอ่ เพือ่ น ร่วมงานและองค์กรสูงทีส่ ดุ รวมทัง้ สอดคล้องกับแนวคิด ของ Meyer & Allen (1997 cited in Soipetch, 2014) ที่กล่าวถึงองค์ประกอบของความผูกพันของ พนักงานต่อองค์กร ซึ่งพบว่า 2 ใน 3 องค์ประกอบนั้น คือ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความผูกพันด้านความรู้สึก ได้แก่ อิสระในงาน ลักษณะเฉพาะของงาน ความสําคัญของงาน และความท้าทายของงาน และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความ ผูกพันด้านบรรทัดฐานทางสังคม ได้แก่ ความสัมพันธ์ตอ่ ผูบ้ งั คับบัญชาและเพือ่ นร่วมงานเป็นความผูกพันทางจิตใจ ทีเ่ กีย่ วข้องกับอารมณ์และความรูส้ กึ ในทางบวก ส�ำหรับ ค่าเฉลี่ยระดับความผูกพันอยู่ในระดับมาก (x = 4.13) แสดงว่า พนักงานมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน มีการประสานงานที่ดี ยึดมั่นผูกพันกัน ทุม่ เททาํ งานกับองค์กร ปรารถนาทีจ่ ะอยูก่ บั องค์กรต่อไป ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสร้างความผูกพันกับ ความผูกพันของพนักงานบริษทั NMO จ�ำกัด จากการศึกษา พบว่า ปัจจัยสร้างความผูกพันทัง้ หมดมีคา่ ความสัมพันธ์ อยู่ในระดับปานกลาง และเป็นไปในทิศทางบวก โดยมี

131

ค่าความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านระบบองค์กรสูงสุด นัน่ แสดง ให้เห็นว่า ระบบต่างๆ ในองค์กรมีสว่ นท�ำให้พนักงานเกิด ความผูกพัน ถ้าบริษัทมีระบบงานที่ดี ค่าตอบแทนที่ เหมาะสม มีความก้าวหน้าในงาน ระบบการพัฒนา ระบบ บริหารผลงาน ระบบการชืน่ ชมผลงาน ระบบการสนับสนุน การท�ำงานที่มีประสิทธิภาพก็จะสามารถยกระดับความ ผูกพันให้สูงขึ้นได้อีก ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความผูกพันกับผลงาน พบว่า ค่าความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันกับผลงาน ของพนักงานอยูใ่ นระดับปานกลางทัง้ หมดและเป็นไปใน ทิศทางบวก โดยค่าความสัมพันธ์ระหว่างผลงานกับ ระดับบุคคลสูงสุด (r = .678) รองลงมาคือ ระดับองค์กร (r = .545) และระดับทีมงาน (r = .538) ตามล�ำดับ เนือ่ งจากกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจของกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั NMO จ�ำกัด จะให้ความส�ำคัญกับการสร้างยอดขาย และผลก�ำไรมาเป็นอันดับต้นๆ โดยเจาะไปที่การสร้าง ผลงานของพนักงานในหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจหลัก เช่น ผู้จัดการผลิตภัณฑ์ พนักงานขาย เป็นต้น ส�ำหรับ หน่วยงานสนับสนุนธุรกิจจะเน้นเรือ่ งการท�ำงานทีถ่ กู ต้อง ตามกระบวนการท�ำงานทีว่ างไว้ เพือ่ ให้ผลการด�ำเนินธุรกิจ บรรลุเป้าหมายตามแผนกลยุทธ์ของบริษัทในแต่ละปี โดยมีการติดตามผลการด�ำเนินงานทุกเดือนผ่านการประชุม ต่างๆ ได้แก่ การประชุมพนักงานขาย การประชุมทบทวน ผลการด�ำเนินงาน และการประชุมระดับหัวหน้าหน่วยงาน เป็นต้น ดังนั้นพนักงานที่มีความผูกพันกับองค์กรจะ ทุม่ เทการท�ำงานเพือ่ ให้ผลงานของตัวเองออกมาดี ท�ำให้ ผลประกอบการของบริษัทดีด้วยเช่นกัน การสร้างความผูกพันให้เกิดกับพนักงานเป็นการสร้าง ความตระหนักและการรับรู้สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ เพื่อให้พนักงานมีความมุ่งมั่นทุ่มเทพลังกายและพลังใจ ในการท�ำงาน พัฒนาตนเอง รวมทัง้ สามารถท�ำงานร่วมกับ เพือ่ นร่วมงาน เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อองค์กร รวมทัง้ เป็นการธ�ำรงรักษาพนักงานที่มีสมรรถนะในสายอาชีพ ที่เหมาะสมกับธุรกิจ มีศักยภาพในการสร้างผลงานให้ คงอยู่กับองค์กรตลอดไป

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


132

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

References

Allen, N. J. & Meyer, J. P. (1990). The Measurement and Antecedents of Affective, Continuance and Normative to the Organizations Commitment to the Organizations. Journal of Occupational Psychology, 63(1), 1-18. Allen, N. J., Meyer, J. P. & Smith, C. A. (1993). Commitment to organizations and occupations: Extension and test of a three component conceptualization. Journal of Applied Psychology, 78(4), 538-551. Anusirikul, N. (2014). Factors affecting employee’s relation in turbo garment company limited. Independent study Master of Business Administration, Nation University. [in Thai] Buchanan, H. B. (1974). Building organization commitment the socialization of managers in work organization. Administrative Science Quarterly, 19, 533-546. Lukthong, T. (2014). Organizational commitment among employees working for an automotive parts company in amata nakorn industrial estate, chonburi province. Master of Public Administration Program in public and private management, Graduate School of Public Administration, Burapha University. [in Thai] Luthans, F. (1992). Organizational Behavior (6th ed.). New York: McGraw-Hill. Mowday, R. T., Porter, L. W. & Steers, R. M. (1983). Employee Organizaton Linkage: the psychology of Commitment absenteeism and turnover. New York: Academic Press. Robbins, S. P. (2005). Organizational Behavior: Concepts, controversies, and applications (11th ed.). Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall. Saejueng, T. (2009). Factors affecting organizational affiliation of staff in instructional resource center khon kaen university. Independent study Master of Education Program in Educational Administration, Faculty of Education, Khonkaen University. [in Thai] Soipetch, P. (2014). Employee engagement: a case Study of employees working in telecommunication and information technology company–engineering department in Bangkok. Master of Business Administration, Nation University. [in Thai] Yusabai, R. & Boonsong, K. (2017). The comparison of employee engagement level by generation: case study in business furniture group company ABC. Panyapiwat Journal, 9(1), 121-134. [in Thai] Yusabai, R. (2013). Development of learning dynamic group model for promoting diabetes mellitus patient’s health behaviors. Doctor of philosophy program in Technology Educational Department, Faculty of Technical Education, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. [in Thai]

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

133

Name and Surname: Rueankwan Yusabai Highest Education: Doctor of Philosophy (Technical Education Technology) Technological Education Department, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field of Expertise: Organization Development and Quality Management Address: 85/1 Moo 2, Chaengwattana Rd., Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120 Name and Surname: Kanchaporn Sonmanee Highest Education: Doctor of Business Administration Program, Ramkhamhaeng University University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field of Expertise: Organization Management Address: 85/1 Moo 2, Chaengwattana Rd., Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


134

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

การธ�ำรงรักษาพนักงานกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายที่มีความสามารถสูง ในธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารแบบครบวงจร ในเขตกรุงเทพมหานคร RETENTION OF TALENT’S GENERATION Y EMPLOYEES IN THE FOOD INDUSTRY BUSINESS, BANGKOK วิลัย จันโต1 และธนาสิทธิ์ เพิ่มเพียร2 Vilai Chanto1 and Thanasit Phoemphian2 1,2คณะวิทยาการจัดการ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 1,2Faculty of Management Sciences, Panyapiwat Institute of Management

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยการธ�ำรงรักษาพนักงานกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายที่มี ความสามารถสูงในธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารครบวงจร ในเขตกรุงเทพมหานคร (2) เพือ่ ได้แนวทางการธ�ำรงรักษาพนักงาน กลุม่ เจนเนอเรชัน่ วายทีม่ คี วามสามารถสูงทีส่ อดคล้องกับความต้องการขององค์กรในธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารครบวงจร ในเขตกรุงเทพมหานคร วิธีการด�ำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะดังนี้ ระยะที่ 1 เพื่อศึกษาปัจจัยการธ�ำรงรักษา พนักงานที่มีความสามารถสูงกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารครบวงจร ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวนทั้งสิ้น 20 คน โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ระยะที่ 2 น�ำเอาปัจจัยการธ�ำรงรักษาพนักงานที่มีความ สามารถสูง (talent) กลุม่ เจนเนอเรชัน่ วาย (Generation Y) ทีไ่ ด้จากระยะที่ 1 มาสร้างเป็นแบบสอบถาม ตรวจสอบ คุณภาพเครือ่ งมือโดยการตรวจสอบความเทีย่ งตรง (Validity) โดยให้ผเู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบ จ�ำนวน 5 ท่าน และการหา ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้ Cronbach’s alpha ได้ค่าเท่ากับ 0.99 ผู้วิจัยเก็บข้อมูลกับพนักงานที่มี ความสามารถสูง (Talent) กลุม่ เจนเนอเรชัน่ วาย จ�ำนวน 242 คน ส่วนการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผูว้ จิ ยั ใช้สถิตเิ ชิงพรรณนา ค่าเฉลีย่ (Mean) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ระยะที่ 3 เพือ่ หาแนวทางการธ�ำรงรักษาพนักงาน ทีม่ คี วามสามารถสูงกลุม่ เจนเนอเรชัน่ วาย กลุม่ เป้าหมายคือ ผูบ้ ริหารในระดับการก�ำหนดกลยุทธ์และนโยบายขององค์กร จ�ำนวน 10 คน ด้วยวิธกี ารสนทนากลุม่ (Focus group) ผลการวิจยั จากระยะที่ 1 พบว่า ปัจจัยการธ�ำรงรักษาพนักงาน ทีม่ คี วามสามารถสูง กลุม่ เจนเนอเรชัน่ วาย ทัง้ หมด 7 ปัจจัย ดังนี้ 1) ค่าตอบแทนและผลประโยชน์ 2) ผูบ้ งั คับบัญชา หัวหน้างาน และเพือ่ นร่วมงาน 3) ลักษณะงานทีท่ ำ� 4) โอกาสในการเรียนรูแ้ ละฝึกอบรม 5) สภาพแวดล้อมการท�ำงาน 6) นโยบายขององค์กรและภาพลักษณ์ขององค์กร 7) โอกาสความก้าวหน้าทางสายอาชีพ ส่วนผลการวิจัยระยะที่ 2 พบว่า ปัจจัยการธ�ำรงรักษาพนักงานที่มีความสามารถสูงกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายที่มีค่าเฉลี่ยเรียงจากมากที่สุดไปน้อย คือ ความก้าวหน้าในอาชีพ นโยบายองค์กรและภาพลักษณ์ ลักษณะงานที่ท�ำ โอกาสในการเรียนรู้และฝึกอบรม สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ค่าตอบแทนและผลประโยชน์ ผูบ้ งั คับบัญชา หัวหน้าและเพือ่ นร่วมงาน ส่วนผลการวิจยั Corresponding Author E-mail: sanuzea3@gmail.com


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

135

ระยะที่ 3 แนวทางการธ�ำรงรักษาพนักงานทีม่ คี วามสามารถสูงกลุม่ เจนเนอเรชัน่ วาย ประกอบด้วยการปรับปรุงระบบ บริหารค่าตอบแทนให้มคี วามเหมาะสมกับหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ผูบ้ งั คับบัญชาควรเปิดโอกาสให้ลกู น้องได้แสดง ความคิดเห็นในการท�ำงานอย่างเต็มที่ องค์กรควรสร้างบรรยากาศในการท�ำงานที่เอื้อต่อการเปิดกว้าง ให้อิสระทาง ความคิดแก่คนเก่ง ค�ำส�ำคัญ: การธ�ำรงรักษาพนักงานที่มีความสามารถสูง พนักงานที่มีความสามารถสูง เจนเนอเรชั่นวาย

Abstract

This research objective are (1) To study the factors to maintain Generation G employees with high ability in the food industry in Bangkok. (2) Guidelines to retain talent’s Generation Y employees that are talent in the food business industry in Bangkok. The research method is divided into 3 phases, as follows: Phase 1: To study the factors to retain employee talent group Generation Y in the food industry in Bangkok. The sample size was 20 persons by in-depth interviews. Phase 2: To create a questionnaire from the factors from phase 1. To check validity quality by 5 experts and find reliability by using the Cronbach’s alpha (0.99). The researcher collected data from 242 people. The data analysis used descriptive statistics: mean and standard deviation. Phase 3: Guidelines to retain Generation Y employees that were talent in the food business industry in Bangkok. The target group who were the level of strategy and policy of the organization of 10 people by focus group. Finding from phase 1, I found that the factors to retain the talent’s Generation Y concluded 7: 1) compensation and benefits 2) supervisors and colleagues 3) tasks 4) learning opportunities 5) work environment 6) corporate policy 7) career advancement opportunities. The research resulted, phase 2, I found that the factors retained talent, the means are from the highest to the lowest were: career advancement opportunities, corporate policies, tasks, learning opportunities, working environment, compensation and benefits, supervisors and colleagues. The finding of phase 3 guidelines to retain talent’s generation Y employees to: Improve the compensation management system that were appropriated to the duties and responsibilities. Open ideas and comments in their work and create work environment for freedom of thinking. Keywords: Talent Retention, Talent, Generation Y

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


136

บทน�ำ

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบนั เป็นกิจกรรม ทีท่ า้ ทายอย่างมาก ผูบ้ ริหารและนักจัดการทรัพยากรมนุษย์ จึงมีความจ�ำเป็นในการปรับเปลีย่ นบทบาท และกิจกรรม ทีท่ ำ� อยูจ่ ากเดิม ทีม่ งุ่ เน้นการปฏิบตั กิ ารในกรอบเดิมไปสู่ ระดับกลยุทธ์เพื่อก�ำหนดยุทธศาสตร์ถึงจะสามารถเพิ่ม ขีดความส�ำเร็จให้เกิดขึ้นกับองค์กรได้ (Ulrich, 1997) หลายองค์กรในอดีตมีแนวความคิดและความเชื่อว่า เครื่องจักร สินทรัพย์ และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ คือ สิ่งที่ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันให้กบั องค์กร แต่ในยุค ปัจจุบันพบว่า ทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสามารถสูง (Talent) ที่เป็นตัวขับเคลื่อนและสร้างความได้เปรียบ ในการแข่งขันให้กับองค์กรส่งผลให้องค์กรในปัจจุบัน ต้องเป็นฝ่ายวิ่งหาคน Axelrod, Michaels & Hand field-Jones (2001) ให้ขอ้ มูลว่า ในสภาวะปัจจุบนั องค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชนได้สนใจกับการพัฒนาทรัพยากร บุ ค คลที่ มี ค วามสามารถมากขึ้ น เพื่ อ เพิ่ ม สมรรถนะ ขีดความสามารถให้กับองค์กร เนื่องด้วยการแข่งขัน ทางธุรกิจในประเทศไทยหรือทั่วโลกนั้นมีการแข่งขัน ที่เพิ่มมากขึ้นทุกวัน ผู้ประกอบการธุรกิจต่างๆ ทั้งด้าน การผลิตและบริการไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดใดก็ตาม ย่อมต้องสร้างหนทางการน�ำไปสูก่ ารอยูร่ อดในการท�ำธุรกิจ หากธุรกิจใดหยุดนิ่ง การสร้างแรงจูงใจในการท�ำงาน ทั้งที่เป็นรูปแบบของเงินและที่ไม่ใช่ในรูปแบบของเงิน ทีส่ ร้างความพึงพอใจให้กบั พนักงานในการท�ำงานส่งผลให้ องค์กรได้รับการท�ำงานหรือผลผลิตที่มีคุณภาพ ซึ่งหาก วิเคราะห์จากองค์ประกอบส�ำคัญของความได้เปรียบ ในการแข่งขันแล้วจะพบว่า พนักงานทีม่ คี วามสามารถสูง (Talent) มีความส�ำคัญและเป็นแหล่งที่มาของความ ได้เปรียบในการแข่งขันอย่างแท้จริง Rueff & Stringer (2006) มีข้อมูลสนับสนุนว่า คนเก่งสามารถเพิ่มมูลค่า ทางการตลาด (Market value) ให้กับองค์กรได้ถึง ร้อยละ 8 ในบริบทเดียวกัน Somaya & Williamson (2008) ให้ข้อมูลว่า การสูญเสียคนเก่งหรือพนักงานที่มี ความสามารถสูง (Talent) ท�ำให้เกิดค่าใช้จา่ ยในการสรรหา

คัดเลือกและฝึกอบรมพนักงานใหม่เพิ่มขึ้น ซึ่งตีค่าเป็น ตัวเงินสูงถึงร้อยละ 100-150 ของเงินเดือนพนักงานที่ ลาออกไป บริษัท PwC Consulting ประเทศไทยเผยผล การศึกษาพบว่า จ�ำนวนคนวัยท�ำงานยุคเจนเนอเรชัน่ เอ็กซ์ (Generation X) ยุคเจนเนอเรชัน่ วาย (Generation Y) ของบริษทั จะมีสดั ส่วนถึงร้อยละ 80 ของแรงงานทัง้ หมด ในอีก 3 ปีข้างหน้าขึ้นแท่นการเป็นผู้บริหารแทนคนยุค Baby Boomers คือ พนักงานที่มีความสามารถสูง (Talent) กลุม่ เจนเนอเรชัน่ วาย (Generation Y) และได้ เปิดเผยผลการส�ำรวจเรือ่ ง Talent Challenge Adapting to growth ซึ่งเก็บข้อมูลจากผู้บริหาร (CEO) กว่า 1,344 ราย ใน 68 ประเทศพบว่า ปัญหาการขาดแคลน แรงงานที่มีทักษะและผลสัมฤทธิ์สูงกลายเป็นปัญหา ระดับโลก ผูบ้ ริหารระดับสูง 63% ทัว่ โลกระบุวา่ ปัญหา การขาดแคลนลูกจ้างทีม่ ที กั ษะ ความสามารถในระดับสูง (High skill employees) ซึ่งตรงกับประเภทของงาน กลายเป็นความเสี่ยงอันดับต้นๆ ในการด�ำเนินธุรกิจ (PwC, 2013) ในธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารครบวงจร ปัจจัยด้าน การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์ซึ่งเป็นปัจจัยภายในที่ สะท้อนถึงความรู้สึกมุ่งมั่น ทุ่มเท ให้ได้รับผลประเมิน อยู่ในระดับดีมากที่ผ่านมา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริหารทราบ และเข้าใจถึงความรูส้ กึ ของพนักงานทีม่ คี วามสามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) นี้ ในเชิงบวก และรับทราบถึงข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร โดยปัญหาที่ เกิดขึ้นและเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ต้องแก้ไขให้ถูกจุดที่สุด คือ ปัญหาการลาออกของพนักงานที่มีความสามารถสูง กลุ่มเจนเนอเรชั่นวายท�ำงานได้ไม่นานก็ลาออก และ ปัญหาก็คือ กว่าบริษัทจะหาพนักงานใหม่มาทดแทนได้ ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เพราะจะต้องหาคุณสมบัติที่เหมาะสม ตามความต้องการในต�ำแหน่งงานนั้นๆ การที่องค์กรมี พนักงานเข้าออกอยู่เป็นประจ�ำนั้นส่งผลเสียต่อองค์กร มากมาย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยต้องการศึกษา ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการธ�ำรงรักษาพนักงานทีม่ คี วามสามารถ (Talent) กลุม่ เจนเนอเรชัน่ วาย (Generation Y) เพราะ พนักงานทีม่ คี วามสามารถสูงเป็นปัจจัยส�ำคัญประการหนึง่ ที่ท�ำให้องค์กรเกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน ควรให้ ความส�ำคัญกับปัจจัยการธ�ำรงรักษาพนักงานที่มีความ สามารถสูง และป้องกันการสูญเสียคนเก่งหรือพนักงาน ที่มีความสามารถสูงไปจากองค์กร

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพือ่ ศึกษาปัจจัยการธ�ำรงรักษาพนักงานทีม่ คี วาม สามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ของธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารครบวงจร ในเขต กรุงเทพมหานคร 2. เพือ่ ได้แนวทางการธ�ำรงรักษาพนักงานทีม่ คี วาม สามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ที่สอดคล้องกับความต้องการองค์กรของธุรกิจ อุตสาหกรรมอาหารครบวงจร ในเขตกรุงเทพมหานคร

ทบทวนวรรณกรรม

เจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) คือ กลุ่มคนที่ เกิดในช่วง ปี 1978-2000 (พ.ศ. 2521-2543) ก�ำลังเริม่ เข้าสูโ่ ลกแห่งการท�ำงานของยุคสารสนเทศ เป็นกลุม่ คน ที่มีอ�ำนาจซื้อสูง และเมื่อผนวกเข้ากับยุคดิจิตอลท�ำให้ คนกลุ่มนี้มีความต้องการและมีความคาดหวังสูง ชอบ วางแผนการใช้ชีวิตในอนาคต (Schroer, 2012) และ เป็นกลุม่ ทีส่ มุ่ เสีย่ งต่อการโยกย้ายงานตามความต้องการ ของตนเองโดยไม่ค�ำนึงถึงผลเสียที่ตามมา มักเอาแต่ใจ และดือ้ รัน้ ไม่ยอมฟังค�ำแนะน�ำหรือการสอนงาน ในอเมริกา ได้เรียกคนกลุม่ นีว้ า่ “กลุม่ ทีต่ อ้ งให้ความใส่ใจและบ�ำรุง รักษาไว้อย่างดี” (Pampered and High maintenance) เพราะทางอเมริกามองว่า กลุม่ คนเหล่านีม้ พี ลังขับเคลือ่ น ต่อองค์กรสูง หากองค์กรมีปจั จัยทีต่ อบสนองถูกต้องตรงใจ จะท�ำให้องค์กรประสบความส�ำเร็จได้รวดเร็ว และพร้อม ต่อการเปลี่ยนแปลงได้ดี (Cal Newport, 2012)

137

Mumford (2000) ได้ให้คาํ จาํ กัดความของพนักงาน ที่มีความสามารถสูง (Talent) ไว้ว่า เป็นกลุ่มผู้นําหรือ ผู้บริหารที่ช่วยให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ และได้รับผลประกอบการที่ดีเยี่ยม ด้วยการใช้ทักษะ และความสามารถทางด้านการติดต่อสื่อสาร การคิด เชิงกลยุทธ์ สัญชาตญาณ การเป็นนักบริหาร ภาวะผูน้ าํ และความรู้ในงาน Cambridge University Press (2005) อธิบายว่า พนักงานที่มีความสามารถสูง (Talent) หมายถึง ความ สามารถของคนคนนั้นตามธรรมชาติที่ใช้ความสามารถ ทําในสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ดีโดยเฉพาะสิ่งที่ไม่เคยถูกสอน และงานวิจัยของ Tower Perrin พบว่า ปัจจัยที่ สามารถธ�ำรงรักษาพนักงานทีม่ คี วามสามารถสูง (Talent) ให้คงอยู่กับองค์กรจะอยู่ในรูปของการพัฒนาทักษะ ความสามารถของพนักงาน ความเข้าใจความต้องการ หรือความคาดหวังของคนเก่ง การจ่ายค่าตอบแทนที่ แข่งขันได้ การเชือ่ มโยงโปรแกรมหรือระบบงาน บริหาร ทรัพยากรมนุษย์กบั เป้าหมายทางธุรกิจขององค์การ การมี ระบบสือ่ สารสองทางระหว่างความคาดหวังขององค์การ และความคาดหวังของพนักงาน (Berger, 2004) Samuel & Chipunza (2009) ได้วิจัยอิทธิพล ของปัจจัยจูงใจทั้งแบบภายในและภายนอก (Intrinsic and Extrinsic Motivation) ว่า มีผลต่อการธ�ำรงรักษา พนักงานมากน้อยเพียงใด พบว่า แรงจูงใจทั้งสองแบบ ต่างก็มีผลต่อการธ�ำรงรักษาพนักงาน โดยปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการธ�ำรงรักษาอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติคือ การฝึกอบรมและพัฒนางานที่ท้าทาย โอกาสในการคิด สร้างสรรค์อย่างอิสระและความมั่นคงในการท�ำงาน ส่วนแนวทางในการธ�ำรงรักษาพนักงานที่มีความ สามารถสูง (Talent) นัน้ Porter (2011) ได้เสนอแนะว่า ต้องค้นหาก่อนว่าใครเป็นผู้มีความสุขหรือไม่มีความสุข ในการท�ำงาน จากนั้นควรพูดคุยกันแบบตัวต่อตัวกับ พนักงานที่มีความสามารถสูง (Talent) โดยเน้นว่า ควร เป็นการพูดคุยกันอย่างไม่เป็นทางการ ซึง่ จะท�ำให้ได้ขอ้ มูล ที่แท้จริงออกมา ในขณะที่การจัดประชุมในหน่วยงาน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


138

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

อย่างสม�ำ่ เสมอก็จะเป็นอีกวิธใี ห้พนักงานทีม่ คี วามสามารถ สูง (Talent) ได้แสดงความรู้สึกหรือความคิดเห็นได้ สิ่งต่างๆ เหล่านี้ควรด�ำเนินการพร้อมๆ กับการให้ค่า ตอบแทนที่สมเหตุสมผล การสร้างมิตรภาพที่ดีต่อกัน และการชี้ให้เห็นถึงความส�ำเร็จที่จะเกิดขึ้น

วิธีการวิจัย

วิธกี ารด�ำเนินการวิจยั แบ่งออกเป็น 3 ระยะ เพือ่ ให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ดังนี้ ระยะที่ 1 เพื่อศึกษาปัจจัยการธ�ำรงรักษาพนักงาน ที่มีความสามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ในธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารครบวงจร ในเขตกรุ ง เทพมหานคร ผู ้ วิ จั ย เก็ บ ข้ อ มู ล จากกลุ ่ ม เป้าหมายคือ พนักงานที่มีความสามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) มีอายุตั้งแต่ 25-35 ปี มีอายุงาน 3 ปีขึ้นไป จ�ำนวน 20 คนจาก ทุกฝ่ายในองค์กร (ดังตารางที่ 1) ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ เชิงลึก (In-depth Interview) แนวทางการสัมภาษณ์ สร้างจากการทบทวนวรรณกรรม (Literature review) และน�ำไปตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 3 ท่าน ส่วนการวิเคราะห์ขอ้ มูลใช้การวิเคราะห์เชิงเนือ้ หา (Content analysis) ในการวิเคราะห์วาทกรรม (Discourse analysis) การจ�ำแนกข้อมูล (Typological Analysis) และการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Analytic induction) แล้วน�ำข้อมูลมาสรุปผลรวมกัน (Merge) เพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ระยะที่ 2 น�ำเอาปัจจัยการธ�ำรงรักษาพนักงานที่มี ความสามารถสูง (Talent) กลุม่ เจนเนอเรชัน่ วาย (Generation Y) ทีไ่ ด้จากระยะที่ 1 มาสร้างเป็นแบบสอบถาม และตรวจสอบความเทีย่ งตรงเชิงเนือ้ หา (Validity) โดยใช้ ผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 5 ท่าน และหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้ Cronbach’s alpha ได้ค่าเท่ากับ 0.99 จากนั้นเก็บข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดคือ พนักงานที่มีความสามารถสูง ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย ทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 25-35 ปี และมีอายุการท�ำงานตัง้ แต่ 6 เดือน

ขึ้นไป จ�ำนวน 242 คน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัย ใช้สถิตเิ ชิงพรรณนาหาค่าเฉลีย่ (Mean) และส่วนเบีย่ งเบน มาตรฐาน (Standard deviation) ระยะที่ 3 เพือ่ หาแนวการธ�ำรงรักษาพนักงานทีม่ คี วาม สามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ด้วยวิธกี ารสนทนากลุม่ (Focus group interview) กลุ่มเป้าหมายคือ ผู้บริหารในระดับการก�ำหนดกลยุทธ์ และนโยบายขององค์กร จ�ำนวน 10 คน ตารางที่ 1 พนักงานทีม่ คี วามสามารถสูง (Talent) กลุม่ เจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) หน่วยงาน สายปฏิบัติการ ช่างเทคนิค จ�ำนวน 2 คน คลังสินค้า จ�ำนวน 2 คน โรงงานเบเกอรี่ จ�ำนวน 2 คน โรงคั่วเมล็ดกาแฟ จ�ำนวน 2 คน ร้านกาแฟ จ�ำนวน 2 คน

หน่วยงาน สายสนับสนุน การตลาด จ�ำนวน 2 คน ขายและประชาสัมพันธ์ จ�ำนวน 2 คน จัดซื้อต่างประเทศ จ�ำนวน 2 คน จัดซื้อในประเทศ จ�ำนวน 2 คน ฝึกอบรม จ�ำนวน 2 คน

สรุปผลการวิจัยและการอภิปรายผล

ระยะที่ 1 ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสําคัญ (Key informants) โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับกลุม่ ตัวอย่างทัง้ หมด 20 คน สรุปปัจจัยในการธ�ำรงรักษา พนักงานทีม่ คี วามสามารถสูง (Talent) กลุม่ เจนเนอเรชัน่ วาย (Generation Y) ในธุรกิจอาหารแบบครบวงจร ใน เขตกรุงเทพมหานคร ได้ปัจจัยดังนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

1. ค่าตอบแทนและผลประโยชน์ (Compensation) 2. ผู้บังคับบัญชา หัวหน้างาน และเพื่อนร่วมงาน (People they work with) 3. ลักษณะงานที่ท�ำ (Type of work they) 4. โอกาสในการเรียนรู้และฝึกอบรม (Learning and training opportunity) 5. สภาพแวดล้อมการท�ำงาน (Work environment dimension) 6. นโยบายขององค์กรและภาพลักษณ์ขององค์กร (Corporate policy and corporate image) 7. โอกาสความก้าวหน้าทางสายอาชีพ (Career opportunities) ระยะที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปจั จัยการธ�ำรงรักษาพนักงานทีม่ คี วาม สามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) สรุปเป็นตารางได้ ดังนี้ ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ ความคิดเห็นในลักษณะงานของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยภาพรวม ปัจจัยการธ�ำรงรักษาพนักงาน ที่มีความสามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y)

X

ระดับ S.D. ความ คิดเห็น

1. ค่าตอบแทนและผลประโยชน์ 2. ผู้บังคับบัญชา หัวหน้า และ เพื่อนร่วมงาน 3. ลักษณะงานที่ทำ� 4. โอกาสในการเรียนรู้และ ฝึกอบรม 5. สภาพแวดล้อมการท�ำงาน 6. นโยบายขององค์กรและ ภาพลักษณ์ขององค์กร 7. ความก้าวหน้าในสายอาชีพ

4.25 4.23

.84 .83

มาก มาก

4.30 4.29

.75 .76

มาก มาก

4.28 4.31

.80 .71

มาก มาก

4.55

.56 มากที่สุด

รวม

4.32

.75

มาก

139

จากตารางพบว่า ปัจจัยการธ�ำรงรักษาพนักงานทีม่ ี ความสามารถสู ง (Talent) กลุ ่ ม เจนเนอเรชั่ น วาย (Generation Y) ที่มีค่าเฉลี่ยเรียงจากมากที่สุดไปน้อย คือ ความก้าวหน้าในอาชีพ นโยบายองค์กรและภาพลักษณ์ ลักษณะงานที่ท�ำ โอกาสในการเรียนรู้และฝึกอบรม สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ค่าตอบแทนและผลประโยชน์ และผู้บังคับบัญชา หัวหน้า และเพื่อนร่วมงาน ระยะที่ 3 แนวการธ�ำรงรักษาพนักงานที่มีความสามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ด้วย วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus group interview) กับ ผู้บริหารในระดับการก�ำหนดกลยุทธ์และนโยบายของ องค์กร ได้แนวทางดังต่อไปนี้ 1. ผูบ้ งั คับบัญชา หัวหน้า และเพือ่ นร่วมงาน (People they work with) ควรให้ความสําคัญในเรือ่ งการเปิดโอกาส ให้ได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ แสดงความคิดเห็น ในการสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ และให้กำ� ลังใจในการปฏิบตั งิ าน สอดคล้องกับงานวิจัยของ Kusumavalee (2016) พบว่า มุมมองทีผ่ บู้ ริหารให้ความส�ำคัญเรือ่ ง การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมตรงกับความต้องการของ พนักงานซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ใช้วิธีการเรียนรู้งาน จากการลงมือปฏิบัติและการระดมสมองในการคิดงาน ร่วมกับทีมงาน ในประเด็นนีม้ มี มุ มองทีผ่ บู้ ริหารมีความเห็น หรือด�ำเนินการที่ยังไม่สอดคล้องกับความต้องการของ พนักงานกล่าวคือ พนักงานมีความคาดหวังให้ผบู้ งั คับบัญชา หัวหน้างาน เพิ่มวิธีการสอนงานที่ลงลึกในรายละเอียด การเข้าใจในบริบทซึง่ กันและกันในเรือ่ งของความแตกต่าง ในเจนเนอเรชั่น การเรียนรู้จากเรื่องเล่า ความส�ำเร็จ และบทเรียนความผิดพลาดของผู้มีประสบการณ์ 2. ค่าตอบแทนและผลประโยชน์ (Compensation) ควรให้ความสําคัญในเรื่อง เงินเดือนที่เหมาะสมตาม ความสามารถ และค่าตอบแทนพิเศษที่เหมาะสมกับ ความสามารถในการปฏิบัติงาน สอดคล้องกับงานวิจัย ของ Pimsing (2015) พบว่า เงินรางวัลจ�ำนวนทีส่ งู เท่านัน้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


140

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

จึงดึงดูดใจพนักงาน เพราะการได้รับค่าตอบแทนสูง สะท้อนความเป็นคนทีม่ คี า่ มีความส�ำคัญต่อองค์กร มีพลัง สูงสุดคือ การเสริมแรงเชิงบวก เช่น การให้คา่ ตอบแทน เพิ่มขึ้น จะท�ำให้พนักงานเกิดแรงจูงใจในการท�ำงาน 3. สภาพแวดล้อมการท�ำงาน (Type of work they) ให้ความสําคัญในเรื่อง บริษัทควรมีบรรยากาศ และวัฒนธรรมองค์กรทีเ่ อือ้ ต่อคนเก่ง เปิดกว้างให้อสิ ระ ทางความคิด จัดทีท่ ำ� งานอย่างเหมาะสมกับลักษณะงาน สอดคล้องกับงานวิจยั ของ Eua-areesuksakul & Chantuk (2016) พบว่า หัวหน้างานในอุตสาหกรรมค้าส่งของไทย มีระดับความคิดเห็นต่อบรรยากาศองค์กรในระดับมาก แสดงถึงองค์กรมีโครงสร้างองค์กรสนับสนุน โดยการ ประกาศนโยบายและเป้าหมายให้พนักงานได้รับทราบ มีการประสานงานทีค่ ล่องตัว การสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน ก�ำหนดระเบียบปฏิบตั งิ าน ทีช่ ดั เจน มอบหมายความรับผิดชอบได้เหมาะสม ได้รบั การชื่นชมยอมรับเมื่อปฏิบัติงานส�ำเร็จ 4. โอกาสในการเรียนรู้และฝึกอบรม (Learning and training opportunity) ให้ความสําคัญในเรื่อง การเรียนรูจ้ ริงในงาน (On the job training) เพือ่ ท�ำให้ เติบโตสูต่ ำ� แหน่งผูบ้ ริหารและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรูแ้ ละ พัฒนาตัวเองอย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงงบประมาณทีส่ นับสนุน การเรียนรู้เพิ่มเติม เช่น ทุนการศึกษา การฝึกอบรม สอดคล้องกับงานวิจัยของ Sangchan & Boonsatorn (2015) พบว่า คนเก่งขององค์กรมีความต้องการที่จะ พัฒนาตัวเองให้สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร และ ต้องการทีจ่ ะเติบโตไปพร้อมๆ กับองค์กรเพือ่ การพัฒนา ที่ยั่งยืน 5. ลักษณะงานทีท่ ำ� (Work environment dimension) ให้ความสาํ คัญในเรือ่ ง ชอบท�ำงานทีท่ า้ ทาย บริษทั ควรให้อิสระในการท�ำงานที่ท่านได้รับมอบหมายอย่าง เต็มที่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ Simatongtam et al. (2015) พบว่า พนักงานกลุ่มคนรุ่นใหม่รู้สึกต่อความ ส�ำคัญของงาน ความมีอิสระในงาน และความโดดเด่น ของงาน โดยคุณลักษณะของงานเป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผลโดยอ้อม

ต่อความตั้งใจที่จะลาออกผ่านความผูกพันต่อองค์กร 6. นโยบายขององค์กรและภาพลักษณ์ขององค์กร (Corporate policy and corporate image) ให้ ความสําคัญในเรื่อง บริษัทเน้นการท�ำงานเป็นทีมที่มี ประสิทธิภาพและภาพลักษณ์ที่ดี ท�ำให้สังคมภายนอก ยอมรับ และบริษทั ด�ำเนินนโยบายทีเ่ น้นความเสมอภาค ความเท่าเทียมและความยุตธิ รรม สอดคล้องกับงานวิจยั Treeprasitchai (2014) พบว่า การท�ำงานเป็นทีมท�ำให้ เกิดการพัฒนาช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยเมื่อความ ต้องการหนึง่ ได้รบั การตอบสนองแล้วก็จะมีความต้องการ ที่สูงขึ้นไปอีกไม่มีที่สิ้นสุด การที่องค์กรมีภาพลักษณ์ ผลประกอบการที่ดี การช่วยเหลือสังคมเป็นส่วนส�ำคัญ ทีท่ ำ� ให้ตดั สินใจอยูก่ บั องค์กร และความจงรักภักดีระยะยาว 7. ความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career opportunities) ให้ความสาํ คัญในเรือ่ ง การปรับปรุงตนเองอยูเ่ สมอ เมื่อได้รับผลการประเมิน ข้อมูลย้อนกลับจากพี่เลี้ยง หัวหน้างาน ผูบ้ งั คับบัญชา และการวางแผนพัฒนาตนเอง ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับแผนพัฒนาคนเก่งขององค์กร สอดคล้องกับงานวิจยั ของ Sadanghaan (2013) พบว่า การส่งเสริมให้พนักงานได้มีการพัฒนาตัวเอง วางแผน ไปสู่การเป็นผู้สืบทอดต�ำแหน่ง (Successor) ท�ำให้เกิด การคงอยู่

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะในการน�ำผลวิจยั ไปประยุกต์ใช้ องค์กร ธุรกิจอาหารแบบครบวงจร ในเขตกรุงเทพมหานคร ควรมี การก�ำหนดนโยบายดังนี้ 1. ความก้าวหน้าในอาชีพให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อให้พนักงานที่มีความสามารถสูง (Talent) กลุ่ม เจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ในองค์กรมองเห็น ถึงความส�ำคัญของสายงานนั้นๆ และเกิดแรงกระตุ้น ในการท�ำงานเพือ่ ไปให้ถงึ จุดมุง่ หมายสูงสุดของสายงาน และควรให้พนักงานได้ทำ� งานตามความรู้ ความสามารถ ความถนัดของแต่ละบุคคลด้วย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

2. ควรเพิ่มโอกาสในการฝึกอบรม การพัฒนาของ พนักงานทีม่ คี วามสามารถสูง (Talent) กลุม่ เจนเนอเรชัน่ วาย (Generation Y) ให้มากยิ่งขึ้น เช่น การไปอบรม สัมมนาภายนอกองค์กร การดูงานและวิธกี ารปฏิบตั งิ านจริง ของหน่วยงานอืน่ ๆ ทัง้ ภายในและต่างประเทศ นอกจากนัน้ พนักงานควรได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาอย่างเป็น ระบบ เหมาะกับหน้าที่ความรับผิดชอบภายในองค์กร ธุรกิจอาหารแบบครบวงจร ในเขตกรุงเทพมหานคร อาจมี การสอน การแนะน�ำ การให้ค�ำปรึกษา การสอนงาน การนิเทศงานกันภายในองค์กร 3. การเปิดโอกาสให้พนักงานที่มีความสามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ใน บางต�ำแหน่งหน้าทีค่ วามรับผิดชอบมีสว่ นร่วมในการคิด การบริหารงาน แต่ไม่ได้เปิดให้พนักงานทีม่ คี วามสามารถ สูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมดังกล่าว ดังนั้นองค์กรธุรกิจ อาหารแบบครบวงจร ในเขตกรุงเทพมหานคร จึงควร เปิดโอกาสให้พนักงานในทุกภาคส่วนขององค์กรได้มี ส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจ แสดงความคิดเห็นในการ บริหารงานให้มากยิง่ ขึน้ เพือ่ เปิดโอกาสให้พนักงานได้ใช้ ความรู้ ความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ได้อย่างเต็มที่

141

อีกทั้งยังส่งเสริมให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเองและ องค์กร ท�ำให้รู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร 4. ควรมีการปรับปรุงระบบการสือ่ สารภายในองค์กร เนื่องจากข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาพบว่า พนักงาน ที่มีความสามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ส่วนหนึง่ ไม่มคี วามชัดเจนของเป้าหมาย ขององค์กรและภายในองค์กร ไม่มีการสื่อสาร แบ่งปัน ข้อมูลอย่างทัว่ ถึง ท�ำให้พนักงานมีความเข้าใจทีไ่ ม่ตรงกัน ถึงวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมายในการปฏิบัติงาน ส่งผล ท�ำให้ไม่มีความชัดเจนในการปฏิบัติ หรือไม่เข้าใจถึง จุดมุง่ หมาย หรือเป้าหมายในการปฏิบตั งิ าน ท�ำให้พนักงาน ที่มีความสามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ไม่มีความเชื่อมั่น กระตือรือร้น

ข้อเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งต่อไป

ควรศึกษาหาปัจจัยการธํารงรักษาพนักงานทีม่ คี วาม สามารถสูง (Talent) กลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) เฉพาะด้านเชิงลึก อาทิ การปรับปรุงระบบบริหาร ค่าตอบแทนให้มคี วามเหมาะสมกับหน้าที่ ความรับผิดชอบ ของแต่ละบุคคล หรือส่วนงาน ทั้งค่าตอบแทนที่อยู่ใน รูปของตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน

References

Axelrod, B., Michaels, E. & Handfield-Jones, H. (2001). The War for Talent (2nd ed.). Brighton: Harvard Business Review Press. Barnard, C. (1938). The Function of the Executive. Brighton: Harvard Business Review Press. Berger, L. A. (2004). The Talent Management Handbook: Creating Organizational Excellence by Indentifying, Developing, and Promoting Your Best People. NY: McGraw-Hill. Cal Newport. (2012). Solving Gen Y’s Passion Problem. Brighton: Haverd Business Review. Cambridge University Press. (2005). The definition of employee talent. Retrieved December 1, 2016, from https://dictionary.cambridge.org/pronunciation/english/talent Chompookum, T. (2005). Talent Management: a significant tool for significant persons. Chulalongkorn Business School, 26(101), 1-16. [in Thai] Collings, D. G., Mellahi, K. & Cascio, W. F. (2010). The Oxford Handbook of Talent Management (2nd ed.). NY: Oxford University Press. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


142

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Dessler, G. & Huat, T. C. (2008). Human resource management: an Asian perspective. (J. Taveepaiboonwong & S. Thepchit, Trans.). Bangkok: Pearson-indochina. [in Thai] Eric, A. (2003). Retaining the best of the best. AFP Exchange, 23(6), 48. Erickson, T. J. & Gratton, L. (2011). Talent Management. (W. Makhasiranon & N. Sintrakarnpol, Trans.). Bangkok: Expernet. [in Thai] Eua-areesuksakul, A. & Chantuk, T. (2016). Development of the Multilevel Talent Management Modeling for Building Transformational Leadership Capability of Chief in Wholesale Industry of Thailand. RMUTT, 11(1), 200-214. [in Thai] Harvard Business School. (2008). Harvard Business Review on Talent Management (2nd ed.). NY: Harvard Business School. Kusumavalee, S. (2016). Human Resource and Organization Management and Development of Companies in the Creative Industry. HROD, 8(1), 4-31. [in Thai] Martin, J. (2010). Human resource management. USA: SAGE publications. Mumford, M. D. (2000). Managing creative people: Strategies and tactics for innovation. Human Resource Management Review, 10(3), 313-351. Pimsing, P. (2015). Factors Affecting Human Resource Development for Academic Staff in Suratthani Rajabhat Universiry. Journal of Graduate School, Pitchayatat, 10(1), 45-54. [in Thai] Porter, J. H. (2011). Attract and retain top talent. Strategic Finance, 92(12), 56-61. PwC. (2013). The talent challenge: Adapting to growth. Retrieved October 18, 2016, from https:// www.pwc.com/gx/en/services/people-organisation/publications/ceosurvey-talent-challenge. html Rueff, R. & Stringer, H. (2006). Talent force: a new manifesto for human side of business. NJ: Pearson Prentice Hall. Sadanghaan, P. (2013). Retaining Talented People in organization. Executive Journal, 33(3), 33-38. [in Thai] Samuel, M. O. & Chipunza, C. (2009). Employee Retention and Turnover: Using Motivational Variables as a Panacea. African Journal of Business Management, 3(8), 410-415. Sangchan, R. & Boonsatorn, W. (2015). Human Resource Management for Promoting to Work Passion of Generation Y Employees and Retaining Talents in Organizations. HROD, 7(2), 20-42. [in Thai] Schroer, W. J. (2012). Defining and Managing Generation. Journal of the Houehold Goods Forwarders Association of America, 7, 9-11. Silzer, R. & Dowell, B. E. (2010). Strategy-Driven Talent Management: A Leadership Imperative. Sanfrancisco: John Wiley & Son. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

143

Simatongtam, V., Promsuwan, S., Chanbanchong, C. & Soontornthai, W. (2015). Factors Influencing Turnover Intention of Thai Commercial Banks’ Generation Y Staff. Journal of Modern Management, 9(2), 1-12. [in Thai] Somaya, D. & Williamson, A. (2008). Rethinking the “War for Talent”. MIT Sloan Management Review, 49(4), 29-34. Treeprasitchai, T. (2014). Factors affecting employee retention of five-star in Bangkok. M. A. (Hospitality and Tourism Industry Management), Graduate School, Bangkok University. [in Thai] Ulich, D. (1997). HR of the future: Conclusions and observations (1st ed.). NY: John Wiley & Son.

Name and Surname: Vilai Chanto Highest Education: B.B.A. (Food Business Management) University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field of Expertise: Management in the food sector, made bakery Address: 397 Samakkee Rd., Thasay, Mueang, Nonthaburi 11120 Name and Surname: Thanasit Phoemphian Highest Education: Ph.D. in Human Resource Development, Burapha University University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field of Expertise: People Management and Organization Strategy Address: 85/1 Moo 2, Chaengwattana Rd., Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


144

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

การใช้ภาษาเพื่อการโฆษณาในนิตยสารวัยรุ่น THE USE OF ADVERTISING LANGUAGE IN TEEN MAGAZINES รพิรัตน์ วริศจันทร์เปล่ง1 ปฐมา สตะเวทิน2 และพีรยา หาญพงศ์พันธุ์3 Rapirat Varischanpleng1 Patama Satawedin2 and Peeraya Hanpongpandh3 1,2,3คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 1,2,3School of Communication Arts, Bangkok University

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการใช้ภาษาหรือการเปลี่ยนแปลงของภาษาเพื่อการ โฆษณาในนิตยสารวัยรุ่น ปี พ.ศ. 2556 โดยวิเคราะห์เนื้อหาเฉพาะส่วนที่เป็นวัจนภาษา ได้แก่ ลักษณะการใช้ค�ำ การใช้สำ� นวน และการใช้ประโยคบนโฆษณาในนิตยสาร Seventeen และนิตยสาร ELLE พบว่า ลักษณะการใช้ภาษา ในนิตยสารวัยรุ่นมีความเหมือนกันในภาพรวมส่วนใหญ่ แต่มีความถี่ของการใช้ภาษาที่แตกต่างกันคือ ด้านการใช้ค�ำ ทั้งสองฉบับมีลักษณะตรงกันคือ ด้านการใช้ค�ำสัมผัส การใช้ค�ำภาษาต่างประเทศ การใช้ค�ำซ�้ำ การใช้เครื่องหมาย วรรคตอน และการใช้ค�ำซ้อน ด้านการใช้ส�ำนวนมีลักษณะตรงกันคือ การใช้ส�ำนวนภาษาต่างประเทศ การใช้ส�ำนวน ภาษาพูด และการใช้สำ� นวนภาษาเปรียบเทียบ และด้านการใช้ประโยคมีลกั ษณะตรงกันคือ การเรียงล�ำดับส่วนประกอบ ของประโยคอย่างอิสระ การละส่วนประกอบบางส่วนของประโยค และการผูกประโยคยาวที่มีเนื้อหาซับซ้อน ดังนั้น จึงมีขอ้ เสนอแนะเชิงปฏิบตั เิ พือ่ เป็นประโยชน์ตอ่ ผูส้ นใจด้านการสือ่ สาร และสือ่ มวลชนทีใ่ ช้ภาษาโฆษณาเป็นเครือ่ งมือ ในการสือ่ สาร ควรก�ำหนดมาตรฐานด้วยหลักไวยากรณ์การใช้ภาษาทีถ่ กู ต้องเป็นล�ำดับแรก และผสานเข้ากับหลักการ โน้มน้าวใจตามวัตถุประสงค์ของการโฆษณา เพือ่ ผลดีตอ่ การรับรูแ้ ละการใช้ภาษาของผูร้ บั สาร และเป็นการเปลีย่ นแปลง ทัศนคติด้านการใช้ภาษาเพื่อการโฆษณาของสื่อมวลชนได้อีกนัยหนึ่ง ค�ำส�ำคัญ: การสื่อสาร ภาษาโฆษณา นิตยสารวัยรุ่น

Corresponding Author E-mail: rapirat.v@bu.ac.th


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

145

Abstract

The objective of this research was to study language of advertising and its transformation in teen magazines in year 2013. It analyzed content, i.e. verbal communication including the use of words, proverbs, and sentences in Seventeen and ELLE magazines. The findings revealed that, predominantly, there were no differences in language of advertising in these two teen magazines. In details, in terms of the use of words, the two teen magazines shared Rhymes, Foreign Language Loanwords, Punctuation Marks, Repetitive Words and Semantic Doublets. Likewise, the advertisements in these two magazines similarly enjoyed using proverbs of Idioms, Colloquialism and Similes and Metaphors. Last but not least, no divergence was found in these magazines commercials’ sentences including how the sentence parts and structures were formed independently, how certain parts of the sentences were omitted and how to structure long and complicated sentences. This research contributes a practical suggestion for a communicator and, especially an advertiser who should concern the usage of proper and correct grammar most. Advertising purposes should be considered afterwards. Otherwise, appreciation cannot be created among consumers. Keywords: Communication, Language of Advertising, Teen Magazines

บทน�ำ

ภาษาเพือ่ การสือ่ สารประกอบด้วยวัตถุประสงค์เพือ่ แจ้งให้ทราบ (To Inform) เพือ่ ให้ความรู้ (To Educate) และเพื่ อ ให้ ค วามบั น เทิ ง (To Entertain) ส� ำ หรั บ วัตถุประสงค์หลักของการสื่อสารเพื่อการโฆษณาจึง ประกอบด้วยวัตถุประสงค์พนื้ ฐานของการสือ่ สารข้างต้น ผนวกเข้ากับวัตถุประสงค์ของการสื่อสารเพื่อโน้มน้าว ชักจูงใจ (To Persuade) และเพื่อให้เกิดการกระท�ำ หรือการตัดสินใจ (To Dispose or Decide) โดยนิยมใช้ ภาษาระดับภาษาปากเพือ่ เน้นการแสดงอารมณ์ ความรูส้ กึ และสื่อสารความหมายหลากหลายรูปแบบ Pilanthaowat (2011) กล่าวว่า การใช้ภาษา หรือการสือ่ สารด้วยการโน้มน้าวใจจะมีลกั ษณะทีแ่ ตกต่าง ไปตามสื่อที่ใช้ เพราะการโฆษณาเป็นการสื่อสารข้อมูล ผ่านสือ่ หรือช่องทางทีห่ ลากหลาย ได้แก่ การโฆษณาทาง สือ่ สิง่ พิมพ์ การโฆษณาทางสือ่ กระจายเสียงและแพร่ภาพ การโฆษณาทางสื่อนอกสถานที่ และการโฆษณาทางสื่อ โฆษณาอื่นๆ เป็นต้น ดังนั้น เมื่อช่องทางในการโฆษณา

มีความหลากหลาย รูปแบบการน�ำเสนอและการเลือก ใช้ภาษาโฆษณาในแต่ละสื่อก็ย่อมมีความหลากหลาย และแตกต่างกันไปตามลักษณะของสื่อเช่นกัน งานวิจัย ครัง้ นีจ้ งึ มุง่ เน้นการศึกษาข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจงในด้าน ภาษาเพื่อการสื่อสารในการโฆษณาที่เป็นวัจนภาษา ในรูปแบบของภาษาเขียนหรือพิมพ์ ได้แก่ การศึกษา ลักษณะการใช้ค�ำ การใช้ส�ำนวน และการใช้ประโยค ผ่านช่องทางโฆษณาประเภทสือ่ สิง่ พิมพ์ในนิตยสารวัยรุน่ เท่านัน้ ซึง่ การโฆษณาในนิตยสารถือเป็นสือ่ กลางในการ ถ่ายทอดเรื่องราวข่าวสารระหว่างองค์กรธุรกิจกับกลุ่ม เป้าหมาย จึงถือได้ว่าภาษาโฆษณามีบทบาทส�ำคัญต่อ องค์กรธุรกิจ (Chalermmeeprasert, 2007) Sundaravibhata (2010) ให้ความเห็นว่า “เพราะ ภาษาทีใ่ ช้ในงานโฆษณาเป็นภาษาทีส่ ามารถสือ่ ความคิด ความหมายต่อผู้บริโภคและสามารถผลักดันให้ผู้บริโภค เปลีย่ นแปลงทัศนคติและพฤติกรรมได้ในทีส่ ดุ ” การโฆษณา จึงเป็นช่องทางหนึง่ ทีอ่ งค์กรธุรกิจนิยมเลือกถ่ายทอดข้อมูล สินค้า เผยแพร่คณ ุ ประโยชน์ บอกกล่าวถึงแหล่งจ�ำหน่าย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


146

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

และชีแ้ จงข้อมูลกิจกรรมพิเศษหรือโปรโมชัน่ ของสินค้า/ การบริการ ซึง่ การโฆษณาจะท�ำให้ผคู้ นในสังคมรับรูไ้ ด้วา่ มีสินค้า/การบริการเหล่านั้นอยู่ และสามารถหาซื้อหรือ รับบริการได้ ภาษาทีใ่ ช้ในการโฆษณาจึงเป็นองค์ประกอบ ส�ำคัญทีส่ ามารถดึงดูดความสนใจ สร้างความประทับใจ และสนับสนุนงานโฆษณาให้สื่อความหมายได้ชัดเจน ตรงตามวัตถุประสงค์ และมีประสิทธิภาพได้ แต่ในทาง ตรงกันข้ามหากผู้ใช้ภาษาเลือกใช้ภาษาที่ไม่ถูกต้อง เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับลักษณะของผู้รับสาร ภาษาเหล่านัน้ ก็อาจเป็นตัวชีว้ ดั ถึงความไม่มปี ระสิทธิภาพ ของการสือ่ สารได้เช่นกัน การใช้ภาษาโฆษณาในนิตยสาร วัยรุ่น ผู้เขียนบทโฆษณาจึงมีความจ�ำเป็นต้องเลือกใช้ ถ้อยค�ำ ภาษา และรูปประโยคที่วัยรุ่นนิยมน�ำมาใช้ใน การสือ่ สารระหว่างกัน เพือ่ เป็นการสร้างความประทับใจ ความดึงดูดใจ และท�ำให้วยั รุน่ เชือ่ ว่าสินค้า/บริการดังกล่าว เป็นพวกเป็นกลุม่ เดียวกัน แต่หากพิจารณาในแง่ของการ ใช้ภาษาเพือ่ การสือ่ สารย่อมส่งผลกระทบต่อการใช้ภาษา อย่างเห็นได้ชัดทั้งในระยะสั้นและระยะยาว สื่อมวลชนถือเป็นผู้มีอิทธิพลต่อการใช้ภาษาไทย แบบไม่ถกู ต้องของวัยรุน่ และผูค้ นในสังคม ซึง่ เป็นเพราะ บทบาทหน้าที่หลักของสื่อมวลชน ดังที่ Satawedin (2003) กล่าวไว้คอื สือ่ มวลชนเป็นเครือ่ งมือของนักสือ่ สาร มวลชนทีใ่ ช้ในการเป็นสือ่ กลางแจ้งข่าว ถ่ายทอดเรือ่ งราว หรือให้ข้อมูลเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมแก่ประชาชน ทุกระดับในทุกช่องทางอย่างเปิดเผยและแพร่หลาย รวมทัง้ นักสือ่ สารมวลชนจะท�ำหน้าทีเ่ ป็นตัวเชือ่ มข่าวสาร ในกระบวนการสือ่ สารเพือ่ ให้เกิดการรับรูแ้ ละความเข้าใจ ระหว่างกันในวงกว้าง ฉะนัน้ เมือ่ นักสือ่ สารมวลชนมีหน้าที่ อันส�ำคัญต่อการรับรู้และการสร้างความเข้าใจของผู้คน ในสังคมแล้ว สื่อมวลชนต้องเป็นผู้น�ำในการใช้ภาษาที่ดี ถูกต้อง และเหมาะสม โดยต้องเลือกใช้ภาษาที่ชี้น�ำให้ ผูร้ บั สารมุง่ ไปสูก่ ารสร้างสรรค์หรือการพัฒนาสังคมทีด่ ี ดังที่ Yiemkuntitavorn (2014) กล่าวว่า ภาษาเปรียบเสมือน ศิลปะและยังเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมจึงจ�ำเป็นต้อง เน้นคุณภาพของการใช้ภาษา หากสื่อมวลชนใช้ภาษา

อย่างไม่ถกู ต้องบ่อยครัง้ และเมือ่ วัยรุน่ ได้รบั ข้อมูลข่าวสาร ซ�ำ้ ๆ เป็นประจ�ำก็จะส่งผลให้เกิดเป็นพฤติกรรมการจดจ�ำ และน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ในที่สุด นอกจากนี้กาลเวลาหรือยุคสมัยที่สะท้อนออกมา ในรูปแบบของบริบททางสังคมและบริบททางวัฒนธรรม ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปเป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ ส ่ ง ผลให้ ภ าษาเพื่ อ การสื่อสารเปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่องด้วย รวมถึง งานวิจัยและวิทยานิพนธ์จ�ำนวนมากที่ศึกษาเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงของภาษาเพื่อการสื่อสารหรือปัญหา การใช้ภาษาเพือ่ การสือ่ สารในการโฆษณาในช่วงเวลาใด ช่วงเวลาหนึง่ โดยมุง่ เน้นศึกษาวิจยั ในบางมิติ ได้แก่ มิติ ด้านพฤติกรรมและทัศนคติตอ่ การใช้ภาษา เช่น งานวิจยั เรือ่ ง พฤติกรรมและทัศนคติตอ่ การใช้ภาษาแชทของวัยรุน่ ในเขตกรุงเทพมหานคร ของ Saengchan (2012) มิติ ด้านรูปแบบการใช้ภาษาเฉพาะช่วงเวลา เช่น วิทยานิพนธ์ เรื่อง ลักษณะการใช้และความหมายของภาษาแสลง ในนิตยสารวัยรุน่ ของ Yutibun (2010) และมิตดิ า้ นอืน่ ๆ เช่น วิทยานิพนธ์ของ Singkakuldacha (2002) เรื่อง วิวฒ ั นาการของภาษาโฆษณาสินค้าส�ำหรับเด็กในนิตยสาร ส�ำหรับแม่และเด็กระหว่างปี พ.ศ. 2521–2541 เป็นต้น จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นจึงเป็นข้อสรุปให้แก่ผวู้ จิ ยั ได้วา่ การรวบรวมงานวิจยั เกีย่ วกับการใช้ภาษาเพือ่ การ โฆษณาในสือ่ สิง่ พิมพ์ประเภทนิตยสาร ยังไม่พบว่ามีผใู้ ด หรือหน่วยงานใดได้ศึกษารวบรวมมาก่อน ประกอบกับ การอ้างอิงตามข้อเสนอแนะจากงานวิจยั เรือ่ ง การศึกษา เชิงวิเคราะห์ลกั ษณะการใช้คำ� ในภาษาวัยรุน่ ทีป่ รากฏใน ภาพยนตร์ไทย ระหว่างปีพุทธศักราช 2539 ถึง 2540 ของ Doungdee (2001) ที่เสนอแนะส�ำหรับงานวิจัย ในอนาคตไว้วา่ “ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาวิเคราะห์เฉพาะค�ำในสือ่ ภาพยนตร์ไทยเท่านัน้ ยังมีสอื่ อีกจ�ำนวนมากทีม่ บี ทบาท และมีอทิ ธิพลต่อการใช้ภาษา เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ส�ำหรับวัยรุน่ และสือ่ สิง่ พิมพ์ตา่ งๆ ดังนัน้ หากผูใ้ ดสนใจ ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะการใช้ค�ำในภาษาวัยรุ่น อาจจะ ศึกษาถึงวิวฒ ั นาการของการใช้คำ� ในภาษาวัยรุน่ โดยศึกษา การสร้างค�ำขึ้นใหม่ของภาษาวัยรุ่นในช่วงระยะเวลาที่

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ต่างกัน เนือ่ งจากภาษามีการเปลีย่ นแปลงและมีการพัฒนา อยูต่ ลอดเวลา ทัง้ นีเ้ พือ่ จะได้ทราบถึงความเปลีย่ นแปลง ของการใช้ค�ำในภาษาวัยรุ่น และการศึกษาค�ำในภาษา วัยรุน่ เหล่านีจ้ ะเป็นประโยชน์แก่ผใู้ ช้ภาษาในการสือ่ สาร และผู้ที่สนใจ” ด้วยเหตุดงั กล่าวข้างต้น ผูว้ จิ ยั จึงสนใจศึกษาลักษณะ การใช้ภาษาหรือการเปลีย่ นแปลงของภาษาเพือ่ การโฆษณา ในนิตยสารวัยรุ่น โดยศึกษาเฉพาะเนื้อหาส่วนที่เป็น วัจนภาษา ได้แก่ ลักษณะการใช้คำ� ลักษณะการใช้สำ� นวน และลักษณะการใช้ประโยค เพื่อให้ได้ผลการวิจัยในมิติ ทีห่ ลากหลายมากยิง่ ขึน้ อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ สาธารณชน และผู้ที่สนใจในมิติด้านการสื่อสารเช่นเดียวกันนี้

วัตถุประสงค์การวิจัย

เพือ่ ศึกษาลักษณะการใช้ภาษาหรือการเปลีย่ นแปลง ของภาษาเพือ่ การโฆษณาในนิตยสารวัยรุน่ ในปี พ.ศ. 2556

วิธีการวิจัย

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ศึกษาเฉพาะเนื้อหาส่วนที่เป็น วัจนภาษา ได้แก่ ลักษณะการใช้ค�ำ การใช้ส�ำนวน และ การใช้ประโยคบนโฆษณาในนิตยสารวัยรุน่ ประจ�ำเดือน มกราคม พ.ศ. 2556 โดยใช้วธิ วี จิ ยั เชิงปริมาณ เก็บข้อมูล ด้วยการวิเคราะห์เนือ้ หา พร้อมจ�ำแนกแสดงปริมาณของ ลักษณะการใช้ค�ำ การใช้ส�ำนวน และการใช้ประโยค โดยใช้ตารางลงรหัส (Coding Sheet) เป็นเครือ่ งมือวิจยั และทดสอบเครื่องมือวิจัยด้วยการหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธที ดสอบซ�ำ้ (Test-Retest) พร้อมด้วย ควบคู่กับวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเก็ บ ข้ อ มู ล ด้ ว ยการวิ เ คราะห์ จ� ำ แนกข้ อ มู ล เป็ น หมวดหมูจ่ นครบในประเด็นทีต่ อ้ งการศึกษาและน�ำเสนอ ตัวอย่างการใช้คำ� การใช้สำ� นวนภาษา และการใช้ประโยค หรือน�ำเสนอผลการวิจัยในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ เพื่อน�ำไปสู่ข้อเสนอแนะแนวทางการใช้ภาษาเพื่อการ สือ่ สารบนสือ่ ในปัจจุบนั ให้สามารถน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างเป็น รูปธรรมทีถ่ กู ต้องเหมาะสมและสอดคล้องต่อบริบทสังคม

147

ในปัจจุบัน ซึ่งเหตุผลของการศึกษาวิจัยในรอบ 1 ปีนั้น เนือ่ งจากผูว้ จิ ยั ต้องการมุง่ เน้นศึกษาลักษณะการใช้ภาษา หรือการเปลีย่ นแปลงของภาษาเพือ่ การโฆษณาในนิตยสาร วัยรุน่ ในช่วงเวลาดังกล่าวเพือ่ เปรียบเทียบเชือ่ มโยงไปยัง การวิเคราะห์บริบทของการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ โดยมี ขั้นตอนการวิจัยดังนี้ 1. กลุม่ ประชากรทีศ่ กึ ษา ข้อความโฆษณาในนิตยสาร วัยรุน่ 2 รายชือ่ ได้แก่ นิตยสาร Seventeen และนิตยสาร ELLE ที่วางจ�ำหน่ายในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2556 รวมจ�ำนวน 2 ฉบับ นิตยสารทั้ง 2 รายชื่อมีลักษณะ ที่สอดคล้องซึ่งกันและกันคือ เป็นนิตยสารวัยรุ่นที่วาง จ�ำหน่ายแบบรายเดือน (1 ครัง้ ต่อ 1 เดือน) เป็นนิตยสาร ทีม่ กี ารตีพมิ พ์และวางจ�ำหน่ายในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2556 และเป็นนิตยสารทีม่ งุ่ เน้นการสือ่ สารถึงกลุม่ วัยรุน่ ทัง้ เพศชายและเพศหญิง กลุม่ ตัวอย่างกลุม่ นีจ้ งึ จะสามารถ เป็นตัวแทนนิตยสารวัยรุน่ เพือ่ เป็นแหล่งข้อมูลในการศึกษา วิจัยครั้งนี้ได้อย่างเหมาะสม 2. การก�ำหนดขนาดตัวอย่าง และวิธกี ารเลือกตัวอย่าง ผู้วิจัยท�ำการส�ำรวจเบื้องต้นถึงขอบเขตของกรณีศึกษา คือ นิตยสารวัยรุน่ ทีเ่ หมาะสมต่อการศึกษาการเปลีย่ นแปลง ของภาษาเพือ่ การโฆษณา รวมถึงศึกษาจากการก�ำหนด แหล่งข้อมูลในการศึกษาวิจยั จากงานวิจยั เรือ่ ง การศึกษา เปรียบเทียบลักษณะการใช้ภาษาไทยในโฆษณาในนิตยสาร ส�ำหรับวัยรุน่ และนิตยสารส�ำหรับผูใ้ หญ่ของ Ponghanpanit (2004) ทีไ่ ด้ใช้แบบสอบถามเป็นเครือ่ งมือในการ หาตัวแทนแหล่งข้อมูลในการศึกษาวิจัย ซึ่งผลในการ แจกแบบสอบถามพบว่า นิตยสารในกลุ่มวัยรุ่นที่ได้รับ ความนิยมสูงสุด 2 อันดับแรก คือ นิตยสาร Seventeen และนิตยสาร ELLE จากผลการสรุปแบบสอบถามดังกล่าว ผูว้ จิ ยั จึงน�ำมาอ้างอิงในการเลือกตัวอย่างในงานวิจยั ครัง้ นี้ แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกรายชื่อ นิตยสารในกลุม่ วัยรุน่ ทีไ่ ด้รบั ความนิยมสูงสุด 2 อันดับแรก กล่าวโดยสรุปคือ ผู้วิจัยเลือกตัวอย่าง 2 รายชื่อ ได้แก่ นิตยสาร Seventeen และนิตยสาร ELLE ซึง่ กลุม่ ตัวอย่าง ดังกล่าวมีลกั ษณะทีเ่ หมาะสมต่อการศึกษาวิจยั ในครัง้ นี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


148

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

วิธีการรวบรวมข้อมูล แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1. การเก็บข้อมูล (Data Collection) ผูว้ จิ ยั ท�ำการ เก็บข้อมูลด้วยวิธกี ารสังเกตแบบมีโครงสร้าง โดยก�ำหนด เกณฑ์หรือวิธีการวัดและการบันทึกข้อมูลอย่างชัดเจน ด้วยตนเอง เพื่อจ�ำแนกลักษณะข้อมูลและจัดหมวดหมู่ ของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และน่าเชือ่ ถือ พร้อมทัง้ ได้ก�ำหนดให้มีการใช้รหัส (Coding) ในการเก็บข้อมูล ภาษาเพื่อการโฆษณาในนิตยสารวัยรุ่น 2 ฉบับ ได้แก่ นิตยสาร Seventeen และนิตยสาร ELLE ทีเ่ ป็นข้อมูล ย้อนหลังที่วางจ�ำหน่ายในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2556 และเพื่อให้การเก็บข้อมูลมีความโปร่งใสและน่าเชื่อถือ ผู้วิจัยจึงได้ท�ำการทดสอบซ�้ำ (Test-Retest) เพื่อหาค่า ความเชือ่ มัน่ (Reliability) และเพือ่ ทดสอบความคงเส้น คงวาหรือความคงทีข่ องผลทีไ่ ด้จากการทดสอบซ�ำ้ ในช่วง เวลาทีต่ า่ งกันด้วยแบบทดสอบเดิม (Equivalent-Forms Reliability) 2. การรวบรวมข้อมูล (Data Compilation) ผูว้ จิ ยั ท�ำการรวบรวมข้อมูลจากข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ ภาษาเพื่อการโฆษณาและการเปลี่ยนแปลงภาษาที่ใช้ ในปัจจุบัน โดยศึกษาข้อมูลจากงานวิจัย วิทยานิพนธ์ และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในสื่อโฆษณา ต่างๆ เช่น หนังสือ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ส�ำนักหอสมุดและ ศูนย์การเรียนรู้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ส�ำนักหอสมุด แห่งชาติ โครงการเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย (Thailis) ส�ำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ พัฒนา การศึกษา แผงหนังสือทั่วไป และค้นคว้าข้อมูลทาง อินเทอร์เน็ตเพือ่ ส่งเสริมความเข้าใจและน�ำมาประยุกต์ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งล้วนเป็นข้อมูลที่ผู้อื่นได้ท�ำ การศึกษามาก่อนหน้าแล้วหรือได้รายงานและเผยแพร่ ข้อมูลต่อสาธารณะแล้ว ผู้วิจัยจึงรวบรวมข้อมูลที่ผ่าน การอ้างอิงเหล่านี้มาท�ำการศึกษาวิเคราะห์ต่อไป วิธีการก�ำหนดเกณฑ์ในการศึกษาวิจัย 1. การรวบรวมข้อมูล (Data Compilation) ผูว้ จิ ยั

ท�ำการรวบรวมข้อมูลจากข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ ภาษาเพือ่ การโฆษณาและการออกแบบตารางระบุขอ้ มูล เป็นการน�ำหัวข้อหรือตัวแปรในการศึกษามาท�ำการระบุ ข้อมูลตามประเด็นดังนี้ ชือ่ นิตยสาร/ฉบับที่ หรือเดือน-ปี ของนิตยสารเล่มนั้นๆ/ล�ำดับที่/ชื่อสินค้าหรือบริการที่ โฆษณาบนนิตยสารเล่มนั้นๆ/ประเภทของสินค้าหรือ บริการที่โฆษณาบนนิตยสารเล่มนั้นๆ ด้านการใช้ค�ำ (Wongpinunwatana, 1994; Ponghanpanit, 2004) ได้แก่ การใช้ค�ำสัมผัส การใช้ ค�ำที่มีความหมายไม่สอดคล้องกัน การใช้ค�ำซ�้ำ การใช้ ค�ำสันธาน/ค�ำบุพบทไม่สอดคล้องกับข้อความ การใช้คำ� ภาษาต่างประเทศ การใช้คำ� เลียนเสียงพูด การสร้างค�ำ ขึ้นใหม่ในภาษา การใช้ค�ำลักษณะนามไม่สอดคล้องกับ ค�ำนาม การใช้คำ� อุทาน การใช้คำ� ถาม การใช้อักษรย่อ การใช้ค�ำซ้อน การใช้ชื่อเล่น/ชื่อจริงแทนการใช้บุรุษ สรรพนาม การใช้คำ� ทีม่ คี วามหมายนัยประหวัด การเขียน ค�ำผิด การใช้คำ� เฉพาะกลุม่ การใช้คำ� แสลง การใช้คำ� ผวน และการใช้เครื่องหมายวรรคตอน ด้านการใช้สำ� นวน (Wongpinunwatana, 1994; Ponghanpanit, 2004) ได้แก่ การใช้ส�ำนวนภาษา ต่างประเทศ การใช้สำ� นวนภาษาแสดงอารมณ์/ความรูส้ กึ การใช้ส�ำนวนสุภาษิตประกอบเรื่องราว การใช้ส�ำนวน ภาษาพูด และการใช้ส�ำนวนภาษาเปรียบเทียบ ด้านการใช้ประโยค (Wongpinunwatana, 1994; Ponghanpanit, 2004) ได้แก่ การใช้ประโยคที่ละ ส่วนประกอบบางส่วนของประโยค การใช้ประโยคทีเ่ รียง ล�ำดับส่วนประกอบของประโยคอย่างอิสระ การใช้ประโยค ที่ผูกประโยคยาวที่มีเนื้อหาซับซ้อน การใช้รูปประโยค ที่ไม่ตรงตามเจตนาของผู้ส่งสาร และการใช้รูปประโยค ที่เป็นภาษางานประพันธ์ โวหาร ภาพพจน์ 2. การออกแบบคูม่ อื เกณฑ์การระบุขอ้ มูล (Designing a Coding Manual) เป็นรายละเอียดของหัวข้อที่จะ วิเคราะห์ในทุกมิติ โดยแยกแยะความแตกต่างเป็นหมวดหมู่ ในแต่ละมิติหัวข้อ โดยก�ำหนดให้ระบุข้อมูลเป็นจ�ำนวน ความถี่ที่พบลงในตารางระบุข้อมูล

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

การทดสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือวิจัย ผู้วิจัยได้ทดสอบหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) จากตารางระบุขอ้ มูลทีผ่ า่ นการทดสอบซ�ำ้ (Test-Retest) จ�ำนวน 2 ครัง้ ในช่วงเวลาทีต่ า่ งกันด้วยแบบทดสอบเดิม เพื่อทดสอบความคงเส้นคงวาหรือความคงที่ของผล การวิเคราะห์ข้อมูลว่าตรงกันหรือไม่ โดยน�ำเฉพาะผล การวิเคราะห์การใช้ภาษาด้านการใช้ส�ำนวนและการใช้ ประโยคมาทดสอบหาค่าความเชื่อมั่น เนื่องจากผลการ วิเคราะห์ทั้ง 2 ด้านข้างต้นตรงตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ และด้วยผลการวิเคราะห์ด้านการใช้ค�ำมีหัวข้อย่อยที่มี ความหลากหลายจึงไม่สามารถน�ำมาทดสอบหาค่าความ เชื่อมั่นร่วมกับผลการวิเคราะห์ด้านการใช้ส�ำนวนและ การใช้ประโยคได้ จากนั้นจึงน�ำผลการวิเคราะห์การใช้ ภาษาด้านการใช้ส�ำนวนและการใช้ประโยคมาค�ำนวณ หาค่าความเชือ่ มัน่ โดยอาศัยหลักการค�ำนวณของ Holsti

149

(Wimmer & Dominick, 1987) ซึง่ จากการค�ำนวณค่า ความเชือ่ มัน่ จากความสอดคล้องของความเห็นทีต่ รงกัน ในการทดสอบซ�้ำนิตยสาร Seventeen และนิตยสาร ELLE เล่มเดือนมกราคม 2556 จ�ำนวน 2 ครั้ง มีค่า ไม่น้อยกว่า 0.75 ทั้งด้านการใช้สำ� นวน และด้านการใช้ ประโยค จึงถือว่าเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ของงานวิจยั ครัง้ นีม้ คี วามเชือ่ ถือได้ รวมทัง้ งานวิจยั ครัง้ นีไ้ ด้ผา่ นกระบวนการพิจารณาจริยธรรม การวิจัยในมนุษย์จากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพเป็นที่เรียบร้อยแล้วจึงส่งผลให้ งานวิจัยครั้งนี้มีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น

ผลการวิจัย

ผลการวิจัยลักษณะการใช้ภาษาเพื่อการโฆษณา ในนิตยสารวัยรุ่น ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงลักษณะการใช้ภาษาเพื่อการโฆษณาในนิตยสาร Seventeen เล่มเดือนมกราคม 2556 จ�ำนวน 18 ชิ้นงาน และนิตยสาร ELLE เล่มเดือนมกราคม 2556 จ�ำนวน 26 ชิ้นงาน รวมจ�ำนวน 44 ชิ้นงาน ดังนี้ ที่

ด้านการใช้คำ�

ด้านการใช้ส�ำนวน

ด้านการใช้ประโยค

Seventeen

ELLE

Seventeen

ELLE

1

การใช้ค�ำ ภาษาต่างประเทศ (30.05%)

การใช้คำ� สัมผัส (32.53%)

การใช้ส�ำนวน ภาษาต่างประเทศ (50.94%)

การใช้สำ� นวน ภาษาต่างประเทศ (64.51%)

การเรียงล�ำดับ การละส่วนประกอบ บางส่วนของประโยค ส่วนประกอบของ ประโยคอย่างอิสระ (43.63%) (47.31%)

2

การใช้ค�ำสัมผัส (25.45%)

การใช้ค�ำซ�้ำ (20.71%)

การใช้ส�ำนวน ภาษาพูด (33.96%)

การใช้สำ� นวน ภาษาเปรียบเทียบ (16.12%)

การเรียงล�ำดับ การละส่วนประกอบ ส่วนประกอบของ บางส่วนของประโยค ประโยคอย่างอิสระ (38.70%) (32.72%)

การใช้ค�ำ ภาษาต่างประเทศ (17.49%)

การใช้ส�ำนวน ภาษาเปรียบเทียบ (9.43%)

การใช้สำ� นวน ภาษาพูด (12.90%)

3 การใช้เครื่องหมาย วรรคตอน (13.60%) 4

การใช้คำ� ซ�้ำ (13.23%)

การใช้ค�ำซ้อน (12.58%)

Seventeen

การผูกประโยคยาว ที่มีเนื้อหาซับซ้อน (10.90%)

ELLE

การผูกประโยคยาว ที่มีเนื้อหาซับซ้อน (7.52%)

การใช้ส�ำนวน การใช้สำ� นวน การใช้รูปประโยค การใช้รูปประโยคที่ ภาษาแสดงอารมณ์/ ภาษาแสดงอารมณ์/ ที่ไม่ตรงตามเจตนา เป็นภาษางานประพันธ์ ความรู้สึก ความรู้สึก ของผู้ส่งสาร โวหาร ภาพพจน์ (5.66%) (6.45%) (9.09%) (4.30%)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


150

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตารางที่ 1 แสดงลักษณะการใช้ภาษาเพื่อการโฆษณาในนิตยสาร Seventeen เล่มเดือนมกราคม 2556 จ�ำนวน 18 ชิ้นงาน และนิตยสาร ELLE เล่มเดือนมกราคม 2556 จ�ำนวน 26 ชิ้นงาน รวมจ�ำนวน 44 ชิ้นงาน ดังนี้ (ต่อ) ด้านการใช้ค�ำ ด้านการใช้ส�ำนวน ด้านการใช้ประโยค Seventeen ELLE Seventeen ELLE Seventeen ELLE 5 การใช้เครื่องหมาย การใช้สำ� นวนสุภาษิต การใช้ส�ำนวนสุภาษิต การใช้รูปประโยคที่ การใช้รูปประโยค การใช้ค�ำซ้อน (5.97%) วรรคตอน ประกอบเรื่องราว ประกอบเรื่องราว เป็นภาษางานประพันธ์ ที่ไม่ตรงตามเจตนา (6.75%) (0%) (0%) โวหาร ภาพพจน์ ของผู้ส่งสาร (3.63%) (2.15%) 6 การใช้ค�ำที่ความหมาย การใช้ค�ำเฉพาะกลุ่ม ไม่สอดคล้องกัน (4.65%) (2.94%) 7 การใช้ค�ำเลียนเสียงพูด การใช้คำ� ที่ความหมาย (1.83%) ไม่สอดคล้องกัน (1.89%) การใช้คำ� ที่มี 8 การใช้อักษรย่อ ความหมายนัยประหวัด (0.92%) (1.65%) การเขียนค�ำผิด 9 การใช้อักษรย่อ (0.61%) (0.91%) 10 การใช้ค�ำเฉพาะกลุ่ม การใช้ค�ำลักษณะนาม (0.91%) ไม่สอดคล้องกับค�ำนาม (0.51%) 11 การใช้ค�ำลักษณะนาม การสร้างค�ำขึ้นใหม่ ไม่สอดคล้องกับค�ำนาม ในภาษา (0.73%) (0.40%) การใช้ชื่อเล่น/ชื่อจริง 12 การใช้ค�ำถาม (0.73%) แทนการใช้บุรุษ สรรพนาม (0.40%) การใช้ค�ำที่มี 13 การใช้ชื่อเล่น/ชื่อจริง แทนการใช้บุรุษ ความหมายนัยประหวัด (0.30%) สรรพนาม (0.73%) 14 การใช้ค�ำแสลง การใช้ค�ำเลียนเสียงพูด (0.64%) (0.20%) การใช้คำ� สันธาน/ 15 การใช้ค�ำอุทาน (0.27%) ค�ำบุพบทไม่สอดคล้อง กับข้อความ (0%) ที่

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

151

ตารางที่ 1 แสดงลักษณะการใช้ภาษาเพื่อการโฆษณาในนิตยสาร Seventeen เล่มเดือนมกราคม 2556 จ�ำนวน 18 ชิ้นงาน และนิตยสาร ELLE เล่มเดือนมกราคม 2556 จ�ำนวน 26 ชิ้นงาน รวมจ�ำนวน 44 ชิ้นงาน ดังนี้ (ต่อ) ด้านการใช้คำ� Seventeen ELLE 16 การสร้างค�ำขึ้นใหม่ การใช้คำ� อุทาน ในภาษา (0%) (0.09%) การใช้คำ� ถาม 17 การเขียนค�ำผิด (0.18%) (0%) การใช้คำ� แสลง 18 การใช้ค�ำสันธาน/ ค�ำบุพบทไม่สอดคล้อง (0%) กับข้อความ (0%) 19 การใช้คำ� ผวน การใช้คำ� ผวน (0%) (0%) ที่

ด้านการใช้ส�ำนวน Seventeen ELLE

ด้านการใช้ประโยค Seventeen ELLE

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

จากตารางข้างต้นซึ่งเป็นผลการศึกษาวิจัยได้พบ ลักษณะการใช้ภาษาโฆษณาในนิตยสารวัยรุน่ ตามลักษณะ ที่ปรากฏดังนี้ ด้านการใช้คำ� พบว่า นิตยสาร Seventeen มีลกั ษณะ การใช้คำ� ภาษาต่างประเทศมากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 30.05 รองลงมาคือ การใช้ค�ำสัมผัส ร้อยละ 25.45 การใช้ เครื่องหมายวรรค ร้อยละ 13.60 การใช้ค�ำซ�้ำ ร้อยละ 13.23 และการใช้ค�ำซ้อน ร้อยละ 5.97 ตามล�ำดับ ส่ วนนิ ต ยสาร ELLE มีลัก ษณะการใช้ค�ำ สัมผัส มากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 32.53 รองลงมาคือ การใช้คำ� ซ�ำ้ ร้อยละ 20.71 การใช้คำ� ภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 17.49 การใช้ค�ำซ้อน ร้อยละ 12.58 และการใช้เครื่องหมาย วรรคตอน ร้อยละ 6.75 ตามล�ำดับ ผลการศึกษาพบว่า นิตยสารทั้งสองฉบับมีลักษณะ การใช้คำ� ทีต่ รงกันแต่มคี วามถีข่ องการใช้คำ� ทีแ่ ตกต่างกัน โดยนิ ต ยสาร Seventeen ปรากฏการใช้ ค� ำ ภาษา ต่างประเทศมากเป็นล�ำดับที่ 1 ร้อยละ 30.05 แต่ปรากฏ เป็นล�ำดับที่ 3 ของนิตยสาร ELLE ร้อยละ 17.49 ซึ่งค�ำภาษาต่างประเทศที่พบในนิตยสารทั้งสองฉบับ ส่วนมากมีทมี่ าจากภาษาอังกฤษจึงสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพล

ทางภาษา วัฒนธรรม และการสื่อสารของชาวตะวันตก ที่เข้ามาแทรกซึมในการสื่อสารของคนไทย รวมถึงการ เปลีย่ นผ่านประเทศสูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียนได้สง่ ผล ให้มีการรับค�ำภาษาต่างประเทศมาใช้อย่างแพร่หลาย ในสังคมไทยมากยิ่งขึ้น ประเภทของการใช้คำ� ภาษาต่างประเทศในนิตยสาร Seventeen ทีพ่ บมากเป็นล�ำดับแรกคือ การน�ำค�ำภาษา อังกฤษบางส่วนมาเขียนปรากฏอยู่ในชิ้นงานโฆษณา ซึง่ พบเป็นชือ่ เฉพาะทีใ่ ช้สำ� หรับเรียกชือ่ สินค้า/การบริการ การอธิบายคุณสมบัติของสินค้า/การบริการ เพื่อเป็น การสื่อสารให้สินค้าดูทันสมัยเป็นที่ยอมรับในสากล หรือเป็นการแสดงข้อมูลการติดต่อ อีเมล เว็บไซต์ เป็นต้น เช่น - โฆษณา ZA Killer Volume Mascara เช่น หัวแปรงใหม่ล่าสุด Ultra Volume, New! - โฆษณา Collection Coloured Lengthening Mascara เช่น Own It Work It Love It, Black Blue Purple Teal - โฆษณา Utip Lip Pink เช่น พร้อม Nano Collagen และ Vitamin E, Lip Pink

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


152

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

- โฆษณา 12 Plus Miracle เช่น 4 Steps, Intelligence System - โฆษณา Air Asia เช่น airasia.com เป็นต้น ส่วนประเภทการใช้ภาษาต่างประเทศในนิตยสาร Seventeen ที่พบเป็นล�ำดับรองลงมาคือ การทับศัพท์ ภาษาต่างประเทศมาเขียนเป็นภาษาไทยและออกเสียง ตามการอ่านในภาษาอังกฤษ ซึง่ ส่วนมากพบในคุณสมบัติ และรายละเอียดของสินค้า/การบริการ เช่น - โฆษณา Nikon Coolpix เช่น พิกเซล บอดี้ สไตล์ เลนส์ซูมออพติคอล เอฟเฟค ฟิลเตอร์ - โฆษณา Utip Lip Pink เช่น ลุค ไอเท็ม ครีเอท ไลค์ เลิฟ - โฆษณา Medicare Clinic เช่น พรีเมีย่ ม เทคนิค อัพลุค - โฆษณา Oxe Cure เช่น โชว์ โอเค สเปรย์ และประเภทการใช้ภาษาไทยตามด้วยภาษาอังกฤษ ในวงเล็บเพื่อขยายความให้ความหมายของค�ำเพิ่มเติม หรือระบุขอ้ มูลเพิม่ เติมของค�ำด้านหน้า ซึง่ พบเพียงเล็กน้อย เช่น - โฆษณา Ettusais เช่น เพือ่ ผิวหน้าแลดูเรียบเนียน (Limited Edition) - โฆษณา PAN Anti Comedone Cleansing Gel เช่น BHA ช่วยสลายสิวอุดตัน (Comedone Relief) - โฆษณา ARTY by bsc เช่น ด้วยสูตรน�ำ้ (Water Base) ในขณะที่นิตยสาร ELLE มีการใช้ค�ำสัมผัสเป็น ล�ำดับแรกของการใช้ค�ำ คิดเป็นร้อยละ 32.53 แต่เป็น ล�ำดับที่ 2 ของนิตยสาร Seventeen ร้อยละ 25.45 ซึ่ ง การใช้ ค� ำ สั ม ผั ส มี ลั ก ษณะของความคล้ อ งจองกั น ในประโยคสร้างความรู้สึกนุ่มนวลและความต่อเนื่อง ในการอ่าน ผู้อ่านโฆษณาสามารถอ่านได้คล่องและเป็น ที่จดจ�ำได้ง่าย จึงเป็นการดึงดูดความสนใจและเป็นการ แนะน�ำสินค้า/บริการได้เป็นอย่างดี ประเภทของการใช้คำ� สัมผัสทีพ่ บมากเป็นล�ำดับแรก ในนิตยสาร ELLE ได้แก่ การสัมผัสพยัญชนะที่มีการน�ำ

ค�ำภาษาไทย 2 พยางค์ขนึ้ ไป ทีม่ ลี กั ษณะเสียงพยัญชนะ ต้นคล้องจองกันเป็นเสียงเดียวกันมาเข้าคู่หรือวางไว้ ใกล้เคียงกัน ซึ่งชิ้นงานโฆษณาส่วนมากที่ใช้การสัมผัส พยัญชนะจะเป็นโฆษณาประเภทเครือ่ งส�ำอาง หรือโฆษณา เกี่ยวกับความสวยความงาม เช่น - โฆษณา Dior (Capture Totale) เช่น ส่วนผสม ทรงคุณค่าสกัดจากธรรมชาติแสนบริสุทธิ์ - โฆษณา ARTISTRY (AMWAY) เช่น ลดเรือน ริ้วรอยให้ผิวดูเรียบเนียน - โฆษณา Laneige (BB Cream) เช่น เพือ่ ผิวสวย เนียนใสระดับมือโปร - โฆษณา Marie France Bodyline เช่น ความสวย ที่แท้จริงคือ การมีรูปร่างสวยสมส่วน และประเภทการใช้ ค� ำ สั ม ผั ส สระที่ มี ก ารน� ำ ค� ำ ภาษาไทยทีม่ ลี กั ษณะเสียงสระและมาตราสะกดเดียวกัน มาเข้าคู่หรือวางไว้ใกล้เคียงกัน เช่น - โฆษณา Estee Lauder เช่น เพราะมลภาวะ ในแต่ละวันมีผลกระทบต่อผิว - โฆษณา sisley เช่น อิมัลชั่นบางเบาใช้เดี่ยวๆ เพียงชิ้นเดียวเพื่อการบ�ำรุงพื้นฐาน - โฆษณา Tsubaki เช่น ด้วยเส้นผมเป็นประกาย เงางามให้คุณโดดเด่นเหนือใคร ด้านการใช้ส�ำนวน พบว่า นิตยสาร Seventeen มีการใช้สำ� นวนภาษาต่างประเทศมากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 50.94 เช่น - โฆษณา L’OCCITANE เช่น “ตกหลุมรักไปกับ L’OCCITANE เชีย บัตเตอร์” - โฆษณา Medicare Clinic เช่น “อัพลุค...ผิว สวยปิง๊ อ่อนกว่าวัย...เป็นสาวคนใหม่ดว้ ยผลิตภัณฑ์ระดับ Premium Set Medi ผลิตภัณฑ์ระดับพรีเมี่ยม เพื่อ ผิวสวย กระจ่างใส ไร้ที่ติ” - โฆษณา BB You Clinic เช่น สวยเร็ว...ปลอดภัย ไร้ไขมัน ด้วยนวัตกรรมสลายไขมันใหม่ล่าสุด Vaser Liposelection

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ซึง่ สอดคล้องกับนิตยสาร ELLE ทีพ่ บลักษณะการใช้ ส�ำนวนภาษาต่างประเทศมากทีส่ ดุ เช่นกัน คิดเป็นร้อยละ 64.51 เป็นการใช้ส�ำนวนภาษาที่มีลักษณะเป็นส�ำนวน และรูปประโยคจากภาษาอังกฤษมาใช้รวมอยูใ่ นประโยค ภาษาไทยอย่างเห็นได้ชัด เช่น - โฆษณา Estee lauder เช่น “ครัง้ แรกของเอสเตลอเดอร์ เซรัม่ ส�ำหรับผิวรอบดวงตา คุณค่าลึกล�ำ้ เหนือ การบ�ำรุง” - โฆษณา sisley เช่น เนื้อสัมผัสอิมัลชั่นบางเบา ใช้เดีย่ วๆ เพียงชิน้ เดียวเพือ่ การบ�ำรุงพืน้ ฐาน หรือใช้กอ่ น ผลิตภัณฑ์บำ� รุงอืน่ ๆ ของซิสเล่ย์ เพือ่ ช่วยเสริมการบ�ำรุงผิว ให้ดูชุ่มชื่นกระจ่างใสยิ่งๆ ขึ้น” ล�ำดับรองลงมาส�ำหรับนิตยสาร Seventeen คือ การใช้ส�ำนวนภาษาพูด ร้อยละ 33.96 เช่น - โฆษณา Oxe Cure เช่น “ท�ำไม? ผู้ชายชอบ โชว์ช้าง...อ๊อกซี่เคียว โอเคป่ะ...หน้าหล่อ แต่หลังลาย ก็ไม่โอเคนะ น็อคทุกสิว ผิวเรียบเนียน ด้วยชุดผลิตภัณฑ์ Oxe Cure” การใช้สำ� นวนภาษาเปรียบเทียบ ร้อยละ 9.43 เช่น - โฆษณา L’OCCITANE เช่น “ครีมบ�ำรุงผิวมือ Limited Edition ที่ผสานกลิ่นหอมของดอกไม้น�ำโชค อันเลื่องชื่อจากนิทานพื้นบ้าน เมื่อชีวิตของหญิงสาว ผูห้ นึง่ ได้เปลีย่ นแปลงไป หลังจากเธอได้เดินทางออกจาก หมูบ่ า้ นเพือ่ ผจญภัย น�ำเธอให้ได้พบกับทุง่ ดอกไม้น�ำโชค ทั้งสามชนิด...อันน�ำมาซึ่งความสุขสมบูรณ์ในชีวิต” และการใช้ส�ำนวนภาษาแสดงอารมณ์/ความรู้สึก ร้อยละ 5.66 ตามล�ำดับ เช่น - โฆษณา Oxe Cure เช่น “หน้าหล่อ แต่หลังลาย ก็ไม่โอเคนะ น็อคทุกสิว ผิวเรียบเนียน ด้วยชุดผลิตภัณฑ์ Oxe Cure” ส่วนนิตยสาร ELLE มีลักษณะการใช้ส�ำนวนภาษา เปรียบเทียบ ร้อยละ 16.12 รองลงมาจากการใช้สำ� นวน ภาษาต่างประเทศ เช่น - โฆษณา DIOR เช่น “ความงามในวันนี้ ทีท่ วีความ งดงามกว่าวันวาน”

