วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2

Page 1


ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 มกราคม - มิถนุ ายน 2555 Vol. 3 No. 2 January - June 2012 ISSN 1906-7658

วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแหล่งน�ำเสนอและเผยแพร่ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ศิลปศาสตร์ นิเทศศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี

ที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี อาจารย์พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร รองศาสตราจารย์ ดร.สมโรตม์ โกมลวนิช ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.เรืองศักดิ์ แก้วธรรมชัย คณบดีคณะบริหารธุรกิจ รองศาสตราจารย์ ดร.พิสิษฐ์ ชาญเกียรติก้อง คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.ยุวดี ไวทยะโชติ คณบดีคณะศิลปศาสตร์ ดร.สุดารัตน์ ดิษยวรรธนะ จันทราวัฒนากุล คณบดีคณะนิเทศศาสตร์

บรรณาธิการผู้ทรงคุณวุฒิ

ศาสตราจารย์ ดร.วรเดช ศาสตราจารย์ ดร.กมลชนก ศาสตราจารย์ ดร.พรชัย ศาสตราจารย์ ดร.ปกรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธาชัย

จันทรศร สุทธิวาทนฤพุฒิ ชุนหจินดา อดุลพันธุ์ ยิ้มประเสริฐ


วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือน มกราคม - มิถุนายน 2555

บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประยูร โตสงวน

กองบรรณาธิการ

Prof.Dr.Tang ผศ.ดร.ไพฑูรย์ ดร.ดัชกรณ์ ดร.ธัญญา ดร.สาธิมา อาจารย์จินตนา อาจารย์ธงชัย อาจารย์วิเชศ นายประพล นางสาวรุจิราภา

ZhiMin ศิริโอฬาร ตันเจริญ สุพรประดิษฐ์ชัย ปฐมวิริยะวงศ์ สีหาพงษ์ สัญญาอริยาภรณ์ ค�ำบุญรัตน์ สันติลินนท์ บุญเจือ

ผศ.ดร.จิรวรรณ ผศ.ดร.สุภาวดี ดร.โดม ดร.วสุธาน อาจารย์กิจปฏิภาณ อาจารย์คทาเทพ อาจารย์นิธิภัทร อาจารย์สุพิชญา นางสาวสาทิพย์

ดีประเสริฐ อร่ามวิทย์ ไกรปกรณ์ ตันบุญเฮง วัฒนประจักษ์ พงศ์ทอง กมลสุข ชัยโชติรานันท์ ธรรมชีวีวงศ์

ก�ำหนดพิมพ์เผยแพร่ ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 กรกฎาคม - ธันวาคม และ ฉบับที่ 2 มกราคม - มิถุนายน

ติดต่อกองบรรณาธิการ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์: 0 2832 0225 โทรสาร: 0 2832 0392 เว็บไซต์: http://journal.pim.ac.th อีเมล์: research@pim.ac.th

ออกแบบและจัดพิมพ์

โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ข้อความที่ปรากฏในบทความซึ่งตีพิมพ์ในวารสารนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์แต่อย่างใด


รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ประเมินบทความ (Peer review) ประจ�ำฉบับ รศ.ดร.ชม กิ้มปาน รศ.ดร.อภิญญา หิรัญวงษ์ รศ.ดร.นิรมล ศตวุฒิ รศ.ดร.บุญญฤทธิ์ อุยยานนวาระ รศ.ประภาศรี พงศ์ธนาพาณิช ผศ.ดร.ปรีชา วิจิตรธรรมรส ผศ.ดร.วัลภา สบายยิ่ง ผศ.ดร.นวลฉวี ประเสริฐสุข ผศ.ดร.รัตติกรณ์ จงวิศาล ผศ.ดร.ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ ผศ.ดร.กาญณ์ระวี อนันตอัครกุล ผศ.ดร.จรัญญา ปานเจริญ ผศ.ดร.กฤษดา ตั้งชัยศักดิ์ ผศ.ดร.ปณิศา มีจินดา ผศ.ดร.เขมมารี รักษ์ชูชีพ ผศ.ดร.สมลักษณ์ ละอองศรี ดร.วรากร ศรีเชวงทรัพย์ ดร.ช�ำนาญ ปิยวนิชพงษ์ ดร.ศยามล เอกะกุลานันต์ ดร.วรพงษ์ มะโนวรรณ Assistant Professor Dr. Kang-hung Yang

มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Chung Yuan Christian University


บทบรรณาธิการ

วิกฤติหนี้สาธารณะโซนเงินยูโรยังไม่จบและกระทบต่อเศรษฐกิจเอเซีย ในวารสารปัญญาภิวฒ ั น์ฉบับนีบ้ ทบรรณาธิการจะขอ ตามรอยสถานการณ์วิกฤติหนี้สาธารณะของประเทศ ใน Euro-zone ต่อไปเพราะเป็นเรือ่ งสืบเนือ่ งทีน่ า่ ติดตาม และจะมีผลกระทบที่ส�ำคัญต่อเศรษฐกิจทั่วโลกถ้าเกิด ภาวะเศรษฐกิ จ ถดถอยขึ้นจากวิก ฤติหนี้สาธารณะนี้ จากเหตุการณ์ที่เยอรมันได้รับชัยชนะที่ประเทศใน EU ส่วนใหญ่ยอมให้มี Fiscal Treaty ซึ่งให้อ�ำนาจ EU ควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณและการขาดดุลของ ประเทศใน Euro-zone แต่ประเทศอังกฤษไม่ยอมร่วม ตกลงด้วย ตลาดหุ้นขึ้นด้วยความดีใจเฉพาะวันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม 2011 เท่านั้น แต่ตลาดพันธบัตรกลับผิดหวัง เพราะตลาดเงินคาดหวังไว้วา่ European Central Bank จะเข้ า ซื้ อ พั น ธบั ต รหนี้ ส าธารณะของประเทศต่ า งๆ ใน Euro-zone มากขึน้ และต้องการเห็นนโยบายทีจ่ ะท�ำให้ เศรษฐกิจเติบโต แต่เหตุการณ์ก็คือ ECB ยังไม่ได้ท�ำ อย่างนั้น อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรหนี้สาธารณะอายุ 1 ปีของอิตาลียงั สูง อยูร่ ะดับ 5.95% และพันธบัตร 10 ปี ของสเปนอยูท่ รี่ ะดับ 5.71% แต่ปรากฏว่าอัตราดอกเบีย้ พันธบัตร 10 ปี ของเยอรมันและสหรัฐอเมริกากลับลด ลงทัง้ สองประเทศมาอยูท่ ปี่ ระมาณ 2.01-2.02% เท่านัน้ วิกฤติหนีส้ าธารณะในโซนเงิน Euro จะท�ำให้ธนาคาร ใน Euro-zone มีปญั หาหนัก สมาคมธนาคารกลางทัว่ โลก หรือที่รู้จักกันในนามของ Bank for International Settlements หรือ BIS รายงานว่าธนาคารใน Euro-zone มีปญ ั หาเรือ่ งอัตราดอกเบีย้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ และมีขอ้ จ�ำกัดในการ หาแหล่งเงินกู้ จึงมีความจ�ำเป็นต้องขายสินทรัพย์ลงทุน ออกไปและเพิ่มอัตราดอกเบี้ยจากลูกค้าประมาณ 1% ในขณะที่ ECB ลดอัตราดอกเบีย้ กลางลงเหลือ 1% ทัง้ นี้ เพื่อเพิ่มเงินทุนส�ำรอง เนื่องจาก European Banking Authority ก�ำหนดว่าธนาคารต้องเพิ่มอัตราเงินทุน ส�ำรองหลัก หรือ Core Tier 1 Capital Ratio ให้เป็น 9% ตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2012 เพื่อเพิ่มความสามารถที่

ธนาคารจะสามารถรับมือกับวิกฤติทางการเงินได้ และ ประมาณว่าธนาคารต้องการเงินทุนส�ำรองเพิม่ อีกทัง้ ระบบ จ�ำนวน USD 153 พันล้าน หรือ Euro 115 พันล้าน โดยแยกเป็นธนาคารในกรีซต้องการเพิ่มทุนประมาณ Euro 30 พันล้าน ธนาคารในสเปนต้องการเพิ่มทุน ประมาณ Euro 26 พันล้าน ธนาคารในฝรัง่ เศสต้องเพิม่ ทุนประมาณ Euro 7.3 พันล้าน และธนาคารในอิตาลี ต้องเพิ่มทุนประมาณ Euro 15.3 พันล้าน และ BIS ประมาณว่าธนาคารใน Euro-zone จะต้องต่ออายุหนี้ ที่กู้ยืมมาจ�ำนวน USD 2 ล้านล้าน ในตอนสิ้นปี 2014 และที่ปรึกษาด้านการธนาคาร ประมาณว่าธนาคารใน Euro-zone มีหนี้เสียและสินทรัพย์ที่ไม่ใช่ธุรกิจหลัก รวมทั้งระบบอยู่ที่ USD 2.2 ล้านล้าน อีกประการหนึ่ง BIS ประมาณว่าธนาคารใน Euro-zone ปล่อยกูใ้ ห้ธรุ กิจ ทีใ่ ม่ใช่สถาบันการเงินในยุโรปตะวันออกประมาณ 50% ของความต้ อ งการสิ น เชื่ อ ทั้ ง หมด และเมื่ อ ธนาคาร ใน Euro-zone หยุดปล่อยสินเชื่อนี้เพราะปัญหาวิกฤติ หนี้สาธารณะบวกกับการเพิ่มเงินทุนส�ำรอง ธุรกิจใน ยุโรปตะวันออกจะต้องมีปัญหาเรื่องสภาพคล่องและ แหล่งเงินทุนอย่างแน่นอน ในขณะเดียวกัน ธนาคารใน Euro-zone ก็หยุด ปล่อยกู้ให้ธุรกิจจ�ำนวนมากในเอเซีย ประมาณว่าการ ถอยทัพของธนาคารใน Euro-zone ท�ำให้เงินปล่อยกู้ ในเอเซียหายไปทัง้ ระบบจ�ำนวน USD 390 พันล้าน และ ผลกระทบก็คอื อัตราดอกเบีย้ ในเอเซียจะสูงขึน้ แน่นอน และจะไม่มีแหล่งเงินทุนจากแหล่งอื่นมาทดแทนเงินทุน ทีห่ ายไปกับการถอยทัพของธนาคารใน Euro-zone ได้ มากพอ จึงจะท�ำให้การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในเอเซีย ชะลอตัวลง มีสถิติจาก BIS ว่า ธนาคารใน Euro-zone ปล่อยสินเชื่อ (Syndicated Loans) ให้เอเซียถึง 32% ของสินเชื่อทั้งระบบและปล่อยสินเชื่อการค้า (Trade Finance) ให้เอเซียถึง 40% ของสินเชื่อการค้าทั้งหมด


มีตวั อย่างให้เห็นได้ชดั เจนว่าวิกฤติหนีส้ าธารณะและการ ถอยทัพของธนาคารใน Euro-zone ท�ำให้ธรุ กิจในเอเซีย ชะลอตัวลงอย่างเห็นได้ชัด Cathay Pacific Airways ซึง่ มีฐาน Air-cargo Hub ในฮ่องกงและใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก ตัดสินใจชะลอการขยาย Hub เพราะระดับการขนส่ง ทางอากาศลดลงมากกว่าที่คาดการณ์ไว้และต้องชะลอ การส่งมอบเครื่องบิน Boeing 747-8F Freighters จ�ำนวน 2 ล�ำ เป็นรับการส่งมอบในปี 2012 ในขณะที่ FedEx เลือ่ นการรับมอบเครือ่ งบินทีบ่ นิ ระหว่างเอเซียและ สหรัฐอเมริกาซึง่ เป็นเครือ่ งบิน Boeing 777 Freighters จ�ำนวน 11 ล�ำโดยเป็นการปรับปรุงแผนธุรกิจด้วยเหตุของ การชะลอตัวทางด้านเศรษฐกิจในเอเซีย ในอีกกรณีหนึง่ Hanjin Shipping ซึ่งเป็นบริษัท shipping ที่ใหญ่ที่สุด ในเกาหลีใต้ต้องจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ USD 500 ล้าน ระยะเวลา 5 ปีจากการต่ออายุเงินกูอ้ กี 5 ปี เพิม่ ขึน้ จาก Libor + 0.95 เป็น Libor + 3.75 เนือ่ งจากการถอยทัพ ของธนาคารใน Euro-zone ซึ่งจะท�ำให้ต้นทุนการกู้ยืม เงินสูงขึน้ ในภาวะทีค่ วามต้องการการขนส่งทางเรือลดลง ทั่วโลก อีกด้านหนึง่ ของโลก สถาบันการเงินของสหรัฐอเมริกา ก็ลดการเป็นแหล่งเงินทุนระยะสั้นให้สถาบันการเงิน ใน Euro-zone อย่างเร่งรีบเพราะเกรงว่าจะกลายเป็น สินเชื่อที่มีปัญหา ธนาคารกลางของสหรัฐ (Federal Reserve Bank) ก็ดจู ะพอใจกับนโยบายการเร่งเศรษฐกิจ ให้เติบโตด้วยการอัดฉีดเงินเข้าระบบในปัจจุบันเพราะ เศรษฐกิจก�ำลังฟื้นตัวในระดับปานกลางและจะด�ำเนิน นโยบายดอกเบี้ยต�่ำใกล้ศูนย์เปอร์เซ็นต์จนถึงปี 2013 แต่ก็เห็นว่าวิกฤติหนี้สาธารณะในยุโรปเป็นความเสี่ยง ต่อเศรษฐกิจโลกที่ส�ำคัญ ในขณะเดียวกัน Mr. Jens Weidmann ประธานธนาคาร Bundesbank ของเยอรมัน ซึ่งเป็นกรรมการของ ECB ด้วยก็ปฏิเสธอย่างแข็งขัน ไม่ให้ ECB พิมพ์ธนบัตรเพื่อแก้ปัญหาหนี้สาธารณะ ในยุโรป German Chancellor Angela Merkel ก็ เน้นย�้ำว่าการออก Euro bonds ไม่เป็นทางแก้ปัญหา ให้วิกฤติหนี้สาธารณะในยุโรปครั้งนี้

Mr. Mario Draghi ประธานธนาคารกลางยุโรปหรือ ECB ชื่นชมกับข้อตกลง Fiscal Treaty ซึ่งต้องการให้ ประเทศสมาชิกที่ใช้เงิน Euro เพียง 9 ประเทศจาก 17 ประเทศอนุมตั สิ นธิสญ ั ญานีแ้ ละจะสามารถใช้บงั คับได้ กับประเทศทีอ่ นุมตั สิ นธิสญ ั ญานีเ้ ท่านัน้ และจะต้องมีเงินกู้ จ�ำนวน Euro 150 พันล้านจากประเทศที่ใช้เงิน Euro และเงินกู้อีก Euro 50 พันล้านจากประเทศใน EU แต่ไม่ได้ใช้ Euro ให้กับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF ในเวลาเดียวกันประธาน ECB ก็ยงั ยืนยันทีจ่ ะ ไม่ใช้นโยบายอัดฉีดเงินเข้าระบบเหมือนที่สหรัฐอเมริกา และอังกฤษได้ดำ� เนินการไปแล้วหรือนโยบายทีเ่ รียกกันว่า Quantitative Easing ด้วยเหตุผลที่ว่า EU Treaties ไม่อนุญาติให้ ECB ใช้นโยบายทางการเงินเข้าซือ้ พันธบัตร หนี้สาธารณะของประเทศที่ใช้เงิน Euro เน้นด้วยว่า ECB มีหน้าที่ส�ำคัญหน้าที่เดียวคือควบคุมอัตราเงินเฟ้อ ซึ่งจะลดลงจาก 3% ในปัจจุบันเหลือ 2% ในปี 2012 แต่ ECB ก็เป็นแหล่งเงินทุนระยะสั้นให้ธนาคารต่างๆ ยกเว้นธนาคารขนาดใหญ่ในยุโรป โดย ECB จัดสรร เงินทุนที่เป็น USD ระยะเวลา 7 วันอัตราดอกเบี้ยคงที่ ให้ธนาคารในยุโรปเมื่อวันพุธที่ 14 ธันวาคม 2011 จ�ำนวน USD 5.122 พันล้าน สูงกว่าการจัดสรรเงินทุน USD เมือ่ สัปดาห์กอ่ นจ�ำนวน USD 1.602 พันล้าน ECB ปัจจุบนั ลดอัตราดอกเบีย้ เงินปล่อยกูใ้ ห้ธนาคารลง 0.25% เหลือเพียง 1.00% เท่านั้น สัญญาณอันตรายอีกประการหนึ่งก็คือ ถ้าธนาคาร ใน Euro-zone ต้องใช้เงินจากรัฐบาลของตนเองเพื่อ เพิม่ เงินทุนส�ำรอง ก็จะท�ำให้หนีส้ าธารณะเพิม่ สูงขึน้ และ หนีส้ ญ ู ของธนาคารก็จะเพิม่ ขึน้ เพราะธนาคารจะต้องถือ พันธบัตรหนี้สาธารณะ ผลกระทบลูกโซ่นี้จะเป็นวงจร อุบาทว์ หรือ Vicious cycle เมือ่ ประเทศใน Euro-zone จ�ำกัดการขาดดุลงบประมาณมากประกอบกับธนาคาร ลดการปล่อยสินเชื่อ ก็จะท�ำให้เกิด ภาวะ recession ที่รุนแรงในยุโรป ในขณะนี้ ECB ต้องเพิ่มสภาพคล่อง ให้ธนาคารใน Euro-zone โดยไม่จ�ำกัดเพราะธนาคาร มี ป ั ญ หาในการหาแหล่ ง เงิ น ทุ น ในตลาดอย่ า งหนั ก


สภาพการณ์นี้เป็น Death Spiral เพราะอัตราดอกเบี้ย เพิม่ ราคาพันธบัตรลดลง และความต้องการเพิม่ ทุนของ ธนาคารจะเพิ่มมากขึ้น นั ก เศรษฐศาสตร์ ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง Prof. Dr. Paul Krugman เรียกสถานการณ์ที่ก�ำลังเกิดขึ้นว่าเป็นภาวะ เศรษฐกิจตกต�่ำหรือ Depression แต่อาจจะไม่เลวร้าย เท่า Great Depression ที่เคยเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา และมีความเป็นไปได้สูงมากที่แม้ว่าวิกฤติการณ์ด้าน การเงินจะสามารถแก้ปญ ั หาได้แต่จะเกิดภาวะเศรษฐกิจ ถดถอย หรือ Recession ทั่วทั้งยุโรป และเนื่องจาก มีการบังคับใช้วินัยทางการเงินอย่างมากเศรษฐกิจก็จะ ไม่สามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็วแม้ประเทศต่างๆใน Euro-zone จะเอาเทคนิคทางการเงินมาใช้หลายประการ เช่น ในประเทศอิตาลีธนาคารซือ้ ทรัพย์สนิ ของรัฐเพือ่ น�ำ ไปใช้เป็นหลักประกันในการกู้เงินของธนาคารจาก ECB เพื่อลดการขาดดุลของรัฐบาล ในประเทศ Portugal ธนาคารจ่ายเงินให้รฐั บาลเพือ่ แลกกับการรับภาระจ่ายเงิน บ�ำเหน็ดบ�ำนาญให้พนักงานธนาคารในอนาคตโดยรัฐบาล จึ ง สามารถลดการขาดดุ ล การใช้ จ ่ า ยในปั จ จุ บั น ได้ ในประเทศ Germany ธนาคารพาณิชย์จะขายหนี้เสีย ให้ธนาคารหนี้เสียที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ ท�ำให้ธนาคาร มีฐานะการเงินดีขนึ้ เป็นต้น แน่นอนผูท้ เี่ ป็นคนชัน้ กลาง และชั้นล่างก็จะได้รับผลกระทบอย่างหนักและจะเพิ่ม ความไม่พงึ พอใจต่อระบบการปกครองและระบบเศรษฐกิจ ปัจจุบันจนหันกลับไปสนับสนุนระบบการปกครองแบบ ขวาจัดซึ่งได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นในประเทศออสเตรีย ประเทศฟินแลนด์ และประเทศฮังการี นอกจากนั้น สถานการณ์ฟองสบู่ด้านอสังหาริมทรัพย์ในประเทศจีน ก็เป็นสถานการณ์ที่ท�ำให้ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง เช่น ธุรกิจ เหล็กและวัสดุกอ่ สร้างอืน่ ชะลอตัวลงและน่าเป็นห่วงมาก เพราะคงไม่มใี ครอยากเห็นว่ามีวกิ ฤติทางการเงินเพิม่ ขึน้ ที่จุดอื่นมากไปกว่าสถานการณ์ในยุโรปที่ยังไม่จบลง ในระยะเวลาอันใกล้นี้และธุรกิจหลายประเภทในเอเซีย ก็ได้รับผลกระทบไปเรียบร้อยแล้ว

วารสารปัญญาภิวฒ ั น์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 นี้ เริม่ แนะน�ำ บทความที่อ่านง่ายและเป็นประเด็นที่ทันสมัย โดย เรียบเรียงจากส่วนหนึง่ ของการสัมมนาเรือ่ ง “หลากมิตไิ ทย มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558” ซึ่งเป็นการ บรรยายของ รศ.ดร. สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ของเรา และเป็นประเด็น ที่ประเทศไทยต้องให้ความส�ำคัญอย่างยิ่ง ในด้านบทความวิจัย มีบทความรวม 7 บทความ ที่มีเอกลักษณ์ทั้งในภาคธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจรถยนต์และ ภาคการศึกษา ประกอบด้วยเรื่อง การศึกษาเพื่อการ ประยุ ก ต์ ใช้ ท ฤษฎี แ ถวคอยในร้ า นค้ า ปลี ก สมั ย ใหม่ การศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ พฤติ ก รรมการเลื อ กซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข ้ า วสารบรรจุ ถุ ง ในเขตกรุ ง เทพมหานคร พฤติกรรมและปัจจัยส�ำคัญที่มีต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ของ ผู้บริโภคจากการสื่อสารการตลาดในรูปแบบสื่อสังคม ออนไลน์ การศึกษาความพร้อมการจัดการความรู้มาใช้ ในธุ ร กิ จ จ� ำ หน่ า ยรถยนต์ ข องกลุ ่ ม บริ ษั ท ไทยรุ ่ ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด แรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อ ระดั บ ปริ ญ ญาตรี สถาบั น การจั ด การปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และการพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่ อ ลดพฤติ ก รรมก้ า วร้ า วของเด็ ก นั ก เรี ย นอนุ บ าล ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย ในด้านบทความวิชาการ มีบทความรวม 4 บทความ ทีม่ เี นือ้ หาของโลกธุรกิจปัจจุบนั และน่าสนใจ ประกอบด้วย เรื่อง วิวัฒนาการเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย นโยบาย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของภูมิภาค อาเซียน: การปรับตัวของยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทย เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนปี พ.ศ. 2558 การจัดการ ช่ อ งว่ า งระหว่ า งวั ย เพื่ อ การพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ในองค์การ และ Simulation Modeling Unit : A Bridge Cross-Domain Communication in Building and Developing Simulation


ในวารสารปัญญาภิวฒ ั น์ฉบับต่อไป กองบรรณาธิการ ใคร่ขอน�ำเสนอ วารสารฉบับพิเศษ (Special Issue) เนื่องในโอกาสที่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ฉลอง ครบรอบ 5 ปี และมีนโยบายส่งเสริมผลงานทางการวิจยั ของคณาจารย์ภายใน โดยจะมีเนื้อหาและภาพลักษณ์ ของรูปเล่มทีท่ นั สมัยและมีเอกลักษณ์เฉพาะ และอยูบ่ น พื้นฐานของความเชื่อมโยงที่ยั่งยืนทั้งในภาควิชาการ และภาคธุรกิจ สุดท้ายนีก้ องบรรณาธิการขอแสดงความ ขอบพระคุณผูเ้ ขียนบทความทุกท่านทีไ่ ด้ให้ความไว้วางใจ วารสารปัญญาภิวัฒน์ ได้ถ่ายทอดความรู้สู่ผู้อ่านทั้งใน วารสารเล่มนี้ และเล่มก่อนหน้านี้ และขอขอบพระคุณ Peer Reviewers ทุกท่านที่ให้เกียรติสนับสนุนและ ให้ความเชื่อมั่นในวารสารปัญญาภิวัฒน์ด้วยดีตลอดมา ทางกองบรรณาธิการมีความมั่นใจว่ามีเป้าหมายชัดเจน

ที่จะสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการและมีความทันสมัย ทางด้านเศรษฐกิจและธุรกิจอุตสาหกรรมโดยเฉพาะด้าน ธุรกิจค้าปลีก มุง่ เผยแพร่บทความทางวิชาการ บทความ วิจัย และบทความที่เป็นสมัยนิยมและทันต่อเหตุการณ์ ทัง้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน และจะส่งเสริม ให้วารสารปัญญาภิวฒ ั น์มคี ณ ุ ภาพและได้รบั การยอมรับ จากวงการวิชาการและสังคมส่วนรวมยิ่งๆขึ้นไป และ ท้ายทีส่ ดุ ทางกองบรรณาธิการบริหาร ขอเชิญชวนทุกท่าน ให้เข้าเยีย่ มชม Website ของวารสารปัญญาภิวฒ ั น์ ได้ที่ Website: http://journal.pim.ac.th บรรณาธิการ ผศ.ดร. ประยูร โตสงวน prayoontos@pim.ac.th; prayoont@hotmail.com.


สารบัญ บทความพิเศษ

ติไทย มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558 • หลากมิ สมภพ มานะรังสรรค์

บทความวิจัย

1

กษาเพื่อการประยุกต์ใช้ทฤษฎีแถวคอยในร้านค้าปลีกรูปแบบใหม่ • การศึ นิธิภัทร กมลสุข ยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงในเขตกรุงเทพมหานคร • ปัสรีจยจัา อั ชฌาสัย และ ลักคณา วรศิลป์ชัย กรรมและปัจจัยส�ำคัญที่มีต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคจากการสื่อสารการตลาด • พฤติ ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์

22

50

จิตติมา จารุวรรณ์ และ อรกัญญา โฆษิตานนท์ การศึกษาความพร้อมการจัดการความรู้มาใช้ในธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ของ กลุ่มบริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด มัณฑนา ศิริเอก แรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ นพมาศ ปลัดกอง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วิเชียร วิทยอุดม เขมมารี รักษ์ชูชีพ จิรศักดิ์ สุรังคพิพรรธน์ และอิศราภรณ์ เทียมศร การพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัวเพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย วิจิตรา สายอ๋อง

• • •

บทความวิชาการ

การสื่อสารไร้สาย • วิดัวชัฒกรณ์นาการเทคโนโลยี ตันเจริญ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของภูมิภาคอาเซียน : • นโยบายด้ การปรับตัวของยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558 สุดาสวรรค์ งามมงคลวงศ์ การจัดการช่องว่างระหว่างวัยเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ กนกพันธรน์ โลกุตรวงศ์ Simulation Modeling Unit: A Bridge Cross-Domain Communication in Building and Developing Simulation Kitti Setavoraphan

• •

6

38

61 73 89

111 121 132 144


ลากมิติไทย มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558 รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ E-mail: sompopman@pim.ac.th

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เป็นการจัดตัง้ เขตการค้าเสรีภายใต้ AEC ที่จะช่วยให้อาเซียนกลายเป็นเขตการผลิตเดียว ตลาดเดียว (Single Market and Production Base) เพราะแต่ละประเทศในอาเซียนมีขนาดเล็กเกินกว่าจะมี บทบาทน�ำในภูมภิ าคได้ เมือ่ เทียบกับประเทศจีน อินเดีย และประเทศอืน่ ๆ ทีม่ เี ทคโนโลยีชนั้ สูง เช่น ประเทศญีป่ นุ่ และเกาหลีใต้ แต่ไม่ใช่ลักษณะของ ASEAN Union เพราะปัจจุบนั ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในยุโรปเป็นตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ อย่างเด่นชัด อีกทัง้ ยังเป็นการเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ทางเศรษฐกิจและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของ อาเซียนในตลาดโลก เพราะเป็นการเคลื่อนย้ายปัจจัย การผลิตได้อย่างเสรีระหว่างประเทศสมาชิกทีก่ ว้างขวาง มากยิง่ ขึน้ ในด้านสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน แรงงาน และความร่วมมือด้านการอ�ำนวยความสะดวกทางการค้า และการลงทุน เพือ่ ลดอุปสรรคทางด้านการค้า การลงทุน ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น การลดอากรขาเข้าส�ำหรับสินค้า บางประเภทเป็น 0% ส�ำหรับสมาชิกอาเซียนเดิม (Core ASEAN Members) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 และ ส�ำหรับสมาชิกอาเซียนใหม่ คือ ประเทศกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม (CLMV: Cambodia-Laos-MyanmarVietnam) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 นอกจากนี้ ยังเปิดให้นกั ลงทุนอาเซียนถือหุน้ ถึง 70% ในธุรกิจบริการ

ด้านโทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ สุขภาพ การท่องเทีย่ ว และการขนส่งทางอากาศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 การถือหุ้นได้ถึง 51% ในธรุกิจโลจิสติกส์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 และเพิ่ ม เป็ น 70% ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2556 ตลอดจนการเปิดเสรีการลงทุนและ ให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติเดียวกันแก่นักลงทุนอาเซียน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 การเปิดเสรีการค้าอาเซียนในปี 2558 จึงเป็นสิ่งที่ ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ภาควิชาการ และภาครัฐ ให้ความ สนใจอย่างยิ่ง เพราะจ�ำเป็นต้องเตรียมความพร้อมเพื่อ เผชิญกับผลกระทบจากมาตรการด้านต่างๆ รวมถึงการ แข่งขันที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นโยบายอาเซียนตลาดเดียว บทสรุ ป จากการพิ จ ารณาสถานการณ์ ร อบโลก โดยเฉพาะวิกฤติด้านการเงินในประเทศสหรัฐอเมริกา และวิกฤติด้านหนี้สาธารณะในยุโรป ประกอบกับการ เปิดเสรีการค้าอาเซียนในปี 2558 ส่งผลให้ตอ่ ไปนีจ้ ะเป็น ยุคสมัยที่อาเซียนต้องมีบทบาททางเศรษฐกิจที่เด่นชัด ในระดับโลกมากขึ้น สาเหตุเพราะอาเซียน 10 ประเทศ มีประชากรรวมประมาณ 600 ล้านคน หรือประมาณ 9% ของประชากรโลก แต่มี GDP รวมกันประมาณ 2.5% ของ GDP รวมของโลก หรือเท่ากับ GDP ของ

1


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

เกาหลี ใ ต้ เ พี ย งประเทศเดียว นับ ว่าเล็ก มากส�ำหรับ ประชากร 600 ล้านคน ฉะนัน้ เมือ่ GDP เล็กมากโอกาส เติบโตจึงมีสงู ถ้ามีนโยบายทางเศรษฐกิจทีถ่ กู ต้อง ดังเช่น การก�ำเนิดของ ASEAN Economic Community: AEC หรื อ สามารถเรี ย กง่ า ยๆ ได้ ว ่ า อาเซี ย นตลาดเดี ย ว (ASEAN Single Market) นั่นเอง กลุ่มประเทศในสหภาพยุโรป (European Union: EU) ด�ำเนินการสร้าง EU Single Currency หรือ เงินสกุลยูโร (Euro Zone) แล้ว แต่ AEC เป็นเพียง ตลาดเดียวของตลาดการค้าระหว่างประเทศ การลงทุน และภาคบริการระหว่างกันภายในประชาคมอาเซียน ในทางกลับกันอาเซียนไม่ได้มีเฉพาะจุดแข็งอย่างเดียว แต่ประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) มีขนาดเล็ก และมี ความหลากหลายด้านความแตกต่างของชาติพนั ธุ์ ศาสนา สังคม วัฒนธรรม ภาษา และระดับชั้นของเศรษฐกิจ จึงท�ำให้เกิดเป็นจุดด้อย ซึ่งสามารถพิจารณาจากข้อมูล พื้นฐาน ได้แก่ - เวียดนามมีประชากร 90 ล้านคน ส่วนของไทย มีประชากร 65 ล้านคน มากกว่าไทยกว่า 10% แต่ GDP ของเวียดนามเป็น 1 ใน 3 ของไทย คือประมาณ 1 แสน ล้านเหรียญ ขณะทีข่ องไทยมากกว่า 3 แสนล้านเหรียญ - พม่ามีประชากรน้อยกว่าไทยไม่มากจ�ำนวนรวม ประมาณ 60 ล้านคน แต่ GDP ของพม่าเป็น 1 ใน 11 ของไทย คือประมาณ 30,000 ล้านเหรียญเท่านั้น จะเห็นได้ว่า ไทยใหญ่กว่าพม่า 11 เท่าตัว - กัมพูชามี GDP ประมาณ 11,000 ล้านเหรียญ ฉะนั้นไทยใหญ่กว่ากัมพูชา 33 เท่าตัว - ลาวมี GDP ประมาณ 6,000 ล้ า นเหรี ย ญ ในขณะนี้ไทยใหญ่กว่าลาวประมาณ 50-60 เท่าตัว อาเซียนเป็นแกนของความเชื่อมโยงในภูมิภาค จุดแข็งของอาเซียนมีความคล้ายคลึงกับการโฆษณา ยาสระผมบางยีห่ อ้ ทีว่ า่ “จิว๋ แต่แจ๋ว” ซึง่ อาเซียนมีหลายสิง่ ทีเ่ ข้าข่ายจิว๋ แต่แจ๋ว เช่น อาเซียนเป็นหนึง่ เดียวในเอเชีย

