วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1

Page 1


T

he Study of Influential Factors for Developing Industrial Agglomeration in Thailand ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ»˜¨¨Ñ·ÕÁè ¼Õ Åμ‹Í¡ÒþѲ¹Ò¡ÅØÁ‹ ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ ã¹»ÃÐà·Èä·Â Somrote Komolavanij, Ph.D. Associate Professor, School of Management Technology, Sirindhorn International Institute of Technology, Thammasat University Consultant in Education, Panyapiwat Institute of Management E-mail: somrote@siit.tu.ac.th Chawalit Jeenanunta, Ph.D. Assisiant Professor, School of Management Technology, Sirindhorn International Inastitute of Technology, Thammasat University E-mail: chawalit@siit.tu.ac.th Veeris Ammarapala, Ph.D. Assisiant Professor, School of Management Technology, Sirindhorn International Institute of Technology, Thammasat University E-mail: veeris@siit.tu.ac.th Masatugu Tsuji, Ph.D. Professor, Graduate School of Applied Informatics, University of Hyogo, Japan E-mail: tsuji@ai.u-hyogo.ac.jp

1


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Yasushi Ueki, Ph.D. Research Fellow, Bangkok Research Center, Institute of Developing Economies (IDE), Japan External Trade Organization (JETRO) E-mail: yasushi_ueki@ide-jetro.org

Abstract Based on data obtained from the mail survey conducted in October 2006 and November 2007, this study analyzes nature and characteristics of industrial agglomeration in the Bangkok Metropolitan Area of Thailand in order to investigate the formation of industrial agglomeration and influential factors for the agglomeration formation. As part of the survey in 2006, it was shown that the industrial agglomeration in Thailand could be divided into three periods (before 1986, 19871994 and after 1994). The early period was establishments of large firms, while the later was establishments of smaller firms forming themselves around the large firms to become the agglomeration. Furthermore, another survey was done in 2007, aiming to identify influential factors encouraging the development of such agglomeration. In this regard, there were twenty factors investigated in the survey. The firms were divided into two groups, namely, large firms and small firms. It was found that some of the factors significantly affect the development of the Thai industrial agglomeration. For examples, the large firms were attracted by investment incentives, physical infrastructure, legal systems, availability of skilled labor and living conditions, while the small firms were satisfied with the government policies on trade liberalization and system of intellectual property rights. However, the innovation of agglomeration cannot be concluded clearly since the results from the analysis showed that there was no significant common factor to explain the upgrading of industry among models. Keywords: Industrial Agglomeration, Industrial Clustering, Innovation

บทคัดยอ ในเดื อ นตุ ล าคม พ.ศ. 2549 และเดื อ นพฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2550 ได มี ก ารสํ า รวจโดย แบบสอบถามเพื่อทําการศึกษาถึงการกอตัวของกลุมอุตสาหกรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกลเคียงของประเทศไทย ขอมูลทีไ่ ดจากการศึกษาทัง้ สองครัง้ นีไ้ ดนาํ ไปสูก ารศึกษา การรวมกลุมอุตสาหกรรม และปจจัยที่มีอิทธิพลที่สนับสนุนใหเกิดการเกิดการรวมตัวกัน จากขอมูลบางสวนของการสํารวจใน พ.ศ. 2549 พบวา การรวมตัวกันของอุตสาหกรรมของ

2


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ประเทศไทยสามารถแบงออกเปนสามชวงเวลา ไดแก ชวงที่หนึ่งคือชวงกอน พ.ศ. 2529 ชวงตอมาคือชวง พ.ศ. 2530 ถึง พ.ศ. 2537 และชวงสุดทายไดแกชวงหลัง พ.ศ. 2537 ในชวงที่หนึ่งจะเปนการกอตั้งของกลุมบริษัทขนาดใหญ และในชวงหลังจะเปนการกอตั้ง สถานประกอบการของกลุมบริษัทขนาดรองๆ ลงมา เพื่อทําธุรกิจกับกลุมบริษัทขนาดใหญ จนเกิดการรวมตัวกันเปนกลุมอุตสาหกรรม จากการสํารวจครั้งที่สองในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 การสํารวจในครัง้ ทีส่ องนี้ มีวตั ถุประสงคเพือ่ ศึกษาปจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลตอการสงเสริม การใหเกิดการรวมตัวกัน โดยมีปจ จัยทีท่ าํ การศึกษาทัง้ สิน้ ยีส่ บิ ปจจัยในการสํารวจตรวจสอบ มีการแบงบริษัทที่ทําการศึกษาออกเปนสองกลุม คือ บริษัทขนาดใหญ และบริษัทขนาดเล็ก พบวา มีบางปจจัยที่มีผลตออยางมีนัยสําคัญตอการกระตุนใหเกิดการรวมกลุมอุตสาหกรรม เชน บริษทั ขนาดใหญทถี่ กู ดึงดูดโดยแรงจูงใจการลงทุน โครงสรางพืน้ ฐานทางกายภาพ ระบบ กฎหมาย ความพรอมของแรงงานที่มีทักษะ และสภาพความเปนอยูของพลเมือง ในขณะที่ ปจจัยที่มีผลตออยางมีนัยสําคัญตอบริษัทขนาดเล็ก ไดแก ความพึงพอใจกับนโยบายของ รัฐบาลในระบบการคาอยางเสรี และสิทธิในทรัพยสนิ ทางปญญา แตอยางไรก็ดไี มสามารถสรุป ไดอยางชัดเจนจากการสํารวจวาการรวมตัวของกลุมอุตสาหกรรม กอใหเกิดนวัตกรรมอยาง มีนัยสําคัญ คําสําคัญ: การรวมกลุมอุตสาหกรรม กลุมอุตสาหกรรม นวัตกรรม 1. INTRODUCTION A strong economic background is usually a result of a country’s strong industrial sector. This is why most of the countries are trying to strengthen their industrial sectors. Strength of the industries in each country may be developed through different paths. For industrial countries, they have originally built their own technology and industrial system. Until the present time, as the world becomes smaller, a number of companies from the industrial countries are now seeking for new opportunities for overseas investments. Non-industrial countries such as many countries in Asia have become promising targets for such investments. As a result, many non-industrial countries have then turned up to be the new industrial countries, in which Thailand

is inevitably one of them. At present, a majority of gross domestic product (GDP) of Thailand is from the industrial sector rather than that from the agricultural sector as it used to be in the past. As the new comer in this industry development phenomenon, Thailand has to find the right path to promote the country’s industries in the light of long-term prospect. In this regard, the concept of industrial agglomeration is one of the effective ways to strengthen the industrial sector in Thailand. Therefore, it is essential for the country to understand the formation of industrial agglomeration in order to promote industrial agglomeration with a limited resources allocation. Not only helping in appropriate resources allocation of the country but, by understanding the formation of industrial agglomeration, it can also

3


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

help in defining their needs. Kuchiki, A. and M. Tsuji (eds). (2008) proposed that industrial agglomerations were developed based on the concept called “Flowchart Approach.” In the flowchart approach concept, an industrial agglomeration started by investments of large companies. Then, such investments from those large firms induced investments from smallersized firms in the respective country to create business transaction with the large ones. This process slowly created a formation of industrial agglomeration in the area. However, details of each stage may depend on business environments in each country as discussed by Fujita, M. and J.-F. Thisse (2002). 2. RESEARCH OBJECTIVES AND APPROACH The objective of this research is to understand how industrial agglomerations in Bangkok, Thailand have been developed. To achieve the objective, two surveys were done in years 2006 and 2007. The survey in 2006 was to understand characteristics of the industrial agglomerations while the survey in 2007 tried to investigate possible influential factors that made a company decide to establish its business in Bangkok. Both surveys were distributed among companies and factories in Bangkok and its vicinities. The results of the surveys were analyzed by applying statistical models to identify the significant factors. 3. SUMMARY OF THE SURVEY IN 2006 A mail survey was conducted in October 2006, in which questionnaires were sent to 1,600

4

companies in Bangkok and near-by areas. Accordingly, there were 143 valid responses returned with an average response rate at 8.9 percent. Some of the interesting facts were found as follows. 3.1 Size of Firms Surveyed firms were generally divided into two groups by their amount of capitals. It was found that more than half of the surveyed firms had 4 million dollars or less in the amount of capitals, while 20.3% of them were capitalized at over 20 million dollars. A similar distribution pattern among the respondent firms can also be found in their total number of employees, in which more than half of respondents had fewer than 300 employees. 3.2 Types of Business More than 70% of respondents were involved in the manufacturing sector. 67.5% of them were Japanese companies and the rest 77.8% of them were other foreign companies. All of the Thai firms had some sort of manufacturing-related businesses. The wholesale industry was the second most represented. Services were the major businesses field for the Japanese firms. Many Japanese firms had already entered into Bangkok markets and closely related to business support services and construction. 3.3 Industrial Sectors Among the firms in the manufacturing sector, about 25% and 16.5% were in automobile-related and electronic-related production, respectively,


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

followed by those involved in chemicals (14.6%), foods (9.7%), metals (9.7%), steel (8.7%) and machinery and tools (8.7%). These results seemed to largely reflect the fact that majority of the respondents were Japanese firms. On the other hand, higher percentages of the Thai firms were found engaging in manufacturing of steel (23.5%), food (17.6%) and textiles (17.6%).

office or facilities in Bangkok, more than half of the respondents began their operations in Bangkok in 1980s. The number of establishments was greatest in the period of 1986-1990, followed by the years 1991-1995 and 1996-2000. This implied that the agglomerations in the Bangkok area were not a smooth process, but had experienced peaks and troughs.

3.4 Activities About 50.4% of the Bangkok offices surveyed were subsidiaries of Japanese and other transnational companies. In this regard, 30.8% and 7.0% of them were classified as headquarters and branches, respectively. A majority of these establishments carried out activities associated with sales (74.8%), accounting (69.9%), human resources (64.3%), marketing (59.4%), purchasing (56.6%) and production (52.4%), whereas fewer offices in Bangkok were responsible for research and development (R&D) (23.1%) and logistics (38.5%).

3.6 Determination of Firms’ Group for the survey 2006 By observing the peaks of business establishment years as seen in Table 1, the time of establishment could be divided into three periods: (a) before 1986; (b) 1987-94; and (c) after 1995. Accordingly, firms were divided into three groups. The firms established before 1986 were defined as “Group 1”; those established during 1987 and 1994 were defined as “Group 2”; and those established after 1995 were defined as “Group 3”. These discussions implied an existence of “first movers” (large firms) and “followers” (smaller firms) of industrial agglomerations. Differences in foundation years could be attributable to different attributes such as firm size and business field. The data in Table 1 was plotted as shown in Figure 1.

3.5 Years of Establishment Years that the respondents established their Bangkok offices were the most important variable in this analysis. According to the questionnaire asking when a company established its first

5


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Table 1 Year of Establishment of the respondent firms in Bangkok Year of Establishment 1920 1928 1932 1952 1964 1965 1966 1967 1968 1969 1970 1972 1973 1975 1976 1977 1980 1981 1984 1985 1986 1987 1988 1989 1990 1991 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998

6

Number of Firms 1 1 1 1 1 1 2 1 1 1 3 2 3 1 1 1 2 1 2 4 1 8 7 8 8 5 4 2 2 6 7 7 2

Percentage 0.89 0.89 0.89 0.89 0.89 0.89 1.79 0.89 0.89 0.89 2.68 1.79 2.68 0.89 0.89 0.89 1.79 0.89 1.79 3.57 0.89 7.14 6.25 7.14 7.14 4.46 3.57 1.79 1.79 5.36 6.25 6.25 1.79

Cumulative Percentage 0.89 1.79 2.68 3.57 4.46 5.36 7.14 8.04 8.93 9.82 12.5 14.29 16.96 17.86 18.75 19.64 21.43 22.32 24.11 27.68 28.57 35.71 41.96 49.11 56.25 60.71 64.29 66.07 67.86 73.21 79.46 85.71 87.50


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Figure 1 Accumulated number of firms established in Thailand

Actually, there were many facts found from the result of the survey in 2006. However, only the classification of the firm groups was mentioned in this study. By analyzing the firm sizes, it was found that the firms in “Group 1” were the large companies with huge investment volumes (first movers). The firms in “Group 2” and “Group 3” were the smaller-sized companies (followers) that came after “Group 1.” Later on, the investments from the firms in “Group 2” and “Group 3” slowly formed industrial agglomerations in Thailand. 4. SUMMARY OF THE SURVEY IN 2007 Another mail survey was conducted in November 2007. The questions in this questionnaire were not exactly the same as those in the previous survey. On the other hand, the survey aimed to study influential factors for agglomerations. There were 1,800 questionnaires sent to

companies by mail and e-mail and some of the questionnaires were also distributed in person randomly. The response rate was 8.8%, with 160 valid responses returned and most of them came from management people. 4.1 Profile of Questionnaire Responders 42.5% of the respondents were in top management positions such as CEO, president, vice president, business owner, managing director, and general manager, while 6.9% held senior management positions such as financial director, regional (ASEAN) manager, manufacturing director, etc. Furthermore, 23.1% were in middle manager positions such as HR manager, production manager, sale manager, etc. and the rest 10% were general employees such as accountant and engineer. However, 17.5% of the respondents did not declare their working positions.

7


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

4.2 Years of Establishment Based on the year of establishment, the range of the companies’ establishment periods were varied from a year to fifty years. In conclusion,

most of the companies have been established for 11 to 15 years (22%), followed by the companies, which have been established for 16 to 20 years (18%).

No. of Year Office First Established in Bangkok

1 year 2 years 3 years 4 years 5 years 6 to 10 years 11 to 15 years 16 to 20 years 21 to 30 years 31 to 40 years 41 to 50 years More than 50 years Data Not Available

18% 9% 22% 9% 5% 21% 3%

4%

5%

11% 2% 4%

4%

4%

Figure 2 Age of the responding firms

4.3 Investment Structures, Major Investment Sources and Core Business Activities Most of the responding companies were local companies (about 53%). 26% of them were joint-ventures and 21% of them depended on Foreign Direct Investment (FDI) as seen in Figure 3. For those who were joint venture companies and foreign companies, the majority

8

of foreign investors were from other-Asia (48%). EU investors came in second (21%), while ASEAN and USA investors contributed by 17% and 9%, respectively. Most of the companies’ core business activities were involved in manufacturing, while a few of them were involved in personal services.


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Company Capital Structure

Joint Venture 26%

Local 53% Foreign 21%

Figure 3 Investment structure of the responding firms

4.4 Determination of Firms’ Group for the survey 2007 Similar to the results of the survey in 2006, it was concluded that the industrial agglomerations in Thailand could be divided into three periods (before 1985, 1986-1998 and after 1999). In the early period, there were establishments of the large firms and the later was establishments of the smaller firms to form themselves around the large firms to become agglomerations. Although the periods of time for establishing the firms were slightly different between these two surveys, it can be confirmed that there were three periods in the establishments of firms in Bangkok, Thailand to form the agglomerations in the later time.

in this study, twenty factors were selected based on the pre-survey and interviews with management people in previous researches [Tsuji, M., Ueki, Y., Miyahara, M. and Komolavanij, S., (2006)] as shown in Table 1. In the questionnaire, the respondents were asked to identify importance of the factors in the viewpoint of business investors. The degrees of importance were classified in five gradual levels, namely, “very important,” “somewhat important,” “not sure,” “not very important” and “not important at all.” The model used to explain agglomeration in Thailand defined “year of establishment of the firm” as a dependent variable and “size of firms” was used as an independent variable as seen in Equation (1).

4.5 The Model To understanding a formation of industrial agglomerations, influential factors for starting the business in Bangkok, Thailand were investigated. In this regard, there are several factors that might affect decision-making of investors. However,

YoE = f (firm’s size, influential factors, function of an office)

(1)

Where; YoE = year of establishment of firms.

9


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

In this study, the size of firm could be represented in the function of the number of employees, firm’s assets and paid-in capital. Therefore, Equation (1) can be expressed in three different ways and presented by Equations (2), (3) and (4).

YoE = f (The number of employees, influential factors, function of an office) (2) YoE = f (firm’s asset, influential factors, function of an office) (3) YoE = f (paid-in capital, influential factors, function of an office) (4)

Table 2 Factors affecting the Analysis

Factor F1 F2 F3 F4 F5 F6 F7 F8 F9 F10 F11 F12 F13 F14 F15 F16 F17 F18 F19 F20

10

Influential Factors Investment incentives Liberal trade policy Customs procedures Local content requirements, rule of origin Physical infrastructure IT infrastructure Utility infrastructure Government institutional infrastructure Financial system Legal system Protection of intellectual property rights Size of local markets Access to export markets Proximity to suppliers/subcontractors Request by large/related company Availability of low-cost labor Availability of skilled labor and professionals Other companies from the same country Access to cutting-edge technology Living conditions


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Table 3 Results of Estimations: Agglomeration Model Employees

Assets

Capital

Full Selected Full Selected Full Selected model model model model model model 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 1 2 3 4 5 6 7

10,000-24,999 (US$)/10,000-24,999 (US$) 100-199/25,000-49,999/25,000-49,999 200-299/50,000-74,999/50,000-74,999 300-399/75,000-99,999/75,000-99,999 400-499/100,000-499,999/100,000-499,999 500-999/500,000-999,999/500,000-999,999 1,000-1,499/1M-4.9M/1M-4.9M 1,500-1,999/5M-9.9M/5M-9.9M 2,000 & above/10M & above/10M & above Investment incentives including tax incentives Liberal trade policy Customs procedures Local content requirements, rule of origin Physical infrastructure (roads, highways, ports, airports) Infrastructure (telecommunications, IT) Infrastructure (electricity, water supply, other utilities) Government institutional infrastructure Financial system Legal system Protection of intellectual property rights Size of local markets Access to export markets Proximity to suppliers/subcontractors Request by large/related company Availability of low-cost labor Availability of skilled labor and professionals Other companies from the same country are located here (synergy) Access to cutting-edge technology and information Living conditions Retail/ Wholesale trade Production (raw-material processing) Production (components and parts) Production (final products) Purchasing/ Procurement/ Logistics R&D/ Consulting Human resources development

[+] *

*

**

*

**

[*]

[**]

*

+

[*]

[**]

[**] ** +

[**] ** * [+] [+] ** +

[**] **

[**] * +

[**] ** +

[+]

[+] **

[**] + +

[**] ** * [+] [**] * **

[**] **

[**] **

[**] **

[**] *

[**] **

[**] **

[*]

[**]

[+]

[**]

[**]

[**]

[**]

[**]

[**] *

[**]

[**]

[**]

**

**

+

**

[**]

[*] [*] **

**

136 142 136 145 136 143 -110.674 -126.518 -112.496 -131.094 -109.073 -121.714 0.199 0.184 0.21 0.138 0.186 0.156

Remarks Note 1: [ ] indicates that the coefficient is negative, and items without [ ] imply the coefficient is positive. Note 2: **, * and + indicates that coefficient is at the 5, 10 and 20% significance level, respectively. The model as in Equations (2), (3) and (4) were tested to identify the influential factors for the industrial agglomeration in Bangkok and surrounding areas in Thailand. The result was shown in Table 3 as follows. Also, Table 4 shows the summary of the influential factors.

11


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Table 4 Summary of the influential factors

Significant Factor

Coefficient Sign

Significant Level

F1

Negative

5%

F2

Positive

5%

F3

Positive

20%

F5

Negative

5%

F6

Positive

20%

F7

Positive

20%

F10

Negative

5%

F11

Positive

5%

F17

Negative

5%

F20

Negative

5%

From both surveys conducted in 2006 and 2007, the firms with different sizes of investment started their business in Bangkok, Thailand at different points of time. The larger investors came earlier, while the smaller investors came later. Therefore, their inferential factors affecting decision-making regarding investments were also different. From Table 3 and 4, it could be explained that the large firms were attracted by investment incentives, physical infrastructure, legal systems, availability of skilled labor and living condition since those factors (F1, F5, F10, F17 and F20) have negative signs. It means that, from Equation (1), the more values of those factors (F1, F5, F10, F17 and F20) are, the earlier of the years of establishments are. The small firms who come to set up the companies later were also satisfied with the government

12

policies in liberal trade (F2) and the system of intellectual property rights (F11) as those two factors have strong significant level (5%) with positive coefficients. Customs procedures (F3), IT infrastructure (F6) and Utility infrastructure (F7) were also important factors for the small firms. However, those factors had less significant levels as the infrastructures were quite adequate in their opinions. Also, Thai custom procedures were indifferent from other countries. 5. CONCLUSION In conclusion, the industrial agglomerations in Thailand can be divided into three periods (before 1986, 1987-1994 and after 1994) based on the study in 2006 and (before 1985, 1986-1998 and after 1999) based on the study in 2007. The firms were divided into two groups, based


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

on the firms’ size, as the large firms and small firms. The earlier establishments were those of the large firms attracted by investment incentives, legal systems and skilled labor, while the smaller firms were also satisfied with the government policies in liberal trade and the system of intellectual property rights to form themselves around the large firms. Although the result of descriptive statistics showed that there were several upgrading of the firms in terms of alteration and modification in goods, production methods and sources of raw material supply; the common factor supporting the upgrading is hard to find. By knowing the influential factors for large and small firms, Thailand and other similar developing countries may be able to strengthen those factors to persuade Foreign Direct Investment (FDI) and local investments. Acknowledgement This research was conducted as a part of the research project ‘Analysis of Industrial Agglomeration, Production, Networks and FDI Promotion’ (FY2007) of the Economic Research Institute for ASEAN and East Asia (ERIA).

References Barro, R. J. and X. Sala-I-Martin. (1995). Economic Growth, McGraw-Hill, New York. Fujita, M. and J.-F. Thisse. (2002). Economics of Agglomeration: Cities, Industrial Location, and Regional Growth, Cambridge University Press, Cambridge.

Greene, W. H. (2000). Econometric Analysis, 4th edition, Prentice-Hall, Upper Saddle River, N.J. Hobday, M. (1995). Innovation in East Asia, Edward Elgar, London. Kuchiki, A. (2003). Agglomeration of Exporting Firms in Industrial Zones in North Vietnam: Players and Institutions. In: Industrial Agglomeration: Facts and Lessons for Developing Countries, (eds Tsuji M. and Kagami M.), pp. 118-53. IDE/JETRO, Chiba, Japan. Kuchiki, A., and M. Tsuji (eds). (2005). Industrial clusters in Asia: analyses of their competition and cooperation. Place of publication: Pragrave Macmillan. Kuchiki, A., and M. Tsuji (eds). (2008). The flowchart approach to industrial cluster policy. Place of publication: Pragrave Macmillan. Tsuji, M., Ueki, Y., Miyahara, M. and Komolavanij, S. (2006). “An empirical examination of factors promoting industrial clustering in Greater Bangkok, Thailand”, in Proceedings of 10th International Convention of the East Asian Economic Association. Bejin, China. Tsuji, M. and M. Kagami. (2003). Industrial Agglomeration: Facts and Lessons for Developing Countries, IDE/JETRO, forthcoming from Edward Elgar in 2006.

13


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Somrote Komolavanij received his Ph.D. in Industrial Engineering from University of Texas at Arlington in 1995. He is now serving as Associate Professor of School of Management Technology (MT), Sirindhorn International Institute of Technology, Thammasat University. He also serves as Consultant in Education for Panyapiwat Institute of Management. His research interests are in the areas of quality management, logistics and supply chain management and management, optimization, engineering economy, service sciences and industrial agglomeration and development. Chawalit Jeenanunta is an assistant professor and Head of School of Management Technology (MT), Sirindhorn International Institute of Technology, Thammasat University. He received his Ph.D. degree in Industrial and Systems Engineering from Virginia Polytechnic Institute and State University in 2004. His Research interests are in area of applications of operations research, simulation, transportation simulation, enterprise resource planning, and supply chain management. Veeris Ammarapala received his B.Eng. in Industrial Engineering from Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT), Thammasat University; M.S. in Operations Research from Columbia University; and Ph.D. in Industrial and Systems Engineering from Rutgers, the State University of New Jersey. He is currently an Assistant Professor at the school of Management Technology, and the Head of Transportation Research Center (TREC) at SIIT, Thammasat University. His research interests lie in the areas of Decision Support Systems, Risk Management, and Maintenance Management.

14


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Masatugu Tsuji, Professor of Economics, Graduate School of Applied Informatics, University of Hyogo, Professor Emeritus of Osaka University, and Visiting Professor of Carnegie Melon University and National Cheng Kung University, Taiwan. Major areas of specialty include, Economics of Information, Innovation and Telecommunications. Current research focuses on the relationship between industrial agglomeration and innovation in Japan and ASEAN countries. Publications include From Agglomeration to Innovation: Upgrading Industrial Clusters in Emerging Economies (ed. with A. Kuchiki), Palgrave Macmillan 2009. Yasushi Ueki received his Ph.D. degree in International Public Policy from Osaka University, Japan in 2004. Since 1999, he has been with Institute of Developing Economies (IDE), Japan. From 2002 to 2005, he was with United Nations Economic Commission for Latin America and the Caribbean (ECLAC). He is currently a research fellow of Bangkok Research Center, IDE. His research interests are in industrial development, innovation, information technology for development, and public policy.

15


¼

Ţͧ»˜¨¨Ñ·ҧ´ŒÒ¹¼ÙŒàÃÕ¹áÅСÃкǹ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ â´Â์¹¡Ãкǹ¡ÒäԴμ‹Í¼ÅÊÑÁÄ·¸Ôì¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔªÒËÅÑ¡¡ÒúÑÞªÕ ã¹¹Ñ¡ÈÖ¡ÉÒªÑ¹é »Õ·Õè 1 ¤³ÐºÃÔËÒøØáԨ ʶҺѹ෤â¹âÅÂÕ»Þ˜ ÞÒÀÔDz Ñ ¹ * Effect of Learners’ Factors and Thinking-Based Instruction on Learning Results of Principles of Accounting in the First Year Students at Panyapiwat Institute of Technology โศภนา พิชิตพรชัย อาจารยประจําคณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน E-mail: sopanapic@pim.ac.th

บทคัดยอ งานวิจยั นีศ้ กึ ษาปจจัยทีม่ ผี ลตอผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรูว ชิ าหลักการบัญชี ในนักศึกษาชัน้ ปที่ 1 คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีปญ  ญาภิวฒ ั น ครอบคลุมกระบวนการจัดการเรียนการสอน และปจจัยทางดานผูเ รียน ใชแบบสอบถามปลายปดเก็บขอมูลพืน้ ฐานของผูเ รียน จัดการเรียน การสอนโดยเนนกระบวนการคิด ทําแบบทดสอบกอนเรียนกลางภาคและปลายภาค และหลัง สอบปลายภาคใชแบบสอบถามปลายเปดสัมภาษณเก็บขอมูลเชิงคุณภาพ วิเคราะหขอมูล เชิงปริมาณโดยใช Student t-test และ ANOVA วิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพโดยใช Content analysis ผลวิจัยพบวา กลุมตัวอยาง 47 คน อายุเฉลี่ย 19.3 ป สําเร็จ ปวช. รอยละ 74.5 และสําเร็จ ม.6 รอยละ 25.5 เกรดเฉลี่ยสะสมกอนเรียนเฉลี่ย 2.92 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ การเรียนรูจ ากการสอบ 3 ครัง้ พบวา คาคะแนนเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ โดยลําดับและแตกตางกันอยาง มีนยั สําคัญ (p < 0.0001) ปจจัยทางดานผูเ รียนทีม่ ผี ลตอผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรู ไดแก คะแนน เฉลี่ยสะสมกอนเรียน สาขาวิชาที่นักศึกษาสําเร็จการศึกษามากอน และความสามารถการ * สถาบันเทคโนโลยีปญญาภิวัฒน เปลี่ยนชื่อเปน สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2553

16


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

สืบคนขอมูล ผลการวิจยั เชิงคุณภาพเกีย่ วกับการจัดการเรียนการสอนแบบเนนกระบวนการคิด พบวา สื่อการสอนและกิจกรรมตอไปนี้ ไดแก การสืบคนจากอินเทอรเน็ต แบบฝกหัดและ เฉลย การทบทวน และการทํางานคูกับการเรียน มีสวนชวยกระตุนใหนักศึกษาคิด วิเคราะห สนุกสนานและสนใจการเรียนรูมากขึ้น การวัดผลและการประเมินความกาวหนาชวยใหมี กําลังใจในการเรียนรู และการประเมินรวบยอดทําใหเกิดการประมวลความรูอยางบูรณาการ คําสําคัญ: การเรียนการสอนโดยเนนกระบวนการคิด การเรียนรูบ นพืน้ ฐานของการทํางาน การวัดและการประเมินความกาวหนา การประเมินรวบยอด

Abstract This research studied the factors affecting learning results of Principles of Accounting in the First Year Students at Panyapiwat Institute of Technology (PIT), including teaching and learning processes and learners’ factors. A close-ended questionnaire was applied in the study to collect demographic data, Thinking-Based Instruction for teaching and learning, results of the three tests (including pre-test, midterm test, and final test) for summative evaluation, while an open-ended questionnaire was used for collecting qualitative information after the final test. Furthermore, student’s t-test and ANOVA techniques were used for analyzing quantitative data, and content analysis for qualitative data. Research results revealed that 47 participants with an average age of 19.3 years old, 74.5% of them graduated from vocational schools and the rest, 25.5%, finished high school level with an overall mean GPA (obtained before the course) of 2.92. A comparison of learning results from the three tests revealed progressively increasing scores with significant differences (p < 0.0001). Learner’s factors affecting learning results were GPA obtained prior to the course, types of school undertaken before entering PIT, and computer searching skill. Qualitative data analysis regarding Thinking-Based Instruction revealed that teaching materials and other relevant activities including Internet searching, exercises and answers given for the exercises, and Work-Based Learning played parts in stimulating students to think, analyze, enjoy, and pay more attention to their learning. Thus, the formative evaluation encouraged students to learn and summative evaluation resulted in integrative knowledge processing. Keywords: Thinking-Based Instruction, Work-Based Learning, Formative evaluation, Summative evaluation

17


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

บทนํา ป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ การเรี ย นรู  มี ห ลายประการ ถาพิจารณาตามทฤษฎีระบบ (System theory) ซึ่ง ไดแก (1) ปจจัยนําเขา (input) เชน ผูส อนและแหลง เรี ย นรู  รวมทั้ ง สติ ป  ญ ญาและความรู  พื้ น ฐานของ ผูเ รียน (2) กระบวนการ (process) เปนกระบวนการ จัดการเรียนการสอนรูปแบบตางๆ รวมทัง้ สือ่ การเรียน การสอน (3) ปจจัยขาออก (output) เปนผลสัมฤทธิ์ การเรียนรูของผูเรียนซึ่งครอบคลุมความรู ทักษะ และเจตคติ ตามทฤษฎีของบลูม (Bloom’s taxonomy) และทราบไดโดยการวัดและการประเมินผล (4) การ ปอนกลับ (feedback) อาจเปนคําถาม ความคิดเห็น ของผูเรียน หรือการอภิปรายโตตอบระหวางผูสอน และผูเ รียนในระหวางการเรียนการสอน อยางไรก็ตาม สามารถจํ า แนกป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ การเรี ย นรู  ใ นอี ก มุมมองหนึ่ง เชน ปจจัยทางดานผูสอน ปจจัยดาน การจัดการเรียนการสอน และปจจัยทางดานผูเรียน ป จ จั ย ทางด า นผู  ส อน เช น ความรู  ทั ก ษะ ความสามารถทางดานเนื้อหาวิชาการในวิชาที่สอน และเจตคติตอ วิชาชีพครู นอกจากนี้ ยังมีความรู ทักษะ และความสามารถในการถายทอดความรู การสือ่ สาร มนุษยสัมพันธ รวมทัง้ ความสามารถในการสรางและ ใชสอื่ การเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนรูท เี่ หมาะสม และมีความเขาใจความรูทักษะของผูเรียนดวย ซึ่งมี ผลตอเนือ่ งทําใหเกิดการจัดกระบวนการเรียนการสอน การประเมินและการวัดผลที่เหมาะสมตอไป ปจจัยดานการเรียนการสอน การจัดการเรียน การสอนที่เนนการยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง ตาม พระราชบัญญัตกิ ารศึกษา พ.ศ. 2542 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2545 (สํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา แหงชาติ, 2545) สามารถดําเนินการไดหลายวิธี เชน แบบการเนนตัวผูเ รียน แบบเนนความรูค วามสามารถ แบบเนนประสบการณ แบบเนนปญหา แบบเนน ทักษะกระบวนการ (ทิศนา แขมมณี, 2548) เปนตน ดังนั้นผูสอนในเนื้อหาวิชาที่มีลักษณะแตกตางกัน

18

ควรเลือกวิธีการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหาวิชานั้นๆ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของการศึกษาตามที่วางไว สําหรับวิชาหลักการบัญชี เปนศิลปะของการเก็บ รวบรวม บั น ทึ ก จํ า แนก และทํ า สรุ ป ข อ มู ล อั น เกีย่ วกับเหตุการณทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงาน ขัน้ สุดทายของการบัญชีคอื การใหขอ มูลทางการเงิน ซึ่งเปนประโยชนแกบุคคลหลายฝายและผูที่สนใจใน กิจกรรมของกิจการ (สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรม ราชูปถัมภ อางถึงใน เสนีย (อํ่าเจริญ) พวงยาณี, 2551) โดยกระบวนการเหลานีต้ อ งเปนไปตามหลักการ บัญชีที่ยอมรับโดยทั่วไป เนื่องจากผูวิจัยสอนวิชา BA1003 หลักการบัญชี ซึ่งเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ หลักการและขั้นตอนในการบันทึกบัญชี การจัดทํา งบทดลอง รายการปรับปรุงและปดบัญชีเมื่อสิ้นงวด ตามเกณฑคงคาง การจัดทํางบการเงินเพื่อวัดผล กําไรและแสดงฐานะทางการเงิน การบัญชีของธุรกิจ บริการ ธุรกิจซื้อขายสินคา การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ ภาษีมลู คาเพิม่ การบัญชีเกีย่ วกับธุรกิจอุตสาหกรรม รวมถึงการศึกษาวิธีการเกี่ยวกับเงินสด เงินฝาก ธนาคาร ลูกหนี้ และสินคาคงเหลือ ในนักศึกษาชัน้ ป ที่ 1 ซึ่งเปนวิชาแกน ในคณะบริหารธุรกิจ (คูมือ นักศึกษา, 2552) ลักษณะเนื้อหาวิชาจึงมีสวนหนึ่ง เปนความจําเกี่ยวกับหลักเกณฑในการปฏิบัติทั่วไป ทางการบัญชี อีกสวนหนึ่งจะเนนหนักดานทักษะ กระบวนการนําขอเท็จจริงของรายการตางๆ ที่เกิด ขึ้นแลวไปลงบันทึกตามหลักเกณฑฯ เพื่อใหไดผล เปนรายงานการเงินเพื่อนํามาใชในการตัดสินใจทาง ธุรกิจ (Weygandt, Kieso, & Kimmel, 2007) ผูว จิ ยั เห็นวา การสอนวิชาหลักการบัญชีมคี วาม สอดคล อ งกั บ การจั ด การเรี ย นการสอนโดยเน น กระบวนการคิด (Thinking-Based Instruction) ซึ่ง อาศัยสิ่งเราและสภาพแวดลอมที่เหมาะสม การฝก ทักษะการคิดที่หลากหลาย ในกระบวนการเรียน การสอนแบบนี้ ผูส อนตองกระตุน ผูเ รียนใหเกิดความคิด ขยายตอเนือ่ งจากความคิดเดิมและประสบการณเดิม


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ของผู  เ รี ย นที่ มี อ ยู  ใ ห ล ะเอี ย ด กว า งขวาง ลึ ก ซึ้ ง ถูกตองและมีเหตุผล เปดโอกาสและเวลาใหผูเรียน แสดงความคิดเห็น ตั้งคําถาม อภิปรายโตตอบกัน เชื่อมโยงประสบการณความรู รวมกันสรุปประเด็น จากการคิดทีเ่ กิดขึน้ ในระหวางการเรียนการสอน และ ผูสอนมีการวัดและประเมินผลการเรียนทั้งทางดาน เนื้อหาสาระและกระบวนการคิด (ทิศนา แขมมณี, 2548) วิธกี ารจัดการเรียนการสอนมีผลตอพฤติกรรม การเรียนรูของผูเรียน ดังนั้น ประเด็นคําถามวิจัย ในเบื้ อ งต น นี้ คื อ การเรี ย นการสอนโดยเน น กระบวนการคิ ด มี ค วามเหมาะสมสํ า หรั บ การ จัดการเรียนการสอนวิชาหลักการบัญชี และเปน ป จ จั ย ต อ ผู  เ รี ย นที่ ก  อ ให เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท าง การเรียนหรือไม ปจจัยทางดานผูเ รียน มีสว นสําคัญตอผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู เชน เพศ อายุ รายได ความสนใจและ ทัศนคติ ความรูพื้นฐานกอนการศึกษา สถานภาพ การทํางานคูก บั การเรียน เปนตน ทีส่ ถาบันเทคโนโลยี ปญญาภิวฒ ั น นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจทุกคนตอง อยูใ นระบบการเรียนรูบ นพืน้ ฐานของการทํางานหรือ Work-Based Learning ซึ่งรูปแบบดังกลาวไดเคยมี การศึกษามากอนหนานีแ้ ลว (Raelin, 1997) สําหรับ ที่สถาบันฯ นักศึกษามีเวลาศึกษาทางดานทฤษฎี ภาคการศึกษาละ 10 สัปดาห และเขาสูร ะบบการฝก เตรี ย มเข า ทํ า งานที่ ส ถานประกอบการโดยได รั บ คาตอบแทนอีก 10 สัปดาห เมื่อเปรียบเทียบกับ ระบบการศึกษาแบบทวิภาคทั่วไปซึ่งศึกษาเนื้อหาที่ เทากันในเวลา 16 สัปดาห/ภาคการศึกษา พบวา นั ก ศึ ก ษาที่ ส ถาบั น เทคโนโลยี ป  ญ ญาภิ วั ฒ น ต  อ ง ทํางานสลับกับศึกษาตลอดระยะเวลาการศึกษา ซึง่ มี รูปแบบชีวิตคลายกับนักศึกษาระดับอุดมศึกษาใน ตางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย เยอรมัน เปนตน ทําใหนักศึกษาของสถาบันฯ ตอง เรียนอยางหนักเนือ่ งจากมีเวลาเรียนทีส่ นั้ กวานักศึกษา สถาบันอื่น แตจะไดรับประสบการณตรงดานอาชีพ

เมือ่ ฝกงานทีส่ ถานประกอบการจริง รวมทัง้ นักศึกษา บางคนตองการหารายไดไวเปนคาใชจายในระหวาง การศึกษาจึงยังคงทํางานตอในชวงเวลาที่กลับมา ศึกษาภาคทฤษฎีที่สถาบันฯ ตอไป โดยทั่วไปในการเรียนการสอน ผูสอนจะตอง กําหนดวัตถุประสงคการเรียนรู (Learning objective) กระบวนการเรียนการสอน (learning process) และ ประเมินผลการเรียนรู (evaluation) โดยมักจะมุง เนน ดูผลสัมฤทธิ์การเรียนรูของผูเรียนวาไดผลบรรลุตาม วัตถุประสงคทตี่ งั้ ไวหรือไม ซึง่ มักพบวาผูเ รียนแตละคน มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ไ ม เ ท า กั น งานวิ จั ย มากมายที่ แ สดง ใหเห็นวาวิธีการจัดการเรียนการสอนที่แตกตางกัน ใหผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรูท แี่ ตกตางกัน (Carroll, 1974) และงานวิจัยที่ศึกษาปจจัยดานนักศึกษา ไดแก อายุ เกรดเฉลีย่ สะสม และลักษณะการเขาศึกษามีผลกระทบ ตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาบัญชีอยางมีนยั สําคัญ (อังคณา นุตยกุล, 2545) แตยังมีงานวิจัยจํานวนไม มากนักทีแ่ สดงใหเห็นวาอะไรเปนปจจัยดานผูเ รียนที่ มีผลตอผลสัมฤทธิ์การเรียนรู ในนักศึกษาระบบเปด ในประเทศไทยทีม่ กี ารจัดการเรียนการสอนแบบเรียนรู บนพืน้ ฐานของการทํางาน (Work-Based Learning) ดังนัน้ ประเด็นคําถามวิจยั ในการศึกษาครัง้ นีค้ อื ถามีการควบคุมตัวแปรทีเ่ ปนผูส อน สือ่ การเรียนรู วิธีการจัดการเรียนการสอน ใหคงที่มากที่สุด อะไรเปนปจจัยทางดานผูเรียนที่มีผลกระทบตอ ผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรู ถาผูส อนทราบปจจัยเหลานี้ จะสามารถชวยเหลือหรือปรับปรุงแกไขทําให ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์การเรียนรูที่ดีขึ้นได งานวิจัยที่เกี่ยวของ อังคณา นุตยกุล (2545) ไดศึกษาปจจัยที่สงตอ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าบั ญ ชี ของนั ก ศึ ก ษา ภาคปกติ แขนงวิชาบัญชี โปรแกรมวิชาบริหารธุรกิจ คณะวิ ท ยาการจั ด การ สถาบั น ราชภั ฏ สวนดุ สิ ต ปการศึกษา 2544 พบวามี 2 ปจจัย คือ ปจจัยดาน

19


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ตัวนักเรียนและปจจัยดานสภาพแวดลอมในการเรียน ที่สําคัญคือ อายุ ระดับการศึกษาและแผนการเรียน กอนเขาศึกษา คะแนนเฉลีย่ สะสมในระดับการศึกษา ที่สําเร็จกอนเขาศึกษาตอในอุดมศึกษา Ewer, Greer, Bridges, & Lewis (2002) ศึกษา เกี่ยวกับผลของระยะเวลาในการศึกษาวิชาหลักการ บัญชีโดยผูสอนคนเดียวกัน วัสดุอุปกรณ และสื่อ การสอนเดียวกัน วิธกี ารสอนแบบเดียวกันในนักศึกษา ทีศ่ กึ ษาในเวลา 4 สัปดาห เปรียบเทียบกับนักศึกษา ภาคปกติที่ใชเวลาศึกษาในเวลา 16 สัปดาห พบวา ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นรู  ไ ม แ ตกต า งกั น อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติ Tho (1994) ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ ผลการเรียนรูวิชาหลักการบัญชีเบื้องตนในนักศึกษา มหาวิ ท ยาลั ย มาลายา พบว า ผลการเรี ย นรู  วิ ช า หลักการบัญชีเบื้องตน ในอุดมศึกษาปที่ 1 ขึ้นกับ การไดศึกษาวิชาหลักการบัญชีในขณะที่เรียนอยูใน ชัน้ มัธยมปลาย วิชาคณิตศาสตร และคะแนนสะสมเฉลีย่ กอนเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา สําหรับเพศ เศรษฐานะ และที่พักอาศัยไมมีผลตอผลสัมฤทธิ์การ เรียนรูของนักศึกษา

ประชากร ในการศึกษาครัง้ นีเ้ ปนนักศึกษาชัน้ ป ที่ 1 คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีปญ  ญาภิวฒ ั น ทีศ่ กึ ษากับผูว จิ ยั ในปการศึกษา 1/2552 และผานการ ฝกงานที่สถานประกอบการแลว 1 ภาคการศึกษา จํานวน 60 คน กลุมตัวอยาง ในการศึกษานี้เปนอาสาสมัคร แบบเฉพาะเจาะจงโดยเปนนักศึกษาชัน้ ปที่ 1 จํานวน 47 คน ชาย 15 คน หญิง 32 คน อายุระหวาง 18-24 ป ที่สอนโดยอาจารยผูสอนคนเดียวกัน เพื่อ ควบคุมตัวแปรดานผูส อน วัสดุอปุ กรณการสอน และ วิธีสอน

วัตถุประสงค เพื่อศึกษา 1. ปจจัยทางดานผูเรียนที่มีผลตอผลสัมฤทธิ์ การเรียนรูวิชาหลักการบัญชี ในนักศึกษาชั้นปที่ 1 คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีปญญาภิวัฒน 2. การจัดการเรียนการสอนโดยเนนกระบวน การคิดมีความเหมาะสมสําหรับวิชาหลักการบัญชี และเปนปจจัยตอผูเรียนที่กอใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนในระบบการเรียนรูค วบคูก ารทํางานหรือไม

เครื่องมือวิจัย ใช 1. แบบทดสอบ 3 ชุด เพือ่ ใชในการเก็บรวบรวม ขอมูลเกี่ยวกับเกรดหรือคะแนนเฉลี่ย 3 ครั้ง ไดแก การทดสอบกอนเรียน (pre-test) การสอบกลางภาค (midterm test) และการสอบปลายภาค (final test) โดยใชคะแนนเต็ม 100 คะแนน 2. แบบสอบถามปลายปดเพือ่ ใชในการเก็บขอมูล พืน้ ฐานของผูเ รียน ไดแก เพศ เกรดหรือคะแนนเฉลีย่ กอนเรียนภาคการศึกษา 1/2552 อายุ ประวัติการ ศึกษา ภาระการทํางานควบคูกับการเรียน ลักษณะ ที่พักอาศัยในขณะศึกษา รายไดสวนตัว และรายได ครอบครัว ความรูความสามารถในการใชโปรแกรม คอมพิวเตอรพื้นฐานและการสืบคนขอมูล 3. แบบสอบถามปลายเปดเพือ่ ใชในการสัมภาษณ เพื่อการเก็บขอมูลเชิงคุณภาพเกี่ยวกับความคิดเห็น ดานตางๆ ไดแก วิธกี ารจัดการเรียนการสอน ประเมิน ผลความกาวหนาการเรียนรู (formative evaluation) และประเมินผลรวบยอด (summative evaluation)

วิธีการดําเนินงานวิจัย วิ ธี วิ จั ย ของงานวิ จั ย นี้ เ ป น การวิ จั ย กึ่ ง ทดลอง (quasi-experimental research) สวนหนึง่ เปนงานวิจยั เชิงปริมาณและอีกสวนหนึง่ เปนงานวิจยั เชิงคุณภาพ

ตัวแปรควบคุม คือ 1. ผูสอน เปนผูที่สําเร็จการศึกษาปริญญาตรี บัญชีบณ ั ฑิต ปริญญาโทบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยี สารสนเทศทางการบัญชี มีประสบการณสอนวิชา

20


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

หลั ก การบั ญ ชี ไ ม ตํ่ า กว า 3 ภาคการศึ ก ษา และ ประสบการณการทํางานดานบริหารธุรกิจและบัญชี 25 ป 2. สื่อการเรียนการสอน เปนสื่อที่พัฒนาขึ้นโดย อางอิงเนื้อหาจากหนังสือ “Financial Accounting” (Weygandt, et al., 2007) และ “หลักการบัญชี” (เสนีย (อํ่าเจริญ) พวงยาณี, 2551) ในรูปแบบของ PowerPoint หรือ Excel Spreadsheet ใชสอน ประกอบกับเครื่อง Computer Projector ซึ่งไดมี การใชสอนจริงและทําการปรับปรุงมาแลวอยางนอย 3 ภาคการศึกษา (6 ครัง้ ) วิธกี ารจัดการเรียนการสอน ใชวธิ กี ารจัดการเรียนการสอนโดยเนนกระบวนการคิด (Thinking-Based Instruction) โดยอาศัยสือ่ การเรียน การสอนและตัวอยางในชีวิตจริงเปนสิ่งเรา กิจกรรม ในห อ งเรี ย นประกอบด ว ยการฝ ก ทั ก ษะการคิ ด ที่ หลากหลาย ตัง้ คําถามใหนกั ศึกษาฝกคิดและอภิปราย ฝกสืบคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต ทําแบบฝกหัดและ เฉลย การสอนสรุปและทบทวน 3. แบบทดสอบหรือแบบวัดและประเมินผล เปน แบบทดสอบ 3 ชุด ไดแก ชุด pre-test, ชุด midterm test และชุด final test ซึ่งผานการใชงานและพัฒนา ปรับปรุงมาอยางนอย 6 ครั้ง ลักษณะขอสอบเปน ข อ สอบอั ต นั ย มี คํ า เฉลยที่ มี ค วามจํ า เพาะสู ง ต อ คําถามแตละขอซึ่งมีความคลาดเคลื่อนในการตรวจ ใหคะแนนนอยกวารอยละ 5 โดยเปน pre-test 20 ขอ midterm test 50 ขอ และ final test 50 ขอ ตัวแปรตน คือ 4. เพศ (ชาย, หญิง) 5. เกรดหรือคะแนนเฉลี่ย (GPA) ปการศึกษา 1/2552 กอนเรียนวิชาหลักการบัญชี (ตํ่ากวา 2.92, สูงกวาหรือเทากับ 2.92) ใชคา เฉลีย่ GPA กอนเรียนฯ จากกลุมตัวอยาง เทากับ 2.92 เปนคาแบงกลุม 6. สาขาวิชาที่นักศึกษาสําเร็จการศึกษามากอน เขาเปนนักศึกษาชั้นปที่ 1 (ประกาศนียบัตรวิชาชีพ-

ปวช., มัธยมศึกษาชั้นปที่ 6-ม.6) 7. การทํางานควบคูกับการเรียน (ทํางาน, ไม ทํางาน) 8. ลักษณะที่พักอาศัย (หองเชา, อาศัยอยูกับ บิดามารดา, อาศัยอยูกับญาติ) 9. รายไดสวนตัวขณะศึกษา (นอยกวา 5,000 บาท, มากกวาหรือเทากับ 5,000 บาท) ใชคาเฉลี่ย รายไดจากกลุม ตัวอยาง 4,987 บาท เปนคาประมาณ การแบงกลุม 10. เศรษฐานะหรือรายไดครอบครัว (นอยกวา 24,000 บาท, มากกวาหรือเทากับ 24,000 บาท) ใชคา เฉลีย่ รายไดครอบครัวจากกลุม ตัวอยาง 24,101 บาท เปนคาประมาณการแบงกลุม 11. ความสามารถทางคอมพิ ว เตอร พื้ น ฐาน Microsoft Office (ได, ไมได) 12. ความสามารถทางคอมพิวเตอรในการสืบคน ขอมูล (ได, ไมได) ตัวแปรตาม คือ 1. คะแนนสอบกอนเรียน (Pre-test score) 2. คะแนนสอบกลางภาค (Midterm test score) 3. คะแนนสอบไลปลายภาค (Final test score) วิธีดําเนินการวิจัย 1. ตอนเปดภาคเรียน ผูว จิ ยั ดําเนินการเก็บขอมูล พืน้ ฐานของผูเ รียนดวยแบบสอบถามขอมูลปลายปด จากอาสาสมัคร จากนัน้ ใหอาสาสมัครทําแบบทดสอบ กอนเรียน (pre-test) จํานวน 20 ขอ คิดคะแนนเต็ม 100 คะแนน ผูส อนตรวจขอแบบทดสอบและใหคะแนน 2. ดําเนินการเรียนการสอน โดยใชสื่อการเรียน การสอนที่เตรียมไว และดําเนินการเรียนการสอน โดยเนนกระบวนการคิด มีการโตตอบระหวางผูสอน กั บ ผู  เ รี ย น เช น มี ก ารถาม/ตอบ การอภิ ป ราย การแสดงความคิดเห็น เปนตน สัปดาหละ 2 ครั้ง ครั้งละ 3 ชั่วโมง ติดตอกันนาน 4 สัปดาห

21


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

3. อาสาสมัครทําแบบทดสอบกลางภาค (midterm test) จํานวน 50 ขอ คิดคะแนนเต็ม 100 คะแนน 4. ผูสอนตรวจขอแบบทดสอบ ใหคะแนน แลว เฉลยเพื่อเปนการใหขอมูลปอนกลับใหแกผูเรียน 5. ดําเนินการเรียนการสอนตอจนสิ้นภาคการ ศึกษาอีก 4 สัปดาห เชนเดียวกันกับขอ 2 6. อาสาสมัครทําแบบทดสอบปลายภาค (final test) จํานวน 50 ขอ คิดคะแนนเต็ม 100 คะแนน ผูสอนตรวจขอแบบทดสอบและใหคะแนน 7. หลังสอบปลายภาค ผูสอนใชแบบสอบถาม ปลายเปดสําหรับการสัมภาษณเพื่อรวบรวมขอมูล เชิงคุณภาพ เกีย่ วกับความคิดเห็นการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผล การตรวจขอสอบ ในการตรวจขอสอบทั้ง 3 ชุด ผูสอนถายสําเนา กระดาษคําตอบแตละชุดเพือ่ ใชในการตรวจใหคะแนน โดยเทียบกับเฉลย แยกกัน 2 ครัง้ จากนัน้ นําคะแนน ทั้ง 2 ครั้งมาเปรียบเทียบเพื่อคํานวณความแมนยํา ในการตรวจ หรือคํานวณคาความคลาดเคลื่อนใน การตรวจซึ่งคาที่ยอมรับไดจะคลาดเคลื่อนไดไมเกิน รอยละ 5 การวิเคราะหขอมูล สถิติที่ใชรายงานเปนคาเฉลี่ย (mean) และคา เบีย่ งเบนมาตรฐาน (standard deviation) เปรียบเทียบ ความแตกตางคาเฉลีย่ สองคาโดยใช Student paired t-test วิเคราะหความแปรปรวนในกลุมคาเฉลี่ยตั้งแต สามคาขึ้นไปโดยใชการวิเคราะหความแปรปรวน ANOVA และวิเคราะหความแตกตางคาเฉลี่ยสามคา ขึ้นไปโดยใช Scheffe post-hoc test ใช Content analysis สําหรับวิเคราะหขอ มูลเชิง คุณภาพ

22

ผลการวิจัย 1. ขอมูลพื้นฐาน กลุม ตัวอยางจํานวน 47 คน เปนเพศชาย รอยละ 31.9 เพศหญิง รอยละ 68.1 อายุเฉลีย่ 19.3 ± 1.1 ป สํ า เร็ จ ปวช. ร อ ยละ 74.5 และสํ า เร็ จ ม.6 รอยละ 25.5 เกรดเฉลี่ยสะสมปการศึกษา 1/2552 เฉลี่ย 2.92 ± 0.63 แบงเปนนักศึกษาที่ไมไดทํางาน ระหวางการศึกษาในภาคเรียน รอยละ 72.3 และเปน นักศึกษาที่ทํางานระหวางการศึกษาในภาคเรียน รอยละ 27.7 ทํางานวันละ 4-8 ชัว่ โมง ทีพ่ กั อาศัยอยู กับบิดามารดา รอยละ 51.1 อยูกับญาติ รอยละ 8.5 และอยูหอพักกับเพื่อนหรืออยูคนเดียว รอยละ 40.4 มีรายไดสว นตัวประมาณ 1,500-10,000 บาท รายได เฉลี่ย 4,965 ± 2,036 บาท รายไดครอบครัว 5,00080,000 บาท รายได ค รอบครั ว เฉลี่ ย 24,835 ± 20,600 บาท 2. การศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัย ตางๆ กับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู 2.1 ผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรูข องนักศึกษากลุม ตัวอยางทั้งหมด ผลการวิเคราะหทางสถิตใิ นกลุม ตัวอยางทัง้ หมด แสดงในตารางที่ 1 ค า คะแนนเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ p < 0.0001 เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู จากคาคะแนนเฉลี่ย pre-test กับ midterm test, เปรียบเทียบระหวางคะแนนเฉลี่ย pre-test กับ final test และเปรียบเทียบระหวางคะแนนเฉลี่ย midterm test กับ final test ผลคะแนนการสอบมี ค ะแนนเพิ่ ม ขึ้ น ตั้ ง แต pre-test, midterm test และ final test ตามลําดับ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 2.2 ผลของปจจัยตางๆ ตอผลสัมฤทธิ์การ เรียนรูของนักศึกษา จากการใชสถิติการวิเคราะหความแปรปรวน


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

(ANOVA) และเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลีย่ ในการวิเคราะหปจจัยตางๆ ที่อาจมีผลกระทบตอ ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู พบวาผลสัมฤทธิ์การเรียนรูที่ ไดรับผันแปรไปตาม (1) เกรดหรือคะแนนเฉลี่ยป การศึ ก ษา 1/2552 ก อ นเรี ย นวิ ช าหลั ก การบั ญ ชี (2) สาขาวิชาที่นักศึกษาสําเร็จการศึกษามากอนเขา เปนนักศึกษาชั้นปที่ 1 และ (3) ความสามารถทาง คอมพิวเตอรในการสืบคนขอมูล สําหรับตัวแปรอืน่ ๆ ไดแก เพศ อายุ การทํางานควบคูก บั การเรียน ลักษณะ ทีพ่ กั อาศัย รายไดสว นตัวขณะศึกษา เศรษฐานะหรือ รายไดครอบครัว และความสามารถทางคอมพิวเตอร พื้ น ฐาน Microsoft Office ไม มี ผ ลกระทบต อ ผลสัมฤทธิ์การเรียนรูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 2.2.1 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรูข อง นั ก ศึ ก ษาตามเกรดหรื อ คะแนนเฉลี่ ย (GPA) ปการศึกษา 1/2552 กอนเรียนวิชาหลักการบัญชี ผลการวิ เ คราะห ท างสถิ ติ โ ดยการคํ า นวณค า คะแนนเฉลี่ยในกลุมตัวอยาง แสดงในตารางที่ 2 นักศึกษาที่มี GPA กอนเรียนวิชาหลักการบัญชี ตํา่ กวา 2.92 ไดคะแนนทดสอบกอนเรียน ไมแตกตาง จากนักศึกษาที่มี GPA กอนเรียนวิชาหลักการบัญชี สูงกวาหรือเทากับ 2.92 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สํ า หรั บ คะแนนเฉลี่ ย แบบทดสอบกลางภาค (midterm test) และคะแนนเฉลี่ ย แบบทดสอบ ปลายภาค (final test) พบวา กลุม นักศึกษาทีม่ ี GPA กอนเรียนฯ สูงกวาหรือเทากับ 2.92 ไดคะแนน แบบทดสอบมากกวา กลุมนักศึกษาที่มี GPA กอน เรี ย นฯ ตํ่ า กว า 2.92 อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ (ตารางที่ 2) นอกจากนี้ ยังพบวานักศึกษาทัง้ สองกลุม มีอตั รา ผลสัมฤทธิ์การเรียนรูในแบบทดสอบกลางภาค และ แบบทดสอบปลายที่ดีขึ้นโดยลําดับทั้งสองกลุม 2.2.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรูข อง นักศึกษาทีส่ าํ เร็จ ปวช. กับนักศึกษาทีส่ าํ เร็จ ม.6 ผลการวิ เ คราะห ท างสถิ ติ โ ดยการคํ า นวณค า

คะแนนเฉลี่ยในกลุมตัวอยาง แสดงในตารางที่ 3 คาคะแนนเฉลี่ย pre-test ระหวางกลุมนักศึกษา ที่สําเร็จ ปวช. ไมมีความแตกตางกันกับคาคะแนน เฉลี่ยของกลุมนักศึกษาที่สําเร็จ ม.6 แสดงใหเห็น วาการเรียนรูวิชาหลักการบัญชีมากอนในชั้น ปวช. อาจไมมีผลทําใหคะแนน pre-test แตกตางจากกลุม นักศึกษาที่สําเร็จ ม.6 คาคะแนนเฉลี่ย midterm test ระหวางกลุม นักศึกษาที่สําเร็จ ปวช. ไมมีความแตกตางกันกับ คาคะแนนเฉลี่ยของกลุมนักศึกษาที่สําเร็จ ม.6 แตมี คะแนนสูงขึ้นกวาคะแนนเฉลี่ย pre-test แสดงถึง ความกาวหนาในการเรียนรูข องนักศึกษาทัง้ สองกลุม ที่ดีขึ้นในระดับพอใชถึงดี คาคะแนนเฉลีย่ final test ของนักศึกษาทีส่ าํ เร็จ ม.6 มีคาสูงกวาคะแนนเฉลี่ยของกลุมนักศึกษาที่ สําเร็จ ปวช. อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ p < 0.05 แตมีคะแนนสูงขึ้นกวาคะแนนเฉลี่ย midterm test แสดงถึงความกาวหนาในการเรียนรูของนักศึกษา ทัง้ สองกลุม ทีด่ ขี นึ้ ตามลําดับ คะแนนอยูใ นระดับดีถงึ ดีมาก 2.2.3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรูต าม ความสามารถทางคอมพิวเตอรในการสืบคน ขอมูล ผลการวิ เ คราะห ท างสถิ ติ โ ดยการคํ า นวณค า คะแนนเฉลี่ยในกลุมตัวอยาง แสดงในตารางที่ 4 คาคะแนนเฉลีย่ final test ของนักศึกษาทีม่ คี วาม สามารถทางคอมพิวเตอรในการสืบคนขอมูล แตกตาง จากคาคะแนนเฉลี่ย final test ของนักศึกษาที่ไมมี ความสามารถทางคอมพิวเตอรในการสืบคนขอมูล อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สําหรับคาคะแนนเฉลี่ย แบบทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบกลางภาค ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 3. การศึกษาขอมูลเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณนักศึกษาหลังสอบปลายภาค

23


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

เกี่ยวกับ ความคิดเห็นดานการจัดการเรียนการสอน แบบเนนกระบวนการคิด สื่อการเรียนการสอน และ การวัดผลและการประเมิน ไดผลดังตอไปนี้ 3.1 การจั ด การเรี ย นการสอนแบบเน น กระบวนการคิด และสื่อการเรียนการสอน 3.1.1 ความสนใจของนักศึกษาเองตอวิชา หลักการบัญชี พบวา นักศึกษาสวนใหญมากกวาครึ่งมีความ สนใจในวิชาหลักการบัญชี เนื่องจากวิชานี้มีความ เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน สามารถนําไปใชไดจริง และสามารถนําไปประกอบวิชาชีพได 3.1.2 วิธีการจัดการเรียนการสอน กิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน วิเคราะห จากตัวอยางคําสําคัญทีเ่ ปนกิจกรรมทีน่ กั ศึกษาคิดวา มีผลตอการเรียนรู ดังตอไปนี้ เชน “สอนพื้นฐาน ให เ ข า ใจดี ก  อ นขึ้ น เรื่ อ งต อ ไป” “การถามตอบ” “การอภิปรายโตตอบ” “การยกตัวอยางที่ทําใหเห็น ภาพพจน” “การเลนเกมส” “การยกตัวอยางในชีวิต ประจําวัน” “การทดลองทํา” “การคนขอมูลจากเว็บ” “การทดลองวิ เ คราะห ร ายงานการเงิ น ” “การทํ า แบบฝกหัดลงบัญชี” “การใช Excel ประกอบการสอน” “การใหนกั ศึกษาแสดงบทบาท” “การเลาเรือ่ งใหสนุก เหมือนเลานิทาน” เปนตน ผลจากกิจกรรมตางๆ เหลานี้ ทําใหนกั ศึกษาเกิด การกระตุนความคิด การวิเคราะห ความสนุกสนาน ความสนใจ โดยมีตัวอยางคําสําคัญที่แสดงผลของ การเรียนรูผานกิจกรรมดังกลาวขางตนดังนี้ เชน “จําตัวอยาง/เรือ่ งทีเ่ ลาไดแมนยําและสนุก” “ตัวอยาง เหมือนที่ราน” “พื้นฐานแมน สามารถนําไปใชไดจริง ดวยตนเองอยางถูกตอง” “นําไปใชในชีวติ ประจําวันได” “รักและไมกลัววิชาบัญชี สามารถไปเรียนวิชาอื่นๆ ตอได” “เชื่อมโยงเนื้อหาวิชาบัญชีกับวิชาอื่นๆ ได” เปนตน 3.1.3 สื่อการเรียนการสอนที่ใช สือ่ การสอนประเภทเอกสาร (PowerPoint) แสดง

24

ขอบเขตเนื้อหา คําจํากัดความ ทําใหรูสึกอุนใจวา สามารถทบทวนหัวขอและติดตามบทเรียนได การใช Excel ทําใหเห็นลําดับตามกระบวนการ ทางบัญชี และคอยๆ สรางระบบความคิดขึ้นในเวลา ที่ไมเร็วเกินไปเมื่อเทียบกับ PowerPoint ที่แสดง ตารางสําเร็จ การวาดภาพลายเสนอยางงายบนกระดาน และ การใชการตูนบน PowerPoint เพื่ออธิบายเนื้อหา ประกอบ ทําใหเกิดการสรางระบบความคิดขึ้นใน เวลาที่ไมเร็วเกินไป ทําใหเกิดการสรางจินตนาการ การเรียนรูที่ดีและสนุกสนาน รูสึกวาบัญชีเปนวิชาที่ สนุก การใช video clip จาก YouTube ทําใหเห็น ตัวอยางในการดําเนินการธุรกิจจริง เชน อุตสาหกรรม การผลิ ต อาหาร ทํ า ให เ ห็ น กระบวนการผลิ ต ซึ่ ง สามารถนํามาประกอบความเขาใจไดดีขึ้น การสื บ ค น ข อ มู ล ผ า นเว็ บ เช น ข อ มู ล จาก ตลาดหลักทรัพย ทําใหเรียนสนุก เกิดคําถาม ความ อยากรู  อ ยากเห็ น ความใฝ รู  ม ากยิ่ ง ขึ้ น สามารถ วิเคราะหและสังเคราะหความคิดจากการเห็นรายงาน การเงินในบริษัทตางๆ หลากหลายอุตสาหกรรม 3.1.4 การทําแบบฝกหัดและการเฉลย นักศึกษาสะทอนใหทราบวาเนื่องจากชวงเวลา เรียนสั้น และมีแบบฝกหัดหรือการบานหลายวิชา ซึ่งตองทําในชวงเวลาเดียวกัน ทําใหทําแบบฝกหัด ไมทนั อยางไรก็ตาม การเฉลยแบบฝกหัดในหองเรียน และการแจกเอกสารเฉลยแบบฝกหัดเปนสิ่งที่ดีมาก เพราะชวยใหนกั ศึกษามีความรูค วามเขาใจสิง่ ทีศ่ กึ ษา มา และสามารถนําไปทําความเขาใจเพิม่ เติมภายหลัง ไดมากยิ่งขึ้น 3.1.5 การสอนสรุปหรือการติวทบทวน นักศึกษามีความเห็นวา การสรุปหรือติวทบทวน ก อ นสอบ ทํ า ให เ ห็ น ความสํ า คั ญ ของทฤษฎี แ ละ การนําไปสูการปฏิบัติในภาพรวม ชวยใหนักศึกษา เห็ น ภาพรวมของการเรี ย นรู  ม ากยิ่ ง ขึ้ น สามารถ