153

- โฆษณา BSC Cosmetology เช่น “ประกาย เฉิดฉายดุจคริสตัล...สัมผัสนุ่มนวลด้วย Satin Shine Pearl ช่วยกระจายแสง มอบเฉดสีฉ�่ำวาวสวยสง่าดั่ง นางพญา” ล�ำดับรองลงมาคือ การใช้ส�ำนวนภาษาพูด ร้อยละ 12.90 เช่น - โฆษณา Romrawin Clinic เช่น “ลดพุง...ไม่ง้อ ซิทอัพ ท้าโชว์” และการใช้ส�ำนวนภาษาแสดงอารมณ์/ความรู้สึก ร้อยละ 6.45 ตามล�ำดับ เช่น - โฆษณา SOLVIL TITUS เช่น “ฉันสัญญา...ความรัก ของเราจะคงอยู่ชั่วนิรันดร์” โดยไม่พบลักษณะการใช้ส�ำนวนสุภาษิตประกอบ เรื่องราวจากนิตยสารทั้งสองฉบับ ด้านการใช้ประโยคพบว่า นิตยสาร Seventeen มีลกั ษณะการใช้ประโยคทีม่ กี ารละส่วนประกอบบางส่วน ของประโยคมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 43.63 เช่น - โฆษณา GARNIER เช่น “6 ปัญหาผิว เอาอยู่ใน หนึ่งเดียว” รองลงมาคือ การเรียงล�ำดับส่วนประกอบของประโยค อย่างอิสระ ร้อยละ 32.72 เช่น - โฆษณา ZA Killer Volume Mascara เช่น “ให้ดวงตากลมโตโดดเด่น เพิ่มขนตาให้หนาถึงขีดสุด ด้วยหัวแปรงใหม่ล่าสุด” การผูกประโยคยาวทีม่ เี นือ้ หาซับซ้อน ร้อยละ 10.90 การใช้รปู ประโยคทีไ่ ม่ตรงตามเจตนาของผูส้ ง่ สาร ร้อยละ 9.09 และการใช้รปู ประโยคทีเ่ ป็นภาษางานประพันธ์ โวหาร ภาพพจน์ ร้อยละ 3.63 ตามล�ำดับ ส่วนนิตยสาร ELLE มีการเรียงล�ำดับส่วนประกอบ ของประโยคอย่างอิสระมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 47.31 เช่น - โฆษณา AP เช่น “ให้ทุกวันที่บ้าน เป็นวันพิเศษ ส�ำหรับสองเรา” - โฆษณาแบรนด์รงั นก เช่น “เริม่ ต้นความสุขสมหวัง ในปีใหม่นี้ด้วยแบรนด์รังนกซากุระ”

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


154

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

รองลงมาคือ การละส่วนประกอบบางส่วนของประโยค ร้อยละ 38.70 เช่น - โฆษณา Eucerin เช่น “ฟื้นฟูชั้นผิว บางยุบตัว เติมร่องริ้วรอยลึก ผิวรู้สึกกระชับ ต่อเนื่องยาวนาน” การผูกประโยคยาวทีม่ เี นือ้ หาซับซ้อน ร้อยละ 7.52 การใช้รปู ประโยคทีเ่ ป็นภาษางานประพันธ์ โวหาร ภาพพจน์ ร้อยละ 4.30 และการใช้รูปประโยคที่ไม่ตรงตามเจตนา ของผูส้ ง่ สาร ร้อยละ 2.15 ตามล�ำดับ ซึง่ การใช้ประโยค ล�ำดับที่ 1 และ 2 ของนิตยสารทั้งสองฉบับมีความถี่ ใกล้เคียงกันและสอดคล้องตรงกันกับล�ำดับที่ 1 ของด้าน การใช้สำ� นวน คือ การใช้สำ� นวนภาษาต่างประเทศ โดยมี โครงสร้างประโยคอย่างอิสระและละบางส่วนของประโยค ไปตามลักษณะประโยคในภาษาต่างประเทศคือ ล�ำดับ ประโยคด้วย กรรม กริยา และประธาน ซึง่ แตกต่างจาก โครงสร้างประโยคในภาษาไทยทีเ่ รียงล�ำดับประโยคด้วย ประธาน กริยา และกรรม ตามล�ำดับ

อภิปรายและสรุปผล

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาลักษณะการใช้ภาษาและ การเปลีย่ นผ่านของภาษาเพือ่ การโฆษณา ในด้านการใช้คำ� การใช้สำ� นวน และการใช้ประโยคบนโฆษณาในนิตยสาร วัยรุ่น ปี พ.ศ. 2556 โดยศึกษาเฉพาะเนื้อหาส่วนที่เป็น วัจนภาษาที่ปรากฏอยู่ในนิตยสาร ผลจากการศึกษา นิตยสารวัยรุน่ ทัง้ สองฉบับพบว่า ลักษณะการใช้คำ� สัมผัส เป็นลักษณะของการใช้ค�ำที่พบมากที่สุด รองลงมาคือ ลักษณะการใช้คำ� ภาษาต่างประเทศ และลักษณะการใช้ ค�ำซ�ำ้ ตามล�ำดับ ซึง่ สอดคล้องกับผลการศึกษาวิจยั ของ Sirichai (2008) ทีไ่ ด้ศกึ ษาโครงสร้างและภาษาโฆษณา ในค�ำโปรยปกแผ่นวีซีดีภาพยนตร์ไทยพบว่า การใช้ค�ำ สัมผัสเป็นล�ำดับแรกของการใช้คำ� ทีพ่ บทัง้ 6 ชนิด ซึง่ พบ ทัง้ สัมผัสสระและสัมผัสอักษร (พยัญชนะ) ทีม่ กี ารใช้เพือ่ ให้เกิดความคล้องจองและน่าสนใจของข้อความ มีการใช้ ค�ำซ�้ำ การใช้ค�ำทับศัพท์ การใช้ค�ำย่อและค�ำตัด การใช้ ชื่อเล่น ชื่อจริง ค�ำล�ำดับญาติแทนบุรุษสรรพนาม และ การใช้คำ� ราชาศัพท์ ซึง่ ผลการศึกษาวิจยั ครัง้ นีม้ ลี กั ษณะ

ของการใช้คำ� แตกต่างจากงานวิจยั ของ Ponghanpanit (2004) ทีไ่ ด้ศกึ ษาเปรียบเทียบลักษณะการใช้ภาษาไทย ในโฆษณานิตยสารส�ำหรับวัยรุน่ และผูใ้ หญ่ ได้แก่ นิตยสาร Seventeen และนิตยสารขวัญเรือน ซึง่ พบว่า ลักษณะ การใช้คำ� ทีป่ รากฏมากทีส่ ดุ คือ การใช้คำ� ภาษาต่างประเทศ รองลงมาคือ การใช้ค�ำซ�้ำ และแตกต่างจากการศึกษา ของ Limkulacomn (1991) ที่ได้ศึกษากลวิธีการใช้คำ� ในภาษาโฆษณาภาษาไทยทางโทรทัศน์และนิตยสารไทย พบว่า ลักษณะการใช้ค�ำที่พบมากที่สุดส�ำหรับกลุ่ม เป้าหมายวัยรุ่น คือ การใช้ค�ำซ�้ำ แต่อย่างไรก็ตามจาก ผลการศึกษาครัง้ นีไ้ ด้ปรากฏลักษณะการใช้คำ� ของภาษา โฆษณา 3 ล�ำดับแรกตรงกัน ได้แก่ การใช้คำ� สัมผัส การใช้ ค�ำภาษาต่างประเทศ และการใช้ค�ำซ�้ำ ซึ่งแตกต่างกัน เพียงความถี่ที่พบเท่านั้น ผลการศึกษาด้านการใช้สำ� นวนจากนิตยสารทัง้ สอง ฉบับ พบว่า ลักษณะการใช้สำ� นวนภาษาต่างประเทศเป็น ลักษณะที่พบมากที่สุดเหมือนกันทั้งสองฉบับ รองลงมา คือ ลักษณะการใช้สำ� นวนภาษาพูด และลักษณะการใช้ ส�ำนวนภาษาเปรียบเทียบ ตามล�ำดับ ซึง่ ผลการศึกษาวิจยั ครัง้ นีพ้ บว่า การใช้สำ� นวนภาษาต่างประเทศสอดคล้องกับ การใช้คำ� ภาษาต่างประเทศเฉพาะในนิตยสาร Seventeen ซึง่ พบมากเป็นล�ำดับแรก แต่แตกต่างกับการใช้คำ� ภาษา ต่างประเทศในนิตยสาร ELLE ซึง่ พบมากเป็นล�ำดับที่ 3 จึงคาดว่าเนือ่ งมาจากนิตยสาร Seventeen เป็นนิตยสาร อเมริกัน จึงมีลักษณะการใช้ค�ำภาษาอังกฤษเป็นภาษา ต่างประเทศที่เป็นสากลมากกว่านิตยสาร ELLE ที่เป็น นิตยสารฝรัง่ เศส เพราะโครงสร้างประโยคในภาษาฝรัง่ เศส มีความคล้ายคลึงกับโครงสร้างประโยคของภาษาไทย ที่เรียงล�ำดับประโยคด้วย ประธาน กริยา และกรรม ตามล�ำดับ ซึง่ แตกต่างกับการล�ำดับประโยคในภาษาอังกฤษ ที่เรียงล�ำดับด้วย กรรม กริยา และประธาน จึงส่งผลให้ ปรากฏลักษณะการใช้ค�ำภาษาต่างประเทศและการใช้ ส�ำนวนภาษาต่างประเทศในนิตยสาร Seventeen มาก เป็นล�ำดับแรกในทั้งสองด้าน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ผลการศึ ก ษาด้ า นการใช้ ป ระโยคจากนิ ต ยสาร ทั้งสองฉบับพบว่า ลักษณะการใช้ประโยคที่มีการเรียง ล�ำดับส่วนประกอบของประโยคอย่างอิสระ และการละ ส่วนประกอบบางส่วนของประโยค เป็นลักษณะของการ ใช้ประโยคที่พบมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษา วิจยั ของ Nanthachankul (2000) ทีศ่ กึ ษาอิทธิพลของ นิตยสารส�ำหรับวัยรุ่นที่มีต่อการใช้ภาษาไทยของนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พบว่า ลักษณะการใช้ประโยค ที่ปรากฏในนิตยสารส�ำหรับวัยรุ่นที่มีอิทธิพลต่อการใช้ ภาษาไทยของนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในระดับมาก 2 ล�ำดับ ได้แก่ การละส่วนประกอบบางส่วนของประโยค และการเรียงล�ำดับส่วนประกอบของประโยคอย่างอิสระ และยังสอดคล้องกับงานวิจยั ของ Wongpinunwatana (1994) ทีศ่ กึ ษาวิเคราะห์เกีย่ วกับภาษาในนิตยสารส�ำหรับ วัยรุ่นพบว่า ลักษณะการใช้ประโยคในนิตยสารส�ำหรับ วัยรุ่นจะเป็นประโยคสั้นๆ ง่ายๆ ซึ่งมีการเรียงล�ำดับ ส่วนประกอบของประโยคอย่างอิสระ โดยการลดทอน หรือละส่วนประกอบบางส่วนของประโยคร่วมด้วย ซึง่ เป็น ประโยคทีไ่ ร้แบบแผนสามารถพบเห็นวัยรุน่ ใช้กนั อยูท่ วั่ ไป ในชีวติ ประจ�ำวัน เพือ่ การสือ่ สารทีช่ ดั ตรงและไม่ซบั ซ้อน รองลงมาคือ ลักษณะการผูกประโยคยาวทีม่ เี นือ้ หาซับซ้อน ซึ่งเป็นผลการวิจัยที่ขัดแย้งกับล�ำดับแรกที่เป็นลักษณะ การใช้ประโยคที่ละส่วนประกอบบางส่วนของประโยค แต่ เ นื่ อ งด้ ว ยโฆษณาส่ ว นมากที่ ป รากฏในนิ ต ยสาร ทั้ ง สองฉบั บ ที่ ใ ช้ ใ นการศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น โฆษณา ประเภทเครื่องส�ำอาง หรือโฆษณาเกี่ยวกับความสวย ความงาม ซึง่ พบจ�ำนวน 33 ชิน้ งานโฆษณา จาก 44 ชิน้ งานโฆษณา คิดเป็นร้อยละ 75 จึงมีลกั ษณะการใช้ขอ้ ความ ทีเ่ ป็นประโยคทีผ่ กู โยงให้มเี นือ้ หาซับซ้อนเพือ่ ให้รายละเอียด และโน้มน้าวใจเป็นส�ำคัญสอดคล้องกับการศึกษาวิจัย ของ Sariukl (2010) ทีศ่ กึ ษาวิเคราะห์ภาษาในแผ่นพับ โฆษณาเครื่องส�ำอาง ปี พ.ศ. 2551 พบว่า การโฆษณา เครื่องส�ำอางพบการอธิบายคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ มากที่สุด โดยเป็นข้อความอธิบายรายละเอียดมีทั้งการ ใช้ค�ำ ภาพพจน์ และประโยคอย่างโดดเด่นเพื่ออธิบาย

155

รายละเอียดของเครื่องส�ำอางและเพื่อโน้มน้าวใจผู้อ่าน โฆษณา และยังสอดคล้องกับการศึกษาวิจยั ของ Kosiyakul (2002) ที่ศึกษาเรื่องวัจนลีลาและมายาคติของภาษา โฆษณาเครื่องส�ำอางในนิตยสารผู้หญิงพบว่า โฆษณา เครื่องส�ำอางมีการใช้ลีลาภาษา 2 ลักษณะ คือ การใช้ ประโยคที่เป็นภาษาแสดงคุณสมบัติของเครื่องส�ำอาง มุ่งแสดงรายละเอียดที่เป็นคุณสมบัติของเครื่องส�ำอาง แสดงวัตถุประสงค์การใช้ โดยใช้ภาษาเร้าอารมณ์ สร้าง ความน่าพึงใจ สร้างความน่าเชื่อถือ และสร้างจินตภาพ ของผู้อ่านโฆษณาด้วยข้อความหรือภาษาที่อลังการ ตระการตา และลักษณะการใช้รูปประโยคที่ไม่ตรงตาม เจตนาของผู้ส่งสาร ตามล�ำดับ ซึ่งสอดคล้องกับผลงาน วิจยั ของ Nanthachankul (2000) ทีศ่ กึ ษาอิทธิพลของ นิตยสารส�ำหรับวัยรุ่นที่มีต่อการใช้ภาษาไทยของนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พบว่า ลักษณะการใช้ประโยค ที่ปรากฏในนิตยสารส�ำหรับวัยรุ่นที่มีอิทธิพลต่อการใช้ ภาษาไทยของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในระดับ พอสมควร ส่วนหนึง่ คือ การผูกประโยคยาวเนือ้ หาซับซ้อน และการใช้รูปประโยคที่ไม่ตรงตามเจตนา ซึ่งผู้ส่งสาร ต้องการให้ขอ้ มูลบางอย่างแก่ผรู้ บั สารแต่ไม่ได้แสดงออก ถึงเจตนาในการสื่อสารที่แท้จริงโดยตรง เป็นการท�ำให้ ผู้รับสารเกิดข้อสงสัย จนเกิดความสนใจติดตามข้อมูล จนถึงขัน้ ตัดสินใจซือ้ ได้ในทีส่ ดุ ผูร้ บั สารจึงจ�ำเป็นต้องใช้ ความรู้และประสบการณ์ในการตีความด้วย จึงเป็น ลักษณะการใช้ประโยคทีไ่ ม่ได้รบั ความนิยมมากนัก และ ยังสอดคล้องตรงกับผลการศึกษาของ Cholvisoot (2010) ทีศ่ กึ ษาการใช้ภาษาสือ่ สารในเว็บไซต์ www.pantip.com เพื่อพัฒนาความเข้าใจในรายวิชาภาษาสื่อสารมวลชน พบว่า ด้านการใช้ประโยคตามโครงสร้างที่น�ำมาใช้มักมี การละส่วนประกอบบางอย่าง หรือหากเป็นประโยค ตามเจตนาพบว่า มีการใช้ประโยคทีไ่ ม่ตรงตามเจตนาที่ ต้องการสื่อสารร่วมด้วย จากผลการวิจยั ข้างต้นมีบทสรุปตรงตามแนวคิดของ Chanprakon (2007) ทีก่ ล่าวถึงการโฆษณาว่า เป็นการ เผยแพร่สาร แนวคิด กิจกรรม สินค้าหรือบริการต่างๆ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


156

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ออกสู่สาธารณชนด้วยวิธีการและสื่อต่างๆ ที่เหมาะสม โดยใช้ภาษาโฆษณาทีเ่ ป็นภาษามุง่ โน้มน้าวจิตใจผูร้ บั สาร ให้เกิดการคล้อยตาม เปลี่ยนความคิด และเกิดเป็น การกระท�ำ ฉะนั้นลักษณะการใช้ภาษาเพื่อการโฆษณา ในนิตยสารวัยรุ่นทั้งในด้านการใช้ค�ำสัมผัส ค�ำภาษา ต่างประเทศ ค�ำซ�ำ้ ด้านการใช้สำ� นวนภาษาต่างประเทศ ส�ำนวนภาษาพูด ส�ำนวนภาษาเปรียบเทียบ และด้าน การใช้ประโยคทีม่ กี ารเรียงล�ำดับส่วนประกอบของประโยค อย่างอิสระ การละส่วนประกอบบางส่วนของประโยค การผูกประโยคยาวที่มีเนื้อหาซับซ้อน และการใช้รูป ประโยคที่ ไ ม่ ต รงตามเจตนาของผู ้ ส ่ ง สารได้ พ บเป็ น จ�ำนวนมากตามล�ำดับ เพือ่ เป็นการเน้นอารมณ์ความรูส้ กึ ของผูอ้ า่ นโฆษณา เรียกร้องความสนใจ และท�ำให้ผรู้ บั สาร เกิดความมั่นใจในการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการที่ลง โฆษณาในทีส่ ดุ ถึงแม้วา่ การใช้ภาษาในการสือ่ สารของกลุม่ เป้าหมายกลุม่ วัยรุน่ จะประกอบด้วยตัวแปรทีห่ ลากหลาย แต่การใช้ภาษาโฆษณาเพื่อการสื่อสารบนสื่อนิตยสาร หรือสือ่ สิง่ พิมพ์อนื่ ๆ จะถือเป็นข้อมูลอ้างอิงทีเ่ ป็นลายลักษณ์ อักษรซึง่ ผูร้ บั สารสามารถน�ำภาษาโฆษณาเหล่านัน้ ไปใช้ ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น ได้ ดั ง นั้ น จากงานวิ จั ย ครั้ ง นี้ จึ ง มี ข้อเสนอแนะส�ำหรับสื่อมวลชนผู้ใช้ภาษาโฆษณาเป็น เครือ่ งมือในการสือ่ สาร ควรก�ำหนดมาตรฐานภาษาโฆษณา ด้วยการยึดถือหลักความถูกต้องของไวยากรณ์การใช้ ภาษาเป็นล�ำดับแรก และจึงจะผสมผสานเข้ากับหลักการ โน้มน้าวใจตามวัตถุประสงค์ของการโฆษณาตามล�ำดับ เพื่อส่งผลดีต่อการรับรู้และการใช้ภาษาของผู้รับสาร และเพื่อเป็นการเปลี่ยนแปลงทัศนคติด้านการใช้ภาษา เพื่อการโฆษณาของสื่อมวลชนได้อีกนัยหนึ่ง

ข้อเสนอแนะส�ำหรับงานวิจัยในครั้งต่อไป

1. ควรท�ำวิจยั ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับสือ่ มวลชน หรือผู้สร้างข้อความโฆษณาที่มีอิทธิพลต่อการใช้ภาษา เพื่อการโฆษณาในสื่อต่างๆ เพื่อศึกษาว่า สื่อมวลชน หรือผูส้ ร้างข้อความโฆษณามีทศั นคติหรือมีความคิดเห็น ต่อการใช้ภาษาผ่านสื่ออย่างไร ทั้งนี้เพื่อเป็นการศึกษา เชิงลึกยืนยันผลการวิจัยที่ได้จากการวิเคราะห์เนื้อหา และสามารถน�ำไปใช้งานในวงกว้างได้ต่อไป 2. ควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับทัศนคติหรือความ คิดเห็นของกลุ่มเป้าหมายหรือวัยรุ่นผู้ได้รับสารที่เป็น ภาษาโฆษณาทีป่ รากฏอยูใ่ นสือ่ ต่างๆ ในปัจจุบนั ว่า ภาษา โฆษณาทีไ่ ด้รบั รูส้ ง่ ผลกระทบต่อการใช้ภาษาในปัจจุบนั และในอนาคตหรือไม่ ซึง่ ผลการวิจยั อาจมีความแตกต่าง ไปจากการศึกษาวิจัยเดิมได้ 3. ควรศึกษาวิจัยในอนาคตโดยมุ่งเน้นไปในด้าน การใช้ภาษาบนสื่อออนไลน์ดิจิทัลและผลกระทบที่อาจ เกิดขึน้ ต่อภาษาไทยส�ำหรับวัยรุน่ ในปัจจุบนั และอนาคต ทัง้ นีผ้ วู้ จิ ยั เห็นถึงความส�ำคัญของการศึกษาวิจยั ด้าน การใช้ภาษาโฆษณาทีป่ รากฏในสือ่ ประเภทต่างๆ ในมิติ ทีห่ ลากหลายและแตกต่างออกไปตามข้อเสนอแนะส�ำหรับ การวิจัยในอนาคตข้างต้น เพื่อมุ่งหวังให้ได้ผลการวิจัย ทีจ่ ะเป็นประโยชน์และเป็นแนวทางในการใช้ภาษาโฆษณา เป็นเครือ่ งมือในการสือ่ สารผ่านสือ่ ต่างๆ อย่างมีมาตรฐาน และเป็นการพัฒนาวงการสื่อสารไทยในอนาคต รวมทั้ง เพือ่ เป็นแนวทางในการธ�ำรงรักษาและอนุรกั ษ์ภาษาไทย ที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติไว้ได้เป็นอย่างดีต่อไป

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

157

Reference Chalermmeeprasert, P. (2007). Communicative language in advertising. FMS Journal, 3(5), 48. [in Thai] Chanprakon, V. (2007). Thai usage for communication (2nd ed.). Bangkok: Triple Group. [in Thai] Cholvisoot, T. (2010). The study of language usage for communication via www.pantip.com for developing the understanding in mass media language course. Research report. Lampang: Lampang Rajabhat University. [in Thai] Doungdee, P. (2001). An analytical study of the teenagers’ colloquialisms in Thai fims during 1996-1997. Master’s thesis, Prince of Songkla University. [in Thai] Kosiyakul, K. (2002). The style of language and the myth in cosmetic advertising in women magazine. Bangkok: Thai Theses Database. [in Thai] Limkulacomn, S. (1991). Strategies of word use in Thai in television and magazine advertising. Master’s thesis, Chulalongkorn University. [in Thai] Nanthachankul, S. (2000). The study of influence of teen magazines on Thai usage among bachelor students Kasetsart University. Humanities Journal, 8(1), 1-19. [in Thai] Pilanthaowat, O. (2011). Persuasive communication (6th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai] Ponghanpanit, S. (2004). The comparative study of Thai usage in advertisement between the teenage journals and the adult journals. Master’s thesis, Kasetsart University. [in Thai] Saengchan, B. (2012). Behavior and attitude of teenagers in Bangkok toward chat language. Master’s thesis, Sripatum University. [in Thai] Sariukl, B. (2010). An analysis of language in cosmetic advertising fliers in 2008. Srinakharinwirot Research and Development (Journal of Humanities and Social Sciences), 4(7), 42-56. [in Thai] Satawedin, P. (2003). Introduction to communication arts (10th ed.). Bangkok: Pappim Publisher. [in Thai] Satawedin, P. (2003). Mass communication: Process and theory (3rd ed.). Bangkok: Pappim Publisher. [in Thai] Singkakuldacha, A. (2002). An evolution of advertising language in children products in magazines for mothers and children during 1978-1998. Master’s thesis, The University of the Thai Chamber of Commerce. [in Thai] Sirichai, P. (2008). The characteristics of descriptive structure in using verbal and non-verbal language in Kham Proy on the VCD of Thai movies. Master’s thesis, Kasetsart University. [in Thai] Sundaravibhata, T. (2010). Advanced creative strategy (7th ed.). Patumthani: Bangkok University. [in Thai] Wimmer, R. D. & Dominick, J. R. (1987). Mass Media Research an Introduction (2nd ed.). Belmont: Wadsworth Publishing. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


158

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Wongpinunwatana, W. (1994). The analysis of language used in teenage magzaine. Research report. Khon Kaen: Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. [in Thai] Yiemkuntitavorn, S. (2014). Change your thought to improve English for communication. Panyapiwat Journal, 5(Special Issue), 220. [in Thai] Yutibun, S. (2010). Features, usage and meanings of slang in teen magazines. Master’s thesis, Silpakorn University. [in Thai]

Name and Surname: Rapirat Varischanpleng Highest Education: Bachelor of Arts (Thai Language), Bangkok University University or Agency: Bangkok University Field of Expertise: Thai Usage for Communication Address: 19/36 Nirun Ville 9, Bangkaew, Bangplee, Samutprakarn 10540 Name and Surname: Patama Satawedin Highest Education: Ph.D. in Mass Communications, University of Leicester, Leicester, United Kingdom University or Agency: Bangkok University Field of Expertise: Health Communication, Public Relations, Crisis Communication and Crisis Management Address: 6 Soi Thaiyanon, Sanambinnam Rd., Mueang, Nonthaburi 11000 Name and Surname: Peeraya Hanpongpandh Highest Education: Ph.D. in Communications, University of Iowa University or Agency: Bangkok University Field of Expertise: Public Relations, Relationship Management Address: 56/197-198 Mantana Village, Soi Watprangen, Plaibang, Bangluay, Nonthaburi 11130

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

159

ธรรมชาติของการเกิดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง ส�ำหรับการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาล THE NATURE OF PROCRASTINATING BEHAVIOR OCCURRENCE OF MUNICIPAL STAFFS นพัชนันต์ นวกิจรังสรรค์ Napatchanan Nawakitrangsan คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ Faculty of Applied Arts, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบพรรณนา (descriptive qualitative research) ที่มุ่งเน้นศึกษา พฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ ส�ำหรับการปฏิบตั งิ านตามการรับรูข้ องพนักงานเทศบาลในด้านความหมาย องค์ประกอบ และสาเหตุที่ท�ำให้เกิดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth interview) ในกลุ่มพนักงานเทศบาลนครนนทบุรี จ�ำนวน 12 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (content analysis) ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ผู้ให้ข้อมูลให้ความหมายของพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่งว่า หมายถึง การผัดผ่อน งานที่ได้รับมอบหมายท�ำให้งานไม่เสร็จตามก�ำหนด ส่วนองค์ประกอบของพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง (Vestervelt, 2000 cited in Akaramanee, 2003) สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 องค์ประกอบคือ องค์ประกอบทางปัญญา องค์ประกอบทางความรูส้ กึ และองค์ประกอบทางพฤติกรรม ส�ำหรับสาเหตุทที่ ำ� ให้เกิดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ นัน้ ผู้ให้ข้อมูลรับรู้ว่าสามารถเกิดได้จากตัวผู้ให้ข้อมูลเอง ได้แก่ คุณค่าในตนเอง (self-esteem) การมีจิตส�ำนึก (conscientiousness) ความรับผิดชอบ (responsibility) วินัยในตนเอง (self-Discipline) ภาวะเหนื่อยล้าในการท�ำงาน (job burnout) และงานทีห่ นักเกินไป (work overload) นอกจากนีผ้ ใู้ ห้ขอ้ มูลยังสามารถรับรูไ้ ด้วา่ แรงจูงใจทีส่ ามารถ ช่วยลดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ ได้นนั้ คือ การได้รบั การปรับขึน้ เงินเดือน การเลือ่ นขัน้ การเลือ่ นต�ำแหน่ง การได้รบั การบรรจุเป็นพนักงานประจ�ำ การได้รับสวัสดิการเพิ่มเติม และการได้รับค�ำชมจากผู้บังคับบัญชา อย่างไรก็ตาม ผลการวิจยั ในครัง้ นีส้ ามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้สำ� หรับการสร้างนโยบายในการดูแล กระตุน้ จูงใจพนักงานทัง้ ในภาครัฐ และเอกชนให้มีพฤติกรรมการท�ำงานที่พึงปรารถนาจนส่งผลให้เทศบาลหรือองค์กรท้องถิ่นเกิดการพัฒนาที่มี ประสิทธิภาพสืบต่อไป ค�ำส�ำคัญ: พฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง แรงจูงใจ ภาครัฐและเอกชน

Corresponding Author E-mail: i.am.ming@hotmail.com


160

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

The study was a qualitative research investigating the behavior of procrastination among municipal employees being its main component and cause. The data was collected through an in-depth interview 12 municipal employees. The data analysis showed that procrastinators put aside work in order to do other activities that are more favorable at the moment. Three components of the behavior of procrastination were found. (Vestervelt, 2000 cited in Akaramanee, 2003) The finding lists intellect, emotion and behavior as causes of employee procrastination. The respondent sample acknowledged among themselves that it may also include; self-esteem, conscientiousness, responsibility, self-discipline, job burnout and work overload. Among others forms of motivation, employee procrastination may be reduced by salary increase, promotion, employee benefits and commendations. Moreover, this research can be useful for the creation of policies, which encourage motivation among government and private employees, making them successful and more projective in their respective responsibilities. Keywords: Procrastination, Motivation, Public and private

บทน�ำ

ปัจจุบนั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เป็นองค์กรหลัก ทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบในการพัฒนาประเทศและดูแลความ เป็นอยูข่ องประชาชน ภายใต้กรอบและแผนยุทธศาสตร์ ส�ำหรับการพัฒนาประเทศโดยรัฐบาล ซึง่ ถ้าหากพิจารณา จะพบว่า ปัจจัยหนึง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญและเป็นก�ำลังในการ ขับเคลื่อนเทศบาลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ สามารถด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพก็คอื พนักงาน เทศบาลนั้นเอง พนักงานเทศบาล หมายถึง บุคลากรซึ่งได้รับการ บรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในแต่ละส่วนงานของ เทศบาล ซึง่ อาจจะมีลกั ษณะเป็นพนักงานลูกจ้างประจ�ำ พนักงานจ้างตามภารกิจ และพนักงานลูกจ้างชั่วคราว โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนของ เทศบาลหรือได้รบั เงินเดือนจากเงินงบประมาณส่วนท้องถิน่ อย่างไรก็ตามพนักงานเทศบาลนับว่าเป็นบุคคลทีม่ บี ทบาท ที่ส�ำคัญต่อการพัฒนาทั้งในระดับชุมชน สังคม และ ประเทศ เนื่องมาจากพนักงานเทศบาลถือเป็นบุคคลที่ เป็นตัวแทนของภาครัฐในส่วนท้องถิ่นที่มีความใกล้ชิด

กับประชาชนมากทีส่ ดุ มีหน้าทีด่ แู ลความเรียบร้อย รวมทัง้ การให้บริการประชาชนในโครงสร้างพืน้ ฐานตัง้ แต่แรกเกิด จนกระทัง่ เสียชีวติ อาทิ การรับเรือ่ งร้องเรียนเหตุรำ� คาญ การก�ำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล การป้องกันและ ระงับโรคติดต่อ การจัดให้มนี ำ�้ สะอาด การประปา การจัด ให้มีและการบ�ำรุงไฟฟ้าหรือแสงสว่าง การวางผังเมือง การควบคุมการก่อสร้าง และการควบคุมสุขลักษณะและ อนามัยในร้านจ�ำหน่ายอาหาร ซึ่งล้วนแต่เป็นการดูแล สวัสดิการต่างๆ จากรัฐ อันจะน�ำมาซึง่ การพัฒนาท้องถิน่ ให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าและเป็นปกติสุข แต่อย่างไรก็ตาม การขับเคลือ่ นเทศบาลให้สามารถ พัฒนาท้องถิน่ จนท�ำให้เกิดความเจริญรุง่ เรืองก้าวหน้าขึน้ ได้นนั้ จ�ำเป็นจะต้องอาศัยพนักงานเทศบาลทีม่ คี ณ ุ ลักษณะ ของการเป็นพนักงานที่ดีสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่าง ถู ก ต้ อ งเหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการ ของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ การมีความ กระตือรือร้นในการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาท้องถิ่น และสามารถให้บริการประชาชนด้วยความเต็มใจอย่าง ทัว่ ถึง ซึง่ สอดคล้องกับค�ำกล่าวของ Relief Jones (n.d.)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ที่ ก ล่ า วว่ า พนั กงานที่ดีควรจะต้องประกอบไปด้วย คุณลักษณะที่ส�ำคัญ 4 ด้านก็คือ มีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้น มีความคิดริเริม่ และมีทกั ษะในการ ติดต่อสื่อสาร นอกจากคุณลักษณะของการเป็นพนักงานที่ดีแล้ว พฤติกรรมการท�ำงานก็ถือว่าเป็นปัจจัยที่มีส่วนท�ำให้ บุคคลสามารถแสดงการกระท�ำได้ทงั้ ทางบวกและทางลบ โดยพฤติกรรมการท�ำงานทีพ่ งึ ปรารถนาจัดเป็นพฤติกรรม ทางบวกอย่างหนึ่งที่ขึ้นอยู่กับความคิดของบุคคลว่าจะ เลือกกระท�ำหรือไม่กระท�ำพฤติกรรมนัน้ ความคิดดังกล่าว จัดว่าเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญและสามารถใช้ในการ ควบคุมตนเองให้ปฏิบัติงานได้สำ� เร็จ หรืองดเว้นละเลย จากการปฏิบัติงานเพียงเพื่อความพึงพอใจที่จะเกิดขึ้น ชั่วคราวในปัจจุบัน และจากการศึกษาที่ผ่านมาของ Sakmanee (1989) ได้แสดงให้เห็นว่า ก่อนทีพ่ ฤติกรรม การท�ำงานที่พึงปรารถนาจะเกิดขึ้นนั้นมักจะถูกบดบัง หรือทดแทนด้วยพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาอยู่เสมอ โดยทั่วไปพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง นับว่าเป็น พฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาที่น่าสนใจ ซึ่งมักจะเกิดจาก การกระท�ำลงไปโดยอัตโนมัตขิ องบุคคล และส่งผลให้เกิด การหันเหจากความคิด โดยมีสว่ นในการขัดขวางพฤติกรรม ทีพ่ งึ ปรารถนาในการท�ำงาน ท�ำให้บคุ คลไม่สามารถควบคุม หรือก�ำกับพฤติกรรมของตนเองให้ไปสูแ่ นวทางทีก่ ำ� หนด ไว้ในอนาคตได้ จากการศึ ก ษางานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งนั้ น สามารถ อธิบายได้วา่ พฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ เป็นปัจจัยหลัก ที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการท�ำงาน เช่นเดียว กับการศึกษาของ Akaramanee (2003) ทีพ่ บว่า บุคคล ที่มีพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่งต�่ำจะท�ำให้การท�ำงาน ของพนักงานเกิดประสิทธิภาพในระดับสูง ในขณะที่ การศึกษาของ Tuk (2012) พบว่า พนักงานทีม่ คี วามผาสุก ในการท�ำงาน (employee well-being) จะมีโอกาส ในการแสดงพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่งต�ำ่ นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาของ Michinov et al. (2011) ที่พบว่า บุคคลที่มีพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่งในระดับต�่ำมักจะ

161

ประสบความส�ำเร็จในการเรียนรูไ้ ด้เป็นอย่างดี ถึงแม้วา่ พฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ จะเป็นพฤติกรรมการท�ำงาน ทีไ่ ม่พงึ ปรารถนา แต่สำ� หรับการศึกษาของ Chissom & Iran-Nejad (1992) และ Tice & Baumeister (1997 cited in Steel, 2007) กลับพบว่า บุคคลบางกลุ่มมี การใช้พฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง เพื่อเป็นการกระตุ้น และผนึกก�ำลัง เร่งการปฏิบัติงานเมื่อวันเวลาผ่านไปจน ใกล้ถึงก�ำหนดเวลาสุดท้ายที่ต้องท�ำให้เสร็จ เป็นต้น อย่างไรก็ตามจากการศึกษางานวิจยั ดังกล่าวข้างต้น สามารถท�ำให้ทราบได้วา่ ส�ำหรับประเทศไทยยังไม่คอ่ ย พบการศึกษาพฤติกรรมทีไ่ ม่พงึ ปรารถนาในประเด็นของ พฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ มากมายนัก ส่วนใหญ่มกั จะ เป็นการศึกษาพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่งในแง่ของ ตัวแปรเหตุที่ส่งผลกระทบต่อตัวแปรผลลัพธ์ ดังเช่น ประสิทธิภาพในการท�ำงาน ด้วยเหตุนี้จึงท�ำให้ผู้วิจัยมี ความสนใจที่จะศึกษาธรรมชาติของการเกิดพฤติกรรม ผัดวันประกันพรุ่งส�ำหรับการปฏิบัติงานของพนักงาน เทศบาล ทั้งในส่วนของความหมาย องค์ประกอบ และ สาเหตุของการเกิดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ เพือ่ ศึกษา และท�ำความเข้าใจถึงสาเหตุทแี่ ท้จริงของการเกิดพฤติกรรม เหตุที่แท้จริงของการเกิดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง ตามการรับรู้ของผู้ให้ข้อมูลอย่างลึกซึ้ง และสามารถน�ำ ผลจากการวิจัยในครั้งนี้มาใช้ส�ำหรับเป็นข้อมูลเบื้องต้น ในการวางแผนลดพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาจากการ ท�ำงานที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับพนักงาน เทศบาลสืบต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาหาความหมายของค�ำว่า พฤติกรรม ผัดวันประกันพรุง่ ส�ำหรับการปฏิบตั งิ านตามการรับรูข้ อง พนักงานเทศบาล 2. เพื่อศึกษาองค์ประกอบของพฤติกรรมผัดวัน ประกั น พรุ ่ ง ส� ำ หรั บ การปฏิ บั ติ ง านตามการรั บ รู ้ ข อง พนักงานเทศบาล 3. เพื่อค้นหาสาเหตุของการเกิดพฤติกรรมผัดวัน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


162

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ประกันพรุ่ง ส�ำหรับการปฏิบัติงานตามการรับรู้ของ พนักงานเทศบาล

ค�ำถามการวิจัย

1. พนักงานเทศบาลให้ความหมายของพฤติกรรม ผัดวันประกันพรุ่งว่าอย่างไร 2. พนักงานเทศบาลให้องค์ประกอบของพฤติกรรม ผัดวันประกันพรุ่งว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง 3. อะไรเป็นสาเหตุที่ท�ำให้เกิดพฤติกรรมผัดวัน ประกันพรุ่งในพนักงานเทศบาล

วิธีดำ� เนินการวิจัย

ผูว้ จิ ยั เลือกผูใ้ ห้ขอ้ มูลแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) โดยเลือกพนักงานเทศบาลที่ปฏิบัติหน้าที่ หรือท�ำงานอยูใ่ นเทศบาลนครนนทบุรี ซึง่ ในขัน้ ตอนแรก ผู้วิจัยจะใช้การสอบถามข้อมูลเบื้องต้นจากหัวหน้างาน หรือผูบ้ งั คับบัญชาในแต่ละฝ่ายการท�ำงาน โดยค�ำนึงถึง ลักษณะงานว่าลักษณะงานสามารถมีพฤติกรรมผัดงาน ได้หรือไม่ เกณฑ์การคัดเลือกจะคัดเลือกแบบทั้งที่เป็น พนักงานจ้างภารกิจ และข้าราชการ หลังจากนั้นผู้วิจัย จะคัดเลือกผูใ้ ห้ขอ้ มูลตามความยินยอมและความสมัครใจ ในการให้สัมภาษณ์ แล้วจึงด�ำเนินการขั้นตอนต่อไป ซึง่ จ�ำนวนของผูใ้ ห้ขอ้ มูลในการวิจยั ครัง้ นีผ้ วู้ จิ ยั พิจารณา ตามการอิ่มตัวของข้อมูล ซึ่งการวิจัยครั้งนี้ได้ผู้ให้ข้อมูล ทั้งสิ้นจ�ำนวน 12 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัย

เครือ่ งมือทีใ่ ช้ประกอบการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจยั ในครัง้ นีป้ ระกอบด้วยแบบสัมภาษณ์และเครือ่ งบันทึกเสียง 1. แบบสัมภาษณ์ทผี่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ เองและได้รบั การ พิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิกับอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และ แบบสอบถามข้อมูลเกีย่ วกับพฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ ส�ำหรับการปฏิบัติงาน โดยค�ำถามมีลักษณะเป็นค�ำถาม กึ่งโครงสร้าง ครอบคลุมเรื่องความหมาย องค์ประกอบ

และสาเหตุของการเกิดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง 2. เครื่องบันทึกเสียงพร้อมเทปบันทึกเสียงส�ำหรับ การสัมภาษณ์

ความน่าเชื่อถือของข้อมูล

การวิจัยครั้งนี้มีการควบคุมคุณภาพและความน่า เชื่อถือของข้อมูล ดังนี้ 1. เครื่องมือที่ใช้ส�ำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลใน ครั้งนี้ ผู้วิจัยมีการตั้งค�ำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมผัดวัน ประกันพรุง่ ส�ำหรับการปฏิบตั งิ านตามการรับรูข้ องพนักงาน เทศบาล ในด้านความหมาย องค์ประกอบ และสาเหตุ ของการเกิดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง จากนั้นน�ำไป ให้ผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก และผู้เชี่ยวชาญ ด้านการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง ความครบถ้ ว นของเนื้ อ หา และความสอดคล้ อ งกั บ วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 2. ผูว้ จิ ยั ลงพืน้ ทีส่ มั ภาษณ์และวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วย ตนเอง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน และป้องกัน อคติทเี่ กิดจากการสัมภาษณ์ทอี่ าจจะเกิดจากตัวผูว้ จิ ยั เอง จัดเป็นการช่วยให้คณ ุ ภาพของข้อมูลทีใ่ ช้สำ� หรับการวิจยั มีความเที่ยงตรงเพิ่มมากขึ้น 3. การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยด�ำเนินการอย่างเป็นระบบ ทั้งกระบวนการก่อนรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และแปร ความหมาย โดยพิจารณาข้อมูลจากการสัมภาษณ์และ ข้อมูลทีไ่ ด้จากการสังเกตอย่างละเอียด มีการตรวจสอบ ข้อมูลที่ได้จากการถามทวนกลับไปกลับมาจากผู้ให้ สัมภาษณ์ 4. ผู ้ วิ จั ย ตรวจสอบกั บ แหล่ ง อ้ า งอิ ง ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ (Referential adequacy) ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งแหล่งอ้างอิงเพียงพอและเชื่อถือได้แล้วน�ำข้อมูลที่ได้ ไปตรวจสอบกับผู้ให้ข้อมูลนั้นอีกครั้งหนึ่ง 5. การตรวจสอบแบบสามเส้าด้านวิธีการรวบรวม ข้อมูล (Methodological triangulation) โดยใช้วธิ เี ก็บ รวบรวมข้อมูลต่างๆ จากหลายวิธกี าร ได้แก่ การสัมภาษณ์ ควบคู่การสังเกต และสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

หัวหน้างาน และเพื่อนร่วมงานของผู้ถูกสัมภาษณ์

การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองระหว่างเดือน มีนาคม 2559 ถึงเดือนพฤษภาคม 2559 ซึ่งมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. เลื อ กพื้ น ที่ ที่ เ ข้ า ไปสั ม ภาษณ์ ข ้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ พฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง คือ เทศบาลนครนนทบุรี อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ซึง่ เป็นพืน้ ทีท่ ผี่ วู้ จิ ยั มีความ คุ้นเคยสามารถเดินทางไปเก็บข้อมูลได้สะดวก 2. ติดต่อนายกเทศมนตรีนครนนทบุรี ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนัก เพื่อขออนุญาตเข้าท�ำการสัมภาษณ์พนักงาน ในเทศบาล 3. ติดต่อหัวหน้าฝ่ายหรือหัวหน้าแผนกในแต่ละ แผนก/ส�ำนัก เพือ่ ขอทราบข้อมูลเบือ้ งต้นเกีย่ วกับลักษณะ การท� ำ งานของพนั ก งานที่ มี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ผู ้ วิ จั ย ก�ำหนดไว้ 4. เข้าไปในแต่ละฝ่าย/ส�ำนักการท�ำงานร่วมกับ หัวหน้าส�ำนัก เพือ่ แนะน�ำตัวกับผูใ้ ห้ขอ้ มูล สร้างสัมพันธภาพ ชีแ้ จ้งวัตถุประสงค์ จ�ำนวนครัง้ ของการสัมภาษณ์ สิทธิทจี่ ะ ไม่เข้าร่วมงานวิจยั รวมถึงความปลอดภัย การเก็บข้อมูล เป็นความลับไม่เปิดเผยชื่อ-นามสกุลจริงของผู้ให้ข้อมูล และการวิเคราะห์ผลในภาพรวม รวมทั้งวิธีการน�ำเสนอ ข้อมูลซึ่งจะน�ำเสนอเฉพาะในขอบเขตที่ได้รับอนุญาต จากผูใ้ ห้ขอ้ มูลเท่านัน้ ในระหว่างการสัมภาษณ์หากผูใ้ ห้ ข้อมูลไม่ยนิ ดีทจี่ ะตอบค�ำถามสามารถยุตกิ ารสนทนาได้ ตลอดเวลา เมือ่ พนักงานยินดีทจี่ ะให้ขอ้ มูลแล้วผูว้ จิ ยั จะ นัดวันเวลาและสถานทีใ่ นการสัมภาษณ์ตามความสะดวก ของผู้ให้ข้อมูล 5. ด�ำเนินการสัมภาษณ์ โดยใช้เทคนิคการสัมภาษณ์ แบบเชิงลึกเพื่อเจาะลึกข้อมูลให้ผู้ให้ข้อมูลเล่าลักษณะ การท�ำงานอย่างลึกซึง้ ในภาพรวม ซึง่ ผูส้ มั ภาษณ์จะต้องใช้ ความสามารถในการถามค�ำถามทีค่ รอบคลุมวัตถุประสงค์ ของการวิจัยโดยค�ำถามจะต้องไม่เป็นค�ำถามเชิงลบ

163

ที่กระทบจิตใจผู้ให้ข้อมูล เมื่อเสร็จสิ้นการสัมภาษณ์ ผูว้ จิ ยั กล่าวขอบคุณและนัดหมายการสัมภาษณ์ครัง้ ต่อไป (การสัมภาษณ์จะมีจ�ำนวน 2-3 ครั้ง หรือจนกว่าผู้วิจัย พิจารณาแล้วว่าข้อมูลทีไ่ ด้ไม่มขี อ้ มูลใหม่เพิม่ ขึน้ จากเดิม) 6. ผู้วิจัยท�ำการแปลผลและวิเคราะห์ข้อมูล โดย ท�ำการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลอีกครั้งก่อนน�ำ ข้อมูลไปวิเคราะห์เพื่อให้ได้ข้อสรุปตามความเป็นจริง

การวิเคราะห์ข้อมูล

ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยน�ำมาวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามขั้นตอน ดังนี้ 1. หลังจากสัมภาษณ์ผู้วิจัยน�ำเทปบันทึกเสียงของ ผู้ให้ข้อมูลในแต่ละคนมาท�ำการถอดเทป แล้วบันทึก ข้อมูลเก็บไว้ 2. การวางแผนการวิเคราะห์ ผูว้ จิ ยั ท�ำความคุน้ เคย กับข้อมูลการสัมภาษณ์ทั้งหมดในครั้งแรกโดยการอ่าน อย่างรวดเร็วเพื่อจะได้เห็นภาพและออกแบบประเด็น หรือหมวดหมูก่ ารวิจยั ออกเป็นหัวข้อต่างๆ ทัง้ หัวข้อหลัก และหัวข้อย่อยในระหว่างการวางแผนการวิเคราะห์ขอ้ มูล ไปด้วย 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพในครั้งนี้ ผู้วิจัย ท� ำ การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล โดยการจ� ำ แนกชนิ ด ข้ อ มู ล (Typological Analysis) และจัดระเบียบข้อมูลที่เก็บ รวบรวมไว้จากการสัมภาษณ์ร่วมกับการตีความหมาย เพื่อให้สามารถตอบค�ำถามในการวิจัยครั้งนี้ทั้งในด้าน ความหมาย องค์ ป ระกอบ และสาเหตุ ข องการเกิ ด พฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง 4. การแปลความหมายและการน� ำ แนวคิ ด และ ทฤษฎีมาอธิบาย ขัน้ ตอนนีเ้ ป็นการเขียนพรรณนาทีไ่ ด้จาก การตีความ ถึงผลการศึกษาออกมาตามประเด็นต่างๆ ที่วางแผนไว้แล้ว พร้อมทั้งน�ำแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ในประเด็นต่างๆ มาเชือ่ มโยงเข้าหากับผลการวิจยั ทีค่ น้ พบ ในครั้งนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


164

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ผลการวิจัย

การวิจยั ในครัง้ นีม้ งุ่ ค้นหาความหมาย องค์ประกอบ และสาเหตุ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด พฤติ ก รรมผั ด วั น ประกั น พรุ ่ ง ตามการรับรู้ของผู้ให้ข้อมูลด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ท�ำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลจ�ำนวน 12 คน ซึ่งสามารถน�ำเสนอผลการวิจัยเป็น 2 ตอนดังต่อไปนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ให้ข้อมูลในครั้งนี้มีจ�ำนวน 12 คน เป็นเพศชาย จ�ำนวน 5 คน เพศหญิงจ�ำนวน 7 คน มีอายุระหว่าง 35-55 ปี ผูใ้ ห้ขอ้ มูลทัง้ หมดนับถือศาสนาพุทธ สัญชาติไทย ระดั บ การศึ กษาแบ่ ง ออกเป็นระดับ การศึก ษาระดับ ปริญญาตรีจำ� นวน 10 คน ระดับปริญญาโทจ�ำนวน 2 คน มีประสบการณ์ในการท�ำงาน 5 ปี จ�ำนวน 6 คน และ มีประสบการณ์ในการท�ำงานมากกว่า 5 ปี จ�ำนวน 6 คน โดยที่ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดจ�ำนวน 12 คน ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งให้เป็นพนักงานประจ�ำเทศบาลนครนนทบุรี ตอนที่ 2 พฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ ส�ำหรับการ ปฏิบัติงาน 2.1 ความหมายของพฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ ส�ำหรับการปฏิบตั งิ าน การวิจยั ในครัง้ นีผ้ ใู้ ห้ขอ้ มูลรับรูว้ า่ พฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง หมายถึง การไม่ลงมือท�ำ ในงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย เลือ่ นวันท�ำงานออกไปจนสุดท้าย อาจเป็นผลให้ส่งงานไม่ทันตามก�ำหนด ดังค�ำกล่าวที่ว่า “การที่จะท�ำแต่ยังไม่ลงมือท�ำสักที สุดท้าย ก็เลยก�ำหนดการส่งงาน” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 1) “ไม่ลงมือท�ำวันนี้ ผัดไปท�ำวันอื่น ผัดไปจน เป็นดินพอกหางหมู สุดท้ายงานเยอะท�ำไม่ทันจนต้อง เลยก�ำหนดส่งงาน” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 3) “การผัดผ่อนงานไม่ยอมท�ำทันที อาจด้วย เหตุผลจากตัวเองหรืองานจากตัวเอง เช่น ขี้เกียจ ขาด ความรับผิดชอบ…จากงาน อย่างเช่น งานมากเกินไป หรืองานยากท�ำไม่ได้ เป็นต้น” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 4) “ยกตัวอย่างเช่น ก�ำหนดส่งงานวันที่ 5 แต่ไม่ยอม ส่งผัดไปอีกเป็นวันที่ 6, 7, 8 เรื่อยๆ” (ผู้ให้สัมภาษณ์ คนที่ 5)

2.2 องค์ประกอบของพฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ 2.2.1 องค์ประกอบทางปัญญา ผู้ให้ข้อมูล มีการรับรู้ว่า องค์ประกอบทางปัญญา คือ การที่ผู้ให้ ข้อมูลตระหนักถึงงานที่ได้รับมอบหมายอยู่ตลอดเวลา แต่กย็ งั ตัง้ ใจทีจ่ ะชะลอการท�ำงานนัน้ ออกไปอาจจะด้วย ความต้องการท�ำงานนัน้ ให้สมบูรณ์อย่างไม่มที ตี่ ดิ งั ค�ำกล่าว ที่ว่า “เลือ่ นงานรับถนน เนือ่ งจากถนนไม่ได้ สเปค ผมสั่งแก้ใหม่งานนั้นต้องเลื่อนก�ำหนดไปเกือบ 15 วัน” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 3) “งานติดตัง้ โคมไฟ ติดไปเสร็จเรียบร้อย สวยงามแต่ใช้งานจริงแสงสว่างไม่ 100% ใช้งานจริง ไม่ได้ประโยชน์สูงสุด ต้องแก้ใหม่หมด” (ผู้ให้สัมภาษณ์ คนที่ 6) 2.2.2 องค์ประกอบทางพฤติกรรม ผูใ้ ห้ขอ้ มูล สามารถรับรู้ได้ว่า องค์ประกอบทางพฤติกรรม คือ การ ท�ำงานล่าช้าออกไป เนื่องจากผู้ร่วมงานมักมีพฤติกรรม อย่างอืน่ แทรกซ้อน เช่น การสูบบุหรี่ การเล่น facebook หรือ Line เป็นเหตุให้งานมีความล่าช้าหรือไม่เสร็จตรง ตามก�ำหนดเวลา และงานบางอย่างไม่ควรใช้เวลานาน ขนาดนี้ ดังค�ำกล่าวที่ว่า “เคยไปขอให้ฝ่ายอื่นช่วยอยู่บ้าง...งาน มันง่ายมากเลยนะ แต่เขาไม่ทำ� สักที สรุปฉันเลยต้องไป ท�ำเอง” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 2) “การสูบบุหรี่ก็มีบ้างที่ท�ำให้งานล่าช้า ออกไป” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 9) “ฉันคิดว่าปัญหาอีก 1 ข้อที่เป็นตัว ขัดขวางความล่าช้าในการท�ำงานของคนในยุคปัจจุบนั ... ฉันว่า facebook และ line คนส่วนใหญ่ให้เวลากับมัน มากค่ะ” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 5) 2.3 สาเหตุทที่ ำ� ให้เกิดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ การศึกษาในครัง้ นีผ้ ใู้ ห้ขอ้ มูลสามารถรับรูว้ า่ สาเหตุทที่ ำ� ให้ เกิดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ คือ พฤติกรรมทีเ่ กิดจาก ตัวผูใ้ ห้ขอ้ มูลเอง ได้แก่ คุณค่าในตนเอง (self-esteem) การมีจติ ส�ำนึก (conscientiousness) ความรับผิดชอบ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

(responsibility) วินยั ในตนเอง (self-Discipline) ภาวะ เหนือ่ ยล้าในการท�ำงาน (job burnout) และงานทีห่ นัก เกินไป (work overload) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 2.3.1 คุณค่าในตนเอง (self-esteem) การ ศึกษาในครัง้ นีผ้ ใู้ ห้ขอ้ มูลสามารถรับรูไ้ ด้วา่ คุณค่าแห่งตน (self-esteem) หมายความถึง ความรู้สึกที่ผู้ให้ข้อมูล รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าเพิ่มขึ้นจากการท�ำงานให้เสร็จทัน ตามเวลาทีก่ ำ� หนดดังค�ำกล่าวทีว่ า่ “ฉันไม่ชอบให้หวั หน้า มาตามงานจากฉัน ฉันจะรีบท�ำให้ทันตามก�ำหนดเวลา ที่ต้องส่งงาน” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 1) 2.3.2 การมีจติ ส�ำนึก (conscientiousness) การศึกษาในครั้งนี้ผู้ให้ข้อมูลได้รับรู้ว่า การมีจิตส�ำนึก (conscientiousness) หมายถึง การมุ่งมั่นปฏิบัติงาน ให้ส�ำเร็จลุล่วงโดยค�ำนึงถึงปัญหาและความเดือดร้อน ของส่วนรวมที่จะได้รับจากการผัดหรือเลื่อนระยะเวลา ในการท�ำงานออกไป ดังค�ำกล่าวที่ว่า “ฉั น ไม่ เ คยต้ อ งท� ำ ให้ เ พื่ อ นร่ ว มงาน หัวหน้า หรือประชาชนเดือดร้อน เพราะงานที่ไม่เสร็จ ของฉัน” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 8) “ผมนัดรถเทปูนไปลงตอนตี 2 ลูกน้องผม เมาหลับไม่ได้ไปรับปูน...เหตุการณ์นี้มันเป็นเรื่องของ จิตส�ำนึกนะผมว่า เพราะมันเดือดร้อนและเสียหายพอ สมควร” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 7) “เสาร์ อาทิ ต ย์ จะมี เ วรผั ด กั น หยุ ด ลูกน้องผมไม่มา ขาดเวร วันนัน้ มีเหตุรถชนเสาไฟฟ้า ไฟดับ ทัง้ เส้นบางกรวย...ประชาชนเดือดร้อน...และเพือ่ นร่วมงาน คนอื่นต้องไปท�ำงานแทน” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 9) 2.3.3 ความรับผิดชอบ (responsibility) การศึกษาในครั้งนี้ผู้ให้ข้อมูลสามารถรับรู้ได้ว่า ความ รับผิดชอบ (responsibility) คือ ความตั้งใจตลอดจน การทุ่มเทเวลาเพื่อปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายจาก ผูบ้ งั คับบัญชาให้ส�ำเร็จตามก�ำหนดเวลา โดยไม่ค�ำนึงถึง ความยากง่ายหรืออุปสรรคที่จะเกิดขึ้นในระหว่างการ ปฏิบัติงาน

165

“ผมเป็ น คนมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบเกิ น 100% ครับ แม้ดึกขนาดไหนถ้างานไม่เสร็จผมก็ท�ำ จนเสร็จ” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 11) “ทุกครัง้ ทีม่ เี รือ่ งร้องเรียนมาฉันจะลงมือ ท�ำทันทีไม่เคยเลื่อนเลย เพราะงานบริการประชาชน เราบอกไม่ได้เลยว่าในแต่ละวันจะมีเรื่องร้องเรียนมา มากน้อยเพียงใด” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 10) “ตอนนั้นฉันป่วยลางาน 2 วัน กลับมา งานเยอะมาก…ฉันนั่งเคลียร์ทุกอย่างถึง 2 ทุ่ม” (ผู้ให้ สัมภาษณ์คนที่ 12) 2.3.4 วินยั ในตนเอง (self-Discipline) การ ศึกษาในครัง้ นีผ้ ใู้ ห้ขอ้ มูลสามารถรับรูไ้ ด้วา่ วินยั ในตนเอง (self-Discipline) คือ การรับรู้หน้าที่ความรับผิดชอบ ของตนเองเพื่อการปฏิบัติงานให้ส�ำเร็จลุล่วงทันเวลา โดยไม่จ�ำเป็นที่จะต้องมีบุคคลอื่นคอยควบคุม ก�ำกับ หรือสั่งงาน “ผมมีแผนยุทธศาสตร์เป็นงานทีต่ อ้ งท�ำ ซึง่ ผมต้องก�ำหนดการท�ำงานเป็น action plan ตัวเอง... เพือ่ ให้ทนั ก�ำหนดมันเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ ง manage เวลาดีๆ” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 7) 2.3.5 ภาวะเหนื่อยล้าในการท�ำงาน (job burnout) การศึกษาในครัง้ นีผ้ ใู้ ห้ขอ้ มูลรับทราบว่า ภาวะ เหนื่อยล้าในการท�ำงาน (job burnout) คือ ความรู้สึก อ่อนเพลียหรือเหนื่อยล้าจากการท�ำงานหนักจนท�ำให้ เกิดความรู้สึกอยากพักผ่อน และขอเลื่อนระยะเวลา ในการท�ำงานออกไป “ไม่เคยนะ...แต่ฉันผัดเพราะฉันรู้สึก เหนือ่ ยและเมือ่ ยล้า ท�ำให้รสู้ กึ อยากพัก...” (ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ คนที่ 8) “บางวั น มี ง านเทปู น เสร็ จ เกื อ บเช้ า ตอนเช้าผมต้องเข้างานปกติ วันนั้นอะไรไม่ส�ำคัญผม เลื่อนหมด...ผมว่าอายุก็มีส่วน ร่างกายผมไม่ไหว” (ผู้ให้ สัมภาษณ์คนที่ 3) “ช่วงนี้อากาศร้อนมาก บางทีเจอแดด ทั้งวันผมก็มีผัดบ้าง” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 11)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


166

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

2.3.6 งานที่หนักเกินไป (work overload) การศึกษาในครัง้ นีผ้ ใู้ ห้ขอ้ มูลรับทราบว่า งานทีห่ นักเกินไป คือ การมีปริมาณหรือภาระงานทีม่ ากเกินไปจนท�ำให้เกิด ความรู้สึกเบื่อหน่ายและส่งผลกระทบท�ำให้งานล่าช้า ออกไป “ในแผนกก็มีกันแค่ 40 คน สัดส่วน ประชากรเท่าไหร่บางครัง้ มันก็ไม่ทนั จริงๆ” (ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ คนที่ 10) “งานเยอะกว่าคนมาก แต่ไม่รจู้ ะท�ำยังไง บางครั้งไม่ทันก็ต้องเลื่อนไป” (ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 12) นอกจากนีย้ งั พบว่า ปัจจัยจูงใจก็เป็นส่วนส�ำคัญ อีกประการหนึง่ ทีช่ ว่ ยกระตุน้ ให้พนักงานสามารถลดการ แสดงพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่งลงได้

อภิปรายผล

จากการสัมภาษณ์แบบ (In-depth interview) และอ่ า นข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการถอดเทปอย่ า งละเอี ย ด แล้วจัดแยกประเภทของข้อมูลในส่วนของความหมาย องค์ประกอบ และสาเหตุที่ท�ำให้เกิดพฤติกรรมผัดวัน ประกันพรุง่ แล้วน�ำข้อมูลทีไ่ ด้ไปตรวจสอบกับผูใ้ ห้ขอ้ มูลนัน้ อีกครั้งหนึ่งพบว่า สาเหตุที่ท�ำให้เกิดพฤติกรรมผัดวัน ประกันพรุง่ มีสาเหตุครอบคลุม 6 สาเหตุ ซึง่ สาเหตุดงั กล่าว สามารถอภิปรายได้ดังนี้ 1. คุณค่าในตนเอง (self-esteem) การทีจ่ ะปฏิบตั งิ านให้เกิดประสิทธิภาพทีด่ ไี ด้นนั้ การรับรูค้ ณ ุ ค่าในตนเอง (self-esteem) เป็นความแตกต่าง ระหว่างบุคคลที่จะสามารถท�ำให้เกิดความวิตกกังวล และท�ำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ แต่ในทางกลับกัน การรับรูค้ ุณค่าในตนเอง (self-esteem) ก็สามารถช่วย ส่งเสริมท�ำให้พนักงานมีความเชื่อมั่นว่า ตนเองสามารถ ปฏิบัติงานให้ส�ำเร็จลุล่วงทันตามก�ำหนดเวลา ดังนั้น หากพนักงานมีการรับรู้คุณค่าในตนเองสูงก็จะสามารถ ช่วยลดพฤติกรรมทีไ่ ม่พงึ ปรารถนาอย่างพฤติกรรมผัดวัน ประกันพรุง่ ได้ เช่นเดียวกับ Rosenberg (1979) กล่าวคือ ถ้าหากบุคคลที่มีระดับการเห็นคุณค่าในตนเองอยู่ใน

ระดับสูง (High self-esteem) นั้นก็ย่อมจะส่งผลท�ำให้ มีการรับรู้ “ตน” ตามความเป็นจริง มีบุคลิกภาพที่ดี เป็นคนที่มีความเชื่อมั่นในความคิดของตนเอง สามารถ ให้เหตุผลในสิ่งที่ตนเองกระท�ำได้กระจ่างชัด มั่นใจใน การกระท�ำ หรือการตัดสินของตน กล้าคิด กล้าแสดงออก อย่างเหมาะสม มีความคิดสร้างสรรค์ มุ่งท�ำงานให้ ประสบผลส�ำเร็จ มีความรับผิดชอบทัง้ ต่อตนเองและผูอ้ นื่ มั่นคงทางจิตใจ มองโลกในแง่ดี มีสัมพันธภาพที่ดีต่อ บุคคลอื่น ดังนั้น บุคคลที่มีความภาคภูมิใจในตนเองสูง จึงใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข มีความวิตกกังวลน้อย มีแนวโน้มทีจ่ ะประสบความส�ำเร็จในการด�ำรงชีวติ จะมี ระบบภูมคิ มุ้ กันทางจิตวิญญาณให้บคุ คลเผชิญกับปัญหา และมีพลังในการขจัดสิ่งเลวร้ายในชีวิตออกไป 2. การมีจิตส�ำนึก (conscientiousness) การมีจิตส�ำนึกเป็นอุปนิสัยส่วนตัวของแต่ละคน โดยจิตส�ำนึกจะเป็นพืน้ ฐานทีแ่ สดงให้เห็นถึงความส�ำนึก ดีชั่วของบุคคลตลอดจนยังสามารถที่จะสะท้อนให้เห็น ถึงความรับผิดชอบของบุคคลได้ หากพิจารณาการมี จิตส�ำนึกเชือ่ มโยงกันเป็นทฤษฎีกบั การผัดวันประกันพรุง่ จะพบว่า จิตส�ำนึกนั้นจะมีอิทธิผลทางอ้อมที่ส่งผลต่อ การผัดวันประกันพรุ่งผ่านการควบคุมตนเอง ดังนั้น ถ้าบุคคลมีจิตส�ำนึกเชิงลบก็อาจจะส่งผลให้เกิดความ ล้มเหลวในการควบคุมตนเอง (self-regulation failure) จนน�ำไปสูพ่ ฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ ได้แต่ในทางกลับกัน หากบุคคลนัน้ มีจติ ส�ำนึกเชิงบวกก็จะสามารถช่วยส่งเสริม ให้เกิดการควบคุมตนเอง จนท�ำให้งานที่รับผิดชอบอยู่ ส�ำเร็จลุลว่ งทันตามก�ำหนด ไม่ลา่ ช้าออกไป จากงานวิจยั ของ ÖZER (2012) ได้ท�ำการตรวจสอบความสัมพันธ์ ระหว่างพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่งและความมั่นคง ในอารมณ์ที่ขึ้นอยู่กับจิตส�ำนึกและประสบการณ์ชีวิต ในเหตุการณ์เชิงลบ ผลการศึกษาพบว่า ความมั่นคง ในอารมณ์ (Neuroticism) มีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรม ผัดวันประกันพรุ่งในทางบวก (r = 0.19) ส่วนจิตส�ำนึก มีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ ในทางลบ (r = -0.60)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

3. ความรับผิดชอบ (responsibility) ความรับผิดชอบเป็นพฤติกรรมทางเลือกประเภท หนึ่งที่ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของแต่ละบุคคล ซึ่งท�ำให้ เกิดความล่าช้าแบบสมัครใจ ด้วยลักษณะการท�ำงาน ของเทศบาลทีส่ ว่ นใหญ่จะเป็นงานทีม่ ลี กั ษณะหรือรูปแบบ การให้บริการประชาชน ตัง้ แต่แรกเกิดจนกระทัง่ เสียชีวติ ดังนั้น พนักงานเทศบาลที่มีความรับผิดชอบหรือไม่ หลีกเลี่ยงงานที่ตนเองจ�ำเป็นจะต้องท�ำหน้าที่ให้บริการ ประชาชน เมื่อประชาชนมีปัญหาและความเดือดร้อน โดยไม่ผัดผ่อน หรือเลื่อนงานออกไป ตลอดจนสามารถ ปฏิบตั งิ านได้ทนั ต่อเหตุการณ์นนั้ จะส่งผลให้เกิดการท�ำงาน ที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนยังเป็นการสร้างชื่อเสียงและ การเป็นที่ยอมรับ ซึ่งจะเป็นผลดีต่อการพัฒนาเทศบาล ต่อไปในอนาคตได้ 4. วินัยในตนเอง (self-Discipline) ด้วยลักษณะการท�ำงานในรูปแบบงานราชการ หรืองานของเทศบาลนั้นจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัย วินัยในตนเอง ซึ่งเป็นบุคลิกภาพที่มีลักษณะการยึดมั่น ในหลั ก การที่ ส ามารถควบคุ ม หรื อ ก� ำ หนดตนเองได้ โดยไม่ตอ้ งรอการก�ำกับ หรือรับค�ำสัง่ จากผูบ้ งั คับบัญชา แต่ในทางกลับกันการไม่มีวินัยในการท�ำงาน การชอบ ท�ำงานเมื่อใกล้ถึงก�ำหนดเวลาหรือถูกกดดัน ไม่รู้วิธีจัด ล�ำดับความส�ำคัญของงานที่ต้องท�ำก่อนหลัง จะรอจน นาทีสดุ ท้ายจึงเริม่ ต้นการท�ำงานมักเป็นต้นเหตุทำ� ให้งาน มีความล่าช้าออกไป ดังนัน้ ความมีวนิ ยั ในตนเองจึงเป็น บุคลิกภาพทีส่ ำ� คัญเป็นอันดับแรกทีพ่ นักงานจ�ำเป็นต้องมี เพือ่ การท�ำงานประสบความส�ำเร็จลุลว่ ง ทันเวลาได้โดยง่าย Solomon & Rothblum (1984) และ Balkis & Duru (2007) ทีไ่ ด้กล่าวว่า การผัดวันประกันพรุง่ มีความเกีย่ วข้อง กับความเชือ่ มัน่ ในตนเองระดับต�ำ่ ความมีวนิ ยั ในตนเอง รวมถึงการรับรู้ความสามารถของตนเอง สิ่งเหล่านี้ล้วน ส่งผลกระทบต่อความรู้สึกเบื่อหน่าย ความวิตกกังวล ซึมเศร้า ความกลัว ความล้มเหลว ความคิดทีไ่ ม่มเี หตุผล และการจัดการเวลาที่ไม่เหมาะสมส่วน Abbasi & Alghamdi (2015) พบว่า การผัดวันประกันพรุง่ มีความ

167

สัมพันธ์ทางลบต่อปัจจัยต่างๆ อาทิ ผลการเรียนในระดับ ต�่ำ ความเชื่อมั่นในตัวเองในระดับต�่ำ วินัยของตนเอง ในระดับต�่ำ (Low of self-Discipline) และการรับรู้ ความสามารถของตนเองในระดับต�ำ่ (low self-efficacy) ซึง่ สิง่ นีล้ ว้ นส่งผลต่อการบริหารเวลาทีไ่ ม่มคี วามเหมาะสม ท�ำให้เกิดความเบือ่ หน่ายและความวิตกกังวล ในขณะที่ ผลการศึกษาของ Steel & Ferrari (2013) พบว่า ประชากรวัยผู้ใหญ่ในประเทศอังกฤษมักจะมีการผัดวัน ประกันพรุ่งเมื่อระดับความมีวินัยในตนเองลดลง และ Hauck (1982) ได้กล่าวว่า ความไม่มีวินัยในตนเอง (Lack of self-Discipline) เป็นบุคลิกลักษณะของบุคคล ที่พยายามหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่มีความยากล�ำบาก ซึ่งเป็นผลท�ำให้เกิดการผัดวันประกันพรุ่งในที่สุด 5. ภาวะเหนือ่ ยล้าในการท�ำงาน (job burnout) คือ ความรูส้ กึ อ่อนล้าทัง้ ทางร่างกาย จิตใจ และ อารมณ์ของพนักงานทีเ่ กิดจากการอยูใ่ นสถานการณ์ทมี่ ี ความเครียด หรืองานเร่งรีบสะสมสามารถส่งผลให้เกิด ความเบื่อหน่าย ขาดความกระตือรือร้น ตลอดจนมี ส่วนร่วมในงานน้อยลงจนกระทัง่ น�ำไปสูก่ ารผัดผ่อนงาน หรืออาจรุนแรงถึงขัน้ ท�ำให้งานไม่สำ� เร็จตามทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ ดังนัน้ หากพนักงานมีภาวะเหนือ่ ยล้าในการท�ำงานเกิดขึน้ ต้องรีบหาทางแก้ไขโดยด่วน เช่น การพักผ่อนหย่อนใจ ด้วยอิริยาบถอื่นๆ แล้วจึงค่อยรีบกลับมาท�ำงานต่อ แต่ถ้าหากปล่อยให้ภาวะเหนื่อยล้าในการท�ำงานด�ำเนิน ต่อไปอาจจะท�ำให้ประสิทธิภาพการให้การบริการประชาชน ของเทศบาลลดลง ซึง่ จะส่งผลเสียต่อผูร้ บั บริการได้ในทีส่ ดุ อย่างไรก็ตามถ้าหากเราเชื่อมโยงสาเหตุการเกิดภาวะ เหนื่อยล้าในการท�ำงาน ตามที่ Maslach & Goldberg (1998) ได้นำ� เสนอองค์ประกอบความไม่ลงตัวของบุคคล กับสถานการณ์ 6 ประเภทที่ส่งผลท�ำให้บุคลากรเกิด ความเหนื่อยล้าในการท�ำงาน ได้แก่ การมีปริมาณงาน ที่มากเกินไป การไม่สามารถควบคุมการท�ำงานของ ตนเองได้ การขาดแคลนสิ่งตอบแทนจากการท�ำงาน การขาดปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน การไม่ได้รับ ความยุติธรรมในการท�ำงานและความขัดแย้งกับบุคคล

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


168

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ในที่ท�ำงาน ดังนั้นจากการสัมภาษณ์ส�ำหรับการศึกษา ครัง้ นีจ้ งึ สามารถสรุปได้วา่ ปริมาณงานทีม่ ากเกินไปส่งผล โดยตรงต่อพฤติกรรมการผัดวันประกันพรุ่งผ่านภาวะ ความเหนื่อยล้าในการท�ำงานนั่นเอง 6. งานที่หนักเกินไป (work overload) เป็นสภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่มีลักษณะ การท�ำงานทีม่ ปี ริมาณงานมาก ท�ำให้ไม่ได้พกั มีระยะเวลา ในการท�ำงานนานกว่าปกติ จนไม่สามารถท�ำให้ปฏิบตั งิ าน ได้สำ� เร็จ ตามการศึกษาของ Macmillan & Duanc (1980 cited in Konchanatsanyakorn, 2008) ปริมาณงาน ทีม่ ากเกินไป การท�ำงานทีม่ ากเกินไปภายใต้เวลาอันจ�ำกัด อาจท�ำให้เกิดความเครียด ในขณะที่ Tice & Baumeister (1997 cited in Hosseini & Moosavi, 2015) ยืนยัน ได้วา่ โอกาสทีจ่ ะมีการแสดงพฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ สูงขึ้นเมื่อมีความเครียดเพิ่มขึ้น ซึ่งถ้าหากเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ตามทฤษฎีที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นจะพบว่า สาเหตุที่ท�ำให้เกิดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่งคือ การ ส่งผลจากปริมาณงานทีม่ ากเกินไปจนท�ำให้พนักงานเกิด ความเครียดและน�ำไปสูพ่ ฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ ในทีส่ ดุ แต่ในทางกลับกันส�ำหรับการสัมภาษณ์ในครั้งนี้พบว่า ปริมาณงานที่มากเกินไปส่งผลให้เกิดความเครียดสะสม ยิ่งพนักงานมีความเครียดยิ่งเป็นตัวกระตุ้นให้พนักงาน กระตือรือร้นรีบทีจ่ ะท�ำงานให้เสร็จทันตามก�ำหนดเวลา ดังนั้น งานที่หนักเกินไปจึงจัดเป็นปัจจัยเหตุที่ส่งผลให้ บุคคลเกิดความเครียด แต่ความเครียดจะส่งผลให้เกิด พฤติกรรมการผัดวันประกันพรุ่งหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับ ลักษณะของแต่ละบุคคลว่าจะใช้ความเครียดส�ำหรับกระตุน้ การท�ำงานหรือใช้ความเครียดส�ำหรับเป็นอุปสรรคขัดขวาง

การท�ำงานนัน่ เอง นอกจาก 6 สาเหตุทไี่ ด้กล่าวไปแล้วนัน้ จากการสัมภาษณ์ยงั พบสาเหตุอนื่ ๆ ทีท่ ำ� ให้เกิดพฤติกรรม ผัดวันประกันพรุง่ ได้แก่ การได้รบั การปรับขึน้ เงินเดือน การเลือ่ นขัน้ หรือเลือ่ นต�ำแหน่ง การได้รบั การบรรจุเป็น พนักงานประจ�ำ การได้รับสวัสดิการเพิ่มเติม และการ ได้รบั ค�ำชมจากผูบ้ งั คับบัญชา ซึง่ สาเหตุเหล่านีล้ ว้ นเป็น ปัจจัยจูงใจทีส่ ามารถช่วยกระตุน้ ท�ำให้พนักงานเทศบาล มีความกระตือรือร้น และต้องการอยากปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ย ความมุ่งมั่น ตั้งใจ ไม่ผัดวันประกันพรุ่ง จนส่งผลให้งาน ที่ได้รับมอบหมายส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

ข้อเสนอแนะ

1. ในการศึกษาครั้งต่อไปอาจมีการศึกษางานวิจัย เชิงปริมาณควบคู่กันเพื่อเป็นการยืนยันความน่าเชื่อถือ ของข้อมูลอีกทางหนึ่ง 2. ในการศึกษาวิจยั ครัง้ ต่อไปอาจน�ำเอาปัจจัยจูงใจ ที่พบในงานวิจัยครั้งนี้ไปท�ำการศึกษาต่อโดยการหา ความสัมพันธ์ของแต่ละตัวแปรว่ามีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรม ผัดวันประกันพรุ่งมากน้อยเพียงใด เพื่อน�ำผลการวิจัย ทีไ่ ด้มาพัฒนาและปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุดในองค์กร 3. ในการวิจยั ครัง้ ต่อไปอาจศึกษากับกลุม่ ตัวอย่างอืน่ นอกจากเทศบาลนนทบุรี 4. ในการวิจัยครั้งนี้ท�ำให้ทราบถึงปัจจัยที่ท�ำให้ พนักงานมีพฤติกรรมผัดวันประกันพรุ่ง ซึ่งสามารถน�ำ ปัจจัยนีไ้ ปพัฒนาพฤติกรรมด้านบวกของพนักงานในการ ท�ำงานต่อไปเพือ่ เป็นการลดพฤติกรรมผัดวันประกันพรุง่ ของพนักงาน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

169

References

Abbasi, I. S. & Alghamdi, N. G. (2015). The Prevalence, Predictors, Causes, Treatment, and Implications of Procrastination Behaviors in General, Academic, and Work Setting. International Journal of Psychological Studies, 7(1), 59-66. Akaramanee, J. (2003). The effects of biosocial factors, mental health and procrastination on work effectiveness and achievement motivation of employees in telecommunications business (private section). The degree Master of Science (Industrial and Organizational Psychology), Ramkhamhaeng University. [in Thai] Announcement of municipal officials of Nakhon Ratchasima. (2002). Criterions and conditions of the human resource management of municipality. Retrieved May 4, 2016, from www.khoksawai. go.th/b4.pdf [in Thai] Balkis, M. & Duru, E. (2007). The evaluation of the major characteristics and aspects of the procrastination in the framework of psychological counseling and guidance. Educational Sciences: Theory & Practice, 7(1), 376-385. Chissom, B. & Iran-Nejad, A. (1992). Development of an instrument to assess learning strategies. Psychological Reports, 71, 1001-1002. Eiampinij, M. (2012). The efficiency of workers in municipal district Phraek Sa, Meuang, Samut Prakan. The degree Master of Public Administration (Public Administration), Ramkhamhaeng University. [in Thai] Ferrari, J. R. (1995). Perfectionism cognitions with nonclinical and clinical samples. Journal of Social Behavior and Personality, 10(1), 143-156. Hauck, P. (1982). How to do what you want to do. London: Sheldon Press. Hosseini, S. S. & Moosavi, S. J. (2015). The relationship between procrastination, occupational stress and employee’s personality general directorate of youth and sports of khorasan razavi. Indian Journal of Fundamental and Applied Life Sciences, 5(S4),183-192. Hosseini, S. S. & Moosavi, S. J. (2015). The relationship between procrastination occupation stress and employee’s personality general directorate of youth and sports of khorasan razavi. Indian Journal of Fundamental and Applied Life Sciences, 5(S4), 183-192. Konchanatsanyakorn, P. (2008). Affects of job stress factors, Adversity Quotient and stress to performance of the state enterprise employees: Case study of the government Pharmaceutical organization. The degree Master of Arts program (Industrial and Organizational Psychology), Thammasat University. [in Thai] Kraisiwattana, T. (2009). The factors that cause stress on workers of municipal district Nonthaburi. Master of Business Administration Program, Graduate School, Bangkok University. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


170

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Maslach, C. & Goldberg, J. (1998). Prevention of burnout: New perspectives. Applied and Preventive Psychology, 7, 63-74. Michinov, N., Brunot, S., Le Bohec, O., Juhel, J. & Delaval, M. (2011). Procrastination, participation, and performance in online learning environments. Computers & Education, 56(1), 243-252. Nonthaburi. (2015). Vision Missions Slogan. Retrieved May 5, 2016, from http://nakornnont.go.th/ %E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8% B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C-%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8 %98%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88-%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%82%E0% B8%A7%E0%B8%B1/ [in Thai] ÖZER, A. (2012). Procrastination: Rethinking Trait Models. Education & Science / Egitim ve Bilim, 37(166), 303-317. Pumphuang, K. (2003). The using of group work activites in devreloping students’ responsibilities among the mathayom suksa 2 students of phetchaburi welfare school, phetchaburi province. The degree Master of Arts (Community Psychology), Silpakorn University. [in Thai] Relief, J. (n.d.). 5 Qualities of a Good Employee. Retrieved May 7, 2016, from www.saeyeinstitute.com/ documents/good_employee.pdf Rosenberg, M. (1979). Conceiving the self. New York: Basic Books. Sakmanee, B. (1989). The Mental enhancement of characteristics for developing the work behavior in government. The Doctor of Education, Srinakharinwirot University. [in Thai] Sariwat, L. (2001). Psychology in Daily life. Teaching Documents. Bachelor of Education Program in Educational Psychology, Faculty of Education, Mahasarakham University. [in Thai] Schultz, D. P. (1982). Psychology and Industry Today. New York: Macmillan. Silver, M. & Sabini, J. (1981). Procrastinating. Journal for the Theory of Social Behaviour, 11(2), 207-221. Solomon, L. J. & Rothblum, E. D. (1984). Academic procrastination: Frequency and Cognitive behavioral correlates. Journal of Counseling Psychology, 31(4), 503–509. Srikam, S., Jiumcharatrangsee, V. & Lalitananpong, D. (2014). Job burnout and related factors among residents of King Chulalongkorn memorial hospital. Journal of the Psychiatrist Association of Thailand, 59(2), 139-150. [in Thai] Steel, P. & Ferrari, J. (2013). Sex, education and procrastination: An epidemiological study of procrastinators’ characteristics from a global sample. European Journal of Personality, 27(1), 51-58. Steel, P. (2007). The nature of procrastination: a meta-analytic and theoretical review of quintessential self-regulatory failure. Psychological bulletin, 133(1), 65-94. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

171

Suree, A. (2010). A using of activities to improve self-discipline for level three students of aroonpradit school, Petchaburi Provice. The degree Master of Arts (Psychology and Guidance), Silpakorn University. [in Thai] The Royal Institute. (1982). Dictionary of the Royal Institute of Thailand in 1982 (17th ed.). Bangkok: Aksorn Education. [in Thai] Tuk, B. (2012). The influence of procrastination on the relationship between home-based telework and employee well-being. The degree Master of Science, Faculty of Social and Behavioral Sciences, Tilburg University.