2

ที่มีความเป็นภูมิภาคนิยม หมายถึง การรวมตัวเป็น ภูมิภาคนิยมแล้วกว่า 40 ปี เพราะอาเซียนเกิดขึ้นตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 1967 ขณะเดียวกันไม่มภี มู ภิ าคนิยม อื่นใดในเอเชียที่เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ เช่น อินเดีย และปากี ส ถานไม่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ต ่ อ กั น และเป็ น เพือ่ นกันยาก ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือทีม่ ี ศักยภาพทางเศรษฐกิจมากทีส่ ดุ คือ ญีป่ นุ่ จีน เกาหลีใต้ ประเทศเหล่านี้ก็ไม่มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน จึงเป็น การยากที่ประเทศเหล่านี้จะเกิด FTA ขึ้นมาได้ ฉะนั้น เมือ่ พิจารณาอย่างนีแ้ ล้วถึงแม้อาเซียนจะเล็กแต่กเ็ รียกว่า “เล็กพริกขี้หนู” เพราะเป็นแกนของความเชื่อมโยงให้ ประเทศต่างๆ เข้าหาอาเซียน รวมถึงมีปัจจัยที่เรียกว่า Push Factors และ Pull Factors ที่ผลักให้ประเทศ เหล่านัน้ ออกมา และปัจจัยของอาเซียนทีด่ งึ ดูดให้ประเทศ เหล่านั้นเข้ามาด้วย การลงทุนของญี่ปุ่นในอาเซียนตลาดเดียว กรณีประเทศญีป่ นุ่ ทีจ่ ะมีแนวโน้มออกมาในประชาคม อาเซียนก่อน เพราะญีป่ นุ่ สร้างเครือข่ายไว้แล้วหลาย 10 ปี ซึง่ สาเหตุทญ ี่ ปี่ นุ่ ต้องออกมา ก็เพราะ ประการแรก ญีป่ นุ่ ไม่สามารถแก้เกมปัญหาพลังงานนิวเคลียร์ได้ส�ำเร็จ โดยง่ายอย่างแน่นอน โดยเฉพาะอย่างยิง่ หลังเหตุการณ์ ฟูกุซิมะ ประการที่สอง เหตุการณ์ Post Tsunami ท�ำให้คนญี่ปุ่นจ�ำนวนมากรู้สึกว่าการอยู่ในประเทศของ ตัวเองต่อไปจะมีความปลอดภัยมีนอ้ ยลง ประการทีส่ าม เงินเยนแข็งค่าขึ้น จึงมีอ�ำนาจซื้อของเงินมาก ฉะนั้น ต้องหาประโยชน์จากการแข็งค่าของเงินเยน ซึ่งก็คือ การไปลงทุนที่ประเทศอื่นเพราะลงทุนที่ประเทศไหนก็ จะได้ประโยชน์มากโดยเฉพาะอย่างยิ่งลงทุนในอาเซียน ประการทีส่ ี่ ขณะนีญ ้ ปี่ นุ่ ทัง้ ประเทศเต็มไปด้วยคนสูงวัย ที่ใส่เสื้อสายเดี่ยว ที่เป็นประเภทสายเดี่ยวเซียงเพียวอิ๊ว หรือสายเดีย่ วเคีย้ วหมาก เพราะคนญีป่ นุ่ ประมาณ 30% ของประเทศมีอายุกว่า 60 ปี ท�ำให้เกิดการขาดแคลน แรงงาน ญี่ปุ่นจึงต้องหาแหล่งแรงงานและแหล่งลงทุน ใหม่ด้วย ดังนั้น ต่อไปนี้จะมีการปรับเปลี่ยนของห่วงโซ่


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

อุปทาน (Supply Chain) ของญีป่ นุ่ กับเอเชียค่อนข้างมาก นั่นคือจะปรับเปลี่ยน Regional Supply Chain ใหม่ ค่อนข้างชัดเจน แต่เดิมจะมีการควบคุมบางส่วนอยูท่ ญ ี่ ปี่ นุ่ ดังเช่นกรณีก่อนเหตุการณ์ซึนามิ ญี่ปุ่นรักษาการผลิต บางประเภทในประเทศ ได้แก่ การผลิตชิน้ ส่วนราคาสูงๆ เทคโนโลยีสูงๆ ตัวอย่าง เช่น การผลิตรถไฮบริด และ สินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์คอมพิวเตอร์ ทัง้ นี้ หลังจาก เหตุการณ์ซนึ ามิแล้วจะเห็นว่าการท�ำ Regional ASEAN Supply Chain แบบเดิมไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ คงมีการย้ายฐานการผลิตที่มีประสิทธิภาพที่ดีกว่า เช่น จีนและประชาคมอาเซียน เพราะอาเซียนมีเครือข่ายกับ ญี่ปุ่นค่อนข้างดี และอาเซียนไม่ค่อยมีอคติกับคนญี่ปุ่น หากพิจารณาจากเหตุการณ์ซึนามิแล้ว ญี่ปุ่นคงจะมา เพิ่มมากขึ้นแน่นอน พลังทางการเงินและเครือข่ายของจีนในอาเซียน ขณะเดี ย วกั น จี น จะเข้ า มาในประชาคมอาเซี ยน เพิ่มมากขึ้นด้วย เนื่องจากมีเงินทุนในประเทศจ�ำนวน มากมายมหาศาลและมีโอกาสการลงทุนมาก ขณะนี้จีน อาจไม่กล้าขยายการลงทุนในอเมริกาและยุโรป เพราะ สถานการณ์เศรษฐกิจก�ำลังวิกฤติ ดังนั้น จีนจะลงทุน ในประชาคมอาเซียนเพิ่มขึ้นแน่นอน และสิ่งส�ำคัญอีก ประการหนึง่ ก็คอื ทัว่ โลกไม่มภี มู ภิ าคไหนทีม่ สี งิ่ ทีเ่ รียกว่า หัวเฉียว Network หรือเครือข่ายของจีนโพ้นทะเล มากกว่าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South East Asia) หรือกลุม่ อาเซียนนัน่ เอง เพราะทุกประเทศมีคนเชือ้ สายจีน อยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก คนเชือ้ สายจีนเหล่านีม้ บี ทบาท และ พลังทางเศรษฐกิจ รวมถึงในหลายประเทศจะมีพลัง ทางการเมืองด้วย ฉะนั้นจีน ญี่ปุ่น เกาหลี และไต้หวัน จะมาแข่งขันลงทุนในอาเซียนเพิ่มมากขึ้น พลังของการ สร้างเครือข่าย (Networking Power) จะเป็นพลังตัวหนึง่ ของอาเซียนที่มีพลังมาก ท�ำให้อาเซียนเป็นแกนน�ำไปสู่ การเข้ามา ไม่เฉพาะประเทศทีย่ กตัวอย่างข้างต้นเท่านัน้ ชาวตะวันตกประเทศอืน่ ก็จะมาเพิม่ มากขึน้ จึงไม่แปลกใจ ว่าท�ำไมอาเซียนมีขนาดเล็ก และมี GDP เพียง 2.5 %

ของ GDP โลก แต่กลับมีแรงดึงดูดมาก เป็นทัง้ อาเซียน+1 อาเซียน+3 อาเซียน+6 และขณะนี้ก�ำลังต่อยอดถึง อาเซียน+8 นั่นคือรัสเซียกับสหรัฐอเมริกาก็จะให้ความ สนใจอาเซียนมากขึน้ ด้วย ฉะนัน้ อาจกล่าวได้วา่ นีค่ อื พลัง ของอาเซียนหรือ AEC อย่างไรก็ตามหากท�ำการวิเคราะห์ เรื่องอาเซียน จะวิเคราะห์เฉพาะเรื่อง AEC อย่างเดียว คงไม่ได้ ต้องวิเคราะห์ให้เห็นพลวัต ความเปลี่ยนแปลง ทั้งเอเชีย (Asian Regional Prospective) และต้องดู แนวโน้มของโลก (Global Prospective) ด้วยว่าขณะนี้ ประเทศตะวันตกอย่างยุโรป สหรัฐอเมริกา มีแนวโน้ม ด้านเศรษฐกิจทีต่ ดิ ลบเป็นอย่างไร ซึง่ มีความเป็นไปได้มาก ที่สถานการณ์จะวิกฤติมากกว่านี้อีกจนบางคนบอกว่า ยุคสมัยนี้เป็นยุคสมัยของการผงาดขึ้นมาของอาเซียน (ASEAN Rising) จึงเป็นโอกาสส�ำคัญที่ต้องหาทางใช้ ประโยชน์ให้มาก ตั ว แปรส� ำ คั ญ ด้ า นแรงงาน ฐานการผลิ ต และ พฤติกรรมการบริโภค ตัวแปรหลายๆ ตัวทีต่ อ้ งค�ำนึงถึงในภาคทีเ่ ล็กลงไป ประเด็นแรกก็คือ มีการแบ่งงานกันท�ำใหม่ (Division of labor) อย่างชัดเจน ประเด็นที่สอง มีการจัดสรร ทรัพยากรใหม่ (New Resource Allocation) ประเด็น ที่ ส าม เกิ ด การย้ า ยฐานการผลิ ต ใหม่ (Economic Relocation) หรือการย้ายฐานธุรกิจใหม่ (Business Relocation) ภายในกลุ่มประเทศอาเซียน ประเด็นที่สี่ มีการเปลี่ยนแปลงของฐานทางการตลาดใหม่ (New Market Base) ภายในอาเซียน ฉะนั้นแล้วเมื่อดูฐาน ทางการตลาดใหม่ จะดูเฉพาะองค์ประกอบของอุปทาน (Supply Factors) อย่ า งเดี ย วคงไม่ พ อ ต้ อ งดู ที่ องค์ประกอบของอุปสงค์ (Demand Factors) ด้วย เป็นต้นว่า ผู้บริโภคมีรสนิยมบริโภคอะไร เขาตัดสินใจ บริโภคอย่างไร ฉะนัน้ เมือ่ พิจารณาจากกรณีนแี้ ล้ว ค�ำว่า “Segmentation Management” จึงมีความส�ำคัญมาก ทั้งนี้ จะแบ่งกลุ่มใหม่ในอาเซียนอย่างไรจึงจะน�ำไปสู่ การพัฒนาตลาดใหม่ เพราะเมื่อกล่าวถึง AEC ก็มักจะ

3


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

กล่าวถึงองค์ประกอบของอุปทาน (Supply Factors) ด้วย เช่น พิจารณาเรื่องการผลิต ภาษี Rule of Origin, Standard เป็นต้น ขณะเดียวกันองค์ประกอบของ อุปสงค์ (Demand Factors) ก็มีความส�ำคัญมาก เช่น พฤติกรรมการบริโภค (Consumer Behavior) ของ อาเซี ย นเป็ น อย่ า งไรภายใต้ AEC และ Post AEC ซึง่ จ�ำเป็นต้องแยกแยะว่าพฤติกรรมการบริโภคของกลุม่ ประเทศสมาชิกเดิม (Core ASEAN Members) คือ อาเซียนเก่า 6 ประเทศที่มีระดับขั้นการพัฒนามากกว่า เป็นอย่างไร และต้องวิเคราะห์ถึงพฤติกรรมการบริโภค ของประเทศสมาชิกใหม่ (New ASEAN Members) ว่ามีพฤติกรรมการบริโภคเป็นอย่างไร สิ่งหนึ่งที่ต้องตั้ง ข้อสังเกต และพยายามหาทางใช้ประโยชน์ให้เพิม่ มากขึน้ ก็คือ ประเทศสมาชิกใหม่ (New ASEAN Members) หลายๆ ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว และพม่า ซึ่งอาจ ไม่รวมเวียดนามด้วย ดูทีวี ละคร โฆษณาไทย และ ประชากรของประเทศเพื่อนบ้านเหล่านี้มาท�ำงานใน เมืองไทยมีจำ� นวนไม่ตำ�่ กว่า 4-5 ล้านคน ฉะนัน้ แรงงาน เหล่านี้จะไม่ได้ใช้จ่ายในประเทศของเขา แต่จะเข้าออก ร้านเซเว่นอีเลฟเว่น บิก๊ ซี คาร์ฟรู ์ เทสโกโลตัสเป็นประจ�ำ จึงผูกพันและเคยชินกับพฤติกรรมการบริโภค (Consumer Behavior) หรือแบบอย่างการใช้ชวี ติ (Lifestyle) แบบนี้ ฉะนั้นแล้วเมื่อแรงงานเหล่านี้กลับไปประเทศของเขา หรื อ แม้ แ ต่ ก ารติ ด ต่ อ กั บ ญาติ พี่ น ้ อ งของเขาที่ อ ยู ่ ใ น ประเทศทีก่ �ำลังเปิดประเทศและขยายตัวมากขึน้ ดังนัน้ ประเทศไทยจะใช้ประโยชน์จากสิ่งนี้ได้อย่างไร เพราะ นักธุรกิจไทยจ�ำนวนมากเป็นบริษัทคู่ค้า (Suppliers) ที่ จัดส่งสินค้าให้ร้านสะดวกซื้อ (Convenience Store) ร้านดิสเคาน์สโตร์ (Discount Store) รวมทัง้ โชห่วยต่างๆ ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบจากการมีปฏิสัมพันธ์กับแรงงาน เหล่านั้นต่อเนื่องกันมา และจะขยายความได้เปรียบนี้ อย่างไรที่จะท�ำให้นักธุรกิจไทยได้รับประโยชน์ดังเช่น ประเทศอืน่ ทีเ่ ป็นอาเซียนเก่า เช่น อินโดนิเซีย มาเลเซีย ที่ไม่มีความได้เปรียบนี้ ประเทศไทยมีความได้เปรียบ ด้านนี้ค่อนข้างมากเพราะกลุ่มอาเซียนใหม่เป็นประเทศ

4

ทีเ่ รียกได้วา่ เป็นประเทศทีอ่ ยูใ่ นบาทโซน เป็นประเทศที่ ใช้เงินบาท และรับเงินบาท ซึง่ ร้านค้าในย่างกุง้ พนมเปญ เวียงจันทร์ก็ยินดีรับเงินบาทกันอย่างกว้างขวาง บทบาทของไทยและศูนย์กลางโลจิสติกส์ (Logistics Hub) ของอาเซียนใหม่ สิ่งส�ำคัญอีกประการหนึ่งที่เป็นส่วนเชื่อมโยงกับ ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ ก็คอื ประเทศไทยเป็น Inland Logistics Hub หรือเป็นศูนย์กลางของอาเซียนใหม่ดา้ น การเดินทางการขนส่งทางบก (Inland Transportation) เพราะว่าไทยเป็นประเทศเดียวในอาเซียนเก่าทีม่ ชี ายแดน ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านเหล่านี้ ซึ่งสามารถพัฒนา ระบบโลจิสติกส์หรือใช้ประโยชน์จากโลจิสติกส์ ดังเช่น ระบบการขนส่งได้เพิม่ มากขึน้ ฉะนัน้ ไทยจะขยายความ ได้ เ ปรี ย บในหลายๆตั ว แปรเหล่ า นี้ ใ ห้ เ พิ่ ม มากขึ้ น ได้ อย่างไร สิ่งเหล่านี้จะน�ำไปสู่การต่อยอด และเป็นสิ่งที่ นักธุรกิจไทยต้องศึกษาอย่างละเอียดให้เข้าใจอย่างแท้จริง เพื่อสร้างธุรกิจอย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ ประการแรก แนวโน้มพฤติกรรมของการบริโภคของประเทศเหล่านี้ ประการที่สอง แบบอย่างการใช้ชีวิต (Lifestyle) ของ ประเทศเหล่านี้ และประการส�ำคัญที่สาม พฤติกรรม การบริโภคของประเทศอื่นที่มีเครือข่ายกับไทยอยู่แล้ว จีน ญี่ปุ่น หรือชาวตะวันตกก็จะเข้าสู่ประเทศไทย และ ผูบ้ ริโภคในภูมภิ าคนีก้ จ็ ะเพิม่ มากขึน้ ดังนัน้ เมือ่ ผูบ้ ริโภค ดังกล่าวเข้ามาแล้ว จะมีพลังการบริโภคเกิดขึน้ ประเทศไทย จะได้รบั ประโยชน์ และหาประโยชน์จากพลังการบริโภค เหล่านี้อย่างไร การพัฒนาและการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในอาเซียน สิ่งส�ำคัญประการสุดท้ายที่ต้องให้ความสนใจมาก ที่สุด ก็คือทุกอย่างจะส�ำเร็จได้ขึ้นอยู่ที่ทรัพยากรมนุษย์ หรือ Human Resource ถ้าทรัพยากรมนุษย์เก่งจะมี โอกาสเก็บเกี่ยวช่วงชิงผลประโยชน์จากความได้เปรียบ ด้านการแข่งขันต่างๆ ที่จะเป็นผลตอบแทนได้ง่ายขึ้น ถ้าไม่เก่งจะแก้ไขปัญหาได้นอ้ ยลง บางครัง้ ท�ำให้ไม่สามารถ


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

เปิดรับประโยชน์ได้มากเท่าทีค่ วร ฉะนัน้ เมือ่ เข้าใจอย่างนี้ แล้วการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development) และการบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ (Human Resource Management) จึงเป็นเรื่องที่

ส�ำคัญอย่างมาก ดังนั้น การลงทุนให้บุคลากรทั้งภาค ธุรกิจ หรือการสร้างระบบการศึกษาขึ้นมาเพื่อพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับพลวัตการเปลีย่ นแปลง ที่จะเกิดขึ้น จึงนับว่าเป็นเรื่องที่ส�ำคัญที่สุด

Sompop Manarungsan received his Ph.D. in Development Economics in 1989 from Groningen University, The Netherlands, Master of Art in Economics, (English Language Program) in 1978 from Thammasat University, Thailand, Master of Art in Agricultural and Rural Development in 1982 from Institute of Social Studies. The Hague, The Netherlands and Bachelor of Art in Economics in 1975 from Thammasat University, Thailand. Sompop Manarungsan is currently the President of Panyapiwat Institute of Management, Thailand. His research interest covers International economics, development strategies, economics crisis management, China-Japan-USA economics.

5


ารศึกษาเพื่อการประยุกต์ใช้ทฤษฎีแถวคอย ในร้านค้าปลีกรูปแบบใหม่ The Study of Applying Queuing Theory in Modern Trade นิธิภัทร กมลสุข หัวหน้าสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ E-mail: nithipatkam@pim.ac.th

บทคัดย่อ

งานวิจัยฉบับนี้ได้ศึกษาระบบการช�ำระค่าสินค้าของร้านค้าปลีกสมัยใหม่ จ�ำนวน 4 สาขาในเขต กรุงเทพฯและปริมณฑล ช่วงเวลาทีม่ ผี รู้ บั บริการเข้ามาซือ้ สินค้าเป็นจ�ำนวนมากในแต่ละวัน โดยได้ จ�ำลองแบบตามจ�ำนวนหน่วยให้บริการต่างๆ เพื่อน�ำมาประเมินประสิทธิภาพของระบบจาก เวลา รอรับบริการเฉลี่ย จ�ำนวนผู้รอรับบริการเฉลี่ยในแถว และสัดส่วนเวลาว่างของหน่วยให้บริการ ซึ่งผลการจ�ำลองแบบ อย่างอิสระกัน 100 ครั้ง แสดงให้เห็นว่า สาขาที่หนึ่ง มีเวลารอคอยเฉลี่ย ของผู้รับบริการเฉพาะระบบที่ 1 ไม่ต่างจากระบบที่ 2 และ 3 อย่างมีนัยส�ำคัญ (P>0.01) สาขา ที่สอง พบว่า เวลารอรับบริการเฉลี่ยทุกระบบไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (P>0.01) แต่จ�ำนวนผู้รับบริการเฉลี่ยในแถวทุกระบบมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ (P<0.01) และจ�ำนวนสัดส่วนเวลาว่างเฉพาะระบบที่ 1 กับระบบที่ 2 เท่านัน้ ทีไ่ ม่แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติ สาขาที่สาม พบว่าเฉพาะเวลารอรับบริการเฉลี่ยของระบบที่ 1 กับระบบอื่นเท่านั้น ที่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (P<0.01) และเฉพาะสัดส่วนเวลาว่างของระบบที่ 2 และ 3 เท่านัน้ ทีม่ คี า่ ไม่ตา่ งกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (P>0.01) และทีส่ าขาทีส่ ี่ พบว่า ไม่มคี วาม แตกต่างกันระหว่างเวลารอรับบริการเฉลีย่ ในระบบที่ 1 และ 2 อย่างมีนยั ส�ำคัญ (P>0.01) ในขณะที่ จ�ำนวนผู้รอรับบริการเฉลี่ยในทุกระบบมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ (P<0.01) และพบว่า สัดส่วนเวลาว่างของระบบที่ 1 กับระบบที่ 2 ระบบที่ 2 กับระบบที่ 3 และระบบที่ 3 กับระบบที่ 4 มีคา่ แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญ (P>0.05) หรืออาจกล่าวได้วา่ การเพิม่ ขึน้ ของหน่วยให้บริการทุกๆ หนึ่งหน่วยจะไม่ท�ำให้สัดส่วนเวลาว่างมีค่าเปลี่ยนแปลง ค�ำส�ำคัญ: ทฤษฎีแถวคอย การจ�ำลองระบบ ร้านค้าปลีกรูปแบบใหม่

6


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Abstract

This research is to study the Modern Trade’s payment system for 4 branches in Bangkok metropolitan areas at the peak time. The Models were simulated in order to compare their efficiency of average waiting time, average customers in queue and ratio of idle servers. The result gathered from 100 independent simulation times showed that for the first branch, there was no significant difference between averages waiting times of system 1 and system 2 and system 3 (P > 0.01). At the second branch, there was no significant difference between average waiting times for all systems (P>0.01) but there was significant difference between average customers in queue (P<0.01). In addition, the ratio of idle servers was no significantly difference between system 1 and system 2. The third branch, there was significant difference between averages waiting times of system 1 and the others (P<0.01). And the only ratio idle servers were no significant difference between system 2 and system 3 (P >0.01). And the fourth branch was no significant difference between only averages waiting times of system 1 and system 2 (P>0.01). There was significant difference between averages customers in queue for all systems (P<0.01). And there was no significant difference between the ratio idle servers of system 1 and system 2, system 2 and system 3, system 3 and system 4 (P>0.05) or addition every one sever did not change the ratio idle servers. Keywords: Queuing Theory, Simulation, Modern Trade

บทน�ำ การเติ บ โตของธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก ในประเทศไทย โดยเฉพาะการขยายตัวของร้านค้าปลีกรูปแบบใหม่ (Modern Trade) ท�ำให้เกิดการสร้างงาน และน�ำรายได้ เข้าสู่ประเทศที่ถือว่าเป็นรายได้หลักที่ส�ำคัญ ภายใต้ สภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจในปัจจุบนั จากการประมาณ ตัวเลขของคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ประเมินตัวเลขการค้าปลีกทีผ่ า่ นร้านค้าปลีกรูปแบบใหม่ ตั้งแต่ปี 2545 ที่มีมูลค่า 288,000 ล้านบาท และเพิ่ม เป็น 633,000 ล้านบาท ในปี 2550 ขณะที่ในปี 2553 จะมีมูลค่าสูงถึง 1 ล้านล้านบาท จากผลประเมินมูลค่า ของธุรกิจค้าปลีกรูปแบบใหม่นี้ แสดงให้เห็นถึงการเติบโต อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้เกิดการแข่งขันของร้านค้าปลีก

รูปแบบใหม่ ที่เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย ซึ่งจะเห็นได้จาก ร้านค้าปลีกรูปแบบใหม่ เช่น ร้าน 7-Eleven Lotus Express หรือ Family Mart ทีข่ ยายสาขาเพือ่ ให้เข้าถึง ผู้บริโภคได้มากที่สุด ซึ่งผลการขยายตัวของร้านค้าปลีก รูปแบบใหม่ดังกล่าว ท�ำให้มีการน�ำกลยุทธ์มาใช้ในการ แข่งขัน เพื่อดึงดูดผู้บริโภคมากมายจนเกิดความภักดี (Brand Loyalty) ต่อร้านค้าปลีกนั้นๆ กลยุทธ์ที่ส�ำคัญ อย่างหนึ่งคือ การสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ หรื อ ผู ้ บ ริ โ ภค เช่ น การจั ด สิ น ค้ า ที่ ต รงใจผู ้ บ ริ โ ภค ความสะดวกสบายในการเลือกซื้อสินค้า ความสะดวก ในการเดินทาง หรือแม้กระทัง่ การให้บริการของพนักงาน ก็เป็นส่วนส�ำคัญไม่แพ้กัน เพราะถ้าพนักงานสามารถ บริการด้วยความสุภาพ ให้บริการด้วยความรวดเร็ว

7


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ก็จะสร้างความประทับใจให้กับผู้รับบริการ แต่ถ้าผู้รับ บริการต้องใช้เวลารอคอยเพื่อช�ำระค่าสินค้าหรือรอรับ บริการเป็นเวลานานก็อาจจะสร้างความเบือ่ หน่าย ท�ำให้ เปลีย่ นใจไปใช้บริการกับร้านค้าปลีกหรือร้านสะดวกซือ้ (Convenience Store) อื่น ที่ถือว่าเป็นความล้มเหลว ในการสร้างความภักดีต่อร้านค้าปลีกนั้นๆ ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับ บริการ หรือผู้รับบริการในร้านค้าปลีกสมัยใหม่นี้ ผู้วิจัย จึ ง ได้ น� ำ ทฤษฎี แ ถวคอย (Queuing Theory) มา ประยุกต์ใช้ เพื่อวิเคราะห์หาจ�ำนวนหน่วยให้บริการที่ เหมาะสม และเพียงพอกับอัตราการเข้ามารับบริการของ ผู้รับบริการ ท�ำให้ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจต่อการ ให้บริการ ทัง้ เป็นแนวทางในการจัดระบบการให้บริการ ที่ลดต้นทุนของร้านค้าปลีกนั้นๆ โดยการศึกษาครั้งนี้ ได้เลือกร้านค้าปลีกรูปแบบใหม่ในเขตกรุงเทพฯและ ปริมณฑลขนาดใหญ่ ทีม่ ผี รู้ บั บริการเข้ามาซือ้ สินค้าเป็น จ�ำนวนมากในช่วงเวลาต่างๆ ตามการสังเกตของผู้วิจัย และข้อมูลของแต่ละร้าน ภายใต้วตั ถุประสงค์ของการวิจยั ดังนี้ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาระบบแถวคอยของการให้บริการใน ร้านค้าปลีกสมัยใหม่ 2. เพื่อจ�ำลองระบบแถวคอยของการให้บริการใน ร้านค้าปลีกสมัยใหม่ 3. เพื่อหาจ�ำนวนช่องทางการช�ำระค่าสินค้าและ บริการที่เหมาะสมที่สุด ขอบเขตของการวิจัย 1. เป็นการศึกษาเฉพาะในช่วงเวลาที่ผู้รับบริการ เข้ามาซือ้ สินค้าเป็นจ�ำนวนมากในแต่ละวัน ทีไ่ ด้จากการ สังเกตของผูว้ จิ ยั และจากข้อมูลของแต่ละร้าน เป็นเวลา 10 วัน ที่สุ่มมาจากเดือนพฤศจิกายน 2553 โดย

8

ร้านที่ 1 ตั้งแต่เวลา 18.00 น. ถึง 20.00 น. ร้านที่ 2 ตั้งแต่เวลา 18.00 น. ถึง 20.00 น. ร้านที่ 3 ตั้งแต่เวลา 7.30 น. ถึง 9.30 น. ร้านที่ 4 ตั้งแต่เวลา 22.00 น. ถึง 24.00 น. 2. เป็นการศึกษาเฉพาะระบบการให้บริการช�ำระ ค่าสินค้าทีห่ น้าจุดช�ำระค่าสินค้าและบริการเท่านัน้ ไม่รวม ระบบที่ผู้รับบริการอยู่ระหว่างรอการประกอบหรือปรุง อาหาร เช่น รออุ่นอาหารส�ำเร็จรูปแช่แข็ง เป็นต้น 3. เป็นการศึกษาระบบการให้บริการ 4 ระบบ ได้แก่ ระบบที่ 1 คือ มีหน่วยให้บริการ 1 หน่วย ระบบที่ 2 คือ มีหน่วยให้บริการ 2 หน่วย ระบบที่ 3 คือ มีหน่วยให้บริการ 3 หน่วย ระบบที่ 4 คือ มีหน่วยให้บริการ 4 หน่วย 4. สมมติให้ประสิทธิภาพการท�ำงานของพนักงาน ที่จุดช�ำระค่าสินค้าแต่ละจุดมีค่าเท่ากัน 5. ระบบการให้บริการเป็นแบบ FCFS (First Come First Service) หรือผู้มารับบริการที่มาถึงก่อนจะได้รับ บริการก่อน 6. ระบบจะสิ้นสุดเมื่อผู้มารับบริการได้รับบริการ หรือช�ำระค่าสินค้าแล้วเสร็จ โดยจะไม่พิจารณาในกรณี ทีผ่ รู้ บั บริการออกจากแถวคอยไปก่อนทีจ่ ะช�ำระค่าสินค้า หรือรับบริการ 7. ตัวแบบแถวคอยที่ศึกษาเป็นตัวแบบแถวคอย ปัวส์ซอง (Poisson Queue) ที่มีหนึ่งแถว มีหน่วยให้ บริการหน่วยเดียว (Single Queue, Single Server) ตามรูปที่ 1 และระบบแถวคอยทีม่ หี นึง่ แถว มีผใู้ ห้บริการ หลายคนในแบบคู่ขนาน (Single Queue, Multiple Servers in Parallel) คือระบบแถวคอยที่มีผู้ให้บริการ มากกว่า 1 หน่วย ผู้รับบริการสามารถเปลี่ยนแถวได้ ทุกเวลาหากพบว่าแถวใดว่าง ตามรูปที่ 2


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

รูปที่ 1: แสดงระบบแถวคอยแบบมีหนึ่งแถว มีหน่วยให้บริการหน่วยเดียว

รูปที่ 2: แสดงระบบแถวคอยแบบมีหนึ่งแถว มีหน่วยให้บริการหลายหน่วยแบบขนาน

ทบทวนวรรณกรรม ตัวแบบแถวคอยปัวส์ซอง เป็นตัวแบบแถวคอยที่มีข้อสมมติว่า ช่วงเวลาห่าง ระหว่างผูเ้ ข้ามาและเวลาบริการ ต่างมีการแจกแจงแบบ เอ็กซ์โพเนนเชียล หรือสมมติวา่ อัตราการเข้ามา (จ�ำนวน ผูร้ บั บริการเข้ามาต่อหนึง่ หน่วยเวลา) และอัตราการบริการ (จ�ำนวนผู้รับบริการได้รับบริการแล้วเสร็จต่อหนึ่งหน่วย เวลา) ต่างมีการแจกแจงแบบปัวส์ซอง (มานพ วราภักดิ,์ 2552) ซึ่งสามารถแสดงได้ดังนี้ การแจกแจงของอัตราการเข้ามาหรือการเข้าสูร่ ะบบ (Distribution of Arrivals) เมือ่ สมมติทเี่ วลา t = 0 ไม่มี ผูร้ บั บริการในระบบ ให้ l เป็นอัตราการเข้ามาโดยเฉลีย่ ของผู้รับบริการต่อ 1 หน่วยเวลาและให้ X(t) เป็น จ�ำนวนผูร้ บั บริการในระบบช่วงเวลา t ใดๆ จะได้ฟงั ก์ชนั ความน่าจะเป็นทีม่ ผี รู้ บั บริการ n คนในระบบช่วงเวลา t เมื่อ t > 0 คือ - mt (lt) e P(X(t) = n) = Pn(t) = n! เมื่อ n = 1,2,3, ... (Taha H.A, 2007)

นั่นคือ X(t) เป็นตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงแบบ ปัวส์ซอง ที่มีค่าเฉลี่ย lt และความแปรปรวนเป็น lt การแจกแจงช่ ว งเวลาระหว่ า งการเข้ า สู ่ ร ะบบ (Distribution of Inter Arrival Times) เมื่อสมมติให้ t เป็นช่วงเวลาระหว่างการมาสู่ระบบ ของผู้รับบริการ อย่างต่อเนื่อง t มีการแจกแจงแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล ที่มีค่าเฉลี่ย 1/l และความแปรปรวน 1/l2 ดังนั้น ฟังก์ชนั การแจกแจงความน่าจะเป็นของช่วงเวลาระหว่าง การเข้ามาสู่ระบบ คือ f(t) = le-lt ; t > 0 , l > 0 การแจกแจงจ�ำนวนผู้รับบริการที่ออกจากระบบ (Distribution of Departures) สมมติมีผู้รับบริการ ในระบบทั้งหมด N หน่วย ที่เวลา t = 0 และไม่มีผู้รับ บริการเข้ามาอีก ให้ m เป็นอัตราการออกจากระบบของ ผู้รับบริการ ที่ได้รับบริการแล้วเสร็จต่อ 1 หน่วยเวลา และ X(t) เป็นจ�ำนวนผู้รับบริการในระบบช่วงเวลาใดๆ จะได้ฟงั ก์ชนั ความน่าจะเป็นทีม่ ผี รู้ บั บริการ n คนอยูใ่ น ระบบช่วงเวลา t , t > 0 คือ

9


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

- nt

(nt) e P(X(t) = n) = Pn(t) = (N - n) ! เมื่อ n = 1,2,3, ... , N เนื่องจาก / Nn = 0 Pn (t) = 1 เมื่อ n = 0

จะได้ P0(t) = 1 - / Nn = 1 Pn (t) นัน่ คือ X(t) เป็นตัวแปร สุ่มที่มีการแจกแจงแบบปัวส์ซองที่มีค่าเฉลี่ย mt และ ความแปรปรวนเป็น mt (สายสุรางค์ โชติพานิช, 2547) การแจกแจงเวลาที่ใช้ในการให้บริการ (Distribution of Service Time) ถ้าให้ t เป็นเวลาที่ใช้ในการ ให้บริการ t มีการแจกแจงแบบเอ็กซ์โพเนนเชียลที่มี ค่าเฉลีย่ 1/m และความแปรปรวน 1/ m2 ดังนัน้ ฟังก์ชนั การแจกแจงความน่าจะเป็นของเวลาที่ให้บริการ คือ g(t) = me-mt ; t > 0 , m > 0 เทคนิคการจ�ำลองแบบ เทคนิคการจ�ำลองแบบ เป็นเครื่องมือในการศึกษา ออกแบบ และท�ำนายพฤติกรรมของระบบงาน ตั้งแต่ ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ด้วยการทดลองซ�้ำๆ กับตัว แบบจ�ำลอง (Simulated Model) หรือระบบจ�ำลอง ในการหาค�ำตอบหรือผลลัพธ์ที่ต้องการ Shannon (1975) ได้ให้ค�ำจ�ำกัดความที่ได้รับการ ยอมรับว่า “การจ�ำลองแบบปัญหา คือกระบวนการ ออกแบบจ�ำลองของระบบจริง (Real Systems) และ จึงด�ำเนินการทดลองใช้แบบจ�ำลองนัน้ เพือ่ การเรียนรูข้ อง ระบบงาน หรือเพือ่ ประเมินการใช้กลยุทธ์ (Strategies) ต่างๆ ในการด�ำเนินงานของระบบภายใต้ข้อก�ำหนดที่ วางไว้ จากค�ำจ�ำกัดความดังกล่าวจะเห็นได้วา่ กระบวนการ จ�ำลองแบบปัญหา แบ่งเป็นสองส่วน คือ การสร้าง แบบจ�ำลอง และการน�ำแบบจ�ำลองมาใช้งานเชิงวิเคราะห์ โดยแบบจ�ำลองที่ใช้จ�ำลองปัญหานี้ อาจจ�ำลองเป็น ระบบหรื อ แนวความคิ ด ในลั ก ษณะหนึ่ ง ลั ก ษณะใด โดยไม่จำ� เป็นต้องเหมือน (Identical) กับระบบงานจริง แต่ตอ้ งสามารถช่วยให้เข้าใจระบบงานจริง เพือ่ ประโยชน์ ในการอธิบายพฤติกรรมและเพือ่ ปรับปรุงการด�ำเนินงาน ของระบบงานจริง (ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ, 2542)

10

กระบวนการจ�ำลองแบบ การจ�ำลองแบบประเภทหนึง่ คือ การใช้แบบจ�ำลอง ทางคอมพิวเตอร์ (Computer Simulation) ซึ่งมี ขั้นตอนดังนี้ 1. ตัง้ ปัญหาและการใช้คำ� จ�ำกัดความของระบบงาน (Problem Formulation and System Definition) เป็ น การก� ำ หนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการศึ ก ษาระบบ การก�ำหนดขอบเขตข้อจ�ำกัดต่างๆ และวิธีวัดผลของ ระบบงาน 2. สร้างแบบจ�ำลอง (Model Formulation) จาก ลักษณะของระบบงานทีต่ อ้ งการศึกษา ทีส่ ามารถอธิบาย พฤติกรรมของระบบงาน ให้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ ต้องการศึกษา 3. จัดเตรียมข้อมูล (Data Preparation) ที่จ�ำเป็น ส�ำหรับแบบจ�ำลองและจัดเตรียมให้อยู่ในรูปแบบที่ สามารถน�ำไปใช้งานกับแบบจ�ำลองได้ 4. การแปลงรูปแบบจ�ำลอง (Model Translation) เป็ น ขั้ น ตอนการแปลงแบบจ� ำ ลองให้ อ ยู ่ ใ นรู ป ของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5. ทดสอบความถูกต้อง (Validation) ขั้นตอนนี้ เป็นการวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมและผู้ใช้ แบบจ�ำลองมัน่ ใจว่า แบบจ�ำลองทีไ่ ด้นนั้ สามารถใช้แทน ระบบงานจริงตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาได้ 6. การออกแบบการทดลอง (Experimental Designed) เป็ น การออกแบบการทดลองที่ ท� ำ ให้ แบบจ�ำลอง สามารถให้ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์หา ผลลัพธ์ได้ตามต้องการ 7. การวางแผนการใช้งานแบบจ�ำลอง (Tactical Planning) เป็นการวางแผนว่าจะใช้งานแบบจ�ำลอง ในการทดลองอย่างไร จึงจะได้ขอ้ มูลส�ำหรับการวิเคราะห์ เพียงพอ (ด้วยระดับความเชื่อมั่นในการวิเคราะห์ที่ เหมาะสม) 8. การด�ำเนินการทดลอง (Experimentation) เป็นการค�ำนวณหาข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการและความไว ของการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจากแบบจ�ำลอง


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

9. การตีความผลการทดลอง (Interpretation) จากผลการทดลองว่า ระบบงานจริงมีปัญหาอย่างไร และแก้ปัญหาจะได้ผลอย่างไร 10. การน�ำไปใช้งาน (Implementation) ซึง่ สามารถ น�ำผลการจ�ำลองที่ดีที่สุดไปใช้กับระบบงานจริง 11. การจัดท�ำเป็นเอกสารการใช้งาน (Documentation) เป็นการบันทึกกิจกรรมการจัดท�ำแบบจ�ำลอง โครงสร้างแบบจ�ำลอง วิธกี ารใช้งานและผลทีไ่ ด้จากการ ใช้งาน เพือ่ ประโยชน์สำ� หรับผูท้ จี่ ะน�ำแบบจ�ำลองไปใช้งาน และประโยชน์ ใ นการปรั บ ปรุ ง ดั ด แปลงแบบจ� ำ ลอง เมื่อระบบเกิดการเปลี่ยนแปลง การสร้างเลขสุ่ม เลขสุม่ มีความจ�ำเป็นอย่างมากต่อการจ�ำลองปัญหา เกือบทั้งหมดของระบบในการจ�ำลองแบบจะต้องมีการ ก�ำหนดเหตุการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในระบบให้ใกล้เคียงกับ ความเป็นจริงมากทีส่ ดุ เหตุการณ์เหล่านี้ ถูกสร้างขึน้ มา โดยอาศัยค่าของตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงแบบต่างๆ ซึ่ ง ต้ อ งอาศั ย เลขสุ ่ ม ที่ มี ก ารแจกแจงแบบสม�่ ำ เสมอ โดยเลขสุ่มที่ดีจะมีสมบัติดังนี้ 1. มีการกระจายของความน่าจะเป็นแบบสม�ำ่ เสมอ 2. ตัวเลขที่ได้ต้องเป็นอิสระกัน 3. สามารถสร้างเลขสุ่มแบบซ�้ำเดิมได้ 4. ขนาดความยาวของอนุ ก รมตั ว เลขต้ อ งยาว เพียงพอส�ำหรับการใช้งาน 5. ต้องใช้เวลาสั้นๆ ในการสร้างเลขสุ่ม 6. ต้องใช้หน่วยความจ�ำคอมพิวเตอร์น้อย วิธที นี่ ยิ มใช้ในการสร้างเลขสุม่ คือ วิธเี ศษเหลือของ ผลคูณ (Multiplicative Congruential Method) ซึ่งใช้สูตร Zi+1 =aZi(mod m) ; i = 1,2,3, ... โดยที่ a และ m เป็นเลขที่ไม่เป็นลบ ค�ำนวณเลข คล้ายสุ่ม ui+1 มีค่าในช่วง (0,1) จาก Z ui+1 = mi + 1 ; i = 0,1,2, ...