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

บูรณาการความรูที่ไดเรียนมาไดดีขึ้น 3.1.6 การทํางานคูกับการเรียน นักศึกษาทีท่ าํ งานกอนแลวมาเรียนวิชาหลักการ บัญชีแสดงความคิดเห็นวา ประสบการณที่สถาน ประกอบการทําใหนักศึกษาสามารถเขาใจและเห็น ภาพของหลักการบัญชีไดงายขึ้น เชน การจัดการ สินคาคงคลัง การบันทึกบัญชีซื้อขายสินคา การ จัดการเงินสด ตนทุนจม คาเสียโอกาส เปนตน และ เปนการกระตุนใหนําความรูที่ไดเรียนในหองเรียน กลับไปประยุกตและเทียบเคียงกับธุรกิจจริงไดดยี งิ่ ขึน้ 3.2 การวัดผลและการประเมิน นักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการวัดผลและ การประเมินดังตอไปนี้ 3.2.1 การวั ด ผลและการประเมิ น ความ กาวหนาในชั้นเรียน (formative evaluation) กิจกรรมที่ใชในการประเมินความกาวหนาใน ชั้นเรียนที่ใชในการศึกษานี้ เชน การกระตุนใหคิด ใหลองทําโจทยดวยตนเอง การใหกําลังใจสงเสริม ใหลองทําดูกอน การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู การใหรางวัลเล็กๆ นอยๆ ในชัน้ เรียนเพือ่ เก็บคะแนน ระหวางเรียน เปนตน มีผลทําใหนกั ศึกษาเกิดกําลังใจ ในการเรียนรู ไมกลัวทีจ่ ะทดลองทําแบบฝกหัดดูกอ น ไมกลัวที่จะตอบคําถาม สามารถแสดงความคิดเห็น ได อ ย า งอิ ส ระและมี ก ารกระตุ  น ให เ กิ ด ความคิ ด สรางสรรคจินตนาการ คะแนนเก็บรอยละ 20 เปน การชวยทําใหเกิดความอุนใจในการสอบระดับหนึ่ง แตนกั ศึกษามีความตองการใหมรี อ ยละของคะแนนเก็บ มากกวานี้ 3.2.2 การวัดผลและการประเมินรวบยอด (summative evaluation) การวัดผลและการประเมินรวบยอดดําเนินการ โดยการสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค มีผล ทําใหนักศึกษาเกิดการประมวลความรูที่ไดเลาเรียน มาทัง้ หมดอยางบูรณาการ อยางไรก็ตาม สัดสวนของ คะแนนสอบรอยละ 40 ทั้งสองตอน ทําใหนักศึกษา

มีความเครียดตอการสอบพอสมควร อภิปราย ผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรูข องนักศึกษากลุม ตัวอยาง ทั้งหมดเมื่อเปรียบเทียบคะแนน pre-test (23.40), midterm test (59.89) และ final test (73.88) พบวา คะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาทั้งหมดดีขึ้นโดยลําดับ และมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.0001) จากผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรูท ดี่ ี เกิดจากกระบวนการเรียนการสอน ทีเ่ นนกระบวนการคิดซึง่ สอดคลองกับลักษณะเนือ้ หา วิ ช าหลั ก การบั ญ ชี ความสนใจของนั ก ศึ ก ษาต อ เนื้อหาวิชา สื่อการเรียนการสอน การทําแบบฝกหัด และเฉลย การสอนสรุปและติวทบทวน และระบบการ เรียนรูบนพื้นฐานของการทํางานหรือ Work-Based Learning ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ Raelin (1997) ความกาวหนาในการเรียนรูข องนักศึกษาทัง้ กลุม ปวช. และ ม.6 พบวา มีอัตราการเรียนรูที่ดีขึ้น ตามลําดับทั้งสองกลุม โดยเห็นไดจากผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรูที่เปนคะแนน pre-test, midterm test และ final test ซึ่งเปนการประเมินแบบรวบยอด (summative evaluation) ประกอบกับการสังเกต พฤติกรรมการเรียนรูข องนักศึกษาในชัน้ เรียนซึง่ เปน การประเมินความกาวหนา (formative evaluation) แบบฝกหัดที่นักศึกษาทํา สมุดจดของนักศึกษาที่จด lecture พบวามีผลทีด่ ขี นึ้ สอดคลองกับคะแนนทีด่ ขี นึ้ จากการสัมภาษณนักศึกษาเพื่อหาความสัมพันธเชิง คุณภาพระหวางความสนใจกับผลการศึกษา พบวา นักศึกษาทีม่ คี วามสนใจวิชาหลักการบัญชีสงู มีคะแนน สุดทายสูงกวานักศึกษาที่มีความสนใจนอยกวา การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย pre-test ของ นั ก ศึ ก ษากลุ  ม ที่ สํ า เร็ จ ม.6 และ ปวช. และการ เปรี ย บเที ย บคะแนนเฉลี่ ย midterm test ของ นักศึกษาทัง้ สองกลุม ไมแตกตางกันอยางมีนยั สําคัญ

25


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ทางสถิติ โดยทีค่ ะแนนเฉลีย่ ของนักศึกษากลุม ปวช. มีแนวโนมสูงกวากลุม ม.6 เล็กนอย อยางไรก็ตาม คะแนนเฉลี่ย final test พบวา คะแนนเฉลี่ยของ นักศึกษากลุม ทีส่ าํ เร็จ ม.6 สูงกวากลุม ทีส่ าํ เร็จ ปวช. อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จากการสัมภาษณพบวา นักศึกษาทีส่ าํ เร็จ ปวช. ซึง่ เคยศึกษาวิชาหลักการบัญชี มาบางแลว แตไมมีการใชงานจริงในชีวิตประจําวัน จึงทําใหลืมสิ่งที่ไดเรียนไปแลว นักศึกษาที่สําเร็จ ปวช. ที่มีเกรดเฉลี่ยกอนเรียนวิชาหลักการบัญชี (ภาคการศึกษา 1/2552) ตํ่ากวาคากลาง มักจะ ประมาท ไมสนใจเรียนเทาที่ควรเนื่องจากคิดวาเคย เรียนมาแลว และคะแนน midterm ยังทําไดดีกวา นั ก ศึ ก ษาที่ สํ า เร็ จ ม.6 อย า งไรก็ ต าม หลั ง สอบ midterm แลว มักจะมาเรียนไมสมํ่าเสมอ ในขณะ เดียวกันรูปแบบการเรียนการสอนหลัง midterm จะเนนการคิดวิเคราะหมากขึน้ มีการประยุกตทฤษฎี ที่ไดเรียนในชวงกอน midterm กับบทเรียนมากขึ้น รวมทั้งการคนหารายงานการเงินของบริษัทตางๆ ที่ จ ดทะเบี ย นในหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย มา ประกอบการเรียนการสอน และมีขอ สังเกตทีน่ า สนใจ คือ นักศึกษาทีส่ าํ เร็จ ปวช. และมีเกรดเฉลีย่ กอนเรียน วิชาหลักการบัญชีสงู (สูงกวา 2.92) จะมีความเครียด เนือ่ งจากคะแนน pre-test ตํา่ แตเมือ่ ไดรบั คําปรึกษา จากผูส อนเกีย่ วกับการเรียนจึงสามารถทําคะแนนได สูงเชนเดิม เมื่อเปรียบเทียบผลการวิจัยนี้กับผลงานวิจัยใน ตางประเทศ เชน L.M. Tho (1994) พบวา นักศึกษา ที่ เ คยเรี ย นวิ ช าหลั ก การบั ญ ชี ม าก อ นเข า เรี ย นใน มหาวิ ท ยาลั ย มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นรู  สู ง กว า นักศึกษาที่ไมเคยเรียนมากอน ซึ่งตรงขามกับผล การวิจัยนี้ ดังนั้นประสบการณการเรียนรูหลักการ บั ญ ชี ม าก อ นไม ใ ช ป  จ จั ย โดดที่ ทํ า ให มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนรูที่ดี ตองมีองคประกอบอื่นๆ รวมดวย อยางไรก็ตาม ผลการวิจยั นีส้ อดคลองกับผลการวิจยั ทัง้ ตางประเทศและในประเทศทีไ่ ดผลวาคะแนนเฉลีย่

26

ก อ นเข า เรี ย นมี ผ ลต อ ผลสั ม ฤทธิ์ ก ารเรี ย นรู  วิ ช า หลักการบัญชี (Tho, 1994; อังคณา นุตยกุล, 2545) พบวา นักศึกษาที่มีทักษะและความสามารถใน การสืบคนขอมูลผานอินเทอรเน็ต (search engine) มีคะแนนเฉลีย่ pre-test และ midterm test ไมแตกตาง จากกลุมนักศึกษาที่ไมมีทักษะและความสามารถใน การสืบคนขอมูล อยางไรก็ตาม พบวาในตอนทาย ของภาคการศึ ก ษา นั ก ศึ ก ษากลุ  ม ที่ มี ทั ก ษะฯ มี คะแนนเฉลีย่ ของ final test สูงกวากลุม ทีไ่ มมที กั ษะฯ อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ส ว นหนึ่ ง เกิ ด จากการ จัดการเรียนการสอนในชวงปลายภาคการศึกษานั้น นักศึกษาจําเปนตองสืบคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต ในการเสาะหารายงานการเงินมาประกอบการประยุกต ความรูท เี่ รียนไป และนํามาวิเคราะห เพือ่ การอภิปราย ตอไป นักศึกษาที่มีทักษะฯ จึงมีโอกาสและความ สามารถที่ดีกวาในการแสวงหาความรู และขอมูล เพิ่มเติมยิ่งขึ้น การทีน่ กั ศึกษาในสถาบันเทคโนโลยีปญ  ญาภิวฒ ั น อยู  ใ นระบบการเรี ย นรู  บ นพื้ น ฐานของการทํ า งาน (Work-Based Learning) โดยมีการทํางานคูก ารเรียน และมีเวลาศึกษาภาคการศึกษาละ 10 สัปดาห โดยมี เนื้ อ หาการศึ ก ษาเท า กั บ นั ก ศึ ก ษาภาคปกติ ข อง สถาบันอื่นๆ ที่มีเวลาภาคการศึกษาละ 16 สัปดาห พบวา มีผลการเรียนรูข องกลุม ตัวอยางของงานวิจยั นี้ มีความกาวหนาขึน้ โดยลําดับ และนักศึกษาทีท่ าํ งาน คูก บั การเรียนมีผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรูไ มแตกตางจาก นักศึกษาที่เรียนอยางเดียว ผลการวิจัยนี้สอดคลอง กั บ งานวิ จั ย ของ Ewer, Greer, Bridges, & Lewis. (2002) ที่พบวาการศึกษาวิชาหลักการบัญชี โดยอาจารยผูสอนคนเดียวกัน อุปกรณเครื่องมือ สื่อการสอน และวิธีการสอนเดียวกัน แตใชเวลา ในการเรี ย นการสอน 4 สั ป ดาห ไม แ ตกต า งกั บ ผลสัมฤทธิ์การเรียนรูในเวลา 16 สัปดาห สําหรับปจจัยอื่นๆ ที่มีสวนทําใหนักศึกษามีผล สัมฤทธิ์การเรียนรูที่ดี เชน ประสบการณการทํางาน


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ในสถานประกอบการจริง ทัศนคติที่ดีของนักศึกษา (ความสนใจ ความตองการนําไปประกอบอาชีพ) นักศึกษามีเจตคติที่ดี (ไมตองการใหผูสอนผิดหวัง วิชาไมยาก ใชในชีวิตประจําวันได) กระบวนการวัด และการประเมิ น ผลจากการถามตอบในห อ งที่ มี บรรยากาศอยางเปนกัลยาณมิตรทําใหไมกลัวการ ตอบถูกหรือผิด การประเมินผลความกาวหนาจาก คําถามของนักศึกษาและการอภิปรายในหองเรียน ทําใหผูสอนสามารถปรับกระบวนการเรียนการสอน ในจั ง หวะก า วที่ เ หมาะสมได ดี ยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ พบวาสื่อการสอนและเอกสารประกอบการสอนมี ความสําคัญอยางมากตอการเรียนรูและการทบทวน ของนักศึกษา สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ กลาวโดยสรุปจากงานวิจยั นี้ ปจจัยทีม่ ผี ลกระทบ ตอผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรูข องนักศึกษาในวิชาหลักการ บัญชีมี 3 ประการ ไดแก คะแนนเฉลี่ยกอนเขาเรียน วิชาหลักการบัญชีที่มีคาสูง สาขาวิชาที่นักศึกษา สําเร็จการศึกษามากอนเขาเปนนักศึกษาชั้นปที่ 1 ทีส่ าํ เร็จมัธยมศึกษาชัน้ ปที่ 6 และนักศึกษาทีม่ ที กั ษะ และความสามารถในการสืบคนขอมูลผานอินเทอรเน็ต (search engine) นอกจากนี้ ปจจัยทางดานนักศึกษา ที่มีสวนสําคัญตอผลสัมฤทธิ์การเรียนรู คือ ทัศนคติ ความสนใจของนักศึกษา และปจจัยทางดานวิธีการ จัดการเรียนการสอนแบบเนนกระบวนการคิด จะสงผล ใหไดผลสัมฤทธิ์การเรียนรูที่ดี การศึกษาเกี่ยวกับระบบการเรียนรูบนพื้นฐาน ของการทํางานหรือ Work-Based Learning ควรได รับการศึกษาวิจัยเชิงลึกตอไป

บรรณานุกรม

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2545). พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕. กรุ ง เทพมหานคร: สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาแหงชาติ. เสนีย (อํ่าเจริญ) พวงยาณี. (2551). หลักการบัญชี. กรุงเทพฯ: บริษัท ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น จํากัด. อังคณา นุตยกุล. 2545. ปจจัยที่สงตอผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาบัญชี ของนักศึกษาภาคปกติ แขนงวิ ช าบั ญ ชี โปรแกรมวิ ช าบริ ห ารธุ ร กิ จ คณะวิทยาการจัดการ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ปการศึกษา 2544. (งานวิจัย): สถาบันราชภัฏ สวนดุสิต. Carroll, J. B. (1974). Learning Theory for the Classroom Teacher. In G. A. Jarvis (Ed.), The Challenge of Communication. ACTFL Review of Foreign Language Education, Vol. 6. Illinois: National Textbook Company. Ewer, S., Greer, O., Bridges, W., & Lewis, B. (2002). Class length and student performance: An extended study. International Advances in Economic Research, 8(2), 160-168. Raelin, J. A. (1997). A model of work-based learning. Organization Science, 8(6), 563-578. Tho, L. M. (1994). Some evidence on the determinants of student performance in the University of Malaya introductory accounting course Accounting Education, 3(4), 331-340. Weygandt, J. J., Kieso, D. E., & Kimmel, P. D. (2007). Financial Accounting: Tools for Business Decision Making (4th Edition ed.): Wiley Plus.

ทิศนา แขมมณี. (2548). ศาสตรการสอน องคความรู เพือ่ การจัดกระบวนการเรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.

27


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 1 แสดงคา t คาคะแนนเฉลีย่ สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนน pre-test, midterm และ final ของนักศึกษา ทั้งหมด

การทดสอบ

Mean ± S.D.

Pre-test

23.40 ± 20.46

Midterm test

59.89 ± 26.84

Final test

73.88 ± 21.10

Pre-test

Midterm test

Final test

23.40 ± 20.46

59.89 ± 26.84

73.88 ± 21.10

-

8.31 *

13.35 *

-

5.90 * -

* คา t มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.0001 ตารางที่ 2 แสดงคาคะแนนเฉลีย่ สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนน pre-test, midterm และ final ของกลุม นักศึกษา ที่มี GPA กอนเรียนตํ่ากวา 2.92 และกลุมนักศึกษาที่มี GPA กอนเรียนสูงกวาหรือเทากับ 2.92

Pre-test Midterm test Final test

คา GPA กอนเรียน

N

Mean

SD

SEM

คา F

< 2.92

25

20.00

20.412

4.082

0.228

>= 2.92

22

27.27

20.279

4.324

< 2.92

25

46.600

26.0496

5.2099

>= 2.92

22

* 75.000

18.7877

4.0055

< 2.92

25

61.50

21.397

4.279

>= 2.92

22

** 87.95

7.892

1.683

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.05 ** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.0001

28

17.922 29.973


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 3 แสดงคาคะแนนเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน pre-test, midterm และ final ของนักศึกษา กลุมที่สําเร็จ ปวช. และ ม.6

Pre-test Midterm test Final test

สําเร็จการศึกษา

N

Mean

SD

SEM

คา F

ปวช.

35

24.29

22.267

3.76

3.621

ม.6

12

20.83

14.434

4.17

ปวช.

35

61.36

28.81

4.87

ม.6

12

55.63

20.51

5.92

ปวช.

35

* 71.21

23.12

3.91

ม.6

12

* 81.67

11.04

3.19

2.595 6.828

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.05 ตารางที่ 4 แสดงคาคะแนนเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน pre-test, midterm และ final ของนักศึกษา กลุมที่มี และไมมีความสามารถทางคอมพิวเตอรในการสืบคนขอมูล

Pre-test

Search

N

Mean

SD

ไมได

40

23.75

7

ได Midterm test

ไมได ได

Final test

ไมได ได

SEM

คา F

20.373

3.221

0.314

21.43

22.493

8.502

40

60.125

26.7344

4.2271

7

58.571

29.5754

11.1784

40

72.06

22.050

3.486

7

* 84.29

10.279

3.885

0.314 4.642

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.05

29


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Sopana Pichitpornchai received her Master of Science (Accounting Information System), Master of Business Administration, and Bachelor of Accounting from Chulalongkorn University. From her over 25 years precious experiences in both Government and Private sectors as a General Manager and a Senior Consultant, she has turned to be a lecturer and a member of the Council of Panyapiwat Institute of Management (PIM) to dedicate herself to excel education at the PIM.

30


A

n Analytical Network Process for Risk Assessment in Commercial Real Estate Development ¡Ãкǹ¡ÒÃà¤Ã×Í¢‹ÒÂàªÔ§ÅíҴѺ¢Ñ¹é à¾×Íè »ÃÐàÁÔ¹¼Å¡Ãзº ¢Í§¤ÇÒÁàÊÕè§㹸ØáԨ¾Ñ²¹ÒÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ Arun Sirijanusorn, Ph.D. Lecturer of Faculty of Engineering and Technology Panyapiwat Institute of Management E-mail: kanun_nn@yahoo.com

Abstract Risk assessment in real estate development business for strategic decision-making may have long-term impacts on competitive advantage concerning cost efficiency at the project development stage. Accordingly, this research studied impacts of risk factors on project development. The research methodologies comprised of primary observation on process activities and in-depth interviews with relevant experts and related parties. Moreover, in order to evaluate and prioritize project development issues appropriately, Analytic Network Process: ANP, a well-known multi-criteria decision-making tool, was applied to a case study in order to analyze the environmental risks and social risks associated to the project development. Major results of the research illustrated that a proper development of environmental and social risk management for property development business should be initiated during the feasibility study stage. Next, the risk management process should be enhanced to be in accordance with corporate strategy. The research findings can also assist in improving risk management performance in order to achieve sustainable project development and investment in the long run. Keywords: Risk assessment, Commercial real estate, Analytic Network Process (ANP)

31


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

บทคัดยอ การวิเคราะหความเสี่ยงในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย นับเปนการตัดสินใจระดับกลยุทธที่ สงผลกระทบระยะยาวตอขีดความสามารถในการแขงขันทางธุรกิจในเชิงตนทุนระดับพัฒนา โครงการ งานวิจยั นีศ้ กึ ษาประเด็นผลกระทบดานความเสีย่ งจากปจจัยตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ ตอการ พัฒนาโครงการ โดยวิธีการวิจัยใชการจัดเก็บขอมูลปฐมภูมิโดยการศึกษาขั้นตอนในแตละ กิจกรรม การสัมภาษณเชิงลึกกับผูเ กีย่ วของ และการใหผทู รงคุณวุฒทิ าํ การจัดลําดับความสําคัญ ของประเด็นปญหาที่เกิดขึ้นดวยวิธีกระบวนการเครือขายเชิงลําดับขั้น (Analytic Network Process: ANP) เพื่อประเมินถึงผลกระทบความเสี่ยงในการดําเนินงานที่มีผลตอการพัฒนา โครงการตอความเสี่ยงทางดานสิ่งแวดลอมและดานสภาพสังคม ผานตัวอยางกรณีศึกษา จากผลการศึกษาพบวา การพัฒนาตัวชี้วัดการจัดการความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอมและดาน สภาพสังคมในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ควรจะดําเนินการเปนลําดับแรกในชวงการศึกษา ความเปนไปไดของโครงการ ลําดับตอมาคือ การปรับปรุงกระบวนการบริหารจัดการความเสีย่ ง ที่สอดคลองกับกลยุทธของบริษัท ผลจากการศึกษาสามารถนํามาใชเปนแนวทางการเตรียม ความพรอมของบริษัทในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการจัดการความเสี่ยงที่มีผลตอบริษัท เพื่อการพัฒนาและลงทุนโครงการไดอยางยั่งยืน คําสําคัญ: การบริหารความเสีย่ ง ธุรกิจอสังหาริมทรัพย กระบวนการเครือขายเชิงลําดับขัน้ Introduction Risk and uncertainties are associated with overall projects in commercial real estate development and they can strongly influence all related progresses at all stages of the entire lifecycle of the properties. Specifically, those risks can occur at an initial stage of a project when developers conduct feasibility study, design and planning, bidding and tendering, construction, or even during marketing or handover period. Meanwhile, risks existing in initial stage can also influence the use of the property as well. Risks in each commercial real estate development project can be identified at project management level using brainstorming techniques, in which they are generally defined as events that could arise and affect the critical factors

32

of the project. For example, Huffman (2002) classified, major risks associated with commercial real estate development into three categories, including financial risks, physical risks, and regulatory risks. There are a number of direct and indirect reasons why risks may occur in commercial real estate development process. Amongst these, some common reasons are relevant to the fragments existed throughout a project lifecycle covered by design, construction and facilities management, which results in a lack of integration of building elements, communication among project partners, and even misapplication of the building structures and respective service systems. In addition to the influences of those risks to certain specific projects, there is also a concern


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

of their impacts on environment, communities and economic systems at local, regional and national levels in a long-term perspective under climate change scenario with regard to competitive enterprise growth and sustainable urban development. For example, according to generic characteristics of commercial real estate, one of the most significant risks and uncertainties towards investment return is the income stream. Since the income stream is uncertain, as well as the possible events affecting the income stream and uncertainty as to the probability of the outcomes from these events (IPF, 2007), therefore, affordability was adopted in Table 1 as a criterion to assess risks. Moreover, it is important to look at subjective issues that may not be revealed by objective data according to statistics, but might lead to risks of loss by some reasons. According to Booth, et al. (2002), there are subjective elements to be considered in risk management process, which covers - tenant risk (multi-tenanted less risky), - demand and supply of property type, - demand and supply for properties in different locations (local market conditions), - economic & property market environment (voids, rental growth, leverage and pricing), and - Illiquidity (it may not be possible to sell certain types of property quickly, except at below-valuation prices). Therefore, both subjective and objective issues need to be considered in defining criteria for risk assessment (see Table 1). Generally, the risk management process can be regarded as an ongoing and iterative process despite to the differences of each project with

specific characteristics. In addition, risk management approaches adopted by professionals are mostly undertaken based on the three basic steps, which consist of risk identification and initial assessment, response and mitigation, and further risk analysis (see other methods in Figure 1). The Investment Property Forum (IPF, 2007) suggested that real estate risks can only be managed within an overall framework or risk management processes, and those risks shall apply a variety of complimentary approaches, which are grounded in a rigorous and preferably quantitative framework. Therefore, risk management processes shall include an assorted mix of “quantitative statistical framework” as well as several techniques such as stress testing and a rigorous analysis of subjective issues. However, it has been noted by the authors that traditional approaches of risk assessment mostly depend on the result derived from either panel discussion or ranking method, which are sometimes not convincing enough due to a lack of quantitative measurement using reliable tools or instruments with strong theoretical bases (Bienert and Brunauer, 2007). For example, investment of a hotel is employing the risk assessment method named ‘risk matrix’, which has been accepted as the practical risk assessment tool for many project types. (IoMosaic, 2002; Kindinger, 2002; Rafele, et al., 2005) The disadvantage of the Risk Matrix is that the data used for a matrix calculation are derived from either panel discussion or ranking method by the hotel managerial levels, most data rely on personal opinion and experience, (Younes, 2007) and do not use reliable tools or instruments with strong theoretical

33


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

basis. Other inconvenience of risk matrix is that the matrix does not allow the comparison of each criterion, and the results calculated by matrix are normally subjective and do not provide the detail of data to help the developers to structure their decision-making process. The reason of this inconvenience risk factors are numerous, particularly in large real estate projects, and the ability of humans to assess many factors at the same time is very limited (He. Z, 1995) As mentioned above, commercial real estate development industry are involved with several types of risks and their consequences. For example, when risks are caused by several criteria such as finance, social, economics, environment and technology, in order to assess the risks and their consequences, it is suggested to use practical tools, which are able to analyse the risks with their consequences and to calculate the results in a numerical format. The desirable methodology for this commercial real estate development should allow the synthesis of the criterion, comparisons of each factor and help the developers to the decision-making process. (Booth, et al. 2002) It is assumed that developers need alternative risk assessment methods such as Bayesian Belief Network, Monte Carlo, and Multi-Criteria Decision Analysis for risk assessment in commercial real estate development. The Analytic Network Process (ANP) is therefore suggested as one of such systematic approaches that can be used to deal with both quantitative and qualitative factors under multiple criteria (Saaty, 1999). Nakagawa (2004) and Cheng

34

(2004) supported that ANP could deal with a multi-criteria analysis and comparison of each criterion, the outcome of this process also be in a mathematical statistics format, which can be adopted for further decision-making process. In this regard, this paper aims to introduce a novel decision-making approach to risk assessment in commercial real estate development against sustainability criteria. A multi-criteria decision-making model is therefore described based on Analytic Network Process (ANP) theory (Saaty, 2005), and an experimental case study on an urban regeneration project in Liverpool was used to demonstrate effectiveness of the ANP model. Research Methodology Research methods adopted in this research include literature review and interviews to understand current situation in risk assessment for commercial real estate development, questionnaire survey and data analysis to support analytic network process (ANP) modelling (Saaty, 2005), and case study to further test of the effectiveness of ANP model to support decision-making in feasibility study for commercial real estate development. Figure 1 illustrates traditional risk assessment method associated with the adoption of ANP method to assess risks for commercial real estate development. The procedure of risk assessment started at the selection of an appropriate method about the characteristics of a specific problem and the preference of decision-makers. No matter which method is adopted, the process of risks classification is essential to define risk assess-


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ment criteria. In the case of using traditional method, as mentioned in other methods tag (see Figure 1), the first step is to conduct a panel/ board discussion about risks that may affect on the project, while each participants use their experience to identify or classify predictable risk events. The next step is to set up an assessment method, and current practice is mostly to build a matrix for risks assessment (IoMosaic, 2002; Kindinger, 2002; Rafele, et al., 2005), and the matrix is used to describe the likelihood and consequences of each risk in a tabular format. Because of using the matrix, the panel may find the degree of overall degree of risk events. However, the results derived from matrix assessment method are not based on either non-linear mathematic calculation or objective assumptions related to a real business case. Alternatively,

if a project manager had selected the ANP process, the first step is to set up an ANP model, then followed by the Pair-Wise comparison process to form a super-matrix of quantified interdependences between paired criteria as well as alternatives of development plans; based on super-matrix calculation results, the project team can get a numerical suggestion regarding the plan which is the most appropriate one. Moreover, this result can also be useful in supporting risk mitigation actions to be undertaken afterwards. To complete decision-making tasks, a project knowledgebase was proposed to be integrated with the process for using either traditional method or ANP method, as they require adequate and accurate information to achieve reliable results; and the knowledge can be collected from existing new projects.

Source: Adair, A., Hutchison, N., 2005 Figure 1 Risk assessment processes and procedures with the ANP method

35


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Literature for Risks Assessment As illustrated in Figure 1, the first step of using ANP in decision-making is to set up an ANP model. To set up an ANP model for risk assessment in commercial real estate development, it is essential to define a list of assessment criteria and their measurements to facilitate the use of ANP not only in a laboratory study but also in potential commercial applications. To improve the quality of decision-making using ANP, the criteria for risk assessment should be comprehensive and practical with regard to the sustainability issues requirement for commercial real estate development. In this regard, literature reviews were conducted to form an initial list of risk assessment. Table 1 summaries the initial criteria in four categories, including environmental risks, social risks, and economic risk, which are regarded as main issues to be covered under sustainability driven risk assessment for commercial real estate development. To define measurement approaches for each risk assessment criterion, both qualitative and quantitative methods were adopted and this was based on current practice adopted by both academics and professionals in the risk assessment domain. For example, according to the definition given by Saaty, T.L. (2005), risk is the combination of uncertainties over the probability of events and their consequences. In case that a range of possible events could be known, risks can be identified and controlled by qualitative risk controls. Meanwhile, if the range of possibility could be known and the probability distribution of the outcomes of these events could be

36

estimated, then the risk can be managed by employing quantitative techniques. On the other hand, Booth, et al. (2002) mentioned that current risk measurement methods such as symmetrical risk measures (e.g. standard deviation of returns) and single point measures (e.g. value at risk) would rather be complemented by any measures focusing more exclusively on downsize risk. Therefore, the calculation of such measures would be employed as a standard feature of risks assessment for commercial real estate development. In addition, it is also a priority in defining measures for each risk assessment criterion to make the measurement as simple and practical related as possible; and it was understood that further definitions to measure all criteria are expected based on more theoretical study. Table 1 provides a list of risk assessment criteria used to set up ANP model, and related measurement approaches adopted to quantitatively evaluate risks for case study purpose using ANP. Environmental Risks According to Table 1, there are two types of risks, including the total adverse environmental impacts and the climate change impacts. The adverse environmental impacts can be measured by using a developed quantitative approach called Environmental Impact Index (EII) (Chen, et al., 2005), and the climate change impacts can be measured by using the degree of impacts to the use and value of each specific development due to regional climatic variation.


Workforce availability

2 Social risks

United Nations Environment Programme, 2007

Degree of impacts to use and value due to regional climatic variation (%) Degree of Developer’s satisfaction to local workforce market (%) Degree of business & lifestyle harmony (%) Degree of benefits for local communities (%) Degree of impacts to local public health & safety (%) Degree of impacts due to interest rate change (%)

Expected selling rate (%) Expected annual lease rate (%) Expected capitalization rate (%)

Source: Chen, Z., Li, H., Wong, C.T.C., 2005

Buyers Tenants Investment return

Dun & Bradstreet, 2007; Adair & Hutchison, 2005; Gibson & Louragand, 2002 Blundell, et al., 2005; Moore, 2006 Lee, 2002; Adair & Hutchison, 2005 Adair & Hutchison, 2005 Morledge, et al., 2006; Financial Services Authority, 2005; Financial Stability Board, 2007 IPF 2007 Booth, et al., 2002 Sagalyn, 1990; Watkins, et al., 2004

Adair & Hutchison, 2005; IPF 2007 Adair & Hutchison, 2005 http://www.statistics.gov.uk/

Danter, 2007 Danter, 2007 NHS Standards Sagalyn, 1990; Financial Services Authority, 2005; Nabarrol & Keys, 2005; Financial Stability Board, 2007; IPF 2007 Adair & Hutchison, 2005; IPF, 2007 Adair & Hutchison, 2005

Danter, 2007

Representative references Chen, et al., 2005; Chen, 2007

Valuation methods Overall value of the Environmental Impacts Index

Degree of location concentration (%) Selling rate of same kind of properties in the local market (%) Confidence to the market Degree of expectation to the same kind of properties Demand and Supply Degree of regional competitiveness (%) Purchaseability Degree of affordability to the same kind of properties (%) Brand visibility Degree of Developer’s reputation in specific development (%) Capital exposure Rate of estimated lifecycle cost per 1 billion pound (%) Lifecycle value 5-year property depreciation rate (%) Area accessibility Degree of regional infrastructures usability (%) Currency conversion Degree of impacts due to exchange rate fluctuation

Property type Market liquidity

Cultural compatibility Community acceptability Public hygiene 3 Economic risks Interest rate

Sub-Criteria Adverse environment impacts Climate change

Criteria 1 Environmental risks

Table 1 Risk assessment criteria for commercial real estate development

วารสารปญญาภิวัฒน

PANYAPIWAT JOURNAL

37


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Environmental management in real estate development projects may generally require managers to concentrate on a group of impact assessment criteria relevant to the adverse environmental impacts generated from processes or operations during the entire project period in regard to achieve various environmental-friendly targets with diverse managerial instruments and efforts. From this point of view, the evaluation of the adverse environmental impacts based on relatively objective rules is essential for projects management focusing on both pollution prevention and reduction. The EII is a subjective quantitative measurement of various adverse environmental impacts that could be potentially generated from processes or operations during the entire project period. The EII can be calculated by integrating the subjective judgments towards the different of the adverse environmental impacts (see Equation 1). 8

EII i

¦O

i, j

EII i , j

( j 1, 2, ..., 8)

(1)

j 1

Where - EIIi is the total environmental impact caused by Projecti. - EIIi,j is the individual environmental impact leading to one of the eight possible pollutions and hazards, including - Soil and ground contamination (j=1), - Ground and underground water pollution (j=2),

38

-

Waste (j=3), Noise and vibration (j=4), Dust (j=5), Hazardous emissions and odors (j=6), Wildlife and natural features impacts (j=7),

and - Archaeology impacts (j=8). - λi,j is the coefficient of EIIi,j. For Equation 1, the value of EIIi,j is defined as a subjective score belonging to the range of [-1, +1] in terms of the level of specific environmental impact for Projecti. In general, -1 represents that Projecti will extremely intensify the level of adverse environmental impacts, 0 represents that Projecti will bring uncertain environmental influences, and +1 represents that Projecti can extremely reduce the level of the adverse environmental impacts. On the other hand, the value of λi,j is defined as a subjective weight that belongs to the range of [0, 1] in terms of the tendency of environmental management in a project. In general, if λi,j is set to a outer extreme, say 0, it means that specific adverse environmental impact j (j=1,2,…,8) is basically ignorable, while if λi,j is set to 1, it means that specific adverse environmental impact j (j=1,2,…,8) is extremely considerable. Table 2 gives an example of using EIIi,j to measure adverse environmental impacts for three alternative real estate development plans, which are used in the experimental case study of this paper.


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Table 2 The environmental impacts of alternative development plans

No.

Risks of adverse impacts

λi,j

1 2 3 4 5 6 7 8

Soil and ground contamination Ground and underground water pollution Waste Noise and vibration Dust Hazardous emissions and odors Wildlife and natural features impacts Archaeology impacts Total impacts

0.3 0.3 0.7 0.7 0.7 0.5 0.2 0.5

Plan A -0.5 -0.5 -0.6 -0.5 -0.2 -0.3 +0.1 +0.2 -1.24

EIIi,j Plan B -0.4 -0.5 -0.5 -0.4 -0.1 -0.3 +0.2 0.0 -1.08

Plan C -0.6 -0.6 -0.7 -0.8 -0.5 -0.5 +0.3 +0.3 -1.8

Source: Rafele, C., Hillson. D., Grimalai, S., 2005 Note: 1. Plan A: a retail-led mixed-use inner CBD development 2. Plan B: an office-led adjacent inner CBD development 3. Plan C: an entertainment-led adjacent inner CBD development

Social Risks Social risks in commercial real estate development are mostly described in subjective forms. Most developers use qualitative analysis methods to measure and assess social-related risks. However, the measurement of interdependences inside and outside the social risk cluster (see Figure 2) requires all social risks to be quantitatively measured. As described in Table 1, there are four types of risks related to social issues, namely, workforce availability, cultural compatibility, community acceptability and public hygiene. In fact, assessment criteria for these four types of risks have also been recognized by professionals. For example, according to Danter (2006), developers should measure workforce availability by employing a consensus

method or observation of workforce targets in the project trade area. While a measurement of the cultural compatibility to the project to acknowledge whether the project would be accepted can be done by conducting marketing surveys, which highlights the project’s impacts to the local communities in regard to their acceptability. On the other hand, the Healthcare Commission (2006) issued the criteria for assessing core standards to establish measurement criteria for public healthcare and hygiene, and developers shall modify or apply these standards as tools for assessing risk caused by public hygiene issues. The measurements of adopted social risk assessment criteria are summarized as below:

39


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

- The risks related to Workforce availability are measured by using the degree of developer’s satisfaction to local workforce markets; - The risks related to cultural compatibility are measured by using the degree of business & lifestyle harmony, which aims to identify the compatibility of each specific development with local and regional cultural environment; - The risks related to community acceptability are measured by using the degree of benefits that each specific development could bring to local communities with regards to their opinions; and - The risks related to public hygiene are measured by using the degree of impacts to local public health and safety due to the development of the specific project. Economic Risks Risks associated with economic and financial uncertainties are the most important factors that could have a strong impact on the project development process and its vitality. Thus, that is the reason why most professionals and academics in the real estate paid their attentions to economic risks caused by a variation of interest rates, loans and developer credits (Sagalyn, 1990; Case, et al., 1995; Nabarro and Key, 2005; Strischeck 2007). However, there are other related risks caused by other factors in terms of marketing and its characteristics, investment, income and exposure, as well as buyers and tenants. For example, IPF (2007) conducted a survey in risk management practices and disclosed that, while investing in the

40

commercial real estate assets, it will deliver a return in form of an income stream, but the income stream is uncertain to forecast as well as any events which would affected to the income stream. On the other hand, Strischek (2007) suggested that some mandatory data should be added into risks measurement criterion, including original appraised value, bank-adjusted appraised value, capitalization rate from appraisal and loan to value at inception. In addition, the following sets of data may also be necessary to measure risks by utilizing a sensitivity analysis: capitalization rate from appraisal, net operating income, vacancy rates, space rental rates, debt service coverage, maintenances rate spread, floor, and ceiling and annual principal and interest payments. In addition, Blundell, et al. (2005) suggested to use the following criteria to measure risks and to assess their impacts: - Sector balance score: to measure the fund’s structure and indicate the weight scores, which differ from IPD universe structure income return; - Income return: to calculate the net income received each year as a percentage of the capital employed over the year; - Location concentration: this measured the percentage of each fund’s capital value invested in the ten most important locations; - Development exposure: IPD and LaSalle chose the simple percentage of fund capital value in current developments as a risk measure, which included both pre-let and speculative developments;


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

- Asset/Lot size concentration: this measured the percentage of a fund’s capital value that is bound up in 5 big assets; - Lease length; - TICCS Stress score: is weighted by the rent for each tenant to form the portfolio stress score; - Tenant concentration: this measured the percentage of the annual rental payments that accounted from the biggest 10 tenants; - Weighted Beta; and - Void Rate or vacancy rate. According to current literatures about economic risks, although there are a number of indicators previously identified to evaluate potential economic performance of a real estate project, this paper is only in gear with some most significant economic risks associated with commercial real estate development. As described in Table 1, there are fourteen types of risks related to economic issues, and these risks are interest rate, property type, market liquidity, confidence to the market, demand and supply, purchase ability, brand visibility, capital exposure, lifecycle value, area accessibility, currency conversion, buyers, tenants, and investment return. Amongst those risks, according to Financial Services Authority (2005), the Interest rate is a significant indicator for measuring economic risks by the developers as changes in interest rate can affect their earnings by changing its net interest income, the level of other interestsensitive income, and operating expenses associated with each specific real estate develop-

ment. Moreover, those changes can also affect the underlying value of a firm’s assets, liabilities and off-balance sheet instruments through the changes caused to the present value of future cash flows. In this regard, the interest rate is selected as one most important risk assessment criterion in commercial real estate development. There are some other reasons for selecting other risks as defined in Table 1. For instance, the adoption of currency conversion as one risk assessment criterion in commercial real estate development is based on the assumption that risk associated with currency conversion movements can encourage currency speculation, or ‘carry trade’. Whenever there is an opportunity in currency exchange, developers may have more interest to borrow foreign money to invest in higher-yielding currencies, rather than to invest in real estate development if the expected return of investment in commercial real estate is lower than yield return of investment in the currency conversion market. Similar assumptions were made for buyers and tenants whose investments may be influenced by fluctuant currency exchange rates. The measurements of adopted economic risk assessment criteria are summarized as below: - The risks related to interest rate are measured by using of the degree of impacts due to interest rate change; - This risks related to property type are measured by using of the degree of location concentration in regard to the density of similar type properties for each specific development;

41


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

- The risks related to market liquidity are measured by using of the selling rate of same kind of properties in the local market; - The risks related to confidence to the market are measured by using the degree of expectation to the same kind of properties; - The risks related to demand & supply are measured by using of the degree of regional competitiveness in each developing of specific project; - The risks related to Purchaseability are measured by using the degree of affordability to the same kind of properties; - The risks related to brand visibility are measured by using the degree of developer’s reputation in developing of each specific real estate project; - The risks related to capital exposure are measured by using of the rate of estimated lifecycle cost per 1 billion pound for each specific development; - The risks related to lifecycle value are measured by using of 5-year property depreciation rate; - The risks related to area accessibility are measured by using of the degree of regional infrastructure usability associated with a specific development; - The risks related to currency conversion are measured by using of the degree of both short-term and long-term impacts due to exchange rate fluctuation to a specific development; - The risks related to buyers are measured by using of an expected selling rate of a specific development;

42

Risk Assessment Model A multicriteria decision-making model is proposed here using of ANP to facilitate a holistic risk assessment for specific commercial real estate development at feasibility study stage. Figure 2 illustrates the ANP model based on the 20 defined risks assessment criteria (see Table 1). The model was set up by using Super Decisions software for decision-making. The ANP team wrote the program working for the Creative Decisions Foundation, which implements the ANP developed by Professor Thomas Saaty (2005). Excluding the alternative cluster, the ANP model comprises of 3 clusters and 20 nodes, which are in accordance with the criteria and sub-criteria summarized in Table 1. In addition, the alternative cluster, the important cluster of the ANP model, is used here to comprehend alternative plans to be evaluated against risk assessment criteria in an experimental case study. Moreover, there are also 3 nodes representing 3 alternative plans for a specific commercial real estate development (see Experimental Case Study section). The beauty of ANP method is that it provides an effective mechanism for decision-makers to conduct quantitative evaluation of interrelations between either paired criteria or paired subcriteria; and this makes it possible for decisionmakers to reuse expertise for commercial real estate development with regard to the assessment of all defined risk (see Table 1). As illustrated in Figure 2, the ANP model consists of 4 clusters, including Alternatives, Environmental Risk, Social Risk, and Economic


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Risk. There are total 23 nodes inside the ANP model. Amongst them, there are 3 nodes inside the Alternative cluster including Plan A, Plan B, and Plan C, which are alternative plans for a specific commercial real estate development in Liverpool and were adopted in an experimental case study in this research to demonstrate effectiveness of ANP application in finding the most appropriate plan. On the other hand, the rest 20 nodes are located in other 3 clusters in accordance with their belongingness to those clusters as described in Table 1. In addition, two-way and looped arrow lines in Figure 2 describe interdependences existing between paired clusters as well as nodes (Saaty, 2005). In other words, there are fixed interrelations between paired clusters, meanwhile there are also fixed interrelations between paired nodes inside one cluster as well as from two different clusters. To quantitatively measure all interrelations inside the ANP model, a questionnaire survey concerning the comparison of relative importance between paired clusters as well as nodes is normally required. By using the questionnaire survey, it can be expected that experts’ knowledge about each specific domain are collected and the concentrated into an ANP model; as a result, the ANP model can perform as a decision-making support tool based on

knowledge of reuse. In this paper, the ANP model was set up by the authors only; and the model will be further developed based on questionnaire survey after a pilot study through the experimental case study to be described below. The structure of the ANP model is illustrated in Figure 2; however, in order to quantify all possible interdependent relations inside the model, pair-wise comparison was adopted using subjective judgments made in regard to fundamental scale of pair-wise judgments (Saaty, 2005) (see Table 3). Table 3 gives a general description about how to conduct pair-wise comparison between paired clusters as well as nodes regarding their interdependences defined in the ANP model (see Figure 2) and relative importance based on their specific characteristics and experts’ knowledge. In this paper, the ANP model was set up based on authors’ knowledge about risk assessment criteria, which has been used to make judgments in quantifying interdependences for the 20 risk assessment criteria inside cluster 2 to 4 except the 3 alternatives in cluster 1 (see Figure 2), and specific characteristics of alternative plans (see Table 4), which has been used to make judgments in quantifying interdependences for alternatives in the experimental case study.

43


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

(Courtesy of Creative Decisions Foundation) Source: Nabarro, R., Key, T., 2005 Figure 2 The ANP model for risk assessment in commercial real estate development Table 3 Judgments between paired clusters/nodes in the ANP model

Clusters/Nodes Cluster I Node Ii

Cluster J Node Jj

±1

±2

Scale of pair-wise comparisons ±3 ±4 ±5 ±6 ±7

±8

±9

Source: French, N., French, S., 1997 Note: 1. The fundamental scale of pair-wise judgments: 1 = Not important, 2 = Not to moderately important, 3 = Moderately important, 4 = Moderately to strongly important, 5 = Strongly important, 6 = Strongly to very strongly important, 7 = Very strongly important, 8 = Very strongly to extremely important, 9 = Extremely important. 2. The symbol ✗ denotes item under selection for pair-wise judgment, and the symbol ✓ denotes selected pair-wise judgment. 3. J and I denote the number of Clusters, whilst j and i denote the total number of Nodes. 4. The symbol ± denotes importance initiative between compared Nodes or Clusters.

44


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Experimental case study To demonstrate effectiveness of applying the ANP model to select the most appropriate plan for a specific commercial real estate development, an experimental case study was conducted here based on information collected from

an ongoing urban regeneration project in Liverpool; and some scenarios such as alternative plans concerning the requirements of comparison study using ANP models. Details of the experimental case are described below.

(Courtesy of Stephen Barter, Grosvenor) Source: Blundell, G.F., Fairchild, S., Goodchild, R.N., 2005 Figure 3 A commercial real estate developments in Liverpool

The proposed commercial real estate development was located in central Liverpool. The site area was about 40 acres and it was compared with main retail areas, inner central business district (CBD), residential areas, walk streets, main roads, and the old Albert Dock along the River Mersey (see-highlighted area in Figure 3). The developer worked closely in partnership with the city council to revitalise this deprived area not only for short-term attractions

such as the local event of European Capital of Culture in 2008 but also for long-term urban renaissance in regard to northwest regional economic strategy under sustainable development regime in Merseyside. For the purpose of experimental case study, three development plans were considered in this research; and they were a retail-led mixed-use inner CBD development (called Plan A), an office-led adjacent inner CBD development (called Plan B), and an en-

45


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

tertainment-led adjacent inner CBD development (called Plan C). This scenario was made based on the philosophy of local urban renaissance, which aims to attract back to Liverpool a higher proportion of catchment population currently lost to outer retail parks and shopping centres such as the Trafford Centre, and to maximise the use of current and future transport infrastructures such as the Merseytram, focused on city centre (Mynors, 2006). Accordingly, specific assumptions were made in regard to normal characteristics of each kind of plans; and the details of those assumptions are summarised in Table 3 according to defined risk measurement methods as given in Table 1.

Based on the scenario of three alternative development plans for the specific site, further assumptions were made in Table 4. To make more reasonable assumptions, information from actual projects was considered. In this regard, one important information source was BCIS (Building Cost Information Service), which was the UK’s leading provider of cost and price information for construction and property occupancy. As mentioned above, although interdependences among 20 risk assessment criteria can be measured based on experts’ knowledge, the ANP model should comprehend all specific characteristics of each alternative plan, which are given in Table 4.

Table 4 Assumptions of alternative development plans for ANP evaluation Criteria Environmental risks Social risks

Economic risks

Sub-Criteria Environment impacts Climate change Workforce availability Cultural compatibility Community acceptability Public hygiene Interest rate Property type Market liquidity Confidence to the market Demand and Supply Purchaseability Brand visibility Capital exposure Lifecycle value Area accessibility Currency conversion Buyers Tenants Investment return

Unit % % % % % % % % % % % % % % % % % % % %

Note: 1. Plan A: a retail-led mixed-use inner CBD development 2. Plan B: an office-led adjacent inner CBD development 3. Plan C: an entertainment-led adjacent inner CBD development

46

Plan A -124 40 100 80 100 80 70 80 90 90 100 100 100 90 -5 90 30 80 100 10

Alternatives Plan B -108 50 90 70 100 100 80 80 80 80 70 100 90 85 -5 80 60 50 80 7

Plan C -180 60 90 90 100 60 60 80 100 100 90 100 90 75 -5 70 20 90 100 8


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

According to the fundamental scale of pair-wise judgments (see Table 3), all possible interdependences between each alternative plan and each risk assessment criterion, and between paired risk assessment criteria in regard to each alternative plan were valuated; and Box 1 provides results of all these pair-wise comparisons, which were then used to form a two-dimensional super-matrix for further calculation. The calculation of super-matrix aims to form a synthesized super-matrix to allow a resolution of the effects of the interdependences that existed between the nodes and the clusters of the ANP model (Saaty, 2005). In order to obtain useful information

for development plan selection, the calculation of super-matrix was conducted following three steps, which transform an initial super-matrix, or un-weighted one (see Box 1) based on pair-wise comparisons with a weighted super-matrix, and then to a synthesized super-matrix. Results from the synthesized super-matrix were given in Table 5. According to the results, Plan A was identified as the most appropriate plan for the specific development because it has the highest synthesized priority weight among the 3 alternatives. As result, it is the suggestion of ANP to select Plan A for the regeneration project in Liverpool.

Box 1 Un-weighted super matrix based on initial pair-wise comparisons among paired nodes Nodes 1.1 Plan A 1.2 Plan B 1.3 Plan C 2.1 Envir~ 2.2 Clima~ 3.1 Workf~ 3.2 Cultu~ 3.3 Commu~ 3.4 Publi~ 4.1 Inter~ 4.2 Prope~ 4.3 Marke~ 4.4 Confi~ 4.5 Deman~ 4.6 Purch~ 4.7 Brand~ 4.8 Capit~ 4.9 Lifec~ 4.10 Area~ 4.11 Curr~ 4.12 Buye~ 4.13 Tena~ 4.14 Inve~

1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8 4.9 4.10 4.11 4.12 4.13 4.14 0.00000 0.85714 0.85714 0.69600 0.70500 0.74200 0.73100 0.66484 0.66700 0.62563 0.60456 0.61441 0.44444 0.99155 0.31081 0.66667 0.61441 0.44444 0.10473 0.11301 0.63010 0.10065 0.53961 0.75000 0.00000 0.14286 0.22900 0.21100 0.18300 0.18800 0.09023 0.22200 0.23824 0.10480 0.11722 0.11111 0.00545 0.19580 0.16667 0.26837 0.11111 0.25827 0.65193 0.21844 0.67381 0.16342 0.25000 0.14286 0.00000 0.07500 0.08400 0.07500 0.08100 0.24493 0.11100 0.13614 0.29064 0.26838 0.44444 0.00299 0.49339 0.16667 0.11722 0.44444 0.63700 0.23506 0.15146 0.22554 0.29696 0.50000 0.50000 0.44993 0.00000 1.00000 0.20000 0.85714 0.85714 0.90000 0.50000 0.16667 0.24998 0.16667 0.50000 0.50000 0.50000 0.16667 0.50000 0.83333 0.50000 0.50000 0.75000 0.20000 0.50000 0.50000 0.55007 1.00000 0.00000 0.80000 0.14286 0.14286 0.10000 0.50000 0.83333 0.75002 0.83333 0.50000 0.50000 0.50000 0.83333 0.50000 0.16667 0.50000 0.50000 0.25000 0.80000 0.25031 0.23509 0.36552 0.20939 0.31032 0.00000 0.06040 0.05605 0.46669 0.45186 0.04355 0.34302 0.06356 0.22839 0.08477 0.25000 0.25000 0.03208 0.05089 0.57143 0.05434 0.06645 0.25000 0.06811 0.63961 0.30503 0.06972 0.07168 0.12478 0.00000 0.20370 0.06668 0.23452 0.56782 0.09911 0.25424 0.21029 0.13251 0.25000 0.25000 0.26016 0.20205 0.14286 0.43957 0.10543 0.25000 0.03792 0.06265 0.14604 0.09891 0.11346 0.15037 0.20992 0.00000 0.46664 0.14974 0.19385 0.09530 0.11370 0.11059 0.13252 0.25000 0.25000 0.09345 0.11022 0.14286 0.06654 0.14008 0.25000 0.64366 0.06265 0.18341 0.62197 0.50454 0.72484 0.72967 0.74025 0.00000 0.16387 0.19478 0.46257 0.56850 0.45072 0.65020 0.25000 0.25000 0.61431 0.63685 0.14286 0.43955 0.68804 0.25000 0.03231 0.06538 0.06138 0.03889 0.05443 0.05300 0.07143 0.06005 0.06114 0.00000 0.06456 0.06240 0.20594 0.07692 0.28535 0.06308 0.26800 0.02035 0.03548 0.06123 0.03525 0.25004 0.06357 0.05311 0.03927 0.04610 0.05001 0.10466 0.03221 0.07143 0.09309 0.22587 0.06380 0.00000 0.07162 0.07099 0.07692 0.06758 0.13430 0.04334 0.08402 0.09442 0.02433 0.04906 0.21322 0.08648 0.03265 0.10228 0.02330 0.03590 0.01835 0.02486 0.07143 0.06070 0.02891 0.04465 0.04392 0.00000 0.10279 0.07692 0.06373 0.07154 0.02546 0.02757 0.04073 0.21509 0.02852 0.03604 0.05653 0.03246 0.10219 0.04601 0.10633 0.08136 0.13800 0.07143 0.09844 0.02393 0.05181 0.11882 0.08728 0.00000 0.07692 0.07630 0.04075 0.04172 0.01938 0.06577 0.12594 0.02856 0.04351 0.05032 0.11791 0.06678 0.11919 0.03142 0.06337 0.04678 0.07143 0.03807 0.03937 0.04953 0.04849 0.07584 0.12419 0.00000 0.13595 0.09689 0.04342 0.01913 0.09097 0.15906 0.13638 0.07021 0.07933 0.02921 0.01850 0.09939 0.02557 0.05564 0.13454 0.07143 0.05943 0.02299 0.06614 0.09041 0.06008 0.04210 0.07692 0.00000 0.06518 0.02841 0.01851 0.05050 0.07534 0.02421 0.06355 0.01528 0.09114 0.04699 0.05497 0.09842 0.05015 0.09647 0.07143 0.12940 0.11444 0.10886 0.10768 0.13828 0.04558 0.07692 0.01994 0.00000 0.07439 0.11923 0.04784 0.02090 0.09790 0.02840 0.02127 0.03557 0.04199 0.06791 0.06915 0.02979 0.04044 0.07143 0.02014 0.02426 0.08485 0.05683 0.02956 0.03867 0.07692 0.01395 0.03553 0.00000 0.09408 0.04365 0.07433 0.06458 0.01485 0.02838 0.03182 0.02303 0.11058 0.17949 0.18311 0.13057 0.07143 0.09509 0.15186 0.12947 0.08555 0.13821 0.14455 0.07692 0.06943 0.19062 0.13302 0.00000 0.12161 0.04732 0.13869 0.01801 0.10774 0.29707 0.05442 0.12489 0.05499 0.06864 0.05440 0.07143 0.13325 0.13855 0.12542 0.11922 0.14616 0.04920 0.07692 0.09460 0.08906 0.09291 0.17150 0.00000 0.01700 0.24104 0.16720 0.10887 0.02988 0.10379 0.02064 0.00965 0.01105 0.03465 0.07143 0.01306 0.01745 0.03120 0.02330 0.03324 0.04611 0.07692 0.06250 0.01940 0.01437 0.01874 0.01131 0.00000 0.01960 0.02045 0.01772 0.04775 0.12988 0.04987 0.08392 0.03748 0.03676 0.07143 0.06388 0.05717 0.06663 0.07273 0.05269 0.05785 0.07692 0.04695 0.07249 0.03743 0.12875 0.14005 0.04868 0.00000 0.05780 0.18227 0.02958 0.10309 0.09035 0.08392 0.03748 0.03676 0.07143 0.06388 0.05717 0.06663 0.07273 0.05269 0.04362 0.07692 0.04695 0.07249 0.03743 0.12875 0.14005 0.04868 0.04532 0.00000 0.18227 0.13953 0.10242 0.08542 0.13234 0.20450 0.14056 0.07143 0.07152 0.03689 0.11102 0.09577 0.05196 0.02840 0.07692 0.01677 0.04868 0.16010 0.14999 0.11763 0.08209 0.09089 0.01673 0.00000

Source: CISDM Research Department, 2006

47


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Table 5 Comparisons of alternative development plans based on ANP modelling

Results Synthesized priority weights Ranking

Plan A 0.5585 1

Plan alternatives Plan B 0.2644 2

Plan C 0.1771 3

Source: CISDM Research Department, 2006

Conclusions and Suggestions This paper presents a novel approach of risk assessment in commercial real estate development at feasibility study stage in regard to a holistic evaluation of its sustainability. An ANP model was set up based on 20 defined risks associated with commercial real estate development; and these risk assessment criteria were classified under 3 clusters, including environmental risks, social risks, and economic risks, to ensure a comprehensive coverage of possible risks in generic sustainability-led assessment. The ANP model was tested in an experimental case study with necessary assumptions based on an urban regeneration project in Liverpool. Results from the experimental case study revealed that the ANP model is effective in supporting decision-making in finding the most appropriate development plan for a specific project with regard to all adopted risk assessment criteria. Therefore, it is expected that the ANP model presented here with the potentials of minimising risks could be widely adopted by developers in commercial real estate development if a convincible or reliable knowledge-driven risks assessment is required.

48

A four-step procedure was suggested in Figure 1 to apply ANP method on risk assessment for commercial real estate development. Accordingly, this paper demonstrated processes to achieve a final solution of ANP modelling. Comparing to other risk assessment methods such as using matrix or ratings, the ANP method has a great range of advantages such as a reliable inclusiveness of interdependences among different risk assessment criteria, and an integrated evaluation of both qualitative and quantitative risks. In this regard, the construction of an ANP model is significantly important in this procedure. Although it has adopted 20 risk assessment criteria for the ANP model, which were subjectively selected and defined based on current practice in risk analysis for real estate development, the demonstration has provided a satisfied result to support the developer’s decision made for the regeneration project. However, further efforts will be put to objectively select the risk assessment criteria, and to use quantitative analysis methods from market risks research such as the CAPM (Capital Asset Pricing Model) method (Sagalyn, 1990) to objectively measure the criteria for risks assessment.


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Further research will also explore more applications of the ANP model in real commercial projects with a focus on not only its effectiveness but also model improvement in terms of different network structures of the ANP model with regard to higher performance in decision-making support. Meanwhile, comparison studies with the adoption of other risk assessment methods will be conducted to further prove the advantages of using ANP method. In addition, technical risks will also need to be incorporated with sustainability assessment.

References Adair, A., Hutchison, N. (2005). The reporting of risk in real estate appraisal property risk scoring. Journal of Property Investment and Finance, 23(3), 254-268. Bank of England. Financial Stability Board. (2007). Financial stability report, April 2007, Issue No. 21. Retrieved November 12, 2007, from http://www.bankofengland.co.uk/ publications/fsr/index.htm Bienert, S., Brunauer, W. (2007). The mortgage lending value: prospects for development within Europe. Journal of Property Investment & Finance, 25(6), 542-578. Blundell, G.F., Fairchild, S., Goodchild, R.N. (2005). Managing portfolio risk in real estate. Journal of Property Research, 22(2&3), 119-136. Booth, P., Matysiak, G., Ormerod, P. (2002). Risk measurement & management for real estate portfolios. London: Investment Property Forum.

Case, K.E., Sheller, R.J., Weiss, A.N. (1995). Mortgage default risk and real estate prices: The use of index-based futures and options in real estate. Journal of Housing Research, 7(2), 243-258. Chen, Z. (2007). Multicriteria decision-making for the sustainable built environment. Reading, UK: University of Reading. Chen, Z., Clements-Croome, D., Hong, J., Li, H., Xu, C. (2006). A multicriteria lifespan energy efficiency approach to intelligent building assessment. Energy and Buildings, 38(5), 393-409. Chen, Z., Li, H., Wong, C.T.C. (2005). Environmental planning: an analytic network process model for environmentally conscious construction planning. Journal of Construction Engineering and Management, 131(1), 92-101. CISDM Research Department (2006). To the Heart of Risk Management: Teaching Project Teams to Combat Risk, Presented Paper in the 30th Annual Project Management Institute 1999 Seminar & Symposium, Philadelphia, U.S.A. Clarke, J.,C. and Varma, S. (1999). Strategic risk management: The new competitive edge. International Journal of Strategic Management, 32(4), 414-424. Danter Company. (2007). A Sample lodging analysis in the City of Grove, Ohio. Retrieved August 21, 2008, from http://www. danter.com/PRODUCT/samplodg.pdf

49


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Dun & Bradstreet Inc. (2007). Risk Management. Retrieved December 3, 2009, from http:// www.dnb.co.uk/Risk_ Management/Risk_ Management.asp Financial Services Authority. (2005). Strengthening capital standards. Retrieved July 23, 2006, from http://www.fsa.gov.uk/pubs/cp/cp05_03. pdf Fisher, J.D., Geltner, D.M., Webb, R.B. (1994). Value indices of commercial real estate: A comparison of index construction methods. Journal of Real Estate Finance and Economics, 9(2), 137-164. French, N., French, S. (1997). Decision theory and real estate investment. Journal of Property Valuation and Investment, 15(3), 226-232. Gibson, V.A., Louragand, M. (2002). Risk management and the corporate real estate portfolio, working paper, Centre for Real Estate Research, Business School, University of Reading, UK. Retrieved October 15, 2002, from http://www.reading.ac.uk/LM/LM/ fulltxt/0202.pdf He, Z. (1995). Risk management for overseas construction projects. International Journal of Project Management, 13(4), 231-237. Huffman, F.E. (2002). Corporate real estate risk management and assessment. Journal of Corporate Real Estate, 5(1), 31-41. Lee, S.L. (2002). When does direct real estate improve portfolio performance?, working paper, Centre for Real Estate Research, Business School, University of Reading, UK. Retrieved Mach 10, 2004, from http://www. reading.ac.uk/LM/LM/fulltxt/1703.pdf

50

Moore, W. (2006). Five ways to reduce commercial real estate risks, Working paper, Pacific Security Capital, Beaverton, USA. Retrieved September 12, 2009, from http:// www.pacificsecuritycapital.com/index. cfm?action=hom.data&pageid=364 Morledge, R., Smith, A., Kashiwagi, D.T. (2006). Building Procurement. Oxford: Blackwell Publishing. Mynors, P. (2006). What do we need to consider to deliver a more sustainable city? Presentation, CATCH Dissemination Event, Liverpool, 28-29 June 2005. Nabarro, R., Key, T. (2005). Performance measurement and real estate lending risk. Retrieved June 12, 2006, from Real estate indicators and financial stability, BIS Papers No 21, Bank for International Settlements (BIS) Website: http://www.bis.org/publ/bppdf/ bispap21.htm Nakagawa, T., Sekitani, K. (2004). A Use of analytic network process for supply chain management. Asia Pacific Management Review, 9(5), 783-800. Rafele, C., Hillson. D., Grimalai, S. (2005). Understanding project risk exposure using the two-dimensional risk breakdown matrix. Retrieved December 14, 2006, from Proceeding papers of 2005 Project Management Institution Global Congress, Edinburgh, Scotland Website: http://www.risk-doctor. com/pdf-files/pmi-e-rbmpaper.pdf Saaty, T.L. (1999). Fundamentals of the analytic network process. Proceeding for ISAHP Conference, Kobe, Japan, August 12-14, 1999.


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Saaty, T.L. (2005). Theory and applications of the analytic network process. Pittsburgh: RWS Publications. United Nations Environment Programme. (2007). Buildings and climate change-status, challenges and opportunities. Nairobi, Kenya: UNEP.

University of Massachusetts. Centre for International Securities and Derivatives Markets. Benefits of real estate investment: 2006 update. Retrieved April 16, 2007, from http://cisdm.som.umass.edu/research/pdffiles/ benefitsofrealestate.pdf

Arun Sirijanusorn was born in Thai, in 1979. He received the B.Arch. degree from Khonkean University, Thailand, in 1999, the M.Arch. Degree from Chulalongkorn University, Thailand, in 2002, and Ph.D. major in land & resource management degree from Chulalongkorn University, Thailand, in May 2010. He joined as an instructor of Faculty of Engineering and Technology, Panyapiwat Institute of Management, from 2010 to present. His research interests are in real estate management, facility management, retail management, project management and environmental impact assessment.