Name and Surname: Napatchanan Nawakitrangsan Highest Education: Master of Arts Program industrial and Organizational Psychology, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok University or Agency: King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Field of Expertise: Industrial and Organizational Psychology Address: 1581 Pracharat 1 Rd., Wongsawang, Bangsue, Bangkok 10800

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)





Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

175

ผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการสร้างความรู้ และการคิดสร้างสรรค์ ในศตวรรษที่ 21 ส�ำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา THE RESULT OF LEARNER’S CRITICAL THINKING DEVELOPMENT USED WITH CONSTRUCTIVIST LEARNING INNOVATION TO ENHANCE KNOWLEDGE CONSTRUCTION AND CRITICAL THINKING FOR UNDERGRADUATE STUDENT ปรมะ แขวงเมือง Parama Kwangmuang คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม Faculty of Education, Nakhon Phanom University

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสร้างความรู้ การคิดสร้างสรรค์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ ความคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วยนวัตกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการสร้างความรู้ และการคิดสร้างสรรค์ ในศตวรรษที่ 21 ส�ำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จ�ำนวน 27 คน ได้มาจากการสุ่มแบบยกกลุ่ม ในรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา ภาคเรียนที่ 2/2559 ผลการศึกษามีดังนี้ 1) ผลการสร้างความรู้ของผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนสร้างความรู้ จากการเสียสมดุลทางปัญญา เมื่อผู้เรียนได้รับปัญหาผู้เรียนจะเกิดความสงสัยและตั้งค�ำถามเกี่ยวกับปัญหาที่รับ และ ปรับโครงสร้างทางปัญญาโดยค้นหาค�ำตอบจากแหล่งเรียนรูท้ จี่ ดั เตรียมไว้โดยวิธกี ารดูดซึม และการปรับเปลีย่ นโครงสร้าง ทางปัญญา รวมทั้งการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเพื่อนๆ หรือผู้รู้ 2) ผลการคิดสร้างสรรค์ ของผู้เรียน ประกอบด้วยการคิดคลอง การคิดยืดหยุน การคิดริเริ่ม และการคิดละเอียดลออ 3) ผลการเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผูเ้ รียน พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ 4) ความคิดเห็นของผู้เรียน ประกอบด้วยด้านเนื้อหา ด้านสื่อมัลติมีเดีย และด้านการออกแบบ ค�ำส�ำคัญ: นวัตกรรมการเรียนรู้ การสร้างความรู้ การคิดสร้างสรรค์ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

Corresponding Author E-mail: mr_parama@npu.ac.th


176

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

This study aimed to study the knowledge construction, creative thinking, learning achievement and students’ opinions of the learner learning with constructivist learning environment to enhance knowledge construction and creative thinking in 21st century for the graduate students. This research design is an experimental research. The sample group was the 27 junior students collected by cluster random sampling registered in Educational Innovation and Information Technology subject in the second semester of 2016. The results of using the innovation were found as the following: 1) the students’ knowledge construction was found that the students constructed their knowledge from disequilibrium. When the learner receives a problem, the student becomes suspicious and asks questions about the problem. The learners will restructure their cognitive abilities by finding the answers from the resources provided by the methods of assimilation and accommodation including social interaction by sharing with friends or experts, 2) the students’ creative thinking comprised of fluency, flexibility, originality, and elaboration, 3) the comparison of their learning achievement were found that the their posttest scores were significantly higher than pretest at .05, and 4) the students’ opinions inheres in content, multimedia, and design. Keywords: Learning innovation, Knowledge construction, Creative thinking, 21st Century Learning

บทน�ำ

ในการพัฒนาคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ในระดับ อุดมศึกษามีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจากเป็นการผลิตก�ำลังคนเพื่อความพร้อมเข้าสู่ ทรัพยากรมนุษย์ในวัยแรงงานและการศึกษาทีเ่ น้นวิชาชีพ ซึง่ ต้องมีทกั ษะขัน้ สูงในการแข่งขันกับสภาพสังคมเศรษฐกิจ ทีท่ วีความซับซ้อนมากยิง่ ขึน้ (Office of the Education Council, 2016: 187-195) ทัง้ นีเ้ มือ่ สังคมโลกได้ตระหนัก และเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการน�ำเทคโนโลยีมาเป็น ส่วนหนึ่งในชีวิตประจ�ำวัน ดังนั้นครูในศตวรรษที่ 21 จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเรียนรู้ให้เท่าทันยุคสมัย ที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย (Ruengrong et al., 2014: 195-207) ดังนั้นความสามารถด้านการคิดสร้างสรรค์ จึงมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปลูกฝังให้ เกิดกับผูเ้ รียน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูเ้ รียนทีจ่ ะไปประกอบ อาชีพครูในอนาคต นอกจากนีน้ โยบายของรัฐทีจ่ ะสร้าง ให้ประเทศไทยเป็นเมืองนักคิด (Creative Thailand)

เพือ่ ผลักดันให้ไทยก้าวสูส่ งั คมแห่งการเรียนรูแ้ ละความคิด สร้างสรรค์ และใช้เศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นสิง่ ขับเคลือ่ น การแข่ ง ขั น และความเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของชาติ (Asavapisit, 2009: 1-4) อย่างไรก็ตาม การพัฒนาดังกล่าวยังไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายได้ เนื่องจากคุณภาพของผู้เรียนด้านการคิด ของเยาวชนไทยยังอยู่ในระดับต�่ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านครูและการจัดการเรียนการสอน ส่วนใหญ่จะไม่ได้ มาตรฐานในมาตรฐานที่ 9 และ 12 ที่เน้นการจัดการ เรียนรูท้ เี่ น้นผูเ้ รียนเป็นส�ำคัญ ฝึกทักษะการคิด การเผชิญ สถานการณ์ และการสร้างสรรค์ความรู้ (Office of the Education Council, 2016: 52-84) ดังนั้นการจัดการศึกษาที่จะให้สอดคล้องกับสังคม ในปัจจุบนั ให้เข้าสูส่ งั คมแห่งการเรียนรู้ จึงมุง่ เน้นให้ผเู้ รียน สร้างความรู้ขึ้นมาด้วยตนเองเพื่อน�ำความรู้มาใช้สร้าง นวัตกรรมทีส่ อดคล้องกับการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ในการ คิดสร้างสรรค์ ดังนั้นการจัดการศึกษาในปัจจุบันจึงต้อง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

เปลีย่ นกระบวนทัศน์ (paradigm) จากทีเ่ น้น “การสอน” (teaching) เปลีย่ นมาเป็น “การเรียนรู”้ (learning) ทีใ่ ห้ ความส�ำคัญกับผู้เรียนมากที่สุด (Chaijaroen, 2016: 24-25) วิธกี ารส�ำคัญทีส่ ามารถพัฒนาผูเ้ รียนให้เกิดคุณลักษณะ ทีส่ นองตอบต่อเป้าประสงค์ของพระราชบัญญัตกิ ารศึกษา แห่งชาติและการเปลีย่ นแปลงของสังคมดังกล่าวข้างต้น ด้วยการประสานร่วมระหว่างศาสตร์หลักการทฤษฎี (Theory) และศาสตร์การสอน (pedagogy) รวมทั้ง คุณลักษณะและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่ช่วยส่งเสริม ประสิทธิภาพการเรียนรู้ ซึ่งในการวิจัยนี้ผู้วิจัยให้ความ ส�ำคัญและมุ่งเน้นการศึกษากระบวนการทางปัญญา (cognitive processes) มาเป็นพืน้ ฐานในด้านการเรียนรู้ ทีม่ งุ่ เน้นการศึกษาและการส่งเสริมกระบวนการทางปัญญา ในเชิงลึกมากกว่าการศึกษาที่มุ่งส่งเสริมพฤติกรรมที่ สามารถวัดและสังเกตได้เท่านั้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงตระหนักถึงความส�ำคัญและความ จ�ำเป็นในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรูต้ ามแนวทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการสร้างความรู้และการคิด สร้างสรรค์ ในศตวรรษที่ 21 ส�ำหรับนักศึกษาระดับ อุดมศึกษา และศึกษาผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ในการศึกษาครัง้ นีผ้ วู้ จิ ยั มุง่ ศึกษากระบวนการทีอ่ ยูภ่ ายใน ทีเ่ ป็นกระบวนการรูค้ ดิ (Cognitive process) มากกว่า การดูที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพียงอย่างเดียว โดยท�ำ การสัมภาษณ์เชิงลึกและวิเคราะห์โปรโตคอล ซึง่ ข้อค้นพบ ทีไ่ ด้สามารถอธิบายกระบวนการทีอ่ ยูภ่ ายใน อันจะน�ำไป สู่การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้มีความสามารถหรือ กระบวนการทางปัญญาในการคิดสร้างสรรค์จะส่งผลต่อ การพัฒนาทุนทางปัญญาของมนุษย์ที่เป็นปัจจัยส�ำคัญ ยิ่งในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

วัตถุประสงค์การวิจัย

เพื่ อ ศึ ก ษาการสร้ า งความรู ้ การคิ ด สร้ า งสรรค์ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และความคิดเห็นของผูเ้ รียนทีเ่ รียน ด้วยนวัตกรรมการเรียนรูต้ ามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์

177

ทีส่ ง่ เสริมการสร้างความรูแ้ ละการคิดสร้างสรรค์ ในศตวรรษ ที่ 21 ส�ำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา

ทบทวนวรรณกรรม

การศึกษาผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ตามแนว ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการสร้างความรู้และ การคิดสร้างสรรค์ ในศตวรรษที่ 21 ส�ำหรับนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา ผูว้ จิ ยั ได้อาศัยทฤษฎีพนื้ ฐานด้านจิตวิทยา การเรียนรู้ที่ส�ำคัญ 2 กลุ่มทฤษฎี ได้แก่ 1) ทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ 2) ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม ตลอดจน การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1) ทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ (Constructivist theory) มุง่ เน้นให้ผเู้ รียนลงมือกระท�ำในการสร้างความรู้ ซึง่ ปรากฏ แนวคิดที่แตกต่างกันเกี่ยวกับการสร้างความรู้ หรือการ เรียนรู้ ทัง้ นีม้ าจากแนวคิดทีเ่ ป็นรากฐานส�ำคัญทีป่ รากฏ จากการศึกษาของนักจิตวิท ยาและนักการศึกษาคือ Piaget (1936: 6) และ Vygotsky (1925: 29-30) ซึง่ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ Cognitive constructivism และ Social constructivism (Chaijaroen, 2016: 135) ดังมีรายละเอียดดังนี้ 1.1) ทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์เชิงปัญญา (Cognitive constructivism) ของ Piaget ซึง่ มุง่ เน้นให้ผเู้ รียน เป็นผู้สร้างความรู้โดยการลงมือกระท�ำ Piaget เชื่อว่า ถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหาที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางปัญญา (Cognitive conflict) หรือเรียกว่า เกิดการเสีย สมดุลทางปัญญา (Disequilibrium) ผูเ้ รียนต้องพยายาม ปรับโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive structuring) ให้เข้าสู่ภาวะสมดุล (Equilibrium) โดยวิธีการดูดซึม (Assimilation) ได้แก่ การรับข้อมูลใหม่จากสิง่ แวดล้อม เข้าไปไว้ในโครงสร้างทางปัญญาและการปรับเปลี่ยน โครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) คือ การ เชื่อมโยงโครงสร้างทางปัญญาเดิมหรือความรู้เดิมที่มี มาก่อนกับข้อมูลข่าวสารใหม่จนกระทั่งผู้เรียนสามารถ ปรับโครงสร้างทางปัญญาเข้าสูส่ ภาพสมดุลหรือสามารถ ที่จะสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้หรือเกิดการเรียนรู้นั่นเอง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


178

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ซึง่ การสร้างความรูต้ อ้ งใช้ทงั้ ความรูเ้ ดิม (Prior Knowledge) หรือประสบการณ์เดิม (Prior experienced) และ สารสนเทศที่เกี่ยวข้องจากสิ่งแวดล้อม 1.2) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม (Social Constructivism) ของ Vygotsky ซึ่งมีแนวคิดส�ำคัญ ทีว่ า่ “ปฏิสมั พันธ์ทางสังคมมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนา ด้านพุทธิปญ ั ญา” โดย Vygotsky เชือ่ ว่าผูเ้ รียนสามารถ สร้างความรู้โดยผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น 2) ทฤษฎีพุทธิปัญญา (Cognitive theory) โดย หลักการทฤษฎีพทุ ธิปญ ั ญาทีน่ ำ� มาใช้เป็นพืน้ ฐานในครัง้ นี้ คือ การคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นความสามารถทางสมอง ของแต่ละบุคคลในการคิดได้กว้างไกลหลายทิศทางหรือที่ เรียกว่า การคิดอเนกนัย (Divergent thinking) การคิด สร้างสรรค์ประกอบด้วยความสามารถต่างๆ (Ability) 4 ประการ Guilford (1967: 145-151) ได้แก่ 1) การ คิดคล่อง (Fluency) เป็นความสามารถในการสร้าง แนวคิดเพือ่ หาค�ำตอบ หรือหาทางเลือกในการแก้ปญ ั หา ทีห่ ลากหลายได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว มีปริมาณมาก ในเวลาทีจ่ ำ� กัด ซึง่ เกิดจากความเข้าใจ 2) การคิดยืดหยุน่ (Flexibility) เป็นความสามารถในการสร้างแนวคิดที่ หลากหลายได้อย่างเป็นประโยชน์ หรือสามารถเปลีย่ นกฎ หลักการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกันได้ 3) การคิด ริเริม่ (Originality) เป็นความสามารถในการสร้างแนวคิด ซึง่ มีลกั ษณะเป็นความคิดแปลกใหม่แตกต่างจากความคิด ธรรมดา (Garnett, 1919: 3-4; Guilford, 1967: 145-151) 4) การคิดละเอียดลออ (Elaboration) เป็นความสามารถ ในการคิดในรายละเอียดเพือ่ ตกแต่งหรือขยายความคิดหลัก ให้ได้ความสมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ สามารถอธิบายให้เห็นถึงภาพพจน์ ได้อย่างชัดเจนและได้ความหมายหรือความสามารถ ในการท�ำให้แนวคิดดีขึ้นกว่าเดิมโดยการแต่งเติม ซึ่ง เกี่ยวข้องกับเกณฑ์และการตัดสินความรู้ที่ได้รับเพื่อใช้ ในการเพิ่มเติม หรือแต่งเติมให้เพิ่มขึ้น 3) นวัตกรรมการเรียนรูฯ้ เป็นสือ่ การเรียนรูท้ อี่ อกแบบ โดยอาศัยพื้นฐานจากทฤษฎี (ID theory) ที่ได้จากการ สังเคราะห์หลักการทฤษฎีที่ส�ำคัญประกอบด้วยพื้นฐาน

ด้านบริบท พื้นฐานทางจิตวิทยาการเรียนรู้ พื้นฐานทาง ศาสตร์การสอน และพืน้ ฐานทางเทคโนโลยีและทฤษฎีสอื่ ประสานร่วมกับคุณลักษณะและระบบสัญลักษณ์ของ สื่อมัลติมีเดียที่สามารถน�ำเสนอได้ทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และท�ำการสังเคราะห์เป็นกรอบ แนวคิดการออกแบบ และน�ำมาเป็นพืน้ ฐานในการออกแบบ และพัฒนา ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้ 1) สถานการณ์ปญั หา (Problem base) 2) แหล่งสนับสนุน การเรียนรู้ (Learning resource) 3) เครือ่ งมือสนับสนุน ทางปัญญา (Cognitive tool) 4) ห้องแลกเปลีย่ นเรียนรู้ (collaborative) 5) ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) 6) ศูนย์ให้ค�ำปรึกษา (Coaching) และ 7) ศูนย์ส่งเสริม การคิดสร้างสรรค์ (The center of creative thinking) (Kwangmuang, 2017: 6-14) จากการทบทวนวรรณกรรมผูว้ จิ ยั มุง่ ศึกษากระบวนการ ที่อยู่ภายในที่เป็นกระบวนการรู้คิดมากกว่าการดูที่ผล สัมฤทธิท์ างการเรียนเพียงอย่างเดียว โดยท�ำการสัมภาษณ์ เชิงลึกและวิเคราะห์โปรโตคอล ซึง่ ข้อค้นพบทีไ่ ด้สามารถ อธิบายกระบวนการทีอ่ ยูภ่ ายใน โดยสามารถแสดงได้ใน กรอบแนวคิดในการวิจัยดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

วิธีด�ำเนินการวิจัย

วิจยั ครัง้ นีเ้ ป็นการวิจยั เชิงทดลองกับผูเ้ รียนกลุม่ เดียว ซึง่ มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One Group Pre-test Post-test Designs) (Srisa-ard, 2010: 102-106) ทีใ่ ช้การเก็บรวบรวมข้อมูลทัง้ เชิงคุณภาพและ เชิงปริมาณ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1) ประชากร ได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จ� ำนวน 219 คน ทีล่ งทะเบียนเรียนรายวิชา 30400304 นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (Educational Innovation and Information Technology) ภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน 8 ห้อง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม 2) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จ�ำนวน 27 คน ทีล่ งทะเบียนเรียนรายวิชา 30400304 ภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ได้มาจากการสุม่ แบบกลุม่ (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ประกอบด้วยเครือ่ งมือทีใ่ ช้ ในการทดลองและเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ นวัตกรรม การเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ที่ส่งเสริม การสร้างความรูแ้ ละการคิดสร้างสรรค์ ในศตวรรษที่ 21 ส�ำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา (Kwangmuang, 2017: 6-14) ประกอบด้วย 1) สถานการณ์ปัญหา 2) แหล่ง สนับสนุนการเรียนรู้ 3) เครื่องมือสนับสนุนทางปัญญา 4) ห้องแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 5) ฐานความช่วยเหลือ 6) ศูนย์ ให้ค�ำปรึกษา และ 7) ศูนย์ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ ทีม่ กี ารปรับปรุงแก้ตามข้อเสนอแนะจากผูเ้ ชีย่ วชาญแล้ว 2) เครือ่ งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์ผเู้ รียนเกีย่ วกับการสร้างความรู้ 2) แบบ สัมภาษณ์ผู้เรียนเกี่ยวกับการคิดสร้างสรรค์ 3) แบบ ทดสอบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน และ 4) แบบส�ำรวจความคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วย

179

นวัตกรรมการเรียนรู้ฯ การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล ผูว้ จิ ยั น�ำนวัตกรรมการเรียนรูฯ้ ทีป่ รับปรุงแก้ไขตาม ข้อค้นพบจากการศึกษาในสภาพบริบทจริงมาใช้เป็น เครือ่ งมือในการทดลอง โดยจัดการเรียนรูด้ ว้ ยนวัตกรรม การเรียนรูฯ้ และศึกษาการสร้างความรู้ การคิดสร้างสรรค์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความคิดเห็นของผู้เรียนที่ เรียนด้วยนวัตกรรมการเรียนรู้ฯ ซึ่งมีขั้นตอนการศึกษา ดังนี้ 1) ท�ำการทดลองโดยน�ำนวัตกรรมการเรียนรู้ตาม แนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ที่ส่งเสริมการสร้างความรู้ และการคิดสร้างสรรค์ ในศตวรรษที่ 21 ส�ำหรับนักศึกษา ระดับอุดมศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนรู้กับนักศึกษา ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง 2) สั ม ภาษณ์ ผู ้ เ รี ย นเพื่ อ ศึ ก ษาการสร้ า งความรู ้ ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์โปรโตรคอล (Protocal analysis) ทีใ่ ช้พนื้ ฐานการวิเคราะห์ตามกรอบ แนวคิดของการสร้างความรูต้ ามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ เชิงปัญญา (Cognitive constructivist) และคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม (Social constructivist) (Piaget, 1936: 6; Chaijaroen, 2016: 135) จากข้อมูลทีไ่ ด้จาก แบบสัมภาษณ์การสร้างความรู้ของผู้เรียนที่เรียนด้วย นวัตกรรมการเรียนรู้ฯ 3) สัมภาษณ์ผู้เรียนเพื่อศึกษาการคิดสร้างสรรค์ ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์โปรโตรคอล (Protocal analysis) ทีใ่ ช้พนื้ ฐานการวิเคราะห์ตามกรอบ แนวคิดของการคิดสร้างสรรค์ของ Guilford (1967: 145-151) จากข้อมูลที่ได้จากแบบสัมภาษณ์การคิด สร้างสรรค์ของผู้เรียนที่เรียนด้วยนวัตกรรมการเรียนรู้ฯ 4) ให้ผเู้ รียนท�ำแบบทดสอบผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลีย่ ก่อนเรียนและหลังเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยายคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ (X) และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) จากข้อมูล ทีไ่ ด้จากแบบทดสอบผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และทดสอบ ที t-test (Dependent Sample)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


180

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

5) ส�ำรวจความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อนวัตกรรม การเรียนรู้ฯ ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ เนื้อหา (Content Analysis) และสรุปตีความ (Interpretation) จากข้อมูลการส�ำรวจความคิดเห็นของผูเ้ รียนฯ และข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับการเรียน ด้วยสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ฯ

ผลการวิจัย

ผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ฯ ประกอบด้วยการ ศึกษาผลจาก 1) การสร้างความรู้ของผู้เรียน 2) การคิด สร้างสรรค์ของผู้เรียน 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผูเ้ รียน และ 4) ความคิดเห็นของผูเ้ รียน ดังรายละเอียด ต่อไปนี้ 1) ผลการสร้างความรู้ของผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนมี การสร้างความรู้ดังรายละเอียดดังนี้ 1.1) การเสียสมดุลทางปัญญา (Disequilibrium) พบว่า เมื่อผู้เรียนได้รับปัญหา ผู้เรียนจะเกิดความสงสัย และตั้งค�ำถามเกี่ยวกับปัญหาที่รับ ดังตัวอย่างข้อความ จากการสัมภาษณ์เชิงประจักษ์ทวี่ า่ “สงสัยว่าเพราะเหตุใด ครูสอนโดยใช้เทคโนโลยีมาเป็นสื่อการเรียนการสอน เพิม่ มากขึน้ แต่ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนยังเท่าเดิม” จาก ข้อความนี้ชี้ให้เห็นว่า ผู้เรียนเกิดความสงสัยในประเด็น ปัญหาจากการศึกษาและฟังเรือ่ งราวทีไ่ ด้รบั จากนวัตกรรม การเรียนรู้ฯ 1.2) การปรับโครงสร้างทางปัญญาให้เข้าสูส่ ภาวะ สมดุล ผูเ้ รียนจะค้นหาค�ำตอบจากแหล่งเรียนรูท้ จี่ ดั เตรียม ไว้ในนวัตกรรมฯ เพื่อหาค�ำตอบของปัญหาที่ตั้งไว้จาก การถอดโปรโตคอล พบว่า วิธกี ารปรับเข้าสูส่ มดุลผูเ้ รียน ใช้ทั้งสองวิธีคือ 1.2.1) การดูดซึม (Assimilation) จากการ สัมภาษณ์พบว่า เมือ่ ผูเ้ รียนค้นคว้าหาความรูแ้ ล้วมีความ คล้ายคลึงกับประสบการณ์เดิม ผูเ้ รียนก็จะดูดซึมความรู้ ไปเก็บไว้เพิม่ เติมจากความรูเ้ ดิมทีม่ อี ยูโ่ ดยทีไ่ ม่ได้ปรับเปลีย่ น เป็นโครงสร้างความรู้เรื่องใหม่ ดังตัวอย่างข้อความจาก การสัมภาษณ์เชิงประจักษ์ที่ว่า “จากประสบการณ์เดิม

คือ เมือ่ เวลาครูสอนโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาก็ไม่ได้สง่ ผล ให้ ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของตั ว เองเพิ่ ม มากขึ้ น เนือ่ งจากการเรียนรูโ้ ดยใช้เทคโนโลยีของคุณครู ก็เพียงแค่ การน�ำเสนอเอาสารสนเทศผ่านจอคอมพิวเตอร์เท่านั้น ซึ่งไม่ต่างจากการอ่านในหนังสือค่ะ” 1.2.2) การปรับเข้าสูส่ มดุลทางปัญญาโดย การปรับเปลีย่ น (Accommodation) หลังจากทีผ่ เู้ รียน ศึกษาความรู้ในนวัตกรรมฯ แล้ว พบว่า ความรู้ใหม่ไม่ สอดคล้องกับความรูห้ รือประสบการณ์เดิมทีม่ อี ยู่ เมือ่ ได้ ข้อสรุปแล้วก็จะเปลีย่ นแนวคิดเป็นเรือ่ งใหม่ ดังตัวอย่าง ข้อความจากการสัมภาษณ์เชิงประจักษ์ทวี่ า่ “ไม่เคยรูเ้ ลย ว่าในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้นั้นจะต้องอาศัย หลักการทฤษฎีมาเป็นพืน้ ฐานในการออกแบบ ตอนแรก คิดว่าแค่ทำ� ตามตัวอย่าง แล้วก็ทำ� ตามโดยไม่รทู้ มี่ าทีไ่ ปค่ะ” 1.3) การสร้างความรู้จากปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (social interaction) เมื่อผู้เรียนสงสัยในปัญหาหรือไม่ สามารถแก้ปญ ั หาได้ วิธกี ารทีจ่ ะช่วยให้ผเู้ รียนได้แนวทาง ในการแก้ปญ ั หาคือ การได้แลกเปลีย่ นเรียนรูจ้ ากเพือ่ นๆ หรื อ ผู ้ รู ้ เพื่ อ เป็ น การขยายมุ ม มองในการแก้ ป ั ญ หา ดังตัวอย่างข้อความจากการสัมภาษณ์เชิงประจักษ์ที่ว่า “เวลาที่แก้ปัญหาหรือว่าค้นหาวิธีการในการแก้ปัญหา จากสถานการณ์ปญ ั หาไม่ได้กจ็ ะปรึกษาเพือ่ นค่ะ ก็จะได้ แนวทางในการค้นหาค�ำตอบ รวมทัง้ ยังได้แนวทางใหม่ๆ ค่ะ” 2) ผลการศึกษาการคิดสร้างสรรค์ของผูเ้ รียน ผูว้ จิ ยั ท�ำการเก็บข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้เรียน ซึ่งเป็น ตัวแทนกลุ่มเป้าหมายและน�ำมาวิเคราะห์โปรโตคอล ทีอ่ าศัยพืน้ ฐานการคิดสร้างสรรค์ของ Guilford (1967: 145-151) โดยมีผลการศึกษา ดังนี้ 2.1) การคิดคลอง (Fluency) พบว่า ผู้เรียนมี ความสามารถในการสร้างแนวคิดเพือ่ หาค�ำตอบ หรือหา ทางเลือกในการแก้ปญั หาทีห่ ลากหลายได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว มีปริมาณมากในเวลาทีจ่ ำ� กัด โดยศึกษาใน 2 ด้าน ดังนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

2.1.1) การคิดคล่องด้านถ้อยค�ำ (Word fluency) พบว่า ผูเ้ รียนมีความสามารถในการใช้ถอ้ ยค�ำ ได้อย่างจ�ำกัด และในเวลาที่จำ� กัด ดังตัวอย่างข้อความ จากการสัมภาษณ์เชิงประจักษ์และวิเคราะห์โปรโตคอล พบว่า “ผมพยายามหาค�ำตอบให้ได้มากทีส่ ดุ ครับ โดยใช้ ค�ำตอบสัน้ ๆ เพือ่ ทีจ่ ะให้ได้คำ� ตอบทีม่ ากทีส่ ดุ และผูเ้ รียน พยายามนึกถึงประสบการณ์เดิมครับ” 2.1.2) การคิดคล่องด้านเชื่อมโยงความ สัมพันธ์ (Associational fluency) พบว่า ผูเ้ รียนสามารถ เชือ่ มโยงความสัมพันธ์โดยหาสิง่ ทีเ่ หมือนกันหรือคล้ายกัน มากที่สุด ในเวลาที่จ�ำกัด ดังตัวอย่างข้อความจากการ สัมภาษณ์เชิงประจักษ์และวิเคราะห์โปรโตคอลพบว่า “ถ้ามีการจับเวลาแล้วให้หาค�ำตอบผมก็จะคิดว่า ค�ำตอบ มีความคล้ายคลึงกับสิง่ ใดมากทีส่ ดุ จากประสบการณ์เดิม ของผมครับ” 2.2) การคิดยืดหยุน (Flexibility) พบว่า ผูเ้ รียน สามารถสร้างแนวคิดทีห่ ลากหลายได้อย่างเป็นประโยชน์ หรือสามารถเปลีย่ นกฎ หลักการ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย เดียวกันได้ ดังตัวอย่างข้อความจากการสัมภาษณ์เชิง ประจักษ์และวิเคราะห์โปรโตคอลพบว่า “ถ้าโรงเรียน ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเทคโนโลยีที่เอื้อต่อการจัด การเรียนการสอน เราก็สามารถจัดการเรียนรู้ได้โดยเรา ก็เลือกใช้สอื่ อย่างอืน่ เช่น ท�ำเป็นชุดสร้างความรู้ ซึง่ เรา เอาหลักการทฤษฎีมาใช้ในการออกแบบก็จะสามารถ ท�ำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้เช่นเดียวกันค่ะ” 2.3) การคิดริเริ่ม (Originality) พบว่า ผู้เรียน มีความสามารถในการสร้างแนวคิด ซึ่งมีลักษณะเป็น ความคิดแปลกใหม่แตกต่างจากความคิดธรรมดา การคิด ออกแบบสิ่งใหม่โดยไม่ซ�้ำ ดังตัวอย่างข้อความจากการ สัมภาษณ์เชิงประจักษ์และวิเคราะห์โปรโตคอลพบว่า “ถ้าให้ผมสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ผมก็จะดูวา่ นักเรียน ชอบอะไร และมีอะไรบ้างที่ยังไม่มีคนท�ำ เพราะคิดว่า ไม่อยากท�ำซ�้ำกับใครครับ” “ท�ำนวัตกรรมใหม่ๆ ค่ะ เพื่อที่จะให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ เช่น อยากท�ำเกมที่ เรียนแล้วได้ทั้งความรู้และความสนุกสนาน”

181

2.4) การคิดละเอียดลออ (Elaboration) พบว่า ผู้เรียนมีการคิดในรายละเอียดเพื่อตกแต่งหรือขยาย ความคิดหลักให้ได้ความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยศึกษาการ แต่งเติมแนวคิดที่มีอยู่ขึ้นใหม่ โดยการคัดเลือกจากการ ประเมินค�ำตอบและท�ำการทดสอบตามเกณฑ์ ดังตัวอย่าง ข้อความจากการสัมภาษณ์เชิงประจักษ์และวิเคราะห์ โปรโตคอลพบว่า “ในการผลิตนวัตกรรมทางการเรียนรู้ เราควรออกแบบตามหลักการทฤษฎีครับ เวลาเราจะ ประเมินหรือหาประสิทธิภาพก็ประเมินกระบวนการตาม ที่เราออกแบบ เช่น ถ้าเราจะส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เราก็ใช้หลักการคิดวิเคราะห์มาออกแบบนวัตกรรมครับ” “ดิฉันว่าในการประเมินประสิทธิภาพสื่อไม่ควรดูแค่ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนค่ะ เพราะได้แค่ด้านเดียว ควรจะ ดูกระบวนการคิดของผู้เรียนด้วยค่ะ” 3) ผลการศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผูเ้ รียน พบว่า คะแนนสอบก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 32.05 คะแนนสอบหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 75 และคะแนนสอบ หลังเรียน (X = 15.11, S.D. = 1.42) มีคา่ เฉลีย่ มากกว่า คะแนนสอบก่อนเรียน (X = 6.41, S.D. = 1.62) โดยมี ผลต่างเฉลีย่ (D) = 16 คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ความคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วยนวัตกรรม การเรียนรู้ฯ พบว่า 4.1) ด้านเนือ้ หา พบว่า เนือ้ หามีความเหมาะสม กับระดับของผู้เรียนไม่ยากและไม่ง่ายเกินไป มีความ น่าสนใจ มีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน มีความสมบูรณ์และครอบคลุม มีความชัดเจน และเอื้อ ต่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ การสร้างความรูข้ องผูเ้ รียน ภาษาทีใ่ ช้มคี วามกะทัดรัด เป็นล�ำดับขัน้ และง่ายต่อการ ท�ำความเข้าใจ 4.2) ด้านสื่อมัลติมีเดีย พบว่า มีการออกแบบ เครือ่ งน�ำทาง (Navigator) ทีม่ คี วามคงที่ ช่วยให้สามารถ เข้าถึงและค้นหาสารสนเทศได้ง่าย มีสัญลักษณ์ที่เป็น ไอคอน (Icon) สามารถสื่อความหมายเกี่ยวกับแหล่ง สารสนเทศต่างๆ มีการเชือ่ มโยง (Link) ช่วยให้สามารถ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


182

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

เข้าถึงสารสนเทศต่างๆ 4.3) ด้านการออกแบบ พบว่า ทุกองค์ประกอบ ออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการสร้างความรู้และการคิด สร้างสรรค์

สรุปและอภิปรายผลการวิจัย

จากการศึ ก ษาผลการใช้ น วั ต กรรมการเรี ย นรู ้ ฯ สามารถสรุปและอภิปรายผลได้ดงั ต่อไปนี้ 1) ผลการสร้าง ความรูข้ องผูเ้ รียนพบว่า ผูเ้ รียนสร้างความรูจ้ ากการเสีย สมดุลทางปัญญา และการปรับโครงสร้างทางปัญญา โดยวิธีการดูดซึม การปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา และปฏิสมั พันธ์ทางสังคม ทีเ่ ป็นเช่นนีเ้ นือ่ งจากผูว้ จิ ยั ได้ ท�ำการออกแบบนวัตกรรมทางการเรียนรู้ฯ โดยอาศัย พื้นฐานทฤษฎีการออกแบบการสอน (ID theory) ที่น�ำ หลักการสร้างความรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Piaget, 1936: 6; Vygotsky, 1925: 29-30; Chaijaroen, 2016: 305) มาเป็นพื้นฐานการออกแบบ ซึ่งสอดคล้อง กับงานวิจัยของ Khanjug et al. (2009: 192-193) ที่ได้ท�ำการศึกษาเกี่ยวกับการสร้างความรู้ของผู้เรียน ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ พบว่า ผูเ้ รียนมีการสร้าง ความรูต้ ามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์เชิงปัญญา 2) ผล การคิดสร้างสรรค์ของผูเ้ รียน ประกอบด้วยการคิดคลอ ง การคิดยืดหยุน การคิดริเริ่ม และการคิดละเอียดลออ ทีเ่ ป็นเช่นนีเ้ นือ่ งจากผูว้ จิ ยั ได้ทำ� การออกแบบนวัตกรรม ทางการเรียนรูฯ้ โดยน�ำหลักการคิดสร้างสรรค์ Guilford (1967: 145-151) มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจยั ของ Techapornpong & Chaijaroen (2017: 118-129) และงานวิจยั ของ Samat & Chaijaroen (2009: 161-172) และงานวิจัยของ Antanin (2016: 83-87) ทีไ่ ด้ทำ� การศึกษาเกีย่ วกับการคิดสร้างสรรค์พบว่า ผูเ้ รียนมีการคิดสร้างสรรค์ ซึง่ ประกอบไปด้วย 4 ด้าน คือ 1. ด้านการคิดคล่อง 2. ด้านการคิดยืดหยุน่ 3. ด้านการคิด

ริเริม่ 4. ด้านการคิดละเอียดลออ 3) ผลการเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนพบว่า คะแนนสอบ หลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากในการจัด การเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ฯ ส่งผลให้ผู้เรียน เป็นผู้ลงมือกระท�ำด้วยตนเอง และผู้สอนเป็นผู้แนะน�ำ หรือเป็นผูจ้ ดั สภาพแวดล้อมการเรียนทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ ของผูเ้ รียน เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้สร้างความรูด้ ว้ ยตนเอง ผ่านการลงมือปฏิบัติการแก้ปัญหา จึงส่งผลให้ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย ของ Kwangmuang (2016: 188-201) ทีไ่ ด้ทำ� การศึกษา เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วย สิง่ แวดล้อมทางการเรียนรูต้ ามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ พบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอย่างมีนัย ส�ำคัญ 4) ความคิดเห็นของผู้เรียน ประกอบด้วยด้าน เนื้อหา ด้านสื่อมัลติมีเดีย และด้านการออกแบบ ที่เป็น เช่นนี้เนื่องจากการออกแบบโดยอาศัยพื้นฐานหลักการ ทฤษฎีตา่ งๆ และผ่านการตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรม การเรียนรูฯ้ จากผูเ้ ชีย่ วชาญทัง้ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเนือ้ หา ด้านสื่อ และด้านการออกแบบที่พบว่า มีการออกแบบ ที่สอดคล้องและตรงตามหลักการทฤษฎีที่เป็นพื้นฐาน ทัง้ การสร้างความรูต้ ามแนวคอนสรัคติวสิ ต์สง่ ผลให้ผเู้ รียน มีความคิดเห็นทีด่ ตี อ่ นวัตกรรมการเรียนรูฯ้ ซึง่ สอดคล้อง กับผลการศึกษาของ Kwangmuang & Chaijaroen (2016: 188-201) ทีไ่ ด้ทำ� การศึกษาเกีย่ วกับความคิดเห็น ของผู้เรียนที่ออกแบบตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ผสานร่วมกับคุณลักษณะของสือ่ และเทคโนโลยีสง่ ผลให้ ผู้เรียนมีความคิดเห็นที่ดีในทุกด้าน

กิตติกรรมประกาศ

ในการศึกษาครัง้ นีไ้ ด้รบั การสนับสนุนจากสาขาวิชา คอมพิวเตอร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

183

References

Antanin, T. (2016). Development of Web-based instruction Based on the Constructivist Theory to Promote Students’ Creativity in Learning Introduction to Television Production Communication Arts Program, Rajabhat Maha Sarakham University. Master degree thesis in Computer Education, Graduate School, Rajabhat Maha Sarakham University. [in Thai] Asavapisit, P. (2009). Creative Thailand. Intellectual Property Journal 5(3), 1-4. [in Thai] Chaijaroen, S. (2016). Instructional Design: Principles and Theories to Practices (2nd ed.). Khonkaen: Penprinting. [in Thai] Garnett, J. C. M. (1919). General ability, cleverness and purpose. British Journal of Psychology, 9, 345-366. Guilford, J. P. (1967). The nature of human intelligence. New York: McGraw-Hill. Khanjug, I., Chajaroen, S., Samat, C., Seehamath, P. & Seeja-morn, S. (2009). Study Learner’s Knowledge Construction process Learning with Learner’s Knowledge Construction Learning Innovation based on Thai Wisdom and Thai Living. (The research report). Faculty of Education, Khon Kean University. [in Thai] Kwangmuang, P. (2017). The Design and Development of Constructivist Learning Innovation to Enhance Creative Thinking in 21th Century Learning for Higher Education. Full Paper Proceeding BESSH-2017, 409(12), 6-14. Kwangmuang, P. & Chaijaroen, S. (2016). The result of synthesis framework of learning environment model enhance information processing for the learners integrating between pedagogy and neuroscience. Panyapiwat Journal, 8(3), 188-201. [in Thai] Kwangmuang, P. (2016). The Development of Learning Environment Model to Enhance Learner’s Information Processing Integration Between Pedagogy and Neuroscience. Doctor of Philosophy Thesis in Educational Technology, Graduate School, Khon Kaen University. [in Thai] Office of the Education Council. (2016). The study to review manpower requirements for to plan the production and human resource development of the country. Bangkok. Office of the Education Council. Piaget, J. (1936). Origins of intelligence in the child. London: Routledge & Kegan Paul. Ruengrong, P., Jiravarapong, B., Manyum, W., Somyaron, W., Muendet, S. & Srisurat, C. (2014). Educational technology VS Thai teacher in 21st Century. Panyapiwat Journal, 5(Special Issue), 195-207. [in Thai] Samat, C. & Chaijaroen, S. (2009). Design and Development of Constructivist Web-Based Learning Environment Model to Enhance Creative Thinking for Higher Education Students. Rajabhat Maha Sarakham University Journal, 3(2), 161-172. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


184

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Srisa-ard, B. (2010). Basic Research (8th ed.). Bangkok: Suviriyasarn. [in Thai] Techapornpong, O. & Chaijaroen, S. (2017). Framework of Constructivist Web-based Learning Environment Model to Enhance Creative Thinking: Integration Pedagogy and Neuroscience. Academic Resources, Prince of Songkla University, 28(1), 118-129. [in Thai] Torrance, E. P. (1972). Can we teach children to think creatively?. Journal of Creative Behavior, 6(2), 114-143. Vygotsky, L. (1925). Etudes on the pre-history of cultural-historical psychology. European Studies in the History of Science and Ideas, 8, 251-281.

Name and Surname: Parama Kwangmuang Highest Education: Ph.D. (Education Technology), Faculty of Education, Khon Kaen University University or Agency: Nakhon Phanom University Field of Expertise: Design and Development of Learning Innovation and using Instructional Design based on theory of Learning and Integration between Pedagogy and Neuroscience. Address: Department of Computer Education, Faculty of Education, Nakhon Phanom University

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

185

การให้ค�ำปรึกษากลุ่มแบบผสมผสานเทคนิคเพื่อเสริมสร้างปณิธานแห่งตน ทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู THE TECHNICAL ECLECTICISM GROUP COUNSELING FOR ENHANCING LEARNING SELF-DETERMINATION OF THE TEACHER STUDENTS สรรเสริญ หุ่นแสน1 พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์2 ชูศรี เลิศรัตน์เดชากุล3 และวิไลลักษณ์ ลังกา4 Sansern Hunsaen1 Patcharaporn Srisawat2 Chusri Lertrusdachakul3 and Wilailak Langka4 1,2,4คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ 1,2,4Faculty of Education, Srinakharinwirot University 3Faculty of Business Administration, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยปณิธานแห่งตนทางการเรียน ก่อนและหลังการให้ค�ำปรึกษากลุ่มเพื่อเสริมสร้างปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู กลุ่มตัวอย่าง ทีใ่ ช้ในการวิจยั คือ นักศึกษาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ซึง่ ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จากคะแนน ปณิธานแห่งตนทางการเรียน ตั้งแต่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ลงมา ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาองค์ประกอบปณิธาน แห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู จ�ำนวน 16 คน แล้วสุม่ อย่างง่ายเป็นกลุม่ ทดลอง จ�ำนวน 8 คน เพือ่ เข้ารับ การให้คำ� ปรึกษากลุม่ และกลุม่ ควบคุม จ�ำนวน 8 คน โดยไม่ได้รบั การให้คำ� ปรึกษากลุม่ เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั คือ แบบวัดปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู และการให้ค�ำปรึกษากลุ่มแบบผสมผสานเทคนิค สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบด้วยสถิติเอฟ การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ�้ำชนิดสองทาง ผลการวิจัยพบว่า 1. ปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู โดยรวมของกลุ่มทดลอง ก่อนการทดลอง หลังการ ทดลอง และเมื่อสิ้นสุดการติดตามผล แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู โดยรวมของกลุม่ ทดลอง และกลุม่ ควบคุม ก่อนการ ทดลอง หลังการทดลอง และเมื่อสิ้นสุดการติดตามผล แตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค�ำส�ำคัญ: ปณิธานแห่งตนทางการเรียน การให้ค�ำปรึกษากลุ่มแบบผสมผสานเทคนิค นักศึกษาวิชาชีพครู

Corresponding Author E-mail: ajsunsuen@gmail.com


186

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

The purposes of this research was to compare the difference in mean learning selfdetermination before and after the effectiveness of group counseling for enhancing the learning self-determination. The research sample were undergraduate students in Education majors of the Rajabhat Rajanagarindra University. And it is by the purposive sampling method with learning self-determination scores below the twenty-fifth percentile consisted of 16 teacher students. They were then randomly selected into two groups classified as an experimental group and a control group. Each group consisted of 8 teacher students. The experimental group participated in the eclecticism group counseling while the control group did not receive any counseling. The research instruments included a learning self-determination scale of eclecticism group counseling. The statistics used were percentage, means, standard deviation, F-test, One-way ANOVA and Two-way ANOVA. The results were found as follows: 1. There were statistically significant differences in the total learning self-determination of the learning self-determination of the experimental group was found before counseling, after counseling, and after the follow up at .05 level. 2. There were statistically significant differences in the total learning self-determination of the learning self-determination between the experimental group and the control group, which were found before counseling, after counseling and after the follow up at .05 level. Keywords: Learning self-determined, The technical eclecticism group counseling, Teacher students

บทน�ำ

ปณิธานแห่งตนเป็นพฤติกรรมทีเ่ กิดมาจากแรงจูงใจ ภายใน เป็นความพึงพอใจและเป็นความต้องการบุคคล โดยธรรมชาติ ซึง่ แรงจูงใจนัน้ จะเป็นแรงบันดาลใจให้บคุ คล มีพลังมีความกระตือรือร้นเกี่ยวกับสิ่งที่ท�ำ หลังจากนั้น จะท�ำให้รสู้ กึ ถึงความพึงพอใจในสิง่ ทีท่ �ำ (Deci & Ryan, 2008: 14) อีกทัง้ ปณิธานแห่งตนเป็นแนวคิดเชิงจิตวิทยา ทีส่ ามารถอธิบายถึงการด�ำเนินชีวติ ของนักศึกษาในระดับ ปริญญาตรีสาขาวิชาชีพครู ซึง่ เป็นวัยทีจ่ ำ� เป็นต้องปรับตัว ในหลายด้าน นับวันจะยิง่ ทวีความซับซ้อนมากยิง่ ขึน้ อาจ ส่งผลกระทบในด้านลบต่อนักศึกษาได้ โดย Hongthong (2012: 50) ได้ศกึ ษาสภาพปัญหาการเรียนวิชาการศึกษา ทัว่ ไปของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ภาคปกติ มหาวิทยาลัย

ราชภัฏ พบว่า นักศึกษามีปญ ั หาทางการเรียนคือ การเข้า ชั้นเรียน การอ่านหนังสือ การส่งงาน การสอบ เลือก วิชาเรียนไม่ได้ ตัดสินใจแก้ไขปัญหาทางการเรียนไม่ได้ ไม่ตั้งเป้าหมายทางการเรียน ไม่สามารถควบคุมตนเอง ให้ตงั้ ใจเรียนและส่งงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายได้ ซึง่ สอดคล้อง กับการสัมภาษณ์นักศึกษาวิชาชีพครู พบว่า นักศึกษา วิชาชีพครูสว่ นหนึง่ จะมีปญ ั หาทางการเรียนคือ ไม่สนใจ ในการเรียน ปัญหาการไม่เข้าชั้นเรียน การไม่ส่งงาน หรือการบ้านที่ได้รับมอบหมาย ไม่อ่านหนังสือเพื่อ เตรียมตัวสอบ ไม่เข้าสอบตามตารางสอบ ไม่สามารถเลือก วิชาทีจ่ ะลงทะเบียนได้ดว้ ยตนเอง เป็นต้น ปณิธานแห่งตน ทางการเรียนจึงมีความส�ำคัญกับนักศึกษาวิชาชีพครู เพราะอยูใ่ นช่วงวัยแห่งการแสวงหาเป้าหมาย และแนวทาง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

การด�ำเนินชีวติ การพัฒนาปณิธานแห่งตนทางการเรียน ให้กับนักศึกษาวิชาชีพครูจึงมีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง (Zhou & Xu, 2012: 49) ผูว้ จิ ยั จึงได้ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับ ปณิธานแห่งตน พบว่า การให้ค�ำปรึกษากลุ่ม (Group counseling) เป็นวิธีที่ท�ำให้สามารถเสริมสร้างปณิธาน แห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูได้ สอดคล้อง กับคอร์เร่ (Corey, 2012: 237) กล่าวว่า การให้คำ� ปรึกษา กลุ่มเป็นสถานการณ์ที่ดีส�ำหรับสมาชิกที่จะเริ่มต้นหา หนทางเพือ่ มีปณิธานแห่งตน สมาชิกกลุม่ จะได้ตระหนัก ถึงบทบาททีพ่ วกเขาเลือกทีจ่ ะแสดงออก เมือ่ บุคคลเข้าสู่ ความเชื่อที่ว่าพวกเขาสามารถสร้างตัวเลือก สามารถมี ปณิธานแห่งตน และในทีส่ ดุ จะสามารถควบคุมชีวติ ของ ตนเองได้ การให้ค�ำปรึกษากลุ่มจึงเป็นวิธีการที่ส�ำคัญ ในการที่จะพัฒนาและเสริมสร้างปณิธานแห่งตนทาง การเรียนให้กบั นักศึกษาวิชาชีพครู การให้คำ� ปรึกษากลุม่ ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การให้ค�ำปรึกษากลุ่มแบบ ผสมผสานเทคนิค (Technical eclecticism) ซึ่งเป็น การผสมผสานเฉพาะเทคนิคของการให้คำ� ปรึกษา โดยได้ ผสมผสานเทคนิคของทฤษฎีการให้คำ� ปรึกษากลุม่ จ�ำนวน 9 ทฤษฎี มีเทคนิคจ�ำนวน 30 เทคนิค ได้แก่ เทคนิค การฟังอย่างใส่ใจ การตัง้ ค�ำถาม การยอมรับทางบวกอย่าง ไม่มีเงื่อนไข การให้กำ� ลังใจ (Supporting) การสะท้อน เนื้อหา การสรุปความ การเสริมแรง การให้ก�ำลังใจ (Encouragement) ค�ำถามปาฏิหาริย์ การสอน การสอน ทฤษฎี A-B-Cs การโต้แย้งกับความเชือ่ ทีไ่ ม่สมเหตุสมผล การใช้สถานการณ์จำ� ลอง การแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ กระบวนการบ�ำบัดทางการรู้คิด จินตนาการเชิงเหตุผล และอารมณ์ การคัดสรรสาระส�ำคัญ การสร้างสรรค์สิ่ง ที่ต้องการ การกล่าวกับตนเองทางบวก ระบบ WDEP การสอนให้เผชิญกับการพูดกับตนเอง การวิเคราะห์ ตนเองอย่างมีเหตุผล การควบคุมตนเอง การตระหนักรู้ ต่อความต้องการ การทดลองสนทนาภายใน การแสดง บทบาทสมมติ ค�ำถามข้อยกเว้น สูตร ACT : ยอมรับ เลือก และปฏิบัติ การให้ข้อมูลย้อนกลับ และกระบวนการ

187

ก�ำกับตนเอง ดังที่ Kirdpitak (2011: 15-57) ได้กล่าวว่า การผสมผสาน (Eclectic) หมายถึง การเลือกสรร (Select) แนวคิดตลอดทั้งวิธีการต่างๆ (Methods) ที่เหมาะสม จากทฤษฎีตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการให้คำ� ปรึกษาและการ บ�ำบัด ซึ่งการผสมผสานเทคนิคจะช่วยให้สามารถเลือก วิธีที่ดีและเหมาะสมที่สุดส�ำหรับปัญหาที่เกิดขึ้น อีกทั้ง ยังช่วยกระตุ้นการใช้เทคนิคที่หลากหลายโดยไม่ถูกการ ปิดกัน้ จากแนวคิดหลักของทฤษฎี (Norcross, 2005: 8) ผูว้ จิ ยั จึงสนใจทีจ่ ะด�ำเนินการวิจยั การให้คำ� ปรึกษา กลุ ่ ม แบบผสมผสานเทคนิ ค เพื่ อ เสริ ม สร้ า งปณิ ธ าน แห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูโดยการให้ ค�ำปรึกษากลุม่ แบบผสมผสานเทคนิค ซึง่ เป็นวิธกี ารหนึง่ ในการเสริมสร้างปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษา วิชาชีพครู อันจะเป็นหนทางหนึ่งที่จะสามารถป้องกัน และแก้ไขปัญหาทางการเรียนของนักศึกษา ท�ำให้นกั ศึกษา เป็นบุคคลที่สามารถด�ำเนินชีวิตทางการเรียนด้วยความ เป็นตัวของตัวเอง เข้าใจตนเองและผูอ้ นื่ ได้อย่างสมบูรณ์ เป็นบุคคลทีม่ ปี ระสิทธิภาพ สามารถปรับตัวเข้ากับผูอ้ นื่ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข

วัตถุประสงค์การวิจัย

เพื่อเปรียบเทียบปณิธานแห่งตนทางการเรียนของ นักศึกษาวิชาชีพครูของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และเมื่อสิ้นสุดการ ติดตามผล

ทบทวนวรรณกรรม

ปณิธานแห่งตนทางการเรียน เป็นลักษณะที่แสดง ให้เห็นว่า นักศึกษาวิชาชีพครูมคี วามคิด ความรูส้ กึ และ มีแนวโน้มที่จะเกิดพฤติกรรมที่จะน�ำไปสู่ความมุ่งมั่น ในการเลือกและตัดสินใจทางการเรียน การแก้ปัญหา ทางการเรียน การตัง้ เป้าหมายทางการเรียน การสนับสนุน ตนเองทางการเรียน การควบคุมตนเองทางการเรียน และการตระหนักรู้ในตนเองทางการเรียนตามที่ตั้งใจไว้ เกีย่ วกับการเรียน ไม่อยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลของบุคคลอืน่ และ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


188

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ยอมรับในสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ นอกจากนี้ กัวราน, ซาร่าซิน และ ทัวร์อิราว (Gourlan, Sarrazin & Trouilloud, 2013: 1267) กล่าวว่า ปณิธานแห่งตนเป็นการสร้างแรงจูงใจ ในขอบเขตทีเ่ ป็นอิสระแห่งตน บุคคลจะท�ำกิจกรรมต่างๆ ทีต่ นเองเลือกและมีความมุง่ มัน่ ในการท�ำสิง่ นัน้ สามารถ ควบคุมตนเองให้มงุ่ มัน่ ทีจ่ ะท�ำกิจกรรมนัน้ ไปจนประสบ ความส�ำเร็จด้วยตนเองโดยปราศจากการบีบบังคับจาก ปัจจัยภายนอก การผสมผสานเทคนิคการให้ค�ำปรึกษากลุ่มเป็น การน�ำเทคนิคของทฤษฎีการให้คำ� ปรึกษากลุม่ ทีส่ ามารถ น�ำมาเสริมสร้างปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษา วิชาชีพครูมาใช้ในการให้ค�ำปรึกษากลุ่ม ซึ่งผู้วิจัยให้ ความส�ำคัญกับการผสมผสานเทคนิคของทฤษฎีการให้ ค�ำปรึกษากลุ่ม ตามแนวคิดของคอเรย์ (Corey, 2012: 441-447) และธอร์น (Thorne, 2011: 465) ทีก่ ล่าวว่า การให้ค�ำปรึกษาแบบผสมผสานเทคนิค เป็นการน�ำเอา เทคนิค กระบวนการของการให้คำ� ปรึกษากลุม่ แต่ละทฤษฎี มาผสมผสานอย่างมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ให้เหมาะสมกับปัญหา และความต้องการของผู้รับค�ำปรึกษา ในกระบวนการนี้ จะก่อให้เกิดสัมพันธภาพของการช่วยเหลือระหว่างผู้ให้ ค�ำปรึกษาและผูร้ บั บริการ ผูใ้ ห้คำ� ปรึกษาจะเป็นผูม้ คี วามรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ในการให้ค�ำปรึกษา มีเจตคติทดี่ ตี อ่ การให้คำ� ปรึกษา มีบคุ ลิกภาพทีเ่ หมาะสม พร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือผู้รับบริการ เพื่อให้ผู้รับ บริการสามารถเข้าใจตนเองและสิ่งแวดล้อมได้ดีขึ้น สามารถตัดสินใจและแก้ปญ ั หาต่างๆ ของตนเองได้อย่าง มีประสิทธิภาพ มีความสบายใจขึน้ เกิดการเปลีย่ นแปลง ทางเจตคติ ความรูส้ กึ ตลอดทัง้ พฤติกรรมต่างๆ ในวิถที าง ทีด่ ขี นึ้ และสามารถวางโครงการในอนาคตของตนเองได้ อย่างเหมาะสม

ขอบเขตของการวิจัย

ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นีค้ อื นักศึกษาวิชาชีพครู ชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

กลุ่มภาคกลาง ปีการศึกษา 2558 สังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการจ�ำนวน 16,186 คน (Higher Education Commission, 2015) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เสริมสร้างปณิธานแห่งตนทาง การเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูโดยใช้การให้คำ� ปรึกษา กลุ่มแบบผสมผสานเทคนิคได้มาจากการสุ่มเลือกแบบ หลายขั้นตอน ได้แก่ นักศึกษาวิชาชีพครู ชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ซึง่ ได้มา โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling method) จากคะแนนปณิธานแห่งตนทางการเรียน ตั้งแต่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ลงมา ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จาก การศึกษาองค์ประกอบปณิธานแห่งตนทางการเรียน ของนักศึกษาวิชาชีพครู มีกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 16 คน เข้ามาเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยแบ่งเป็น กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 8 คน ตามล�ำดับ โดยกลุม่ ทดลองเข้ารับการให้คำ� ปรึกษากลุม่ แบบผสมผสาน เทคนิค ส่วนกลุม่ ควบคุมจะไม่ได้รบั การให้ค�ำปรึกษากลุม่ แบบผสมผสานเทคนิค และไม่ได้ให้ความรูเ้ กีย่ วกับปณิธาน แห่งตนทางการเรียน

วิธีด�ำเนินการวิจัย

ขั้นที่ 1 ผู้วิจัยสร้างแบบวัดปณิธานแห่งตนทาง การเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู จ�ำนวน 56 ข้อ โดยสร้าง แบบวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับของลิเคิรท์ คุณภาพของแบบวัดปณิธานแห่งตน ทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู มีค่าดัชนีความ สอดคล้อง (Index of item-objective congruence: IOC) อยูร่ ะหว่าง 0.6-1.0 แล้วน�ำไปทดลองใช้ (Try out) โดยให้นักศึกษาวิชาชีพครู ชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี จ�ำนวน 100 คน ทดลอง ตอบแบบวัดปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษา วิชาชีพครู หลังจากนั้นน�ำข้อมูลที่ได้จากการทดลองใช้ มาวิเคราะห์หาค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้อ (Item-total Correlation) โดยใช้ สู ต รสหสั ม พั น ธ์ แ บบเพี ย ร์ สั น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

(Pearson product moment correlation) ซึ่งมี ข้อค�ำถามผ่านเกณฑ์จ�ำนวน 52 ข้อ โดยมีค่าอ�ำนาจ จ�ำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .27-.66 และค่าความเชื่อมั่น ของแบบสอบถามทัง้ ฉบับ โดยใช้สตู รสัมประสิทธิแ์ อลฟา (Alpha-coefficient) เท่ากับ .94 ขั้นที่ 2 สร้างการให้ค�ำปรึกษากลุ่มแบบผสมผสาน เทคนิคโดยศึกษาและทบทวนเอกสารงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง กับการให้ค�ำปรึกษากลุ่ม โดยท�ำการคัดเลือกแนวคิด ทฤษฎี เทคนิค และวิธีการต่างๆ มาใช้ให้เหมาะสมกับ กลุ่มตัวอย่างและตัวแปรที่ศึกษากลุ่ม ซึ่งได้ผสมผสาน เทคนิคของทฤษฎีการให้คำ� ปรึกษากลุม่ จ�ำนวน 9 ทฤษฎี มีเทคนิคจ�ำนวน 30 เทคนิค ได้แก่ เทคนิคการฟัง อย่างใส่ใจ การตัง้ ค�ำถาม การยอมรับทางบวกอย่างไม่มี เงือ่ นไข การให้กำ� ลังใจ (Supporting) การสะท้อนเนือ้ หา การสรุปความ การเสริมแรง การให้กำ� ลังใจ (Encouragement) ค�ำถามปาฏิหาริย์ การสอน การสอนทฤษฎี A-B-Cs การโต้แย้งกับความเชือ่ ทีไ่ ม่สมเหตุสมผล การใช้สถานการณ์ จ�ำลอง การแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ กระบวนการ บ�ำบัดทางการรู้คิด จินตนาการเชิงเหตุผลและอารมณ์ การคัดสรรสาระส�ำคัญ การสร้างสรรค์สิ่งที่ต้องการ การกล่าวกับตนเองทางบวก ระบบ WDEP การสอนให้ เผชิญกับการพูดกับตนเอง การวิเคราะห์ตนเองอย่างมี เหตุผล การควบคุมตนเอง การตระหนักรูต้ อ่ ความต้องการ การทดลองสนทนาภายใน การแสดงบทบาทสมมติ ค�ำถามข้อยกเว้น สูตร ACT : ยอมรับ เลือก และปฏิบตั ิ การให้ข้อมูลย้อนกลับและกระบวนการก�ำกับตนเอง จากนั้นน�ำไปให้ผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 5 ท่าน ตรวจสอบ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) เพื่อ พิจารณาว่าการให้คำ� ปรึกษากลุม่ แบบผสมผสานเทคนิค สามารถน�ำไปเสริมสร้างปณิธานแห่งตนทางการเรียน ของนักศึกษาวิชาชีพครูได้ ซึ่งมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of item-objective congruence: IOC) อยู่ ระหว่าง 0.6-1.0 จากนั้นน�ำการให้คำ� ปรึกษากลุ่มแบบ ผสมผสานเทคนิคไปทดลองใช้ (Try out) โดยผู้วิจัย

189

ด�ำเนินการให้ค�ำปรึกษากลุ่มแบบผสมผสานเทคนิค กับนักศึกษาวิชาชีพครูที่ไม่ใช่กลุ่มทดลอง แต่มีลักษณะ ใกล้เคียงกับกลุม่ ทดลอง ได้แก่ นักศึกษาวิชาชีพครูชนั้ ปี ที่ 1 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จ�ำนวน 8 คน ผลจากการทดลอง ใช้การให้คำ� ปรึกษากลุม่ แบบผสมผสานเทคนิค พบข้อควร ปรับปรุงในเรือ่ งกิจกรรมกับระยะเวลาในขัน้ เริม่ ต้นการให้ ค�ำปรึกษากลุม่ ผูว้ จิ ยั จึงน�ำสิง่ ทีค่ วรปรับปรุงไปเปลีย่ นแปลง พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น แล้วจึงน�ำการให้ค�ำปรึกษากลุ่มแบบ ผสมผสานเทคนิคไปใช้ทดลองกับกลุ่มทดลองจริง ขั้นที่ 3 ผู้วิจัยด�ำเนินการทดลองกับกลุ่มทดลอง จ�ำนวน 10 ครั้ง และติดตามผลภายหลังทดลองไปแล้ว 1 เดือน ขั้นที่ 4 ผู้วิจัยน�ำข้อมูลที่ได้จากแบบวัดปณิธาน แห่งตนทางการเรียนไปจัดกระท�ำข้อมูลและวิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติทางการวิจัย

การจัดกระท�ำข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล

สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพรรณนา คือ ค่าเฉลีย่ ความเบีย่ งเบนมาตรฐาน สถิตพิ าราเมตริก คือ F-test โดยวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบแบบวัดซ�้ำ ชนิดสอง (Two-way ANOVA repeated measurement) การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ�้ำชนิดทางเดียว (One-way ANOVA repeated measurement) และ การวิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้ความแปรปรวนแบบวัดซ�ำ้ ชนิดสองทาง (Two-way ANOVA repeated measurement) แบบ One between and two within design

สรุปผลการวิจัย

ผู้วิจัยท�ำการเปรียบเทียบคะแนนแบบวัดปณิธาน แห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูโดยรวม ของกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุมทีไ่ ด้จากก่อนการทดลอง หลังการทดลอง เมือ่ สิน้ สุดการติดตามผลหลังการทดลอง ครั้งสุดท้ายเป็นเวลา 1 เดือน สรุปผลได้ดังนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


190

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

1. การวิเคราะห์คา่ เฉลีย่ ปณิธานแห่งตนทางการเรียน ของนักศึกษาวิชาชีพครูในภาพรวมและรายองค์ประกอบ ของนักศึกษาทีเ่ ป็นกลุม่ ทดลองทีไ่ ด้รบั การให้คำ� ปรึกษากลุม่ และนักศึกษาทีเ่ ป็นกลุม่ ควบคุมทีไ่ ม่ได้รบั การให้คำ� ปรึกษา กลุ่ม 1.1 ค่าเฉลี่ยปณิธานแห่งตนทางการเรียนของ นักศึกษาวิชาชีพครูในภาพรวมของนักศึกษาที่เป็นกลุ่ม ทดลองที่ได้รับการให้ค�ำปรึกษากลุ่ม คะแนนปณิธาน แห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูโดยรวม ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และเมือ่ สิน้ สุดการติดตาม ผลของกลุ่มทดลอง ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง (2.83) ระดับสูง (4.03) และระดับสูง (4.09) ตามล�ำดับ 1.2 ค่าเฉลี่ยปณิธานแห่งตนทางการเรียนของ นักศึกษาวิชาชีพครูในภาพรวมของนักศึกษาที่เป็นกลุ่ม ควบคุมทีไ่ ม่ได้รบั การให้คำ� ปรึกษากลุม่ คะแนนปณิธาน แห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูโดยรวม ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และเมือ่ สิน้ สุดการติดตาม ผลของกลุ่มควบคุม ซึ่งอยู่ในระดับปานกลางทุกระยะ (2.82), (2.94), (2.95) ตามล�ำดับ

2. การเปรียบเทียบปณิธานแห่งตนทางการเรียน ของนั ก ศึ ก ษาวิ ช าชี พ ครู ก ลุ ่ ม ทดลองที่ ไ ด้ รั บ การให้ ค�ำปรึกษากลุ่มแบบผสมผสานเทคนิคเพื่อเสริมสร้าง ปณิธานแห่งตนทางการเรียน และกลุม่ ควบคุมทีไ่ ม่ได้รบั การให้คำ� ปรึกษากลุม่ แบบผสมผสานเทคนิคเพือ่ เสริมสร้าง ปณิธานแห่งตนทางการเรียน ก่อนการทดลอง หลังการ ทดลอง และเมื่อสิ้นสุดการติดตามผลของกลุ่มทดลอง และกลุม่ ควบคุมมาวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ�ำ้ ชนิดสองทาง (Two-way ANOVA repeated Measurement) และท�ำการตรวจสอบการแจกแจงปกติของกลุม่ ตัวอย่างด้วยวิธีบ๊อกซ์เอ็ม (Box’s M test) (Garson, 2012: 38) ได้เท่ากับ 16.41 และจากการทดสอบได้คา่ F เท่ากับ 2.08 ที่นัยส�ำคัญทางสถิติเท่ากับ .05 แสดงว่า กลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุมมีความแปรปรวนของความ คลาดเคลื่อนเป็นเอกพันธ์กัน ผู้วิจัยจึงท�ำการวิเคราะห์ เปรียบเทียบปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษา วิชาชีพครูโดยรวม ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และเมื่อสิ้นสุดการติดตามผลของกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูโดยรวม ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และเมือ่ สิน้ สุดการติดตามผลของกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุม โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ�ำ้ ชนิดสองทาง แหล่งความแปรปรวน ระหว่างกลุ่ม - กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง - ความคลาดเคลื่อน ภายในกลุ่ม - ผลการวัดก่อน หลัง และหลังการติดตามผล - ปฏิสัมพันธ์ของกลุ่มกับผลการวัดก่อนหลัง และเมื่อสิ้นสุดการติดตามผล - ความคลาดเคลื่อน

Sum of Squares

df

Mean Squares

2.23 0.05

1 14

4.96 3.22 0.30

F

p

2.23 0.00

630.87*

0.00

2 2

2.48 1.61

229.97* 149.25*

0.00 0.00

28

0.01

*p < .05 ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

3. ค่ า เฉลี่ ย คะแนนแบบวั ด ปณิ ธ านแห่ ง ตนทาง การเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูโดยรวมที่ได้จากผล การวัดก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และเมื่อสิ้นสุด การติดตามผล ในกลุ่มทดลองมีความแตกต่างกันอย่าง

191

มีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 (F = 226.95, p = 0.00) กลุม่ ควบคุมมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (F = 12.50, p = 0.00) ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูโดยรวมของกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ�้ำชนิดทางเดียว กลุ่ม กลุ่มทดลอง

กลุ่มควบคุม

แหล่งความแปรปรวน - ผลการวัดก่อน หลัง และเมื่อ สิ้นสุดการติดตามผล - ความคลาดเคลื่อน - ผลการวัดก่อน หลัง และเมื่อ สิ้นสุดการติดตามผล - ความคลาดเคลื่อน

Sum of Squares 8.09

df 2

Mean F Squares 4.04 226.95*

0.25 0.09

14 2

0.01 0.04

0.05

14

0.00

12.50*

p 0.00

0.00

*p < .05 เพื่อให้เห็นเด่นชัด ผู้วิจัยจึงน�ำเสนอภาพกราฟ การเปรียบเทียบคะแนนเฉลีย่ โดยรวมของปณิธานแห่งตน ทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู กลุ่มทดลอง และ

กลุม่ ควบคุม ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง เมือ่ สิน้ สุด การติดตามผลหลังการทดลองครัง้ สุดท้ายเป็นเวลา 1 เดือน ดังแสดงในภาพที่ 1

ภาพที่ 1 การเปรียบเทียบคะแนนค่าเฉลี่ยปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูโดยรวม ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และเมื่อสิ้นสุดการติดตามผลของนักศึกษาวิชาชีพครู กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


192

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

อภิปรายผล

1. การเปรียบเทียบปณิธานแห่งตนทางการเรียน ของนักศึกษาวิชาชีพครูกอ่ นการทดลอง หลังการทดลอง และเมื่อสิ้นสุดการติดตามผล พบว่า ปณิธานแห่งตน ทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูกลุม่ ทดลอง ก่อนการ ทดลอง หลังการทดลอง และเมื่อสิ้นสุดการติดตามผล แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อ พิจารณารายด้านพบว่า ปณิธานแห่งตนทางการเรียน ทัง้ 6 องค์ประกอบ หลังการทดลอง และเมือ่ สิน้ สุดการ ติดตามผล สูงกว่าก่อนการทดลองเมื่อพิจารณาคะแนน เฉลีย่ ของกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุม พบว่า คะแนนเฉลีย่ ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม แสดงว่าการให้ ค�ำปรึกษากลุม่ แบบผสมผสานเทคนิคส่งผลต่อการเสริมสร้าง ปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูให้ดขี นึ้ และมีความคงทนของการให้ค�ำปรึกษากลุม่ อยูจ่ นถึงเมือ่ สิน้ สุดการติดตามผล ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากการให้คำ� ปรึกษากลุม่ แบบผสมผสานเทคนิคเพื่อเสริมสร้างปณิธานแห่งตน ทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู สามารถเสริมสร้าง ปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู ของกลุ่มทดลองได้ โดยนักศึกษาวิชาชีพครูกลุ่มทดลอง มีการเลือกและตัดสินใจทางการเรียนทีด่ ขี นึ้ และเหมาะสม กับตนเอง สามารถทีจ่ ะแก้ไขปัญหาทางการเรียนได้ดว้ ย ตนเอง มีการตัง้ เป้าหมายทางการเรียนทีช่ ดั เจนและเป็น พฤติกรรมที่สามารถท�ำได้ สามารถหาหนทางสนับสนุน ตนเองให้ประสบความส�ำเร็จทางการเรียน มีทักษะการ ควบคุมตนเองทางการเรียน และตระหนักรู้ในตนเอง ทางการเรียนได้ดยี งิ่ ขึน้ ทัง้ นีเ้ ป็นผลมาจากการให้คำ� ปรึกษา กลุ่มแบบผสมผสานเทคนิคได้ก�ำหนดขั้นตอนการให้ ค�ำปรึกษากลุม่ และผสมผสานเทคนิคทีใ่ ช้ในการเสริมสร้าง ปณิธานแห่งตนทางการเรียนจากทฤษฎีการให้คำ� ปรึกษา กลุ่มที่สอดคล้องกับการเสริมสร้างปณิธานแห่งตนทาง การเรียนให้กับนักศึกษาวิชาชีพครู จึงท�ำให้นักศึกษา วิชาชีพครูมปี ณิธานแห่งตนทางการเรียนทีส่ งู ขึน้ สอดคล้อง กับคอเรย์ (Corey, 2012: 237) ได้กล่าวว่า การให้

ค�ำปรึกษากลุ่มเป็นสถานการณ์ที่ดีส�ำหรับสมาชิกที่จะ เริ่มต้นหาหนทางเพื่อมีปณิธานแห่งตน และสอดคล้อง กับแกลดดิง (Gladding, 2013: 239) กล่าวว่า การให้ ค�ำปรึกษากลุ่มสามารถท�ำให้สมาชิกกลุ่มมีการพัฒนา ตนเองจนบรรลุเป้าหมายและมีศักยภาพมากขึ้น 2. จากผลการวิจยั พบว่า ปณิธานแห่งตนทางการเรียน ของนักศึกษาวิชาชีพครูโดยรวมหลังการให้คำ� ปรึกษากลุม่ ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อเปรียบเทียบ คะแนนเฉลีย่ ปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษา วิชาชีพครูกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุม พบว่า กลุม่ ทดลอง มีคะแนนเฉลีย่ ปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษา วิชาชีพครูสงู ขึน้ กว่ากลุม่ ควบคุม แสดงให้เห็นว่า การให้ ค�ำปรึกษากลุ่มแบบผสมผสานเทคนิคช่วยเสริมสร้าง ปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู ในกลุม่ ทดลองให้ดขี นึ้ และท�ำให้มพี ฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ ดีขนึ้ ทัง้ นีเ้ นือ่ งมาจากผูว้ จิ ยั ให้ความส�ำคัญกับการผสมผสาน เทคนิคของทฤษฎีการให้คำ� ปรึกษากลุม่ ตามแนวคิดของ คอเรย์ (Corey, 2012: 441-447) และธอร์น (Thorne, 2011: 465) ทีก่ ล่าวว่า การให้คำ� ปรึกษาแบบผสมผสาน เทคนิค เป็นการน�ำเอาเทคนิค กระบวนการของการให้ ค�ำปรึกษากลุม่ แต่ละทฤษฎีมาผสมผสานอย่างมีจดุ มุง่ หมาย เพื่อให้เหมาะสมกับปัญหาและความต้องการของผู้รับ ค�ำปรึกษา ซึ่งสอดคล้องกับโจนส์-สมิท (Jones-Smith, 2016: 24) กล่าวว่า การผสมผสานเทคนิคส�ำหรับการให้ ค�ำปรึกษาเป็นความสามารถของผูใ้ ห้คำ� ปรึกษาในการน�ำ เทคนิคต่างๆ มาใช้ในการให้คำ� ปรึกษา โดยผูใ้ ห้คำ� ปรึกษา เป็นผู้ผสมผสานเทคนิคส�ำหรับการให้ค�ำปรึกษาให้กับ ผูร้ บั บริการ ซึง่ วิธผี สมผสานเทคนิคส�ำหรับการให้คำ� ปรึกษา จะปรับใช้ให้เหมาะสมกับผูร้ บั บริการ โดยผูใ้ ห้คำ� ปรึกษา จะต้องมีความเข้าใจในทฤษฎีการให้คำ� ปรึกษา แล้วสามารถ น�ำเอาเทคนิคของทฤษฎีตา่ งๆ มาผสมผสานส�ำหรับการให้ ค�ำปรึกษาได้เป็นอย่างดี

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ข้อเสนอแนะการวิจัย

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1. เมื่อมีผู้ต้องการที่จะน�ำเอาผลของการวิจัยใน งานวิจัยเรื่องนี้ไปใช้ควรค�ำนึงถึงระดับพัฒนาการ อายุ ระดับชัน้ เรียน ซึง่ ข้อมูลดังกล่าวจะเป็นส่วนช่วยสนับสนุน การตัดสินใจในการน�ำเทคนิคการให้ค�ำปรึกษาไปใช้ใน การเสริมสร้างประชากรทีจ่ ะพัฒนาให้เหมาะสมและเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด 2. จากการวิจยั พบว่า ขัน้ ตอนการให้คำ� ปรึกษากลุม่ แบบผสมผสานเทคนิคมีส่วนช่วยให้กลุ่มตัวอย่างได้มี ความรูแ้ ละความเข้าใจอย่างเป็นระบบ และเป็นขัน้ ตอน เกี่ยวกับปณิธานแห่งตนทางการเรียน ผู้ที่จะน�ำการให้ ค�ำปรึกษากลุ่มแบบผสมผสานเทคนิคไปใช้จึงจ�ำเป็น จะต้องศึกษาและท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนต่างๆ ของการให้คำ� ปรึกษากลุม่ แบบผสมผสานเทคนิค เพือ่ ให้ เกิดประสิทธิผลในการเสริมสร้างปณิธานแห่งตนทาง การเรียนของประชากรที่จะพัฒนา

193

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ในการวิจัยครั้งต่อไปควรน�ำเอาวิธีการต่างๆ มา ใช้ส�ำหรับการเสริมสร้างและพัฒนาปณิธานแห่งตน ทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู อาทิ การให้คำ� ปรึกษา รายบุคคล การฝึกอบรมเชิงจิตวิทยา เป็นต้น 2. ในการวิจัยครั้งต่อไปควรมีการท�ำการวิจัยและ น�ำเอาการให้ค�ำปรึกษากลุ่มไปใช้กับประชากรในกลุ่ม อืน่ ๆ อาทิ นักศึกษาแพทย์ นักศึกษาพยาบาล นักศึกษา นิตศิ าสตร์ นักศึกษาวิทยาศาสตร์ และนักเรียนในระดับ ชั้นต่างๆ เป็นต้น 3. ในการวิจยั ครัง้ ต่อไปควรมีการติดตามผลในระยะ ทุก 3 และ 6 เดือน เพื่อยืนยันผลของระดับปณิธาน แห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครูว่ายังคง ทนอยูห่ รือไม่ และมีตวั แปรใดบ้างทีเ่ ข้ามาแทรกซ้อนท�ำให้ ปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู มีระดับการเปลี่ยนแปลงไป

References Corey, G. (2012). Theory and Practice of Group Counseling (8th ed.). Canada: Brooks Cole. Deci, E. L. & Ryan, R. M. (2008). Facilitating optimal motivation and psychological well being across life’s domains. Canadian Psychology, 49(1), 14-23. Garson, G. D. (2012). Testing Statistical Assumptions. Carolina: North Carolina State University. Gladding, S. T. (2013). Counseling a comprehensive profession. New Jersey: Pearson Education. Gourlan, M., Sarrazin, P. & Trouilloud, D. (2013). Motivational interviewing as a way to promote physical activity in obese adolescents: A randomised-controlled trial using self-determination theory as an explanatory framework. Psychology & Health, 28(11), 1265-1286. Higher Education Commission. (2015). Total number of students in 2015 classified by institutions, education level, and gender. Retrieved June 9, 2015, from http://www.mua.go.th/infodata/ 49/all2549.htm [in Thai] Hongthong, W. (2012). Learning Problem of General Education Courses of Regular Students of Rajabhat Universities. Bangkok: (Unpublished). [in Thai] Jones-Smith, E. (2016). Theories of Counseling and psychotherapy: an integrative approach. California: SAGE Publications. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


194

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Kirdpitak, P. (2011). Comparison of counseling theory and guideline development for counseling. In Graduated Textbook: Concepts of guidance and theories in psychological counseling. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University Press. [in Thai] Norcross, J. C. (2005). A primer on psychotherapy integration. In Handbook of Psychotherapy Integration. (pp. 3-23). Canada: Oxford University Press. Ryan, R. M. & Deci, E. L. (2008). Clinical and Social Sciences in Psychology. Canadian Psychology, 49(3), 186-193. Thorne, F. C. (2011). Principles of personality counseling: An eclectic viewpoint. Milton Keynes: Lightning source UK. Zhou, M. & Xu, Y. (2012). A self-determination approach to understanding Chinese university students’ choice of academic majors. Individual Differences Research, 10(1), 49-59.

Name and Surname: Sansern Hunsaen Highest Education: Student in Ph.D. Candidate, Doctor of Philosophy Program in Research and Development on Human Potentials, Concentration Area of Psychology of Human Development and Counseling, Faculty of Education, Srinakharinwirot University University or Agency: Srinakharinwirot University Field of Expertise: Guidance & Counseling Psychology Address: Department of Psychology and Guidance, Faculty of Education, Rajabhat Rajanagarindra University Name and Surname: Patcharaporn Srisawat Highest Education: Ed.D. in Counseling Psychology, Srinakharinwirot University University or Agency: Srinakharinwirot University Field of Expertise: Counseling Psychology Address: Department of Guidance and Educational Psychology, Faculty of Education, Srinakharinwirot University

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

195

Name and Surname: Chusri Lertrusdachakul Highest Education: Ed.D. in Counseling Psychology, Srinakharinwirot University University or Agency: King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Field of Expertise: Counseling Psychology Address: Department of Industrial Business Administration, Faculty of Business Administration, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Name and Surname: Wilailak Langka Highest Education: Ph.D. in Applied Behavioral Science Research Srinakharinwirot University University or Agency: Srinakharinwirot University Field of Expertise: Measurement and Educational Research Address: Department of Measurement and Educational Research, Faculty of Education, Srinakharinwirot University

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


196

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ DEVELOPMENT OF A LEARNING MODEL FOR THE SUCCESSOR DEVELOPMENT PROCESS OF ESTABLISHMENT สราวุธ หลิมไชยกุล1 มิ่งขวัญ คงเจริญ2 และกัมปนาท บริบูรณ์3 Sarawut Limchaikul1 Mingkwan Kongjareon2 and Gumpanat Boriboon3 1,2,3คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1,2,3 ­­­­­­­­­­­­­­­­­­­ Faculty of Education, Srinakharinwirot University

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจยั ในครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์ 1) เพือ่ พัฒนารูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง ของสถานประกอบการ 2) เพือ่ ตรวจสอบและประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบในกระบวนการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง ของสถานประกอบการ โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม และแบบประเมินประสิทธิภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารระดับนโยบายจากสถานประกอบการ ที่ได้รับรางวัลด้านการบริหารความเป็นเลิศด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล และนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีหน้าที่ บริหารจัดการการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง ผลการวิจยั พบว่า กระบวนการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง ประกอบไปด้วย 5 ขัน้ ตอน ได้แก่ 1) ก�ำหนดเป้าประสงค์ หรือจุดมุง่ หมายเพือ่ การพัฒนา 2) การประเมินความต้องการจ�ำเป็นในการพัฒนา 3) การจัดท�ำแผนพัฒนารายบุคคล 4) ด�ำเนินการตามแผนการพัฒนา 5) การประเมินผลการพัฒนาและผลลัพธ์ ซึ่งประกอบไปด้วย 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของการบริหารจัดการการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง 2) รูปแบบการเรียนรู้ 3) การเรียนรู้ จากการปฏิบตั ิ 4) สภาพแวดล้อมทีส่ ง่ เสริมการถ่ายโอนความรู้ 5) ตัวชีว้ ดั การพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง ผลการประเมิน ประสิทธิภาพของรูปแบบ ด้านความเหมาะสม ด้านความถูกต้องครอบคลุม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็น ประโยชน์ พบว่า ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรูใ้ นสถานประกอบการเพือ่ พัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งโดยรวมและ รายด้านอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ค�ำส�ำคัญ: การพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง รูปแบบการเรียนรู้ การเรียนรู้จากการปฏิบัติ สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม การถ่ายโอนความรู้

Corresponding Author E-mail: sarawut.limchaikul@gmailcom


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

197

Abstract

The purposes of this research were as follows: 1) to develop a learning model for the successor development process of the establishment; 2) to examine and evaluate the efficiency of the learning model for the successor development process of the establishment. This is research and development research and the research instruments included in-depth interviews, focus group discussions and an efficacy questionnaire for learning model. The results of this research were carried out via in-depth interviews with the sample group were comprised of top human resources executives from companies that received human resource excellence awards and held focus group meetings with professionals from the organizations that targeted successor development. The results of the qualitative research revealed that there were five steps of successor development process, as follows: 1) set goals or objectives for development; 2) assess the needs for development; 3) prepare an individual development plan; 4) implementing development plans; 5) evaluation of development results. Furthermore, there were five components in the new frame of reference including; 1) success factors of management and succession development; 2) learning styles; 3) action learning; 4) support a workplace learning environment; and 5) measure succession development. The quantitative analysis measured the efficacy questionnaire for the learning model results of the sample group, revealing that the learning model proved to be at the highest levels in terms of appropriateness, correctness, possibility and the usefulness of the learning model for successor development process of the establishment. Keywords: Successor Development, Learning Styles, Action Learning, Support a workplace learning environment

บทน�ำ

ทรัพยากรมนุษย์มสี ว่ นส�ำคัญต่อความมีประสิทธิภาพ และความส�ำเร็จของสถานประกอบการ โดยทีป่ จั จัยทาง ด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งในการ ก� ำ หนดโอกาสการเติ บ โตของสถานประกอบการได้ กับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ต้องมีการปรับตัวให้พร้อม ในการเเข่งขันซึง่ นับวันจะทวีความรุนแรงยิง่ ขึน้ สิง่ ส�ำคัญ ที่นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ต้องด�ำเนินการในอันดับ ต้นๆ คือ การวางแผนก�ำลังคนที่ต้องมีระยะยาวจนถึง 4-5 ปีขา้ งหน้า โดยต้องเริม่ ค้นหาศักยภาพของบุคลากร และด�ำเนินการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ เตรียมความพร้อม ของบุคลากรให้มีความสามารถที่พร้อมอยู่ตลอดเวลา

ตามการปรับเปลี่ยนตามกลยุทธ์ได้ทันถ่วงที เพื่อที่จะ ท�ำให้มั่นใจได้ว่าจะมีบุคลากรที่มีศักยภาพพร้อมที่จะ น�ำพาองค์กรไปสู่เป้าหมายได้อย่างต่อเนื่อง นักพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์จึงต้องเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร โดยเฉพาะการเตรียมบุคลากรให้พร้อมทดแทนในต�ำแหน่ง ทีม่ คี วามส�ำคัญต่อการด�ำเนินงานหรือการรองรับการขยาย ธุรกิจขององค์กร ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า การพัฒนา ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง (Successor Development) แนวคิดนี้ เผยแพร่ครัง้ แรกในช่วงปลายทศวรรษที่ 1960 ของ Paul S. Ostrowski เรื่อง Prerequisites for Effective Succession Planning ว่า การเลือกบุคคลมาด�ำรงต�ำแหน่ง ในการบริหารเราจะเลือกจากบุคคลทีด่ มู ศี กั ยภาพสามารถ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


198

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ทีจ่ ะบริหารงานให้องค์กรประสบความส�ำเร็จทางธุรกิจได้ แต่เราจะสามารถแน่ใจได้อย่างไรว่า ใครคือคนทีเ่ หมาะสม และบุคคลทีเ่ ราเลือกจะเป็นคนทีม่ คี วามพร้อมทีจ่ ะน�ำพา ธุรกิจให้ประสบความส�ำเร็จได้จริงหรือไม่ จึงเป็นสิง่ ทีด่ กี ว่า หากองค์กรสร้างระบบในการบริหารจัดการการสรรหา บุคคลทีเ่ หมาะสมและสามารถพัฒนาบุคคลนัน้ ให้ประสบ ความส�ำเร็จในต�ำแหน่งและมีความสามารถท�ำให้องค์กร ประสบความส�ำเร็จได้ แต่จากงานวิจยั หรือผลการส�ำรวจ การพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งทีผ่ า่ นมาพบว่า การพัฒนา บุคลากรในแผนการสืบทอดตําแหน่งนั้นยังไม่ประสบ ความส�ำเร็จและไม่มีประสิทธิภาพได้เท่าที่ควร เช่น ผู้ที่ ได้รบั การคัดเลือกให้สบื ทอดต�ำแหน่งไม่ได้รบั การพัฒนา ความสามารถที่แตกต่างจากการพัฒนาทั่วไป การขาด กระบวนการที่จะพัฒนาให้สามารถสืบทอดต�ำแหน่งได้ ตามที่องค์กรคาดหวัง ขาดการเชื่อมโยงระบบพัฒนา บุคลากรกับเป้าหมายหรือกลยุทธ์ขององค์กรให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ (Rothwell, 2002: 32; Tonsil, 2010: 23-28) สิ่งที่ท้าทายส�ำหรับนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์คือ ต้องบริหารจัดการกระบวนการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง ให้มีความรู้ ทักษะอย่างเพียงพอที่จ�ำเป็นต้องใช้ในการ ท�ำงานของต�ำแหน่งทีจ่ ะได้รบั การสืบทอดในสภาพแวดล้อม ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วให้ได้ ต้องเป็นมากกว่า แค่กระบวนการวางแผนการทดแทนต�ำแหน่งงานนั้นๆ ต้องมีระบบการพัฒนาผ่านการเรียนรูใ้ นสถานประกอบการ ทีค่ รอบคลุม สภาพแวดล้อมทีส่ ง่ เสริมการถ่ายโอนความรู้ และองค์ประกอบการเรียนรู้ต่างๆ ที่เหมาะสมให้กับ ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง ทีท่ ำ� ให้มนั่ ใจได้วา่ ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง พร้อมต่อการด�ำรงต�ำแหน่งงานในอนาคตในการขับเคลือ่ น นโยบายขององค์กรให้บรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมายได้ (Towers Watson, 2010: 6; Deloitte Touch Tohmatsu Limited, 2017: 19-22) จากการประมวลเอกสารและงานวิจยั ทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศพบว่า หลายองค์กรทีป่ ระสบความส�ำเร็จ ในระดับสูงในการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งนัน้ ได้บรู ณาการ

กระบวนการพัฒนาอย่างเหมาะสมโดยมีการเชื่อมโยง เป้าหมายขององค์กรกับกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอด ต�ำแหน่ง ทีผ่ สู้ บื ทอดต�ำแหน่งจะเกิดการเรียนรูใ้ นปริมาณ มากน้อยหรือมีประสิทธิภาพเพียงใดขึน้ อยูก่ บั องค์ประกอบ ที่จะสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาของการ จัดการเรียนรู้ในสถานประกอบการที่เหมาะสม ที่ต้องมี จุดมุง่ หมายของการจัดการเรียนรูท้ ชี่ ดั เจน เนือ้ หาทีพ่ ฒ ั นา วิธีการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมใน แต่ละบุคคล และการบริหารจัดการให้มีสภาพแวดล้อม ที่ ส ่ ง เสริ ม การถ่ า ยโอนความรู ้ ใ นสถานประกอบการ ที่เหมาะสมเอื้อต่อการเรียนรู้ต่างๆ ที่จะช่วยเพิ่มระดับ ของการเรียนรู้ให้มากขึ้น (Klingk, Gielen & Nauta, 2001: 52; Rothwell, 2010: 250-251; Hoffman & Womack, 2011: 1-5) ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาข้อมูลเชิงลึก โดยพิจารณาเลือกสถานประกอบการทีไ่ ด้รบั รางวัลด้าน การบริหารความเป็นเลิศด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล เพื่ อ ด� ำ เนิ น การศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ กระบวนการและ องค์ประกอบของการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งเพือ่ น�ำไปสู่ การประยุกต์ใช้กับสถานประกอบการต่างๆ ได้

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ในกระบวนการ พัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ 2. เพื่อตรวจสอบและประเมินประสิทธิภาพของ รูปแบบในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของ สถานประกอบการ

ทบทวนวรรณกรรม

ผูว้ จิ ยั ได้ทบทวนวรรณกรรมใน 5 ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้อง กับกรอบแนวคิดการวิจัย ดังต่อไปนี้ 1. กระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง เป็น กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาของผู้สืบทอดต�ำแหน่ง กับต�ำแหน่งหน้าทีค่ วามรับผิดชอบทีร่ ะบุในการวางแผน สืบทอดต�ำแหน่งให้มีค วามรู้ ทักษะ ความสามารถ พร้อมส�ำหรับการด�ำรงต�ำแหน่ง โดยมีขนั้ ตอนการพัฒนา

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

10 ขั้นตอนดังนี้ คือ 1) เลือกต�ำแหน่งส�ำคัญที่มีความ เป็นไปได้ส�ำหรับการเตรียมบุคคล 2) พิจารณาเวลาที่มี ความเป็นไปได้สำ� หรับการพัฒนา 3) วินจิ ฉัยความต้องการ ในการเรียนรู้ 4) ระบุวตั ถุประสงค์ในการเรียนรู้ 5) ระบุ แหล่งการเรียนรูแ้ ละกลยุทธ์จำ� เป็นเพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ ในการเรียนรู้ 6) ระบุกรอบของการติดตาม 7) ระบุหลักฐาน ที่จะตรวจสอบความส�ำเร็จของการเรียนรู้ 8) วางแผน การพัฒนารายบุคคลจากผูเ้ ชีย่ วชาญ 9) ด�ำเนินการตาม แผนการพัฒนา 10) ประเมินผลการเรียนรู้และผลลัพธ์ (Rothwell, 2010: 250-263) 2. การเรียนรูใ้ นสถานประกอบการ เป็นองค์ประกอบ ของการจัดการเรียนรู้ในสถานประกอบการซึ่งประกอบ ไปด้วย 5 องค์ประกอบคือ จุดมุ่งหมายที่เป็นกฎเกณฑ์ พืน้ ฐานหรือหลักปฏิบตั ิ ข้อเท็จจริง ปรัชญา และทฤษฎี ทีเ่ ป็นแหล่งอ้างอิง ความรู้ ทักษะ และเจตคติทตี่ อ้ งได้รบั การส่งเสริมในการเรียนรู้ วิธกี ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพทีท่ ำ� ให้ ความรู้ ทักษะ และเจตคติเกิดขึ้น และกระบวนการ ที่สนับสนุนให้การเรียนรู้ในสถานประกอบการประสบ ความส�ำเร็จ (Frankena, 1976: 393-408) 3. การเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ิ หมายถึง กระบวนการ ต่อเนือ่ งทัง้ การเรียนรูแ้ ละการสะท้อนความคิดทีด่ ำ� เนินการ ผ่านกลุ่มคณะท�ำงานเพื่อท�ำให้กระบวนการนั้นบรรลุ เป้าหมายหรือแก้ไขปัญหาได้ มี 7 ขัน้ ตอน ดังนี้ 1) การ ก�ำหนดสมาชิกกลุม่ และการชีแ้ จงวัตถุประสงค์ 2) การระบุ ปัญหา 3) การค้นหาสาเหตุของปัญหา 4) การค้นหาและ ประเมินทางเลือก 5) การท�ำแผนปฏิบัติการ 6) การน�ำ แผนปฏิบตั กิ ารทีไ่ ด้ไปปฏิบตั จิ ริง 7) น�ำผลทีเ่ กิดขึน้ มาคิด ใคร่ครวญ (Action Learning Model, 2002; Ivergard, 2002: 57-58) 4. รูปแบบการเรียนรู้ หมายถึง รูปแบบหรือลักษณะ ในด้านของความสามารถหรือระดับในการเรียนรู้และ การแก้ปญ ั หาซึง่ ต้องใช้วธิ ใี นการเรียนรูเ้ ฉพาะแต่ละบุคคล อันเป็นผลมาจากลักษณะนิสยั ประสบการณ์ ระดับความรู้ ในปัจจุบนั ซึง่ แต่ละบุคคลจะตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม

199

และวิธีการในการเรียนรู้ต่างกันซึ่งจะช่วยให้การเรียนรู้ นัน้ ๆ เกิดผลสัมฤทธิท์ ดี่ มี ปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ (Kolb, 1984: 21-38) 5. สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการถ่ายโอนความรู้ หมายถึง สภาพแวดล้อมทีถ่ กู จัดขึน้ ในสถานประกอบการ จะส่งเสริมให้เอือ้ ต่อการเรียนรูต้ า่ งๆ ช่วยเพิม่ ระดับของ การเรียนรูม้ ากขึน้ ซึง่ มี 6 ปัจจัยคือ 1) การสนับสนุนจาก องค์กร เช่น นโยบาย ระบบการให้รางวัล และการบริหาร จัดการการเรียนรู้ 2) การสนับสนุนจากผูบ้ งั คับบัญชาคือ การสนับสนุนในการจัดเตรียมทรัพยากรทีจ่ ำ� เป็นสําหรับ การถ่ายโอนการเรียนรู้ และความพยายามในการก�ำจัด อุปสรรคทีจ่ ะเกิดขึน้ 3) การสนับสนุนจากเพือ่ นร่วมงาน โดยการสร้างเครือข่ายการสนับสนุน มีการพบปะเพือ่ พูดคุย แลกเปลีย่ นในประเด็นความก้าวหน้าต่อการประยุกต์ใช้ ความรูจ้ ากสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูม้ า 4) การสนับสนุนจากเทคโนโลยี เป็นเทคโนโลยีหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตา่ งๆ ทีต่ อบสนอง ต่อการเรียนรู้ โดยการจัดเตรียมข้อมูลทีส่ ำ� คัญและจ�ำเป็น ส�ำหรับผูเ้ ข้ารับการเรียนรูเ้ พือ่ ใช้เป็นแหล่งความรูเ้ พิม่ เติม 5) โอกาสในการใช้ความรู้ อยู่ในรูปแบบของกิจกรรม หรือประสบการณ์ทไี่ ด้มกี ารจัดเตรียมไว้สำ� หรับผูเ้ ข้ารับ การเรียนรูใ้ ห้ได้มโี อกาสใช้ความรูจ้ ากทีเ่ รียนมา 6) ปัจจัย ส่วนบุคคล หมายรวมถึงความรับผิดชอบ แรงจูงใจ การมี เวลา มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และมุ่งมั่น ที่จะเรียนรู้ (Klingk, Gielen & Nauta, 2001: 52-63) 6. ตัวชีว้ ดั การพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง หมายถึง ตัวชีว้ ดั เพือ่ การประเมินถึงระดับคุณภาพต่างๆ ทีแ่ สดงออก ที่เด่นชัดของผู้สืบทอดต�ำแหน่งได้ว่า สามารถเข้าด�ำรง ต�ำแหน่งตามแผนการสืบทอดได้หรือไม่ โดยมี 5 ตัวชีว้ ดั ดังนี้ 1) ด้านประสิทธิผลของงาน 2) ด้านความสามารถ 3) ด้านคุณลักษณะ 4) ด้านความพร้อมต�ำแหน่ง 5) ด้าน แรงจูงใจ (Pimolsaengsuriya, 2010: 2-3; Aon Hewitt, 2013: 4-6; Northeast Leadership Academy, 2016: 1)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


200

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

วิธีการวิจัย

1. กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ผูว้ จิ ยั ก�ำหนดส�ำหรับ การวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ในการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) เพือ่ พัฒนารูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการ พัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ จ�ำนวน 9 คน แบ่งออกเป็นผูบ้ ริหารจากสถานประกอบการทีไ่ ด้รบั รางวัลพระราชทาน Thailand Corporate Excellence Awards ประเภทรางวัลด้านการบริหารความเป็นเลิศ ด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management Excellence) ประจ�ำปี 2558-2559 จ�ำนวน 3 คน ผูบ้ ริหารจากสถานประกอบการทีไ่ ด้รบั รางวัล Aon Best Employers Thailand ประจ�ำปี 2558-2559 จ�ำนวน 2 คน และผู้บริหารจากสถานประกอบการ ที่ก่อตั้งมาไม่ต�่ำกว่า 25 ปี และมีกระบวนการพัฒนา ผู้สืบทอดต�ำแหน่งไม่ต�่ำกว่า 10 ปี จ�ำนวน 4 คน และ การด�ำเนินการสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพื่อการ ประเมินวิพากษ์และให้ขอ้ เสนอแนะปรับปรุงต่อรูปแบบ การเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของ สถานประกอบการที่ยกร่างขึ้น จ�ำนวน 11 คน เป็น ผูเ้ ชีย่ วชาญซึง่ มีประสบการณ์ปฏิบตั หิ น้าทีด่ า้ นการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์มามากกว่า 10 ปี จากสถานประกอบการ ที่ก่อตั้งมาไม่ต�่ำกว่า 20 ปี กลุม่ ตัวอย่างส�ำหรับการวิจยั เชิงปริมาณ ใช้วธิ กี าร เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) การประเมิน ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรูใ้ นสถานประกอบการ เพือ่ พัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง เป็นผูท้ รงคุณวุฒิ ผูเ้ ชีย่ วชาญ จ�ำนวน 30 คน ที่มีประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ ในสถานประกอบการและการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ใช้ แบบการสัมภาษณ์แบบกึง่ โครงสร้าง (Semi-structured Interview) โดยแนวทางในการก�ำหนดกรอบค�ำถามได้ มาจากการศึกษาทฤษฎี แนวคิด และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง

องค์ประกอบแห่งความส�ำเร็จของการบริหารจัดการ การพั ฒ นาผู ้ สื บ ทอดต� ำ แหน่ ง การเรี ย นรู ้ ใ นสถาน ประกอบการ รูปแบบการเรียนรู้ การเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ิ ปัจจัยของสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการถ่ายโอนความรู้ และตัวชีว้ ดั การพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง และน�ำผลทีไ่ ด้ มาพัฒนารูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการพัฒนาผูส้ บื ทอด ต�ำแหน่งของสถานประกอบการ แล้วน�ำรูปแบบที่ได้ไป ประเมินวิพากษ์และให้ขอ้ เสนอแนะปรับปรุงด้วยวิธกี าร สนทนากลุม่ (Focus Group) โดยมีเครือ่ งมือคือ ประเด็น การสนทนากลุ่ม จากผลการสัมภาษณ์เชิงลึกและการ สนทนากลุ่มน�ำมาสรุปเป็นรูปแบบที่สมบูรณ์โดยวิธีการ วิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) การวิจัยเชิงปริมาณใช้เครื่องมือแบบสอบถาม เพื่อการประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบทั้ง 4 ด้าน ดังนี้ ด้านความเป็นไปได้ ด้านความเป็นประโยชน์ ด้าน ความเหมาะสม และด้านความถูกต้องครอบคลุม น�ำผล การประเมินทีไ่ ด้ไปวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิตโิ ดยใช้คา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัย

การสรุปผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ในกระบวนการ พัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ ตอนที่ 2 ผลการตรวจสอบและประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบ การเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของ สถานประกอบการ ตอนที่ 1 การพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นรู ้ ใ น กระบวนการพั ฒ นาผู ้ สื บ ทอดต� ำ แหน่ ง ของสถาน ประกอบการ จากการศึกษาเอกสาร งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Dept Interview) กับผูเ้ ชีย่ วชาญ จ�ำนวนทัง้ สิน้ 9 คน และการประชุมสนทนากลุม่ (Focus Group Discussion) กับผูเ้ ชีย่ วชาญ จ�ำนวนทัง้ สิน้ 11 คน ผลการวิจยั พบว่า รูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการพัฒนา ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ ประกอบด้วย กระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง มี 5 ขั้นตอน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