น�ำเลขคล้ายสุม่ มาสร้างตัวแปรสุม่ ด้วยวิธกี ารแปลง ผกผัน (Inverse Transform Technique) วิธกี ารแปลง ผกผั น สามารถใช้ ไ ด้ กั บ ตั ว อย่ า งที่ มี ก ารแจกแจงได้ หลากหลาย ให้ x เป็นตัวแปรสุ่มที่มีฟังก์ชันการแจกแจงสะสม Fx(X) สามารถหาฟังก์ชันผกผัน F x-1 (u) ส�ำหรับ u ในช่วง (0,1) วิธี Inverse Transform จะสร้างค่า ตัวแปรสุม่ x ทีม่ กี ารแจกแจง Fx( . ) ได้เป็น x = F x-1 (u) (Matthew N.O. Sadiku, 2007) การทดสอบเลขสุ่ม การทดสอบ Run test เป็นการทดสอบความเป็น เลขสุ่ม ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1. ตั้งสมมติฐาน ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น H0 : เลขสุ่มที่สร้างขึ้นมีความเป็นอิสระกันและ เป็นเลขสุ่ม H1 : เลขสุม่ ทีส่ ร้างขึน้ ไม่เป็นอิสระกันและไม่เป็น เลขสุ่ม 2. ก�ำหนดค่าระดับนัยส�ำคัญส�ำหรับการทดสอบ 3. ก�ำหนดเครื่องหมาย + หรือ – ของตัวเลขใดๆ พิจารณาจากค่าของตัวเลขตัวถัดไปถ้าตัวเลขตัวถัดไป มีค่ามากกว่าตัวเลขนั้น ตัวเลขนั้นจะมีค่าเป็น + แต่ถ้า ตัวเลขถัดไปมีค่าน้อยกว่าตัวเลขนั้นจะมีค่าเป็น – ให้ n = จ�ำนวนข้อมูลทั้งหมด r = จ�ำนวน run โดยลักษณะการแจกแจงความน่าจะเป็นของ r เป็นแบบปกติ และใช้ z เป็นสถิติส�ำหรับทดสอบ โดยที่ r - E (r) var (r) 1 2n - 1 E(r) = 3 และ Var(r) = 90 (16n - 29) z=

ถ้า |Z| > Z จะปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยส�ำคัญ a แสดงว่า ตัวเลขสุ่มที่สร้างขึ้นไม่เป็นอิสระหรือไม่เป็น เลขสุ่ม a

2

11


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

การทดสอบรูปแบบการแจกแจงของข้อมูล การพิจารณาการแจกแจงของข้อมูล ในเบื้องต้น อาจพิจารณาจากกราฟ ซึ่งจะช่วยให้สามารถคาดคะเน ลักษณะการแจกแจงของข้อมูลได้ แล้วจึงน�ำมาทดสอบ ความเหมาะสมของลักษณะการแจกแจงที่สนใจด้วยวิธี ทางสถิติ ตามสมมติฐาน H0 : ข้อมูลมีการแจกแจงตามที่ก�ำหนด H1 : ข้อมูลมีการแจกแจงไม่เป็นไปตามที่ก�ำหนด การทดสอบการแจกแจงของข้อมูลสามารถท�ำได้ ภายใต้การทดสอบดังนี้ การทดสอบไคสแควร์ การทดสอบการแจกแจงของข้อมูลแบบไคสแควร์นนั้ สามารถใช้ทดสอบได้ทั้งการแจกแจงแบบต่อเนื่องและ ไม่ต่อเนื่อง โดยมีข้อสมมติว่าแต่ละค่าเป็นอิสระกัน การทดสอบท�ำได้โดย แบ่งข้อมูลเป็น k ช่วงซึง่ มีตวั สถิติ ที่ใช้ทดสอบ คือ χ2

(O - nP) = / i nPi i i 1 k

2

=

เมื่อ Oi = จ�ำนวนข้อมูลที่ตกในช่วงที่ i n = จ�ำนวนข้อมูลทั้งหมด Pi = 1k การทดสอบ โคโมโกรอฟ สเมอร์นอฟ หลักเกณฑ์ของการทดสอบโคโมโกรอฟ สเมอร์นอฟ (Kolmogorov – Smirnov Test) ในการทดสอบการ แจกแจงของประชากร คือ การเปรียบเทียบความน่าจะเป็น สะสมของตัวอย่าง (S(x)) กับ ความน่าจะเป็นสะสม ภายใต้สมมติฐานว่าง (F(x)) ถ้ า สมมติ ฐ านว่ า งจริ ง S(x) และ F(x) จะมี ค ่ า ใกล้เคียงกันทุกค่าของ x แต่ถา้ สมมติฐานว่างไม่จริง คือ ประชากรไม่ได้มีการแจกแจงตามที่คาดไว้ค่า S(x) และ F(x) จะแตกต่างกันมาก ส�ำหรับบางค่าของ x x โดยที่ F(x) = #- 3 f (x) dx สถิ ติ ท ดสอบ D = max | F(x)-S(x) | (กั ล ยา วานิชย์บัญชา, 2550)

12

วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. วิเคราะห์ระบบจากลักษณะการแจกแจงของ การเข้าสู่ระบบของผู้รับบริการ จากจ�ำนวนผู้รับบริการ ทีเ่ ข้ามารับบริการทุก 5 นาทีอย่างต่อเนือ่ ง และวิเคราะห์ การแจกแจงของอัตราการให้บริการจากจ�ำนวนผู้รับ บริการที่มารับบริการ ณ จุดช�ำระค่าสินค้า 2. สร้างแบบจ�ำลองการท�ำงานของระบบ ทีม่ จี ำ� นวน หน่วยให้บริการตั้งแต่ 1 หน่วย จนถึงหน่วยให้บริการ สูงสุดที่ศึกษา คือ 4 หน่วย ด้วยโปรแกรมภาษา Visual Basic ภายใต้ข้อสมมติ ดังนี้ 2.1 การให้บริการหรือการปฏิบัติงานในหน่วย ให้บริการถือว่าไม่มขี อ้ ผิดพลาด จึงเป็นการท�ำงานทีไ่ ม่มี การย้อนกลับไปท�ำงานใหม่และผู้ที่เข้ามาในระบบต้อง เข้ารับบริการทุกคน 2.2 อัตราการเข้ามาของผู้รับบริการและเวลา ระหว่างการเข้ามามีการแจกแจงตามระบบงานจริง 2.3 เวลาเริ่ ม ต้ น ของระบบเป็ น วิ น าที ที่ ศู น ย์ โดยก�ำหนดให้เริ่มต้นไม่มีผู้รับบริการอยู่ในระบบ 3. จ�ำลองแบบที่สร้างขึ้นอย่างอิสระกัน 100 ครั้ง ในแต่ละครั้งค�ำนวณค่าสถิติที่ใช้ประเมินประสิทธิภาพ ของระบบได้แก่ เวลารอรับบริการเฉลี่ย จ�ำนวนผู้รับ บริการเฉลี่ย และสัดส่วนเวลาว่างโดยเฉลี่ย ถ้าให้ค่าที่ ใช้ วั ด ประสิ ท ธิ ภ าพของระบบนี้ แ ทนด้ ว ย m ดั ง นั้ น เมือ่ จ�ำลองระบบอย่างอิสระกัน n ครัง้ (ในทีน่ ี้ n = 100) โดยใช้ขนาดตัวอย่าง 100 รายการ จะได้ xi เป็นข้อมูล หรือผลจากการจ�ำลองระบบ ซึ่งสามารถตรวจสอบการ แจกแจงแบบปกติด้วยวิธี Normal Probability Plot หรือวิธโี คโมโกรอฟ สเมอร์นอฟ ถ้าข้อมูลมีการแจกแจง แบบปกติหรือใกล้เคียงแบบปกติ จะหาช่วงความเชือ่ มัน่ (1-a)100% ของค่า m ได้จาก x ! Z 2a sn เมือ่ x แทน /n x ค่าเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ i n= 1 i และ S เป็นค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ที่ประมาณจากค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของ / ni = 1 (xi - x) 2 a Z ประชากรมีค่าเท่ากับ ส่ ว น 1 2 n a ค่าปกติมาตรฐาน ที่มีพื้นที่หางด้านขวาเป็น 2 ในกรณี ที่ข้อมูลไม่มีการแจกแจงแบบปกติ จะแปลงข้อมูลให้มี


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

การแจกแจงใกล้เคียงแบบปกติโดยการแปลงลอการิทึม (Logarithm) แล้วหาช่วงความเชื่อมั่น (1-a)100% S ข อ ง ค ่ า m ไ ด ้ จ า ก exp c yi - Z a2 ni m แ ล ะ exp c yi + Z a2 Sni m โดยที่ yi มีค่าเท่ากับ ln(xi) 4. เปรียบเทียบประสิทธิภาพของแต่ละระบบจาก ค่าสถิติที่ประมาณได้ในข้อ 3

ผลการวิจัย การทดสอบการแจกแจงการเข้ามารับบริการ การหาอัตราการเข้ามารับบริการ จะพิจารณาจาก จ�ำนวนผูร้ บั บริการทีเ่ ข้ามาต่อแถวเพือ่ รอรับบริการ หรือ ช�ำระค่าสินค้า โดยได้บันทึกจ�ำนวนผู้รับบริการที่เข้ามา ทุกๆ 5 นาที เป็นเวลา 10 วัน ดังนี้ ร้านที่ 1 พบว่า มีจำ� นวนผูร้ บั บริการทัง้ สิน้ 2,898 คน เมื่อทดสอบการแจกแจงของอัตราการเข้ามารับบริการ ด้วยการทดสอบไคสแควร์ได้ค่า |2 = 15.08 < |152 ที่ ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 แสดงว่า อัตราการเข้ามารับบริการ มีการแจกแจงแบบปัวส์ซอง ทีม่ คี า่ เฉลีย่ 14.75 คน/5 นาที หรือ 2.95 คน/นาที และจากทฤษฎีจะได้ชว่ งเวลาระหว่าง การเข้ามาของผู้รับบริการแต่ละคนมีการแจกแจงแบบ เอ็กซ์โพเนนเชียล ทีม่ คี า่ เฉลีย่ เป็น 0.41 นาที หรือ 24.6 วินาที ร้านที่ 2 พบว่า มีจ�ำนวนผู้มารอรับบริการทั้งสิ้น 1,861 คน เมือ่ ทดสอบการแจกแจงของอัตราการเข้ามา รับบริการได้คา่ |2 =9.99 < |122 ทีร่ ะดับนัยส�ำคัญ 0.05

รูปที่ 3: แสดงฮิสโทแกรมของเวลาให้บริการร้านที่ 1

แสดงว่า อัตราการเข้ามารับบริการของผูร้ บั บริการมีการ แจกแจงแบบปัวส์ซอง ที่มีค่าเฉลี่ย 7.75 คน/5 นาที หรือ 1.55 คน/นาที และช่วงเวลาระหว่างการเข้ามาของ ผูร้ บั บริการแต่ละคนมีการแจกแจงแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล ที่มีค่าเฉลี่ยเป็น 0.65 นาที หรือ 39 วินาที ร้านที่ 3 พบว่า มีจำ� นวนผูร้ บั บริการทัง้ สิน้ 3,541 คน เมือ่ ทดสอบอัตราการเข้ามารับบริการ ช�ำระค่าสินค้า ได้ ค่า |2 = 12.59 < |142 ที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 แสดงว่า อัตราการเข้ามารับบริการของผูร้ บั บริการมีการแจกแจง แบบปัวส์ซอง ที่มีค่าเฉลี่ย 12.08 คน/5 นาที หรือ 2.42 คน/นาที และช่วงเวลาระหว่างการเข้ามาของผูร้ บั บริการแต่ละคนมีการแจกแจงแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล ทีม่ ี ค่าเฉลี่ยเป็น 0.34 นาที หรือ 20.4 วินาที ร้านที่ 4 พบว่า มีจำ� นวนผูร้ บั บริการทัง้ สิน้ 3,700 คน ท� ำ การทดสอบอั ต ราการเข้ า มาช� ำ ระค่ า สิ น ค้ า ได้ ค ่ า 2 |2 = 12.59 < |15 ที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 แสดงว่า อัตราการเข้ามารับบริการของผูร้ บั บริการมีการแจกแจง แบบปัวส์ซอง ที่มีค่าเฉลี่ย 15.47 คน/5 นาที หรือ 3.09 คน/นาที และช่วงเวลาระหว่างการเข้ามาของผูร้ บั บริการแต่ละคนมีการแจกแจงแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล ที่มีค่าเฉลี่ยเป็น 0.32 นาที หรือ 19.2 วินาที การทดสอบการแจกแจงเวลาให้บริการ เมื่อพิจารณารูปแบบการแจกแจงของเวลาการให้ บริการจากฮิสโทแกรมและ Exponential Probability Plots ของร้านที่ 1 ดังรูปที่ 3 และ 4

รูปที่ 4: แสดง Exponential Probability Plots ร้านที่ 1

13


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

จากการทดสอบการแจกแจงแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล ที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 พบว่า ร้านที่1 ผลการทดสอบ จะให้ค่าสถิติทดสอบ Z = 0.691 และค่า P = 0.726 แสดงว่า เวลาให้บริการในร้านนี้ มีการแจกแจงแบบ เอ็กซ์โพเนนเชียล ทีม่ คี า่ เฉลีย่ 40.325 วินาที หรือสามารถ

ให้บริการผู้รับบริการได้ 1.49 คนต่อนาที เมื่อพิจารณา รูปแบบการแจกแจงของเวลาการให้บริการจากฮิสโทแกรม และ Exponential Probability Plots ของร้านที่ 2 ดังรูปที่ 5 และ 6

รูปที่ 5: แสดงฮิสโทแกรมของเวลาให้บริการร้านที่ 2

รูปที่ 6: แสดง Exponential Probability Plots ร้านที่ 2

ผลการทดสอบจะให้ค่าสถิติทดสอบ Z = 0.718 และค่า P = 0.681 แสดงว่า เวลาให้บริการ สาขานี้ มีการ แจกแจงแบบเอ็กซ์โพเนนเชียลทีม่ คี า่ เฉลีย่ 43.08 วินาที หรือสามารถให้บริการผู้รับบริการได้ 1.39 คน/นาที

เมื่อพิจารณารูปแบบการแจกแจงของเวลา การให้ บริการจากฮิสโทแกรม และExponential Probability Plots ของร้านที่ 3 ดังรูปที่ 7 และ 8

รูปที่ 7: แสดงฮิสโทแกรมของเวลาให้บริการร้านที่ 3

14

รูปที่ 8: แสดง Exponential Probability Plots ร้านที่ 3


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ผลการทดสอบจะให้ค่าสถิติทดสอบ Z = 0.402 และค่า P = 0.997 แสดงว่าเวลาให้บริการสาขานี้ มีการ แจกแจงแบบเอ็กซ์โพเนนเชียลทีม่ คี า่ เฉลีย่ 34.97 วินาที หรือสามารถให้บริการผู้รับบริการได้ 1.72 คนต่อนาที

รูปที่ 9: แสดงฮิสโทแกรมของเวลาให้บริการร้านที่ 4

ผลการทดสอบจะให้ค่าสถิติทดสอบ Z = 0.574 และค่า P = 0.897 แสดงว่าเวลาให้บริการในสาขานี้ มีการ แจกแจงแบบเอ็กซ์โพเนนเชียลทีม่ คี า่ เฉลีย่ 36.278 วินาที หรือสามารถให้บริการผู้รับบริการได้ 1.65 คนต่อนาที ผลการจ� ำ ลองแบบและการเปรี ย บเที ย บ ประสิทธิภาพของระบบ การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของระบบจากเวลา

และเมื่อพิจารณารูปแบบการแจกแจงของเวลาการให้ บริการจากฮิสโทแกรม และ Exponential Probability Plots ของร้านที่ 4 ดังรูปที่ 9 และ 10

รูปที่ 10: แสดง Exponential Probability Plots ร้านที่ 4

รอรับบริการเฉลีย่ จ�ำนวนผูร้ บั บริการเฉลีย่ และจ�ำนวน สัดส่วนเวลาว่างเฉลี่ยของหน่วยให้บริการ แต่ละระบบ ส�ำหรับทุกร้าน จากการทดสอบ t (t-test) พร้อมทั้ง ค่าสถิติของโคโมโกรอฟ สเมอร์นอฟ (KS) ที่ใช้ทดสอบ การแจกแจงของข้อมูล และช่วงความเชือ่ มัน่ ของค่าเฉลีย่ ที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 แสดงตามตารางที่ 1-8

ตารางที่ 1: แสดงผลการวิเคราะห์เวลารอรับบริการเฉลี่ยทุกระบบของร้านที่ 1

ระบบที่

KS

1 2 3 4

0.522 0.609 0.680 0.563

ช่วงความเชื่อมั่นของ ค่าเฉลี่ย (วินาที) 36.658 - 40.833 33.291 - 37.835 26.748 - 30.131 18.361 - 22.775

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (ค่า P-value) 1 2 3 4 0.191ns 0.045ns 0.000** 0.000** 0.000** 0.000**

15


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

16

ตารางที่ 2: แสดงผลการวิเคราะห์จ�ำนวนผู้รอรับบริการเฉลี่ย ทุกระบบของร้านที่ 1

ระบบที่

KS

1 2 3 4

0.709 0.812 0.988 0.607

ช่วงความเชื่อมั่นของ ค่าเฉลี่ย 4.823 - 5.322 4.004 - 4.355 3.531 - 3.978 2.059 - 2.368

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (ค่า P-value) 1 2 3 4 0.000** 0.000** 0.000** 0.003** 0.000** 0.000**

ตารางที่ 3: แสดงผลการวิเคราะห์เวลารอรับบริการเฉลี่ยทุกระบบของร้านที่ 2

ระบบที่

KS

1 2 3

0.731 0.449 0.540

ช่วงความเชื่อมั่นของ ค่าเฉลี่ย 26.367 - 31.288 25.248 - 29.262 25.524 - 28.684

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (ค่า P-value) 1 2 3 ns 0.313 0.212ns 0.907ns

ตารางที่ 4: แสดงผลการวิเคราะห์จ�ำนวนผู้รับบริการเฉลี่ยของร้านที่ 2

ระบบที่

KS

1 2 3

0.660 0.628 0.608

ช่วงความเชื่อมั่นของ ค่าเฉลี่ย 3.795 - 4.232 3.089 - 3.167 1.098 - 1.102

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (ค่า P-value) 1 2 3 ** 0.000 0.000** 0.000**

ตารางที่ 5: แสดงผลการวิเคราะห์เวลารอรับบริการเฉลี่ยทุกระบบของร้านที่ 3

ระบบที่

KS

1 2 3 4

0.421 0.662 0.411 0.631

ช่วงความเชื่อมั่นของ ค่าเฉลี่ย 23.249 - 27.436 21.339 - 25.882 23.597 - 27.137 18.820 - 23.735

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (ค่า P-value) 1 2 3 4 ** ** 0.008 0.002 0.001** 0.189ns 0.186ns 0.051ns


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 6: แสดงผลการวิเคราะห์จ�ำนวนผู้รับบริการเฉลี่ยที่อยู่ในแถวคอยของร้านที่ 3

ระบบที่

KS

1 2 3 4

0.585 0.536 0.761 0.616

ช่วงความเชื่อมั่นของ ค่าเฉลี่ย 6.869 - 7.604 4.908 - 5.031 3.688 - 3.722 1.032 - 1.050

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (ค่า P-value) 1 2 3 4 0.000** 0.000** 0.000** 0.000** 0.000** 0.000**

ตารางที่ 7: แสดงผลการวิเคราะห์เวลารอรับบริการเฉลี่ยทุกระบบของร้านที่ 4

ระบบที่

KS

1 2 3 4

0.548 0.669 0.510 0.615

ช่วงความเชื่อมั่นของค่า เฉลี่ย 19.723 - 25.336 18.680 - 22.301 13.109 - 16.284 8.133 - 10.422

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (ค่า P-value) 1 2 3 4 ns ** 0.230 0.000 0.000** 0.000** 0.000** 0.000**

ตารางที่ 8: แสดงผลการวิเคราะห์จ�ำนวนผู้รอรับบริการเฉลี่ยทุกระบบของร้านที่ 4

ระบบที่

KS

1 2 3 4

0.911 0.503 0.592 0.890

ช่วงความเชื่อมั่นของ ค่าเฉลี่ย 6.847 – 6.967 4.178 – 4.287 2.178 – 2.621 1.687 – 1.776

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (ค่า P-value) 1 2 3 4 0.000** 0.000** 0.000** 0.000** 0.000** 0.000**

หมายเหตุ ns ไม่มีนัยส�ำคัญ ** มีนัยส�ำคัญที่ระดับ 0.01

การวิเคราะห์สัดส่วนเวลาว่างโดยเฉลี่ย นอกจากการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบจาก เวลารอรับบริการเฉลี่ย และจ�ำนวนผู้รอรับบริการเฉลี่ย ในแถวคอยแล้ว ยังสามารถพิจารณาประสิทธิภาพของ ระบบจากสัดส่วนเวลาว่างโดยเฉลีย่ ของระบบซึง่ จากการ

จ�ำลองแบบ 100 ครัง้ ได้ขอ้ มูลสัดส่วนเวลาว่างโดยเฉลีย่ ของผู้ให้บริการ น�ำสัดส่วนเวลาว่างโดยเฉลี่ยของผู้ให้ บริการที่ได้มาทดสอบ t เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพ กับทุกระบบจะแสดงได้ตามตารางที่ 9-12

17


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 9: แสดงผลการวิเคราะห์สัดส่วนเวลาว่างโดยเฉลี่ยของระบบทุกระบบของร้านที่ 1 ระบบที่

ช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ย

1 2 3 4

0.259 - 0.274 0.195 - 0.197 0.304 - 0.305 0.367 - 0.374

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย(ค่า P-value) 1 2 3 4 ** ** 0.000 0.000 0.000** 0.000** 0.000** 0.000**

ตารางที่ 10: แสดงผลการวิเคราะห์สัดส่วนเวลาว่างโดยเฉลี่ยของระบบทุกระบบของร้านที่ 2

ระบบที่

ช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ย

1 2 3

0.280 - 0.283 0.280 - 0.282 0.426 - 0.436

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย(ค่า P-value) 1 2 3 ns 0.705 0.000** 0.000**

ตารางที่ 11: แสดงผลการวิเคราะห์สัดส่วนเวลาว่างโดยเฉลี่ยของระบบทุกระบบของร้านที่ 3

ระบบที่

ช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ย

1 2 3 4

0.116 - 0.118 0.155 - 0.164 0.158 - 0.167 0.298 - 0.300

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย(ค่า P-value) 1 2 3 4 0.000** 0.000** 0.000** 0.423ns 0.000** 0.000**

ตารางที่ 12: แสดงผลการวิเคราะห์สัดส่วนเวลาว่างโดยเฉลี่ยของระบบทุกระบบของร้านที่ 4

18

ระบบที่

ช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ย

1 2 3 4

0.116 - 0.118 0.117 - 0.120 0.315 - 0.321 0.316 - 0.322

หมายเหตุ ns ไม่มีนัยส�ำคัญ ** มีนัยส�ำคัญที่ระดับ 0.01

เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย(ค่า P-value) 1 2 3 4 0.951ns 0.000** 0.000** 0.423ns 0.000** 0.608ns


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล การศึกษาเพือ่ ประยุกต์ใช้ทฤษฎีแถวคอยในร้านค้าปลีก สมัยใหม่ครั้งนี้ เป็นการศึกษาระบบการให้บริการช�ำระ ค่าสินค้าและบริการของร้านค้าปลีก ในช่วงเวลาทีม่ ผี รู้ บั บริการเข้ามาซือ้ สินค้าเป็นจ�ำนวนมากในแต่ละวัน จ�ำนวน 4 ร้าน เมือ่ เก็บรวบรวมลักษณะต่างๆ ของระบบเป็นเวลา

10 วัน พบว่า จ�ำนวนผู้รับบริการในร้านที่ 1 ถึง 4 คือ 2,898 คน 1,861 คน 3,541 คน และ 3,700 คน ตามล�ำดับ การแจกแจงของอัตราการเข้ามารับบริการ ทุกๆ 5 นาที ของทุกร้าน เป็นแบบปัวส์ซอง และเวลา ให้บริการของพนักงานในร้านทุกร้าน มีการแจกแจงแบบ เอ็กซ์โพเนนเชียล ดังแสดงตามตารางที่ 13

ตารางที่ 13: แสดงอัตราการเข้ารับบริการและให้บริการ สาขาที่ 1 2 3 4

อัตราการเข้ามารับบริการ (คน/นาที) 2.95 1.55 2.42 3.09

ผลการจ�ำลองแบบ อย่างอิสระต่อกัน 100 ครั้ง โดยใช้ระบบการให้บริการ 4 ระบบ ได้แก่ ระบบที่ 1 คือ มีหน่วยให้บริการ 1 หน่วย ระบบที่ 2 คือ มีหน่วย ให้บริการ 2 หน่วย ระบบที่ 3 คือ มีหน่วยให้บริการ 3 หน่วย และระบบที่ 4 คือ มีหน่วยให้บริการ 4 หน่วย และประเมินประสิทธิภาพของระบบภายหลังจากการ จ�ำลองจากค่าสถิติ คือ เวลารอรับบริการเฉลี่ย จ�ำนวน ผูร้ อรับบริการเฉลีย่ ในแถว และสัดส่วนเวลาว่างโดยเฉลีย่ พบว่าจากร้านที่ 1 เมื่อเปรียบเทียบเวลารอรับ บริการเฉลี่ยของระบบที่ 1 กับระบบที่ 2 และ 3 มีค่า ไม่แตกต่างกัน อันเนือ่ งมาจากเป็นแบบจ�ำลองทีผ่ รู้ บั บริการ สามารถเปลี่ยนแถว เพื่อช�ำระค่าสินค้าได้ตลอดเวลา เมือ่ เห็นว่าแถวใดสัน้ กว่า แต่เมือ่ พิจารณาจ�ำนวนผูร้ อรับ บริการและสัดส่วนเวลาว่างโดยเฉลี่ย ทุกระบบมีค่า แตกต่างกัน โดยระบบที่ 1 และระบบที่ 4 มีค่าต่างจาก ระบบอื่นอย่างชัดเจน ซึ่งถ้าเป็นการท�ำงานใน 1 ระบบ จะมีจ�ำนวนผู้รับบริการและเวลาที่ใช้รอรับบริการมาก ที่อาจส่งผลถึงความพึงพอใจต่อการรับบริการของผู้รับ บริการได้ ส่วนระบบที่ 4 พบว่า มีสัดส่วนเวลาว่างมาก แสดงให้เห็นว่าใช้หน่วยบริการ ไม่เต็มประสิทธิภาพ

อัตราการให้บริการ (คน/นาที) 1.49 1.39 1.72 1.65

จึงพิจารณาเฉพาะระบบที่ 2 และระบบที่ 3 ที่มีค่าสถิติ ใกล้เคียงกัน โดยระบบที่ 3 มีจำ� นวนผูร้ อรับบริการเฉลีย่ ต่างจากระบบที่ 2 เพียง คนเดียว แต่ถา้ จัดให้มี 3 หน่วย ให้บริการ สัดส่วนเวลาว่างจะมากขึน้ ประมาณ 1 เท่าตัว ดังนั้นจ�ำนวนหน่วยบริการที่มีความเหมาะสมที่สุดคือ 2 หน่วย ร้านที่ 2 พบว่า เวลารอรับบริการเฉลี่ยทุกระบบ ไม่มคี วามแตกต่างกัน แต่จำ� นวนผูร้ บั บริการเฉลีย่ ในแถว ทุกระบบมีคา่ แตกต่างกัน แสดงให้เห็นว่า จ�ำนวนหน่วย ให้บริการไม่มีผลต่อเวลารอรับบริการของผู้รับบริการ ในขณะที่จะมีผลต่อจ�ำนวนผู้รอรับบริการซึ่งถ้าก�ำหนด จ�ำนวนหน่วยให้มากขึ้น จ�ำนวนผู้รอรับบริการจะลดลง ประมาณเท่าตัว และเมื่อพิจารณาจากสัดส่วนเวลาว่าง ระบบที่ 1 และ 2 มีค่าไม่แตกต่างกัน ในขณะที่ระบบที่ 3 และ 4 จะมีสัดส่วนเวลาว่าง มากกว่าระบบที่ 1 และ 2 มากเกือบเท่าตัว ดังนั้นหาก พิจารณาปัจจัย ที่มีผลต่อการพิจารณาจ�ำนวนหน่วยให้ บริการ คือ จ�ำนวนผูร้ บั บริการเฉลีย่ และสัดส่วนเวลาว่าง โดยเฉลีย่ ควรก�ำหนดให้มหี น่วยให้บริการจ�ำนวน 1 หรือ 2 หน่วยเท่านั้น

19


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ร้านที่ 3 พบว่า จากการประเมินประสิทธิภาพของ ระบบที่จ�ำลองขึ้นตั้งแต่ 1 หน่วยให้บริการจนถึงหน่วย ให้บริการสูงสุด 3 หน่วยนี้ ท�ำให้เห็นว่า เวลารอรับ บริการเฉลี่ยของผู้รับบริการมีค่าไม่แตกต่างกัน ยกเว้น เมื่อมีหน่วยให้บริการเพียงหน่วยเดียว อันเนื่องมาจาก ระบบที่จ�ำลองขึ้น ผู้รับบริการสามารถเปลี่ยนหน่วยให้ บริการได้ เมือ่ เห็นว่าหน่วยให้บริการใด มีจำ� นวนผูร้ อรับ บริการในแถวน้อยทีส่ ดุ จึงท�ำให้เวลารอรับบริการในแถว ไม่แตกต่างกัน ในขณะที่เมื่อเปรียบเทียบจากจ�ำนวน ผูร้ บั บริการโดยเฉลีย่ ทีร่ ออยูใ่ นแถว พบว่า ทุกระบบมีคา่ แตกต่างกัน ซึ่งเมื่อพิจารณาจากค่าสถิติแสดงให้เห็นว่า หากต้องการให้ มีผู้รับบริการรออยู่ในแถวน้อยกว่า จะต้องเพิ่มหน่วยให้บริการมากขึ้น แต่ถึงอย่างไรก็ตาม จะต้องพิจารณาถึงความคุม้ ค่าของการลงทุนด้วย เพราะ หากเพิ่มจ�ำนวนหน่วยให้บริการมากเกินไป คือเพิ่มให้มี หน่วยบริการ 4 หน่วยจะพบว่า สัดส่วนเวลาว่างจะ มากกว่าระบบที่มีหน่วยให้บริการ 2 ถึง 3 หน่วยเกือบ เท่ า ตั ว ในขณะที่ ห ากเปรี ย บเที ย บเฉพาะที่ มี ห น่ ว ย ให้บริการ 2 กับ 3 หน่วย พบว่า สัดส่วนเวลาว่างและ เวลารอรับบริการเฉลี่ยมีค่าไม่แตกต่างกัน ดังนั้นหน่วย ให้บริการที่เหมาะสมที่สุดควรก� ำหนดให้มี 2 หน่วย เท่านั้น ร้านที่ 4 พบว่า ไม่มคี วามแตกต่างกันระหว่างเวลา รอรับบริการเฉลีย่ ในระบบที่ 1 และ 2 ในขณะทีจ่ ำ� นวน ผูร้ อรับบริการเฉลีย่ ในทุกระบบมีความแตกต่างกัน และ พบว่า สัดส่วนเวลาว่างของระบบที่ 1 กับระบบที่ 2 ระบบที่ 2 กับระบบที่ 3 และระบบที่ 3 กับระบบที่ 4 มีค่าไม่แตกต่างกัน หรืออาจกล่าวได้ว่าการเพิ่มขึ้นของ หน่วยให้บริการทุกๆ หนึง่ หน่วยจะไม่ทำ� ให้สดั ส่วนเวลาว่าง ของผู้ให้บริการมีค่าเปลี่ยนแปลง โดยที่ในระบบที่ 3

20

กับ 4 มีสัดส่วนเวลาว่างมากกว่าระบบที่ 1 และ 2 มาก ซึง่ วิเคราะห์ได้วา่ ถ้าพิจารณาเฉพาะเวลารอรับบริการเฉลีย่ และสัดส่วนเวลาว่างเฉลีย่ ควรจัดให้มี 1 หน่วยให้บริการ แต่ถ้าค�ำนึงถึงปัจจัยทั้งหมดควรจัดให้มี 2 หน่วยให้ บริการ จึงจะมีประสิทธิภาพและลงทุนน้อยที่สุด

บรรณานุกรม

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติ ส�ำหรับการบริหารและวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มานพ วราภักดิ.์ (2552). การวิจยั ด�ำเนินการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิมลวรรณ ปัทมรัตน์. (2545). การวิเคราะห์ระบบ แถวคอยในการให้บริการลูกค้าของทีท่ ำ� การไปรษณีย์ โทรเลข. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. ศิรจิ นั ทร์ ทองประเสริฐ. (2542). สถิตสิ ำ� หรับงานวิศวกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สายสุรางค์ โชติพานิช. (2547). การวิเคราะห์ระบบ แถวคอยของการเข้ารับบริการเจาะเลือดโรงพยาบาล ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช. กรุ ง เทพฯ: มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์. Sadiku, Matthew N.O. (2007). A tutorial on simulation of queuing models. Electrical Engineering Education, 9(36), 102-120. Shannon, R.E. (1975). Systems simulation: The art and science. New York: Prentice-Hall. Taha, H. A. (2007). Operations research: An introduction. Singapore: Pearson Education International.