51


¤Ø

³¤‹ÒμÃÒÊÔ¹¤ŒÒ ¤ÇÒÁäÇŒÇҧ㨠áÅФÇÒÁ¾Ö§¾Í㨷ÕÁè ¼Õ Åμ‹Í ¤ÇÒÁÀÑ¡´Õμ‹ÍμÃÒÊÔ¹¤ŒÒ CAT CDMA (ᤷ «Õ´ÕàÍçÁàÍ) Brand Equity, Trust and Satisfaction Affecting Brand Loyalty of CAT CDMA มีนา อองบางนอย นิสิตปริญญาโท คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Email: morkrong@hotmail.com ดร.พนิต กุลศิริ อาจารยประจําภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ E-mail: panidkul@yahoo.com

บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณคาตราสินคา ความไววางใจ และความพึงพอใจที่มีผล ตอความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดเี อ็มเอ) กลุม ตัวอยาง คือ ผูใ ชบริการ CAT CDMA ทั่วประเทศจํานวน 394 คน ผลการวิจัยพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย มีอายุระหวาง 25-34 ป มีการศึกษาระดับปริญญาตรี เปนพนักงานบริษัทเอกชน มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนอยูในชวง 20,001-25,000 บาท ระดับคุณคาตราสินคา ความไววางใจ ความพึงพอใจ และความภักดี ตอตราสินคา CAT CDMA อยูในระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมติฐานพบวา ความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานความเหนือกวา ตราสินคาอื่นมีความสัมพันธกับเพศ การตระหนักรูตราสินคาในดานการจดจําได คุณภาพที่ ถูกรับรูใ นดานความนาเชือ่ ถือและการตอบสนอง การเชือ่ มโยงกับตราสินคาในดานคุณสมบัติ และความพึงพอใจในดานกระบวนการบริการ ลักษณะทางกายภาพของบริการและพนักงาน ผูใหบริการ

52


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA ดานการยอมรับคุณภาพของตราสินคา มีความสัมพันธ กับเพศ การตระหนักรูตราสินคาในดานการจดจําได คุณภาพที่ถูกรับรูในดานความเปน รูปธรรม ความนาเชือ่ ถือและการตอบสนอง การเชือ่ มโยงกับตราสินคาในดานคุณสมบัติ และ ความพึงพอใจในดานกระบวนการบริการและพนักงานผูใหบริการ ความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานความสามารถตอบสนองความตองการได มีความ สัมพันธกับเพศ การเชื่อมโยงกับตราสินคาในดานคุณสมบัติและดานทัศนคติ และความ พึงพอใจในดานกระบวนการบริการและพนักงานผูใหบริการ คําสําคัญ: คุณคาตราสินคา ความไววางใจ ความพึงพอใจ ความภักดีตอตราสินคา แคท ซีดีเอ็มเอ

Abstract The objective of this research aims to study the effect of brand equity, trust and satisfaction on CAT CDMA brand loyalty. The sample was 394 CAT CDMA’s customers in Thailand. According to the research findings, the majority of consumers are male, aged between 25 and 30 years old. The academic background is mostly at an undergraduate level. Most of participants are private company employees with average monthly income ranging between 20,001 and 25,000 baht. Overall consumers’ brand equity, trust, satisfaction and brand loyalty of CAT CDMA is at moderate level. From results of the hypotheses test, the brand loyalty in an aspect of brand advantage has relationships with gender; brand awareness in terms of brand recognition; perceived quality in terms of reliability and responsiveness; brand association in terms of attributes; and satisfaction in terms of service process, service’s physical evidence and personnel. In addition, the brand loyalty in the aspect of brand performance has relationship with gender; brand awareness in terms of brand recognition, perceived quality in terms of tangibility, reliability and responsiveness; brand association in terms of attributes; and satisfaction in terms of service process and personnel. Lastly, the brand loyalty in the aspect of relevance has relationships with gender, brand association in terms of attributes and attitude, and satisfaction in terms of service process and personnel. Keywords: Brand equity, Trust, Satisfaction, Brand loyalty, CAT CDMA

53


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

บทนํา ธุรกิจสือ่ สารโทรคมนาคมเปนธุรกิจทีก่ าํ ลังเจริญ เติบโตและแขงขันกันอยางรุนแรง บริการโทรศัพท เคลื่อนที่เปนอีกธุรกิจหนึ่งที่มีการพัฒนาเทคโนโลยี อยางตอเนือ่ ง และเขามาเกีย่ วของกับกิจวัตรประจําวัน จนแทบจะกลายเปนปจจัยพื้นฐานที่สําคัญในการ ดําเนินชีวิต ขณะนี้การพัฒนาเทคโนโลยีโทรศัพท เคลื่อนที่ในประเทศไทยกําลังกาวสูยุคที่ 3 (Third Generation: 3G) ซึง่ การใหบริการโทรศัพทเคลือ่ นที่ ของไทยปจจุบันมี 2 ระบบ คือ โทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบจี เ อสเอ็ ม (Global System for Mobile Communications: GSM) และโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบซีดีเอ็มเอ (Code Division Multiple Access: CDMA) กอนหนานี้ระบบจีเอสเอ็ม มีการใชงานกวา

รอยละ 80 ทั่วโลก แตการที่จะกาวเขาสูเทคโนโลยี 3 จี (3G) ระบบที่ไดรับการยอมรับ และนิยมใชกัน อยางแพรหลายในขณะนี้ คือ ซีดีเอ็มเอ ทูเทาซัน (CDMA2000) ในปจจุบัน CDMA2000 มีสวนแบง ทางการตลาดรอยละ 54 ของตลาด 3G ทั่วโลก (บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน), 2552) สภาพการแขงขันตลาดธุรกิจโทรศัพทเคลือ่ นทีใ่ น ประเทศไทย จากจํานวนผูใ ชบริการ ณ สิน้ ไตรมาส 1 ป 2552 มีจาํ นวนทัง้ สิน้ 63.25 ลานราย สวนแบงตลาด การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่สวนมากอยูที่ผูให บริการระบบจีเอสเอ็มเพียง 3 รายใหญ ไดแก AIS รอยละ 43.48 DTAC รอยละ 29.95 และ True Move รอยละ 23.72 ตามลําดับ ดังรูปที่ 1

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ. สํานักพัฒนานโยบายและกฎกติกา. (2552). รูปที่ 1 สวนแบงตลาดบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2552

โทรศัพทเคลื่อนระบบซีดีเอ็มเอ (Hutch และ CAT CDMA) มี ส  ว นแบ ง ตลาดในธุ ร กิ จ บริ ก าร โทรศัพทเคลื่อนที่เพียงรอยละ 2.69 เปนการสะทอน ให เ ห็ น ว า ผู  ใ ห บ ริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ร ะบบ ซีดีเอ็มเอ ตองมีการพัฒนาบริการและกลยุทธดาน การตลาดอย า งเข ม ข น เพื่ อ บริ ห ารตราสิ น ค า ให แข็งแกรงเกิดคุณคาในสายตาผูบริโภคใหมากขึ้น ดังนัน้ นอกจากประสิทธิภาพของระบบโครงขายและ

54

การบริการของผูใหบริการในระบบซีดีเอ็มเอแลว คุณคาตราสินคาทีผ่ บู ริโภคตระหนักไดจะตองเปนไป ในทิศทางเดียวกัน เพื่อใหเกิดประสิทธิผลของธุรกิจ โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบซีดีเอ็มเอ ใหสามารถเขาไป นั่งอยูในใจของกลุมผูบริโภคเปาหมายได ปจจุบันบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบซีดีเอ็มเอ ในประเทศไทยมี 2 สวน คือ


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

1. โครงขายในภาคกลาง 25 จังหวัด เครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบซีดีเอ็มเอ ทูเทาซัน วันเอ็กซ (CDMA2000 1X) โดยบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ CAT TELECOM Public Company Limited หรื อ “แคท” (CAT) ได ใ ห บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมิเดีย จํากัด (Hutchison CAT Wireless Multimedia Co., Ltd.) ดําเนินงานการตลาดภายใตตราสินคา Hutch (ฮัทช) 2. โครงขายที่เหลือใน 51 จังหวัดทั่วประเทศ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ CAT เปนเจาของโครงขายเอง และติดตัง้ โดยบริษทั หัวเวย เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด (Hauwei) ดวย จํานวน 1,600 สถานีฐาน (Base station) มูลคา 7,200 ลานบาท และดําเนินการดานการตลาดเอง ภายใตตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) (บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน), 2552)

ทีม่ า: บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน). (2552). รูปที่ 2 ตรา CAT CDMA

ตราสินคามีความสําคัญการทีจ่ ะกอใหเกิดคุณคา ในสายตาของผูบ ริโภคนัน้ จะตองอาศัยขอมูลความรู เกี่ยวกับความตองการของผูบริโภคเปนหลัก โดยจะ ตองนําเสนอผลิตภัณฑและบริการทีส่ ามารถตอบสนอง ความตองการของผูบ ริโภคแตละรายไดตรงเปาหมาย จะทํ า ให ผู  บ ริ โ ภคเกิ ด ความพึ ง พอใจ เชื่ อ มั่ น และ ไววางใจในการอุปโภคบริโภคสินคาและบริการ จน ทําใหผูบริโภคตัดสินใจซื้อสินคาและนํามาซึ่งความ ภักดีตอตราสินคาไดในที่สุด วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ข องลั ก ษณะ ประชากรศาสตร ประกอบดวย เพศ อายุ ระดับ

การศึกษาสูงสุด อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน และ ภูมภิ าคทีพ่ กั อาศัย กับความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) 2. เพือ่ ศึกษาความสัมพันธของคุณคาตราสินคา ดานการตระหนักรูตราสินคา คุณภาพที่ถูกรับรู และ ความเชื่อมโยงกับตราสินคา กับความภักดีตอตรา สินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) 3. เพือ่ ศึกษาความสัมพันธของความไววางใจกับ ความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดเี อ็มเอ) 4. เพื่อศึกษาความสัมพันธของความพึงพอใจ ดานกระบวนการบริการ ลักษณะทางกายภาพของ บริการและพนักงานผูใหบริการ กับความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) ทบทวนวรรณกรรม 1. แนวคิดและทฤษฎีเรื่องคุณคาตราสินคา (Brand Equity) ไดมีการคิดคนและพัฒนามาในยุคทศวรรษที่ 1980 (Keller, 1998) โดยมีแนวคิดเกีย่ วกับตราสินคา (Brand) เปนพืน้ ฐาน สวนแบบจําลองคุณคาตราสินคา (Brand Equity Model) ของ อารเคอร (Aaker, 1991) ไดอธิบายวาคุณคาของตราสินคานั้นมีองคประกอบ ไดแก การตระหนักรูชื่อตราสินคา (Brand Name Awareness) คุณภาพทีถ่ กู รับรู (Perceived Quality) การเชื่อมโยงกับตราสินคา (Brand Associations) ความภักดีตอตราสินคา (Brand Loyalty) สินทรัพย ประเภทอื่นๆ ของตราสินคา (Other Proprietary Brand Assets) การตระหนักรูต ราสินคา (Brand Awareness) เคลเลอร (Keller, 2003) กลาววา การตระหนักรู ตราสินคา คือ ความสามารถในการแยกแยะหรือระบุ ถึงตราสินคาภายใตสถานการณที่ตางกันออกไปได ซึ่งเปนผลมาจากความแข็งแกรงของปมขอมูลเกี่ยว กับตราสินคา (Brand Node) ในความทรงจําของ ผูบ ริโภค โดยการตระหนักรูต ราสินคานัน้ สามารถแบง

55


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ออกเปน 2 ระดับ คือ ระดับการจดจําได (Recognition) และระดับการระลึกได (Recall) ถึงตราสินคา คุณภาพที่ถูกรับรู (Perceived Quality) คุ ณ ภาพที่ ถู ก รั บ รู  หมายถึ ง ความรู  สึ ก ของ ผูบริโภคที่รับรูถึงคุณภาพที่เหนือกวาของสินคาหรือ บริการ คุณภาพที่ถูกรับรูยังสามารถชวยสรางความ แตกตาง (Differentiation) และกําหนดตําแหนง (Positioning) ใหกับตราสินคา อีกทั้งยังใหเจาของ ตราสินคาตั้งราคาในระดับที่สูง (Aaker, 1991) การ ประเมินคุณภาพบริการใหลูกคาเกิดความพึงพอใจ จากปจจัย 5 ดาน (Parasurman, Berry & Zeithaml, 1988; Parasuraman & Grewal, 2000) ความเปน รูปธรรมของบริการ (Tangibles) ไดแก ความเชือ่ มัน่ (Reliability) การตอบสนอง (Responsiveness) การใหความมั่นใจแกลูกคา (Assurance) การเขาใจ และรูจักลูกคา (Empathy) การเชือ่ มโยงกับตราสินคา (Brand Associations) การเชื่ อ มโยงกั บ ตราสิ น ค า หมายถึ ง ทุ ก สิ่ ง ทุกอยางที่เชื่อมตอกับตราสินคาเขากับความทรงจํา บนพื้นฐานประสบการณของผูบริโภค การเชื่อมโยง ตราสินคาจะแข็งแกรงขึ้น หากไดรับการสนับสนุน ผานเครื่องมือการสื่อสารการตลาด ตราสินคาจึงมี สวนชวยใหผบู ริโภคสามารถดึงขาวเกีย่ วกับตราสินคา ออกมาจากความทรงจํา ทําใหสนิ คามีความแตกตาง จากคูแขง การเชื่อมโยงกับตราสินคานั้นสามารถ แบงออกไดเปน 3 ลักษณะ คือ การเชื่อมโยงดาน คุณสมบัติ (Attribute) การเชือ่ มโยงดานคุณประโยชน (Benefit) การเชื่ อ มโยงด า นทั ศ นคติ (Attitude) (Keller, 1993) ความภักดีตอตราสินคา (Brand Loyalty) ความภักดีตอ ตราสินคา หมายถึง ความพึงพอใจ ที่สมํ่าเสมอจนกระทั่งอาจมีการซื้อตราสินคาเดิมใน ผลิตภัณฑของบริษัทใดบริษัทหนึ่ง (Schiffman & Kanuk, 1994: 658) ความภักดีตอตราสินคาเปน

56

องคประกอบของคุณคาของตราสินคา (Brand Equity) ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ของคุณคาตราสินคา ถาผูบ ริโภคมีความ ภักดีตอ ตราสินคาในระดับสูงผูบ ริโภคมีการซือ้ สินคา อยางตอเนือ่ ง รวมทัง้ ยังเปนองคประกอบหลักทีท่ าํ ให ผูบ ริโภคเกิดการซือ้ ซํา้ ผูบ ริโภคทีม่ ปี ระสบการณการ ตอการใชสินคาก็จะสามารถลดตนทุนทางการตลาด ใหกบั ตราสินคานัน้ กิจการมีอาํ นาจในการตอรองกับ รานคาและยังชวยปกปองตราสินคาตอการคุกคาม จากคูแขง (Keller, 2003) 2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการวัด คุณคาตราสินคา นา, มารแชล และเคลเลอร (Na, Marshall & Keller, 1999) ไดทําการพัฒนากรอบความคิดเดิม (Traditional Framework) ของ เคลเลอร (Keller) ในป ค.ศ. 1993 ใหเปนแบบจําลองที่เรียกวา Brand Power Model เพือ่ ใชอธิบายเกีย่ วกับการสรางคุณคา ตราสินคาใหเกิดขึ้นผานทางการบริหารสวนประสม ทางการตลาด และพบวาผลของงานวิจยั นัน้ เปนทีน่ า พอใจ คริมมินส (Crimmins, 1992: 11) ไดนําเสนอ วิธีการวัดคุณคาเพิ่มของตราสินคา โดยการศึกษา จากการเลือกตราสินคาของผูบริโภค (Consumer Choice) โดยเปรียบเทียบอัตราสวนทางดานราคา ของตราสินคา 2 ตราภายใตเงือ่ นไขทีว่ า ตราสินคาทัง้ 2 ตราจะต อ งอยู  ใ นสภาวะและราคาที่ ผู  บ ริ โ ภคมี ความพึงพอใจในการซื้อเทากัน ซึ่งจะทําใหสามารถ เปรียบเทียบคุณคาเพิม่ ของตราสินคาทีม่ เี หนือคูแ ขง ได คอบบ วาลเกน, รูเบิล และดอนธู (Cobb-Walgen, Ruble & Donthu, 1995: 25) ทีศ่ กึ ษาคุณคาตราสินคา 2 ตราจากการรับรูข องผูบ ริโภค ไดแก การตระหนักรู ตราสินคา (Brand Awareness) ความเชื่อมโยงกับ ตราสินคา (Brand Preference) และคุณภาพทีถ่ กู รับรู (Perceived Quality) เปรียบเทียบระหวางตราสินคา ประเภทนํา้ ยาทําความสะอาดและตราสินคาประเภท บริการ คือโรงแรมที่มีความแตกตางกัน


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

3. แนวคิดและทฤษฎีเรื่องความไววางใจ เบอรรี่ และพาราสุรามาน (Berry & Parasuraman, 1991) กลาววา ความไววางใจ คือ ตัวชี้วัดผล ที่สําคัญเกี่ยวกับสัมพันธภาพที่ลูกคามีตอองคกร ธุรกิจการบริการ โดยธรรมชาติไมสามารถจับตอง ตัวผลิตภัณฑไดอยูแลว สเติรน (วรารัตน สันติวงษ, 2549 อางอิงจาก Stern, 1997: 7-17) กลาววา ความไววางใจ คือ พืน้ ฐานของความสัมพันธทางการ ติดตอสือ่ สารในการใหบริการแกลกู คา องคกรจําเปน ตองเรียนรูทฤษฎีความสัมพันธใกลชิด ความคุนเคย เพื่อครองใจลูกคา ซึ่งประกอบดวย 5C ไดแก การ สื่อสาร (Communication) ความดูแลและการให (Caring and Giving) การใหขอผูกมัด (Commitment) ทีเ่ กีย่ วพันกับลูกคา การใหความสะดวกสบาย (Comfort) หรือความสอดคลอง (Compatibility) การแกไขสถานการณความขัดแยง (Conflict) และ การใหความไววางใจ (Trust) 4. แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับความพึงพอใจ วรูม (Vroom, 1964: 99) อธิบายไววา ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติและความพึงพอใจในสิง่ หนึง่ สามารถใชแทนกันได เพราะคําสองคํานี้ หมายถึง ผลที่ไดจากการที่บุคคลไดเขาไปมีสวนรวมในสิ่งนั้น และทัศนคติดา นบวกจะแสดงใหเห็นสภาพความพึงพอใจในสิ่งนั้นๆ สวนทัศนคติดานลบจะแสดงใหเห็น สภาพความไมพึงพอใจ มอรส (Morse, 1955: 27) ใหความเห็นวา ความพึงพอใจ หมายถึง ทุกสิง่ ทุกอยาง ที่สามารถลดความเครียดของบุคคลใหนอยลง ถามี ความเครียดมากจะทําใหเกิดความไมพงึ พอใจในการ ทํากิจกรรมตางๆ การวัดความพึงพอใจจากปจจัยของสวนประสม ทางการตลาด (Marketing mix) หรือ 4 P’s (Product, Price, Place, Promotion) ที่คนพบโดย บอรเด็น (Borden) ในป 1962 ตอมาในป 1981 บี เอช บูมส และเอ็ม เจ บิทเนอร (B. H. Broom & M. J. Bitner)

จึงไดมีการประยุกตและพัฒนานําเรื่องงานบริการ เขาไปเกีย่ วของเปนสวนหนึง่ ของสวนประสมทางการ ตลาด ซึ่งไดเพิ่มเติมอีก 3 P’s ไดแก กระบวนการ ใหบริการ (Process) ลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) พนักงานผูใหบริการ (People) (ประเวศ ศุภเจริญผล, 2548: 20-21) 5. ประวั ติ แ ละคุ ณ สมบั ติ ข องโทรศั พ ท เคลื่อนที่ระบบซีดีเอ็มเอ และ CAT CDMA ระบบซีดเี อ็มเอ (Code Division Multiple Access: CDMA) ถูกพัฒนามาจากทีมวิศวกรของ Qualcomm Inc. ซึ่งเปนบริษัทที่เติบโตมากับเทคโนโลยีสเปรด สเปคตรัม (Spread Spectrum) หรือที่เรียกเปน ภาษาไทยวา “สเปคตรัมแถบกวาง” หรือ “ความถี่ แถบกวาง” (เศรษฐพงค มะลิสุวรรณ, 2552) ระบบซีดีเอ็มเอในประเทศไทย บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (CAT Telecom Public company limited) เริม่ วางเครือขาย ระบบซีดีเอ็มเอตั้งแตป 2540 และเปดใหบริการ อยางเปนทางการเมือ่ ป 2546 รวมกับบริษทั ฮัทชิสนั ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด หรือ ฮัทช เริ่มให บริ ก ารใน 25 จั ง หวั ด ในป 2547 ขยายบริ ก าร โทรศัพทมือถือระบบซีดีเอ็มเอในสวนภูมิภาค ของ CAT Telecom โดยบริษัท หัวเหวย เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด ในสวนโครงการขยายโทรศัพท เคลื่อนที่ CAT CDMA สวนภูมิภาค 51 จังหวัดที่ CAT ดําเนินงานเอง CAT CDMA เปนบริการโทรศัพทเคลือ่ นทีร่ ะบบ CDMA2000 1xEV-DO ที่ใชยานความถี่ 800 MHz ซึ่งมีความตางจากผูใหบริการรายอื่นๆ ในเรื่องของ เทคโนโลยีของระบบเครือขาย โดยที่ผูใหบริการ รายอืน่ นัน้ เปนระบบ GSM ทัง้ หมดแตใชยา นความถี่ ที่ตางกันออกไป การใชบริการสามารถติดตอขอใช บริการไดที่สํานักงานบริการลูกคาทั่วประเทศ และ Call Center ที่หมายเลข 1322

57


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ระบบ CDMA เปนเทคโนโลยีที่แกไขขอจํากัด ของการสื่อสารแบบไรสายในปจจุบันดวยวิธีงายๆ และมีประสิทธิภาพ ในเรื่องความจุของชองสัญญาณ เนือ่ งจากระบบ CDMA จะลดขอมูลในการสงสัญญาณ ลงเมื่อไมมีการพูด เมื่อไมมีขอมูลที่จะสงหรือมีนอย กําลังสงจะลดลง สัญญาณรบกวนในระบบมีนอย และมีความยืดหยุนของรูปแบบการสงขอมูล (Radio Configuration) ทําให CDMA รองรับผูใชบริการได มากกวาและบริหารทรัพยากรไดเหมาะสมกวาระบบ อื่นๆ (บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน), 2552) วิธีการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนที่ ใชบริการ CAT CDMA ทัว่ ประเทศ จํานวน 350,000 ราย (บรรณาธิการ, 2552: 8) กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยางในการวิจัยโดยใชสูตรของยามาเน (Taro Yamane) เพื่อกําหนดขนาดตัวอยางของ ประชาชนที่ใชบริการ CAT CDMA ที่ระดับความ เชื่อมั่นรอยละ 95 ยอมใหคลาดเคลื่อนรอยละ 5 (Yamane, 1967: 729) พบวา จะตองใชกลุม ตัวอยาง จํานวน 400 คน โดยการสุม ตัวอยางแบบหลายขัน้ ตอน (Multi-stage Random Sampling) มีขั้นตอนการสุม ตัวอยาง ดังนี้ ขั้ น ที่ 1 ใช วิ ธี ก ารสุ  ม ตั ว อย า งแบบชั้ น ภู มิ (Stratified sampling) โดยแบงออกเปน 2 กลุม กลุมแรก คือ ประชากรที่ใชโทรศัพทเคลื่อนที่ใน กรุงเทพฯ และปริมณฑล กลุมที่ 2 คือ ประชากรที่ ใชโทรศัพทเคลือ่ นทีใ่ นสวนภูมภิ าค โดยแบงออกเปน 6 ภาค ไดแก ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต ขั้ น ที่ 2 ใช วิ ธี ก ารสุ  ม ตั ว อย า งแบบเจาะจง (Purposive sampling) พิจารณาเลือกกรุงเทพฯ ซึ่ง

58

เปนเมืองหลวง และเลือกพืน้ ทีต่ วั อยางจากปริมณฑล และในภู มิ ภ าค โดยเลื อ กจั ง หวั ด ที่ เ ป น เมื อ งใหญ ของแตละภูมิภาค 1 จังหวัด และจังหวัดตัวแทนของ ภูมิภาคอีก 1 จังหวัด ขั้นที่ 3 ใชวิธีการเลือกตัวอยางแบบกําหนด โควตา (Quota sampling) โดยแบงเทาๆ กันทุก ภูมิภาค โดยกําหนดใหแตละภูมิภาคละ 50 ราย ขั้นที่ 4 ใชวิธีการเลือกตัวอยางโดยใชความ สะดวก (Convenience sampling) เบื้ อ งต น ใช การซักถามเพื่อเลือกเฉพาะแตผูที่ใชบริการ CAT CDMA จากนัน้ เก็บขอมูลจากผูท ใี่ หความรวมมือและ เต็มใจในบริเวณสถานที่ตางๆ เชน หนาโรงเรียน สวนราชการ และจุดรับชําระคาบริการ CAT CDMA ในจังหวัดเลือกในขางตน การวิเคราะหขอมูล 1. การวิเคราะหสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) ลักษณะประชากรศาสตร วิเคราะหดวย คาความถี่ (Frequency) และคารอยละ (Percentage) ขอมูลคุณคาตราสินคา ความไววางใจ และความ พึงพอใจ วิเคราะหดวยการหาคะแนนเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. การวิเคราะหสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน ดังนี้ 2.1 สถิตวิ เิ คราะหคา ที (Independent t-test) ใชทดสอบลักษณะประชากรศาสตร ดานเพศ และ การตระหนักรูตราสินคา ในดานการจดจําได 2.2 สถิติวิเคราะหคาเอฟ (F-test) แบบการ วิ เ คราะห ค วามแปรปรวนทางเดี ย ว (One-Way analysis of Variance) ใชทดสอบลักษณะประชากร ศาสตร และสถิ ติ ค  า สั ม ประสิ ท ธิ์ ส หสั ม พั น ธ แ บบ เพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) หาคาความสัมพันธ 2.3 สถิ ติ ก ารวิ เ คราะห เ ชิ ง ถดถอยพหุ คู ณ (Multiple regression analysis) เพื่อใชหาคาความ สัมพันธในกรณีที่มีตัวแปรอิสระหลายตัว


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ผลการวิจัย ผลการวิเคราะหขอ มูล แบงออกเปน 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหขอ มูลเชิงพรรณนา สวนที่ 1 การวิ เ คราะห ข  อ มู ล ลั ก ษณะทาง ประชากรศาสตร ของผูตอบแบบสอบถามจํานวน 394 คน พบวา ผูต อบแบบสอบสวนใหญเปนเพศชาย มากกวาเพศหญิง โดยเปนเพศชาย รอยละ 53.8 และเพศหญิง คิดเปนรอยละ 46.2 สวนใหญมีอายุ 25-34 ป รอยละ 38.3 มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ร อ ยละ 64 มี อ าชี พ เป น พนั ก งานบริ ษั ท เอกชน ร อ ยละ 36 และมี ร ายได 20,001-25,000 บาท รอยละ 20.3 สวนที่ 2 การวิ เ คราะห ข  อ มู ล เกี่ ย วกั บ คุ ณ ค า ตราสินคา (Brand equity) ไดแก การตระหนักรู ตราสินคา (Brand Awareness) คุณภาพที่ถูกรับรู (Perceived Quality) และการเชื่อมโยงกับตราสินคา (Brand Associated) คุณคาตราสินคา ดานการตระหนักรูตราสินคา (Brand Awareness) ของผู  ต อบแบบสอบถาม จํานวน 394 คน พบวา ผูต อบแบบสอบถามสวนใหญ มีการจดจําไดมากกวาจดจําไมได การจดจําได รอยละ 67.3 และจดจําไมได รอยละ 32.7 และระดับการ จดจําได คาเฉลีย่ 3.36 หมายความวา ไมแนใจ ระดับ การระลึกได คาเฉลี่ย 2.61 หมายความวา เมื่อพูด ถึงโทรศัพทเคลื่อนที่ คิดถึงยี่หอ CAT CDMA เปน อันดับแรก อยูในระดับเฉย ๆ คุ ณ ค า ตราสิ น ค า ด า นคุ ณ ภาพที่ ถู ก รั บ รู  มี คุณภาพที่ถูกรับรูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ยเทากับ 2.80 เมือ่ พิจารณารายดาน พบวา คุณภาพทีถ่ กู รับรู ทุกดานอยูในระดับปานกลาง ดานความนาเชื่อถือ มีคาเฉลี่ยสูงสุด คาเฉลี่ยเทากับ 2.86 และรองลงมา คือ การตอบสนอง และดานความเปนรูปธรรม มี คาเฉลี่ยเทากับ 2.82 และ 2.73 ตามลําดับ คุณคาตราสินคา ดานการเชือ่ มโยงกับตราสินคา กลุ  ม ตั ว อย า งผู  ใ ช บ ริ ก ารมี ร ะดั บ การเชื่ อ มโยงกั บ

ตราสินคาทุกดานอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย เทากับ 2.85 เมื่อพิจารณารายดาน พบวา ดาน คุณประโยชนมีคาเฉลี่ยสูงสุด คาเฉลี่ยเทากับ 2.87 และรองลงมา คื อ คุ ณ สมบั ติ แ ละด า นทั ศ นคติ มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.84 และ 2.83 ตามลําดับ สวนที่ 3 การวิ เ คราะห ข  อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความ ไววางใจ (Trust) ผูใ ชบริการมีความไววางใจโดยรวม ในระดับปานกลาง มีคา เฉลีย่ เทากับ 2.90 เมือ่ พิจารณา เปนรายขอๆ ที่มีคาเฉลี่ยความไววางใจสูงสุด ไดแก ความปลอดภัยของขอมูลสวนตัว มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.20 รองลงมา คือ ความมีชอื่ เสียงของบริษทั ฯ ผูใ ห บริการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.10 ความปลอดภัยของ ขอมูล ในการติดตอสื่อสาร มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.06 ความซื่อสัตยในการคิดคาบริการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.03 ความมั่นใจในคุณภาพสัญญาณมีความชัดเจน มีคา เฉลีย่ เทากับ 2.75 ความเชือ่ มัน่ วาสามารถใชงาน ได ทุ ก ที่ มี ค  า เฉลี่ ย เท า กั บ 2.64 ข อ ที่ มี ค  า เฉลี่ ย นอยทีส่ ดุ และเปนระดับความไววางใจนอย คือ ความ เชือ่ มัน่ วาสามารถใชงานไดทกุ เวลา มีคา เฉลีย่ เทากับ 2.53 สวนที่ 4 การวิเคราะหขอ มูลเกีย่ วกับความพึงพอใจ (Satisfaction) มีความพึงพอใจโดยรวมอยูใน ระดับปานกลาง คาเฉลี่ยเทากับ 2.84 เมื่อพิจารณา รายดาน พบวา การความพึงพอใจทุกดานอยูใ นระดับ ปานกลาง ดานพนักงานผูใหบริการมีคาเฉลี่ยความ พึงพอใจสูงสุด ซึง่ คาเฉลีย่ เทากับ 2.89 และรองลงมา คือ ดานลักษณะทางกายภาพของบริการ และดาน กระบวนการบริการ มีคา เฉลีย่ เทากับ 2.84 และ 2.80 ตามลําดับ สวนที่ 5 การวิเคราะหขอ มูลเกีย่ วกับความภักดี ตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) ผูใช บริการมีระดับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซี ดี เ อ็ ม เอ) โดยรวมอยู  ใ นระดั บ ปานกลาง คาเฉลี่ยเทากับ 2.6 เมื่อพิจารณารายดาน พบวา ระดับความภักดีตอ ตราสินคาตราสินคา CAT CDMA

59


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ทุกดานอยูในระดับปานกลาง ผูตอบแบบสอบถาม คิดวาตราสินคาสามารถตอบสนองความตองการได มีคา เฉลีย่ สูงสุด ซึง่ คาเฉลีย่ เทากับ 3.04 และรองลงมา คือ คิดวาตราสินคาเราดีกวาตราสินคาอืน่ และคิดวา ตราสินคามีคุณภาพเปนที่ยอมรับ มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.93 และ 2.91 ตามลําดับ ตอนที่ 2 การทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานขอที่ 1 ลักษณะประชากรศาสตร ประกอบดวย เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด อาชีพ รายไดเฉลีย่ ตอเดือน และภูมภิ าคทีพ่ กั อาศัย มีความ สัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) พบวา มีเพียงเพศเพียงดานเดียว ที่มีความสัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 สวนลักษณะประชากรศาสตรดานอื่น พบวา ไมมีความสัมพันธ สมมติฐานขอที่ 2 คุณคาตราสินคาประกอบดวย การตระหนักรูตราสินคา คุณภาพที่ถูกรับรู การ เชือ่ มโยงกับตราสินคา มีความสัมพันธกบั ความภักดี ตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) สมมติฐานยอยขอ 2.1 การตระหนักรูตราสินคา ไดแก การจดจําได และการระลึกได มีความสัมพันธ กับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดี เอ็มเอ) ผลการวิเคราะหทางสถิตกิ ารวิเคราะหเชิงถดถอย พหุคูณ (Multiple regression analysis) พบวา การจดจําได มีความสัมพันธกับความภักดีตอตรา สินคา CAT CDMA ดานตราสินคา CAT CDMA ุ ภาพเปน ดีกวาตราสินคาอืน่ และดานตราสินคามีคณ ที่ยอมรับ ในทิศทางเดียวกัน ในระดับตํ่า อยางมี นัยสําคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 แตไมมคี วามสัมพันธ กับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตรา สินคาสามารถตอบสนองความตองการได การระลึกได ไมมีความสัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA

60

สมมติ ฐ านย อ ยข อ 2.2 คุ ณ ภาพที่ ถู ก รั บ รู  ประกอบดวย ความเปนรูปธรรม ความนาเชือ่ ถือ และ การตอบสนอง มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ ความภั ก ดี ต  อ ตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) ผลการวิเคราะห Multiple regression analysis พบวา ความเปนรูปธรรม มีความสัมพันธกับความ ภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตราสินคามี คุณภาพเปนทีย่ อมรับ โดยมีความสัมพันธในทิศทาง เดียวกัน ในระดับตํ่า อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 แตไมมีความสัมพันธกับความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA ดานตราสินคา CAT CDMA ดี ก ว า ตราสิ น ค า อื่ น และด า นตราสิ น ค า สามารถ ตอบสนองความตองการได ความนาเชื่อถือ มีความ สัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตราสินคา CAT CDMA ดีกวาตราสินคาอื่น และดานตราสินคามีคุณภาพเปนที่ยอมรับ โดยมี ความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน ในระดับตํ่า อยางมี นัยสําคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 แตไมมคี วามสัมพันธ กับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตรา สิ น ค า สามารถตอบสนองความต อ งการได การ ตอบสนอง มีความสัมพันธกบั ความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA ดานตราสินคา CAT CDMA ดีกวา ตราสินคาอื่น และดานตราสินคามีคุณภาพเปนที่ ยอมรับ ในทิศทางตรงกันขาม ในระดับตํ่า อยางมี นัยสําคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 แตไมมคี วามสัมพันธ กับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตรา สินคาสามารถตอบสนองความตองการได สมมติฐานยอยขอ 2.3 การเชือ่ มโยงกับตราสินคา ประกอบดวย ดานคุณสมบัติ ดานคุณประโยชน และดานทัศนคติ มีความสัมพันธกับความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) ผลการวิเคราะห Multiple regression analysis พบวา ดานคุณสมบัติ มีความสัมพันธกับความภักดี ตอตราสินคา CAT CDMA โดยมีความสัมพันธใน ทิศทางเดียวกัน ในระดับตํ่า อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 ดานคุณประโยชน ไมมีความ


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

สัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตราสินคา CAT CDMA ดานทัศนคติ มีความ สัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตราสินคาสามารถตอบสนองความตองการได โดยมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน ในระดับตํ่า อยางมีนยั สําคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 แตไมมคี วาม สัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตราสินคา CAT CDMA ดีกวาตราสินคาอืน่ และ ดานตราสินคามีคุณภาพเปนที่ยอมรับ สมมติฐานขอที่ 3 ความไววางใจ มีความสัมพันธ กับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดี เอ็มเอ) ผลการวิเคราะห Multiple regression analysis พบวา ความไววางใจ ไมมคี วามสัมพันธกบั ความภักดี ตอตราสินคา CAT CDMA สมมติฐานขอที่ 4 ความพึงพอใจ ไดแก ดาน กระบวนการบริการ ลักษณะทางกายภาพของบริการ และพนักงานผูใหบริการ มีความสัมพันธกับความ ภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) สมมติ ฐ านย อ ยข อ 4.1 กระบวนการบริ ก าร มีความสัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) ผลการวิเคราะห Multiple regression analysis พบวา ความพึงพอใจ ดานกระบวนการบริการ มี ความสัมพันธกบั ความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA

โดยมีความสัมพันธใน ทิศทางเดียวกัน ในระดับ ปานกลาง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สมมติฐานยอยขอ 4.2 ลักษณะทางกายภาพของ บริการ มีความสัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) ผลการวิเคราะห Multiple regression analysis พบวา ความพึงพอใจ ดานลักษณะทางกายภาพของ บริการ มีความสัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตราสินคา CAT CDMA ดีกวา ตราสินคาอื่น ในทิศทางตรงกันขาม ในระดับตํ่า อยางมีนยั สําคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 แตไมมคี วาม สัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) ดานตราสินคามีคุณภาพเปนที่ ยอมรับ และดานตราสินคาสามารถตอบสนองความ ตองการได สมมติฐานยอยขอ 4.3 พนักงานผูใหบริการ มีความสัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) ผลการวิเคราะห Multiple regression analysis พบว า ความพึ ง พอใจ ด า นกระบวนการบริ ก าร มี ความสัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) โดยมีความสัมพันธใน ทิศทางเดียวกัน ในระดับตํ่า อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05

61


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 1 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานของลักษณะประชากรศาสตรทมี่ ผี ลตอความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) สมมติฐานที่ 1. ลักษณะประชากรศาสตร 1.1 เพศ 1.2 อายุ 1.3 ระดับการศึกษาสูงสุด 1.4 อาชีพ 1.5 รายไดเฉลี่ยตอเดือน 1.6 ภูมิภาคที่พักอาศัย

หมายเหตุ:

สถิติ ที่ใช t-test F-test F-test F-test F-test F-test

ความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) คิดวาตราสินคา CAT คิดวาตราสินคามี คิดวาตราสินคาสามารถ CDMA ดีกวาตราสินคาอื่น คุณภาพเปนที่ยอมรับ ตอบสนองความตองการได ✓ ✕ ✕ ✕ ✕ ✕

หมายถึง สอดคลองกับสมมติฐาน,

✓ ✕ ✕ ✕ ✕ ✕ ✕

✓ ✕ ✕ ✕ ✕ ✕

หมายถึง ไมสอดคลองกับสมมติฐาน

ตารางที่ 2 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานของคุณคาตราสินคา ความไววางใจ และความพึงพอใจที่มีผลตอความภักดี ตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) ความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) สมมติฐานที่ 2. คุณคาตราสินคา 2.1 การตระหนักรูตราสินคา • การจดจําได • การระลึกได 2.2 คุณภาพที่ถูกรับรู • ความเปนรูปธรรม • ความนาเชื่อถือ • การตอบสนอง 2.3 การเชื่อมโยงกับตราสินคา • ดานคุณสมบัติ • ดานคุณประโยชน • ดานทัศนคติ 3. ความไววางใจ 4. ความพึงพอใจ 4.1 กระบวนการบริการ 4.2 ลักษณะทางกายภาพ ของบริการ 4.3 พนักงานผูใหบริการ

หมายเหตุ:

62

คิดวาตราสินคา CAT คิดวาตราสินคามี คิดวาตราสินคาสามารถ CDMA ดีกวาตราสินคาอื่น คุณภาพเปนที่ยอมรับ ตอบสนองความตองการได

✓ ✕

✓ ✕

✕ ✕

✕ ✓ ✓

✓ ✓ ✓

✕ ✕ ✕

✓ ✕ ✕ ✕

✓ ✕ ✕ ✕

✓ ✕ ✓ ✕

✓ ✓

✓ ✕

✓ ✕

หมายถึง สอดคลองกับสมมติฐาน,

หมายถึง ไมสอดคลองกับสมมติฐาน


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย การวิจัยเรื่อง คุณคาตราสินคา ความไววางใจ และความพึงพอใจที่มีผลตอความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคทซีดีเอ็มเอ) สามารถอภิปรายและ สรุปผลไดดังนี้ 1. ความสัมพันธระหวางขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับ ลักษณะประชากรศาสตร เพศ อายุ ระดับการศึกษา สูงสุด อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน และภูมิภาคที่พัก อาศัย กับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA จากผลการวิจัยพบวา เพศ มีความสัมพันธกับความ ภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ซึ่งสอดคลองกับ จี ร วรรณ อยู  สุ ข (2549) ได ศึ ก ษาถึ ง ป จ จั ย ด า น ผลิตภัณฑที่มีผลตอความจงรักภักดีในตราสินคาตอ การซื้อเสื้อผา Esprit ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบว า เพศ มี ผ ลต อ ความจงรั ก ภั ก ดี ในตราสินคาตอการซื้อเสื้อผา Esprit ของผูบริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการวิ จั ย พบว า เพศชาย มี ค วามภั ก ดี ต  อ ตราสินคา CAT CDMA มากกวาเพศหญิง สวน จีรวรรณ อยูสุข (2549) พบวา เพศหญิงมีผลตอ ความจงรักภักดีในตราสินคาตอการซือ้ เสือ้ ผา Esprit ของผูบ ริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร มากกวาเพศชาย ซึ่งความแตกตางดังกลาวอาจเปนปจจัยจากความ แตกตางในประเภทของสินคาหรือบริการ ในความสัมพันธระหวางลักษณะประชากรศาสตร ดานอื่น ไดแก อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน และภูมิภาคที่พักอาศัย ไมมี ความสัมพันธกันกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ซึ่งไมสอดคลองกับงานวิจัยของ จีรวรรณ อยูสุข (2549) ที่พบวา ระดับการศึกษา รายได และ อาชีพ มีผลตอความจงรักภักดีในตราสินคาตอการซือ้ เสื้อผา Esprit ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร 2. ความสัมพันธระหวางคุณคาตราสินคา ไดแก ดานการตระหนักรูตราสินคา คุณภาพที่ถูกรับรู และ การเชือ่ มโยงกับตราสินคา กับความภักดีตอ ตราสินคา

CAT CDMA กลุมตัวอยางผูใชบริการ CAT CDMA มีการจดจําได รอยละ 67.3 ระดับการจดจําได อยูใ น ระดับไมแนใจ และระดับการระลึกไดปานกลาง การจดจําได ดานการรูจักตราสินคา มีความ สัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA อยางมีนัยสําคัญ ในทิศทางเดียวกัน ในระดับตํ่า การระลึกได ไมมีความสัมพันธกับความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA ทั้งนี้อาจเปนเพราะผูให บริการเปนผูใหบริการรายใหมในธุรกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ และมีคูแขงที่แข็งแกรงเปนผูนํา ครองสวนแบงในตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ ดังนั้นการ ที่จะทําใหผูใชบริการเกิดการตระหนักรูในตราสินคา ตองอาศัยการสื่อสารและการใชเครื่องมือการสื่อสาร ทางการตลาดที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ จึงจะทําให ผูใชบริการเกิดการรับรูและจดจําตราสินคาได และ ตองใชกลยุทธทางการสื่อสารทางการตลาดอยาง เขมขน เพื่อใหเกิดจดจําไดและการระลึกได เพื่อนํา ไปสูการตระหนักรูในตราสินคา CAT CDMA จึงจะ สงผลใหผูใชบริการมีความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA เพิม่ ขึน้ ซึง่ สอดคลองกับแนวคิดของ เคลเลอร (Keller, 2003) การจดจําตราสินคาเปนความสามารถ ในการยืนยันวาเคยไดพบเห็นสินคานั้นๆ แลว ใน ชวงเวลากอนหนานี้ ซึ่งการรับรูในตราสินคาระดับนี้ ยังไมเพียงพอตอการตัดสินใจใดๆ ของผูบริโภค เพราะผูบ ริโภคเหลานีไ้ มสามารถอธิบายถึงรายละเอียด ของตราสินคานั้นได การตระหนักรูตราสินคาจะมี อิทธิพลตอกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคได ก็ตอเมื่อสามารถระลึกได เมื่อนึกถึงประเภทสินคาที่ ตองการซื้อ ทําใหผูบริโภคนําตราสินคานั้นๆ เขามา รวมอยูใ นตราสินคาทีอ่ าจไดรบั การพิจารณาคัดเลือก (Consideration set) ในกระบวนการตัดสินใจซื้อ คุณภาพทีถ่ กู รับรู กลุม ตัวอยางผูใ ชบริการ CAT CDMA มี ร ะดั บ คุ ณ ภาพรั บ รู  ทุ ก ด า นอยู  ใ นระดั บ ปานกลาง ไดแก ความนาเชื่อถือ มีคาเฉลี่ยสูงสุด และรองลงมา คือ การตอบสนอง และความเปนรูปธรรม

63


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ตามลําดับ ทั้งนี้อาจเปนเพราะผูใหบริการมีชื่อเสียง ในธุรกิจโทรคมนาคม จึงทําใหมีความนาเชื่อถือที่ดี ในระดับหนึง่ แตอาจไมเพียงพอทีจ่ ะทําใหผใู ชบริการ ไดรับรูถึงคุณภาพของบริการที่ CAT CDMA มีได ความสัมพันธระหวางคุณภาพที่ถูกรับรู ไดแก ความเปนรูปธรรม ความนาเชื่อถือการตอบสนอง มีความสัมพันธกับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ทั้งนี้อาจเปนเพราะผูใชบริการยังไมมีการ รับรูถึงคุณภาพที่แตกตางของ CAT CDMA ซึ่งเปน เทคโนโลยีที่มีการพัฒนาใหเหมาะกับโทรศัพทในยุค 3G ทีม่ คี วามแตกตางจากระบบของผูใ หบริการรายอืน่ ในการรับสงขอมูลดวยเร็วที่สูงกวา และการปองกัน สัญญาณรบกวน และการถูกลักลอบดักฟง ซึ่งจาก จุดแข็งในระบบเทคโนโลยีดงั กลาวผูใ หบริการควรนํา มาใชในการกําหนดตําแหนงของ (Positioning) ของ ผลิตภัณฑและตราสินคาได การเชื่อมโยงกับตราสินคา กลุมตัวอยางผูใช บริการมีระดับการเชือ่ มโยงกับตราสินคาทุกดานอยูใ น ระดับปานกลาง ไดแก ดานคุณประโยชนมีคาเฉลี่ย สูงสุด และรองลงมา คือ คุณสมบัติและดานทัศนคติ ตามลําดับ ความสัมพันธระหวางการเชือ่ มโยงดานคุณสมบัติ ดานคุณประโยชน และดานทัศนคติ มีความสัมพันธ กับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ในระดับ ปานกลาง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผูใหบริการยังไมมี การประชาสัมพันธหรือสือ่ สารใหผใู ชบริการ เพือ่ กอให เกิดการรับรูใ นดานคุณสมบัติ คุณประโยชน และใหมี ทัศนคติทดี่ ตี อ บริการ ซึง่ จะทําใหผใู ชบริการสามารถ เชื่อมโยงกับตราสินคาได โดยผูใหบริการตองหา จุดเดนของบริการที่แตกตาง นําเสนอใหผูใชบริการ ในกลุมเปาหมายไดตระหนักและรับรู จนสามารถ เชื่อมโยงที่แข็งแกรงกับตราสินคาได ผลของการศึ ก ษาในคุ ณ ค า ตราสิ น ค า นี้ ยั ง สอดคลองกับผลการวิจัยของ คอบบ วาลเกน, รูเบิล และดอนธู (Cobb-Walgen, Ruble and Donthu,

64

1995) ทีศ่ กึ ษาคุณคาตราสินคา ไดแก การตระหนักรู ตราสินคา (Brand Awareness) ความเชื่อมโยงกับ ตราสินคา (Brand Preference) และคุณภาพทีถ่ กู รับรู (Perceived Quality) ที่มีตอความรูสึกชอบมากกวา ของผูบริโภค (Brand Preference) และความตั้งใจที่ จะซือ้ (Purchase Intention) โดยผลการศึกษาพบวา ตราสินคาที่มีงบโฆษณาสูงกวามีระดับของคุณคา ตราสิ น ค า สู ง กว า และตราสิ น ค า ที่ มี ร ะดั บ คุ ณ ค า ตราสินคาสูงกวาจะมีระดับความชอบมากกวา (Brand Preference) และระดับความตัง้ ใจทีจ่ ะซือ้ (Purchase Intention) สูงเชนกัน 3. ไมพบความสัมพันธระหวางความไววางใจกับ ความภักดีตอ ตราสินคา CAT CDMA ดานตราสินคา CAT CDMA ดีกวาตราสินคาอื่น ดานตราสินคามี คุณภาพเปนที่ยอมรับ และดานตราสินคาสามารถ ตอบสนองความตองการได 4. ความสัมพันธระหวางความพึงพอใจ ประกอบ ด ว ย ด า นกระบวนการบริ ก าร ด า นลั ก ษณะทาง กายภาพของบริการ และดานพนักงานผูใหบริการ กับความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตรา สินคา CAT CDMA ดีกวาตราสินคาอื่น ดานตรา สินคามีคุณภาพเปนที่ยอมรับ และดานตราสินคา สามารถตอบสนองความตองการได ผลการประเมินความพึงพอใจ พบวา กลุม ตัวอยาง ผูใ ชบริการ CAT CDMA มีระดับความพึงพอใจอยูใ น ระดับปานกลาง โดยความพึงพอใจในดานพนักงาน ผูใ หบริการ มีระดับความพึงพอใจสูงสุด และรองลงมา คือ ดานลักษณะทางกายภาพของบริการ และดาน กระบวนการบริการ มีระดับความพึงพอใจนอยที่สุด ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผูใหบริการเปนหนวยงานรัฐวิสาหกิจ ดวยเปนองคกรขนาดใหญ จึงมีกระบวนการ ให บ ริ ก ารที่ ยั ง มี ค วามซั บ ซ อ น ขั้ น ตอนมากกว า องคกรธุรกิจ ผลการศึกษาที่ไดมีความแตกตางจากงานวิจัย ของ ประเวศ ศุภเจริญผล (2548) ที่ศึกษาเรื่อง


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

การประเมินความพึงพอใจของผูใชบริการโทรศัพท เคลื่ อ นที่ ร ะบบ CDMA 2000-1x (HUTCH) ใน กรุงเทพมหานคร ทีพ่ บวา ความพึงพอใจดานลักษณะ ทางกายภาพการบริการมากทีส่ ดุ รองลงมา คือ ดาน กระบวนการ และความพึงพอใจนอยที่สุดคือดาน พนักงาน ซึ่งความแตกตางนี้อาจมาจากความตาง ของผู  ใ ห บ ริ ก าร ช ว งระยะเวลาที่ ศึ ก ษาและกลุ  ม ตัวอยางที่ใชในการศึกษา จึงทําใหผลที่ไดมีความ แตกตางกันออกไป ผลการศึกษาพบวา ความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตราสินคา CAT CDMA ดีกวา ตราสิ น ค า อื่ น มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ ความพึ ง พอใจ ดานกระบวนการบริการ ในทิศทางเดียวกัน ในระดับ ปานกลาง ด า นลั ก ษณะทางกายภาพของบริ ก าร มีความสัมพันธในทิศทางตรงกันขาม ในระดับตํ่า และด า นพนั ก งานผู  ใ ห บ ริ ก าร มี ค วามสั ม พั น ธ ใ น ทิศทางตรงกันขาม ในระดับตํ่า ความภักดีตอตรา สินคา CAT CDMA ดานตราสินคามีคุณภาพเปน ที่ยอมรับ มีความสัมพันธกับความพึงพอใจ ดาน กระบวนการบริการ และดานพนักงานผูใหบริการ และความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA ดานตรา สินคาสามารถตอบสนองความตองการได มีความ สัมพันธกับความพึงพอใจ ดานกระบวนการบริการ ในทิ ศ ทางเดี ย วกั น ในระดั บ ปานกลาง และด า น พนักงานผูใหบริการ ในทิศทางเดียวกันในระดับตํ่า ทั้งนี้อาจเปนเพราะผูใชบริการยังมีความประทับใจ ไมมากนัก ในขั้นตอนการบริการ การอํานวยความ สะดวก และความรวดเร็วในการใหบริการ รวมถึง ความสามารถและความเต็มใจในการใหบริการของ พนักงานผูใหบริการ ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ ธีรพันธ โลหท องคํา (2547) ทีก่ ลาววา ความพึงพอใจ ของลูกคาในการสะสมประสบการณของลูกคาผาน ตราสินคาจะสงผลตอความภักดีของลูกคาที่มีตอ ตราสินคา ปจจัยที่เกิดจากการสงผานขอมูลขาวสาร และความเชือ่ จากรุน หนึง่ ไปอีกรุน หนึง่ โดยปกติแลว

ประสบการณครั้งแรกนั้นมักจะมีแนวโนมเปนบวก อยูแ ลว ดังนัน้ การสรางความประทับใจในครัง้ แรกจึง เปนสิง่ จําเปนอาจสรางเปนรูปแบบการใหบริการก็ได การรับฟงปญหาของพนักงานก็ทําใหเกิดความพึงพอใจกับลูกคาไดดวย และจะนําไปสูความภักดีตอ ตราสินคาในอนาคตไดเปนอยางดี ในการวิจยั ครัง้ นีย้ งั มีสว นทีส่ อดคลองกับการวิจยั ของ คยอน ฮุน คิม และคณะ (Kyung Hoon Kim et al., 2006) ทีศ่ กึ ษาเรือ่ ง คุณคาตราสินคาในตลาด ธุรกิจโรงพยาบาล (Brand equity in hospital market) ที่พบวา ความพึงพอใจ มีความสอดคลองกับขอมูล เชิงประจักษดี กับความภักดีตอตราสินคา ขอเสนอแนะ จากผลการศึกษาวิจัยเรื่อง คุณคาตราสินคา ความไววางใจ และความพึงพอใจที่มีผลตอความ ภักดีตอตราสินคา CAT CDMA (แคท ซีดีเอ็มเอ) มีขอเสนอแนะดังนี้ 1. ผลการศึกษาดานประชากรศาสตร ผูใ ชบริการ ส ว นใหญ เ ป น เพศชาย มี อ ายุ ร ะหว า ง 25-34 ป มีการศึกษาระดับปริญญาตรี เปนพนักงานบริษัท เอกชน มีรายไดระหวาง 20,000-25,000 บาท ผูว จิ ยั เห็นวา ผูใหบริการควรศึกษาและตระหนักถึงความ ตองการของกลุมเปาหมาย โดยควรมีการวางแผน และกําหนดกลยุทธทางการตลาดใหสอดคลองกับ กลุม เปาหมายนี้ และพยายามตอบสนองความตองการ ของผูใชบริการใหมากที่สุด เพื่อเพิ่มรักษาลูกคาและ เพิม่ ฐานลูกคากลุม เปาหมาย ผูใ ชบริการก็จะเกิดการ แนะนําและบอกตอใหผูอื่นใชบริการ รวมถึงควรให ความสําคัญกับผูใ ชบริการกลุม อืน่ ดวย เพือ่ ขยายฐาน กลุมเปาหมายใหกวางขวางมากขึ้น 2. คุณคาตราสินคา การตระหนักรูตราสินคา ดานการจดจําไดของผูใชบริการ ยังมีผูใชบริการ จํานวนไมนอย มีถึงรอยละ 32.7 ที่ไมสามารถจดจํา ตราสินคาของผูใ หบริการ CAT CDMA ได และระดับ

65


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

การตระหนักรูต ราสินคาของผูใ ชบริการอยูใ นระดับตํา่ คุณภาพที่ถูกรับรู และการเชื่อมโยงกับตราสินคา อยูในระดับปานกลาง ดังนั้น ผูใหบริการควรมีการ พัฒนาคุณภาพบริการ CAT CDMA ใหสามารถ ตอบสนองความตองการของผูใชบริการ และควรมี การวางแผนดานการสื่อสารทางการตลาด โดยการ เพิ่มงบประมาณในการสื่อสารทางการตลาดเพื่อให ผูบ ริโภคมีการตระหนักรูต ราสินคา การรับรูใ นคุณภาพ บริการ และมีความความแข็งแกรงของการเชื่อมโยง กับตราสินคาเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกันควรจะ กําหนดตําแหนงตราสินคา CAT CDMA ใหมีความ ชัดเจน ซึ่งจะทําผูใชบริการเกิดการรับรูถึงความ โดดเดนของตราสินคา CAT CDMA ที่แตกตางจาก ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายอื่น ผูใชบริการก็จะ มีความภักดีตอตราสินคามากยิ่งขึ้น 3. ความไววางใจของผูใชบริการ CAT CDMA อยูในระดับปานกลาง ผูวิจัยเห็นวา การสรางและ รั ก ษาชื่ อ เสี ย งของผู  ใ ห บ ริ ก าร โดยการปรั บ ปรุ ง มาตรฐานและคุณภาพการใหบริการ จะทําใหผูใช บริการเกิดความมั่นใจและไววางใจ CAT CDMA สูงขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเพิ่มความเชื่อมั่นวา สามารถใชงานไดทุก ทุกเวลา จะทําใหผูใชบริการ มีความภักดีตอสินคาสูงขึ้น ซึ่งผูใหบริการตองเพิ่ม เครือขายใหครอบคลุมใหทั่วถึงทุกพื้นที่ยิ่งขึ้น และ ปรับปรุงคุณภาพสัญญาณใหมคี วามชัดเจนขึน้ ควรมี การนําเทคโนโลยีและอุปกรณที่ทันสมัยมาใชพัฒนา คุณภาพบริการ รวมทัง้ เพิม่ ประสิทธิภาพในการรักษา ความปลอดภั ย ของข อ มู ล ความเป น ส ว นตั ว และ ขอมูลในการติดตอสื่อสารของผูใชบริการ อีกทั้งการ คิดคาบริการอยางเปนธรรมจะทําใหผูใชบริการมี ความไววางใจในตราสินคามากขึ้น ก็จะทําใหผูใช บริการมีความภักดีตอตราสินคา CAT CDMA มาก ยิ่งขึ้น 4. ความพึงพอใจของผูใชบริการ CAT CDMA อยูในระดับปานกลาง ดังนั้น ผูใหบริการควรมีการ พัฒนาดานตางๆ ดังตอไปนี้

66

4.1 กระบวนการบริการ ผูใหบริการควรมี การปรับปรุงความสะดวกในการใหบริการ ลดขัน้ ตอน การใหกระชับสะดวก รวดเร็ว และมีการยืดหยุน มากขึ้น จะทําใหผูใชบริการสามารถติดตอกับผูให บริการหรือใชบริการไดงา ยและรวดเร็วยิง่ ขึน้ โดยให ความสําคัญในการพัฒนาระบบ Call Center และเพิม่ ชองทางใหลูกคามีโอกาสรองเรียน 4.2 ลักษณะทางกายภาพของบริการ ผูให บริการควรมีการปรับปรุงทําเลที่ตั้งใหสะดวกในตอ การติดตอและพบเห็นไดงา ย สรางบรรยากาศภายใน สถานทีใ่ หบริการใหมคี วามสะอาด เรียบรอยสวยงาม ทีร่ บั รอง หรือนัง่ รอรับบริการใหมคี วามสบาย รวมทัง้ เพิ่มจุดบริการเครื่องดื่มสําหรับผูใชบริการ รักษา ความสะอาดของหองสุขา และอํานวยความสะดวก ใหสามารถจอดรถไดมากขึ้น 4.3 พนักงานผูใ หบริการ ควรมีการฝกอบรม และพัฒนาพนักงานผูใ หบริการใหมคี วามรอบรูใ นงาน ที่ ใ ห บ ริ ก าร สามารถแก ไ ขป ญ หาให ผู  ใ ช บ ริ ก าร ดวยไมตรีจิตและอัธยาศัยที่ดี มีความกระตือรือรน พรอมที่จะการใหบริการดวยความเต็มใจและดวย ความรวดเร็ว โดยอาจมีการกําหนดมาตรฐานการให บริการ พรอมทั้งใหแรงจูงใจกับพนักงานในการให บริการ จะสงผลใหเกิดการบริการทีป่ ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผล สามารถตอบสนองตอความตองการของ ผูใชบริการอันจะนํามาซึ่งความภักดีตอตราสินคาได

บรรณานุกรม จีรวรรณ อยูส ขุ . (2549). ปจจัยดานผลิตภัณฑทมี่ ผี ล ตอความจงรักภักดีในตราสินคาตอการซือ้ เสือ้ ผา Esprit ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ธี ร พั น ธ โล ห  ท องคํ า . (2547, พฤศจิ ก ายน 30). คลื่นความคิดเคล็ดลับ: การสรางความภักดีใน ตราสินคา. มติชนรายวัน, 20.


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

บรรณาธิการ. (2552, กรกฎาคม 18-21). โคงสุดทาย จับใจผูบริโภค. สยามธุรกิจ, 8. บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน). (2552). CDMA2000 1xEV-DO. สื บ ค น เมื่ อ 31 พฤษภาคม 2552, จาก http://www.catcdma. co.th. บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน). (2552). ตรา CAT CDMA. สืบคนเมื่อ 31 กรกฎาคม 2552, จาก http://www.catcdma.co.th. ประเวศ ศุภเจริญผล. (2548). การประเมินความพึง พอใจของผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ CDMA 2000-1x (HUTCH) ในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. วรารัตน สันติวงษ. (2549). ปจจัยที่มีผลตอความ จงรักภักดีของลูกคาธนาคารตอการใชบริการ E-Banking. สารนิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ศิริสุข พรหมพินิจ. (2549). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอ พฤติ ก รรมของผู  ใ ช บ ริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ระบบเติมเงินเครือขายระบบ CDMA “ฮัทช” ในภาคตะวันตก. สารนิพนธบริหารธุรกิจมหา บัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เศรษฐพงค มะลิสุวรรณ. (2552). ยอนรอย CDMA ตอนที่ 1-5. สืบคนเมื่อ 27 กรกฎาคม 2552, จาก http://ngnforum.ntc.or.th. สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ. สํานักพัฒนานโยบายและกฎกติกา. (2552). รายงานสภาพตลาดโทรคมนาคม ณ สิน้ ไตรมาส ที่ 1 ป 2552. กรุงเทพฯ: สํานักงานฯ. Aaker, D. A. (1991). Managing brand equity: Capitalizing on the value of a brand name. New York: The Free Press. . (1996). Building strong brands. New York: The Free Press.

Auken, B. V. (2002). The brand checklist. London: Kogan Page. . (2004). The brand management checklist. London: CPI Group. Berry, L. L. (2000). Cultivating service brand equity. Journal of the Academy of Maketing Science, 28(1), 128-137. Berry, Leonard L. & A. Parasuraman. (1991). Marketing services: competing through quality. New York: Free Press. Che-Ha, Norbani & Hashim Shahrizal. (2007). Brand equity, customer satisfaction & loyalty: Malaysian banking sector. International Review of Business Research Papers, 3(5), 123-133. Cobb-Walgren, C. J., Ruble, C.A. & Donthu, N. (1995). Brand equity, brand preference, and purchase intent. Journal of Advertising, 24(3), 25-40. Crimmins, M. (1992). Talka about beliefs. Cambridge, MA.: MIT Press. Farquhar, P. H. (1989). Managing brand equity. Marketing Research, 1, 24-33. Keller, K. L. (1993). Conceptualizing, measuring and managing customer-based brand equity. Journal of Marketing, 57(1), 1-22. Keller, K. L. (1993). Strategic brand management: Building, measuring, and managing brand equity. 2nd ed. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. . (1998). Strategic brand management: Building, measuring, and Managing Brand Equity. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

67


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Keller, K. L. (2003). Strategic brand management: Building, measuring, and managing brand equity. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. Kotler, Philip. (2000). Marketing management. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. Kotler, Philip & Armstrong, Gary. (1993). Marketing: An introduction. 3rd ed. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall. Kotler, Philips & Gary Amstrong. (2006). Principle of marketing. 11th ed. Englewood Cliffs, NJ: Pearson-Prentice Hall. Kyung Hoon Kim, et al. (2006). Brand equity in hospital market. Journal of Business Research, 61(2008), 75-82. Morse, Nancy. C. (1955). Satisfaction in the white collar job. Michigan: University of Michigan Press. Na, W., Marshall, R. & Keller, K.L. (1999). Measuring brand power: validating a model for optimizing brand equity. Journal of Product and Brand Management, 8(3), 170-84. Parasuraman, A., Berry, L. L. & Zeithaml, V. A. (1985). A Conceptual model of service quality and its implications for future research. Journal of Marketing, 49(4), 41-50.

68

Parasuraman, A., Grewal, D. (2000). The impact of technology on the quality-value-loyalty chain: a research agenda. Journal of the Academy of Marketing Science, 28(1), 168-74. Parasuraman, A., Zeithaml, V. A. & Berry, L. L. (1986). SERVQUAL: A multiple item scale for measuring customer perceptions of service quality (Working paper report, No. 86-108). Cambridge, MA: Marketing Science Institute. . (1990). Delivery quality service: balancing customer perception and expectations. New York: A Division of Macmillan, Inc. . (1998). SERVQUAL: A multiple-item scale for measuring customer perception of service quality. Journal of retailing, 64, 12-40. Schiffman, Leon G. and Kanuk, Leslie L. (1994). Consumer Behavior. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. Vroom, H. Victor. (1964). Work and motivation. New York: Wiley and Sons. Yamane, Taro. (1967). Statistics: An introductory analysis. 2nd ed. New York: Harper and Row.


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Ms. Meena Ongbangnoi received her Master of Business Administration in Marketing from the Srinakharinwirot University, her Bachelor of Marketing from the Srinakharinwirot University. And her Higher Vocational Certificate in Accounting from Rajamangala Institute of Technology, Borpitpimuk Chakkawad Campus. She is currently Commercial Administrator in e-Business Development Department, CAT Telecom Public Company Limited. Her main interests are in Telecommunication, e-Business and Marketing. Dr. Panid Kulsiri received her Doctoral degree from Chulalongkorn University in the field of International Business. She is a full-time lecturer at Srinakharinwirot University. Her research primarily focuses on consumer behavior and marketing mix factors.