1) ก�ำหนดเป้าประสงค์หรือจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา 2) การประเมินความต้องการจ�ำเป็นในการพัฒนา 3) การ จัดท�ำแผนพัฒนารายบุคคล 4) ด�ำเนินการตามแผนการ พัฒนา และ 5) การประเมินผลการพัฒนาและผลลัพธ์ และ องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการพัฒนา ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. องค์ประกอบแห่งความส�ำเร็จของการบริหารจัดการ การพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง ประกอบไปด้วย 1.1) ค่านิยม หรือวัฒนธรรมองค์กรในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ขององค์กร 1.2) บทบาทในการส่งเสริมของผู้บริหาร ระดับสูง 1.3) หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบในการบริหารจัดการ 1.4) ความรู้ ทักษะความสามารถ ประสบการณ์ของ บุคลากรผูร้ บั ผิดชอบ 1.5) ระบบเทคโนโลยีในการบริหาร จัดการที่ใช้ในการสนับสนุน 2. รูปแบบการเรียนรู้ ซึง่ ประกอบไปด้วย 2.1) Concrete Experience (Act) การสร้างประสบการณ์ 2.2) Reflective Observation (Reflect) การทบทวน การเรียนรู้ 2.3) Abstract Conceptualization (Conceptualize) การสรุปองค์ความรู้ 2.4) Active Experimentation (Apply) การประยุกต์ใช้ความรู้

201

3. การเรี ย นรู ้ จ ากการปฏิ บั ติ ประกอบไปด้ ว ย 5 ขัน้ ตอน ได้แก่ 3.1) ระบุปญ ั หาความท้าทาย 3.2) จัดตัง้ คณะท�ำงาน 3.3) การไตร่ตรองและวางแผน 3.4) ลงมือ ปฏิบัติ 3.5) การประเมินผลความส�ำเร็จและการเรียนรู้ 4. ปัจจัยของสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการถ่ายโอน ความรู้ ประกอบไปด้วย 6 ปัจจัย ได้แก่ 4.1) ปัจจัยส่วน บุคคล 4.2) การสนับสนุนจากผูบ้ งั คับบัญชา 4.3) โอกาส ในการใช้ความรู้ 4.4) การสนับสนุนจากองค์กร 4.5) การ สนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน 4.6) การสนับสนุนจาก เทคโนโลยี 5. ตัวชี้วัดการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง ประกอบ ไปด้วย 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ 5.1) ผลส�ำเร็จของงาน (Performance) 5.2) คุณลักษณะของบุคคล (Personal Characteristics) 5.3) ศักยภาพ (Potential) 5.4) ความ พร้อมรับต�ำแหน่ง (Readiness) 5.5) ด้านแรงจูงใจ (Motivation) น�ำผลการวิจัยที่ได้ดังกล่าวมาพัฒนารูปแบบการ เรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของ สถานประกอบการที่เป็นแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ องค์ประกอบหลักดังนี้

ภาพที่ 1 รูปแบบการเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


202

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตอนที่ 2 ผลการตรวจสอบและประเมิ น ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้ในกระบวนการ พัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้ ในสถานประกอบการเพื่ อ พั ฒ นาผู ้ สื บ ทอดต� ำ แหน่ ง 4 ด้านคือ ความเหมาะสม ความถูกต้องครอบคลุม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ โดยใช้คา่ เฉลีย่ (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ดังตารางด้านล่าง ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการ พัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการโดยรวม และจ�ำแนกรายด้าน รายการ ความเหมาะสม ความถูกต้อง ความเป็นไปได้ ความเป็นประโยชน์ ภาพรวม

ระดับประสิทธิภาพ 4.47 0.31 มาก 4.59 0.36 มากที่สุด 4.44 0.40 มาก 4.53 0.35 มากที่สุด 4.51 0.37 มากที่สุด

จากตารางที่ 1 พบว่า ประสิทธิภาพของรูปแบบ การเรียนรู้ในสถานประกอบการเพื่อพัฒนาผู้สืบทอด ต�ำแหน่งโดยรวมและรายด้านอยูใ่ นระดับมากถึงมากทีส่ ดุ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความถูกต้องครอบคลุม ด้านความเป็นประโยชน์ อยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ และด้านความเหมาะสม ด้านความ เป็นไปได้ อยู่ในระดับมากตามล�ำดับ เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความเหมาะสม โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุดเมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า รูปแบบทีไ่ ด้มคี วามเหมาะสม ในกระบวนการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งตามองค์ประกอบ ของรูปแบบ และรูปแบบที่ได้ไม่ท�ำให้ผู้ใช้รูปแบบหรือ ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งได้รบั ความเสียหายมีคา่ เฉลีย่ มากทีส่ ดุ

รองลงมา ได้แก่ รูปแบบที่ได้มีความเหมาะสมกับผู้ใช้ รูปแบบ และองค์ประกอบในรูปแบบที่ได้มีรายละเอียด ที่ยอมรับได้มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ตามล�ำดับ ด้านความถูกต้องครอบคลุม โดยรวมและรายด้าน อยูใ่ นระดับมากถึงมากทีส่ ดุ เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า องค์ประกอบของรูปแบบมีความถูกต้องตามกระบวนการ พัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ รูปแบบที่ได้สามารถใช้ได้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ ในการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง และองค์ประกอบของ รูปแบบที่ได้เพียงพอต่อการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ตามล�ำดับ ด้านความเป็นไปได้ โดยรวมและรายด้านอยูใ่ นระดับ มากถึงมากทีส่ ดุ เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า รูปแบบ ที่ได้สามารถน�ำไปใช้พัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งจริงได้มี ค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ รูปแบบที่ได้สามารถ น�ำไปพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งเป็นรายบุคคลได้ และ รูปแบบทีไ่ ด้สามารถน�ำไปประยุกต์ได้งา่ ย ชัดเจน สามารถ ดําเนินการได้อย่างคล่องตัวมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ตามล�ำดับ ด้านความเป็นประโยชน์ โดยรวมและรายด้านอยูใ่ น ระดับมากถึงมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ผลจากการใช้รปู แบบสามารถน�ำไปสูก่ ารพัฒนาผูส้ บื ทอด ต�ำแหน่งได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ผลจากการใช้รปู แบบท�ำให้ได้ขอ้ มูลทีเ่ ป็น ประโยชน์ตอ่ นักทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนาผูส้ บื ทอด ต�ำแหน่งมีคา่ เฉลีย่ อยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ และผลจากการใช้ รูปแบบสามารถช่วยให้เกิดการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งได้ กับรูปแบบที่ได้สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งได้มคี า่ เฉลีย่ อยู่ในระดับมาก ตามล�ำดับ

อภิปรายผล

การอภิปรายผลการวิจยั ในครัง้ นีผ้ วู้ จิ ยั แบ่งประเด็นของ การอภิปรายผลการวิจยั ออกเป็น 2 ประเด็น ประกอบด้วย ประเด็นแรก การพัฒนารูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

พัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ และ ประเด็นทีส่ อง การตรวจสอบและประเมินประสิทธิภาพ ของรูปแบบการเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอด ต�ำแหน่งของสถานประกอบการ ผู้วิจัยขออภิปรายใน ประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1. การศึ ก ษาองค์ ป ระกอบและพั ฒ นารู ป แบบ การเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของ สถานประกอบการ รูปแบบทีไ่ ด้จากการวิจยั ครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ได้พฒ ั นาขึน้ จากการศึกษาเอกสารงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง พร้อมทัง้ การ สัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มกับผู้เชี่ยวชาญ ผลจาก การวิจยั พบว่า รูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการพัฒนา ผู้สืบทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการได้พัฒนาขึ้น จากกระบวนการของการท� ำ แผนพั ฒ นารายบุ ค คล (Individual Development Plan: IDP) ที่เน้นเพียง การจัดท�ำแผนกิจกรรมในการเรียนรูท้ จี่ ะช่วยลดช่องว่าง ระหว่างระดับความรู้ ทักษะที่มีอยู่ในปัจจุบันกับระดับ ที่คาดหวังของต�ำแหน่งที่จะสืบทอด โดยพัฒนาให้มี กระบวนการในการพัฒนาทีส่ อดคล้องไปกับเป้าประสงค์ และจุดมุง่ หมายในการพัฒนา โดยต้องอาศัยองค์ประกอบ ที่ช่วยสนับสนุนให้กระบวนการพัฒนามีประสิทธิภาพ เพิม่ มากขึน้ ซึง่ รูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการพัฒนา ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ ประกอบไปด้วย กระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง มีขั้นตอนอยู่ 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนดเป้าประสงค์หรือ จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา ขั้นตอนที่ 2 การประเมิน ความต้องการจ�ำเป็นในการพัฒนา ขัน้ ตอนที่ 3 การจัดท�ำ แผนพัฒนา ขัน้ ตอนที่ 4 ด�ำเนินการตามแผนการพัฒนา รายบุคคล ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการพัฒนา และผลลัพธ์ ซึ่งในแต่ละขั้นตอนนั้นมีวัตถุประสงค์และ องค์ประกอบย่อยทีส่ อดคล้องกับผลการวิจยั ด้านการจัด การเรียนรูก้ ารพัฒนาของ Rothwell (2010: 250-263) ถึงแนวทางลักษณะการจัดการเรียนรู้ไว้อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยปัญหาและความต้องการ ความจ�ำเป็นในการ จัดการเรียนรู้ หลักการของรูปแบบการจัดการเรียนรู้

203

กิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล โดยผูว้ จิ ยั ได้น�ำองค์ประกอบการเรียนรู้ในสถานประกอบการที่ ประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบที่สอดคล้องและมี วัตถุประสงค์เดียวกับขั้นตอนของกระบวนการพัฒนา ผู้สืบทอดต�ำแหน่งมาเป็นองค์ประกอบย่อย ดังนี้ จุดมุง่ หมายพืน้ ฐานหรือวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ และการก�ำหนดความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณลักษณะ ทีต่ อ้ งได้รบั การส่งเสริมในการเรียนรู้ เป็นองค์ประกอบย่อย ของขั้นตอนที่ 1 และการก�ำหนดเป้าประสงค์หรือจุด มุง่ หมายเพือ่ การพัฒนา และก�ำหนดรูปแบบวิธกี ารเรียนรู้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เป็นองค์ประกอบย่อยของขัน้ ตอนที่ 3 การจัดท�ำแผนพัฒนาสอดคล้องกับผลการวิจัยด้านการ เรียนรู้ในสถานประกอบการของ Ruangaram (2011: 111-120) ว่า องค์ประกอบการเรียนรูใ้ นสถานประกอบการ ส่งผลให้ประสิทธิผลของการเรียนรู้ในศูนย์การเรียนรู้ ของสถานประกอบการอยู่ในระดับดีขึ้นไป โดยรูปแบบ การเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของ สถานประกอบการจะประกอบไปด้วย 5 องค์ประกอบหลัก ที่ท�ำให้การพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งประสบผลส�ำเร็จ คือ องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนรูข้ องตัวผูส้ บื ทอด ต�ำแหน่งที่เป็นส่วนส�ำคัญในการก�ำหนดรูปแบบ วิธีการ ส�ำหรับการเรียนรู้พัฒนาแต่ละบุคคลเพื่อท�ำให้ผลการ เรียนรูเ้ กิดประสิทธิภาพสูงทีส่ ดุ ใน 4 รูปแบบการเรียนรู้ คือ Concrete Experience (Act) การสร้างประสบการณ์ Reflective Observation (Reflect) ทบทวนการเรียนรู้ Abstract Conceptualization (Conceptualize) การสรุปองค์ความรู้ และ Active Experimentation (Apply) การประยุกต์ใช้ความรู้ที่ผู้สืบทอดต�ำแหน่ง แต่ละคนนัน้ จะมีรปู แบบการเรียนรูม้ ากกว่า 1 ประเภท ขึน้ อยูก่ บั สถานการณ์และประสบการณ์คอื ระดับความรู้ คาดหวังทีห่ มายรวมถึงระยะเวลาในการเรียนรูแ้ ละระดับ ความรู้ของผู้สืบทอดต�ำแหน่งในแต่ละความรู้ ทักษะ ต่างๆ ที่ต้องได้รับการพัฒนา ดังนัน้ ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งอาจหมุนเวียนใช้รปู แบบ ทั้ง 4 มากกว่าใช้รูปแบบการเรียนแบบใดแบบหนึ่ง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


204

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

เพียงอย่างเดียวสอดคล้องกับ Suriyakrai (2011: 1-10) ทีพ่ บว่า รูปแบบการเรียนรูจ้ ะกระจายไปในทัง้ 4 รูปแบบนี้ ไม่ได้มสี ดั ส่วนใหญ่หรืออยูใ่ นรูปแบบใดรูปแบบหนึง่ เท่านัน้ การจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ สี่ อดคล้องกับรูปแบบการเรียน จะช่วยส่งเสริมให้ผเ้ ู รียนสามารถเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากยิง่ ขึน้ และต้องค�ำนึงว่าผูเ้ รียนไม่ได้ใช้แบบการเรียน ที่ถนัดที่สุดเสมอไปแต่เป็นไปตามสถานการณ์ ดังนั้น กิจกรรมทีห่ ลากหลายจึงจ�ำเป็นส�ำหรับระบบการเรียนรู้ ดังนัน้ นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จงึ ต้องค�ำนึงถึงรูปแบบ การเรียนรู้ของผู้สืบทอดต�ำแหน่งแต่ละคนและส่งเสริม ให้ไปสูก่ ารเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นการเรียนรูร้ ว่ มกัน ในการไตร่ตรอง วิเคราะห์ปัญหาผ่านกระบวนการของ การเรียนรู้และมีการสะท้อนกลับอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ ปัญหาจากสถานการณ์จริงหรือแผนงานทีม่ คี วามส�ำคัญ ของสถานประกอบการเพื่อเสนอแผนการด�ำเนินงาน แนวทางการแก้ปัญหาและน�ำไปสู่การลงมือปฏิบัติจริง เป็นไปตามการวิจัยของ Vanicharoenchai (2010: 36-44) ที่ว่าการน�ำแนวคิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติมา ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาจะได้ผลที่มีประสิทธิภาพเป็น อย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นวิธีการเรียนรู้ที่สามารถถ่ายโอน ความรู้จากทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม อย่างแท้จริง และองค์ประกอบทางด้านปัจจัยของสภาพ แวดล้อมที่ส่งเสริมการถ่ายโอนความรู้ที่จะช่วยส่งเสริม ให้การเรียนรู้ การพัฒนาของผู้สืบทอดต�ำแหน่งมีความ ก้าวหน้าและได้ผลลัพธ์ทดี่ ยี งิ่ ขึน้ ประกอบไปด้วย 1) ปัจจัย ส่วนบุคคล โดยตัวของผู้สืบทอดต�ำแหน่งต้องร่วมคิด ร่วมวางแผนในการจัดการเรียนรู้ การพัฒนา โดยองค์กร ต้องส่งเสริมทัศนคติในเชิงบวกกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึง่ เป็นปัจจัยส�ำคัญถึงแนวโน้มของการประสบความส�ำเร็จ ในการสืบทอดต�ำแหน่งงาน โดยต้องสามารถปฏิบตั งิ าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถช่วยคนอื่นประสบ ความส�ำเร็จด้วยจากการแบ่งปันสิ่งที่เรียนรู้ 2) ปัจจัย การสนับสนุนจากผูบ้ งั คับบัญชามีผลอย่างมากทีจ่ ะท�ำให้ เกิดการเรียนรู้ทั้งในทางบวกและทางลบ เป็นผู้เตรียม ความพร้อมส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงโดยการจัดเตรียม

ทรัพยากรทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับการเรียนรูแ้ ละการปฏิบตั งิ าน ทีเ่ หมาะสม และพยายามในการก�ำจัดอุปสรรคทีจ่ ะเกิดขึน้ ส่งเสริมการเรียนรูข้ องผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง โดยต้องมีบทบาท เป็น (Coach) เป็นผู้อ�ำนวยความสะดวก (Facilitator) และเป็นพีเ่ ลีย้ ง (Mentor) ต่อกระบวนการเรียนรูใ้ นลักษณะ การเรียนรูร้ ว่ มกันอย่างมีปฏิสมั พันธ์ทดี่ ี 3) ปัจจัยโอกาส ในการใช้ความรู้ โดยการมอบหมายภาระหน้าทีท่ สี่ อดคล้อง กับสิ่งที่เรียนรู้ ได้ประยุกต์ในสถานการณ์จริง จัดการ กิจกรรมการส่งเสริมการประยุกต์ใช้จากการเรียนรูเ้ หล่านี้ ให้เป็นระบบ วางแผนการใช้แหล่งการเรียนรู้ จัดตั้ง บุคลากรรับผิดชอบดูแล มีการควบคุมกาํ กับ และติดตาม ประเมินผลการประยุกต์ใช้ความรู้ รวมทัง้ แสวงหากิจกรรม การประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่ๆ 4) ปัจจัยการสนับสนุน จากองค์กรโดยการบริหารจัดการทรัพยากร กิจกรรม สภาพแวดล้อมทีจ่ ำ� เป็นต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ การปรับ โครงสร้างองค์การพื้นฐานเพื่อเอื้อต่อการแลกเปลี่ยน เรียนรูใ้ ห้เกิดขึน้ ได้อย่างรวดเร็ว และสะดวกยิง่ ขึน้ การสร้าง วัฒนธรรมการท�ำงานเชิงรุก และวัฒนธรรมของการ แลกเปลีย่ น และแบ่งปันความรูร้ ะหว่างบุคลากรในองค์การ ปรับกฎระเบียบทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 5) ปัจจัยการสนับสนุนจากเพือ่ นร่วมงานอยูใ่ นรูปแบบของ การพบปะพูดคุย การแนะน�ำ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ ซึ่งกันและกัน หรือการสอนเพื่อนร่วมงาน ซึ่งจะช่วยให้ ผูเ้ ข้ารับการเรียนรูส้ ามารถเพิม่ ทักษะและความช�ำนาญได้ และ 6) ปัจจัยการสนับสนุนจากเทคโนโลยีโดยการ จัดเตรียมข้อมูลที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นเพื่อใช้เป็นแหล่ง ความรู้เพิ่มเติมเพื่อมาใช้สนับสนุนการเรียนรู้ว่าจะช่วย ให้การเรียนรู้ได้รับความส�ำเร็จ สามารถเรียนรู้ได้อย่าง ไม่มีที่สิ้นสุดเนื่องจากเทคโนโลยีสามารถช่วยให้ผู้เรียน สามารถทีจ่ ะเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้งา่ ยและรวดเร็ว สอดคล้อง กั บ Chalachol (2016: 13-25) ที่ พ บว่ า การจั ด สภาพแวดล้อมด้านการสนับสนุนจากองค์กร การสนับสนุน จากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน การสนับสนุนจากเทคโนโลยี และโอกาสในการใช้ความรู้ เป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งเนื่องจากปัจจัยดังกล่าวส่งผลต่อ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

การเรียนรู้และพัฒนาของพนักงานเป็นอย่างมาก และ ในองค์ประกอบการตัวชีว้ ดั การพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง ทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะเป็นตัวชีว้ ดั ถึงความพร้อมของการสืบทอด ต�ำแหน่งได้นนั้ ผูว้ จิ ยั ยึดตามแนวคิดของ Pimolsaengsuriya (2010: 2-3), Aon Hewitt (2013: 4-6), Northeast Leadership Academy (2016: 1) ทีส่ รุปไว้วา่ การประเมิน ถึงระดับผลส�ำเร็จของงาน คุณลักษณะของบุคคล ศักยภาพ ความพร้อมรับต�ำแหน่ง และด้านแรงจูงใจจะช่วยให้ เข้าใจถึงคุณภาพทีจ่ ำ� เป็นในการประสบความส�ำเร็จและ เติบโตของผู้สืบทอดต�ำแหน่งในสถานประกอบการ 2. การตรวจสอบและประเมินประสิทธิภาพของ รูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง ของสถานประกอบการ จากผลการประเมินด้านความ เหมาะสม ด้านความถูกต้องครอบคลุม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์กบั ผูท้ รงคุณวุฒิ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ทีม่ ปี ระสบการณ์ทางด้านการเรียนรูใ้ นสถานประกอบการ และการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง พบว่า ผลจากรายการ การประเมินประสิทธิภาพที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ รูปแบบ ที่ได้มีความเหมาะสมในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอด ต�ำแหน่งตามองค์ประกอบของรูปแบบ มีค่าเฉลี่ย 4.83 รูปแบบที่ได้ไม่ท�ำให้ผู้ใช้รูปแบบหรือผู้สืบทอดต�ำแหน่ง ได้รับความเสียหาย มีค่าเฉลี่ย 4.83 องค์ประกอบของ รูปแบบมีความถูกต้องตามกระบวนการพัฒนาผูส้ บื ทอด ต�ำแหน่ง มีค่าเฉลี่ย 4.77 รูปแบบที่ได้สามารถใช้ได้ ครอบคลุมวัตถุประสงค์ในการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง มีคา่ เฉลีย่ 4.73 และผลจากการใช้รปู แบบท�ำให้ได้ขอ้ มูล ที่เป็นประโยชน์ต่อนักทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนา ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง มีคา่ เฉลีย่ 4.70 ตามล�ำดับ การสร้าง รูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง ของสถานประกอบการดังกล่าวสอดคล้องกับแนวคิด การพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของ Rothwell (2010: 250-251) และ Hoffman & Womack (2011: 1-5) ที่ได้กล่าวถึงการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งว่า ต้องมีการ บูรณาการการเรียนรู้ในสถานประกอบการเพื่อมาเป็น องค์ประกอบของกระบวนการพัฒนาโดยต้องค�ำนึงถึง

205

รูปแบบการเรียนรูท้ เี่ หมาะสมกับแต่ละบุคคล ประเมินถึง ระดับความรูใ้ นปัจจุบนั กับสิง่ ทีเ่ ป็นเป้าหมายเพือ่ ก�ำหนด รูปแบบการเรียนรูท้ เี่ หมาะสมส�ำหรับใช้ในการพัฒนาทีส่ ดุ และต้องการการพัฒนาทีผ่ า่ นวิธกี ารเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ิ ที่จะยิ่งท�ำให้ผู้สืบทอดต�ำแหน่งมีความพร้อมในการรับ ต�ำแหน่งมากยิ่งขึ้น

สรุปผลการวิจัย

ผู้วิจัยสรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. ผลพัฒนารูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการพัฒนา ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ ประกอบด้วย กระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง มี 5 ขั้นตอน 1) ก�ำหนดเป้าประสงค์หรือจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา 2) การประเมินความต้องการจ�ำเป็นในการพัฒนา 3) การ จัดท�ำแผนพัฒนา 4) ด�ำเนินการตามแผนการพัฒนา รายบุคคล 5) การประเมินผลการพัฒนาและผลลัพธ์ และ องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนรูใ้ นกระบวนการพัฒนา ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งของสถานประกอบการ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบแห่งความส�ำเร็จของการบริหารจัดการ การพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง รูปแบบการเรียนรูจ้ ากการ ปฏิบัติ และตัวชี้วัดการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง 2. ผลการตรวจสอบและประเมินประสิทธิภาพของ รูปแบบในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งของ สถานประกอบการ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.51) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงจากค่าเฉลี่ย มากไปน้อย ได้แก่ ด้านความถูกต้องครอบคลุมอยูใ่ นระดับ มากทีส่ ดุ (X = 4.59) ด้านความเป็นประโยชน์อยูใ่ นระดับ มากทีส่ ดุ (X = 4.53) ด้านความเหมาะสมโดยมีคา่ เฉลีย่ อยู่ในระดับมาก (X = 4.47) และด้านความเป็นไปได้ โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (X = 4.44) ตามล�ำดับ ส�ำหรับการกระจายของคะแนนประเมินพิจารณาจาก ค่าคะแนนเบีย่ งเบนมาตรฐานซึง่ มีคา่ ทุกด้านอยูร่ ะหว่าง 0.31-0.40 และรวมทุกด้าน 0.37 แสดงว่า คะแนน ประเมินมีการกระจายน้อยนัน่ คือ กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่ มีความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


206

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ในกระบวนการพั ฒ นาผู ้ สื บ ทอดต� ำแหน่ ง ของสถาน ประกอบการใกล้เคียงกัน

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย

จากการวิจยั ครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั มีขอ้ เสนอแนะแบ่งออกเป็น 2 หัวข้อ ดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะเพื่อการน�ำไปใช้ 1.1 จากการศึ ก ษาวิ จั ย ถึ ง องค์ ป ระกอบของ กระบวนการพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งพบว่า ผู้บริหาร ระดับสูง ผูบ้ งั คับบัญชา เป็นองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญทีช่ ว่ ย สนั บ สนุ น การพั ฒ นาผู ้ สื บ ทอดต� ำ แหน่ ง นั ก พั ฒ นา ทรัพยากรมนุษย์ควรสร้างความเข้าใจในส่วนของความ ส�ำคัญ วัตถุประสงค์ และบทบาทของการเตรียมผูส้ บื ทอด ต�ำแหน่งจะท�ำให้การพัฒนาประสบความส�ำเร็จเพิ่มขึ้น ได้มาก 1.2 ในการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง บังคับบัญชา หรือหัวหน้างานมีบทบาททีส่ ำ� คัญในกระบวนการพัฒนา สถานประกอบการควรสร้างความตระหนักถึงความส�ำคัญ ในการเตรียมผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งและพัฒนาให้ผบู้ งั คับบัญชา หรือหัวหน้างานมีความรู้ ทักษะต่างๆ ที่จ�ำเป็นในการ พัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งให้พร้อม 1.3 ผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการพัฒนาผู้สืบทอด

ต�ำแหน่ง ทั้งตัวผู้สืบทอดต�ำแหน่ง ผู้บังคับบัญชา และ นักทรัพยากรมนุษย์ ควรมีการพูดคุยกันเป็นระยะเพือ่ ที่ จะได้สามารถวางแผนในการพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพ มากขึ้น 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการวิจยั ต่อเนือ่ งเกีย่ วกับการน�ำรูปแบบ การเรียนรูใ้ นสถานประกอบการเพือ่ การพัฒนาผูส้ บื ทอด ต�ำแหน่งไปทดลองใช้ในการพัฒนา โดยเก็บข้อมูลแบบ ระยะยาวเพือ่ ให้เห็นถึงผลการพัฒนาของผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง แต่ละคน 2.2 ควรมีการศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบ การเรียนรูใ้ นสถานประกอบการเพือ่ การพัฒนาผูส้ บื ทอด ต�ำแหน่งเพิม่ ขึน้ และมีการเก็บข้อมูลหลายๆ กลุม่ ตัวอย่าง โดยวิเคราะห์ประสิทธิภาพแยกตามรายกลุม่ เพือ่ เป็นการ ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลและท�ำให้ได้ข้อมูล ที่ครอบคลุมและละเอียดมากขึ้น 2.3 ควรมีการศึกษาในองค์ประกอบแห่งความ ส�ำเร็จของการบริหารจัดการการพัฒนาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง ในแต่ละองค์ประกอบเพิ่มเติมว่า มีรายละเอียดที่ต้อง ด�ำเนินการแต่ละองค์ประกอบเพิ่มเติมอย่างไร แต่ละ ประเภทของสถานประกอบการให้ล�ำดับความส�ำคัญ แตกต่างกันอย่างไร

References

Action Learning Model. (2002). Action Learning Model. Retrieved April 10, 2017, from http://school. unitecnology.ac.nz/action_learning.html Aon Hewitt. (2013). Building the Right High Potential Pool. How Organizations Define, Assess, and Calibrate Their Critical Talent. Retrieved December 15, 2016, from http://www.aon.com/ attachments/human-capital-consulting/2013_Building_the_Right_High_Potential_Pool_ white_paper.pdf Chalachol, S. (2016). The Important of Environment Effecting Transfer of Training. Journal of Marketing and Management Rajamangala University of Technology Thanyaburi, 3(1), 13-25. [in Thai] Deloitte Touche Tohmatsu Limited. (2017). Rewriting the rules for the digital age: 2017 Deloitte Global Human Capital Trends. Deloitte University Press, 19-22. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

207

Frankena, W. K. (1976). The philosophy of vocation. Thought: Fordham University Quarterly, 51(4), 393-408. Hoffman, T. & Womack, S. (2011). Succession planning: What is the cost of doing it poorly or not at all? New York: PricewaterhouseCoopers. Ivergard, T. (2002). Action learning: Some principles and practicalities. Bangkok: Civil Service Training Institute. Klingk, M., Gielen, E. & Nauta, C. (2001). Supervisory Support as a major Condition to Enhance Transfer. International Journal of Training and Development, 5(1), 52-63. Kolb, D. A. (1984). Experiential Learning: Experience as the Source of Learning and Development. New Jersey: Prentice Hall. Northeast Leadership Academy. (2016). Talent Management Potential Ratings. London: The NHS North East Leadership Academy. Pimolsaengsuriya, A. (2010). Why Succession Planning Typically Fail. Retrieved December 15, 2016, from http://slingshot.co.th//resources/library/SuccessionPlanningท�ำไมจึงไม่สำ� เร็จ/1107 [in Thai] Rothwell, W. J. (2002). Putting Success into Your Succession Planning. Journal of Business Strategy, 23(3), 32-37. Rothwell, W. J. (2010). Effective succession planning: Ensuring leadership continuity and building talent from within (4th ed.). New York: American Management Association. Ruangaram, N. (2011). The Development of Najomtien Community Learning Center Model. Dissertation, Doctor of Philosophy Program in Education Technology, Burapha University. [in Thai] Suriyakrai, S. (2011). Learning Styles of Pharmacy Students: Theory and Finding. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences, 7(1), 1-10. [in Thai] Tonsil, P. V. (2010). Human Capital Management: Succession Planning in the Federal Acquisition Workforce. Journal of Contract Management, (Summer 2010), 23-28. Towers Watson. (2010). Five Rules for Talent Management in the New Economy. New York: Towers Watson. Vanicharoenchai, V. (2010). Action Learning: Applications for Teaching and Learning. Journal of Nursing Sciences-Faculty of Nursing Mahidol University, 28(4), 36-44. [in Thai]

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


208

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Name and Surname: Sarawut Limchaikul Highest Education: Doctor of Education Degree in Educational Administration and Management, Srinakharinwirot University University or Agency: Srinakharinwirot University Field of Expertise: Human Resource Development, Lifelong Education Address: 86/1 Soi Thungmungkorn 1, Thungmungkorn Rd., Bangkok 10170 Name and Surname: Mingkwan Kongjareon Highest Education: Doctor of Philosophy in Non-Formal Education, Chulalongkorn University University or Agency: Srinakharinwirot University Field of Expertise: Non-Formal Education, Lifelong Education Address: Faculty of Education, Srinakharinwirot University 114 Sukhumvit 23, Bangkok 10110 Name and Surname: Gumpanat Boriboon Highest Education: Doctor of Education Degree in Adult Education, Srinakharinwirot University University or Agency: Srinakharinwirot University Field of Expertise: Adult Education, Lifelong Education Address: Faculty of Education, Srinakharinwirot University 114 Sukhumvit 23, Bangkok 10110

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

209

การพัฒนาชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา DEVELOPMENT OF MATHEMATICAL ACTIVITY PACKAGE TO ENRICH PROBLEM SOLVING ABILITY WITH MATHEMATICAL HABITS OF MIND FOR GRADE 6 STUDENTS OF KASETSART UNIVERSITY LABORATORY SCHOOL CENTER FOR EDUCATIONAL RESEARCH AND DEVELOPMENT พงศธร มหาวิจิตร1 และสุนทรีย์ ปาลวัฒน์ชัย2 Pongsatorn Mahavijit1 and Soontaree Palawatchai2 1คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา 1Faculty of Education, Kasetsart University 2Kasetsart University Laboratory School Center for Educational Research and Development

บทคัดย่อ

จิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ เป็นการมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาคณิตศาสตร์ต่างๆ และสามารถคิด เชือ่ มโยงโครงสร้างความรูท้ มี่ อี ยูม่ าจัดการกับสถานการณ์หรือปัญหาเพือ่ หาค�ำตอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถ น�ำไปปฏิบตั อิ ย่างสม�ำ่ เสมอจนเกิดเป็นนิสยั งานวิจยั เรือ่ งนีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพือ่ เสริมสร้าง ความสามารถในการแก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ และศึกษาผลการใช้ชดุ กิจกรรมกับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 6 ของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน 1 ห้องเรียน จ�ำนวนนักเรียน 40 คน ผลการวิจยั พบว่า 1) ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพือ่ เสริมสร้างความสามารถในการ แก้ปัญหาอย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพผ่านเกณฑ์ 80/80 และ 2) นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง มีความสามารถในการแก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์สงู ขึน้ อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 และผลจาก การบันทึกข้อมูลเชิงคุณภาพสะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนส่วนหนึ่งยังมีข้อผิดพลาดในขั้นท�ำความเข้าใจปัญหาและขั้น ตรวจสอบผล ค�ำส�ำคัญ: ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา จิตนิสัยทางคณิตศาสตร์

Corresponding Author E-mail: feduptm@ku.ac.th


210

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

Mathematical habit of mind focuses on ability to see the relationship between each mathematics content and to connect knowledge schemata to manage situations or solving problems effectively. This practice needs to be habituated. This research aimed to develop a mathematical activity package to enhance problem solving ability with mathematical habits of mind and its effects. The sample of this research consisted of 40 sixth grade students of Kasetsart University Laboratory School Center for Educational Research and Development in the academic year 2016. The results showed that (1) the efficiency of the developed mathematical activity package was higher than the 80/80 criterion; and (2) The experimental group student significantly increased their problem solving ability with mathematical habits of mind at the .05 level of statistical significance. Moreover, recorded qualitative data evince some students’ mistakes in understanding the problem and looking back steps. Keywords: Mathematical Activity Package, Problem Solving, Mathematical Habits of Mind

บทน�ำ

คณิตศาสตร์มีบทบาทส�ำคัญต่อศาสตร์อื่นๆ มา ตัง้ แต่สมัยโบราณ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในทางวิทยาศาสตร์ ดังค�ำกล่าวของ Gauss (ค.ศ. 1777-1855) ทีว่ า่ คณิตศาสตร์ เป็นราชินีของวิทยาศาสตร์ (Mathematics is the Queen of the Sciences) (The institute for the Promotion of Teaching Science and Technology, 2008) เนือ่ งด้วยคณิตศาสตร์เป็นวิชาทีเ่ กีย่ วกับความคิด ของมนุษย์ ความคิดทางคณิตศาสตร์นนั้ จะต้องมีแบบแผน และรูปแบบ สามารถน�ำคณิตศาสตร์ไปแก้ไขปัญหาทาง วิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งคณิตศาสตร์ช่วยให้คนมีเหตุมีผล (Phiphitthakun, 2002) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน คณิตศาสตร์มบี ทบาทส�ำคัญต่อการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ในฐานะเป็นเครือ่ งมือในการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่นๆ และมีบทบาทส�ำคัญยิ่งต่อการพัฒนา ความคิดของคน ทั้งความคิดในเชิงตรรกะและความคิด สร้างสรรค์ รวมทัง้ ช่วยในการวางแผน การคาดการณ์ และ การตัดสินใจเพือ่ แก้ปญ ั หาต่างๆ (Panich, 2012) ผลผลิต จากกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์ทที่ รงประสิทธิภาพ จะช่วยให้เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมอย่างมากมาย

การแก้ปัญหาถือเป็นหัวใจของการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ เพราะในการแก้ปัญหาผู้เรียนต้องใช้ทั้ง ความคิดรวบยอด ทักษะการคิดค�ำนวณ หลักการ กฎ หรื อ สู ต รน� ำ ไปใช้ ห าค� ำ ตอบ (Thipkong, 2013) กระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบระเบียบ และมีความเป็นเหตุเป็นผลเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งส�ำหรับการ เรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ดังค�ำกล่าวทีว่ า่ “ค�ำตอบไม่สำ� คัญเท่า กระบวนการ” (Mahavijit, 2010) เฉกเช่นเดียวกับการ เป็นนักคณิตศาสตร์ทดี่ ี การเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ของผูเ้ รียน มิใช่เพียงแค่รแู้ ละเข้าใจในเนือ้ หาของคณิตศาสตร์เท่านัน้ แต่ต้องสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เหล่านั้นปฏิบัติการ เพื่อแก้ปัญหาได้จริง สอดคล้องกับที่ Papert (1972) กล่าวไว้ว่า Being a mathematician is no more definable as “knowing” a set of mathematical facts than being a poet is definable as knowing a set of linguistic facts. . . . Being a mathematician, again like being a poet, or a composer or an engineer, means doing, rather than

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

knowing or understanding. การฝึกฝนการประยุกต์แก้ปัญหาจึงควรเป็นส่วน ส�ำคัญในห้องเรียนคณิตศาสตร์ แต่สภาพการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ที่ผ่านมา ครูส่วนใหญ่กลับให้ความส�ำคัญ เพียงแค่การท�ำความเข้าใจในเนื้อหาคณิตศาสตร์ที่นัก คณิตศาสตร์ได้คิดค้นไว้แล้ว ผูเ้ รียนมีโอกาสเพียงเรียนรู้ ท�ำความเข้าใจตามเนื้อหานั้นๆ ฝึกคิดค�ำนวณอย่าง มากมายเพียงเพือ่ ยืนยันให้เห็นว่า เนือ้ หาเหล่านัน้ เป็นจริง เกิดการยอมรับและท�ำตามตัวแบบมากกว่าทีจ่ ะท�ำความ เข้าใจเนื้อหาอย่างถ่องแท้เพื่อน�ำความรู้เหล่านั้นไปคิด ต่อยอดไปจากเดิม สอดคล้องกับที่ The institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (2016) ระบุวา่ “กิจกรรมการเรียนการสอนปกติ โดยทัว่ ไป เมือ่ นักเรียนได้เรียนรูแ้ นวทางคณิตศาสตร์พร้อมกับศึกษา ตัวอย่างประกอบแล้ว ครูมกั จะใช้แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน เป็นสือ่ การเรียนการสอน เพือ่ ให้นกั เรียนได้ฝกึ คิดค�ำนวณ และแก้ปญ ั หาเพิม่ เติม ซึง่ นักเรียนสามารถหาค�ำตอบได้ โดยใช้วิธีการท�ำนองเดียวกับตัวอย่าง มักจะเป็นค�ำถาม ทีม่ งุ่ เน้นการหาค�ำตอบ ไม่ยวั่ ยุให้นกั เรียนอยากคิดแก้ปญั หา หรือพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์” การฝึกทักษะการแก้ปญ ั หาในชัน้ เรียนคณิตศาสตร์จงึ เป็น การแก้ปัญหาในสถานการณ์สมมติที่แบบเรียนก�ำหนด เท่านัน้ บรรยากาศการเรียนการสอนคณิตศาสตร์สง่ เสริม ให้นกั เรียนเคยชินกับการคิดรวบลัดไปสูค่ ำ� ตอบทีต่ อ้ งการ โดยขาดการพิสจู น์ จนผูเ้ รียนขาดตรรกะและการเชือ่ มโยง ใต้สำ� นึก (Logical and heuristic connections) ระหว่าง องค์ความรูใ้ นแต่ละเรือ่ ง จึงปรากฏผลชัดเจนว่ามีนกั เรียน จ�ำนวนไม่น้อยที่สามารถคิดค�ำนวณทางคณิตศาสตร์ได้ อย่างคล่องแคล่ว แต่กลับไม่สามารถน�ำความรู้จากการ แก้โจทย์ปญ ั หาในห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ ต่างๆ นอกห้องเรียนได้ ทัง้ นีเ้ พราะนักเรียนเพียงแค่เข้าใจ เนื้อหาคณิตศาสตร์ แต่ขาดจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ ซึง่ จิตนิสยั ทางคณิตศาสตร์นเี้ องถือเป็นสิง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญ ยิ่งเสียกว่าการค�ำนวณหาผลลัพธ์ค�ำตอบได้ (Cuoco, Goldenberg & Mark, 1996; Mark et al., 2010)

211

จิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Habits of Mind) เป็นค�ำที่ถูกเสนอขึ้นมาครั้งแรกโดย Cuoco, Goldenberg & Mark (1996) อธิบายว่า จิตนิสัยทาง คณิตศาสตร์เป็นหลักการส�ำคัญของการจัดหลักสูตร คณิตศาสตร์ที่จะช่วยเป็นส่วนเติมเต็มช่องว่าง (gap) ระหว่างผู้สร้างกับผู้ใช้คณิตศาสตร์ เพื่อให้ผู้เรียนระดับ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายและระดั บ วิ ท ยาลั ย ได้ เ ข้ า ใจ คณิตศาสตร์ด้วยวิธีการแบบนักคณิตศาสตร์ (think about mathematics the way mathematicians do) ถือเป็นสะพานเชือ่ มโยงความคิดและมุมมองระหว่าง ผู้ใช้คณิตศาสตร์ (นักเรียน) กับผู้สร้างคณิตศาสตร์ (นักคณิตศาสตร์) แม้ปัจจุบันอาจยังไม่มีค�ำนิยามของ จิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ที่ชัดเจน แต่หากพิจารณาค�ำ อธิบายลักษณะของการมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ที่ Lim & Selden (2009) ได้ระบุด้วยค�ำส�ำคัญ (keyword) 2 ค�ำคือ ค�ำว่า “การคิด (thinking)” และ “ความเคยชิน เป็นนิสัย (habituated)” ร่วมกับความหมายของค�ำว่า “จิตนิสัย” ที่ Costa & Kallick (2000) ได้อธิบายว่า จิตนิสยั เป็นผลอันเกิดจากการคิดวิเคราะห์เพือ่ แก้ปญ ั หา ในสถานการณ์จริง และเกิดการเรียนรูท้ จี่ ะน�ำไปสูผ่ ลลัพธ์ หรือวิธกี ารแก้ปญั หาทีด่ กี ว่า เมือ่ น�ำมาพิจารณาร่วมกันแล้ว จึงพอจะสรุปความหมายได้ว่า จิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ เป็ น การมองเห็ น ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งเนื้ อ หาทาง คณิตศาสตร์ตา่ งๆ และสามารถคิดเชือ่ มโยงน�ำโครงสร้าง ความรู้ที่มีอยู่มาจัดการกับสถานการณ์หรือปัญหาที่พบ เพือ่ หาค�ำตอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถน�ำไป ปฏิบัติได้อย่างสม�่ำเสมอจนเกิดเป็นนิสัย (Mahavijit, 2016) “การฝึกการคิดจนเคยชินเป็นนิสัย” ถือเป็นหลัก ส�ำคัญที่ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ควรจะยึดเป็นเป้าหมาย ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนเพื่อเสริมสร้าง ความสามารถในการแก้ ป ั ญ หาอย่ า งมี จิ ต นิ สั ย ทาง คณิตศาสตร์ ดังผลการวิจัยของ Johnson (2012) ที่ได้ ท�ำการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาจิตนิสัยในการคิด ค�ำนวณของนักเรียนทีม่ รี ะดับการรูห้ นังสือต�ำ่ ด้วยกิจกรรม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


212

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

“Math Problem of the Day” โดยตอนเช้าของทุกวัน ครูจะเขียนโจทย์ปญ ั หาทีเ่ กีย่ วข้องกับเนือ้ หาคณิตศาสตร์ ทีน่ กั เรียนเพิง่ เรียนไปไว้บนกระดาน เพือ่ ให้นกั เรียนมีเวลา คิดล่วงหน้าก่อนที่จะมาอภิปรายร่วมกันในชั่วโมงเรียน นักเรียนจะได้ฝกึ คิดด้วยตนเองก่อน หรืออาจมีการพูดคุย แลกเปลีย่ นกับเพือ่ นถึงวิธกี ารแก้ปญ ั หา (ซึง่ เป็นเป้าหมาย หลักมากกว่าจะมุ่งหาค�ำตอบ) ท�ำให้นักเรียนได้เรียนรู้ รูปแบบการคิดแก้ปัญหาที่หลากหลาย ซึ่งผลการวิจัย พบว่า นักเรียนต่างให้ความสนใจต่อกิจกรรมการแก้ ปัญหาคณิตศาสตร์มากขึน้ กว่าการสอนปกติทเี่ น้นเนือ้ หา ของครู เกิดบรรยากาศของการปรึกษาหารือและช่วยเหลือ ซึง่ กันและกัน ตลอดจนมีการอภิปรายแลกเปลีย่ นความคิด อย่างอิสระและกว้างขวาง ซึ่งการที่นักเรียนแต่ละคนได้ เรียนรูแ้ นวคิดของผูอ้ นื่ เป็นประจ�ำและสม�ำ่ เสมอจะช่วย ให้เกิดความคิดรวบยอดในเนือ้ หาทีก่ ว้างขวางและลุม่ ลึก ยิ่งขึ้น นั ก การศึ ก ษาส่ ว นใหญ่ อ ธิ บ ายว่ า จิ ต นิ สั ย ทาง คณิตศาสตร์มีความเกี่ยวข้องกับมิติของการคิดและมิติ ของการให้เหตุผล (Seeley, 2014) ซึง่ ลักษณะบ่งชีข้ อง การมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์นั้น ประกอบด้วย 1) การ อธิบายหลักการใหญ่จากกรณีเล็กๆ (Talking big thinking small) เช่น การยกตัวอย่าง 2) การอธิบายกรณีเล็กๆ เพื่อไปสู่หลักการใหญ่ (Talking small thinking big) เช่น การท�ำให้อยู่ในรูปทั่วไป หรือการสรุป 3) การคิด ในรูปแบบของฟังก์ชนั (Thinking in terms of functions) 4) ใช้มุมมองที่หลากหลาย (Using multiple points of view) 5) ใช้การนิรนัยร่วมกับการทดลอง (Mixing deduction and experiment) และ 6) ส่งเสริมการใช้ ภาษา (Pushing the language) โดยครูผสู้ อนสามารถ ปลูกฝังสิ่งเหล่านี้ได้อย่างอัตโนมัติ ผ่านการแก้ปัญหา และฝึกฝนในชัน้ เรียน เพียงแต่ครูตอ้ งใช้คำ� ถามหรือปัญหา ที่เหมาะสมเพื่อกระตุ้นการคิดอย่างต่อเนื่อง (Cuoco, Goldenberg & Mark, 1996; Seeley, 2014) โดย ในการเสริมสร้างจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์แก่นักเรียน ให้ได้ผลดีนั้น ครูควรท�ำการบ่มเพาะปลูกฝังตัง้ แต่ระดับ

ประถมศึกษาก่อนจะก้าวขึ้นสู่ระดับมัธยมศึกษา ดังที่ Mark et al. (2010) ระบุวา่ ช่วงระหว่างชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 6 ถึงชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 (middle grade) ถือเป็น ช่วงเวลาที่ดีส�ำหรับการสร้างจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ท่ีเป็นที่ ยอมรับและน�ำมาใช้กนั อย่างแพร่หลายคือ กระบวนการ ตามแนวคิดของโพลยา (Polya, 1985) ซึง่ ประกอบด้วย ขั้นตอนส�ำคัญ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นท�ำความเข้าใจ ปัญหา (Understanding the Problem) ผู้เรียนต้อง ทราบก่อนว่าสิง่ ทีต่ อ้ งการทราบคืออะไร ปัญหาคืออะไร 2) ขั้นวางแผนแก้ปัญหา (Devising a Plan) เป็นการ เชือ่ มโยงระหว่างสิง่ ทีโ่ จทย์กำ� หนดมากับสิง่ ทีต่ อ้ งการทราบ โดยใช้ยทุ ธวิธตี า่ งๆ 3) ขัน้ ด�ำเนินการตามแผน (Carrying out the Plan) เป็นการลงมือท�ำตามแผนทีว่ างไว้ และ 4) ขัน้ ตรวจสอบผล (Looking Back) เพือ่ ตรวจสอบค�ำตอบ ว่าสอดคล้องกับข้อมูลและเงื่อนไขของปัญหาหรือไม่ มีความสมเหตุสมผลหรือไม่ ซึ่งแม้ว่าต่อมาในระยะหลัง นักการศึกษาหลายคนจะได้ทำ� การวิเคราะห์วจิ ยั โดยแบ่ง ขัน้ ตอนการแก้ปญ ั หาให้มคี วามเหมาะสมกับบริบทต่างๆ ของตนเอง หรือให้มีความละเอียดในขั้นตอนมากยิ่งขึ้น แต่ยังคงอาศัยแนวคิดของกระบวนการแก้ปัญหาของ โพลยาเป็นพื้นฐาน (Ugsonkid, 2012) ชุดกิจกรรมเป็นสื่อการเรียนรู้ที่จะช่วยฝึกฝนให้ ผู้เรียนเกิดทักษะและการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเป็นชุดสื่อประสมซึ่งผลิตขึ้นมาอย่างมีระบบ มีความสมบูรณ์เบ็ดเสร็จในตัวเอง โดยมีความสัมพันธ์ และสอดคล้องกับเนือ้ หาวิชาประสบการณ์ทสี่ ามารถน�ำ มาใช้ในการเรียนการสอน เพือ่ ให้เกิดการเรียนรูไ้ ด้อย่าง มีประสิทธิภาพ มีการน�ำหลักจิตวิทยามาประยุกต์ใช้ ในการเรียนรู้ โดยค�ำนึงถึงความต้องการ ความถนัด และ ความสนใจของผูเ้ รียนเป็นส�ำคัญ เน้นการจัดประสบการณ์ ให้ผเู้ รียนด้วยการใช้แหล่งความรูจ้ ากสือ่ การสอนแบบต่างๆ และใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์มาช่วยในการเรียนรู้ ในชุดกิจกรรมจะมีคำ� แนะน�ำให้ผเู้ รียนท�ำกิจกรรมต่างๆ อย่างมีขั้นตอนที่เป็นระบบชัดเจน จนกระทั่งนักเรียน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

สามารถบรรลุตามจุดประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ โดยผู้เรียน เป็นผู้ศกึ ษาด้วยตนเอง ผูส้ อนเป็นเพียงที่ปรึกษาและให้ ค�ำแนะน�ำ ซึง่ ชุดการเรียนจะประกอบไปด้วยสือ่ อุปกรณ์ กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน การวั ด และประเมิ น ผล (Brahmawong, 2006, 2008; Sinthapanon, 2010) ชุดกิจกรรมนับว่าเป็นสือ่ ทีม่ คี วามเหมาะสมประเภทหนึง่ ทีน่ ยิ มน�ำมาใช้ในการจัดการเรียนรูว้ ชิ าคณิตศาสตร์อนั มี ธรรมชาติเฉพาะเป็นวิชาทักษะที่ต้องอาศัยการฝึกฝน อย่างสม�ำ่ เสมอและต่อเนือ่ ง จากงานวิจยั ของ Pantaranontaka (2008), Krainara (2014), Thaikam (2013) และ Wongsaphan (2017) ที่ชี้ให้เห็นว่า ชุดกิจกรรม คณิตศาสตร์สามารถช่วยเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ได้เป็นอย่างดี ผูว้ จิ ยั จึงมีความสนใจทีจ่ ะ สร้างชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพือ่ เสริมสร้างความสามารถ ในการแก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ ส�ำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และศึกษาผลการใช้ชุด กิจกรรมดังกล่าว

วัตถุประสงค์

1) เพือ่ พัฒนาชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพือ่ เสริมสร้าง ความสามารถในการแก้ ป ั ญ หาอย่ า งมี จิ ต นิ สั ย ทาง คณิตศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์

สมมติฐานการวิจัย

1) ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความ สามารถในการแก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ ที่พัฒนามีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีจิตนิสัย ทางคณิตศาสตร์หลังเรียนโดยใช้ชดุ กิจกรรมคณิตศาสตร์ สูงกว่าก่อนเรียน

213

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ผู้วิจัยประยุกต์ใช้แนวคิดการแก้ปัญหาของ Polya (1985) ร่วมกับแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างจิตนิสัยทาง คณิตศาสตร์ของ Cuoco, Goldenberg & Mark (1996) เพื่อน�ำมาสร้างชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพื่อเสริมสร้าง ความสามารถในการแก้ ป ั ญ หาอย่ า งมี จิ ต นิ สั ย ทาง คณิตศาสตร์ กระบวนการแก้ปัญหาตามขั้นตอนของ Polya ประกอบด้วย 1. ขัน้ ท�ำความเข้าใจปัญหา (Understanding the Problem) 2. ขั้นวางแผนแก้ปัญหา (Devising a Plan) 3. ขัน้ ด�ำเนินการตามแผน (Carrying out the Plan) 4. ขั้นตรวจสอบผล (Looking Back) ลักษณะของจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ของ Cuoco, Goldenberg & Mark (1996) ได้แก่ 1. สามารถอธิบายหลักการใหญ่จากกรณีเล็กๆ (Talk big and think small) 2. สามารถอธิบายกรณีเล็กๆ เพื่อไปสู่หลักการ ใหญ่ (Talk small and think big) 3. รูจ้ กั ใช้เครือ่ งมือทางคณิตศาสตร์ (Use functions) 4. ใช้มุมมองที่หลากหลาย (Use multiple points of view) 5. ผสมผสานระหว่างวิธกี ารนิรนัยกับการทดลอง (Mix deduction and experiment) 6. ส่งเสริมการใช้ภาษา (Push the language) 7. หมั่นใช้ปัญญาครุ่นคิด (Use intellectual chants) 8. ใช้ วิ ธี ก ารทางเรขาคณิ ต ในการแก้ ป ั ญ หา (Geometric approaches to things) 9. ใช้วิธีการทางพีชคณิตในการแก้ปัญหา (Algebraic approaches to things)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


214

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

วิธีดำ� เนินการวิจัย

1. ขอบเขตการวิจัย 1.1 ตัวแปรของการวิจัย ตัวจัดกระท�ำ คือ ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมี จิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ ตัวแปรทีศ่ กึ ษา คือ ความสามารถในการแก้ ปัญหาอย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ 1.2 เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา เนือ้ หาในชุดกิจกรรมสอดคล้องตามเนือ้ หา สาระของรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรี ย นสาธิ ต แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา โดยในการวิจัยครั้งนี้ใช้ หัวข้อบทประยุกต์ (ภาคปลาย) แต่ละกิจกรรมใช้เวลา 1 คาบเรียน (50 นาที) และท�ำการฝึกต่อเนื่องทุกวัน เป็นเวลา 1 ภาคเรียน 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรของงานวิจัยนี้เป็นนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการศึกษา ปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน 7 ห้องเรียน จ�ำนวนนักเรียน 282 คน กลุม่ ตัวอย่างของงานวิจยั นีเ้ ป็นนักเรียนชัน้ ประถม ศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการศึกษา ปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน 1 ห้องเรียน จ�ำนวนนักเรียน 40 คน ซึ่งได้มาจากการ สุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 3.1 ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพือ่ เสริมสร้างความ สามารถในการแก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ โดยผู้วิจัยศึกษาเอกสารแนวคิดเกี่ยวกับการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ การพัฒนาจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ และหลักการสร้างชุดกิจกรรม เพือ่ น�ำมาสร้างชุดกิจกรรม โดยก�ำหนดขอบข่ายเนือ้ หาสาระทีส่ อดคล้องกับรายวิชา คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 จากนัน้ น�ำชุดกิจกรรม ทีส่ ร้างขึน้ เสนอต่อผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ จ�ำนวน 5 ท่าน เพื่อพิจารณาตรวจสอบ คุณภาพและความเหมาะสมของเนือ้ หาและกระบวนการ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เมื่อได้ปรับปรุงแก้ไข ชุดกิจกรรมตามข้อเสนอแนะแล้วจึงน�ำชุดกิจกรรมไป ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ใช่กลุ่มทดลองเพื่อหา ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 โดยท�ำการทดลอง 3 ครัง้ กับผู้เรียนแบบเดี่ยว แบบกลุ่ม และแบบภาคสนาม 3.2 แบบวัดความสามารถในการแก้ปญ ั หาอย่าง มีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดและ เทคนิคการสร้างแบบทดสอบทางคณิตศาสตร์ และวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหาสาระตามชุดกิจกรรม เพื่อน�ำมาสร้างแบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ เป็นแบบอัตนัยแสดงวิธที ำ� จ�ำนวน 15 ข้อ จากนั้นน�ำแบบวัดที่สร้างขึ้นเสนอต่อ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการเรียนการสอนคณิตศาสตร์และ ด้านการวัดผลประเมินผล จ�ำนวน 5 ท่าน พิจารณา ตรวจสอบความเทีย่ งตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) ของข้อค�ำถามและความเหมาะสมของส�ำนวนภาษา ใช้คา่ ดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence: IOC) เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือก ข้อค�ำถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.80-1.00 ได้ข้อค�ำถาม ที่ใช้ได้ทั้งหมด 10 ข้อ น�ำไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ที่ไม่ใช่กลุ่มทดลองเพื่อหาค่าความยากง่าย (PE) และค่า อ�ำนาจจ�ำแนก (D) แล้วผู้วิจัยคัดเลือกเฉพาะข้อค�ำถาม ทีม่ คี า่ ความยากระหว่าง 0.33-0.64 และค่าอ�ำนาจจ�ำแนก ระหว่าง 0.40-0.70 ได้ขอ้ ค�ำถามทีค่ ดั เลือกไว้จำ� นวน 5 ข้อ จากนั้นหาค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดทั้งฉบับโดยใช้ค่า สัมประสิทธิแ์ อลฟา (Alpha-Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) หาค่าความเชื่อมั่นได้เท่ากับ 0.79 3.3 แบบบั น ทึ ก พฤติ ก รรมการเรี ย น ผู ้ วิ จั ย วิเคราะห์ประเด็นพฤติกรรมที่ต้องการสังเกต เพื่อน�ำมา ก�ำหนดโครงสร้างของแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนให้ ครอบคลุมและสอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการวัด และสร้าง แบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนเป็นประเด็นแบบปลายเปิด ประกอบด้วยการท�ำความเข้าใจปัญหา การวิเคราะห์ วางแผนแก้ปัญหา การด�ำเนินการแก้ปัญหาและหา ค�ำตอบ การตรวจสอบกระบวนการแก้ปญั หา และประเด็น อืน่ ๆ จากนัน้ น�ำแบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนเสนอต่อ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการเรียนการสอนคณิตศาสตร์และ ด้านการวัดผลประเมินผล จ�ำนวน 5 ท่าน พิจารณา ตรวจสอบความเทีย่ งตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) ของข้อค�ำถามและความเหมาะสมของส�ำนวนภาษา ได้ค่า IOC เท่ากับ 1.00 ทุกข้อ ผู้วิจัยน�ำข้อเสนอแนะ ของผูเ้ ชีย่ วชาญมาปรับแก้แบบบันทึกพฤติกรรมการเรียน ให้มีความสมบูรณ์ ก่อนน�ำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง 4. ขั้นตอนด�ำเนินการ การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยกึ่งทดลอง (Quasiexperimental Research) โดยใช้แบบแผนการทดลอง แบบ One group pretest–posttest design (Saiyos & Saiyos, 1995) ผูว้ จิ ยั ด�ำเนินการศึกษาและเก็บรวบรวม ข้อมูลตามขั้นตอนดังนี้ 4.1 ติดต่อขออนุญาตทางโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการศึกษา เพื่อเก็บข้อมูลงานวิจัย 4.2 ท�ำการวัดความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์กอ่ นเรียนกับกลุม่ ตัวอย่าง โดยใช้แบบวัดความสามารถในการแก้ปญั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น

215

4.3 ด�ำเนินการใช้ชุดกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ พร้อมท�ำการสังเกตและบันทึกพฤติกรรมการเรียนของ กลุ่มตัวอย่างขณะใช้ชุดกิจกรรม 4.4 ท�ำการวัดความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์หลังเรียนกับกลุม่ ตัวอย่าง โดยใช้แบบวัดความสามารถในการแก้ปญั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 4.5 ตรวจให้คะแนนแบบวัดความสามารถในการ แก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ แล้วน�ำคะแนน ที่ ไ ด้ ม าวิ เ คราะห์ ด ้ ว ยวิ ธี ก ารทางสถิ ติ เ พื่ อ ตรวจสอบ สมมติฐาน 5. การวิเคราะห์ข้อมูล 5.1 หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์ E1/E2 โดยตั้งค่าเป้าหมาย E1/E2 = 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนของผู้เรียน ทีไ่ ด้จากการท�ำแบบฝึกหัดระหว่างเรียนโดยใช้ชดุ กิจกรรม ได้คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนของผู้เรียน ทีไ่ ด้จากการท�ำแบบทดสอบหลังเรียนโดยใช้ชดุ กิจกรรม ได้คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5.2 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยจากการวัดความ สามารถในการแก้ปญ ั หาก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุด กิจกรรมคณิตศาสตร์ โดยใช้คะแนนที (t-test) แบบ Dependent 5.3 วิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมการเรียนโดยใช้ การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

ผลการวิจัย

1. ผลการพั ฒ นาและหาประสิ ท ธิ ภ าพของชุ ด กิจกรรมคณิตศาสตร์ตามเกณฑ์ 80/80 ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรม คณิ ต ศาสตร์ เ พื่ อ เสริ ม สร้ า งความสามารถในการแก้ ปัญหาอย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ ส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ปรากฏผลดังตารางที่ 1

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

216

ตารางที่ 1 ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ตามเกณฑ์ 80/80 จ�ำนวน นักเรียน 40

ประสิทธิภาพกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) ∑X A E1 ∑F B E2 1289 40 80.56 961 30 80.08

จากตารางที่ 1 พบว่า ค่าประสิทธิภาพกระบวนการ (E1) มีค่าเท่ากับ 80.56 และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) มีคา่ เท่ากับ 80.08 แสดงว่า ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์ เพือ่ เสริมสร้างความสามารถในการแก้ปญั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ ส�ำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. ผลการใช้ชดุ กิจกรรมคณิตศาสตร์ทมี่ ตี อ่ ความ สามารถในการแก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์

E1 / E2 80.56/80.08

ผูว้ จิ ยั น�ำเสนอผลการใช้ชดุ กิจกรรมคณิตศาสตร์ ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีจิตนิสัย ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ใน 2 ลักษณะคือ การศึกษาเชิงปริมาณโดยเปรียบเทียบ ความสามารถในการแก้ ป ั ญ หาอย่ า งมี จิ ต นิ สั ย ทาง คณิตศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน และการศึกษาเชิง คุณภาพเกี่ยวกับพฤติกรรมการเรียนรู้

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์กอ่ นเรียนและหลังการใช้ ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์ การทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน *

คะแนนเต็ม 30 30

x 13.55 23.50

S.D. 4.26 2.98

t

p-value

-20.32*

.00

มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 2 พบว่า คะแนนเฉลีย่ ก่อนเรียนมีคา่ เท่ากับ 13.55 คะแนนเฉลีย่ หลังเรียนมีคา่ เท่ากับ 23.50 ค�ำนวณค่า t เท่ากับ -20.32 แสดงว่าความสามารถ ในการแก้ปัญหาอย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ของ นักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ส� ำ หรั บ ผลการบั น ทึ ก ข้ อ มู ล เชิ ง คุ ณ ภาพจาก แบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนพบว่า นักเรียนมีความ ผิดพลาดบ่อยครั้งในขั้นตอนแรกคือ ขั้นท�ำความเข้าใจ กับปัญหา โดยนักเรียนบางคนอ่านโจทย์และยังไม่สามารถ

วิเคราะห์โจทย์ได้ จึงเป็นผลให้การวางแผนการแก้โจทย์ ผิดพลาดและส่งผลไปถึงขัน้ ด�ำเนินการ ท�ำให้ไม่สามารถ แก้ปัญหาเพื่อหาค�ำตอบได้ รวมทั้งความผิดพลาดในขั้น การตรวจสอบผล อันเนือ่ งมาจากนักเรียนไม่ได้นำ� ค�ำตอบ ที่ได้ไปตรวจสอบกับโจทย์ก่อนการสรุปตอบ ท�ำให้ตอบ ได้ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ตามทีโ่ จทย์ตอ้ งการหรือได้คำ� ตอบ ทีผ่ ดิ อีกทัง้ นักเรียนบางคนยังน�ำค�ำตอบทีไ่ ด้ไปแสดงการ ตรวจค�ำตอบ แต่ไม่ได้คำ� นวณเพือ่ ตรวจสอบอย่างรอบคอบ ท�ำให้ไม่พบข้อผิดพลาดและขาดการตรวจสอบแก้ไขให้ ถูกต้อง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

อภิปรายผล

1. ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความ สามารถในการแก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ ทีผ่ วู้ จิ ยั พัฒนาขึน้ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 อาจ เนื่องจากการพัฒนาชุดกิจกรรมดังกล่าวได้ด�ำเนินการ วางแผนการพัฒนาอย่างเป็นระบบ เริม่ ตัง้ แต่ศกึ ษาแนวคิด เกี่ยวกับการสอนแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ การสร้าง จิตนิสยั ทางคณิตศาสตร์ ตลอดจนหลักการสร้างชุดกิจกรรม คณิตศาสตร์ เพือ่ น�ำไปสูก่ ารก�ำหนดโครงสร้างชุดกิจกรรม และออกแบบกิจกรรมให้มคี วามเหมาะสมและสอดคล้อง กับเป้าหมาย โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกการแก้ปัญหา โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถเชื่อมโยง องค์ความรูท้ างคณิตศาสตร์ มองเห็นความสัมพันธ์อย่าง ลึกซึ้งระหว่างเนื้อหาคณิตศาสตร์แต่ละเรื่อง เกิดทักษะ และสามารถปฏิบัติอย่างช�ำนาญจนเกิดเป็นนิสัย ผ่าน การศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมทั้งแบบด้วยตนเองและ ร่วมมือกับเพือ่ น ซึง่ การเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้ชดุ การเรียน จะมีข้อดีเพราะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เนื้อหาและ ทักษะกระบวนการควบคู่ไปพร้อมๆ กัน สอดคล้องกับ ที่ Seeley (2013) ได้ระบุถึงแนวคิดเกี่ยวกับการเรียน การสอนคณิตศาสตร์ว่า มีสิ่งส�ำคัญ 3 ประการ ได้แก่ 1) ท�ำความเข้าใจคณิตศาสตร์ (Understanding math) สร้างการเรียนรูท้ มี่ คี วามหมาย 2) ฝึกปฏิบตั คิ ณิตศาสตร์ (Doing math) เพื่อให้เกิดทักษะและกระบวนการ และ 3) น�ำคณิตศาสตร์ไปใช้ (Using math) เพื่อฝึก กระบวนการคิด การใช้เหตุผล การประยุกต์แก้ปัญหา ที่กว้างขวางขึ้น นอกจากนี้ชุดกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นได้ ผ่านการตรวจสอบ ประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีความเชี่ยวชาญในเนื้อหาและการจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ จึงท�ำให้ชดุ กิจกรรมได้รบั การปรับปรุงและ พัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น สามารถเสริมสร้าง ความสามารถในการแก้ ป ั ญ หาอย่ า งมี จิ ต นิ สั ย ทาง คณิตศาสตร์ให้กับผู้เรียนได้ 2. ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีจิตนิสัย ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

217

อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อาจเนื่องมาจาก ลักษณะของปัญหาคณิตศาสตร์ภายในชุดกิจกรรมที่มี ความยืดหยุน่ และท้าทายความสามารถของผูเ้ รียน ท�ำให้ ผู้เรียนไม่รู้สึกกดดันและค่อยๆ เสริมสร้างความมั่นใจ ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์มากขึ้น ทั้งนี้เพราะ ลักษณะของปัญหาเป็นสิ่งที่มีความส�ำคัญมากต่อการ กระตุน้ ผูเ้ รียนให้เกิดกระบวนการคิด ปัญหาคณิตศาสตร์ ควรเป็นสถานการณ์ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ซึ่งเผชิญอยู่ และต้องการค้นหาค�ำตอบ โดยทีย่ งั ไม่รวู้ ธิ กี ารหรือขัน้ ตอน ทีจ่ ะได้คำ� ตอบของสถานการณ์นนั้ ในทันที (The institute for the Promotion of Teaching Science and Technology, 2008) ปัญหาทีจ่ ะช่วยกระตุน้ การคิดได้ดี ควรเป็นปัญหาปลายเปิด (Open-ended problem) ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาวิธีการในการหา ค�ำตอบได้หลากหลายแนวทาง เนือ่ งจากจะท�ำให้ผเู้ รียน มีอสิ ระทางความคิดและไม่รสู้ กึ ถูกกดดัน ยกตัวอย่างเช่น ปัญหาปริศนาเลข 8 ในกิจกรรมที่ 5

จากกิจกรรมพบว่า นักเรียนสามารถใช้วิธีการที่ แตกต่างกันได้อย่างหลากหลาย ได้แก่ 1,000 = 8 + 8 + 8 + … + 8 (8 บวกกัน จ�ำนวน 125 ตัว) 1,000 = 888 + 88 + 8 + 8 + 8 1,000 = 888 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8 + 8+8+8+8+8+8+8+8 การที่ผู้เรียนแต่ละคนมีโอกาสได้ประสบความ ส�ำเร็จในการแก้ปัญหาด้วยรูปแบบวิธีการของตนเอง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


218

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ข้างต้น จะช่วยให้เขาเกิดความมั่นใจและก�ำลังใจที่จะ เผชิญกับปัญหาต่างๆ ต่อไป ในทางตรงกันข้ามหากครู เลือกใช้แต่ค�ำถามแบบปลายปิดที่มีวิธีการแก้ปัญหาได้ จ�ำกัดเพียงแบบเดียว ย่อมจะท�ำให้ผู้เรียนรู้สึกกดดัน ในการค้นหาค�ำตอบที่ถูกต้อง และหากไม่สามารถหา ค�ำตอบได้บอ่ ยครัง้ ก็จะกลายเป็นเจตคติทไี่ ม่ดตี อ่ การแก้ ปัญหาคณิตศาสตร์ ครูจึงถือเป็นผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญ ในการสร้างบรรยากาศแห่งการแก้ปญั หาและช่วยให้ผเู้ รียน คุน้ เคยกับการจัดการกับปัญหา ดังที่ Thipkong (2013) กล่าวว่า บทบาทของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ควรจะท�ำให้ การแก้ปญ ั หาเป็นส่วนหนึง่ ของการสอน ปัญหาแรกทีค่ รู ให้นกั เรียนแก้ไม่ควรจะยากเกินไป แต่เป็นปัญหาทีท่ า้ ทาย และกระตุน้ ให้นกั เรียนคิดและใช้ความพยายามจึงจะตอบ ปัญหานัน้ ได้ และสอดคล้องกับผลการวิจยั ของ Jaiprong (2011) ที่ได้ท�ำการศึกษาความสามารถและพฤติกรรม การแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ฟังก์ชันพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ผ่านฝึกการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ที่สามารถเลือกใช้กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา ได้มากกว่าหนึง่ กลยุทธ์จะมีความสามารถในการแก้ปญ ั หา มากกว่าร้อยละ 60 ที่ระดับนัยส�ำคัญ .05 และเมื่อ นักเรียนมีประสบการณ์ในการแก้ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์ มากขึน้ นักเรียนจะแสดงพฤติกรรมในการแก้ปญั หาในด้าน การท�ำความเข้าใจปัญหา การเลือกใช้กลยุทธ์ในการแก้ ปัญหา และการค้นหาค�ำตอบที่ถูกต้องพร้อมทั้งสร้าง ค�ำอธิบายที่ชัดเจน ในการวิจัยครั้งนี้แม้ผลการวิจัยจะพบว่า ความ สามารถในการแก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์ ของกลุ่มตัวอย่างในภาพรวมจะสูงขึ้น แต่หากพิจารณา พฤติกรรมการแก้ปญ ั หาเป็นรายบุคคลแล้วพบว่า นักเรียน บางส่ ว นมี ค วามผิ ด พลาดบ่ อ ยครั้ ง โดยเฉพาะในขั้ น ท�ำความเข้าใจกับปัญหา นักเรียนทีม่ พี นื้ ฐานความรูท้ ดี่ กี ว่า จะสามารถแก้ปญ ั หาในชุดการเรียนได้ดกี ว่านักเรียนทีม่ ี พืน้ ฐานความรูด้ อ้ ยกว่า นักเรียนทีเ่ รียนอ่อนยังท�ำความ เข้าใจกับปัญหาได้ไม่ชดั เจนน�ำไปสูก่ ารแก้ปญ ั หาผิดพลาด และเกิดความวิตกกังวลภายใต้ขอ้ จ�ำกัดในเรือ่ งของเวลา

และบรรยากาศการเรียนรู้ในห้องเรียนจึงละเลยการให้ ความส�ำคัญกับการตรวจสอบค�ำตอบ ทัง้ นีก้ ารเสริมสร้าง จิตนิสัยทางคณิตศาสตร์เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาและเกิด การเรียนรูใ้ นบรรยากาศทีไ่ ม่สร้างความกดดันผูเ้ รียน ดังที่ Professional Standards for Teaching Mathematics (NCTM, 1991) ระบุว่า ในการสอนเพื่อให้เกิดจิตนิสัย ทางคณิตศาสตร์นนั้ ต้องไม่ใช่การสอนเนือ้ หาเรือ่ งจิตนิสยั ทางคณิตศาสตร์แบบยัดเยียดโดยตรง แต่ครูควรสร้าง บรรยากาศทีส่ ง่ เสริมต่อการเกิดจิตนิสยั ทางคณิตศาสตร์ การคิดเชิงคณิตศาสตร์ การใช้เหตุผล สร้างการรับรู้ กระบวนการ และการฝึกหัด ตลอดจนใช้การอภิปราย ในชัน้ เรียนเพือ่ ให้นกั เรียนได้สอื่ สารความคิด ช่วยให้เกิด การสะท้อนความคิด ฝึกวิเคราะห์ อธิบาย ยืนยันค�ำตอบ และเรียนรู้การตั้งค�ำถามที่ดี สอดคล้องกับงานวิจัยของ Johnson (2012) ที่พบว่า การจัดกิจกรรมตอบปัญหา คณิตศาสตร์นอกเวลาเรียนที่ไม่เน้นความเป็นทางการ ช่วยส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศของการปรึกษาหารือ และการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดทางคณิตศาสตร์ อย่างอิสระและกว้างขวาง ส่งผลทางบวกต่อการเรียนรู้ คณิตศาสตร์เป็นอย่างดี และงานวิจยั ของ Vollrath (2016) ที่ได้พัฒนาแนวคิดเชิงจิตนิสัยของ Costa & Kallick (2000) มาใช้กบั นักเรียนทีม่ คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ และครูการศึกษาพิเศษ ผลการวิจัยพบว่า การที่ครูและ นักเรียนได้สะท้อนตนเองส่งผลให้มคี วามตระหนักในจิตนิสยั เพิ่มขึ้นและมีความเข้าใจต่อตนเองดียิ่งขึ้น ดังนั้นผู้วิจัย จึงมีข้ออภิปรายเพิ่มเติมว่า หากจะมีการใช้ชุดการเรียน เพือ่ พัฒนาความสามารถในการแก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์กบั กลุม่ ผูเ้ รียนทีม่ คี วามสามารถแตกต่างกัน หลากหลาย ควรต้องพิจารณาในเรือ่ งการจัดบรรยากาศ ทีผ่ อ่ นคลายและเอือ้ ต่อการแก้ปญ ั หาร่วมด้วย อาทิ เน้น การอภิปรายสือ่ สารเพือ่ แลกเปลีย่ นมุมมองความคิดเห็น ที่หลากหลาย การให้เวลาส�ำหรับการค้นหาวิธีการแก้ ปัญหาที่ดีที่สุด รวมทั้งใช้รูปแบบการใช้ชุดกิจกรรมที่ ไม่เป็นทางการจนเกินไป โดยอาจประยุกต์ปัญหาไปใช้ จัดกิจกรรมในลักษณะอื่นๆ เช่น กิจกรรมตอบปัญหา

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

คณิตศาสตร์ โจทย์คณิตคิดวันละข้อ กิจกรรมชุมนุม หรือค่ายคณิตศาสตร์ เพื่อจะค่อยๆ สอดแทรกทักษะ การแก้ ป ั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ ใ ห้ ผู ้ เ รี ย นซึ ม ซั บ และ หล่อหลอมจนเกิดเป็นจิตนิสัยได้อีกทางหนึ่ง

ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจัยครั้งต่อไป

1. ควรมีการศึกษาการเสริมสร้างความสามารถ ในการแก้ปัญหาอย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ รูปแบบวิธีการอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น กิจกรรมตอบปัญหา คณิตศาสตร์ โจทย์คณิตคิดวันละข้อ กิจกรรมชุมนุม และค่ายคณิตศาสตร์ เป็นต้น

219

2. ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการ เสริมสร้างความสามารถในการแก้ปญ ั หาอย่างมีจติ นิสยั ทางคณิตศาสตร์สำ� หรับผูเ้ รียนทีม่ คี วามสามารถแตกต่างกัน 3. ควรมีการศึกษาปัจจัยทีม่ ผี ลทางตรงและทางอ้อม ต่อการสร้างเสริมให้เกิดจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากภาควิชา การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2559

References

Brahmawong, C. (2006). Handbook for Develop Educational Medias. Bangkok: Kurusapa Publishing Ladprao. [in Thai] . (2008). Technology and Educational Medias. Bangkok: United Production. [in Thai] Costa, A. & Kallick, B. (2000). Habits of mind: A developmental series. Alexandria, VA: Association for Supervision and Curriculum Development. Cuoco, A., Goldenberg, E. P. & Mark, J. (1996). Habits of mind: An organizing principle for a mathematics curriculum. Journal of Mathematical Behavior, 15(4), 375-402. Jaiprong, C. (2011). A Mathematics Instructional Activities Adapting and Applying a Variety of Problem-Solving Strategies to Enhance Ability to Solve Mathematical Problems on Functions for Mathayomsuksa IV Students. Master Thesis, M.Ed. (Mathematics), Srinakharinwirot University. [in Thai] Johnson, R. (2012). Developing habits of mind for numeracy in a low-literacy classroom: a focus on attitudes. Retrieved May 22, 2016, from http://hdl.handle.net/11299/162763 Kaewkrajang, S. (2010). A Study of Mathematical Problem Solving Ability on Parllel Lines of Mathayomsuksa II Students Learning Through Group Process Activities. Master Thesis, M.Ed. (Secondary Education), Srinakharinwirot University. [in Thai] Krainara, P. (2014). The Development of Mathematics Activity Packages to Encourage Problem-Solving Ability on Ratio and Percentage for Mathayom Suksa II Students, Ban-Kalisa School of Ra-ngae District, Narathiwat Primary Educational Service Area Office 3. Princess of Naradhiwas University Journal of Humanities and Social Sciences, 1(1), 55-66. [in Thai] Lim, K. H. & Selden, A. (2009). Mathematical habits of mind. Proceedings of the Thirty-first Annual Meeting of the North American Chapter of the International Group for the Psychology of Mathematics Education. Atlanta: Georgia State University. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


220

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Mahavijit, P. (2010). The Heart of Mathematics. The Magazine of Mathematics, 6(3), 51-53. [in Thai] . (2016). Mathematical habits of mind. IPST Magazine, 44(201), 20-23. [in Thai] Mark, J., Cuoco, A., Goldenberg, E. P. & Sword, S. (2010). Developing Mathematical Habits of Mind. Mathematics Teaching in the Middle School, 15(9), 505-509. National Council of Teachers of Mathematics. (1991). Professional Standards for Teaching Mathematics. Reston, VA: NCTM. Panich, V. (2012). Creation of Learning Method for Students in the 21st Century. Bangkok: Tathata Publication. [in Thai] Pantaranontaka, K. (2008). The Effect of Using Mathematics Instructional Activity Packages with Thai Chess on Mathayomsuksa IV Students’ Mathematical Reasoning Skills. Master Thesis, M.Ed. (Secondary Education), Srinakharinwirot University. [in Thai] Papert, S. (1972). Teaching Children to Be Mathematicians Versus Teaching About Mathematics. International Journal of Mathematical Education in Science and Technology, 3(3), 249-262. Phiphitthakun, Y. (2002). Mathematics Teaching. Bangkok: Borpitt Printing. [in Thai] Polya, G. (1985). How to Solve It: A New Aspect of Mathematical Method (2nd ed.). New York: Doubleday and Company Garden City. Saiyos, L. & Saiyos, A. (1995). Technique in Educational Research. Bangkok: Suviriyasarn. [in Thai] Seeley, C. L. (2013). Mathematical Habits of Mind: Creating Doers of Mathematics. Retrieved August 1, 2017, from http://cdn2.hubspot.net/hub/239103/file-409784118-pdf/Seeley_ MCTM-Dec_2013-to_post.pdf . (2014). Smarter Than We Think: More Messages About Math, Teaching and Learning in the 21st Century. USA: Math Solutions. Sinthapanon, S. (2010). Learning Innovation for Develop Youths’ Quality. Bangkok: 9119 Technique Printing. [in Thai] Thaikam, W. (2013). The Development of the Learning Activities Packages by Using Polya’s Problem Solving Techniques and Problem Solving Strategies to Enhance the Students’ Abilities Which are Focused on Mathematical Problem Solving Skills with English Situation for Mattayomsuksa 1 Students Science and Mathematics English Program (SMEP). Master Thesis, M.Ed. (Science Education), Naresuan University. [in Thai] The institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2008). Mathematical Processes and Skills (2nd ed.). Bangkok: Kurusapa Publishing Ladprao. [in Thai] . (2016). Research Report: Follow-up Study of Teaching and Learning in Science, Mathematics and Technology of Pratomsuksa 6 Teachers. Bangkok: IPST. [in Thai] Thipkong, S. (2013). Problem Solving in Mathematics (2nd ed.). Bangkok: Kurusapa Publishing Ladprao. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

221

Ugsonkid, S. (2012). Mathematical Problem Solving and Problem Posing. Bangkok: Vista Interprint. [in Thai] Vollrath, D. (2016). Developing Costa and Kallick’s Habits of Mind Thinking for Students with a Learning Disability and Special Education Teachers. Ed.D. Theses & Dissertations (Special Education), Arcadia University. Wongsaphan, M. (2017). The Development of Learning Activity Packages to Enhance Mathematical Process Skills by Using Local Learning Materials for Lower Secondary School Students. Journal of Education Naresuan University, 19(2), 71-82. [in Thai]

Name and Surname: Pongsatorn Mahavijit Highest Education: Doctor of Education (Curriculum and Instruction) Ed.D., Kasetsart University University or Agency: Kasetsart University Field of Expertise: Curriculum and Instruction, Mathematics Address: Faculty of Education, Kasetsart University 50 Ngam Wong Wan Rd., Ladyaow, Chatuchak, Bangkok 10900 Name and Surname: Soontaree Palawatchai Highest Education: Doctor of Education (Curriculum and Instruction) Ed.D., Burapha University University or Agency: Kasetsart University Laboratory School Center for Educational Research and Development Field of Expertise: Teaching Mathematics Address: Kasetsart University Laboratory School Center for Educational Research and Development 50 Ngam Wong Wan Rd., Ladyaow, Chatuchak, Bangkok 10900

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


222

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ผลการสอนด้วยกิจกรรมโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะ เพื่อการพัฒนาวิธีการสอนส�ำหรับนักศึกษากลุ่ม Generation Y THE EFFECTS OF TEACHING WITH THE USE OF THE LEADER AND THE PUBLIC-MINDEDNESS PROJECT ACTIVITIES TO DEVELOP TEACHING METHODS FOR GENERATION Y STUDENTS ชนกพร ทองตากรณ์ Chanokphorn Tongtagorn ส�ำนักการศึกษาทั่วไป สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ The Office of General Education, Panyapiwat Institute of Management

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษากลุ่ม Generation Y ทีเ่ รียนในรายวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่ 2) ศึกษาเจตคติของนักศึกษากลุม่ Generation Y ทีเ่ รียน ในวิชาภาวะผู้น�ำในสังคมยุคใหม่ต่อกิจกรรมโครงงานผู้น�ำกับจิตสาธารณะ 3) พัฒนาวิธีการเรียนการสอนแบบใหม่ ด้วยกิจกรรมโครงงานผู้น�ำกับจิตสาธารณะที่ตรงกับลักษณะของนักศึกษาที่เป็นกลุ่ม Generation Y กลุม่ ตัวอย่างเป็นนักศึกษาทีล่ งทะเบียนเรียนวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน 100 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรายวิชาภาวะผู้น�ำ ในสังคมยุคใหม่คอื Pre Test และ Post Test 2) แบบวัดเจตคติของนักศึกษาต่อกิจกรรมโครงงานผูน้ �ำกับจิตสาธารณะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจยั พบว่า 1) ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนมีคา่ เฉลีย่ สูงกว่าก่อนเรียนวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 2) เจตคติของนักศึกษาต่อการเรียนด้วยโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะ ในทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีคะแนนค่าเจตคติด้านคุณธรรมและจริยธรรมสูงสุด รองลงมาคือ ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านความรู้ ด้านทักษะการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านปัญญา ตามล�ำดับ 3) รูปแบบการเรียนการสอนด้วยโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะสามารถพัฒนาจิตสาธารณะ ของนักศึกษาให้สูงขึ้นได้ ดังนัน้ สรุปได้วา่ การสอนวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่ทำ� ให้นกั ศึกษากลุม่ Generation Y มีความรูเ้ กีย่ วกับ ภาวะผูน้ ำ� เพิม่ ขึน้ และการสอนในวิชาภาวะผูน้ ำ� ด้วยโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะสามารถพัฒนาภาวะผูน้ ำ� กับผูเ้ รียนได้ 5 ด้าน ประกอบด้วย 1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ค�ำส�ำคัญ: การสอนด้วยกิจกรรมโครงงาน ภาวะผู้น�ำ จิตสาธารณะ Generation Y Corresponding Author E-mail: chanokphorton@pim.ac.th, chanokphorn@yahoo.com


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

223

Abstract

The purposes of this research were: 1) to compare the achievement of before and after study of Generation Y students in the course of Leadership of Modern Society. 2) to studied the attitude of Generation Y students studying in the Project of Leadership Public-Mindedness Project. 3) to develop a new way of teaching and learning with Public-Mindedness Project Activities in line with the characteristics of Generation Y Students. The sample was 100 students, studied in the course of Leadership of Modern Society in the first semester of the 2016 academic year. The instruments used in this research were: 1) The achievement test of Leadership of Modern Society in pretest and posttest. 2) The attitude test in Leadership with Public-Mindedness Project Activities developed by the researcher. 3) Statistics for data analysis was the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were as follow: 1. After the students had learned the course of Leadership of Modern Society, it was found that the achievement was statistically significant higher at the 0.01 level. 2. The students who learned through the Leadership with Public-Mindedness Project Activities had their attitude in all parts at the highest level. The attitude’s score of the rest parts were Ethics and Morals, Interpersonal Skills and Responsibility, Knowledge, Communication and Information Technology Skill, and Cognitive Skills respectively. 3. Model of study in the course of Leader with Public-Mindedness Project Activities to Develop Teaching Methods can improve higher the public mind of students. In conclusion, teaching in the Leader with Public-Mindedness Project Activities to Develop Teaching Methods and Leadership of Modern Society subject can improve Generation Y students in 5 parts of the public mind of students to higher level of efficiency. It was composed of 1. Ethics and Moral 2. Knowledge 3. Cognitive Skills 4. Interpersonal Skills and Responsibility 5. Communication and Information Technology Skill. Keywords: Project Based Teaching, Leadership, Public Mind, Generation Y

บทน�ำ

ส�ำหรับในยุคปัจจุบันทักษะของภาวะผู้น�ำถือได้ว่า เป็นทักษะที่มีความส�ำคัญยิ่งประการหนึ่งส�ำหรับบุคคล ส�ำหรับการท�ำงานและการด�ำรงชีวิต ภาวะผู้น�ำเป็น คุณสมบัตทิ ที่ ำ� ให้บคุ คลมีศกั ยภาพ มีวสิ ยั ทัศน์ และสามารถ ใช้ชีวิตกับคนรอบข้างได้อย่างมีความสุข จอห์น ซี. แม็กซ์เวลล์ (John C. Maxwell) ผู้เชี่ยวชาญด้านการ

เป็นผู้น�ำของอเมริกาได้กล่าวว่า “ภาวะผู้น�ำไม่สามารถ พัฒนาขึน้ ในชัว่ พริบตา แต่สามารถพัฒนาไปได้ตลอดชีวติ ” ส�ำหรับสังคมไทยปัญหาทีพ่ บส่วนใหญ่คอื คนไทยยังขาด ทักษะด้านภาวะผูน้ ำ� อยูม่ าก แต่เนือ่ งด้วยวัฒนธรรมทาง สังคม วิถชี วี ติ และสิง่ แวดล้อมทีม่ ไิ ด้หล่อหลอมให้คนไทย มีความคิดและบุคลิกด้านภาวะผูน้ ำ� ประกอบกับคนไทย ทีอ่ ยูใ่ นวัยเรียนเป็น Generation Y (Gen Y) ซึง่ หมายถึง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


224

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ประชากรกลุม่ ทีเ่ กิดในช่วงปี พ.ศ. 2523-2543 และก�ำลัง ศึกษาในระดับอุดมศึกษาและวัยท�ำงานเป็นช่วงเวลาที่ บ้านเมืองสงบสุขและเติบโตมาในยุคของการเปลีย่ นแปลง อย่างมากของสภาพแวดล้อมทางสังคมเศรษฐกิจและ การเมือง รวมทั้งเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า คน Gen Y มี ลักษณะนิสยั ชอบแสดงออก มีความเป็นตัวของตัวเองสูง ไม่ชอบอยูใ่ นกรอบและไม่ชอบเงือ่ นไข จึงมีความจ�ำเป็น อย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องพัฒนาทักษะด้านภาวะผูน้ ำ� ให้เกิดขึน้ กับ คนไทยกลุม่ Gen Y ทัง้ ด้านการศึกษาจากระบบการศึกษา หรือนอกระบบการศึกษา จากนโยบายด้านวิชาการของสถาบันที่มุ่งเน้นให้ บัณฑิตเป็นผูม้ ศี กั ยภาพ มีประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน ในสถานประกอบการก่อให้เกิดประสิทธิผลเป็นทีน่ า่ พอใจ ของผู้บริหารในสถานประกอบการ และเป็นการพัฒนา คุณภาพตามทีส่ ถานประกอบการทุกแห่งรับบัณฑิตของ สถาบันไปฝึกงานและรับเข้าท�ำงานเป็นพนักงานตาม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผูป้ ระกอบการต้องการบัณฑิต ที่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีระเบียบ มีความรู้ และมีวสิ ยั ทัศน์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การมีทกั ษะ ด้านภาวะผู้น�ำที่ส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทางสถาบันได้จดั ให้มกี ารเรียนการสอนวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่ให้กับนักศึกษาเป็นวิชาพื้นฐาน โดยมี การจัดเนื้อหาและกิจกรรมในรายวิชาให้สอดคล้องกับ การพัฒนาทักษะภาวะผูน้ ำ� โดยโครงการจัดท�ำโครงงาน ผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะเพือ่ พัฒนาศักยภาพด้านภาวะผูน้ ำ� ให้กบั นักศึกษา แต่เนือ่ งจากวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่ เป็นวิชาพืน้ ฐานทีน่ กั ศึกษาจ�ำนวนมากจากหลายคณะและ สาขาวิชาเข้าเรียนร่วมกัน จึงท�ำให้พื้นฐานทางความรู้ และลั ก ษณะของนั ก ศึ ก ษามี ค วามแตกต่ า งกั น มาก ประกอบกับอาจารย์ผสู้ อนในวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่ มีหลายท่าน และแต่ละท่านก็มวี ธิ กี ารสอนและความถนัด ทีแ่ ตกต่างกัน กิจกรรมโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะเป็น กิจกรรมหนึ่งที่ก�ำหนดให้นักศึกษาทุกคนที่ลงทะเบียน เรียนรายวิชาภาวะผู้น�ำในสังคมยุคใหม่เข้าร่วมกิจกรรม

ตามแผนการจัดกิจกรรมที่ระบุไว้ใน มคอ.3 ในรายวิชา เป็นกิจกรรมทีม่ งุ่ ให้ผเู้ รียนได้บรู ณาการองค์ความรูท้ ไี่ ด้รบั จากการเรียนในรายวิชาดังกล่าวสู่การมีศักยภาพของ ความเป็นผู้น�ำในเชิงปฏิบัติจริง ซึ่งเป็นเป้าหมายส�ำคัญ ของการเรียนในรายวิชานี้เพื่อยืนยันผลการด�ำเนินการ ในการจัดการเรียนการสอนด้วย กิจกรรมโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะ ผูว้ จิ ยั จึงสนใจ ผลการสอนของรายวิชาดังกล่าวนี้ในส่วนที่เกิดขึ้นกับ ผู ้ เ รี ย น โดยงานวิ จั ย ชิ้ น นี้ มุ ่ ง ศึ ก ษาเรื่ อ งผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนและการจัดกิจกรรมในการเรียนการสอน วิชาภาวะผู้น�ำในสังคมยุคใหม่ ซึ่งจะน�ำข้อมูลที่ได้ไปใช้ ในการปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่ของสถาบันการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น อันจะท�ำให้การเรียนการสอนในวิชาภาวะ ผู้น�ำในสังคมยุคใหม่มีประสิทธิภาพและได้ผลสัมฤทธิ์ ทีจ่ ะสามารถพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาดียงิ่ ขึน้ ต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษากลุ่ม Generation Y ที่เรียนในรายวิชาภาวะผู้น�ำในสังคม ยุคใหม่ก่อนเรียนและหลังเรียน 2. เพือ่ ศึกษาเจตคติของนักศึกษากลุม่ Generation Y ทีเ่ รียนในวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่ตอ่ กิจกรรมโครงงาน ผู้น�ำกับจิตสาธารณะ 3. เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนกิจกรรม โครงงานผู้น�ำกับจิตสาธารณะที่ตรงกับลักษณะของ นักศึกษาที่เป็นกลุ่ม Generation Y