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Nithipat Kamolsuk received his Master of Science in 2004 from the Department of Science, Kasetsart University, Bangkok, Thailand and Bachelor of Science in 2000 from the Department of Applied Science, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Thailand. Nithipat Kamolsuk is currently the lecturer and the chairperson of the Department of General Science, Panyapiwat Institute of Management, Thailand. His research interest covers applied mathematics and statistics.

21


ปั

จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ข้าวสารบรรจุถุงในเขตกรุงเทพมหานคร Factors Affecting the Rice Buying Behavior of People in the Bangkok Metropolitan Area สรียา อัชฌาสัย นักวิจัยอิสระ E-mail: sareeya_a@yahoo.com ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลักคณา วรศิลป์ชัย อาจารย์ประจ�ำคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ E-mail: lugkana.w@bu.ac.th

บทคัดย่อ

22

การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลทีม่ ผี ลต่อพฤติกรรมการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพฯ 2) ศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสาร บรรจุถงุ ของผูบ้ ริโภคในเขตกรุงเทพฯ 3) ศึกษาระดับความส�ำคัญของกระบวนการตัดสินใจเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพฯ และ 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) ทีม่ ตี อ่ พฤติกรรมการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ของ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพฯ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 1) ข้อมูล ส่วนบุคคล 2) ปัจจัยพฤติกรรมการเลือกซื้อเป็นค�ำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ข้าวสารบรรจุถุง และ 3) ระดับความส�ำคัญของกระบวนการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสาร บรรจุถุง ผลจากการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อข้าวสาร บรรจุถงุ ของผูบ้ ริโภคในเขตกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่เป็นผูห้ ญิง มีอายุระหว่าง 20-30 ปี มีสถานภาพโสด การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนจ�ำนวน มีรายได้ต่อเดือน เฉลี่ย 30,001 บาทขึ้นไป และบริโภคเฉลี่ยต่อสัปดาห์ 1-2 กิโลกรัม ตามล�ำดับ 2) พฤติกรรม การเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ของผูบ้ ริโภคพบว่าวัตถุประสงค์ทซี่ อื้ คือ บริโภคอย่างเดียว, ตราผลิตภัณฑ์ที่ซื้อ คือ มาบุญครอง, เหตุผลที่เลือก คือ สะอาด/ปลอดภัย, ราคาที่ซื้อคือ


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

141-160 บาทต่อถุง, ความถีใ่ นการซือ้ คือ เดือนละครัง้ และสือ่ โฆษณาทีต่ ดั สินใจซือ้ คือ โทรทัศน์ 3) ระดับความส�ำคัญของกระบวนการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพฯ อยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านราคาที่เหลือมีระดับความส�ำคัญอยู่ในระดับมาก อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่าย ด้านผลิตภัณฑ์และด้านการส่งเสริมการตลาด และ 4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) ทีม่ ตี อ่ พฤติกรรมการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพฯ พบว่าปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์และปัจจัย ด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่ายมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ในด้านชนิดข้าวสารบรรจุถุงที่เลือกซื้อ, ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์และปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด มีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ในด้านราคาข้าวสารบรรจุถงุ ทีซ่ อื้ ตามล�ำดับ ค�ำส�ำคัญ: พฤติกรรมผู้บริโภค ส่วนประสมทางการตลาด การส่งเสริมการตลาด

Abstract

The purposes of this study are 1) to study consumer characteristics which affect the buying behavior of people in the Bangkok Area 2) to study rice the buying behavior of people in Bangkok 3) to study the significant level of the purchasing decision process 4) to study the relationship of marketing mix on consumer behavior. This research used questionnaires to collect data from 400 people in the Bangkok Metropolitan Area. The results show that most consumers are single females, aged between 20 and 30 years old. Most participants hold a Bachelor Level Degree and work in the private sector. The average income is about 30,000 baht, and their families consume about 1-2 kilogram of rice per week. Results shows that consumers in Bangkok buy rice to consume it in their families and not for other purposes, and the most frequently bought brand is MARBOONKRONG Brand. The most important reason for buying is the product’ s cleanness. Consumers considered a reasonable price range to be 141-160 baht per bag. The frequency of buying is once per month, and advertising through TV channel motivates the consumers to select the brand. The significant level of purchasing process is in the highest level. Price shows to be the most important marking mix aspect affecting the buying behavior of people in Bangkok. The distribution channels, products, and promotions are highly significant. For the affect of marketing mix to buying behavior, the results show that products and distribution channels are related to the buying behavior for rice products. Also, products and promotions affect the buying behavior with regard to the actual price of the products. Keywords: Consumer Behavior, Marketing Mix, Promotion

23


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

บทน�ำ เนื่องจากข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทยมากกว่า ร้อยละ 80 โดยความต้องการบริโภคข้าวในครัวเรือนไทย ปี 2546 พบว่ามีปริมาณ 101 กิโลกรัมต่อคน (ณัฐนันท์ วิจติ รอักษร, 2549) อีกทัง้ จ�ำนวนประชากรของประเทศ ที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี ตลาดข้าวภายในประเทศจึงมีความ ส�ำคัญเป็นอย่างมาก ส�ำหรับพฤติกรรมการบริโภคข้าว จากเดิมซื้อเป็นกระสอบในปริมาณ 50-100 กิโลกรัม ได้เปลีย่ นแบบมาซือ้ เป็นถังในปริมาณ 15 กิโลกรัม และ ต่อมาได้พัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์เป็นข้าวสารบรรจุถุง ปริมาณ 5 กิโลกรัม โดยมีฉลากระบุตราสินค้าที่ชัดเจน นีท้ ำ� ให้ผบู้ ริโภคสามารถเห็นเมล็ดข้าวสารได้ชดั เจนและ ตัดสินใจซื้อได้ง่ายขึ้น ส่งผลให้ตลาดข้าวมีอัตราการ เติบโตขึ้นมาโดยตลอดโดยมีมูลค่าตลาดรวมไม่ต�่ำกว่า 2 หมืน่ ล้านบาท เป็นผลให้มผี ปู้ ระกอบการข้าวสารบรรจุ ถุงรายใหม่ๆ เกิดขึ้นในธุรกิจนี้เป็นจ�ำนวนมาก แหล่งซือ้ ขายข้าวสารบรรจุถงุ นัน้ ผูบ้ ริโภคสามารถ เลือกซือ้ ได้ตามร้านค้าทัว่ ไป (Traditional Trade) หรือ ร้านค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) เป็นผลให้ แนวโน้มการเติบโตของตลาดข้าวสารบรรจุถุงยังเติบโต ได้อย่างต่อเนื่อง โดยไตรมาสแรกมีการเติบโตไม่ต�่ำกว่า 10-15% โดยสามารถแบ่งยอดขายข้าวสารบรรจุถุง ในร้านค้าทัว่ ไปมีปริมาณสูงถึง 70% และร้านค้าสมัยใหม่ 30% (ผู้จัดการรายสัปดาห์, 27 พ.ค. 2553, ออนไลน์) สาเหตุที่ร้านค้าสมัยใหม่มียอดขายต�่ำกว่าร้านค้าทั่วไป เนื่องจากมีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมแรกเข้า การขอ สินค้าจัดรายการส่งเสริมการขายและยังต้องเผชิญกับ การแข่งขันด้านราคาของสินค้าเฮาส์แบรนด์ จึงท�ำให้ ต้นทุนและราคาปลายทางสูงขึน้ อันส่งผลต่อก�ำไรทีล่ ดลง ผูป้ ระกอบการข้าวสารบรรจุถงุ จึงมุง่ การท�ำยอดขายโดย กระจายสินค้าไปยังตลาดที่เป็นร้านค้าทั่วไปมากขึ้น จากการศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ พฤติ ก รรม การเลื อ กซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข ้ า วสารบรรจุ ถุ ง ในเขต กรุงเทพมหานครได้สอดคล้องกับงานวิจัยเกี่ยวข้อง ของสุชาดา ร่มไทรทอง (2551) ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัย

24

ส่วนประสมทางการตลาดในการเลือกซือ้ ข้าวสารบรรจุถงุ ตรามาบุญครองของผู้บริโภคจังหวัดปทุมธานี พบว่า ผูบ้ ริโภคจังหวัดปทุมธานีมรี ะดับความคิดเห็นในภาพรวม อยู ่ ใ นระดั บ มาก เมื่ อ พิ จ ารณาเป็ น รายด้ า นพบว่ า ผู้บริโภคมีความความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก 3 ด้าน โดยค่าเฉลีย่ สูงสุดตามล�ำดับ คือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่าย โดยพบว่าผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่ ให้ความคิดเห็นเกีย่ วกับข้าวสารบรรจุถงุ ตรามาบุญครอง โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก คือ ข้าวสารบรรจุถงุ ได้รบั การรับรองมาตรฐาน ความหลากหลายของขนาดและ รูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ข้าวสาร บรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุ ข้าวสารปิดสนิท การให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการหุง ข้อมูล เกี่ยวกับแหล่งที่มาและประเภทของข้าวสารที่น�ำมา จ�ำหน่ายและชื่อเสียงของตรายี่ห้อของผลิตภัณฑ์ วิภาวดี ทองสุข (2552) ศึกษาวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่ มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุงของ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร” โดยได้วิจัยถึงปัจจัย ส่วนบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อ คือ ผู้ซื้อเป็น ผูห้ ญิงมากกว่าผูช้ ายและมีอายุ 20-29 ปี การศึกษาของ ผู้ที่ซื้อจะอยู่ในระดับปริญญาตรีมากที่สุด ซึ่งส่วนใหญ่ จะเป็นนักเรียน/นักศึกษา รองลงมา คือ กลุม่ ของพนักงาน บริษทั เอกชน และท�ำธุรกิจส่วนบุคคล ตามล�ำดับ ในส่วน เรือ่ งเงินเดือนของผูท้ ซี่ อื้ มากทีส่ ดุ จะอยูใ่ นเกณฑ์ทตี่ ำ�่ กว่า 10,001 บาท บทความในหนั ง สื อ พิ ม พ์ ป ระชาชาติ ธุ ร กิ จ โดย Gazebo (2553) ได้เขียนเกี่ยวกับการสร้างแบรนด์ให้ ข้าวถุง เนื่องจากในปัจจุบันข้าวถุงมีหลากหลายยี่ห้อ และรวมไปถึงการมีแบรนด์ซึ่งเป็นส่วนแบ่งตลาดหลักๆ เอาไว้แล้วหลายยี่ห้อ ดังนั้นจึงต้องท�ำการวิเคราะห์และ เลือกเอากลยุทธ์มาใช้เพือ่ ให้ขา้ วถุงของตนเองเป็นทีร่ จู้ กั ซึ่งได้กล่าวถึงข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาตราศรีเมือง ซึ่งนาย ก้องเกียรติ นาสิมมา กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โรงสีขา้ ว หอมมะลิทุ่งกุลา จ�ำกัด เป็นผู้ดูแลอยู่ ซึ่งได้กล่าวถึง กลยุทธ์ที่ได้น�ำมาใช้ว่า เป็นการสร้างตัวเองให้ตลาดวิ่ง เข้ามาหาโดยการสร้างเรื่องราว สิ่งแรก คือ ต้องจ�ำกัด


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องของข้าวตราศรีเมืองหรือข้าวที่ผลิต ออกจากโรงสีของก้องเกียรติให้ได้กอ่ นว่ามีอะไรเกีย่ วข้อง แล้วบ้าง ขั้นต่อมาจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ข้าวหอมมะลิจากโรงสีของตนเองก่อน นฤมล อดิเรกโชติกุล (2548) ได้ท�ำการศึกษาวิจัย เรื่อง “พฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อข้าวสารบรรจุถุงใน กรุงเทพมหานคร” พบว่า ผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่มเี หตุผลใน การซื้อข้าวสารบรรจุถุงเพื่อน�ำมาบริโภคในครัวเรือน และใช้ในการประกอบอาหารจ�ำหน่าย ซึ่งได้ศึกษาถึง ชนิดของข้าวสารบรรจุถุงที่ผู้บริโภคได้ซื้อส่วนใหญ่จะ เป็นข้าวหอมมะลิ รองลงมา คือ ข้าวขาวธรรมดาและ ข้าวกล้องหรือข้าวซ้อมมือตามล�ำดับ ส่วนการเจาะจง ในยี่ห้อที่เลือกซื้อนั้น ผู้บริโภคส่วนใหญ่มักจะเจาะจง ยีห่ อ้ ในการเลือกซือ้ มากกว่าไม่เจาะจง ส่วนยีห่ อ้ ข้าวสาร ที่ได้รับการถูกเลือกซื้อมากที่สุดได้แก่ ข้าวมาบุญครอง รองลงมา ข้าวหงส์ทอง ข้าวตราเกษตร ตามล�ำดับ ส�ำหรับเหตุผลในการเลือกซือ้ ข้าวแต่ละยีห่ อ้ นัน้ ปัจจัยหลัก มาจากมีการรับรองคุณภาพมาตรฐาน รองลงมา คือ ความสะดวก/หาซือ้ ง่าย ความสะอาด/ปลอดภัย ราคาที่ เหมาะสม การเชือ่ มัน่ ในตราสินค้า รสชาติ บรรจุภณ ั ฑ์ดี ตามล�ำดับ ความถี่ในการซื้อของข้าวต่อลูกค้ามากที่สุด คือ ซื้อเดือนละประมานหนึ่งครั้ง บริษัท นาโน เซิร์ช จ�ำกัด (2552) ได้วิเคราะห์ เกี่ยวกับผู้ซื้อภักดีเลือกข้าวถุงยี่ห้อเดิม ช่องทางสื่อที่ ร้านจ�ำหน่ายมีผล ส่วนใหญ่แล้วผู้บริโภคมักเลือกซื้อ ข้าวสารที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งสิ่งที่พบเห็นกันบ่อยๆ คือ การเลือกซื้อในซุปเปอร์มาร์เก็ตและในตลาดทั่วไป โดยสินค้าเหล่ามีทงั้ ทีต่ ดิ แบรนด์ยหี่ อ้ ของสินค้าและไม่ตดิ และยังได้ศึกษาจากการท�ำแบบสอบถามกับตัวอย่างอีก 200 ตัวอย่าง และพบว่า พฤติกรรมการเลือกซือ้ ข้าวสาร บรรจุถงุ เฉพาะในเขตกรุงเทพและปริมณฑลเป็นผูห้ ญิง มากกว่าผู้ชาย อายุของกลุ่มตัวอย่างจะอยู่ที่ 25-35 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่ มีอาชีพเป็น พนักงานบริษทั เอกชนและมีรายได้ไม่เกิน 15,000 บาท

จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นผูว้ จิ ยั เห็นว่าการศึกษาพฤติกรรม การซื้อข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคจะท�ำให้ทราบถึง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ข้าวสารบรรจุถงุ ของผูบ้ ริโภคซึง่ จะเป็นประโยชน์สำ� หรับ ผูป้ ระกอบการรายเดิมทีม่ อี ยูแ่ ละผูป้ ระกอบการรายใหม่ ทีก่ ำ� ลังจะเข้าสูต่ ลาดนี้ ในการจะสามารถน�ำไปใช้ประกอบ การวางแผนการตลาดให้สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้บริโภคได้ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. ศึ ก ษาปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คลที่ มี ผ ลต่ อ พฤติ ก รรม การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพฯ 2. ศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสาร บรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพฯ 3. ศึกษาระดับความส�ำคัญของกระบวนการตัดสินใจ เลื อ กซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข ้ า วสารบรรจุ ถุ ง ของผู ้ บ ริ โ ภคใน เขตกรุงเทพฯ 4. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสม ทางการตลาด (4Ps) ที่มีต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ของผูบ้ ริโภคในเขตกรุงเทพฯ ขอบเขตการวิจัย 1. ศึกษาเฉพาะผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงขนาด 5 กิโลกรัม เนื่องจากเป็นขนาดบรรจุที่มีความนิยม ในการบริโภคมากที่สุด (คู่แข่งการธุรกิจ, 2553) 2. ศึกษาข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 400 คนใน เขตกรุงเทพฯ โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริโภคที่เคยซื้อ ข้าวสารบรรจุถุงขนาด 5 กิโลกรัมเท่านั้น 3. ระยะเวลาในการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ผู ้ วิ จั ย ท�ำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตัวเองตั้งแต่วันที่ 6–17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 โดยท�ำการแจกแบบสอบถาม ตามที่ได้คัดเลือกไว้

25


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถท�ำให้ผผู้ ลิตได้ทราบถึงพฤติกรรมในการ ตัดสินใจเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ของผูบ้ ริโภค ในเขตกรุงเทพฯ และน�ำโยชน์ที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ ไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป 2. สามารถใช้ผลการวิจัยเป็นข้อมูลพื้นฐานในการ วางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดให้สอดคล้องกับความ ต้องการของผู้บริโภครวมทั้งสามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

3. สามารถใช้ผลการวิจยั เป็นข้อมูลส�ำหรับการวิจยั ในอนาคตได้ สมมติฐานการวิจัย 1. ปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร 2. ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) มีผลต่อ พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร

กรอบแนวคิดการวิจัย ปัจจัยส่วนบุคคล 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพสมรส 4. ระดับการศึกษา 5. อาชีพ 6. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 7. รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัว 8. จ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว 9. ความถี่ในการประกอบอาหารรับประทานในครัวเรือน 10. ปริมาณการบริโภคข้าวสารในครัวเรือนต่อสัปดาห์ พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพฯ 1. วัตถุประสงค์ที่ซื้อ 2. ชนิดข้าวสารบรรจุถุง 3. การเจาะจงตราผลิตภัณฑ์ 4. ตราผลิตภัณฑ์ 5. เหตุผลที่เลือกซื้อ 6. ระดับราคาข้าวสารบรรจุ 7. ปริมาณการซื้อ 8. ความถี่ในการซื้อ 9. แหล่งจ�ำหน่าย 10. สื่อโฆษณา 11. ผู้ที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ ระดับความส�ำคัญของกระบวนการตัดสินใจ 1. ผลิตภัณฑ์ 2. ราคา 3. ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย 4. การส่งเสริมการตลาด

รูปที่ 1: กรอบแนวคิดการวิจัย

26

ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ในเขตกรุงเทพมหานคร


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

วิธีการด�ำเนินการวิจัย การวิจยั เรือ่ งปัจจัยทีม่ ผี ลต่อพฤติกรรมการเลือกซือ้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข ้ า วสารบรรจุ ถุ ง ในเขตกรุ ง เทพมหานคร มีรายละเอียดของการด�ำเนินการวิจยั และการเก็บรวบรวม ข้อมูลตามล�ำดับดังนี้ ประชากร ได้แก่ ผู้เคยซื้อข้าวสารบรรจุถุงขนาด 5 กิ โ ลกรั ม ที่ อ าศั ย อยู ่ ใ นเขตกรุ ง เทพฯ จ� ำ นวน 5,701,394 คน (กรมการปกครอง, 2554) กลุม่ ตัวอย่าง ได้แก่ ผูเ้ คยซือ้ ข้าวสารบรรจุถงุ ขนาด 5 กิโลกรัม ที่อาศัยอยู่ ตามครัวเรือน ส�ำนักงานและ ประชาชนโดยทั่วไปในละแวกต่างๆ ในใจกลาง และ 4 มุมเมือง ในเขตกรุงเทพฯ จ�ำนวน 400 คน โดยใช้สตู ร ยามาเน่ (Yamane, 1973: 727-729) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย ครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งได้ล�ำดับ

เนื้อหาแบบสอบถามให้ครอบคลุมข้อมูลที่ต้องการ โดย แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ค�ำถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล เป็น ค�ำถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ตอนที่ 2 ค�ำถามเกี่ยวกับปัจจัยพฤติกรรมการ เลื อ กซื้ อ เป็ น ค� ำ ถามเกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมการเลื อ กซื้ อ ผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของกลุ่มตัวอย่าง ตอนที่ 3 ค�ำถามเกี่ยวกับระดับความส�ำคัญของ กระบวนการตัดสินใจเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ของกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัย การน�ำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง “ปัจจัยที่ มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อข้าวสารบรรจุถุงของ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร” ผู้วิจัยขอน�ำเสนอ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วนดังนี้

ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ตารางที่ 1: การวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง

ปัจจัยส่วนบุคคล

เพศ หญิง อายุ 20-30 ปี สถานภาพ โสด ระดับการศึกษา ปริญญาตรี อาชีพ พนักงานเอกชน รายได้เฉลี่ย 30,001 บาทขึ้นไป รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัว 80,001 บาท ขึ้นไป จ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว 3-4 คน ความถี่ในการประกอบอาหาร ทุกวัน ปริมาณการบริโภคข้าวสารต่อสัปดาห์ 1-2 กิโลกรัม

จ�ำนวน 293 180 246 270 267 101 125 213 148 165

ร้อยละ 73.3 45.0 61.5 67.5 66.8 25.3 31.3 53.3 37.0 41.3

27


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

จากตารางที่ 1 พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 73.3 มีอายุระหว่าง 20-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 45.0 มีสถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 61.5 มี ก ารศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 67.5

ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน คิดเป็นร้อยละ 66.8 รายได้ตอ่ เดือน 30,001 บาทขึน้ ไป คิดเป็นร้อยละ 25.3 และการบริโภคข้าวสารโดยเฉลี่ยต่อสัปดาห์ละ 1-2 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 41.3

ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ตารางที่ 2: การวิเคราะห์พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง

ปัจจัยพฤติกรรมการเลือกซื้อ วัตถุประสงค์ที่ซื้อ: บริโภคอย่างเดียวเท่านั้น ชนิดข้าวสารบรรจุถุง: ข้าวขาวหอมมะลิ การเจาะจงตราผลิตภัณฑ์: เจาะจง ตราผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงในปัจจุบัน: มาบุญครอง เหตุผลที่เลือกตราผลิตภัณฑ์ที่ซื้อ: สะอาด/ปลอดภัย ระดับราคาข้าวสารบรรจุถุง: 141-160 บาทต่อถุง ปริมาณการซื้อ: 2-3 ถุง ความถี่ในการซื้อ: เดือนละครั้ง แหล่งจ�ำหน่ายทีซ่ อื้ ข้าวสารบรรจุถงุ : ดิสเคานต์สโตร์ (บิก๊ ซี,โลตัสฯ) ผู้ที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ: ตัวท่านเอง สื่อโฆษณา: โทรทัศน์ จากตารางที่ 2 พบว่าวัตถุประสงค์ทซี่ อื้ คือ บริโภค อย่างเดียวเท่านั้น คิดเป็นร้อยละ 96.5 ตราผลิตภัณฑ์ ข้าวที่ซื้อ คือ มาบุญครอง คิดเป็นร้อยละ 32.0 เหตุผล ที่เลือกตราผลิตภัณฑ์ คือ สะอาด/ปลอดภัย คิดเป็น ร้อยละ 20.5 ราคาข้าวสารทีซ่ อื้ คือ 141-160 บาทต่อถุง

28

จ�ำนวน 386 279 254 128 82 99 193 252 237 226 266

ร้อยละ 96.5 69.8 63.5 32.0 20.5 24.8 48.3 63.0 59.3 56.5 66.5

คิดเป็นร้อยละ 24.8 ปริมาณการซื้อ 2-3 ถุง คิดเป็น ร้อยละ 48.3 ความถีใ่ นการซือ้ คือ เดือนละครัง้ คิดเป็น ร้อยละ 63.0 แหล่งจ�ำหน่ายทีซ่ อื้ ข้าว คือ ดิสเคานต์สโตร์ (บิ๊กซี, โลตัสฯ) คิดเป็นร้อยละ 59.3 และสื่อโฆษณา ที่ตัดสินใจซื้อ คือ โทรทัศน์ คิดเป็นร้อยละ 66.5


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ระดับความส�ำคัญของกระบวนการตัดสินใจเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ของกลุม่ ตัวอย่าง ตารางที่ 3: การวิเคราะห์ระดับความส�ำคัญของกระบวนการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของกลุ่มตัวอย่าง

ส่วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจซื้อ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด จากตารางที่ 3 พบว่าส่วนประสมทางการตลาด ต่อการตัดสินใจซื้อด้านราคามีความส� ำคัญมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.44 ด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่ายมีความ

X 4.07 4.44 4.15 3.58

S.D. 0.73 0.71 0.76 0.96

ระดับความส�ำคัญ มาก มากที่สุด มาก มาก

ส�ำคัญมาก มีค่าเฉลี่ย 4.15 ด้านผลิตภัณฑ์มีความ ส�ำคัญมาก มีค่าเฉลี่ย 4.07 ด้านการส่งเสริมการตลาด มีความส�ำคัญมาก มีค่าเฉลี่ย 3.58 ตามล�ำดับ

ส่วนที่ 4 การทดสอบสมมติฐานการวิจัย สมมติฐานที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคใน เขตกรุงเทพมหานคร ตารางที่ 4: ปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำแนกตามเพศ พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง

จ�ำแนกตามเพศ วัตถุประสงค์ในการซื้อ, ชนิดข้าวสารบรรจุถุงที่เลือกซื้อ, ราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ, ความถี่ในการซื้อ, แหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร, บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ

|

2

Sig.

1.478, 2.193, 3.505, 5.618, 3.239, 18.397

.478, .533, .477, .132, .519, .000*

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4 พบว่าเพศมีผลต่อพฤติกรรมการ เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ที่ระดับนัยส�ำคัญ ทางสถิติ 0.05 พบเพียง 1 ด้าน คือ ด้านบุคคลที่มี

อิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ ดังนั้นเพศมีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้เพียงบางส่วน

29


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 5: ปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำแนกตามอายุ

พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง จ�ำแนกตามอายุ วัตถุประสงค์ในการซื้อ, ชนิดข้าวสารบรรจุถุงที่เลือกซื้อ, ราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ, ความถี่ในการซื้อ, แหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร, บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ

2

Sig.

|

10.107, 11.298, 14.982, 8.407, 14.902, 25.361

.120, .256, .242, .494, .247, .000*

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 5 พบว่าอายุมีผลต่อพฤติกรรมการ เลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ทีร่ ะดับนัยส�ำคัญทาง สถิติ 0.05 พบเพียง 1 ด้าน คือ ด้านบุคคลที่มีอิทธิพล

ในการตัดสินใจซือ้ ดังนัน้ อายุมคี วามสัมพันธ์กบั พฤติกรรม การเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ซึง่ สอดคล้องกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้เพียงบางส่วน

ตารางที่ 6: ปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำแนกตามสถานภาพสมรส

พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง จ�ำแนกตามสถานภาพสมรส ชนิดข้าวสารบรรจุถงุ ทีเ่ ลือกซือ้ , ความถีใ่ นการซือ้ , แหล่งทีเ่ ลือกซือ้ ข้าวสาร, วัตถุประสงค์ในการซื้อ, ราคาข้าวสารบรรจุถงุ ทีซ่ อื้ , บุคคลทีม่ อี ทิ ธิพลในการตัดสินใจซือ้

|

2

Sig.

9.127, 1.397, 1.837, 13.561, 16.424, 53.695

.167, .966, .986, .009* .037*, .000*

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 6 พบว่ า สถานภาพสมรสมี ผ ลต่ อ พฤติ ก รรมการเลื อ กซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข ้ า วสารบรรจุ ถุ ง ที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 พบ 3 ด้าน คือ ด้าน วัตถุประสงค์ในการซื้อ ด้านราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ

30

และด้านบุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ ดังนั้น สถานภาพสมรสมีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐาน ที่ตั้งไว้เพียงบางส่วน


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 7: ปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำแนกตามระดับการศึกษา

พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง จ�ำแนกตามระดับการศึกษา ชนิดข้าวสารบรรจุถุงที่เลือกซื้อ, ราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ, วัตถุประสงค์ในการซื้อ, ความถี่ในการซื้อ, แหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร, บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ

|

2

Sig.

16.402, 15.896, 20.176, 26.366, 31.381, 19.569

.059, .196, .003*, .002*, .002*, .003*

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 7 พบว่ า ระดั บ การศึ ก ษามี ผ ลต่ อ พฤติ ก รรมการเลื อ กซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข ้ า วสารบรรจุ ถุ ง ที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 พบ 4 ด้าน คือ ด้าน วัตถุประสงค์ในการซือ้ ด้านความถีใ่ นการซือ้ ด้านแหล่ง

ทีซ่ อื้ ข้าวสาร และด้านบุคคลทีม่ อี ทิ ธิพลในการตัดสินใจซือ้ ดังนั้นระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ซึ่งสอดคล้องกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้

ตารางที่ 8: ปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำแนกตามอาชีพ

พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง จ�ำแนกตามอาชีพ ชนิดข้าวสารบรรจุถุงที่เลือกซื้อ, ราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ, บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ, วัตถุประสงค์ในการซื้อ, ความถี่ในการซื้อ, แหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร

|

2

Sig.

17.206, 26.094, 10.609, 19.620, 22.584, 32.222

.142, .053, .225, .012*, .031*, .009*

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 8 พบว่าอาชีพมีผลต่อพฤติกรรมการ เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ที่ระดับนัยส�ำคัญ ทางสถิติ 0.05 พบ 3 ด้าน คือ ด้านวัตถุประสงค์ใน การซือ้ ด้านความถีใ่ นการซือ้ และด้านแหล่งทีซ่ อื้ ข้าวสาร

ดังนั้น อาชีพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐาน ที่ตั้งไว้เพียงบางส่วน

31


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 9: ปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำแนกตามรายได้ต่อเดือน

พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง จ�ำแนกตามรายได้ต่อเดือน บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ, วัตถุประสงค์ในการซื้อ, ชนิดข้าวสารบรรจุถุงที่เลือกซื้อ, ราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ, ความถี่ในการซื้อ, แหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร

|

2

Sig.

6.333, 22.961, 21.588, 43.359, 52.164, 51.823

.610, .003*, .042*, .000*, .000*, .000*

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 9 พบว่ารายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีผล ต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 พบ 5 ด้าน คือ ด้าน วัตถุประสงค์ในการซือ้ ด้านชนิดข้าวสารบรรจุถงุ ทีเ่ ลือกซือ้

ด้านราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ ด้านความถี่ในการซื้อ และด้านแหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร ดังนั้นรายได้ต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ข้าวสารบรรจุถุง ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้

ตารางที่ 10: ปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ของผูบ้ ริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำแนกตามรายได้ต่อเดือนของครอบครัว

พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง จ�ำแนกตามรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัว วัตถุประสงค์ในการซื้อ, ชนิดข้าวสารบรรจุถุงที่เลือกซื้อ, ราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ, ความถี่ในการซื้อ, แหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร, บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ

|

2

Sig.

17.0798, 33.084, 41.484, 40.571, 69.002, 18.119

.029*, .001*, .000*, .000*, .000*, .020*

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 10 พบว่ารายได้เฉลี่ยต่อเดือนของ ครอบครัวมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ทีร่ ะดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05

32

พบทั้ง 6 ด้าน ดังนั้นรายได้ต่อเดือนของครอบครัวมี ความสั ม พั น ธ์ กั บ พฤติ ก รรมการเลื อ กซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข้าวสารบรรจุถุง ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

สมมติฐานที่ 2 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ตารางที่ 11: ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครจ�ำแนกตามปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์

พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง จ�ำแนกตามปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ วัตถุประสงค์ในการซื้อ, ราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ, บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ, ชนิดข้าวสารบรรจุถุงที่เลือกซื้อ, ความถี่ในการซื้อ, แหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร

|

2

Sig.