69


¡

Òû¹à»×é͹¢Í§áº¤·ÕàÃÕ¡ÅØ‹Áàηà·ÍâÃâ·Ã» ã¹¼ÅÔμÀѳ± ÍÒËÒ÷ÐàÅáËŒ§·Õ¨è Òí ˹‹ÒÂ㹨ѧËÇÑ´ªÅºØÃÕ Contamination of Heterotrophic Bacteria in Dry Seafood Products Distributed in Chon Buri Province รศ.ดร.สุบัณฑิต นิ่มรัตน อาจารยประจําภาควิชาจุลชีววิทยา และโครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา E-mail: subunti@buu.ac.th รศ.ดร.วีรพงศ วุฒิพันธุชัย อาจารยประจําภาควิชาวาริชศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา E-mail: veerapong@buu.ac.th ปรียพร ทองเนียม นิสิตปริญญาตรี ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา E-mail: preyaphorn.t@cpf.co.th

บทคัดยอ การศึกษาครัง้ นีเ้ ปนศึกษาการปนเปอ นของแบคทีเรียกลุม เฮทเทอโรโทรปในอาหารทะเลแหง ที่จําหนายในจังหวัดชลบุรี จํานวน 29 ตัวอยาง พบวา อาหารทะเลแหงมีปริมาณแบคทีเรีย กลุมเฮทเทอโรโทรปอยูในชวง 6.00±2.00×102 ถึง 4.40±1.22×109 CFU/g โดยพบมากที่สุด ในตัวอยางหมึกกะตอยแหง และพบนอยที่สุดในตัวอยางหนวดหมึกอบชุบนํ้าเชื่อม-2 เมื่อนํา มาจําแนกชนิดของแบคทีเรีย พบแบคทีเรียกลุม Staphylococcus มากที่สุด รองลงมา คือ

70


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Bacillus และ Micrococcus นอกจากนีย้ งั พบแบคทีเรียกอโรค ไดแก Corynebacterium spp., Enterobacter cloacae, Klebsiella pneumoniae, K. ozaenae, Listeria spp. และ Proteus mirabilis ดังนั้น จึงควรมีการเฝาระวังและตรวจติดตามการปนเปอนของแบคทีเรีย เพื่อให ผลิตภัณฑอาหารทะเลแหงที่วางจําหนายในจังหวัดชลบุรีมีคุณภาพทางจุลินทรียมากยิ่งขึ้น คําสําคัญ: อาหารทะเลแหง แบคทีเรียกลุม เฮทเทอโรโทรป แบคทีเรียกอโรค Staphylococcus Bacillus Micrococcus

Abstract The aim of this study was to investigate the contamination of heterotrophic bacteria (HB) in 29 samples of dry seafood products (DSPs) distributed in Chon Buri Province. It was found that the HB contamination ranged from 6.00±2.00×102 to 4.40±1.22×109 CFU/g. The highest load of HB was found in dry Kobi squid, while the lowest load was found in baked tentacle-squid in syrub-2. The most predominant bacterial genera found in the dry seafood products were Staphylococcus, followed by Bacillus and Micrococcus, respectively. In addition, other pathogenic bacteria such as Corynebacterium spp., Enterobacter cloacae, Klebsiella pneumoniae, K. ozaenae, Listeria spp. and Proteus mirabilis were also found in the tested samples. Therefore, the contamination in DSPs distributed in Chon Buri Province should be monitored for better microbiological quality. Keywords: Dry seafood, Heterotrophic bacteria, Pathogenic bacteria, Staphylococcus, Bacillus, Micrococcus บทนํา อาหารทะเลแหงจัดเปนอาหารและของฝากที่ สําคัญของจังหวัดบริเวณชายฝง ทะเลของประเทศไทย เนือ่ งจากการอบและตากแหงเปนกรรมวิธใี นการถนอม อาหารทะเลชนิดหนึ่ง ซึ่งทําใหสามารถเก็บรักษา อาหารทะเลไดเปนระยะเวลานานขึ้นและเปนที่นิยม บริโภคของคนไทยและคนในประเทศแถบเอเชีย ทัง้ นี้ ยังเปนสินคาเศรษฐกิจที่ทํารายไดใหกับประเทศไทย โดยมีปริมาณการสงออกเทากับ 17 เปอรเซ็นตของ ปริมาณผลผลิตทัง้ หมด และมีอตั ราการบริโภคภายใน ประเทศคิดเปน 60-70 เปอรเซ็นตหรือประมาณ 4-5

พันตันตอป โดยมีปริมาณการสงออกไปยังตางประเทศ เปนสัดสวน เชน ประเทศฮองกง (36.92%) ประเทศ ญี่ปุน (35.92%) ประเทศสหรัฐอเมริกา (11.97%) ประเทศแคนนาดา (3.28%) และประเทศออสเตรเลีย (2.56%) (กรมสงเสริมอุตสาหกรรม, 2543) เปนตน จึงจัดวาอาหารทะเลแหงเปนสินคาทีม่ คี วามสําคัญตอ เศรษฐกิจไทยเปนอยางยิ่ง จั ง หวั ด ที่ มี พื้ น ที่ อ ยู  บ ริ เ วณชายฝ  ง ทะเล เช น จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดตราด เปน แหลงที่มีการผลิตอาหารทะเลแหงเปนจํานวนมาก เนื่องจากเปนแหลงของวัตถุดิบและยังเปนแหลง

71


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ทองเที่ยวจึงมีการจําหนายของฝากจากทะเล แตที่ ผานมาไดมีการตรวจพบการปนเปอนของจุลินทรีย ชนิดตางๆ (Auerswald et al., 2006; Yang et al., 2008) ซึง่ กอใหเกิดอันตรายตอผูบ ริโภค ทัง้ ยังสูญเสีย ทรัพยากรและสิ้นเปลืองเวลาในการผลิต นอกจากนี้ ยังทําใหแหลงทองเที่ยวนั้นเสียชื่อเสียงอีกดวย โดย จุ ลิ น ทรี ย  ที่ ต รวจพบในอาหารทะเลแห ง ได แ ก แบคทีเรีย ยีสต และรา ซึ่งแบคทีเรียที่พบปนเปอน ในอาหารทะเลแหง เชน Aeromonas hydrophila (Tsai and Chen, 1996) Pseudomonas sp., Klebsiella pneumoniae, (Auerswald et al., 2006) และ Vibrio parahemolyticus (Yang et al., 2008) เปนตน ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงไดทําการศึกษาถึง สถานการณ ก ารปนเป  อ นของแบคที เ รี ย กลุ  ม เฮทเทอโรโทรปในอาหารทะเลแห ง ที่ จํ า หน า ยใน จังหวัดชลบุรี วัตถุประสงคการวิจัย เพือ่ เปนการตรวจตราและเฝาระวังการปนเปอ น ของแบคที เ รี ย ก อ โรค และเพื่ อ ให ผู  บ ริ โ ภคได รั บ ประทานอาหารที่ไมเปนอันตรายตอรางกายและถูก สุขลักษณะตอไป ทบทวนวรรณกรรม Ferber (2000) รายงานวา พบเชื้อ Listeria monocytogenes ในผลิตภัณฑอาหารทะเลพรอม บริโภคนําเขาของประเทศแคนนาดาระหวางป ค.ศ. 1996-1997 และป ค.ศ. 1997-1998 คิดเปน 0.88% และ 0.30% จากตัวอยางอาหารทั้งหมด 565 และ 323 ตัวอยาง ตามลําดับ Phatarpekar et al. (2002) ไดศึกษาการแพร กระจายของแบคทีเรียที่พบไดในกุง ยกตัวอยางเชน Acinetobacter, Aeromonas, Agrobacterium, Alteromonas, Alcaligenes, Chromobacterium

72

Cytophaga, Enterobacteriaceae, Micrococcus, Flavobacterium, Pseudomonas, Photobacterium, Streptococcus, Staphylococcus, Vibrio และ Xanthomonas เปนตน Colakoglu et al. (2006) รายงานการตรวจพบ Aeromonas และ Vibrio ในหอยและกุงที่ซื้อจาก ตลาดและหองครัวของโรงแรมในเมือง Dardanelles ประเทศตุรกี จากจํานวนตัวอยาง 127 ตัวอยาง โดยพบในหอย 97 ตัวอยาง และกุง 30 ตัวอยาง Iurlina et al. (2006) รายงานการตรวจพบ Bacillus spp. ในตัวอยางอาหาร 279 ตัวอยาง จาก ผลิตภัณฑอาหารชนิดตางๆ ที่จําหนายในประเทศ อาเจนตินา ซึง่ แบคทีเรียสกุลนีเ้ ปนแบคทีเรียทีส่ าํ คัญ ที่ทําใหอาหารเนาเสียและกอโรคทางเดินอาหารเปน พิษได Friedemann (2007) รายงานการตรวจพบ Enterobacter sakazakii ในอาหารและเครื่องดื่ม แบคทีเรียชนิดนี้พบไดในอาหารทั่วๆ ไป สามารถ แยกแบคทีเรียนี้ไดจากผลิตภัณฑที่ไดจากสัตว ซึ่ง สามารถปนเป  อ นได ทั้ ง ในอาหารสด อาหารแห ง กระบวนการผลิต และแหลงทีม่ กี ารปนเปอ นหรือการ ติดเชื้อ Parihar et al. (2008) ไดรายงานการตรวจพบ Listeria spp. ในอาหารทะเลที่จําหนายในตลาด ในเมือง Goa ประเทศอินเดีย จํานวน 115 ตัวอยาง ตรวจพบ Listeria spp. 28 ตัวอยาง ซึ่งสามารถ จํ า แนกชนิ ด ได คื อ L. monocytogenes พบ 10 ตัวอยาง และ L. innocua พบ 18 ตัวอยาง โดย L. monocytogenes จะเปนอันตรายตอผูบริโภคได ในกรณีทมี่ กี ารปนเปอ นในอาหารทะเลดิบแบบพรอม บริโภค เชน หอยนางรมดิบ เปนตน วิธีการวิจัย การศึกษาปริมาณและชนิดของแบคทีเรียกลุม เฮทเทอโรโทรป (Heterotrophic bacteria) จาก


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ตัวอยางอาหารทะเลแหง 1. การเก็บตัวอยาง สุมเก็บตัวอยางผลิตภัณฑหมึกแหงจากรานคา แผงลอยทีอ่ ยูใ นภาชนะเปด ทีว่ างจําหนายในจังหวัด ชลบุรี ป พ.ศ. 2551 ไดแก หมึกกลวย หมึกกะตอย หมึกแกะตา หนวดหมึก หมึกหนัง หมึกวง หมึกแพ หมึกไข หมึกแกว ผลิตภัณฑหอยแหง ไดแก หอยหวาน หอยแมลงภู หอยเสียบ ผลิตภัณฑหมึกแปรรูป ไดแก หมึกอบเนย หมึกแกวกรอบ หมึกหวาน หมึกบดชุบ นํา้ เชือ่ ม หมึกตัวฉาบ เตาทองสามรส หมึกเสนไมเผ็ด หมึกกรอบ และผลิตภัณฑปแู ปรรูป คือ ปูทอดกรอบ จํานวน 29 ตัวอยาง ที่จําหนายในจังหวัดชลบุรี โดยแตละตัวอยางเก็บในถุงพลาสติกปราศจากเชื้อ และนํามาวิเคราะหคุณภาพทางจุลชีววิทยาภายใน 2 ชั่วโมง หลังจากการสุมเก็บตัวอยาง 2. ศึกษาปริมาณแบคทีเรียกลุมเฮทเทอโรโทรป (ดัดแปลงจาก Jeyasekaran et al., 2004) เก็บตัวอยางอาหารทะเลแหงจากแหลงจําหนาย ในจังหวัดชลบุรี ใชกรรไกรปลอดเชื้อตัดตัวอยาง อาหารใหละเอียด ชั่งตัวอยาง 50 กรัม ใสลงในถุง พลาสติกปลอดเชือ้ แลวเติมสารละลาย Butterfield’s Phosphate-Buffered Dilution Water (BF) ปริมาตร 450 มิลลิลติ ร จากนัน้ นําไปผสมใหเขากันดวยเครือ่ ง ตีผสมอาหาร (Stomacher; ยีห่ อ AES Labaratorie, รุน A064768, ฝรั่งเศส) เปนเวลา 60 วินาที จะได ตัวอยางที่มีระดับความเจือจาง 10-1 ทําการเจือจาง ตัวอยางจนถึงระดับความเจือจาง 10-6 จากนั้นถาย ตัวอยางที่ระดับความเจือจาง 10-1 ถึง 10-6 ปริมาตร 0.1 มิลลิลิตร ลงบนอาหารเลี้ยงเชื้อ Plate Count Agar ใชแทงแกวสามเหลีย่ มเกลีย่ ตัวอยางใหทวั่ ดวย วิธีสเปรดเพลท (Spread plate technique) นําจาน เพาะเชื้อบมที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24 ชัว่ โมง นับจํานวนโคโลนีทเี่ จริญบนอาหารเลีย้ งเชือ้ แลวบันทึกผล (ทําการทดลองทั้งหมด 3 ซํ้า)

3. การศึ ก ษาชนิ ด ของแบคที เ รี ย กลุ  ม เฮทเทอโรโทรปในตัวอยางอาหารทะเลแหง ศึกษาชนิดของแบคทีเรียกลุมเฮทเทอโรโทรป โดยวิธยี อ มแกรม บันทึกลักษณะทางกายภาพของเชือ้ ไดแก ลักษณะโคโลนี สี เปนตน จากนั้นนําไปแยก เชื้ อ บริ สุ ท ธิ์ แ ละทดสอบปฏิ กิ ริ ย าทางชี ว เคมี เ พื่ อ จําแนกชนิดของแบคทีเรีย โดยเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย ที่ไดจนไดเชื้อที่บริสุทธิ์บนอาหารเลี้ยงเชื้อ Tryptic Soy Agar เปนเวลา 24 ชัว่ โมง จากนัน้ นําไปทดสอบ คุณสมบัตทิ างชีวเคมีตามวิธกี ารของ Brenner (1984); Kocur (1986); Seeliger and Jones (1986); Sneath et al. (1986); Holt et al. (1994) ผลการวิจัย 1. การศึกษาปริมาณแบคทีเรียกลุม เฮทเทอโรโทรปในอาหารทะเลแหงชนิดตางๆ จากการตรวจวิเคราะหปริมาณแบคทีเรียกลุม เฮทเทอโรโทรปในอาหารทะเลแหงชนิดตางๆ จํานวน 29 ตัวอยาง พบวา อาหารทะเลแหงที่มีปริมาณ แบคทีเรียกลุม เฮทเทอโรโทรปมากทีส่ ดุ คือ หมึกกะตอย มีปริมาณแบคทีเรียเทากับ 4.40±1.22×109 CFU/g รองลงมา คือ หมึกไขและหมึกแพ มีปริมาณแบคทีเรีย เทากับ 1.87±0.26×108 และ 9.40±0.96×107 CFU/g ตามลําดับ สวนอาหารทะเลแหงทีม่ ปี ริมาณแบคทีเรีย กลุมเฮทเทอโรโทรปนอยที่สุด คือ หนวดหมึกอบชุบ นํา้ เชือ่ ม-2 มีปริมาณแบคทีเรียเทากับ 6.00±2.00×102 CFU/g รองลงมา คือ หมึกตัวฉาบและหมึกอบชุบ นํ้าเชื่อม มีปริมาณแบคทีเรีย 4.70±0.85×103 และ 8.20±2.23×103 CFU/g ตามลําดับ เมือ่ นํามาวิเคราะห ทางสถิติ พบวา อาหารทะเลแหงสวนใหญมีปริมาณ แบคทีเรียกลุมเฮทเทอโรโทรปแตกตางกันอยางไมมี นัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) ยกเวนหมึกกะตอยที่มี คาแตกตางกับตัวอยางอื่นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังแสดงในตารางที่ 1

73


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 1 ปริมาณแบคทีเรียกลุมเฮทเทอโรโทรปในตัวอยางอาหารทะเลแหงชนิดตางๆ ที่จําหนายในจังหวัดชลบุรี ป 2551 ตัวอยางอาหารทะเลแหง หมึกแหง -หมึกกลวย -หมึกกะตอย -หมึกแกะตา -หนวดหมึก -หมึกหนัง -หมึกวง -หมึกแพ -หมึกไข -หมึกแกว-1 -หมึกแกว-2 หอยแหง -หอยหวาน -หอยแมลงภู -หอยเสียบ-1 -หอยเสียบ-2 หมึกแปรรูป -หมึกอบเนย -หมึกแกวกรอบ -หมึกหวาน -หมึกบดชุบนํ้าเชื่อม -หมึกอบชุบนํ้าเชื่อม -หมึกตัวฉาบ -เตาทองสามรส -หมึกเสนไมเผ็ด -หมึกเสนสามรส (เผ็ด)-1 -หมึกเสนสามรส (เผ็ด)-2 -หมึกกรอบ-1 -หมึกกรอบ-2 -หนวดหมึกอบชุบนํ้าเชื่อม-1 -หนวดหมึกอบชุบนํ้าเชื่อม-2 ปูแปรรูป -ปูทอดกรอบ

ปริมาณแบคทีเรียกลุมเฮทเทอโรโทรป (CFU/g) 4.83±0.87×106 b 4.40±1.22×109 a 3.20±0.06×106 b 8.80±1.25×107 b 1.43±0.21×106 b 5.87±2.14×104 b 9.40±0.96×107 b 1.87±0.26×108 b 2.50±0.53×105 b 3.23±1.00×106 b 2.80±0.09×106 b 1.75±0.24×105 b 4.43±1.00×105 b 3.06±0.49×106 b 1.33±0.29×105 b 1.47±0.40×104 b 2.17±0.21×104 b 1.40±0.75×105 b 8.20±2.23×103 b 4.70±0.85×103 b 1.13±0.06×106 b 2.41±0.17×106 b 7.43±0.40×104 b 4.80±1.08×107 b 1.20±0.26×104 b 1.30±0.26×105 b 5.87±0.76×104 b 6.00±2.00×102 b 9.00±1.00×104 b

หมายเหตุ: คาที่แสดงในแนวตั้ง คือ คาเฉลี่ย ± คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน a,b แสดงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติในแนวตั้ง (p<0.05)

74


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

2. การศึกษาชนิดของแบคทีเรียในอาหาร ทะเลแหงชนิดตางๆ จากการศึกษาชนิดของแบคทีเรียกลุมเฮทเทอโรโทรปในอาหารทะเลแหงชนิดตางๆ พบแบคทีเรีย กลุม Staphylococcus มากที่สุด รองลงมา คือ แบคทีเรียกลุม Bacillus และ Micrococcus จํานวน

24, 18 และ 14 ตัวอยาง ตามลําดับ นอกจากนี้ ยังพบ Corynebacterium sp., Enterobacter sp., E. cloaceae, Klebsiella ozaenae, K. pneumoniae, Listeria sp., Planococcus halophilus, Proteus mirabilis ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ท างชี ว เคมี ดั ง แสดงใน ตารางที่ 2

75


Corynebacterium spp.

+

Enterobacter cloacae

-

Enterobacter spp. -

Klebsiella ozaenae -

Klebsiella pneumonia -

Listeria spp. -

Micrococcus lylae +

Micrococcus sedentarius +

Micrococcus varians +

Planococcus halophilus +

Proteus mirabilis -

Staphylococcus auricularis/ S. cohnii subsp. 1 +

Staphylococcus auricularis/ S. haemolyticus +

Staphylococcus capitis +

Staphylococcus caprae +

Staphylococcus cohnii subsp. 1/ S. warneri +

+

+

Staphylococcus hyicus subsp. Chromogenes +

Staphylococcus saccharolyticus +

Staphylococcus simulans/S. warneri +

+

Staphylococcus simulans /S. xylosus

+

NT

+

+

-

+

+

Oxidase test

Hydrolysis: Starch

Gelatin

Esculin

Nitrate reduction

Anaerobic growth

NT

-

-

NT

NT

NT

+

NT

NT

NT

NT

NT

-

NT

NT

NT

NT

NT

NT

-

NT

NT

NT

NT

NT

NT

-

NT

NT

NT

NT

NT

NT

-

NT

NT

NT

+

NT

NT

NT

+

NT

-

-

+

-

+

+

NT

-

-

+

-

-

+

NT

+

-

+

-

-

+

NT

-

-

+

-

-

+

NT

NT

NT

NT

NT

NT

-

NT

NT

NT

NT

NT

-

+

NT

NT

NT

NT

NT

-

+

NT

NT

NT

NT

NT

-

+

NT

NT

NT

NT

NT

-

+

NT

NT

NT

NT

NT

-

+

NT

NT

NT

NT

NT

-

+

NT

NT

NT

NT

NT

-

+

NT

NT

NT

NT

NT

-

+

NT

NT

NT

NT

NT

-

+

NT

NT

NT

NT

NT

-

+

NT

NT

NT

NT

NT

-

+

Bacilli Rod Rod Rod Rod Rod Rod Cocci Cocci Cocci Cocci Rod Cocci Cocci Cocci Cocci Cocci Cocci Cocci Cocci Cocci Cocci Cocci

+

Bacillus sp.

Catalase test

Shape

Gram stain

Biochemical test Staphylococcus hominis

76 Staphylococcus hominis /S. saprophyticus/ S. warneri

ตารางที่ 2 คุณสมบัติทางชีวเคมีของแบคทีเรียกลุมเฮทเทอโรโทรปที่พบในผลิตภัณฑอาหารทะเลแหงที่จําหนายในจังหวัดชลบุรี ป 2551

วารสารปญญาภิวัฒน

PANYAPIWAT JOURNAL


Glucose Sucrose Galactose Lactose Trechalose Gas from: Dglucose

Acid from: Arabinose Xylose Mannitol Mannose Maltose

Biochemical test

NT NT NT NT -

+ NT NT NT NT

NT NT NT NT

NT NT NT NT

Bacillus sp.

-

Corynebacterium spp.

-

Enterobacter cloacae

NT + NT + NT +

NT + NT NT

+

Enterobacter spp. NT NT NT NT NT NT

NT + NT NT

NT

Klebsiella ozaenae NT NT NT NT NT NT

NT NT NT NT

NT

Klebsiella pneumonia NT + NT + NT +

NT + NT NT

+

Listeria spp. NT NT NT NT NT NT

NT NT

NT

Micrococcus lylae NT NT NT NT

NT

NT

Micrococcus sedentarius NT NT NT NT

NT

NT

Micrococcus varians + NT NT NT NT

NT NT NT NT

NT

Planococcus halophilus + NT NT NT NT NT

NT NT NT NT

NT

Proteus mirabilis NT + NT + NT +

NT NT NT

-

Staphylococcus auricularis/ S. cohnii subsp. 1 + NT + NT

+

-

Staphylococcus auricularis/ S. haemolyticus + + NT + NT

+

-

Staphylococcus capitis + + NT NT

+ + -

-

Staphylococcus caprae + NT + + NT

+ -

-

Staphylococcus cohnii subsp. 1/ S. warneri + NT + NT

+ -+

-

Staphylococcus hominis + + NT + NT

+ +

-

Staphylococcus hominis /S. saprophyticus/ S. warneri + + NT + + NT

+ -

-

+ + NT + + NT

+ + +

-

Staphylococcus hyicus subsp. Chromogenes

ตารางที่ 2 คุณสมบัติทางชีวเคมีของแบคทีเรียกลุมเฮทเทอโรโทรปที่พบในผลิตภัณฑอาหารทะเลแหงที่จําหนายในจังหวัดชลบุรี ป 2551 (ตอ)

Staphylococcus saccharolyticus + + NT NT

-

-

Staphylococcus simulans/S. warneri + + NT + + NT

+ + +

-

Staphylococcus simulans /S. xylosus + + NT + + NT

+ + +

-

วารสารปญญาภิวัฒน

PANYAPIWAT JOURNAL

77


NT

NT

NT

NT

-

NT

+

NT

NT

NT

Mannitol

Arabinose

Maltose

Citrate utilization

Methyl red test

Voges-Proskauer test

-haemolysis

Motility test

Urease test

Bacillus sp.

Sucrose

Biochemical test

Corynebacterium spp.

-

-

NT

NT

-

NT

NT

NT

NT

NT

Enterobacter cloacae

-

+

NT

+

-

+

+

+

+

+

Enterobacter spp. -

+

NT

NT

-

+

+

+

+

+

Klebsiella ozaenae +

-

NT

+

+

+

+

+

+

+

Klebsiella pneumonia +

-

NT

+

-

+

+

+

+

+

Listeria spp. NT

+

+

NT

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Micrococcus lylae NT

-

NT

NT

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Micrococcus sedentarius NT

-

NT

NT

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Micrococcus varians NT

-

NT

NT

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Planococcus halophilus -

+

NT

NT

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Proteus mirabilis +

+

NT

+

+

+

NT

NT

NT

NT

Staphylococcus auricularis/ S. cohnii subsp. 1 +

NT

NT

-

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Staphylococcus auricularis/ S. haemolyticus -

NT

NT

+

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Staphylococcus capitis -

NT

NT

-

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Staphylococcus caprae +

NT

NT

+

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Staphylococcus cohnii subsp. 1/ S. warneri NT

NT

+

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Staphylococcus hominis +

NT

NT

+

NT

NT

NT

NT

NT

NT

+

NT

NT

+

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Staphylococcus hominis /S. saprophyticus/ S. warneri

78 -

NT

NT

-

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Staphylococcus hyicus subsp. Chromogenes

ตารางที่ 2 คุณสมบัติทางชีวเคมีของแบคทีเรียกลุมเฮทเทอโรโทรปที่พบในผลิตภัณฑอาหารทะเลแหงที่จําหนายในจังหวัดชลบุรี ป 2551 (ตอ)

Staphylococcus saccharolyticus -

NT

NT

+

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Staphylococcus simulans/S. warneri +

NT

NT

+

NT

NT

NT

NT

NT

NT

Staphylococcus simulans /S. xylosus +

NT

NT

+

NT

NT

NT

NT

NT

NT

วารสารปญญาภิวัฒน

PANYAPIWAT JOURNAL


NT NT

NT NT

NT NT

NT NT

NT

+

+

NT

+

-

NT

+ -

-

NT

NT

+ -

+

NT

NT

NT NT

NT NT

NT

NT

NT NT NT NT NT NT NT A/A, A/A, A/A, A/A, NT gas gas gas gas NT - NT

Bacillus sp.

NT NT

Corynebacterium spp.

NT

Enterobacter spp. NT

Klebsiella ozaenae

NT

Enterobacter cloacae

NT

Klebsiella pneumonia

NT

Listeria spp.

NT

Micrococcus lylae NT NT

NT NT

NT

NT NT

NT

+

Micrococcus sedentarius NT NT

NT NT

NT

NT NT

NT

+

Micrococcus varians NT NT

NT NT

NT

NT NT

NT

+

Planococcus halophilus Proteus mirabilis NT

NT

Staphylococcus auricularis/ S. cohnii subsp. 1

NT NT

NT NT

+

-

NT NT

NT NT

NT NT NT K/A, NT gas NT + NT

+

NT

Staphylococcus auricularis/ S. haemolyticus NT NT

NT NT

NT

NT

NT

Staphylococcus capitis NT NT

NT NT

NT

NT

NT

Staphylococcus caprae NT NT

NT NT

NT

NT

NT

Staphylococcus cohnii subsp. 1/ S. warneri NT NT

NT NT

NT

NT

NT

Staphylococcus hominis NT NT

NT NT

NT

NT

NT

Staphylococcus hominis /S. saprophyticus/ S. warneri NT NT

NT NT

NT

NT

NT

NT NT

NT NT

NT

NT

NT

Staphylococcus saccharolyticus NT NT

NT NT

NT

NT

NT

Staphylococcus simulans/S. warneri NT NT

NT NT

NT

NT

NT

NT NT

NT NT

NT

NT

NT

Staphylococcus simulans /S. xylosus

หมายเหตุ: + หมายถึง ใหผลบวกกับการทดสอบ; - หมายถึง ใหผลลบกับการทดสอบ; NT หมายถึง ไมไดทําการทดสอบ; LDC: Lysine decarboxylase test; ODC: Decarboxylase test

Indole test Malonate utilization LDC ODC

Nutrient agar with 7.5% NaCl Nutrient agar with 20% NaCl Coaglulase Triple Sugar Iron H2S production

Biochemical test

Staphylococcus hyicus subsp. Chromogenes

ตารางที่ 2 คุณสมบัติทางชีวเคมีของแบคทีเรียกลุมเฮทเทอโรโทรปที่พบในผลิตภัณฑอาหารทะเลแหงที่จําหนายในจังหวัดชลบุรี ป 2551 (ตอ)

วารสารปญญาภิวัฒน

PANYAPIWAT JOURNAL

79


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย จากการศึกษาการปนเปอนของแบคทีเรียกลุม เฮทเทอโรโทรปในอาหารทะเลแหงทีจ่ าํ หนายในจังหวัด ชลบุรี พบวา ในกลุม หมึกแหงมีปริมาณแบคทีเรียอยู ในชวง 5.87±2.14×104 ถึง 4.40±1.22×109 CFU/g ซึ่งเคยมีรายงานวาหมึกแหงที่จําหนายในทองตลาด มีปริมาณแบคทีเรียทั้งหมดเทากับ 1×107 CFU/g (ไพโรจน วิริยจารี, 2526) สวนตัวอยางในกลุมหมึก แปรรูปมีปริมาณแบคทีเรียอยูใ นชวง 6.00±2.00×102 ถึง 4.80±1.08×107CFU/g ซึ่งสอดคลองกับรายงาน ของ ศิรโิ ฉม ทุง เกา และกิตติรตั น วงษอนิ ทร (2550) ที่ไดทําการตรวจสอบคุณภาพทางจุลชีววิทยาของ หมึกแหงปรุงรส พบปริมาณแบคทีเรียทั้งหมดอยูใน ชวง 2.00×106 ถึง 1.40×107 CFU/g และรายงานของ สินหทัย สมบูรณยิ่ง (2545) ที่ไดทําการตรวจสอบ คุณภาพทางจุลชีววิทยาของหมึกหวานปรุงรส พบวา มีปริมาณแบคทีเรียทั้งหมดอยูในชวง 0.15×104 ถึง 2.58×105 CFU/g ซึง่ การทีอ่ าหารทะเลแหงแตละชนิด มีปริมาณแบคทีเรียมากนอยแตกตางกัน อาจเนือ่ งจาก มีการปนเปอนมากับวัตถุดิบ ขั้นตอนการผลิตหรือ อาจปนเปอนมาจากเครื่องมือที่ใชและผูปฏิบัติงาน (วราวุฒิ ครูสง, 2538) จากการจําแนกชนิดของแบคทีเรียพบวาสวนใหญ เป น แบคที เ รี ย กลุ  ม Staphylococcus, Bacillus และ Micrococcus ที่พบแบคทีเรียกลุมนี้เนื่องจาก Staphylococcus เปนแบคทีเรียที่พบไดบนผิวหนัง ของมนุษย สัตวเลี้ยงลูกดวยนม และในสิ่งแวดลอม ซึ่งอาจปนเปอนลงสูอาหารไดจากการใชมือหยิบจับ อาหาร (Aycicek et al., 2005) และในการศึกษาครัง้ นี้ ไมพบ S. aureus ซึ่งเปนแบคทีเรียกอโรคที่สําคัญ ในอาหารพรอมบริโภค และสามารถสรางสารพิษได (Aycicek et al., 2005) สวน Micrococcus เปน แบคทีเรียที่เจริญไดบนผิวหนังหรือเยื่อบุผิวตางๆ ของมนุษยแตไมทําใหเกิดโรค ดวยเหตุนี้จึงทําให สามารถพบการปนเปอนของแบคทีเรียกลุมนี้ไดใน

80

อาหารทะเลแหง และนอกจากนี้ยังพบการปนเปอน ของ Bacillus spp. ซึง่ การปนเปอ นของ Bacillus spp. ในอาหารอาจมาจากสิ่งแวดลอม เพราะแบคทีเรีย ชนิดนี้พบไดในดิน นํ้า ฝุนละออง ธัญพืช เปนตน (บุษกร อุตรภิชาติ, 2545) และสปอรของ Bacillus spp. อาจรอดชีวิตไดในกระบวนการผลิตอาหารและ สามารถเจริญไดถา นําอาหารมาวางไวทอี่ ณ ุ หภูมหิ อ ง หรือที่อุณหภูมิแชแข็ง (Iurlina et al., 2006) เมื่อนํามาวิเคราะหหาชนิดของแบคทีเรียกอโรค และไมกอโรคในอาหารทะเลแหงที่นํามาตรวจสอบ ในครั้งนี้ พบวา อาหารทะเลแหงที่ไมพบแบคทีเรียที่ กอโรคมีจํานวน 17 ชนิด สวนอาหารทะเลแหงที่พบ แบคทีเรียกอโรคมีจาํ นวน 12 ชนิด ซึง่ ไดแก หมึกไข หมึกแกว-2 หอยเสียบ-1 หอยเสียบ-2 หมึกอบเนย หมึกแกวกรอบ หมึกกรอบ-1 หมึกกรอบ-2 หมึกบด ชุบนํา้ เชือ่ ม หมึกหวาน หนวดหมึกอบชุบนํา้ เชือ่ ม-2 และหมึกเสนสามรส (เผ็ด)-1 แบคทีเรียกอโรคที่พบ คือ Enterobacter cloacae, Klebsiella pneumoniae, K. ozaenae, Proteus mirabilis, Listeria spp. และ Corynebacterium spp. โดย Enterobacter เปน แบคทีเรียที่พบไดทั่วไปในดิน นํ้า พืชผักตางๆ และ พบไดบอยในลําไสคน จัดเปนแบคทีเรียฉวยโอกาส มีรายงานวาเปนสาเหตุของการติดเชือ้ ในระบบทางเดิน ปสสาวะและติดเชือ้ ในกระแสเลือด (สุบณ ั ฑิต นิม่ รัตน, 2552) นอกจากนี้ E. cloacae ยังเปนสาเหตุใหเกิด โรคปอดบวมไดอีกดวย (Kanemitsu et al., 2007) K. pneumoniae เปนแบคทีเรียที่พบไดทั่วไปใน ธรรมชาติ นํ้า ดิน ขนมหวาน อาหารที่ทําจากนม ผัก ผลไม นํ้าดื่ม และในลําไสคน เปนตน จัดเปน แบคทีเรียฉวยโอกาส ทําใหเกิดโรคปอดบวม ติดเชือ้ ในกระแสเลือดและระบบทางเดินปสสาวะ เยือ่ หุม สมอง อักเสบ แผลติดเชื้อ และชองทองอักเสบ เปนตน (สุบัณฑิต นิ่มรัตน, 2552; Samra et al., 2007) สวน K. ozaenae ทําใหเกิดโรคจมูกอักเสบเรื้อรัง (Botelho-Nevers et al., 2007) Proteus mirabilis


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

เปนแบคทีเรียที่พบไดทั่วไปในดิน นํ้า ขยะ และใน ลําไสคน อาจทําใหเกิดโรคอุจจาระรวงในเด็กหรือเกิด การติดเชื้อในระบบทางเดินปสสาวะและแผลติดเชื้อ ตางๆ (สุบัณฑิต นิ่มรัตน, 2552) ซึ่งมีรายงานวา สามารถแยกแบคทีเรียชนิดนีไ้ ดจากอาหารทะเล เชน ปลา และหอย เปนตน (Fernandez-Delgado et al., 2007) นอกจากนี้ ยั ง พบ Listeria spp. ซึ่ ง เป น แบคทีเรียที่กอใหเกิดโรค Listeriosis สามารถพบได ทั่วไปในสิ่งแวดลอม เชน ดิน นํ้า พืช สิ่งปฏิกูล และ ในลําไสคนและสัตว (Seeliger and Jones, 1986; Korthalsa et al., 2008) และพบ Corynebacterium spp. ซึง่ เปนแบคทีเรียทีพ่ บไดในสิง่ แวดลอม เชน ดิน นํ้า และในผลิตภัณฑอาหาร เปนตน (Yassin et al., 2003; Collins et al., 2004) อาหารทะเลแหงทีน่ าํ มาศึกษาในครัง้ นี้ สวนใหญ มี ป ริ ม าณแบคที เ รี ย ที่ พ บในระดั บ สู ง โดยเฉพาะ อาหารทะเลแหง เชน ประเภทหมึกแหง ดังนัน้ ในการ เลื อ กซื้ อ อาหารทะเลแห ง ควรเลื อ กซื้ อ ที่ บ รรจุ ใ น ภาชนะทีส่ ะอาด ปดผนึกสนิท เพราะสามารถปองกัน การปนเปอนจากสิ่งสกปรกภายนอกได และการ บริโภคอาหารทะเลควรนํามาปรุงใหสุกกอนบริโภค เพื่อเปนการปองกันอันตรายจากการบริโภคอาหาร ทะเลที่ปนเปอนดวยแบคทีเรียกอโรค

บรรณานุกรม กรมสงเสริมอุตสาหกรรม. (2543). อุตสาหกรรม อาหารทะเลตากแหง (กุงและปลาหมึกแหง). สืบคนเมื่อ 4 มีนาคม 2553, จาก http://www. ryt9.com/s/ryt9/272072 บุษกร อุตรภิชาติ. (2545). จุลชีววิทยาทางอาหาร. สงขลา: ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ไพโรจน วิรยิ จารี. (2526). การยืดอายุการเก็บรักษา ปลาหมึกแหงโดยวิธรี ว มระหวางการฉายรังสีและ การใหสารกันเชื้อรา. วิทยานิพนธวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิทยาศาสตรการอาหาร คณะ อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. วราวุฒิ ครูสง. (2538). จุลชีววิทยาในกระบวนการ แปรรูปอาหาร. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. ศิริโฉม ทุงเกา และกิตติรัตน วงษอินทร. (2550). คุณภาพทางจุลชีววิทยาของหมึกแหงปรุงรส พรอมบริโภคที่จําหนายปลีกในตลาดหนองมน ชลบุรี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สินหทัย สมบูรณยิ่ง. (2545). การสํารวจคุณภาพ ทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑปลาหมึกหวาน ปรุงรสทีจ่ าํ หนายในตลาดหนองมน จังหวัดชลบุร.ี วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขา จุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย บูรพา. สุบัณฑิต นิ่มรัตน. (2552). การจําแนกแบคทีเรีย แกรมลบ รูปรางทอน วงศเอนเทอโร-แบคทีเรีย ซีอี. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. สุมาลี เหลืองสกุล. (2541). จุลชีววิทยาทางอาหาร. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. Auerswald, L., Morren, C. & Lopata, A. L. (2006). Histamine levels in seventeen spices of fresh and processed South African seafood. Food Chemistry, 98, 231-239. Aycicek, H., Cakiroglu, S. & Stevenson, T. H. (2005). Incidence of Staphylococcus aureus in ready-to-eat meals from military cafeterias in Ankara, Turkey. Food Control, 16, 531-534.

81


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Botelho-Nevers, E., Gouriet, F., Lepidi, H., Couvret, A., Amphoux, B. Dessi, P. & Raoult, D. (2007). Chronic nasal infection caused by Klebsiella rhinoscleromatis or Klebsiella ozaenae: two forgotten infectious diseases. International Journal of Infectious Diseases, 11, 423-429. Brenner, D. J. (1984). “Section: 5 Facultative Anaerobic Gram-Negative Rods.” In N. R. Krieg & J. G. Holt (Editors). Bergey’s manual of systematic bacteriology, Volume 1, pp. 414-417. Baltimore: Williams & Wilkins. Colakoglu, F. A., Sarmasik, N. C. & Koseoglu, B. (2006). Occurrence of Vibrio spp. and Aeromonas spp. in shellfish harvested off Dardanelles cost of Turkey. Food Control, 17, 648-652. Collins, M.D., Hoyles, L., Foster, G. & Falsen, E. (2004). Corynebacterium caspium sp. nov., from a Caspian seal (Phoca caspica). International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 54, 925-928. Ferber, J. M. (2000). Present situation in Canada regarding Listeria monocytogenes and ready-to-eat seafood products. Food Microbiology, 62, 247-251. Fernandez-Delgado, M., Contreras, M., GarciaAmado, M. A., Gueneau, P. & Suarez, P. (2007). Occurrence of Proteus mirabilis associated with two species of Venezuelan oysters. Revista do Instituto de Medicina Tropical de Sao Paulo, 49(6), 355-399. Friedemann, F. (2007). Enterobacter sakazakii in food and beverages (other than infant formular and milk powder). International Journal of Food Microbiology, 116, 1-10.

82

Holt, J. G., Krieg, N. R., Sneath, P. H. A., Staley, J. T. & Williams, S. T. (1994). Bergey’s manual of determinative bacteriology. 9th ed. Baltimore: Williams & Wilkins. Iurlina, M. O., Saiz, A. I., Fuselli, S. I. & Fritz, R. (2006). Prevalence of Bacillus spp. in different food products collected in Argentina. Food Science and Technology, 39, 105-110. Jeyasekaran, G., Ganesan, P., Shakila R. J., Maheswari, K. & Sukumar, D. (2004). Dry ice as a novel chilling medium along with water ice for short-term preservation of fish Emperor breams, lethrinus (Lethrinus miniatus). Innovative Food Science and Emerging Technologies, 5, 485-493. Kanemitsu, K., Endo, S., Oda, K., Saito, K., Kunishima, H., Hatta, M., Inden, K. & Kaku, M. (2007). An increased incidence of Enterobacter cloacae in a cardiovascular ward. Journal of Hospital Infection, 66, 130-134. Kocur, M. (1986). “Section 12: Gram-Positive Cocci Genus III Planococcus.” In P. H. A. Sneath, N. S. Mair, M. E. Sharpe & J. G. Holt (Editors). Bergey’s manual of systematic bacteriology, Volume 2, pp. 1011-1013. Baltimore: Williams & Wilkins. Korthalsa, M., Egeb, M., Lickc, S., von Mutiusb, E., & Bauera, J. (2008). Occurrence of Listeria spp. in mattress dust of farm children in Bavaria. Environmental Research, 107, 299-304. Parihar, V. S., Barbuddhe, S. B., DanielssonTham, M. L., & Tham, W. (2008). Isolation and characterization of Listeria species from tropical seafoods. Food Control, 19, 566-569.


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Phatarpekar, P. V. Kenkre, V. D., Sreepada, R. A., Desai, U. M., & Achuthankutty, C. T. (2002). Bacterial flora associated with larval rearing of the giant freshwater prawn. Maccrobrachium rosenbergii. Aquaculture, 203, 279-291. Samra, Z., Ofir, O., Lishtzinsky, Y., MadarShapiro, L. & Bishara, J. (2007). Outbreak of carbapenem-resistant Klebsiella pneumoniae producing KPC-3 in a tertiary medical centre in Israel. International Journal of Antimicrobial Agents, 30, 525-529. Seeliger, H. P. R. & Jones, D. (1986). “Section 14: Regular, Nonsporing Gram-Positive Rods.” In P. H. A. Sneath, N. S. Mair, M. E. Sharpe & J. G. Holt (Editors). Bergey’s manual of systematic bacteriology, Volume 2, pp. 1235-1246. Baltimore: Williams & Wilkins.

Sneath, P. H. A., Mair, N. S., Sharpe, M. E. & Holt, J. G. (1986). Bergey’s manual of systematic bacteriology volume 2. Baltimore: Williams & Wilkins. Tsai, G. J. & Chen, T. H. (1996). Incidence and toxigenicity of Aeromonas hydrophila in sea food. International journal of food microbiology, 31, 121-131. Yang, Z., Jiao, X., Zhou, X., Cao, G., Fang, W. & Gu, R. (2008). Isolation and molecular characterization of Vibrio parahemolyticus from fresh, low-temperature preserved, dried, and salted seafood products in two coastal areas of eastern China. International journal of food microbiology, 125, 279-285. Yassin, A. F., Kroppenstedt, R. M. & Ludwig, W. (2003). Corynebacterium glaucum sp. nov. International Jounal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 53, 705-709.

83


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Associate Professor Dr. Subuntith Nimrat is currently a faculty member in the Department of Microbiology and Environmental Science Program, Faculty of Science, Burapha University, Chon Buri, Thailand. She received a Ph.D. degree in Environmental Science from Rutgers, the State University of New Jersey, New Brunswick, US with the support of Royal Thai Government Scholarship. Dr. Nimrat obtained her B.Sc. and M.Sc. from Chiangmai University and Mahidol University, respectively. She was awarded an Academic Excellence Awards in University Linkages Program provided by Thailand-Australia Science and Engineering Assistance Project (TASEAP) in 2001 and a Distinguished Lecturer in Research from Faculty of Science, Burapha University, Thailand. She has published nearly 44 international and national research papers and 106 international and national proceeding. Her expertise focuses on Environmental biotechnology, and applied microbiology. She established the potential probiotic bacteria applied in both freshwater and marine aquaculture. Dr. Nimrat also emphasizes on the biodiversity of bacteria in aquatic animal’s product and their application. She is the author of 7 Thai books such as Determination of Gram negative bacilli: Vibrionaceae, Determination of Gram negative bacilli: Enterobacteriaceae and Aquaculture: The role of microorganisms and the application and Microbiology, and Management of water and soil pollution. Dr. Nimrat also wrote one chapter in “Aquaculture Research Trends” by Nova Science Publishers, Inc., NY. In 2008. Associate Professor Dr. Veerapong Vuthiphandchai obtained his Ph.D. in Marine Estuarine and Environmental Science from University of Maryland, USA and received his B.Sc. in Faculty of Fisheries (Honor) from Kasetsart University and M.Sc. in Aquaculture from Asian Institute of Technology (A.I.T.). He is currently an Associate professor in the Department of Aquatic Science at Burapha University and his research interests are reproductive endocrinology of fish, sperm cryopreservation of aquatic animals and risk assessment of environmental effects on aquaculture. Miss Preyaphorn Thongniam received her Bachelor’s Degree of Science in Microbiology, Faculty of Science from Burapha University. She is currently a scientist at Animal Health and Technical Service Office, Charoen Pokphand Food PCL., Bangkok, Thailand.

84


Á

¹ØÉ à§Ô¹à´×͹: ¤¹§Ò¹¤Í»¡¢ÒÇáÅФ¹§Ò¹¤Í»¡ ¹íéÒà§Ô¹ Salaryman: White Collar Workers and Blue Collar Workers สาคร สมเสริฐ อาจารยประจําคณะศิลปศาสตร สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน E-mail: sakornsom@pim.ac.th

บทคัดยอ บทความชิ้นนี้เปนผลของการวิเคราะหและสังเคราะหความรูที่เกี่ยวเนื่องกับมนุษยเงินเดือน เพื่อเปนความรูพื้นฐานสําหรับผูสนใจศึกษามนุษยเงินเดือนในระยะเริ่มตน โดยไดนําเสนอ ความหมาย ทีม่ า ประเภท และวิถชี วี ติ ของมนุษยเงินเดือน โดยมีขอ สรุป ดังนี้ มนุษยเงินเดือน คือ คนทํางานทีไ่ ดรบั คาจางเปนเงินเดือน มีทมี่ าตัง้ แตยคุ ศักดินาของยุโรปและปรากฏใหเห็น ชัดเจนภายหลังการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมและการขยายตัวของระบบทุนนิยม มนุษยเงินเดือนนี้ มีอยู 2 กลุมใหญๆ คือ คนงานคอปกขาว มีลักษณะการทํางานโดยใชความคิดตรึกตรอง มากกวาการใชกําลังแรงกาย ทํางานอยูในสภาพแวดลอมการทํางานที่ดี และคนงานคอปก นํ้าเงิน มีลักษณะการทํางานโดยใชกําลังแรงกายมากกวาการใชความคิดตรึกตรอง ทํางาน อยูในสภาพแวดลอมการทํางานที่ไมดี สังคมโดยทั่วไปมักจะมองวาคนงานคอปกขาวเปน มนุษยเงินเดือน สวนคนงานคอปกนํ้าเงินเปนลูกจางหรือกรรมกรที่มีเกียรติภูมิของอาชีพตํ่า สวนวิถีชีวิตของมนุษยเงินเดือนจะเกี่ยวของกับโลกการทํางานที่พวกเขามักขาดอิสระในดาน ความคิดและการกระทํา เพราะพวกเขาจําตองทํางานตามเงื่อนไขขององคกรเพื่อแลกกับ เงินเดือน นอกจากนีพ้ วกเขายังเกีย่ วของกับโลกนอกการทํางานทีเ่ ปนสังคมทุนนิยมเสรีทาํ ให พวกเขามีแนวโนมคิด และกระทําตามอิทธิพลของสังคมนัน้ ผานกิจกรรมการบริโภคเพือ่ ความ สะดวกสบาย คําสําคัญ: มนุษยเงินเดือน คนงานคอปกขาว คนงานคอปกนํ้าเงิน

85


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Abstract This article is the result of an analytical and synthetic study regarding the fundamental knowledge of a salaryman for beginners. This work discusses the definition of a salaryman, the background of the position and the nature of the salaryman’s way of life. The salaryman, by definition, is a worker who gets paid monthly. The salaryman position originated from the European feudal system and appeared after the industrial revolution and the expansion of capitalism. There are two main groups of salarymen, which are the “white collar workers” working with their thoughts more so than their strength and tend to work in a positive working environment, while the “blue collar workers” use their strength as their main ability and tend to work in a less desirable working environment. Typically, society may consider those deemed as white-collar workers to be salarymen and blue-collar workers to hold a lower ranking of laborers. In general, blue-collar worker positions also bring with them a lower level of occupation dignity. The salaryman’s way of life is affected by their work in the sense that they usually lose some of their freedom in thinking and acting due to the fact that they must follow their organization’s conditions in trade for their salary; moreover, they are also involved with a liberally capitalist society which is the external world of the working class. This involvement and relationship prompts them to think and act by consuming products and services for their convenience. Keywords: Salaryman, White collar workers, Blue collar workers บทนํา สํานักงานสถิติแหงชาติ (2553: 1-2) ไดทําการ สํารวจสภาวะการทํางานของประชากร เดือนเมษายน 2553 พบวา จากจํานวนผูม งี านทําทัง้ สิน้ 37.26 ลานคน เปนผูท าํ งานภาคเกษตรกรรมประมาณ 12.48 ลานคน (เชน การเกษตร การลาสัตว การปาไม และการ ประมง) หรือรอยละ 33.5 ของผูม งี านทํา และทํางาน นอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 24.78 ลานคน (เชน การขายสง ขายปลีก ซอมแซมยานยนต และของใช สวนบุคคลและครอบครัว การผลิต เปนตน) หรือ คิดเปนรอยละ 65.5 ของผูมีงานทําจากขอมูลนี้จะ เห็นวา ขณะนีค้ นไทยผูม งี านทํานอกภาคเกษตรกรรม มีจํานวนสูงกวาผูมีงานทําในภาคเกษตรกรรม ซึ่ง

86

สะทอนใหเห็นวา ปจจุบนั ประเทศไทยมีประชากรกวา 24.78 ลานคน ดํารงชีวติ ดวยการทํางานแลกกับคาจาง และเงินเดือน หากจะกลาววาปจจุบนั มนุษยเงินเดือนเปนกําลัง สําคัญในการพัฒนาประเทศในหลายดานคงจะไม ผิดนัก กลาวคือ ในดานเศรษฐกิจ มนุษยเงินเดือน เปนกลไกสําคัญในการผลิตสินคาและบริการเพื่อ ตอบสนองความตองการของสังคม ในขณะเดียวกัน มนุษยเงินเดือนเองก็เปนกลุมผูบริโภคสินคาและ บริการทีส่ าํ คัญอีกดวย นอกจากนีม้ นุษยเงินเดือนยัง เปนผูจ า ยภาษีใหรฐั มากทีส่ ดุ เพราะวามนุษยเงินเดือน ทุกคนตองถูกหักภาษี ณ ทีจ่ า ย อีกดานหนึง่ ในฐานะ เปนผูบ ริโภคหลักของชาติ มนุษยเงินเดือนก็ตอ งจาย


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ภาษีมูลคาเพิ่มหรือภาษีผูบริโภค (ศิริวรรณ สมนึก, 2547) ในดานสังคม เนื่องจากวามนุษยเงินเดือนเปน กลุม คนทีต่ อ งรับภาระดูแลกลุม ประชากรทีไ่ มสามารถ หารายไดดวยตัวเองไมวาจะเปนกลุมเด็ก เยาวชน คนชรา หรือกลุมผูพิการ ซึ่งการดูแลในที่นี้ไมใชแค เพียงการดูแลเรื่องคาใชจายในการยังชีพพื้นฐาน เทานั้น แตรวมไปถึงสนับสนุนดานการศึกษา อบรม การดูแลสุขอนามัย เปนตน ดวยเหตุนมี้ นุษยเงินเดือน จึงเปนเสมือนแรงหนุนเสริมใหสมาชิกสังคมทุกกลุม สามารถดํารงชีวิตอยูได สําหรับดานการเมืองนั้น มนุษยเงินเดือนเปน กลุม ประชากรทีม่ สี ทิ ธิพนื้ ฐานทางการเมือง โดยเฉพาะ สิทธิการเลือกตั้งผูแทนเขาไปทํางานภายใตกลไก ทางการเมืองการปกครองในทุกระดับไมวาจะเปน ระดับทองถิ่น และระดับชาติ นอกจากนี้ยังเปนกลุม ผลประโยชนสําคัญในการเรียกรอง ตอรอง กับผูมี อํานาจในทุกระดับไมวาจะเปนผูมีอํานาจหรือกลุม นายจางในสถานประกอบการ ตลอดจนผูมีอํานาจ ภายใตกลไกของรัฐ เพื่อผลักดันใหความตองการ หรือสภาพปญหาของกลุมตนไดรับการตอบสนอง หรือไดรับการแกไข ดังนั้นการดําเนินชีวิตของมนุษยเงินเดือนจึงมี ความสําคัญตอการขับเคลื่อนสังคมประเทศชาติใน หลากหลายมิติ หากการดําเนินชีวิตของคนกลุมนี้ ทําใหพวกเขาเองและผูคนรอบขางเกิดประโยชนสุข สังคมประเทศชาติโดยรวมยอมเกิดประโยชนสขุ ดวย ตรงขามหากการดําเนินชีวิตของพวกเขาบกพรอง พวกเขาและผูคนรอบขาง รวมทั้งสังคมประเทศชาติ โดยรวมยอมไมเจริญกาวหนา 1

เมือ่ มนุษยเงินเดือนและการดําเนินชีวติ ของพวก เขามีความสําคัญเชนนี้ สังคมมีความรูความเขาใจ เกีย่ วกับพวกเขามากนอยแคไหน อยางไร หรือเขาใจ พวกเขาแค เ พี ย งว า เป น กลุ  ม คนที่ ดํ า รงชี วิ ต เพื่ อ เงินเดือน ที่ทํางานเพื่อเงินเดือน ที่มีเปาหมายเปน เงินเดือนเปนที่พึ่งเทานั้น ไมมีอะไรมากไปกวานี้ หากเขาใจเพียงเทานีก้ อ็ าจจะไมเปนธรรมสําหรับคน หรือกลุม คนทีถ่ กู เรียกวา “มนุษยเงินเดือน” เทาไรนัก แนวทางหนึง่ ทีจ่ ะสามารถสรางความเปนธรรมใหกบั มนุษยเงินเดือน คือ การสรางความรูแ ละความเขาใจ เกีย่ วกับมนุษยเงินเดือนอยางถูกตองตามความเปนจริง โดยการศึกษามนุษยเงินเดือนในมิตติ า งๆ คือ การให ความหมายหรือคําจํากัดความมนุษยเงินเดือน ที่มา และประเภทของมนุษยเงินเดือน รวมทั้งวิถีชีวิตของ มนุษยเงินเดือน ซึ่งจะไดกลาวในรายละเอียดตอไป เปนลําดับ ความหมายของมนุษยเงินเดือน หลายคนอาจคุนเคยกับคําวา “มนุษยเงินเดือน” เพราะรับรูเกี่ยวกับคํานี้ผานสื่อในรูปแบบตางๆ อยู เปนประจํา หรือไมก็อยูในฐานะของมนุษยเงินเดือน เสียเอง แตอาจจะมีนอยคนที่จะรูและเขาใจเกี่ยวกับ มนุษยเงินเดือนอยางแทจริง มนุษยเงินเดือน คือใคร? คําถามนี้ถึงแมจะเปน คํ า ถามสั้ น ๆ ง า ยๆ แต ก็ ย ากในการอธิ บ าย ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไมปรากฏคํานี้ อยางไรก็ตามใน Investment Wiki ซึง่ เปนระบบสารานุกรม ภายใตเว็บไซต Investment Education Portal1 ไดมกี ารกลาวถึงมนุษยเงินเดือน ญี่ปุนที่เรียกวา “Salaryman” โดยหมายถึงพนักงาน

Investment Wiki เปนระบบสารานุกรม ภายใตเว็บไซต Investment Education Portal ซึ่งเทคโนโลยีที่ใชเปนเว็บไซตแบบพิเศษที่ เรียกวา วิกิ โดยมีขึ้นเพื่อวัตถุประสงคในการสรางองคความรู โดยผูอานรวมกันสรางขึ้นและแลกเปลี่ยนความรูอยางสรางสรรค ซึ่งผูใช สามารถแกไขไดภายใตเงื่อนไขการใชเว็บไซตของสถาบันพัฒนาความรูตลาดทุน (TSI) ซึ่งการแกไขทุกครั้งจะถูกเก็บไวทั้งหมดในสวน ของประวัติในแตละหนา

87


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

บริษทั ผูช ายทีร่ บั เงินเดือนประจํา สวนผูห ญิงเรียกวา “Office Lady” หรือ OL คําวามนุษยเงินเดือนนี้จะ ไมรวมคนงานในโรงงาน แมจะไดเงินเดือนประจํา หรือแพทยตามโรงพยาบาล ศิลปน ทนายความ นักการเมือง ในสังคมญี่ปุนมนุษยเงินเดือนนับเปน กลไกที่ สํ า คั ญ ของการพั ฒ นาภาคอุ ต สาหกรรม ประเทศ (วีระชาติ ชุตินันทวโรดม, 2551) ในสังคมไทยมีการกลาวถึงมนุษยเงินเดือนเปน ภาษาพูดมากกวาภาษาวิชาการและมีความหมาย โนมเอียงไปในทางทีป่ ระชดประชัน เชน มนุษยเงินเดือน เปนมนุษยที่อยูเพื่อเงินเดือน ที่ทําเพื่อเงินเดือน ที่มี เปาหมายเปนเงินเดือน ทีม่ เี งินเดือนเปนทีพ่ งึ่ (รจนา ณ เจนีวา, 2553) ตามความหมายนี้ดูราวกับวา มนุษยเงินเดือนพึ่งตัวเองไมไดเลย นอกจากการพึ่ง เงินเดือนจากนายจาง ในแวดวงวิชาการมีการกลาวถึงความเกีย่ วของกับ มนุษยเงินเดือนอยางกวางขวางและจริงจัง โดยเฉพาะ แวดวงวิชาการทางเศรษฐศาสตรแรงงานแตก็ไม เลือกใชคาํ วามนุษยเงินเดือนโดยตรง โดยจะใชคาํ วา คนทํางาน คนงาน หรือแรงงานมากกวา อยางไรก็ตาม ก็มีนักวิชาการมองวามนุษยเงินเดือน คือ ผูยังชีพ ดวยคาจาง (ศิริวรรณ สมนึก, 2547) ผูเ ขียนขอสรุปวามนุษยเงินเดือน คือ “คนทํางาน ที่ไดรับคาจางเปนเงินเดือน” แนนอนคนทํางานตาม ความหมายนี้คงไมใชคนทํางานที่เปนผูประกอบการ หรือเปนเจาของกิจการอิสระเปนแนแท เพราะพวกเขา ตองทํางานแลกกับเงินเดือนซึ่งตองผูกพันอยูกับ นายจางซึง่ เปนเจาของเงินเดือน และคนทํางานเหลานี้ มีทั้งเพศชายและหญิง ที่มาของมนุษยเงินเดือน หากพิจารณาในทางประวัติศาสตรจะพบวาการ จางแรงงานโดยไดรับคาจางเปนเงินเดือน (salaried workers) นั้นเกิดขึ้นครั้งแรกในยุคศักดินาของยุโรป เมือ่ ป ค.ศ. 1291 ในชวงจังหวะของการขยายตัวของ

88

เมือง และการพัฒนาขึน้ ทางการคาและอุตสาหกรรม ซึ่งมักจะเกี่ยวของกับสินคาอุปโภคเปนหลัก โดยมี การทํ า งานในรู ป บริ ษั ท ที่ จ  า งบุ ค ลากรที่ มี ค วาม เชี่ ย วชาญเฉพาะเข า ทํ า งาน (Mundy, 1973, pp. 162-179 อางถึงใน สุรพล ปธานวนิช, 2543: 16) นอกจากนี้ในแงของการบริหารเมือง เมืองตางๆ ใน ยุโรปไดมคี ณะบริหารทีไ่ ดรบั การเลือกตัง้ จากชาวเมือง และในบางแหงมีระบบการทํางานแบบมืออาชีพทีร่ บั เงินเดือนและมีวาระการบริหารงานทํางาน (Mundy, 1973, pp. 426-427 อางถึงใน สุรพล ปธานวนิช, 2543: 18) จะเห็นไดวาเงินเดือนเปนคาจางของ บุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะและคณะผูบ ริหาร เมืองซึง่ คนเหลานีม้ ลี กั ษณะการทํางานโดยใชความคิด ตรึกตรองมากกวาการใชกําลังแรงกาย การมองทีม่ าของมนุษยเงินเดือนขางตนเปนการ มองโดยใชเกณฑการใหคาจางที่เปนเงินเดือน แต หากมองในแงของการใชแรงงานเปนเกณฑจะพบวา การใชกําลังแรงกายทํางานมีพัฒนาการมายาวนาน ในทางประวัติศาสตรเศรษฐกิจสังคมนับตั้งแตสังคม ระบบทาส (slave system) (ประมาณ 5,000 ป กอน ค.ศ.-ค.ศ. 500) ทีม่ นุษยตอ งทํางานโดยใชกาํ ลัง แรงกายรับใชนายทาสในทุกรูปแบบนับตั้งแตงานใน ไรนา งานหัตถกรรม งานในบาน งานสรางสิง่ กอสราง ตางๆ เชน เทวสถาน ปรามิด วัด เปนตน เพื่อแลก กับการที่นายทาสปกครองดูแลใหที่พักและอาหาร เปลี่ ย นสู  สั ง คมระบบศั ก ดิ น า (feudal system) (ประมาณ ค.ศ. 400-1517) ที่ไพรหรือชาวนาตอง ทํางานในทีด่ นิ พรอมทัง้ สงดอกผล คาเชาใหกบั ขุนนาง หรื อ เจ า ของที่ ดิ น เพื่ อ แลกกั บ การที่ ขุ น นางหรื อ เจาของทีด่ นิ ใหสทิ ธิของการทําประโยชนในทีด่ นิ และ ไดผลิตผลบางสวนเพื่อยังชีพ และในชวงปลายของ ระบบศักดินาตอเนือ่ งไปถึงระบบทุนนิยม (capitalism) (ประมาณ ค.ศ. 1600-ปจจุบัน) (วิทยากร เชียงกูล, 2552) ที่ลูกจางหรือกรรมกรตองทํางานในโรงงาน หรือสถานประกอบการแลกกับเงินคาจางของนายทุน


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

เห็นไดชัดวาการทํางานที่ใชความคิดตรึกตรอง และไดรับคาจางเปนเงินเดือนปรากฏขึ้นครั้งแรกใน สังคมศักดินา สวนการทํางานที่ใชพลังแรงกายและ ได รั บ ค า จ า งเป น เงิ น เดื อ นนั้ น อาจปรากฏขึ้ น เป น ครั้งแรกในสังคมทุนนิยมเพราะมีการจางแรงงาน กรรมกรเกิดขึ้น อยางไรก็ตามในระยะแรกการให คาจางเปนเงินเดือนนัน้ ยังไมถอื วาเปนปรากฏการณ โดยทั่วไปของโลกแหงการทํางานจนกระทั่งมีการ ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในชวงศตวรรษที่ 18 พรอมๆ กับ การขยายตัวของระบบทุนนิยมและการพัฒนาขึน้ ของ องคกรการทํางานที่มีการบริหารจัดการภายใตหลัก ของเหตุผล การทํางานที่ไดรับคาจางเปนเงินเดือน จึงปรากฏขึ้นอยางกวางขวาง การปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมเริ่ ม แห ง แรกในโลกที่ อังกฤษประมาณ ค.ศ. 1780 และขยายผลชัดเจน ประมาณ ค.ศ. 1830 แลวเผยแพรไปในภาคพืน้ ทวีป ยุโรป ในชวงหลังของศตวรรษที่ 19 คือ หลังจาก ค.ศ. 1850 เกิดการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในฝรัง่ เศสและ เยอรมนี และในชวงหลังของศตวรรษที่ 19 ไดเกิด การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมขึน้ ในสหรัฐอเมริกาและญีป่ นุ ดวย เดวิด เอส แลนเดส (David S. Landes) กลาววา หั ว ใจของการปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมคื อ การเกิ ด ขึ้ น ตอเนือ่ งของการเปลีย่ นแปลงในเทคโนโลยี ซึง่ เกิดขึน้ ใน 3 สวน คือ การใชเครื่องจักรแทนฝมือของมนุษย การใชกําลังของสิ่งที่ไมมีชีวิตแทนกําลังของมนุษย และสัตวโดยเฉพาะใชกําลังไอนํ้า และการปรับปรุง การใชวตั ถุดบิ โดยเฉพาะโลหะและวัตถุเคมีซงึ่ เกิดขึน้ พรอมกับการเปลีย่ นแปลงดานเครือ่ งมือและกระบวน การผลิต จนเกิดองคกรรูปแบบใหมที่หนวยการผลิต มีขนาดใหญขึ้น มีการใชเครื่องจักรและลักษณะของ กําเนิดของกําลังทําใหตอ งการรวมการผลิตเปนกระจุก แทนทีจ่ ะผลิตในรานหรือในหองตามบานอยางแตเดิม ก็เปลี่ยนเปนการผลิตในโรงงานที่แบงคนออกเปน นายจางผูจัดใหมีเครื่องจักร ซึ่งเปนทุนในการผลิต ฝายหนึ่ง และกรรมกรผูใหแตแรงงานอีกฝายหนึ่ง