ทบทวนวรรณกรรม

ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน หมายถึง ความรูค้ วามสามารถ ของนักเรียนที่เรียนในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งวัดได้จาก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทีผ่ สู้ อนได้จดั ท�ำ หรือน�ำมาให้นักเรียนได้ท�ำการทดสอบหลังจากสิ้นสุด กิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว (Srithinon, 2011: 33)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้ วัดความรู้ ทักษะ และความสามารถทางวิชาการทีผ่ เู้ รียน ได้เรียนรู้มาแล้วว่า บรรลุผลส�ำเร็จตามจุดประสงค์ที่ ก�ำหนดไว้เพียงใด (Ritcharoon, 2016: 69) ดังนั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบทดสอบจึงหมายถึง การทดสอบความรู้ความสามารถของผู้เรียนหลังจากที่ สิน้ สุดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว โดยใช้แบบทดสอบ ที่ผู้วิจัยจัดท�ำขึ้นตามวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ การสอนแบบโครงงาน (Project-Based Learning) การสอนแบบโครงงาน หมายถึง การจัดการเรียนรู้ ทีม่ คี รูเป็นผูก้ ระตุน้ เพือ่ น�ำความสนใจทีเ่ กิดจากตัวนักเรียน มาใช้ในการท�ำกิจกรรมค้นคว้าหาความรูด้ ว้ ยตัวนักเรียนเอง น�ำไปสู่การเพิ่มความรู้ที่ได้จากการลงมือปฏิบัติ การฟัง และการสังเกตจากผูเ้ ชีย่ วชาญ โดยนักเรียนมีการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการท�ำงานเป็นกลุ่มที่จะน�ำมาสู่การสรุป ความรูใ้ หม่ มีการเขียนกระบวนการจัดท�ำโครงงานและได้ ผลการจัดกิจกรรมเป็นผลงานแบบรูปธรรม ซึง่ McDonell (2007) ได้กล่าวว่า การเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็นรูปแบบหนึง่ ของ Child–centered Approach โดยจุดเน้นของ การเรียนรู้แบบโครงงานคือ เป็นระบบการเรียนที่ให้ ผูเ้ รียนมีสว่ นร่วมในการเรียนรูแ้ ละฝึกฝนทักษะโดยผ่าน กระบวนการของโครงงานที่ซับซ้อนเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ผูส้ อนให้นกั ศึกษาออกแบบขัน้ ตอนการท�ำงานด้วยตนเอง อย่างรอบคอบ ที่ส�ำคัญการเรียนรู้แบบโครงงานจะช่วย ให้คุณภาพในการเรียนรู้ดีขึ้นและน�ำไปสู่การพัฒนา องค์ความรูใ้ นการรับมือกับปัญหาทีซ่ บั ซ้อนและแปลกใหม่ ของผู้เรียนดีขึ้น (McDonell, 2007: 177-178 cited in Yolao et al., 2014: 19-20) จิตสาธารณะ (Public Mind) จิตสาธารณะ หมายถึง ความรูส้ กึ ตระหนักของบุคคล ถึงปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในสังคม ท�ำให้เกิดความรูส้ กึ ทีป่ รารถนา จะร่วมและมีสว่ นช่วยเหลือสังคม โดยรับรูถ้ งึ สิทธิควบคู่ ไปกับหน้าที่และความรับผิดชอบ ส�ำนึกถึงพลังของตน ว่าสามารถร่วมแก้ไขปัญหาได้ และลงมือกระท�ำเพื่อให้ เกิดการแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่างๆ โดยการเรียนรู้และ

225

แก้ไขปัญหาร่วมกันกับคนในสังคมเพราะการอยู่ร่วมกัน ในสังคมทุกวันนี้ (Sawetworachot, n.d.) รวมทั้งการ เอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ การเสียสละเวลา สิง่ ของ เงินทอง แรงกาย สติปญ ั ญา เพือ่ สาธารณประโยชน์ เป็นจิตใจทีม่ คี วามสุข เมื่อได้ท�ำความดี การช่วยเหลือผู้อื่นและสังคมเพื่อให้ ผูอ้ นื่ มีความสุขด้วยความสมัครใจและไม่หวังผลตอบแทน โดยเข้าร่วมกิจกรรมทีเ่ ป็นสาธารณประโยชน์ ส�ำนึกของ บุคคลทีม่ ตี อ่ ส่วนรวม เอาใจใส่ และป้องกันแก้ไขปัญหา สังคม (Promsri, 2014: 28) ภาวะผู้นำ� George Manning and Kent Curtis กล่าวว่า ภาวะผู้น�ำคือ อิทธิพลทางสังคมซึ่งน�ำไปสู่ผลของการ เปลี่ยนแปลง ผลผลิตที่ได้จะเป็นสิ่งใหม่หรือมีทิศทางที่ แตกต่างไปจากเดิม โดยความคิดและการกระท�ำของผูค้ น ซึง่ ผูน้ ำ� จะแสดงพฤติกรรมทีเ่ ป็นแนวทางและมีอทิ ธิพลแก่ ผูอ้ นื่ ภาวะผูน้ ำ� คือ การปลูกจิตส�ำนึกและการสร้างอิทธิพล ในสังคม (Manning & Curtis, 2009: 2-3) นอกจากนี้ ภาวะผูน้ ำ� เป็นคุณลักษณะพฤติกรรม ความสามารถ หรือ กระบวนการที่เป็นปฏิสัมพันธ์ หรือวิถีการด�ำเนินชีวิต ของบุคคลทีส่ ามารถมีอทิ ธิพลต่อผูอ้ นื่ กลุม่ คน สามารถ สร้างแรงบันดาลใจ สร้างความปรารถนา ท�ำให้เกิดความ เชื่อถือศรัทธา การยอมรับ ความพยายาม การอุทิศตัว การใช้ค วามสามารถอย่างดีที่สุด และช่ว ยเพิ่มพลัง อ�ำนาจของผู้อื่น เพื่อให้บรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมาย (Chongwisan, 2013: 14) Generation Y Generation Y เป็นรุน่ ทีอ่ ยูช่ ว่ ง 2 ทศวรรษสุดท้าย ของคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1981-2000) คุณลักษณะ เด่น 5 ประการของ Generation Y (BrandBuffet, 2014) ได้แก่ 1) เป็นกลุ่มที่มีความคล่องตัวด้านเทคโนโลยีเป็น พื้นฐาน 2) ชอบมีสงั คมผ่านการแชร์ประสบการณ์หรือเรือ่ งราว ที่สนใจผ่านช่องทางออนไลน์เพื่อเป็นการแสดงตัวตนที่ แตกต่าง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


226

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

3) ตัดสินใจบนข้อมูล โดยใช้ขอ้ มูลออนไลน์พจิ ารณา เปรียบเทียบและตรวจสอบให้แน่ใจก่อนการตัดสินใจซือ้ สินค้า 4) ช่างเลือก เพราะ Gen Y มีมาตรฐานสูงและรูว้ า่ มีทางเลือกอีกมากจากข้อมูลบนโลกออนไลน์จึงมักจะ พิจารณาเปรียบเทียบราคาและคุณภาพจนกว่าจะเจอ ตัวเลือกที่ดีที่สุด 5) มีความรูท้ างการเงิน แม้อายุยงั น้อยแต่คนกลุม่ นี้ รูว้ ธิ บี ริหารเงินให้งอกเงย เพราะนอกจากจะใช้เงินเก่งแล้ว ยังมีทัศนคติที่ต้องการสร้างความมั่งคั่งให้เร็วที่สุด การวัดเจตคติ (Attitude Scale) เจตคติ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Attitude” มี รากศัพท์จากภาษาละตินว่า “Aptus” แปลว่า โน้มเอียง เหมาะสม ซึง่ ความหมายของเจตคตินนั้ มีผใู้ ห้ความหมาย ไว้ดังนี้ เจตคติเป็นการประมวลความรู้สึกทางอารมณ์ที่ มีต่อสิ่งเร้าทางสังคม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ในทางที่เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย นอกจากนี้เจตคติ ยังเป็นสภาวะความพร้อมทางจิตใจทีเ่ กิดจากประสบการณ์ ซึง่ จะเป็นตัวก�ำหนดทิศทางการตอบสนองของบุคคลต่อ วัตถุและสถานการณ์ทเี่ กีย่ วข้อง (Seangprateeptong, 2011: 6)

การวัดเจตคติ เป็นการวัดเพือ่ ทราบท่าทีหรือความรูส้ กึ ของบุคลลทีม่ ตี อ่ เหตุการณ์หรือประเด็นต่างๆ หลังจากนัน้ จึงน�ำค�ำตอบมาประมวลผลคะแนนโดยรวมเพือ่ แสดงระดับ ความเข้มข้นของเจตคติทบี่ คุ คลมีตอ่ เหตุการณ์หรือประเด็น ต่างๆ เหล่านัน้ (Iamnirum, Wichitwanna & Pankao, 2005: 46) แบบการวัดเจตคติตามวิธขี องลิเคิรท์ (Likert scale) ผู้สร้างแบบวัดเจตคตินี้คือ R.A. Likert โดยใช้หลักการ วัดค่ารวม (Summative scale) ลักษณะส�ำคัญของ แบบวัดนีค้ อื การก�ำหนดช่วงความรูส้ กึ ของคนเป็น 5 ช่วง หรือ 5 ระดับคือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ แบบวัดจะประกอบ ด้วยข้อความที่แสดงออกถึงความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ทัง้ ในทางบวกและทางลบ และมีจ�ำนวนเท่าๆ กัน มีการ ประเมินน�้ำหนักความรู้สึกของข้อความ หรือก�ำหนด น�้ำหนักและการตอบแต่ละตัวเลือก ภายหลังจากที่ได้ รวบรวมข้อมูลมาแล้ว (Ritcharoon, 2011: 223-224)

สมมติฐานในการวิจัย

2. ผูเ้ รียนทีเ่ รียนในรายวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่ จะมีเจตคติต่อกิจกรรมโครงงานผู้น�ำกับจิตสาธารณะ ก่อนและหลังเรียนแตกต่างกัน

1. ผูเ้ รียนทีเ่ รียนด้วยการสอนโดยใช้กจิ กรรมโครงงาน ผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะประกอบในรายวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคม ยุคใหม่จะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน แตกต่างกัน

กรอบแนวคิดในการวิจัย

งานวิจยั เรือ่ งนีม้ กี รอบแนวคิดในการวิจยั แสดงเป็น แผนภูมิดังนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

วิธีการวิจัย

ในการวิจัยเรื่องผลการสอนด้วยกิจกรรมโครงงาน ผู้น�ำกับจิตสาธารณะ เพื่อการพัฒนาวิธีการสอนส�ำหรับ นักศึกษากลุ่ม Generation Y ได้แบ่งรายละเอียดของ การด�ำเนินการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้ กลุ่มตัวอย่าง กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งของการวิ จั ย ครั้ ง นี้ คื อ นั ก ศึ ก ษาที่ ลงทะเบียนเรียนวิชาภาวะผู้น�ำในสังคมยุคใหม่ ซึ่งเป็น นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการธุรกิจสมัยใหม่ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน 100 คน ระหว่าง กันยายน-พฤศจิกายน 2559 ตัวแปรที่ศึกษา งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาตัวแปรในการวิจัยต่อไปนี้ ตัวแปรต้น การสอนด้วยกิจกรรมโครงงานผู้น�ำกับ จิตสาธารณะ ตัวแปรตาม ผลการสอน ซึ่งจะจ�ำแนกเป็น 2 ส่วน คือ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาวะผู้น�ำ ในสังคมยุคใหม่ 2. ทัศนคติของผู้เรียนต่อกิจกรรมโครงงานผู้น�ำกับ จิตสาธารณะ งานวิจัยนี้ต้องการศึกษา 2 ส่วนคือ 1. การศึกษาผลสัมฤทธิข์ องการเรียนวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่ของนักศึกษา โดยใช้ตวั วัดคือ แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในรายวิชาภาวะผูน้ �ำในสังคม ยุคใหม่ก่อนเรียน/หลังเรียน 2. การศึกษาเจตคติของนักศึกษาต่อกิจกรรมโครงงาน ผู้น�ำกับจิตสาธารณะ โดยใช้ตัววัดคือ แบบวัดเจตคติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน (Achievement Test) เป็นแบบทดสอบปรนัย 5 ตัวเลือก จ�ำนวน 50 ข้อ ใช้วัดตัวแปรด้านผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรายวิชา ภาวะผู้น�ำในสังคมยุคใหม่ 2. แบบทดสอบวัดเจตคติ (Attitude Test) เป็น แบบวัดเจตคติของผู้เรียนต่อกิจกรรมโครงงานผู้น�ำกับ

227

จิตสาธารณะในการเรียนรายวิชาภาวะผู้น�ำในสังคมยุค ใหม่ มีลักษณะเป็นมาตรวัดแบบลิเคิร์ท (Likert Scale) จ�ำนวน 20 ข้อ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. เพื่อให้ทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษากลุ่ม Generation Y ทีเ่ รียนในรายวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่ 2. เพือ่ น�ำผลการศึกษาทีไ่ ด้รบั ไปปรับปรุงและพัฒนา การเรียนการสอนให้มคี วามเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ตามจุดประสงค์ของรายวิชาและสามารถพัฒนาศักยภาพ ของนักศึกษากลุ่ม Generation Y ได้อย่างเต็มที่ 3. เพื่อศึกษาว่า วิธีการสอนด้วยกิจกรรมโครงงาน ผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะ มีสว่ นช่วยในการพัฒนาเจตคติของ นักศึกษาทีเ่ ป็นกลุม่ Generation Y ให้มคี วามรับผิดชอบ และช่วยเหลือสังคมอย่างไร

ผลการวิจัย

การน�ำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเรือ่ ง “ผลการสอน ด้วยกิจกรรมโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะ เพือ่ การพัฒนา วิธกี ารสอนส�ำหรับนักศึกษากลุม่ Generation Y” ผูว้ จิ ยั ขอน�ำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 เปรียบเทียบผลการเรียนวิชาภาวะผู้น�ำใน สังคมยุคใหม่ จากการเก็ บ ข้ อ มู ล ผลการสอบของนั ก ศึ ก ษา คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการธุรกิจสมัยใหม่ ชัน้ ปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาภาวะผูน้ ำ� จ�ำนวน 100 คน พบว่า ผลการเรียนของนักศึกษาดีขึ้นหลังจากได้เรียน วิชาภาวะผู้น�ำในสังคมยุคใหม่ โดยคะแนนก่อนเรียน (Pre-test) นักศึกษามีคะแนนก่อนเรียนเฉลีย่ (X) เท่ากับ 19.14 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 7.21 คะแนนหลังเรียน (Post-test) นักศึกษามีคะแนนหลังเรียน เฉลี่ย (X) เท่ากับ 23.10 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 5.2

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


228

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

คะแนนพัฒนาการ นักศึกษามีคะแนนพัฒนาการเฉลีย่ (X) เท่ากับ 0.16 และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.28 ผลการทดสอบด้วยค่า t (t-test) ความแตกต่าง ของคะแนนก่อนและหลังเรียนของนักศึกษาโดยท�ำการ

ทดสอบด้วยค่าสถิติ t (t-test) ซึ่งตั้งระดับนัยส�ำคัญ ที่ 0.01 ค่า t ที่ค�ำนวณได้เท่ากับ 5.58 รายละเอียด ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงผลเปรียบเทียบผลการเรียนวิชาภาวะผู้น�ำในสังคมยุคใหม่ของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ สาขา การจัดการธุรกิจสมัยใหม่ ชั้นปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน คะแนน คะแนนก่อนเรียน (Pre – test) คะแนนหลังเรียน (Post – test) คะแนนพัฒนาการ *ระดับนัยส�ำคัญ

X 19.14 23.10 0.16

S.D. 7.21 5.28 0.28

ผลการทดสอบด้วยค่า t (t-test) t = 5.58*

0.01

ส่วนที่ 2 เจตคติของนักศึกษาต่อกิจกรรมโครงงาน ผู้น�ำกับจิตสาธารณะ จากการวิเคราะห์ข้อมูลของเจตคติของนักศึกษา ต่อการท�ำกิจกรรมโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะโดยรวม พบว่า นักศึกษามีเจตคติตอ่ การท�ำกิจกรรมโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะในระดับมากทีส่ ดุ (X = 4.57) โดยด้าน คุณธรรมและจริยธรรม นักศึกษามีเจตคติระดับมากทีส่ ดุ (X = 4.62) รองลงมาคือ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ ซึ่งนักศึกษามีระดับเจตคติ ในระดับมากที่สุด (X = 4.62) ในขณะที่ด้านความรู้ นักศึกษามีเจตคติระดับมากที่สุด (X = 4.57) ส่วนด้าน ทักษะการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นักศึกษามีเจตคติระดับมากที่สุด (X = 4.54) และด้าน ทักษะทางปัญญา นักศึกษามีเจตคติระดับมากทีส่ ดุ (X = 4.51) รายละเอียดดังตารางที่ 2 จากผลของเจตคติของนักศึกษาต่อการท�ำโครงงาน ผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะในแต่ละด้านมีระดับเจตคติอยูใ่ นระดับ

มากที่สุด โดยด้านคุณธรรมและจริยธรรมเจตคติของ นักศึกษาเกีย่ วกับการได้ฝกึ ความซือ่ สัตย์ตอ่ ตนเองมีคา่ เฉลีย่ สูงสุด (X = 4.69) ด้านความรูเ้ จตคติของนักศึกษาเกีย่ วกับ การเห็นประโยชน์และคุณค่าของโครงงานทีท่ ำ� มีคา่ เฉลีย่ สูงสุด (X = 4.70) ซึง่ เจตคติอยูใ่ นระดับดีมาก ส่วนด้าน ทักษะทางปัญญาเจตคติของนักศึกษาเกีย่ วกับการได้ฝกึ การคิดวิเคราะห์และการเชื่อมโยงความรู้จากทฤษฎีสู่ การปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (X = 4.59) ในด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบเจตคติ ของนักศึกษาเกีย่ วกับการได้ฝกึ การยอมรับในความคิดเห็น ของผู้อื่นมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (X = 4.70) และด้านทักษะ การสื่ อ สารและการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศเจตคติ ของนักศึกษาเกี่ยวกับการได้ฝึกฝนการใช้คอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ตา่ งๆ ในการสืบค้นข้อมูล การท�ำรายงาน และการน�ำเสนอมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (X = 4.56) ซึ่งจาก ค่าเฉลีย่ เจตคติของนักศึกษาในทุกด้านอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ รายละเอียดดังตารางที่ 3

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

229

ตารางที่ 2 ค่าเฉลีย่ ค่าความเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับของเจตคติของนักศึกษาในการท�ำโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะ ในแต่ละด้านโดยภาพรวม ล�ำดับ 1 2 3 4 5

เจตคติของนักศึกษา ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวม

X 4.62 4.57 4.51 4.62 4.54 4.57

S.D. 0.52 0.55 0.58 0.53 0.57 0.55

ระดับเจตคติ มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

ตารางที่ 3 ค่าเฉลีย่ ค่าความเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับของเจตคติของนักศึกษาต่อการท�ำโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะ ในแต่ละด้าน เจตคติของนักศึกษา ด้านคุณธรรมและจริยธรรม • ข้าพเจ้าได้ฝึกฝนความเสียสละและการเห็นแก่ประโยชน์ ส่วนรวมจากการจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะ • การจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะท�ำให้ข้าพเจ้าได้ฝึก ความมีระเบียบวินัยและความรับผิดชอบ • ข้าพเจ้าได้ฝึกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่นจากการจัดท�ำ โครงงานผู้น�ำกับจิตสาธารณะ • ข้าพเจ้ารู้สึกเห็นคุณค่าและความภาคภูมิใจในตนเองจาก สิ่งที่ได้ท�ำในโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะ รวม ด้านความรู้ • การจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะท�ำให้ข้าพเจ้าได้รับ ความรู้ด้านปัญหาสังคม ความรู้เกี่ยวกับงานด้านอาสาสมัคร หรือจิตอาสาเพิ่มขึ้น • การจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะท�ำให้ข้าพเจ้าได้รู้จัก หน่วยงาน/องค์กร/มูลนิธิ ในด้านการพัฒนาสังคมเพิ่มขึ้น • การจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะท�ำให้ข้าพเจ้าได้นำ� ความรู้ที่เรียนไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในอนาคต • ข้าพเจ้าเห็นประโยชน์และคุณค่าของโครงงานที่ทำ� รวม

X

S.D.

ระดับเจตคติ

4.59

0.51

มากที่สุด

4.51

0.56

มากที่สุด

4.69

0.46

มากที่สุด

4.67

0.53

มากที่สุด

4.62

0.52

มากที่สุด

4.58

0.52

มากที่สุด

4.48

0.56

มาก

4.53

0.59

มากที่สุด

4.70 4.57

0.52 0.55

มากที่สุด มากที่สุด

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


230

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตารางที่ 3 ค่าเฉลีย่ ค่าความเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับของเจตคติของนักศึกษาต่อการท�ำโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะ ในแต่ละด้าน (ต่อ) เจตคติของนักศึกษา ด้านทักษะทางปัญญา • ข้าพเจ้าได้ฝึกการวางแผนการท�ำงานจากการจัดท�ำโครงงาน ผู้น�ำกับจิตสาธารณะ • ข้าพเจ้าได้ฝึกการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าจากการจัดท�ำ โครงงานผู้น�ำกับจิตสาธารณะ • การจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะท�ำให้ข้าพเจ้าได้ฝึก การคิด วิเคราะห์ และการเชื่อมโยงความรู้จากทฤษฎีสู่การ ปฏิบัติ • การจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะท�ำให้ข้าพเจ้าได้ ฝึกฝนการใช้จิตวิทยาในการบริหารงาน รวม ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • การจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะท�ำให้ข้าพเจ้าได้ฝึก การกล้าแสดงออก • ข้าพเจ้าได้ฝึกการท�ำงานร่วมกับผู้อื่นจากการจัดท�ำโครงงาน ผู้น�ำกับจิตสาธารณะ • การจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะท�ำให้ข้าพเจ้าได้ฝึก การกล้าตัดสินใจ • การจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะท�ำให้ข้าพเจ้าได้ฝึก การยอมรับในความคิดเห็นของผู้อื่น รวม ด้านทักษะการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • การจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะท�ำให้ข้าพเจ้าได้ ฝึกฝนการใช้คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ต่างๆ ในการสืบค้น ข้อมูล การท�ำรายงาน และการน�ำเสนอ • ข้าพเจ้าได้ฝึกฝนการน�ำเสนองานต่อหน้าสาธารณะจากการ จัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะ • ข้าพเจ้าได้ฝึกฝนการถาม-ตอบค�ำถามในประเด็นที่เกี่ยวข้อง กับโครงงาน • การจัดท�ำโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะท�ำให้ข้าพเจ้าได้ฝึก การใช้ภาษาเพือ่ สือ่ สารกับผูอ้ นื่ ได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง รวม

X

S.D.

ระดับเจตคติ

4.51

0.56

มากที่สุด

4.49

0.54

มาก

4.59

0.60

มากที่สุด

4.46

0.61

มาก

4.51

0.58

มากที่สุด

4.59

0.51

มากที่สุด

4.57

0.56

มากที่สุด

4.6

0.57

มากที่สุด

4.70

0.48

มากที่สุด

4.62

0.53

มากที่สุด

4.56

0.56

มากที่สุด

4.53

0.58

มากที่สุด

4.51

0.61

มากที่สุด

4.55

0.54

มากที่สุด

4.54

0.57

มากที่สุด

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

สรุปและอภิปรายผล

การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์ 3 ข้อ ดังทีก่ ล่าวไปแล้ว ข้างต้น ซึ่งสามารถอภิปรายผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา กลุ่ม Generation Y ที่เรียนในรายวิชาภาวะผู้น�ำใน สังคมยุคใหม่กอ่ นเรียนและหลังเรียน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงกว่า ก่อนเรียนวิชาภาวะผูน้ ำ� ในสังคมยุคใหม่อย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 เป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 1 ที่ ตัง้ ไว้ ทัง้ นีเ้ พราะได้มกี ารจัดการเรียนการสอนทัง้ เนือ้ หา ความรูท้ งั้ ทีเ่ ป็นส่วนทฤษฎี กรณีศกึ ษา การใช้สอื่ ทีม่ เี นือ้ หา เกีย่ วข้อง การท�ำกิจกรรมกลุม่ ในชัน้ เรียนและการจัดท�ำ กิจกรรมโครงงานผู้น�ำกับจิตสาธารณะ เพื่อให้นักศึกษา ได้ความรู้ ฝึกการคิดวิเคราะห์ อภิปราย และแลกเปลีย่ น ความคิดเห็น ท�ำให้นกั ศึกษาได้มคี วามรูท้ เี่ กีย่ วข้องกับภาวะ ผู้น�ำมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Sripaiwong (2013: 143-148) ที่ได้ท�ำการวิจัยเรื่อง “การพัฒนา การเรียนการสอนแบบโครงงานในรูปแบบบริษทั จ�ำลอง รายวิชาโครงงานอาชีพ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5” ซึง่ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังได้รับการสอน แบบโครงงานในรูปแบบบริษัทจ�ำลองสูงกว่าก่อนเรียน ดังนัน้ รูปแบบการสอนด้วยโครงงานสามารถท�ำให้นกั เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น 2. ผลเจตคติของนักศึกษากลุ่ม Generation Y ที่เรียนในวิชาภาวะผู้น�ำในสังคมยุคใหม่ต่อกิจกรรม โครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะ พบว่า เจตคติของนักศึกษา ต่อการเรียนด้วยโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะในทุกด้าน อยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ โดยมีคะแนนค่าเจตคติดา้ นคุณธรรม และจริยธรรมสูงสุด ส่วนด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านความรู้ ด้านทักษะการ สือ่ สารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านปัญญา มีคะแนนลดหลัน่ ลงมาตามล�ำดับ ทัง้ นีเ้ พราะในกิจกรรม โครงการผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะจะท�ำให้นกั ศึกษาได้ฝกึ ทักษะ ในหลายๆ ด้านตัง้ แต่การวางแผนการท�ำงาน การหาข้อมูล การท�ำงานร่วมกับผู้อื่น การตัดสินใจ การแก้ไขปัญหา

231

เฉพาะหน้า การตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อส่วนรวม การน�ำเสนอและถ่ายทอดความรู้ เป็นต้น ซึ่งจากการ ค้นคว้าข้อมูลที่มีผู้ศึกษาการเสริมสร้างจิตสาธารณะ ให้แก่นักเรียนจะแบ่งออกได้เป็น 1) การพัฒนารูปแบบ การสอนงานวิจยั ของ Chankeiw (2011: 131-135) เรือ่ ง “การพัฒนารูปแบบการสอนเพือ่ สร้างเสริมจิตสาธารณะ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2” คือ การใช้รปู แบบการสอนทีเ่ น้น แนวคิดทฤษฎีพื้นฐาน วัตถุประสงค์ การสอนอย่างมี ขัน้ ตอน ระบบสังคม หลักการตอบสนอง ระบบสนับสนุน และการน�ำไปใช้ ท�ำให้นกั เรียนมีความรูแ้ ละเข้าใจบทบาท หน้าที่การเป็นผู้ให้และการช่วยเหลือผู้อื่น การแบ่งปัน ความสุขส่วนตัวเพื่อประโยชน์ส่วนรวม เข้าใจเห็นใจผู้ที่ มีความเดือดร้อนช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้วยแรงกายและสติปัญญา 2) การใช้กิจกรรมแนะแนว ของ Donsricha (2011: 80-81) เรือ่ ง “การใช้กจิ กรรม แนะแนวเพื่อพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 4” พบว่า นักเรียนทีไ่ ด้เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนว เพื่อพัฒนาจิตสาธารณะมีคะแนนเฉลี่ยจิตสาธารณะ หลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลอง และสูงกว่านักเรียน ทีไ่ ม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวเพือ่ พัฒนาจิตสาธารณะ และ Cheannaimeang (2011: 67-72) “ผลของการใช้ กิ จ กรรมแนะแนวตามแนวคิ ด พฤติ ก รรมนิ ย มที่ มี ต ่ อ การพัฒนาการมีจติ สาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 2 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ จังหวัดอุดรธานี” พบว่า หลังจากที่นักเรียนใช้ชุดกิจกรรมดังกล่าวนักเรียนมี พฤติกรรมมีจิตสาธารณะสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรม ดังนั้นในการวิจัยครั้งนี้เป็นการน�ำเสนอการสร้าง จิตสาธารณะให้กับผู้เรียนอีกรูปแบบหนึ่งนั่นคือ การใช้ โครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะในการเรียนการสอน ซึง่ มี ประสิทธิภาพในการพัฒนาจิตสาธารณะ 5 ด้านให้กับ ผูเ้ รียน อันประกอบด้วย 1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้าน ทักษะการสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึง่ ตรง กับลักษณะของนักศึกษาที่เป็นกลุ่ม Generation Y

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


232

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

3. การพัฒนาวิธีการเรียนการสอนแบบใหม่ด้วย กิ จ กรรมโครงงานผู ้ น� ำ กั บ จิ ต สาธารณะที่ ต รงกั บ ลักษณะของนักศึกษาทีเ่ ป็นกลุม่ Generation Y พบว่า การใช้รูปแบบการเรียนการสอนด้วยโครงงานผู้น�ำกับ

จิตสาธารณะสามารถพัฒนาจิตสาธารณะของนักศึกษาให้ สูงขึน้ ได้ โดยรูปแบบกิจกรรมโครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะ ทีต่ รงกับลักษณะของนักศึกษาทีเ่ ป็นกลุม่ Generation Y มีรายละเอียดขั้นตอนดังนี้

รูปแบบกิจกรรมโครงงานผู้น�ำกับจิตสาธารณะที่ตรงกับลักษณะของนักศึกษาที่เป็นกลุ่ม Generation Y

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

233

การจัดการเรียนการสอนด้วยโครงงานผู้น�ำกับจิตสาธารณะระยะเวลา 10 สัปดาห์

สัปดาห์ที่ 1-2

3 4-8 9 10

ลักษณะกิจกรรม • อาจารย์อธิบายลักษณะของโครงงานผู้นำ� กับจิตสาธารณะและลักษณะของการด�ำเนินการ พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน (ลักษณะโครงงานผู้น�ำกับจิตสาธารณะแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1) การสงเคราะห์คน 2) การสงเคราะห์สัตว์ 3) การดูแลและพัฒนาสิ่งแวดล้อม 4) การดูแลและพัฒนาศาสนสถาน 5) โครงงานอื่นๆ ที่นอกเหนือจาก 4 ข้อข้างต้น) • นักศึกษาจับกลุ่ม (ประมาณ 8-10 คน) และประชุมเพื่อหาประเด็นหัวข้อที่จะท�ำโครงงาน • นักศึกษาลงส�ำรวจและหาข้อมูลจากพื้นที่จริง • นักศึกษาวางแผนการท�ำงาน • นักศึกษาจัดท�ำ PPT ส�ำหรับน�ำเสนอเพื่อขออนุมัติการท�ำโครงงานจากอาจารย์ • นักศึกษาน�ำเสนอเพื่อขออนุมัติการท�ำโครงงานจากอาจารย์ ด้วย PPT • อาจารย์ให้ข้อเสนอแนะและพิจารณาการจัดท�ำโครงงานของนักศึกษา • นักศึกษาปรับปรุงโครงงานตามค�ำแนะน�ำของอาจารย์ • นักศึกษาลงมือปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ • นักศึกษาน�ำเสนอผลการด�ำเนินโครงงานหน้าชั้นเรียนด้วย PPT • นักศึกษาน�ำเสนอผลการด�ำเนินโครงงานด้วยรูปเล่มรายงาน

หมายเหตุ: ตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาด�ำเนินจัดท�ำโครงงานฯ อาจารย์ประจ�ำวิชาจะคอยให้ค�ำแนะน�ำ ค�ำปรึกษา และติดตามการจัดท�ำโครงงานฯ อย่างใกล้ชิด เกณฑ์การให้คะแนนส�ำหรับการน�ำเสนอโครงงาน ผู้น�ำกับจิตสาธารณะ 1. การน�ำเสนอ - รูปแบบการน�ำเสนอ น�ำ้ หนักของคะแนน 40% - เนือ้ หาในการน�ำเสนอ น�ำ้ หนักของคะแนน 40% - การตอบค�ำถาม น�ำ้ หนักของคะแนน 20% 2. รูปเล่มรายงาน - รูปแบบของโครงงาน น�ำ้ หนักของคะแนน 20% - ความน่าสนใจและคุณค่าของโครงงาน น�ำ้ หนัก ของคะแนน 30% - การวางแผนงานและการสรุปผล น�ำ้ หนักของ คะแนน 50%

ข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอทั่วไปและข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัย ครั้งต่อไป 1.1 ควรมีการน�ำรูปแบบการสอนด้วย “กิจกรรม โครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะ เพือ่ การพัฒนาวิธกี ารสอน ส�ำหรับนักศึกษากลุม่ Generation Y” ไปใช้ในการสอน กับนักศึกษาหลายๆ กลุม่ เพือ่ เปรียบเทียบและหาข้อสรุป ที่ชัดเจนว่า รูปแบบการสอนด้วยโครงงานดังกล่าวนี้ สามารถพัฒนาจิตสาธารณะของนักศึกษาได้มากขึ้น หรือไม่เพียงไร 1.2 ควรติดตามพฤติกรรมด้านจิตสาธารณะของ นักศึกษากลุ่มตัวอย่างนี้หลังสิ้นสุดกิจกรรมโครงงานฯ เพื่อศึกษาว่า จิตสาธารณะที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นจากการท�ำ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


234

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

โครงงานดังกล่าวเป็นพฤติกรรมที่มีความคงทนหรือไม่ อย่างไร 1.3 ควรมีระยะเวลาให้นกั ศึกษาได้ดำ� เนินกิจกรรม โครงงานผูน้ ำ� กับจิตสาธารณะ เพือ่ การพัฒนาวิธกี ารสอน

ส�ำหรับนักศึกษากลุม่ Generation Y มากกว่านี้ เพือ่ ให้ นักศึกษาได้มเี วลาลงพืน้ ที่ วางแผน และเรียนรูใ้ นการท�ำ กิจกรรมมากกว่านี้ อันจะส่งผลให้นักศึกษาได้พัฒนา จิตสาธารณะได้ดีขึ้น

References

Brand Buffet. (2014). 5 Features of Gen Y and 3 Strategies. Retrieved July 5, 2017, from https:// www.brandbuffet.in.th/2014/11/how-to-attack-gen-y-scb-eic/ [in Thai] Chankeiw, A. (2011). A Development of a Teaching Model to Enhance Public Mind of Mathayomsuksa 2 Students. Master Degree Thesis, Curriculum and Instruction Program, Faculty of Education, Mahasarakham University. [in Thai] Cheannaimeang, P. (2011). The effects of using a guidance activities package based on the behaviorism theory on public mindedness behaviors of Mathayom Suksa II Students at Satri Rachinuthit School in Udon Thani Province. Master Degree Thesis, Faculty of Education, Sukhothai Thammathirat Open University. [in Thai] Chongwisan, R. (2013). Leadership. Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai] Donsricha, R. (2011). The use of guidance activities to develop public mind of Mattayomsuksa 4 Students. Master Degree Thesis, Faculty of Education, Educational Psychology and Counseling, Khon Kaen University. [in Thai] Iamnirum, T., Wichitwanna, S. & Pankao, O. (2005). Development Research Methodology for Thesis. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University Press. [in Thai] Lussier, R. N. & Achua, C. F. (2007). Effective leadership (3rd ed.). Nashville: South Western Publishing. McDonell, J. R. (2007). Neighborhood characteristics, parenting, and children’s safety. Social Indicators Research, 83(1), 177-178. Makkasman, W. (1996). The Development of Project Based Instructional Model for Enhancing Self-Esteem of Kindergarteners. Doctor Degree Thesis, Curriculum and Instruction Program, Faculty of Education, Chulalongkorn University. [in Thai] Manning, G. & Curtis, K. (2009). The Art of Leadership. Singapore: McGraw-Hill. Promsri, C. (2014). Contemporary Leadership. Bangkok: Panyachon Publishing. [in Thai] Reilly, P. (2012). Understanding and Teaching Generation Y. English Teaching Forum. Ritcharoon, P. (2011). Research Methodology in Social Sciences. Bangkok: House of Kermyst. [in Thai] Ritcharoon, P. (2016). Principles of measurement and evaluation. Bangkok: House of Kermyst. [in Thai] Sawetworachot, T. (n.d.). Public Mind. Retrieved July 10, 2017, from http://taamkru.com/th/%E0 %B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B2 %E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B0/ [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

235

Seangprateeptong, W. (2011). Attitude: Concept and Measurement method. Educational Measurement and Evaluation, Faculty of Education, Sukhothai Thammathirat Open University. [in Thai] Sripaiwong, P. (2013). Development of An Instructional Activity Using Project Based Learning Based on The Mini Company Model on The Subject Of Career Project for Mathayom Suksa 5. Master Degree Thesis, Faculty of Education, Educational, Curricuium andIntruction, Sakon Nakhon Rajabhat University. [in Thai] Srithinon, S. (2011). The effects of using the project-based teaching method to teach the social studies course topic of environment conservation in Amphur Chiang Khong on learning achievement and public-mindedness of mathayom suksa VI Students at Chiang Khong Wittayakom School in Chiang Rai Province. Master Degree Thesis, Curriculum and Instruction Program, Faculty of Education, Sukhothai Thammathirat Open University. [in Thai] Yolao, D. et al. (2014). Learning Management by Project-Based Learning. Retrieved July 10, 2017, from https://candmbsri.wordpress.com/2015/04/08/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3 [in Thai]

Name and Surname: Chanokphorn Tongtagorn Highest Education: Master’s degree in Diplomacy (International Affairs), Department of Diplomacy, National Chengchi University (NCCU), Taiwan University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field of Expertise: International Relations, ASEAN, China foreign policy, Leadership Address: 85/1 Moo 2, Chaengwattana Rd., Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


236

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

การจัดการห่วงโซ่อุปทานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมฟอกย้อมในประเทศไทย ENVIRONMENTAL FRIENDLY SUPPLY CHAIN MANAGEMENT FOR DYEING INDUSTRY IN THAILAND สายพิณ ปั้นทอง1 และไชยนันท์ ปัญญาศิริ2 Saiphin Panthong1 and Chaiyanant Panyasiri2 1,2สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยสยาม 1,2School of Management, Siam University

บทคัดย่อ

ปัจจุบันนี้ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินกิจการที่ค�ำนึงถึงการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การขับเคลื่อนแนวคิดการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่อุตสาหกรรมสีเขียวจึงถือเป็นองค์ประกอบหลักของการสร้าง ความสามารถเชิงการแข่งขันในยุคของอุตสาหกรรมสมัยใหม่ อุตสาหกรรมฟอกย้อมเป็นกระบวนการผลิตโดยใช้วตั ถุดบิ จากกระบวนการอุตสาหกรรมสิง่ ทอต้นน�ำ้ วัตถุดบิ ทางด้านเคมี และวัตถุดบิ ด้านพลังงาน ผ่านกระบวนการผลิตให้เป็น ผลิตภัณฑ์ใหม่ดว้ ยการฟอกย้อม ซึง่ เป็นกระบวนการอันส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมโดยตรง บทความนีน้ ำ� เสนอวิธกี าร ประยุกต์ใช้ตัวแบบ SCOR Model ในการจัดการห่วงโซ่อุปทานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในขั้นตอน 1) การวางแผน 2) การจัดหาวัตถุดิบ 3) การผลิต 4) การจัดส่ง และ 5) การส่งคืน เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและน� ำไปสู่ การพัฒนาเสริมสร้างความสามารถทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมฟอกย้อมในประเทศไทยอย่างยั่งยืนต่อไป ค�ำส�ำคัญ: การจัดการห่วงโซ่อุปทาน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรมฟอกย้อม

Abstract

Most entrepreneurs of the new industrialized era run their businesses with an environmental friendly mindset, integrating both competitive activities and environmental friendly concept in moving toward the green society. The manufacturing process of dyeing industry in Thailand requires inputs such as raw materials from upstream industrial process, chemical raw material and energy raw material and reproduces these inputs into a new product of the dyeing process. As the process directly affects the environment, supply chain management should be adopted as a tool that enabling environmental friendly aspect of the industry. This article presents the method of applying SCOR Model to an environmental friendly supply chain management covering the processes of planning, sourcing, manufacturing, delivering and product returning, all aiming for Corresponding Author E-mail: saiphin_pom@hotmail.com


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

237

environmental impact reduction and developing sustainable competitiveness of dyeing industry in Thailand. Keywords: Supply chain management, Environmentally friendly, Dyeing industry

บทน�ำ

อุตสาหกรรมฟอกย้อมเป็นอุตสาหกรรมขัน้ กลางน�ำ้ ของอุตสาหกรรมสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มของประเทศไทย เพื่อส่งต่อผลิตภัณฑ์ที่แล้วเสร็จตามคุณภาพที่ได้รับ การสั่งซื้อให้กับอุตสาหกรรมเสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ซึ่งแต่ละ อุตสาหกรรมมีความเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน เนื่องจาก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากอุ ต สาหกรรมหนึ่ ง เป็ น วั ต ถุ ดิ บ ของ อุตสาหกรรมหนึ่ง (Department of Drainage and Sewerage, 2005) ผู้บริหารให้ความส�ำคัญด้านปัจจัย การบริหารจัดการในด้านคุณภาพและระบบการวางแผน งานทีช่ ดั เจนมีเป้าหมายทีแ่ น่นอน มองการเปลีย่ นแปลง ของอุตสาหกรรมเพื่อน�ำมาวางแผนองค์การอยู่เสมอ (Phoorung, 2016) ดังนั้นการสร้างความสามารถทาง การแข่งขันให้กบั อุตสาหกรรมสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มไทย จ�ำเป็นต้องให้ความส�ำคัญต่ออุตสาหกรรมฟอกย้อม ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมกลางน�้ำที่ส�ำคัญ ในขณะที่กิจการ เกี่ยวกับการฟอกย้อมสีมีปัญหาด้านกระบวนการผลิต ที่ใช้เวลานาน รวมถึงกระบวนการที่ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน (Department of Industrial Works, 2009) การน�ำระบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานมาใช้ในการ ด�ำเนินอุตสาหกรรมฟอกย้อมมีความส�ำคัญมากในการ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผ้าผืน การน�ำผ้าผืนจากอุตสาหกรรม ต้นน�ำ้ ทีเ่ รียกว่า ผ้าดิบ มาปรับแต่งให้ได้คณ ุ สมบัตติ ามที่ ผู้บริโภคต้องการ ผ่านกระบวนการเตรียม การย้อมสี และการตกแต่งส�ำเร็จสิ่งทอ เพื่อให้เกิดสีสันคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรมขัน้ ปลายน�ำ้ คือ อุตสาหกรรมเครือ่ งนุง่ ห่มในฐานะลูกค้ารวมถึงแนวโน้ม ของแฟชั่น (Tragoolhirunphadung, 2014) ผ้าผืน ที่ย้อมส�ำเร็จเรียบร้อยแล้วจึงประกอบด้วยวัตถุดิบจาก

หลากหลายโรงงาน การสร้างความเข้าใจร่วมกันทัง้ ระบบ เป็นสิง่ ส�ำคัญ ดังนัน้ หากไม่สามารถเชือ่ มโยงการไหลของ วัตถุดิบ และการไหลของข้อมูลในระบบห่วงโซ่อุปทาน ได้แล้วย่อมส่งผลต่อศักยภาพในการผลิตสินค้า ประกอบ กับปัจจุบันประชาสังคมโลกให้ความส�ำคัญกับปัญหา สิง่ แวดล้อม ภาครัฐเองจึงให้การสนับสนุนภาคอุตสาหกรรม ในการผลิตวัตถุดิบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่มีความ ต้องการในตลาดโลกขึน้ ในทุกภาคอุตสาหกรรม เป็นการ น�ำไปสูแ่ นวทางการพัฒนาการสร้างระบบหมุนเวียนวัสดุ ทีใ่ ช้แล้วทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ขับเคลือ่ นสูส่ งั คมทีป่ ราศจาก ของเสีย (ZeroWaste Society) การส่งเสริมการผลิต การลงทุน และการสร้างงานสีเขียว (Chatanawin, 2015) แนวทางของการจัดการห่วงโซ่อปุ ทานโดยใช้แบบจ�ำลอง อ้างอิงการด�ำเนินงานโซ่อุปทาน (SCOR Model) เป็น เครื่องมือในการอธิบายความสัมพันธ์ภายในการจัดการ ห่วงโซ่อปุ ทาน โดยแบบจ�ำลองดังกล่าวได้มกี ารรวบรวม กระบวนการมาตรฐานของโซ่อุปทานที่สำ� คัญไว้ 5 ส่วน ได้แก่ การวางแผน (Plan) การจัดหาแหล่งวัตถุดิบ (Source) การผลิต (Make) การส่งมอบ (Delivery) และการส่งคืนสินค้าจากลูกค้า (Return) (Husby, 2007) เพือ่ เป็นพืน้ ฐานในการปรับปรุงพัฒนาห่วงโซ่อปุ ทานของ อุตสาหกรรมฟอกย้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึง สร้างความสามารถทางการแข่งขันให้กับอุตสาหกรรม ในตลาดโลกต่อไป

การเพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการห่วงโซ่อปุ ทาน ของอุตสาหกรรมฟอกย้อม

อุตสาหกรรมฟอกย้อมมีบทบาทส�ำคัญในการสร้าง มูลค่า (Value Creation) ให้กับผลิตภัณฑ์ผ้าผืน ส่งผล ต่อคุณภาพอุตสาหกรรมเสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูปโดยตรง ต้องใช้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


238

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

วัตถุดิบจากอุตสาหกรรมขั้นต้น มีวัตถุดิบด้านสารเคมี น�ำเข้าจากต่างประเทศคิดเป็นร้อยละ 48 ของต้นทุน การผลิต รวมถึงวัตถุดิบด้านพลังงาน ได้แก่ น�้ำและ พลังงานความร้อน เพือ่ ผลิตให้เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่โดยผ่าน กระบวนการผลิต (Department of Drainage and Sewerage, 2005) ประสิทธิภาพของระบบโลจิสติกส์ เป็นสิ่งส�ำคัญของการพัฒนาอุตสาหกรรม การสร้าง ความเชื่ อ มโยงของผู ้ ผ ลิ ต ภายในอุ ต สาหกรรมที่ มี ประสิทธิภาพส่งผลต่อต้นทุนที่ต�่ำลง จึงมีความจ�ำเป็น ต้องให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์และ การขนส่งเพื่อสนับสนุนการรวมกลุ่มของอุตสาหกรรม (Seeboonreang, 2016) วัตถุดิบใช้แล้วหมดไปใน กระบวนการผลิตและทรัพยากรที่ใช้แล้วคงเหลือเป็น ของเสียที่ต้องส่งออกจากกระบวนการผลิต เหล่านี้เป็น ทรัพยากรเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์และตรงกับ ความต้ อ งการของอุ ต สาหกรรมปลายน�้ ำ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห ารจั ด การด้ า นการจั ด การ ห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมฟอกย้อมจึงส่งผลต่อ ประสิทธิภาพของอุตสาหกรรมการลดมลพิษการใช้น�้ำ อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะอุตสาหกรรมฟอกย้อมต้อง ใช้น�้ำเป็นปริมาณมากทุกขั้นตอน ตั้งแต่กระบวนการ เตรียมผ้า การให้สี และตกแต่งส�ำเร็จสิง่ ทอ น�ำ้ เสียทีเ่ กิด จากอุปกรณ์ต่างๆ ภายในโรงงานต้องผ่านกระบวนการ บ�ำบัดก่อนปล่อยสู่แหล่งน�้ำ ซึ่งเป็นปัญหาหลักในด้าน สิง่ แวดล้อมอย่างชัดเจนทัง้ ด้านปัญหาของการใช้นำ�้ ปัญหา การบ�ำบัดน�ำ้ เสียในโรงงานฟอกย้อม (Department of Industrial Works, 2009)

กลยุทธ์การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management Strategy)

การด�ำเนินอุตสาหกรรมที่ต้องมีกระบวนการผลิต ทีใ่ ช้วตั ถุดบิ จากหลายแหล่ง ใช้ทรัพยากรในกระบวนการ ผลิตหลายอย่างประกอบกันนั้น ผู้ประกอบการต้องมี ความสามารถในการจัดเตรียมวัตถุดิบอย่างเป็นระบบ การจัดการห่วงโซ่อุปทานเป็นแนวทางในการช่วยสร้าง

ความแม่นย�ำในกระบวนการผลิตพร้อมทั้งสร้างความ สามารถในการแข่งขันให้กบั อุตสาหกรรมไทยอย่างยัง่ ยืน การจัดการห่วงโซ่อุปทาน หมายถึง การบูรณาการ การประสานงาน การควบคุม การเคลื่อนย้ายสินค้า คงคลังทัง้ ของวัตถุดบิ และสินค้าส�ำเร็จรูป และสารสนเทศ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในกระบวนการจากผู ้ ข ายวั ต ถุ ดิ บ ผ่ า น กระบวนการจัดการเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ของผูบ้ ริโภค การน�ำเทคโนโลยีการสือ่ สารอิเล็กทรอนิกส์ มาใช้ยังช่วยให้การไหลของข้อมูลในเครือข่ายเป็นไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Gromjit, 2014) การร่วมมือของแต่ละบริษัทซึ่งมี กระบวนการทางธุรกิจทีใ่ ช้รว่ มกันอยู่ รวมถึงมีการแบ่งปัน ข้อมูลข่าวสารระหว่างกันในระดับทีม่ าก เพือ่ สร้างระบบ ปฏิบัติการที่มีคุณค่าอันจะท�ำให้ทุกบริษัทที่เกี่ยวข้อง มีความได้เปรียบทางการแข่งขันแบบยัง่ ยืน (Handfield & Nichols, 1999) การจัดการร่วมกันระหว่างซัพพลายเออร์ ผู้ผลิต การจัดการเกี่ยวกับคลังสินค้าและที่จัดเก็บ โดย วิธีการที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดการผลิตพร้อมทั้ง การกระจายสินค้าคงคลังได้ในปริมาณ สถานที่ และเวลา ทีถ่ กู ต้องเหมาะสม ใช้ตน้ ทุนรวมทัง้ ระบบต�ำ่ ทีส่ ดุ แต่ตอ้ ง มีคุณภาพในการให้บริการที่เป็นที่พึงพอใจกับลูกค้า (Simchi-Levi, Kaminsky & Simchi-Levi, 2000) กล่าวโดยสรุป การจัดการห่วงโซ่อปุ ทานเป็นการน�ำกลยุทธ์ วิธกี าร แนวปฏิบตั มิ าประยุกต์ใช้ในกิจกรรมต่างๆ เพือ่ ให้ เกิดความสัมพันธ์กนั การด�ำเนินการร่วมกันตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ หมายถึง ผูส้ ง่ มอบไปจนถึงปลายน�ำ้ คือ ผูบ้ ริโภคขัน้ สุดท้าย ตลอดทัง้ โซ่อปุ ทานเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพด้านการผลิต รวมถึงประสิทธิผลด้านต้นทุน (Mentzer et al., 2001) เป็นกลยุทธ์ที่น�ำไปสู่ความพึงพอใจของผู้บริโภคตาม ความคาดหวังและเป้าหมายของอุตสาหกรรม

การจัดการห่วงโซ่อุปทานเพื่อสิ่งแวดล้อม (Environmental Supply Chain Management)

ปั จ จุ บั น ผลกระทบจากปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น ประเด็นส�ำคัญที่ทุกฝ่ายในห่วงโซ่อุปทาน ไม่ว่าจะเป็น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้จัดหาวัตถุดิบ หรือหน่วยงานภาครัฐ จากภาวะการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ฝุน่ รังสีความร้อน สิง่ ปฏิกลู และของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมเป็นประเด็น ปัญหาสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น จึงเกิดแนวทางในการศึกษา การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานสีเขียวเพื่อหา แนวทางแก้ปัญหา เพื่อลดผลกระทบในเชิงลบกับสิ่ง แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ ตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน แนวคิดสมัยใหม่ ของการจัดการห่วงโซ่อุปทาน คือ การจัดการอย่างไร ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมน้อยที่สุด เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการห่วงโซ่อุปทานเพื่อความ ยั่งยืน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมฟอกย้อมที่มีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมากในกระบวนการผลิต การจัดการห่วงโซ่อุปทานเพื่อสิ่งแวดล้อมเป็นการ น�ำเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมมาพิจารณารวมอยู่ในการ ตัดสินใจจัดซื้อขององค์การและการรักษาความสัมพันธ์ ในระยะยาวกับซัพพลายเออร์ผู้จัดหาวัตถุดิบ (Gilbert, 2001) ในการรวมความคิดด้านสิง่ แวดล้อมเข้าไปในการ จัดการห่วงโซ่อุปทานรวมไปถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ การแยกและคัดเลือกวัตถุดิบ กระบวนการในการผลิต การส่งสินค้าสุดท้ายให้กบั ผูบ้ ริโภคและการจัดการสินค้า ที่หมดอายุการใช้งาน (Srivastava, 2007) รวมถึงการ จัดการวัตถุดบิ ชิน้ ส่วนหรือส่วนประกอบ และกระบวนการ จากผูส้ ง่ มอบวัตถุดบิ ผูผ้ ลิตสินค้าจนถึงผูบ้ ริโภคตลอดจน การรับคืนสินค้า โดยทุกกระบวนการนั้นเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมตลอดช่วงอายุสินค้า (Zsidisin & Siferd, 2001) การจัดการห่วงโซ่อุปทานเพื่อสิ่งแวดล้อมจึงเป็น การให้ความส�ำคัญถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในทุก กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการห่วงโซ่อุปทาน โดยการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานภายใน องค์การและระหว่างองค์การที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมี ส่วนร่วมตัง้ แต่การออกแบบ การคัดเลือกวัตถุดบิ การผลิต การกระจายสินค้า การใช้ การน�ำมาใช้ซำ�้ และการก�ำจัด สินค้าจะต้องค�ำนึงถึงผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ต่อสิง่ แวดล้อม ให้น้อยที่สุด

239

การประยุกต์แบบจ�ำลองอ้างอิงการด�ำเนินงาน ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Operations Reference Model: SCOR Model)

เพื่อน�ำไปปฏิบัติและเพื่ออธิบายกิจกรรมทางธุรกิจ ในห่วงโซ่อปุ ทานท�ำให้เกิดการท�ำงานในการจัดการห่วงโซ่ อุปทานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการด�ำเนินงาน ห่วงโซ่อุปทานที่มีความสัมพันธ์กับการจัดการห่วงโซ่ อุ ป ทานที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มของอุ ต สาหกรรม ฟอกย้อมในประเทศไทย การด�ำเนินการพืน้ ฐาน 5 ประการ (Boonit, 2015) อธิบายถึงลักษณะการด�ำเนินงาน การจัดการห่วงโซ่อุปทานและแสดงให้เห็นถึงกิจกรรม ทางธุรกิจในห่วงโซ่อปุ ทานทัง้ หมด โดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า รวมถึงช่วยให้มกี รอบ การท�ำงานทีม่ รี ปู แบบเดียวกัน การก�ำหนดกระบวนการ ต่างๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน พร้อมทั้งมีการวัด ประสิทธิภาพในแต่ละกระบวนการเพื่อให้เป็นวิธีปฏิบัติ ที่ดีที่สุด (Chantanaroj, 2010) ประการที่ 1 การวางแผน (Planning) การวางแผนมีความสัมพันธ์กับห่วงโซ่อุปทานด้วย การวางแผนเป็นจุดเริ่มต้นที่ส�ำคัญต่อการจัดการห่วงโซ่ อุปทานทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมของอุตสาหกรรมฟอกย้อม ซึ่งต้องค�ำนึงถึงประเด็นต่างๆ ดังนี้ - การวางแผนและออกแบบผลิตภัณฑ์ ต้องค�ำนึงถึง ผลกระทบทางด้านสิง่ แวดล้อมทีจ่ ะเกิดขึน้ ตลอดวัฏจักร ชีวติ ของผลิตภัณฑ์ การใช้วตั ถุดบิ ทีเ่ ป็นส่วนประกอบของ ผลิตภัณฑ์ ช่วงเวลาของการใช้ผลิตภัณฑ์ จนถึงการท�ำลาย ผลิตภัณฑ์เมือ่ หมดอายุในการใช้งานโดยไม่สง่ ผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมในอนาคต - พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานสินค้าลดโลกร้อน ผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานฉลากคูลโหมด (CoolMode) เป็นฉลากทีม่ อบให้กบั เสือ้ ผ้า หรือผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ สมบัติ พิเศษในการซับเหงื่อและระบายความร้อนได้ดี ท�ำให้ สวมใส่สบายไม่ร้อนอบอ้าว สามารถสวมใส่ในอาคาร หรือห้องที่มีอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศ 25 องศาได้โดย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


240

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ไม่รสู้ กึ อึดอัด (Loasomboon, 2016) เพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากอุตสาหกรรมฟอกย้อมประเภทผ้าผืน ผ้ายืด ที่ถูกส่งต่อเป็นวัตถุดิบได้มาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การท�ำความเข้าใจกับลูกค้าในการรณรงค์สนับสนุน ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพือ่ เจาะกลุม่ ลูกค้า ที่ให้ความส�ำคัญกับผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในกระบวนการ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - การปรับเปลีย่ นรูปแบบการสือ่ สารภายในองค์การ เพือ่ ลดจ�ำนวนการใช้กระดาษด้วยการค้นหาวิธกี ารสือ่ สาร การประสานงานภายในองค์การทุกขั้นตอนด้วยวิธีการ เชือ่ มโยงข้อมูลด้วยเครือข่ายผ่านระบบสารสนเทศแบบ ทั่วถึงทั้งระบบ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถค้นหาข้อมูล ได้ตลอดเวลาทุกขัน้ ตอนโดยไม่ตอ้ งใช้กระดาษเป็นอุปกรณ์ ในการสื่อสารอีกต่อไป หรือให้มีน้อยที่สุดเพื่อเป็นการ สร้างความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมทั่วทั้งองค์การ - ระบบการจัดการสินค้าส�ำเร็จรูปคงคลังเป็นส่วน ส�ำคัญของการวางแผน จึงจ�ำเป็นต้องมีระบบการจัดการ อย่างประสิทธิภาพส่งผลต่อการวางแผนทีถ่ กู ต้องชัดเจน เพือ่ ลดผลกระทบทางด้านสิง่ แวดล้อม และสินค้าส�ำเร็จรูป คงคลัง ซึง่ เป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสินค้าคงคลังมากเกิน ความต้องการ เกิดสินค้าทีห่ มดอายุการใช้งาน (Department of Primary Industries and Mines, 2015) รวมถึงวัตถุดบิ ด้านพลังงาน ได้แก่ น�ำ้ และพลังงานความร้อน ในการผลิตให้เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ (Department of Drainage and Sewerage, 2005) จึงมีความจ�ำเป็นมาก ในการวางแผนด้านวัตถุดบิ หลักและกระบวนการผลิตให้ เหมาะสมกับแผนการผลิต แผนการตลาดทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ เพื่อให้เกิดความสอดคล้องพร้อมทั้งลดความสูญเปล่า ในกระบวนการผลิต อันส่งผลต่อการท�ำงานที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม คือ การลด (Reduce) การใช้วัตถุดิบ การใช้น�้ำตั้งแต่เริ่มกระบวนการผลิตใช้เท่าที่จ�ำเป็นเพื่อ ช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การวางแผนจึงเป็นภาพรวมของการเริม่ ต้นเพือ่ สร้าง ความเหมาะสม คุม้ ค่า ในการด�ำเนินอุตสาหกรรมทีเ่ ป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ภาพรวมทั้งหมดจึง

สามารถวางแผนได้ถูกต้องเพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่ ด�ำเนินการอยู่ในองค์การสามารถน�ำไปปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพตามเป้าหมายที่วางแผนไว้ ประการที่ 2 การจัดหาวัตถุดิบ (Sourcing) กระบวนการที่ใช้ในการจัดซื้อวัตถุดิบ จัดหาแหล่ง วัตถุดบิ เพือ่ น�ำมาผลิตสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับ ความต้องการที่ได้วางแผนไว้ การประเมินเลือกแหล่ง วัตถุดบิ ทีไ่ ม่ได้มกี ารก�ำหนดมาก่อน การประเมินข้อบังคับ ทางธุรกิจ ประเมินสมรรถนะของผูจ้ ดั ส่งวัตถุดบิ การลด ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมจากการด�ำเนินการจัดซือ้ จัดหา ในภาคอุตสาหกรรมฟอกย้อมนั้นสามารถด�ำเนินการได้ ในหลายด้าน การจัดซือ้ จัดหาจึงเป็นกระบวนการส�ำคัญ ในโซ่อุปทานโดยมีองค์ประกอบของกระบวนการดังนี้ - ด้านการสั่งซื้อและการสื่อสารค�ำสั่งซื้อ การใช้ ทรัพยากรในกระบวนการสั่งซื้อตลอดจนการสื่อสาร ค�ำสั่งซื้อกับผู้ส่งมอบ ผู้รับสินค้าในองค์การ หน่วยงาน ภายในที่เกี่ยวข้อง ควรมีประสิทธิภาพในกรณีที่ยังคงใช้ การสัง่ ซือ้ ในรูปแบบของเอกสารโดยผ่านโปรแกรมส�ำเร็จรูป ให้ทุกหน่วยงานสามารถใช้ได้ร่วมกันเพื่อความเข้าใจ ที่ตรงกัน การจัดเก็บที่เหมาะสมของวัตถุดิบประเภทสี เคมีทแี่ ตกต่างกัน ดังนัน้ การสือ่ สารทีช่ ดั เจนของการสัง่ ซือ้ เป็นเรื่องที่สำ� คัญมากเพือ่ ลดปัญหาการท�ำงานทีซ่ ำ�้ ซ้อน ท�ำให้การวางแผนการจัดเก็บวัตถุดบิ ตามค�ำสัง่ ซือ้ สามารถ วางแผนงานได้ลว่ งหน้า การจัดส่งสินค้าตามวันเวลาทีไ่ ด้ ระบุไว้ท�ำให้การท�ำงานรวดเร็ว - การเลือกแหล่งวัตถุดิบ วัตถุดิบที่เหมาะสมมี ประสิทธิภาพในอุตสาหกรรมฟอกย้อมควรเป็นวัตถุดิบ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการได้รับการรับรองจาก แหล่งวัตถุดิบต้นทางจากหน่วยงานที่น่าเชื่อถือ อันเป็น ผลมาจากนโยบายการจัดซื้อที่ต้องให้ความส�ำคัญต่อ วัตถุดบิ การเลือกสียอ้ มและสารเคมีให้เหมาะสม ในเรือ่ ง เกีย่ วกับน�ำ้ ทิง้ ทีม่ คี า่ กรด/ด่าง BOD/COD สูงควรเปลีย่ น ชนิดของน�ำ้ สบู่ที่มีโครงสร้างประจุลบเป็น linear alkyl benzene sulfonate จัดเป็นกลุ่มที่มีค่า BOD ต�่ำ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

และย่อยสลายทางชีววิทยาได้ง่าย (Thailand Textile Institute, 2000) เลือกสีย้อมที่มีการผนึกกับสีและ เส้นใยสูง เลือกสียอ้ มทีม่ คี วามต้องการเกลือและสารเคมี อื่นๆ อยู่ในระดับต�่ำ เลือกสีย้อมที่มีความเป็นพิษน้อย ตลอดจนการเลือกใช้กรดน�ำ้ ส้มแทนฟอสเฟต (Pasatika, 1999) การเลือกโดยมีเงือ่ นไขจากประโยชน์ทเี่ หมาะสม ต่างๆ นีส้ ง่ ผลกระทบในทิศทางทีด่ กี บั สิง่ แวดล้อม เพราะ เป็นการลดของเสียตั้งแต่การเริ่มต้นกระบวนการ ส่งผล ต่อการท�ำงานในกระบวนการผลิตอย่างชัดเจนในทิศทาง ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - การขนส่งวัตถุดิบ เป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก กระบวนการใช้เชื้อเพลิงในยานพาหนะเพื่อขนส่ง และ กระบวนการขนส่งวัตถุดิบในอุตสาหกรรมฟอกย้อมที่มี ความจ�ำเป็นอย่างมาก การวางแผนร่วมกันกับผู้ส่งมอบ เพื่อน�ำเข้าวัตถุดิบให้เต็มเที่ยว เพียงพอ เหมาะสม เนื่องจากวัตถุดิบบางประเภทในอุตสาหกรรมสามารถ จัดส่งได้ในปริมาณเต็มเทีย่ วได้และไม่กระทบต่อสถานที่ ในการจัดเก็บขององค์การ การประสานงานกันระหว่าง ผู้ขายสินค้ากับผู้สั่งซื้อเป็นการร่วมมือที่ดีในการสร้าง พันธมิตรให้เกิดในภาคอุตสาหกรรม และผลของการ ร่วมมือกันในการจัดการขนส่งวัตถุดบิ จะสร้างความเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างเป็นระบบ - การจัดการบรรจุภณ ั ฑ์สำ� หรับวัตถุดบิ ในการจัดซือ้ จัดหาต้องประสานงานระหว่างผู้ขายวัตถุดิบเพื่อให้เกิด การใช้บรรจุภณ ั ฑ์สำ� หรับวัตถุดบิ ให้เกิดประโยชน์มากทีส่ ดุ การเก็บแกลลอนบรรจุสแี ละเคมีทจี่ ดั ส่งมา เก็บกระสอบ ใส่เส้นด้ายที่ส่งเข้ามาย้อมส่งคืนให้ผู้ขายวัตถุดิบในการ ส่งของครัง้ ต่อไป เป็นการลดผลกระทบทางด้านสิง่ แวดล้อม ให้เกิดการใช้ซำ�้ รวมถึงเป็นการสร้างพันธมิตรทางการค้า สร้างความสัมพันธ์ที่ดีในการเจรจาด้านราคา รวมถึงมี เครือข่ายห่วงโซ่อุปทานที่เข้มแข็ง การจัดหาวัตถุดบิ จึงเป็นการด�ำเนินการต่อเนือ่ งจาก การวางแผนขององค์การในอุตสาหกรรมเพือ่ มีเป้าหมาย ในการจัดหาวัตถุดิบที่เหมาะสม โดยการเลือกแหล่ง วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี คุ ณ ภาพและมี คุ ณ สมบั ติ ดี เ ป็ น มิ ต รต่ อ

241

สิง่ แวดล้อมเพือ่ เป็นการเริม่ ต้นการน�ำเข้าวัตถุดบิ ทีส่ ง่ ต่อ กระบวนการผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ ตลอดจนการเป็นเครือข่าย สร้างพันธมิตรทางธุรกิจ รวมถึงรูปแบบของบรรจุภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับวัตถุดิบที่ต้องการเพื่อช่วยในการสร้าง ภาพรวมของการด�ำเนินการจัดหาวัตถุดิบที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ส่งผลดีในกระบวนการด�ำเนินอุตสาหกรรม ฟอกย้อมให้สามารถก้าวไปสู่อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมในขั้นตอนต่อไปของกระบวนการ ประการที่ 3 การผลิต (Manufacturing) กระบวนการที่เปลี่ยนคุณสมบัติ รูปร่าง และการ ประกอบโดยผ่านกระบวนการผลิตมีขอบเขตครอบคลุม ถึงการผลิตเพือ่ การจัดเก็บ การผลิตตามค�ำสัง่ ซือ้ การจัดการ ตารางกิจกรรมการผลิต ข้อมูลในการผลิต ผลิตภัณฑ์ทอี่ ยู่ ในระหว่างการผลิต เครือ่ งมือและสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ในการผลิต เครือข่ายทางการผลิต เนือ่ งจากกระบวนการ ผลิตของอุตสาหกรรมฟอกย้อมเป็นขั้นตอนของการน�ำ สารเคมี สี ผ้าดิบ น�้ำ และพลังงานมาผ่านกระบวนการ เพือ่ ให้ได้ผา้ ย้อมสีสำ� เร็จรูปในขณะเดียวกัน น�ำ้ เสีย น�ำ้ สี รวมถึงสารเคมีตา่ งๆ ทีอ่ ยูใ่ นเครือ่ งย้อมถูกปล่อยออกมา สูก่ ระบวนการบ�ำบัดก่อนจึงสามารถปล่อยน�้ำทีผ่ า่ นการ บ�ำบัดแล้วนัน้ ลงสูแ่ หล่งน�ำ้ ต่อไปได้ ในกระบวนการผลิต ของอุตสาหกรรมฟอกย้อมจึงเป็นขั้นตอนที่ต้องมีข้อมูล การวางแผนการผลิตเป็นอย่างดี เพื่อส่งผลต่อผลผลิตที่ มีคุณภาพ ลดการท�ำงานซ�้ำซ้อน และส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด โดยมีกระบวนการดังนี้ - การจัดการคลังวัตถุดิบ การเลือกใช้ทรัพยากร ภายในคลังวัตถุดิบ ได้แก่ อุปกรณ์ส�ำหรับการจัดเก็บ อุปกรณ์สำ� หรับขนย้าย และระบบสารสนเทศทีเ่ หมาะสม เป็นการรักษาสภาพของวัตถุดบิ ให้มคี ณ ุ ภาพเตรียมพร้อม ในการผลิตให้เป็นไปตามแผนที่ได้ก�ำหนดไว้นั้นต้องมี ประสิทธิภาพ ดังเช่น การจัดเตรียมสีย้อม เคมี ผ้าดิบ ในคลังวัตถุดิบเรียงตามล�ำดับการผลิตให้สามารถน�ำ เข้าสู่กระบวนการได้อย่างถูกต้องตามเวลาที่ก�ำหนดไว้ การจัดการคลังวัตถุดบิ ควรรูข้ อ้ มูลรายละเอียดแผนการ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


242

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ฟอกย้อมล่วงหน้าเพือ่ จัดเตรียมวัตถุดบิ อุปกรณ์การผลิต ได้อย่างเหมาะสมกับปริมาณของงานแต่ละงาน อุปกรณ์ ต่างๆ เหล่านีส้ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมกรณีมกี ารใช้งาน ขาดประสิทธิภาพ เกิดความสิน้ เปลืองทรัพยากรในการผลิต เกิดการสูญเสียวัตถุดบิ ในคลังสินค้า ในด้านการตรวจสอบ ท�ำความสะอาดบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์และเครือ่ งจักรอย่าง สม�่ำเสมอเพื่อให้สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากจะช่วยลดปริมาณน�้ำเสียให้น้อยลงแล้วยังช่วย ลดต้นทุนในด้านพลังงานและการรั่วไหลของน�้ำ ส่งผล ต่อการยืดอายุการใช้งานของเครือ่ งจักรท�ำให้ผลิตภัณฑ์ มีคุณภาพดี ช่วยลดอุบัติเหตุภายในโรงงาน โดยรวม ส่งผลดีต่อสภาพแวดล้อมในกระบวนการผลิต - การขนย้ายระหว่างกระบวนการผลิต ผลกระทบ ทางด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ จากการใช้ทรัพยากรทีเ่ กีย่ วข้อง กับการขนย้ายหรือพาหนะขนย้ายในกระบวนการผลิต ที่ไม่เหมาะสม เช่น การขนย้ายสี เคมี มากเกินปริมาณ ที่ต้องการใช้ในกระบวนการผลิตในเครื่องย้อมส่งผล ให้การขนย้ายนั้นขาดประสิทธิภาพ หรือแม้กระทั่งการ จัดเตรียมรถขนผ้าดิบในการย้อมไม่เหมาะสมกับปริมาณผ้า ในการย้อม ท�ำให้กระบวนการผลิตล่าช้าส่งผลต่อการเปิด เครือ่ งย้อมนานกว่าทีค่ วรจะเป็น การใช้งานในเครือ่ งมือ อุปกรณ์ต่างๆ ไม่เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมในการด�ำเนินการผลิต - การผลิต เป็นขั้นตอนหลักของกระบวนการใน อุตสาหกรรมฟอกย้อม เนื่องจากเป็นขั้นตอนที่ต้องมี ความสมดุลในด้านของผู้ปฏิบัติงาน เครื่องจักร วัตถุดิบ น�้ำ และพลังงาน ในช่วงเวลาเดียวกัน ดังนั้นนโยบาย และการจัดการกระบวนการผลิต ได้แก่ การเลือกใช้ เครื่องจักร อุปกรณ์ รวมถึงปัจจัยการผลิตต่างๆ จ�ำเป็น ต้องมีการวางแผนที่ชัดเจนเหมาะสม การวางแผนต้อง เรียงล�ำดับสีในการย้อมให้ชัดเจนเพื่อช่วยลดการใช้ พลังงาน ลดการใช้นำ�้ ในการล้างเครือ่ งย้อม จากกรณีศกึ ษา เทคนิคการลดมลพิษจากแหล่งก�ำเนิดส�ำหรับโรงงาน ขนาดย่อมและขนาดกลางของกรมโรงงานอุตสาหกรรม

Pasatika (1999) ค้นพบว่า การปรับเปลีย่ นกระบวนการ ฟอกย้อมโดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ลดปริมาณการใช้นำ�้ และ มลพิ ษ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มสามารถท� ำ ให้ ส� ำ เร็ จ ได้ โ ดยใช้ กระบวนการที่ มี อ ยู ่ ใ นปั จ จุ บั น โดยเน้ น การจั ด การ เป็นการลดปริมาณน�้ำเสียโดยใช้เทคนิคการจัดการและ ปรับปรุงกระบวนการโดยใช้เครือ่ งจักรเดิมทีม่ อี ยู่ เริม่ จาก การลดขัน้ ตอนการผลิต กระบวนการลอกแป้ง การขจัด สิ่งสกปรก และการฟอกขาวในขั้นตอนเดียวส�ำหรับ เส้นใยเซลลูโลสและใยผสม ท�ำให้ประหยัดการใช้น�้ำ มากขึน้ การปรับปรุงกระบวนการล้างให้มปี ระสิทธิภาพ ซึง่ น�ำ้ เสียส่วนใหญ่ของอุตสาหกรรมฟอกย้อมมาจากการ ล้างสารเคมีสว่ นเกินทีใ่ ช้ในกระบวนการฟอกย้อมจากผ้า ดังนั้นการท�ำความเข้าใจในคุณสมบัติของสารเคมีต่างๆ อย่างดีจะเป็นการง่ายในการก�ำจัดสารเหล่านีอ้ อกจากผ้า โดยใช้นำ�้ น้อยลง การท�ำให้ผา้ สัน่ สะเทือนเชิงกลในน�ำ้ ร้อน และสะเทินด้วยสารละลายกรดจะช่วยให้โซดาไฟหลุด ออกมาได้งา่ ยขึน้ ส�ำหรับการท�ำความสะอาด การขจัดกรด หรือด่างส่วนเกินออกนัน้ วิธกี ารทีท่ �ำให้เป็นกลางจะเป็น วิธที เี่ หมาะสม จากกระบวนการแปรรูปทีเ่ หมาะสมนีเ้ อง เป็นการลดการเกิดของเสียตัง้ แต่เริม่ ต้นการผลิต เป็นผลดี ต่อสิ่งแวดล้อมต่อไป การผลิ ต เป็ น กระบวนการที่ เ ป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ใน อุตสาหกรรมฟอกย้อม มีความต่อเนือ่ งจากกระบวนการ จัดหาวัตถุดบิ ให้เหมาะสมเพือ่ น�ำมาปรับปรุงหาแนวทาง ใหม่ๆ ในการปรับขัน้ ตอนกระบวนการผลิตให้มคี ณ ุ ภาพ ขณะเดียวกันต้องส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ด้านการจัดการคลังวัตถุดบิ มีผลต่อกระบวนการผลิตเอือ้ อ�ำนวยความสะดวก ความเหมาะสม รวมถึงคุณประโยชน์ ของวัตถุดบิ ให้มคี ณ ุ ภาพพร้อมในการน�ำเข้ากระบวนการ ขนย้ า ยได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ประหยั ด พลั ง งาน เพื่ อ ให้ กระบวนการแปรรูปสามารถด�ำเนินการได้ด้วยวัตถุดิบ ที่เหมาะสม ลดการใช้ทรัพยากร ลดความซ�้ำซ้อน ได้ ผลิตภัณฑ์ผ้าย้อมสีส�ำเร็จที่มีคุณภาพดีตรงตามความ ต้องการของลูกค้า และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ประการที่ 4 การส่งมอบ (Delivery) กระบวนการจัดส่งสินค้า การจัดการสินค้าคงคลัง ไปให้กับลูกค้าให้สอดคล้องกับความต้องการที่วางแผน ไว้เป็นทิศทางในการช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในภาพรวมการลดเชื้อเพลิง ลดมลพิษที่เกิดขึ้นจาก การขนส่ง ครอบคลุมถึงการจัดส่งผลิตภัณฑ์ทมี่ กี ารผลิต ไว้ล่วงหน้า ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตตามค�ำสั่ง กระบวนการ จัดการค�ำสัง่ ซือ้ จากลูกค้า การจัดเส้นทางการจัดส่ง การจัด ยานพาหนะส�ำหรับการจัดส่งที่เหมาะสม การจัดการ คลังสินค้า การรับและการจ่ายสินค้า การด�ำเนินการด้าน เอกสารต่างๆ ในการจัดส่งสินค้า และการจัดการกฎระเบียบ ในการส่งมอบสินค้า เป็นกระบวนการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งทัง้ ภายใน และภายนอกองค์การ ต้องมีความสัมพันธ์กนั เป็นอย่างมาก ในด้านของข้อมูลเพือ่ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันส่งผลต่อ การลดมลพิษทางการขนส่ง ประกอบด้วยองค์ประกอบ ดังนี้ - การจัดการคลังสินค้า ในการจัดการคลังสินค้า ส�ำเร็จรูปของอุตสาหกรรมฟอกย้อมคือ ผ้าย้อมส�ำเร็จ ที่เตรียมส่งลูกค้า การจัดเตรียมอุปกรณ์ในการจัดเก็บ อุปกรณ์ส�ำหรับการขนย้าย และระบบสารสนเทศที่ เหมาะสมเป็นผลดีตอ่ สิง่ แวดล้อมในการลดการใช้พลังงาน เชื้อเพลิงในการขนย้ายผ้าย้อมส�ำเร็จ ลดการท�ำงาน ซ�ำ้ ซ้อน การจัดเรียงผ้าย้อมส�ำเร็จให้เหมาะสมกับในช่วง เวลาการจัดส่งเพื่อการจัดหาได้ง่าย สินค้าส�ำเร็จรูปของ อุตสาหกรรมฟอกย้อมมีขนาดรูปแบบบรรจุภณ ั ฑ์สว่ นมาก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ในการจัดเรียงต้องใช้ความ ระมัดระวังเป็นอย่างมาก ในการใช้พนักงานขนย้ายหรือ จัดเรียงท�ำได้เพียง 1 พับต่อครั้ง ดังนั้น การจัดการ คลังสินค้าทีม่ คี วามชัดเจน ถูกต้อง เรียบร้อย การใช้รถยก ในการเคลื่อนย้ายอย่างมีประสิทธิภาพ ความผิดพลาด เกิดขึ้นได้น้อย ส่งผลถึงการประหยัดพลังงานในห่วงโซ่ อุปทานได้อย่างต่อเนื่อง - การรับค�ำสัง่ ซือ้ สินค้าและสือ่ สารเรือ่ งการส่งมอบ ในการจัดส่งสินค้าเป็นสิง่ ส�ำคัญ โดยการท�ำงานทีส่ ามารถ ลดขั้ น ตอนได้ การใช้ เ อกสารในการท� ำ งานร่ ว มกั น

243

เป็นการลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมด้านความประหยัด กระดาษ ส่งผลให้สามารถลดความผิดพลาดในการท�ำงาน การวางแผนร่วมกันของฝ่ายการตลาดและฝ่ายจัดส่ง สินค้าควรเป็นข้อมูลชุดเดียวกันสามารถใช้เอกสารร่วมกัน เป็นกระบวนการด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมภายใน องค์การได้อย่างชัดเจนในเรือ่ งของการลดปริมาณการใช้ กระดาษในองค์การ - การจัดการบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับสินค้าเป็นผลมา จากการสร้างนโยบายร่วมกันระหว่างลูกค้าและผู้ผลิต ในการจัดการบรรจุผ้าย้อมส�ำเร็จให้ตรงตามเป้าหมาย ในการใช้งาน ตั้งแต่วิธีการพับผ้าเพื่อเป็นการห่อผ้าใน ขั้นตอนแรก ก่อนท�ำการห่อด้วยถุงพลาสติกอีกครั้ง เป็นการท�ำความเข้าใจร่วมกันกับลูกค้าเพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั ประโยชน์สูงสุดของการรับสินค้าน�ำมาสู่ความพึงพอใจ ร่วมกัน ในกรณีร่วมกันลดใช้ถุงพลาสติกในการคลุม ม้วนผ้าชนิดใช้ครัง้ เดียวมาเป็นพลาสติกชนิดดีทสี่ ามารถ น�ำกลับมาใช้ซำ�้ ได้ (Industrial Waste Management Bureau, 2012) ซึง่ เป็นข้อตกลงทีด่ รี ว่ มกันท�ำให้ชว่ ยลด ปริมาณขยะลงได้มาก ลดผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ กับสิง่ แวดล้อม ได้อย่างต่อเนื่อง - การขนส่งสินค้า ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ จากการใช้เชือ้ เพลิงในยานพาหนะขนส่งและกระบวนการ จัดส่งสินค้า ในด้านนโยบายจ�ำเป็นต้องมีการสื่อสาร ประสานงานการจัดส่งสินค้าให้กับลูกค้าอย่างชัดเจน การวางแผนจัดเที่ยวรถในการขนส่งให้พอดีกับความจุ ของน�ำ้ หนักรถขนส่งทีอ่ งค์การมีอยูไ่ ม่หนักเกินไป ซึง่ ส่งผล ต่ออายุการใช้งานของรถขนส่งให้มีสภาพดีอยู่เสมอ และไม่จัดส่งน้อยเกินไปจนท�ำให้เสียต้นทุนค่าขนส่งสูง ความพอดีของการขนส่งสินค้านี้อยู่ที่การสร้างนโยบาย ความร่วมมือกันกับลูกค้า ในการจัดส่งทีต่ รงเวลา การขนส่ง ในบรรจุภณ ั ฑ์ทเี่ รียบร้อย จัดเรียงความต้องการใช้สนิ ค้า ให้กับลูกค้าตามความต้องการ เป็นการช่วยท�ำให้งานมี ประสิทธิภาพและส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อมโดยรวม การส่งมอบเป็นอีกหนึง่ กระบวนการทีน่ ำ� สินค้าส่งถึง ลูกค้าเพื่อสร้างความพึงพอใจให้เกิดขึ้นร่วมกันระหว่าง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


244

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ผู ้ ผ ลิ ต และลู ก ค้ า และช่ ว ยในเรื่ อ งการลดมลพิ ษ ต่ อ สิง่ แวดล้อมภายนอกองค์การ ดังนัน้ จึงต้องให้ความส�ำคัญ เรือ่ งของการจัดการคลังสินค้าตามล�ำดับเวลาในการจัดส่ง เพื่อความสะดวกในการค้นหา โดยการรับค�ำสั่งซื้อจาก ลูกค้าจ�ำเป็นต้องมีการสื่อสารที่ชัดเจน มีการวางแผน ร่วมกันกับลูกค้าเพือ่ ให้ดำ� เนินการส่งมอบตรงตามความ ต้องการ ทั้งในด้านของการบรรจุหีบห่อให้เหมาะกับ การขนย้ายและใช้งาน รวมถึงการขนส่งสินค้าให้คุ้มค่า ในค่าใช้จา่ ยด้านเชือ้ เพลิง ด้านจ�ำนวนในการจัดการขนส่ง เพื่อสร้างความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากและคุ้มค่า มากที่สุด ประการที่ 5 การส่งคืน (Return) กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการรับและการส่งคืน สินค้า เนือ่ งจากสินค้าไม่ได้คณ ุ ภาพแก่ผผู้ ลิตและการจัดส่ง สินค้ามากเกินจากรายการที่สั่งซื้อ โดยจะแบ่งออกเป็น สองส่วนคือ การจัดส่งวัตถุดิบคืนให้กับผู้ขายวัตถุดิบ และการจัดส่งคืนจากลูกค้าคืนให้แก่องค์การ มีขอบเขต ครอบคลุมถึงการรับผลิตภัณฑ์คืนจากลูกค้าผลิตภัณฑ์ ที่มีต�ำหนิ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นวัสดุสิ้นเปลือง โดยขั้นตอน การส่งคืนผลิตภัณฑ์ทงั้ หมดเป็นการเริม่ ต้นเข้าสูก่ ารสร้าง ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมเป็นการเข้าสูก่ ระบวนการผลิตซ�ำ้ เพื่อซ่อม การจัดส่งซ�้ำจากการซ่อมสินค้า เมื่อสินค้าที่ จัดส่งลูกค้าได้ตรวจสอบแล้วไม่ได้คณ ุ ภาพตามทีต่ กลงกัน ในอุตสาหกรรมฟอกย้อมมีความเป็นไปได้สงู มากในการ ผิดเพี้ยนเรื่องของคุณภาพของสีผ้าส�ำเร็จที่ย้อมออกมา อาจมี เ ฉดสี ที่ ไ ม่ ต รงตามมาตรฐานที่ ลู ก ค้ า ก� ำ หนด ในกระบวนการส่งคืนจึงต้องมีการค�ำนึงถึงองค์ประกอบ ดังนี้ - การสือ่ สารในกระบวนการส่งคืนวัตถุดบิ และสินค้า ส�ำเร็จรูปในอุตสาหกรรมฟอกย้อมผ้าย้อมสีส�ำเร็จคือ สินค้าที่ถูกส่งคืน เนื่องมาจากคุณภาพในการสื่อสาร เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันในเรื่องของคุณภาพของ สีผ้า คุณภาพทางกายภาพของผ้า มาตรฐานในการวัด

เปรียบเทียบต้องมีเครื่องมือในการยืนยันคุณภาพ โดย พนักงานทีท่ �ำหน้าทีใ่ นการรับคืนนีต้ อ้ งได้ขอ้ มูลข่าวสาร ในการรับคืนล่วงหน้าเพือ่ การวางแผนพืน้ ทีใ่ นการจัดการ รถขนส่งอย่างชัดเจน เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ย ลดพลังงานในการ ขนส่ง ลดเอกสารในการรับคืน เป็นผลต่อสิ่งแวดล้อมที่ สามารถช่วยลดผลกระทบได้ - การขนส่งวัตถุดิบคืน หรือบรรจุภัณฑ์คืนผู้ขาย โดยการด�ำเนินการต้องมีการรวบรวมอย่างเป็นระบบ แจ้งผู้ขายที่มีประสงค์ในการรับคืนเพื่อวางแผนจัดการ รับคืนวัสดุตา่ งๆ มีการป้องกันการฟุง้ กระจายของสารเคมี ต่างๆ เพื่อเป็นการลดผลกระทบทางอากาศที่เกิดขึ้นใน องค์การ ในกรณีนี้ต้องมีนโยบายที่ชัดเจนระหว่างผู้ขาย และองค์การ เพื่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน มีการระบุ เงื่อนไขไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน เป็นการร่วมมือกันเพือ่ สร้างความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ในการลดปริมาณขยะ ลดค่าใช้จ่ายอีกทางหนึ่ง การส่งคืนเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้ ทั้งในด้าน การส่งคืนวัตถุดิบให้กับผู้ขายวัตถุดิบและการส่งคืน สินค้าส�ำเร็จรูปจากลูกค้า ในกรณีที่สินค้าไม่ตรงตาม ความต้องการในด้านของสีและคุณภาพ ซึง่ เป็นกระบวนการ ทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดมูลค่า ส่งผลให้เกิดค่าใช้จา่ ยด้านการขนส่ง รวมถึงเป็นกิจกรรมทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมในด้าน มลพิษ ดังนัน้ เพือ่ ให้การท�ำงานร่วมกันมีทศิ ทางทีเ่ หมาะสม ถูกต้อง รวมถึงลดโอกาสการเกิดปัญหาในการท�ำงาน ร่วมกัน การส่งคืนจึงมีความจ�ำเป็นต้องมีการสื่อสาร ประสานงานอย่างชัดเจนตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการ

บทสรุป

จากการวิเคราะห์เพือ่ ประยุกต์ใช้แบบจ�ำลองอ้างอิง การด�ำเนินงานห่วงโซ่อปุ ทานทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้นสามารถ สรุปเป็นรูปแบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมฟอกย้อม ดังภาพที่ 1 โดยมุ่งเน้นความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในกระบวนการ โดยเริ่มจาก

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ภาพที่ 1 รูปแบบการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่มา: ผู้เขียน - ด้านนโยบายขององค์การเพือ่ สร้างความเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมต้องมีความชัดเจน การสื่อสารต้องสร้าง ความเข้าใจให้ทั่วถึงทั้งองค์การเพื่อก�ำหนดเป็นกลยุทธ์ ในการปฏิบัติงานขององค์การ - ด้ า นการวางแผนในการด� ำ เนิ น อุ ต สาหกรรม ฟอกย้อมต้องมีการวิเคราะห์ภาพรวมทั้งองค์การเพื่อ ด�ำเนินการวางแผนให้เหมาะสม โดยตระหนักถึงความ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมทุกขั้นตอน - ด้านการจัดหาวัตถุดบิ ต้องพิจารณาความเหมาะสม กับกระบวนการผลิตทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดยค�ำนึง ถึงคุณภาพวัตถุดิบ การจัดการคลังวัตถุดิบให้สอดคล้อง กั บ แผนการผลิ ต มี ก ารสื่ อ สารภายในด้ ว ยระบบ สารสนเทศเพื่อช่วยส่งเสริมการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการลดปริมาณการใช้กระดาษในกระบวนการผลิต ซึ่งยังคงไว้ด้วยคุณภาพกระบวนการจัดซื้อ

245

- ด้านการจัดการการผลิตโดยค�ำนึงถึงคุณค่าของ ทรัพยากรด้วยกระบวนการผลิตทีเ่ กิดการสูญเสียน้อยทีส่ ดุ เพือ่ สามารถน�ำวัตถุดบิ กลับมาใช้ซำ�้ ได้ เป็นการลดการใช้ ทรัพยากรตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการผลิต - ด้านการส่งมอบสินค้าทีค่ มุ้ ค่าค�ำนึงถึงความประหยัด เชื้อเพลิง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งผลต่อการลดมลพิษ กับสิง่ แวดล้อมโดยรวม พร้อมทัง้ สร้างความเข้าใจร่วมกับ ลูกค้าเป็นไปในทิศทางเดียวกัน - ด้ า นการส่ ง คื น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากลู ก ค้ า ในกรณี ที่ คุณภาพผลิตภัณฑ์ไม่ตรงตามความต้องการของลูกค้า องค์การจึงต้องมีระบบการรับข้อมูลย้อนกลับของลูกค้า โดยกระบวนการจัดส่งคืนผลิตภัณฑ์ เพือ่ ทบทวนนโยบาย การปรับปรุงวางแผนตลอดทัง้ กระบวนการเป็นการสร้าง ความมั่นใจในการลดความผิดพลาดของผลิตภัณฑ์ให้ น้อยที่สุด เป็นกระบวนการและขั้นตอนในการสร้าง ความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมของอุตสาหกรรมอย่างยัง่ ยืน เมื่อเปรียบเทียบกับผลการวิจัยเรื่อง การประยุกต์ แบบจ�ำลองโซ่อุปทานเพื่อการประเมินสมรรถนะของ โซ่อปุ ทานในอุตสาหกรรมเม็ดพลาสติกรีไซเคิล: กรณีศกึ ษา โรงงานผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิล (Chantanaroj, 2010) จากงานวิจัยดังกล่าวพบว่า หลังจากการปรับปรุงโดย การเพิ่มกระบวนการท�ำงานตามแบบจ�ำลองการจัดการ โซ่ อุ ป ทานเพื่ อ ประเมิ น สมรรถนะของโซ่ อุ ป ทานใน อุตสาหกรรมเม็ดพลาสติกรีไซเคิล ปริมาณของเสียลดลง จาก 14.07% เหลือ 6.62% ของปริมาณการผลิตรวม แสดงให้เห็นถึงความมีประสิทธิภาพของตัวแบบจ�ำลอง โซ่อปุ ทาน ในการน�ำมาปรับใช้ในอุตสาหกรรมฟอกย้อม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน ท�ำให้ของเสียน้อยลง ลดการท�ำงานซ�้ำ ส่งผลระยะยาวต่ออุตสาหกรรม สร้าง ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


246

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

References

Boonit, S. (2015). An Excellent Supply Chain Management. Bangkok: Faculty of Commerce and Accountancy, Thammasat University. [in Thai] Chantanaroj, S. (2010). The SCOR Model Application for Performance Evaluation of Plastic recycles manufacturing: Case study of the plastic recycles manufacturing. University of the Thai Chamber of Commerce Journal, 30(4), 59-76. [in Thai] Chatanawin, A. (2015). Direction of the 12th National Economic and Social Development Plan. Retrieved October 8, 2016, from http://www.thaitextile.org/index.php/blog/2015/12/thti28 [in Thai] Department of Drainage and Sewerage. (2005). Best Practices of Pollution Prevention and Reduction for the Dyeing Industry. Bangkok: Pollution Control Department. [in Thai] Department of Industrial Works. (2009). Pollution problems from the textile industry. Retrieved December 11, 2016, from http://www.thaiwasteexchange.net/detail_knowledge.php?kid=37 [in Thai] Department of Industrial Works. (2009). The impact of the textile industry on the environment. Retrieved December 11, 2016, from http://thaiwasteexchange.net/detail_knowledge. php?kid=36 [in Thai] Department of Primary Industries and Mines. (2015). Green supply Chain Logistics Management: Change and Innovation in Future Business. Bangkok: Charansanitwong Printing. [in Thai] Gilbert, S. (2001). Greening supply chain: enhancing competitiveness through green productivity. Taiwan: International Green Productivity Association. Gromjit, P. (2014). Productivity Improvement: Principle and Practice. Bangkok: Se-Education. [in Thai] Handfield, R. B. & Nichols, E. L. (1999). Introduction to supply chain management. NJ: Prentice-Hall. Husby, P. (2007). Know the SCOR. Material Handling Management, 62(6), 16-18. Industrial Waste Management Bureau. (2012). 3Rs Guide to Waste Management in a Plant. Bangkok: Department of Industrial Works. [in Thai] Loasomboon, P. (2016). Clever use of smart labels with carbon-conscious world. Bangkok: Thailand Greenhouse gas Management Organization (Public Organization). [in Thai] Mentzer, J. T., Dewitt, W., Keebler, J. S. Min, S. Nix, N. W., Smith, C. D. & Zacharia, Z. G. (2001). Defining Supply Chain Management. Journal of Business Logistics, 22(2), 1-25. Pasatika, S. (1999). Techniques to reduce pollution from the source. Factory Journal, 17(3), 33-41. [in Thai] Phoorung, S. (2016). Cost Management to Export Performance of the Apparel Business in Bangkok. The 1st National Conference on Informatics, Agriculture, Management, Business administration, Engineering, Sciences and Technology, May 19-21, 2016, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabakg, Prince of Chumphon. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

247

Seeboonreang, A. (2016). The development of the textile and apparel industry in the form of a cluster. Thai Textile and Fashion Outlook, 18, 6-7. [in Thai] Simchi-Levi, D., Kaminsky, P. & Simchi-Levi, E. (2000). Designing and Managing The Supply Chain. New York: McGraw-Hill Press. Srivastava, S. K. (2007). Green supply-chain management: a State-of-the-art literature review. International Journal of Management Reviews, 9(1), 53-80. Thailand Textile Institute. (2000). Cleaner Technology. Retrieved September 15, 2016, from http:// www.thaitextile.org/index.php/blog/2016/06/Ebook_0206201601 [in Thai] Tragoolhirunphadung, W. (2014). Health Check on Thai Textile and Garment Industry. For Quality, 21(202), 16-18. [in Thai] Zsidisin, G. A. & Siferd, S. P. (2001). Environmental purchasing: a framework for theory development. European Journal of Purchasing & Supply Management, 7(1), 61-73.