5.446, 19.522, 3.384, 26.981, 21.625, 40.147

.488, .077, .759, .001*, .010*, .000*

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 11 พบว่าปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มคี วาม สัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสาร บรรจุถงุ ทีร่ ะดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 พบ 3 ด้าน คือ ด้านชนิดข้าวสารบรรจุถงุ ทีเ่ ลือกซือ้ ด้านความถีใ่ นการซือ้

และด้านแหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร ดังนั้นปัจจัยด้าน ผลิตภัณฑ์มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐาน ที่ตั้งไว้เพียงบางส่วน

ตารางที่ 12: ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครจ�ำแนกตามปัจจัยด้านราคา

พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง จ�ำแนกตามปัจจัยด้านราคา วัตถุประสงค์ในการซื้อ, ชนิดข้าวสารบรรจุถุงที่เลือกซื้อ, ราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ, แหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร, บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ, ความถี่ในการซื้อ

|

2

Sig.

.620, 20.889, 19.769, 7.194, 7.006, 25.690

1.000, .052, .231, .969, .536, .012*

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 12 พบว่าปัจจัยด้านราคามีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 พบเพียง 1 ด้าน คือ

ด้านความถีใ่ นการซือ้ ดังนัน้ ปัจจัยด้านราคามีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้เพียงบางส่วน

33


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 13: ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครจ�ำแนกตามปัจจัยด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่าย

พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง จ�ำแนกตามปัจจัยด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่าย วัตถุประสงค์ในการซื้อ, ราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ, ความถี่ในการซื้อ, ชนิดข้าวสารบรรจุถุงที่เลือกซื้อ, แหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร, บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ

|

2

Sig.

11.000, 12.613, 13.530, 18.449, 46.577, 14.626

.088, .398, .140, .030*, .000*, .023*

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 13 พบว่าปัจจัยด้านช่องทางการ จัดจ�ำหน่ายมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ทีร่ ะดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 พบ 3 ด้าน คือ พฤติกรรมด้านชนิดข้าวสารบรรจุถุง ทีเ่ ลือกซือ้ ด้านแหล่งทีเ่ ลือกซือ้ ข้าวสาร และด้านบุคคล

ที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อดังนั้นปัจจัยด้านช่องทาง การจ�ำหน่าย มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐาน ที่ตั้งไว้เพียงบางส่วน

ตารางที่ 14: ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครจ�ำแนกตามปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด

พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง จ�ำแนกตามปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด วัตถุประสงค์ในการซื้อ, ชนิดข้าวสารบรรจุถุงที่เลือกซื้อ, ความถี่ในการซื้อ, แหล่งที่เลือกซื้อข้าวสาร, บุคคลทีม่ อี ทิ ธิพลในการตัดสินใจซือ้ , ราคาข้าวสารบรรจุถงุ ทีซ่ อื้

|

2

Sig.

3.045, 15.555, 13.228, 11.033, 8.207, 29.581

.931, .212, .353, .807, .414, .020*

* มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 14 พบว่าปัจ จัยด้านการส่ง เสริม การตลาดมี ค วามสั ม พันธ์กับ พฤติก รรมการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ทีร่ ะดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 พบเพียง 1 ด้าน คือ ด้านราคาข้าวสารบรรจุถุงที่ซื้อ ดังนัน้ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาดมีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุง ซึ่ง สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้เพียงบางส่วน

34

อภิปรายผลการวิจัย 1. จากผลการวิจัยปัจจัยส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่าง ผู้บริโภคที่เคยซื้อข้าวสารบรรจุถุงขนาด 5 กิโลกรัม ในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ ระหว่าง 20-30 ปี มีสถานภาพโสด ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษทั เอกชนจ�ำนวน มีรายได้ต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป รายได้เฉลี่ยของ ครอบครัวเรือน 80,001 บาทขึ้นไป และการบริโภค ข้าวสารโดยเฉลีย่ ต่อสัปดาห์ 1-2 กิโลกรัม ซึง่ สอดคล้อง


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

กับงานวิจัยของวิภาวดี ทองสุข (2552) ศึกษาวิจัยเรื่อง “ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การตั ด สิ น ใจเลื อ กซื้ อ ข้ า วสาร บรรจุถงุ ของผูบ้ ริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร” โดยได้วจิ ยั ถึงปัจจัยส่วนบุคคลทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการเลือกซือ้ คือ ผูซ้ อื้ มักจะเป็นผู้หญิงมากกว่าผู้ชายและมีอายุตั้ง 20-29 ปี การศึกษาของผู้ที่ซื้อจะอยู่ในระดับปริญญาตรีมากที่สุด ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นนักเรียน/นักศึกษา ในส่วนเรือ่ งเงินเดือน ของผูท้ ซี่ อื้ มากทีส่ ดุ จะอยูใ่ นเกณฑ์ทตี่ ำ�่ กว่า 10,001 บาท และยังสอดคล้องกับบริษัทนาโน เซิร์ช จ�ำกัด โดย บิสสิเนสไทย (2550) ได้วิเคราะห์เกี่ยวกับ ผู้ซื้อภักดี เลือกข้าวถุงยี่ห้อเดิม ช่องทางสื่อที่ร้านจ�ำหน่ายมีผล ส่วนใหญ่แล้วผู้บริโภคมักเลือกซื้อข้าวสารที่แตกต่างกัน ออกไปและพบว่าพฤติกรรมการเลือกซือ้ ข้าวสารบรรจุถงุ เฉพาะในเขตกรุงเทพและปริมณฑลเป็นผู้หญิงมากกว่า ผูช้ าย อายุของกลุม่ ตัวอย่างจะอยูท่ ี่ 25-35 ปี จบการศึกษา ในระดับปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่ มีอาชีพเป็นพนักงาน บริษัทเอกชน และมีรายได้ไม่เกิน 15,000 บาท 2. จากผลการวิจัยปัจจัยพฤติกรรมการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงจากกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มี วัตถุประสงค์ในการซือ้ เพือ่ บริโภคอย่างเดียว โดยเลือกซือ้ ข้าวหอมมะลิ เจาะจงเลือกซื้อยี่ห้อ มาบุญครอง เพราะ สะอาด/ปลอดภัย โดยจะเลือกซือ้ ทีร่ าคา 141-160 บาท ต่อถุงจะซือ้ 2-3 ถุง ในการซือ้ ทีเ่ ดือนละครัง้ แหล่งทีซ่ อื้ ที่ดิสเคาน์สโตร์ (บิ๊กซี, โลตัส ฯลฯ) ซึ่งจะสอดคล้องกับ งานวิจัยของสุชาดา ร่มไทรทอง (2551) ศึกษาเกี่ยวกับ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการเลือกซื้อข้าวสาร บรรจุถุงตรามาบุญครองของผู้บริโภคจังหวัดปทุมธานี พบว่า ผู้บริโภคจังหวัดปทุมธานีมีระดับความคิดเห็น ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าผูบ้ ริโภคมีความความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก 3 ด้าน โดยค่าเฉลีย่ สูงสุดตามล�ำดับคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่าย โดยพบว่าผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่ ให้ความคิดเห็นเกีย่ วกับข้าวสารบรรจุถงุ ตรามาบุญครอง โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก คือ ข้าวสารบรรจุถงุ ได้รบั การรับรองมาตรฐาน ความหลากหลายของขนาดและ

รูปลักษณ์บรรจุภณ ั ฑ์ขา้ วสาร บรรจุภณ ั ฑ์ทใี่ ช้บรรจุขา้ วสาร ปิดสนิท การให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการหุง ข้อมูลเกี่ยวกับ แหล่งทีม่ าและประเภทของข้าวสารทีน่ ำ� มาจ�ำหน่ายและ ชื่อเสียงของตรายี่ห้อของผลิตภัณฑ์ 3. จากผลการวิจยั ระดับความส�ำคัญของกระบวนการ ตัดสินใจเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสารบรรจุถงุ ของผูบ้ ริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครพบว่าเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาและรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัว (ยกเว้นอาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้บริโภค) มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ข้าวสารบรรจุถงุ เนือ่ งจากข้าวนัน้ มีความสะอาด/ปลอดภัย โดยราคาก็เหมาะสมกับรสชาติทไี่ ด้ทาน ในด้านพฤติกรรม ด้านบุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อและปัจจัยด้าน ผลิตภัณฑ์และปัจจัยด้าน ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายมี ความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขา้ วสาร บรรจุถงุ ในพฤติกรรมด้านชนิดข้าวสารบรรจุถงุ ทีเ่ ลือกซือ้ ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของนฤมล อดิเรกโชติกลุ (2548) ได้ทำ� การศึกษาวิจยั เรือ่ ง “พฤติกรรมผูบ้ ริโภคในการซือ้ ข้าวสารบรรจุถุงในกรุงเทพมหานคร” พบว่า ผู้บริโภค ส่วนใหญ่มีเหตุผลในการซื้อข้าวสารบรรจุถุงเพื่อน�ำมา บริโภคในครัวเรือน และใช้ในการประกอบอาหารจ�ำหน่าย ซึ่งได้ศึกษาถึงชนิดของข้าวสารบรรจุถุงที่ผู้บริโภคได้ซื้อ ส่วนใหญ่จะเป็นข้าวหอมมะลิ รองลงมา คือ ข้าวขาวธรรมดา และข้าวกล้องหรือข้าวซ้อมมือตามล�ำดับ ส่วนการเจาะจง ในยี่ห้อที่เลือกซื้อนั้น ผู้บริโภคส่วนใหญ่มักจะเจาะจง ยีห่ อ้ ในการเลือกซือ้ มากกว่าไม่เจาะจงส่วนยีห่ อ้ ข้าวสาร ที่ได้รับการถูกเลือกซื้อมากที่สุดได้แก่ ข้าวมาบุญครอง รองลงมา ข้าวหงส์ทอง ข้าวตราเกษตร ตามล�ำดับ ส�ำหรับเหตุผลในการเลือกซือ้ ข้าวแต่ละยีห่ อ้ นัน้ ปัจจัยหลัก มาจากมีการรับรองคุณภาพมาตรฐาน รองลงมาคือ ความสะดวก/หาซื้อง่าย ความสะอาด/ปลอดภัย ราคา ทีเ่ หมาะสม การเชือ่ มัน่ ในตราสินค้า รสชาติ บรรจุภณ ั ฑ์ดี ตามล�ำดับ ความถี่ในการซื้อของข้าวต่อลูกค้ามากที่สุด คือ ซื้อเดือนละประมาณหนึ่งครั้ง

35


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ข้อเสนอแนะเพื่อการน�ำไปใช้ จากการศึกษาปัจจัยทีม่ ผี ลต่อพฤติกรรมการเลือกซือ้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข ้ า วสารบรรจุ ถุ ง ในเขตกรุ ง เทพมหานคร ทางด้านทัศนคติและส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) เพื่อให้สามารถทราบถึงความต้องการด้านผลิตภัณฑ์ ข้าวสารบรรจุถงุ ทีล่ กู ค้าต้องการ ซึง่ เป็นสิง่ ทีผ่ คู้ า้ ข้าวสาร บรรจุถุงอื่นๆ สามารถน�ำไปปรับปรุงแก้ไขได้ทันท่วงที โดยมีข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้ 1. ด้ า นทั ศ นคติ ที่ ท างบริ ษั ท ผู ้ จ� ำ หน่ า ยข้ า วสาร บรรจุถงุ จะต้องมีความรอบรูใ้ นพฤติกรรมต่างๆ ของลูกค้า เพือ่ ท�ำให้ลกู ค้าเกิดทัศนคติทดี่ ตี อ่ ตราผลิตภัณฑ์ขา้ วสาร บรรจุถุง เกิดภาพลักษณ์ที่ดีตลอดจนมีผลิตภัณฑ์และ โปรโมชั่นที่ดึงดูดให้เกิดความน่าสนใจ รวมไปถึงมีการ บอกต่อให้แก่คนรูจ้ กั เพือ่ ช่วยเพิม่ จ�ำนวนลูกค้าให้มากขึน้ 2. ส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) ด้านผลิตภัณฑ์ หรือรูปแบบของผลิตภัณฑ์จะต้องมีความหลากหลาย ครอบคลุมความต้องการ ราคาของผลิตภัณฑ์ตอ้ งมีความ เป็นธรรมและคุม้ ค่าแก่ผลิตภัณฑ์ มีชอ่ งทางการจัดจ�ำหน่าย ทีเ่ ข้าถึงผูบ้ ริโภคได้งา่ ย มีการส่งเสริมทางการตลาดและ มีของสมนาคุณที่ดึงดูดใจ มีการโฆษณาที่ชัดเจน ซึ่งจะ ช่วยให้ผลิตภัณฑ์มแี ผนการตลาดทีแ่ ข็งแกร่ง ช่วยดึงดูด ให้ลูกค้ามาซื้อผลิตภัณฑ์ได้มากขึ้น และสร้างส่วนแบ่ง ทางการตลาดที่เพิ่มขึ้นได้อีกด้วย

บรรณานุกรม

กรมการปกครอง. (2554). การให้บริการสถิตแิ ละข้อมูล จ�ำนวนประชากรและบ้าน ปี 2554. สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2553, จาก กรมการปกครอง เว็ บ ไซต์ : http://203.113.86.149/xstat/ pop53_1.html คูแ่ ข่งการธุรกิจ. (2553). ผูซ้ อื้ ภักดีเลือกข้าวถุงยีห่ อ้ เดิม หรือไม่. สืบค้นเมือ่ 30 มิถนุ ายน 2553, จาก บริษทั นาโน เซิรช์ จ�ำกัด เว็บไซต์: www.nanosearch.com

36

ธีรพันธ์ โล่ห์ทองค�ำ. (2545). IMC In Action สื่อสาร การตลาดแบบครบวงจรเชิงปฏิบัติการ. กรุงเทพฯ: บริษัท ทิปปิ้ง พอยท์ จ�ำกัด. ณัฐนันท์ วิจิตรอักษร. (2549). พฤติกรรมการแข่งขัน ของธนาคารพาณิชย์ไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์, 24(3), 1-67. นฤมล อดิเรกโชติกลุ . (2548). พฤติกรรมผูบ้ ริโภคในการ ซือ้ ข้าวสารบรรจุถงุ ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. บริษทั นาโน เซิรช์ จ�ำกัด. (2552). ข้อมูลนักลงทุน, จาก บริษทั ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี จ�ำกัด (มหาชน) เว็บไซต์: http://www.patumrice.com ผูจ้ ดั การรายสัปดาห์. (2553). บทความผูจ้ ดั การรายสัปดาห์. สื บ ค้ น เมื่ อ 30 เมษายน 2553, จากผู ้ จั ด การ ออนไลน์ เว็บไซต์: www.manager.co.th วิภาวดี ทองสุข. (2552). ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการตัดสินใจ เลื อ กซื้ อ ข้ า วสารบรรจุ ถุ ง ของผู ้ บ ริ โ ภคในเขต กรุงเทพมหานคร. รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนคร. ศิรวิ รรณ เสรีรตั น์. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ธรรมสาร. สุชาดา ร่มไทรทอง. (2551). ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดในการเลื อ กซื้ อ ข้ า วสารบรรจุ ถุ ง ตรา มาบุญครองของผูบ้ ริโภคจังหวัดปทุมธานี. รายงาน การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. Gazebo. (2553). การสร้างแบรนด์ขา้ วถุงให้แข็งแกร่ง. สืบค้นวันที่ 27 กรกฎาคม 2553, จากประชาชาติ ธุรกิจ เว็บไซต์: www.prachachat.net


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Sareeya Autchasai graduated her Bachalor Degree in Accounting from Bangkok University, and she has been working in private sectors with many well known companies. She also has been working part time as an independent researcher to bridge the gap between practice and academics. Assistant Prof. Dr. Lugkana Worasinchai is the Co-Director of the Ph.D. program in Knowledge Management and Innovation Management (KIM) and the Director of the Institute of Research Promotion and Innovation Development (IRID), Bangkok University. In addition, Lugkana Worasinchai is the Co-Founder and Co-Managing Director of the Institute for Knowledge and Innovation South-East Asia (IKI-SEA), Bangkok University. She teaches undergraduate and graduate courses in Business Administration, and is actively involved in research on the relationship between knowledge management and business strategies. Lugkana Worasinchai is a published scholar, her articles appearing in major academic journals. She gives seminars to firms and public sector organizations, and is regularly invited as a guest lecturer by reputable international universities

37


ฤติกรรมและปัจจัยส�ำคัญที่มีต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ ของผู้บริโภคจากการสื่อสารการตลาดในรูปแบบ สื่อสังคมออนไลน์ Behavior and Key Factors that Influence Purchasing Behavior from Social Media Marketing Communication จิตติมา จารุวรรณ์ นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ E-mail: jittima.c@live.com ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรกัญญา โฆษิตานนท์ ผู้อ�ำนวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ E-mail: mbansru@gmail.com

บทคัดย่อ

38

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ปัจจัยส�ำคัญ จากการสื่อสารการตลาดในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์และการซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคจาก การสือ่ สารการตลาดในรูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์ (2) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคล และพฤติกรรม การใช้สอื่ สังคมออนไลน์ของผูบ้ ริโภคทีม่ ผี ลต่อการซือ้ ผลิตภัณฑ์ของผูบ้ ริโภคจากการสือ่ สารการตลาด ในรูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์ และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส�ำคัญจากการสือ่ สารการตลาด ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ที่ส่งผลต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคจากการสื่อสารการตลาด ในรูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์ ประชากรทีใ่ ช้ในการศึกษาวิจยั คือ ผูบ้ ริโภคทีม่ กี ารใช้งานสือ่ สังคมออนไลน์ จ�ำนวนทัง้ สิน้ 400 คน เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษาวิจยั คือ แบบสอบถามออนไลน์ เพือ่ เก็บรวบรวม ข้อมูลที่ได้น�ำมาวิเคราะห์ เพื่อหาค่าสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เปรียบเทียบ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุ ผลการวิจยั พบว่า กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง ระดับการศึกษาสูงสุดจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษทั เอกชน มีอายุเฉลี่ยอยู่ที่ 28.52 ปี และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ที่ 25,937.50 บาท ผลการศึกษา พบว่า (1) สื่อสังคมออนไลน์ที่มีการเข้าใช้งานอย่างสม�่ำเสมอมากที่สุด คือ Facebook ผู้บริโภค


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

มีวัตถุประสงค์ของการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อสนทนาโต้ตอบกันระหว่างกลุ่มเพื่อน และสมาชิก ในเครือข่าย เหตุผลทีใ่ ช้สอื่ สังคมออนไลน์ เพราะสือ่ สังคมออนไลน์นนั้ สะดวกและรวดเร็วในการสือ่ สาร นอกจากนี้ช่วงเวลาที่ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ที่เข้าใช้งานมากที่สุด คือ ช่วงเวลา 20.01-24.00 น. โดยสถานที่ที่ผู้ตอบแบบสอบถามเข้าใช้งานสื่อสังคมออนไลน์เป็นประจ�ำมากที่สุด คือ ที่บ้าน และประเภทของอุปกรณ์ดจิ ติ อลทีผ่ ตู้ อบแบบสอบถามท�ำการเข้าใช้งานสือ่ สังคมออนไลน์มากทีส่ ดุ คือ คอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล (PC) ปัจจัยส�ำคัญของการสือ่ สารการตลาดในรูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์ ทีส่ ง่ ผลต่อการซือ้ ผลิตภัณฑ์พบว่า ผูบ้ ริโภคสือ่ สังคมออนไลน์นนั้ โดยเฉลีย่ ให้ความส�ำคัญกับปัจจัย ส�ำคัญของการสื่อสารการตลาดในรูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์อยูใ่ นระดับมาก และการซือ้ ผลิตภัณฑ์ ของผูบ้ ริโภคจากการสือ่ สารการตลาดในรูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์ ในขัน้ ความเข้าใจ ขัน้ ความรูส้ กึ และขั้นพฤติกรรม โดยเฉลี่ยแล้วมีการซื้อผลิตภัณฑ์อยู่ในระดับมากที่สุด (2) เพศ ที่ต่างกันไม่มี ผลต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคจากการสื่อสารการตลาดในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ที่เข้าใช้งานสม�่ำเสมอ วัตถุประสงค์ ของการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เหตุผลที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ และคุณสมบัติของสื่อสังคมออนไลน์ ที่เลือกใช้งานต่างกัน มีผลต่อการซื้อผลิตภัณฑ์หลังจากบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ทางการสื่อสาร การตลาด ต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ี่ .05 (3) ปัจจัยส�ำคัญจากการสือ่ สารการตลาดในรูปแบบ สือ่ สังคมออนไลน์ มีความสัมพันธ์กบั การซือ้ ผลิตภัณฑ์ของผูบ้ ริโภคจากการสือ่ สารการตลาดในรูปแบบ สือ่ สังคมออนไลน์ ขัน้ ความเข้าใจ ขัน้ ความรูส้ กึ และขัน้ พฤติกรรมทัง้ ในทิศทางเดียวกัน และในทิศทาง ที่ต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ .05 ค�ำส�ำคัญ: สื่อสังคมออนไลน์ การสื่อสารการตลาด

Abstract

The purposes of this study were to study (1) social media behavior, essential factors of social media marketing and consumer purchasing behavior from marketing communication via social media marketing, (2) to compare personal characteristics and social media behavior that influence the consumer purchasing behavior from social media marketing communication, (3) to study the relationship of essential factors from social media marketing that affect purchasing behavior from marketing communication via social media marketing. The sample of this research included all 400 people who used social media on a regular basis. Data collection was done by using the online questionnaires. The statistics involved quantitative study were presented in percentages, arithmetic means, and standard deviation. The hypothesis testing employed the one-way analysis of variance and the regression analysis. The findings can be summarized as follows: The sample was mostly female and the highest education level of the sample was mostly bachelor degree.

39


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

In terms of occupation, the sample was mostly private company employees. The sample had an average age of 28.52 years old with an average monthly income of 25,937.50 baht. The research result indicated that (1) the popular social media were Facebook and the main purpose of using social media were to have interactive conversation on interact among friends and network members. The reason to use social media was that social media was quick and easy to communicate. In using online social media, the most active period was from 8.01 pm to 12.00 pm. Mostly, the location to use online social media was at home. And personal computer (PC) was the digital device most respondents made use of when of using online social media. The essential factors of social media marketing communication that influence the purchasing behavior revealed that the sample on average rated social media marketing communication at the highly important level. After using social media marketing communication in cognitive step, affective step and behavioral step, on average the purchases after using social media marketing were at the highest level. (2) The difference in gender did not affect purchasing behavior from marketing communication. But the difference in age, education level, occupation, income, type of social media always used, purpose of social media using, social media reasons for using and social media characteristic for using affect purchasing behavior from social media marketing communication significantly at the level of 0.05 (3) The important factors from social media marketing communication were related to purchasing behavior after using social media marketing communication at cognitive step, affective step and behavior step in the same direction and in different directions significantly at the 0.05 level. Keywords: Social Media, Marketing Communication บทน�ำ การสื่อสารการตลาดบนสื่อสังคมออนไลน์เข้ามามี บทบาทและมีอิทธิพลอย่างมากในปัจจุบัน การเข้าถึง กลุ่มผู้บริโภคนั้น ยังคงมีปัจจัยร่วมอื่นๆ ที่จะท� ำให้ องค์กรสามารถเข้าถึงกลุม่ เป้าหมายได้อย่างสมบูรณ์และ ประสบความส�ำเร็จจากการท�ำการตลาดในรูปแบบนี้ ส�ำหรับในประเทศไทยยังคงมีการน�ำสื่อสังคมออนไลน์ ในจ�ำนวนไม่มากนัก เนื่องจากผู้ที่น�ำสื่อสังคมออนไลน์ มาใช้ นั้ น อาจยั ง ไม่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การสื่ อ สาร การตลาดกับผู้บริโภคที่เป็นกลุ่มเป้าหมายผ่านทางการ

40

สื่อสารช่องทางนี้เท่าที่ควร และไม่ทราบถึงปัจจัยที่มีผล ต่อการเกิดพฤติกรรมหลังจากท�ำการสื่อสารการตลาด ไปยังผู้บริโภค คุณลักษณะ รูปแบบ และเนื้อหาของ สื่อสังคมออนไลน์แต่ละประเภท จึงมีผลต่อการเกิด พฤติกรรมของผู้บริโภคแตกต่างกันไปด้วย ดังนั้นผู้วิจัย จึงท�ำการวิจัยในเรื่อง พฤติกรรมและปัจจัยส�ำคัญจาก การสือ่ สารการตลาดทีม่ ตี อ่ การซือ้ ผลิตภัณฑ์ของผูบ้ ริโภค จากการสื่อสารการตลาดในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อเป็นแรงผลักดันให้ธุรกิจต่างๆ สามารถน�ำสื่อสังคม ออนไลน์มาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารการตลาดให้เกิด


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ประโยชน์ได้อย่างสูงสุด รวมไปถึงสามารถสร้างความ ส� ำ เร็ จ จากการสื่ อ สารการตลาดในรู ป แบบสื่ อ สั ง คม ออนไลน์ต่อไปในอนาคต วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ปัจจัยที่ส�ำคัญทางด้านการสื่อสารการตลาดในรูปแบบ สื่อสังคมออนไลน์ และการซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค จากการสื่อสารการตลาดในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ 2. เพือ่ เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคล และพฤติกรรม การใช้สื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการซื้อ ผลิตภัณฑ์ของผูบ้ ริโภคจากการสือ่ สารการตลาดในรูปแบบ สื่อสังคมออนไลน์ 3. เพือ่ ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส�ำคัญจากการ สือ่ สารการตลาดในรูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์ทสี่ ง่ ผลต่อ การซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคจากการสื่อสารการตลาด ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ สมมติฐานในการวิจัย 1. ลักษณะส่วนบุคคลทีแ่ ตกต่างกัน มีผลต่อการซือ้ ผลิตภัณฑ์หลังบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ทางการสื่อสาร การตลาดแตกต่างกัน 2. พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภค ที่แตกต่างกัน มีผลต่อการซื้อผลิตภัณฑ์หลังบริโภค สื่อสังคมออนไลน์ทางการสื่อสารการตลาดแตกต่างกัน 3. ปัจจัยที่ส�ำคัญทางด้านการสื่อสารการตลาดใน รู ป แบบสื่ อ สั ง คมออนไลน์ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ การซื้ อ ผลิตภัณฑ์หลังบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ทางการสื่อสาร การตลาดในล�ำดับขั้นต่างๆ ทบทวนวรรณกรรม แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารการตลาดในรูปแบบ สื่อสังคมออนไลน์ จากการศึ ก ษาแนวคิ ด ของภิ เ ษก ชั ย นิ รั น ดร์ (2553ก: 28) พบว่าสื่อสังคมออนไลน์นั้นมีการพัฒนา

ต่อเนื่อง ท�ำให้บรรดาผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถเผยแพร่ เนือ้ หาได้โดยง่ายขึน้ ไม่วา่ จะเป็นในรูปแบบของข้อความ รูปภาพ วิดโี อ เสียง และอืน่ ๆ ส่งผลให้สอื่ สังคมออนไลน์ กลายมาเป็นช่องทางหนึ่งในการท�ำการตลาดที่ส�ำคัญ อีกทั้งยังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากทั้งใน ต่ า งประเทศและประเทศไทย ทั้ ง นี้ เ พราะสื่ อ สั ง คม ออนไลน์สามารถสื่อสารไปยังผู้บริโภคได้จ�ำนวนมาก และผู้บริโภคสามารถน�ำเนื้อหาจากสื่อสังคมออนไลน์ มาเป็นข้อมูลในการตัดสินใจเมื่อต้องการซื้อสินค้าหรือ บริการได้อีกทางหนึ่ง นอกจากนี้สื่อสังคมออนไลน์เป็น ศูนย์รวมในการแลกเปลีย่ นประสบการณ์การใช้งานจาก สินค้านั้นๆ ได้เป็นอย่างดี จนส่งผลให้องค์กรต่างๆ เริ่ม หันมาสนใจการตลาดรูปแบบใหม่นี้ เพราะเป็นช่องทางหนึง่ ที่มีศักยภาพสูงในการสร้างตราสินค้าให้ผู้บริโภครับรู้ และขยายเครือข่ายการรับรูข้ า่ วสารจากองค์กรออกไปได้ อย่างกว้างขวาง ดังนั้นการตลาดจึงไม่ถูกเฉพาะเจาะจงให้อยู่ในสื่อ พื้นฐานแบบเดิม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการสื่อสารทางเดียว (One-way communication) โดยทีอ่ งค์กรไม่สามารถ โต้ตอบหรือแก้ไขข้อมูลได้เลยเมือ่ สินค้ามีปญ ั หาหรือเกิด การรับรูท้ ผี่ ดิ ๆ เกีย่ วกับสินค้าและบริการและนีค่ อื จุดเด่น ของสื่อสังคมออนไลน์นั่นเอง เพราะองค์กรไม่จ�ำเป็น ต้องลงทุนมากมายเพื่อให้ตราสินค้าเป็นที่รู้จักอีกต่อไป หากแต่สามารถใช้สื่อสังคมออนไลน์ให้เกิดประโยชน์ และสร้างการรับรู้ที่เป็นประโยชน์ทั้งผู้บริโภครวมถึง องค์กรไปพร้อมๆ กัน การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์ทางการตลาด จากการศึกษาแนวคิดของ อรรถทวี เจริญวัฒนวิญญู (2551 : ออนไลน์) พบว่า การตลาดในรูปแบบ Social network หรือการตลาดเครือข่ายสังคม ที่แท้จริงแล้ว ผู้บริโภคเข้ามาในเว็บไซต์เหล่านี้เพื่อติดต่อกับเพื่อนๆ เพื่อสร้างเครือข่าย หรือสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง หมูเ่ พือ่ น หรือสมาชิกในกลุม่ ทีม่ คี วามชอบเหมือนๆ กัน ซึ่งสามารถพัฒนาต่อไปเป็นชุมชน หรือ Community นักการตลาดจึงน�ำเทคโนโลยีการสร้างเครือข่ายสังคม

41


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ของผูบ้ ริโภคมาเป็นช่องทางหนึง่ ในการท�ำการตลาดของ องค์กร ซึ่งองค์กรสามารถเข้าไปสร้างภาพลักษณ์ หรือ ตั ว ตนที่ แ ท้ จ ริ ง ในเว็ บ เครื อ ข่ า ยสั ง คม หรื อ Social network site ต่างๆ หากองค์กรสามารถสร้างตัวตน และความน่าเชื่อถือขององค์กรผ่านสื่อเหล่านี้ได้นั้น องค์กรจะสามารถสร้างเครือข่ายผู้ติดตามในเว็บไซต์ เครือข่ายสังคมได้เป็นอย่างดี เมื่อตราสินค้า (Brand) ขององค์กรกลายเป็นทีร่ จู้ กั ผูบ้ ริโภคจะมองว่าตราสินค้า นัน้ ๆ มีความน่าเชือ่ ถือ เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในเรือ่ งของสินค้า และบริการนั้นๆ ซึ่งนอกจากสื่อเครือข่ายสังคมแล้ว ในปัจจุบนั ยังไม่มสี อื่ ใดๆ ทีจ่ ะสามารถสร้างความสัมพันธ์ หรือสร้างเครือข่ายระหว่างองค์กรกับผูบ้ ริโภคได้เท่ากับ โลกของ Social network และหากองค์กรสามารถสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดี มีคุณค่า มีประโยชน์ ระหว่างกัน ในเครือข่ายได้มากขึ้นเท่าไร สิ่งที่องค์กรต้องการสื่อ ออกไปถึงผู้บริโภคผ่านสื่อเครือข่ายสังคมจะกระจาย ออกไป หรือการบอกต่อแบบปากต่อปาก ซึง่ เมือ่ มองใน มุมของนักการตลาดแล้วนัน้ สือ่ เครือข่ายสังคมออนไลน์ สามารถลดต้นทุนในการโฆษณาได้เป็นอย่างดีเมือ่ น�ำมา เปรียบเทียบกันกับการตลาดที่ใช้สื่อแบบอื่นๆ หรือ Traditional advertising medias เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สิ่งพิมพ์ และหนังสือพิมพ์ เป็นต้น ปัจจัยส�ำคัญของการสื่อสารการตลาดในรูปแบบ สื่อสังคมออนไลน์ วิเลิศ ภูรวิ ชั ร (2553 : ออนไลน์) ได้กล่าวถึง การใช้ สื่อเครือข่ายสังคมให้ยั่งยืนทางการตลาดว่า การใช้สื่อ สังคมออนไลน์นั้นไม่ใช่เพียงแค่สินค้าใหม่ที่มาเร็วไปเร็ว และสุดท้ายจะไม่มีใครให้ความสนใจจนหายไปในที่สุด โดยปกตินั้นสินค้าใหม่ๆ จะเริ่มจากกลุ่มเล็กๆ และไม่ สามารถขยายผลในวงกว้างต่อไปได้ ซึง่ ต่างจากสือ่ สังคม ออนไลน์ทสี่ ามารถขยายวงกว้างมากขึน้ เรือ่ ยๆ ความน่า สนใจของสือ่ สังคมออนไลน์ทางการตลาด คือ การสามารถ ประยุกต์ใช้ได้กับทั้งองค์กรขนาดใหญ่จนถึงขนาดเล็ก เพราะเป็นการสื่อสารทางการตลาดที่มีต้นทุนต�่ำ และ ได้ผลตรงไปยังกลุ่มเป้าหมายได้เป็นอย่างดี ไม่ใช่แค่