(David S. Landes, 1977: 83 อางถึงใน ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2539: 7) โดยที่มาของกลุมนายจาง คือ บรรดากลุมคนที่ เคยรับใชขุนนางในการดูแลผลประโยชนไดเริ่มใช ความรูและประสบการณที่เคยไดรับจากการจัดการ ผลประโยชนภายใตระบบศักดินาฉวยโอกาส ขณะที่ ระบบการค า และอุ ต สาหกรรมกํ า ลั ง รุ ด หน า อย า ง รวดเร็วภายในเมืองตางๆ ในการสะสมปจจัยการผลิต ในทายที่สุดก็สามารถเปลี่ยนสถานภาพของตนให กลายเปนผูค รอบครองทุน และปจจัยการผลิตทีใ่ ชใน การประกอบอุตสาหกรรม บุคคลกลุม นีเ้ องที่ มารกซ ไดจัดเปนชนชั้นนายทุน หรือชนชั้นผูครอบครองทุน หรือปจจัยการผลิต (Bourgeoisie หรือ Capitalist) ส ว นที่ ม าของกลุ  ม ลู ก จ า งก็ คื อ กลุ  ม อิ ส ระชน จํานวนมากที่วิวัฒนาการมาจากทาส และไพรหรือ ชาวนาซึง่ เปนกลุม คนทีป่ ราศจากทรัพยสนิ (หรือมีก็ เพียงสวนนอย) และตองทํางานในระบบโรงงานซึง่ คน กลุม นีก้ ลายเปนประชากรกลุม ใหญของระบบทุนนิยม โดยรับจางทํางานกับนายทุนและเปนชนชัน้ ที่ มารกซ เรียกวา ชนชั้นแรงงาน (Proletariant หรือ Working Class หรือ Labouring Class) (สุรพล ปธานวนิช, 2543: 51) นอกจากนีภ้ ายหลังการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ดําเนินไปก็ปรากฏชนชั้นใหมขึ้น คือ ชนชั้นกลาง อั น ได แ ก พวกอาชี พ อิ ส ระ วิ ศ วกร ครู นั ก ขาย ผูทํางานสํานักงาน นักบัญชี เจาของรานขนาดยอม ฯลฯ (ฉัตรทิพย นาถสุภา, 2539: 284-286) กลาวไดวาภายหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรมและ การขยายตัวของระบบทุนนิยมทําใหสังคมแบงเปน 3 ชนชั้นใหญๆ คือ นายทุน คนชั้นกลาง และกลุม ผูใชแรงงาน อยางไรก็ตามในรายละเอียดแลวชนชั้น ต า งๆ ในสั ง คมทุ น นิ ย มยั ง มี ก ารแบ ง ย อ ยออกไป ตามความคิ ด ของมาร ก ซ แ ล ว การแบ ง ชนชั้ น ใน รายละเอี ย ดของสั ง คมทุ น นิ ย มขณะนั้ น สามารถ จําแนกได 5 ชนชั้น (Abrahamson, Mizruchi and Horunung, 1976, pp. 170-171; Kerbo, 1983,

89


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

p. 183 อางถึงใน สุรพล ปธานวนิช, 2543: 51-52) ไดแก 1. ชนชั้นผูปกครอง (Aristocracy) ซึ่งมีความ สืบเนื่องจากขุนนางในระบบดั้งเดิม 2. ชนชั้นนายทุน ผูครอบครองปจจัยการผลิต และเป น ผู  จ  า งชนชั้ น แรงงานในอุ ต สาหกรรมเป น จํานวนมาก 3. นายทุนนอย (Petty Bourgeoisie) ไดแก เจาของกิจการขนาดเล็กตางๆ 4. ชนชั้นแรงงาน 5. ชนชั้ น ล า ง (Lumpenproletariat) ได แ ก คนยากไรและไมมีสวนในการสรางความมั่งคั่ง เชน คนจรจัด นักโทษที่ถูกปลดปลอย นักตมตุน แมงดา ฯลฯ ชนชั้ น ที่ 3 นายทุนน อย (รวมทั้งนักวิช าชีพ ผูประกอบการอิสระ) จัดเปนคนชั้นกลางเกา สวน ชนชั้ น ที่ 4 ชนชั้ น แรงงานนั้ น บางส ว นจั ด อยู  ใ น กลุมคนชั้นกลาง บางสวนจัดอยูในกลุมผูใชแรงงาน โดยสวนที่จัดอยูในกลุมคนชั้นกลางประกอบดวย พนั ก งานฝ า ยบริ ห ารและจั ด การ ลู ก จ า งที่ เ ป น นักวิชาชีพ พนักงานขาย ครู และพนักงานสํานักงาน ทั้งหลาย โดยเรียกคนกลุมนี้วา คนชั้นกลางใหม (Mills, 1956 อางถึงใน ณรงค เพ็ชรประเสริฐ, 2544: 31) สําหรับกลุมผูใชแรงงานนั้น มีการจําแนกออก เปน 3 กลุม (Szymanski, 1983, pp. 231-233 อางถึงใน สุรพล ปธานวนิช, 2543: 54) คือ 1. คนงาน ภาคอุตสาหกรรม (Industrial Workers) ประกอบดวย ชาง (Craftworkers) ที่ไมใชหัวหนาคนงาน คนงาน คุมเครื่อง (Operatives) และคนงาน (Nonfarm labor) 2. คนงานภาคเกษตร (Farm Laborers) และ 3. คนงานภาคบริการ (Service Workers) ไมรวม ตํารวจ ซึ่งแยกเปนคนที่ทํางานตามบาน และที่ไม ทํางานตามบาน ภายหลังการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในระยะแรกสงผล ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในชนบทและเมืองอยางมาก

90

โดยเมื อ งกลายเป น ศู น ย ก ลางของระบบการผลิ ต โรงงานอุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม ทําใหแรงงาน ในชนบทอพยพเขามาเปนแรงงานในเมืองจํานวนมาก สงผลใหเมืองขยายตัวอยางรวดเร็ว เมืองตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในระบบทุนนิยมอุตสาหกรรม ไดจัดหาโลกที่อยูอาศัยที่เปนรูปธรรม ทั้งที่ทํางาน และทีบ่ า น ซึง่ แรงงานยอมรับรูถ งึ ตําแหนงแหงทีข่ อง ตนเองได กลาวไดวาในเมืองกลุมชนชั้นผูใชแรงงาน คือ ผูกระทําการทางสังคมที่มีบทบาทในกิจกรรม ตางๆ บนพืน้ ทีท่ ปี่ รากฏใหเห็นอยางชัดเจน เมือ่ เมือง ไดกลายเปนสถานที่รองรับการเปลี่ยนแปลงตางๆ ในวิถีการผลิต และทําใหระบบทุนนิยมกอรางสราง รูปธรรมทางสังคม และรูปแบบการดําเนินชีวิตของ กลุมคนชนชั้นตางๆ มากขึ้น (เกษม เพ็ญภินันท ใน นลินี ตันธุวนิตย, 2550: 243-244) จากพลวัตการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม ในชวง 2-3 ทศวรรษทีผ่ า นมา ไดขบั เคลือ่ นความเปน เมืองไปในทิศทางของการเปนศูนยกลางทางธุรกิจ ตางๆ และการเมืองการบริหาร มีการโยกยายภาค การผลิตออกไปอยูชานเมืองหรือนอกเมือง มีการ จัดแบงเขตตางๆ เชน ทีอ่ ยูอ าศัย สถานทีป่ ระกอบการ ทางธุรกิจ ยานการคา สถานทีร่ าชการ ในขณะเดียวกัน ก็มกี ารผลิตสรางและธํารงรักษารูปแบบทางวัฒนธรรม มี ก ารจั ด การด า นภู มิ ทั ศ น ใ ห เ กิ ด ความสวยงาม เพื่อประโยชนทางดานอุตสาหกรรมการทองเที่ยว เกิดภาคบริการเพิม่ ขึน้ รายไดและคาครองชีพก็สงู ตาม สภาวการณเชนนี้ บุคคลที่ประกอบอาชีพและอาศัย อยูในเมืองโดยไมถูกบีบรัดทางเศรษฐกิจ เปนเพียง กลุมคนบางจําพวก คือ พนักงานบริษัท เจาหนาที่ ของรัฐ บุคคลทีม่ คี วามสามารถในสายวิชาชีพเฉพาะ ดาน เชน แพทย ศิลปน หรือสถาปนิก รวมทั้ง ผูป ระกอบการรายใหญและรายยอย สวนกรรมกรผูม ี รายไดนอย ถูกผลักดันใหออกจากชุมชนเมืองไปอยู ตามชานเมือง เพราะอาชีพ สถานทีท่ าํ งาน และแหลง ที่ ม าของรายได นั้ น ได ย  า ยฐานการผลิ ต ไปอยู 


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ชานเมือง และนิคมอุตสาหกรรมนอกเมือง (เกษม เพ็ญภินันท ใน นลินี ตันธุวนิตย, 2550: 245) และ เนือ่ งจากวาในเมืองและชานเมืองมีการติดตอสัมพันธ กันในหลายๆ รูปแบบทําใหคนทํางานในเมืองและ คนทํางานตามชานเมืองมีวถิ ชี วี ติ ไมแตกตางกันมากนัก ประเภทของมนุษยเงินเดือน จากทีม่ าของมนุษยเงินเดือนขางตน เราอาจแบง ประเภทมนุษยเงินเดือนซึ่งอยูในฐานะแรงงานใน ระบบออกเปน 2 กลุม ใหญๆ ตามลักษณะของการใช แรงงาน คือ กลุม คนทีท่ าํ งานในสํานักงาน และมักจะ เปนพวกทีใ่ ชแรงงานสมองมากกวาแรงงานกาย เชน คนทํางานที่เกี่ยวกับบัญชี วิศวกรรม สถาปตยกรรม งานเขี ย น งานที่ เ กี่ ย วกั บ การเงิ น ราชการ ฯลฯ ในทางวิชาการแรงงานเรียกคนกลุมนี้วา คนงาน คอปกขาว (white collar workers) และอีกกลุมคือ กลุมคนผูใชแรงกายเปนเครื่องยังชีพ ทําการผลิต อยางงาย ใชความรูและทักษะงายๆ เชน แบกหาม ทอผา คนงานในโรงงาน ฯลฯ สังคมไทยอาจเรียก คนกลุมนี้วา “กรรมกร” หรือในทางวิชาการแรงงาน เรียกวา คนงานคอปกนํ้าเงิน (blue collar workers) (ศิริวรรณ สมนึก, 2547) คําวา “คนงานคอปกขาว” และ “คนงานคอปก นํา้ เงิน” ใชกนั โดยทัว่ ไปในวิชาการแรงงาน โดยหยิบ เอาลักษณะการแตงกายและแบบแผนของการทํางาน ในสถานประกอบการมาเปนสัญลักษณ โดยหากเปน คนทํางานคอปกขาว จะแตงตัวชุดทํางานที่ดูสะอาด สะอาน เสื้อมักจะมีสีขาวหรือสีออน ไมใชสีนํ้าเงิน สีดํา หรือสีเทา เสื้อผาจะไมมีรอยเปรอะเปอนคราบ นํา้ มัน หรือรองรอยทีแ่ สดงใหเห็นวาตองทํางานอยูห นา เครือ่ งจักรตลอดเวลา หรือไมมรี อ งรอยของการทํางาน ขนถาย แบกหามที่ทําใหเสื้อเปรอะเปอนอยางเชน คนทํ า งานคอปกนํ้ า เงิ น (ณรงค เพ็ ช รประเสริ ฐ , 2548: 30) อยางไรก็ตามไมใชวา คนงานคอปกขาว และคนงาน

คอปกนํ้าเงินทุกคนจะมีฐานะเปนมนุษยเงินเดือน หากคนทํางานทั้งสองกลุมไดรับคาตอบแทนจาก นายจางเปนอยางอืน่ ทีไ่ มใชเงินทีจ่ า ยใหเปนรายเดือน เชน รายวัน รายสัปดาห หรือไดคาจางเปนสิ่งของ หรือจางแบบเหมาจาย ก็ไมนบั วาคนทํางานนัน้ อยูใ น ฐานะมนุษยเงินเดือนในความหมายที่วา “คนทํางาน ที่ไดรับคาจางเปนเงินเดือน” ซึ่งผูเขียนไดนิยาม ไวแลวในตอนตน คําวา “มนุษยเงินเดือน” คงไมไดหมายความ เฉพาะ “กลุม คนทํางาน” ทีส่ วมสูทสีเขม และเสือ้ เชิต้ สีออน บุคลิกดูเรียบรอยสะอาดสะอาน ทํางานใน สํานักงานหรือตึกสูง หรือถือกระเปาเอกสารหรือ โนตบุค ซึ่งกําลังเดินอยางเรงรีบอยูตามบาทวิถีของ ถนนสายตางๆ หรือตามสถานีรถไฟฟา ฯลฯ เทานัน้ “กลุม คนงาน” ทีส่ วมชุดสีนาํ้ เงินหรือฟา บุคลิกอาจจะ ดูไมเรียบรอยนัก ทํางานตามโรงงาน หรือถือถุงขาวแกง กลับบานหลังเลิกงาน ฯลฯ ก็จัดเปนมนุษยเงินเดือน เชนกัน แตดูราวกับวาผูคนทั่วไปจะมอง “กลุมคน ทํางาน” เปนมนุษยเงินเดือน สวน “กลุมคนงาน” เปนลูกจางหรือกรรมกรซึ่งมีเกียรติภูมิของอาชีพ คอนขางตํ่า วิถีชีวิตของมนุษยเงินเดือน หากพิจารณาตําแหนงแหงทีข่ องมนุษยเงินเดือน ภายใตโลกทางสังคมแลว อาจกลาวไดวา มนุษยเงินเดือน เปนคนสองโลก กลาวคือ ในโลกหนึง่ ของพวกเขาคือ โลกการทํางาน และอีกโลกหนึง่ คือ โลกนอกการทํางาน โดยโลกของการทํางานนั้น มักจะเกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมและเงือ่ นไขหรือกฎเกณฑตา งๆ ในทีท่ าํ งาน ที่พวกเขาไมอาจมีสวนกําหนดหรือมีสวนกําหนด นอยมาก ทําใหชีวิตของพวกเขาขาดความอิสระ ทางความคิดและการกระทําตามเจตจํานงของตัว พอสมควร ชีวิตของพวกเขาสวนใหญแลวจะทํางาน เพือ่ ใหเกิดความประทับใจแกผมู อี าํ นาจเหนือพวกเขา สวนโลกนอกการทํางานมักจะเกีย่ วของกับสิง่ แวดลอม

91


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

และเงือ่ นไขหรือกฎเกณฑตา งๆ ของสังคมใหญทเี่ ขา เปนสมาชิกอยู ดวยเหตุที่โลกใบนี้มีขนาดใหญจึง ไมอาจสงผลกระทบโดยตรงกับชีวติ ของพวกเขา ทําให การดําเนินชีวิตของพวกเขาคอนขางมีเสรีอยูไมนอย พวกเขาอาจไมรสู กึ อึดอัด หรือยุง ยากกับการใชชวี ติ มากนั ก เพราะแค เ พี ย งพวกเขาดํ า เนิ น ชี วิ ต ตาม บรรทัดฐานหรือกฎเกณฑทางสังคมอยางเหมาะสม พวกเขาก็สามารถดําเนินชีวติ ไดอยางสบาย อยางไร ก็ตามพวกเขาอาจหลงระเริงกับความเสรีจนไมรูตัว วาตัวเองกําลังเดินไปตามทางของกระแสแหงการ บริโภค ที่มุงเนนความสะดวกสบายในชีวิตที่เกิน จําเปน เหตุทเี่ ปนเชนนีก้ เ็ พราะวาโลกใบนีข้ องพวกเขา คือโลกของสังคมทุนนิยมเสรี มนุษยเงินเดือนประเภทคนงานคอปกขาว มักอยู โลกของการทํางานในสํานักงาน สภาพการทํางาน ค อ นข า งดี สมาชิ ก ในที่ ทํ า งานส ว นใหญ มี ร ะดั บ การศึกษาสูง รายไดสงู ภาษาทีใ่ ชในการติดตอสือ่ สาร กันมักจะเปนภาษาที่เปนทางการ สุภาพ คนทํางาน กลุมนี้อยูเดินตามทางของวัฒนธรรมองคกรที่ถูก กําหนดโดยผูนําองคกรแตพวกเขายังพอมีสวนรวม ในการกําหนดวัฒนธรรมองคกรไดบา ง สวนคนทํางาน คอปกนํ้าเงิน มักอยูโลกของการทํางานแบบโรงงาน สภาพการทํางานไมสูจะดีนัก สมาชิกในที่ทํางาน สวนใหญมรี ะดับการศึกษาทีไ่ มสงู รายไดตาํ่ ภาษาที่ ใชในการติดตอสื่อสารกันมักจะเปนภาษาที่ไมเปน ทางการ พวกเขามักแสดงใหเห็นถึงความตรงไป ตรงมาและจริงใจจนบอยครัง้ อาจจะดูไมสภุ าพสําหรับ คนกลุม อืน่ ทีพ่ บเห็น แตสาํ หรับพวกเขาแลวเปนเรือ่ ง ปกติธรรมดา คนทํางานกลุม นีเ้ ดินตามทางวัฒนธรรม องคกรทีถ่ กู กําหนดโดยผูน าํ องคกรทีพ่ วกเขามีสว นรวม ในการสรางวัฒนธรรมองคกรไดนอยมาก สวนโลกนอกการทํางานของมนุษยเงินเดือนนั้น โดยทัว่ ไปมนุษยเงินเดือนทัง้ สองกลุม อยูภ ายใตสงั คม ทุ น นิ ย มอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง ในสั ง คมแบบนี้ จ ะมี ค น กลุมนอยเทานั้นที่เปนเจาของปจจัยการผลิตหรือ

92

ทรัพยากรตางๆ ซึ่งไดแกนายทุนหรือนายจาง สวน คนสวนใหญซึ่งอยูในฐานะลูกจางเฉกเชนพวกเขาจะ ไมไดมโี อกาสเปนเจาของปจจัยการผลิตหรือทรัพยากร ตางๆ รวมทัง้ ไมสามารถไดรบั ประโยชนจากการผลิต โดยป จ จั ย การผลิ ต และทรั พ ยากรเหล า นั้ น อย า ง เต็มเม็ดเต็มหนวยและตรงไปตรงมา แตสงิ่ ทีพ่ วกเขา ไดคือคาจาง เงินเดือน และสวัสดิการ คนงานคอปกขาวนัน้ พวกเขาอยูท า มกลางบริบท สังคมเมืองที่เต็มไปดวยแบบแผนการบริโภคสินคา และบริการเพื่อความสะดวกสบาย ทําใหวิถีชีวิตของ พวกเขาผูกติดอยูก บั การบริโภค และการบริโภคของ พวกเขานัน้ บอยครัง้ ไมใชการบริโภคประโยชนใชสอย ในตัวสินคาและบริการ แตเปนการบริโภคเพือ่ หนาตา ทางสังคมหรือในทางวิชาการ เรียกวา การบริโภค เชิงสัญญะ นอกจากนีย้ งั พบวาการบริโภคของพวกเขา บางกรณียงั เปนการเลียนแบบการบริโภคของคนชัน้ สูง อีกดวย สวนคนทํางานคอปกนํา้ เงินนัน้ ถึงแมวา ชีวติ สวนใหญของพวกเขาจะอยูท า มกลางสังคมแบบเมือง หรื อ ชานเมื อ งที่ เ ต็ ม ไปด ว ยแบบแผนการบริ โ ภค เฉกเชนคนทํางานคอปกขาว แตเนือ่ งจากโดยสวนใหญ แลวพวกเขาเปนคนชนบทที่อพยพเขามาทํางาน ในเมือง พวกเขาจึงนําวิถชี วี ติ แบบชนบทติดตัวมาใช ในเมืองดวย ทําใหการดําเนินชีวิตของพวกเขาผสม ผสานกันระหวางความเรียบงายแบบคนชนบทและ ความฟุมเฟอยแบบคนเมือง การที่พวกเขาจะเลือก ดําเนินชีวิตแบบไหนนั้นพวกเขาจะตองประเมินแลว วาการดําเนินชีวติ แบบนัน้ สามารถทําใหพวกเขารูส กึ วาตัวเองมีคุณคา บทสงทาย มนุษยเงินเดือนจัดเปนแรงงานสําคัญในการพัฒนา ประเทศในทุกดาน แตปจจุบันผูคนในสังคมมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับมนุษยเงินเดือนคอนขางนอย ทําใหมองมนุษยเงินเดือนอยางฉาบฉวย ผูเขียนจึง พยายามศึกษาคนควาความรูที่เกี่ยวเนื่องกับมนุษย


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

เงินเดือนจนไดขอคนพบวา มนุษยเงินเดือน คือ คนทํางานทีไ่ ดรบั คาจางเปน เงินเดือนซึ่งจัดเปนแรงงานในระบบแบงเปน 2 กลุม ใหญๆ ตามเกณฑของลักษณะการใชแรงงาน คือ กลุม ทีใ่ ชแรงงานสมองมากกวาแรงงานกาย ลักษณะ การทํางานมีการใชความคิดตรึกตรอง คนกลุมนี้ ทํางานอยูในสภาพแวดลอมที่ดี ชุดแตงกายมีโอกาส เปรอะเปอนไดนอยจึงนิยมใสชุดทํางานสีออน เชน ผูบริหาร พนักงานในออฟฟศ ซึ่งเรียกวา คนงาน คอปกขาว พวกเขามักอยูในแหลงที่เปนศูนยกลาง ทางการคาและบริการในเมือง วิถชี วี ติ สวนใหญผกู ติด กับการบริโภคเพื่อความสะดวกสบาย อีกกลุมคือ กลุมที่ใชแรงงานกายมากกวาแรงงานสมอง ทํางาน อยูในสภาพแวดลอมที่ไมดีนัก ชุดแตงกายมีโอกาส เปรอะเปอนไดมาก จึงนิยมใสชุดทํางานสีนํ้าเงิน หรือฟา ชุดแตงกายมีโอกาสเปรอะเปอนไดงาย เชน คนงานในโรงงาน คนงานแบกหาม เรียกวา คนงาน คอปกนํ้าเงิน คนกลุมนี้มักทํางานในแหลงศูนยกลาง ทางการอุตสาหกรรมบริเวณชานเมือง หรือบริเวณ การขนสงสินคา เนื่องจากวาคนกลุมนี้สวนใหญเปน แรงงานอพยพจากชนบท ภาพทีป่ รากฏกับการดําเนิน ชีวติ ของพวกเขา คือ การผสมผสานกันระหวางความ เรี ย บง า ยแบบคนชนบทและความฟุ  ม เฟ อ ยแบบ คนเมือง เราไม ส ามารถปฏิ เ สธการดํ า รงอยู  แ ละการ ขับเคลื่อนชีวิตของมนุษยเงินเดือนได ดวยเหตุที่วา พวกเขามีตวั มีตนอยูจ ริง และมีจาํ นวนเพิม่ มากขึน้ กวา ในอดีต หากสังคมยังคงเขาใจพวกเขาอยางผิวเผิน ในทํานองวา มนุษยเงินเดือน คือ ผูที่ประทังชีวิตอยู ไดดวยเงินเดือนเพียงเทานั้น คุณประโยชนที่อาจมี ไดในตัวพวกเขาอาจมีเพียงนอยนิดหรืออาจไมมีเลย แตหากสังคมมองมนุษยเงินเดือนใหเขาใจอยางลึกซึง้ รอบดานแลวจะพบวา มนุษยเงินเดือน คือ เงื่อนไข และปจจัยสําคัญในการพัฒนาประเทศในทุกๆ ดาน ไมวา จะเปนดานเศรษฐกิจ พวกเขาเปนแรงงานผูผ ลิต และผูบ ริโภคกลุม สําคัญ ดานสังคม พวกเขา คือ ผูท ี่

ดูแลสวัสดิการตางๆ แกสมาชิกในชวงวัยเด็ก วัยชรา และผูดอยโอกาส และในดานการเมือง พวกเขาเปน ผูสงเสริมและตอรองกับกลไกแหงอํานาจเพื่อความ เปนธรรมในสังคม ถึงเวลาแลวหรือยังที่เราจะหันมาใหความสําคัญ กับมนุษยเงินเดือนอยางจริงจัง ผูเ ขียนเห็นวาการให ความสําคัญดังกลาวควรอยูบ นฐานของการทําความ เขาใจมนุษยเงินเดือนในสามมิติ คือ มิติที่วามนุษย เงินเดือน คือ ผูมีสิทธิที่ตองไดรับความคุมครองใน การทํางานในฐานะทีพ่ วกเขาเปน บุคลากรทีม่ คี ณ ุ คา ขององคกร มิติที่วามนุษยเงินเดือน คือ ผูมีสิทธิที่ ตองไดรับความเปนธรรมในทางกฎหมายในฐานะที่ พวกเขาเปน พลเมืองทีม่ คี ณ ุ คาของประเทศ และมิติ ที่วามนุษยเงินเดือน คือ ผูมีสิทธิที่ตองไดรับความ เคารพในเกี ย รติ แ ละศั ก ดิ์ ศ รี จ ากเพื่ อ นในสั ง คม เดียวกันในฐานะทีพ่ วกเขาเปน มนุษยทมี่ คี ณ ุ คาของ สังคม

บรรณานุกรม เกษม เพ็ญภินันท. (2550). กลุมคนชั้นกลางใน สังคมเมือง. ใน นลินี ตันธุวนิตย (บรรณาธิการ). คนชัน้ กลาง. (น. 223-271). กรุงเทพฯ: มิสเตอร กอปป. ฉัตรทิพย นาถสุภา. (2539). ประวัตศิ าสตรการปฏิวตั ิ อุ ต สาหกรรมเปรี ย บเที ย บ. พิ ม พ ค รั้ ง ที่ 2. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร. ณรงค เพ็ชรประเสริฐ. (2548). คนคอปกขาวในระบบ เศรษฐกิจการเมืองไทย (พ.ศ. 2475-2535). ใน ณรงค เพ็ ช รประเสริ ฐ (บรรณาธิ ก าร). คนชัน้ กลางไทยในกระแสทุนนิยม. (น. 25-109). กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรส โปรดักส. รจนา ณ เจนีวา. (2553). รจนารําพึง (ภาคมนุษย เงินเดือน). สืบคนเมือ่ 29 กรกฎาคม 2553, จาก http://www.noknoi.com/magazine/series. php?id=2913

93


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

วิทยากร เชียงกูล. (2552). ปรัชญาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สายธาร. วีระชาติ ชุตินันทวโรดม. (2551). มนุษยเงินเดือน ญีป่ นุ . สืบคนเมือ่ 5 กันยายน 2553, จาก http:// guru.sanook.com/search/มนุ ษ ย เ งิ น เดื อ น ญี่ปุน. ศิริวรรณ สมนึก. (2547). พลังของมนุษยเงินเดือน. A day weekly, 10 (10). สุรพล ปธานวนิช. (2543). แนวคิดและปรากฏการณ ดานแรงงาน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ ฟรีดริค แอแบรท. สํานักงานสถิติแหงชาติ. (2553). สรุปผลการสํารวจ ภาวะทํางานของประชากร เดือนเมษายน พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: สํานักงานฯ. Abrahamson, Mark, Mizruchi, Ephriaim H. and Horunung, Carlton A. (1976). Stratification and Mobility New York, Macmillan Publishing Co., Inc.. อางถึงใน สุรพล ปธานวนิช. (2543). แนวคิดและปรากฏการณดา นแรงงาน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ ฟรีดริค แอแบรท. David S. Landes. (1977). The Unbound Prometheus, Technological change and industrial development in Western in Europe

from 1750 to the present. Cambridge: Cambridge University Press. อ า งถึ ง ใน ฉัตรทิพย นาถสุภา. (2539). ประวัติศาสตรการ ปฏิวัติอุตสาหกรรมเปรียบเทียบ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร. Mill, C.W. (1951) 1956. White collar: the American middle class. New York, Oxford University Press. อางถึงใน ณรงค เพ็ชรประเสริฐ. (2548). คนคอปกขาวในระบบเศรษฐกิจการเมืองไทย (พ.ศ. 2475-2535). ใน ณรงค เพ็ชรประเสริฐ (บรรณาธิการ). คนชัน้ กลางไทยในกระแสทุนนิยม. (น. 25-109). กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรส โปรดักส. Mundy, John. (1973). Europe in the High Middle Ages 1150-1309. London, Longman Group Limited. อางถึงใน สุรพล ปธานวนิช. (2543). แนวคิดและปรากฏการณดา นแรงงาน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ ฟรีดริค แอแบรท. Szymanski, Albert. (1983). Class StructureA Critical Perspective, New York, Praeger Publishers. อ า งถึ ง ใน สุ ร พล ปธานวนิ ช . (2543). แนวคิดและปรากฏการณดานแรงงาน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ ฟรีดริค แอแบรท.

Mr. Sakorn Somsert received his Master of Arts (Sociology) from Chulalongkorn University, his Bachelor of Arts (Politics) from Ramkhamhaeng University and Bachelor of Arts (Social Development Management) from Khon Kaen University. He is currently a Lecturer in Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management. His main interests are in A way of life of salaryman.

94


¹Ñ

¡·‹Í§à·ÕÂè ÇÊÙ§ÍÒÂØ: ¡ÅØÁ‹ ໇ÒËÁÒ·ÕÁè ÈÕ ¡Ñ ÂÀÒ¾ÊíÒËÃѺ ¸ØáԨ¡Ò÷‹Í§à·ÕèÂÇ Senior Tourists: A Market with Potential for the Tourism Industry ผศ.ดร.สมยศ วัฒนากมลชัย คณบดีคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ E-mail: somyot.w@bu.ac.th ผศ.เยาวลักษณ ยิ้มออน อาจารยประจําคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ E-mail: yawalak.y@bu.ac.th

บทคัดยอ ผูสูงอายุเปนกลุมเปาหมายที่ธุรกิจการทองเที่ยวไทยไมควรมองขาม โดยเฉพาะในสภาวะ เศรษฐกิจปจจุบัน ผูสูงอายุจํานวนหนึ่งเปนกลุมนักทองเที่ยวที่นาจะใหความสําคัญ เพราะมี กําลังซื้อ ไมมีขอจํากัดดานเวลาในการเดินทาง และยังมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่องใน แตละป ผูป ระกอบการธุรกิจทองเทีย่ วจึงควรตระหนักถึงชองทางการเพิม่ โอกาสทางการตลาด ของตนจากกลุม คนเหลานี้ แตการจะทําธุรกิจการทองเทีย่ วใหประสบความสําเร็จไดนนั้ จําเปน ตองมีขอ มูลรอบดานเพือ่ ชวยในการตัดสินใจ บทความนีจ้ งึ ขอนําเสนอขอมูลทัว่ ไปและผลงาน วิจยั ทัง้ ในประเทศและตางประเทศทีผ่ ปู ระกอบธุรกิจการทองเทีย่ วควรทราบเกีย่ วกับนักทองเทีย่ ว สูงอายุ เพือ่ จะไดสามารถวางแผนการดําเนินงานและจัดบริการทางการทองเทีย่ วทีเ่ หมาะสม และดึงดูดใหผูสูงอายุตัดสินใจเดินทางทองเที่ยว คําสําคัญ: นักทองเที่ยว ผูสูงอายุ การตลาดการทองเที่ยว

95


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Abstract Given the current economic situation, the senior population is a potential market that the tourism industry should not overlook. A certain proportion of the elderly has high buying power and usually has no constraint on traveling period. Moreover, the number of senior population is steadily rising every year. Therefore, tourism entrepreneurs should be aware of the opportunity for market expansion from this emerging segment. However, in order to be successful in tourism business, tour operators and agencies need all relevant information for decision making. In this regard, this paper reveals significant general information as well as major findings from Thai and international research studies regarding senior tourists to assist tour operators and agencies in planning and organizing appropriate tourist activities to coax senior travelers. Keywords: Tourists, Senior Citizen, Tourism Marketing การทองเทีย่ วมีบทบาทสําคัญตอระบบเศรษฐกิจ ของโลกในยุคปจจุบัน เนื่องจากเปนแหลงที่มาของ รายไดหลักของหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย การเติบโตและการขยายตัวอยางไมหยุดยัง้ ของธุรกิจ การทองเทีย่ ว ไดสรางโอกาสงานทัง้ ในภาคอุตสาหกรรม การทองเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวของอยางกวางขวาง อันกอใหเกิดการกระจายรายไดในพื้นที่ตางๆ ของ ประเทศไทย นอกจากนี้ การพัฒนาอุตสาหกรรม การทองเทีย่ วยังชวยเสริมสรางคุณภาพชีวติ ของชุมชน ในแตละทองถิ่นใหดียิ่งขึ้นอีกดวย อยางไรก็ตาม ตั้งแตป พ.ศ. 2551 เปนตนมา ประเทศไทยประสบ ภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว อันเนื่องมาจากผลกระทบ ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วโลก กอปรกับสถานการณ ทางการเมืองในประเทศ และการระบาดของไขหวัดใหญ สายพันธุใ หม 2009 สงผลใหตวั เลขดานการทองเทีย่ ว ของไทยลดลง จากการประเมิ น สถานการณ ข อง สภาอุตสาหกรรมทองเทีย่ วแหงประเทศไทย จํานวน นั ก ท อ งเที่ ย วต า งชาติ ใ นป นี้ จ ะลดลงกว า ป ที่ แ ล ว ประมาณรอยละ 8-10 สรางความเสียหายใหกับ อุตสาหกรรมการทองเที่ยวไทยไมตํ่ากวา 100,000 ลานบาท (สภาอุตสาหกรรมทองเทีย่ วแหงประเทศไทย,

96

2553) สถานการณดังกลาวสงผลกระทบตอธุรกิจ โรงแรม รานอาหาร การขนสง และธุรกิจอื่นๆ ที่ เกี่ยวของกับการทองเที่ยว ดวยเหตุนี้ จึงมีความ จํ า เป น เร ง ด ว นที่ จ ะต อ งหาช อ งทางเพิ่ ม จํ า นวน นักทองเที่ยวเพื่อพยุงใหรายรับจากการทองเที่ยวยัง คงทรงตัว ถึงแมวาการทองเที่ยวแหงประเทศไทย และกระทรวงการท อ งเที่ ย วและกี ฬ าจะพยายาม หามาตรการสงเสริมใหคนไทยเที่ยวในประเทศไทย เชน การริเริ่มแผนการรณรงค “เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก” หรือลาสุด “กอดเมืองไทย ... ใหหายเหนือ่ ย” เพือ่ ชวยกระตุน เศรษฐกิจโดยหวังให คนไทยทุกกลุม อายุเดินทางทองเทีย่ วในประเทศไทย มากขึ้ น เพื่ อ ชดเชยรายรั บ จากนั ก ท อ งเที่ ย วชาว ตางชาติ แตการมุง เปาประชาสัมพันธไปทีท่ กุ กลุม อายุ อาจจะไมใชทางออกทีด่ เี พราะเปนการทําการตลาดที่ ไรทศิ ทาง กลุม บุคคลทีน่ า จะใหความสําคัญเปนพิเศษ ในสถานการณ ป  จ จุ บั น และในอนาคตอั น ใกล คื อ กลุมผูสูงอายุ ซึ่งมีจํานวนหนึ่งเปนผูมีศักยภาพสูง มีเงินออมและเวลามากกวากลุมอายุอื่นๆ แนวโนมของสังคมโลกยุคปจจุบนั พบวาประเทศ ตางๆ ทั่วโลกมีจํานวนประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ทุกป และกําลังมีสดั สวนเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งทัว่ โลก องคการสหประชาชาติไดคาดการณจากผลสํารวจที่ จัดทําขึ้นในป พ.ศ. 2549 วาจํานวนผูที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไปทั่วโลกจะเพิ่มจาก 687.9 ลานคนในป พ.ศ. 2549 เปน 1,968 ลานคนในป พ.ศ. 2593 โดยจะมี จํ า นวนผู  สู ง อายุ ใ นทวี ป เอเชี ย มากที่ สุ ด (สถาบั น วิ จั ย ระบบสาธารณสุ ข 2552) สํ า หรั บ ประเทศไทย สัดสวนผูสูงอายุมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น อยางตอเนือ่ งเชนกัน ซึง่ มีผลมาจากการพัฒนาบริการ ดานสาธารณสุข รวมทั้งการใสใจดูแลสุขภาพของ คนรุนใหม นับตั้งแตป พ.ศ. 2547 ประเทศไทยเริ่ม เขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) จากขอมูลของ สํานักงานสถิตแิ หงชาติ สัดสวนประชากรสูงอายุเพิม่ ขึ้นจากรอยละ 6.8 ในป พ.ศ. 2537 เปนรอยละ 9.4 ในป พ.ศ. 2545 และรอยละ 10.7 ในป พ.ศ. 2550 (สํานักงานสถิตแิ หงชาติ 2550) รวมทัง้ ยังคาดวาอาจ จะเพิ่มเปนรอยละ 15 ในป พ.ศ. 2563 (สุขภาวะ ผูสูงอายุ, มปป.) นอกจากนี้ จากผลการสํารวจของ สํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุในประเทศไทยป พ.ศ. 2547-2550 พบวา อัตราผูส งู อายุในไทยเพิม่ ขึน้ เฉลี่ยปละประมาณ 200,000 คน (สุขภาวะผูสูงอายุ, มปป.) การเพิม่ จํานวนประชากรสูงอายุของไทยดังกลาว ขางตน มีผลกระทบทางบวกโดยตรงตอการจัดการ ธุรกิจการทองเที่ยวสําหรับกลุมผูสูงอายุ จากผลการ ศึกษาของ University of Surrey สหราชอาณาจักร ในป พ.ศ. 2549 พบวา ตลาดทองเทีย่ วกลุม คนพิการ และกลุม ครอบครัวของสหภาพยุโรปมีประมาณ 134267.9 ลานคน กอใหเกิดรายไดจากการทองเที่ยว ประมาณ 3,910-7,820 ลานบาท (สถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข, 2552) ดวยเหตุนี้ ผูเกี่ยวของกับธุรกิจ การทองเที่ยวดานตางๆ จึงควรหันมาใหความสนใจ กับการทองเที่ยวของกลุมนักทองเที่ยวสูงอายุ และ พยายามดึงดูดใหกลุมนักทองเที่ยวสูงอายุเดินทาง ทองเทีย่ วในประเทศไทยใหมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ชวยสราง

รายไดจากการทองเทีย่ วและขยายตลาดการทองเทีย่ ว ของไทย การดําเนินชีวิตของผูสูงอายุชาวไทยสวนใหญ เดิมจะใชชวี ติ เรียบงาย อยูอ ยางประหยัด และเขารวม กิจกรรมทางสังคมนอยลง บางไมสามารถทําสิง่ ตางๆ ดวยตนเองไดเพราะขอจํากัดดานสุขภาพ แตใน ปจจุบนั ผูส งู อายุบางสวนจะมีพฤติกรรมเปลีย่ นแปลง ไปจากเดิ ม เช น สามารถดู แ ลรั ก ษาสุ ข ภาพของ ตนเองให แ ข็ ง แรงแม จ ะมี อ ายุ ม ากขึ้ น มี ค วาม กระตือรือรนในการใชชีวิตและการเขารวมกิจกรรม สนใจทีจ่ ะเรียนรูส งิ่ ใหมและตองการพัฒนาตนเอง และ ในกลุมผูสูงอายุที่มีสถานภาพทางการเงินมั่นคงพอ มักจะใชสงิ่ ของหรืออุปกรณทเี่ กีย่ วของกับเทคโนโลยี ใหมๆ และชอบการเดินทางทองเทีย่ ว (อัญชลี, 2550 อางถึงใน Sasinand, 2550) ดั ง นั้ น การส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย วสํ า หรั บ นั ก ทองเทีย่ วสูงอายุ จึงมีแนวโนมของการเติบโตทางการ ตลาดที่มีศักยภาพมาก และนับเปนโอกาสอันดีที่ ประเทศไทยจะไดพฒ ั นาการทองเทีย่ วแบบใหม รวมทัง้ พัฒนาแหลงทองเที่ยว และสงเสริมใหมีสิ่งอํานวย ความสะดวกตางๆ อยางครบวงจร เพือ่ ตอบสนองแก ผูใชบริการซึ่งเปนกลุมผูสูงอายุใหมีมากยิ่งขึ้น และ เพือ่ ใหมคี วามพรอมในการรองรับนักทองเทีย่ วสูงอายุ ในรูปแบบที่มีความหลากหลายอยางเปนระบบ เกิด การกระจายรายไดไปยังแหลงทองเที่ยวตางๆ เปน โอกาสใหประเทศไทยไดฟนฟูเศรษฐกิจของตนเอง อยางไรก็ตาม การดําเนินธุรกิจทองเที่ยวใหประสบ ความสําเร็จนัน้ จําเปนตองเขาใจถึงความตองการของ ลูกคากลุม เปาหมายเปนสําคัญ เพือ่ ใหสามารถบริหาร จัดการใหลูกคาเกิดความพึงพอใจสูงสุด ดวยเหตุนี้ หากตองการจะจัดบริการการทองเที่ยวใหกลุมผูสูงอายุ ผูประกอบการธุรกิจทองเที่ยวจําเปนตองเขาใจ ลักษณะเฉพาะของนักทองเที่ยวสูงอายุซึ่งแตกตาง จากนักทองเทีย่ ววัยอืน่ และยิง่ ไปกวานัน้ จําเปนตอง ศึกษาขอมูลรอบดานใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได

97


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ดังนั้น การศึกษาคนควาและวิจัยเกี่ยวกับผูสูงอายุ จึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับประเทศไทย ทั้งนี้ ขอมูล ของผูสูงอายุสวนที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวยังมี นอยมาก งานวิจยั สวนใหญจะเนนศึกษาเรือ่ งคุณภาพ ชีวติ และสวัสดิการทางสังคม ซึง่ แตกตางจากงานวิจยั ผูสูงอายุในตางประเทศที่ใหความสนใจกับประเด็น ตางๆ ที่เกี่ยวกับการเดินทางทองเที่ยวของผูสูงอายุ เชน ชวงอายุ พฤติกรรมและแรงจูงใจ ความตองการ และขอจํากัดในการเดินทาง ซึ่งผลการวิจัยดังกลาว นับเปนขอมูลทีเ่ ปนประโยชนตอ ผูป ระกอบการในภาค ธุรกิจ และตอการพัฒนาองคความรูด า นการทองเทีย่ ว บทความนี้จะนําเสนอผลการวิจัยที่นาสนใจและมี ความสําคัญเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของนักทองเที่ยว สูงอายุ เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการทางการ ตลาดกั บ กลุ  ม เป า หมายผู  สู ง อายุ อี ก ทั้ ง ยั ง เป น แนวทางสําหรับนักวิชาการและนักวิจัยชาวไทยใน การทําวิจัยตอไป การศึกษาเกี่ยวกับนักทองเที่ยวสูงอายุ จําเปน ตองพิจารณาความหมายของคําวา “ผูสูงอายุ” กอน เปนอันดับแรก เพราะยังเปนประเด็นทีถ่ กเถียงกันอยู วาบุคคลที่มีอายุเทาใดจึงจะจัดวาเปนผูสูงอายุ หาก พิจารณาตามเกณฑตดั สินของสํานักงานสถิตแิ หงชาติ ผูส งู อายุแบงเปน 3 กลุม ไดแก ผูส งู อายุวยั ตน (อายุ 60-69 ป) ผูสูงอายุวัยกลาง (อายุ 70-79 ป) และ ผูสูงอายุวัยปลาย (อายุตั้งแต 80 ปขึ้นไป) ดังนั้น บุคคลที่มีอายุเกินกวา 60 ปจึงจัดเปนผูสูงอายุ ซึ่ง สอดคลองกับคําจํากัดความขององคการอนามัยโลก แตจะแตกตางจากความหมายของคําวา “ผูสูงอายุ” ที่ปรากฏในงานวิจัยที่เกี่ยวกับนักทองเที่ยวสูงอายุ ซึง่ นักวิจยั แตละคนจะกําหนดเกณฑอายุทแี่ ตกตางกัน เชน มีอายุตั้งแตอายุ 50 ป (Anderson & Langmeyer, 1982; Javalgi, Thomas, & Rao, 1992) 55 ป (Batra, 2009; Fleischer & Pizam, 2002; Hong, Kim, & Lee, 1999; Lieux, Weaver, & McCleary, 1994) 60 ป (Jang & Wu, 2006; Lee

98

& Tideswell, 2005) หรือ 65 ป (Tongren, 1980) ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของนักวิจัยแตละคน เชน หากตองการศึกษาเฉพาะผูเ กษียณอายุ ก็มกั จะ กําหนดเกณฑอายุที่ 60 ป หรือ 65 ป แตหากตองการ ศึกษาเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมที่ เปลี่ยนแปลงของผูสูงอายุในแตละชวงอายุ เชน ผูที่ ยังมีงานประจําทํา หรือผูมีเงินบําเหน็จบํานาญหรือ เงินออม นักวิจัยก็มักจะกําหนดเกณฑอายุตั้งแต 50-55 ป แตนักวิจัยบางคนก็แบงกลุมผูสูงอายุเปน กลุม ตน (อายุระหวาง 50-64 ป) และกลุม ปลาย (อายุ 65 ปขึ้นไป) เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของ ผูสูงอายุในแตละชวงอายุในประเด็นที่สนใจศึกษา (Javalgi, et al., 1992) อยางไรก็ดี การแบงชวงอายุ ของผู  สู ง อายุ นี้ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การเดิ น ทาง ทองเที่ยว เชน จุดมุงหมายในการเดินทางทองเที่ยว ของผูส งู อายุ จากงานวิจยั ของ Anderson และ Langmeyer (1982) พบวา นักทองเที่ยวในแตละชวงอายุ มีจุดมุงหมายในการเดินทางทองเที่ยวคลายคลึงกัน คือ เพื่อพักผอนหยอนใจและเยี่ยมญาติหรือคนรูจัก แตนักทองเที่ยวที่มีอายุมากกวา 50 ปจะมีแนวโนม ทีจ่ ะเดินทางไปชมแหลงทองเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร และแหลงทองเที่ยวที่ไมมีคนพลุกพลานมากนัก ซึ่ง แตกต า งจากนั ก ท อ งเที่ ย วที่ มี อ ายุ ตํ่ า กว า 50 ป นอกจากนี้ ยังพบดวยวานักทองเทีย่ วทีอ่ ายุมากกวา 50 ป มักนิยมเดินทางในระหวางเดือนสิงหาคม-เดือน พฤศจิกายน เนือ่ งจากเปนชวงนอกฤดูกาลทองเทีย่ ว และนิยมเดินทางดวยเครือ่ งบิน จะเห็นไดวา การแบง กลุม ของผูส งู อายุโดยพิจารณาจากเกณฑชว งอายุจะ ทําใหไดขอมูลที่ถูกตองและเฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น นอกจากการกําหนดชวงอายุ การแบงกลุม ผูส งู อายุยังสามารถแบงนักทองเที่ยวออกเปนกลุมตาม พฤติกรรมและแรงจูงใจในการเดินทางที่แตกตางกัน เชน Shoemaker (1989) แบงกลุมนักทองเที่ยว สูงอายุออกเปน 3 กลุม คือ กลุมที่เดินทางเพื่อไป เยีย่ มญาติและคนรูจ กั (family travelers) กลุม ทีช่ อบ


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

วางแผนการเดินทางลวงหนาและชอบทํากิจกรรมที่ หลากหลายในขณะเดินทาง (active resters) และ กลุม ทีน่ ยิ มซือ้ รายการนําเทีย่ วแบบเหมาจายเบ็ดเสร็จ (older set) เชนเดียวกับ Lieux, Weaver และ McCleary (1994) ที่ แ บ ง กลุ  ม ของนั ก ท อ งเที่ ย ว สูงอายุออกเปน 3 กลุม คือ กลุม ทีอ่ ยูใ นวัยใกลเกษียณ และมี ร ายได ดี นิ ย มหาประสบการณ แ ปลกใหม (novelty seekers) กลุมที่อยูในวัยใกลเกษียณและ มีรายไดดีเชนเดียวกับกลุมแรก แตนิยมเดินทาง ทองเที่ยวในเขตที่มีอากาศอบอุนและรอน และใช ระยะเวลาในการเดินทางทองเที่ยวเปนเวลานาน (active enthusiasts) และกลุม ทีอ่ ายุมากทีส่ ดุ เมือ่ เทียบ กับสองกลุมที่กลาวมาขางตน แตมีรายไดนอยกวา และนิยมเดินทางระยะสั้น (reluctant travelers) นอกจากนี้ ยังมีนักวิจัยรุนหลังอีกหลายคนที่ศึกษา พฤติกรรมและแรงจูงใจของนักทองเที่ยวสูงอายุโดย แบงนักทองเที่ยวสูงอายุออกเปนกลุมยอยเพื่อความ สะดวกในการจัดรายการนําเที่ยวใหตรงตามความ ตองการของลูกคามากที่สุด เชน Backman, et al. (1999) แบงนักทองเทีย่ วสูงอายุออกเปน 5 กลุม ไดแก กลุมที่ชอบการศึกษาและชมธรรมชาติ (education/ nature) กลุมที่ชอบผจญภัย เดินปา และนอนเต็นท (camping/tenting) กลุ  ม ที่ เ ดิ น ทางเพื่ อ สั ง สรรค (socialization) กลุมที่เดินทางเพื่อพักผอนหยอนใจ (relaxation) และกลุม ทีเ่ ดินทางเพือ่ ศึกษาและเรียนรู สิ่งตางๆ (information) นอกจากนี้ ยังมีนกั วิจยั อีกกลุม ทีเ่ นนศึกษาความ ตองการเกี่ยวกับการเดินทางทองเที่ยวของผูสูงอายุ เชน Javalgi และคณะ (1992) พบวา นักทองเที่ยว สูงอายุนยิ มใชบริษทั ตัวแทนการทองเทีย่ ว และมีความ ออนไหวตอราคาคาเดินทาง ในขณะที่ Bai, Jang, Cai และ O’Leary (2001) พบวา นักทองเทีย่ วสูงอายุ นิยมเลือกรายการนําเทีย่ วจากจํานวนนักทองเทีย่ วที่ รวมเดินทาง และระยะเวลาที่ใชเดินทาง แต Hsu (2001) ชี้วา นักทองเที่ยวกลุมสูงอายุจะใหความ

สนใจกับชือ่ เสียงของธุรกิจนําเทีย่ วทีเ่ ปนผูจ ดั รายการ นําเทีย่ ว บริการทีจ่ ดั ให กิจกรรมทีท่ าํ ระหวางเดินทาง ตารางการเดินทางที่ยืดหยุน เอกสารประชาสัมพันธ และความปลอดภัยระหวางการเดินทาง Romsa และ Blenman (1989) พบวา ผูสูงอายุนิยมใหความ สําคัญกับประเภทของพาหนะ และการจัดกิจกรรมที่ สนุกสนาน หรือไมตองออกแรงในการทํากิจกรรม มากเกินไป และไมพบความแตกตางระหวางนัก ทองเทีย่ วสูงอายุกบั นักทองเทีย่ ววัยอืน่ ซึง่ สอดคลอง กับผลการวิจัยของ Hong และคณะ (1999) ที่พบวา นักทองเที่ยวสูงอายุมีคาใชจายในหมวดคาพาหนะ มากที่สุด รองลงมาคือ คาอาหาร คาที่พัก และ คาเขาชมสถานที่ทองเที่ยวหรือสถานบันเทิงตางๆ Ananth, DeMicco, Moreo และ Howey (1992) พบวา นักทองเที่ยวสูงอายุตองการสิ่งอํานวยความ สะดวกตางๆ จากทางโรงแรมมากกวานักทองเที่ยว ที่มีชวงอายุตํ่ากวา เชน จํานวนผาหม ราวจับใน หองนํ้า ขนาดตัวอักษรที่ใหญกวาปกติในเอกสาร แสดงขอมูลหรือปายตางๆ อยางไรก็ตาม Sun และ Morrison (2007) พบวา ผูส งู อายุนยิ มเลือกรานอาหาร โดยพิจารณาจากปจจัยหลัก 3 ประการ ไดแก การ บริ ก ารและบรรยากาศภายในร า น ประเภทของ อาหารและราคา รวมทั้ ง ส ว นลดที่ ท างร า นจั ด ให ไตรรัตน จารุทัศน จิราพร เกศพิชญวัฒนา กิตติอร ชาลปติ และศรัณยา หลอมณีนพรัตน (สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย, มปป.) พบวา ผูสูงอายุ ตองการที่พักอาศัยและสภาพแวดลอมที่ตางจาก กลุมวัยอื่น กลาวคือ นิยมมีสิ่งอํานวยความสะดวก ตางๆ อยางครบครัน รวมทั้งรายละเอียดปลีกยอย ของวัสดุอปุ กรณตา งๆ เชน ความสูงของลูกตัง้ บันได ความชันของทางลาด ความสูงของสวิตชไฟและราวจับ ลักษณะของลูกบิด กลอนประตู และกอกนํ้า นอกจากการศึกษาในเรื่องความตองการของ นักทองเที่ยวสูงอายุแลว นักวิจัยหลายคนยังสนใจ ศึกษาถึง “ขอจํากัด” ที่ทําใหผูสูงอายุไมสามารถ

99


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

เดินทางทองเที่ยวได เชน Nimrod (2008) พบวา มีขอจํากัด 4 ขอที่เปนอุปสรรคตอการเดินทางของ ผูส งู อายุ ไดแก รายไดหลังเกษียณทีม่ จี าํ กัด สุขภาพ ไมสมบูรณแข็งแรง มีภาระตองดูแลผูอื่น และขาด เพือ่ นรวมเดินทาง แตหากผูส งู อายุประสงคจะเดินทาง ก็มกั จะทําไดโดยปรับเปลีย่ นรูปแบบของการทองเทีย่ ว เชน การลดความถี่ในการเดินทาง เดินทางเมื่อมี ความพรอมเทานั้น หรือบางกลุมก็เดินทางโดยไม ใสใจขอจํากัดที่ตนมี สวนงานวิจัยของ McGuire (1984) พบวา มีขอจํากัด 5 ดานที่ทําใหผูสูงอายุ ไมสามารถเดินทางทองเทีย่ ว ประการแรก คือ ปจจัย แวดลอมภายนอก เชน ขาดขอมูล ขาดทุนทรัพย ตองเตรียมการมากเกินไป ไมมีอุปกรณเครื่องใช ในการเดินทางที่เหมาะสม และขาดพาหนะในการ เดินทาง ประการที่สอง เรื่องเวลา เชน ไมสามารถ เดินทางทองเทีย่ วไดเพราะมีภาระงานทีต่ อ งทํา หาก ใชเวลาเพื่อการทองเที่ยวจะทําใหชีวิตประจําวันตอง สะดุดหรือหยุดชั่วคราว ประการที่สาม การไมไดรับ ความเห็นชอบจากบุคคลในครอบครัวหรือเพือ่ น เชน ไมสนับสนุนใหเดินทาง หรือไมเห็นดวยกับสถานที่ ทีเ่ ลือกไปทองเทีย่ ว ประการทีส่ ี่ ปจจัยทางสังคม เชน คูสมรสไมชอบเดินทางทองเที่ยว และไมมีเพื่อนรวม เดินทาง และประการสุดทาย เรื่องสุขภาพรางกาย เชน มีโรคประจําตัว กลัวการเดินทางดวยการขนสง บางประเภท และขาดความคลองตัวในการเดินทาง เนือ่ งจากอายุมาก สวนงานวิจยั ของ Hong และคณะ (1999) พบวา ปจจัยเดียวที่เปนขอจํากัดในการ เดินทางทองเที่ยวของผูสูงอายุคือ รายได ผูสูงอายุ ชวงตนจะมีเงินออมมากพอที่จะเดินทางไดตามที่ ตองการ ตางกับผูสูงอายุในชวงปลายที่เงินออมหรือ รายไดลดลง ทําใหไมสามารถเดินทางทองเที่ยวได บอยครัง้ เชนเดิม ซึง่ สอดคลองกับงานวิจยั ของ Dardis, Soberon-Ferrer และ Patro (1994) และ Hong และคณะ (1999) อยางไรก็ตาม การที่นักทองเที่ยว จะใชจายมากหรือนอยในขณะเดินทางทองเที่ยวนั้น

100

ไม ไ ด ขึ้ น อยู  กั บ ป จ จั ย เรื่ อ งระดั บ ของรายได เ พี ย ง ประเด็นเดียว แตยังอาจขึ้นอยูกับระดับการศึกษา (Dardis, et al., 1994; Hong, Morrison, & Cai, 1996) และสถานภาพสมรส (Hong, et al., 1996) Fleischer และ Pizam (Fleischer & Pizam, 2002) เสนอเพิ่มเติมวา ขอจํากัดของการเดินทาง ของผูสูงอายุอาจแปรผันไปตามชวงอายุ โดยในชวง กอนเกษียณ ขอจํากัดคือเรื่องเวลาและรายได สวน ชวงวัยเกษียณ ผูส งู อายุจะมีเงินตอบแทนหลังเกษียณ และมีเวลาวางมากพอที่จะใชเพื่อการทองเที่ยว แต หากใชจา ยโดยขาดการวางแผนทีด่ ี จํานวนเงินทีล่ ดลง อาจกลายเปนขอกําจัดของการเดินทางทองเที่ยวใน ครัง้ ตอไป แตเมือ่ ถึงชวงอายุทลี่ ว งวัยมากขึน้ สุขภาพ กลับเปนขอจํากัดแทนเพราะมักมีปญหาเรื่องโรคภัย ไขเจ็บตางๆ ดังนั้น พอจะสรุปไดวา ขอจํากัดของ ผูสูงอายุในการตัดสินใจเดินทางทองเที่ยวขึ้นอยูกับ ชวงอายุ ระดับของรายได และสุขภาพ Fleischer และ Pizam จึงเสนอวา ธุรกิจนําเที่ยวควรมุงดึงดูด ลูกคาในกลุมอายุ 60-70 ป เพราะเปนผูสูงอายุที่อยู ในวัยที่พรอมที่สุดเนื่องดวยปจจัยเกื้อหนุนหลาย ประการดังกลาว งานวิจัยที่เกี่ยวของกับนักทองเที่ยวสูงอายุ อาจ มีประเด็นอื่นๆ นอกเหนือจากที่ไดกลาวแลว เชน การศึกษาเรื่องสถานที่ทองเที่ยว ลักษณะกิจกรรม และพาหนะที่ใชในการเดินทางที่เหมาะสม (Jang & Wu, 2006) สุขภาพ (Blazey, 1987; Zimmer, Brayley, & Searle, 1995) คาใชจา ยทีใ่ ชในการดูแล สุขภาพ (Hong, et al., 1999) และสภาวะทาง อารมณ (Westbrook, 1987) ตลอดจนอิทธิพลของ ภูมิหลังทางประชากรที่มีตอการตัดสินใจเดินทาง ทองเที่ยวของนักทองเที่ยวสูงอายุ เชน ปจจัยเรื่อง เพศ อายุ การศึ ก ษา ภู มิ ลํ า เนา และฐานะทาง เศรษฐกิจ (Romsa & Blenman, 1989; Zimmer, et al., 1995) อยางไรก็ตาม จากผลการวิจยั ของ Jang และ Wu พบวา ความแตกตางทางดานอายุ เพศ และ


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

สถานภาพทางเศรษฐกิจ ไมสงผลกระทบตอการ ตัดสินใจเดินทางทองเที่ยวของผูสูงอายุแตละคน ผูสูงอายุจัดวาเปนกลุมเปาหมายหลักที่อาจจะ ชวยฟน ฟูธรุ กิจการทองเทีย่ วไทยในปจจุบนั เพราะมี ศักยภาพและมีกําลังซื้อ เนื่องจากจํานวนของคน สูงวัยมีเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ ในแตละป และยังสามารถ เดินทางทองเที่ยวไดโดยไมมีเงื่อนไขดานเวลา แต การศึกษาคนควาเกี่ยวกับการทองเที่ยวสําหรับกลุม ผูสูงอายุยังไมไดรับความสนใจมากเทาที่ควร ดังนั้น เพื่ อ เป น การเตรี ย มความพร อ มของประเทศให สามารถรองรับกับสถานการณการฟนตัวของธุรกิจ ทองเทีย่ วไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงควรสงเสริม และสนับสนุนใหเกิดการศึกษา และรวบรวมขอมูล เกี่ยวกับผูสูงอายุจากแหลงตางๆ เชน คนควาจาก งานวิจยั ทัง้ ภายในและตางประเทศ รวมทัง้ ผลักดันให นักวิจยั ไทยศึกษาดานการทองเทีย่ วของผูส งู อายุเพือ่ เปนขอมูลเพิ่มเติมมากขึ้น ทั้งนี้ ขอมูลเชิงกวางและ เชิงลึกที่ไดจะเปนประโยชนอยางมากในการนํามาใช ประกอบการพิจารณาจัดดําเนินการธุรกิจทองเที่ยว ใหไดตรงตามเปาหมาย ตัวอยางประเด็นวิจัยที่นา ศึกษา เชน ผูสูงอายุเปนกลุมคนที่ตองการเดินทาง ทองเที่ยวจริงหรือไม และมีอัตราเฉลี่ยของผูสูงอายุ คิดเปนรอยละเทาใดทีส่ ามารถเดินทางทองเทีย่ วไดจริง ดวยสืบเนือ่ งมาจากขอเท็จจริงทีว่ า ยังมีกลุม ผูส งู อายุ ทีไ่ มสามารถทํากิจกรรมทองเทีย่ วได เพราะยังมีภาระ รับผิดชอบที่ไมอาจปลีกเวลาไปใชเพื่อการทองเที่ยว ได นอกจากนี้ ผูสูงอายุอาจอยูในกลุมของผูมีฐานะ ยากจน หรือไมมีเงินออมทําใหไมอาจทองเที่ยวได เพราะการเดินทางแตละครัง้ จําเปนตองเสียคาใชจา ย จํ า นวนหนึ่ ง ฉะนั้ น ผู  สู ง อายุ ที่ ต  อ งการเดิ น ทาง ทองเที่ยวจะตองมีสถานภาพทางการเงินที่ดีพอ ซึ่ง มักจะมีเพียงเฉพาะกลุมผูสูงอายุจํานวนหนึ่งเทานั้น ที่มีกําลังทรัพยพอจะทําได ผูสูงอายุกลุมดังกลาวนี้ ได แ ก ผู  สู ง อายุ ที่ มี เ งิ น ออม หรื อ มี เ งิ น บํ า นาญ ประเด็นดังกลาวนี้จึงนาสนใจที่จะศึกษา เพราะผล

จากการวิจัยจะชวยเอื้อประโยชนเปนอยางยิ่งใหกับ ผูป ระกอบการธุรกิจทองเทีย่ ว กอใหเกิดความชัดเจน และสรางความเชือ่ มัน่ วาตลาดนักทองเทีย่ วสูงอายุจะ เปนกลุมเปาหมายที่ดีไดจริง

บรรณานุกรม กิจกรรมสงเสริมสุขภาพและเครือขายผูส งู อายุ. (2553). บทบาทผูสูงอายุตอสังคม ครอบครัว ชุมชน. สืบคนเมื่อ 23 กรกฎาคม 2553, จาก http:// hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/ about/soongwai/topic006.php สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. (2552). ทองเที่ยว แนวใหม ทีป่ ราศจากอุปสรรคสําหรับคนทัง้ มวล. สืบคนเมื่อ 23 กรกฎาคม 2553, จาก http:// www.hsri.or.th/th/whatnews/detail.php?id= 181&key=activity สภาอุตสาหกรรมทองเทีย่ วแหงประเทศไทย. (2553). ประเมินผลกระทบอุตสาหกรรมทองเที่ยวของ ไทยจากเหตุการณความขัดแยงทางการเมือง. สืบคนเมื่อ 20 กรกฎาคม 2553, จาก http:// www.thailandtourismcouncil.org/home.php สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . (2553). มาตรฐาน ขัน้ ตํา่ สําหรับทีพ่ กั อาศัยและสภาพแวดลอมของ ผูสูงอายุ. สืบคนเมื่อ 23 กรกฎาคม 2553, จาก http://www.trf.or.th/research/abstract/Thai/ RDG4730011.tx สํานักงานสถิตแิ หงชาติ. (2550). รายงานการสํารวจ ประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2550. สืบคนเมื่อ 10 กรกฎาคม 2553, จาก http:// service.nso.go.th/nso/nsopublish/pocketBook/ older-pb50.pdf สุขภาวะผูส งู อายุ. (2546). ภาพรวมของสิทธิผสู งู อายุ ตามพระราชบัญญัตผิ สู งู อายุ พ.ศ. 2546. สืบคน เมือ่ 23 กรกฎาคม 2553, จาก http://www.stou. ac.th/stoukc/elder/main2_14.html

101


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

อัญชลี พิชญางกูร. (2550). รายงานการวิจัยของ บริษัทโอกิลวี่แอนดเมเธอรประเทศไทย. อางถึง ใน Sasinand. (2550). ประเทศไทยไดกลายเปน สังคมผูส งู อายุไปเสียแลว. สืบคนเมือ่ 20 กรกฎาคม 2553, จาก http://gotoknow.org/blog/goodliving/ 133071?page=3 Ananth, M., DeMicco, F. J., Moreo, P. J., & Howey, R. M. (1992). Marketplace lodging needs of mature travelers. [doi: DOI: 10.1016/0010-8804(92)90005-P]. The Cornell Hotel and Restaurant Administration Quarterly, 33(4), 12-24. Anderson, B., & Langmeyer, L. (1982). The under-50 and over-50 traveler: A profile of similarities and differences. Journal of Travel Research, 20(4), 20-24. Backman, K., Backman, S., & Silverberg, K. (1999). Investigation into the psychographics of senior nature-based travelers. Tourism Recreation Research, 24(1), 13-22. Bai, B., Jang, S. S., Cai, L. A., & O’leary, J. T. (2001). Determinants of travel mode choice of senior travelers to the United States. Journal of Hospitality & Leisure Marketing, 8(3), 147-168. Batra, A. (2009). Senior Pleasure Tourists: Examination of Their Demography, Travel Experience, and Travel Behavior Upon Visiting the Bangkok Metropolis. International Journal of Hospitality & Tourism Administration, 10(3), 197-212. Blazey, M. A. (1987). The differences between participants and non-participants in a senior travel program. Journal of Travel Research, 26(1), 7-12.