Name and Surname: Saiphin Panthong Highest Education: Master of Business Administration, Siam University University or Agency: Thonburi University Field of Expertise: Strategic Management, Innovative Entrepreneurship, Change Management Address: 161/5 Nirasiri, Nongkhem, Bangkok 10160 Name and Surname: Chaiyanant Panyasiri Highest Education: Ph.D. (Development Administration), National Institute of Development Administration University or Agency: Siam University Field of Expertise: Management, Organizational Behavior, International Relations Address: 71 Vipavadi Rd., Chatuchak, Bangkok 10900

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


248

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

การบัญชีสังคมและความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีต่อความยั่งยืน ของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย SOCIAL ACCOUNTING AND CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY ON THE SUSTAINABILITY OF LISTED COMPANIES IN THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND ชื่นกมล สินบางหว้า Chuenkamol Sinbangwa คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม School of Accountancy, Sripatum University

บทคัดย่อ

การบัญชีสังคมและความรับผิดชอบของบริษัทต่อสังคมเป็นแนวคิดในการน�ำเสนอข้อมูลทางบัญชีในการ ด�ำเนินธุรกิจ โดยทีผ่ ปู้ ระกอบการนัน้ ให้ความส�ำคัญเกีย่ วกับจิตส�ำนึกด้านความรับผิดชอบต่อสังคม สิง่ แวดล้อม และมี จรรยาบรรณในการด�ำเนินงาน โดยสามารถถ่ายทอดออกมาเป็นภาพลักษณ์ทดี่ ขี องบริษทั เพือ่ ตอบสนองความคาดหวัง ของสังคมส่วนรวมและค�ำนึงถึงผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสียกับบริษัทด้วย ในด้านความส�ำคัญของความรับผิดชอบต่อ สังคมนัน้ นับวันจะยิง่ มีความส�ำคัญต่อบริษทั โดยเฉพาะอย่างยิง่ บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพราะบริษัทเหล่านั้นเป็นบริษัทที่ต้องการการเป็นที่ยอมรับเป็นอย่างมาก เนื่องจากข้อมูลการด�ำเนินธุรกิจและข้อมูล ทางบัญชีของบริษทั นัน้ มีผลต่อการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจและสังคม ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจึงได้ก� ำหนดให้ บริษทั ดังกล่าวจะต้องเปิดเผยข้อมูลด้านสังคมและสิง่ แวดล้อมในรายงานประจ�ำปีของบริษทั โดยการจัดท�ำและน�ำเสนอ ข้อมูลการบัญชีสังคมและความรับผิดชอบของบริษัทต่อสังคมอย่างถูกต้องและเหมาะสมเพื่อสร้างความศรัทธาจาก สังคม ท�ำให้สามารถด�ำเนินธุรกิจต่อไปได้อย่างยั่งยืน ค�ำส�ำคัญ: การบัญชีสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคม ความยั่งยืนขององค์กร

Corresponding Author E-mail: chuenkamolc@hotmail.com


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

249

Abstract

Social accounting and corporate social responsibility are accounting concepts to present accounting information in performing business then convey as an image to the society, considering accounting information which affects the society and stakeholders both directly and indirectly. Entrepreneurs in every kind of business need to pay attention in raising an awareness of social responsibility to respond to the expectation of the whole society, especially the companies registered in the Stock Exchange of Thailand that highly require acceptance since these companies are expected by the society to operate business with sense and ethics. Since accounting information of the companies registered in the Stock Exchange of Thailand affects economic and social decision-making, the Stock Exchange of Thailand requires these companies to disclose social and environmental information in annual report of the company to build up faith among the society. By preparing and presenting social account and corporate social responsibility correctly and properly, the company will be able to continue operating business with sustainability. Keywords: Social Accounting, Social Responsibility, Organizational Sustainability

บทน�ำ

การบัญชีสังคมและความรับผิดชอบของบริษัทต่อ สังคม หรือเรียกว่า การบัญชีความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility Accounting) เป็นแนวคิด ทางการบัญชีรูปแบบใหม่ ซึ่งได้รับการกล่าวถึงอย่าง กว้างขวางและได้มกี ารพัฒนาขึน้ จนกลายเป็นส่วนทีส่ ำ� คัญ ส่วนหนึ่งของการด�ำเนินงานของธุรกิจ สาเหตุมาจาก ความเชือ่ แบบเก่าๆ ทีเ่ ชือ่ ว่าผลการด�ำเนินงานทีเ่ ป็นก�ำไร เพียงอย่างเดียว หรือการลดต้นทุนและการสร้างรายได้ เพิ่มจะสามารถตอบแทนผู้ถือหุ้นและจะท�ำให้สามารถ ด�ำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนนั้นไม่สามารถใช้ได้กับธุรกิจ ในยุคนี้อีกต่อไป เพราะผู้บริโภคในยุคปัจจุบันนั้นได้ให้ ความส�ำคัญกับสิง่ แวดล้อม องค์กรหรือธุรกิจใดทีม่ หี รือผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อมจะเป็นที่ยอมรับและ ได้รบั การสนับสนุนจากผูบ้ ริโภค เนือ่ งจากความสัมพันธ์ อันดีตอ่ กัน จนก่อให้เกิดความเชือ่ ใจระหว่างผูบ้ ริโภคและ ธุรกิจ ฉะนั้นปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุดในการสร้างความยั่งยืน ในการด�ำเนินธุรกิจคือ การด�ำเนินธุรกิจให้ได้รบั การยอมรับ จากสังคม ซึง่ การจะด�ำเนินธุรกิจให้ได้รบั การยอมรับจาก

สังคมนัน้ จะต้องด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงความรับผิดชอบ และให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งกับการตอบสนองต่อความ คาดหวังของสังคมส่วนรวมและผู้มีส่วนได้เสียต่อธุรกิจ อย่างจริงใจ (Putta, Sudsomboon & Zumitzavan, 2013) จากการทีก่ ระแสสังคมเรือ่ งความรับผิดชอบในการ ด�ำเนินธุรกิจนัน้ รุนแรงมากขึน้ เรือ่ ยๆ สิง่ ทีผ่ ปู้ ระกอบการ จะต้องท�ำเพื่อความยั่งยืนขององค์กรคือ การให้ความ ส�ำคัญกับการด�ำเนินธุรกิจทีใ่ ส่ใจสิง่ แวดล้อมอย่างจริงจัง และจริงใจ (Sustainable Business Development Institute, 2013) โดยการน�ำแนวคิดความรับผิดชอบ ต่อสังคมมาประยุกต์ในการด�ำเนินธุรกิจเพื่อให้สามารถ ตอบสนองต่อความคาดหวังของสังคมได้อย่างแท้จริง ถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของการน�ำเสนอข้อมูลการบัญชี ที่มีผลกระทบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้เสียกับธุรกิจทั้ง ทางตรงและทางอ้อม ไม่ใช่การน�ำเสนอเพียงผลประโยชน์ หรือก�ำไรที่เป็นตัวเงินเพียงอย่างเดียวเท่านั้นอีกต่อไป (Rojanasukan & Srijunpetch, 2004) โดยข้อมูลบัญชี สังคมมีคณ ุ ลักษณะพิเศษคือ การสะท้อนถึงมูลค่าทีแ่ ท้จริง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


250

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ของการด�ำเนินธุรกิจในเชิงคุณภาพ ค�ำนึงถึงทัง้ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมไปพร้อมๆ กัน ซึง่ สามารถถ่ายทอด เป็นภาพลักษณ์ขององค์กรต่อสังคมและผู้มีส่วนได้เสีย ในการด�ำเนินธุรกิจอย่างมืออาชีพ โดยทีข่ อ้ มูลการบัญชี สังคมนั้นเป็นข้อมูลที่ธุรกิจสมัครใจให้แก่สังคมและผู้มี ส่วนได้เสียกับธุรกิจเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะ บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นธุรกิจที่ต้องการการเป็นที่ยอมรับของสังคมเป็น อย่างมาก จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยจึงได้กำ� หนดให้ผดู้ แู ลกิจการของบริษทั ต้อง ท�ำรายงานและต้องเปิดเผยข้อมูลด้านสังคมและสิง่ แวดล้อม ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั การเปิดเผยข้อมูลในรายงาน ประจ�ำปีนั้นต้องจัดท�ำอย่างถูกต้องและเหมาะสม (The Stock Exchange of Thailand, 2016) เพราะเป็น สิง่ ทีจ่ ำ� เป็นและมีความส�ำคัญต่อผูใ้ ช้งบการเงินในการน�ำ ไปใช้ในการตัดสินใจ (Sincharoonsak, 2011) โดยการ เปิดเผยข้อมูลนั้นเริ่มในปี พ.ศ. 2550

ความหมาย แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

ความหมายของความรับผิดชอบต่อสังคม สมาคมนักบัญชีของประเทศอังกฤษได้ให้ความหมาย ของการบัญชีความรับผิดชอบต่อสังคมไว้ว่า “เป็นการ บัญชีทแี่ สดงถึงต้นทุนและผลประโยชน์จากการด�ำเนินงาน ขององค์กรต่อชุมชน โดยข้อมูลนัน้ จะเกีย่ วกับผลประโยชน์ ทางการเงินหรือไม่เกี่ยวกับการเงินก็ได้” (Accounting Standards Steering Committee, 1975) สถาบั น ธุ ร กิ จ เพื่ อ สั ง คม ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยให้ความหมายว่า ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง การประกอบกิจการด้วยความดูแลใส่ใจต่อผู้มี ส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างมี คุณธรรม จริยธรรม และมีจรรยาบรรณ ตลอดจนมี ธรรมาภิบาลซึ่งเป็นเครื่องก�ำกับให้การด�ำเนินกิจกรรม ต่างๆ เป็นไปด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส และ ยุตธิ รรม มีความตระหนักถึงผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกิจ

สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยพร้อมจะแก้ไขเพื่อลดผล กระทบดังกล่าว (Corporate Social Responsibility Institute: CSRI, 2012) ศูนย์พฒ ั นาความรับผิดชอบต่อสังคมได้ให้ความหมาย ว่า ธุรกิจเพื่อสังคม หมายถึง การที่ธุรกิจตระหนักและ ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมควบคูไ่ ปกับการสร้างผลตอบแทน ที่ดีในทางเศรษฐกิจเพื่อน�ำไปสู่เป้าหมายที่ส�ำคัญคือ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ซึง่ สะท้อนให้เห็นถึงบทบาททีส่ ำ� คัญ ของธุรกิจว่า นอกจากจะสร้างสรรค์การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจแล้ว ยังสามารถเกือ้ หนุนสังคมและสิง่ แวดล้อม ให้พฒ ั นาและเติบโตควบคูก่ นั อย่างสมดุลไปพร้อมๆ กัน ด้วย (Social Responsibility Center, 2014) แนวคิดเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมและการบัญชี สังคมของธุรกิจ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมของธุ ร กิ จ แต่ เ ดิ ม นั้ น ในประเทศไทย องค์กรส่วนมากให้ความส�ำคัญกับการ ด�ำเนินการในด้านกิจกรรม เช่น การบริจาค องค์กรจึงมุง่ เป้าหมายความรับผิดชอบต่อสังคมไปในด้านการตอบแทน ท�ำความดีให้สังคมด้วยการให้หรือบริจาค (Office of the Public Sector Development Commission: OPDC, 2009) แต่แท้จริงแล้วความรับผิดชอบต่อสังคม ของธุรกิจคือ การไม่ทำ� สิง่ ทีเ่ ป็นผลเสียต่อสังคมทัง้ ทางตรง และทางอ้อม แต่เป็นการค�ำนึงถึงสังคมส่วนรวมเพือ่ สร้าง ความยัง่ ยืนในการด�ำเนินงานภายใต้หลักการด�ำเนินงาน ที่ดีมีจริยธรรม (Julsawat, 2015) ความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษทั นัน้ สามารถแบ่ง ได้เป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 ข้อก�ำหนดตามกฎหมาย คือ การปฏิบัติ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินธุรกิจ ระดับที่ 2 ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ คือ การที่ธุรกิจ ค�ำนึงถึงผลก�ำไร และความอยู่รอดทางกิจการและสร้าง ผลตอบแทนให้ผถู้ อื หุน้ โดยไม่ได้เบียดเบียนสิง่ แวดล้อม และสังคม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ระดับที่ 3 จรรยาบรรณทางธุรกิจ คือ การที่ธุรกิจ สร้างผลประโยชน์ตอบแทนกับผู้ถือหุ้น และใส่ใจที่จะ สร้างประโยชน์ตอบแทนสังคม ระดับที่ 4 ความสมัครใจ คือ การที่ธุรกิจปฏิบัติ ความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยความเต็มใจ ไม่ได้มีการ เรียกร้องจากสังคม (Rawinit, 2006) โดยความส� ำ คั ญ ของความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ของธุรกิจได้ถูกน�ำมาพัฒนาขึ้นเป็นการบัญชีตามความ รับผิดชอบต่อสังคม (The Revenue Department, 2012) ซึง่ การบัญชีสงั คม คือ การบัญชีทที่ ำ� การเปิดเผย ข้อมูลเกีย่ วกับต้นทุนจากการทีอ่ งค์กรได้สร้างประโยชน์ ให้กับชุมชน สังคม ทั้งที่เป็นข้อมูลด้านการเงินและ ข้อมูลทีไ่ ม่เกีย่ วกับการเงิน เป็นการบัญชีสมัยใหม่ทชี่ ว่ ย ในการวางแผน วิเคราะห์ และตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ของผู้มีส่วนได้เสียกับกิจการ (Thaweechan, 2013) ซึ่งสามารถแบ่งประเภทตามกิจกรรมได้ทั้งหมดดังนี้ 1. การบัญชีตามความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นการ เปิดเผยข้อมูลทั้งในทางการเงินและที่ไม่ใช่ทางการเงิน หรือเรียกกันว่า ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ ทีเ่ กีย่ วกับกิจกรรมทางธุรกิจ ประกอบด้วยรายงานเกีย่ วกับ พนักงาน การบัญชี ทรัพยากรมนุษย์ และรายงานเกีย่ วกับ ความเสมอภาคทางสังคมของการบัญชีและอุตสาหกรรม ซึ่งนอกจากนี้การบัญชีตามความรับผิดชอบต่อสังคม ยังเป็นทีร่ จู้ กั กันในอีกชือ่ ว่า การเปิดเผยความรับผิดชอบ เกีย่ วกับสังคมและการรายงานของกิจการทีเ่ กีย่ วกับสังคม 2. การบัญชีผลกระทบโดยรวมเกีย่ วข้องกับผลกระทบ ขององค์กรทีม่ ตี อ่ สิง่ แวดล้อม ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ มานัน้ จ�ำเป็นต้องมีการวัดต้นทุนเอกชนและต้นทุนสาธารณะ เพราะพืน้ ฐานของการท�ำบัญชีดา้ นผลกระทบโดยรวมนัน้ ถูกกล่าวถึงบ่อยครัง้ ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลประโยชน์ หรือในการบัญชีสังคมโดยครอบคลุมเนื้อหาสาระของ การบัญชีส�ำหรับการบัญชีที่ยั่งยืน 3. การบัญชีเศรษฐศาสตร์สังคมเป็นขั้นตอนของ การประเมินมูลค่าของกิจกรรมเงินทุนสาธารณะโดยการวัด มูลค่าใช้ทงั้ การวัดทางการเงินและการวัดทีไ่ ม่ใช่การเงิน

251

ซึ่งกิจกรรมทั้งหมดจะประเมินค่าจากความคิดเห็นที่ท�ำ โดยพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบเกี่ยวกับมูลค่าของ รายจ่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับผลลัพธ์ทไี่ ด้มา โดยให้ความส�ำคัญ กับหน้าที่ในการตรวจสอบความคุ้มค่าของเงินและการ ตรวจสอบการด�ำเนินงานและการปฏิบัติงานด้วย 4. การบั ญ ชี ดั ช นี ท างสั ง คมเกี่ ย วข้ อ งกั บ การวั ด เหตุ ก ารณ์ ท างสั ง คมในระดั บ มหภาคเพื่ อ ก� ำ หนด วัตถุประสงค์และประเมินขอบเขตของสิ่งที่ได้มาเพิ่ม ในระยะยาว ผูก้ ำ� หนดนโยบายระดับชาติและผูม้ สี ว่ นร่วม อื่นๆ ในกระบวนการทางการเมืองระดับชาติและระดับ ภูมภิ าคจะให้ความสนใจผลลัพธ์ทไี่ ด้จากการวิเคราะห์นี้ 5. การบัญชีเกีย่ วกับชุมชนเป็นการน�ำเสนอรูปแบบ ทางการบัญชีทคี่ รบถ้วนเป็นรูปแบบการบัญชีทรี่ วมรูปแบบ อืน่ ๆ ทัง้ หมดเข้าไว้ในประเภทเดียวกัน ซึง่ มีการอภิปราย เกี่ยวกับการบัญชีสังคมว่าเป็นเพียงแนวคิดเนื่องจาก ยังไม่ได้นำ� ไปปฏิบตั แิ ละยิง่ ไปกว่านัน้ ไม่มคี วามเป็นไปได้ ที่จะประสบความส�ำเร็จ (Donsawai, 2004) แนวคิดเรื่องความยั่งยืนขององค์กร ศูนย์พฒ ั นาความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ความหมาย ของความยั่งยืนขององค์กรว่าหมายถึง การตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าในปัจจุบัน โดยไม่มีผลกระทบ ต่อความรูส้ กึ และความต้องการของลูกค้าในปัจจุบนั และ อนาคต โดยที่ธุรกิจนั้นสามารถใช้ความรับผิดชอบต่อ สังคมเพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนการสร้างความยั่งยืน ให้กับองค์กร นั่นจึงหมายถึง ความรับผิดชอบต่อสังคม ขององค์กรนัน้ มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชดิ กับความยัง่ ยืน ขององค์กร (Social Responsibility Center, 2014) และอีกนิยามหนึ่งจากรายงานที่เรียกว่า Brundtland Report ได้กล่าวถึง ความยั่งยืนขององค์กรว่า หมายถึง วิถกี ารพัฒนาทีธ่ รุ กิจสามารถตอบสนองความต้องการของ คนรุน่ ปัจจุบนั โดยไม่ลดิ รอนความสามารถในการตอบสนอง ความต้องการของคนรุ่นหลัง (Sustainable Business Development Institute, 2013) โดยการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนเป็นแนวคิดที่ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วตั้งแต่

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


252

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา แนวคิดในการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประกอบไปด้วย แนวคิดหลายแนวคิด ได้แก่ แนวคิดด้านเศรษฐกิจ แนวคิด ด้านสังคม และแนวคิดด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งแนวคิด ทัง้ หมดเป็นการพยายามอนุรกั ษ์ธรรมชาติทเี่ ป็นส่วนรวม หรือถ้ามีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องด�ำเนินธุรกิจทีม่ ผี ลกระทบ ต่อคุณภาพของสิ่งแวดล้อมก็จะต้องมีการเสริมสร้าง สิ่งแวดล้อมในที่อื่นๆ เป็นการชดเชยให้กับสิ่งแวดล้อม ที่ธุรกิจได้ท�ำลายไป เพื่อให้สิ่งแวดล้อมในภาพรวมหรือ มหภาคยังคงคุณภาพได้อย่างเดิม ซึ่งทั้งหมดนี้สะท้อน ให้เห็นถึงบทบาททีส่ ำ� คัญของธุรกิจว่าสามารถช่วยเหลือ เกื้อหนุน รวมถึงสร้างประโยชน์ให้สังคมส่วนรวมและ พัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เติบโตควบคู่กันไปอย่างสมดุลกับ การสร้างผลตอบแทนให้กับองค์กร ผู้มีส่วนได้เสีย และ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของธุรกิจ (Eua-arporn, 2015) ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจเป็นเรือ่ งในระดับ องค์กรที่มีส่วนสนับสนุนเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืน การด�ำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมนั้น สามารถท�ำให้ธุรกิจเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนจนท�ำให้ เกิดเป็นความยัง่ ยืนขององค์กรได้ โดยใช้แนวทาง แนวคิด หรือแนวปฏิบตั ทิ มี่ อี ยูห่ ลากหลายขององค์กรให้เหมาะสม และสอดคล้องกับแนวคิดของธุรกิจ ซึ่งมีปัจจัยในการ พิจารณาที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นลักษณะวัฒนธรรม องค์กร ค่านิยม ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ การน�ำ แนวคิดต่างๆ ทางธุรกิจเหล่านี้มาใช้ในการพัฒนาแก้ไข ปัญหาสังคมก่อให้เกิดเป็นคุณค่าเชิงเศรษฐกิจและสังคม ไปพร้อมกัน เพื่อน�ำไปสู่เป้าหมายที่ส�ำคัญและเป็นสิ่งที่ องค์กรต้องการมากทีส่ ดุ นัน่ ก็คอื ความยัง่ ยืนขององค์กร (Social Responsibility Center, 2014) แต่อย่างไรก็ดี ปัจจุบนั สังคมและสิง่ แวดล้อมมีความ คาดหวังในระดับทีส่ งู ขึน้ ตามกระแสความรับผิดชอบต่อ สังคมทีท่ วีความรุนแรงขึน้ ธุรกิจจึงอาจต้องให้ความส�ำคัญ และตอบสนองต่อความต้องการของผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างมี ความรับผิดชอบมากขึน้ ซึง่ บริษทั จะต้องมีแนวปฏิบตั ใิ ห้

ครอบคลุมประเด็นส�ำคัญ ได้แก่ บรรษัทภิบาล การประกอบ กิจการด้วยความเป็นธรรมซื่อสัตย์ มีความน่าเชื่อถือ เพือ่ รักษาชือ่ เสียงและภาพลักษณ์ของบริษทั การมีความ โปร่งใสด้านภาษี การต่อต้านการทุจริต การเคารพ สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม ความรับผิดชอบต่อลูกค้าต่อผู้บริโภค การพัฒนาชุมชน และสังคม และการจัดการและใส่ใจต่อสิง่ แวดล้อม เป็นต้น จากที่ได้กล่าวมา สิ่งส�ำคัญหรือกลไกส�ำคัญที่จะ น�ำธุรกิจไปสู่ความยั่งยืนขององค์กรจึงเป็นเรื่องของ การด�ำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมและ การบูรณาการเรือ่ งความรับผิดชอบต่อสังคมจนกลายเป็น ส่วนหนึ่งขององค์กร (Social Responsibility Center, 2014) แนวทางปฏิบัติในการเปิดเผยสารสนเทศ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยให้ความส�ำคัญ เกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ให้มี ความยุตธิ รรมและเป็นไปตามระเบียบ ตลาดหลักทรัพย์ จึงก�ำหนดให้กจิ การมีหน้าทีเ่ ปิดเผยสารสนเทศทีจ่ ำ� เป็น ต่อการตัดสินใจลงทุนในหลักทรัพย์ให้ประชาชนทราบ อย่างถูกต้อง เพียงพอ และทันเวลา และทุกคนได้รับ สารสนเทศอย่างเท่าเทียมกัน ซึง่ แนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับ การเปิดเผยสารสนเทศมี 6 ประการดังต่อไปนี้ 1. การเปิดเผยสารสนเทศต่างๆ ทีส่ ำ� คัญให้ประชาชน ทราบโดยทันทีเกีย่ วกับการด�ำเนินงานทีส่ ำ� คัญของกิจการ 2. การเผยแพร่สารสนเทศต่อประชาชนอย่างทัว่ ถึง โดยกิจการจะต้องเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศที่ส�ำคัญต่อ ประชาชนในลักษณะเพือ่ ให้มกี ารเผยแพร่ได้อย่างทัว่ ถึง เท่าที่ท�ำได้ 3. กรณีที่มีข่าวลือต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นจริงหรือไม่ เป็นจริงก็ตาม กิจการต้องชี้แจงเกี่ยวกับข่าวลือหรือ ข่าวสารนั้นโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะสามารถท�ำได้ 4. การด� ำ เนิ น การเมื่ อ มี ก ารซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ของกิจการจดทะเบียนผิดไปจากสภาพปกติของตลาด กิจการต้องแจ้งให้ทราบว่า กิจการไม่มกี จิ กรรมใดๆ ทีส่ ำ� คัญ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

เกีย่ วกับธุรกิจและการด�ำเนินงานของกิจการ นอกเหนือ จากที่ได้แจ้งให้ทราบแล้ว 5. การเปิดเผยในเชิงส่งเสริมที่ไม่มีเหตุอันสมควร กิจการต้องละเว้นการเปิดเผยสารสนเทศในลักษณะ เชิง ส่ง เสริม ที่เกิ นความจ� ำเป็นในการตัดสินใจลงทุน ในหลักทรัพย์ของกิจการ ซึ่งอาจท�ำให้ผู้ลงทุนหลงผิด และเป็นเหตุให้เกิดการเคลือ่ นไหวของราคาหรือปริมาณ การซือ้ ขายหลักทรัพย์ของกิจการโดยไม่มเี หตุผลสมควร 6. การซื้อขายหลักทรัพย์ของกิจการจดทะเบียน โดยใช้สารสนเทศภายใน บุคคลภายในต้องไม่ทำ� การซือ้ หรือขายหลักทรัพย์โดยใช้สารสนเทศที่ส�ำคัญที่ยังมิได้ เปิดเผยต่อประชาชน แม้ว่าภายหลังจากที่สารสนเทศ ทีส่ ำ� คัญได้เปิดเผยแล้วบุคคลภายในควรละเว้นจากการซือ้ หรือขายหลักทรัพย์ของกิจการระยะหนึง่ เพือ่ เปิดโอกาส ให้ผู้ลงทุนได้มีการประเมินสารสนเทศนั้น (The Stock Exchange of Thailand, 2016)

ทฤษฎีผู้มีส่วนได้เสีย

ทฤษฎีผู้มีส่วนได้เสียนี้เป็นทฤษฎีที่สนับสนุนให้ ธุรกิจนั้นด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงประโยชน์ของผู้มีส่วน ได้เสีย (Freeman, 1984) เป็นทฤษฎีเกีย่ วกับการสร้าง คุณค่าร่วมกันระหว่างผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทัง้ หมดของธุรกิจ หรือใครก็ตามที่ส่งผลกระทบและได้รับผลกระทบจาก ความส�ำเร็จขององค์กร (Vichayadhon & Pitpreecha, 2012) โดยค�ำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มของผู้มี ส่วนได้สว่ นเสียของธุรกิจ ค�ำนึงถึงความใกล้ชดิ กับองค์กร ผูม้ สี ว่ นได้เสียกับธุรกิจสามารถแบ่งได้เป็นสองระดับ คือ 1. ผูม้ สี ว่ นได้เสียปฐมภูมิ คือ ผูท้ มี่ สี ว่ นได้เสียโดยตรง กับธุรกิจ ได้แก่ เจ้าของเงินทุน ลูกค้า ผู้จัดหาวัตถุดิบ พนักงาน เป็นต้น 2. ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุตยิ ภูมิ คือ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทางอ้อม ได้แก่ คู่แข่ง รัฐบาล ผู้บริโภคที่สนับสนุนองค์กร กลุ่ม ผลประโยชน์พเิ ศษ และสือ่ ต่างๆ เป็นต้น (Kannasoot, 2010) ในการด�ำเนินธุรกิจ เมือ่ ผูบ้ ริหารมีความคิดเกีย่ วกับ

253

ธุรกิจทีบ่ ริหารอยูว่ า่ เป็นการสรรค์สร้างคุณค่าแก่ผมู้ สี ว่ น ได้เสียจะท�ำให้การด�ำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างมีคณ ุ ค่าและ มีแนวโน้มในทางที่ดี

การเปิดเผยข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ในรายงานประจ�ำปีของบริษัท

การเปิดเผยข้อมูลรายงานความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม หรืออาจเรียกได้อีกหลายๆ ชื่อ เช่น รายงานสิ่งแวดล้อม รายงานแห่งความยั่งยืน รายงาน การพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง การเปิดเผยข้อมูลที่เป็น ข้อมูลทางการเงินและไม่ใช่ขอ้ มูลทางการเงินให้กบั บุคคล หรือกลุ่มบุคคลเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ ซึง่ อาจท�ำได้ทงั้ เปิดเผยในรายงานประจ�ำปีหรืออาจเปิดเผย แยกต่างหากจากรายงานประจ�ำปีกไ็ ด้ ซึง่ มีหลายประเทศ ที่ เ ริ่ ม ต้ น ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การรายงานข้ อ มู ล บั ญ ชี สิ่งแวดล้อม และองค์การสหประชาชาติได้เสนอให้มี การรายงานการเงิ น เกี่ ย วกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มในรายงาน คณะกรรมการว่า สิ่งที่ควรเปิดเผยนั้น ได้แก่ นโยบาย ด้านสิ่งแวดล้อม การปรับปรุงนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม การตอบสนองข้อก�ำหนดของรัฐบาล การปล่อยของเสีย สูส่ งิ่ แวดล้อม ปัญหาด้านสิง่ แวดล้อมและปัญหากฎหมาย สิง่ แวดล้อม ผลกระทบของมาตรการคุม้ ครองสิง่ แวดล้อม ที่เกี่ยวกับกิจการ ซึ่งในต่างประเทศก็มีหลายประเทศ ทีไ่ ด้ให้ความส�ำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลบัญชีสงิ่ แวดล้อม เช่น แคนาดา สวีเดน เยอรมนี สหรัฐอเมริกา นอร์เวย์ ในประเทศนอร์เวย์นั้นได้ก�ำหนดให้ธุรกิจต้องรายงาน เกี่ยวกับการปนเปื้อนของสารต่างๆ ในรายงานคณะ กรรมการบริษทั ในสหรัฐอเมริกาและแคนาดาได้กำ� หนดให้ กิจการจะต้องเปิดเผยการปฏิบตั ติ ามกฎหมายสิง่ แวดล้อม ที่มีสาระส�ำคัญเกี่ยวกับด้านการลงทุน รายจ่าย และ ประมาณการต้นทุนที่จะเกิดขึ้นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ในอนาคตด้วย ในประเทศไทยได้เริม่ มีการเปิดเผยในช่วงวิกฤตการณ์ ต้มย�ำกุง้ ปี 2540 ซึง่ สามารถรายงานผ่านหลายช่องทาง แต่ในทางปฏิบัติ บริษัทต่างๆ มักรายงานไว้ในรายงาน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


254

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ประจ�ำปี ซึง่ การเปิดเผยข้อมูลการบัญชีความรับผิดชอบ ต่อสังคมพิจารณาจากผูม้ สี ว่ นได้เสีย ซึง่ ได้แก่ กลุม่ ชุมชน กลุ่มรัฐบาล กลุ่มพนักงาน กลุ่มลูกค้า และกลุ่มเจ้าของ เงินทุน จึงแบ่งการเปิดเผยออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ เพื่อ ชุมชน เพือ่ รัฐบาล เพือ่ พนักงาน เพือ่ ลูกค้า เพือ่ เจ้าของ เงินทุน (Gray, Owen & Adams, 1996)

ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

Putta, Sudsomboon & Zumitzavan (2013) ศึกษาผลกระทบของความรับผิดชอบต่อสังคมทางการบัญชี ทีม่ ตี อ่ ความยัง่ ยืนขององค์กรของธุรกิจการเงินในประเทศ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความรับผิดชอบต่อสังคมทางการบัญชี ด้าน ความรับผิดชอบมีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงลบกับ ความยั่งยืนขององค์กรโดยรวม 2) ความรับผิดชอบต่อสังคมทางการบัญชี ด้าน ความโปร่งใสมีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับ ความยั่งยืนขององค์กรโดยรวม 3) ความรับผิดชอบต่อสังคมทางการบัญชี ด้าน การเคารพต่อแนวปฏิบัติสากลมีความสัมพันธ์และมีผล กระทบเชิงบวกกับความยัง่ ยืนขององค์กรโดยรวมในด้าน ความน่าเชื่อถือขององค์กร ด้านภาพลักษณ์ขององค์กร ด้านความมั่นคงทางการเงิน และด้านความมีชื่อเสียง ขององค์กร และ 4) ความรับผิดชอบต่อสังคมทางการบัญชี ด้านการเคารพต่อสิทธิมนุษยชนมีความสัมพันธ์และ ผลกระทบเชิงบวกกับความยั่งยืนขององค์กรโดยรวม ด้านภาพลักษณ์ขององค์กร ด้านความมัน่ คงทางการเงิน และด้านความมีชื่อเสียงขององค์กร Sinbangwa (2016) ศึกษาเรือ่ ง การบัญชีสงั คมและ ความรับผิดชอบของบริษทั ต่อสังคมทีม่ ตี อ่ ความยัง่ ยืนของ บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จากการศึกษาพบว่า การบัญชีสงั คมและความรับผิดชอบ ต่อสังคมของบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยนั้น มีผลต่อความยั่งยืนของบริษัททั้งทาง

ด้านความน่าเชือ่ ถือ ด้านความมีชอื่ เสียง ด้านภาพลักษณ์ ด้านความส�ำเร็จ ด้านความมั่นคงทางการเงิน ด้านการ ยอมรับจากสังคม และด้านความสามารถในการแข่งขัน ทางธุรกิจ Tongkachok & Chaikeaw (2013) ศึกษาเรื่อง ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผลการ ศึกษาพบว่า ปัจจัยภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงเป็นปัจจัย ทีม่ อี ทิ ธิพลมากทีส่ ดุ ต่อการเกิดความรับผิดชอบต่อสังคม ของบริษัท ปัจจัยการก�ำกับดูแลกิจการเป็นปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการเกิดความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท ปัจจัยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียเป็นปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท Thaweechan (2013) ศึกษาเกีย่ วกับเรือ่ ง การบัญชี ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมต่อความส�ำเร็จ ขององค์กรอย่างยัง่ ยืน จากการศึกษาพบว่า องค์กรทีใ่ ห้ ความส�ำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับสภาพแวดล้อม สามารถสะท้อนจิตส�ำนึก ความรับผิดชอบที่มีต่อสภาพ แวดล้อมในสังคม ซึง่ เป็นปัจจัยส�ำคัญทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการ ด�ำรงอยู่อย่างยั่งยืนขององค์กรต่อไป Sarmento (2004) ศึกษาเรือ่ ง แนวทางการจัดการ ปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนของประเทศโปรตุเกส จากการศึกษาได้พบว่า กิจการขนาดใหญ่ที่ประกอบ กิจการในโปรตุเกส โดยเฉพาะกิจการด้านพลังงานต่างก็ ให้ความสนใจและให้ความส�ำคัญกับความรับผิดชอบของ กิจการในด้านสิง่ แวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม เนือ่ งจากมีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานทีย่ งั่ ยืนของกิจการ ดังนัน้ กิจการจึงต้องท�ำความเข้าใจกับสังคมเรือ่ งประเด็น สิ่งแวดล้อม เพื่อให้กิจการสามารถด�ำเนินธุรกิจไปได้ พร้อมกับความต้องการของสังคม Cormier, Magnan & Velthoven (2005) ศึกษา เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลสิ่งแวดล้อมในบริษัทขนาดใหญ่ ที่ประกอบกิจการอยู่ในประเทศเยอรมนี ผลการศึกษา พบว่า กิจการขนาดใหญ่ที่ประกอบกิจการในประเทศ เยอรมนีให้ความส�ำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลสิง่ แวดล้อม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

โดยสมัครใจ เนื่องจากมีแนวคิดว่าการด�ำเนินงานของ กิจการขนาดใหญ่มีผลกระทบต่อความต้องการของ ชุมชนในด้านสิง่ แวดล้อมเป็นอย่างมาก และชุมชนต่างก็ ให้ความสนใจในด้านสิ่งแวดล้อม Michelon, Pilonato & Ricceri (2015) ได้ศกึ ษา และส�ำรวจเกีย่ วกับการด�ำเนินงานด้านบัญชีสงั คมอย่างมี คุณภาพ ข้อมูลจากบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ พบว่า องค์กรที่น�ำการบัญชีเพื่อสังคมไปปฏิบัติด้วย ความจริงใจจะท�ำให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียมีความเชือ่ ถือต่อการ ด�ำเนินงานขององค์กรมากขึ้นและมีแนวโน้มในทางที่ดี Roberts & Wallace (2015) ศึกษาเรื่องเกี่ยวกับ การบัญชีสงั คมและการบัญชีสงิ่ แวดล้อมกับอุตสาหกรรม บริการทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ผลการวิจยั พบว่า กิจการที่น�ำบัญชีสังคมและบัญชีสิ่งแวดล้อมไปปฏิบัติ อย่างแท้จริงและมีความจริงใจจะท�ำให้กิจการสามารถ ด�ำเนินงานได้เป็นอย่างดี ได้รบั การยอมรับ ท�ำให้กจิ การ ด�ำเนินต่อไปได้อย่างยั่งยืน

สรุป

ข้อมูลเกีย่ วกับบัญชีในงบการเงินเป็นข้อมูลเพือ่ สรุป ผลการด�ำเนินงานของกิจการที่ช่วยให้ผู้ใช้งบการเงิน สามารถน�ำไปใช้ในการตัดสินใจ การเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับ บัญชีสงิ่ แวดล้อมหรือรายงานสิง่ แวดล้อมนัน้ ก็เป็นส่วนหนึง่ ของสรุปผลการด�ำเนินการที่ท�ำให้ผู้มีส่วนได้เสียเห็นว่า บริษัทให้ความส�ำคัญและใส่ใจสิ่งแวดล้อมอย่างไรบ้าง และเป็นวิวัฒนาการทางการบัญชีแขนงหนึ่งที่นักบัญชี ได้มีการพัฒนาขึ้นมาจากแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และจากผลการวิจัยตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นพบว่า ความส�ำเร็จทีย่ งั่ ยืนของธุรกิจไม่ได้เกิดจากการท�ำให้ธรุ กิจ ได้ก�ำไรสูงสุด เพราะก�ำไรสูงสุดเพียงอย่างเดียวท�ำได้ เพียงแค่ทำ� ให้ธรุ กิจประสบความส�ำเร็จในระยะสัน้ เท่านัน้ แต่ความส�ำเร็จทีย่ งั่ ยืนเป็นผลของความรับผิดชอบต่อสังคม ของธุรกิจทีไ่ ด้รบั การยอมรับจากสังคม ดังจะเห็นได้จาก บริษัทที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อมก็จะประสบความส�ำเร็จทาง ด้านการเงิน เช่น การลดการใช้วัตถุดิบหรือลดของเสีย

255

ระหว่างผลิต ซึ่งก่อให้เกิดการลดค่าใช้จ่ายและลดผล กระทบต่อสิง่ แวดล้อม หรือองค์กรทีด่ ำ� เนินกิจการโดยไม่ ใส่ใจสังคมและสิง่ แวดล้อมก็จะประสบปัญหาขัดแย้งกับ ประชาชน กลุ่มคนในสังคม และถูกต่อต้าน แต่องค์กร ที่ใส่ใจสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างเสมอต้นเสมอปลาย จนเกิดเป็นความสัมพันธ์ทดี่ กี บั กลุม่ คน เมือ่ ธุรกิจประสบ ภาวะวิกฤตจะได้รับโอกาสจากประชาชนและสังคม อยู่เสมอ เมื่อธุรกิจได้ท�ำกิจกรรมที่รับผิดชอบต่อสังคม มากขึน้ ก็กอ่ ให้เกิดเป็นความน่าเชือ่ ถือของบริษทั เพราะ จากการส�ำรวจการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อ สังคมของหลายๆ ประเทศได้พบว่า ความรับผิดชอบ ต่อสังคมนั้นถือเป็นสินทรัพย์ที่ส�ำคัญที่สุดของบริษัท เพราะเป็นสิ่งที่สร้างผลตอบแทนทางการเงินได้สูงกว่า ค่าเฉลี่ยในอุตสาหกรรมอย่างเห็นได้ชัด (Corporate Social Responsibility Institute: CSRI, 2012) ดังนัน้ การรายงานด้านการบัญชีตามความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมนัน้ เป็นความพยายามอย่างหนึง่ ของกิจการที่จะน�ำเสนอข้อมูลต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ซึ่งกลุ่มบุคคลเหล่านี้มีสิทธิที่จะรับรู้ข้อมูลของกิจการ ตามสมควร อันจะท�ำให้กลุม่ บุคคลเหล่านีส้ ามารถวางแผน วิเคราะห์ ตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเห็นภาพรวมของกิจการได้ชัดเจนมากขึ้น อีกทั้ง องค์กรยังสามารถแสดงความเป็นพลเมืองทีด่ ี ซึง่ หมายถึง การทีอ่ งค์กรมีบทบาทความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง ที่ดีของสังคม มีหน้าที่เช่นเดียวกับพลเมืองในการสร้าง ประโยชน์แก่ส่วนรวมด้วยการมีส่วนร่วมและพัฒนา สังคมทีต่ นเองอาศัยและประกอบกิจการอยู่ โดยยึดหลัก ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นพื้นฐานและยังสะท้อน จิตส�ำนึกความรับผิดชอบที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคม ซึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งในการแสดงความจริงใจ ความมีน�้ำใจ และความใส่ใจต่อชุมชนสังคม สร้างภาพลักษณ์ที่ดีของ องค์กร ซึง่ เป็นปัจจัยส�ำคัญทีม่ อี ทิ ธิพลทีท่ �ำให้กจิ การนัน้ ได้รับการยอมรับจากสังคม และส่งผลระยะยาว ท�ำให้ กิจการนัน้ สามารถประกอบธุรกิจได้อย่างยัง่ ยืนตลอดไป

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


256

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

References

Accounting Standards Steering Committee. (1975). The Corporate Report. London: ICAEW. Collier, J. & Esteban, R. (2007). Corporate social responsibility and employee commitment. Business Ethics: A European Review, 16(1), 19-33. Cormier, D., Magnan, M. & Velthoven, B. V. (2005). Environmental disclosure quality in large German company inventive public pressures or institutional condition? European Accounting Review, 14(1), 3-39. Corporate Social Responsibility Institute: CSRI. (2012). Guidelines for Social Responsibility. Retrieved March 25, 2016, from https://www.set.or.th/sustainable_dev/th/sr/publication/files/corporate_ social_responsibility.pdf [in Thai] Donsawai, S. (2004). Factor Impacting Disclosure of Human Resources, Products and Aspects of Social Responsibility Accounting of Raw Material and Industrial Goods Companies. Master’s Thesis, Faculty of Accountancy, Chulalongkorn University. [in Thai] Eua-arporn, V. (2015). Corporate Social Responsibility. Journal of Technology Promotion Association (Thailand-Japan), 19(222), 20-22. [in Thai] Freeman, R. E. (1984). Strategic Management: A Stakeholder Approach. Boston: Pitman. Gray, R., Owen, D. & Adams, C. (1996). Accounting & Accountability: Changes and Challenges in Corporate Social and Environmental Reporting. London: Prentice Hall. Julsawat, T. (2015). The Impact of Corporate Social Responsibility toward the Good Citizenship Behavior of Employee. Panyapiwat Journal, 7(3), 251-262. [in Thai] Kannasoot, A. (2010). CSR concept of “enlightened self interest” developed by James E. Grunig. Doctoral dissertation, Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University. [in Thai] Michelon, G., Pilonato, S. & Ricceri, F. (2015). CSR reporting practices and the quality of disclosure: An empirical analysis. Critical Perspectives on Accounting, 33, 59-78. Office of the Public Sector Development Commission: OPDC. (2009). Corporate Social Responsibility. Retrieved March 25, 2016, from http://www.opdc.go.th [in Thai] Putta, T., Sudsomboon, S. & Zumitzavan, V. (2013). Effects of Accounting Social Responsibility on Organizational Sustainability of Finance Businesses in Thailand. Journal of humanities and social sciences Mahasarakham University, 32(6), 63-69. [in Thai] Rawinit, W. (2006). The effects of concept of accounting social responsibility on images of Charoen Pokphand Group. Master’s Thesis, Faculty of Public Relations, Chulalongkorn University. [in Thai] Roberts, R. & Wallace, D. M. (2015). Sustaining diversity in social and environmental accounting research. Critical Perspectives on Accounting, 32, 78-87. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

257

Rojanasukan, W. & Srijunpetch, S. (2004). Social Responsibility Accounting. Journal of Business Administration, Faculty of Commerce and Accountancy, Thammasat University, 27(103), 1-13. [in Thai] Sarmento, D. D. (2004). Study of environmental sustainability: The case of Portuguese polluting industries. Energy, 12(5), 9. Sinbangwa, C. (2016). Social accounting and corporate social responsibility on the sustainability of listed companies in the Stock Exchange of Thailand. Master’s Thesis, School of Accountancy, Sripatum University. [in Thai] Sincharoonsak, T. (2011). The Earnings Quality in the financial statements. Sripatum Chonburi Journal, 8(2), 52-55. [in Thai] Social Responsibility Center. (2014). Sustainable Development. Retrieved March 17, 2016, from https://www.set.or.th/yfs/main/download/YFS_Reading04.pdf [in Thai] Sustainable Business Development Institute. (2013). CSR for Corporate Sustainability. Retrieved March 25, 2016, from https://www.set.or.th/yfs/2015/download/YFS2015_YFSCamp2015_ Reading08.pdf [in Thai] Thaweechan, S. (2013). Social Responsibility and Environmental Accounting: Corporate Sustainability Approach. Naresuan University Journal, 21(1), 136-141. [in Thai] The Revenue Department. (2012). Sanpakornsarn: Social Responsibility. Retrieved March 24, 2016, from http://www.sanpakornsarn.com/page_article_detail.php?aID=459 [in Thai] The Stock Exchange of Thailand. (2016). Disclosure and transparency. Retrieved March 17, 2016, from https://www.set.or.th/sustainable_dev/th/cg/disclosure_p1.html?printable=true [in Thai] The Stock Exchange of Thailand. (2016). Notification of The Stock Exchange of Thailand Re: Guidelines on Disclosure of Information of Listed Companies (Bor.Jor./Por.23-00). Retrieved March 23, 2016, from https://www.set.or.th/dat/content/rule/th/BorJorPor2300_TH.pdf [in Thai] Tongkachok, T. & Chaikeaw, A. (2013). The Factors Influencing Corporate Social Responsibility of Listed Companies in the Stock Exchange of Thailand. Journal of Management Sciences, 30(1), 27-44. [in Thai] Vichayadhon, T. & Pitpreecha, R. (2012). Corporate Social Responsibility Indicators for energy business in Thailand. Journal of Public Relations and Advertising, 5(1), 88-89. [in Thai]

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


258

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Name and Surname: Chuenkamol Sinbangwa Highest Education: Master’s Degree, Sripatum University University or Agency: Sripatum University Field of Expertise: Accounting Address: 98/259 Rama 9 Rd., Huaykwang, Bangkok 10310

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)




Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

261

การประกอบธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อรองรับ Prosumer 4.0 SMALL BUSINESS HOTELS IN THE DIGITAL ECONOMY AGE TO PROSUMER 4.0 ณตา ทับทิมจรูญ Nata Tubtimcharoon คณะวิทยาการจัดการ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ Faculty of Management Sciences, Panyapiwat Institute of Management

บทคัดย่อ

จากภาวะการแข่งขันด้านการประกอบธุรกิจโรงแรมรุนแรงมากยิง่ ขึน้ ในยุคเศรษฐกิจดิจทิ ลั (Digital Economy) ที่ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กของไทยต้องเตรียมความพร้อมโดยน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาเพิ่มมูลค่าสินค้า หรือบริการ และยกระดับความสามารถการแข่งขันด้วยการพัฒนากลยุทธ์และการด�ำเนินกิจกรรมการตลาดแนวใหม่ โดยค�ำนึงถึงพฤติกรรมของผู้บริโภคยุคใหม่ที่เรียกว่า Prosumer บทความเรื่อง การประกอบธุรกิจโรงแรมขนาดเล็ก ในยุคเศรษฐกิจดิจทิ ลั เพือ่ รองรับ Prosumer 4.0 มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ทบทวนแนวคิดเกีย่ วกับความส�ำคัญ ความหมาย ของโรงแรมขนาดเล็ก ปัญหาการด�ำเนินธุรกิจโรงแรมขนาดเล็ก การประกอบธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในยุคเศรษฐกิจ ดิจิทัล รวมถึงปัจจัยแห่งความส�ำเร็จและข้อจ�ำกัดของการด�ำเนินธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กได้น�ำไปเป็นแนวทางส�ำหรับการด�ำเนินธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในยุค เศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อรองรับ Prosumer และพัฒนาศักยภาพของการประกอบธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กให้มีมาตรฐาน เทียบเท่านานาประเทศ และส่งเสริมให้สามารถน�ำส่งคุณค่าความประทับใจไปสู่นักท่องเที่ยว (Value Oriented) มีการส่งต่อประสบการณ์ (Share) ที่ท�ำให้เกิดการรับรู้ในวงกว้าง ส่งผลต่อการพัฒนาธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กของ ประเทศไทยให้เป็นไปอย่างยั่งยืน ค�ำส�ำคัญ: โรงแรมขนาดเล็ก เศรษฐกิจดิจิทัล Prosumer

Corresponding Author E-mail: natatub@pim.ac.th


262

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

With the intense of hotel business competitions in the digital economy age that Thai small hotel enterprises will have to conduct a complete preparation of new product and service constructive technologies with strategic development and modern marketing activities operations to improve the business competitive advantages based on the behavior of new consumers generation called “Prosumer”, the article “Small Business Hotels in the Digital Economy Age to Prosumer 4.0” is aiming to review different concepts regarding the importance of small hotels, meaning of small hotels, business related issues of small hotel businesses, small hotel business operations in the age of digital economy, key success factors of small hotel businesses, and limitations of small hotel businesses in the digital economy trend to effectively guide proper directions for small hotel entrepreneurs in order to be ready for “Prosumer” and obtain international small hotel business operational standard. Additionally, the abilities to stimulate value oriented tourists and experience shares for boundless awareness are encouraged to efficiently support Thailand’s sustainable small hotel business development. Keywords: Small Hotel, Digital Economy, Prosumer

ความส� ำ คั ญ และความหมายของโรงแรม ขนาดเล็ก (Small Hotel) ยุคเศรษฐกิจดิจทิ ลั (Digital Economy Age)

ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) ที่ ผูป้ ระกอบการธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กของไทย ต้องเตรียม ความพร้อมโดยน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาเพิ่มมูลค่า สินค้าหรือบริการ และยกระดับความสามารถการแข่งขัน เช่น น�ำเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) ที่ช่วย เชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตกับอุปกรณ์ตา่ งๆ เพือ่ ความสะดวก สบายต่อการใช้งาน ปัจจุบันการสร้างข้อมูลใหม่ๆ บน โลกออนไลน์ และธุรกิจออนไลน์ต่างๆ เกิดขึ้นอย่าง รวดเร็วทั่วโลก มีการเติบโตเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 40 ต่อปี และเติบโตขึ้นเรื่อยๆ โดยเว็บไซต์ SME Thailand (www. smethailandclub.com) รับผิดชอบโดยบริษทั เพนนินซูลาร์ แอสโซซิเอทน์ จ�ำกัด กล่าวว่า อัตราการ เข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตผ่านสมาร์ทโฟนในช่วง 2-3 ปีหลัง มีอัตราเพิ่มขึ้นก้าวกระโดดโดยในปี พ.ศ. 2555 มีอัตรา การเข้าถึงอยูท่ รี่ อ้ ยละ 22 แต่ในปี พ.ศ. 2556 กลับเพิม่

ขึ้นกว่า 3 เท่าโดยมีการเติบโตร้อยละ 69.9 และในปี พ.ศ. 2557 ยังคงเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 77.7 ซึ่งจากการ เปลีย่ นแปลงนีท้ ำ� ให้พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคเปลีย่ นแปลง ไปจากเดิมอีกด้วยโดยมีแรงผลักดันจากกิจกรรมบน เศรษฐกิจดิจิทัลเป็นส�ำคัญ จากการศึกษาของธนาคาร ไทยพาณิชย์เกี่ยวกับการถอดหน้ากากผู้บริโภคยุค 4.0 พบว่า สื่อออนไลน์ได้กลายเป็นช่องทางที่มีอิทธิพลต่อ การตัดสินใจของผูบ้ ริโภคโดยกว่าครึง่ จะเชือ่ การรีววิ ทีม่ ี การแชร์บนโลกออนไลน์มากกว่าสือ่ อืน่ ๆ และกลุม่ ผูบ้ ริโภค รุน่ ใหม่จะใช้จา่ ยนอกบ้านโดยยอมใช้จา่ ยกับการท่องเทีย่ ว มากเป็นอันดับ 1 (Thai Commercial Bank, Economic Intelligence Center (EIC), 2017) ซึง่ ผูบ้ ริโภคเปลีย่ นแปลง ไปจากแนวคิดการตลาดยุค 1.0, 2.0 และ 3.0 จากการ เป็นผู้รับข้อเสนอคอยรับสินค้าหรือบริการ Passive Consumer มาเป็นผู้คิด ผู้ร่วมสร้าง และเสนอแนวคิด ด้วยตัวเองในลักษณะของ Prosumer มีความกระตือรือร้น เป็นผู้น�ำแสวงหาสิ่งใหม่ให้กับตัวเอง และหาค�ำตอบ ทุกค�ำตอบด้วยตนเองผ่านเครือ่ งมือบนสือ่ ออนไลน์ทกุ ชนิด

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

(Ngamkhajornkulkij, 2016) ผูป้ ระกอบการธุรกิจส�ำหรับโรงแรมขนาดเล็กจ�ำเป็น ต้องเร่งพัฒนากลยุทธ์และการด�ำเนินกิจกรรมการตลาด แนวใหม่ให้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) เช่น 1) การวิเคราะห์ศักยภาพ ของกิจการ เพื่อชูความได้เปรียบหรือจุดแข็งของธุรกิจ เป็นจุดขายที่แตกต่างและโดดเด่น เพื่อน�ำเสนอผ่าน เทคโนโลยีใหม่ เช่น การใช้เว็บไซต์ อีบกุ๊ ไลน์ แอปพลิเคชัน่ เป็นต้น 2) วางต�ำแหน่งของกิจการทีเ่ หมาะสม และก�ำหนด ตลาดเป้าหมายให้ชดั เจนว่า จะเน้นให้บริการลูกค้าในตลาด นักท่องเที่ยวทั่วไป ซึ่งปัจจุบันเป็นตลาดบนโลกสังคม ออนไลน์ที่มีขนาดใหญ่ 3) การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ กับผูป้ ระกอบการทัง้ ในและนอกประเทศผ่านเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) เพื่อช่วยให้ผู้ประกอบการ มีศักยภาพการแข่งขันและเพิ่มทางเลือกให้กับลูกค้าได้ มากขึ้น เป็นต้น จึงเป็นความท้าทายให้ผู้ประกอบการ ยุคนีต้ อ้ งมีการเสริมสร้างความรูค้ วามสามารถเชิงกลยุทธ์ เพื่อการบริหารจัดการโรงแรมผ่านระบบธุรกิจออนไลน์ ให้สามารถลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลก�ำไรอย่างยั่งยืน ตลอดจนเป็นไปตามมาตรฐานการบริการ (Service Standard) เพื่อประกอบธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กให้มี มาตรฐานเทียบเท่านานาประเทศ และส่งเสริมให้สามารถ น�ำส่งคุณค่าความประทับใจ (Value Oriented) ไปสู่ นักท่องเทีย่ ว มีการส่งต่อประสบการณ์ (Share) ทีท่ ำ� ให้ เกิดการรับรูใ้ นวงกว้าง ส่งผลต่อการพัฒนาธุรกิจโรงแรม ขนาดเล็กของประเทศไทยให้เป็นไปอย่างยั่งยืน ธุ ร กิ จ โรงแรม ถื อ เป็ น องค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ ของ อุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว เป็นธุรกิจทีก่ อ่ ให้เกิดการจ้างงาน และการกระจายรายได้ สู ่ ภู มิ ภ าคของประเทศไทย (Khawsa-art, Kherfu & Anthong, 2005) การแบ่ง ประเภทของธุรกิจโรงแรมตามขนาดสามารถแบ่งได้ดงั นี้ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ส�ำหรับโรงแรม ขนาดเล็กนั้นถือเป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ทีม่ ผี ลต่อการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว ภายในประเทศ เพราะเป็นธุรกิจทีก่ อ่ ให้เกิดการจ้างแรงงาน

263

ในภาคบริการทีส่ ำ� คัญ เนือ่ งจากมีการด�ำเนินธุรกิจโรงแรม ขนาดเล็กภายในท้องถิน่ ชุมชน ก่อให้เกิดการจ้างแรงงาน ในพื้นที่ เกิดการกระจายรายได้และเกิดการหมุนเวียน เศรษฐกิจในชุมชนท้องถิน่ นัน้ ๆ ปัจจุบนั ภาครัฐมีนโยบาย ส่งเสริมการท่องเทีย่ วโดยก�ำหนดยุทธศาสตร์การท่องเทีย่ ว เป็นกลุม่ จังหวัด ในลักษณะการบูรณาการการท่องเทีย่ ว เชิงพื้นที่ (Department of Tourism, 2015) ส�ำหรับ ความหมายของโรงแรมขนาดเล็ ก นั้ น ยั ง ไม่ มี ผู ้ ใ ดให้ ความหมายหรือค�ำจ�ำกัดความ หรือรูปแบบของโรงแรม ขนาดเล็กทีช่ ดั เจน แต่มงี านวิจยั ทีไ่ ด้ศกึ ษาเกีย่ วกับโรงแรม ขนาดเล็กอยูบ่ า้ ง ซึง่ ได้รวบรวมประเด็นเพือ่ ทีจ่ ะน�ำมาซึง่ ค�ำจ�ำกัดความและจ�ำนวนห้องพัก ดังนี้ Morrison (1992) ท�ำการวิจยั เกีย่ วกับโรงแรมขนาดเล็กในสหราชอาณาจักร ก�ำหนดความหมายของโรงแรมขนาดเล็กไว้ว่าเป็นเรื่อง ของการเน้นความสะดวกสบายและไลฟ์สไตล์ของลูกค้า โดยได้ก�ำหนดขนาดโรงแรมไว้ไม่เกิน 100 ห้อง ซึ่งจะ คล้ายกับ Glancey & Pettigrew (1997) ทีศ่ กึ ษาเกีย่ ว กับผู้ประกอบการโรงแรมขนาดเล็ก ได้ก�ำหนดจ�ำนวน ห้องพักของโรงแรมขนาดเล็กไว้ไม่เกิน 100 ห้องเช่นกัน แต่ส�ำหรับงานวิจัยของ Moriarty et al. (2008) ศึกษา เกีย่ วกับการตลาดส�ำหรับโรงแรมขนาดเล็ก กล่าวถึงโรงแรม ขนาดเล็กเป็นการลงทุนที่ไม่มากและการบริหารจัดการ มีโครงสร้างไม่ซำ�้ ซ้อนและได้กำ� หนดจ�ำนวนห้องพักของ โรงแรมขนาดเล็กที่เป็นโรงแรมตัวอย่างไว้ที่ 70 ห้อง ส�ำหรับ Soipech (2007) กล่าวว่า การจัดแบ่งประเภท ที่พักแรม โดยใช้เกณฑ์การก�ำหนดตามจ�ำนวนห้องพัก ในประเทศไทยนั้น โรงแรมขนาดเล็กหรือกิจการที่พัก ขนาดเล็กเป็นกิจการทีม่ จี ำ� นวนห้องพักน้อยกว่า 100 ห้อง ลักษณะของห้องพักเป็นแบบธรรมดา มีสงิ่ อ�ำนวยความ สะดวกตามความจ�ำเป็นพืน้ ฐาน เช่น โทรทัศน์ โทรศัพท์ ห้องพักส่วนตัว มีอตั ราค่าบริการทีถ่ กู เนือ่ งจากการบริการ ที่มีอย่างจ�ำกัด แต่ได้ให้ความหมายของโรงแรมบูทีค (Boutique Hotel) ว่าเป็นประเภทของที่พักแรมที่มี ขนาดไม่ใหญ่นัก ส่วนมากมีห้องพักไม่เกิน 100 ห้อง มีการออกแบบและตกแต่งอย่างมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


264

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

มีความโดดเด่นในบรรยากาศที่ผ่อนคลาย และหรูหรา ด้วยวัสดุตกแต่งชั้นดี และได้รับความนิยมมากขึ้นจาก นักท่องเที่ยวที่มีก�ำลังการใช้จ่ายสูง นิยมความหรูหรา เป็นส่วนตัว และมีสไตล์ Timothy & Teye (2009) ได้ให้ความหมายของ โรงแรมทีพ่ กั ขนาดเล็กไว้วา่ โรงแรมขนาดเล็กเป็นโรงแรม ที่มีจ�ำนวนห้องพักตั้งแต่ 1-20 ห้อง ซึ่งอาจหมายรวม ถึงที่พักแบบ B&B (Bed and Breakfast) ซึ่งเป็นที่พัก ขนาดเล็กทีบ่ ริการห้องพักและอาหารเช้าไว้ในราคาของ ห้องพัก ที่พักแบบเพนชั่น (Pension) ซึ่งเป็นที่พักแบบ ผูใ้ ช้บริการอาศัยอยูใ่ นอาคารเดียวกับเจ้าของ โดยแบ่งห้อง เป็นห้องๆ และที่พักประเภทสัมผัสวัฒนธรรมชนบท หรือโฮมสเตย์ (Home Stay) นอกจากนี้ Thailand Hotel Associate (2010) ได้กล่าวถึงโรงแรมขนาดเล็ก ในเรื่องของระบบการบริหารงานว่าเป็นการบริหารงาน ระบบอิสระคือ เป็นโรงแรมที่เจ้าของเป็นผู้บริหารเอง ซึ่งบางแห่งเป็นการบริหารงานแบบครอบครัว โรงแรม ที่บริหารงานในระบบอิสระส่วนมากสามารถพบได้ใน เมืองเล็กๆ และในชุมชน ซึ่งกลุ่มลูกค้าจะแตกต่างจาก โรงแรมที่มีการบริหารงานแบบอื่นๆ นั่นคือ ผู้ใช้บริการ มักนิยมการบริการทีเ่ ป็นส่วนตัว นิยมโรงแรมทีม่ เี อกลักษณ์ เป็นของตนเอง ซึ่งเอกลักษณ์ดังกล่าวอาจเป็นเรื่อง ของสถานที่ตั้ง การบริการ และการออกแบบโรงแรม ซึ่งการบริหารงานโรงแรมระบบนี้ ผู้บริหารต้องเป็นผู้ที่ มีความรู้ความสามารถหลายด้าน ทั้งทักษะการบริหาร การปฏิบตั กิ าร เนือ่ งจากขนาดของโรงแรมและสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกมีจำ� กัด จึงไม่จำ� เป็นต้องอาศัยจ�ำนวนพนักงาน ทีม่ ากเกินไป และในอนาคตโรงแรมขนาดเล็กต้องมีการ ปรับตัวเรื่องการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ค่าใช้จา่ ยด้านแรงงาน อาหาร เครือ่ งดืม่ และพลังงาน ที่เพิ่มขึ้น เป็นต้น ท�ำให้ต้องอาศัยเทคนิคและระบบ การควบคุมทีด่ ี แต่อย่างไรก็ตาม โรงแรมขนาดเล็กก็มคี วาม คล่องตัวมากกว่าการปรับตัวรับกับสภาวะเศรษฐกิจที่มี การเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา ซึง่ สอดคล้องกับ Somsawasd (2009) ที่กล่าวว่า โรงแรมขนาดเล็กเป็นโรงแรมที่ใช้ เงินทุนไม่มาก แต่ลงทุนด้านความคิดสร้างสรรค์ การดีไซน์

ที่แตกต่าง และการใส่ใจเรื่องบริการ จึงเป็นทางออก ส�ำหรับการแข่งขันกับโรงแรมเครือข่าย (Chain Hotel) ทีม่ อี ำ� นาจทุนและการตลาดมากกว่า และตอบสนองต่อ วิถีการด� ำเนินชีวิตของนักท่องเที่ยวยุค ใหม่ได้ดีกว่า โรงแรมขนาดเล็กจึงกลายเป็นโรงแรมทางเลือกส�ำหรับ นักเดินทางยุคใหม่ที่แสวงหาประสบการณ์ที่แตกต่าง ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้ความต้องการเข้าพักในโรงแรม ขนาดเล็กเพิม่ มากขึน้ Institute for Small and Medium Enterprises Development (2010) ได้จัดการอบรม ในหัวข้อเรือ่ ง การลงทุนในรีสอร์ทและโรงแรมขนาดเล็ก เพือ่ นักลงทุนหน้าใหม่ ซึง่ ได้ให้คำ� จ�ำกัดความและก�ำหนด ขนาดของโรงแรมขนาดเล็กไว้ว่าเป็นโรงแรมที่มีจ�ำนวน ห้องไม่เกิน 79 ห้อง และ Sasa & Borut (2014) ศึกษา เรื่อง การตอบสนอง แรงจูงใจ และความพึงพอใจของ ลูกค้าโรงแรมขนาดเล็กในสโลเวเนีย ได้ก�ำหนดจ�ำนวน ห้องของโรงแรมขนาดเล็กทีเ่ ป็นโรงแรมตัวอย่างไว้ไม่เกิน 50 ห้อง และปีเดียวกัน Nitu & Bakucz (2014) ได้ศกึ ษา กลยุทธ์การตลาดส�ำหรับโรงแรมขนาดเล็กในฮังการี กล่าวถึงข้อก�ำหนดของการศึกษาว่า โรงแรมขนาดเล็ก ต้องมีการลงทุนไม่มากและโครงสร้างด้านการบริหาร จัดการไม่มีความซ�้ำซ้อน ซึ่งจากข้างต้นที่นักวิชาการได้ศึกษาในแง่มุมต่างๆ ของโรงแรมขนาดเล็ก ก�ำหนดจ�ำนวนห้องพักของโรงแรม ขนาดเล็กไว้ตั้งแต่ 50 ห้อง ถึงไม่เกิน 100 ห้อง ซึ่งหาก พิจารณาในหลายมิตเิ พือ่ ให้ได้มาซึง่ การก�ำหนดจ�ำนวนห้อง ของโรงแรมขนาดเล็ก ทัง้ จากกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการประกอบธุรกิจโรงแรม เช่น กฎกระทรวง ก�ำหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจ โรงแรม พ.ศ. 2559 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2558 เป็นต้น จึงขอก�ำหนดค�ำจ�ำกัดความของ โรงแรมขนาดเล็กคือ โรงแรมที่มีจ�ำนวนห้องพักไม่เกิน 79 ห้อง มีการตกแต่งที่โดดเด่น เป็นเอกลักษณ์ มีสไตล์ มีราคาทีไ่ ม่แพงมากนัก เหมาะส�ำหรับผูใ้ ช้บริการทีต่ อ้ งการ ความเป็นส่วนตัว และเน้นประสบการณ์ใหม่ๆ ส�ำหรับ การใช้บริการโรงแรม ซึง่ การบริหารงานโรงแรมขนาดเล็ก นั้นต้องอาศัยผู้บริหารที่มีความสามารถรอบรู้ รอบด้าน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

เพราะต้องท�ำหน้าที่บริหารงานทุกแผนกโดยใช้จ�ำนวน พนักงานที่ไม่มากเกินไป และสามารถบริหารได้ทั้งงาน บริหารและงานปฏิบัติการ รวมถึงการควบคุมคุณภาพ การบริการในรอบด้าน เพื่อสามารถตอบสนองความ ต้องการของผู้ใช้บริการได้อย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม การก�ำหนดคุณลักษณะของโรงแรมขนาดเล็กในมุมมอง ที่เป็นเชิงวิชาการดังปรากฏข้างต้น ผู้เขียนได้พยายาม หามุมมองอื่นเพื่อก�ำหนดเป็นคุณลักษณะของโรงแรม ขนาดเล็ก เช่น จากหนังสืออนุสาร อสท. Guide Book ต่างๆ เป็นต้น ได้กล่าวถึงที่พักขนาดเล็กในลักษณะของ การให้บริการทีอ่ บอุน่ เป็นกันเอง การตกแต่งทีไ่ ม่ซำ�้ แบบ ที่พักลักษณะ Slow Life (เนิบ) นอกจากนี้การส�ำรวจ จ�ำนวนโรงแรมของ National Stational Statistical Office (2016) ให้ความหมายของโรงแรมทีใ่ ช้สำ� รวจคือ โรงแรมและเกสต์เฮาส์ หมายถึง บรรดาสถานที่ทุกแห่ง ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ รับสินจ้างส�ำหรับคนเดินทางหรือบุคคลที่ ประสงค์จะหาทีอ่ ยูห่ รือทีพ่ กั ชัว่ คราว โดยแบ่งเป็น 3 กลุม่ ดังนี้ น้อยกว่า 60 ห้อง 60-149 ห้อง และ 150 ห้องขึน้ ไป

ปัญหาการด�ำเนินธุรกิจโรงแรมขนาดเล็ก

จากการศึกษางานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับโรงแรมขนาดเล็ก ในมิติของการด�ำเนินงาน การบริหารจัดการ คุณภาพ การให้บริการ ปัญหา อุปสรรค ตลอดจนถึงความพึงพอใจ ของผูใ้ ช้บริการโรงแรมขนาดเล็ก ซึง่ Wuthipongpipat (2007) ศึกษาเรือ่ ง ความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริการโรงแรม ขนาดเล็ก ในเขตพืน้ ทีอ่ ำ� เภอเมือง จังหวัดเชียงราย พบว่า ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่มีข้อเสนอแนะให้ปรับปรุงพัฒนา โรงแรมขนาดเล็ก ควรมีการปรับปรุงเกีย่ วกับความสะอาด ภายในห้องพักและบริเวณโดยรอบ ทัศนียภาพโดยรอบ โรงแรมให้สวยงาม ความปลอดภัยภายในและบริเวณ โดยรอบของโรงแรม ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้มากกว่านี้ ควรตกแต่งภายในห้องพักให้น่าอยู่ ควรเพิ่มสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกภายในโรงแรม ร้านอาหารควรมีอาหาร หลากหลายประเภทให้เลือกรับประทาน และในปีเดียวกัน Apichairak (2007) ศึกษาเรือ่ ง การจัดการธุรกิจโรงแรม ขนาดเล็ก ในอ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ด้าน

265

การบริหารจัดการโรงแรมแต่ละด้าน เช่น การวางแผน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่มีกระบวนการการวางแผน ทีช่ ดั เจน ใช้เพียงการก�ำหนดเป้าหมายโดยเน้นเป้าหมาย ระยะสั้นเชิงปฏิบัติการ และในขณะที่ Moriarty et al. (2008) ได้ศกึ ษาเรือ่ ง การตลาดส�ำหรับโรงแรมขนาดเล็ก พบว่า การบริหารจัดการโรงแรมขนาดเล็ก มีจำ� กัดในเรือ่ ง ของการลงทุนส�ำหรับการด�ำเนินกิจกรรมการตลาด แต่จะ เน้นเรื่องการให้บริการสูงสุดกับลูกค้า Rorwimongkol (2009) ศึกษาเรื่อง ปัญหาและ ความพึ ง พอใจของนั ก ท่ อ งเที่ ย วฝรั่ ง เศสขณะพ� ำ นั ก ในโรงแรมในประเทศไทย ซึ่ ง เน้ น ศึ ก ษาพฤติ ก รรม ของนักท่องเที่ยวที่พูดภาษาฝรั่งเศส พบว่า โดยปกติ นักท่องเที่ยวจะเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยด้วย รายการน�ำเที่ยวที่รวมโรงแรมไว้ด้ว ยตลอดเส้นทาง โรงแรมทีพ่ กั จึงเป็นโรงแรมทีอ่ ยูท่ งั้ ในจังหวัดต่างๆ ซึง่ ผล การวิจัยพบว่า นักท่องเที่ยวฝรั่งเศสให้ความส�ำคัญกับ การใช้ภาษาฝรั่งเศสในหลายแผนกของโรงแรม และจะ มีความพึงพอใจสูงถ้าพนักงานสามารถให้ข้อมูลของ สถานทีแ่ ละรายละเอียดทัว่ ไปของผูค้ นเป็นภาษาฝรัง่ เศส ขณะเดียวกัน Chomwong (2009) ศึกษาเรือ่ ง คุณภาพ การบริการของอุตสาหกรรมโรงแรมในประเทศไทย การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างโรงแรมบูทคี และโรงแรม ธุรกิจ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ล�ำดับความส�ำคัญ ความคาดหวัง และการรับรู้การบริการ มุมมองของผู้ใช้บริการที่มีต่อ โรงแรมในประเทศไทย และศึกษาคุณภาพการบริการ ของโรงแรมในประเทศไทย โดยหาช่องว่างระหว่าง ความคาดหวังและการรับรู้การบริการ พบว่า คุณภาพ การบริการโดยรวมของประเทศไทยยังไม่ดนี กั ผูใ้ ช้บริการ มีความคาดหวังเรือ่ งความปลอดภัยของโรงแรมมากทีส่ ดุ และรับรู้เรื่องการให้บริการผู้ใช้บริการอย่างเป็นกันเอง ของพนักงานมากที่สุด ช่องว่างที่ควรปรับปรุงมากที่สุด คือ โรงแรมไม่สามารถแก้ปญ ั หาและชดเชยข้อบกพร่อง ให้กับลูกค้าได้ตามที่คาดหวัง และจากการวิเคราะห์ เปรียบเทียบความแตกต่างของโรงแรมบูทคี และโรงแรม ธุรกิจ พบว่า ความคาดหวังและการรับรู้การบริการต่อ โรงแรมบูทีคแตกต่างจากโรงแรมธุรกิจอย่างมีนัยส�ำคัญ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


266

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

อย่างไรก็ตามคุณภาพการบริการของโรงแรมทั้งสอง ประเภทไม่มคี วามแตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญในมุมมอง ของผู้ใช้บริการ โดย Thailand Hotel Associate (2010) ได้อธิบายถึงความเข้าใจต่อพฤติกรรมผู้บริโภครุ่นใหม่ ซึง่ เป็นการศึกษาถึงการตัดสินใจซือ้ ของผูบ้ ริโภคว่า ในยุค อินเทอร์เน็ตซึ่งการสื่อสารและการไหลผ่านของข้อมูล ต่างๆ เป็นเรือ่ งง่ายทีจ่ ะท�ำให้ผบู้ ริโภคได้รบั ข้อมูลข่าวสาร มากขึ้น อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนเกี่ยวกับทางเลือก ในผลิตภัณฑ์หนึง่ ๆ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายทัง้ ทีเ่ ป็น ข้อมูลเพือ่ ผลประโยชน์ทางธุรกิจ และเพือ่ วัตถุประสงค์อนื่ นอกจากนั้นผู้บริโภคยังได้สร้างประชาคมผู้เข้มแข็งขึ้น เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลประสบการณ์ระหว่างกันเกี่ยวกับ ข้อมูลสินค้าและบริการ ผูบ้ ริโภครุน่ ใหม่นมี้ คี วามเยาว์วยั และมีการศึกษาทีด่ กี ว่า มีความรูเ้ กีย่ วกับสินค้าและบริการ ประเภทต่างๆ ทัง้ ประเด็นของคุณลักษณะคุณประโยชน์ รวมถึงข้อมูลด้านราคาและบริการต่างๆ มากขึน้ ประกอบ กับพฤติกรรมการใช้ชวี ติ ทางสังคมออนไลน์มากขึน้ และ มีแนวโน้มการจับจ่ายใช้สอยผ่านอินเทอร์เน็ตมากขึ้น ซึ่งแนวโน้มนี้เป็นทั้งวิกฤตและโอกาสของนักการตลาด เพือ่ การท่องเทีย่ วและอุตสาหกรรมการบริการด้วยเช่นกัน ต่อมา Sooksuth, Pongsiri & Karnchanapairoj (2012) ได้ทำ� การศึกษาเรือ่ ง ความคาดหวังและแนวทาง การแก้ไขปัญหาส�ำหรับผู้ใช้บริการโรงแรมขนาดเล็ก สูก่ ารยกระดับมาตรฐาน พบว่า ระดับความคาดหวังของ ผู้ใช้บริการต่อการให้บริการของโรงแรมขนาดเล็กแยก ตามแผนก ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ปัญหาการใช้บริการ ของลูกค้าพบว่า เกี่ยวข้องกับสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ภายในห้องพัก เช่น โทรทัศน์ภายในห้องพักไม่มสี ญ ั ญาณ จากดาวเทียม ความล่าช้าของการให้บริการ เป็นต้น ปัญหาด้านสถานที่ เช่น สภาพโรงแรมเก่าและคับแคบ ซึง่ โรงแรมควรมีการปรับปรุงในส่วนนีท้ นั ที เพราะมีความ ส�ำคัญต่อความพึงพอใจต่อการเข้ารับบริการของผู้ใช้ บริการ เพือ่ ให้ผมู้ าใช้บริการโรงแรมเกิดความประทับใจ เป็นต้น มีการแนะน�ำกันปากต่อปาก และกลับมาใช้บริการ ซ�ำ้ อีกในโอกาสต่อไป และในปีเดียวกันนัน้ Wongchiag

& Khemthong (2012) ท�ำการศึกษาแนวทางการเพิ่ม ประสิทธิภาพของธุรกิจโรงแรมขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ซึง่ ผลการวิจยั พบว่า 1) ประสิทธิภาพของการด�ำเนินธุรกิจของโรงแรมขนาด กลางและขนาดย่อมในเขตหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) ปัจจัยการบริหารเชิง ดุลยภาพด้านลูกค้า และด้านกระบวนการเป็นปัจจัยทีม่ ี ความส�ำคัญอยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยด้านพนักงาน เป็นปัจจัยที่มีความส�ำคัญอยู่ในระดับปานกลาง และ 3) ปัจจัยการบริหารเชิงดุลยภาพ ทั้ง 3 ด้านที่เกี่ยวกับ ลูกค้า กระบวนการ และพนักงานมีความสัมพันธ์กับ ประสิทธิภาพต่อการด�ำเนินธุรกิจของโรงแรมในทางบวก และปัจจัยด้านคุณลักษณะของโรงแรม ได้แก่ อายุของ โรงแรม และระดับมาตรฐานของโรงแรม พบว่า มีความ สั ม พั น ธ์ กั บ ประสิ ท ธิ ภ าพของการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของ โรงแรมด้วย และงานวิจัยนี้น�ำเสนอข้อเสนอแนะของ การศึกษาว่า การบริหารโรงแรมควรให้ความส�ำคัญกับ การจัดการด้านลูกค้าสัมพันธ์ กระบวนการภายในโรงแรม ได้แก่ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทัง้ ให้ ความส� ำ คั ญ กั บ การฝึ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาความรู ้ แ ละ ทักษะการปฏิบัติงานให้แก่พนักงาน ซึ่ง Suriya (2013) ได้ศกึ ษาเรือ่ ง แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการของ แผนกต้อนรับส่วนหน้าของโรงแรมเพือ่ รองรับนักท่องเทีย่ ว อาเซียน กรณีศึกษา: โรงแรมบูทีคในกรุงเทพมหานคร ผลของงานวิจยั พบว่า ช่องว่างทีค่ วรได้รบั การปรับปรุงแก้ไข เป็นอันดับแรกคือ คุณลักษณะด้านการให้ความมัน่ ใจแก่ ผูร้ บั บริการ ทัง้ นีเ้ พือ่ สร้างความพึงพอใจให้กบั นักท่องเทีย่ ว อาเซียน ต่อมา Treetrong et al. (2014) ได้ทำ� การวิจยั เรื่อง เศรษฐกิจสร้างสรรค์: การเสนอแนะแนวทาง การออกแบบสภาพแวดล้อมภายในโรงแรมขนาดเล็ก ในต่างจังหวัดเพื่อส่งเสริมศักยภาพการท่องเที่ยวไทย พบว่า ความส�ำเร็จในการออกแบบที่ส่งผลสู่การลงทุน ทีส่ ำ� เร็จคือ จะต้องสามารถสร้างแรงบันดาลใจให้ผเู้ ข้าพัก กลับมาพักซ�้ำหลายรอบด้วยปัจจัย ดังนี้ การให้บริการ ทีด่ ี การออกแบบบรรยากาศทีน่ า่ ประทับใจ มีเอกลักษณ์ เฉพาะโครงการและแสดงอัตลักษณ์เฉพาะพืน้ ถิน่ ได้อย่าง

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ชัดเจน กลมกลืน สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม การใช้ วัสดุตกแต่ง ราคาห้องพักที่คุ้มค่าต่อการเข้าพัก จากงานวิจยั ทัง้ หมดข้างต้นท�ำให้ทราบว่า ผูใ้ ช้บริการ ส่วนใหญ่ให้ความส�ำคัญด้านปัจจัยหลักคือ ด้านท�ำเลทีต่ งั้ ด้านความปลอดภัย ด้านความสะอาดและความสะดวก สบายของห้องพัก ด้านราคา ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการส่งเสริมการตลาด นอกจากนีย้ งั รวมถึงการออกแบบ ที่สวยงามและเหมาะสม ถูกต้องตามหลักสถาปนิกและ ทัศนียภาพโดยรอบบริเวณโรงแรมทีส่ วยงามด้วย การศึกษา ถึงความคาดหวังของผูใ้ ช้บริการเป็นการศึกษาจุดเริม่ ต้น ของความพึงพอใจ ซึ่งการท�ำความเข้าใจความคาดหวัง ของผูใ้ ช้บริการ ปัจจัยคุณภาพการบริการ และการประเมิน คุณภาพการบริการ เป็นส่วนส�ำคัญทีช่ ว่ ยให้ผปู้ ระกอบการ สามารถมองเห็นจุดอ่อนจุดแข็งเพื่อน�ำไปพัฒนาและ ปรับปรุงกลยุทธ์ให้สามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ น�ำไปสู่การเพิ่มขีดความ สามารถทางการแข่งขันและการเติบโตของธุรกิจ จากงาน

267

วิจยั ทัง้ หมดข้างต้นส่วนใหญ่เป็นมิตมิ มุ มองจากผูใ้ ช้บริการ ซึง่ สามารถสะท้อนให้เห็นถึงการขยายตัวของธุรกิจโรงแรม ขนาดเล็ก การให้ความส�ำคัญ และเป็นทางเลือกหนึ่ง ของนักท่องเที่ยวที่เลือกใช้บริการ ส�ำหรับโรงแรมเล็ก จะเห็นได้วา่ มีลกั ษณะพืน้ ฐานของการปฏิบตั กิ ารโรงแรม ขนาดใหญ่คอื มีผจู้ ดั การซึง่ อาจเป็นเจ้าของดูแลควบคุม ทุกด้าน มีส�ำนักงานบริหารงานต้อนรับ มีแม่บ้านซึ่ง บางแห่งเป็นภรรยาเจ้าของกิจการดูแลควบคุมพนักงาน ท�ำความสะอาด ตกแต่ง และซ่อมบ�ำรุงรักษา ห้องพัก และบริเวณโดยรอบ มีครัวและส่วนบริการอาหารและ เครื่องดื่ม การติดต่อสื่อสารมักเป็นแบบง่ายๆ และเน้น การติดต่อระหว่างพนักงานกับผู้จัดการโดยตรง และ พนักงานสามารถประสานงานกับแผนกอืน่ ๆ ได้เอง ซึง่ ได้ น�ำมาสรุปเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างระหว่าง การประกอบธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก กั บ การประกอบธุ ร กิ จ โรงแรมขนาดเล็ก โดยพิจารณาหลักทรัพยากร 4M ดังนี้

การบริหารจัดการ

ธุรกิจขนาดเล็ก (small business)

โรงแรมขนาดเล็ก (small hotels)

คน (man)

เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีผลต่อความส�ำเร็จของธุรกิจ ขนาดเล็กเป็นอย่างมาก เพราะการจัดการธุรกิจหรือ ควบคุมเครื่องจักรในการผลิตต้องอาศัยคนเป็นหลัก เพื่อสร้างคุณภาพ

เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีผลต่อความส�ำเร็จต่อธุรกิจ บริการ ซึ่งโรงแรมขนาดเล็กเป็นธุรกิจบริการ และมี ความจ�ำเป็นต้องอาศัยคนเป็นหลักเพื่อให้บริการต่อ ผู้รับบริการ

วัตถุดิบ (material)

หากเป็นเครื่องจักรถือเป็นทรัพย์สินถาวรที่ใช้ผลิต สินค้า หรือเป็นวัสดุสงิ่ ของทีน่ ำ� ไปสูก่ ระบวนการผลิต ซึ่งควรอยู่ใกล้กับสถานประกอบการ เพื่อประหยัด เรื่องการขนส่งและสร้างความมั่นใจต่อการด�ำเนิน ธุรกิจ

เป็นเรือ่ งของอาคาร สถาปัตยกรรม ออกแบบให้ดงึ ดูด น่าสนใจ สร้างความเป็นเอกลักษณ์ หากเป็นวัตถุดิบ มองในมุมของสิง่ แวดล้อม สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วควรอยูใ่ กล้ กับโรงแรม เพือ่ ดึงดูดความน่าสนใจของนักท่องเทีย่ ว

เงินทุน (money)

เป็ น ปั จ จั ย ที่ ส� ำ คั ญ ที่ ช ่ ว ยสนั บ สนุ น ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง เป็นปัจจัยทีส่ ำ� คัญทีช่ ว่ ยสนับสนุนให้ได้มาซึง่ ทรัพยากร ทรัพยากรด้านการจัดการด้านอื่นๆ ช่วยให้ธุรกิจ ด้านการจัดการด้านอืน่ ๆ ช่วยให้ธรุ กิจด�ำเนินไปอย่าง ด�ำเนินไปอย่างราบรื่น ราบรื่น เงินทุนที่น�ำมาใช้ในรูปของการสร้างอาคาร ซื้อวัตถุดิบต่างๆ

การจัดการ (management)

เป็นการน�ำทรัพยากรที่มีอยู่ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพือ่ ให้ธรุ กิจบรรลุเป้าหมาย โดยเริม่ จากการวางแผน การจัดการองค์กร การบริหารพนักงาน การอ�ำนวยการ และการควบคุมงาน

เป็นการน�ำทรัพยากรที่มีอยู่ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพือ่ ให้ธรุ กิจบรรลุเป้าหมาย โดยเริม่ จากการวางแผน การจัดการองค์กร การบริหารพนักงาน การอ�ำนวยการ และการควบคุมงาน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


268

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

การประกอบธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในยุค เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy Age)

ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎรให้คำ� จ�ำกัดความ ว่า เศรษฐกิจดิจิทัล หรือ Digital Economy หมายถึง เศรษฐกิจทีอ่ าศัยเทคโนโลยีสารสนเทศหรืออินเทอร์เน็ต มาสร้างอาชีพหรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการใช้ เทคโนโลยีการสือ่ สารและโทรคมนาคมไปใช้และพัฒนา ธุรกิจหรืออุตสาหกรรมสาขาหรือประเภทต่างๆ อย่าง กว้างขวางเป็นปัจจัยส�ำคัญ (The secretariat of the House of Representatives, 2015) การน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์เพื่อการด�ำเนิน ธุรกิจภายใต้โครงการที่เป็นรูปธรรมในระยะเร่งด่วน (1 ปี 6 เดือน) นี้ เป็นการพัฒนาขีดความสามารถของธุรกิจ ในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุม่ วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (Small and Medium Enterprise: SME) และวิสาหกิจชุมชนให้แข่งขันในโลกสมัยใหม่ได้ รวมไปถึงการพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการให้มี ความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญในการใช้ เทคโนโลยีที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อธุรกิจของตน ส่งผลต่อนโยบายของรัฐบาลทีต่ อ้ งการยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชน เพื่อน�ำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืนของประเทศไทย เศรษฐกิจดิจทิ ลั น�ำมาเชือ่ มโยงกับโรงแรมขนาดเล็ก ชีใ้ ห้เห็นว่า กลุม่ คนรุน่ ใหม่หรือผูบ้ ริโภครุน่ ใหม่เปลีย่ นแปลง แนวคิดเดิมโดยอยูก่ บั โลกออนไลน์ เป็นฝ่ายน�ำเสนอข้อมูล หรือตัดสินใจให้กับผู้ประกอบการเลือกที่จะใช้บริการ ในรูปแบบที่ตนต้องการ โดยหาข้อมูลจากสื่อออนไลน์ ก่อนตัดสินใจเลือกใช้บริการใดๆ ซึง่ แสวงหาข้อมูล สิง่ ใหม่ๆ ให้ตัวเองตลอดเวลาอย่างกระตือรือร้นและหาค�ำตอบ ในทุกค�ำตอบด้วยตัวเองผ่านเครื่องมือบนสื่อออนไลน์ ทุกชนิด ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการโรงแรมขนาดเล็กจ�ำเป็นต้อง หันมาให้ความส�ำคัญกับสือ่ ดิจทิ ลั มากยิง่ ขึน้ เพือ่ ตอบสนอง ต่อความต้องการของผู้บริโภครุ่นใหม่ จากการศึ ก ษาของสมาคมวิ จั ย การตลาดแห่ ง ประเทศไทย ได้สรุปพฤติกรรมผู้บริโภคยุคปัจจุบันที่

น�ำเสนอในที่ประชุม Prosumer 4.0 Version เพื่อให้ ผู ้ ป ระกอบการได้ ต ระหนั ก และน� ำ ไปปรั บ กลยุ ท ธ์ การประกอบธุรกิจของตน ดังนี้ บุคลิก ลักษณะของ Prosumer 4.0: ผู้บริโภค ยุคนี้ไม่เชื่อแบรนด์ ฉลาดรอบรู้ เป็นผู้นำ� และพร้อมจะ หาข้อมูลด้วยตนเอง ซึ่งมี 4 ลักษณะคือ 1. Proactive–I want to find topics which become popular before anyone else ต้องรู้เรื่อง ส�ำคัญๆ ก่อนใครเสมอ เพือ่ ให้นำ� เทรนด์ น�ำข่าว น�ำใครๆ stay connected 2. Producer–I always check out new services ต้องเสาะแสวงหาสิง่ ใหม่ให้กบั ตัวเองตลอดเวลา ท�ำทุกทาง เพือ่ ให้เป็นส่วนหนึง่ ของสิง่ ใหม่ๆ บนโลกเสมอหรือในบางที ก็สร้างด้วยตนเอง 3. Professional–I usually buy products or services of brands with good reputation ต้องรูส้ กึ เป็นมืออาชีพ ไม่ซอื้ สินค้าหรือบริการเพียงเพราะเป็นยีห่ อ้ ทีซ่ อื้ ตามๆ กันมา ผูบ้ ริโภครูส้ กึ ฉลาด รอบรู้ ไม่รอให้ใคร มาบอกอะไร เชือ่ ตัวเองและกลุม่ คนใน social network มากกว่าแบรนด์ นั่นหมายความว่า แนวโน้มผู้บริโภค รุน่ ใหม่ๆ ไม่ยดึ ติดตราสินค้า ดังนัน้ การทีแ่ บรนด์บอกว่า เป็นแบรนด์ที่มีมานานหรือเป็นเจ้าแรกไม่มีความหมาย ส�ำหรับผู้บริโภครุ่นใหม่ 4. Progressive–I use social network as reference tool for any questions/concerns ต้องหาค�ำตอบให้ทุกค�ำถามด้วยตัวเอง ตั้งค�ำถามเสมอ ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ และขยันหาค�ำตอบ ขุดคุ้ย ไม่เคลียร์ ไม่เลิก ความล�้ำของผู้บริโภคมีผลโดยตรงต่อการด�ำเนิน กิจกรรมการตลาดของธุรกิจ โดยเฉพาะการคาดหวัง หรือปฏิกิริยาที่ผู้บริโภคมีต่อธุรกิจเปลี่ยนไป การสร้าง ธุรกิจในยุค Prosumer 4.0 ต้องท�ำเพื่อผู้บริโภคและมี ผู้บริโภคเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจให้ได้ - ผู้บริโภคต้องการธุรกิจที่มี Shared Value กับ ผูบ้ ริโภค และมุง่ เน้นทีค่ วามต้องการของผูบ้ ริโภคมากกว่า