42

องค์กรระดับโลกที่น�ำสื่อเครือข่ายสังคมมาใช้ แต่ธุรกิจ เล็กๆ อย่างร้านอาหารก็สามารถน�ำมาใช้ได้ และทีส่ ำ� คัญ การสือ่ สารในปัจจุบนั นัน้ ไม่ได้จบเพียงแค่การซือ้ เท่านัน้ แต่จบลงที่การแบ่งปัน (Share) เพราะลูกค้าสามารถ แบ่งปันข้อมูลกันได้ตลอดเวลาผ่านสื่อเครือข่ายสังคม หลักการในการสร้างสื่อเครือข่ายสังคม และสื่อสังคม ออนไลน์ เพื่อประยุกต์ใช้กับทางการตลาดนั้น มีสิ่งที่ ต้องให้ความส�ำคัญหลายประการ โดยแบ่งออกเป็นด้าน ต่างๆ ได้ดังนี้ 1. ด้านการตอบสนอง (Instant) สือ่ สังคมออนไลน์ ต้องสามารถตอบสนองลูกค้าได้ในทันที และสิ่งที่น�ำมา สนทนากันหรือเนื้อหาต้องทันสมัย ทันเหตุการณ์ จึงจะ สามารถจูงใจให้คนที่ติดตามสื่อสังคมออนไลน์เข้ามามี ส่วนร่วมได้มาก 2. ด้านการสือ่ สาร (Interactive) ต้องเป็นการสือ่ สาร สองทาง ระหว่างองค์กรทีน่ ำ� สือ่ สังคมออนไลน์มาใช้และ สมาชิกในเครือข่ายอยู่อย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่อง 3. ด้านการตอบสนองระดับบุคคล (Individualization) ต้องสามารถเข้าถึงลูกค้าได้ ซึ่งสื่อสังคมออนไลน์ ต้องมีกิจกรรมที่สามารถให้ลูกค้าเป็นผู้เลือกได้ และ เป็นการสื่อสารในระดับบุคคลแบบตัวต่อตัว นอกจากนี้ กิจกรรมที่น�ำมาสร้างในสื่อสังคมออนไลน์ต้องเข้าใจ ลูกค้าด้วย 4. ด้านความต้องการของผูบ้ ริโภค (Insight) องค์กร ต้องมีความเข้าใจกลุม่ เป้าหมาย หรือลูกค้า การวิเคราะห์ แรงจูงใจและความต้องการที่แท้จริงของลูกค้าก่อนที่จะ ท�ำกิจกรรมเป็นสิง่ ส�ำคัญ ทีจ่ ะสามารถสร้างความสัมพันธ์ ที่ดีกับลูกค้า เพื่อให้ลูกค้านั้นติดตามสื่อสังคมออนไลน์ ขององค์กรอยู่อย่างสม�่ำเสมอ 5. ด้านการโฆษณาทีม่ องไม่เห็น (Invisible) หากมี การส่งเสริมการตลาดไม่วา่ จะเป็นโฆษณา หรือการส่งเสริม การขายเพือ่ กระตุน้ ยอดขายแล้ว ต้องท�ำให้ลกู ค้าไม่รสู้ กึ ว่าเป็นการยัดเยียดหรือพยายามที่จะขายสินค้าหรือ บริการมากจนเกินไป


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

6. ด้านความสอดคล้อง (Integration) การใช้สื่อ สังคมออนไลน์ ต้องสัมพันธ์กบั ธุรกิจหรือร้านค้าทีม่ อี ยูจ่ ริง และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ไม่ขัดแย้งทั้งในลักษณะ ทางกายภาพ รวมไปถึงสินค้าหรือบริการที่น�ำเสนอด้วย เช่นกัน เพื่อให้ลูกค้านั้นไม่สับสน 7. ด้านความเป็นตัวตน (Identity) องค์กรต้องแสดง ความเป็นเอกลักษณ์ที่ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นตราสินค้า สินค้าหรือบริการ เมื่อลูกค้าเห็นจะสามารถจดจ�ำได้ ในทันที ดังนั้นสื่อสังคมออนไลน์จึงเป็นช่องทางหนึ่งที่ ส�ำคัญ ทีจ่ ะท�ำให้ลกู ค้านัน้ สามารถจดจ�ำตราสินค้าองค์กร รวมถึงความเป็นเอกลักษณ์ขององค์กรได้เป็นอย่างดี อีกทางหนึ่ง กรอบแนวคิดของการวิจัย ตัวแปรอิสระ ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย (1) ลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สูงสุด อาชีพ และรายได้ (2) พฤติกรรมการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ของผูบ้ ริโภค ได้แก่ สือ่ สังคมออนไลน์ทที่ า่ นเป็น สมาชิกและเข้าใช้งานอย่างสม�่ำเสมอ วัตถุประสงค์ของ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ เหตุผลที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ และคุณสมบัติของสื่อสังคมออนไลน์ที่ท�ำให้เลือกใช้งาน (3) ปัจจัยส�ำคัญจากการสื่อสารการตลาดในรูปแบบสื่อ สังคมออนไลน์ ได้แก่ ปัจจัยด้านการตอบสนองต่อ ผู้บริโภค ปัจจัยด้านการสื่อสารสองทาง ปัจจัยด้านการ ตอบสนองระดับบุคคล ปัจจัยด้านความต้องการของ ผูบ้ ริโภค ปัจจัยด้านการน�ำเสนอเนือ้ หา ปัจจัยด้านความ สอดคล้องกับภาพลักษณ์ขององค์กร และปัจจัยด้าน เอกลักษณ์ขององค์กร ตัวแปรตาม ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ พฤติกรรม หลังบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ทางการสื่อสารการตลาด ได้แก่ ขั้นความเข้าใจ ขั้นความรู้สึก และขั้นพฤติกรรม วิธีการวิจัย ประชากรในการศึกษาวิจยั ครัง้ นีค้ อื ผูบ้ ริโภคทีม่ กี าร ใช้ ง านสื่ อ สั ง คมออนไลน์ แ ละมี ก ารบริ โ ภคสื่ อ สั ง คม

ออนไลน์ทางการตลาดโดยไม่จำ� กัดพืน้ ทีใ่ นการศึกษาวิจยั เนื่องจากเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็น แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ ท�ำการเผยแพร่ผ่านทาง สื่อสังคมออนไลน์ ท�ำการก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ประชากรด้วยตารางส�ำเร็จรูป โดยใช้ขนาดของกลุ่ม ตัวอย่างจากตารางส�ำเร็จรูปของยามาเน่ (Yamane) และส�ำหรับประชากรที่ไม่ทราบจ�ำนวนที่แน่นอนใช้ กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 398 ตัวอย่าง ดังนั้นผู้วิจัยจึงใช้ กลุ่มตัว อย่างทั้งสิ้น 400 ตัว อย่าง ผู้วิจัยได้ท�ำการ วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (Reliability) โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ตามวิธีของ Cronbach ได้ค่าความเชื่อมั่นจากเรื่องพฤติกรรมการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ ได้ค่า Alpha = .8730 ปัจจัยส�ำคัญของ การสื่อสารการตลาดในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ ได้ค่า Alpha = .9517 และพฤติกรรมหลังบริโภคสื่อสังคม ออนไลน์ทางการสือ่ สารการตลาด ได้คา่ Alpha = .9767 ซึง่ ค�ำถามในแต่ละตอนมีคา่ สูงเพียงพอทีจ่ ะใช้ในงานวิจยั ได้ หลังจากเก็บข้อมูลแล้วน�ำข้อมูลที่ได้มาตรวจสอบความ ถูกต้อง และน�ำมาแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เปรียบเทียบ และ การวิเคราะห์ถดถอย ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผลการวิจัย 1. ข้อมูลทัว่ ไป กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง ระดับการศึกษาสูงสุดของกลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่ จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี อาชีพของกลุม่ ตัวอย่าง ส่วนใหญ่ คือ พนักงานบริษัทเอกชน ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่มอี ายุเฉลีย่ อยูท่ ี่ 28.52 ปี กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่ นั้นมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ที่ 25,937.50 บาท 2. การศึกษาพฤติกรรมการใช้สอื่ สังคมออนไลน์ของ ผู้บริโภค พบว่า สื่อสังคมออนไลน์ที่กลุ่มตัวอย่างเป็น สมาชิกและมีการเข้าใช้งานอย่างสม�ำ่ เสมอมากทีส่ ดุ คือ Facebook ร้อยละ 38.5 รองลงมาคือ Youtube ร้อยละ 20.6 ส�ำหรับวัตถุประสงค์ของการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ทกี่ ลุม่ ตัวอย่างเลือกตอบมากทีส่ ดุ คือ เพือ่ สนทนา

43


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

โต้ตอบกันระหว่างกลุ่มเพื่อน และสมาชิกในเครือข่าย ร้อยละ 30.3 รองลงมาคือ เพื่อติดต่อสื่อสารกับสมาชิก ในเครือข่าย ร้อยละ 22.7 เหตุผลทีใ่ ช้สอื่ สังคมออนไลน์สว่ นใหญ่ คือ สือ่ สังคม ออนไลน์นนั้ สะดวกและรวดเร็วในการสือ่ สาร ร้อยละ 25.1 รองลงมาคือ สามารถโต้ตอบกับผู้ที่อยู่ในเครือข่ายได้ ในทันที ร้อยละ 22.8 ทัง้ นีค้ ณ ุ สมบัตขิ องสือ่ สังคมออนไลน์ ทีท่ ำ� ให้เลือกใช้งานทีก่ ลุม่ ตัวอย่างเลือกตอบมากทีส่ ดุ คือ สามารถใช้งานและเพิ่มข้อมูลได้ตลอดเวลาไม่จ�ำกัด ร้อยละ 21.7 รองลงมาคือ สื่อสังคมออนไลน์สามารถ โต้ตอบกันได้ในทันที (Interactive) ร้อยละ 20.9 นอกจากนี้ช่วงเวลาที่ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ที่เข้า ใช้งานมากทีส่ ดุ คือ ช่วงเวลา 20.01-24.00 น. ร้อยละ 25.6 รองลงมาคือ ช่วงเวลา 12.01-16.00 น. ร้อยละ 25.4 โดยสถานที่ที่กลุ่มตัวอย่างเข้าใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ เป็นประจ�ำมากที่สุด คือ ที่บ้าน ร้อยละ 46.2 และ สถานทีท่ เี่ ข้าใช้งานสือ่ สังคมออนไลน์รองลงมาคือ ทีท่ ำ� งาน ร้อยละ 39.4 และสุดท้ายประเภทของอุปกรณ์ดิจิตอล ทีก่ ลุม่ ตัวอย่างท�ำการเข้าใช้งานสือ่ สังคมออนไลน์มากทีส่ ดุ คือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) ร้อยละ 37.8 และ อุปกรณ์ดจิ ติ อลทีเ่ ข้าใช้งานสือ่ สังคมออนไลน์รองลงมาคือ โน๊ตบุค๊ (NoteBook)/เน็ตบุค๊ (NetBook) ร้อยละ 36.8 ส�ำหรับปัจจัยส�ำคัญจากการสื่อสารการตลาดใน รูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์ พบว่า ภาพรวมของปัจจัยส�ำคัญ ของการสื่อสารการตลาดในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างให้ความส�ำคัญกับ ด้านการตอบสนองต่อ ผูบ้ ริโภคมากทีส่ ดุ รองลงมาคือ ด้านการตอบสนองระดับ บุคคล ด้านความสอดคล้องกับภาพลักษณ์ขององค์กร ด้านเอกลักษณ์ขององค์กร ด้านความต้องการของผูบ้ ริโภค ด้านการน�ำเสนอเนื้อหา และด้านการสื่อสารสองทาง ตามล�ำดับ ผูบ้ ริโภคสือ่ สังคมออนไลน์ โดยเฉลีย่ ให้ความ ส�ำคัญกับปัจจัยส�ำคัญของการสือ่ สารการตลาดในรูปแบบ สื่อสังคมออนไลน์ อยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ ก ารซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องผู ้ บ ริ โ ภคจาก การสื่ อ สารการตลาดในรู ป แบบสื่ อ สั ง คมออนไลน์ มีรายละเอียดจากการศึกษาวิจยั ดังนี้ ภาพรวมของการซือ้

44

ผลิตภัณฑ์ของผูบ้ ริโภคจากการสือ่ สารการตลาดในรูปแบบ สือ่ สังคมออนไลน์ พบว่า กลุม่ ตัวอย่างให้ความส�ำคัญกับ ขัน้ ความเข้าใจมากทีส่ ดุ รองลงมาคือ ขัน้ ความรูส้ กึ และ ขั้นพฤติกรรม ตามล�ำดับ ผู้บริโภคสื่อสังคมออนไลน์ โดยเฉลี่ยแล้วมีการซื้อผลิตภัณฑ์หลังบริโภคสื่อสังคม ออนไลน์ทางการสือ่ สารการตลาด อยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ 3. เปรียบเทียบคุณสมบัตสิ ว่ นบุคคล และพฤติกรรม การใช้สื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการซื้อ ผลิตภัณฑ์ของผูบ้ ริโภคจากการสือ่ สารการตลาดในรูปแบบ สือ่ สังคมออนไลน์ จากผลการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิคทดสอบ ความแตกต่างของตัวแปร 2 กลุ่ม (t-test Statistic) และด้วยการวิเคราะห์ผันแปรทางเดียว (one-way analysis of variance หรือ ANOVA) พบว่า คุณสมบัติ ส่วนบุคคลของกลุม่ ตัวอย่างทีแ่ ตกต่างกัน มีผลต่อการซือ้ ผลิตภัณฑ์หลังจากบริโภคสือ่ สังคมออนไลน์ทางการสือ่ สาร การตลาดต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ 0.05 ส�ำหรับพฤติกรรมการใช้สอื่ สังคมออนไลน์ทแี่ ตกต่าง กันนั้นมีผลต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคจากการ สื่อสารการตลาดในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ต่างกัน อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ี่ 0.05 โดยมีรายละเอียดจาก การศึกษาดังนี้ เพศ ทีต่ า่ งกันไม่มผี ลต่อการซือ้ ผลิตภัณฑ์ของผูบ้ ริโภค จากการสื่อสารการตลาดในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ แต่ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ประเภทของ สือ่ สังคมออนไลน์ทเี่ ข้าใช้งานสม�ำ่ เสมอ วัตถุประสงค์ของ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ เหตุผลที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ และคุณสมบัตขิ องสือ่ สังคมออนไลน์ทเี่ ลือกใช้งานต่างกัน มีผลต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคจากการสื่อสาร การตลาดในรูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์ ต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติที่ 0.05 4. การศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส�ำคัญจากการ สือ่ สารการตลาดในรูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์ทสี่ ง่ ผลต่อ การซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคจากการสื่อสารการตลาด ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ จากผลการวิเคราะห์ด้วย การวิเคราะห์ถดถอยพหุ (regression analysis) แสดง ดังตารางที่ 1-3 ดังนี้


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 1: การวิเคราะห์ถดถอยพฤติกรรมหลังบริโภคสือ่ สังคมออนไลน์ขนั้ ความเข้าใจกับปัจจัยส�ำคัญของการสือ่ สารการตลาด ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ (N=400)

ปัจจัยส�ำคัญของการสื่อสารการตลาด ค่าสัมประสิทธิ์ Beta ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ ถดถอย (b) 1. ด้านการตอบสนองต่อผู้บริโภค 0.167 0.104 2. ด้านการสื่อสารสองทาง 0.066 0.046 3. ด้านการตอบสนองระดับบุคคล -0.202 -0.148 4. ด้านความต้องการของผู้บริโภค 0.040 0.032 5. ด้านการน�ำเสนอเนื้อหา 0.231 0.161 6. ด้านความสอดคล้องกับภาพลักษณ์ขององค์กร -0.053 -0.041 7. ด้านเอกลักษณ์ขององค์กร 0.630 0.456 ค่าคงที่ (Intercept) 8.262 2 2 R = 0.312 , SEE = 5.500 , ADJ R = 0.299 , F = 23.432 , Sig. Of F = 0.000 แบบจ�ำลองการวิเคราะห์ Cog = b0 + b1Instant + b2Interac + b3Indiv + b4Insight + b5Invis + b6Integ + b7Iden ผลการวิเคราะห์ พบว่า ตัวแปรอิสระทัง้ หมดสามารถ อธิ บ ายการผั น แปรของตั ว แปรตามได้ ร ้ อ ยละ 31.2

t

Sig.t

1.675 0.685 -1.911 0.394 2.521 -0.543 6.628 4.298

0.000* 0.095 0.494 0.057 0.694 0.012* 0.587 0.000*

โดยมีเพียงด้านการตอบสนองระดับบุคคลที่มีผลต่อ พฤติกรรมหลังบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ขั้นความเข้าใจ ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น และด้ า นความสอดคล้ อ งกั บ ภาพลักษณ์ขององค์กรที่มีผลต่อตัวแปรตามในทิศทาง ตรงข้ามกัน

ตารางที่ 2: การวิเคราะห์ถดถอยพฤติกรรมหลังบริโภคสือ่ สังคมออนไลน์ขนั้ ความรูส้ กึ กับปัจจัยส�ำคัญของการสือ่ สารการตลาด ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ (N=400)

ปัจจัยส�ำคัญของการสื่อสารการตลาด ค่าสัมประสิทธิ์ Beta t ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ ถดถอย (b) 1. ด้านการตอบสนองต่อผู้บริโภค 0.065 0.041 0.648 2. ด้านการสื่อสารสองทาง 0.273 0.195 2.846 3. ด้านการตอบสนองระดับบุคคล -0.309 -0.232 -2.925 4. ด้านความต้องการของผู้บริโภค 0.202 0.160 1.971 5. ด้านการน�ำเสนอเนื้อหา 0.330 0.232 3.567 6. ด้านความสอดคล้องกับภาพลักษณ์ขององค์กร -0.159 -0.126 -1.624 7. ด้านเอกลักษณ์ขององค์กร 0.441 0.324 4.605 ค่าคงที่ (Intercept) 8.489 4.429 R2 = 0.296 , SEE = 5.470 , ADJ R2 = 0.282 , F = 21.694 , Sig. Of F = .000

Sig.t 0.517 0.005* 0.004* 0.049* 0.000* 0.105 0.000* 0.000*

45


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

แบบจ�ำลองการวิเคราะห์ Affec = b0 + b1Instant + b2Interac + b3Indiv + b4Insight + b5Invis + b6Integ + b7Iden ผลการวิเคราะห์ปรากฏ พบว่า ตัวแปรอิสระทัง้ หมด สามารถอธิบายการผันแปรของตัวแปรตามได้รอ้ ยละ 29.6

โดยมีด้านการสื่อสารสองทาง ด้านความต้องการของ ผูบ้ ริโภค ด้านการน�ำเสนอเนือ้ หา และด้านเอกลักษณ์ของ องค์กร ทีม่ ผี ลต่อพฤติกรรมหลังบริโภคสือ่ สังคมออนไลน์ ขัน้ ความรูส้ กึ ไปในทิศทางเดียวกัน และด้านการตอบสนอง ระดับบุคคลทีม่ ผี ลต่อตัวแปรตามไปในทิศทางตรงข้ามกัน

ตารางที่ 3: การวิเคราะห์ถดถอยพฤติกรรมหลังบริโภคสือ่ สังคมออนไลน์ขนั้ พฤติกรรมกับปัจจัยส�ำคัญของการสือ่ สารการตลาด ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ (N=400)

ปัจจัยส�ำคัญของการสื่อสารการตลาด ค่าสัมประสิทธิ์ Beta t ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ ถดถอย (b) 1. ด้านการตอบสนองต่อผู้บริโภค 0.093 0.053 0.802 2. ด้านการสื่อสารสองทาง 0.200 0.130 1.791 3. ด้านการตอบสนองระดับบุคคล -0.247 -0.168 -2.024 4. ด้านความต้องการของผู้บริโภค 0.101 0.073 0.845 5. ด้านการน�ำเสนอเนื้อหา 0.425 0.274 3.998 6. ด้านความสอดคล้องกับภาพลักษณ์ขององค์กร -0.374 -0.269 -3.291 7. ด้านเอกลักษณ์ขององค์กร 0.517 0.345 4.688 ค่าคงที่ (Intercept) 11.104 4.976 2 2 R = 0.202 , SEE = 6.396 , ADJ R = 0.187 , F = 13.237 , Sig. Of F = .000

สรุปและอภิปรายผล จากผลการศึกษาวิจยั ในครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ขออภิปรายผล ตามวัตถุประสงค์ และสมมติฐานที่ศึกษา ดังนี้ จากการศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ของผู้บริโภค พบว่า สื่อสังคมออนไลน์ที่กลุ่มตัวอย่าง เข้าใช้งานมากทีส่ ดุ คือ Facebook ซึง่ ช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม ในการเผยแพร่ข่าวสารผลิตภัณฑ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ คือ ช่วงเวลา 20.01-24.00 น. ส�ำหรับปัจจัยส�ำคัญจากการสื่อสารการตลาดใน รูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์กลุม่ ตัวอย่างให้ความส�ำคัญกับ ด้านการตอบสนองต่อผู้บริโภคมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการตอบสนองระดับบุคคล ด้านความสอดคล้องกับ ภาพลั ก ษณ์ ข ององค์ ก ร ด้ า นเอกลั ก ษณ์ ข ององค์ ก ร ด้านความต้องการของผูบ้ ริโภค ด้านการน�ำเสนอเนือ้ หา และด้านการสือ่ สารสองทาง ตามล�ำดับ โดยกลุม่ ตัวอย่าง

46

Sig.t 0.423 0.074* 0.044* 0.398 0.000* 0.001* 0.000* 0.000*

ให้ความส�ำคัญกับปัจจัยส�ำคัญจากการสือ่ สารการตลาด ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ทุกด้านอยู่ในระดับมาก ส�ำหรับพฤติกรรมหลังบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ ในภาพรวมกลุ่มตัว อย่างที่บริโภคสื่อสังคมออนไลน์ ทางการสือ่ สารการตลาดจะมีความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ได้ มากขึ้นมากที่สุด รองลงมาคือ มีความต้องการที่จะซื้อ ผลิตภัณฑ์หลังบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ และมีการซื้อ ผลิตภัณฑ์หลังบริโภคสือ่ สังคมออนไลน์นอ้ ยทีส่ ดุ ตามล�ำดับ จากสมมติฐานข้อที่ 1 ลักษณะส่วนบุคคลทีแ่ ตกต่าง กัน มีผลต่อการซือ้ ผลิตภัณฑ์หลังบริโภคสือ่ สังคมออนไลน์ ทางการสื่อสารการตลาดแตกต่างกัน พบว่า พฤติกรรม การใช้สื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคที่แตกต่างกันนั้น มีผลต่อการซื้อผลิตภัณฑ์หลังบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ ทางการสื่อสารการตลาดที่ต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถิติที่ 0.05 ตรงตามสมมติฐานที่ตั้งไว้


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการใช้สอื่ สังคมออนไลน์ จะมีผลต่อการซื้อผลิตภัณฑ์หรือบริการหลังจากได้รับรู้ ข้อมูลผลิตภัณฑ์หรือบริการแตกต่างกัน เนือ่ งจากผูบ้ ริโภค บางกลุ่มมีสื่อสังคมออนไลน์ไว้เพื่อการติดต่อสื่อสาร บางกลุม่ มีไว้เพือ่ เปิดรับข่าวสาร หรือแม้แต่บางกลุม่ ทีใ่ ช้ เพื่อความบันเทิงเพียงอย่างเดียวทั้งนี้เกิดจากอายุที่ แตกต่างกัน จะส่งผลให้การบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ น�ำไปสูก่ ารซือ้ สินค้าในแต่ละล�ำดับขัน้ พฤติกรรมต่างกัน ไปด้วย สมมติฐานข้อที่ 2 พฤติกรรมการใช้สอื่ สังคมออนไลน์ ของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน มีผลต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ หลังบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ทางการสื่อสารการตลาด แตกต่างกัน พบว่า พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ของผู้บริโภคที่แตกต่างกันนั้น มีผลต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ หลังบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ทางการสื่อสารการตลาด ที่ต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ 0.05 ตรงตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้ จากผลการวิจัยจะเห็นว่า ประเภทของสื่อสังคม ออนไลน์เองมีผลต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ในทุกๆ ล�ำดับขั้น และผู้ที่ใช้งาน Youtube อย่างสม�่ำเสมอจะมีการซื้อ ผลิตภัณฑ์ในล�ำดับขั้นต่างๆ มากกว่าสื่อประเภทอื่นๆ นั่นมาจากคุณสมบัติของ Youtube ที่เป็นสื่อสังคม ออนไลน์ ที่ แ สดงภาพเคลื่ อ นไหวและเสี ย งท� ำ ให้ เ กิ ด ความเข้าใจได้ง่ายกับผู้บริโภคสอดคล้องกับแนวคิดของ อธิป อัศวานันท์ (2553) ได้แบ่งประเภทและเปรียบเทียบ ความแตกต่ า งของสื่ อ สั ง คมออนไลน์ ย อดนิ ย มทั้ ง 3 ประเภทนั่นคือ Facebook Twitter และ Youtube สมมติฐานข้อที่ 3 ปัจจัยส�ำคัญจากการสื่อสาร การตลาดในรูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์มคี วามสัมพันธ์กบั การซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคจากการสื่อสารการตลาด ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ ในล�ำดับขั้นต่างๆ พบว่า ปัจจัยส�ำคัญจากการสือ่ สารการตลาดในรูปแบบสือ่ สังคม ออนไลน์ มีความสัมพันธ์ตอ่ การซือ้ ผลิตภัณฑ์หลังบริโภค สื่อสังคมออนไลน์ทางการสื่อสารการตลาด ในทิศทาง ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ 0.05 และ

ปัจจัยส�ำคัญจากการสือ่ สารการตลาดในรูปแบบสือ่ สังคม ออนไลน์ในแต่ละด้านมีความสัมพันธ์ตอ่ การซือ้ ผลิตภัณฑ์ หลังบริโภคสื่อสังคมออนไลน์ทางการสื่อสารการตลาด แต่ละล�ำดับขัน้ ในทิศทางทีต่ า่ งกัน ไม่ตรงตามสมมติฐาน ที่ตั้งไว้ นอกจากนี้ปัจจัยส�ำคัญจากการสื่อสารการตลาด ในรูปแบบสือ่ สังคมออนไลน์ อันทีจ่ ริงแล้วมีความส�ำคัญต่อ การบริหารจัดการเพือ่ ให้สามารถเข้าถึงผูบ้ ริโภคได้อย่าง แท้จริง และน�ำพาไปสูก่ ารซือ้ ผลิตภัณฑ์ในขัน้ พฤติกรรม นัน่ คือการซือ้ ผลิตภัณฑ์และบริการ ไปจนถึงการบอกต่อ ถึงความประทับใจจากประสบการณ์การใช้ผลิตภัณฑ์ หรือบริการนัน้ ๆ ตามไปด้วย จะเห็นได้วา่ จากสมมติฐาน และการศึกษาวิจยั ได้สอดคล้องกับงานวิจยั ของ โอทีเอ็กซ์ และดีอีไอ เวิร์ดไวล์ด (OTX and DEI Worldwide, 2008) ที่ท�ำการศึกษาเรื่องของผลกระทบจากสื่อสังคม ออนไลน์ทมี่ ตี อ่ พฤติกรรมการซือ้ ของผูบ้ ริโภค และพบว่า องค์กรควรให้ความส�ำคัญกับการตลาดในรูปแบบสือ่ สังคม ออนไลน์มากขึน้ และควรให้ความส�ำคัญกับบทบาทของ สือ่ สังคมออนไลน์ในการเป็นกลยุทธ์การตลาดขององค์กร ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะส�ำหรับการน�ำผลวิจัยไปใช้ ผู ้ บ ริ โ ภคมี ก ารใช้ สื่ อ สั ง คมออนไลน์ ป ระเภท Facebook มากทีส่ ดุ รองลงมาคือ Youtube เป็นเพราะ คุณสมบัติของสื่อสังคมออนไลน์ทั้ง 2 ประเภทสามารถ ตอบสนองความต้องการในการค้นหาข้อมูลรวมไปถึง การติดต่อสื่อสารได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้นหากต้องการ ท�ำการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Facebook จะเป็น ช่องทางแรกที่น่าสนใจมากที่สุดในการใช้ท�ำการตลาด รองลงมาคือ Youtube ทีส่ ามารถถ่ายคลิปวีดโี อเพือ่ น�ำ มาเผยแพร่ผ่านทาง Facebook ได้อีกทางหนึ่งเช่นกัน นอกจากนี้สื่อสังคมออนไลน์สะดวกและรวดเร็วในการ สือ่ สาร อีกทัง้ สามารถใช้งานและเพิม่ ข้อมูลได้ตลอดเวลา ไม่จำ� กัด และเวลาทีเ่ หมาะสมในการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร คือ ช่วงเวลา 20.01-24.00 น.

47


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ส�ำหรับปัจจัยส�ำคัญจากการสื่อสารการตลาด ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ผู้บริโภคให้ความส�ำคัญกับ ด้านการตอบสนองต่อผู้บริโภคมากที่สุด นั่นหมายถึง การท�ำการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ด้านการสื่อสาร กับผูบ้ ริโภคเป็นสิง่ ทีส่ �ำคัญทีค่ วรให้ขอ้ มูลทีท่ นั สมัย และ ตอบข้อซักถามที่ผู้บริโภคต้องการทราบอย่างสม�่ำเสมอ ด้วยเช่นกัน ทัง้ นีห้ ากเราสามารถบริหารจัดการสือ่ สังคม ออนไลน์ให้ตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภคได้อย่าง สมบูรณ์แล้ว การซือ้ ผลิตภัณฑ์หรือบริการจากการสือ่ สาร การตลาดในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์จะเพิ่มขึ้นตามไป ด้วยเช่นกัน ดังนัน้ ปัจจัยส�ำคัญจากการสือ่ สารการตลาด ในรูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ทั้ง 7 ด้านจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ ที่นักการตลาดควรค�ำนึงถึงหากต้องการน�ำสื่อสังคม ออนไลน์มาใช้เป็นช่องทางหนึ่งในการสื่อสารการตลาด 2. ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจัยครั้งต่อไป จากข้อเสนอแนะข้างต้น หากจะท�ำการต่อยอด จากการศึกษาวิจยั ประเด็นทีค่ วรศึกษาต่อไปคือ การศึกษา ความส�ำเร็จจากการท�ำการตลาดในรูปแบบสื่อสังคม ออนไลน์ขององค์กร บริษัท หรือธุรกิจส่วนตัวที่น�ำสื่อ สังคมออนไลน์มาใช้ในการท�ำการตลาด เพื่อทราบถึง การบริหารจัดการสื่อสังคมออนไลน์ขององค์กร บริษัท หรือธุรกิจส่วนตัวเหล่านี้ และกลยุทธ์สู่ความส�ำเร็จจาก การใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยท�ำการวัดความส�ำเร็จจาก การมีลูกค้า เข้ามาซื้อสินค้าและบริการ ไปจนถึงการ สร้างมูลค่าให้แก่ธรุ กิจจากการตลาดในรูปแบบสือ่ สังคม ออนไลน์ เมือ่ น�ำมาเปรียบเทียบกับการลงทุนในสือ่ อืน่ ๆ เพือ่ การโฆษณาประชาสัมพันธ์สนิ ค้า หากสามารถต่อยอด การศึกษาวิจัยไปในทิศทางนี้ได้ จะเป็นการวัดผลจาก การใช้งานสื่อสังคมออนไลน์เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาสื่อ สังคมออนไลน์ในการท�ำการตลาดของธุรกิจได้ต่อไป อย่างแท้จริง

48

บรรณานุกรม

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผูบ้ ริโภค. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. บลีซ, จอร์ช อี. และ บลีซ, ไมเคิล เอ. (2550). การโฆษณา และการส่งเสริมการตลาด. แปลจาก Advertising and promotion: An integrated marketing communications perspective, 7th ed. โดย กมล ชัยวัฒน์. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล. ภิเษก ชัยนิรันดร์. (2553ก). Maketing Click กลเม็ด เคล็ ด ลั บ การตลาดออนไลน์ . กรุ ง เทพฯ: ซี เ อ็ ด ยูเคชั่น. . (2553ข). การตลาดแนวใหม่ผา่ น Social Media. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. วิเลิศ ภูริวัชร. (2553). How sustainable is social networking? สืบค้นเมือ่ 12 กันยายน 2553, จาก เว็บไซต์: http://www.bangkokbiznews.com/ home/detail/politics/opinion/vilert/ 20100912/352652/news.html อธิป อัศวานันท์. (2553). Twitter, Facebook และ Youtube: กลยุทธ์การท�ำการตลาดและสร้างสังคม แบรนด์ ด้วยนวัตกรรม social web. Competitiveness review, 5, 28-35. อรรถทวี เจริญวัฒนวิญญู. (2551). มาสร้างเครือข่าย ของเรา ในโลกออนไลน์กันดีกว่า. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2553, จาก เว็บไซต์: http://www. pccompete.com/ blog/social-networking/ OTX and DEI Worldwide. (2008). The impact of social media on purchasing behavior. From Website: http://www.deiworldwide. com/ files/DEIStudy-


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Jittima Charuwan her Master of Business Administration in 2011 from Rajabhat Nakhon Sawan University, Thailand. She also earned her Bachelor of Communication Arts. Jittima Charuwan is currently the secretary of the President of Rajabhat Nakhon Sawan, Thailand. Her research interest cover Social Media, Social Media Management and Social Media for Marketing Communication. Assit.Prof.Onkanya  Kositanont, Ph.d. her Ph.D in Development Administration (Accounting) in 2007 from Suan Sunandha Rajabhat University, Thailand. She also earned her Master of Business Administration (Accounting) in 1997 from University of the Thai Chamber of Commerce, Thailand. And Bachelor of Business Administration (Accounting) in 1993 from Krirk University, Thailand. Assit.Prof.Onkanya Kositanont, Ph.d. is currently the assistant professor of Business Administration (Accounting) and the Director of Master of Business Admintration, Rajabhat Nakhonsawan University, Thailand. Her research interest covers Accounting Management, Accounting Development System and Business Management.