102

Dardis, R., Soberon-Ferrer, H., & Patro, D. (1994). Analysis of leisure expenditures in the United States. Journal of Leisure Research, 26(4), 309-321. Fleischer, A., & Pizam, A. (2002). Tourism constraints among Israeli seniors. [doi: DOI: 10.1016/S0160-7383(01)00026-3]. Annals of Tourism Research, 29(1), 106-123. Hong, G.-S., Kim, S. Y., & Lee, J. (1999). Travel expenditure patterns of elderly households in the US. Tourism Recreation Research, 24(1), 43-52. Hong, G.-S., Morrison, A. M., & Cai, L. A. (1996). Household Expenditure Patterns for Tourism Products and Services. Journal of Travel & Tourism Marketing, 4(4), 15-40. Hsu, C. H. C. (2001). Importance and Dimensionality of Senior Motorcoach Traveler Choice Attributes. Journal of Hospitality & Leisure Marketing, 8(3), 51-70. Jang, S., & Wu, C.-M. E. (2006). Seniors’ travel motivation and the influential factors: An examination of Taiwanese seniors. [doi: DOI: 10.1016/j.tourman.2004.11.006]. Tourism Management, 27(2), 306-316. Javalgi, R. G., Thomas, E. G., & Rao, S. R. (1992). Consumer behavior in the U.S. pleasure travel marketplace: An analysis of senior and nonsenior travelers. Journal of Travel Research, 31(2), 14-19. Lee, S. H., & Tideswell, C. (2005). Understanding attitudes towards leisure travel and the constraints faced by senior Koreans. Journal of Vacation Marketing, 11(3), 249-264.


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Lieux, E. M., Weaver, P. A., & McCleary, K. W. (1994). Lodging preferences of the senior tourism market. [doi: DOI: 10.1016/01607383(94)90079-5]. Annals of Tourism Research, 21(4), 712-728. McGuire, F. A. (1984). A factor analytic study of leisure constraints in advanced adulthood. Leisure Sciences: An Interdisciplinary Journal, 6(3), 313-326. Nimrod, G. (2008). Retirement and tourism Themes in retirees’ narratives. [doi: DOI: 10.1016/j.annals.2008.06.001]. Annals of Tourism Research, 35(4), 859-878. Romsa, G., & Blenman, M. (1989). Vacation patterns of the elderly German. [doi: DOI: 10.1016/0160-7383(89)90066-2]. Annals of Tourism Research, 16(2), 178-188.

Shoemaker, S. (1989). Segmentation Of The Senior Pleasure Travel Market. Journal of Travel Research, 27(3), 14-21. Tongren, H. N. (1980). Travel Plans of the Over65 Market Pre and Postretirement. Journal of Travel Research, 19(2), 7-11. Westbrook, R. A. (1987). Product/consumptionbased affective responses and postpurchase processes. Journal of Marketing Research, 24, 258-270. Zimmer, Z., Brayley, R., & Searle, M. (1995). Whether to go and where to go: Identification of important influences on seniors’ decisions to travel. Journal of Travel Research, 33(3), 3-10.

Assistant Professor Dr. Somyot Wattanakamolchai received his Ph.D. in Hospitality and Tourism Management from Virginia Polytechnic Institute and State University, M.S. in Hospitality and Tourism Management from Rochester Institute of Technology, and B.A. in English with first class honors from Thammasat University. He is currently the Dean of the School of Humanities at Bangkok University. Assistant Professor Yaowalak Yim-On received her B.A. in Linguistics from Thammasat Unviersity and her M.A. in Linguistics from Mahidol University. She is currently an assistant professor in the English Department, School of Humanities at Bangkok University.

103


¤

ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÃÐËÇ‹Ò§ÇѲ¹¸ÃÃÁͧ¤ ¡ÒÃáÅСÒèѴ¡Òà ¤ÇÒÁÃÙŒ¢Í§¼ÙŒ»ÃСͺ¡Òà SMEs The Relationship between Organizational Culture and Knowledge Management of SME Entrepreneurs จรินทร อาสาทรงธรรม อาจารยประจําภาควิชาการจัดการธุรกิจสมัยใหม คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ E-mail: jarin.a@bu.ac.th

บทคัดยอ บทความนีน้ าํ เสนอเกีย่ วกับความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมองคการและการจัดการความรูข อง ผูประกอบการธุรกิจ SMEs ซึ่งมีประเด็นสําคัญเริ่มตั้งแตความหมาย กระบวนการ ขอจํากัด ของการจัดการความรู และยังไดกลาวถึงความหมายของวัฒนธรรมองคการและรูปแบบของ วัฒนธรรมองคการรูปแบบตางๆ และมีการเปรียบเทียบความแตกตางระหวางวัฒนธรรม องคการแบบเดิม และวัฒนธรรมองคการทีอ่ ยูบ นพืน้ ฐานของความรู เพือ่ ทําใหผปู ระกอบการ เกิดความเขาใจในเรื่องวัฒนธรรมองคการมากขึ้น นอกจากนี้ยังศึกษาความสัมพันธระหวาง วัฒนธรรมองคการและการจัดการความรู และชี้ใหเห็นถึงความสําคัญและความจําเปนที่ ผูประกอบการธุรกิจ SMEs ตองคํานึงถึงวัฒนธรรมองคการ กอนที่จะมีการนําการจัดการ ความรูเขามาใชในองคการ คําสําคัญ: วัฒนธรรมองคการ การจัดการความรู ผูประกอบการ SMEs

104


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Abstract This article presents the relationship between organizational culture and knowledge management of SME entrepreneurs. The main issues include definitions, processes and obstacles of the knowledge management practices. Moreover, it also covers definitions and different patterns of organizational culture as well as a comprehensive comparison between culture of a traditional organization and that of a knowledgebased organization in order to provide better understanding to Entrepreneurs. In addition, the relationship of organizational culture and knowledge management is identified for the SME entrepreneurs to consider organizational culture as a very crucial basis for an implementation of knowledge management in an organization. Keywords: Organizational Culture, Knowledge Management, SME Entrepreneurs ความจําเปนในการจัดการความรูข องผูป ระกอบ การ SMEs ในปจจุบนั มีการเปลีย่ นแปลงหลากหลายทีเ่ กิดขึน้ กับองคการ ปจจัยที่ผูประกอบการ SMEs จะตอง คํานึงถึงมีทั้งปจจัยภายนอกองคการ เชน เศรษฐกิจ สั ง คม การเมื อ ง เทคโนโลยี ลู ก ค า คู  แ ข ง ขั น ซัพพลายเออร เปนตน และปจจัยภายในองคการ เชน กฎ ระเบียบ ขอบังคับ เปนตน ทําใหผูประกอบการ มี ค วามยากลํ า บากมากขึ้ น ในการจะทํ า ให ธุ ร กิ จ สามารถคงอยูต อ ไปได เพราะธุรกิจ SMEs มีขนาดเล็ก และมีขอจํากัดมาก เชน เงินทุน จํานวนบุคลากร เปนตน อยางไรก็ตามผูประกอบการ SMEs ตางก็มี เปาหมายของความสําเร็จของธุรกิจแตกตางกันไป อาทิ การทําใหธุรกิจอยูรอด การสรางความสามารถ ในการทํากําไร การควบคุมคุณภาพของสินคาหรือ บริการใหสมํ่าเสมอ และการพยายามสรางความรูให กับธุรกิจ SMEs อยางตอเนื่อง เปนตน Davenport and Prusak (2000: 5) ไดกลาววา ความรู หมายถึง การผสมผสานของกรอบประสบการณ คานิยม และสารสนเทศ และการเขาใจในการจัดการ กรอบสําหรับการประเมินประสบการณและสารสนเทศ เปนจุดเริ่มตนในการสรางและประยุกตภายในจิตใจ

ของบุคคลที่มีความรู ไมเพียงแตในเอกสารเทานั้น ความรู  ยั ง ฝ ง ตั ว อยู  ใ นวิ ถี ก ารทํ า งานประจํ า วั น กระบวนการ การปฏิบัติ และบรรทัดฐานอีกดวย และนอกจากนี้ Drucker (1998: 4) อธิบายวา ความรู เปนสารสนเทศทีเ่ ปลีย่ นแปลงบางสิง่ หรือบางคนไปสู การปฏิบัติ หรือการทําใหคนหรือองคการสามารถ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนั้น พอจะสรุปไดวา ความรู หมายถึง การที่บุคคลรับ ขอมูลขาวสารผานกระบวนการคิด เปรียบเทียบ และ เชื่อมโยงกับความรูอื่นๆ จนเกิดเปนความเขาใจและ สามารถนําไปประยุกตใชได ดังนั้น ผูประกอบการ ธุรกิจ SMEs จําเปนตองคํานึงถึงการสรางความรู ใหเกิดขึน้ ในองคการอันจะทําใหมกี ารพัฒนาองคการ ไดอยางตอเนื่อง ความรูเปนสิ่งที่มีบทบาทเปนอยางมากในการ พัฒนาธุรกิจ SMEs ในขณะที่สิ่งแวดลอมตางมีการ เปลี่ ย นแปลงที่ ซั บ ซ อ นและองค ก ารจํ า เป น ต อ งมี การเปลี่ยนแปลง และสรางนวัตกรรมขึ้นมา ความรู ที่สรางขึ้นมาในองคการตามแนวคิดของ Polanyi (1966, Cited in Nonaka and Takeuchi, 1995: 59) แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

105


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

1. ความรูท อี่ ยูใ นแตละบุคคล (Tacit Knowledge) เกิดจากประสบการณ การเรียนรู หรือพรสวรรค ตางๆ ซึ่งสื่อสารหรือถายทอดในรูปของตัวเลข สูตร หรือลายลักษณอักษรไดยาก ความรูชนิดนี้พัฒนา และสามารถแบงปนกันได และเปนความรูท กี่ อ ใหเกิด ความไดเปรียบในการแขงขัน 2. ความรูที่แสดงออกมาใหเห็นได (Explicit Knowledge) เปนความรูที่ถูกรวบรวมและถายทอด ออกมาในรูปแบบของสือ่ ตางๆ ได เชน หนังสือ คูม อื และรายงานตางๆ เปนตน ทําใหบุคลากรสามารถ เขาถึงไดงาย ปจจุบนั การพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอรทาํ ให คอมพิวเตอรมีขนาดเล็กลง แตมีประสิทธิภาพใน การใชมากขึน้ ทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลงในการสราง จัดเก็บ และถายทอดความรูจ ากทีห่ นึง่ ไปยังอีกทีห่ นึง่ ไดอยางงาย ความรู สามารถจัดใหเก็บอยูในระบบ ฐานขอมูลของเครือขายอินเทอรเน็ต ยิ่งทําใหมีการ นําความรูไปใชในกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการบริหาร องคการไดอยางมีประสิทธิภาพ อาทิ 1. ทําใหองคการมีการปรับตัวตอสิง่ แวดลอมทีม่ ี การเปลี่ยนแปลงไดอยางรวดเร็ว 2. ทําใหมีการเรียนรูจากความสัมพันธระหวาง ผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชา 3. ทําใหรักษาลูกคาเฉพาะกลุมที่มีขนาดเล็กได 4. ทําใหมีการสรางโครงสรางพื้นฐานหลักและ สามารถสรางเทคโนโลยีใหมๆ 5. ทําใหการลอกเลียนจากคูแขงทําไดยาก 6. ทําใหไดรับความจงรักภักดีจากบุคลากรใน องคการ ผูประกอบการธุรกิจ SMEs จําเปนตองสราง ความรูใ หมอยูเ สมอ เนือ่ งจากขอมูลทีใ่ หมและทันสมัย ทําใหผปู ระกอบการสามารถตัดสินใจไดอยางรวดเร็ว และถูกตองแมนยํามากกวาการใชขอมูลที่ลาสมัย ซึ่งอาจผิดพลาดจนทําใหธุรกิจ SMEs เสียหายได โดยสามารถสรางความรูใหมไดจากกระบวนการ 4 ขั้นตอน ดังนี้

106

1. การคนหาและสรางสิง่ ใหม สามารถดําเนินการ ไดหลายวิธีการ เชน จาก หนังสือพิมพ วารสาร การพบปะพูดคุย การประชุม ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต เปนตน 2. การรวบรวมจัดการ สามารถดําเนินการไดใน ลักษณะกรองความรูแ ละจัดวางเปนหมวดหมู จากนัน้ วางแผนการเชือ่ มโยงความรูอ อกไปใหกบั ผูท ตี่ อ งการ ใชความรูเหลานั้น 3. การแบงปน แลกเปลี่ยนความรู เปนขั้นตอน ที่ความรูจะถูกแบงปนและกระจายออกไปใหผูอื่น ไดใชประโยชน โดยใชการสื่อสารในรูปแบบตางๆ รวมถึงการใชเทคโนโลยีเขามาชวย เชน อินเทอรเน็ต อินทราเน็ต หรือเอ็กซทราเน็ต เปนตน 4. การใชงานและกลับนําไปใชใหม จะเกี่ยวของ ระหวางการสือ่ สารอยางไมเปนทางการและการติดตอ สื่อสารในรูปแบบตางๆ ที่มีความหลากหลาย ทั้งใน รูปของรายงาน นิทรรศการ และการฝกอบรม ทั้งนี้ ความรูเ หลานีส้ ามารถนําไปแพรกระจายในอินเทอรเน็ต และกลับมาใชใหมได อยางไรก็ตามผูประกอบการธุรกิจ SMEs ก็มี ขอจํากัดเกี่ยวกับการจัดการความรู คือ 1. มีการเก็บความลับไวเปนการสวนตัว และไม เก็บบันทึกลงในระบบเอกสาร เนือ่ งจากไมคอ ยมีเวลา เพราะตองเนนในงานที่เปนปฏิบัติการ 2. มีการประเมินผลคุณคาของความรูตํ่ากวา ความเปนจริง เนื่องจากไมรูคุณคาของความรูที่มีอยู 3. ขอมูลสูญหายไดงายเนื่องจากเมื่อมีการขาย กิจการ ใหผูอื่นทําแทน หรือเสียชีวิต ทําใหความรู สูญหายไปกับผูประกอบการนั้นดวย เมื่อผูประกอบการธุรกิจ SMEs มีการวางแผน ในการนําการจัดการความรูเขามาใชในการบริหาร องคการจะทําใหธุรกิจไดรับผลประโยชนดังนี้คือ 1. ชวยลดขั้นตอนและระยะเวลาในการทํางาน 2. ชวยใหผูปฏิบัติงานสามารถขจัดปญหาที่ตน กําลังเผชิญได โดยเรียนรูแนวทางแกปญหาจากผูที่ มีประสบการณมากอน


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

3. มี ก ารเรี ย นรู  ต  อ ยอดจากความรู  ที่ ผู  มี ประสบการณการทํางานขบคิดมากอน 4. องคการไมตองเสียเวลาทําวิจัยและพัฒนาใน เรื่องบางเรื่อง 5. ชวยใหเกิดแหลงความรูใ นองคการทีส่ ามารถ เรียกใชไดอยางรวดเร็ว 6. ชวยลดระยะเวลาและระยะทางในการสื่อสาร ไดมากขึ้น 7. มีการศึกษาคนควา เรียนรูตลอดชีวิต 8. ชวยใหผูปฏิบัติงานไมตองทํางานดวยการ ลองผิดลองถูก 9. บุคลากรยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ นื่ จาก การมีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู ความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมองคการและ การจัดการความรูของผูประกอบการ SMEs วัฒนธรรมองคการเปนปจจัยสําคัญในการจัดการ ความรู เพราะมีอทิ ธิพลตอพฤติกรรมของบุคลากรใน องคการ มีผูใหความหมายของวัฒนธรรมองคการ อาทิ Schein (1991: 9) นิยามวา วัฒนธรรมองคการ หมายถึง แบบแผนของสมมติฐานพืน้ ฐาน ซึง่ ไดสราง ค น พบ หรื อ พั ฒ นาขึ้ น มาโดยกลุ  ม คนที่ ไ ด เ รี ย นรู  แกปญ  หาปรับตัวใหเขากับสถานการณภายนอก และ มีการรวมตัวกันภายในองคการอยางสมเหตุสมผล ดั ง นั้ น จึ ง มี ก ารถ า ยทอดให กั บ สมาชิ ก ใหม ว  า เป น แนวทางที่ถูกตองที่ไดรับการยอมรับ ความคิด และ ความรูส กึ ทีเ่ กีย่ วของกับปญหาเหลานัน้ และ Gordon (1990: 621) กลาววา วัฒนธรรมองคการ หมายถึง ระบบคานิยม ความเชื่อ และพฤติกรรมรวมกันของ บุคลากรในองคการ ซึง่ เกีย่ วของกับการจัดโครงสราง ของบรรทัดฐานของกลุม ซึ่งจะชวยใหบุคลากรรูวา จะตองทําอะไร หรือตองประพฤติหรือมีพฤติกรรม อยางไร สรุปไดวา วัฒนธรรมองคการ หมายถึง ระบบ คานิยม ความเชื่อ และบรรทัดฐานที่รวมกันสราง ขึ้นมาและใชรวมกัน และมีการถูกสอนและถายทอด

ใหสมาชิกผูมาใหมหรือสมาชิกเดิมไดแลกเปลี่ยน เรียนรูประสบการณ รวมทั้งลักษณะการใชภาษาใน การติดตอสือ่ สารในองคการซึง่ สามารถทําใหกาํ หนด พฤติกรรมของสมาชิกในองคการใหมีความแตกตาง จากองคการอื่นๆ ผูป ระกอบการธุรกิจ SMEs มีแนวทางและปจจัย ในการบริหารแตละองคการที่แตกตางกันไป ซึ่งเปน สิ่งที่สําคัญตอความสําเร็จขององคการ วัฒนธรรม องค ก ารที่ ดี จะช ว ยกระตุ  น ให บุ ค ลากรมี ค วาม กระตือรือรนตอการทํางาน ตลอดจนเปนสิ่งที่แสดง ถึงวิสัยทัศนและเปนแบบอยางขององคการอีกดวย รูปแบบของวัฒนธรรม ผูประกอบการ SMEs จําเปนตองเขาใจรูปแบบ ของวั ฒ นธรรมองค ก าร เพื่ อ ที่ จ ะทราบลั ก ษณะ บุคลากรที่อยูในองคการ บางองคการมีการแขงขัน กันสูง บางองคการมีความเฉือ่ ยชา ซึง่ อาจจะสะทอน มาจากลั ก ษณะของผู  ป ระกอบการก็ เ ป น ได โดย Quinn (1999, Cited in Vecchio, 2006: 396-397) ไดจัดแบงวัฒนธรรมองคการออกเปน 4 ลักษณะคือ 1. วัฒนธรรมแบบเครือญาติ (Clan Culture) เปนลักษณะวัฒนธรรมองคการที่มีความยืดหยุนสูง และเนนการจัดการภายในองคการเปนหลัก บุคลากร มีความเปนมิตร และเอื้ออาทรตอกันเปรียบเสมือน คนในครอบครัวเดียวกัน 2. วัฒนธรรมแบบปรับตัว (Adhocracy Culture) เปนลักษณะองคการทีม่ คี วามยืดหยุน สูงและเนนการ ตอบสนองตอภายนอกองคการ มีการสนับสนุนใหมี ความคิดสรางสรรค มีความเปนอิสระ กลาเสี่ยง และเป น องค ก ารที่ ส ามารถปรั บ ตั ว ให เ ข า กั บ การ เปลี่ยนแปลงไดดี 3. วัฒนธรรมแบบราชการ (Hierarchy Culture) เปนองคการที่มีการควบคุมเครงครัดและเนนภายใน องคการเปนหลัก มีลักษณะเปนทางการ มีลําดับ ขั้นตอน มีหลักการ และผูใตบังคับบัญชาอยูภายใต

107


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

กฎระเบียบและคําสั่ง 4. วัฒนธรรมเนนผลสําเร็จ (Market Culture) เปนองคการทีม่ กี ารตรวจสอบอยางมาก เนนภายนอก องคการ และผลสําเร็จขององคการ ผูบังคับบัญชา เปนผูที่พยายามผลักดันงานตางๆ และมีการแขงขัน กันสูงในองคการ นอกจากนี้ Daniel Denison และ William Neale (Denison and Neale, 2001) ไดนาํ เสนอแบบจําลอง เดนิสัน (Denison Model) ซึ่งระบุถึงความสัมพันธ ของวัฒนธรรมองคการกับประสิทธิผลของการทํางาน ในดานตางๆ เชน ผลตอบแทนจากสินทรัพย การ เติบโตของยอดขาย คุณภาพ นวัตกรรมและความ พึงพอใจของพนักงาน เปนตน แบบจําลองนีต้ งั้ อยูบ น พืน้ ฐานของการวิเคราะหดา นวัฒนธรรมองคการและ ดานการพัฒนาภาวะผูนํา โดยวัดประเด็นที่สําคัญ 4 ดาน (รูปที่ 1) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. ดานภารกิจ (Mission) เปนสิง่ ทีก่ าํ หนดขึน้ มา เพื่อใหสมาชิกของคนในองคการไดมีทิศทางและ เปาหมายรวมกัน ดานภารกิจนี้ยังแบงออกไดอีก 3 ลั ก ษณะย อ ย คื อ 1.1) ทิ ศ ทางของกลยุ ท ธ ที่ องคการใชในภารกิจ 1.2) เปาหมายและวัตถุประสงค และ 1.3) วิสัยทัศน 2. ดานความสอดคลองกัน (Consistency) เปน ลักษณะที่สมาชิกในองคการมีการทํางานรวมมือกัน ประสานงานกันไดดี ทําใหมีความรูสึกเปนอันหนึ่ง อันเดียวกัน มีการคาดหวังในสิง่ ทีเ่ หมือนกัน มีพนั ธ-

108

สัญญา (Commitment) รวมกันสูง มีวธิ ีการทํางานที่ หลากหลาย และเขาใจในสิ่งที่ควรทําและไมควรทํา ความสอดคลองกันสามารถสรางวัฒนธรรมองคการ ที่เขมแข็งบนพื้นฐานของความเชื่อและคานิยมรวม และเปนที่เขาใจในหมูสมาชิกองคการ ดานความ สอดคลองยังแบงออกไดอีก 3 ลักษณะยอย ดังนี้ 2.1) การประสานงานและบูรณาการ 2.2) การมี ความเห็นเหมือนกัน และ 2.3) คานิยมหลัก 3. ด า นความมี ส  ว นร ว มกั น (Involvement) ลักษณะวัฒนธรรมองคการที่มีสวนรวมกันสูง จะ กระตุนใหบุคลากรมีความเกี่ยวของกันมากขึ้นและ สรางความรูสึกมีสวนรวมในการเปนเจาของและ ความรั บ ผิ ด ชอบในงานมากขึ้ น ด ว ย มั ก เกิ ด กั บ ลักษณะองคการทีม่ ลี กั ษณะไมเปนทางการ มีการอาสา ที่จะทํางานตางๆ และมีระบบควบคุมที่ไมเขมงวด ดานความมีสว นรวมกันยังแบงออกไดอกี 3 ลักษณะ ยอย ดังนี้ 3.1) การใหอํานาจ 3.2) การทํางานแบบ เปนทีม และ 3.3) การพัฒนาความสามารถ 4. ดานการปรับตัว (Adaptability) เปนการมุง ตอบสนองตอสิ่งแวดลอมภายนอก คือการปรับตัว ในการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมภายในองคการนัน่ เอง ทําใหองคการมีโอกาสที่จะอยูรอด เติบโต และมีการ พัฒนาได ดานการปรับตัวยังแบงออกไดอกี 3 ลักษณะ ยอย ดังนี้ 4.1) การสรางการเปลี่ยนแปลง 4.2) การ มุงเนนที่ลูกคา และ 4.3) การเรียนรูในองคการ


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ที่มา: Denison, D. R., and Neale, W. (2001) รูปที่ 1 แบบจําลองเดนิสัน

แมวารูปแบบของวัฒนธรรมองคการจะมีความ แตกตางกัน ผูประกอบการธุรกิจ SMEs จะตองมี การสรางสิง่ แวดลอมตางๆ ใหเหมาะสมสําหรับการที่ จะนํากิจกรรมการจัดการความรูเขามาใชในองคการ วัฒธรรมองคการไมเพียงแตสะทอนถึงความสัมพันธ ระหวางสมาชิกภายในองคการเทานัน้ แตยงั เกีย่ วของ

กั บ ความซั บ ซ อ นของบทบาทของสมาชิ ก ที่ อ ยู  ใ น องคการอีกดวย นอกจากนี้หนวยงาน European Guide to Good Practice in KM ไดอธิบายความ แตกตางระหวางวัฒนธรรมองคการรูปแบบเดิม และ วัฒนธรรมองคการรูปแบบที่อยูบนพื้นฐานความรู ดังนี้ (ตารางที่ 1)

109


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 1 ความแตกตางระหวางวัฒนธรรม

วัฒนธรรมองคการรูปแบบเดิม

วัฒนธรรมองคการรูปแบบทีอ่ ยูบ นพืน้ ฐานความรู

1. การกระจายขอมูล ขาวสารแบบจํากัด

1. การกระจายขอมูล ขาวสารมีจํานวนมากไมจํากัด

2. โครงสรางองคการมีระดับชั้นจํานวนมาก

2. โครงสรางองคการมีระดับชั้นนอย

3. มีความรับผิดชอบโดยบุคคลคนเดียว

3. มีความรับผิดชอบรวมกัน

4. อยูบนพื้นฐานของ กฎ ระเบียบ

4. อยูบนพื้นฐานของหลักการ

5. มีความสัมพันธที่เปนทางการ

5. มีความสัมพันธที่ไมเปนทางการ

6. ไมมีความเสี่ยง

6. มีความเสี่ยง

7. รับรูนโยบายองคการในบางเวลา

7. รับรูนโยบายองคการตลอดเวลา

8. เนนดานการเงินเปนหลัก

8. เนนดานนวัตกรรม

9. ความรูถูกจัดเก็บในแตละระดับชั้นขององคการ

9. ความรูม กี ารถูกใช เผยแพร และถูกอธิบายไมเปน ความลับ

10. วัฒนธรรมองคการอยูภายใตอิทธิพลจากบุคคล 10. วัฒนธรรมองคการไดมาจากเครือขายที่มีการ ใดบุคคลหนึ่ง แลกเปลี่ยนเรียนรูอยางหลากหลาย ที่มา: European Guide to Good Practice in KM. (2004)

การศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งวั ฒ นธรรม องคการและการจัดการความรู เนื่ อ งจากวั ฒ นธรรมองค ก ารและการจั ด การ ความรูเปนปจจัยที่สําคัญตอการบริหารองคการให ประสบความสําเร็จ จึงมีผูศึกษาความสัมพันธของ ทั้ง 2 ปจจัย อาทิ Holowetski (2002) ไดศึกษา เกี่ยวกับ The Relationship between knowledge management and organizational culture: An examination of cultural factors that support the flow and management of knowledge within organization เพื่ อ หาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งการ จัดการความรูและวัฒนธรรมองคการ โดยตรวจสอบ ปจจัยทางดานวัฒนธรรมซึ่งสนับสนุนการไหลเวียน และจัดการความรูภ ายในองคการดวยการทําการวิจยั

110

เชิงพรรณนา โดยวิเคราะหเอกสารที่ตีพิมพระหวาง ป ค.ศ. 1998-2002 และพบวา วัฒนธรรมองคการ เปนกุญแจหลักของความสําเร็จในการจัดการความรู จากการศึกษาพบวา สิง่ ทีส่ าํ คัญตอวัฒนธรรมองคการ และการจัดการความรูประกอบดวยปจจัยดานตางๆ 6 ปจจัย ดังนี้ 1. ระบบสารสนเทศ 2. โครงสรางองคการ 3. ระบบการใหรางวัล 4. กระบวนการปฏิบัติงาน 5. บุคลากร 6. ภาวะผูนํา ทัง้ นีผ้ บู ริหารระดับสูงขององคการขนาดเล็กและ องคการไมหวังผลกําไร ตางพยายามหาหนทางและ


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

จัดการความรูในองคการ อยางไรก็ตาม Holowetski ไดสรุปวาสิ่งสําคัญอันดับแรกที่ผูบริหารระดับสูงใน องคการควรที่เนนในการจัดการความรู คือมุมมอง ดานวัฒนธรรมองคการ นอกจากนี้ Lemken et al., (2000) ไดศึกษา เรื่อง Sustained knowledge management by organizational culture เปนการจัดการความรูให ยั่งยืนดวยวัฒนธรรมองคการ โดยการทําการศึกษา ธุรกิจบริการ ดวยการวิเคราะหดา นองคการและดาน เทคนิความีผลอยางไรตอการแบงปนและถายทอด ขอมูล การแพรขยายและจัดเก็บ ซึง่ การใชเทคโนโลยี Web-based ชวยทําใหความรูม กี ารไหลถายเทภายใน องคการ เปนแนวทางใหมของการสรางวัฒนธรรม องคการ เพือ่ ใหการจัดการความรูม คี วามยัง่ ยืน ตอง มีการบันทึกความจําในองคการดวยความยืดหยุน และปรับตัวเขากับความตองการที่เปลี่ยนแปลงไป นีค่ อื ความสําเร็จทีด่ ที สี่ ดุ ทีจ่ ะทําใหวฒ ั นธรรมองคการ มีความแข็งแกรง ซึ่งจะเนนการแบงปนความรูดวย การใชชองทางการสื่อสารที่หลากหลาย บทสรุป หลายองคการมีการนําการจัดการความรูมาใช เปนกลยุทธหลักของธุรกิจ เพื่อสรางความสามารถ ในเชิงการแขงขัน ผูประกอบการธุรกิจ SMEs ก็ เชนเดียวกันทีผ่ บู ริหารจําเปนตองมีวสิ ยั ทัศน ในการ นําการจัดการความรูเขามาชวยในการบริหารงาน แตอยางไรก็ตาม ผูป ระกอบการธุรกิจ SMEs จําเปน จะตองคํานึงถึงวัฒนธรรมองคการ ซึ่งเปนพื้นฐานที่ สําคัญตอการสรางองคความรูใหเกิดขึ้นในองคการ วัฒนธรรมองคการมีรูปแบบหลากหลาย เชน แบบ เครือญาติ แบบปรับตัว แบบราชการ แบบมุงเนน ความสํ า เร็ จ แบบเน น ภารกิ จ แบบเน น ความ สอดคลองกัน แบบเนนความเกี่ยวของกัน หรือแบบ เนนการปรับตัว เปนตน ผูประกอบการธุรกิจ SMEs จําเปนจะตองมีการ

กระตุนใหบุคลากรในองคการตองรูจักการแสวงหา ความรูใ หมทหี่ ลากหลาย ทีม่ ปี ระโยชนทงั้ ภายในและ ภายนอกองคการ มีการแบงปนความรู เพื่อนําไปใช ในกระบวนการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงอยาง ตอเนือ่ ง โดยจะทําใหเกิดวัฒนธรรมองคการทีเ่ อือ้ ตอ การจัดการความรู อันจะมีผลทําใหธุรกิจสามารถอยู ไดอยางยั่งยืน

บรรณานุกรม Davenport, T. H., and Prusak, L. (2000). Working knowledge: How organizations manage what they know. Boston: Harvard Business School Press. Denison, D. R., and Neale, W. (2001). Organizational culture survey. Retrieved November 1, 2008, from http://www.denisonsurvey.com/ DenisonOCS/_common/OCS_Start.asp Drucker, P. F. (1998). The Coming of the new organization. Harvard Business Review, 66(1), 1-19. European Guide to Good Practice in KM. (2004). Part 5: SME implementation KM Terminology CWA14924-5. Retrieved July 1, 2010, from http://michel.grundstein.pagespersoorange.fr/ References/CEN_Final_Publication_0403/ CWA14924_03_2004_Mar.pdf Gordon, J. R. (1990). Management and organizational behavior. Boston: Allyn and Bacon. Holowetski, A. (2002). The Relationship between knowledge management and organizational culture: An examination of cultural factors that support the flow and management of knowledge within organization. Retrieved November 1, 2008, from http://aim.uoregon. edu/Research/pdfs/Holowetzki2002.pdf

111


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Lemken, B., Kahler, H., and Rittenbruch, M. (2000). Sustained knowledge management by organizational culture: Paper presented at the Proceedings of the 33rd Annual Hawaii International Conference. Retrieved November 1, 2008, from http://ieeexplore. Ieee.org/xpl/freeabs_all.jsp?arnumber= 926701

Nonaka, I., and Takeuchi, H. (1995). The Knowledge-creating company: How Japanese companies create the dynamics of innovation. New York: Oxford University Press. Schein, E. H. (1991). Organizational culture and leadership. San Francisco: Jossey-Bass. Vecchio, P. R. (2006). Organizational behavior: Core concepts. 6th ed. Australia.: Thomson/ South-Western.

Mr. Jarin Asasongtham received Master Degree in Management Information Systems (MIS) from Western International University, Arizona, USA. He got Bachelor Degree in Marketing from Chulalongkorn University and Business Information Systems (BIS from Utah State University, Utah USA. He is now working as a lecturer in the Department of Business Administration at Bangkok University.

112


à

·¤â¹âÅÂÕ QR Code ã¹àÍàªÕÂừԿԡ QR Code in Asia-Pacific

ภิรดี งานรุงเรือง อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ E-mail: piradee.n@bu.ac.th

บทคัดยอ เทคโนโลยีโทรศัพทเคลื่อนที่มีบทบาทมากขึ้นในชีวิตประจําวันของคนทั่วไปในสังคมยุค โลกาภิวฒ ั น บวกกับความกาวลํา้ ทางเทคโนโลยีทที่ าํ ใหโลกในยุคปจจุบนั นีเ้ ปนโลกแหงขอมูล ขาวสารที่ผูคนสวนใหญตองการบริโภคขอมูลขาวสารเพิ่มมากขึ้น และตองการเขาถึงขอมูล ขาวสารเหลานัน้ ไดอยางทันทวงที ซึง่ ประเทศญีป่ นุ ไดตอบสนองความตองการนีผ้ า นนวัตกรรม ที่เรียกวา QR Code ขึ้น โดยใชอุปกรณที่เปนเสมือนปจจัยที่ 5 ในการดํารงชีวิตของมนุษย อยางเชนโทรศัพทมือถือเปนสื่อกลางในการเขาถึงขอมูล ทุกวันนี้ไมเพียงแตประเทศญี่ปุนเทานั้นที่ใหความสนใจในเทคโนโลยี QR Code ประเทศใน แถบเอเชียแปซิฟกยังไดรับอิทธิพลกระแสความนิยมในการใช QR Code ไปดวย ซึ่งจะเห็น ไดจากที่สื่อตางๆ นําเสนอขอมูลผานโคดอัจฉริยะ 2 มิตินี้เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนี้ ประเทศทางซีกตะวันตกอยางสหรัฐอเมริกาก็มไิ ดนงิ่ เฉย มีการประยุกตใช QR Code ในธุรกิจ ทองถิ่นในเมืองตางๆ เชนกัน QR Code ถือเปนการผสมผสานอยางลงตัวของเทคโนโลยีโทรศัพทเคลื่อนที่ประเภท Smart Phone และสื่อสิ่งพิมพ ไมวาจะอยูในรูปแบบของแผนพับ นิตยสาร หรือปายประกาศ ซึ่งใน อนาคต QR Code จะชวยใหคนไดรับขอมูลขาวสารเพิ่มมากขึ้น และชวยผลักดันใหเกิดการ เจริญเติบโตทางธุรกิจสงผลตอระบบเศรษฐกิจของโลกที่ดีขึ้น คําสําคัญ: โคดอัจฉริยะ บารโคด 2 มิติ เทคโนโลยีโทรศัพทเคลื่อนที่

113


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Abstract In the globalization era, mobile technology has inevitably become an important part in the modern daily life. In addition, due to rapid advance in technology development, updated information acquisition and accessibility are on an upward trend nowadays, especially in hand-held devices as a mobile phone. To serve the need of immediate access of information, there has been a new technology originated in Japan, called QR Code. This technology uses a mobile phone as a medium to retrieve information embedded in the particular code. Japan is not the only country in the Asia-Pacific region paying attention to this new mobile technology; the technology is also popular in other countries, which can be seen that the QR code has been widely used in various kinds of information distributing media. Moreover, this technology is also applied in western countries such as the United States of America where the QR code is utilized to enhance business performances. The QR Code is a combination of a smart phone technology and printed materials in various forms, such as brochure, magazine and billboard. This technology does not only help users to gain more information but also induce business growth, which would be beneficial to the world economy in a long run. Keywords: QR Code, 2D code, Mobile technology บทนํา QR Code หรือบารโคด 2 มิติ แบบใหมลาสุด เปนที่นิยมใชกันอยางแพรหลายในหลายๆ ประเทศ รวมถึงเมืองไทยดวย โดยเจาของความคิดดีๆ นีม้ าจาก ประเทศในแถบเอเชียแปซิฟกอยางประเทศญี่ปุน นั่นเอง QR Code เปนเสมือนตัวเชื่อมโยงระหวาง

สื่อสิ่งพิมพกับเว็บไซตเขาดวยกัน เพียงแคผูใชมี โทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีซอฟตแวรที่สามารถอาน QR Code และผูใชไดถายรูปโคดนี้ ตัวซอฟตแวรก็จะ ทําการถอดรหัส (Decode) จากตัวโคดแปลงเปน ขอมูลที่เกี่ยวของใหผูใชทราบ อาทิ ที่อยูเว็บไซต (URL) เปนตน ดังแสดงในรูปที่ 1

ที่มา: http://marketingqrcode.com/ รูปที่ 1 การเขาถึงขอมูล QR Code

114


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

มาทําความรูจักกับ QR Code QR Code มีที่มาจากคําวา “Quick Response” ที่แปลวา “ตอบสนองไดอยางรวดเร็ว” QR Code จัดเปนบารโคดแบบ 2 มิติ ประเภท Matrix โดยมี จุดเริ่มตนตั้งแตป ค.ศ. 1994 โดยไดจดสิทธิบัตรไว ภายใตชอื่ บริษทั DENSO WAVE ซึง่ เปนบริษทั หนึง่ ในเครือของ Toyota และไดผานการรับรองภายใต มาตรฐาน ISO ในเดือนมิถุนายน ป ค.ศ. 2000 สําหรับจุดประสงคเริ่มแรกของ QR Code นั้น เพื่อ

ใชในการควบคุมการผลิตชิน้ สวนของรถยนต จากนัน้ ความนิยมของ QR Code ไดแพรไปยังอุตสาหกรรม อื่นๆ ดวย ปจจุบัน QR Code สามารถพบเห็นไดใน ชีวติ ประจําวันของชาวญีป่ นุ มากมาย ดวยเหตุผลหลัก สามประการ คือ (1) QR code สามารถรองรับขอมูล จํานวนมากๆ ได (2) สามารถใชงาน QR Code ได โดยไมเสียคาใชจายใดๆ (3) โทรศัพทเคลื่อนที่ใน ประเทศญี่ปุนสวนใหญจะมาพรอมกลองถายรูปและ ซอฟตแวรที่รองรับการอาน QR Code

ที่มา: http://www.denso-wave.com/qrcode/qrfeature-e.html รูปที่ 2 รูปแบบวิวัฒนาการของบารโคด

การเปรียบเทียบความสามารถของ QR Code กับ บารโคดแบบเดิม หากยอนกลับไปพิจารณาถึงบารโคด (Bar Code) แบบเดิมซึ่งเปนที่รูจักกันโดยทั่วไปนั้น ดังแสดงใน รูปที่ 2 บารโคดแบบเดิมจะใชในจัดเก็บขอมูลตางๆ เชน ชนิดสินคา และราคา เปนตน ซึง่ หากผูใ ชตอ งการ ดึงเอาขอมูลเหลานั้นมาใช ผูใชจะตองใชเครื่องอาน บารโคด (Bar Code Reader) เทานั้น ซึ่งดูคอนขาง ยุง ยากหากนํามาประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน เพราะ คงไมมีใครที่จะพกเครื่องอานบารโคดติดตัวไปดวย ดังนั้นการใช QR Code จึงเปนทางเลือกที่นาสนใจ เพราะผูใชสามารถเขาถึงขอมูลเหลานั้นไดโดยใช

โทรศัพทเคลื่อนที่ที่สามารถถายรูปได ในเรื่องความสามารถในการจัดเก็บขอมูล QR Code สามารถเก็บขอมูลไดมากกวาบารโคดแบบเดิม หลายรอยเทา ซึ่งสามารถเก็บขอมูลไดมากสุดเพียง ประมาณ 20 ตัวอักษร แต QR Code สามารถใน การจัดเก็บขอมูลประเภทตัวเลขไดมากถึง 7,089 ตัว อักษร และหากเปนตัวเลขผสมกับตัวอักษรจะจัดเก็บ ไดมากถึง 4,296 ตัวอักษร นอกจากนี้ QR Code ยังสามารถรองรับตัวอักษรภาษาญี่ปุนอยางคันจิ และคะตะคะนะไดดวย โดยจัดเก็บไดมากถึง 1,817 ตัวอักษร ดังแสดงในรูปที่ 3 โดยคุณสมบัตทิ โี่ ดดเดน นี้เรียกวา “High Capacity Encoding”

115


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ที่มา: http://www.denso-wave.com/qrcode/qrfeature-e.html รูปที่ 3 การ encode ตัวอักษรภาษาญี่ปุน ใหอยูในรูปแบบ QR Code

QR Code ยังสามารถบรรจุขอมูลไดทั้งแนวตั้ง (Vertically) และแนวนอน (Horizontally) ในขณะที่ บารโคดแบบเดิมเก็บขอมูลเฉพาะแนวนอนเทานั้น ดังแสดงในรูปที่ 4 หากพิจารณาในเรือ่ งของพืน้ ทีท่ ใี่ ช ในการพิมพ QR Code นั้น QR Code ใชพื้นที่ใน การพิมพเพียง 1 ใน 10 ของบารโคดแบบเดิมเทานัน้

และถามีพื้นที่ในการพิมพ QR Code นอย หรือ ผู  ส ร า งต อ งการเก็ บ ข อ มู ล ไม ม ากนั ก QR Code สามารถจัดเก็บเปน Micro QR Code ที่สามารถ จัดเก็บขอมูลไดประมาณ 35 ตัวอักษร ซึ่งอาจจะใช ในการจัดเก็บรายละเอียดบนแผนวงจร เปนตน

ที่มา: http://www.denso-wave.com/qrcode/qrfeature-e.html รูปที่ 4 เปรียบเทียบการจัดเก็บขอมูลระหวางบารโคดแบบเดิมกับ QR Code

QR Code ไมเพียงแตจะสามารถอานขอมูลได อยางรวดเร็วเทานั้น แตยังสามารถอานขอมูลไดทั้ง 360 หรือทุกมุมนั่นเองที่เรียกวา Omni-Direction ที่เปนเชนนี้เพราะในตัว QR Code ประกอบไปดวย

116

สี่เหลี่ยมเล็กๆ อยูติดกับมุม 3 มุมของโคด เรียกวา Position Detection Patterns ดังแสดงในรูปที่ 5 ซึง่ เปนตัวกําหนดทิศทางของขอมูลใหการอานขอมูล เปนไปอยางรวดเร็ว


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ที่มา: http://www.denso-wave.com/qrcode/qrfeature-e.html รูปที่ 5 แสดงโครงสรางของ QR Code

ความสามารถพิเศษอีกประการหนึ่งของ QR Code คือ ความสามารถในการแกไขขอผิดพลาด โดย QR Code มีเทคนิคของ Reed-Solomon ที่เรา รูจักกันในชื่อ RS Code ในการแกไขขอผิดพลาด ซึง่ หาก QR Code อยูใ นสภาพทีไ่ มสมบูรณ เชน ขาด

หรือตัวโคดเปรอะไมสามารถอานออกได ดังแสดงใน รูปที่ 6 ก็สามารถแกไขขอผิดพลาดและแสดงขอมูล ออกมาไดอยางเกือบครบถวนสมบูรณมากถึง 30% เลยทีเดียว แตทงั้ นีก้ ข็ นึ้ อยูก บั สภาพความไมสมบูรณ ของตัว QR Code นั้นๆ

ที่มา: http://www.denso-wave.com/qrcode/qrfeature-e.html รูปที่ 6 ฟงกชันในการฟนฟูขอมูลของ QR Code

คุณสมบัติอีกประการหนึ่งที่สามารถสรางความ ประทับใหแกผใู ชไดไมนอ ยเลยทีเดียว นัน่ คือ Linking Function หรือความสามารถในการแบง QR Code ออกเปน QR Code ยอยๆ ไดมากถึง 16 QR Code ดังแสดงในรูปที่ 7 โดยจะนิยมใชในกรณีที่พื้นที่ใน การพิมพมนี อ ยไมกวางพอทีจ่ ะพิมพ QR Code ขนาด

ใหญได โดยสามารถแบง QR Code ออกเปนหลายๆ โคดได นอกจากนีก้ ารใช QR Code หลายตัวทีม่ กี าร เชื่อมโยงความสัมพันธกัน ซึ่งผูประกอบการอาจจะ ใชเทคนิคนี้เพื่อทําการสงเสริมการขายก็นาสนใจ ไมนอยเลยทีเดียว

117


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ที่มา: http://www.denso-wave.com/qrcode/qrfeature-e.html รูปที่ 7 คุณสมบัติ Linking Function ของ QR Code

ความแพรหลายของการใช QR Code ดวยลูกเลนที่มีมากมายของ QR Code นี้เอง ทําใหปจจุบันความนิยมในตัว QR Code มีมากขึ้น ไมเพียงแตในประเทศญีป่ นุ ทีม่ กี ารใชเทคโนโลยีนกี้ นั อยางมากในแทบทุกอุตสาหกรรม โดยไมวา จะเดินไป ตรงไหนของประเทศก็จะมี QR Code ไวเพือ่ ใหลกู คา ได รั บ ทราบข อ มู ล ของสิ น ค า และบริ ก ารเพิ่ ม เติ ม โดยทําการอานขอมูลผานโทรศัพทเคลื่อนที่นั่นเอง สํ า หรั บ ประเทศฝ  ง ตะวั น ตกที่ อ าจจะดู ช  า ไปนิ ด ที่ เพิ่งจะเล็งเห็นศักยภาพ และความสามารถของ QR Code นี้ ลาสุดรานคา ผูใหบริการตางๆ ในประเทศ สหรัฐอเมริกาไดเริ่มทําโปรโมชั่นสงเสริมการขาย

ประชาสัมพันธรานคาของตนเองผาน QR Code โดยรวมกับบริษทั ยักษใหญอยาง Google ทีไ่ ดจดั สง สติก๊ เกอรตดิ กระจกทีม่ ี QR Code อยูด ว ย ใหกบั ทาง รานคาตางๆ ไดติดไวที่หนาราน ดังแสดงในรูปที่ 8 เมื่อลูกคาใชโทรศัพทมือถือที่อานคา QR Code ภาพถายโคดนีก้ จ็ ะเชือ่ มโยงไปยังหนา Google Place ซึง่ จะมีขอ มูลรานคา แผนที่ เวลาทําการ เบอรตดิ ตอ นอกเหนือจากนีร้ า นคายังสามารถเสนอสวนลดใหแก ลูกคาไดอกี ดวย ถือเปนวิธใี นการดึงดูดลูกคาเขาราน ไดอีกวิธีหนึ่ง จะเห็นวาเปนผลดีทั้งตอรานคาและตอ ตัวลูกคาอีกดวย

ที่มา: http://www.google.com/help/maps/favoriteplaces/business/barcode.html รูปที่ 8 รูปแบบสติ๊กเกอรติดกระจกหนารานคาที่ทาง Google สงใหกับรานคาตางๆ

118


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ตัวอยางการใช QR Code ในประเทศแถบเอเชีย แปซิฟก เนื่ อ งจากประเทศแถบเอเชี ย แปซิ ฟ  ก ได รั บ อิทธิพลจากแนวคิดของ QR Code มานาน ทําให การประยุ ก ต ใ ช ใ นประเทศเหล า นั้ น มี ค วามหลาก หลายมาก ดังพอจะสรุปเปนประเด็นตางๆ ไดดังนี้ 1. การนําเอา QR Code มาประยุกตใชกบั ระบบ การบอกตําแหนง (Location-based service) ของ รถไฟฟาใตดนิ และระบบรถประจําทางในกรุงโตเกียว ประเทศญีป่ นุ ทําใหผใู ช QR Code ในการตรวจสอบ เวลาการเดินรถไฟฟาใตดนิ และระบบรถประจําทางได 2. การประยุ ก ต ใ ช QR Code ในธุ ร กิ จ ร า น อาหารในญีป่ นุ ซึง่ ปจจุบนั รานอาหารสวนใหญรองรับ เทคโนโลยี QR Code นี้ QR Code จะเก็บขอมูล เกี่ยวกับการหาตําแหนง และขอมูลรานอาหาร รวม ถึงอาหารยอดนิยมของรานแตละราน นอกจากนี้ ประเทศญีป่ นุ ยังใช QR Code ในการแนะนํารายการ โทรทัศน ซึ่งผูใชสามารถเขาดูภาพหรือรายละเอียด ของรายการนั้นๆ ไดโดยการสแกนตัวโคด 3. ประเทศเกาหลีไดมีการประยุกต QR Code กับการใหขอมูลของบริษัทที่อยูในตึกตางๆ ไดอยาง สะดวกรวดเร็วขึ้น 4. การนํา QR Code มาใชในโรงพยาบาล เปน ที่นิยมในหลายประเทศตั้งแตประเทศญี่ปุน ประเทศ ฮองกง รวมไปถึงประเทศสิงคโปรเองก็ประยุกตใช QR Code ในการระบุตวั คนไขในลักษณะของสายรัด ขอมือโดยมีขอมูลเกี่ยวกับชื่อคนไข เลขประจําตัว ประชาชน วันเกิด เพศ รวมถึงหองพักและเตียงคนไข เพื่อใหสามารถเขาถึงขอมูลคนไข วิธีการรักษา และ ยาไดถูกตอง

5. สําหรับประเทศจีนไดนาํ QR Code ไปใชเพือ่ เปนใบรับรองคุณสมบัติของเครื่องประดับ โดยผูใช สามารถอาน QR Code ที่ปรากฏบนปายสินคาเพื่อ ตรวจสอบขอมูลเกี่ยวกับเครื่องประดับนั้นๆ ได 6. การประยุกตใช QR Code กับสินคาทาง การเกษตรในญีป่ นุ เกาหลี และไตหวัน โดยมีการติด QR Code ไวทบี่ รรจุภณ ั ฑของสินคา เชน รหัสสินคา ชื่อสินคา วันที่บรรจุ เพื่อใหสามารถติดตามไดวา สินคายังคงความสดใหมอยูห รือไม เมือ่ มีการสงไปยัง รานคาปลีกยอย นอกจากนี้ ผูบริโภคยังสามารถ เขาถึงขอมูลผูผ ลิตไดผา นเว็บไซตบนโทรศัพทมอื ถือ ที่พัฒนาขึ้น การติด QR Code บนสินคาบริโภค ตางๆ นี้ ไมวาจะเปนผัก ผลไม โดยระบุขอมูลที่ สําคัญ เชน แหลงทีป่ ลูก สารเคมีทใี่ ช หรือแมแตสตู ร อาหารที่ปรุงกับผัก ผลไมเหลานั้น ใหผูใชสามารถ ดาวนโหลดเพิ่มเติมได 7. ทางไตหวันยังไดนาํ QR Code ไปใชในวงการ โทรคมนาคมเชนเดียวกับประเทศญี่ปุน และเกาหลี เพื่อตอยอดใหกับธุรกิจเชิงอิเล็กทรอนิกส (e-Business) โดยผูบริโภคสามารถสแกน QR Code จาก สื่อสิ่งพิมพตางๆ เชน แผนพับ ปายประกาศ เพื่อ เขาสูร ะบบอินเทอรเน็ตในการจองตัว๋ เครือ่ งบิน ตัว๋ ชม ภาพยนตร หรือแมแตการหาขอมูลการทองเที่ยว อีกหนึง่ การใชงานทีไ่ ดรบั ความนิยมอยางมากใน ทั้ง 3 ประเทศ คือระบบการชําระเงินอิเล็กทรอนิกส (e-Payment) โดยในใบเรียกเก็บแจงยอดคาใชบริการ เชน โทรศัพทเคลื่อนที่จะมี QR Code แนบมาดวย ทําใหผูใชสามารถชําระคาใชบริการผานมือถือได อยางสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

119


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ที่มา: http://www.itsc.org.sg รูปที่ 9 การใช QR Code กับ e-Payment

แนวโนมการประยุกตใช QR Code เพื่อตอบรับกระแสความนิยมของ QR Code บริษัทผูผลิตโทรศัพทเคลื่อนที่ตางพัฒนาซอฟตแวร ที่ใชในการอาน QR Code อยางตอเนื่อง เพื่อใหมี ประสิทธิภาพในการอานโคดมากขึน้ ซึง่ ผูใ ชสามารถ เลือกใชได ทั้งแบบที่ตองเสียเงินและแบบไมเสีย คาใชจาย บนแพลตฟอรม (Platform) ตางๆ ไมวา จะเปน iPhone BlackBerry รวมทั้ง Android QR Code ไดรับการยอมรับจากวงการตางๆ ทั่วโลกมากขึ้น ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ เชน ทางดานสมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (International Air Transport Association หรือ IATA) ไดมีการประชุมกับสนามบินตางๆ ทั่วโลกใน การประยุกตใชโคด 2 มิติอยาง QR Code นี้ แทน Boarding Pass ที่ใชกันอยูในปจจุบัน เพื่อใชแสดง ขอมูลในการขึ้นเครื่องบิน และการนําเอา QR Code มาใชในระบุขอ มูลทีต่ ดิ ไวกบั ตัวกระเปาของผูโ ดยสาร เพื่อใหเกิดความถูกตองแมนยํากวาเดิม

120

QR Code จะชวยทําใหธุรกิจมีความคลองตัว และเติบโตอยางตอเนื่องสงผลดีตอเศรษฐกิจระดับ โลก อยางที่ทราบกันดีวาการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-Commerce) ในป จ จุ บั น ได มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น รูปแบบไป โดยมีลกั ษณะการซือ้ -ขายผานทางโทรศัพท เคลื่อนที่หรือที่เรียกกันวา Mobile commerce หรือ M-commerce มากขึ้น รานขายปลีกทั้งหลายตาง นิยมใชเทคโนโลยี QR Code เขามาชวยในธุรกิจ ไมเวนแมแตสนิ คาแบรนดเนมทีม่ ชี อื่ เสียง เชน Gucci Ralph Lauren หรือ Calvin Klein ดังแสดงในรูป ที่ 10 ซึ่งแนวโนมในอนาคตคาดวาแบรนดอื่นๆ ก็จะ หันมาใชเทคโนโลยี QR Code เพื่อเพิ่มยอดขายให กับธุรกิจดวยเชนกัน ในอนาคตอันใกลนี้ QR Code จะมีบทบาทมาก ขึน้ ในทุกๆ วงการและทุกประเทศทัว่ โลก ไมวา จะไป ณ ที่แหงใดขอเพียงแตพกโทรศัพทเคลื่อนที่ Smart Phone ที่สามารถถายรูปและมีโปรแกรมรองรับการ อาน QR Code ไดแลว เราก็จะสามารถเขาถึงขอมูล มากขึ้นไดแคเพียงปลายนิ้ว


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ที่มา: http://andresiregar.com/ รูปที่ 10 ตัวอยางการนํา QR code ไปใชในการโฆษณาของสินคาแบรนดเนม

บรรณานุกรม Denso Wave Inc. (2010). QRcode.com. Retrieved July 17, 2010, from http://www. denso-wave.com/qrcode/index-e.html Information Technology Standards Committee. (2008). QR Code. Retrieved July 17, 2010, from Synthesis Journal Website: http://www. itsc.org.sg/pdf/synthesis08/Three_QR_Code. pdf

Schonfeld, E. (2009). See that funny 2D barcode in the store window? It might pull up a Google listing. Retrieved July 17, 2010, from http://techcrunch.com/2009/12/06/google-local-maps-qr-code

Miss Piradee Nganrungruang received her Bachelor’s Degree in Information Engineering from School of Engineering; King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL) in 2003 and earned Master of Science in Information Sciences (MSIS) from University of Pittsburgh (U.S.A.) in 2007. She is currently working as a lecturer at Department of Information Technology, School of Science and Technology, Bangkok University. The areas of her interest are the information retrieval system, a social networking and geographical Information system.

121


ªÕ

ÇÔμáÅЧҹà¢Õ¹: ÁÒÂÒÀÒ¾¢Í§ÀÒ¾ªÕÇÔμ Life and Composition: Illustration of Lives นันทิดา จงมีสุข อาจารยประจําคณะศิลปศาสตร สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน E-mail: nanthidajon@pim.ac.th

บทคัดยอ บทความนี้มุงนําเสนอชีวิตและงานเขียนของนักประพันธเอกของโลก เพื่อวิเคราะหแนวคิด หลักอันเปนคุณคาหรือสารัตถะที่ปรากฏในงานเขียนนั้น พรอมทั้งชี้ใหเห็นวาวรรณกรรมอัน เปนดั่งบรรณาการแหงโลกเหลานี้ลวนแสดงแกนแทในการดํารงชีวิต หรือแงมุมใดแงมุมหนึ่ง ของนักเขียนและผูคนมากมายที่ผันผานเขามาในชีวิตของเขา การศึกษาวิเคราะหนี้มุงเชิดชู คุณคาและเนนยํ้าสารัตถะที่ปรากฏในงานเขียนใหเดนชัดขึ้น คําสําคัญ: งานเขียน/บทประพันธ/วรรณกรรม แกนเรือ่ ง/แนวคิดหลัก/สารัตถะ ภาพมายา ภาพชีวิต

Abstract This article aims to present lives and works of the world’s famous authors in order to comprehensively analyze the main ideas illustrated in their works in order to show how literature could be valued as the gift of the world. In addition, it also portrays the lives of the authors in certain perspectives including people posing influences on their lives as well. Hence, this study would provide a proper highlight to the core value and the main ideas of the works. Keywords: Composition, Theme, Illustration, Lives

122


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

บทนํา ในวงวิชาวรรณกรรมนั้นมีหลายแนวทางในการ ศึกษาวิเคราะหวรรณกรรม แนวทางหนึ่งที่นาสนใจ คือ แนวทางปฏิฐานนิยม ซึ่งมีมุมมองวาวรรณกรรม เปนภาพจําลองของชีวติ มนุษย อันเปย มไปดวยความ งดงาม มีสาระ และคุณคา โดยการศึกษาวรรณกรรม ตามแนวทางนี้ใหความสําคัญกับการศึกษาปจจัย ภายนอกตั ว บทวรรณกรรม กล า วคื อ มุ  ง ศึ ก ษา เกี่ ย วกั บ ผู  เ ขี ย นและบริ บ ททางสั ง คมของผู  เ ขี ย น (นพพร ประชากุล และชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย, 2540: 27-43) แนวทางดั ง กล า วสอดคล อ งกั บ ที่ เสกสรรค ประเสริฐกุล ไดกลาวไววา นักประพันธเอกของโลก หลายคนนั้น งานเขียนของเขามักแยกไมออกจาก ชีวิตจริงของตนเอง เขาจะเขียนแตเฉพาะเรื่องที่ ตนเองรูและมีประสบการณโดยตรง เมื่อเปนเชนนี้ แลวการใชชีวิตกับการเขียนหนังสือจึงเปนอันหนึ่ง อันเดียวกัน (เสกสรรค ประเสริฐกุล, 2540: 51) ดวยตระหนักถึงความสําคัญในประเด็นดังกลาว บทความนีจ้ งึ มุง ศึกษาความสัมพันธระหวางวรรณกรรม กับผูเ ขียน โดยจะแสดงใหเห็นวาวรรณกรรมมักจะเปน ภาพสะทอนชีวิต ประสบการณในชีวิต และทัศนคติ ของผูเขียน ผานการศึกษางานเขียนของ เออรเนสต เฮมิงเวย, อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี, ริชารด บาค, กาเบรียล การเซีย มารเกซ และฟรานซ คาฟคา เนื้อหา เสกสรรค ประเสริฐกุล ไดแสดงปาฐกถาในหัวขอ “การเขี ย นหนั ง สื อ ในฐานะการแสดงออกทางจิ ต วิญญาณ” ไว มีใจความตอนหนึ่งวา “การเขี ย นหนั ง สื อ และการอ า นหนั ง สื อ เป น ความเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่สําคัญอยางหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวของอยางใกลชิดกับการยกระดับหรือการ แตกสลายทางจิตวิญญาณของคนในสังคม กําเนิด ของการเขียนหนังสือเกี่ยวโยงอยางใกลชิดกับการ

แสวงหาทางปญญา และการแสวงหาทางปญญาก็ เกีย่ วโยงอยางใกลชดิ กับการแสวงหาทางจิตวิญญาณ นักเขียนบางคนเขียนแทนเพื่อนมนุษยที่ไมมี ปากเสี ย ง ... บางคนเขี ย นถึ ง มิ ติ ข องชี วิ ต ที่ โ ลก หลงลืม บางใชเรื่องราวของความจริงเฉพาะสวน นําพาผูอานไปสูความเขาใจความจริงสูงสุดของการ เกิดมาเปนคน แตไมวาจะอยางไรก็ตาม ผลงานของ ทานเหลานี้ตางมีสวนเชิญชวนใหมนุษยชาติสลัดทิ้ง จิตใจทีห่ ยาบกระดาง และเห็นแกตวั มาสูจ ติ วิญญาณ ที่ละเอียดออน ผูที่เติบโตมากับวรรณกรรมที่เชิดชูคุณคาและ ศักดิ์ศรีของมนุษย หรือวรรณกรรมที่มุงสูอิสรภาพ ทางจิตวิญญาณ การใชชีวิตอยางมักงาย เอาแตได และโงเขลาเบาปญญาหรือปราศจากมโนธรรมสํานึก คงเปนเรื่องที่ทําไดยากเต็มที” (เสกสรรค ประเสริฐกุล, ปาฐกถา) งานเขียนหลายชิ้นของ เออรเนสต เฮมิงเวย แสดงใหเห็นคุณคาและศักดิศ์ รีของมนุษย ในอันทีจ่ ะ เผชิ ญ หน า กั บ ป ญ หาและอุ ป สรรคอย า งกล า หาญ เด็ดเดี่ยว เมื่อเราหวนคิดถึงซานติเอโก ประมงเฒา ชาวคิวบา ตัวละครในเรื่อง The Old Man And the Sea หรือ เฒาผจญทะเล ของ เออรเนสต เฮมิงเวย เราก็จะระลึกถึงอมตวาจาที่วา “มนุษยนั้น ถูกทําลายได แตแพไมได” นวนิ ย ายขนาดสั้ น เล ม นี้ มี ก ารเดิ น เรื่ อ งง า ยๆ ตามแบบฉบับเฮมิงเวย เลาเรื่องเกี่ยวกับซานติเอโก ประมงเฒาผูนี้หาปลาไมไดติดตอกันเปนเวลาเกือบ สามเดือน แตยงั คงมีความเชือ่ มัน่ ในตนเองเต็มเปย ม ฝมือในการตกปลาของซานติเอโกไมมีใครในโลก มองเห็น กระนั้นก็ตามเมื่อเขาออกหาปลาตามลําพัง ดวยเรือเล็กในวันหนึ่ง เขาก็ไดตอกรกับปลาตัวใหญ ที่สุดในชีวิต ปลาที่สามารถปลิดชีวิตของเขาใหปลิว ไปกับกระแสนํ้าไดทุกเมื่อ แตซานติเอโกก็ตอสูอยาง ทรหดอดทนและเด็ดเดี่ยว เมื่อปลาที่ติดเบ็ดลากเขา ไปสามวันสามคืน เขาก็ไมยอมแพจนแลวจนรอด

123


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ในขณะเดี ย วกั น วิ ญ ญาณเสรี ข อง โจนาทาน ลิฟวิงสตัน นางนวล ในเรือ่ ง Jonathan Livingston Seagull ของ ริชารด บาค ก็กระตุน เราจิตวิญญาณ ทีใ่ ฝฝน ถึงเสรีภาพของคนหนุม สาวมาทุกยุคทุกสมัย วิญญาณเสรีของนางนวลโจนาทานนัน้ เปนจิตวิญญาณ ที่กอปรดวยเหตุและผล พรอมกบฏตอโซตรวนใดๆ ที่ขัดขวางการกาวไปสูโลกที่ดีกวา แสดงออกดวย จิตสํานึกทีม่ งุ มัน่ ฝกฝนตนเองอยางทุม เทและตอเนือ่ ง (โจนาทาน ลิ ฟ วิ ง สตั น นางนวล, 2546: คํ า นํ า สํานักพิมพ) ดังที่เราจะเห็นไดวานางนวลโจนาทานไมยอม เป น เพี ย งแค น กนางนวลธรรมดาที่ บิ น โฉบไปมา เหนือนํา้ เพือ่ จับปลากินไปวันๆ เทานัน้ แตกลับมุง มัน่ ที่จะฝกบินใหสูงและเร็วที่สุด ทั้งยังฝกบินผาดโผน อีกดวย โดยมีจดุ มุง หมายเพือ่ ทาทายขีดความสามารถ ของตนเอง และแมวาการกระทําดังกลาวจะทําให ตนเองเปน “ตัวหัวเนา” ที่ถูกขับออกจากฝูง ก็มิได ทําใหนางนวลโจนาทานเลิกลมความเพียรพยายามที่ จะฝกฝนอยางทุมเทตอไป ในสวนของ ริชารด บาค ซึ่งเปนผูเขียนนั้นก็ได สะทอนความเปน โจนาทาน ลิฟวิงสตัน นางนวล ที่ มีอยูใ นตัวเขาออกมาสูง านเขียนเรือ่ งนีห้ ลายประการ ดังที่เราจะเห็นไดวา โดยสวนตัวนั้น ริชารด บาค ประสบความล ม เหลวในการทํ า งานมาหลายครั้ ง เปลี่ยนงานบอย แตดวยจิตใจที่มุงมั่นไมยอมแพ โชคชะตาทํ า ให ป ระสบความสํ า เร็ จ ในที่ สุ ด เมื่ อ วรรณกรรมเรื่อง โจนาทาน ลิฟวิงสตัน นางนวล (Jonathan Livingston Seagull) ของเขานั้นไดรับ ความนิยมเปนอยางมาก ทําใหเขามีชื่อเสียงและ สามารถขายลิขสิทธิใ์ นการตีพมิ พเผยแพรวรรณกรรม เรื่องนี้ไดเปนเงินจํานวนมาก ไมตางกับที่ นางนวล โจนาทาน ลิฟวิงสตัน ก็ประสบกับความลมเหลว หลายตอหลายครัง้ กวาทีจ่ ะประสบความสําเร็จในทีส่ ดุ นอกจากนี้ ประสบการณในชีวิตของริชารดยัง ปรากฏเดนชัดในวรรณกรรมเรือ่ งนี้ ดังจะเห็นไดจาก