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ความต้องการสร้างอัตลักษณ์ (Identity) ของธุรกิจ ซึง่ ไม่สำ� คัญเท่ากับความหมายของธุรกิจทีท่ ำ� ให้ผบู้ ริโภค รู้สึกได้ - ผูบ้ ริโภคต้องการได้ธรุ กิจทีจ่ ริงใจ ไม่ตอ้ งเลิศเลอ สมบูรณ์แบบแต่ไม่หลอกลวง สิง่ ทีธ่ รุ กิจพูด ต้องท�ำได้จริง ถ้าท�ำผิดต้องขอโทษได้ - ผูบ้ ริโภคต้องการได้ธรุ กิจทีด่ ำ� เนินชีวติ กับพวกเขา ไม่ใช่เพียงเพือ่ ขายของให้พวกเขา ธุรกิจต้องท�ำให้พวกเขา เข้าถึงและมีส่วนร่วมได้ง่ายเสมอ - ผู้บริโภคต้องการได้ธุรกิจที่ดึงศักยภาพที่มีอยู่ ในตัวพวกเขาออกมาให้ได้มากทีส่ ดุ ไม่ใช่เพือ่ ให้เขาเป็น ทีย่ อมรับจากคนรอบข้าง แต่เพือ่ ท�ำให้พวกเขารูส้ กึ ดีสดุ ๆ กับตัวเองในแบบที่พวกเขาเป็น กล่าวโดยสรุปคือ ธุรกิจต้องท�ำให้ Prosumer 4.0 Version เชื่อใจและมั่นใจว่า ผู้บริโภคเป็นส่วนหนึ่งของ ธุรกิจและธุรกิจเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ธุรกิจ และผูบ้ ริโภค เป็นเพื่อนกัน อยู่ข้างเดียวกัน พูดภาษาเดียวกัน และ ที่ส�ำคัญที่สุด ธุรกิจต้องท�ำให้ผู้บริโภครู้สึกดีกับตัวเอง ในแบบที่ตัวเองเป็น โดยมีธุรกิจเป็นตัวช่วย เป็นตัว ขับเคลื่อน และมี Shared Purpose เดียวกัน จากผลการศึกษาของ Thai Commercial Bank, Economic Intelligence Center (EIC) (2017) พบว่า ผูบ้ ริโภคยุคใหม่ยอมจ่ายหากสินค้าหรือบริการตอบโจทย์ ในแง่คณ ุ ภาพ ออกแบบเองได้ และมีบริการหลังการขาย ทีด่ ขี นึ้ และยังพบอีกว่า การจ่ายของกลุม่ ผูบ้ ริโภคกลุม่ นี้ ยอมจ่ายเกีย่ วกับการท่องเทีย่ วมากเป็นอันดับ 1 โดยหาก พวกเขามีรายได้เพิ่มขึ้นมากกว่าเดิมร้อยละ 20 และมี จ�ำนวนถึงร้อยละ 70 ของผูบ้ ริโภคต้องการใช้จา่ ยส�ำหรับ การท่องเที่ยวมากขึ้นด้วย ดังนั้น ผู้ประกอบการธุรกิจ โรงแรมขนาดเล็กในยุคเศรษฐกิจดิจทิ ลั ควรให้ความส�ำคัญ กับการสือ่ สารตัวตนออกไปเพือ่ ให้โดนใจผูบ้ ริโภคยุคใหม่ สื่อใหม่ (new media) ไม่ว่าจะเป็นยูทูป เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ อินสตาแกรม และแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย อืน่ ๆ โดยในปี พ.ศ. 2559 คนไทยมีการใช้งานแพลตฟอร์ม โซเชียลมีเดียเหล่านี้สูงถึง 46 ล้านคน หรือเพิ่มขึ้นกว่า

269

ร้อยละ 20 จากปีก่อน สวนทางกับสื่อดั้งเดิมอย่างสื่อ สิง่ พิมพ์และทีวที เี่ สือ่ มความนิยมลง โดยในช่วงปี พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมา คนยุคใหม่อ่านหนังสือและดูทีวีน้อยลงอย่าง เห็นได้ชดั เจนท�ำให้สอื่ สิง่ พิมพ์กว่า 12 ราย และทีวี 4 ราย ต้องปิดตัวลง สะท้อนให้เห็นว่า นักการตลาดไม่สามารถ ยึดติดกับรูปแบบการประชาสัมพันธ์แบบเดิมๆ แต่จำ� เป็น ต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบโจทย์พฤติกรรมของ ผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป (Thai Commercial Bank, Economic Intelligence Center (EIC), 2017) สื่อออนไลน์เป็นช่องทางที่มีผลต่อการตัดสินใจ ของผู้บริโภคไทย จากผลส�ำรวจของ EIC ชี้ให้เห็นว่า ผูบ้ ริโภคเกือบร้อยละ 50 เชือ่ รีววิ และข้อมูลทีม่ กี ารแชร์ บนโลกออนไลน์มากกว่าสื่ออื่นๆ เนื่องจากเป็นช่องทาง ทีท่ ำ� ให้ผบู้ ริโภคได้รบั รูก้ ระแสและความคิดเห็นเกีย่ วกับ สินค้าจากผูค้ นทัว่ ทุกมุมโลก โดยสือ่ ออนไลน์จะทวีความ ส�ำคัญมากยิง่ ขึน้ ในกรณีของการเลือกซือ้ บริการ โดยเฉพาะ บริการท่องเที่ยวร้อยละ 71 และร้านอาหารร้อยละ 58 ทีผ่ บู้ ริโภคต่างมองว่า รีววิ และเรือ่ งราวทีบ่ อกต่อบนโลก ออนไลน์เป็นช่องทางทีม่ อี ทิ ธิพลและกระตุน้ ให้เกิดความ ต้องการซื้อบริการเหล่านั้นมากที่สุด สะท้อนให้เห็นถึง ความส�ำคัญของการท�ำการตลาดผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย ทีผ่ ปู้ ระกอบการไม่อาจมองข้ามรีววิ และ Social Media เป็นสื่อที่ทรงพลังมากที่สุดส�ำหรับเรื่องการท่องเที่ยว ด้วยผู้บริโภคยุคใหม่ไม่ยึดติดกับแบรนด์พร้อมที่จะ เปลี่ยนและทดลองสิ่งใหม่ตลอดเวลา ขณะเดียวกัน เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากขึ้น โดยเฉพาะช่องทาง ออนไลน์ซงึ่ ส่งผลให้วฏั จักรสินค้าหมุนเวียนเปลีย่ นเร็วขึน้ และมีแบรนด์ใหม่ๆ เข้ามาแข่งขันอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น ธุรกิจทีจ่ ะอยูร่ อดได้ในยุคนีจ้ ะต้องเน้นสร้างความผูกพัน กับลูกค้า (Customer Engagement) นัน่ หมายถึง การที่ ธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กจะต้องปรับตัวไปสูก่ ารสร้างความ สัมพันธ์กบั ผูใ้ ช้บริการและพยายามตอบโจทย์ความต้องการ ของผู้ใช้บริการอย่างแท้จริงมากกว่าความพยายามที่จะ หาแต่ลูกค้าใหม่ การบริการซึ่งไม่ใช่แค่การมีการบริการ ลูกค้า (Customer Service) ทีค่ อยอ�ำนวยความสะดวก

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


270

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

รับฟังข้อร้องเรียน หรือตอบค�ำถามลูกค้าเท่านัน้ แต่ตอ้ ง มีความเข้าใจถึงความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่มด้วย รวมถึงการพัฒนาบริการด้านต่างๆ เพือ่ ตอบโจทย์ความ ต้องการที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้นและให้ลูกค้าต้องการ กลับมาใช้บริการซ�้ำด้วย ตัวอย่างเช่น Thomas Cook ซึ่งเป็นบริษัทท่องเที่ยวของสหราชอาณาจักรต้องการ สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าและตอบโจทย์พฤติกรรม ท่องเทีย่ วทีเ่ ฉพาะเจาะจง (Personalization) ของลูกค้า แต่ละกลุ่มด้วยการออกแคมเปญ “lead generation campaign” โดยให้ลกู ค้าตอบแบบส�ำรวจท่องเทีย่ วเพือ่ จะทราบข้อมูลความต้องการของลูกค้าแต่ละคน เช่น แผนการเดินทางในอนาคต งบประมาณ รูปแบบการ ท่องเทีย่ วทีต่ อ้ งการ ตลอดจนปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการตัดสินใจ เลือกโปรแกรมท่องเที่ยว ซึ่งเมื่อลูกค้ากรอกข้อมูลแบบ ส� ำ รวจแล้ ว บริ ษั ท จะส่ ง ข้ อ เสนอโดยออกแบบตาม พฤติกรรมความชอบของลูกค้าแต่ละคน ทัง้ นี้ แคมเปญ ดังกล่าวส่งผลให้มีลูกค้าเพิ่มขึ้นมากกว่า 15,000 ราย และยอด Click Rate เพิ่มขึ้นมากกว่าค่าเฉลี่ย 3 เท่า บริษัทยังสามารถน�ำข้อมูลลูกค้ามาพัฒนากลยุทธ์การ บริหารจัดการความสัมพันธ์ลกู ค้าได้อกี ด้วย (Customer Relationship Management) (Economic Intelligence Center (EIC) Thai Commercial Bank, 2017)

ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จและข้อจ�ำกัดของการ ด�ำเนินธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในยุคเศรษฐกิจ ดิจิทัล

จากงานวิจยั ของ Yimprasert, Tubtimcharoon & Tansuwan (2017) เรือ่ ง ความต้องการของผูใ้ ช้บริการ โรงแรมขนาดเล็กและกลยุทธ์การตลาดของการประกอบ ธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ได้เสนอ แนวทางการด�ำเนินธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในยุคเศรษฐกิจ ดิจิทัล ดังนี้ ด้วยปัจจุบนั เป็นยุคทีผ่ บู้ ริโภคยกระดับการครอบครอง ตลาด โดยนักการตลาดรุน่ ใหม่ตอ้ งใส่ใจ วิเคราะห์ตลาด ให้ ลุ ่ ม ลึ ก มากขึ้ น ตั้ ง แต่ ก ารสร้ า งแนวคิ ด ผลิ ต ภั ณ ฑ์

(Product Concept) ทีน่ อกจากต้องส�ำรวจตลาดคูแ่ ข่งแล้ว ต้องเข้าใจถึงพฤติกรรมผู้บริโภคในเชิงลึก (Consumer Insight) คือ Human Insight อาจเป็นปัจจัยที่มอง ไม่เห็นที่ซ่อนเร้นอยู่ภายใน (Invisibles) ของผู้บริโภค ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กต้องพิจารณาให้ รอบด้าน กล่าวคือ ด้านจิตวิทยา ต้องเกี่ยวกับเรื่องของ แรงจูงใจ (Motivations) การรับรู้ (Perception) บุคลิกภาพ (Personality) และทัศนคติ (Attitude) คือ รูปแบบของ การตลาด 3.0 ซึง่ เป็นการตลาดทีต่ อ้ งการตอบสนองถึงขัน้ Human Spirit และการตลาดแบบ 4Es ยังให้ความส�ำคัญ กับผู้บริโภคที่ละเอียดอ่อนมากขึ้น ดังนี้ 1. Experience เริม่ จากประสบการณ์ทมี่ ตี อ่ ผลิตภัณฑ์ (Product Experience) ซึ่งเน้นความต้องการสวนตัว เฉพาะผู้บริโภคในแต่ละราย ส�ำหรับกลยุทธ์การสร้าง แนวคิดผลิตภัณฑ์ (Product Concept) ของโรงแรม ขนาดเล็กหลายแห่งเน้นการพัฒนาแบบความแตกต่าง (Differentiation) ทีส่ ร้างความโดดเด่นแตกต่างจากโรงแรม อื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นการตกแต่งทั้งภายนอกและภายใน แม้แต่ในโรงแรมเดียวกันอาจจัดห้องพักที่มีบรรยากาศ ต่างกัน ประสบการณ์ต่อเจ้าของ ผู้บริหาร พนักงาน ในทุกระดับ (People Experience) บุคคลดังกล่าวทัง้ หมด มีผลต่อคุณภาพของการให้บริการ ท่ามกลางการแข่งขัน ทีร่ นุ แรงของธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กปัจจุบนั การยกระดับ คุณภาพการบริการจึงเป็นกลยุทธ์สำ� คัญทีผ่ ปู้ ระกอบการ ควรค�ำนึงถึง โดยเฉพาะอย่างยิง่ โรงแรมขนาดเล็กทีเ่ ติบโต อย่างรวดเร็ว มีการบริหารจัดการโดยผูป้ ระกอบการเอง ซึง่ จากผลการวิจยั พบว่า เป็นเจ้าของทีด่ นิ หรือครอบครัว เป็นเจ้าของทีด่ นิ จึงน�ำมาพัฒนาเป็นธุรกิจโรงแรมขนาดเล็ก ทีส่ ำ� คัญคือ ไม่มปี ระสบการณ์ดา้ นบริหารจัดการโรงแรม มาก่อน ขาดความรูด้ า้ นเทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ หมาะสม กับยุคเศรษฐกิจดิจิทัล และมีการบริหารจัดการใช้วิธีแก้ ปัญหาเฉพาะหน้า เพราะไม่ได้เข้าร่วมกับการบริหาร จัดการแบบเครือข่ายใดๆ (Chain) และยังไม่มีองค์กร หรือหน่วยงานทีด่ แู ลมาตรฐานการให้บริการ การทีธ่ รุ กิจ โรงแรมขนาดเล็กจะสามารถอยูร่ อดได้ (Business Survival)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

และประสบความส�ำเร็จทางธุรกิจ ต้องใช้กลยุทธ์การบริการ ทีเ่ ป็นเลิศ ซึง่ มีปจั จัยส�ำคัญทีส่ ดุ คือ ผูใ้ ห้บริการ ซึง่ โรงแรม ขนาดเล็ก พนักงานคนเดียวจะปฏิบัติงานหลายหน้าที่ ในเวลาเดียวกันเพราะมีจ�ำนวนผู้เข้าพักไม่มาก โรงแรม บางแห่งใช้วิธีการจ้างลูกจ้างชั่วคราวตามฤดูกาล โดย ผูป้ ระกอบการท�ำหน้าทีส่ อนงานด้วยตนเอง ซึง่ ขาดระบบ และมาตรฐาน ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของโรงแรม เพราะ ผู้บริโภคยุคดิจิทัล (Digital Age) สามารถเปรียบเทียบ การให้บริการของโรงแรมต่างๆ จากการรีวิวและการให้ คะแนนของผู้เข้าพักผ่านเว็บไซต์หรือสื่อออนไลน์ของ ตัวกลางทีใ่ ห้บริการจองโรงแรมผ่านอินเทอร์เน็ต (Online Travel Agent: OTA) ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งจากการวิจัยนั้นคณะวิจัยได้ศึกษาจากความ ต้องการของผู้ที่เข้าพักจริงในโรงแรมขนาดเล็กพบว่า มีความสอดคล้องกับการรีวิวของผู้เข้าพักในเว็บไซต์คือ ต้องการการบริการที่ดีสร้างความประทับใจ และเมื่อ สัมภาษณ์ผปู้ ระกอบการหรือผูบ้ ริหารพบว่า ลูกค้าทีก่ ลับมา พักอีก เพราะประทับใจในการบริการทีอ่ บอุน่ สะดวกสบาย เป็นกันเอง เสมือนบ้านหลังที่สอง ดังนั้นกลยุทธ์ของ โรงแรมขนาดเล็กคือ การทีเ่ จ้าของกิจการบริหารงานเอง และพักอาศัยอยู่ที่โรงแรม ต้องพัฒนางานบริการที่เติม ความใส่ใจในทุกเรือ่ ง ยกตัวอย่างกลุม่ โรงแรมของจังหวัด สุโขทัยจะมีบริการอาหารเช้าทีเ่ จ้าของปรุงเองหรือจัดหา มาให้เป็นพิเศษ ตกแต่งอย่างสวยงามตามแบบอย่าง ความเป็นไทย ซึง่ สามารถสร้างความประทับใจให้ผเู้ ข้าพัก โดยเฉพาะชาวต่างชาติ ส่วนกลุ่มโรงแรมของจังหวัด สุราษฎร์ธานี ผู้ประกอบการบริการไปรับ-ส่งผู้เข้าพักที่ สนามบินด้วยตัวเอง รวมทัง้ โรงแรมขนาดเล็กทุกแห่งจะ จ้างแรงงานในท้องถิน่ ซึง่ สามารถแนะน�ำแหล่งท่องเทีย่ ว ต่างๆ ได้ ส่งผลให้มกี ารพูดต่อๆ กัน (Word of Mouth) จนเป็นทีร่ จู้ กั ในกลุม่ นักท่องเทีย่ ว นอกจากนีผ้ ปู้ ระกอบการ ต้ อ งพั ฒ นาความรู ้ แ ละทั ก ษะด้ า นการตลาดเนื้ อ หา (Content Marketing) มีการเล่าเรือ่ งผ่านสือ่ ต่างๆ เช่น ภาพ วีดิทัศน์ บทความ เป็นต้น ที่สามารถไปกระตุ้น กลุ่มลูกค้าของโรงแรม โดยผ่านเว็บไซต์ของโรงแรมที่

271

สามารถเข้าชมจาก Mobile Device ได้ในทุกอุปกรณ์ สื่อสาร เพื่อสร้างประสบการณ์ทางอ้อมที่ถูกต้องให้กับ ผู้บริโภคยุคดิจิทัล ประสบการณ์ด้านกระบวนการ (Process Experience) นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ นิยมเดินทางท่องเทีย่ วด้วยตนเอง จึงต้องการกระบวนการ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและรวดเร็ว ตัง้ แต่การค้นหาข้อมูลเกีย่ วกับ โรงแรม การส�ำรองทีพ่ กั ช่องทางการช�ำระเงิน กระบวนการ Check in/out และการให้บริการเสริมต่างๆ รวมทั้ง โปรโมชั่น สิ่งส�ำคัญที่พบจากงานวิจัยคือ ต้องอาศัย พนักงานที่มีประสิทธิภาพหรือเครื่องมือทันสมัยที่ท�ำให้ เกิดกระบวนการทีส่ ามารถส่งมอบบริการทีม่ คี ณ ุ ภาพได้ ซึ่งการประกอบธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กมีจุดอ่อนคือ เจ้าของธุรกิจไม่มคี วามเชีย่ วชาญด้านการตลาดออนไลน์ จึงต้องใช้บริการตัวกลางที่ให้บริการจองโรงแรมผ่าน อินเทอร์เน็ต (Online Travel Agent: OTA) ซึ่งต้อง จ่ายส่วนแบ่งค่าตอบแทนให้กับตัวกลางค่อนข้างสูง โดยประมาณร้อยละ 15-30 ของค่าห้องพักที่ขายได้ ผู้ประกอบการจึงต้องศึกษาถึงข้อได้เปรียบที่เกี่ยวกับ กระบวนการต่างๆ ของโรงแรมขนาดเล็กทีต่ รงตามความ ต้องการของผู้เข้าพักทั้งที่เป็นระบบบริหารจัดการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งโรงแรมขนาดเล็กจะสามารถ อ�ำนวยความสะดวกด้านต่างๆ และการบริการที่เข้าถึง ตัวผู้เข้าพักเฉพาะราย ควรต้องปรับกระบวนการให้มี ความเป็นสากล กล่าวคือ การเข้าถึงผูเ้ ข้าพัก ต้องอ�ำนวยความสะดวกด้าน เวลาและสถานทีแ่ ก่ผเู้ ข้าพัก เช่น สามารถจองทีพ่ กั และ ช�ำระเงินผ่านระบบออนไลน์ เป็นต้น การท�ำความรูจ้ กั ผูเ้ ข้าพัก เริม่ จากความพยายาม ค้นหาและท�ำความเข้าใจกับความต้องการของผู้เข้าพัก รวมทัง้ ให้ความสนใจตอบสนองความต้องการของผูเ้ ข้าพัก การติดต่อสือ่ สาร ต้องมีชอ่ งทางการติดต่อสือ่ สาร ทีห่ ลากหลาย สามารถสือ่ สารได้ถกู ต้องชัดเจน ใช้ภาษา ที่ง่าย สุภาพ และรับฟังเสียงสะท้อนจากผู้เข้าพัก

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


272

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

การปฏิสมั พันธ์กบั ผูเ้ ข้าพัก พนักงานโรงแรมต้อง แสดงการต้อนรับผู้เข้าพักด้วยรอยยิ้ม มีท่าทีที่อ่อนโยน พูดจาสุภาพเรียบร้อย และใส่ใจกับผู้เข้าพัก จนกระทั่ง ออกจากโรงแรม การตอบสนองผู้เข้าพัก ต้องแสดงความเต็มใจ ทีจ่ ะช่วยเหลือและพร้อมให้บริการผูเ้ ข้าพักอย่างทันที เช่น เมื่อมีปัญหาการใช้บริการต่างๆ ของโรงแรม พนักงาน ต้องให้ความสนใจต่อปัญหา แนะน�ำและให้ข้อมูลกับ ผู้เข้าพักโดยตรง จนเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง เป็นต้น รวมทั้ ง การน� ำ เทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช้ ในกระบวนการบริหารจัดการ ซึ่งจากการสอบถามผู้ที่ เข้าพักจริงในโรงแรมขนาดเล็กพบว่า มีความต้องการใช้ เทคโนโลยีใหม่ๆ ทีเ่ กีย่ วกับการอ�ำนวยความสะดวกของ โรงแรมอย่างแน่นอน ส�ำหรับประสบการณ์ดา้ นสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ (Physical Evidence Experience) ข้อได้เปรียบของ โรงแรมขนาดเล็กคือ การสะท้อนให้เห็นอัตลักษณ์ของ โรงแรมและถ่ า ยทอดบรรยากาศความเป็ น ท้ อ งถิ่ น ที่ชัดเจน ดังนั้น การสร้างประสบการณ์การรับรู้ด้าน สิง่ แวดล้อมทางกายภาพให้แก่ผสู้ นใจเข้าพัก เช่นเดียวกัน กับด้านอืน่ ๆ ผูป้ ระกอบการสามารถใช้ประโยชน์จากการ สื่อสารผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก น�ำกลยุทธ์ ด้านการตลาดเนือ้ หามาเป็นแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ ของโรงแรมให้ทนั สมัย ดึงดูดใจ และสามารถรองรับการ เปิดผ่านสมาร์ทโฟนทุกประเภท ทีส่ �ำคัญคือ กลุม่ ผูส้ นใจ เข้าพักต้องได้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้อง ตรงตามความเป็นจริง ดังนัน้ ต้องมีการน�ำเสนอเนือ้ หา รูปภาพ วีดทิ ศั น์ แบบมืออาชีพ และสื่ อ สารด้ ว ยภาษาอั ง กฤษเพื่ อ เป็ น การสะท้ อ น ภาพลักษณ์ของโรงแรม 2. Everyplace หรือสถานที่ที่หลากหลาย คือ Place (7P’s) และ Customer Convenience (7C’s) ผู้ประกอบการโรงแรมขนาดเล็กต้องพัฒนาระบบสื่อ ออนไลน์เพือ่ น�ำเสนอข้อมูล ข่าวสารของโรงแรมหลากหลาย รูปแบบ เช่น Hotel website, Facebook, Fanpage, Instagram, YouTube เป็นต้น และมีพนักงานปรับปรุง

ข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ รวมทั้งเพิ่มฟังก์ชั่นการใช้งาน เพื่อให้ผู้สนใจใช้บริการสามารถติดต่อสื่อสารได้สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ การเลือกใช้เนือ้ หา ข้อความ ภาพ วีดิทัศน์ ควรเป็นแนวทางเดียวกันของ Content Style Guide ที่ก�ำหนดไว้ 3. Exchange หรือการแลกเปลี่ยน ซึ่งคือ Price (7P’s) และ Customer Cost (7C’s) การที่โรงแรม ขนาดเล็กได้รับความนิยมมากขึ้น และสามารถเข้าถึง กลุ่มนักท่องเที่ยวทั่วโลกจากการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ผ่านสือ่ ออนไลน์ จึงต้องน�ำระบบการท�ำธุรกรรมการเงิน ผ่านช่องทางที่หลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะมีการท�ำ ธุรกรรมการเงินออนไลน์เพือ่ ช�ำระเงินค่าห้องพัก/บริการ ออนไลน์ เพราะกลุม่ ผูส้ นใจเข้าพักทัง้ ทีเ่ ป็น Generation X และ Y นิยมช�ำระเงินผ่านสมาร์ทโฟนทีป่ ระหยัดเวลา รวดเร็ว และสะดวกมากกว่าใช้เงินสด สิง่ ทีผ่ ปู้ ระกอบการ ต้องให้ความสนใจเพือ่ ให้เท่าทันกระแสการเปลีย่ นแปลง ของโลกคือ 1) พฤติกรรมนักท่องเทีย่ วทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปเป็น Prosumer 4.0 2) การปรับเปลีย่ นระบบธุรกิจแบบการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์หรือการพาณิชย์บนมือถือ (E-commerce/ M-commerce) ต้องอาศัยการธนาคารแบบดิจิทัล ช�ำระเงินในรูปแบบออนไลน์ 3) การเข้าสูส่ งั คมผูบ้ ริโภคไม่ใช้เงินสด (Cashless Society) และปรับเปลี่ยนมาใช้บัตรเดบิต บัตรเครดิต การธนาคารผ่านระบบอินเทอร์เน็ตและผ่านระบบมือถือ (Internet Banking และ Mobile Banking) เพื่อเพิ่ม ช่องทางการช�ำระเงิน 4) นโยบายเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล (Digital Economy) ซึ่งเป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างพืน้ ฐาน (National e-Payment Master Plan) จัดท�ำโดยกระทรวงการคลัง มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ พัฒนาระบบ การช�ำระเงินของประเทศไทยให้เข้าสูร่ ะบบการช�ำระเงิน แบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

4. Evangelism หรือการประกาศชวนเชื่อ คือ Promotion (7P’s) และ Communication (7C’s) ผูป้ ระกอบการโรงแรมขนาดเล็กควรแนะน�ำข้อมูลห้องพัก และบริการผ่านการใช้สอื่ ออนไลน์เป็นหลัก สามารถเข้าถึง กลุม่ เป้าหมายได้รวดเร็วและเจาะจงในวงกว้างกว่าสือ่ เดิม (Traditional Media) การจัดท�ำเว็บไซต์โรงแรมทีส่ อดคล้อง กับการส่งเสริมการตลาดต้องมีเนือ้ หาทีค่ รอบคลุม มีสาระ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตรงตามความต้องการของผูส้ นใจเข้าพัก มีรปู แบบการน�ำเสนอทีน่ า่ สนใจ ปรับปรุงข้อมูลให้ทนั สมัย อยู่เสมอ และสร้างความเชื่อมโยงกับสื่อออนไลน์อื่นๆ เพือ่ เพิม่ พืน้ ทีก่ ารโฆษณาและประชาสัมพันธ์ได้แพร่หลาย มากขึ้น ส�ำหรับการจัดท�ำเว็บไซต์ สือ่ ออนไลน์ทผี่ ปู้ ระกอบการควรศึกษาอีกประเภท คือ Blog ที่นักการตลาดนิยมใช้น�ำเสนอบทความที่มี เนือ้ หาสาระเกีย่ วข้องกับธุรกิจโรงแรม เพือ่ บอกเล่าเรือ่ งราว ข่าวสาร ถ่ายทอดประสบการณ์ทมี่ เี นือ้ หาสาระกับผูต้ ดิ ตาม ข้อดีของการท�ำ Blog คือ ไม่มีค่าใช้จ่าย และปัจจุบัน มีผู้ให้บริการฟรี ได้แก่ blogger ของ google และ wordpress ส�ำหรับการรักษาฐานลูกค้าเก่าให้มาใช้บริการซ�ำ้ คือ การหาโอกาสและจังหวะทีด่ สี ำ� หรับการติดต่อสือ่ สาร เช่น การอวยพรในช่วงเทศกาลต่างๆ การแจ้งข่าวโปรโมชัน่ และส่งข้อมูลข่าวสารทีท่ นั สมัย ทันต่อเหตุการณ์ เป็นต้น เพื่อย�้ำเตือนให้ผู้ที่เคยใช้บริการนึกถึงโรงแรมของเรา อยู่เสมอ ถึงแม้ลูกค้าเก่าจะไม่ได้กลับมาใช้บริการด้วย ตนเอง แต่อาจแนะน�ำให้ผอู้ นื่ มาใช้บริการแทนและท�ำให้ โรงแรมมีโอกาสขยายฐานลูกค้าได้มากขึ้น

273

สรุป

การประกอบธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในยุคเศรษฐกิจ ดิจิทัล ผู้ประกอบการต้องตระหนักถึงพฤติกรรมของ นักท่องเที่ยวที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเป็นผู้บริโภคที่ไม่เชื่อ แบรนด์ ฉลาดรอบรู้ เป็นผู้น�ำ และพร้อมจะหาข้อมูล ด้วยตนเอง โดยเรียกผู้บริโภคยุคนี้ว่า Prosumer 4.0 ผูป้ ระกอบการธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กของไทยต้องเตรียม ความพร้อมโดยน�ำเทคโนโลยี พัฒนากลยุทธ์ และการ ด�ำเนินกิจกรรมการตลาดแนวใหม่เข้ามาเพิม่ มูลค่าสินค้า หรือบริการ ยกระดับความสามารถทางการแข่งขันเพื่อ รองรับ Prosumer ทีพ่ ร้อมจะค้นหา เปรียบเทียบ เข้าถึง ข้อมูลโรงแรมขนาดเล็กได้โดยปลายนิ้วจาก Mobile Device ผู้ประกอบการโรงแรมขนาดเล็กต้องท�ำให้เกิด การแบ่งปันประสบการณ์ (Experience) จากการที่ได้ เข้าพักได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา (Everyplace) พร้อมแลกเปลีย่ น เรียนรูข้ อ้ มูล (Exchange) โดยทีผ่ ปู้ ระกอบการต้องด�ำเนิน กิจกรรมต่างๆ ผ่านการใช้สื่อออนไลน์ (Evangelism) ทีส่ ามารถเข้าถึงกลุม่ เป้าหมายได้รวดเร็ว มีสาระประโยชน์ ตรงตามความต้องการของ Prosumer จึงเป็นความ ท้าทายให้ผปู้ ระกอบการยุคนีต้ อ้ งมีการเสริมสร้างความรู้ ความสามารถเชิงกลยุทธ์ เพือ่ การบริหารจัดการโรงแรม ผ่านระบบธุรกิจออนไลน์ ให้สามารถลดค่าใช้จ่ายและ เพิ่มผลก�ำไรอย่างยั่งยืน ตลอดจนเป็นไปตามมาตรฐาน การบริการ (Service Standard) เพื่อประกอบธุรกิจ โรงแรมขนาดเล็กให้มีมาตรฐานเทียบเท่านานาประเทศ และส่งเสริมให้สามารถน�ำส่งคุณค่าความประทับใจ (Value Oriented) ไปสู่นักท่องเที่ยว มีการส่งต่อ ประสบการณ์ (Share) ที่ท�ำให้เกิดการรับรู้ในวงกว้าง ส่งผลต่อการพัฒนาธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กของประเทศไทย ให้เป็นไปอย่างยั่งยืน

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


274

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

References

Apichairak, P. (2007). The Management of Small Size Hotels Business in Amphoe Mueang, Chiang Mai Province. Master Degree Thesis, Graduate School, Chiang Mai University. [in Thai] Chomwong, W. (2009). Measuring Service Quality in Thai Hotel Industry: A Comparative Study of Boutique and Business Hotels. Master Degree Thesis, Thammasat University. [in Thai] Department of Tourism. (2015). Continuation Plan of Tourism Department FY 2013. Bangkok: Ministry of Tourism and Sports. [in Thai] Glancey, K. & Pettigrew, M. (1997). Entrepreneurship in the small hotel sector. International Journal of Conemporary Hospitality Management, 9(1), 21-27. Institute for Small and Medium Enterprises Development. (2010). Hotel and Resort Business Analysis 2010. Bangkok: Technology Promotion Association (Thailand-Japan). [in Thai] Khawsa-art, M., Kherfu, A. & Anthong, A. (2005). Domistic Value Added of Tourism Industry in Chiang Mai. Research Report, Chiang Mai University. [in Thai] Marketing Research Association of Thailand. (2016). Prosumer 4.0 version. Retrieved September 20, 2017, from http://www.marketingthai.or.th/wp-content/uploads/2016/09/2016_02_ PROSUMER-4.0-VERSION_Thai1.pdf [in Thai] Moriarty, J., Jones, R., Rowley, J. & Teahan, B. K. (2008). Marketing in small hotels: a qualitative study. Marketing Intelligence and Planning, 26(3), 293-315. Morrison, A. (1992). The small firm within the UK hotel industry. Proceedings of the Small Firms Conference, Strathclydc University. National Stational Statistical Office. (2016). Hotels and Guesthouse Operations. Retrieved August 28, 2017, from http://www.nso.go.th [in Thai] Ngamkhajornkulkij, W. (2016). Unterstanding and Reaching Consumers 4.0 for Successful Branding. The 11th National and International Sripatum University Conference (SPUCON2016), Researches and Innovations for Sustainable Development. Proceeding pp.1251-1256. [in Thai] Nitu, F. & Bakucz, M. (2014). Strategy for Small Hotels case study of a Hotel Located in Harkany, Hungary. European Journal of Tourism, Hospitality and Recreation, (Special Issue), 107-126. Rorwimongkol, R. (2009). Problems and Satisfaction of French Tourists during their Stay in Hotels in Thailand. Master Degree Thesis, Chiang Mai University. [in Thai] Sasa, Z. & Borut, M. (2014). Social responsibility, motivation and satisfaction: small hotels guests perspective. Kybernetes, 43(3/4), 513-52. Soipech, S. (2007). Hotel Management. Khon Kaen: Khon Kaen University Press. [in Thai] Somsawasd, A. (2009). Boutique Hotel. Bangkok: Amarin Printing and Publishing. [in Thai] Sooksuth, T., Pongsiri, K. & Karnchanapairoj, C. (2012). Guest’s Expectation and Alternative Problem Solution of Boutique Hotel to Standardize Enhancement. Research Report to Suan Sunandha Rajabhat University. [in Thai] ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

275

Suriya, S. (2013). Guidelines for Service Quality Development of Hotel’s Front Office Department to Support Asian Tourists: A Study of Boutique Hotels in Bangkok. Master Degree Thesis, National Institute of Development Administration. [in Thai] Thai Commercial Bank, Economic Intelligence Center (EIC). (2017). Insight Prosumer 4.0. Retrieved August 28, 2017, from http://www.scbeic.com/th/detail/file/product/3646/er02dnback/ EIC_Insight_consumer_2017_TH.pdf [in Thai] Thailand Hotel Associate. (2010). Hotel Management. Bangkok: Thailand Hotels Association. [in Thai] The secretariat of the House of Representatives. (2015). Academic focus. Retrieved September 4, 2016, from http://dl.parliament.go.th/handle/lirt/414283 [in Thai] Timothy, D. J. & Teye, V. B. (2009). Tourism and the lodging sector. USA: Elsevier Inc. Treetrong, A., Pangkesorn, A., Tubtimcharoon, N. & Keonil, N. (2014). Creation Economic Interior Environmental Design in Small Hotel for Promoting the Standard of Thailand Tourism. Research Report to Research and Development Institute, Silpakorn University. [in Thai] Wongchiag, A. & Khemthong, S. (2012). An Approach of Increasing the Efficiency of Medium and Small Sized Hotel Business in Hua-Hin District, Prachabkhirikhan Province. Modern Management Journal, 10(1), 108-118. [in Thai] Wuthipongpipat, W. (2007). Customers Satisfactions towards Small-Sized Hotels Accommadations Services in Muang District, Chiang Rai Province. Master Degree Thesis, Chiang Rai Rajabhat University. [in Thai] Yimprasert, U., Tubtimcharoon, N. & Tansuwan, K. (2017). The Customer Demand of Small Hotel and the Marketing Strategy of the Business of Small Hotel in Digital Economy Age in Thailand: 50 Small Hotels Case Study. Research Report to National Research Council. [in Thai]

Name and Surname: Nata Tubtimcaroon Highest Education: Ph.D. in Quality Management, Suan Sunandha Rajabhat University University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field of Expertise: Benchmarking, Services Marketing and Process Improvement Address: 85/1 Moo 2, Chaengwattana Rd., Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)





Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

279

การสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของจีน (เกาเข่า): มุมมองเชิงอ�ำนาจ CHINA’S COLLEGE ENTRANCE EXAMINATION (GAOKAO): A PERSPECTIVE OF POWER จิตติ เอื้อนรการกิจ Chitti Urnorakankij คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ Graduate School of Communication Arts and Management Innovation, National Institute of Development Administration

บทคัดย่อ

การสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของประเทศจีน (จากนี้จะเรียกทับศัพท์ตามภาษาจีนว่า เกาเข่า–gaokao) เป็นการสอบทีม่ กี ารแข่งขันสูงสุดในประเทศจีนและอาจจะทีส่ ดุ ในโลก เพราะนักเรียนทีส่ ำ� เร็จระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายของจีนทุกคนต้องเข้าสอบก่อนก้าวสู่รั้วมหาวิทยาลัย คะแนนสอบเกาเข่าไม่ใช่เพียงคะแนน เพื่อเลื่อนระดับชั้นการศึกษาธรรมดา แต่เป็นคะแนนที่มีอ�ำนาจก�ำหนดชีวิตของแต่ละคน ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย ที่เรียนมีผลต่อการหางานของบัณฑิต เกาเข่ากลายเป็นเครื่องมือส�ำคัญที่ขับเคลื่อนสังคมจีนอย่างมีอำ� นาจ แม้จะเป็น การสอบส�ำหรับการศึกษาระดับสูง แต่เด็กส่วนใหญ่ถกู ขับเคีย่ วให้สงั่ สมศักยภาพในการสอบตัง้ แต่เข้าเรียนระดับอนุบาล จนถึงการติวอย่างเข้มข้นในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เด็กต้องอยู่ภายใต้การควบคุมและบงการของครูอย่างเคร่งครัด เพื่อให้มั่นใจว่าทุกนาทีจะถูกใช้อย่างมีคุณค่า และส่งผลทางบวกต่อคะแนนสอบเกาเข่า โดยพ่อแม่ ผู้ปกครองรู้เห็น และสนับสนุนการเรียนทีเ่ คร่งเครียดและยัดเยียดนัน้ มีงานศึกษาวิจยั หลายชิน้ แสดงให้เห็นการสอบเกาเข่าว่า มีความ สัมพันธ์กับอัตราการฆ่าตัวตายของเด็กวัยเรียนในจีน งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งศึกษาอ�ำนาจของการสอบเกาเข่า และการที่ เกาเข่าใช้อ�ำนาจนั้นขับเคลื่อนสังคมจีน โดยใช้การทบทวนวรรณกรรมเป็นหลัก ค�ำส�ำคัญ: เกาเข่า การสอบเข้ามหาวิทยาลัย อ�ำนาจ การศึกษาระดับอุดมศึกษา จีน

Corresponding Author E-mail: xaykaykay@yahoo.com


280

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Abstract

The nationally unified college entrance examination in China (hereinafter referred to as gaokao) is the most important and most influential in China. It is the largest scale selective exam in China, if not in the world, with fierce competitions that all high school students have to take before enrolling higher education institutions. Gaokao score is not just an exam score but the score that has a power to determine entire life of individual. It is turned to be an influential mechanism that powerfully manipulated the entire China society. Though it is an examination for higher education, most Chinese students are trapped in exam-oriented education system to achieve gaokao’s high score since they are in kindergarten. The hardest time of a student’s life is in high school where students have to shoulder extreme pressures both from their parents and teachers. Many academic researches show the association between gaokao examination and high suicide rate of Chinese youth. This paper is to study the power of gaokao in manipulating and mobilizing Chinese society and also the origin of its power by using review literature approach. Keywords: Gaokao, College entrance examination, Power, Exam-oriented, China

บทน�ำ

ในแต่ ล ะปี มี นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาของจี น เข้าสอบคัดเลือกเพือ่ ศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาหรือเกาเข่า เกือบ 10 ล้านคน ขณะที่มีที่นั่งในมหาวิทยาลัยของรัฐ ประมาณ 6 ล้านที่ จนมีคำ� กล่าวเปรียบเปรยว่าเหมือน “สะพานซุงท่อนเดียวทีก่ องทัพทหารนับพันและฝูงม้านับสิบ ฮือกันข้ามอย่างแตกตืน่ ” (Zhu, 2014: 618) การแข่งขัน ที่เข้มข้นนี้ไม่ใช่เพียงเพื่อให้สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้แต่ ต้องได้ที่นั่งในมหาวิทยาลัยชั้นน�ำที่อยู่ในกลุ่ม first-tier university ด้วย เพราะตลาดงานทีด่ แี ละมีเกียรติของจีน ส่วนใหญ่เป็นของผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย ในกลุ่มนี้ ผู้ที่จะเข้าศึกษาต่อในสถาบันกลุ่มนี้ต้องสอบ เกาเข่าได้คะแนนระดับ first-tier เด็กส่วนใหญ่ของจีนจะถูกปลูกฝังตั้งแต่ชั้นประถม ให้เรียนหนักเพือ่ สอบเกาเข่าให้ได้คะแนนดี ทัง้ การเรียน ในโรงเรียนตามปกติที่มีการบ้านมากมายมหาศาลและ การเรียนพิเศษในวันหยุด สิ่งที่ตามมาคือ ความเครียด และแรงกดดันจากการแข่งขัน เด็กนักเรียนจีนถูกมองว่า ถูกกดดันและไม่มีความสุขมากที่สุดในโลก (Liu & Wu,

2006: 14) นอกจากนีย้ งั มีการศึกษาทีเ่ ชือ่ มโยงการสอบ เกาเข่าเข้ากับการฆ่าตัวตายของนักเรียน รายงานประจ�ำปี ด้านการศึกษาของจีน ค.ศ. 2014 ระบุว่า ในปี 2013 มีเด็กนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย ฆ่าตัวตาย 79 ราย โดยมีสาเหตุจากการต้องท�ำการบ้าน หนักและมีคะแนนสอบต�ำ่ ท�ำให้นกั เรียนเข้าใจว่า ตนเอง ไม่เป็นที่ต้องการของโรงเรียน การฆ่าตัวตายส่วนใหญ่ เกิดขึ้นในระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงกรกฎาคม ซึ่งเป็น ช่ ว งเวลาคาบเกี่ ย วกั บ การสอบเกาเข่ า และจงเข่ า (zhongkao) หรือการสอบเลื่อนระดับจากมัธยมศึกษา ตอนต้นขึ้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (Robert, 2014) จน สือ่ มวลชนตะวันตกบางส�ำนักขนานนามระบบการศึกษา ของจีนว่า “ระบบการศึกษาทีโ่ หดเหีย้ มของจีน” (China’s cutthroat school system) (Deng, 2014) แต่กระนัน้ ส่วนใหญ่พอ่ แม่ ผูป้ กครองรวมทัง้ ตัวเด็กเองก็ยงั เต็มใจทีจ่ ะ แบกรับความเครียดและแรงกดดันมหาศาลนี้ ผูป้ กครอง หลายคนลาออกจากงานเพือ่ ดูแลและอ�ำนวยความสะดวก ในการใช้ชีวิตให้ลูกหลานในช่วงหนึ่งปีก่อนสอบ เพื่อให้ เด็กๆ ได้ใช้เวลากับการเรียนเต็มที่ หลายครอบครัวยอม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

จ่ายเงินก้อนโตเพือ่ ให้ลกู หลานได้เรียนในโรงเรียนกวดวิชา ชื่อดัง เกาเข่ากลายเป็นช่วงเวลาชีวิตที่ส�ำคัญในชีวิต คนจีนยุคใหม่ งานวิจัยชิ้นนี้จัดท�ำขึ้นเพื่อศึกษาการสอบเกาเข่า ในมิตขิ องอ�ำนาจ ทัง้ กระบวนการในการสร้างอ�ำนาจของ เกาเข่ า และการที่เ กาเข่าใช้อ�ำ นาจนั้นผลัก ดันและ ขับเคลือ่ นสังคมจีน โดยใช้การทบทวนวรรณกรรมเป็นหลัก ซึ่งวรรณกรรมในที่นี้นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์แล้วยังรวมถึง รายการข่าว สารคดีโทรทัศน์ และสือ่ เผยแพร่อนื่ ๆ เกีย่ วกับ เกาเข่าที่มีผู้ผลิตไว้ มีกรอบแนวคิดว่าด้วยอ�ำนาจของ มิเชล ฟูโกต์ (Michel Foucault) และฮาบิทสั (habitus) กับทุนทางวัฒนธรรม (cultural capital) ของปิแอร์ บูร์ดิเยอ (Pierre Bourdieu) เป็นแนวทางในการศึกษา

เกาเข่า: คุณธรรมนิยมในระบบการศึกษา

การสอบเกาเข่าในช่วงแรกเกิดขึ้นพร้อมกับการตั้ง สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นการสอบตรงของแต่ละ มหาวิทยาลัย ต่อมาปี 1952 รัฐบาลได้เปลีย่ นเป็นการสอบ แบบรวมศูนย์ สอบวันเดียวกันทัง้ ประเทศ โดยการสอบ เกาเข่านี้ใช้กับจีนแผ่นดินใหญ่และทิเบต ระบบการสอบเกาเข่าต้องหยุดชะงักในช่วงปฏิวัติ วัฒนธรรม จนปี 1977 หลังสิ้นสุดการปฏิวัติวัฒนธรรม การสอบจึงถูกรื้อฟื้นขึ้น โดยถูกท�ำให้มีบทบาทมากกว่า การคัดเลือกคนเข้ามหาวิทยาลัย โดยรัฐบาลพยายาม ท�ำให้เป็นระบบการสอบแข่งขันทีเ่ ป็นธรรม (merit-based test) เพราะนักเรียนทุกคนเท่าเทียมกันต่อหน้ากระดาษ ข้อสอบ (Liu & Wu, 2006: 12) สอดคล้องกับระบบ คุณธรรมนิยม (meritocracy) ซึ่งเป็นแนวคิดพื้นฐาน ของการคัดเลือกคนเข้ารับราชการหรือการสอบเคอจวี่ (keju) ที่เริ่มใช้มาตั้งแต่สมัยปลายราชวงศ์ฮั่น (206 ปี ก่อนคริสตศักราช–ค.ศ. 220) หลักการพืน้ ฐานของระบบ คุณธรรมนิยมคือ การให้รางวัลตามความสามารถ ไม่ขนึ้ กับชนชั้นหรือฐานะทางสังคมหรือความสัมพันธ์กับผู้มี อิทธิพล แต่จะให้รางวัลตามผลงาน ผูท้ ที่ �ำผลงานดีทสี่ ดุ ก็จะได้รับงานหรือต�ำแหน่งที่ดีที่สุดและไม่ให้รางวัลกับ

281

ผูท้ ำ� ผลงานไม่ดี (Woradilok, 1995: 70) รางวัลส�ำหรับ ผูท้ ำ� คะแนนเกาเข่าได้ดคี อื การได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ผูท้ ที่ ำ� ผลงานได้ดที สี่ ดุ ก็จะได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำ ระบบคุณธรรมนิยมนีเ้ องทีเ่ ป็นจุดเริม่ ต้นของอ�ำนาจเกาเข่า แม้ โ ดยหลั ก การพื้ น ฐานระบบคุ ณ ธรรมนิ ย มจะ เป็นการคัดเลือกบุคลากรตามความรู้ ความสามารถ ปราศจากอคติทางชนชัน้ แต่การตอบแทนความสามารถ โดยมีรางวัลเป็นแรงจูงใจท�ำให้เกิดการแข่งขันเพื่อให้ ตนเองได้รางวัลดีทสี่ ดุ และรางวัลตอบแทนผูส้ อบเกาเข่า ได้คะแนนดีไม่ใช่เพียงแค่การได้เรียนในมหาวิทยาลัย ชั้นน�ำเท่านั้น แต่มีความหมายต่อเนื่องไปถึงโอกาสทาง สังคมและเศรษฐกิจ จีนเป็นสังคมที่ให้คุณค่าของคน ตามสถาบันการศึกษา ใบปริญญาจากมหาวิทยาลัยชิงหัว และมหาวิทยาลัยปักกิง่ ซึง่ เป็นมหาวิทยาลัยทีม่ คี ณ ุ ภาพ ติดอันดับโลกจึงมีคา่ มากกว่าใบปริญญาของมหาวิทยาลัย ระดับรองลงมา 2 ใบรวมกัน (Carducci, 2012: 15) การสอบเกาเข่าจึงเป็นการลงทุนเพือ่ ยกระดับฐานะทาง เศรษฐกิจและสังคมผ่านทางสถาบันการศึกษาตามแนวคิด เรือ่ งทุนทางวัฒนธรรมของบูรด์ เิ ยอ นักทฤษฎีวฒ ั นธรรม วิพากษ์ ชาวฝรัง่ เศส บูรด์ เิ ยอมองว่า ในสังคมทีเ่ ชือ่ มโยง วุฒิการศึกษากับอาชีพการงานเข้าด้วยกัน การเรียนจบ อย่างเดียวไม่พอ แต่ต้องดูว่าจบจากสถาบันใดด้วย (Kaewthep & Hinwiman, 2010: 551) การสอบ เกาเข่ากลายเป็นการคัดเลือกและแบ่งแยกคนเพือ่ ตลาด แรงงาน blue collar และ white collar โดยปริยาย การสร้างบรรยากาศของการแข่งขันเพือ่ ให้ได้ทนี่ งั่ ทีด่ ที สี่ ดุ ในมหาวิทยาลัยทีด่ ที สี่ ดุ เพือ่ ให้ได้งานทีด่ ที สี่ ดุ ตามแนวคิด ของระบบคุณธรรมนิยมในโลกการศึกษา จึงเป็นอ�ำนาจ แรกเริ่มของเกาเข่าที่ถูกสร้างและค่อยๆ ขยายอิทธิพล กดทับลงมาบนสังคมจีนอย่างแนบแน่น

เกาเข่า: อ�ำนาจสถาปนาของพระเจ้าทีม่ เี พียง หนึ่งเดียว แม้โดยรูปแบบแล้ว เกาเข่าเป็นเพียงการสอบคัดเลือก เพือ่ เรียนต่อระดับอุดมศึกษา แต่ในแง่บทบาททางสังคม

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


282

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

เกาเข่ามีอ�ำนาจขับเคลื่อนสังคมจีนอย่างเป็นระบบดุจ “ไม้ในมือวาทยากร (conductor’s baton)” (Liu & Wu, 2006: 11) ที่บงการและขับเคลื่อนทุกองคาพยพ ในสังคมจีน การก�ำหนดว่านักเรียนมัธยมไม่สามารถเลื่อนขึ้นสู่ การศึกษาระดับอุดมศึกษาได้หากไม่ผ่านการสอบนี้ เกาเข่าจึงมีอำ� นาจผูกขาดโดยอัตโนมัตเิ ปรียบได้กบั อ�ำนาจ ของพระเจ้าทีม่ เี พียงองค์เดียว เป็นพระเจ้าทีน่ กั เรียนต้อง น�ำความรู้ ความสามารถของตนเองไปสังเวยบูชาเพือ่ ให้ ได้รบั รางวัลอันยิง่ ใหญ่จากพระองค์คอื คะแนนและทีน่ งั่ ในมหาวิทยาลัยทีด่ ี นักเรียนจึงต้องแข่งขันช่วงชิงกันอย่าง เต็มที่ ไม่ตา่ งจากทีค่ าอินและอาเบล1 ต้องฆ่ากันเองเพือ่ ให้ เป็นทีร่ กั ของพระเจ้า “การฆ่ากันเกิดจากการทีม่ พี ระเจ้า องค์เดียวเพราะไม่มที างเลือกอืน่ ๆ ทีจ่ ะมอบเครือ่ งบูชาให้ ในแง่นจี้ งึ ท�ำให้ดรู าวกับว่าพระเจ้ามี ‘ข้าวของ’ ‘ทรัพยากร’ จ�ำกัด พระเจ้าท�ำให้เกิดสิง่ ของหายาก พระเจ้าจึงตอบสนอง ไม่ได้ทุกคน” (Wongyannawa, 2014: 39) ไม่วา่ ใครก็ลว้ นไม่อยากเป็นผูท้ ถี่ กู ละเลยจากพระเจ้า การสอบเกาเข่าให้ได้คะแนนสูงเพื่อให้ได้เข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยจึงเป็นเป้าหมายสูงส่งในชีวติ เด็กจีนเกิดมา พร้อมกับความคาดหวังของพ่อแม่ ผูป้ กครองทีอ่ ยากเห็น พวกเขาสอบเกาเข่าได้คะแนนสูง เว็บไซต์แห่งหนึง่ น�ำเสนอ ภาพทารกน้อยพร้อมกระดาษหนึง่ แผ่นเขียนข้อความว่า “อีก 6,933 วัน สอบเกาเข่า” (Hua, 2016) การที่จีน เป็นสังคมทีย่ ดึ มัน่ ในความกตัญญู เด็กๆ โดยเฉพาะทีเ่ กิด ในยุคสมัยของนโยบายลูกคนเดียวจึงต้องแบกรับความ คาดหวังของตนเองและแรงกดดันจากครอบครัวว่า ต้อง ประสบความส�ำเร็จเพื่อเลี้ยงดูตอบแทนคุณบิดามารดา ขณะเดี ย วกั น ครอบครัวลูก คนเดียวก็จ ะทุ่มเทให้กับ การศึกษาของลูกหลานเพือ่ สร้างหลักประกันว่า จะมีคน เลี้ยงดูตัวเองในอนาคต ครอบครัวที่มีฐานะลงทุนสร้าง 1 บุตรของอดัมและอีวา คาอินฆ่าอาเบลเพราะพระเจ้าทรงประทาน

ความรักให้อาเบลคนเดียว เนือ่ งจากทรงพอพระทัยในของก�ำนัล ที่อาเบลถวายมากกว่าของคาอิน

ศักยภาพทางการแข่งขันให้ลกู หลานได้มากกว่า โดยพบว่า หลายครอบครัวตั้งแต่ลงทุนแปลงทุนทางเศรษฐกิจของ ตนเองให้เป็นทุนทางวัฒนธรรมของลูกตัง้ แต่เรียนอนุบาล Carducci (2012: 14-15) พบว่า ผูป้ กครองของเด็กอนุบาล จ�ำนวนมากขึน้ เรือ่ ยๆ ให้บตุ รหลานเรียนพิเศษในวันหยุด การเรียนพิเศษของเด็กอนุบาลในวัย 4-5 ขวบ ทีค่ าร์ดคุ ซี่ พบได้แก่ การตื่น 6 โมงเช้าในวันเสาร์ เพื่อเรียนภาษา อังกฤษ ต่อด้วยการเรียนดนตรีหรือคณิตศาสตร์ตอนบ่าย และหาก “โชคดีที่สุด” เด็กก็จะได้เรียนคัดลายมือและ วาดภาพในวันอาทิตย์ เหตุทพี่ อ่ แม่ ผูป้ กครองต้องเตรียม บุตรหลานให้พร้อมส�ำหรับการแข่งขันตั้งแต่วัยอนุบาล เพือ่ ท�ำให้พวกเขามีคณ ุ สมบัตสิ อดคล้องกับความต้องการ ของโรงเรียนประถมทีม่ ที นี่ งั่ ให้เฉพาะ “เด็กเก่งและรวย” การเรียนการสอนในระบบการศึกษาของจีนทุกระดับ จึงกลายเป็นการสอบเพื่อการแข่งขัน ขณะเดียวกันโรงเรียนมัธยมปลายหลายแห่งปรับ เนื้อหาของการเรียนการสอนเพื่อมุ่งให้นักเรียนสอบ เกาเข่าได้ มากกว่าการจะให้นกั เรียนมีความรู้ และเนือ้ หา ของโรงเรียนมัธยมต้นหลายแห่งก็ถกู ปรับเพือ่ ให้นกั เรียน สามารถสอบเข้าโรงเรียนมัธยมปลายทีม่ อี ตั ราการสอบผ่าน เกาเข่าสูง (Liu & Wu, 2006: 11) กระทรวงศึกษาธิการ ของจีนออกแบบหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายให้มี การเรียนการสอนในเนือ้ หาวิชาอัดแน่นในเวลาเพียง 2 ปี เพือ่ ให้ปสี ดุ ท้ายเป็นช่วงเวลาของการทบทวนเนือ้ หาวิชา ทั้งหมดรวมถึงการสอบซ้อมการสอบเกาเข่า ซึ่งหลาย โรงเรียนจัดให้มขี นึ้ ทุกเดือนเพือ่ ให้นกั เรียนท�ำความคุน้ เคย กับการสอบ การสอบซ้อมแต่ละครัง้ หมายถึง แรงกดดัน ในชีวิตที่เพิ่มขึ้น คนที่ได้คะแนนดีครั้งนี้ต้องพยายาม อย่างเต็มทีใ่ นการท�ำให้ดยี งิ่ ขึน้ หรืออย่างน้อยรักษาสถิติ ตัวเองในการสอบครั้งหน้า คนที่สอบได้คะแนนไม่ดีใน ครัง้ นีต้ อ้ งเข้มงวดกวดขันตัวเองเพือ่ ให้ได้คะแนนทีส่ งู ขึน้ ในการสอบครั้งต่อไป เกาเข่ากลายเป็นพระเจ้าที่นักเรียนมัธยมปลาย หลายคนยอมมอบกายถวายชีวิต สารคดีโทรทัศน์เรื่อง A Purpose Built School (Ding, 2016) บันทึกเรือ่ งราว

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

ของโรงเรียนมัธยมเหมาถานชาง (Maotanchang) มณฑล อันฮุย (Anhui) ทีม่ รี ะบบการติวนักเรียนเพือ่ เตรียมพร้อม การสอบเกาเข่าได้เข้มข้นทีส่ ดุ โรงเรียนหนึง่ บอกเล่าชีวติ ของนักเรียนในช่วงหนึ่งปีก่อนสอบเกาเข่าซึ่งแสดงให้ เห็นว่า กลิ่นอายของการปฏิวัติวัฒนธรรม ยังคงตกค้าง อยู่ในระบบการศึกษา ป้ายค�ำขวัญปลุกใจเพื่อให้เกิด ความมุง่ มัน่ เอาชนะอุปสรรค เช่น “สูเ้ พือ่ อนาคตทีด่ กี ว่า” (Fight for a better future) ติดเต็มผนังห้องเรียน และ ทุกครั้งหลังโรงเรียนจัดสอบซ้อมเกาเข่า ไม่ว่าผลของ คะแนนสอบจะเป็นเช่นไร นักเรียนต้องยืนวิจารณ์ตนเอง หน้าชั้น พร้อมให้ค�ำมั่นที่จะท�ำคะแนนให้ดีขึ้นในการ สอบซ้อมครั้งต่อไป ทุกคนอยู่ภายใต้สายตาของ “big brother” ที่ปรากฏกายในรูปของกล้องวงจรปิดที่มีอยู่ นับร้อยตัวทั่วโรงเรียน กล้องที่สามารถท�ำให้ครูจับจ้อง นักเรียนได้ทกุ อิรยิ าบท เมือ่ ใดนักเรียนกระท�ำอากัปกิรยิ า ที่ไม่ควรท�ำ เช่น ยิ้มในเวลาที่ควรต้องอ่านหนังสืออย่าง เคร่งเครียด เมื่อนั้นพวกเขาจะถูกเรียกให้ไปรับทราบ ความผิด โดยมีภาพจากกล้องวงจรปิดเป็นหลักฐาน ชี วิ ต ที่ อั ด แน่ น และเคร่ ง เครี ย ดของเด็ ก นั ก เรี ย น ได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากผู้ปกครอง เหมาถานชาง กลายเป็นเมืองที่มีประชากรต่างถิ่นมากกว่าคนในพื้นที่ เพราะผู้ปกครองต่างตามมาเช่าห้องพักเพื่อให้สามารถ ดูแลบุตรหลานได้อย่างใกล้ชิด (Ding, 2016) เกาเข่าจึงเปรียบได้กบั เครือ่ งจักรกลแห่งอ�ำนาจทีก่ ำ� ลัง “บังคับ จัดการ และเชิดชัก” ทุกส่วนประกอบในสังคม จีนตามกรอบแนวคิดว่าด้วย “อ�ำนาจ” กับ “กายวิภาค ทางการเมือง” ของ ฟูโกต์ ซึง่ เป็นเรือ่ งของการมุง่ บังคับ จัดการกับร่างกายมนุษย์ “เชิดชักส่วนประกอบต่างๆ ของร่างกาย อากัปกิรยิ า พฤติกรรมทัง้ หลายของร่างกายนัน้ กายมนุษย์ถูกต้อนเข้าไปในเครื่องจักรกลแห่งอ�ำนาจ ที่ท�ำการคุ้ยค้น รื้อแยก แล้วประกอบมันขึ้นมาใหม่” (Foucault, 2011: 8) ทัง้ เกาเข่าและพระเจ้าต่างมีลกั ษณะทีฟ่ โู กต์เรียกว่า “กลศาสตร์แห่งอ�ำนาจ” คือ การมีอ�ำนาจเข้าครอบง�ำ ร่างกายของผู้อื่น ซึ่งแนวคิดนี้ปรากฏให้เห็นชัดเจนใน

283

ความคิดเรื่อง “Theatrum Mundi” หรือ “โลกนี้คือ ละคร” ที่มนุษย์ทุกคนแสดงบทบาทตามที่ถูกก�ำหนด มาจากพระผู้เป็นเจ้า (Calinescu, 1987 cited in Wongyannawa, 2008: 212) พลังอ�ำนาจที่สังคมสถาปนาให้เกาเข่าถูกเชิดชูให้ สูงขึน้ เมือ่ รัฐบาลด�ำเนินโครงการ 985 และโครงการ 211 เพือ่ ผลักดันให้มหาวิทยาลัยชัน้ น�ำของจีนเป็นมหาวิทยาลัย ระดั บ โลก และเพื่ อ ยกระดั บ มาตรฐานการวิ จั ย ของ มหาวิทยาลัยให้สูงขึ้น รวมทั้งวางรากฐานการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมให้มหาวิทยาลัยต่างๆ โดย “มุง่ พัฒนา เฉพาะมหาวิทยาลัยบางแห่ง” (Li, 2009: 176) มหาวิทยาลัย ทีไ่ ด้รบั โอกาสจากทัง้ 2 โครงการ ล้วนอยูใ่ นกลุม่ first-tier ซึง่ มีคณ ุ ภาพสูงอยูแ่ ล้ว นอกจากนีก้ ารเปลีย่ นแปลงระบบ เศรษฐกิจของประเทศจากเศรษฐกิจที่มีการวางแผน (planned economy) ไปสู่เศรษฐกิจตลาด (market economy) ซึ่งต้องการแรงงานระดับ white collar ยังส่งผลให้อ�ำนาจของเกาเข่าเพิ่มพูนขึ้น ไม่เพียงเท่านัน้ อ�ำนาจของเกาเข่ายังถูกน�ำไปผูกกับ การเคลือ่ นย้ายถิน่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย จีนเป็นประเทศทีใ่ ห้ความ ส�ำคัญกับการป้องกันการย้ายถิ่นจากชนบทมาสู่เมือง เพือ่ ไม่ให้เมืองแออัดด้วยประชากรทีม่ งุ่ หางานท�ำ โดยมี ระบบทะเบียนราษฎร์ที่เรียกว่า หูโขว่ (hukuo) เป็น เครื่องมือ ทั้งนี้กฎหมายของจีนก�ำหนดว่า ประชาชน สามารถรับประโยชน์และสวัสดิการจากรัฐได้เฉพาะในพืน้ ที่ ทีต่ นมีทะเบียนราษฎร์อยูเ่ ท่านัน้ ยกเว้นเฉพาะการย้ายถิน่ เข้าเมืองด้วยเหตุผลทางการศึกษา จึงกล่าวได้วา่ การสอบ เข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในเมืองใหญ่กลายมาเป็น ช่องทางในการแสวงหาสวัสดิการที่ดีกว่าในเมืองใหญ่ ของประชากรในชนบท ดังนัน้ นักศึกษาจากชนบทสามารถ ผันตัวเองมาเป็น “คนเมือง” ได้ตามกฎหมายหากพวกเขา สอบเข้ามหาวิทยาลัยในเมืองได้ ซึ่งนั่นหมายถึงโอกาส ในการได้งานท�ำในเมืองด้วย ส�ำหรับชาวชนบทแล้ว การสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้จงึ เป็นช่องทางส�ำคัญในการ ยกระดับฐานะทางสังคมของตนเอง (Jordan, Ren & Falkingham, 2014: 57-65; Liu & Wu, 2006: 13)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


284

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ขณะที่ Liu & Wu (2006: 19) มองว่า “แก่นแท้ของ การแข่งขันในการสอบเกาเข่าคือ การแข่งขันเพือ่ สถานะ ทางสังคมและวัตถุที่เป็นสัญลักษณ์ของการอยู่ดีกินดี ภายหลังการส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย” จากการทีพ่ ระเจ้าซึง่ มีเพียงองค์เดียวไม่สามารถมอบ ความรักให้ได้ทุกคน การที่ใครบางคนจะถูก “ละเลย” จากพระเจ้าจึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ อี้หมิน หวาง (Yimin Wang) นักศึกษาปริญญาเอก สาขานโยบาย และความเป็นผู้น�ำทางการศึกษา (Department of Educational Leadership and Policy Studies) มหาวิทยาลัยอินเดียน่า (Indiana University) สหรัฐอเมริกา บันทึกประสบการณ์ของตนเองในระหว่างเป็นอาสาสมัคร ติวเด็กนักเรียนทีฮ่ ยุ่ หนิง (Huining) มณฑลกานซู (Gansu) ในปี 2001 ไว้วา่ เขาและเพือ่ นอาสาสมัครได้รบั ค�ำแนะน�ำ จากครูในโรงเรียนว่า “สิ่งที่ครูอย่างพวกเราท�ำได้คือ ช่วยเด็กที่ดูมีศักยภาพมากที่สุด เราไม่สามารถให้ความ สนใจกับทุกคนได้ เราต้องเลือกว่าจะช่วยใคร” อี้หมิน พบว่า ครูในโรงเรียนจะให้ความส�ำคัญและให้ความสนใจ เป็นพิเศษกับเด็กที่มีผลการสอบอยู่ใน 10 อันดับแรก ของห้องเท่านั้น (Wang & Ross, 2010: 81-82) นอกจากพลังอ�ำนาจที่สังคมสถาปนาให้กับเกาเข่า ผ่านทางกระบวนการย่อยๆ เกิดขึ้นอย่างหลากหลาย และกระจัดกระจายแล้ว เกาเข่ายังสร้างความศักดิ์สิทธิ์ ให้ ตัวเองผ่ า นสิ่ ง ที่ เ รี ยกว่า มาตรการป้องกันกลโกง บางสนามสอบนักเรียนหญิงถูกห้ามไม่ให้สวมเสื้อชั้นใน ทีม่ ตี ะขอท�ำจากโลหะ และแม้คลืน่ สัญญาณสือ่ สารไร้สาย จะถูกตัดแล้ว แต่สนามสอบหลายแห่งยังใช้โดรนบินเหนือ สถานที่สอบเพื่อดักจับสัญญาณวิทยุสื่อสารที่ซับซ้อน มากกว่า เครือ่ งสแกนนิว้ มือถูกติดตัง้ หน้าสนามสอบเพือ่ ป้องกันการเข้าสอบแทน ฯลฯ สนามสอบของเกาเข่า เป็นพื้นที่แห่งอ�ำนาจอันศักดิ์สิทธิ์ คนโกงจะมีฐานะเป็น อาชญากรทีอ่ าจต้องรับโทษจ�ำคุกสูงสุดถึง 7 ปี การสอบ เกาเข่ากลายเป็นมหกรรมประจ�ำปีทที่ กุ ภาคส่วนให้ความ ส�ำคัญ เช่น ทีก่ รุงปักกิง่ ซึง่ มีสนามสอบมากกว่า 100 แห่ง รถไฟใต้ดินทุกสายจะขยายเวลาให้บริการออกไปอีก

30 นาที มีรถแท็กซี่ส�ำหรับบริการฟรีกับนักเรียนที่ต้อง เดินทางไปสอบถึง 200 คัน และในเวลาฉุกเฉินต�ำรวจ สามารถใช้รถต�ำรวจพานักเรียนไปสูส่ ถานทีส่ อบได้ ห้ามรถ ทุกชนิดบีบแตรเมื่อขับผ่านสถานที่สอบ หมอสามารถ จ่ายยาคุมก�ำเนิดให้นกั เรียนหญิงเพือ่ เลือ่ นวันมีประจ�ำเดือน ไม่ให้ตรงกับช่วงสอบ ปรากฏการณ์หนึ่งที่แสดงให้เห็น อ�ำนาจแฝงระดับสูงของเกาเข่าเกิดขึน้ ในปี 2012 ทีก่ รุง ปักกิ่งเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดขององค์การ ความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ประจ�ำปี 2012 (2012 Shanghai Economic Organization Summit) ซึ่งมีผู้น�ำจาก หลายประเทศเข้าร่วม ก�ำหนดเปิดประชุมในวันที่ 7 มิถุนายน ซึ่งตรงกับวันสอบเกาเข่า รัฐบาลจีนให้ปิด ทางหลวงเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้ผเู้ ข้าประชุมภายหลัง นักเรียนเข้าห้องสอบแล้ว “เพือ่ รับประกันให้ผสู้ มัครกว่า 70,000 คน ในกรุงปักกิง่ เดินทางไปถึงสถานทีส่ อบอย่าง ราบรื่นและทันเวลา” (China Radio International, 2012)

เมื่ออ�ำนาจของพระเจ้าถูกท้าทาย

เหตุ ผ ลส� ำ คั ญ ประการหนึ่ ง ที่ ท� ำให้ เ กาเข่ า ได้ รั บ การยอมรับและเชิดชูจนกลายเป็นจักรกลแห่งอ�ำนาจ ทีส่ ามารถเชิดชักสังคมจีนได้อย่างทรงพลังคือ ภาพลักษณ์ ของระบบคุณธรรมในระบบการศึกษาทีท่ ำ� ให้เข้าใจได้วา่ เป็นระบบการสอบทีย่ ตุ ธิ รรม ทีท่ กุ คนมีความเท่าเทียมกัน ต่อหน้ากระดาษข้อสอบ และทุกคนพร้อมยอมรับผลที่ ตามมา Liu & Wu (2006: 12) สรุปงานวิจัยร่วมของ พวกเขาเกีย่ วกับผลกระทบของการสอบเกาเข่าว่า “ไม่วา่ จะมาจากสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจแบบไหน คนทีส่ อบไม่ผา่ นแม้อาจรูส้ กึ กดดันแต่ทกุ คนก็ตระหนักดีวา่ ความส�ำเร็จหรือความล้มเหลวทีเ่ กิดขึน้ เป็นความรับผิดชอบ ของตนเองไม่สามารถต�ำหนิใครได้หากได้คะแนนต�ำ่ กว่า คนทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกเพียง 1-2 คะแนน แต่หากการสอบ ไม่มีความยุติธรรม เขาก็จะโกรธและพากันโทษรัฐบาล และสังคม”

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

แต่ในขณะทีด่ า้ นหนึง่ ศิโรราบกับอ�ำนาจของเกาเข่า อีกด้านหนึ่งสังคมจีนกลับตั้งค�ำถามกับระบบคุณธรรม นิยมว่า สร้างให้เกิดความเท่าเทียมกันอย่างไม่มอี คติทาง ชนชั้นได้จริงหรือ ทั้งนี้มีงานวิจัยหลายชิ้นมีข้อค้นพบ ที่สวนทางว่า โอกาสในการได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ชัน้ น�ำมีแนวโน้มเปิดกว้างส�ำหรับเด็กทีส่ ำ� เร็จชัน้ มัธยมปลาย จากโรงเรียนมัธยมดีๆ มากกว่า (Liang et al., 2012 cited in Ye, 2015: 129) เจี ย ง เสฉวิ น (Jiang Xueqin) (Ash, 2016) นักการศึกษาชาวแคนาดาเชือ้ ชาติจนี มองว่า ในการเดิน ข้าม “สะพานซุง” เกาเข่า ซึ่งมีอยู่ท่อนเดียวส�ำหรับ เด็กนักเรียนทั้งประเทศนั้น “คนที่มีรองเท้าดีกว่า” จะ สามารถเดินข้ามได้ง่ายกว่า เพราะครอบครัวที่มีฐานะดี จะสามารถจ่ายเพื่อการติวพิเศษได้มากกว่า นอกจากนี้ ยังมีงานวิจยั ทีย่ นื ยันถึงข้อได้เปรียบจากฐานะทางเศรษฐกิจ และสังคมของผูป้ กครองเป็นเครือ่ งมือประกันความมัน่ คง ในอนาคตทางการศึกษาของบุตรหลานได้มากกว่าเด็กๆ ที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ด้อยกว่า (Lucas, 2001 cited in Ye, 2015: 129) ปัจจัยส�ำคัญอีกประการหนึง่ ทีแ่ สดงให้เห็นว่า การสอบ เกาเข่าไม่เอื้อต่อการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึง การศึกษาระดับอุดมศึกษาของจีนได้จริงคือ ค่าบ�ำรุง การศึกษาที่สูงมากโดยเฉพาะหลังการปฏิรูปเศรษฐกิจ ในปี 1985 Wang (2011) ศึกษาความไม่เป็นธรรมในระบบ การศึกษาระดับอุดมศึกษาของจีนและสรุปการศึกษา ในระดับอุดมศึกษาเป็นสิง่ ทีค่ รอบครัวทีม่ รี ายได้นอ้ ยและ ปานกลางไม่สามารถเข้าถึง เขาอ้างรายงานของศูนย์วจิ ยั เด็กและเยาวชนจีน (China Youth and Children Research Center) ในปี 2007 ว่าค่าบ�ำรุงการศึกษา ของสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาเพิม่ สูงขึน้ 25 เท่า ในเวลา 18 ปี จาก 200 หยวน (30 USD) ในปี 1989 เป็นมากกว่า 5,000 หยวน (700 USD) ในปี 2007 ในช่วงเวลาเดียวกันรายได้ประชากรในเขตเมืองเพิ่มขึ้น เพียง 9 เท่า และในเขตชนบทเพิม่ ขึน้ 6 เท่า นอกจากนี้ คณะกรรมาธิการการพัฒนาและปฏิรปู แห่งชาติ (National

285

Development and Reform Commission) ยังได้ เปิดเผยตัวเลขค่าใช้จ่ายของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย รัฐบาลในแต่ละปีวา่ ต้องใช้เงินประมาณ 10,000 หยวน (1,400 USD) ส�ำหรับค่าบ�ำรุงการศึกษาและค่าที่พัก ขณะที่รายได้สุทธิส่วนบุคคลของครัวเรือนในเมืองอยู่ที่ 13,785.8 หยวน (1,969.4 USD) และครัวเรือนในชนบท อยู่ที่ 4,140.4 หยวน (591.5 หยวน) อ� ำ นาจของเกาเข่ า ที่ ก ่ อ ร่ า งขึ้ น มาจากฐานของ การเป็นพระเจ้าองค์เดียวก�ำลังถูกท้าทายและสั่นคลอน จากความจริงที่ค่อยๆ เผยให้เห็นอ�ำนาจของเกาเข่า ในมิตติ รงข้ามคือ การช่วยธ�ำรงรักษาสถานภาพทางชนชัน้ ของชนชั้นน�ำ เป็นคุณลักษณะของอ�ำนาจใกล้เคียงกับ สิง่ ทีบ่ รู ด์ เิ ยอเรียกว่า เป็นการผลิตซ�ำ้ เพือ่ สืบทอดทุนทาง วัฒนธรรมและทุนสัญลักษณ์ผา่ นสถาบันการศึกษาทีเ่ น้น ให้ความส�ำคัญกับ “การผลิตและการผลิตซ�ำ้ เพือ่ สืบทอด ของทุนเศรษฐกิจ” อ�ำนาจผูกขาดของเกาเข่าเมือ่ ครัง้ ด�ำรงสถานะพระเจ้า ที่มีอยู่เพียงหนึ่งเดียวก�ำลังจะลดน้อยถอยลง เมื่ออัตรา การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศสูงขึน้ การศึกษาต่อ ต่างประเทศกลายเป็นทางเลือกใหม่ที่เป็นไปได้ง่ายขึ้น ของหลายครอบครัว สถิตจิ าก China Education Online, Institute of International Education แสดงให้เห็นว่า จ�ำนวนผูเ้ ข้าสอบเกาเข่าลดลงอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี 2008 ทีม่ ผี เู้ ข้าสอบ 10.5 ล้านคน ลงมาเหลือเพียง 9.4 ล้านคน ในปี 2014 ขณะเดียวกันจ�ำนวนของผูท้ เี่ ดินทางไปศึกษา ต่อต่างประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 62,582 คน ในปี 2006 พุ่งสูงถึง 304,040 คนในปี 2015 นอกจากนีเ้ กาเข่ายังถูกท้าทายอย่างรุนแรงจากอัตรา การฆ่าตัวตายของเด็กนักเรียนทีม่ กั จะเกิดขึน้ ในช่วงเวลา ใกล้สอบ และทุกครั้งของการเกิดเหตุฆ่าตัวตายของ นักเรียน กระแสเรียกร้องให้ปฏิรูปเพื่อลดอ�ำนาจของ เกาเข่าลงจะดังขึน้ แทนการปฏิรปู หรือปรับเปลีย่ นระบบ กลับเลือกใช้วิธีปิดกั้นการท้าทาย ปี 2015 ไม่กี่เดือน ก่อนสอบเกาเข่า นักเรียนของโรงเรียนเหิงสุย่ (Hengshui) ในเมืองเหอเป่ย (Hebei) 2 คน กระโดดลงมาจากอาคาร

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


286

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

เรียน (Shanghaiist, 2015) สิ่งที่โรงเรียนเหิงสุ่ยซึ่งเป็น โรงเรียนมัธยมปลายทีม่ ชี อื่ เสียงเรือ่ งการติวเด็กให้สามารถ สอบเกาเข่าได้คะแนนดีและได้ทนี่ งั่ ในมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำ เป็นจ�ำนวนมากเลือกท�ำคือ การติดลูกกรงอาคารเรียน เพื่อปิดโอกาสการกระโดดตึกของนักเรียน การเลือก รับมือกับความท้าทายอ�ำนาจด้วยวิธีการนี้นัยหนึ่งคือ การพยายามรักษาอ�ำนาจหรือ status quo ของโรงเรียน ซึ่งเป็นเฟืองส�ำคัญในการขับเคลื่อนอ�ำนาจเกาเข่า จะเห็นได้ว่า เกาเข่าก�ำลังถูกท้าทายจากกลุ่มคน ที่ช่วยกันสถาปนาและสร้างเสริมอ�ำนาจให้มัน คนที่ สามารถเดินทางไปศึกษาต่อในต่างประเทศคือ กลุ่มคน ทีม่ ที นุ ทางเศรษฐกิจสูงพอ และคนกลุม่ นีเ้ องก่อนหน้านี้ ใช้ ทุ น ทางเศรษฐกิ จ ของตนเองสั่ ง สมความสามารถ ทางการแข่งขันเพื่อเข้าสอบเกาเข่า จนผลักดันให้มัน กลายร่างจากการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับ อุ ดมศึ กษาเป็ น ระบบอันทรงพลัง ที่สามารถครอบง�ำ บังคับ และเชิดชักทุกองคาพยพในสังคมจีน เด็กนักเรียน ทีฆ่ า่ ตัวตาย คือ ส่วนหนึง่ ของเด็กทีย่ อมมอบกายถวายชีวติ ให้เกาเข่า แม้การฆ่าตัวตายจะไม่ได้หมายถึงการต่อต้าน หรือขัดขืนอ�ำนาจเกาเข่า แต่ก็แสดงให้เห็นว่าพวกเขา ไม่ได้ศิโรราบกับอ�ำนาจเกาเข่าอย่างมีความสุข และแม้ ความท้าทายที่ก�ำลังเกิดขึ้นจะไม่ทรงพลังมากพอที่จะ สั่นคลอนอ�ำนาจเกาเข่าจนท�ำให้สูญเสียสถานะของการ เป็น “สะพานซุงท่อนเดียวที่กองทัพทหารนับพันและ ฝูงม้านับสิบฮือกันข้ามอย่างแตกตืน่ ” แต่มนั ก็สง่ สัญญาณ การท้าทายมายังเกาเข่าอย่างโจ่งแจ้ง

สรุป

เกาเข่าเป็นการสอบคัดเลือกผู้เรียนเข้าศึกษาต่อ ในระดับอุดมศึกษาที่เกิดขึ้นและด�ำรงอยู่ในสังคมจีน อย่างมีอ�ำนาจผูกพันกับสังคมและวัฒนธรรมของจีน แนบแน่น จากการสอบคัดเลือกธรรมดาทีถ่ กู พัฒนาให้เป็น การสอบรวมศูนย์ระดับประเทศประกอบกับการแข่งขัน ที่แฝงมาจากระบบคุณธรรมนิยมท�ำให้เกาเข่ามีอ�ำนาจ รวมศูนย์ สามารถบังคับ เชิดชัก ชีวิตเด็กนักเรียนจีน ให้ตกอยู่ภายใต้ความเครียดและกดดันที่พวกเขาต้อง มอบกายถวายชีวิต สังคมจีนสร้างให้เกาเข่ามีอ�ำนาจทั้ง ยกระดับฐานะทางเศรษฐกิจของคนจน และธ�ำรงรักษา สถานภาพทางชนชัน้ ของชนชัน้ น�ำ เกาเข่ามีฐานะไม่ตา่ ง จากพระเจ้าที่ทุกคนต่างต้องแย่งกันถวายเครื่องสังเวย เพือ่ แลกกับรางวัลคือ คะแนนสอบและทีน่ งั่ ในมหาวิทยาลัย ดีๆ อ�ำนาจของเกาเข่าก�ำลังถูกท้าทาย เพราะสังคม สมัยใหม่พระเจ้ามีมากกว่าหนึง่ องค์ให้ผคู้ นเลือกสวามิภกั ดิ์ วันนี้ทางเชื่อมต่อระหว่างประตูโรงเรียนมัธยมศึกษา กับรั้วมหาวิทยาลัยไม่ได้มีแค่สะพานซุงท่อนเดียวของ เกาเข่า หากมีทางเลือกของการไปศึกษาต่อในต่างประเทศ ที่เปิดกว้างและหลากหลาย นอกจากนี้เกาเข่าที่เคยมี อ�ำนาจและเป็นฝ่ายจับจ้องเชิดชักชีวติ คนในสังคม ก�ำลัง ตกอยู่ในสถานะของการถูกจับจ้องจากสังคม เมื่ออัตรา การตัวตายของนักเรียนเพิม่ สูงขึน้ โดยมีหลักฐานชีใ้ ห้เห็น การเชื่อมโยงกับความกดดันจากการสอบเกาเข่า อ�ำนาจของเกาเข่าจึงเกิดขึ้นและด�ำรงอยู่ด้วยการ สร้างและสถาปนาของสังคม แม้เกาเข่าจะถูกท้าทาย อ�ำนาจจากคนที่มีส่วนร่วมสร้างความเข้มแข็งให้กับมัน แต่ความใหญ่โตมโหฬารและรากฐานอันมัน่ คงก็ทำ� ให้มนั ยังคงด�ำรงอยู่อย่างมีอำ� นาจท่ามกลางความท้าทาย

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

287

Reference

Ash, A. (2016). Is China’s gaokao the world’s toughest school exam? Retrieved March 13, 2017, from https://www.theguardian.com/world/2016/oct/12/gaokao-china-toughest-school-examin-world Calinescu, M. (1987). Five Faces of Modernity. In T. Wongyannawa. (Eds.). Centralisation of Arts and Decentralisation of Arts and Politics: From Post Modern to Modern. (pp.203-274). Bangkok: Political Science Journal. [in Thai] Carducci, L. (2012). Work in Progress: Chinese education from a foreign expert’s perspective. Beijing: China International Press. China Radio International. (2012). China’s gaokao (1). Retrieved March 15, 2017, from http://thai. cri.cn/247/2012/07/12/225s200044.htm [in Thai] Deng, C. (2014). China’s Cutthroat School System Leads to Teen Suicides. Retrieved March 13, 2017, from https://blogs.wsj.com/chinarealtime/2014/05/15/chinas-cutthroat-school-systemleads-to-teen-suicides/ Ding, J. (2016). A Purpose Built School. Retrieved April 23, 2017, from https://www.youtube.com/ watch?v=sVhA4cPH8jE Foucault, M. (2011). Surveiller et punir Gallimard, première. (T. Bhokdham, Trans.). Bangkok: Kobfai. [in Thai] Hua, S. L. (2016). What is gaokao?: A look at China’s most important exam. Retrieved April 2, 2017, from http://blog.tutorming.com/expats/what-is-gaokao-chinese-college-entrance-exam Jordan, L. P., Ren, Q. & Falkingham, J. (2014). Youth education and learning in twenty-first century China: Disentangling the impacts of migration residences, and Kukao. Chinese sociological Review, 47(1), 57-83. Kaewthep, K. & Hinwiman, S. (2010). From Political Economy Theorists to Communication Study (2nd ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Printing. [in Thai] Li, L. Q. (2009). Education for 1.3 Billion: Former Chinese Vice Premier Li LanQing on 10 Years of Education Reform and Development. (N. Yaemsaengsang, Trans.). Bangkok: I-Group Press. [in Thai] Liang, C., Zhang, H., Li, H. & Ruan, D. (2012). Silent Revolution: Social Origins and University Matriculation at Peking University and Suzhou University, 1952–2002. In Y. Hua. (Eds.). Key-Point Schools and Entry into Tertiary Education in China. (pp.128-153). Chinese Sociological Review. Liu, H. & Wu, Q. (2006). Consequences of college entrance exams in China and the reform challenges. KEDI Journal of Educational Policy, 3(1), 7-21. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


288

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Lucas, S. R. (2001). Effectively Maintained Inequality: Education Transitions, Track Mobility, and Social Background Effects. In Y. Hua. (Eds.). Key-Point Schools and Entry into Tertiary Education in China. (pp.128-153). Chinese Sociological Review. Roberts, D. (2014). China Exam System Drives Student. Retrieved March 15, 2017 from https:// www.bloomberg.com/news/articles/2014-05-15/china-exam-system-drives-student-suicides Shanghaiist. (2015). Hebei school installs prison-like iron bars to prevent suicide attempts. Retrieved May 5, 2017, from http://shanghaiist.com/2015/04/21/hebei-school-installs-prison-like-barsprevent-suicide.php Wang, L. (2011). Social exclusion and inequality in higher education in China: A capability perspective. International Journal of Educational Development, 31, 277-286. Wang, Y. & Ross, H. (2010). Experiencing the Change and Continuity of the College Entrance Examination; A Case Study of Gaokao County, 1996-2010. Chinese Education and Society, 43(4), 75-93. Wongyannawa, T. (2014). Non-diversity of diversified culture (2nd ed.). Bangkok: Sommut Printing. [in Thai] Woradilok, T. (1995). Chinese History. Bangkok: Sukkaphab Jai. [in Thai] Zhu, M. (2014). College admissions in China: A mechanism design perspective. China Economic Review, 30, 618-631.

Name and Surname: Chitti Urnorakankij Highest Education: Master of Fine Arts, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang University or Agency: National Institute of Development Administration Field of Expertise: Cinematography Address: 13 Nakniwas 37-1, Ladprao, Bangkok 10230

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

289

ENGLISH AS A GLOBAL LANGUAGE AND INTEGRATING IN ENGLISH LANGUAGE TEACHING ภาษาอังกฤษในฐานะเป็นภาษาโลกและการบูรณาการในการสอนภาษาอังกฤษ Charisopon Inthapat The Office of General Education, Panyapiwat Institute of Management

Abstract

This article aims to review the history of English and its evolution of English until it has become the English language used in the present. In addition, it aims to share how English belongs to those who speak English as a mother tongue, second language or foreign language. Originally, English has sprit out from Germanic dialect and it was spreaded into the other countries by colonizer. Additionally, it is spoken by people around the world in Inner circle country, where English is used as mother tongue, Outer circle country, where English is used as a second language and Expanding circle country, where English is used as a foreign language. To this view, it is interesting to apply the knowledge into English language teaching because English language is only spoken by native to native speakers but also non-native to native speakers and non-native to non-native speakers. In order to understand variety of English, Teachers of English should recognize that English is used by people around the world so, various varieties of English should be accepted. Thus, the teachers of English should suggest about how promote students to understand and to accept that English is global language as well. Keywords: History of English, English as a Global language, Integrating for Teaching English as global language

Corresponding Author E-mail: aquiline51@outlook.com


290

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการทบทวนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และการวิวัฒนาการของภาษาอังกฤษ จนกลายเป็นภาษาอังกฤษที่ใช้กันในปัจจุบัน นอกจากนั้นยังมีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำเสนอให้รู้ว่า การเป็นเจ้าของภาษา ของผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ ภาษาที่สอง และภาษาต่างประเทศ โดยมีต้นก�ำเนิดมาอย่างไร ซึ่งภาษาอังกฤษ ได้พัฒนาตัวมาจากภาษาเยอรมันท้องถิ่นและได้แพร่ขยายไปยังประเทศอื่นๆ โดยผู้ล่าอาณานิคมอีกทั้งภาษาอังกฤษ ได้ถูกน�ำมาพูดโดยผู้คนทั่วโลกในประเทศกลุ่มในคือ ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ ประเทศกลุ่มนอกคือ ประเทศทีใ่ ช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทีส่ อง และประเทศในส่วนขยายคือ ประเทศทีใ่ ช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ จากภาพรวมนี้ภาษาอังกฤษจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจที่จะน�ำมาประยุกต์และรวมอยู่ในการสอนภาษาอังกฤษเพราะว่า ภาษาอังกฤษไม่ได้เพียงถูกใช้ระหว่างผูท้ ใี่ ช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ดว้ ยกัน ระหว่างผูท้ ใี่ ช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง และยังถูกใช้ระหว่างผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองด้วยกัน เพื่อให้เข้าใจ ในความหลากหลายของภาษาอังกฤษ ครูอาจารย์ผสู้ อนภาษาอังกฤษควรตระหนักถึงภาษาอังกฤษทีใ่ ช้โดยผูค้ นทัว่ โลก ภาษาอังกฤษทีม่ คี วามหลากหลายนีจ้ งึ ควรได้รบั การยอมรับด้วย ดังนัน้ ครูอาจารย์ผสู้ อนภาษาอังกฤษควรแนะน�ำผูเ้ รียน ให้เข้าใจและยอมรับว่าภาษาอังกฤษนั้นเป็นภาษาโลก ค�ำส�ำคัญ: ประวัติศาสตร์ของภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษในฐานะเป็นภาษาโลก การบูรณาการเพื่อการสอนภาษา อังกฤษในฐานะเป็นภาษาโลก

Introduction

English really plays important role in various parts of the world and it is now widespread used as a medium in publishing, communicating in worldwide, international meeting and / or conferencing, politic, military, technology, economy, etc. Crystal (1997) said that English is now a lingua franca and it is spoken as a mother tongue in England, America, Australia, New Zealand, etc. Furthermore, English is spoken as a second language in outer circle countries such as India, Hong Kong, Singapore, Africa, etc. Also, English is spoken as a foreign language in expanding circle countries such as Japan, China, Poland, etc. Crystal (1997) continued that the main reason that English is widely spoken around the world because of its history. Hence, the spread use of English language can

be explained that Britain had the largest colonial empire of times (Saraceni, 2002).