49


ารศึกษาความพร้อมการจัดการความรู้ มาใช้ในธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ของกลุ่ม บริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด The Study of Organizational Readiness for Implementing Knowledge Management in a Car Dealer Business of Thairung Partners Group มัณฑนา ศิริเอก นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธนบุรี E-mail: muntanas@gmail.com

บทคัดย่อ

50

การวิจยั ครัง้ นี้ มีวตั ถุประสงค์ (1) เพือ่ ทราบสถานะความพร้อมการจัดการความรูใ้ นธุรกิจจ�ำหน่าย รถยนต์ของกลุ่มบริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด (2) เพื่อเปรียบเทียบความพร้อมด้านปัจจัย ส่วนบุคคลต่อการจัดการความรูใ้ นธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ของกลุม่ บริษทั ไทยรุง่ พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด บุคลากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ บุคลากรของกลุ่มธุรกิจตัวแทนจ�ำหน่ายรถยนต์ของกลุ่มบริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด จ�ำนวน 212 คน จากจ�ำนวนบุคลากรทั้งหมด 470 คน สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ผลการวิจยั พบว่า บุคลากรส่วนใหญ่ ของกลุ่มบริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด มีความพร้อมการจัดการความรู้โดยรวม อยู่ในระดับ ปานกลางถึงมาก ผลการเปรียบเทียบความพร้อมการจัดการความรู้ในธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ของ กลุม่ บริษทั ไทยรุง่ พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด พบว่า (1) บริษทั ทีแ่ ตกต่างกันมีความพร้อมการจัดการความรู้ ในองค์การในภาพรวมและรายด้านทุกด้าน แตกต่างกัน (2) ฝ่ายงานที่แตกต่างกันมีความพร้อม การจัดการความรู้ในองค์การในภาพรวมและรายด้านทุกด้านไม่แตกต่าง (3) ต�ำแหน่งงานที่ แตกต่างกัน มีความพร้อมการจัดการความรู้ในองค์การด้านทัศนคติที่แตกต่างกัน (4) อายุงานที่ แตกต่างกันมีความพร้อมการจัดการความรู้ในองค์การ ด้านภาวะผู้น�ำที่แตกต่างกัน (5) ระดับ การศึกษาที่แตกต่างกันมีความพร้อมการจัดการความรู้ในองค์การด้านการใช้เทคโนโลยีและ สารสนเทศที่แตกต่างกัน


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ค�ำส�ำคัญ: ความพร้อม การจัดการความรู้ ธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ กลุ่มบริษทั ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด

Abstract

The purposes of this research were to (1) examine the level of readiness in implementing knowledge management in a car dealer business of Thairung Partners Group, (2) compare the level of readiness in implementing knowledge management in a car dealer business of Thairung Partners Group classified by personal factors. The sample size of 212 was drawn from 470 employees of the car dealer business of Thairung Partners Group. The statistical tools employed to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way analysis of variance (ANOVA). Overall, the employees in a car dealer business of Thairung Partners Group had readiness in implementing knowledge management at average to high level. The result of hypothesis testing compared the readiness level in implementing knowledge managerment in the car dealer business of Thairung Partners Group were as follow: (1) different companies had significantly different level of readiness in implementing knowledge management in all aspect, (2) different departments had not significantly different level of readiness in implementing knowledge management in all aspect, (3) different positions had significantly different level of readiness in implementing knowledge management in attitude aspect, (4) different experience had significantly different level of readiness in implementing knowledge management in leadership aspect, and (5) different education degrees had significantly different level of readiness in implementing knowledge management in using technology and information aspect. Keywords: Readiness, Knowledge Management, Car Dealer Business, Thairung Partners Group

บทน�ำ โลกในยุคปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยุคแห่งโลกาภิวัฒน์ ซึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในโลกของการ ด�ำเนินการทางธุรกิจ องค์การต่างๆ ต้องเผชิญกับความ ท้าทายของความต้องการของลูกค้า การแข่งขันทีร่ นุ แรง น�ำมาซึ่งทางเลือกที่เพิ่มขึ้นของผู้บริโภคยุคใหม่ และ ด้ วยความแพร่ ห ลายของสื่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สื่อ

อิเล็กทรอนิกส์ ท�ำให้ผู้บริโภคสามารถที่จะศึกษาและ เปรียบเทียบสินค้า บริการ และข้อเสนอของผูใ้ ห้บริการ แต่ละราย และยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลในระหว่าง ผูบ้ ริโภคด้วยกันได้งา่ ยขึน้ นอกจากนี้ ผูบ้ ริโภคยังมีความ ต้องการและความคาดหวังทีส่ งู ขึน้ ต่อองค์กรธุรกิจ ในการ ที่จะได้รับสินค้าและบริการที่มีคุณภาพดียิ่งขึ้น

51


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ปัจจุบันธุรกิจให้ความส�ำคัญกับแนวความคิดที่ว่า ลูกค้าเป็นศูนย์กลางในการด�ำเนินธุรกิจ โดยมองว่าลูกค้า เป็นสินทรัพย์ในเชิงกลยุทธ์อย่างหนึ่งขององค์การ ซึ่งมี จ�ำนวนจ�ำกัดและอาจรัว่ ไหลไปได้ องค์การจึงต้องปฏิบตั ิ ต่อลูกค้าด้วยความสนใจและเอาใจใส่ ซึ่งกุญแจส�ำคัญ ที่จะท�ำให้ธุรกิจบรรลุเป้าหมาย คือ ความสามารถของ องค์การที่เหนือกว่าคู่แข่งขันในการสร้าง ส่งมอบ และ สื่อสาร คุณค่าอันสูงสุดแก่ลูกค้าเป้าหมาย (Customer Value) มุง่ เน้นการสร้างก�ำไรจากความพึงพอใจของลูกค้า (Customer Satisfaction) ซึง่ จะน�ำไปสูค่ วามจงรักภักดี (Loyalty) และส่วนแบ่งในใจของลูกค้า (Mind Share) อันก่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้าในระยะยาว และท� ำ ให้ อ งค์ ก ารสามารถแข่ ง ขั น ในตลาดได้ ยั่ ง ยื น ซึง่ ในการบรรลุเป้าหมายทีก่ ล่าวมา ความรูน้ บั เป็นปัจจัยที่ ส�ำคัญยิง่ ความรูม้ สี ว่ นช่วยในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้มศี กั ยภาพ มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง พัฒนา สังคม และประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า ในปัจจุบันมี ความเปลี่ยนแปลงด้านข้อมูล ข่าวสาร ความรู้อย่าง รวดเร็ว อีกทั้งยังมีความรู้ที่เกิดขึ้นอีกเป็นจ�ำนวนมาก สังคมปัจจุบนั อาจจะเรียกได้วา่ เป็น “สังคมฐานความรู”้ (Knowledge-based society) ซึ่งจ�ำเป็นที่จะต้องใช้ ความรูเ้ ป็นตัวขับเคลือ่ นองค์การ และพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อสร้างศักยภาพในการแข่งขันให้องค์การอยู่รอดและ เติบโต การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือส�ำคัญอย่างหนึ่ง ในการพัฒนาองค์การ เพื่อสร้างผลลัพธ์ที่ดีต่อลูกค้า นอกจากนั้นการจัดการความรู้จะช่วยน�ำเอาความรู้จาก คนในองค์การออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ องค์การ ดังนัน้ การจัดการความรู้จึงเป็นเครื่องมือที่ท�ำให้องค์การนั้น สามารถบรรลุเป้าหมายได้ 4 ประการพร้อมๆ กัน ซึง่ ได้แก่ การบรรลุเป้าหมายของงาน การบรรลุเป้าหมายของการ พัฒนาคน การบรรลุเป้ามายของการพัฒนาทีมงาน และ การบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาองค์การ และพัฒนา องค์การไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้

52

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาสถานะความพร้อมการน�ำการจัดการ ความรู ้ ม าใช้ ใ นธุ ร กิ จ จ� ำ หน่ า ยรถยนต์ ของกลุ ่ ม บริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด 2. เพือ่ เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลต่อความพร้อม การน�ำการจัดการความรู้มาใช้ในธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ ของกลุ่มบริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด การทบทวนวรรณกรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและ สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ (ม.ป.ป.) กล่าวว่า การจัดการ ความรู้จะต้องมีการเตรียมควาพร้อมและปรับเปลี่ยน พฤติกรรมมีความคิดเห็นในเชิงบวกต่อระบบการจัดการ ความรู้ โดยบุคลากรจะต้องมีการประเมินตนเองและ น�ำเสนอแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ ท�ำให้ระบบการจัดการความรู้ประสบความส�ำเร็จ มนต์ชัย พินิจจิตสมุทร (2548: 43-47) กล่าวว่า ทักษะของบุคคลแห่งการเรียนรู้เพื่อการจัดการความรู้ จะต้องมีทักษะของรูปแบบความคิดจิตใจ ซึ่งเป็นการ เท่าทันความคิดและจิตใจตนเอง มีทกั ษะในการไตร่ตรอง ความคิ ด เห็ น และมี ทั ก ษะในการซั ก ถาม น� ำ เสนอ ความคิดเห็นเพื่อสร้างขีดความสามารถและทักษะใหม่ ให้เกิดขึ้น Igel and Numprasertchai (2004) ได้ศึกษา พบว่า การน�ำระบบการจัดการความรูม้ าใช้ในองค์การใดๆ ต้องมีเทคโนโลยีเป็นส่วนประกอบ บุคลากรขององค์การ จ�ำเป็นต้องมีทกั ษะทางด้านเทคโนโลยีและต้องรูจ้ กั การใช้ เทคโนโลยีการสื่อสารและรู้แหล่งเก็บข้อมูล ประพนธ์ ผาสุขยืด (2546) ได้กล่าวว่าสิ่งส�ำคัญ ที่จะต้องมีในการจัดการความรู้ คือ การท�ำให้เกิดการ แลกเปลี่ยนความรู้ และแบ่งปันความรู้ร่วมกัน ซึ่งภาวะ ผู ้ น� ำ จึ ง มี ผ ลต่ อ ความสามารถในการจั ด การความรู ้ เนือ่ งจากผูน้ ำ� นัน้ จะมีความสามารถในการท�ำงานเป็นทีม ได้รบั ความไว้วางใจ และความเชือ่ ถือศรัทธาจากบุคคลอืน่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้โน้มน้าวให้คนสามารถแลกเปลี่ยน


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ความรู้ร่วมกันอันอยู่บนพื้นฐานของความรู้สึกผูกพัน กรูเบอร์ (Gruber, 2000) ได้ศกึ ษาเกีย่ วกับวัฒนธรรม องค์การว่า มีผลกระทบต่อการใช้ความรู้ร่วมกันหรือไม่ โดยวิธกี ารสัมภาษณ์แบบเจาะลึก 52 ค�ำถามกับเจ้าหน้าที่ ผูบ้ ริหารระดับกลางและผูบ้ ริหารระดับสูง จ�ำนวน 29 คน ของหน่วยงานการวิจัยและพัฒนาของบริษัทเทคโนโลยี ระดับสูง (high-technology company) ผลของการ วิจัยพบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลช่วยสนับสนุนการใช้ความรู้ ร่วมกันขององค์การ คือ วัฒนธรรมที่มีการเปิดเผยและ ไว้วางใจกัน ช่องทางการสื่อสาร การให้การสนับสนุน จากผู้บริหารสูงสุดและการมีระบบการให้รางวัล วิธีการด�ำเนินการวิจัย กรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ให้ความส�ำคัญกับ ความพร้อมการน�ำการจัดการความรู้มาใช้ในองค์การ 5 ด้านคือ ความพร้อมด้านทัศนคติ ความพร้อมด้าน ความรู้และทักษะ ความพร้อมด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ความพร้อมด้านภาวะผูน้ ำ� และความพร้อม ด้านวัฒนธรรมองค์การ ประชากร ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นีค้ อื บุคลากรของกลุม่ ธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ของกลุม่ บริษทั ไทยรุง่ พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด จ�ำนวน ทั้งสิ้น 470 คน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ บุคลากร ของกลุ่มธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ของกลุ่มบริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด ก�ำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง เครจซีและมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970: 608) ซึ่งค�ำนวณจากจ�ำนวนบุคลากรจ�ำนวนทั้งสิ้น 470 คน จะได้กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 212 คน

การสร้างเครื่องมือส�ำหรับการวิจัย 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและขอ ค�ำแนะน�ำจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ก�ำหนดกรอบแบบสอบถาม 2. จัดสร้างแบบสอบถามตามกรอบทีก่ ำ� หนด พร้อม แบบสอบถามไปเสนอผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาตรวจสอบ 3. น�ำแบบสอบถามทีท่ ำ� การปรับปรุงแล้วไปทดลอง กับกลุ่ม Pretest จ�ำนวน 30 ชุด เพื่อน�ำแบบสอบถาม มาวิเคราะห์เพื่อหาค่าความน่าเชื่อถือ (Reliability) โดยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha Coefficient) ของ Cronbach ซึ่งค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับได้ค่าแอลฟ่า (Alpha) เท่ากับ 0.9287 ซึ่งถือว่าเป็นค่าความเชื่อมั่น ที่เชื่อถือได้ การวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ซึ่งเป็นข้อมูล ปัจจัยส่วนบุคคลโดยใช้สถิตคิ วามถี่ และร้อยละ ส่วนการ วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความพร้อมการจัดการความรู้ การหาค่าคะแนนเฉลีย่ หรือและค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงอนุมานส�ำหรับการทดสอบ สมมติฐานใช้สถิติทดสอบ t-test ส�ำหรับกรณี 2 กลุ่ม และใช้สถิติ One-Way ANOVA ส�ำหรับเปรียบเทียบ กรณีมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป เมื่อพบความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ยอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ท�ำการ ทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี Least Significant Difference –LSD

53


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ผลการวิจัย 1. ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล ตารางที่ 1: การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยส่วนบุคคล 1. บริษัท บริษัท อีซูซุ ชัยเจริญกิจ มอเตอร์ จ�ำกัด บริษัท อีซูซุ วี มอเตอร์ จ�ำกัด บริษัท วี.พี.ออโต้เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด บริษัท วีพีเค ออโต้ จ�ำกัด บริษัท ไทยอัลติเมท คาร์ จ�ำกัด บริษัท เลกซัส ออโต้ ซิตี้ จ�ำกัด รวม 2. ฝ่ายงาน ฝ่ายบริการ ฝ่ายขาย ฝ่ายบัญชีและการเงิน ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ รวม 3. ต�ำแหน่งงาน ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับต้น ระดับปฏิบัติการ รวม 4. อายุงาน น้อยกว่า 1 ปี 1-2 ปี 3-5 ปี 6-10 ปี มากกว่า 10 ปี รวม 5. ระดับการศึกษา ต�่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรีขึ้นไป รวม

54

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

37 31 38 30 38 38 212

17.50 14.60 17.90 14.20 17.90 17.90 100.00

67 55 37 28 25 212

31.60 25.90 17.50 13.20 11.80 100.00

23 28 158 209

10.80 13.20 74.50 98.50

45 41 66 55 5 212

21.20 19.30 31.10 25.90 2.50 100.00

89 123 212

42.00 58.00 100.00


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

จากตารางที่ 1 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ สังกัดบริษัท วี.พี.ออโต้เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด บริษัท ไทยอัลติเมท คาร์ จ�ำกัด และบริษัท เลกซัส ออโต้ ซิตี้ จ�ำกัด มีจ�ำนวนบริษัทละ 38 คน คิดเป็นร้อยละ 17.9 ปฏิบตั งิ านในฝ่ายบริการ จ�ำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ

31.6 มีตำ� แหน่งงานในระดับปฏิบตั กิ าร จ�ำนวน 158 คน คิดเป็นร้อยละ 74.5 มีอายุการท�ำงาน 3-5 ปี จ�ำนวน 66 คน คิดเป็น ร้อยละ 31.1 มีการศึกษาอยู่ในระดับ ปริญญาตรีขนึ้ ไป จ�ำนวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 58.0

2. ข้อมูลเกี่ยวกับความพร้อมการจัดการความรู้มาใช้ในธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ของกลุ่มบริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด ตารางที่ 2: วิเคราะห์ความพร้อมการจัดการความรู้มาใช้ในธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ของกลุ่มบริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด

ความพร้อมการจัดการความรู้ บริษัท อีซูซุ ชัยเจริญกิจ มอเตอร์ จ�ำกัด บริษัท อีซูซุ วี มอเตอร์ จ�ำกัด ความพร้อมโดยรวม บริษัท วี.พี.ออโต้ เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด จ�ำแนกตามบริษัท บริษัท วีพีเค ออโต้ จ�ำกัด บริษัท ไทยอัลติเมท คาร์ จ�ำกัด บริษัท เลกซัส ออโต้ซิตี้ จ�ำกัด ฝ่ายบริการ ฝ่ายขาย ความพร้อมโดยรวม ฝ่ายบัญชีการเงิน จ�ำแนกตามฝ่ายงาน ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ ผู้บริหารระดับกลาง ความพร้อมโดยรวม ผู้บริหารระดับต้น จ�ำแนกตามต�ำแหน่งงาน ระดับปฏิบัติการ น้อยกว่า 1 ปี 1 - 2 ปี ความพร้อมโดยรวม 3 - 5 ปี จ�ำแนกตามอายุงาน 6 - 10 ปี มากกว่า 10 ปี ความพร้อมโดยรวม ต�่ำกว่าปริญญาตรี จ�ำแนกตามระดับการศึกษา ระดับปริญญาตรีขึ้นไป

X 3.32 3.00 3.06 3.11 3.65 3.48 3.30 3.37 3.20 3.27 3.42 3.60 3.31 3.29 3.29 3.38 3.24 3.32 3.74 3.26 3.37

SD 0.58 0.65 0.49 0.43 0.40 0.43 0.66 0.52 0.57 0.59 0.48 0.66 0.49 0.58 0.50 0.61 0.60 0.59 0.20 0.58 0.60

แปลผล ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก มาก ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก มาก ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก ปานกลาง ปานกลาง

55


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

จากตารางที่ 2 พบว่าในภาพรวมพบว่า บริษัทที่มี โดยมีความพร้อมในภาพรวมในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย ความพร้อมการน�ำการจัดการความรู้มาใช้ในองค์การ เท่ากับ 3.60 ในภาพรวมมากทีส่ ดุ คือ บริษทั ไทยอัลติเมท คาร์ จ�ำกัด อายุงานทีม่ คี วามพร้อมการน�ำการจัดการความรูม้ าใช้ โดยมีความพร้อมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย ในองค์การในภาพรวมมากที่สุด คือ อายุงานมากกว่า เท่ากับ 3.65 10 ปี โดยมีความพร้อมในภาพรวมในระดับมาก มีคา่ เฉลีย่ ฝ่ายงานทีม่ คี วามพร้อมการน�ำการจัดการความรูม้ าใช้ เท่ากับ 3.74 ในองค์การในภาพรวมมากทีส่ ดุ คือ ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ กลุม่ ทีม่ กี ารศึกษาในระดับปริญญาตรีขนึ้ ไปมีความ โดยมีความพร้อมในภาพรวมในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย พร้อมการน�ำการจัดการความรูม้ าใช้ในองค์การในภาพรวม เท่ากับ 3.42 มากกว่ากลุ่มที่มีการศึกษาในระดับต�่ำกว่าปริญญาตรี ต�ำแหน่งงานทีม่ คี วามพร้อมการน�ำการจัดการความรู้ โดยกลุม่ ทีม่ กี ารศึกษาในระดับปริญญาตรีขนึ้ ไป มีความ มาใช้ในองค์การในภาพรวมมากทีส่ ดุ คือ ผูบ้ ริหารระดับสูง พร้อมในภาพรวมในระดับปานกลางมีคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 3.37 3. การทดสอบสมมติฐานความพร้อมการจัดการความรู้มาใช้ในธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ของกลุ่มบริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด ตารางที่ 3: แสดงผลการเปรียบเทียบความพร้อมการน�ำการจัดการความรู้มาใช้ในองค์การ

ความพร้อมการจัดการความรู้ ความพร้อมโดยรวม ความพร้อมด้านทัศนคติ ความพร้อมด้านความรู้และทักษะ จ�ำแนกตามบริษัท ความพร้อมด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความพร้อมด้านภาวะผู้น�ำ ความพร้อมด้านวัฒนธรรมองค์การ ความพร้อมโดยรวม ความพร้อมด้านทัศนคติ ความพร้อมด้านความรู้และทักษะ จ�ำแนกตามฝ่ายงาน ความพร้อมด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความพร้อมด้านภาวะผู้น�ำ ความพร้อมด้านวัฒนธรรมองค์การ ความพร้อมโดยรวม ความพร้อมด้านทัศนคติ ความพร้อมด้านความรู้และทักษะ จ�ำแนกตามต�ำแหน่งงาน ความพร้อมด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความพร้อมด้านภาวะผู้น�ำ ความพร้อมด้านวัฒนธรรมองค์การ

56

F 9.77 10.38 5.54 5.36 8.05 8.65 0.53 1.28 0.61 0.37 0.74 1.14 2.87 5.68 1.24 0.48 1.74 0.79

Sig. 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.72 0.28 0.66 0.83 0.57 0.34 0.06 0.00* 0.29 0.62 0.18 0.46


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 3: (ต่อ)

ความพร้อมการจัดการความรู้ ความพร้อมโดยรวม ความพร้อมด้านทัศนคติ ความพร้อมด้านความรู้และทักษะ จ�ำแนกตามอายุงาน ความพร้อมด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความพร้อมด้านภาวะผู้น�ำ ความพร้อมด้านวัฒนธรรมองค์การ ความพร้อมโดยรวม ความพร้อมด้านทัศนคติ ความพร้อมด้านความรู้และทักษะ จ�ำแนกตามระดับการศึกษา ความพร้อมด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความพร้อมด้านภาวะผู้น�ำ ความพร้อมด้านวัฒนธรรมองค์การ จากตารางที่ 3 พบว่าบริษัทที่แตกต่างกัน มีความ พร้อมการจัดการความรูม้ าใช้ในองค์การในภาพรวมและ รายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 หากจ�ำแนกตามฝ่ายงาน พบว่าฝ่ายงานทีแ่ ตกต่างกัน มีความพร้อม การจัดการความรู้มาใช้ในองค์การใน ภาพรวมและความพร้อมทุกด้านไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 หากจ�ำแนกตามต�ำแหน่งงาน พบว่าต�ำแหน่งงานที่ แตกต่างกันมีความพร้อมการจัดการความรู้มาใช้ใน องค์การในภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่หากพิจารณาเป็น รายด้าน พบว่า ต�ำแหน่งงานทีแ่ ตกต่างกัน มีความพร้อม ด้านทัศนคติที่แตกต่างกันอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 หากจ�ำแนกตามอายุงาน พบว่า อายุงานทีแ่ ตกต่างกัน มี ค วามพร้ อ มการจั ด การความรู ้ ม าใช้ ใ นองค์ ก ารใน ภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่หากพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อายุงานที่แตกต่างกัน มีความพร้อมด้านภาวะ ผู้น�ำที่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

F 1.58 2.11 1.61 1.24 2.60 0.98 -1.3 -0.57 -0.94 -2.78 0.06 -0.69

Sig. 0.18 0.08 0.17 0.29 0.04* 0.42 0.19 0.57 0.35 0.01* 0.96 0.49

หากจ�ำแนกตามระดับการศึกษา พบว่าระดับการ ศึกษาทีแ่ ตกต่างกันมีความพร้อมการจัดการ ความรูม้ าใช้ ในองค์การในภาพรวมไม่แตกต่างกันแต่หากพิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า ความพร้อมด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล ผู้วิจัยขออภิปรายผลในประเด็นส�ำคัญซึ่งจ�ำแนก ออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1. ภาพรวมของความพร้อมการจัดการความรู้ มาใช้ในธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ของกลุ่มบริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด จากการวิจัยพบว่า บุคลากรส่วนใหญ่ของกลุ่ม บริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด มีความพร้อมการ จัดการความรูม้ าใช้ในองค์การในด้านทัศนคติ ด้านความรู้ และทักษะ ด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ ด้าน ภาวะผู้น�ำ และด้านวัฒนธรรมองค์การ อยู่ในระดับ ปานกลางถึงมาก ซึง่ แสดงให้เห็นว่า บุคลากรมีความรูส้ กึ

57


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

มี พ ฤติ ก รรมและมี แ นวคิ ด ที่ ดี ก ่ อ การจั ด การความรู ้ บุคลากรมีการยอมรับการน�ำส่งใหม่ๆ เข้ามาเพื่อพัฒนา การท�ำงานและพัฒนาองค์การ และพร้อมที่จะท�ำงาน ร่วมกันอันก่อให้เกิดการประสานงาน การแลกเปลี่ยน และถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและกัน 2. ผลการเปรี ย บเที ย บระดั บ ความพร้ อ มการ จัดการความรูม้ าใช้ในธุรกิจจ�ำหน่ายรถยนต์ ของกลุม่ บริษัท ไทยรุ่ง พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด 2.1 บริษทั ทีแ่ ตกต่างกันมีความพร้อมการจัดการ ความรูม้ าใช้ในองค์การในภาพรวมและรายด้าน ทุกด้าน แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ซึง่ ตรง กับสมมติฐานทีต่ งั้ ไว้ จากผลการวิจยั พบว่า บริษทั วีพเี ค ออโต้ จ�ำกัด บริษัท ไทยอัลติเมค คาร์ จ�ำกัด และ บริษัท เลกซัส ออโต้ ซิตี้ จ�ำกัด มีความพร้อมในการน�ำ การจัดการความรู้มาใช้ในระดับที่มากกว่า เนื่องจาก บริษัทไทยอัลติเมท คาร์ จ�ำกัด บริษัทเลกซัส ออโต้ ซิตี้ จ�ำกัด และบริษัท วีพีเค ออโต้ จ�ำกัด ซึ่งเป็นตัวแทน จ�ำหน่ายของรถยนต์ยี่ห้อ Land Rover ยี่ห้อ Lexus และยีห่ อ้ Ford ตามล�ำดับ ซึง่ ต่างเป็นรถยนต์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ จึงท�ำให้ผู้บริหารของแต่ละบริษัทนั้นให้ความส�ำคัญ ในการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรอย่าง สม�่ำเสมอ เพื่อรองรับการให้บริการแก่ลูกค้าให้ได้ตาม มาตรฐานตามที่บริษัทผู้ผลิตได้ก�ำหนดไว้ ซึ่งสอดคล้อง กับผลงานวิจัยของ สงวน ลิ้มเล็งเลิศ (2548: 123) ได้ทำ� การวิจยั เรือ่ ง ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการบริการ หลังการขายรถยนต์โตโยต้าของศูนย์บริการรถยนต์ โตโยต้า บริษทั สหพานิช เชียงใหม่ จ�ำกัด ซึง่ ผลการวิจยั พบว่า ลูกค้ามีความพึงพอใจต่อปัจจัยด้านพนักงานผู้ให้ บริการให้ระดับมาก โดยมีความพึงพอใจด้านมารยาท การแต่งกายของพนักงานที่ให้บริการ ความสุภาพและ อัธยาศัยไมตรีของพนักงานให้บริการ ความสนใจของ พนักงานในการรับฟังรายการหรือปัญหาจากลูกค้า และ ความกระตือรือร้นของพนักงานในการให้บริการ 2.2 ฝ่ายงานที่แตกต่างกัน มีความพร้อมการ จัดการความรู้มาใช้ในองค์การในภาพรวมและรายด้าน

58

ทุกด้าน ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่ตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากองค์การได้ให้ความส�ำคัญและมุ่งเน้นให้ พนักงานทุกคนและทุกฝ่ายงานได้ตระหนักถึงความส�ำคัญ ของการพัฒนาการความรู้ ความสามารถของพนักงาน อยู่อย่างสม�่ำเสมอเพื่อให้บริษัทนั้นสามารถแข่งขันใน ธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพอันก่อให้เกิดความได้เปรียบ ทางการแข่ ง ขั น สอดคล้ อ งกั บ ผลงานวิ จั ย ของ ธีวินท์ เจริญแพทย์ (2552: 80) ที่ได้ท�ำการวิจัยเรื่อง การจัดการความรู้ของพนักงาน ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) ในเขตจังหวัดภูเก็ต ซึ่งผลการวิจัย พบว่า พนักงานที่มีหน่วยงานที่แตกต่างกัน มีความเห็น การจัดการความรู้ที่ไม่แตกต่างกัน เนื่องจากพนักงาน ทุกหน่วยงาน ได้รับการอบรมในหลักสูตรต่างๆ ของ ธนาคาร และมีระเบียบในการปฏิบตั งิ านทีไ่ ม่แตกต่างกัน 2.3 ต�ำแหน่งงานที่แตกต่างกัน มีความพร้อม การจัดการความรูม้ าใช้ในองค์การในภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่หากจ�ำแนกตามความพร้อมรายด้านพบว่า ต�ำแหน่ง งานทีแ่ ตกต่างกันมีความพร้อมในการน�ำการจัดการความรู้ มาใช้ในองค์การด้านทัศนคติทแี่ ตกต่างกัน โดยผูบ้ ริหาร ระดับกลางมีความพร้อมทางด้านทัศนคติมากกว่าระดับ ปฏิบตั กิ าร เนือ่ งจากผูบ้ ริหารได้ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างยิง่ ถึงความส�ำคัญของการจัดการความรูซ้ งึ่ น�ำพาให้องค์การ ได้เปลีย่ นเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ อีกทัง้ กลุม่ ผูบ้ ริหาร มีการยอมรับและน�ำแนวคิดใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ให้การ ท�ำงานนัน้ มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ สอดคล้องกับผลงาน วิจัยของ ชริยา จันทร์อินทร์ (2550: 100-101) ที่ได้ ท�ำการวิจัยเรื่อง การศึกษาความพร้อมในการน�ำระบบ การจัดการมาใช้ในมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ ซึง่ ผลการ วิจัยพบว่า กลุ่มผู้บริหารมีระดับความพร้อมทางด้าน ทัศนคติมากที่สุด 2.4 อายุงานที่แตกต่างกัน มีความพร้อมการ จัดการความรูม้ าใช้ในองค์การในภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่หากจ�ำแนกตามความพร้อมรายด้านพบว่า อายุงาน ที่แตกต่างกันมีความพร้อมในการน�ำการจัดการความรู้ มาใช้ในองค์การด้านภาวะผู้น�ำที่แตกต่างกันอย่างมีนัย


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ซึง่ จากการวิจยั พบว่า กลุม่ ที่ มีอายุงานมากกว่า 10 ปี มีความพร้อมด้านภาวะผู้น�ำ มากที่สุด เนื่องจากบุคลากรที่มีอายุงานที่มาก ย่อมมี การสั่งสมประสบการณ์การท�ำงานทั้งด้านความรู้ทักษะ ความเชี่ยวชาญในการท�ำงาน วิธีการแก้ไขปัญหาที่เกิด ขึ้นเสมอ ย่อมท�ำให้บุคลากรนั้นมีความมั่นใจในตนเอง กล้าทีจ่ ะแสดงความคิดเห็นในทีส่ าธารณะอย่างสร้างสรรค์ สอดคล้องกับผลงานวิจยั ของ เพียงใจ มุสกิ ะพงษ์ (2550: 166) ที่ ไ ด้ วิ จั ย เรื่ อ ง สภาพการจั ด การความรู ้ แ ละ ความต้องการเพิ่มพูนความรู้สู่องค์การแห่งการเรียนรู้ ของบุ ค ลากรส� ำ นั ก งานพั ฒ นาระบบบริ ก ารสุ ข ภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ซึง่ ผลการวิจยั พบว่า บุคลากรทีม่ อี ายุราชการ 26 ปีขนึ้ ไป มีคณ ุ ภาพของการจัดการความรู้ การถ่ายโอนและเผยแพร่ ความรู้มากกว่ากลุ่มอื่น 2.5 ระดับการศึกษาทีแ่ ตกต่างกันมีความพร้อม การจัดการความรูม้ าใช้ในองค์การในภาพรวมไม่แตกต่างกัน หากจ�ำแนกความพร้อมเป็นรายด้านพบว่า ระดับการศึกษา ที่แตกต่างกันมีความพร้อมในการน�ำการจัดการความรู้ มาใช้ในองค์การด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ง จากการวิจยั พบว่า กลุม่ ทีม่ กี ารศึกษาในระดับปริญญาตรี ขึ้นไปมีความพร้อมในการน�ำการจัดการความรู้มาใช้ใน องค์การด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศมากกว่า กลุ่มที่มีการศึกษาในระดับต�่ำกว่าปริญญาตรี เนื่องจาก กลุ่มที่มีการศึกษาในระดับอนุปริญญา/ปวส. ส่วนมาก ท�ำงานอยู่ในแผนกบริการในส่วนของงานซ่อมบ� ำรุง จึงท�ำให้ไม่ค่อยมีโอกาสใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศต่างๆ เมื่อเทียบกับบุคลากรที่มีการศึกษา ในระดับปริญญาตรี ซึ่งส่วนมากท�ำงานอยู่ในส�ำนักงาน สอดคล้ อ งกั บ ผลงานวิ จั ย ของ ชุ ลี พ ร เอี่ ย มอ� ำ นวย (2548: 94) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาความคิดเห็น ของพนักงานต่อศักยภาพการพัฒนาไปสูก่ ารเป็นองค์การ แห่งการเรียนรู้ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งพบว่า พนักงานที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแตกต่างกัน

อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ส่วนการเปรียบเทียบ รายคู่ ด้วยวิธกี ารของเชฟเฟ่ (Scheffe) พบว่า พนักงาน ที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีมีความคิดเห็นต่อ ศักยภาพการพัฒนาไปสูก่ ารเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสูงกว่าพนักงานที่มีระดับ การศึกษาต�่ำกว่าปริญญาตรี

บรรณานุกรม

ชริยา จันทร์อนิ ทร์. (2550). การศึกษาความพร้อมในการ น�ำระบบการจัดการความรู้มาใช้ในมหาวิทยาลัย เอเชียอาคเนย์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา. ชุลีพร เอี่ยมอ�ำนวย. (2548). การศึกษาความคิดเห็น ของพนักงานต่อศักยภาพการพัฒนาไปสู่การเป็น องค์การแห่งการเรียนรูข้ องบริษทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ธีวินท์ เจริญแพทย์. (2552). การจัดการความรู้ของ พนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) ในเขตจังหวัดภูเก็ต. สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. บดินทร์ วิจารณ์. (2548). การพัฒนาองค์การแห่งการ เรียนรู้. กรุงเทพฯ: ธรรมกมลการพิมพ์. ประพนธ์ ผายืดสุข. (2546). การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร เรื่อง การจัดการความรู้และการสร้างองค์การแห่ง การเรียนรู้. พาขวัญ ลออสอาด. (2548). การศึกษาความสามารถ ในการจั ด การความรู ้ ข องสมาชิ ก องค์ ก รชุ ม ชน จังหวัดนครนายก. วิทยานิพนธ์ปริญญาพัฒนาชุมชน มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เพียงใจ มุสิกะพงษ์. (2550) . สภาพการจัดการความรู้ และความต้องการเพิม่ พูนความรูส้ อู่ งค์การแห่งการ เรียนรู้ของบุคลากรส�ำนักงานพัฒนาระบบบริการ สุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุ ข . วิ ท ยานิ พ นธ์ ธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต , มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

59


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

มนต์ชัย พินิจจิตสมุทร. (2548). องค์กรแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: ฟอร์ควอลิตี้. สงวน ลิม้ เล็งเลิศ. (2548). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการ บริการหลังการขายรถยนต์โตโยต้าของศูนย์บริการ รถยนต์โตโยต้า บริษัท สหพานิช เชียงใหม่ จ�ำกัด. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). หลักสูตร การฝึกอบรมเรื่องการจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่ การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานฯ. Epstein, Lisa Dickstein. (2000). Sharing knowledge in organization: How people use media to communication. Doctoral Dissertation, University of California, Berkely. Gruber, Hans-Georg. (2000). Does organization culture affect the sharing of knowledge? The case of a department in high-technology company. Master’s Thesis, Ontario Carleton University, Ottawa.

Igel, B., & Numprasertchai, S. (2004). Knowledge management in university R&D in Thailand. Proceedings of 2004 IEEE International Engineering Management Conference, 21 October 2004, Singapore. Marquardt, M.J. (1996). Building the learning organization: System approach to quantum improvement and global success. New York: McGraw-Hill. Nanoka, Ikujuro & Takeuchi, Hirotaka. (1995). The knowledge creating company. New York: Oxford University Press. Senge, Peter M. (1990). The fifth discipline: The art & practice of the learning organization. New York: Currency Doubleday.

Muntana Sirieak is currently pursuing Master of Business Administration at Thonburi University. She received the Bachelor Degree of Business Administration (First-class honor) in 2005 from Thonburi University, Thailand. At present, Muntana is Senior Oraganization Devopment officer at Worldlease Co.,Ltd.