124

การที่ เ ขานํ า ประสบการณ ข องตนเองในการเป น นักบิน มาใชถายทอดการบรรยายภาพในมุมตางๆ ตามสายตาของ นางนวลโจนาทาน ลิ ฟ วิ ง สตั น ในขณะที่ฝกบินในรูปแบบตางๆ เราจะเห็นไดวาในขณะที่งานเขียนเหลานั้น มุง ยกระดับจิตวิญญาณ สรางสํานึกขบถ และกระตุน ให ค น หาความหมายของชี วิ ต ผู  เ ขี ย นเองก็ เ ปรี ย บ เหมือนเทียนที่หลอมตัวเองเพื่อใหแสงสวางแกผูอื่น นั บ หมื่ น แสน ชี วิ ต ที่ ดู เ หมื อ นมี สี สั น มากมายของ เฮมิงเวยนั้น จริงๆ แลวเปนชีวิตขบถซึ่งพยายาม ดิ้ น รนไปสู  แ ก น แท ข องชี วิ ต ฉะนั้ น จึ ง เป น ชี วิ ต ที่ หมกมุนครุนคิดและเงียบเหงา “เขาเติบโตมาในครอบครัวชนชัน้ กลางทีโ่ อกปารก ชานเมืองชิคาโก รัฐอิลลินอยส พอเปนหมอที่ลึกๆ แลวมีความออนแอทางจิตใจ แมเปนคนเขมงวด และเคร ง ครั ด ในจารี ต ประเพณี แ บบผู  ดี วิ ก ตอเรี ย สภาพครอบครัวเชนนี้ทําใหเฮมิงเวยรังเกียจวิถีชีวิต ชนชั้นกลางในสมัยนั้น รังเกียจระเบียบแบบแผน ของผูดี รังเกียจชีวิตที่อยูในกรอบและคํานึงถึงแต ผลประโยชน การไดออกไปสัมผัสชีวิตในชนบทแตเยาววัย ทําใหเขาไดเห็นความทุกขยากของผูคน โดยเฉพาะ ชาวอเมริ กั น อิ น เดี ย นซึ่ ง อยู  ใ กล ๆ กั บ บ า นพั ก ตากอากาศของครอบครัวในรัฐมิชแิ กน ทําใหเขาเริม่ ตัง้ คําถามวา เหตุใดชีวติ จึงเต็มไปดวยความทุกขและ ความโหดรายที่ไรเหตุผล และเมื่อความคิดตกผลึก ถึงทีส่ ดุ ก็สะทอนออกมาในงานของเขาวา ในเมือ่ ชีวติ มีแตความทุกขอนั ไรแกนสาร หนทางทีจ่ ะอยูร อดและ หาความหมายจากมันไดก็คือ การเผชิญหนาอยาง กลาหาญและการตอสูนั้นมีคุณคาในตัวเอง แมวา จะตองตอกรกับมันอยางโดดเดี่ยวตามลําพังก็ตาม” (เสกสรรค ประเสริฐกุล, 2540: 56) งานของเฮมิงเวยนั้นบอกเลาเรื่องราวของทหาร ที่อยูในแนวหนา สะทอนภาพของผูที่ดิ้นรนระหวาง ความเปนกับความตาย (A Farewell to Arms)


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

นักสูวัวกระทิงผูแขวนชีวิตไวบนเสนดาย (The Sun Also Rises) คนลาสัตวและคนหาปลาซึ่งวีรกรรม อันยิ่งใหญที่สุดในชีวิตของเขานั้นไมมีใครจดจําหรือ ให ค วามสนใจ (The Old Man And the Sea) เฮมิงเวยบอกเลาเรือ่ งราวเหลานัน้ อยางคมชัด เราใจ ชวนติดตาม จนผูอานสวนใหญติดตาตรึงใจอยูกับ สนามชีวติ กลางแจงเหลานั้น ทัง้ นี้ ปฏิเสธมิไดวา ปจจัยสําคัญทีท่ าํ ใหงานเขียน ของเฮมิงเวยสมจริงและดึงดูดจิตใจของผูอ า นไดอยาง มีพลังก็คือ เขานําประสบการณจากการผจญภัย ในชีวิตของเขามาถายทอดไวในงานเขียน ดังที่วา “เฮมิงเวยชอบการผจญภัย ชอบธรรมชาติ และชีวิต กลางแจง ขอเขียนจึงเปนภาพในดานเหลานี้ ... เขา เปนนักเขียนที่ยึดความจริงและประสบการณ มิใช หลีกเลี่ยงความจริงพบเห็นเปนอยางไรก็ถายทอด ออกมาอยางนั้น ทหารถูกยิงโชกเลือด มาถูกวัวขวิด เปนแผลเหวอะ ฉลามโดนลูกฉมวกเลือดทะลักออกมา เต็มทะเล เปนสิ่งที่เกิดขึ้นจริงๆ เฮมิงเวยพรรณนา อยางละเอียดถี่ถวนดวยสํานวนของตัวเอง” (พิมาน แจมจรัส, 2546: 33) สัจธรรมตางๆ ทีเ่ ฮมิงเวยนาํ เสนอในวรรณกรรม ของเขานัน้ ลวนแตพสิ จู นใหประจักษดว ยการกระทํา ของเขา ดังเชนในสมรภูมสิ งครามโลกครัง้ ที่ 1 เขาถูก กระหนํ่ า ด ว ยป น ครกพร อ มๆ กั บ ทหารกลุ  ม หนึ่ ง เขาถูกสะเก็ดปนครกเขาที่ขานับสิบนับรอยชิ้น แตก็ สูอุตสาหแบกทหารที่บาดเจ็บไปยังสถานพยาบาล ระหวางทางเขาถูกยิงดวยปนกลเขาที่ขาอีกสองหน แต ก็ กั ด ฟ น แบกเพื่ อ นไปยั ง จุ ด หมายปลายทาง จนสําเร็จ ดังนัน้ เมือ่ เฮมิงเวย กลาวไววา “มนุษยนนั้ ถูกทําลายได แตแพไมได” ใน The Old Man And the Sea จึงเปนถอยคําทีม่ พี ลังอยางทีส่ ดุ ทัง้ นีเ้ พราะ เขาไดพิสูจนสัจธรรมดังกลาวมาแลวดวยตนเอง เฮมิงเวยยงั ไดนาํ ประสบการณของการเปนทหาร ในแนวหนาซึ่งเขามีสวนรวมดวยในสงครามครั้งนี้ มาถายทอดในงานเขียนของเขา ดังที่วา “เฮมิงเวย

นําเหตุการณครัง้ นีไ้ ปบรรยายซํา้ แลวซํา้ อีก พรรณนา ถึงการบาดเจ็บของ เฟรเดอริก เฮนรี่ ใน A Farewell to Arms ไวใกลเคียงความจริงมาก” (พิมาน แจมจรัส, 2546: 95) นอกจากนี้ เฮมิงเวยยังไดสะทอนภาพความ สั ม พั น ธ ร ะหว า งเขากั บ แอ็ ก เนส ฟอน คู โ รว ส กี พยาบาลสาวซึง่ เปนหญิงคนรักของเขาขณะประจําการ ในสงครามครั้งนั้นไวในงานเขียนหลายเรื่อง รวมทั้ง A Farewell to Arms ดวย ดังทีว่ า “เฮมิงเวยนาํ เรือ่ ง รักระหวางเขากับแอ็กเนสมาเขียนไวในนวนิยาย หลายเรื่อง โดยเฉพาะฉากรักในโรงพยาบาลมิลาน ระหวาง แคธรีน บารกลีย กับ รอยโทเฟรเดอริก เฮนรี่ ใน A Farewell to Arms” (พิมาน แจมจรัส, 2546: 121) โดยสะท อ นภาพของแอ็ ก เนสไว ใ น ตัวละครที่ชื่อ แคธรีน บารกลีย ประสบการณของเฮมิงเวยโดยเฉพาะอยางยิ่ง เรื่องราวการผจญภัยตางๆ ในชีวิต มีสวนสําคัญ อยางยิง่ ในการสรางสรรคงานเขียนของเขา ประกอบกับ เฮมิงเวยเปนนักผจญภัยทีย่ งิ่ ใหญ สงผลใหตลอดชีวติ ทีผ่ า นมาเฮมิงเวยใชรา งกายอยางหนักในการโลดแลน ผจญภัย เพือ่ เก็บเกีย่ วประสบการณมาใชในงานเขียน ของเขา ตอมาเขาประสบอุบตั เิ หตุเครือ่ งบินตกถึงสองครัง้ ติดตอกัน เขาไดรับบาดเจ็บสาหัสและไมเคยฟนตัว ดังเดิม ความทรุดโทรมทางกายดังกลาวเกี่ยวพัน โดยตรงกับความสามารถในการเขียนงานของเขา และในวันที่ 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1961 เฮมิงเวยก็ ใชชีวิตของเขายํ้าถอยคําที่วา “ ‘เมื่อคนเราสูญเสีย แกนแทแหงการดํารงอยูของตัวเอง เขาก็เหมือน ตายไปแลว’ ดังที่เคยกลาวไวในเรื่องสั้นชื่อ ‘The Undefeated’ ” (เสกสรรค ประเสริฐกุล, 2540: 70) ดวยการจบชีวิตของตัวเอง เพราะสําหรับเขานั้นเมื่อ สูญสิ้นพลังสรางสรรคในโลกวรรณกรรมก็เทากับสูญ เสียแกนแทแหงการดํารงอยูไป

125


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

นั่ น คื อ นอกจากเฮมิ ง เวย จ ะได นํ า ชี วิ ต และ ประสบการณในชีวติ มาเขียนในงานเขียนแลว เขายัง ไดสะทอนทัศนคติในการดําเนินชีวติ ของตนเองไวใน งานเขียนบางเรื่องอีกดวย นักเขียนอีกคนที่ประสบการณชีวิตมีสวนสําคัญ ตองานเขียนของเขาเปนอยางยิง่ ก็คอื อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี ผูแตงเรื่อง Le Petit Prince หรือ เจาชายนอย เมื่ออองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี จบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแลว เขาตั้งใจ ศึกษาตอเตรียมทหารเรือที่โรงเรียนแซงตหลุยสใน กรุงปารีสแตสอบเขาไมได เพราะไมยอมทําเรียงความ เรื่อง “ความรูสึกของทหารที่กลับจากสงคราม” ดวย เหตุผลวา ไมสามารถบรรยายความรูสึกอันไมเคย ประสบนั้นได (อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี, 2546: ภาคผนวก) นับวาเปนความสัตยซอื่ และความเคารพ สูงสุดที่มีตองานเขียนของตนเอง “นับจากจุดนั้น อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี ไดหนั เหชีวติ มารับราชการทหารเปนนักบินอยูท เี่ มือง สตราสบูรกและฝกหัดบินจนไดรับใบอนุญาตเปน นั ก บิ น อาชี พ เริ่ ม ทํ า งานที่ เ มื อ งตู ลู ส เป น นั ก บิ น ประจําเสนทางตูลสู -กาซาบลังกา แลวตอมาถูกสงไป เปนหัวหนาหนวยประจําสถานีบนิ ทีก่ าปจูบใี นแอฟริกา ณ ทีน่ เี้ อง อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี ไดตระหนักวา อาณาจักรของมนุษยเรานี้อยูในใจของเราแตละคน นัน่ เอง ทัง้ นีเ้ นือ่ งดวยเขามีชวี ติ อยูใ นวงสังคมทีจ่ าํ กัด มีเพียงเพื่อนนักบินดวยกันไมกี่คน ซึ่งนานๆ จะบิน ผานมา และมีผูบังคับการปอมที่มาเยี่ยมเยียนเปน ครั้ ง คราว นอกจากนั้ น ก็ มี แ ต ท ะเลทรายสุ ด ลู ก หู ลูกตา... ” (อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี, 2546: ภาคผนวก) ประสบการณชวี ติ ในชวงนีข้ องอองตวน เดอ แซง เตก-ซูเปรี มีผลอยางมากตอการรังสรรควรรณกรรม เอกของโลก เรื่องเจาชายนอย ดังที่เราจะเห็นไดวา ฉากที่สําคัญที่สุดในเรื่องเจาชายนอยคือทะเลทราย อันกวางไกล เชนเดียวกับภูมิทัศนบริเวณที่ตั้งของ

126

สถานี บิ น ที่ ก าปจู บี ใ นแอฟริ ก า ซึ่ ง เขาทํ า หน า ที่ หัวหนาหนวยประจําสถานี ตัวละครสําคัญในเรื่อง เจาชายนอยก็เปนนักบิน (นักบินทีเ่ ครือ่ งยนตขดั ของ ตองลงจอดกลางทะเลทรายจนมาเจอกับเจาชายนอย) เชนเดียวกับเขาตางๆ เหลานี้ เปนตน ความเปนมาของเรื่องเจาชายนอยก็คือ “เขา เขียนเรื่องนี้ขึ้นในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ขณะที่ ประเทศฝรัง่ เศสบานเกิดถูกยึดครองโดยกองทัพนาซี เยอรมั น และขณะที่ เ ขาต อ งลี้ ภั ย อยู  ใ นประเทศ สหรัฐอเมริกา ทามกลางความคับของขุกเข็ญรุมเรา ทั้งจากโรคภัยที่คุกคาม จากความอึดอัดที่พันธมิตร อเมริกันยังมิไดสนับสนุนสมรภูมิยุโรปอยางพอเพียง จากความแตกแยกของเพื่อนรวมชาติพลัดถิ่น และ จากความหวงกังวลถึงญาติมติ รในบานเกิดเมืองนอน “เจาชายนอย” เปนเครือ่ งบรรเทาความบอบชํา้ ของเขา และเปนความหวังอันเรืองรองของผูคนทามกลาง หวงมืดแหงสงครามในเวลานั้น ตอมาโลกก็ประจักษ วา “เจาชายนอย” เปนดั่งบรรณาการแหงโลกนี้ที่ ปรากฏทามกลางแรงกดดันเคีย่ วกรํา เพือ่ จรรโลงโลก ใหคืนสูสมดุลอีกครั้งหนึ่ง” (อองตวน เดอ แซงเตกซูเปรี, 2546: ภาคผนวก) เนื้ อ เรื่ อ งมี อ ยู  ว  า เจ า ชายน อ ยเกิ ด ขั ด ใจกั บ ดอกกุ ห ลาบซึ่ ง เป น เพื่ อ นเพี ย งคนเดี ย วของตน จึงออกเดินทางไปยังดวงดาวตางๆ แสวงหาเพือ่ นจาก ที่อื่นๆ เขาไดพบปะผูคนมากมาย ซึ่งประสบการณ ดั ง กล า วทํ า ให เ ขาได พ บกั บ ความหมายของสิ่ ง ที่ ตนเองคนหา เจ า ชายน อ ยเดิ น ทางไปยั ง ดาวต า งๆ ได พ บ พระราชา ชายขีเ้ มา นักธุรกิจ คนจุดโคม นักภูมศิ าสตร ฯลฯ แตละคนลวนหมกมุน กับงานหรือความคิดของตน เพื่อหนีสภาพความเปนจริง ซึ่งตนเองไมยอมรับ ทั้งๆ ที่ยังไมรูชัดวาสิ่งที่ตนประสงคคืออะไร ตอเมื่อ เจาชายนอยพบสุนัขจิ้งจอกในทะเลทรายนั่นแหละ เขาจึงไดตระหนักวาความจริงแหงชีวิตนั้นคือ “ชีวิต ตองการความรัก ความรักเปนนํ้าหลอเลี้ยงชีวิตให


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ยืนยง เปนสายนํ้าที่ไมมีวันเหือดแหง เปรียบเสมือน นํ้าที่ซึมอยูใตผิวทราย และความรักนั้นเปนเรื่องของ หัวใจ เปนเรื่องของความรับผิดชอบตอสิ่งที่ตนรัก” (อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี, 2546: ภาคผนวก) แกนเรื่องหรือสารัตถะที่สําคัญที่สุดของเรื่องนี้ ก็คือ “เราจะมองเห็นแจมชัดดวยหัวใจเทานั้น สิง่ สําคัญนัน้ ไมอาจเห็นไดดว ยดวงตา” (อองตวน เดอ แซงเตก-ซู เ ปรี , 2546: 100) เหมื อ นดั ง ที่ เจาชายนอยตระหนักวาดอกกุหลาบมีความสําคัญ ตอตนเองมากเพียงใด ก็เมื่อรูตัววาตนเองมีความ คิดถึง หวงใยและเปนกังวลตอดอกกุหลาบของตน มาก และไมวาเขาจะจากดอกกุหลาบมาไกลแคไหน หรือนานเพียงใดก็ตาม ความรักความผูกพันก็ยังคง อยูเสมอ นอกจากนี้ สารัตถะที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่ ปรากฏในเรื่องเจาชายนอยก็คือ เวลาที่เราเสียไป ใหแกสงิ่ ทีเ่ รารัก จะทําใหสงิ่ นัน้ มีคา มากขึน้ ดังนัน้ เรา ตองไมละเลยสิ่งที่เรารัก เชนเดียวกับที่เจาชายนอย ตัดสินใจกลับไปหาดอกกุหลาบของเขา อองตวน เดอ แซงเตก-ซู เ ปรี เขี ย นเรื่ อ ง เจาชายนอยในรูปแบบนิทานสําหรับเด็ก ทั้งๆ ที่ เนื้อหาเปนปรัชญาชีวิตอันลึกซึ้งเกินกวาที่ผูใหญจะ มองขาม ทัง้ นีเ้ พราะเขาใหเหตุผลวา “วัยเด็ก เปนวัย ทีบ่ ริสทุ ธิ์ เปนอาณาจักรแหงความฝนของมนุษย และ ความฝนนั้นคือความมหัศจรรยอยางหนึ่ง ซึ่งชวยให มนุษยหลุดพนจากสภาพการณที่บีบคั้นทุรนทุราย ของชีวิต เปนสถานที่ที่มนุษยมีสิทธิสมบูรณโดยหา ขอบเขตมิได” (อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี, 2546: ภาคผนวก) ประสบการณและเรือ่ งราวตางๆ ทีพ่ ดั ผานเขามา ในชีวิตของนักเขียนนั้น ลวนแตเปนวัตถุดิบสําคัญ ในการรังสรรคผลงานในแงมุมใดมุมหนึ่งทั้งสิ้น ดังที่ กาเบรียล การเซีย มารเกซ ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาวรรณกรรม ในป ค.ศ. 1982 จากวรรณกรรม ยิ่ ง ใหญ ข องโลกเรื่ อ ง One Hundred Years of

Solitude หรือ หนึ่งรอยปแหงความโดดเดี่ยว ไดกลาวไววา “...สภาพแวดลอมของละตินอเมริกา น า พิ ศ วง โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในแถบแคริ บ เบี ย น ผมมาจากโคลัมเบียซึ่งเปนสวนหนึ่งของแคริบเบียน เปนสถานทีท่ มี่ หัศจรรยยงิ่ ... บริเวณชายฝง เหลืออยู แตพวกนอกกฎหมาย-นอกกฎหมายในความหมาย ที่ดี และพวกนักเตนรํา นักผจญภัย ผูคนที่มีแต ความราเริง ประชาชนแถบชายฝงลวนสืบสายเลือด มาจากโจรสลัดและนักคาของเถือ่ นผสมกับทาสผิวดํา การเติบโตในสภาพแวดลอมเชนนัน้ เทากับไดวตั ถุดบิ ที่นาทึ่งสําหรับบทกวี” (กาเบรียล การเซีย มารเกซ, 2552: บทผนวก) มารเกซจะถายทอดภาพชีวิตที่เขาไดผานพบ ออกมาในทางใดทางหนึ่งในงานเขียนของเขาเสมอ ดังจะเห็นไดวา ชวงวัยเยาวของเขานัน้ มีอทิ ธิพลอยาง มากตอการสรางสรรคผลงานในแนวสัจนิยมหัศจรรย (Magical Realism) ของเขา โดยเฉพาะอยางยิ่งใน เรื่อง หนึ่งรอยปแหงความโดดเดี่ยว นี้ เขาไดกลาว ถึงวันเวลาเหลานั้นไววา “ในแถบแคริบเบียน เรายัง สามารถเชือ่ ทุกสิง่ ทุกอยางได เพราะเราไดรบั อิทธิพล มาจากวัฒนธรรมที่แตกตางกันมากมาย ผสมผสาน กันระหวางความเชื่อแบบคาทอลิก และความเชื่อ ของทองถิน่ เราเอง ผมคิดวาสิง่ เหลานีไ้ ดมอบจิตใจที่ เปดกวางแกเราในการมองสิง่ ตางๆ นอกเหนือไปจาก ความจริ ง ที่ เ ห็ น ได เมื่ อ เป น เด็ ก และเติ บ โตมาใน หมูบานอราคาตาคาแถบแคริบเบียน ผมไดฟงเรื่อง นาพิศวงของคนที่สามารถขยับเกาอี้ไดโดยเพียงแต จองมองมัน มีผูชายในอราคาตาคาคนหนึ่งสามารถ รักษาวัวของเขาจากโรคพยาธิ โดยยืนอยูข า งหนาวัว เขาเพียงแตยืนอยูขางหนาวัวและพยาธิตางๆ ก็จะ เริ่มทยอยกันออกมาจากหัววัว เรื่องนี้เปนเรื่องจริง เพราะครั้ ง หนึ่ ง ผมเคยเห็ น มากั บ ตา” (กาเบรี ย ล การเซีย มารเกซ, 2552: บทผนวก) ภาพชีวติ ในวัยเยาวของเขาทีห่ มูบ า นอราคาตาคา ปรากฏในงานเขียนอยางนาทึ่งดังเชน บาทหลวง

127


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

นิคานอร ตัวละครในหนึ่งรอยปแหงความโดดเดี่ยว บาทหลวงผู  นี้ ส ามารถแสดงปาฏิ ห าริ ย  ล อยตั ว ใน อากาศได เชนเดียวกับพระรูปหนึ่งในอราคาตาคา “ซึ่งไดรับการยกยองวาเปนนักบุญที่แท และผูคนก็ พูดกันวาทานสามารถลอยตัวขึ้นจากพื้นไดทุกเมื่อที่ ทานยกถวยไวนที่ใชในพิธีมิสซาขึ้น...” (กาเบรียล การเซีย มารเกซ, 2552: บทผนวก) ดังนั้นเราจะ เห็นไดวา วรรณกรรมนัน้ มักจะแสดงตัวตนหรือสวนใด สวนหนึ่งในชีวิตของผูเขียนอยูเสมอ อยางไรก็ตามสิ่งสําคัญที่สุดที่มารเกซถายทอด ผานวรรณกรรมเรือ่ ง หนึง่ รอยปแหงความโดดเดีย่ ว นี้ มิใชเพียงชีวิตและประสบการณของเขา แตเปนชีวิต และประสบการณ ข องชาวละติ น อเมริ ก าโดยรวม ดังจะเห็นไดวามารเกซนําเสนอวรรณกรรมเรื่องนี้ ในรูปแบบสัจนิยมมหัศจรรย (Magical Realism) ซึ่ ง เป น รู ป แบบที่ มั ก จะใช สั ญ ลั ก ษณ เ ป น เครื่ อ ง แสดงออก โดยผสมผสานความเปนจริง (Reality) กับ จินตนาการในเชิงเหนือจริง (Surreality) เขาดวยกัน เพื่อถายทอดสภาพสังคมละตินอเมริกา ซึ่ง สุชาติ สวัสดิ์ศรี ไดกลาวถึงสภาพสังคมละตินอเมริกาไววา “ตกอยูในภาวะขัดแยงระหวาง ‘เกา’ กับ ‘ใหม’ หรือ ‘ประเพณีนิยม’ กับ ‘สมัยนิยม’ และ ‘ความเปนจริง’ กับ ‘เรื่องเกินจริง’ ” (กาเบรียล การเซีย มารเกซ, 2552: เสมือนคํานํา) ในวรรณกรรมเรือ่ ง หนึง่ รอยปแหงความโดดเดีย่ ว มาร เ กซใช รู ป แบบสั จ นิ ย มมหั ศ จรรย (Magical Realism) สะทอนภาพชีวิตของชาวละตินอเมริกา ผานการนําเสนอเรือ่ งราวของคนในตระกูล “บูเอนดิยา” 6 ชั่วอายุคน โดยแสดงใหเห็นวาวงจรชีวิตในรอบ รอยปของคนเหลานีม้ ไิ ดมคี วามแตกตางใดๆ ระหวาง อดีตกับปจจุบันเลย ดังที่วา “ชะตากรรมของตั ว ละครล ว นมี ค วามผู ก พั น ทางเวลาซึ่งกันและกัน และติด ‘กับดัก’ ของความ เฉือ่ ยเนือย ความหลงใหลในไสยศาสตรทมี่ คี าํ บรรยาย น า เชื่ อ ถื อ คํ า สั่ ง สอนทางศี ล ธรรมที่ ไ ด ป ระโยชน

128

สําหรับผูท รี่ จู กั ใชประโยชน รวมกระทัง่ ความเบือ่ หนาย ของพวกเขาในเมืองเล็กๆ ทีก่ าํ ลังเปลีย่ นผานจากโลก แบบเกามาสูโ ลกทางวัตถุใหมๆ และผูค นที่ ‘ตกปลัก’ อยู  ใ นชุ ม ชนนั้ น ต า งมองเห็ น ว า วั น นี้ มิ ไ ด แ ตกต า ง ไปจากเมื่อวาน และพรุงนี้ก็คงเหมือนๆ กับวันนี้ วงจรชีวิตในรอบ 100 ป ของตัวละครในครอบครัว ตระกูล ‘บูเอนดิยา’ ตลอดชั่ว 6 อายุคน จะเปน เครือ่ งพิสจู นใหผอู า นคอยๆ รูส กึ ถึง ‘ความโดดเดีย่ ว’ ทีน่ า แปลกประหลาดเหลานัน้ อยางไมรสู กึ ตัว และจะ คอยๆ รูสึกเหมือนวาวงจรดังกลาว ‘ไมไดมีอะไรเกิด ขึ้นเลย’ ในชวงเวลา 100 ป ที่ผานไป ” (กาเบรียล การเซีย มารเกซ, 2552: เสมือนคํานํา) ทั้งนี้เพื่อ สะทอนใหเห็นวา สภาพสังคมละตินอเมริกานั้นมิได กาวไปขางหนาเลย สุชาติ สวัสดิ์ศรี ไดกลาวไววา นักเขียนชาว ละตินอเมริกานิยมใชรปู แบบสัจนิยมมหัศจรรยกเ็ พือ่ “หนีใหพนไปจากความปวดราวดังกลาว” (กาเบรียล การเซีย มารเกซ, 2552: เสมือนคํานํา) ในเรือ่ งหนึง่ รอยปแหงความโดดเดีย่ วนีม้ รี ปู แบบ สัจนิยมมหัศจรรยปรากฏอยูอยางชัดเจนโดยตลอด ทัง้ เรือ่ ง จนผูอ า นแทบจะแยกไมออกระหวางโลกแหง ความจริงกับโลกเหนือจริง ยกตัวอยางเชน การที่ บาทหลวงนิ ค านอร ส ามารถลอยตั ว บนอากาศได ปรากฏอยูใ นการดําเนินเรือ่ งประหนึง่ วาเปนเหตุการณ สามัญที่เกิดขึ้นไดในโลกแหงความเปนจริง ลักษณะทีค่ วามเปนจริง (Reality) กับจินตนาการ ในเชิงเหนือจริง (Surreality) ทับซอนกันจนแยก ไมออกนี้ ทําใหผูอานหลงลืมไปวาในขณะที่เรื่องราว ดําเนินไปนัน้ เราก็กาํ ลังกาวผานความปวดราวขมขืน่ ของผูเขียนและชาวละตินอเมริกาทั้งปวง อันเปน เอกลักษณประการหนึง่ ของวรรณกรรมละตินอเมริกา ซึ่งสอดคลองกับที่ สุชาติ สวัสดิ์ศรี ไดกลาวไววา ผู  เ ขี ย นใช รู ป แบบดั ง กล า วเพื่ อ หลี ก หนี จ ากความ เจ็บปวดรวดราวที่มีตอสภาพสังคมของตน นั่นคือ ในอีกนัยหนึ่งรูปแบบในการนําเสนอวรรณกรรมนั้น


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ก็อาจเปนผลมาจากสภาพสังคมทีผ่ เู ขียนเปนสวนหนึง่ ไดเชนกัน แม แ ต มาริ โ อ บาร กั ส โยซา นั ก เขี ย นชาว ละตินอเมริกาเองก็ยอมรับวาอิทธิพลของสภาพสังคม ละตินอเมริกานั้นสงผลตอการสรางสรรควรรณกรรม ในภูมิภาคนี้อยางยิ่ง ดังที่วา “มันคงตองเปนสังคมที่ ผุกรอน สังคมที่กําลังจะตองเปลี่ยนไปแบบนี้เทานั้น แหละครับ ถึงจะกระตุน ใหเกิดงานเขียนแบบนีข้ นึ้ มา ได ... ไมใชเรื่องบังเอิญที่นักเขียนละตินอเมริกัน สามารถผลิตงานเขียนอันเต็มไปดวยความเรารอน มีความคิดสรางสรรค และเปนตัวของตัวเองออก มาได ... ไมมีทางจะหลีกเลี่ยงไปไหนเลย เพราะ ประวัติศาสตรทั้งหมดของพวกเราในละตินอเมริกา ลวนเปนเรื่องของการเขนฆาและการแปรเปลี่ยนที่ โหดรายรุนแรง” (กาเบรียล การเซีย มารเกซ, 2552: เสมือนคํานํา) นั่ น คื อ มิ เ พี ย งแต ผู  เ ขี ย นจะนํ า ชี วิ ต และ ประสบการณของตนมาใชในงานเขียน แตชีวิตและ ประสบการณโดยรวมของคนในสังคมที่ผูเขียนเปน สวนหนึ่งก็มักจะปรากฏอยูในงานเขียนเสมอ และ ยิง่ สภาพสังคมดังกลาวนัน้ มีความบีบคัน้ กดดันเทาไร ผู  เ ขี ย นก็ จ ะยิ่ ง นํ า เสนอผลงานได ส ะเทื อ นใจมาก เทานั้น วรรณกรรมเรื่องตางๆ ที่กลาวมาขางตนนั้น ไมวา จะเปน เฒาผจญทะเล (The Old Man And the Sea) โจนาทาน ลิฟวิงสตัน นางนวล (Jonathan Livingston Seagull) หรือ เจาชายนอย (Le Petit Prince) ก็ตาม ลวนแลวแตนําเสนอแงมุมอันงดงาม ของชี วิ ต ในทางใดทางหนึ่ ง และประสบผลสํ า เร็ จ อยางมาก ดังจะเห็นไดจากการที่วรรณกรรมเหลานี้ เปนที่นิยมอยางแพรหลาย ไดรับการพิมพอยาง ตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน อยางไรก็ตาม งานเขียนที่ประสบผลสําเร็จนั้น มิเพียงแตจะประสานความจริง ความดี และความงาม มาบรรจบกันเปนพลัง เพือ่ สัน่ คลอนจิตวิญญาณของ

ผูอ า นเทานัน้ แตนกั เขียนอาจจะตีแผดา นมืดในจิตใจ ของมนุษย เพื่อกระตุนสามัญสํานึกและจุดมโนธรรม ในจิตใจของคนเราใหเกิดขึ้น ดังที่ ฟรานซ คาฟคา ไดกลาวไววา “ผมคิดวาเราควรจะอานก็แตหนังสือ ที่แทงใจเราจนเปนแผลลึก ... เราตองอานหนังสือ ที่ทําใหรูสึกเหมือนตกอยูกลางมหันตภัยที่ทําใหเรา เศราอยางจับจิตจับใจ ราวคนที่รักยิ่งมาตายจาก เหมื อ นถู ก ปล อ ยทิ้ ง ไว ก ลางป า เปลี่ ย ว หรื อ รู  สึ ก เหมือนวากําลังจะฆาตัวตาย หนังสือตองเปนเหมือน ขวานทีม่ ากระหนํา่ จามเปลือกนํา้ แข็งซึง่ เกาะแนนอยู ในใจเรา” (ฟรานซ คาฟคา, 2544: บทนํา) นิยายเรื่อง The Metamorphosis หรือ กลาย ของ ฟรานซ คาฟคา ไดรับการคัดเลือกใหเปน หนึ่งในหนังสือดีแหงศตวรรษที่ 20 (จากนวนิยายที่ ไดรับการคัดสรรมาทั้งหมดเพียง 85 เรื่อง) ในทัศนะ ของคณะบรรณาธิการของหองสมุดประชาชนนิวยอรก ที่มีหนังสือกวา 50 ลานรายการ และหองสมุดสาขา อีก 82 แหงในสหรัฐอเมริกา (ฟรานซ คาฟคา, 2544: คํานําสํานักพิมพ) นวนิยายเรื่องนี้เลาถึงชายผูหนึ่งชื่อวา เกรเกอร แซมซา เซลล แ มนขายผ า ผู  รั บ ผิ ด ชอบทุ ก คนใน ครอบครัวใหอยูดีกินดีมาโดยตลอด เขาตื่นขึ้นมา ในเชาวันหนึ่งแลวพบวาตนเองกลายเปนแมลงยักษ นั บ จากนั้ น เขาก็ สู ญ เสี ย ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย า งทั้ ง หน า ที่ การงานและครอบครัว ในตอนแรกยังไมมีใครใจแข็ง พอที่จะกําจัดเขาเพราะตระหนักวา “...แมจะอยูใน สภาพทีน่ า รังเกียจเดียดฉันทเชนนี้ เกรเกอรกย็ งั เปน สมาชิกคนหนึ่งในครอบครัว และไมควรจะไดรับการ ปฏิบตั เิ ยีย่ งศัตรู ตรงกันขามดวยหนาทีข่ องครอบครัว พวกเขาจะตองกลํ้ากลืนความขยะแขยงเอาไว และ อดทนอดกลั้นใหได ตองอดทนเขาใหได” (ฟรานซ คาฟคา, 2544: 83) อยางไรก็ตาม เมื่อเขามิไดอยูในฐานะผูที่จุนเจือ ครอบครั ว เขาก็ มี ส ภาพที่ เ สื่ อ มโทรมและตกตํ่ า เฉกเชนเดียวกับสภาพของหองที่เขาอยูที่เกรอะไป

129


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ดวยฝุน “พอมีอะไรขยับนิดเดียว ฝุนก็จะฟุงขึ้นมา ตอนนี้เกรเกอรจึงมีฝุนจับเขรอะไปทั้งตัว บนหลัง และลําตัวทั้งสองขางก็มีเศษนุน เศษผม และเศษ อาหารนานาชนิดติดอยูเ หมือนขนใหเขาลากไปดวย” (ฟรานซ คาฟคา, 2544: 98) เมื่อความอดทนมาถึงที่สุดนองสาวของเขาก็พูด ขึ้นวา “เราจะปลอยใหเปนอยางนี้ตอไปอีกไมไดแลว พอกับแมอาจจะไมรูสึก แตหนูรูสึกคะ หนูจะไมมีวัน เอ ย ชื่ อ พี่ ช ายหนู ต  อ หน า เจ า สั ต ว ป ระหลาดตั ว นี้ หนูขอพูดแควา เราตองกําจัดมันออกไป เราไดทํา ทุกสิ่งทุกอยางเทาที่คนเราจะทําได เพื่อดูแลและ ทนมัน หนูเชือ่ วาคงไมมใี ครมาตําหนิเราไดหรอกคะ” (ฟรานซ คาฟคา, 2544: 103-104) ดวยเนื้อหาที่ บีบคัน้ อารมณและสามัญสํานึกของมนุษยจนถึงทีส่ ดุ นี้ ทําใหในขณะที่เราเห็นอกเห็นใจ เกรเกอร แซมซา เราก็อดที่จะหวั่นไหวมิไดวา หากเราตองประสบ ชะตากรรมเช น เดี ย วกั บ เขา เราจะสู ญ เสี ย ทุ ก สิ่ ง ทุกอยางไปเชนเดียวกันหรือไม และยอนมาตัง้ คําถาม กั บ ตนเองว า ถ า คนที่ เ รารั ก หรื อ คนใกล ชิ ด เรา เปลีย่ นแปลงไปเราจะปฏิบตั ติ อ เขาเชนเดิมหรือเปลา ในอีกแงมมุ หนึง่ ฟรานซ คาฟคา อาจจะสะทอน ความรูสึกแปลกแยกและไมลงรอยกันระหวางเขา กับพอของเขาไวในเรื่องดังกลาวก็เปนได ฟรานซ คาฟคา เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางชาวยิวผูมีอัน จะกิน พอของเขาเปนเจาของธุรกิจขายสงอุปกรณ เครื่องแตงกายชาย ที่สรางฐานะขึ้นมาดวยตนเอง และมีนสิ ยั ชอบกดขีใ่ ชอาํ นาจ ฟรานซ คาฟคา ดิน้ รน มาตลอดชีวิตเพื่อใหพอยอมรับเขา ความรูสึกวา ตนเองไม ดี พ อสํ า หรั บ พ อ เป น ที่ ม าของงานเขี ย น หลายชิ้น และความรูสึกดังกลาวนี้ปรากฏเดนชัดใน “Letter to His Father” ซึง่ คาฟคาเขียนขึน้ แตไมเคย สงไปใหพอ (ฟรานซ คาฟคา, 2544: บทผนวก) ใน The Metamorphosis ภาพความขัดแยง ระหวางเขากับพอปรากฏเดนชัดในตอนที่มิสเตอร แซมซาไลทํารายเกรเกอรในรางแมลงยักษ ดังที่วา “... จะวิง่ ตอไปก็เปลาประโยชนแลว เพราะตอนนีพ้ อ

130

หันมาขวางแอปเปลใสเขาแทน ... แอปเปลลูกหนึ่ง ขวางมาไมแรงเทาไหร แฉลบผานหลังเกรเกอรไป อยางหวุดหวิดฉิวเฉียด แตอกี ลูกทีไ่ ลหลังมาทันควัน นั้นถูกที่กลางหลังของเกรเกอรเขาเต็มแรง จนฝง จมลงมาในเนื้ อทั้งลูก” (ฟรานซ คาฟคา, 2544: 81-82) อี ก ทั้ ง ฟรานซ คาฟคา ยั ง สะท อ นความ เจ็บปวดที่มีตอความสัมพันธระหวางเขากับพอไวใน ตอนที่วา “ดวยบาดแผลฉกรรจทําใหเกรเกอรตอง ทรมานอยูเดือนกวา และแอปเปลลูกนั้นยังคงฝงลึก อยูใ นเนือ้ ทีห่ ลังของเกรเกอร เปนเสมือนเครือ่ งยํา้ เตือน ที่เดนชัด เนื่องจากไมมีใครกลาพอจะเอามันออกไป” (ฟรานซ คาฟคา, 2544: 83) ซึ่งเมื่ออานครั้งใดก็ อดคิดมิไดวา บาดแผลจากแอปเปล ลูกนัน้ ไมไดฝง อยู ที่หลังเกรเกอรเทานั้น แตยังฝงอยูในใจของ ฟรานซ คาฟคา อีกดวย วรรณกรรมเรื่องตางๆ ที่กลาวมานี้ ลวนมีสวน จรรโลงจิตใจผูอ า นในทางใดทางหนึง่ ไมตอ งสงสัยวา ถาคนจํานวนมากในสังคมชอบการอานวรรณกรรม ประเภทนี้ สังคมเราจะดําเนินไปในทิศทางใด แตการ จะสรางสรรคผลงานในระดับนี้ก็มิใชเรื่องงาย ดังที่ เสกสรรค ประเสริฐกุล ไดกลาวไววา “ผมคงไมตอง พูดก็ไดวา นักเขียนทีส่ รางงานในแนวนีแ้ ละในคุณภาพ ระดับนี้คงตองทํางานหนักมิใชนอย อันนี้ผมมิได หมายถึงชัว่ โมงทํางาน หมายถึงการเตรียมความพรอม ในการผลิตงาน ซึง่ จําเปนตองอาศัยทัง้ ประสบการณ ตรงและการศึกษาคนควา นักเขียนคนหนึ่งอาจจะ ตองอานหนังสือมากกวาที่เขาเขียนหลายเทา และ ทุกครัง้ ทีเ่ ปนไปได ควรมีสว นรวมอยางเขมขนในชีวติ ภาคปฏิบัติ ซึ่งรวมทั้งการแสดงความรับผิดชอบตอ หนาที่ทางสังคม ตลอดจนการเดินทางไปดูโลกและ พบปะผูคน” (เสกสรรค ประเสริฐกุล, ปาฐกถา) จากแนวคิ ด ข า งต น นี้ จ ะเห็ น ได ว  า เสกสรรค ประเสริฐกุล เชื่อมั่นวางานเขียนของนักเขียนผูใดก็ ยอมเปนผลมาจากประสบการณในชีวิตของผูนั้น


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

นอกจากผูเขียนจะนําประสบการณในชีวิตมา เขียนในงานเขียนของเขาดังที่ไดกลาวมาแลวนั้น แมแตทัศนคติในการดําเนินชีวิตของนักเขียนก็มัก ปรากฏอยูใ นงานเขียนของเขาเสมอ ดังเชนที่ อองตวน เดอ แซงเตก-ซู เ ปรี ได แ สดงทั ศ นคติ ไ ว ใ นเรื่ อ ง เจาชายนอย ผานคําพูดของสุนัขจิ้งจอกวา “เธอตอง รับผิดชอบตอทุกสิง่ ทีเ่ ธอมีความสัมพันธดว ย เธอตอง รับผิดชอบดอกกุหลาบของเธอ...” (อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี, 2546: 100) นัน่ คือ ความรับผิดชอบ ตอสิ่งตางๆ ที่เรามีความสัมพันธดวย เปนสิ่งที่มี ความหมายอยางยิง่ ตอชีวติ เหมือนดังทีเ่ จาชายนอย ตองหวนกลับไปยังโลกของเขา ไปหาดอกกุหลาบ ของเขา ทัศนคติดงั กลาวนัน้ เปนสิง่ ที่ อองตวน เดอ แซง เตก-ซู เ ปรี ยึ ด ถื อ เป น ทั ศ นคติ ใ นการดํ า เนิ น ชี วิ ต ของเขาเชนกัน ดังทีเ่ ราจะเห็นไดวา หลังจากอองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรีประสบอุบัติเหตุจากการปฏิบัติ หนาที่นักบิน ประกอบกับอายุมากขึ้นทําใหไดรับ อนุญาตทําหนาทีน่ กั บินนอยลง แตเขาก็อาสาออกบิน อยูเสมอ เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาถูกเกณฑ ใหเปนผูฝกสอนเทคนิคการบิน แตเขาก็พยายาม วิ่งเตนจนไดเขารวมหนวยบินลาดตระเวนหมู 2/33 และในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 เขาไดออกบิน ลาดตระเวนเหนือดินแดนฝรั่งเศสแถบเมืองเกรอนอ เบลอะ โดยออกบินตั้งแตเชาจนบายก็ยังไมกลับมา ทุกคนตระหนักดีวาในเวลานั้นนํ้ามันตองหมดแลว จึงสรุปวาเครื่องบินของเขาคงตองประสบอุบัติเหตุ หรื อ ไม ก็ ถู ก เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล ข องเยอรมนี ยิ ง ตก (อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี, 2546: ภาคผนวก) เขาหายสาบสูญไปในระหวางปฏิบัติการตอตานเพื่อ อิสรภาพของฝรั่งเศส เปนการปฏิบัติหนาที่ปองกัน ประเทศ เปนการจากไปในฐานะวีรบุรุษ แตเหนือ อื่นใดเขาไดใชชีวิตของตนเองยํ้าเตือนใหคนทั้งโลก ไดรับรูวา “เธอตองรับผิดชอบตอทุกสิ่งที่เธอมีความ สัมพันธดวย เธอตองรับผิดชอบดอกกุหลาบของ เธอ...” ดวยความรับผิดชอบทีม่ ตี อ หนาทีจ่ วบจนวาระ

สุดทายแหงชีวิต นั่ น คื อ นอกจากนั ก เขี ย นจะนํ า ชี วิ ต และ ประสบการณในชีวติ มาเขียนในงานเขียนของเขาแลว สิง่ ทีป่ รากฏในงานเขียนของเขายังรวมไปถึงทัศนคติ ในการดําเนินชีวิตของเขาอีกดวย บทสรุป แตไมวา คําตอบในใจของแตละคนตอคําถามทีว่ า งานเขียนนัน้ เปนเพียงมายาภาพทีผ่ เู ขียนรังสรรคขนึ้ หรือเปนภาพชีวิตที่ผูเขียนรอยเรียงเรื่องราวชีวิต ของตนและผูคนมากมายออกมาเปนตัวอักษรก็ตาม ก็มไิ ดลดทอนคุณคาและความยิง่ ใหญของงานเหลานัน้

บรรณานุกรม กาเบรียล การเซีย มารเกซ. (2552). หนึง่ รอยปแหง ความโดดเดี่ยว. กรุงเทพฯ: สามัญชน. ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย. (2545). อาน(ไม)เอาเรื่อง. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพคบไฟ. นพพร ประชากุล และชูศกั ดิ์ ภัทรกุลวณิชย. (2540). ทฤษฎีวรรณกรรม. วารสารรมพฤกษ, 15 (2), 27-43. พิมาน แจมจรัส. (2546). “ปาปา” เฮมิงเวย อหังการ แหง ... ชีวิตหาว. ม.ป.ท.: โกสินทร. ฟรานซ คาฟคา. (2544). กลาย. กรุงเทพฯ: แพรว. ริชารด บาค. (2546). โจนาทาน ลิฟวิงสตัน นางนวล. กรุงเทพฯ: เรือนปญญา. เสกสรรค ประเสริฐกุล. (2540). เสนทางนักประพันธ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สามัญชน. . ปาฐกถาเนื่องในวันนักเขียน หัวขอ “การเขียนหนังสือในฐานะการแสดงออกทาง จิตวิญญาณ” ณ สถาบันปรีดี พนมยงค เมือ่ วันที่ 5 พฤษภาคม 2553. อองตวน เดอ แซงเตก-ซูเปรี. (2546). เจาชายนอย. พิมพครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ: เรือนปญญา. เออร เ นสต เฮมิ ง เวย . (2543). เฒ า ผจญทะเล. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: บริษัทสรางสรรคบุค.

131


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Ms. Nanthida Jongmeesuk received her Master of Arts and Bachelor’s degree in Thai from Thammasat University. According to her main interesting is Thai Literature and Folklore. She is currently Lecturer in Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management.

132


ª

ÒǨչ⾌¹·ÐàšѺÊѧ¤Áä·Â 㹹ǹÔÂÒ¢ͧâºμѹë àÃ×Íè § “¨´ËÁÒ¨ҡàÁ×ͧä·Â” Overseas Chinese and Thai Society in Botun's Novel “Letters from Thailand” กุลนรี นุกิจรังสรรค นักศึกษาปริญญาโท คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ E-mail: xingfuhong_korn@hotmail.com

บทคัดยอ บทความนี้มุงวิเคราะหนวนิยายเรื่อง “จดหมายจากเมืองไทย” ดานองคประกอบของเรื่อง รูปแบบการเขียน พฤติกรรมของตัวละคร การสะทอนและชี้นําสังคม อิทธิพลของนวนิยาย เรื่องนี้ที่มีตอสังคมและแวดวงวรรณกรรมไทย นอกจากนี้ยังไดทําการสํารวจทัศนคติและ ความคิดเห็นของผูอานไวดวย ซึ่งการสํารวจทัศนคติและความคิดเห็นของผูอานนั้นยังไมมี ผูใดเคยทําไวมากอน มีแตเพียงใหขอเสนอแนะไวเทานั้น ผลการศึกษาพบวานวนิยายเรื่องนี้สะทอนใหเห็นถึงลักษณะสังคมและปญหาของสังคม ในชวงเวลานั้นไวอยางชัดเจน ไมวาจะเปนปญหาความตระหนกทางวัฒนธรรม บทบาทและ คติทางเพศของชาวจีนโพนทะเลในประเทศไทย และปญหาขอดีขอเสียของคนไทยในสายตา คนจีน เปนตน ในดานของคุณคาทางศิลปะ นวนิยายเรื่องนี้มีความดีเดนในเรื่องของกลวิธี การเขียนและรูปแบบการเขียน ซึง่ กลวิธกี ารเขียนและรูปแบบการเขียนเชนนีเ้ ปนเรือ่ งใหมมาก ในวงการวรรณกรรมสมัยนั้น คําสําคัญ: วรรณกรรมไทย-จีน นวนิยายรูปแบบจดหมาย โบตั๋น ชาวจีนโพนทะเล

133


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Abstract This article aims to analyze and criticize the novel “Letters from Thailand”, from various perspectives, e.g. novel’s structure, writing form, behavior of main characters, social reflection, and influences of this novel on the Thai society and Thai-Chinese literatures. Moreover, the reader survey was also conducted to identify the readers’ attitude and opinions towards the novel. From the study, it was found that this novel clearly reflects historical changes and problems in the Thai society during certain periods, for example, cultural shock, roles and prejudice of overseas Chinese in Thailand, weak and strong points of Thai people in the overseas Chinese’s point of view. Besides, in terms of literature appreciation, this novel was outstanding, as the outline, plot and writing pattern were considered new and creative compared to other literatures at the time. Keywords: Thai-Chinese literature, Epistolary novel, Botun, Overseas Chinese บทนํา ในประเทศไทยมี ช าวจี น อยู  เ ป น จํ า นวนมาก ดังนั้นบทบาทของชาวจีนจึงเกี่ยวของกับชีวิตและ ความเปนอยูของคนไทยอยางใกลชิด (พัชรี วราศัย, 2537: 1) สาเหตุทชี่ าวจีนอพยพเขามาในประเทศไทย เนื่องมาจากเหตุการณภายในประเทศจีนและความ ตองการแรงงานอยางมากของไทย วิถชี วี ติ ของชาวจีน อพยพนั้นแบงออกเปน 2 กลุม กลุมแรก คือกลุมที่ ประสบความสําเร็จทางดานเศรษฐกิจ กลาวคือมีฐานะ ทางเศรษฐกิจดีและสามารถแทรกซึมเขาไปในระบบ ศักดินาของไทยได อีกกลุมหนึ่ง คือกลุมที่ประสบ ความสําเร็จกวาประชาชนชาวไทยทั่วไป กลุมนี้จะ กระจายอยูตามเมืองตางๆ ของไทย มีความสัมพันธ กับคนไทยเปนอยางมากทางดานการคา ชาวจีนที่ อพยพเขามาอยูในประเทศไทยนั้นเคยชินกับระบบ เศรษฐกิจแบบเงินตรา มีความขยันและอดทนตอ งานหนัก แตในขณะเดียวกันก็เปนประชากรที่ขาด คุณภาพ กลาวคือเปนคนที่ไมประสบความสําเร็จ ในการไตเตาไปสูความสําเร็จในทางสังคมหรือทาง ดานเศรษฐกิจในประเทศจีน หรือไมมั่งมีพอที่จะมา

134

ลงทุนในประเทศไทย มีแตแรงงานเทานั้นที่เขามาสู ประเทศไทย (นิธิ เอียวศรีวงศ, 2527: 108-109) จีนเปนชาติทมี่ อี ารยธรรมเกาแกทงั้ ภาษาพูดและ ภาษาเขียน สวนอารยธรรมดานอืน่ ๆ ของจีนก็เจริญ สืบเนื่องตอๆ กันมามาก ไมวาจะเปนวรรณคดีหรือ ทางดานศิลปะวิทยาการตางๆ ชาวจีนทีอ่ พยพเขามา ไดนําเอาอารยธรรมจีนเหลานี้เขามาเกี่ยวของกับ สังคมไทยเปนอยางมาก (นิธิ เอียวศรีวงศ, 2527: 110) สํ า หรั บ ด า นวรรณกรรมนั้ น การถ า ยทอด วรรณกรรมจีนมาสูว รรณกรรมไทยไมปรากฏหลักฐาน วาเริ่มตนตั้งแตสมัยใด แตสันนิษฐานวาเริ่มตั้งแต ชาวจีนเขามาในประเทศไทย คงนํานิทานหรือนิยายจีน มาเลาสูค นไทยฟงตัง้ แตอยุธยาหรือกอนหนานัน้ แลว (พัชรี วราศัย, 2537: 2) ความสัมพันธระหวางไทยกับจีนดานวรรณกรรม เริ่ ม มี ขึ้ น ในสมั ย รั ช กาลที่ 1 โดยมี ก ารนํ า เอา พงศาวดารจี น มาแปลเป น ภาษาไทย ซึ่ ง นั บ เป น เรื่องที่แปลกใหมของแวดวงวรรณคดีไทย (กุหลาบ มัลลิกะมาส, 2532: 194) จากความแตกตางทางดาน เนื้อเรื่องทําใหพงศาวดารจีนเปนที่นิยมอยางมาก


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

โดยเฉพาะเรือ่ งสามกก แตพฒ ั นาการของวรรณกรรม จีนในไทยก็มพี ฒ ั นาการไมสมํา่ เสมอ เนือ่ งจากสาเหตุ เรื่องสมัยนิยมและผลกระทบทางการเมือง จนสมัย รัชกาลที่ 6 เศรษฐกิจปน ปวนทัง้ ภายในและภายนอก ประเทศ การกอตัวของลัทธิชาตินยิ มจีนและประเด็น เรื่ อ งเชื้ อ ชาติ ถู ก โจมตี อ ย า งหนั ก ดร.ซุ น ยั ด เซ็ น กอตั้งลัทธิไตรราษฎร หนังสือไทยที่แปลเรื่องลัทธิ ไตรราษฎรถูกรัฐบาลสั่งเก็บ และเมื่อประเทศจีนกาว ขึ้นสูระบบสาธารณรัฐแหงสังคมนิยม เรื่องจีนจึงเปน เรื่องตองหามที่สุด (ธรรมเกียรติ กันอริ, 2529: 21) กระทั่งป 1957 เรื่องจีนกลับมาไดรับความนิยม อีกครั้งในรูปแบบของวรรณกรรมจีนกําลังภายใน ขณะทีว่ รรณกรรมกําลังภายในกําลังไดรบั ความนิยม อยูนั้น ไดเกิดวรรณกรรมรูปแบบใหมขึ้น นั้นคือ นั ก เขี ย นได เ ขี ย นนวนิ ย ายชี วิ ต เกี่ ย วกั บ คนจี น ใน เมืองไทย นวนิยายประเภทนีเ้ ปนนวนิยายทีแ่ ตงเปน ภาษาไทย ไมไดเปนวรรณกรรมจีนแปลเหมือนยุค แรกๆ นวนิยายประเภทนีจ้ ะเปนแบบสมจริงอีกทัง้ ยัง แสดงแนวคิ ด และทรรศนะของคนจี น ในเมื อ งไทย อยางเดนชัด (ธวัช ปุณโณทก, 2527: 119) ผูบ กุ เบิก การเขียนลักษณะนี้คือ “โบตั๋น” ผูแตงนวนิยายเรื่อง “จดหมายจากเมืองไทย” นวนิยายเรื่องนี้แสดงชีวิต ความเปนอยูและลักษณะสังคมไทย-จีนอยางเดนชัด และไมเคยมีผใู ดเขียนมากอน นวนิยายเรือ่ งนีจ้ งึ เปน นวนิยายเรื่องแรกที่เสนอภาพสังคมจีนในเมืองไทย (พัชรี วราศัย, 2537: 4) เรื่องยอ นวนิยายเรื่อง “จดหมายจากเมืองไทย” เปน นวนิยายเลมแรกทีส่ ะทอนความเปนจริง ทัง้ ดานชีวติ ความเปนอยูแ ละความคิดจิตใจของคนทีอ่ พยพมาจาก เมืองจีนแผนดินใหญในชวงทีป่ ระเทศกําลังเผชิญกับ สงคราม ตัวเอกของเรื่องคือ ตันสวงอูเขียนจดหมาย เลาสารทุกขสุกดิบถึงแมของเขาที่อยูที่เมืองจีนผาน จดหมาย 100 ฉบับ เขาเริ่มเขียนจดหมายฉบับแรก

ขณะที่อยูบนเรือและเขียนมาตลอด 20 ป โดยที่แม ไมเคยตอบจดหมายเขาเลย ตันสวงอู เปนบุตรชาวนาจีนผูห นึง่ ทีย่ ากจนแตมี การศึกษาดี เมื่อโตเปนหนุมตันสวงอูตัดสินใจทิ้ง มารดากับนองมาเสี่ยงโชคที่เมืองไทย ในระหวาง เดินทางเขาไดพบกับชาวจีนผูหนึ่งชื่อ ลอหยงจั้ว ลอหยงจั้วมีความรักใครเอ็นดูตันสวงอูมาก จึงขอ ตันสวงอูเ ปนลูกบุญธรรม ตันสวงอูเ รียกลอหยงจัว้ วา พออุปถัมภ เมื่อมาถึงเมืองไทยตันสวงอูไดรับความ เมตตาจากพออุปถัมภฝากใหทาํ งานกับญาติของเขา ชื่อลองวนทง ซึ่งมีรานคาของชําอยูที่สําเพ็ง โดยทํา หนาทีเ่ ปนเสมียน ทําบัญชี รับสงสินคาจนลองวนทง ไววางใจ ตอมาตันสวงอูร บั หนาทีเ่ ปนครูสอนหนังสือ ใหกบั หมุยเอ็งและอัง้ บวย บุตรสาวของลองวนทงดวย หลั ง จากนั้ น ด ว ยความช ว ยเหลื อ ของพ อ อุ ป ถั ม ภ ตันสวงอูจึงไดแตงงานกับหมุยเอ็ง หลังแตงงานดวย ความขยันหมั่นเพียรในไมชาตันสวงอูก็ตั้งตัวไดและ มีฐานะมั่งคั่ง มีรานคาและโรงงานทําขนมเปนของ ตัวเอง ถึงแมเขาจะมีฐานะดีและมีความสุขพอสมควร แตเขายังตองการทํางานหาเงินและตองการรักษา ขนบธรรมเนียมจีนเกาๆ เพื่อคงความเปนชาติจีน เอาไว ตันสวงอูม ลี กู กับหมุยเอ็งทัง้ หมด 4 คน คนโต เปนผูชายชื่อเวงคิม สวนอีก 3 คนเปนผูหญิงชื่อ ชุย กิม บักหลี และเมงจู ตามลําดับ ตันสวงอูต อ งการ มีลูกชายมาก เขาเสียอกเสียใจที่ลูก 3 คนหลังเปน ผูหญิงเพราะถือคติแบบคนจีนวาเลี้ยงลูกสาวเปลือง ขาวสุก โตแลวตองแตงงานออกไปเปนของคนอื่น โดยเฉพาะเมงจูลกู สาวคนสุดทองนัน้ ตันสวงอูถ งึ ขัน้ เกลียดชังไมยอมอุมหรือมองหนาเลย เพราะเชื่อวา ลูกสาวคนนีเ้ ปนตัวอัปโชค ทําใหแมหกลมตองคลอด กอนกําหนดและเปนเหตุใหไมสามารถมีลูกไดอีก ตั น ส ว งอู  เ ป น ผู  ยึ ด มั่ น และมี ค วามภู มิ ใ จใน ขนบธรรมเนี ย มจี น มาก ประกอบกั บ เขาพบเห็ น สภาพความเปนอยูข องคนไทยสามัญชนทัว่ ไป ทําให เขาเกิดความรูส กึ ดูหมิน่ คนไทย เขาพยายามเลีย้ งลูก

135


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

แบบคนจีนปลูกฝงคานิยมแบบเกาๆ ใหกับลูกที่เกิด และเติบโตในสังคมไทย ทําใหเกิดความขัดแยงขึ้น ระหวางเขากับลูกๆ ตอมาเมื่อเวลาผานไป 20 ป ตันสวงอูม ปี ระสบการณทาํ ใหเขาใจชีวติ เขาใจความ เปนจริงทางสังคมดานตางๆ มากขึ้น เชน ระหวาง ลูกสาวและลูกชาย ลูกชายทําเรือ่ งเหลวแหลกประชด และตอตานการเลีย้ งดูครอบงําแบบเผด็จการของพอ หนีไปใชชวี ติ กับหญิงโสเภณีขายตัว แตลกู สาวคนเล็ก ที่เขาเกลียดชังกลับขยันขันแข็ง เลาเรียนสูงจนชวย ทําบัญชีใหพอได ถึงลูกสาวคนเล็กจะแตงงานกับ ผูช ายไทยทีพ่ อ เกลียด แตวา ลูกเขยคนนีก้ ลับเปนคน มีความคิด เรียนจบปริญญาโท เปนคนรักศักดิศ์ รีและ หยิง่ ในเกียรติ ไมยอมรับเงินชวยเหลือจากพอตาเลย สักบาท สุดทายยามตันสวงอูตัดสินใจเลิกกิจการคา แบงมรดกใหลกู ชายและลูกสาวแลว ก็ไมมลี กู คนไหน เหลียวแลเลี้ยงดูจนลูกสาวคนเล็กและลูกเขยคนไทย ตองเอาตัวไปอยูด ว ยในชุมชนเล็กๆ ของกลุม คนไทย ตันสวงอูจึงไดเรียนรูเขาใจวิถีชีวิตของคนไทยลึกซึ้ง ยิ่งขึ้น ความคิดความอานตลอดจนการกระทําของ ตันสวงอูจ งึ คอยๆ เปลีย่ นมาเปนแบบคนไทยไปอยาง ไมรตู วั ในทีส่ ดุ ตันสวงอูผ ซู งึ่ รังเกียจเดียดฉันทคนไทย และเมืองไทยก็คอ ยๆ คลายทิฐิ และยอมรับวาคนจีน ขยัน คนฝรั่งก็มีระเบียบวินัย คนไทยก็มีนํ้าใจ และ คาของนํ้าใจนั้นก็มีคามากกวาทรัพยสินเงินทองใดๆ การสะทอนสังคมผานนวนิยายเรือ่ งจดหมายจาก เมืองไทย นวนิ ย ายเรื่ อ งจดหมายจากเมื อ งไทยไม ไ ด มี บทบาทเพี ย งแค ก ารให ค วามเพลิ ด เพลิ น เพี ย ง อยางเดียวเทานั้น แตยังมีบทบาทดานอื่นๆ ดวย โดยเฉพาะการสะทอนภาพสังคม การสะทอนภาพสังคมในทีน่ หี้ มายถึง “การแสดง ความสมจริงในนวนิยายจะแสดงใหเห็นภาพชีวติ จริง ของมนุษย โดยจําลองโครงเรือ่ งมาจากชีวติ ของมนุษย ในสังคม เปนการเลียนแบบเหตุการณในชีวติ จริงของ

136

มนุษยอยางสมจริง และสอดแทรกจินตนาการลงไปบาง โดยมีเปาหมายทีจ่ ะตีแผแงมมุ ตางๆ ของชีวติ มนุษย อยางตรงไปตรงมา โดยไมเลือกวาสิง่ เหลานัน้ จะเปน สิ่ ง ที่ ดี ง ามหรื อ อั ป ลั ก ษณ ข องชี วิ ต ถึ ง แม ว  า ความ สมจริงนั้นจะถูกปรุงแตงไปบางแตก็เพื่อใหนวนิยาย นั้นนาอานยิ่งขึ้น” (สมพร มันตะสูตร, 2525: 120) “โบตัน๋ ” เปนผูร เิ ริม่ แตงนวนิยายทีแ่ ตกตางจากทีเ่ คย มีมาคือ จากเดิมทีน่ าํ เสนอแตเรือ่ งของคนไทยมาเปน เสนอเรือ่ งทีม่ คี นจีนเปนตัวละครเอกแทน ซึง่ เปนเรือ่ ง แปลกใหมในวงการนวนิยายไทยในสมัยนั้น ดังนั้น นวนิยายเรือ่ งจดหมายจากเมืองไทยจึงเปน นวนิยาย ที่ริเริ่มนําภาพสังคมชาวจีนในประเทศไทยมาเสนอ เปนเรื่องแรก นวนิยายเรื่องนี้สะทอนใหผูอานเห็นถึงสภาพ สังคมชาวจีนในประเทศไทยในหลายแงมุม ไมวาจะ เปนการบันทึกเหตุการณสาํ คัญๆ ไวในชวงระยะเวลา 20 ป (ระหวางป ค.ศ. 1945-1965) การนําเสนอภาพ สังคมชาวจีนในการตอสูชีวิต การสะทอนใหเห็นถึง สาเหตุและความจําเปนในการอพยพมาอยูใ นเมืองไทย ของคนจีนโพนทะเล โดยนอกจากจะแสดงถึงเหตุผล ตางๆ ตั้งแตอพยพมาจากประเทศจีนจนกระทั่งถึง ประเทศไทยแลว ยังแสดงถึงความเปนอยูข องชาวจีน ที่เขามาอยูในเมืองไทย รวมไปถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี เคล็ดลับตางๆ ในการดํารงชีวิตและการ ประกอบอาชีพที่ชาวจีนยึดถือและนํามาปฏิบัติอยาง เครงครัด รวมไปถึงทัศนคติที่คนจีนมีตอสังคมและ วัฒนธรรมไทย และโดยเฉพาะทัศนคติในแงลบที่ คนจีนมีตอคนไทย เชน การมองวาคนไทยเปนคน ขี้เกียจ ชอบดื่มเหลาและเลนการพนัน รักสบาย ไมขยันทํามาหากิน เปนตน ในดานทรรศนะทางวัฒนธรรมนั้น ประเทศจีน เปนประเทศที่มีวัฒนธรรมเกาแกเปนของตัวเองมา ยาวนาน ชาวจีนอพยพในเมืองไทยตางคุนเคยกับ วัฒนธรรมของตน เมื่ออพยพเขามาในประเทศที่มี วัฒนธรรมเปนของตนเองก็มักจะเกิดความรูสึกที่