Origins of English Language

Barber (1999: 81) said “The branch of IndoEuropean that English language belongs to is called Germanic which includes German, Dutch, Frisian, Danish, Swedish and Norwegaian”. In addition, there are three main branches which are divided into, the first is that North Germanic: Icelandic, Norwegian, Faroese, Danish, Swedish and Gutnish. The second is that East Germanic: Burgundian, Vandal and Gothic and. The third is that West Germanic: German, Dutch, Frisian and English. Barber (1999: 86-87) continued “during the break-up of the Roman Empire; in 5th century, Germanic military expeditions were made all over Europe and Mediterranean.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

Franks and Burgundians settled in France, Anglo-Saxons occupied Southern Britain”. Crystal (1997) added that the language arrived in England in Northern Europe era. Then, it began to spread around the British, Isles, and it entered into some parts of Wales, Cornwall, Cumbria and Southern Scotland until Vikings invaded the whole of Europe and England. The Vikings spoke strong influence on English, situation English was strongly spoken in the Empire, which is called Britain. In 1066, Norman, who came from France, colonized Britain. This invasion actually had impact on the English language. To this impact, almost half of English vocabulary was mixed by French (Saraceni, 2002). To this challenging event, it is interesting to investigate each era of English language. 1. Old English Barber (1999) mentioned that by the middle of 5th to 6th century, Anglo-Saxons not only arrived but also unified invading army and settlement in Britain. Then, Anglo-Saxons also occupied and dominated most of England. This situational era, Anglo–Saxons had much more power on England, and this settlement had impacted on English language. Saraceni (2002: 3) state “The English language originated as a result of the invasion of Britain by colonizers, Anglo-Saxons was coming from North-Western regions of Europe”. Thus, English language was powerful and it could be said that English was a language dominator. Moreover, there was a language, which was Celtic language, took into English but this language was only influence

291

in English at a short time because the Celtic language was not popular and it was replaced by English (Crytal, 1997; Trudgill & Hannah, 1994; Barber, 1999). Therefore, Celtic language was fail from Old English as well. The examples of Celtic words were: “Derwent” or “Darent” (Celtic word) which names “Water” (English word). Barber (1999: 102) continually narrated on the rousing history of “Anglo-Saxons who invaded and conquered England came North Sea coast and Danish and Jutes from Jutland”. They seemed to have close relationship as the same family, so Anglo-Saxon and Jutes were named Germanic invaders of Britain. Hence, since they were Germanic settlers in Britain, their languages and cultures were also applied with the people in Britain, consequently, English language was strongly impacted by the invaders. The examples below show some vocabulary of Old English. Bloody – Old English is “Blodig” Friendless – Old English is “Freondleas” Thankful – Old English is “Pancful” Book – Old English is “Boc” House – Old English is “Hus” Stones – Old English is “Stanas”…, etc. Since Anglo-Saxons and Jutes had dominated and conquered Britain, their civilization were powerful as well as their power also gradually dominated the colonized countries. Then, English was influenced in Britain and it was counted as literary standard. Regarding the language used as a literary language in Old

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


292

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

English period, it was mixed by four main dialects which were West Saxon, Kentish, Mercian and Northumbrian in the late Anglo-Saxon period (Baber, 1999). Then, the use of language was also developed and changed with the times. In the next era, there were two groups of people came to Britain and they actually had an impact on English (See 1.1. and 1.2). 1.1 Scandinavian Vikings in England Barber (1999: 127) said “during the Old English was influencing in England, the Scandinavian Vikings which took place between about 750 and 1050 were great traders attacked varied from piratical expeditions by single ships to the invasion of England with large armies”. When the Scandinavian Vikings invaded Britain, they colonized for a long period. Then, Scandinavian Vikings who were colonizer could dominate Britain and they established the kingdoms as well as they were the great Scandinavian settlement (James, 2015). As the colonizer, Scandinavian Vikings played strong influence on English language. In addition, the language used was similar form to Old English, so the English language was not exterminated by the Vikings settlers. To this view, Saraceni (2002) and Barber (1999) supported that Scandinavian Vikings strong influence on English, so English was much more influence as a means of communication on the population’ speech. The people in Britain and Scandinavian Vikings understood each other in words and pronunciation, etc. Additionally, they understood the cultures appropriately; therefore, English language was profoundly and popularly spoken

in England. To this event, it reached the final of pure English language, then came the Norman from France and invaded this thriving land. 1.2 Norman in England Although, English language was influenced in England, it could not stand through when Norman from France invaded England in 1066. He was conqueror and he spoke strong French. To colonization, French played its role and it became upper class of language in England. In addition, the written literature was presented as superior language of the conquerors in French. Hence, the various situations of French also impacted on English and French was the aristocracy’s language (Barber, 1999). He added that if English native speakers, who wanted to get on in the world, they had to learn French. Consequently, French appeared in English and the English language began the transition from Old English. To the situation, civilization of Anglo-Saxons and Viking was impacted by Norman’s invasion. Then, English language arrived in Middle English era. 2. Middle English To this era, there were main dialect areas of Middle English into the regions. Firstly, in the Northern, there were Scots and Northern English. Secondly, there were East Midland and West Midland. Thirdly, there were South-Eastern and Southern. Old English was separately spoken in each region because the population spoke their own different dialects into Old English. For the result of separation, it was from political separation and / or the descent from Mercian dialect of Old English. Hence, English was

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

impacted by different spoken dialects in the Middle English era (Barber, 1999). English language in Middle era was trilingual because the language was mixed by Latin and French. Latin was the language of the church, scholarship and international communication while French was important in administration aspect and official language in England. French was spoken and written by nobilities of England and English language was developed its characteristics, which is called Anglo-Norman. Although, French was not mother tongue of the majority of the population in England, English was returned to its popularity by 14th century. Then, French was not popular and died out in England. Since French had impacted on English, there were many French loan words in the Middle English era. Therefore, French loan worlds had reflected the culture and politic, consequently, it also impacted on English such as in the use of vocabulary, pronunciation, syntax, etc, during that period (Barber, 1999; Mastin, 2011). Based on Barber (1999), the examples of change in spelling and pronunciation of English are shown below: Changing in spelling There are spelling change from Old English into Middle English as follows. Old English Middle English cween, cwick queen, quick fisc fish cin chin sentre centre Etc.

293

Changing in pronunciation The examples below show the change of pronunciation that took place in the transition from Old English to Middle English. Old English Middle English fader father heorte heart gat goat gos goose Etc. To sum up, it is seen that Middle English was developed by the impact of dialect from each region and political separation. Moreover, the educated English people were trilingual: French, Latin, and English and there were various changes in the language. Thus, English was developed through the long period of time and it progressed into Modern English. 3. Modern English Barber (1997: 173) said “English language triumphed over French and it was standard form of written language while Latin still had great prestige as the language of international learning”. The change of English was seen in Early Modern English and Late Modern English. 3.1 Early Modern English Formerly, Latin was counted as a superior language of international learning. Thus, Latin was the medium of instruction in education, but it was not popular while English became powerful because it had a standard form of written language. To this view, there were various factors in which English was established by the following situations: Firstly, Baber (1999)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


294

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

said that during reformation of English, those who engaged in written language or literature wanted to publish and wanted large population to read their publication. Moreover, translation of Bible in the church was in English and various publishing were written into English as well. Secondly, Jurcic (2003) supported that the use of English language increased their feeling of nationalism towards England while Latin was slowly failed. Thirdly, the occupational groups of people in society favoured English and they spoke little or no Latin. Fourthly, English was counted as a suitable language for works of science and scholarship. Lastly, Elizabethan’s written books were written in English. Additionally, the English language was used in various fields of the study at that time. However, there was Renaissance which rediscovered of the classics in Europe, so England was, therefore, reactivation of Greed scholarship, consequently, Latin was still important language as well. Since Latin still influenced English, it was seen that English language loan words came from Latin and the influx of French was still impact on English. With reference to the examples of borrow words, some of them were adapted into English from Latin words: “atus” was adapted into “ate”, “entia” was adapted into “ence”, etc. Furthermore, the loan words in English borrowing from French such as “bayonet”, “feint”, “muscle”, etc. In addition, there were some words borrowed from other languages such as Italian and Spanish. For some reasons, some of young educators were tour and came back to England, they

might speak the foreign words into English until the words were popular and widespread in the language. Then, the words from other languages impacted on English. In addition, there were some 3 changes in the form of grammatical features such as the use of verb forms. For examples, the use of verb forms were in past tense, “sung”, “swum”, “writ” and past participle form were, “arose”, “ran”, “shook”, “spoke”, etc. In addition, by the development of English language, some of grammatical features was illustrated through Shakespeare (Barber, 1999). He continued that the use of English such as grammar was used in ancient form, for example, the use of verbs “ic healp” (I helped), “we hulpon” (We helped) and “holpen” (helped). Moreover, the English spelling in this period was also used in nonstandard form until English language was changed and developed in the arriving next era. 3.2 Late Modern English The use of language forms were changed when Late Modern English arrived. There were many developments of spelling which had become standardized in printed books by the writers at the end of 17th century. Barber (1999) claimed, “Dictionaries of English were brought such comprehensive dictionaries of English and English grammar. The first brought dictionaries were written in two languages which were English-French and Latin-English, but no dictionary was in pure English. Barber (1999) continued that the dictionaries were written with stabilized spellings and word meanings and came to be retained as authorities. However, English grammar was still a grammar of Latin

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

because some grammarians strongly believed that Latin was the suitable classical language but many writers argued that the use of language should be settled in English. Fighting in the use of English, it seemed to be in the battlefield because the changing of English in Late Modern English era. Furthermore, the large developing of English was the change of meaning of words and it was adopted by scientists. After that the English language was created as the new standardized varieties of English, which were not only accent but also grammar and vocabulary. Then, come the time when English was continually developed and spoken as a global language. 4. English as a Global Language Since English was influence in Britain. The English language now reaches the climax period. It has become a global language so far. According to Crystal (1997), Barber (1999), Saraceni (2002) and Crystal (1997), they suggested Kachru’s model in order to know that English is now spread around the world.

295

To this model, It is divided the world into three parts. The first is inner circle country, where English is spoken as a mother tongue, the second is outer circle country, where English is spoken as a second language and the third is expanding circle country, where English is spoken as a foreign language. The English language spoken in different areas are explained as follows. 4.1 Inner Circle Country America With reference the use of English in America, Saraceni (2002) said that English language is widespread outside Britain because trading and immigrating. Furthermore, the English language is gradually penetrated into America in two settlements, they were in Virginia (South) and New England (North): their accents were different and because of their different linguistic backgrounds. Saraceni (2002: 2) continued by saying “The immigrants came from England in the 17th century and from Ireland and Scotland, they spoke different dialects and accents and came to coexist side by side in the various settlements. In addition, the differences between those accents became less evident, merging into a more uniform accent”. Barber (1999) and Crystal (1997) added that the Southern settlements, their characteristic accent were strongly “s” and “r” while the Northern settlements did not pronounce “r”. Crystal (1997) supported that there are many mixed dialects and accents. Then, the English language is now be heard as commonly associated with present day and the people also speak in the differently in different

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


296

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

dialect and pronunciation and their unexpected dialect form were mixed as American speech. Canada To the use of English in Canada, Crystal (1997) claimed that the English language penetrated and contacted in Canada since 1497 but it was conflicted with French. In Canada, French was directly replaced by settler from New England because the increasing of the new comers from England, Ireland and Scotland. In addition, of a group of people named Loyalist supporters of Britain mostly moved from America to Canada, consequently, English language was widespread spoken in Canada. To this situation, it is the origin of Canadian English and the English language spoken in Canada is similar to these in North America and it is not different from British English. Hence, Canadian English is not identified as a variety of non-native tongue. Similarly, Saraceni (2002: 2) said “Canadian English arrived both from America and Britain and the linguistic situation is very similar to American English”. According to this mention, English spoken in Canada is relatively uniform accent to American English, therefore, it counts that Canadian English is spoken in the inner circle country as a native tongue. Caribbean According to the difference between Caucasian and Blackamoor and the Europeans were colonialism, they imported African slaves to America by 17th and 18th century for working. Crystal (1997: 33) claimed “…ships from Europe travelled to West African coast…the slaves were shipped to the Caribbean islands and the American coast”. The use of language when

travelling by the ship, their communication was spoken by pidgin between slaves and sailors, who spoke English. Therefore they had to communicate by speaking pidgin English until they arrived in the Caribbean. However, the travelers arrived the land, pidgin English was continually spoken. As a result of the people spoke pidgin and English, the pidgin was gradually mixed to speak in English; this spoken English provided the beginning of Creole English. With reference to definition, Trudgill & Hannah (1994: 43-44) “A Pidgin is an auxiliary language which arises to fulfill certain limited communication needs among people who have no common language” and “A Creole is a pidgin which has become the mother tongue of the members of a speech community”. Since, the evidence of interweaving of Creole and English, the variety of English has been spoken as mother tongue in Caribbean island so far. Australia and New Zealand English language was brought into Australia by James Cook in 1770. As a result, the situation of the overcrowded prisoners in England, he, therefore, moved them to the land, where named Australia. By moving the prisoners to Australia, they were the first settlers, they were mostly from London and Ireland and then Australia became British colony. Then, the population of Australia was more and more crowded and they had to speak English in communication. Moreover, the group of settlers mostly came from London and Ireland, so the variety of English in Australia was influenced by London and Irish English varieties (Crystal, 1997) and (Saraceni, 2002).

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

Similarly, James Cook, who speaks English as a mother tongue, arrived New Zealand and he continued the story of expansion of English language likes a hunter. Then, New Zealand was invaded and it became British colony. Moreover, Crystal (1997) informed that European whalers and traders were the settlers by 1790, and Christian missionary worked among Maori, who were tribal residences, they used English to communicate to each other. To the most settlers, they were from British Isles: they were relative with high number coming from Scotland. Then, Maori chiefs and the British were crowded in New Zealand, consequently, the spoken English closed to Scottish accent as well as English was also spoken by accent of the residents (Saraceni, 2002). Thus, the English language in New Zealand was a variety of English in the inner circle country as well. 4.2 Outer Circle Country The outer circle country, where English language was spoken as a second language and it was used in organization, education, government, etc. The variety of English language use is depended on language used by the local people in different contexts to communicate each other. Moreover, these countries were colonized by Britain such as South Asia; Indian subcontinent, South-East Asia; Singapore, Malaysia, Hong Kong, Philippine and South and Other African countries. Indian subcontinent There are six countries of people who speak English as South Asian English: India,

297

Bangladesh, Pakistan, Sri Lanka, Nepal and Bhutan. Previously, the subcontinent was contacted by Britain and India was British colony from 1765 to 1947. To be colonisee, English was used as the medium of administration and education (Crystal, 1997; Saraceni, 2002). Also there were conflict between supporters of English and Hindi and regional language. While Hindi was being spoken as a lingua franca in some religions, English was spoken in business, the media legal system and government administration. Consequently, the languages (English and Hindi) were associated with official language which was used as the medium of communication in this subcontinent. South-East Asia In Philippine, English language was spoken by the local people. This mean, the English language was spoken together with Tagalog. However, Tagalog is spoken among residents but English is much more powerful because of colonization. Hence, English is spoken as a medium of communication in government offices, etc. Among the variety of English in Philippine, it is closely American English because Philippine was under American control from 1898 to 1946 (Saraceni, 2002). Singapore In Singapore, Crystal (1997: 51) said “In 1950, a bilingual educational system was introduced in Singapore, with English used as a unifying medium alongside Chinese, Malay or Tamil”. In addition, Saraceni (2002: 3) supported “the official language; Mandarin, Malay and Tamil” were used in education and in adminis-

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


298

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

tration”. Furthermore, English is mostly spoken by large number of people, therefore, it has become variety of English as well as the people’s English accent were still interfered with their local language as well. Malaysia In Malaysia, the spread used of English in Malaysia was the impact from the invasion of Britain. Then, Malaysia was independence in 1957. Consequently, Bahasa Malaysia became the official language. Additionally, English was less important and it was more spoken as a foreign language than as a second language. To the present, English is now become a global language and it is necessary, so the use of English in Malaysia is the variety of English (Crystal, 1997; Saraceni, 2002). Hong Kong Hong Kong was once British colony but English is now limited to speak in Hong Kong because the population speaks Chinese in business, administration, law, education, etc. Therefore, there is mixing use of language as English and Chinese in this island. South and Other African countries By 19th century, the British arrived in South Africa. The South Africa was colonized by 1806. Moreover, Britain also expanded their influence into other African countries. Since, South Africa and other African countries were Britain colony, English was, therefore, spoken as official language in education, business, law, etc. Consequently, English is now spoken as lingua franca by African people. The characteristics of African English is similar to the use of English

in South England. Gough (2015) gave an example of African English word “now-now” instead of “now”, which mean “immediately”. Additionally, based on Crystal (1997), there are some examples of the widespread use of English in African countries. Nigeria, it was British colony but the population also use English as pidgin or Creole English. It is supported by Akinmade (2015), he gave some examples of Nigerien English: “I no no” means “I don’t know”. “How Bodi?” means “How are you doing today?” Cameroon, the language used which was explored by Portuguese, Spanish, Dutch and British but the use of English in Cameroon was broken and / or bush English because the English language was mixed by native language as well as the local tongue. Kenya, it was British colony in 1920, therefore, English was used as official language. After, Kenya was independent in 1963, to this situation, it is claimed by Crystal (1997: 47), “English none the less retains an important role in the country”. Uganda, it was invaded by Britain. After, Uganda was independence in 1962, English became the official language while Swahili was used as lingua franca (Crystal, 1997). Crystal (1997) added that Malawi was invaded by Britain in 1907, after it was independent, the English language is used as official language with Chewa. Thus, the use of English is also Creole English as well. 4.3 Expanding Circle Country These groups of countries are independent, they do not have a history of colonization by members of the inner circle. These countries are Thailand, China, Japan, Russia,

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

Egypt, etc. English is spoken and it is taught as a foreign language (Crystal, 1997). The people use English as a medium instrument of communication, they learn English in language institute, school and university as American and / or English variety, so the people in the expanding circle country may use both variety between American English and British English as well. With reference to the real situation such as Thailand, those who use English to communicate might care of grammar correction and they may be shy to pronounce some wording sounds of English. In addition, they usually mispronounce some English words, for example, “Zebra” most Thai people pronounce “Sebra”, and “Zoo”, they pronounce, “Soo”. Importantly, most Thai people and / or students have thought that English is actually difficult for them. Since English split up from Germanic dialect and it was developed by long history, it gradually penetrates into various countries. At present, English is now spoken by people around the world and with varieties, particularly, English language will be used as the medium of communication in Associate Economic Community (AEC). To this situation, English is not only spoken among native speakers but also non-native speakers; therefore, the theory of Kachru’s model can be out of date in the future. For the possible reason, firstly, the people in various parts of the world can speak English like native speakers and they really know the rule of grammar and language used. Secondly,

299

people may speak English by mixing various varieties or dialects from different areas of the world. Thirdly, people around the world acquire, learn, and/or absorb the variety of English and they understand each other. Consequently, it can be implied that three circle countries may not be separated from one another. Indeed, the three circle countries may be combined into the same circle. In addition, in the future, it may not be said that people speak English language, instead it can be said that people speak / use global language as the medium of communication. In order to help students to understand English as a global language, we can provide a task so that learning English as a global language is also integrated in English Language Teaching (ELT). By teaching, it is concerned with, firstly, linguistics approach; it refers to the grammatical and lexical capacity. Secondly, sociocultural competence; it refers to the ability to create and understand the appropriate utterances used in various social contexts (Brown, 1994) and (Wilkins, 1976). Thirdly, discourse competence; it refers to the knowledge of how to combine grammatical forms and meaning to achieve a unified spoken or written text in various genres and situations. Fourthly, Strategic competence; it refers to ability to make repair to cope with imperfect knowledge and to sustain communication through paraphrase, circumlocution, repetition, hesitation, avoidance and guessing and shifts in register and style (Rebecca & Robin, 1992; Savignon, 1983). Thus, to be successful teaching,

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


300

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

the teachers should be able to motivate these four approaches in teaching. Hence, the theory can be provided suitable tasks for students. Furthermore, it depends on the curriculum, syllabus design and teachers’ teaching strategies. Additionally, it depends on methodology of teaching to provide the tasks such as Task Based Learning (McKay, 2003). By applying the theories, the writer made a lesson plan and provided the task to students in language class below. 5. Integrating into English Language Teaching Lesson Plan English as a Global Language: English in different style Listening and Presentation 3 hours *****Lesson Plan can be flexible depends on situation in classroom***** Supposition: 1. The students have background knowledge and learned English as a Global Language. 2. The students are learning in the second year in the school of Liberal Arts. 3. The students have good proficiency of English. 4. The students were asked to bring computer note book to the class since last time. Objectives 1. Students can identify different style of English. 2. Students can speak pronounce accent of words and / or sentences in an English style

such as Singapore English, Japanese English, African English, Hong Kong English and / or Indian English. 3. Students accept English as a Global language. Pre-Teaching (30 minutes) 1. The lesson plan today, teacher prepares 6 styles of English for students to learn and to practice. 2. Teacher elicits students by asking question “Have you ever heard the different style of speaking English?”, If so, What style have you ever heard? 3. Teacher asks students to show example of speaking variety of English?” For example: Students may speak some sentences of Singapore English, Indian English, etc. 4. Teacher may record the students’ speaking of variety of English. 5. Teacher asks students “Where did they learn such Singapore or Indian accent from?” While-Teaching (2 hours) 1. Teacher leads students to watch video clip and listen to how to speak different type of English. Teacher prepares the VDO clip from website, if the internet is variable. 1.1 African English

https://www.youtube.com/watch?v=qj0uRrjo7QY

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

1.2 Indian English

https://www.youtube.com/watch?v=z7MIyQS9p5E

1.3 Singaporean English

https://www.youtube.com/watch?v=BgEy92CSbss

1.4 Thai English

https://www.youtube.com/watch?v=U6dfDvKaMtk

1.5 Japanese English

https://www.youtube.com/watch?v=LPcKa7LHoak

1.6 Scottish English

https://www.youtube.com/watch?v=mALkCGVA2BU Credit: Youtube

2. Teacher divides students into group (depends on number of students in class). 3. Teacher turns on the video clip again and asks each group to look at the style of

301

speech, accent, etc. carefully. 4. Teacher gives the students away a CD concerned with each English style to a group 5. Teacher assigns each group to focus on an English style. For example: Group 1 focuses on African English Group 2 focuses on Indian English Group 3 focuses on Singaporean English Group 4 focuses on Thai English Group 5 focuses on Japanese English Group 6 focuses on Scottish English 6. Teacher asks each group to turn on CD and watch it carefully. 7. Teacher asks students to note down the assigned English style of their own group. 8. Teacher asks each group present how the English styles are spoken. To this, each group will present in English in front of the class. (15 minutes for each group). To this step, the students have to show the example of their speech by talking variety of English such as if their group present Singaporean English, they have to show how Singaporean English is spoken. 9. After presentation, teacher asks students to write their opinion about English as a Global Language. The question can be “In your opinion, how do you feel, if you hear those who come from Outer and Expanding circle countries speak English?” Explain (200 words) (Students’ answers are varied)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


302

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Post-Teaching (30 minutes) 1. Teacher gives the students feedback about their presentation and concludes about English as a Global Language to them. 2. Teacher selects some paper work to read and give feedback to the students’ idea. 3. Teacher explains to students about English as a Global language in order to re-mind their acceptability of variety of English. 4. Teacher provides opportunity for students to ask the questions. 5. Teacher asks each group to do home. Each group finds their other English speaking style and they have to present on next class.

Conclusion

English language was developed from Germanic dialect and it was originally spoken in Roman Empire until the English language was used in the inner circle country, outer circle country and expanding circle country. For the reason, the colonizer who invaded the other countries until English is now spoken around the world. Then, English is now not only spoken with native and native speakers but also native and non-native speaker and non-native and non-native speakers. Consequently, the English language is develop into the field of English Language Teaching which should teach the learners to know as English is Global Language.

References

Akinmade, L. (2015). Beginer’s guide to Nigerian pidgin English. Retrieved December 3, 2017, from http://matadornetwork.com/abroad/beginners-guide-to-nigerian-pidgin-english Barber, C. (1999). The English language: a historical introduction. Cambridge: Cambridge University Press. Brown, H. D. (1994). Principles of language learning and teaching. New York: Addison Wesley Longman. Crystal, D. (1997). English as a global language. Cambridge: Cambridge University Press. Gough, D. H. (2015). English in South Africa. Retrieved January 15, 2018, from http://www. salanguages.com/english/esa.htm James, E. (2015). The Vikings, 800 to 1066. Retrieved January 15, 2018, from http://www.bbc.co.uk/ history/ancient/vikings/overview_vikings_01.shtml Jurcic, D. (2003). The influence of French on English in the early modern period. Retrieved March 2, 2018, from http//homes.chass.utoronto.ca/ca~cpercy/courses/6362Jurcic1.htm Mastin, L. (2011). The history of English: how English went from an obscure Germanic dialect to a global language. Retrieved March 1, 2018, from http://www.thehistoryofenglish.com Mckay, S. (2003). Teaching English as an international language: the Chilean context. ELT journal, 57(2), 143-144. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

303

Rebecca, L. & Robin, C. (1992). The tapestry of language learning. Boston. MA: Heinle and Heinle. Saraceni, M. (2002). English as a world language: Institute of English Language Education. Bangkok: Assumption University. Savignon, S. (1983). Communicative competence: theory and classroom practice. USA: AdditionWesley Publishing. Trudgill, P. & Hannah, J. (1994). International English: A guided to the varieties of standard English. Cambridge: Cambridge University Press. Wilkins, D. A. (1976). Notional syllabuses. Oxford: Oxford University Press.

Name and Surname: Charisopon Inthapat Highest Education: Master Degree, King Mongkut’s University of Technology Thonburi University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field of Expertise: English Language Teaching Address: 85/1 Moo 2, Cheangwattana Rd., Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

304

IS IT SUITABLE TO USE L1 IN THE FOREIGN LANGUAGE CLASSROOM? ความเหมาะสมของการใช้ภาษาที่หนึ่งในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ Mett Robrue The Office of General Education, Panyapiwat Institute of Management

Abstract

The use of L1 in a foreign language classroom is both supported and argued by many scholars. The question whether or not to use the L1 in the foreign language (L2) classroom comes from two different theoretical frameworks, namely the interactionist framework and the sociocultural framework. This article shows presents the reasons why some people support the use of the L1 while other people against it based on the two frameworks. Furthermore, the article suggests different approaches on how to use the L1 and the FL to enhance students’ acquisition to use foreign language more effectively. Keywords: L1 usage, L2, Foreign language, Language acquisition

บทคัดย่อ

การใช้ภาษาที่ 1 ในชั้นเรียนภาษาต่างประเทศมีทั้งผู้สนับสนุนและผู้ไม่เห็นด้วย ปัญหานี้มีที่มาจากกรอบ แนวคิดทฤษฎีทตี่ า่ งกัน 2 กรอบคือ แนวคิดปฏิสมั พันธนิยมและแนวคิดสังคมวัฒนธรรม บทความนีน้ ำ� เสนอเหตุผลว่า ท�ำไมคนบางกลุ่มสนับสนุนการใช้ภาษาที่ 1 ในชั้นเรียนภาษาต่างประเทศและท�ำไมคนบางกลุ่มจึงคัดค้านโดยอ้างอิง จากกรอบแนวคิดทั้ง 2 กรอบ นอกจากนี้ในบทความมีการเสนอแนะแนวทางในการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาที่ 1 ร่วมกับภาษาต่างประเทศเพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถทางภาษามากยิ่งขึ้น ค�ำส�ำคัญ: การใช้ภาษาที่ 1 ภาษาที่ 2 ภาษาต่างประเทศ การเรียนรู้ภาษา

Corresponding Author E-mail: mettrob@pim.ac.th


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

Introduction

It is always a dilemma for foreign language teachers (in this case is English language) especially non-native teachers whether or not to use native language (L1) in foreign language classrooms (FL). Take the education institute I work for as an example, here the director demands English to be the only language used in English classroom. Teachers are not expected to use L1 in the language classroom both in terms of communicating with the students and teaching. Is using only English (L2) in the FL classroom the best way to foster students’ L2 proficiency? However, there are many researches on this topic propose that students can benefit from using their native language as a tool to foster target language rather than being detrimental (Bruhlmann, 2012: 1-10). In this article I will describe the arguments of using L1 in FL classrooms within the context of the interactionist framework which is against the use of the L1 in the FL classrooms. After that I will talk about the socioculture framework which supports the use of the L1 in the FL classrooms. Finally, in the discussion section I will synthesize the above arguments and conclude with suggestions for further research. Before going into the argument on the L1 use in the FL classroom, we must understand why the L1 is sometimes believed to have a role in the FL classroom and sometimes not. There are different pedagogical methods that have influenced how ESL/EFL instruction has changed over time. Through the years these methods come and go and now EFL/ESL teaching

305

is stuck with a dilemma – which teaching method should be used. Such dilemma occurs because these methods have differing views on the use of the L1. Now I would like to talk about two pedagogical methods that have an important role in ESL/EFL instruction, namely Grammar Translation method (GT) and Communicative Language Teaching (CLT). The GT method was used in classrooms in the late nineteenth century and early twentieth century (Vasatova, 2009: 14). The main purpose of using this method is to learn the target language through literature and translation. Students who use the GT method will learn a foreign language through a careful study of its grammatical rules and develop the capability to translate words and sentences from one language to another. The disadvantages of this method are little emphasis on communication in the L2 because the goals are accuracy in grammar, reading and translation. Students who learn with this method will have low creativity and are lack of interaction between the students and the teacher. At last, the lack of communication in the L2 made the GT method to lose its popularity. Later theorists turn to other language teaching methods that are more into communicative and interactive approaches like Communicative Language Teaching (CLT). The CLT method was developed by Robert Langs in the early 1970s (Vasatova, 2009: 16). It is viewed as the most popular and recommendable approach (Widdowson, 1990: 160). One theorist who embraces CLT method to language teaching is Stephen Krashen. His

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


306

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

theory, Input Hypothesis, he assumes that students learn another language best when they are exposed to what he called “Comprehensible input” in the target language. It means the more FL in put the students have the more accomplish in the FL the students are. On the contrary, if students use less L2, the more difficult L2 acquisition will be. The CLT is on the opposite end of the GT that strongly avoids the use of the L1 in the FL learning. The goal of this approach is the students have meaningful interactions in the L2 where they use the L2 to negotiate meaning in order to understand what is being said in a real situation (Savignon, 1987: 235-242). The students learn to produce the FL by speaking. They copy the language, tones, voices, as if it is actually used in real world situations. The CLT has a tremendous influence on foreign language teaching today and this is why using the L1 in the FL classroom seems out of place. The use of the L1 in the FL classroom is also affected by differing theories of second language acquisition. There are arguments for and against using the L1 in the classroom that can be viewed in 2 ways, namely interactionism and socioculturalism (Ellis, 2008: 467-474). Ellis points out that in the views of those who supports sociocultural framework the L1 can work as a scaffolder to support the students for FL learning. His view is also supported by Anton & DiCamilla (1998: 9-32) that the use of the L1 in the classroom helps the students interact with each other, understand the objective of a task, which help them to complete the

task. It is in the students’ instinct to use the L1 to help them learn a language, negotiate the meaning of a word and translate a sentence. If someone uses the interactionist framework as an approach to learn a FL, it means that they need to be fully exposed to the FL as languages are best learned when the students use them to negotiate meaning and try to understand what they hear (Ellis, 2008: 467-474). However, if a person supports the sociocultural framework, his/her viewpoint about learning a FL will against those who follow the other frameworks such as the two frameworks that have opposite view on learning a language. It is difficult to point out which framework works best for learning a language. In the following section I will discuss about the interactionist framework and the reasons why those who favor it try to prevent the L1 in the FL classroom. After that I will discuss about the sociocultural framework and the reasons for using the L1 in the FL classroom.

The Interactionist Framework

In her research, Cook (2001: 402-423) points out that to maximize the use of L2 foreign language learners must be omitted from using the L1 in the FL classroom especially those who live in a country where people mostly speak L1. It is obvious that if students want to learn a language effectively they need to encounter the language as much as possible and the teacher can help them by using only the FL in the classroom. Teachers play an important role to convince students to learn

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

a FL. If the teachers want their students to use the FL in class they must first be an example by showing them in greeting, giving instruction, commenting or describing a task. Convincing the students is very important, if they believe they can use a FL then using it in the classroom is not difficult. Showing the students the benefits of using the FL and managing the classroom in the way the students focus on the FL use will also ensure the place for the FL in the classroom. In their research, Polio & Duff (1994: 159-161) mention that if teachers use less FL in classroom students are likely not using it as well. In the research they observed a group of L2 university teachers on how much they use L1 in classroom. The teachers in this research reasoned that they use the L1 to help explain grammatical concepts that did not exist in the L1, difficult words or announce important matters like tests. However, these reasons are likely to saving time as it is easier to explain in the native language of the students. Another reason that the teachers used the L1 in the classroom was to build relationship with the students. They mentioned that using the L1 in the classroom made the students felt comfortable. On the contrary, Polio & Duff (1994: 313-326) concludes on this point that making the students feel at ease with learning is important but it does not mean that the teachers should take away valuable time for using the FL in the classroom. The students should have an opportunity to use as much FL as they can and also the students are not expected to understand what the teachers say in the FL 100%. The point of

307

learning a FL is the students learn to develop their understanding on their own, figure it out by themselves. One problem that is found when using the L1 in the classroom as a way to help the teachers and the students communicate easier is that the students might not see the FL important to them to communicate ideas (Polio & Duff, 1994: 313-326). If the L1 is used inconsistently and unsystematically it will turn out to be a disaster. Using the L1 is possible but it must be used with a good reason. There is one argument against the use of the L1 in the classroom done by Macaro (2001: 531-548). In his research he investigated how six student teachers who taught French in a school in England. Macaro wanted to know why the student teachers used the L1 (in this case is English) with their students. The result revealed that the average amount of the time the student teachers used the L1 was 6.9% (Macaro, 2001: 538) and the reason to use the L1 was to give explanation of difficult words, keep control of the students, or reprimand them. However, what the student teachers could not explain was why they used the L1. Code-switching from L1 to L2 and vice versa can happen in classroom but then again it must be used with discipline and has a reason to use it. If some teachers cannot give a reason why they use L1 deliberately in classroom then what would happen if students communicate with L1 while they are doing an activity that is supposed to be carried out in L2? As observed by Hellermann & Pekarek Doehler (2010: 31-40)

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


308

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

in their study that was done on a group of native speakers of Swiss-German who were around 13-14 years old. These students had studied in Lower-intermediate French language classroom. In the study a group of 3 male students were given a task in their French class to give directions to someone by using a map. During the task they were mostly used their native language, however, they did not make good use of it. One student was distant himself from the others and started drawing something in his paper while his friends were practicing the imaginary conversation. When he joined in the conversation with his friends he jokingly mimicked his friend’s dialogue, made jokes and tried to distract his friend in German. Later his friends were distracted from the task and could not complete the dialogue. This instance goes to show that an unprincipled usage of L1 in classroom is obviously not beneficial for anyone. However, if both the students and the teacher need to use L1 in classroom, how can they make it happen? In the next section, we will examine the use of L1 mentioned in some researches which are beneficial to L2 learning.

The Sociocultural Framework

When talking about second language learning, the arguments can be divided into 2 groups– those who against the use of the L1 in the classroom and those who favor it. The arguments against the L1 use mostly derive from the interactionist framework, however, the sociocultural framework favors the use of the L1. When talking about the latter framework one

must refers to the concept of language learning of the same name developed by Lev Vygotsky. In his book Thinking and Speech (1987: 39-285) he supported the use of L1 in second language learning. Vygotsky noted that the learning of an L2 must be incorporated with the L1 because the background of one’s knowledge can be found in one’s L1 and Learning an L2 essentially depends on the development of the L1. That means when learning a new word in a foreign language, one learns conceptually first by referring to the meaning of that word in one’s L1 then comprehends the actual name of the word in an L2 (Eun & Lim, 2009: 18). Using the L1 in the FL classroom is favored by many researchers (Bruhlmann, 2012: 66) because the L1 is a part of the students. When the students learn the FL they inevitably think in their native language. It is natural process of learning a language (Anton & DiCamilla, 1998: 234-235). The L1 is an essential part of the students and the teachers should not prevent them from using it. Therefore, we should bring out the benefits of the L1 to help the students learn the FL effectively. In a monolingual classroom that uses only the FL sometimes the students will find it uncomfortable especially the weak students, as they feel they need to struggle to learn the language and when they do not understand they are afraid to ask the teacher for help or clarification. The use of L1 can bridge the gap between the teacher and the students. The students will have more confidence and feel at ease to learn.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

In her research, Edstrom (2006: 275-292) reflected her own use of the L1 (English) in a Spanish classroom by videotaping herself while teaching. Her Spanish class consisted of 18-22 basic Spanish students. She revealed that sometimes she used the L1 with her students even if they understood the sentence she said earlier in Spanish. She reasoned her use of the L1 that she wanted to make a connection with the students. She also admitted that more often than not the FL (Spanish) was a topic rather than a means of communication and learning a language was not only to be able to communicate in that language but when there was a topic about Spanish culture or the history of Mexico, the language that could convey these topics the best was the L1 (Edstrom, 2006: 283-287). Concerning the students’ confidence in learning the FL, Cook (2001: 402-423) also views it the same way as Edstrom. She reasons that when students speak in FL, they do not feel it the same way as they speak in their native language. They feel less confident, however, the use of the L1 can help them feel better because it connects with their personality and identity. We should view the L1 as a useful tool in creating authentic FL uses rather than abandon it at all costs (Cook, 1999: 185). Moreover, students naturally use the L1 as part of their FL learning process. As observed by Bawcom (2002, cited in Vaezi & Mirzaei, 2007: 4) in her study on the use of the L1 by learners in the classroom, it was found that 36% of the learners used their native language for affective

309

factors such as sense of identity, social interaction, and security. In addition, 41% of the learners used it as part of their learning processes such as checking comprehension, doing assignments and 18% of the learners used the L1 for translating objectives and to understand vocabulary. Cook (1992: 557-591) voiced that when learners learn a FL they do not shut off their L1 completely while process the FL, instead the L1 is constantly available. As opposed to those who believe using the L1 in the L2 classroom will disrupt the students’ language learning process. If one wants to maximize the FL use it does not mean that it is inappropriate for the teacher to use the L1 (Turnbull, 2001: 531-538). A good example of how to use the L1 is to use codeswitching to describe difficult words or phrases. Macaro (2005: 63-84) pointed out that not using code-switching when talking about a difficult phrase can turn out to be a disaster. If teachers introduce a phrase like “raised in the gutter” and paraphrase it in the FL with simplified words (brought up badly by poor parents), students, especially the slow learners will lose a chance to learn the original phrase. They might understand the meaning but they do not learn the new aspect of the FL. Code-switching can be a benefit for both advanced students and lower level students. Take Liebscher & O’Cain (2005: 234-247) for example, their research is a study of using code-switching in an advanced German at University of Alberta. The teacher and the 12 female students who were part of this research

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


310

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

used English as their L1. The researchers mentioned that code-switching was a natural conversational tool the teacher and the students used besides the use of volume, speed and intonation, pitch changing to communicate their ideas and opinions. The teacher and the students both firmly agreed that using the L1 was very useful for them. One thing that should be noted about the success of the code-switching method in this research is that the teacher adamantly specified when to use the L1 and when not to. It means that if there is a guideline for the L1 use then code-switching method can be effective in the FL classroom. As for lower level students the use of the L1 is useful because the students can understand assignments and lectures the teacher gives them (Cook, 2001: 402-423). Anton & DiCamilla (1998: 9-32) agree that lower level students are those who would see that the use of the L1 in the FL classroom is useful as they use the L1 as a way to process the FL that is given in the classroom and they primarily use the L1 to develop relationship with their friends and teachers. Students with low level of FL proficiency always feel anxiety in FL classrooms than high level students. The use of the L1 can mitigate this anxiety (Krashen, 1982: 6-10). Besides reducing anxiety in FL classrooms, the use of the L1 also helps lower level students to be more engage in the exercise the teacher assigns them to do. In their research, Anton & DiCamilla (1998: 9-32) observed 5 English native adult students

in a writing assignment. These students studied basic Spanish as a foreign language class. They were assigned to work in pairs and their actions were recorded. It was found that the L1 played an important role in their learning as the students used it to help them understand the assignment, organize the task, look up the vocabulary, understand grammatical structures that were needed for the assignment. Without the L1 the students would not complete the task effectively. This result shows that if the students use the L1 in the classroom they can have productive learning, they know what to do in a task and can find a solution to the problem. This result is contrast with those who support the interactionist framework. They claim that not understanding everything in a language class is a natural part of language learning (Bruhlmann, 2012: 70). It is important for students to understand what they learn if not they would feel uncomfortable and the affective filter will occur, which means that language acquisition will not happen (Krashen, 1982: 30-44) In conclusion, one can see the use of the L1 as an approach to help the students feel more comfortable, less pressure and lower the affective filter. With the use of the L1 it creates language acquisition which is mentioned in Krashen’s study (1982: 30-44) that the lower the affective filter the students feel the more FL acquisition they gain. If the students feel at ease with what they are learning, they can learn better.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

Discussion

There is no end to the argument of using or not using the L1 in the FL classroom as each of them has its own strengths. Some people who do not support the use of the L1 reason that using the L1 may lead to uncontrollable classroom as some students who feel at ease at using it will communicate less in the FL once they have a chance to use their native language. At the same time, when using both the L1 and the FL in a language classroom students may not have a chance to use the FL as much as they can because some parts of the activities in the classroom are interrupted by the use of the L1. It means that the students have few opportunities to negotiate meaning in the FL. The use of the L1 also seems ambiguous and meaningless if teachers use it when they want to. That means the teachers use the L1 to explain an activity or situation that can be explained with the FL because they think using the L1 save a lot of time than using the FL. Contrary to those who support the use of the L1 in the FL classroom, they favor the L1 because it helps the students to understand the FL better. It also lowers the affective filter and helps the students to complete a task effectively. All of these arguments have their origin from two frameworks, namely interactionism and socioculturalism. When one adheres one’s belief to a framework, it surely conflicts with other people who believe in another framework. Many researcher, teachers and directors have

311

different views about using the L1 in the FL classroom and these differences come from the positive things and negative things they hear and experience about the use of the L1 (Bruhlmann, 2012: 72-74). What they can do is embracing only one framework to be used in their classrooms. If they prefer the interactionist framework, then they should exclusively use the FL. If they prefer the sociocultural framework, then the L1 and the FL should be used together. However, Edstrom (2006: 275-292) once mentioned that no two classrooms are the same, and different students have different styles of learning and understanding about what they learn. With this notion, it is up to the teachers and the school to decide the suitable method to use the L1 in the FL classroom. The teachers may at first use only the FL but use simplified language, slow down the speech and speak in shorter sentences so that the students have time to catch up and comprehend. At the same time, the teachers can use the L1 in the part that they think is more comprehensible if it is explained in the L1 such as explaining the objective of a task or explaining criteria. These parts are important and should not be explained in the FL alone, with the L1 the students can understand better. These are examples of how to use the L1 in the FL classroom in a meaningful and well-reasoned approach. At the same time, when using the L1 it must be used with caution and should be used when it is really needed.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


312

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Conclusion

No matter how much the teachers use the FL in a language classroom and how many times they want their students to communicate in the FL only, they should know that the L1 is always there. It is a port of the students that cannot be separated. When the students are trying to comprehend the FL, they think in the L1 and make connections with the L1 because the native language is an inseparable part of them and to omit the use of the L1 can slow their FL acquisition and increase the affective filter (Cook, 2001: 402-423). Instead of omitting the use of the L1, it can be used as an approach to facilitate and enhance the FL comprehension. As learning the FL in the classroom is artificial situation and in real world the students normally use the L1 to help them understand the FL. The teachers should see it beneficial rather than shun it. Therefore, it is better to guide them how to use their L1 effectively to enhance

their FL acquisition. But how often and how much does a teacher need to use the L1 in a FL classroom? This answer is still obscure as there are no guidelines to show the teachers and the students. My suggestion is there should be a research studying how often and in what way the L1 can be used in the FL classroom. Saying that whether it should be used “properly” or “with discipline” does not clarify the question. Another area for a future research is about the use of translation as a means to help the students understand the FL. This is by no means about grammar translation but it is to investigate the use of translation by the students to help them understand the differences between the L1 grammar structure and the FL grammar structure. Once we have a concrete guideline and how to use translation to facilitate the students’ comprehension of the FL then the advocates of the L1 and the FL can call a truce.

References

Anton, M. & DiCamilla, F. (1998). Socio-cognitive functions of L1 collaborative interaction in Auerbach, E.R. (1993). Reexamining English only in the ESL classroom. TESOL Quarterly, 27, 9-32. Bruhlmann, A. (2012). Does the L1 have a role in the foreign language classroom? A review of the literature. Retrieved December 12, 2017, from https://journals.cdrs.columbia.edu/ wp-content/uploads/sites/12/2015/04/5.-Bruhlmann-2012.pdf Cook, V. J. (1992). Evidence for multicompetence. Language Learning, 42(4), 557-591. . (1999). Going beyond the native speaker in language teaching. TESOL Quarterly, 33(2), 185. . (2001). Using the first language in the classroom. The Canadian Modern Language Review, 57(3), 402-423. Edstrom, A. (2006). L1 use in the L2 classroom: One teacher’s self evaluation. The Canadian Modern Language Review, 63, 275-292. Ellis, R. (2008). The study of second language acquisition. Oxford: Oxford University Press. ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

313

Eun, B. & Lim, H. (2009). A sociocultural view of language learning: The importance of meaning-based instruction. TESL Canada Journal, 27(1), 18. Hellermann, J. & Pekarek Doehler, S. (2010). On the contingent nature of language-learning tasks. Classroom Discourse, 1, 31-40. Krashen, S. (1982). Principles and practice in second language acquisition. Oxford: Pergamon. Liebscher, G. & O’Cain, J. (2005). Learner code-switching in the content-based foreign language classroom. The modern language journal, 89, 234-247. Macaro, E. (2001). Analysing student teachers’ code-switching in foreign language classrooms: Theories and decision making. The modern language journal, 85(4), 531-548. Macaro, E. (2005). Code-switching in the L2 classroom: A Communication and Learning strategy. Non-native language teachers: Perceptions, challenges, and contributions to the profession, 1, 63-84. Polio, C. & Duff, P. (1994). Teachers’ language use in university foreign language classrooms: A qualitative anaylsis of English and target language alternative. The modern language journal, 78, 159-161. Savignon, S. (1987). Communicative language teaching. Theory into practice, 26, 235-242. Turnbull, M. (2001). There is a role for the L1 in second and foreign language teaching, but… The Canadian modern language review, 57, 531-538. Vaezi, S. & Mirzaei, M. (2007). The effect of using translation from L1 to L2 as a teaching technique on the improvement of EFL learners’ linguistic accuracy–focus on form. Humanising language teaching, 9(5), September. Vasatova, G. (2009). Grammar translation method and communicative approach in teaching English. Retrieved November 24, 2017, from https://is.muni.cz/th/152507/pedf_b_a2/ diplomka.doc Vygotsky, L. S. (1987). The collected works of L.S. Vygotsky. New York: Plenum Press. Widdowson, H. (1990) Aspects of language teaching. Oxford: Oxford University Press. Name and Surname: Mett Robrue Highest Education: M.A. (Translation), Mahidol University University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field of Expertise: Translation, Interpretation, Language Teaching Address: 85/1 Moo 2, Chaengwattana Rd., Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


314

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ปริทัศน์การศึกษาข้อผิดพลาดในการใช้โครงสร้าง “是…的” ในภาษาจีนของผู้เรียนภาษาจีนชาวไทย THE REVIEW OF THE ERRORS OF CHINESE STRUCTURE “SHI...DE” FOR CHINESE LEARNING OF THAI LEARNERS นลินทิพย์ วิภาวัฒนกุล Nalintip Vipawatanakul คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management

บทคัดย่อ

ผู้วิจัยได้ศึกษาคลังเก็บรวบรวมสถิติข้อสอบเรียงความ HSK ของมหาวิทยาลัยภาษาและวัฒนธรรมปักกิ่ง พบว่า รูปประโยคทีผ่ เู้ รียนภาษาจีนชาวไทยใช้ผดิ มากทีส่ ดุ คือ รูปประโยคโครงสร้าง “是…的” บทความนีไ้ ด้รวบรวม การศึกษาเกีย่ วกับข้อผิดพลาด สาเหตุของข้อผิดพลาด และการได้มาในการใช้โครงสร้าง “是…的” ของผูเ้ รียนภาษาจีน ชาวไทย และได้วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างความหมายหรือวิธีการใช้กับลักษณะข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นพบว่า ผูเ้ รียนภาษาจีนชาวไทยส่วนมากยังขาดความเข้าใจเกีย่ วกับวิธกี ารใช้โครงสร้าง “是…的” ทัง้ 2 ประเภทว่า โครงสร้างใด สามารถละอักษร “是” ได้ โดยที่ประโยคยังเป็นประโยคที่สมบูรณ์ และโครงสร้างใดที่สามารถละได้ทั้งอักษร “是” และอักษร “的” รวมไปถึงรูปปฏิเสธของโครงสร้าง “是…的” ด้วย ค�ำส�ำคัญ: โครงสร้าง 是…的 การวิเคราะห์ข้อผิดพลาด ผู้เรียนภาษาจีนชาวไทย

Abstract

After studying the statistical collection of HSK essay examinations of the Beijing Language and Culture University, it was found that most common error in sentence structure made by Thai learners of Chinese was the sentence structure “shi…de” This article complied the studies on the errors, the causes of the errors, and the acquisition of the structure “shi…de” of Thai learners of Chinese, and analysed the relationship between meaning or usage and the nature of the errors occurred. It was discovered that most Thai learners of Chinese lacked understanding concerning usage of both types of the structure “shi…de”: in which structure sentences were still complete while the character “shi” was omitted, in which structure both “shi” and ‘de’ could be omitted, Corresponding Author E-mail: nalintipvip@pim.ac.th


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

315

altogether with the negative structure of “shi…de”. Keywords: “shi...de” structure, Error analysis, Thai students

บทน�ำ

Corder (1967 cited in Zhou, Zhu & Deng, 2007: 2) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการวิเคราะห์ข้อ ผิดพลาดไว้ ดังนี้ (1) ท�ำให้ผู้สอนเข้าใจสภาวะการเรียนของผู้เรียน (2) ท�ำให้ผู้วิจัยเข้าใจการได้มาซึ่งภาษาของผู้เรียน (3) เป็นเครือ่ งมือช่วยให้ผเู้ รียนเข้าใจกฎเกณฑ์ของ

ภาษาเป้าหมาย โดย Vipawatanakul (2017) ได้สบื ค้นความผิดพลาด ทางด้านรูปประโยคจากสถิติข้อสอบเรียงความ HSK ของมหาวิทยาลัยภาษาและวัฒนธรรมปักกิ่ง (Beijing Language and Culture University) ทีร่ วบรวมข้อสอบ เรียงความตัง้ แต่ปี 2535-2548 ไว้ทงั้ หมด 11,569 ฉบับ ดังตารางสรุปนี้

ตารางที่ 1 แสดงอันดับและสัดส่วนความผิดพลาดทางด้านโครงสร้างภาษาจีนที่ผู้เรียนชาวต่างชาติใช้ผิดมากที่สุด จากคลังข้อสอบเรียงความ HSK มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศปักกิ่ง ตั้งแต่ปี 2535-2548 ความผิดพลาด ทางด้านโครงสร้างประโยค 1. รูปประโยคโครงสร้าง “是…的” 2. รูปประโยคอักษร “是” 3. รูปประโยคอักษร “把” 4. รูปประโยคอื่นๆ รวม

ความผิดพลาด ทางด้านโครงสร้างทั้งหมดที่พบ 2,629 ครั้ง 1,427 ครั้ง 585 ครั้ง 1,037 ครั้ง 5,678 ครั้ง

จากตารางที่ 1 นลินทิพย์สรุปว่า “ความผิดพลาด ที่เกิดจากรูปประโยคภาษาจีนที่นักศึกษาต่างชาติใช้ผิด มากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ (1) รูปประโยคโครงสร้าง “是……的” (2) รูปประโยค “是” (“是” 字句) (3) รูปประโยค “把” (“把” 字句)” ผู้เขียนได้สืบค้นงานวิจัยเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อ ผิดพลาดในการใช้โครงสร้าง “是…的” พบว่า มีงาน วิจัยจ�ำนวนมากที่ศึกษาเกี่ยวกับข้อผิดพลาดที่เกิดจาก โครงสร้างนี้ อย่างไรก็ดีงานวิจัยที่เจาะกลุ่มเป้าหมาย ตามภาษาแม่ของผูเ้ รียนยังมีอยูไ่ ม่มาก โดยเฉพาะงานวิจยั ที่เจาะกลุ่มเป้าหมายไปที่ผู้เรียนภาษาจีนชาวไทย

สัดส่วนความผิดพลาด ทางด้านโครงสร้าง 46.0% 23.9% 9.7% 20.4% 100%

1. ความส�ำคัญของการศึกษาข้อผิดพลาดในการ ใช้โครงสร้าง“是…的”ของผูเ้ รียนภาษาจีนชาวไทย เพื่อให้ทราบความผิดพลาดของผู้เรียนชาวไทย เมือ่ เทียบกับผูเ้ รียนชาติอนื่ ผูเ้ ขียนได้สบื ค้นข้อผิดพลาด ทางด้านโครงสร้างประโยคของผู้เรียนภาษาจีนชาวไทย จากสถิติข้อสอบเรียงความ HSK ของมหาวิทยาลัย ภาษาและวัฒนธรรมปักกิ่ง โดยจากสถิติพบว่า ตั้งแต่ปี 2535-2548 มีผู้เรียนชาวไทยเข้าสอบ HSK ประเภท เรียงความทั้งสิ้น 374 ฉบับ หรือคิดเป็นร้อยละ 3.23 ของจ�ำนวนนักศึกษาทีเ่ ข้าสอบ HSK ประเภทเรียงความ ทั้งหมด 11,569 ฉบับ ดังตารางสรุปนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


316

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตารางที่ 2 แสดงสัดส่วนข้อสอบเรียงความ HSK ของผู้เรียนภาษาจีนชาวไทยและผู้เรียนภาษาจีนที่ไม่ใช่ชาวไทย จากคลังข้อสอบเรียงความ HSK มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศปักกิ่ง ตั้งแต่ปี 2535-2548 ข้อสอบเรียงความ HSK

จ�ำนวนข้อสอบ (ฉบับ)

ร้อยละ

ข้อสอบเรียงความ HSK จากผู้เรียนภาษาจีนชาวไทย

374

3.23

11,195

96.77

11,569

100

ข้อสอบเรียงความ HSK จากผู้เรียนภาษาจีนที่ไม่ใช่ผู้เรียนชาวไทย รวม และเพือ่ ให้ทราบว่า ความผิดพลาดทีเ่ กิดจากรูป ประโยคโครงสร้าง “是…的” ที่คิดเป็นร้อยละ 46.0 จากข้อผิดพลาดโครงสร้างทั้งหมดนั้น แท้จริงแล้วเป็น

ความผิดพลาดทีม่ าจากผูเ้ รียนภาษาจีนชาวไทยในสัดส่วน เท่าใด ผู้วิจัยจึงได้ท�ำการสืบค้นต่อไป และได้ข้อสรุป ดังตารางสรุปนี้

ตารางที่ 3 แสดงร้อยละของอัตราส่วนข้อผิดพลาดทางรูปประโยคภาษาจีนที่ผู้เรียนชาวไทยใช้ผิดโดยเปรียบเทียบ กับข้อผิดพลาดทางด้านรูปประโยคที่ผู้เรียนชาวต่างชาติใช้ผิดมากที่สุดจากคลังข้อสอบเรียงความ HSK มหาวิทยาลัย ภาษาต่างประเทศปักกิ่ง ตั้งแต่ปี 2535-2548 ข้อผิดพลาดทางด้าน รูปประโยค 1. รูปประโยคโครงสร้าง

ข้อผิดพลาดทางด้าน สัดส่วนข้อผิดพลาดทางด้าน ข้อผิดพลาดทางด้าน รูปประโยคที่เกิดจาก รูปประโยคที่เกิดจาก รูปประโยคทั้งหมดที่พบ ผู้เรียนชาวไทย (%) ผูเ้ รียนชาวไทย (%) 2,629 ครั้ง

92 ครั้ง (3.49%)

49.46%

2. รูปประโยคอักษร “是”

1,427 ครั้ง

34 ครั้ง (2.38%)

18.28%

3. รูปประโยคอักษร “把”

585 ครั้ง

19 ครั้ง (3.25%)

10.22%

4. รูปประโยคอื่นๆ รวม

1,037 ครั้ง

41 ครั้ง (3.95%)

22.04%

5,678 ครั้ง

186 ครั้ง (3.28%)

100%

“是…的”

เมื่อพิจารณาตารางที่ 1 ร่วมกับตารางที่ 3 จะ พบว่ า ข้ อ ผิ ด พลาดทางด้ า นรู ป ประโยคของผู ้ เ รี ย น ชาวต่างชาติและผูเ้ รียนชาวไทยเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยรูปประโยคที่ผู้เรียนชาวไทยใช้ผิดมากที่สุด ได้แก่ ข้อผิดพลาดจากการใช้รปู ประโยคโครงสร้าง “是…的”

ซึง่ คิดเป็นร้อยละ 49.46 ของข้อผิดพลาดทัง้ หมด อันดับ ต่อมา ได้แก่ ข้อผิดพลาดจากการใช้รูปประโยค “是” และข้อผิดพลาดจากการใช้รปู ประโยค “把” ซึง่ คิดเป็น ร้อยละ 18.28 และร้อยละ 10.22 ของข้อผิดพลาด ทั้งหมดตามล�ำดับ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

หากพิจารณาตารางที่ 2 และตารางที่ 3 ร่วมกัน จะพบว่า มีข้อผิดพลาดของผู้เรียนชาวไทยที่เกิดจาก การใช้ โ ครงสร้ า ง “是…的” มากถึ ง ร้ อ ยละ 3.49 ซึง่ เป็นค่าทีม่ ากกว่าร้อยละของอัตราส่วนระหว่างจ�ำนวน ข้อสอบ HSK ของผู้เรียนชาวไทยเมื่อเปรียบเทียบกับ ผู้เรียนภาษาจีนที่ไม่ใช่ชาวไทยที่มีค่า 3.23 ดังนัน้ จึงสามารถสรุปได้วา่ ข้อผิดพลาดทางด้าน โครงสร้างประโยคที่พบได้มากที่สุดในผู้เรียนภาษาจีน ชาวไทยและชาวต่างชาติคอื ข้อผิดพลาดทีเ่ กิดจากการใช้ โครงสร้าง “是…的” โดยผู้เรียนภาษาจีนชาวไทยมี โอกาสเกิดข้อผิดพลาดชนิดนี้ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับ ผู้เรียนภาษาจีนชาติอื่น 2. ข้อผิดพลาดในการใช้โครงสร้าง“是…的” ของผู้เรียนภาษาจีนชาวไทย ผู้เขียนสืบค้นเจองานวิจัยเพียง 2 ฉบับที่ศึกษา เกีย่ วกับข้อผิดพลาดในการใช้โครงสร้าง “是…的” ของ ผู้เรียนภาษาจีนชาวไทย ได้แก่ งานวิจัยของ Tang (2014) และ Lv (2015) 2.1 ประเภทของโครงสร้าง “是…的” และ วิธีการใช้ Tang (2014) ได้ศกึ ษาข้อผิดพลาดในการใช้ โครงสร้าง “是…的” ของผูเ้ รียนชาวไทยทีม่ คี วามรูท้ าง ภาษาจีนอยูใ่ นระดับกลางจากคลังภาษาของมหาวิทยาลัย จี้หนาน โดยได้ใช้เกณฑ์ทางด้านความหมายหรือวิธี การใช้จ�ำแนกชนิดของโครงสร้าง “是…的” ออกเป็น

317

2 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1) โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 ใช้ เพือ่ แสดงการเน้นย�ำ้ มักใช้กบั เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในอดีต หรือได้เสร็จสิ้นแล้วในอดีต และเป็นเรื่องที่ทั้งผู้ส่งสาร และผู้รับสารได้ทราบอยู่ก่อนแล้ว โดยในโครงสร้าง ประเภทนี้มักจะสามารถละอักษร 是 ได้ แต่ไม่สามารถ ละอักษร 的 ได้ และรูปประโยคปฏิเสธของโครงสร้าง ประเภทนีท้ ำ� ได้โดยการเติม 不 เข้าไปข้างหน้าโครงสร้าง เช่น

自行车是我骑坏的。 →自行车不是

我骑坏的。

2) โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 2 ใช้ เพือ่ แสดงน�ำ้ เสียงของผูส้ ง่ สาร มักใช้เพือ่ แสดงความรูส้ กึ นึกคิดของผู้ส่งสารต่อบทประธานในประโยค โดยใน โครงสร้างประเภทสามารถละทัง้ อักษร 是 และอักษร 的 ได้พร้อมกันโดยที่ความหมายไม่เปลี่ยน เปลี่ยนเพียง น�ำ้ เสียงของประโยค และรูปประโยคปฏิเสธของโครงสร้าง ประเภทนี้ท�ำได้โดยการเติม 不 หรือเข้าไประหว่าง โครงสร้าง “是…的” เช่น

他们是会穿这种衣服的。 →他们是

不会穿这种衣服的。

นอกจากนี้แล้ว Tang Lijuan ยังใช้เกณฑ์ ทางด้านรูปแบบจ� ำแนกโครงสร้าง “是…的” จาก 2 ประเภทใหญ่ ออกเป็น 9 ประเภทย่อย ดังนี้

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


318

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ตารางที่ 4 แสดงการจ�ำแนกประเภทโครงสร้าง “是…的” ของ Tang Lijuan ประเภทของโครงสร้าง “是…的” โดยใช้ รูปแบบของโครงสร้าง “是…的” เกณฑ์ทางความหมาย 1. ใช้เพื่อแสดง 1. บทประธาน + 是 + บทขยายบทกริยา + การเน้นย�้ำ ค�ำกริยา (+ บทกรรม) + 的 2. บทประธาน + 是 + โครงสร้างที่ประกอบ ด้วยบทประธานและบทกริยา + 的 3. 是 + บทประธาน + ค�ำกริยา + 的 + บทกรรม 4. บทประธาน + 是 + ค�ำกริยา + 的 + บทกรรม 5. บทประธาน + 是 + ค�ำกริยา (+ บทกรรม + ซ�้ำค�ำกริยา) + 的 2. ใช้เพื่อแสดง 6. บทประธาน + 是 + ค�ำกริยา + (กริยาวลี) น�้ำเสียง +的 7. บทประธาน + 是 + ค�ำกริยานุเคราะห์ + ค�ำกริยา + 的 8. บทประธาน + 是 + ค�ำกริยา + บทเสริม บอกความเป็นไปได้ + 的 9. บทประธาน + 是 + คุณศัพท์วลี + 的 Lv (2015) ได้ศึกษาข้อผิดพลาดในการใช้ โครงสร้าง “是…的” ของผู้เรียนชาวไทยจากคลัง ข้อสอบเรียงความ HSK ของมหาวิทยาลัยภาษาและ วัฒนธรรมปักกิ่ง โดยได้ใช้เกณฑ์ทางด้านความหมาย หรือวิธีการใช้จ�ำแนกชนิดของโครงสร้าง “是…的” ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่เช่นเดียวกับ Tang Lijuan คือ ประเภทที่ 1 ใช้เพื่อแสดงการเน้นย�ำ้ และประเภทที่ 2 ใช้เพื่อแสดงน�้ำเสียง 2.2 ข้อผิดพลาดและสาเหตุของข้อผิดพลาด ข้อผิดพลาดในการใช้โครงสร้าง “是…的” และสาเหตุของข้อผิดพลาดของผูเ้ รียนภาษาจีนชาวไทย

ตัวอย่างประโยค 是谁想出来的这个办法。

这个办法是谁想出来的。

是谁想出来的这个办法。

我刚才是喝的茶不是喝的汽水。

我头疼,是熬夜熬的。

我们也是很注意这个问题的。

饭钱是该大家出的。

不努力学习汉语是学不好的

狮子是很聪明的。

จากงานวิจัยของ Tang Lijuan และ Lv sihui สามารถ แบ่งได้ ดังนี้ 1) ข้อผิดพลาดจากการละหรือไม่ใช้อักษร 是 หรืออักษร 的 เช่น (a) *1这爸爸买给我的。 (b) *他是什么时候来到中国? ประโยค (a) ผิดเพราะว่า ในประโยค (a) ผู้ส่งสารใช้โครงสร้าง “是…的” เพื่อแสดงการเน้นย�้ำ จึงจัดอยู่ในโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 โดยถึง 1 เครือ ่ งหมาย

“*” ในบทความนีใ้ ช้แทนประโยคทีม่ ขี อ้ ผิดพลาด

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

แม้วา่ โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 มักจะสามารถ ละอักษร 是 ได้ แต่กม็ กี รณีทไี่ ม่สามารถละได้ เช่น กรณีที่ บทประธานของประโยค คือ 这 หรือ 那 เป็นต้น ดังนัน้ จึงควรแก้ไขประโยค (a) เป็น 这是爸爸买给我的。 ประโยค (b) ผิดเพราะว่า ในประโยค (b) ผู้ส่งสารใช้โครงสร้าง “是…的” เพื่อแสดงการเน้นย�้ำ จึงจัดอยู่ในโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 จึงไม่ สามารถละ 的 ได้ จึงควรแก้ไขประโยค (b) เป็น 他是 什么时候来到中国的。

2) ใช้โครงสร้าง “是…的” ในสถานการณ์ ที่ไม่ควรใช้ เช่น (c) *这是我们第一次见面的。 (d) *妹妹是下个星期去中国的。 (e) *现在大家都知道牛顿是什么意 思的。

ประโยค (c) ผิดเพราะ 是 ในประโยค (c) ท�ำหน้าที่เป็นกริยาของประโยค ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ โครงสร้าง “是…的” โดยการใช้โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 หรือประเภททีใ่ ช้ในความหมายเพือ่ เน้นย�ำ้ นัน้ เรื่องราวในประโยคจะต้องประกอบไปด้วยเนื้อหาที่ทั้ง ผู้รับสารและผู้ส่งสารทราบอยู่แล้ว โดยอาจเขียนเป็น โครงสร้างได้ว่า “是 + เรื่องราวใหม่ที่ยังไม่ทราบ + เรือ่ งราวเดิมทีท่ ราบอยูแ่ ล้ว” ดังเช่น ในตัวอย่างประโยค (b) ที่แก้ไขแล้ว “他是什么时候来中国的?” (เขามา ประเทศจีนเมื่อไร) นั้น “什么时候” (เมื่อไร) จัดเป็น เรือ่ งราวใหม่ทยี่ งั ไม่ทราบ และ “来中国” (มาประเทศ จีน) จัดเป็นเรื่องราวเดิมที่ทราบอยู่แล้ว จึงควรแก้ไข ประโยค (c) เป็น 这是我们第一次见面。 ประโยค (d) ผิดเพราะว่า ในประโยค (d) ผู้ส่งสารใช้โครงสร้าง “是…的” เพื่อแสดงการเน้นย�้ำ จึงจัดอยู่ในโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 โดย โครงสร้างประเภทนี้จะใช้กับเรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีต หรือเสร็จสิ้นไปแล้วในอดีต แต่ประโยคนี้เป็นประโยคที่ กล่าวถึงเรือ่ งราวในอนาคต จึงควรแก้ไขประโยค (d) เป็น 妹妹下个星期去中国

319

ประโยค (e) ผิดเพราะ เจตนาของผูส้ ง่ สาร คือ แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ จึงควรแก้ไข 的 ในประโยค (e) เป็น了 เป็น 现在大家 都知道牛顿是什么意思的。

3) ล�ำดับค�ำในประโยคผิดพลาด เช่น (f) *我从来是不吸烟的。 (g) *他周末是去看电影的,我是今天 去看的。

ประโยค ( f ) ผิ ด เพราะโครงสร้ า ง “是…的” ประเภทที่ 2 เป็นโครงสร้างที่ใช้เพื่อแสดง น�้ำเสียง แสดงความคิดหรือทัศนคติของผู้ส่งสารที่มีต่อ บทประธานของประโยค โดยค�ำว่า “从来” เป็นค�ำที่มี ความหมายแสดงถึงความเด็ดขาด ดังนั้นจึงควรอยู่ใน ต�ำแหน่งข้างในโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 2 ซึง่ เป็น โครงสร้างเพื่อแสดงน�้ำเสียง จึงควรแก้ไขประโยค (f) เป็น 我是从来不吸烟的。 ประโยค (g) หากมองแต่เพียงผิวเผิน จะเข้าใจว่า เป็นประโยคที่ถูกต้องแล้ว หากเพียงแต่ว่า ในบริบททีผ่ สู้ ง่ สารต้องการจะสือ่ ผูส้ ง่ สารตัง้ ใจทีจ่ ะเน้น เรือ่ งเวลาทีไ่ ปดูหนัง ไม่ได้มเี จตนาทีจ่ ะเน้นกิจกรรมทีท่ ำ� ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ ดังนั้นควรแก้ไขโดยน�ำค�ำว่า 周末 ย้ายเข้ามาไว้ในโครงสร้าง 是…的 ประเภทที่ 1 เป็น 他是周末去看电影的,我是今天去看地。 4) การใช้ประโยคปฏิเสธ เช่น (h) *我不是从来吸烟的。 (i) *这种意见他不会是同意的。 ประเด็นทีน่ า่ สังเกตจากข้อผิดพลาดทีเ่ กิด จากการใช้ประโยคปฏิเสธของผูเ้ รียนภาษาจีนชาวไทยคือ ทุกประโยคที่มีข้อผิดพลาดล้วนเป็นประโยคโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 2 ที่ผู้เรียนน�ำวิธีการปฏิเสธของ โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 มาใช้ ซึ่งอาจแสดง ให้เห็นว่า ผู้เรียนภาษาจีนชาวไทยได้มาซึ่งวิธีการใช้ รูปประโยคปฏิเสธของโครงสร้าง “是…的” ประเภท ที่ 1 ก่อน และหลังจากนั้นจึงน�ำความรู้ที่ตนได้เรียนมา ไปใช้กบั โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 2 จึงก่อให้เกิด

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


320

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

ข้อผิดพลาดประเภทนี้ขึ้น จึงควรแก้ประโยค (h) และ ประโยค (i) โดยการน�ำ 不 ย้ายเข้ามาไว้ในโครงสร้าง “是…的” ดังนี้ (o) 我是从来不吸烟的。 (i) 这种意见他是不会同意的。 5) ใช้ 了 แทนการใช้โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 เช่น (j) *这个房子是我小时候建了。 (k) *泰国没有这种食物,我是在中国 吃到了。

ข้อผิดพลาดประเภทนี้เกิดจากผู้เรียน เกิดความสับสนระหว่างการใช้โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 และการใช้ 了 เพราะทั้ง 2 อย่างนี้ล้วน สามารถใช้ได้กบั เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในอดีตได้ โดยโครงสร้าง “是…的” จะใช้เพือ ่ เน้นย�ำ้ หรืออธิบายเรือ่ งเวลา สถานที่ และวิธีการของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหรือเสร็จสิ้นในอดีต

แต่ 了 จะใช้เพื่อบอกเล่าความเป็นจริงที่เกิดขึ้นหรือ ส�ำเร็จในอดีต ไม่ได้มีความหมายเพื่อแสดงการเน้น ทัง้ สองประโยคข้างต้น สามารถแก้ไขได้ โดยเปลี่ยน 了 เป็น 的 เพราะตัวอย่างแรกผู้ส่งสารมี จุดประสงค์เพื่อเน้นย�้ำเรื่องเวลา และตัวอย่างที่ 2 มี จุดประสงค์เพื่อเน้นย�ำ้ เรื่องสถานที่ ดังนี้ (j) 这个房子是我小时候建的。 (k) 泰国没有这种食物,我是在中国 吃到的。

2.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความหมายหรือวิธกี าร ใช้กับลักษณะข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ผู้เขียนได้วิเคราะห์ต่อยอดงานวิจัยของ Tang Lijuan และ Lv Sihui โดยหาความสัมพันธ์ระหว่าง ความหมายหรือวิธกี ารใช้กบั ลักษณะข้อผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ สรุปได้ดังตารางข้างล่างนี้

ตารางที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างความหมายหรือวิธีการใช้โครงสร้าง “是…的” กับลักษณะข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ประเภทของโครงสร้าง “是…的” เมื่อใช้เกณฑ์ด้าน ความหมายหรือวิธีการใช้ในการจ�ำแนกประเภท 1. โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 ใช้เพื่อแสดงการเน้นย�ำ้ มักใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต หรือได้เสร็จสิ้นแล้วในอดีต และเป็นเรื่องที่ทั้งผู้ส่งสารและ ผู้รับสารได้ทราบอยู่ก่อนแล้ว โดยในโครงสร้างประเภทนี้ มักจะสามารถละอักษร 是 ได้ แต่ไม่สามารถละอักษร 的 ได้ และรูปประโยคปฏิเสธของโครงสร้างประเภทนี้ทำ� ได้โดยการ เติม 不 เข้าไปข้างหน้าโครงสร้าง 2. โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 2 ใช้เพื่อแสดงน�ำ้ เสียงของผู้ส่งสาร มักใช้เพื่อแสดงความรู้สึก นึกคิดของผู้ส่งสารต่อบทประธานในประโยค โดยในโครงสร้าง ประเภทสามารถละทั้งอักษร 是 และอักษร 的 ได้พร้อมกัน โดยที่ความหมายไม่เปลี่ยน เปลี่ยนเพียงน�้ำเสียงของประโยค และรูปประโยคปฏิเสธของโครงสร้างประเภทนี้ทำ� ได้โดย การเติม 不 เข้าไประหว่างโครงสร้าง “是…的”

ลักษณะของข้อผิดพลาด 1. ข้อผิดพลาดจากการละหรือไม่ใช้อักษร 是 หรืออักษร 的 2. ข้อผิดพลาดจากการใช้โครงสร้าง “是…的” ในสถานการณ์ที่ไม่ควรใช้ 3. การใช้ 了 แทนการใช้โครงสร้าง “是…的” 4. ล�ำดับค�ำในประโยคผิดพลาด 1. ล�ำดับค�ำในประโยคผิดพลาด 2. การใช้ประโยคปฏิเสธ

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

จากตารางที่ 5 พบว่า โครงสร้าง “是…的” ที่ต่างประเภทกันสามารถก่อให้เกิดข้อผิดพลาดที่ต่าง ชนิดกัน ดังนี้ 1) ข้อผิดพลาดที่พบได้เฉพาะในโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 เท่านั้น ได้แก่ (1) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการละหรือ ไม่ใช้อักษร 是 หรืออักษร 的 ผู้เขียนคิดว่า สาเหตุที่ข้อผิดพลาด ในลักษณะนีพ้ บได้แต่ในโครงสร้าง “是…的” ประเภท ที่ 1 เท่านัน้ มาจากการทีโ่ ครงสร้าง “是…的” ประเภท ที่ 2 สามารถละได้ทั้ง 是 และ 的 โดยความหมายหลัก ไม่เปลี่ยนแปลง จึงส่งผลให้ความผิดในลักษณะนี้มักพบ กับการใช้โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 (2) ข้อผิดพลาดจากการใช้โครงสร้าง “是…的” ในสถานการณ์ที่ไม่ควรใช้ และการใช้ 了 แทนการใช้โครงสร้าง “是…的” ผู้เขียนคิดว่า สาเหตุที่ข้อผิดพลาด ในลักษณะนีพ้ บได้แต่ในโครงสร้าง “是…的” ประเภท ที่ 1 เท่านัน้ มาจากความซับซ้อนของโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 เอง อันได้แก่ การใช้กบั เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในอดีต การใช้เพื่อเน้นย�้ำ และการทับซ้อนกันของ ความหมายด้านไวยากรณ์ของโครงสร้าง “是…的”

321

2) ข้อผิดพลาดที่พบได้เฉพาะในโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 2 เท่านั้น ได้แก่ การใช้ประโยค ปฏิเสธ ผู้เขียนคิดว่า สาเหตุที่ข้อผิดพลาดใน ลักษณะนีพ้ บได้แต่ในโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 2 เท่านัน้ มาจากการทีผ่ เู้ รียนน�ำวิธกี ารปฏิเสธของโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 มาใช้ เมื่ อ ต้ อ งการปฏิ เ สธ โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 2 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนได้มาซึ่งหลักการปฏิเสธโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 ก่ อ นที่ จ ะเรี ย นรู ้ วิ ธี ป ฏิ เ สธโครงสร้ า ง “是…的” ประเภทที่ 2 และได้น�ำความรู้จากการเรียน โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 มาประยุกต์ใช้ใน การปฏิเสธโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 2 3) ข้ อ ผิ ด พลาดที่ พ บได้ ทั้ ง ในโครงสร้ า ง “是…的” ประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 ได้ แ ก่ ข้อผิดพลาดเรื่องล�ำดับค�ำในประโยคผิดพลาด ซึ่งเป็น ข้อผิดพลาดทีม่ คี วามหลากหลายอันมาจากหลายๆ ปัจจัย ทั้งจากการถ่ายโอนทางภาษา (transfer) และจากการ ขาดความเข้าใจในกฎเกณฑ์การใช้โครงสร้าง “是…的” ทั้งสองประเภท ทัง้ นี้ Lv Sihui ได้สรุปข้อผิดพลาดจากการ ใช้โครงสร้าง “是…的” ทั้งสองประเภทไว้ดังแผนภูมิ ข้างล่างนี้

แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิแสดงอัตราส่วนข้อผิดพลาดที่เกิดจาก โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


322

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

จากแผนภูมิที่ 1 แสดงให้เห็นว่า ข้อผิดพลาด จากการใช้โครงสร้าง “是…的” ประเภทที่ 2 มากกว่า ประเภทที่ 1 แต่เนื่องด้วยปริมาณของข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ไม่สามารถชี้วัดได้ว่า ผู้เรียนภาษาจีนชาวไทยสามารถ เรียนรูแ้ ละเข้าใจโครงสร้างใดได้มากกว่ากัน จึงจ�ำเป็นต้อง พิจารณาเรือ่ งการได้มาซึง่ ภาษาควบคูไ่ ปกับการพิจารณา

เรื่องข้อผิดพลาดด้วย 3. การได้มาซึ่งโครงสร้าง “是…的” Tang Lijuan ได้สำ� รวจหาสัดส่วนการใช้โครงสร้าง “是…的” ทั้ง 9 รูปแบบของผู้เรียนภาษาจีนชาวไทย โดยไม่พบการใช้โครงสร้าง “是…的” ในรูปแบบที่ 4 และ 5 สรุปได้ ดังนี้

ตารางที่ 6 แสดงการใช้โครงสร้าง “是…的” ในรูปแบบต่างๆ ของผู้เรียนภาษาจีนชาวไทย รูปแบบโครงสร้าง 1. บทประธาน + 是 + บทขยายบทกริยา + ค�ำกริยา (+ บทกรรม) + 的

สัดส่วนการใช้ จัดล�ำดับ (%) 32.8 1

2. บทประธาน + 是 + โครงสร้างที่ประกอบด้วยบทประธานและบทกริยา + 的

3.7

5

3. 是 + บทประธาน + ค�ำกริยา + 的 + บทกรรม

3.7

5

4. บทประธาน + 是 + ค�ำกริยา + 的 + บทกรรม

0

-

5. บทประธาน + 是 + ค�ำกริยา (+ บทกรรม + ซ�้ำค�ำกริยา) + 的

0

6. บทประธาน + 是 + ค�ำกริยา + (กริยาวลี) + 的

13.3

3

7. บทประธาน + 是 + ค�ำกริยานุเคราะห์ + ค�ำกริยา + 的

11.2

4

8. บทประธาน + 是 + ค�ำกริยา + บทเสริมบอกความเป็นไปได้ + 的

2.9

7

9. บทประธาน + 是 + คุณศัพท์วลี + 的 รวม

31.1

2

ตารางที่ 6 แสดงให้เห็นว่า ผูเ้ รียนภาษาจีนชาวไทย ใช้โครงสร้าง “是…的” ในรูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 9 และรูปแบบที่ 6 มากเป็นอันดับทีห่ นึง่ สอง สาม ตามล�ำดับ และใช้โครงสร้าง “是…的” ในรูปแบบที่ 4 และรูปแบบ ที่ 5 น้อยที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการส�ำรวจของ Xing & Zhang (2005) ที่ได้ข้อสรุปว่า การใช้โครงสร้าง “是…的” ของผูใ้ ช้ภาษาจีนชาวจีนว่า ชาวจีนใช้โครงสร้าง “是…的” ในรูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 9 และรูปแบบ ที่ 6 มากเป็น 3 อันดับแรก และใช้รปู แบบที่ 4 น้อยทีส่ ดุ

100 แต่มีความแตกต่างกันเล็กน้อย คือ ชาวจีนใช้โครงสร้าง “是…的” ในรูปแบบที่ 5 มากกว่ารูปแบบที่ 3 และ 4 ในขณะที่ผู้เรียนภาษาจีนชาวไทยไม่มีการใช้โครงสร้าง “是…的” ในรูปแบบที่ 5 เลย

บทสรุป

รูปประโยคโครงสร้าง “是…的” เป็นรูปประโยค ที่พบได้บ่อยในภาษาจีน และเป็นรูปประโยคที่ผู้เรียน ภาษาจีนชาวไทยและชาวต่างชาติใช้ผิดบ่อยมากเป็น

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

อันดับหนึง่ โดยมีนกั ภาษาศาสตร์จำ� นวนมากศึกษาวิจยั เกีย่ วกับโครงสร้าง “是…的” โดยโครงสร้าง “是…的” สามารถแบ่งตามความหมายเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ ประเภทที่ 1 ใช้เพื่อแสดงการเน้นย�้ำ มักใช้กับ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตหรือได้เสร็จสิ้นแล้วในอดีต และเป็นเรือ่ งทีท่ งั้ ผูส้ ง่ สารและผูร้ บั สารได้ทราบอยูก่ อ่ นแล้ว โดยในโครงสร้างประเภทนี้ มักจะสามารถละอักษร 是 ได้ แต่ไม่สามารถละอักษร 的 ได้ และรูปประโยคปฏิเสธของ โครงสร้างประเภทนีท้ ำ� ได้โดยการเติม 不 เข้าไปข้างหน้า โครงสร้าง “是…的” เป็น “不是…的” เช่น 自行车是我骑坏的。 →自行车不是我骑坏的。 ประเภทที่ 2 ใช้เพือ่ แสดงน�ำ้ เสียงของผูส้ ง่ สาร มักใช้ เพื่อแสดงความรู้สึกนึกคิดของผู้ส่งสารต่อบทประธาน ในประโยค โดยในโครงสร้างประเภทสามารถละทัง้ อักษร 是 และอักษร 的 ได้พร้อมกันโดยทีค ่ วามหมายไม่เปลีย่ น เปลีย่ นเพียงน�ำ้ เสียงของประโยค และรูปประโยคปฏิเสธ ของ โครงสร้างประเภทนี้ท�ำได้โดยการเติม 不 เข้าไป ระหว่างโครงสร้าง “是…的” เช่น 他们是会穿这种衣服的。 →他们是不会穿这

323

หากแต่งานวิจยั เกีย่ วกับข้อผิดพลาดทีเ่ กิดจากการใช้ รูปประโยคโครงสร้าง “是…的” นัน้ ของผูเ้ รียนภาษาจีน ชาวไทย ปัจจุบันผู้เขียนสืบค้นเจอเพียง 2 ฉบับเท่านั้น เห็นว่ายังมีชอ่ งว่างให้ศกึ ษาค้นคว้าในประเด็นทีเ่ กีย่ วกับ ข้ อ ผิ ด พลาดที่ เ กิ ด จากการใช้ รู ป ประโยคโครงสร้ า ง “是…的” อยู่ โดยการน�ำการศึกษาทีม ่ อี ยูเ่ ดิมมาต่อยอด และวิจัยเปรียบเทียบร่วมกับต�ำราเรียนภาษาจีนที่ใช้อยู่ ในเมืองไทยในปัจจุบันว่า สอดคล้องกับลักษณะการใช้ ของผูเ้ รียนใช้ภาษาจีนชาวจีนทีใ่ ช้โครงสร้าง “是…的” ในรูปแบบที่ 1 (บทประธาน + 是 + บทขยายบทกริยา + ค�ำกริยา (+ บทกรรม) + 的) มากที่สุด และรูปแบบ ที่ 9 (บทประธาน + 是 + คุณศัพท์วลี + 的) มากเป็น อันดับสอง และควรเน้นย�ำ้ ในเรือ่ งใด เพือ่ ลดข้อผิดพลาด ทีส่ ามารถพยากรณ์ได้จากผลการศึกษาเดิมว่าจะเกิดขึน้ เช่น ข้อผิดพลาดจากการน�ำวิธีปฏิเสธของโครงสร้าง “是…的” ประเภททีห ่ นึง่ มาใช้ในโครงสร้าง “是…的” ประเภทที่สอง เป็นต้น เพื่อที่จะพัฒนาวิธีการสอนและ ออกแบบต�ำราเรียนภาษาจีนให้เหมาะกับผูเ้ รียนภาษาจีน ชาวไทยมากที่สุด

种衣服的。

References

Lv, S. (2015). An Analysis of “Shi...De” Errors Made by Thailand Students. M.A. Dissertation, Chinese International Education, Jilin University, China. [in Chinese] Shi, H. & Xie, F. (2008). The Error Analysis on the “shi...de” by Foreign Students. Overseas Chinese Education, 1, 38-47. [in Chinese] Tang, L. (2014). A Study of the Errors and the Acquisition of Learning “Shi...De” by Thai Students, Intermediate Level. M.A. Dissertation, Linguistics and Applied Linguistics, Southwest University, China. [in Chinese] Vipawatanakul, N. (2017). The Review of Chinese Structure “shi...de”. Panyapiwat Journal, 9(Special Issue), 282-293. [in Thai] Xiao, X. (2008). A Study on the Grammar of Chinese Interlanguage. Beijing: The Commercial Press. [in Chinese]

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


324

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

Xing, H. & Zhang, W. (2005). Annotation and Statistical Research on Grammar Project of Modern Chinese. All-round Exploration of Teaching Chinese as a Second Language – Proceedings of Academic Seminar on Chinese as a Foreign Language. Beijing: The Commercial Press. [in Chinese] Zhou, X., Zhu, Q. & Deng, X. (2007). A Study on the Grammatical Errors in Learning Chinese by Foreigners. Beijing: Beijing Language and Culture University Press. [in Chinese]

Name and Surname: Nalintip Vipawatanakul Highest Education: Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) School of Liberal Arts, Renmin University of China University or Agency: Panyapiwat Institute of Management Field of Expertise: Linguistics and Applied Linguistics Address: 85/1 Moo 2, Chaengwattana Rd., Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

325

ค�ำแนะน�ำในการเตรียมบทความ การจัดพิมพ์บทความ

- ความยาวของบทความ 10-12 หน้ากระดาษ A4 พิมพ์หน้าเดียว ก�ำหนดระยะห่างจากขอบกระดาษ 1 นิ้ว (2.54 ซม.) เท่ากันทุกด้าน - บทคัดย่อและบรรณานุกรม พิมพ์ 1 คอลัมน์ เนื้อหาบทความ พิมพ์ 2 คอลัมน์ ย่อหน้า 1 ซม. - ตัวอักษรใช้รูปแบบ TH Sarabun PSK โดยใช้ขนาดและชนิดต่างๆ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ข้อความ

ขนาด ชนิด ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) 18 (CT) ตัวหนา ชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ - ตัวพิมพ์ใหญ่) 16 (CT) ตัวหนา ชื่อผู้เขียน 14 (CT) ตัวหนา ชื่อสังกัดหน่วยงานหรือมหาวิทยาลัย 14 (CT) ตัวธรรมดา Corresponding Author E-mail 12 (LJ) ตัวธรรมดา หัวข้อของบทคัดย่อ/Abstract 16 (LJ) ตัวหนา เนื้อหาบทคัดย่อ/Abstract 16 (LRJ) ตัวธรรมดา ค�ำส�ำคัญ/Keywords 16 (LJ) ตัวธรรมดา หัวข้อเรื่อง (ไม่ล�ำดับเลข) 16 (LJ) ตัวหนา หัวข้อย่อย 16 (LJ) ตัวหนา เนื้อเรื่อง 16 (LRJ) ตัวธรรมดา บรรณานุกรม 16 (LJ) ตัวธรรมดา ชื่อตาราง (ระบุไว้บนตาราง) 16 (LJ) ตัวหนา ชื่อรูป ชื่อแผนภูมิ (ระบุชื่อไว้ใต้รูป แผนภูมิ) 16 (CT) ตัวหนา CT = Centre Text, LJ = Left Justified, RJ = Right Justified, LRJ = Left & Right Justified

ส่วนประกอบของบทความ

1) ชื่อเรื่องบทความ (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 2) ชื่อผู้เขียนทุกคน พร้อมระบุ หน่วยงานที่สังกัด (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 3) บทคัดย่อ (Abstract) ความยาวไม่เกิน 250 ค�ำ และค�ำส�ำคัญ (Keywords) 3-5 ค�ำ (ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ) ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


326

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

4) เนื้อเรื่อง 4.1) บทความวิชาการ ประกอบด้วย บทน�ำ เนื้อหา และบทสรุป 4.2) บทความวิจัย ประกอบด้วย บทน�ำ วัตถุประสงค์ ทบทวนวรรณกรรม วิธีการวิจัย ผลการวิจัย อภิปราย และสรุปผลการวิจัย 5) เอกสารอ้างอิง 6) หากมีรปู ภาพ แผนภูมิ ตารางประกอบ หรืออืน่ ๆ ต้องมีหมายเลขก�ำกับในบทความ อ้างอิงแหล่งทีม่ าของ ข้อมูลให้ถูกต้อง ชัดเจน และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ใช้รูปภาพสีหรือขาว-ด�ำ ที่มีความคมชัด และส่งภาพถ่าย ต้นฉบับหรือไฟล์รูปภาพ แนบมาพร้อมกับบทความ

การอ้างอิงเอกสาร

1) การอ้างอิงในเนือ้ หา เพือ่ บอกแหล่งทีม่ าของข้อความนัน้ ให้ใช้วธิ กี ารอ้างอิงแบบนาม-ปี โดยระบุชอื่ ผูเ้ ขียน ปีพิมพ์ และเลขหน้าของเอกสาร ไว้ข้างหน้าหรือข้างหลังของข้อความที่ต้องการอ้างอิง เช่น Shaw (2017: 185) ….. หรือ ..... (Srikanchai & Watcharanun, 2017: 220) หรือ ..... (Kraikunasai et al., 2017: 172) 2) การอ้างอิงท้ายบทความ ให้รวบรวมเอกสารที่ใช้อ้างอิงไว้ท้ายบทความ เรียงตามล�ำดับอักษรชื่อผู้เขียน โดยใช้รูปแบบการเขียนอ้างอิงตามระบบ APA ดังนี้ วารสารและนิตยสาร รูปแบบ: ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ชื่อวารสาร, ปีที่(ฉบับที่), หน้าแรก-หน้าสุดท้าย. ตัวอย่าง: Kraikunasai, J., Chongcharoen, K., Ngudgratoke, S. & Pukchanka, P. (2017). A Causal Model of Administrative Factors Affecting Educational Quality in Vocational School. Panyapiwat Journal, 9(2), 171-184. [in Thai] Rabbani, M., Aghabegloo, M. & Farrokhi-Asl, H. (2016). Solving a bi-objective mathematical programming model for bloodmobiles location routing problem. International Journal of Industrial Engineering Computations, 8(1), 19-32. หนังสือ รูปแบบ: ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อหนังสือ. เมืองที่พิมพ์: ส�ำนักพิมพ์. ตัวอย่าง: Ritcharoon, P. (2016). Principles of measurement and evaluation. Bangkok: House of Kermyst. [in Thai] Yamane, T. (1967). Statistics: An introductory analysis (2nd ed.). New York: Harper and Row.

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


Panyapiwat Journal Vol.10 No.1 January - April 2018

327

บทความ/เอกสารที่น�ำเสนอในการประชุมวิชาการ รูปแบบ: ชื่อผู้เขียน. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่องบทความ/เอกสาร. ใน ชื่อบรรณาธิการ (บรรณาธิการ). ชื่อหัวข้อหรือเรื่อง การประชุม. ชื่อการประชุม. (หน้า–). สถานที่พิมพ์: สํานักพิมพ์. ตัวอย่าง: Biswas, M. (2008). Confirmatory Factor Analysis of Iso Ahola’s Motivational Theory An Appilicaiton of Structural Equation Modeling. Conference on Tourism in India–Challenges Ahead (pp. 177-188). Kozhikode: Indian Institute of Management Kozhikode. Nasution, H. N. & Mavondo, F. T. (2005). The impact of service quality on customer value in the hotel industry. ANZMAC Conference 2005, 5-7 December 2005. Fremantle, Western Australia: ANZMAC. บทความจากหนังสือพิมพ์ รูปแบบ: ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์, เดือน วันที่). ชื่อเรื่อง. ชื่อหนังสือพิมพ์, หน้าที่น�ำมาอ้าง. ตัวอย่าง: Sriwattanachai, R. (2014, October 24). The Prefabricated Generation of Seasoning Sauce Market. Posttoday Newspaper, p. B3-B4. [in Thai] วิทยานิพนธ์ รูปแบบ: ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อวิทยานิพนธ์. ชื่อปริญญา, สถาบันการศึกษา. ตัวอย่าง: Seangsri, W. (2009). An Analysis and Development of School Network Administration Model in Northeastern Rural Area. Doctoral Dissertation, Chulalongkorn University. [in Thai] Koufteros, X. A. (1995). Time-Based Manufacturing: Developing a Nomological Network of Constructs and Instrument Development. Doctoral Dissertation, University of Toledo, Toledo, OH. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบ: ชื่อผู้เขียน. (ปีที่เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต). ชื่อเรื่อง. สืบค้นเมื่อ......., จาก URL Address ตัวอย่าง: Department of Land Transport. (2013). Transport statistics report in 2013. Retrieved May 20, 2015, from http://apps.dlt.go.th/statistics_web/brochure/statreport113.pdf Shannon, C. E. & Weaver, W. (2010). Communication Theory: Model of Communication. Retrieved December 2, 2016, from http://communicationtheory.org/shannon-and-weaver-model-ofcommunication/

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)


328

วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - เมษายน 2561

การสัมภาษณ์ รูปแบบ: นามสกุลผูถ้ กู สัมภาษณ์, อักษรตัวแรกของชือ่ ผูถ้ กู สัมภาษณ์. (วัน เดือน ปีทสี่ มั ภาษณ์). สัมภาษณ์. ต�ำแหน่ง. หน่วยงานที่สังกัดหรือที่อยู่. ตัวอย่าง: Chueathai, P. (2017, January 30). Interview. Vice President. Rajamangala University of Technology Lanna. [in Thai] Saiwanich, S. (2017, January 31). Interview. Vice Governor. Tak province. [in Thai]

การส่งบทความ

ผู้สนใจเสนอบทความสามารถจัดส่งบทความถึงกองบรรณาธิการวารสารปัญญาภิวัฒน์ ผ่านระบบ “Paper Submission” ได้ที่เว็บไซต์ http://journal.pim.ac.th

ผ่านการรับรองคุณภาพจาก TCI (กลุม่ ที่ 1) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.