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

เรียกวา “ความตระหนกทางวัฒนธรรม” (Culture Shock) “ความตระหนกทางวัฒนธรรมนี้เปนความ รูสึกตกใจแกมพิศวง และมีความคิดที่จะตานทาน รวมๆ กันไป ความตระหนกนีม้ กั จะทําใหคนปฏิบตั ติ วั ตางๆ กันไป บางคนก็ปฏิบัตินาเกลียด บางคนก็ เปลี่ยนความรูสึกนึกคิดตามที่พบเห็น” (บุญเหลือ เทพยสุ ว รรณ, 2529: 514) ชาวจี น จํ า นวนมาก ไมสามารถยอมรับวัฒนธรรมไทยบางอยางได จึง ทํ า ให เ กิ ด ความรู  สึ ก ขั ด แย ง กั น ระหว า งคนจี น กั บ คนไทย และกอใหเกิดปญหาตางๆ ตามมา เชน การที่ตันสวงอูไมยอมใหลูกๆ พูดภาษาไทย ดังที่ ปรากฏในนวนิยายวา “พอบอกวาไมใหลูกพูดภาษาไทยกับพอแมอีก ตอไป อยูในบานลูกตองพูดภาษาจีน เขียนภาษาจีน ทําตัวเยี่ยงคนจีน” “ครับ” “ยังจะมาพูดครับอีก ครับก็เปนภาษาไทยหามใช จําไววาลูกเปนคนจีน จําไวใหขึ้นใจ” (จดหมายจาก เมืองไทย, 2513: 236) คุณคาทางศิลปะในนวนิยายเรื่องจดหมายจาก เมืองไทย คุ ณ ค า ทางศิ ล ปะในนวนิ ย ายเรื่ อ งนี้ สามารถ แบงไดเปน 2 สวน คือความสําเร็จในการสรางสรรค ตัวละคร และคุณคาของภาษาในวรรณกรรม ความสําเร็จในการสรางสรรคตัวละคร ในการสรางสรรควรรณกรรมนอกจากผูเขียน จะเสนอแนวคิดที่นาสนใจแลว ตัวละครก็เปนอีก องคประกอบหนึ่งที่สําคัญ เพราะตัวละครจะทําให เรื่องดําเนินไป ตัวละครเปนผูสื่อแนวคิดของเรื่องให ชัดเจนขึ้น วรรณกรรมจะสนุกหรือไมตองพิจารณา จากตัวละครดวย บางครั้งเนื้อหาดีแตตัวละครไม สมจริงก็อาจทําใหเรื่องนั้นดอยลงไปได จุดเดนของตัวละครในนวนิยายเรือ่ งจดหมายจาก

เมื อ งไทยคื อ การที่ ตั ว ละครต า งๆ มี เ อกลั ก ษณ ที่ ชัดเจน โบตั๋นสามารถถายทอดความรูสึกนึกคิดของ ตัวละครแตละตัวไดดี สามารถทําใหผูอานเห็นภาพ และรูสึกคลอยตามตัวละครในเรื่องได โดยตัวละคร แตละตัวจะสะทอนใหเห็นถึงนิสยั ของคนทีม่ อี ยูจ ริงใน สังคม ในนวนิยายเรือ่ งนีม้ ตี วั ละครเอกเพียงคนเดียว ก็คือ ตันสวงอูชาวจีนโพนทะเลผูที่นั่งเรือขามนํ้า ขามแผนดินมาตัง้ รกรากอยูท เี่ มืองไทย ตันสวงอูเ ปน ตัวละครที่สําคัญและเปนตัวเดินเรื่องทั้งหมด สวน ตัวละครประกอบทีส่ าํ คัญในนวนิยายเรือ่ งนีค้ อื อัง้ บวย นองภรรยาของตันสวงอู เวงคิมลูกชายของตันสวงอู และเมงจูลูกสาวของตันสวงอู โดยบุคลิก ลักษณะ นิสัย และรูปแบบการดําเนินชีวิตของตัวละครทั้ง 4 ตัวนี้ สามารถวิเคราะหไดดังตอไปนี้ ตันสวงอู เปนชาวจีนที่อพยพมาตั้งรกรากอยูใน เมืองไทย มีลักษณะนิสัยใฝรูใฝเรียน ขยัน อดทน ซื่อสัตย กตัญู และเครงครัดในขนบธรรมเนียม ประเพณีดั้งเดิมของตน เขาดําเนินชีวิตโดยยึดหลัก คุณธรรมและจริยธรรมเปนเครื่องนําทางชีวิต แต อยางไรก็ตามตันสวงอูก็มีขอเสียเขาเปนคนยึดมั่น ถื อ มั่ น และเคร ง ครั ด ในขนบธรรมเนีย มประเพณี แบบจีนมากเกินไป จนกอใหเกิดปญหาความขัดแยง ระหวางเขากับลูกๆ ซึ่งเปนคนรุนใหม ตันสวงอูมี ความตองการใหลูกๆ ดําเนินชีวิตตามแบบคานิยม จีนเกาๆ โดยมิไดคํานึงถึงสภาพแวดลอมและความ เปลี่ยนแปลงตางๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัว แตในทายที่สุด เมื่ อ ได เ รี ย นรู  แ ละยอมรั บ ความจริ ง ของชี วิ ต แล ว ทัศนคติและการมองโลกของเขาจึงไดเปลีย่ นแปลงไป จากเดิม ตันสวงอูเ ขาใจผูอ นื่ มากขึน้ มีสติสมั ปะชัญญะ รูจักยับยั้งชั่งใจ มีความสุขุมรอบคอบในการใชชีวิต และสามารถปรั บ ตั ว รั บ วั ฒ นธรรมไทยและอยู  ใ น สังคมไทยไดอยางมีความสุขในบั้นปลายชีวิต อัง้ บวย เปนบุตรสาวของลองวนทง พอคาชาวจีน ในตลาดสําเพ็ง อัง้ บวยเปนผูห ญิงทีข่ าดความสวยงาม ออนหวาน แตกตางไปจากพีส่ าวทีม่ คี วามงามพรอม

137


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ถึงแมเธอจะขาดคุณสมบัติในดานความงามแตเธอก็ มีความเชื่อมั่นในตัวเองสูงมากและเปนคนมีเหตุผล เธอกล า ที่ จ ะคั ด ค า นทั ศ นคติ แ ละค า นิ ย มที่ เ ธอไม เห็นดวยอยางไมเกรงใจใคร อั้งบวยเปนหญิงสาวที่ ทํางานเกง เธอเปนตัวแทนที่แสดงใหเห็นวาผูหญิงก็ มีความสามารถและสามารถทํางานไดทัดเทียมกับ ผูชายเชนกัน เวงคิม เปนลูกชายคนแรกของตันสวงอู มีนิสัย ดือ้ และเอาแตใจเพราะถือวาตัวเองเปนลูกคนแรกและ เปนลูกชาย เวงคิมเปนคนที่โชคดีเพราะพอแมตางก็ อยากใหเขาเปนผูสืบทอดกิจการทุกอยาง เขาไดรับ การเลี้ยงดูแบบคนจีนอยูในกรอบระเบียบ ประเพณี วัฒนธรรมของชาวจีนทีเ่ ครงครัดและปฏิบตั ติ ามความ ตองการของบิดาตลอด แตเวงคิมเปนคนไทย เกิดและ เติบโตในเมืองไทย ตองการดํารงชีวติ อยูใ นสังคมไทย จึงทําใหเกิดความขัดแยงขึ้น เวงคิมเก็บความไม พอใจตางๆ ไวจนทําใหกลายเปนคนเก็บกด ทําตัว เหลวไหลจนเปนที่หนักใจของตันสวงอู เมงจู เปนตัวละครที่เปนตัวแทนของคนรุนใหม เกิดจากการผสมผสานระหวางวัฒนธรรมจีนและ วัฒนธรรมไทย เมงจูเปนบุตรคนสุดทองของตันสวงอู เนือ่ งจากเธอเปนลูกสาวและตอนทีเ่ ธอเกิดมาก็ทาํ ให หมุยเอ็งไมสามารถมีลกู ไดอกี จึงทําใหตนั สวงอูไ มชอบ เมงจู แตตันสวงอูก็เกลียดเมงจูไมลง เพราะวาเมงจู ในวัยเด็กมีพฤติกรรมที่ถูกใจตันสวนอูหลายอยาง เมงจูสามารถปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมไดอยางดี อยู  กั บ คนจี น ก็ เ ป น จี น อยู  กั บ คนไทยก็ เ ป น ไทยมี ความขยัน อดทน และกตัญูกตเวที นอกจากนี้ เมงจูยงั มีบทบาทสําคัญทีท่ าํ ใหตนั สวงอูเ ปลีย่ นแปลง ทัศนะและคานิยมบางอยางไปจากเดิมดวย นวนิยายเรื่องจดหมายจากเมืองไทยสามารถ สรางสรรคตัวละครไดดี โดยสามารถวิเคราะหความ สําเร็จในการสรางสรรคตัวละครได 2 ดานดังนี้ 1. ดานลักษณะนิสัยของตัวละคร ในนวนิยายเรื่องจดหมายจากเมืองไทยตัวละคร

138

มีความสมจริงเหมือนคนธรรมดาทั่วไป คือมีนิสัยที่ หลากหลายทั้งลักษณะนิสัยที่ดีและไมดีอยูในตัวเอง และอยูบ นพืน้ ฐานของความเปนจริง ดังเชน ตันสวงอู ทีถ่ งึ แมจะเปนคนดี ขยัน ประหยัด ซือ่ สัตย ยึดมัน่ ใน คุณธรรม แตก็ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณี ดั้งเดิมมากเกินไป หัวโบราณ ไมสามารถปรับตัว รับกับสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงได เปนตน นอกจากนี้ ตัวละครในเรื่องยังมีการกระทําหรือ พฤติ ก รรมที่ ส อดคล อ งกั บ ลั ก ษณะนิ สั ย ของตน ไมประพฤติปฏิบัติในที่หนึ่งอยางหนึ่งและอีกที่หนึ่ง อยางหนึ่ง และการเปลี่ยนแปลงลักษณะนิสัยของ ตัวละครในเรื่อง มีการเปลี่ยนแปลงไปอยางสมเหตุ สมผลมีทมี่ าทีไ่ ปจึงสงผลใหนวนิยายดูสมจริง ดังเชน ตันสวงอู ตัวละครเอกของเรื่องเปนชาวจีนโพนทะเล ที่อพยพเขามาอยูในเมืองไทยและมีอคติกับคนไทย เป น อย า งมากมาโดยตลอด แต สุ ด ท า ยแล ว ด ว ย ประสบการณชวี ติ และเหตุการณหลายๆ อยาง ทําให เขาตองเปลีย่ นแปลงความคิดและทัศนคติ จากเดิมที่ เคยอคติและดูถูกคนไทยกลายเปนเขาใจและใชชีวิต อยูในชุมชนคนไทยในชวงบั้นปลายชีวิต 2. ดานบทสนทนาของตัวละคร บทสนทนาของตัวละครในเรื่องมีความสมจริง สอดคลองกับบทบาท ฐานะ ลักษณะนิสัย และเปน สวนสําคัญในการดําเนินเรื่อง อีกทั้งยังชวยใหผูอาน รู  จั ก ตั ว ละครในเรื่ อ งทั้ ง รู ป ร า งและนิ สั ย ใจคอ บทสนทนาของตัวละครในเรือ่ งนีจ้ งึ มีสว นชวยใหเรือ่ ง นาอาน นาสนใจ และมีชีวิตชีวาขึ้นเปนอยางมาก คุณคาของภาษาในวรรณกรรม จุ ด เด น ที่ สุ ด ของนวนิ ย ายเรื่ อ งนี้ คื อ กลวิ ธี ก าร นําเสนอ ผูแ ตงเสนอเรือ่ งโดยกําหนดใหมบี ทนําเรือ่ ง กลาวถึงทีม่ าของจดหมายทัง้ 100 ฉบับวา จดหมาย เหลานีแ้ ตเดิมเปนภาษาจีน ยึดมาจากชาวจีนแผนดิน ใหญผูหนึ่งซึ่งเล็ดลอดเขามาในประเทศไทย ตอมา จดหมายทั้งรอยฉบับนี้ตกมาถึงมือของตํารวจผูหนึ่ง


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

นายตํารวจผูน นั้ เห็นวานาสนใจ สมควรนําไปเผยแพร จึงใหผชู าํ นาญภาษาจีนแปลเปนภาษาไทยและตีพมิ พ เผยแพรสูสายตาคนไทย การที่ผูแตงกําหนดใหมี บทนําเรือ่ งเชนนีน้ บั วาเปนกลวิธกี ารเขียนทีด่ แี ละนา ยกยองมาก เพราะเปนการปูพื้นผูอานเขาสูเรื่องราว ตอไป และกลวิธีดังกลาวนี้ยังมีความแนบเนียนมาก จนทําใหผูอานหลายคนคิดวาเรื่องราวในจดหมาย รอยฉบับนีเ้ ปนเรือ่ งจริง (พิพชิ ญ พฤทธิพงษ, 2521: 110) นอกจากนี้นวนิยายเรื่องนี้ยังใชภาษาเขียนที่ เข า ใจง า ย ตรงไปตรงมา มี ทั้ ง บทสนทนาและ บทบรรยายสลับกันไป โดยในบทสนทนาลักษณะ ประโยคสวนใหญเปนประโยคสั้นๆ สํานวนโวหารที่ ใชเปนสํานวนงายๆ แตไดความหมายที่ลึกซึ้งกินใจ ทําใหผอู า นเกิดความรูส กึ เพลิดเพลิน ไมนา เบือ่ หนาย หรือรูสึกวาหนักเกินไป เหมาะสมกับผูอานทุกเพศ ทุกวัย เชน ตอนทีบ่ รรยายถึงความรูส กึ ของตันสวงอู เมื่อไดเห็นหมุยเอ็งเปนครั้งแรก “ฉันรูสึกราวกับวา พระอาทิ ต ย ห ยุ ด ส อ งแสงไปพร อ มกั บ ใบหน า นั้ น ใบหนานั้นขาวเกลี้ยงเกลาราวกับหยก คิ้วโกงไดรูป ดวงตาสวางราวกับดวงตะวัน ดํา กลมโต ฉันไมทราบ จะพรรณาความงามของเธออย า งไรจึ ง จะสมกั บ ความงามของเธอ” (จดหมายจากเมืองไทย, 2513: 40) หรื อ บรรยายแฟชั่ น การแต ง กายในสั ง คมว า “เริม่ ตัง้ แตทรงผม เขาดัดกันจนหยิก บางคนก็มดั ผม เปนรูปทรงประหลาดเหมือนเจดีย เหมือนกลวย ก็มี ตอจากทรงผมก็เปนใบหนา สวนนีเ้ ปนสวนทีเ่ ดนมาก ที่สุดจึงตองแตงมากที่สุด เห็นสาวๆ ถอนขนคิ้วแลว เขียนคิ้วใหมราวกับตุกตา คิ้วที่วาดขึ้นใหมจะสีดํา หรือสีนาํ้ ตาลก็ตามใจชอบ เรือ่ งตา ลูกคิดวาแมคงงง วาผูหญิงเขามีวิธีการแตงตากันอยางไร พวกเธอทํา กันสารพัด ใสขนตาปลอม ขนตาจะดูยาวๆ บางคน ทีข่ นตายาวอยูแ ลวก็ดดั ใหดงู อนงาม ขอบตาก็ทาสีดาํ ตาจะไดดโู ตๆ เปลือกตาก็ทาสีเขียว สีฟา สีดาํ ทีแรก ลูกเห็นลูกนึกวาสาวคนนัน้ เปนโรค ขอบตาถึงไดดดู าํ

เปนคราบ ไมรพู วกเธอเห็นวาสวยกันไปได” (จดหมาย จากเมืองไทย, 2513: 164) ฐานะและบทบาทของนวนิยายเรือ่ งจดหมายจาก เมืองไทยที่มีตอวงการวรรณกรรมไทย นวนิยายเรือ่ งจดหมายจากเมืองไทยเปนนวนิยาย ที่มีชื่อเสียงโดงดังและไดรับความนิยมมาโดยตลอด ในอดีตเมื่อนวนิยายเรื่องจดหมายเมืองไทยตีพิมพ เปนตอนๆ ในนิตยสารไดรับความสนใจจากผูอาน มากบางคนชอบบางคนไมชอบ จนทําใหผูแตงถูก วิพากษวิจารณอยางหนัก ภายหลังนวนิยายเรื่อง จดหมายจากเมืองไทยไดรับการตีพิมพรวมเลมและ ไดรับการตอบรับจากผูอานเปนอยางดี ระยะหลังจึง มีนวนิยายทีม่ เี นือ้ หาเกีย่ วกับคนจีนโพนทะเลเกิดขึน้ อีกเปนจํานวนมาก และไดรบั ความนิยมเปนอยางสูง เช น กั น เช น เรื่ อ งอยู  กั บ ก ง ของ หยก บู ร พา เรื่องลอดลายมังกร ของ ประภัสสร เสวิกุล เรื่อง ดงดอกเหมย ของ นันทนา วีระชน เปนตน ซึ่ง นวนิยายเหลานี้ลวนกลาวถึงชีวิตของคนจีนที่อพยพ เขามาอยูใ นเมืองไทยแบบเสือ่ ผืนหมอนใบทัง้ สิน้ โดย สวนมากสะทอนใหเห็นถึงวิถชี วี ติ ของคนจีนโพนทะเล ที่อพยพเขามาอยูในเมืองไทย และเริ่มตนชีวิตดวย ความลําบากเชนเดียวกับเรือ่ งจดหมายจากเมืองไทย แตตางกันตรงที่เนื้อเรื่องและพฤติกรรมของตัวละคร นวนิ ย ายเรื่ อ งจดหมายจากเมื อ งไทยจึ ง ถื อ เป น นวนิยายเรื่องแรกที่เขียนเกี่ยวกับชาวจีนโพนทะเล ในประเทศไทย และไดรับการตอบรับเปนอยางดี นอกจากนีน้ วนิยายเรือ่ งนีย้ งั ประสบความสําเร็จ ไดรบั รางวั ล วรรณกรรมดี เ ด น จากองค ก ารสนธิ สั ญ ญา ปองกันเอเชียตะวันออกเฉียงใตทเี่ รียกกันวา “รางวัล ซีโต” ประจําป ค.ศ. 1969 อีกดวย การชี้แนะวงการวรรณกรรมไทยของนวนิยาย เรื่องจดหมายจากเมืองไทย แมเนือ้ หาของนวนิยายเรือ่ งจดหมายจากเมืองไทย

139


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

จะสรางความไมพอใจใหกบั ผูอ า นจนเกิดเสียงวิจารณ วิจารณอยางรุนแรง แตนวนิยายเรื่องจดหมายจาก เมืองไทยก็มจี ดุ ดีเดนจนไดรบั รางวัลวรรณกรรมดีเดน ในป ค.ศ. 1969 โดย ม.ล.บุญเหลือ เทพยสุวรรณ ไดกลาวถึงความดีเดนของนวนิยายเรือ่ งนีไ้ ววา เนือ้ หา และแนวคิดของนวนิยายเรื่องนี้นับวาใหมในวงการ วรรณกรรมไทย แนวคิดในเรือ่ งนีเ้ กีย่ วกับประสบการณ ของชาวจีนที่อพยพจากบานเกิดเมืองนอนไปทํามา หากินในประเทศอื่น ซึ่งเปนแนวใหมในวรรณกรรม เอเชียอาคเนยและความเปนหนึง่ ของนวนิยายเรือ่ งนี้ อยูที่ตัวละคร ตัวละครในเรื่องเปรียบเสมือนตัวแทน ของคนกลุม ตางๆ ทีป่ ระกอบรวมกันเปนสังคมชาวจีน ที่เขามาทํามาหากินในไทย อยางไรก็ดี ผูแตงก็มี ความสามารถที่ทําใหตัวละครมีชีวิตขึ้นมาได ทําให ผูอ า นนึกรัก หมัน่ ไส สงสาร ขบขัน นับถือ เอ็นดู ฯลฯ สิ่ ง ที่ น  า ชมเชยในนวนิ ย ายเรื่ อ งนี้ คื อ กลวิ ธี แ สดง ลั ก ษณะนิ สั ย ของตั ว ละคร ผู  แ ต ง ไม มี ก ารอธิ บ าย ตัวละครใหผอู า นจินตนาการเอง และการจบจดหมาย ก็ทําไดนาสนใจเกือบทุกฉบับ ถือเปนกลวิธีใหมใน วงการวรรณกรรมไทย (ม.ล.บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, 2529: 228) การชี้แนะสังคมไทยของนวนิยายเรื่องจดหมาย จากเมืองไทย นอกจากนวนิยายเรื่องจดหมายจากเมืองไทย สะทอนถึงสังคมในชวงป ค.ศ. 1945-1965 ไวอยาง ชัดเจนแลว นวนิยายเรื่องนี้ยังชี้แนะปญหาในสังคม ไทยไวหลายอยาง ไดแก 1. การสะท อ นป ญ หาความตระหนกทาง วัฒนธรรม (Culture Shock) ของชาวจีนโพนทะเล ปญหานีไ้ มไดเกิดจากการเปลีย่ นแปลงทีอ่ ยูอ าศัยจาก ประเทศจีนเปนประเทศไทยเพียงอยางเดียวเทานั้น แตยังมีสาเหตุอีก 3 ประการที่เปนสาเหตุของความ ตระหนกทางวัฒนธรรม คือการเปลีย่ นจากวัฒนธรรม จีนมาเปนวัฒนธรรมไทย เปลีย่ นจากวัฒนธรรมชนบท

140

มาเปนวัฒนธรรมเมือง และเปลี่ยนจากวัฒนธรรม ยุคเกามาเปนวัฒนธรรมยุคใหม ปญหาความตระหนก ทางวัฒนธรรมจึงเปนปญหาทีซ่ บั ซอนและสรางความ ยุงยากใหคนจีนแผนดินใหญที่เขามาทํามาหากิน ในประเทศไทยเป น อย า งมาก ดั ง เช น ตั น ส ว งอู  ตัวละครเอกในเรื่องเปนชาวจีนที่อพยพเปลี่ยนที่อยู จากประเทศจีนมาเปนประเทศไทย เขาตองปรับตัว รับกับวัฒนธรรมไทยและเปลีย่ นแปลงรูปแบบการใช ชีวิตจากสังคมชนบทมาสูสังคมเมือง เพราะเดิมที ตันสวงอูเ ปนลูกชาวนาอาศัยอยูใ นชนบทของประเทศจีน อีกทั้งตันสวงอูยังเปนคนหัวโบราณ ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมของตนเปนอยางมาก จึงทําใหไมสามารถปรับตัวใหเขากับวัฒนธรรมยุค ใหมได จึงทําใหเกิดความขัดแยงและเกิดปญหาตางๆ ขึ้นในชีวิต 2. การสะทอนถึงปญหาอคติทางเพศของชาวจีน (อคติทางเพศ หมายถึง ความลําเอียง ความไม เที่ยงธรรมของสังคมที่มีตอเพศชายและเพศหญิง) ซึง่ อคติทางเพศนีส้ ง ผลใหสงั คมมีการปฏิบตั ติ อ ผูช าย และผูหญิงที่แตกตางกัน ผูชายจะไดรับการยอมรับ และการปฏิบตั ทิ ดี่ กี วา มีสถานภาพทางสังคมสูงกวา มีสิทธิบทบาทมากกวาผูหญิง สังคมในนวนิยายเรือ่ งจดหมายจากเมืองไทยเปน สั ง คมจี น ที่ ใ ห คุ ณ ค า และความสํ า คั ญ กั บ ผู  ช ายสู ง ผูช ายจึงไดรบั การยกยองและการปฏิบตั ทิ ดี่ กี วาผูห ญิง ทุกประการ การมีลกู ชายในครอบครัวถือวาเปนเรือ่ งดี ผูเปนบิดาถือวาลูกชายเปนผูสืบทอดตระกูลและ รับชวงกิจการการคา ความไมเทาเทียมกันของผูช าย และผู  ห ญิ ง ที่ ป รากฏในเรื่ อ งมี ห ลายประการ เช น เรื่องของการรับประทานอาหารผูชายจะไดรับสิทธิ ใหกินกอนผูหญิง เพราะคนจีนถือวาผูชายทํางาน หนักกวา ทัง้ ๆ ทีใ่ นความเปนจริงผูห ญิงก็ตอ งทํางาน เชนเดียวกัน ดังคํากลาวของตันสวงอูที่ปรากฏใน เนื้อเรื่องวา “ทําไมไมแบงไวตงั หาก อาหารบางอยางเหลือแต


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

นํ้าแกง พวกคนงานเอาตะเกียบคีบเนื้อๆ ไปหมด อาหารทีเ่ หลือไมนา กินเลย เพราะพวกผูห ญิงก็ทาํ งาน เหมือนกันไมไดอยูเฉยๆ” (จดหมายจากเมืองไทย, 2513: 29) 3. การสะทอนถึงขอดีและขอเสียของคนจีนและ คนไทย คนจีนถึงแมจะอาศัยแผนดินอื่นเปนที่ทํามา หากินแตก็มีคุณสมบัติหลายอยางที่สมควรยกยอง เชน มีความกตัญู อดทน มีความพยายาม ขยัน หมั่นเพียร ซื่อสัตย ละเอียดถี่ถวน ฯลฯ คุณสมบัติ เหลานี้มีสวนชวยใหคนจีนสามารถสรางเนื้อสรางตัว จนมีฐานะมั่นคงได แมจะเริ่มตนจากไมมีอะไรเลย ในขณะที่คนไทยไมคอยกังวลในเรื่องการสรางฐานะ เทากับคนจีน คนไทยมีความพอใจในการที่จะให ความชวยเหลือกัน ชวยกันหาความสุขและแบงปน ความสุขใหแกกนั คนจีนจึงมองวาคนไทยเกียจคราน เรื่อยเปอย รักสนุก รักสบาย และฟุงเฟอ ดังเชน ความคิดของตันสวงอูท มี่ ตี อ คนไทยในเรือ่ งการทํางาน และการใชชีวิตที่ปรากฏในเรื่องวา “เรื่องวันหยุดไมเคยอยูในสมองลูกเลย เพิ่งรูวา คนไทยเขาหยุดงานกันมากขนาดนี้ มินาถึงไมมีคน คาขาย เพราะการคาขายมันหยุดไมไดนั่นเอง ขืน ขายๆ หยุดๆ ก็ไมมีลูกคาใครจะอยากไปซื้อของกับ รานแบบนี้ คนจีนเลยคาขายไดสบายตั้งแตเด็กตัว เล็กๆ ไปจนถึงผูใหญ ลูกคิดวาจะฝกใหลูกๆ ทํางาน ตัง้ แตเล็ก ไมงนั้ เดีย๋ วจะติดนิสยั ขีเ้ กียจของคนไทยมา” (จดหมายจากเมืองไทย, 2513: 128) “คนไทยได รั บ ความยกย อ งว า ยิ้ ม แย ม เสมอ แตถามาอยูดวยกันทุกวันแลวจะเห็นวาไมจริงเลย คนไทยหนาบึ้งเหมือนไปโกรธใครมาสักรอยชาติก็มี อยูทั่วไป นักเลงตามรานเหลา รานกาแฟ ถูกคน มองหนาก็ไมได มันอาจจะลุกขึ้นมาฆาคนนั้นไดเลย ถ า มี ค นแปลกถิ่ น มาก็ ห าเรื่ อ งต อ ยกั น พอเหล า เขาปากแลว ความยากก็หาย เห็นชางตัวเทาหมู เห็นควายตัวเทาหมา ลูกแนใจวาคนจีนไมเปนแบบนี้ ลูกเคยถามพออุปถัมภวาคนชาติอื่นเมาแลวพาล

แบบนีห้ รือไม พออุปถัมภบอกวาไมคอ ยเห็นเห็นมาก ก็ที่เมืองไทยนี่แหละ แตยังไงก็ตามก็ยังมีคนยกยอง เมืองไทยวาเปนดินแดนแหงมิตรไมตรีและรอยยิ้ม เปนเมืองพระ ผูค นมีศลี ธรรมประจําใจนับถือรักษาศีล แต ลู ก ก็ เ ห็ น คนเหล า นี้ ฆ  า สั ต ว ท รมานสั ต ว เช น เลี้ยงปลาไวกัดกัน ชนไก ชนวัว แลวยังลักขโมย ผิดลูกผิดเมียคนอื่น โกหก เลนไพ ดื่มสุรา ฯลฯ สิง่ ทีค่ นเขาวากันวาเมืองไทยดีอยางนูน อยางนีม้ นั เปน เพียงแคนํ้าตาลที่อยูหนาขนมเทานั้น สวนภายในจะ เปนอยางไรนั้นตองอยูใกลชิดกันนานๆ จึงจะรูแจง เห็นจริง พวกคนที่ชมเชยคนไทยเปนคนที่ผานมา ชัว่ คราวแคไมกวี่ นั สวนมากเปนนักทองเทีย่ วตางชาติ พวกเขาไมไดเห็นภาพชีวติ ทีแ่ ทจริงของคนไทยจึงไม คอยรูวาคนไทยรักสบายขนาดไหน” (จดหมายจาก เมืองไทย, 2513: 296) 4. การสะทอนปญหาโสเภณี โสเภณีเปนปญหา ทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทยมานานแลว ผูห ญิงทีป่ ระกอบ อาชี พ โสเภณี มั ก ได รั บ การดู ถู ก เหยี ย ดหยามจาก สังคมเพราะเปนอาชีพทีข่ ายบริการทางเพศ อยางไร ก็ตามปญหาโสเภณีจดั เปนการกดขีผ่ หู ญิงอยางหนึง่ เพราะผูหญิงที่ประกอบอาชีพดังกลาวถูกลดฐานะใน สังคมลง จากทีเ่ ปนมนุษยกลายเปนสินคาทีซ่ อื้ ขายได ปญหาโสเภณีที่ผูแตงสะทอนไวในนวนิยายเรื่องนี้ ทําใหผูอานเห็นวาบุคคลที่ประกอบอาชีพโสเภณีนั้น เปนบุคคลทีไ่ มมที างเลือกในชีวติ และเมือ่ เธอประกอบ อาชีพนีแ้ ลวจะไมสามารถไปทํางานอืน่ ๆ ไดอกี เพราะ สังคมตัดสินคุณคาของผูหญิงเหลาแลวนั้นวาเปน คนเลว และไมใหพวกเธอในการโอกาสเริม่ ตนชีวติ ใหม ทําใหผูหญิงเหลานี้มีชีวิตที่ยากลําบากในบั้นปลาย ในเนื้อเรื่องไดมีการกลาวถึงตัวละครชื่อพรรณี เปนหญิงทีม่ อี าชีพเปนโสเภณีทเี่ วงคิมลูกชายคนเดียว ของตันสวงอูไปติดพัน พรรณีเปนหญิงที่ใครก็ดูถูก เธอถูกคนในสังคมกลาวหาวาเปนหญิงเลว แตตนั สวงอู กลับมีความคิดตรงกันขาม เขามีทศั นะเกีย่ วกับหญิง ที่ประกอบอาชีพโสเภณีวาหญิงเหลานี้ไมมีทางเลือก

141


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

เมือ่ ประกอบอาชีพนีแ้ ลวก็ตอ งยึดอาชีพนีต้ อ ไปเพราะ ถาเปลี่ยนไปทําอยางอื่นก็ไมมีใครยอมรับอยูดี ดังที่ ตันสวงอูไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับพรรณีไวใน จดหมายวา “ลูกคิดวาสังคมไมยุติธรรมกับคนที่ทําอาชีพนี้ บางคนอาจจะตองการกลับตัวกลับใจเปลี่ยนอาชีพ แตไมมีใครยอมรับพวกเขา ไมมีใครใหเขาเขาสังคม ดวย พวกเธอจึงตองกลับไปทําอาชีพเกา พวกเธอ ไมมที างเลือก ลูกอยากเห็นกลุม คนเหลานีม้ ที างเลือก บาง” (จดหมายจากเมืองไทย, 2513: 497) ผลตอบรับจากผูอ า นนวนิยายเรือ่ งจดหมายจาก เมืองไทย ที่ผานมาในประเทศไทยมีผูศึกษาวิจัยนวนิยาย เรื่องนี้ไวพอสมควร แตยังไมมีผูใดทําการสํารวจ ทัศนคติ ความคิดเห็น และความพึงพอใจของผูอาน เลยมีแตเพียงใหขอ เสนอแนะไวเทานัน้ ดังนัน้ ในการ วิจยั ครัง้ นีจ้ งึ ไดทาํ การวิจยั ครอบคลุมถึงประเด็นนีด้ ว ย โดยไดสาํ รวจทัศนคติ ความคิดเห็น และความพึงพอใจ ของผูอานในประเทศไทยที่เคยอานนวนิยายเรื่องนี้ วัตถุประสงคของการสํารวจ คือเพื่อใหทราบถึง สถานะ บทบาท ทัศนคติ และความพึงพอใจของ ผูอานที่มีตอนวนิยายเรื่องจดหมายจากเมืองไทย โดยวิธีการวิจัยที่ใช คือการทําแบบสอบถามและการ สัมภาษณผูที่เคยอานนวนิยายเรื่องนี้ ในการสํารวจ ครั้งนี้มีผูรวมใหขอมูลจํานวนทั้งหมด 30 คน จาก หลายหลายสาขาอาชีพ เชน นักศึกษา ครู-อาจารย ขาราชการ พนักงานบริษทั เอกชน และประกอบธุรกิจ สวนตัว จากการใหผอู า นทําแบบสอบถามและสัมภาษณ สามารถวิเคราะหไดวา นวนิยายเรือ่ งนีเ้ ปนทีพ่ งึ พอใจ และเปนที่ยอมรับมากในกลุมผูอาน เพราะนวนิยาย เรือ่ งนีม้ ที งั้ สาระความรู ความบันเทิง และขอคิดตางๆ สอดแทรกอยูมากมาย อีกทั้งยังมีรูปแบบการแตงที่ แปลกแหวกแนวทําใหนวนิยายนาสนใจมากยิง่ ขึน้ ไปอีก

142

นอกจากนี้ นวนิยายเรื่องนี้ยังประสบความสําเร็จ อยางมากทีส่ ามารถทําใหผอู า นเชือ่ ไดวา ตันสวงอูแ ละ จดหมายทัง้ 100 ฉบับนีม้ อี ยูจ ริง เพราะจากการสํารวจ พบวาผูอ า นสวนมากคิดวานวนิยายเรือ่ งนีม้ เี คาโครง มาจากเรื่องจริงบางสวน และมีผูอานอีกจํานวนหนึ่ง คิดวานวนิยายเรื่องนี้แตงขึ้นมาจากเรื่องจริงทั้งหมด มีเพียงสวนนอยเทานั้นที่คิดวาเปนเรื่องแตงขึ้น ซึ่ง ถือไดวารูปแบบการเขียนนวนิยายเรื่องนี้มีจุดเดน มากทีส่ ดุ เพราะสามารถทําใหผอู า นเชือ่ และคลอยตาม วาเรื่องราวทั้งหมดเปนเรื่องจริง ในสวนของสาระทีส่ อดแทรกอยูใ นนวนิยาย ผูอ า น ไดใหความเห็นวาหลังจากอานนวนิยายเรื่องนี้แลว ไดสาระหลายประการ ไดแก ดานประวัตศิ าสตร - ไดเห็นพัฒนาการทางสังคม ตั้ ง แต ยุ ค สมั ย ที่ ช าวจี น โพ น ทะเลหลั่ ง ไหลอพยพ เขามาในประเทศไทย ทําใหรทู มี่ าทีไ่ ปวาทําไมคนจีน จึงอพยพเขามาอยูในประเทศไทยเปนจํานวนมาก ดานวัฒนธรรม - ไดความรูเ กีย่ วกับธรรมเนียมจีน ความเชื่ อ และประเพณี ต  า งๆ เช น การแต ง งาน การไหวเจา การไหวพระจันทร เทศกาลเช็งเมง ฯลฯ นอกจากนีย้ งั ไดเห็นการหลอมรวม การผสมกลมกลืน ของวัฒนธรรมไทยและจีนดวย ดานสังคม - ไดเรียนรูว ถิ ชี วี ติ หลักการดําเนินชีวติ และมุมมองความคิดของคนไทยและคนจีน ไดเห็น ความแตกตางของสังคมไทยและจีน และไดขอคิด ต า งๆ ในการดํ า รงชี วิ ต เช น ความขยั น อดทน ประหยัด รูคุณคาของเงิน เปนตน นอกจากนี้นวนิยายเรื่องจดหมายจากเมืองไทย ยังใหขอ คิดแกผอู า นอีกมาก โดยผูอ า นทัง้ หมดบอกวา ไดขอคิดมาใชในการดําเนินชีวิตหลายประการ และ รูสึกรักชาติและหวงแหนแผนดินไทยมากขึ้นเพราะ เมืองไทยไดชอื่ วาเปนเมืองอูข า วอูน าํ้ ทีช่ าวจีนตัดสินใจ เลือกที่จะละทิ้งบานเกิดเมืองนอนของตนเองแลว เดินทางไกลมาเพื่อตั้งตัว โดยที่ไมมีทุนรอนอะไร ติดตัวมาเลยและไมรูวาชีวิตเบื้องหนาจะเปนอยางไร


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

เมื่อคนจีนมาอยูเมืองไทยก็ไมไดอยูอยางสบายตอง ฝาฟนอุปสรรคนานับประการ ชาวจีนโพนทะเลใน นวนิยายนีจ้ งึ เปนแบบอยางทีด่ สี าํ หรับคนไทยทีค่ นไทย ควรจะถือปฏิบัติตามเปนอยางยิ่ง ไมวาจะเปนเรื่อง ของการขยันทํามาหากิน การเปนคนอดออม รูค ณ ุ คา ของเงิน ไมฟุมเฟอย การเปนคนกตัญู ซื่อสัตย อดทน มีวินัย มีเหตุผล เปนตน โดยสิ่งที่ผูอานไดรับ จากการอานนวนิยายเรื่องนี้ที่เดนชัดที่สุดคือขอคิด ในการดํารงชีวิต ไมวาจะเปนเรื่องการปฏิบัติตัวตอ ตนเอง ตอครอบครัว ตอสังคม หรือตอประเทศชาติ รองลงมาก็คือความรูเรื่องประวัติศาสตร วัฒนธรรม สังคม ประเพณี การปรับตัวในสังคม ฯลฯ นอกจากนี้ ผูอ า นยังไดความสนุกเพลิดเพลินไดใชเวลาวางใหเกิด ประโยชน และไดกําลังใจในการดําเนินชีวิตในสังคม ตอไปอีกดวย บทสรุป นวนิยายเรือ่ งจดหมายจากเมืองไทยเปนนวนิยาย เลมแรกทีเ่ ขียนถึงวิถชี วี ติ ของชาวจีนโพนทะเลในไทย ซึ่งเนื้อหาของนวนิยายนี้ไดเปรียบเทียบและวิพากษ วิจารณคน และสังคมไทยไวอยางตรงไปตรงมาจน เปนที่กลาวขานกันอยางมาก จากการศึกษาพบวา นวนิยายเรื่องนี้เปนเรื่องที่แตงขึ้นทั้งหมด ตัวละคร และจดหมายทั้ง 100 ฉบับนั้นไมไดมีอยูจริงอยางที่ ผูอ า นสวนมากเชือ่ แตเนือ้ เรือ่ งทัง้ หมดนัน้ ถูกแตงขึน้ โดยอางอิงมาจากเหตุการณจริงที่เกิดขึ้นในชวงนั้น จึงทําใหเนื้อเรื่องดูสมจริง มีความนาเชื่อถือมาก นวนิยายเรื่องนี้มีจุดเดนตางๆ ดังนี้ เนื้อเรื่อง มีจุดเดนตรงที่เปนเรื่องที่แปลกใหม ที่ยังไมเคยมีใครแตงมากอน และเปนการวิจารณ สังคมไทยในทัศนคติของคนจีนอยางตรงไปตรงมา เปนการบันทึกเหตุการณสาํ คัญๆ ไวในชวงระยะเวลา 20 ป นอกจากนี้ยังสะทอนใหเห็นถึงสังคม ประเพณี ความเชื่อ วัฒนธรรม และรูปแบบวิถีชีวิตของคนใน สมัยนั้นดวย

รูปแบบการแตง ผูแตงเลือกรูปแบบการแตงได สอดคลองกับลักษณะของเนือ้ เรือ่ ง มีกลวิธกี ารนําเสนอ เรื่องที่ดีจนทําใหผูอานหลายคนคิดวาเปนเรื่องจริง ภาษาทีใ่ ชเปนภาษาทีเ่ ขาใจงายเหมาะกับผูอ า นทุกวัย โครงเรื่ อ งของนวนิ ย ายเรื่ อ งนี้ ยั ง เป น แนวคิ ด ที่ แปลกใหม ชวยชีแ้ นะใหผอู า นรูจ กั ปรับตัวรูจ กั การอยู รวมกันในสังคม นอกจากนี้ผูแตงยังสรางตัวละครได สมจริงและชัดเจน สามารถถายทอดความรูส กึ นึกคิด ของตัวละครแตละตัวไดเปนอยางดี ทําใหผอู า นรูส กึ รัก เกลียด สงสาร เห็นใจตัวละครในเรือ่ งได โดยตัวละคร แตละตัวมีลักษณะนิสัยที่สะทอนใหเห็นถึงนิสัยของ คนทีม่ อี ยูจ ริงในสังคม สิง่ เหลานีส้ ามารถเปนตัวอยาง สอนผูอานไดเปนอยางดี นวนิ ย ายเรื่ อ งนี้ ยั ง สะท อ นและชี้ แ นะสั ง คมไว หลายอยาง เชน ความตระหนกทางวัฒนธรรมของ ชาวจีนโพนทะเลในไทย บทบาทและคติทางเพศของ ชาวจีน ขอดีและขอเสียของคนไทยในสายตาชาวจีน เปนตน และยังชี้นํานักเขียนในวงวรรณกรรมไทย ใหกลาที่จะสรางสรรคสิ่งใหมๆ โดยนวนิยายเรื่องนี้ เป น นวนิ ย ายเรื่ อ งแรกที่ มี เ นื้ อ หาเกี่ ย วกั บ ชาวจี น โพ น ทะเลในประเทศไทยซึ่ ง มี คุ ณ ค า แก ว งการ วรรณกรรมไทยมาก นวนิยายเรื่องนี้นอกจากจะชี้นําและเปนตนแบบ ใหกับวรรณกรรมเรื่องอื่นๆ แลวยังจัดวามีคุณคาตอ สังคมไทยเปนอยางยิ่ง เพราะนวนิยายเรื่องนี้มุงให ผูอ า นเห็นถึงความขัดแยงระหวางคนจีนกับคนไทยที่ ตองอาศัยอยูในสังคมเดียวกัน นวนิยายเรื่องนี้จึงมี คุณคาในแงของการสงเสริมใหเกิดความเขาใจอันดี ระหว า งคนจี น กั บ คนไทยที่ ต  อ งอาศั ย อยู  ใ นสั ง คม เดียวกัน ซึง่ จะกอใหเกิดความสงบสุขตอไป นอกจากนี้ ทัศนคติตางๆ ของคนจีนที่มีตอคนไทยที่ปรากฏใน นวนิ ย ายเรื่ อ งนี้ ยั ง เปรี ย บเสมื อ นเป น กระจกเงาที่ สะทอนใหเห็นถึงจุดบกพรองหรือขอเสียของคนไทย ในดานตางๆ อีกดวย

143


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

บรรณานุกรม กุหลาบ มัลลิกะมาส. (2532). วรรณคดีวิจารณ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ธรรมเกียรติ กันอริ. (2529). วรรณคดีจนี ในวรรณคดี ไทย. ศิลปวัฒนธรรม, 7(4), 29. ธวัช ปุณโณทก. (2527). แนวทางการศึกษาวรรณกรรม ปจจุบัน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. นิ ธิ เอี ย วศรี ว งศ . (2527). ปากไก แ ละใบเรื อ . กรุงเทพฯ: อัมรินทรการพิมพ. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ. (2529). แวนวรรณกรรม. กรุงเทพฯ: อานไทย.

โบตั๋น. (2513). จดหมายจากเมืองไทย. กรุงเทพฯ: แพรพิทยา. พัชรี วราศัย. (2537). นวนิยายที่เสนอภาพสังคม ชาวจีนในเมืองไทย. วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต หนวยวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พิพิชญ พฤทธิพงษ. (2521). วิเคราะหนวนิยายที่ ได รั บ รางวั ล ส.ป.อ. วิ ท ยานิ พ นธ ก ารศึ ก ษา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สมพร มันตะสูตร. (2525). วรรณกรรมไทยปจจุบัน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.

Miss Kulnaree Nukitrangsan received her M.A. in Modern and Contemporary Chinese Literature from Huachiew Chalermprakiet University and Huaqiao University, China, her B.A. in Chinese Studies (International Program) from Prince of Songkla University. She is currently a doctorate collegian in Social Management and Social Policy, School of Social Development and Public Policy at Fudan University, Shanghai, China, and currently studying a bachelor’s degree in Tourism (E-learning Program) at Naresuan University.

144


º

·ÇÔ¨Òó ˹ѧÊ×Í ดร.โดม ไกรปกรณ อาจารยประจําคณะศิลปศาสตร สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน E-mail: domekra@pim.ac.th

ปราณี โนนจันทร และคณะ. (2551). วิถีชีวิตและ ความมั่นคงทางอาหาร: กระบวนการมีสวนรวม ของชุมชนบานปากบุงและชุมชนใกลเคียงใน ตําบลคันไร อําเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

นักวิชาการและนักอานที่สนใจเรื่องความเปนไป ของมนุษยในยุคปจจุบันคงพอรูแลววา คนบนโลก จํานวนไมนอยกําลังเผชิญปญหาขาดแคลนอาหาร ในขณะทีห่ นังสือของ อีรคิ ชลอสเซอร และชารล วิสนั (Schlosser, Eric and Wilson, Charles, 2550) ไดชี้ใหเห็นถึงอันตรายที่ผูบริโภคอาหารจานดวน (Fast Food) จากบริษัทฟาสตฟูดยักษใหญของโลก จะไดรบั เชน โรคระบบทางเดินอาหาร โรคฟนผุ ฯลฯ และหนังสือของ ไมเคิล พอลแลน ชีใ้ หเห็นวา อาหาร แบบตะวันตกทีแ่ พรหลายไปทัว่ โลกไดนาํ พาโรคอวน ไปสูผ ทู นี่ ยิ มบริโภคและชักชวนใหเรากินพืช หลีกเลีย่ ง อาหารแบบตะวันตกและบริโภคอาหารทองถิ่นของ ตนเองอยางทีค่ นฝรัง่ เศส คนญีป่ นุ คนอินเดีย คนกรีก นิยมกินอาหารทองถิ่นของตน (พอลแลน, ไมเคิล, 2553) หรือที่หนังสือของ วันทนา ศิวะ (2551) และ หนังสือของ เฮเลนา นอรเบอรก-ฮอดจ และคณะ (2551) ไดหยิบเอาประเด็นการขยายอิทธิพลทาง เศรษฐกิจของบรรษัทขามชาติ ทีท่ าํ ลายระบบอาหาร และวิถีชีวิตของคนพื้นเมืองในประเทศกําลังพัฒนา ที่ผลิตและบริโภคอาหารหลากหลายชนิดตามสภาพ ภูมิศาสตรและภูมิอากาศของพื้นที่ ซึ่งมีความหลาก หลายทางชีวภาพและทางวัฒนธรรม ใหเปลีย่ นสูก าร

145


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ผลิตและบริโภคอาหารจากพืชและสัตวเพียงไมกชี่ นิด ทีบ่ รรษัทขามชาติสนับสนุนใหผลิตขึน้ เพือ่ ตอบสนอง ความตองการของบรรษัท สภาพของสั ง คมที่ กํ า ลั ง เผชิ ญ กั บ ป ญ หาการ ขาดแคลนอาหาร ปญหาสุขภาพจากการบริโภค อาหารจานดวนหรืออาหารแบบตะวันตกสมัยใหม รวมทั้งปญหาความ (ไม) มั่นคงทางอาหารของผูคน ในประเทศกําลังพัฒนา อันเปนผลสืบเนือ่ งมาจากการ ที่ระบบอาหารที่มีความหลากหลายของคนพื้นเมือง ถูกทําลายไปดวยการเขามาของบรรษัทขามชาติ ดูเปน ปจจัยที่ทําใหหนังสือชื่อยาวของ ปราณี โนนจันทร และคณะชาวบาน บานปากบุง อําเภอสิรนิ ธร จังหวัด อุบลราชธานี มีความนาสนใจเพราะเปนการศึกษา ประเด็นทางสังคมของผูค นในทองถิน่ ซึง่ เปนประเด็น ทางสังคมที่รวมสมัยกับทองถิ่นหลายถิ่นทั่วโลก ที่ น  า สนใจยิ่ ง กว า คื อ หนั ง สื อ เล ม นี้ ม าจาก งานวิจัยของกลุมชาวบานปากบุง จํานวน 9 คน ที่มี อาชีพทําไมกวาดขาย ทําประมง ทําดอกไมจันทร เปนหมอพื้นบาน ฯลฯ โดย แมปราณี โนนจันทร หัวหนาโครงการมีความรูเพียงระดับประถมศึกษา ปที่ 4 ไมไดจบปริญญาจากมหาวิทยาลัย และงาน วิจัยนี้ไดรับทุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย (สกว.) แมปราณีและคณะทํางานไดแบงเนือ้ หาของงาน วิจัยออกเปน 8 บท โดย 2 บทแรกเปนการกลาวถึง ความเปนมาของการวิจัย วัตถุประสงคของการวิจัย วิธีการวิจัยและเก็บขอมูล ฯลฯ ตามรูปแบบของงาน วิจัยของนักวิชาการ <นาสนใจตรงที่มีการกลาวถึง การคืนขอมูลที่รวบรวมไดใหแกชาวบานผูใหขอมูล ดวย> และบทที่ 8 เปนการสรุปและใหขอเสนอแนะ ตอการพัฒนาความมัน่ คงของอาหาร และขอเสนอแนะ สําหรับทําการวิจัยครั้งตอไป ดานเนื้อหาสําคัญของหนังสือเลมนี้ในบทที่ 3-7 พอสรุปไดวา แมปราณีและคณะชี้ใหผูอานเห็นภาพ ประวัติศาสตรของชุมชนในพื้นที่ตําบลคันไร อําเภอ

146

สิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งพื้นที่สวนใหญเปน ที่ราบลุมติดแมนํ้ามูล มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ โดยจากความทรงจําของชาวบานในพื้นที่ ทําใหทราบวา ชุมชนบริเวณนีเ้ กิดขึน้ และดํารงอยูม า นานกวา 100 ป ผูคนที่กอตั้งชุมชนคือคนที่อพยพ มาจากตําบลอื่นๆ ในอุบลราชธานีมาตั้งถิ่นฐานใน บริเวณตําบลคันไร เพราะเปนพืน้ ทีอ่ ดุ มสมบูรณมที งั้ พื้นที่ปาและแหลงนํ้า จึงสะดวกตอการทํามาหากิน ขาวปลาอาหารหาไดงาย ดวยจํานวนคนที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานมากขึ้นๆ ในที่สุดราชการไดตั้งชุมชนคันไรขึ้นเปนหมูบานและ ตัง้ คนในชุมชนขึน้ เปนผูใ หญบา น ซึง่ จากการเพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็วของจํานวนครัวเรือนในหมูบ า นในชวงป พ.ศ. 2472-2487 ทําใหคนในชุมชนเกิดปญหาการ แยงชิงทรัพยากร คนจํานวนหนึ่งแยกตัวออกมาตั้ง หมูบ า นใหม ซึง่ ปญหาความยากลําบากในการทํามา หากินของชาวบานคันไรและหมูบ า นทีแ่ ยกตัวออกมา จะเพิ่มมากขึ้นอีกในชวงป พ.ศ. 2510-2512 ที่ปาไม ที่เคยมีมากในอดีตถูกบุกรุกทําลายจากคนในชุมชน ที่ตองการขยายที่ทํากิน และจากนโยบายรัฐที่ใหมี การสัมปทานปาไมอันสงผลใหคนจากภายนอกที่ได สัมปทานเขามาทําลายปาไม รวมถึงการเขามาของโครงการสาธารณูปโภค ของรัฐ เชน ไฟฟา ประปา ถนน ฯลฯ ซึง่ ดานหนึง่ นัน้ โครงการไดนาํ เอาความสะดวกสบายและความเปนอยู ที่ดีมาใหแกคนในชุมชน แตอีกดานหนึ่งไดทําให ชาวบานทีเ่ คยเคยทําการผลิตเพือ่ เลีย้ งชีพแบบพออยู พอกินพึ่งพิงธรรมชาติ หันมาทําการผลิตเพื่อขาย พึง่ พิงเศรษฐกิจภายนอกมากขึน้ โดยเฉพาะอยางยิง่ การเขามาของโครงการขนาดใหญของรัฐบาลอยาง โครงการเขื่อนสิรินธร และโครงการเขื่อนปากมูลที่ สงผลกระทบอยางมากตอความมั่นคงทางอาหาร ของชาวบานบานคันไร เนื่องจากปญหาการสูญเสีย ทีท่ าํ กินซึง่ ถูกนํา้ ทวมจมอยูใ นสวนอางเก็บนํา้ ของเขือ่ น และปญหาปลาที่เคยจับไดมีนอยลง หาปลาตัวใหญ


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

อย า งที่ เ คยจั บ ได ก  อ นมี ก ารสร า งเขื่ อ นไม ค  อ ยได เพราะมีแตปลาตัวเล็กๆ ที่สามารถขึ้นจากแมนํ้าโขง มายังแมนาํ้ มูล ชนิดของปลาทีจ่ บั ไดมจี าํ นวนนอยลง กวาเดิม ประเด็นสําคัญที่หนังสือเลมนี้กลาวถึงในสวน ทายๆ คือ การที่ชาวบานคันไรพยายามสรางความ มั่นคงทางอาหารของพวกตน โดยการรวมกลุมกัน ตอสูเ รือ่ งผลกระทบจากเขือ่ นตอภาครัฐและการจัดตัง้ กลุมดูแลรักษาแหลงทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนที่ มีอยูจํากัดเพื่อใชประโยชนรวมกันอยางยั่งยืน เชน การจัดเวรยามเฝาระวังไฟปาและการบุกรุกทําลายปา ของบุคคลภายในชุมชนและบุคคลภายนอก การ ประชุมรวมรางกฎระเบียบกติกาในการดูแลรักษาปา รวมกัน การทําธนาคารพันธุปลาพื้นบานและปลอย ปลาพืน้ บานทีร่ วบรวมไดลงแมนาํ้ มูลเพือ่ ใหปลามีการ ขยายพันธุ ฯลฯ จุดแข็งของหนังสือเลมนี้อยูที่วาผลการวิจัยที่ กลุมชาวบานรวมกันสรางสรรคขึ้นนี้เกือบทั้งหมด สอดคลองกับงานศึกษาของนักวิชาการ ดังเห็นได จากงานวิจยั ของ จารุวรรณ ธรรมวัตร ทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับ วัฒนธรรมการบริโภคอาหารของชาวอีสาน โดยชี้ ใหเห็นวา ประชากรกลุมที่พูดภาษาลาวหรือภาษา อีสานในเขตจังหวัดอุบลราชธานี <และเขตจังหวัด อื่นๆ อีก 9 จังหวัด ไดแก ชัยภูมิ ขอนแกน รอยเอ็ด อุดรธานี หนองคาย ยโสธร อํานาจเจริญ มหาสารคาม หนองบั ว ลํ า พู > มี ค ติ ก ารตั้ ง ถิ่ น ฐานในบริ เ วณที่ ราบลุมแมนํ้าสายสําคัญและทํามาหารกินแบบพึ่งพิง ธรรมชาติ ปลูกขาวนาหยอดซึ่งไดผลผลิตพอกิน ตลอดป รวมทั้งเสาะหาอาหารปา เชน กลอย ขุยไผ และผักพืน้ บานในดง ในปาบุง ปาทาม ฯลฯ (จารุวรรณ ธรรมวัตร, 2540: 3-4) หรือเห็นไดจากงานวิจัยของ วิยุทธ จํารัสพันธุ และประสิทธิ์ คุณุรัตน ที่แสดงให เห็นถึงภาพความเปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ ของชาวชนบท อีสานที่หันมาผลิตเพื่อขายพึ่งพิงเศรษฐกิจภายนอก มีการบริโภคขาวของเครือ่ งใชแบบคนในเมืองจนทําให

รายจายในชีวิตเพิ่มขึ้น ประสบปญหาการลดลงของ พืน้ ทีป่ า รวมถึงมีการรวมมือกันของคนในชุมชนเพือ่ จัดตัง้ องคกรหรือกลุม จัดการทรัพยากรสําหรับบริโภค ภายในชุมชน (วิยทุ ธ จํารัสพันธุ และประสิทธิ์ คุณรุ ตั น, 2543: 229-237) รวมถึงงานวิจัยของ สมศรี ชัยวณิชยา (2548) ที่แสดงใหเห็นวานโยบายการพัฒนาภาคตะวันออก เฉียงเหนือของรัฐบาลไทยที่ใชในชวง 25 ปแรกของ การพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีผลใหประชากร ปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ จากการผลิตเพือ่ ยังชีพสูก ารผลิต เพือ่ การคา เกิดปญหาพอคาในทองถิน่ เอารัดเอาเปรียบ คนในชุมชนเดียวกัน และโครงการชลประทานเพื่อ พัฒนาการเกษตรของประชาชนไมสามารถดําเนินการ สงนํ้าเพื่อการเกษตรไดตามเปาหมายที่วางไว โดย โครงการสวนใหญกลับเปนโครงการเพื่อผลิตกระแส ไฟฟาปอนสูระบบอุตสาหกรรมที่กําลังขยายตัว ความสอดคลองระหวางงานวิจัยของ แมปราณี โนนจันทร และคณะ กับงานวิจยั ของนักวิชาการ ชีใ้ ห เห็นวา งานวิจัยของกลุมชาวบานคันไร มีคุณภาพ พอๆ กับงานวิจยั ของนักวิชาการ ซึง่ นับเปนสัญญาณ อันดีสาํ หรับชาวบานในชุมชนทองถิน่ อืน่ ๆ ทีค่ ดิ จะทํา หรื อ กํ า ลั ง ทํ า งานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ วิ ถี ชี วิ ต และความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่สงผลกระทบ ตอชุมชนทองถิ่นของตน อยางไรก็ตามหนังสือเลมนีม้ แี งมมุ ทีไ่ มไดบอกให ผูอานทราบโดยตรงทั้งหมด นั่นคือ อาจกลาวไดวา หนั ง สื อ เล ม นี้ เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของการต อ สู  คั ด ค า น โครงการขนาดใหญ ข องรั ฐ โดยชาวบ า น ดั ง ที่ ผู  สรางสรรคหนังสือเลมนี้ไดกลาวถึงการตอสูคัดคาน การสรางเขือ่ นปากมูลของชาวบานไวในหนังสือ โดย ผูสรางสรรคงานวิจัยชิ้นนี้สวนหนึ่ง คือ กลุมคนที่มี บทบาทในการคัดคานโครงการเขื่อนปากมูลนั่นเอง และงานศึกษาเกี่ยวกับการคัดคานการสรางเขื่อน ปากมูลหลายชิ้นไดแสดงใหเห็นวาการคัดคานของ กลุมชาวบานเปนการเคลื่อนไหวทางสังคม (Social

147


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

Movement) ทีใ่ ชกจิ กรรมทางวัฒนธรรมเขาชวย เชน การชุมนุมคัดคาน การสรางสํานึกรวมของคนในชุมชน ผานพิธีสาปแชงผูสนับสนุนการสรางเขื่อนปากมูล การสร า งอั ต ลั ก ษณ ข องชาวบ า นที่ คั ด ค า นโดย แสดงออกถึงอัตลักษณทางชาติพันธุและวัฒนธรรม “ไทย-ลาว” ของพวกตน การตั้งหมูบานแมมูนมั่นยืน ที่บริเวณสันเขื่อนปากมูล (นลินี ตันธุวนิตย, สุไลพร ชลวิ ไ ล, ศิ ริ พ ร โคตะวิ น นท , 2545: 187-207; โดม ไกรปกรณ, 2548: 261-270) มองในแงนี้หนังสือของแมปราณีและคณะ จึง ไมใชหนังสือทีม่ วี าระดานการใหความรูแ กผอู า นเพียง ดานเดียว หากมีวาระของการเมืองวัฒนธรรมในการ ต อ สู  กั บ โครงการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมของ รัฐบาลแฝงอยูดวยระดับหนึ่ง ทีก่ ลาวมายืดยาวนี้ ดวยหวังวาผูอ า นหนังสือเลมนี้ จะไมติดกับดักปญหาสําคัญของการทําความเขาใจ วัฒนธรรมของมนุษยที่ ศาสตราจารย ดร.อานันท กาญจนพันธุ ไดชไี้ วคอื การศึกษาทีม่ องไปในทางใด ทางหนึง่ เพียงทางเดียว <ที่ อาจารยอานันท ใชคาํ วา “มุ ม มองเชิ ง เดี่ ย ว”> และภาวะการชะงั ก งั น ทาง ความคิดสติปญญาในการทําความเขาใจวัฒนธรรม ของมนุษย เนือ่ งจากการติดกับดักทางความคิดแบบ คู  ต รงกั น ข า มที่ ยึ ด กรอบการวิ เ คราะห ผ  า นหน ว ย การวิเคราะหเพียงคูใดคูหนึ่ง เชน เมืองกับชนบท ชุมชนกับรัฐ ฯลฯ จนทําใหละเลยการอธิบายความ เปลี่ ย นแปลงอย า งสลั บ ซั บ ซ อ นของสิ่ ง ที่ ศึ ก ษา (อานันท กาญจนพันธุ, 2548: 11-14) แตทั้งนี้ขอ ทิ้งทายของผูวิจารณไมไดตองการลดทอนความนา เชือ่ ถือของหนังสือทีแ่ มปราณีและคณะสรางสรรคขนึ้ แตประการใด ทัง้ ผูว จิ ารณยงั เห็นวา นักวิชาการและ นักอานทั่วไปควรอานหนังสือเลมนี้เพื่อใหเขาใจถึง ปญหาความมั่นคงทางอาหารที่อาจเกิดขึ้นกับเราได ทุกเมือ่ และเพือ่ รวมกันคิดรวมกันทําใหนโยบายของ รัฐบาลหรือการทําธุรกิจของภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่กําลังขยายอิทธิพล

148

เหนือเราในเกือบทุกดาน ไมมาบีบอัดเราทีเ่ ปนพลเมือง ของรัฐและเปนผูบ ริโภคสินคาของธุรกิจอุตสาหกรรม จนไมมีที่ยืน

บรรณานุกรม จารุวรรณ ธรรมวัตร. (2540). วัฒนธรรมการบริโภค อาหารของชาวอีสาน: การสืบสานภูมปิ ญ  ญาและ มรดกจากธรรมชาติ. พิมพครัง้ ที่ 2. มหาสารคาม: อาศรมวิจยั คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. โดม ไกรปกรณ. (2548). ขบวนการสิ่งแวดลอมใน สังคมไทยระหวาง พ.ศ. 2525-2535: ศึกษาการ เคลื่อนไหวคัดคานโครงการเขื่อนนํ้าโจน เขื่อน แกงกรุง และเขื่อนปากมูล. วิทยานิพนธอักษร ศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. นลินี ตันธุวนิตย, สุไลพร ชลวิไล, ศิรพิ ร โคตะวินนท. (2545). ประสบการณตอสูของชาวลุมนํ้ามูล กรณี ศึ ก ษาเขื่ อ นปากมู ล และเขื่ อ นราษี ไ ศล. ใน ผาสุก พงษไพจิตร และคณะ. วิถีชีวิต วิธีสู ขบวนการประชาชนรวมสมัย. (หนา 182-240). เชียงใหม: ตรัสวิน (ซิลคเวอรมบุคส). นอร เ บอร ก -ฮอดจ , เฮเลนา และคณะ. (2551). นําอาหารกลับบาน. ไพโรจน ภูมปิ ระดิษฐ (แปล). พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา. พอลแลน, ไมเคิ ล . (2553). แถลงการณ นั ก กิ น . คณิตสรณ สัมฤทธิ์เดชขจร (แปล). กรุงเทพฯ: มติชน. วิยุทธ จํารัสพันธุ และประสิทธิ์ คุณุรัตน. (2543). ชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในภาค อีสาน. ใน อานันท กาญจนพันธุ (บรรณาธิการ). พลวั ต ของชุ ม ชนในการจั ด การทรั พ ยากร: สถานการณในประเทศไทย. (หนา 217-281). กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.


วารสารปญญาภิวัฒน PANYAPIWAT JOURNAL

ศิวะ, วันทนา. (2551). ปลนผลิตผล! ปฏิบตั กิ ารจีย้ ดึ เสบียงอาหารโลก. ไพโรจน ภูมปิ ระดิษฐ (แปล). พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา. สมศรี ชัยวณิชยา. (2548). นโยบายการพัฒนาภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐบาลไทยระหวาง พ.ศ. 2494-2519. วิทยานิพนธอักษรศาสตร ดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร คณะ อักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

อานันท กาญจนพันธุ. (2548). ทฤษฎีและวิธีวิทยา ของการวิจยั วัฒนธรรม การทะลุกรอบและกับดัก ของความคิ ด แบบคู  ต รงกั น ข า ม. กรุ ง เทพฯ: อมรินทร. Schlosser, Eric and Wilson, Charles. (2550). มหันตภัยฟาสตฟูดเขมือบโลก. พูนลาภ อุทยเลิ ศ อรุ ณ และจิ น ดารั ต น แดงเดช (แปล). กรุงเทพฯ: วีเลิรน.

Dr. Dome Kraipakorn received his Doctoral Degree in History from Chulalongkorn University, and Master of History form Thammasat University. He is currently Lecturer in Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Management.

149


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.