60


รงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ Motivation in Choosing to Continue Their Bachelor Degree at Panyapiwat Institute of Management นพมาศ ปลัดกอง หัวหน้าสาขาวิชาพื้นฐาน คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ E-mail: noppamaspal@pim.ac.th

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (2) เปรียบเทียบแรงจูงใจภายในและแรงจูงใจภายนอกระหว่าง นักศึกษากลุ่มสมัครเรียนและนักศึกษากลุ่มพนักงาน ในการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ โดยมีกลุม่ ตัวอย่าง จ�ำนวน 402 คน ได้มาโดยการสุม่ แบบขัน้ ตอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ค่าที (t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัย โดยรวมพบว่านักศึกษากลุม่ สมัครเรียนและนักศึกษากลุม่ พนักงานมีแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อ ไม่แตกต่างกัน แต่ผลการทดสอบเปรียบเทียบแรงจูงใจภายใน พบว่า นักศึกษาทัง้ สองกลุม่ มีแรงจูงใจ ภายในด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์แตกต่างกันที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 โดยนักศึกษากลุ่ม พนักงานมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์มากกว่ากลุ่มสมัครเรียน และผลการทดสอบเปรียบเทียบแรงจูงใจ ภายนอก พบว่า ด้านค่าใช้จา่ ยในการศึกษามีความแตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 โดยเฉพาะการเลือกเรียนที่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์เพราะบริษัทมีทุนการศึกษาให้ ค�ำส�ำคัญ: แรงจูงใจ นักศึกษากลุ่มสมัครเรียน นักศึกษากลุ่มพนักงาน การศึกษาต่อระดับปริญญาตรี

61


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Abstract

This research aims to (1) study the motivations in choosing to continue their bachelor degree at Panyapiwat Institute of Technology and (2) compare the internal and external motivations of walk-in students and employee students in choosing to continue their bachelor degree at Panyapiwat Institute of Technology. The sampling group consists of 402 people, obtained by using process of random. Statistics used in analyzing data are percentage, average, and standard deviation. Analyzing average differentiation used t-test and analyzing one way variation. The research found that both the walk-in students and the employee students had similar motivations in choosing to continue their bachelor degree. However, the comparative test of internal motivations discovered that the groups of students had different achievement motivations at statistically significant 0.05 with the group of employee students had greater achievement motivations. Additionally, the comparative test of external motivation found that the factor on tuition expense varied at statistically significant 0.05, especially at Panyapiwat Institute of Technology, because the institute offers scholarship. Keywords: Motivations, Walk–in Students, Employee Students, Continuing Their Bachelor Degree

บทน�ำ สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์เป็นสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษาที่จัดตั้งขึ้นในปี 2550 โดยได้รับการ สนับสนุนทุนในการจัดตั้งจากบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางทีเ่ น้นการศึกษา และวิจยั ทางด้านธุรกิจค้าปลีก เพือ่ สร้างบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ ในเชิงวิชาการและสามารถปฏิบตั งิ านได้จริง สถาบันแห่งนี้ จึงจัดการเรียนการสอนในลักษณะการเรียนรูบ้ นพืน้ ฐาน ของการท�ำงาน (Work Based Learning) ดังนัน้ นักศึกษา ระดับปริญญาตรีทกุ คนจึงต้องฝึกเตรียมเข้าท�ำงานควบคู่ กับการเรียนในทุกภาคการศึกษา โดยได้รบั ค่าตอบแทน ตลอดระยะเวลาที่ ศึ ก ษาตามหลั ก สู ต ร บั ณ ฑิ ต ที่ จ บ การศึกษาจากสถาบันแห่งนีม้ โี อกาสเข้าท�ำงานกับสถาน ประกอบการในกลุ่มบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน)

62

และสถานประกอบการอื่นที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจค้าปลีก (สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์, 2553) เป็นการพัฒนา ทักษะแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการขององค์กร อย่างแท้จริง ศาสตร์ทางด้านจิตวิทยา ท�ำการศึกษาเพือ่ ท�ำความ เข้าใจสาเหตุแห่งพฤติกรรม โดยเฉพาะสิ่งที่เรียกว่า “แรงจูงใจ” ซึ่งหมายถึง องค์ประกอบที่กระตุ้นให้เกิด พฤติกรรมที่มีจุดมุ่งหมาย แต่เนื่องจากเราไม่สามารถ สังเกตแรงจูงใจได้โดยตรงจึงต้องสังเกตจากพฤติกรรม ที่บุคคลแสดงออกมา แรงจูงใจนั้นมีความส�ำคัญต่อการ กระท�ำพฤติกรรมต่างๆของมนุษย์ ทั้งในเรื่องของการ ด�ำเนินชีวติ การเรียนและการท�ำงาน ฯลฯ ในบริบทของ การเรียน ผูเ้ รียนทีม่ แี รงจูงใจภายในการเรียนสูง เป็นผูท้ ี่ กระตือรือร้น สนใจ ทุ่มเท ขยัน และเพียรพยายาม


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ในการเรียน (Deci & Ryan,1990 อ้างถึงในอรพิน ชูชม และอัจฉรา สุขารมณ์, 2543) ส่วนในบริบทของการท�ำงาน ผูท้ มี่ แี รงจูงใจในการท�ำงานสูง ส่งผลต่อความผูกพันในงาน ค่านิยมในการท�ำงาน ความทุม่ เทในงาน และความผูกพัน ในอาชีพอย่างชัดเจน (วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์และ ทรงวุฒิ อยู่เอี่ยม, 2551) ดังนั้นการที่นักศึกษาเลือกศึกษาต่อ ณ สถาบัน การจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ ซึง่ ใช้รปู แบบการเรียนการสอน ทีม่ คี วามแตกต่างจากสถาบันการศึกษาแห่งอืน่ โดยเน้น รู ป แบบการเรี ย นรู ้ ค วบคู ่ ก ารท� ำ งานท� ำ ให้ นั ก ศึ ก ษา กลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาเรียนแต่ละบุคคลมีแรงจูงใจที่ แตกต่างกันออกไป โดยเฉพาะบริบททีแ่ ตกต่างกันได้แก่ นักศึกษากลุ่มสมัครเรียน และนักศึกษากลุ่มพนักงาน ดังนัน้ หากทราบแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อ ระดับ ปริญญาตรี ณ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จะเป็น แนวทางในการปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอนให้ เหมาะสม อีกทัง้ เป็นแนวทางส�ำคัญในการประชาสัมพันธ์ องค์กร รวมถึงการแนะแนวการศึกษาและรับสมัคร นักศึกษาใหม่ในปีการศึกษาต่อๆ ไปได้ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่ อศึ กษาแรงจูง ใจในการเลือกเข้าศึก ษาต่อ ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ข องนั ก ศึ ก ษาสถาบั น การจั ด การ ปัญญาภิวัฒน์ 2. เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจภายในและแรงจูงใจ ภายนอก ระหว่างนักศึกษากลุม่ สมัครเรียนและนักศึกษา กลุ่มพนักงานในการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ทบทวนวรรณกรรม แรงจูงใจ ค�ำว่า “แรงจูงใจ” (Motive) หรือ “การ จูงใจ” (Motivation) หมายถึง สิ่งที่บุคคลคาดหวัง โดยสิ่งนั้นอาจเป็นสิ่งที่บุคคลพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจ ก็ได้ โดยความคาดหวังนัน้ เป็นตัวกระตุน้ ให้เกิดพฤติกรรม (McKeachie and Doyle, 1970) และพฤติกรรมนั้น ต้องเป็นพฤติกรรมที่มีจุดมุ่งหมาย

ประเภทของแรงจูงใจ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) สุรางค์ โค้วตระกูล (2545: 169-171) ได้ให้ความหมาย ของ แรงจูงใจภายในว่า หมายถึง ความต้องการและ ความพึงพอใจของบุคคลที่จะแสดงพฤติกรรมต่างๆ ที่ จะเกิดขึ้นจากการเสาะแสวงหาของตนเอง โดยปัจจัยที่ ซ่อนเร้นอยู่ภายในงาน (เช่น งานที่น่าสนใจ แปลกใหม่ และท้าทาย) เป็นแรงผลักดัน ไม่ตอ้ งอาศัยรางวัลภายนอก หรือ กฎเกณฑ์ภายนอกเป็นข้อบังคับ อันประกอบด้วย ความต้องการสิ่งท้าทาย ความสนใจ ความเพลิดเพลิน ความเป็นตัวของตัวเอง ความต้องการมีความสามารถ และความมุ่งมั่น โดยการวิจัยครั้งนี้เน้นการศึกษาเรื่อง แรงจู ง ใจใฝ่ สั ม ฤทธิ์ เนื่ อ งจากเป็ น ตั ว แปรส� ำ คั ญ ที่ เกี่ยวข้องการเรียนที่ประสบความส�ำเร็จ 2. แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) อารี พันธ์มณี (2546: 270) ได้กล่าวถึง แรงจูงใจภายนอก ว่า เป็นภาวะทีบ่ คุ คลได้รบั การกระตุน้ จากสิง่ เร้าภายนอก เช่น สิ่งของ หรือเกียรติยศ เงินเดือน ปริญญาบัตร ความก้าวหน้า รางวัล ค�ำชมเชย การแข่งขัน ท�ำให้บคุ คล มองเห็นเป้าหมาย จึงเร้าให้บคุ คลเกิดความต้องการ และ แสดงพฤติกรรมมุ่งสู่เป้าหมาย การศึกษาครั้งนี้เน้น แรงจูงใจภายนอกทางจิตวิทยาที่ส�ำคัญ คือ แรงจูงใจ ใฝ่สัมพันธ์ (Affiliation Motive) พรรณี ชูทัย เจนจิต (2538: 516-517) กล่าวว่า แรงจูงใจใฝ่สมั พันธ์ หมายถึง ความต้องการของมนุษย์ที่ต้องการเป็นที่ยอมรับของ บุคคลอืน่ แรงจูงใจทีท่ ำ� ให้คนแสดงพฤติกรรมเพือ่ ให้ได้มา ซึ่งการยอมรับ จากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งทฤษฎี และแนวคิดต่างๆที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ พบว่า การแบ่งประเภทของแรงจูงใจนั้น นักจิตวิทยา แบ่งแรงจูงใจออกเป็น 2 ประเภท คือ แรงจูงใจภายใน และแรงจูงใจภายนอก ความหมายโดยรวมของแรงจูงใจ ภายใน คือ แรงกระตุ้นจากภายในตัวบุคคลเป็นแรงขับ ที่ท�ำให้บุคคลนั้นแสดงพฤติกรรมโดยไม่คาดหวังรางวัล หรือแรงเสริมจากภายนอก ดังนั้นจากแนวคิดดังกล่าว

63


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ผู ้ วิ จั ย จึ ง เน้ น การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ไ ปที่ แรงจู ง ใจใฝ่ สั ม ฤทธิ์ เพราะในวงการศึ ก ษาให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ แรงจู ง ใจ ใฝ่สัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นจากภายในตัวบุคคล ท�ำให้บุคคลนั้น แสดงพฤติกรรมต่อการเรียนหรือการท�ำงานให้ประสบ ความส�ำเร็จในระดับสูง โดยเฉพาะแนวคิดเรือ่ งแรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธิ์ของ ป.อ.ปยุตโด ที่ต้องการสร้างความเป็น เลิศแท้ คือการท�ำให้เต็มที่ที่สุดในงานนั้นโดยไม่น�ำไป เปรียบเทียบกับบุคคลอื่น ส่วนแรงจูงใจภายนอก ความหมายโดยรวมของ แรงจูงใจภายนอก คือ แรงกระตุ้นที่ได้รับอิทธิพลจาก ภายนอก มาจากแรงเสริมชนิดต่างๆ และสิ่งแวดล้อม ภายนอก ผู้วิจัยเน้นการศึกษาไปที่อิทธิพลของปัจจัย ภายนอกที่มีผลต่อการตัดสินใจของบุคคล เช่น อิทธิพล จากเพื่อน ผู้ปกครอง รุ่นพี่ ในทางจิตวิทยาเรียกว่า แรงจูงใจใฝ่สมั พันธ์ และปัจจัยภายนอกอืน่ ๆ เช่น หลักสูตร ความมีชื่อเสียงขององค์กรและสถาบัน ความพร้อมของ สถานที่เรียน เป็นต้น สมมติฐานการวิจัย H0 : นักศึกษากลุ่มสมัครเรียนกับนักศึกษากลุ่ม พนั ก งานมี แรงจู ง ใจในการเลื อ กเข้ า ศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ข องสถาบั น การจั ด การปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ ไม่แตกต่างกัน H1 : นักศึกษากลุ่มสมัครเรียนกับนักศึกษากลุ่ม พนั ก งานมี แรงจู ง ใจในการเลื อ กเข้ า ศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ข องสถาบั น การจั ด การปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ แตกต่างกัน วิธีการด�ำเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงส�ำรวจ (Survey Research) 1. ประชากร ประชากร คื อ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี คณะบริหารธุรกิจ ทีล่ งทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 จ�ำนวนทัง้ สิน้ 1,914 คน เป็นนักศึกษา

64

กลุ่มสมัครเรียน จ�ำนวน 1,567 คน และนักศึกษากลุ่ม พนักงาน จ�ำนวน 347 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง การก�ำหนดขนาดตัวอย่างใช้ตารางส�ำเร็จรูปของ เครซีและมอร์แกน (Krejcie and Morgan อ้างถึงใน สิน พันธุ์พินิจ, 2549) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และ ยอมรับความคลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน 5% ดังนั้นจ�ำนวน หน่วยตัวอย่างทีเ่ หมาะสมและสามารถใช้แทนประชากร ได้อย่างเพียงพอ จ�ำนวน 322 คน ท�ำการสุ่มตัวอย่าง จากประชากรทัง้ หมด โดยใช้วธิ กี ารสุม่ ตัวอย่างแบบสองขัน้ (Two-stage Sampling) คือ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งชัน้ ภูมิ (Stratified Sampling) โดยแบ่งชัน้ ภูมิ ตามกลุม่ ของนักศึกษา ดังนัน้ จ�ำนวนตัวอย่างทีใ่ ช้ในการ วิจยั ครัง้ นีท้ งั้ หมดคือ 402 คน โดยแบ่งเป็นกลุม่ นักศึกษา สมัครเรียน 302 คน และนักศึกษากลุม่ พนักงาน 100 คน จากนัน้ ใช้วธิ กี ารสุม่ ตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) เพื่อเก็บข้อมูลให้ได้หน่วยตัวอย่างครบตาม จ�ำนวนที่ต้องการ 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม “การเปรียบเทียบแรงจูงใจระหว่างนักศึกษากลุม่ สมัครเรียน และนักศึกษากลุ่มพนักงาน ในการเลือกเข้าศึกษาต่อ ระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์” ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ ในการตรวจสอบคุณภาพของเครือ่ งมือ ผู้วิจัยได้น�ำแบบสอบถามไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ความเทีย่ งตรงตามเนือ้ หา (Content Validity) เพือ่ หา ข้อบกพร่อง และปรับปรุงข้อค�ำถาม จากนั้นน�ำแบบ สอบถามที่ปรับปรุงแก้ไขตามค�ำแนะน�ำของผู้เชี่ยวชาญ ไปหาคุณภาพโดยทดลองใช้ (Try Out) กับนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจกลุ่มสมัครเรียนและกลุ่มพนักงาน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างเป็นจ�ำนวน 30 ชุด ด�ำเนินการ ทดสอบค่าสัมประสิทธิ์ของความเชื่อถือได้ (Reliability Coefficient) ใช้สตู รหาค่าสัมประสิทธิอ์ ลั ฟาของครอนบาค (Cronbach’s Coefficient Alpha) มีคา่ เท่ากับ 0.877


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

4. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง ระหว่างเดือน กรกฎาคม-สิงหาคม 2553 5. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล โดยใช้ ส ถิ ติ เชิ ง พรรณนา (Descriptive Analysis) เป็นการอธิบายข้อมูลตาม ลักษณะทางประชากรศาสตร์ตา่ งๆ ได้แก่ กลุม่ นักศึกษา สาขาวิชา ชั้นปี เพศ อายุ สถานภาพ รายได้ และ ภูมิล�ำเนา การวิเคราะห์โดยใช้สถิตเิ ชิงอนุมาน (Inferential Statistic) การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบความ คิดเห็นของนักศึกษาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน ตามสมมติฐานทีต่ งั้ ไว้ โดยการวิเคราะห์ระหว่างประชากร 2 กลุ่ม ใช้สถิติ t-test ผลการวิจัย ส่วนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้นของกลุ่มตัวอย่าง จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่างจ�ำนวน 402 คน ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาหญิงจ�ำนวน 221 คน (ร้อยละ 55.0) และนักศึกษาชาย 181 คน (ร้อยละ 45.0) เป็นนักศึกษากลุ่มสมัครเรียน 299 คน (ร้อยละ 74.4)

และนักศึกษากลุ่มพนักงาน 103 คน (ร้อยละ 25.6) มีนักศึกษาเรียนสาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีกมาก ทีส่ ดุ 286 คน (ร้อยละ 71.1) รองลงมาคือสาขาวิชาการ จัดการโลจิสติกส์ 62 คน (ร้อยละ 15.4) และการจัดการ ธุรกิจอาหาร 54 คน (ร้อยละ 13.4) ส่วนที่ 2 แรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับ ปริญญาตรีของนักศึกษาสถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ แรงจูงใจภายใน การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกีย่ วกับแรงจูงใจภายในภาพรวม พบว่า การเลือกศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษา สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์เป็นผลจากแรงจูงใจภายใน ระดับมาก (X¯ = 3.87) โดยแรงจูงใจด้านที่มีค่าเฉลี่ย สูงสุดคือด้านความต้องการมีความสามารถ (X¯ = 4.34) ซึง่ นักศึกษาเห็นด้วยในระดับมากทีส่ ดุ ในขณะทีแ่ รงจูงใจ ด้านอื่นๆ นักศึกษาเห็นด้วยในระดับมาก ได้แก่ ด้าน ความต้องการสิ่งที่ท้าทายและด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ (X¯ = 3.83) ด้านความสนใจ (X¯ = 3.79) ด้านความมุง่ มัน่ และด้านความเป็นตัว ของตัวเอง (X¯ = 3.72) ตามล�ำดับ ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1: ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับของแรงจูงใจภายในแต่ละด้าน

แรงจูงใจภายใน 1) ด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 2) ด้านความสนใจ 3) ด้านความมุ่งมั่น 4) ด้านความต้องการมีความสามารถ 5) ด้านความต้องการสิ่งที่ท้าทาย 6) ด้านความเป็นตัวของตัวเอง โดยรวม

X¯ 3.83 3.79 3.72 4.34 3.83 3.72 3.87

S.D. 0.542 0.594 0.434 0.631 0.761 0.862 0.426

แปลผล เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมากที่สุด เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมาก

65


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

แรงจูงใจภายนอก การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกีย่ วกับแรงจูงใจภายนอกโดยรวม พบว่า การเลือกศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษา สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์เป็นผลมาจากแรงจูงใจ ภายนอกในระดับปานกลาง (X¯ = 3.23) โดยแรงจูงใจ ภายนอกด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านค่าใช้จ่ายในการ ศึกษา (X¯ = 3.98) รองลงมาคือด้านปัจจัยเกี่ยวกับ

หลักสูตรการเรียนการสอน (X¯ = 3.94) ซึ่งนักศึกษา เห็นด้วยในระดับมาก ในขณะทีด่ า้ นปัจจัยเกีย่ วกับสถาบัน และองค์กร (X¯ = 3.39) นักศึกษาเห็นด้วยในระดับ ปานกลาง และด้ า นอิ ท ธิ พ ลจากสื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ (X¯ = 2.55) กับด้านแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ (X¯ = 2.50) ที่นักศึกษาเห็นด้วยในระดับน้อย ดังตารางที่ 2)

ตารางที่ 2: ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับแรงจูงใจภายนอกแต่ละด้าน แรงจูงใจภายนอก 1) 2) 3) 4) 5)

ด้านแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ ด้านอิทธิพลจากสื่อประชาสัมพันธ์ ด้านปัจจัยเกี่ยวกับสถาบันและองค์กร ด้านปัจจัยเกี่ยวกับหลักสูตรการเรียนการสอน ด้านค่าใช้จ่ายในการศึกษา โดยรวม

ส่วนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน นักศึกษากลุม่ สมัครเรียนและนักศึกษากลุม่ พนักงาน มีแรงจูงใจภายในและแรงจูงใจภายนอกในการเลือก เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของสถาบันการจัดการ ปัญญาภิวัฒน์ไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อด�ำเนินการทดสอบ เปรียบเทียบในรายด้านของแรงจูงใจภายใน และแรงจูงใจ ภายนอก มีผลดังนี้ ผลการทดสอบเปรียบเทียบแรงจูงใจภายใน พบว่า โดยรวมนั ก ศึ ก ษากลุ ่ ม สมั ค รเรี ย นมี แรงจู ง ใจภายใน ในการเลือกเข้าศึกษาต่อทีส่ ถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ ไม่แตกต่างจากนักศึกษากลุ่มพนักงาน แต่ถ้าพิจารณา รายด้านพบว่านักศึกษาทั้งสองกลุ่มมีแรงจูงใจภายใน

66

2.50

2.55 3.39 3.94 3.98

3.23

S.D. 0.948 1.106 0.781 0.720 0.769 0.646

แปลผล

เห็นด้วยน้อย เห็นด้วยน้อย เห็นด้วยปานกลาง เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมาก จริงปานกลาง

ด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์แตกต่างกันที่ระดับนัยส� ำคัญ ทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 โดยเฉพาะในหัวข้อความภาคภูมใิ จ ที่เป็นส่วนหนึ่งของ 7-11 ที่นักศึกษากลุ่มพนักงานมี แรงจูงใจมากกว่ากลุ่มสมัครเรียน ในขณะที่แรงจูงใจ ด้านอืน่ ๆ ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นด้านความสนใจในหัวข้อ การเลือกเรียนที่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์เพราะ ความสนใจส่วนตัว เลือกเรียนเพราะสอบไม่ติดสถาบัน การศึกษาอื่น และมีความสุขเมื่อท�ำงานในร้าน 7-11 ที่ นักศึกษากลุม่ พนักงานมีแรงจูงใจมากกว่ากลุม่ สมัครเรียน ในขณะที่นักศึกษากลุ่มสมัครเรียนที่มีแรงจูงใจในการ เลือกเรียนเพราะคิดว่าสามารถเรียนในสาขาวิชานี้ได้ ดีกว่าสาขาวิชาอื่นมากกว่ากลุ่มพนักงาน ดังตารางที่ 3


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ตารางที่ 3: ผลการทดสอบเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของแรงจูงใจภายใน จ�ำแนกตามกลุ่มนักศึกษา แรงจูงใจภายใน ด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ด้านความสนใจ ด้านความมุ่งมั่น ด้านความต้องการมีความสามารถ ด้านความต้องการสิ่งที่ท้าทาย ด้านความเป็นตัวของตัวเอง

ค่าเฉลี่ย X¯ กลุ่มสมัครเรียน กลุ่มพนักงาน (N=299) (N=103) 3.79 3.93 3.76 3.88 3.71 3.75 4.32 4.40 3.85 3.76 3.72 3.73

ค่าสถิติ ทดสอบ t-test -2.122 -1.717 -0.817 -1.112 1.100 -0.109

Sig.

การทดสอบ สมมติฐานวิจัย

0.034* 0.087 0.415 0.267 0.273 0.913

ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H0 ยอมรับ H0 ยอมรับ H0 ยอมรับ H0 ยอมรับ H0

* แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ผลการเปรียบเทียบแรงจูงใจภายนอก พบว่า โดยรวม นักศึกษากลุม่ สมัครเรียนมีแรงจูงใจภายนอกในการเลือก เข้าศึกษาต่อทีส่ ถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ไม่แตกต่าง จากนักศึกษากลุ่มพนักงาน แต่เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านค่าใช้จ่ายในการศึกษามีความแตกต่างกัน

อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 และเมือ่ พิจารณา รายข้อ พบว่า นักศึกษากลุม่ พนักงานมีแรงจูงใจมากกว่า นักศึกษากลุม่ สมัครเรียน ในหัวข้อการเลือกเรียนทีส่ ถาบัน การจัดการปัญญาภิวฒ ั น์เพราะบริษทั มีทนุ การศึกษาให้ ดังตารางที่ 4

ตารางที่ 4: ผลการทดสอบเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของแรงจูงใจภายนอก จ�ำแนกตามกลุ่มนักศึกษา ค่าเฉลี่ย X¯ ค่าสถิติ แรงจูงใจภายนอก กลุ่มสมัครเรียน กลุ่มพนักงาน ทดสอบ t-test (N=299) (N=103) ด้านแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ 2.50 2.51 -0.099 ด้านอิทธิพลจากสื่อประชาสัมพันธ์ 2.59 2.45 1.079 ด้านปัจจัยเกี่ยวกับสถาบันและองค์กร 3.35 3.48 -1.374 ด้านปัจจัยเกี่ยวกับหลักสูตรการเรียนการสอน 3.93 3.98 -0.713 ด้านค่าใช้จ่ายในการศึกษา 3.93 4.14 -2.486

Sig.

การทดสอบ สมมติฐานวิจัย

0.921 0.281 0.170 0.476 0.013*

ยอมรับ H0 ยอมรับ H0 ยอมรับ H0 ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0

* แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

67


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ผลวิจัยและอภิปรายผล 1. แรงจูงใจภายใน เมื่อพิจารณาผลโดยรวมของแรงจูงใจภายใน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับความคิดเห็นในการเลือก เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของสถาบันการจัดการ ปัญญาภิวัฒน์ อยู่ในระดับมาก (X¯ = 3.87) แต่เมื่อแยก พิจารณารายด้านของแรงจูงใจภายใน เรียงล�ำดับค่าเฉลีย่ จากมากไปยังน้อย พบผลการวิจัยดังนี้ (1) ด้านความต้องการมีความสามารถ มีผลต่อ การเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการ ปัญญาภิวัฒน์ อยู่ในระดับมาก (X¯ = 4.34) ซึ่งเป็นด้าน ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดของแรงจูงใจภายใน อภิปรายผลได้ว่า นักศึกษากลุ่มสมัครเรียนเข้ามาเรียนต่อเพื่อการเพิ่มพูน ความรู้ความสามารถของตนเอง การหาประสบการณ์ เพิ่มเติมให้กับตนเอง การเรียนรู้การท�ำงานนอกเหนือ จากการเรียนในห้องเรียนเพียงอย่างเดียว (2) ด้านแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์ เป็นแรงจูงใจภายใน ส�ำคัญอันมีผลต่อการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบั น การจั ด การปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ อยู ่ ใ นระดั บ มาก (X¯ = 3.83) แสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ที่มีลักษณะ ใฝ่ความเป็นเลิศ ท�ำให้ดที สี่ ดุ เต็มทีท่ สี่ ดุ ตามความสามารถ ของตน และมีความภาคภูมิใจในการเป็นส่วนหนึ่งของ องค์กร นักศึกษากลุม่ พนักงานมีแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิส์ งู กว่า นักศึกษากลุม่ สมัครเรียน ในหัวข้อความภาคภูมใิ จทีเ่ ป็น ส่วนหนึ่งของ 7-11 แสดงให้เห็นว่า องค์กรที่พนักงาน มีความภาคภูมใิ จจะท�ำให้เกิดความรูส้ กึ ในการท�ำงานว่า เป็นสิ่งที่น่าตื่นเต้น มีสิ่งที่ท้าทาย งานที่ท�ำนั้นมีคุณค่า ในตัวเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่องค์กรทั้งหลายอยากให้เกิดขึ้น เมือ่ นักศึกษากลุม่ นีเ้ ข้ามาศึกษาต่อเพือ่ ทีจ่ ะน�ำความรูไ้ ป ปรับปรุงพัฒนางานของตนเองให้ดีขึ้น (3) ด้านความต้องการสิ่งที่ท้าทาย มีผลต่อการ เลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการ ปัญญาภิวฒ ั น์ อยูใ่ นระดับมาก (X¯ = 3.83) สอดคล้องกับ แนวคิดของ Ryan และ Deci (2000) ที่ได้กล่าวไว้ว่า ความท้าทายเป็นสิง่ ทีท่ �ำให้เกิดความสามารถ โดยบุคคล

68

จะพยายามกระท�ำในสิง่ ใหม่ๆ ดังนัน้ พฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ จากความท้าทาย จะเกิดเป็นเป้าหมายในการเรียนรู้ อภิปรายได้ว่า รูปแบบการเรียนรู้ควบคู่การท�ำงานนั้น เป็นสิ่งใหม่ในสังคมไทย การที่นักศึกษาเลือกมาเรียน ณ สถาบันแห่งนี้นับว่าเป็นการท้าทายรูปแบบการเรียน การสอนแบบเดิมๆ แต่เป็นการเรียนรูจ้ ากการท�ำงานจริง เพื่อน�ำไปใช้กับองค์กรธุรกิจได้อย่างแท้จริง (4) ด้านความสนใจ มีผลต่อการเลือกเข้าศึกษา ต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อยู่ในระดับมาก (X¯ = 3.79) ด้านความสนใจนั้นเป็น แรงจูงใจภายในส�ำคัญให้บคุ คลแสดงพฤติกรรม อภิปราย ได้วา่ เมือ่ ใดก็ตามทีบ่ คุ คลมีความสนใจในเรือ่ งใด บุคคล นั้นจะมีความกระตือรือร้น ในการเรียนรู้ ตลอดจนมี ความสุขในการท�ำงานหรือกิจกรรมทีต่ นสนใจ นักศึกษา ที่เข้ามาเรียนมีความสนใจในสาขาวิชาที่เรียนทั้งสาขา วิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ อาหาร และสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ เมือ่ นักศึกษา มีความสนใจในสาขาทีเ่ รียน เมือ่ ต้องฝึกเตรียมเข้าท�ำงาน กับสาขาวิชาต่างๆทีเ่ กีย่ วข้อง นักศึกษาก็มคี วามสุขทัง้ ใน การเรียนและการท�ำงานด้วย (5) ด้านความมุง่ มัน่ มีผลต่อการเลือกเข้าศึกษา ต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อยู่ในระดับมาก (X¯ = 3.72) อภิปรายได้ว่า นักศึกษาที่ เข้ามาเรียนในระดับอุดมศึกษาส่วนใหญ่มีความมุ่งมั่น ในการเรียนให้จบการศึกษา และในขณะเดียวกันนักศึกษา กลุ่มพนักงานนอกเหนือจากการเรียนแล้ว นักศึกษา กลุ่มพนักงานยังมีความมุ่งมั่นที่เกี่ยวพันกับการท�ำงาน เพราะต้องการก้าวไปสู่ต�ำแหน่งที่สูงขึ้น สอดคล้องกับ ผลการศึกษาแรงจูงใจในการเข้าเรียนของนักศึกษาผูใ้ หญ่ ในสหรัฐอเมริกา (Houle, 1961) คือ บุคคลทีเ่ ป็นผูใ้ หญ่ มาเรียนโดยมีแรงจูงใจส�ำคัญ คือ การมาเรียนอย่างมี เป้าหมาย เรียนเพราะต้องการเพิม่ พูนความรู้ และทักษะ ทางวิชาชีพของตน (6) ด้านความเป็นตัวของตัวเอง เป็นแรงจูงใจ ภายในมีผลต่อการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

สถาบั น การจั ด การปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ อยู ่ ใ นระดั บ มาก (X¯ = 3.72) เนื่องจากสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางที่เน้นการศึกษาด้าน ธุรกิจค้าปลีก สถาบันฯจึงจัดการเรียนการสอนในลักษณะ การเรียนรู้บนพื้นฐานของการท�ำงาน (Work based learning) นักศึกษาระดับปริญญาตรีทุกคน จึงต้องฝึก เตรียมเข้าท�ำงานควบคูก่ บั การเรียนในทุกภาคการศึกษา โดยได้ รั บ ค่ า ตอบแทนตลอดระยะเวลาที่ ศึ ก ษาตาม หลักสูตร บัณฑิตที่จบจากสถาบันฯ มีโอกาสเข้าท�ำงาน กับสถานประกอบการในกลุ่มบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) และสถานประกอบการอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ ค้าปลีก ดังนั้นการที่นักศึกษาตัดสินใจเลือกเรียนที่นี่ จึงต้องประกอบไปด้วยความสนใจในตัวสาขาวิชา และ รูปแบบการเรียนการสอนของสถาบันฯซึ่งแตกต่างจาก สถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษา ของสมลักษณ์ ลันสุชีพ (2545) เรื่อง แรงจูงใจในการ เลือกศึกษาต่อวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยนักศึกษาที่มีเหตุผลในการเลือกต่างกัน มีแรงจูงใจ ในการเลือกศึกษาต่อโดยรวมไม่แตกต่างกัน เมือ่ พิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า แรงจูงใจในการเลือกศึกษาต่อ ด้านเหตุผลส่วนตัวมากที่สุด คือ การเรียนการสอนเป็น ภาษาอังกฤษ ดังนัน้ ความเป็นสถาบันการศึกษาทีม่ จี ดุ เด่น เฉพาะทาง ก็เป็นปัจจัยด้านความสนใจ หรือเหตุผล ส่วนตัว จึงเป็นแรงจูงใจหลักในการเลือกเข้าในการเลือก เข้าศึกษาต่อ 2. แรงจูงใจภายนอก เมื่ อ พิ จ ารณาในส่ ว นของแรงจู ง ใจภายนอก พบว่า องค์ประกอบต่างๆ ของแรงจูงใจภายนอกทีท่ ำ� ให้ กลุม่ ตัวอย่างเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบัน การจั ด การปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ อยู ่ ใ นระดั บ ปานกลาง (X¯ = 3.23) แต่เมื่อแยกพิจารณารายด้านของแรงจูงใจ ภายนอก เรียงล�ำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปยังน้อย พบผล การวิจัยดังนี้ (1) ด้านค่าใช้จา่ ยในการศึกษา เป็นด้านทีม่ ผี ลต่อ การเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการ

ปัญญาภิวัฒน์ อยู่ในระดับมาก (X¯ = 3.98) ซึ่งเป็น ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดของแรงจูงใจภายนอก นักศึกษา จ�ำนวนมากเลือกเข้าศึกษาต่อเพราะบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) มีทนุ การศึกษาให้ ในส่วนของค่าหน่วยกิต อีกทั้งยังมีรายได้ระหว่างศึกษา จากการเรียนรู้ในการ ท�ำงานควบคู่กับการเรียน โดยเฉพาะนักศึกษาที่เป็น กลุ่มพนักงาน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับแรงจูงใจในการ เลือกเรียนต่อทีส่ ถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์เนือ่ งจาก บริษัทมีทุนการศึกษาให้ (2) ด้านปัจจัยเกีย่ วกับหลักสูตรการเรียนการสอน มีผลต่อการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบัน การจัดการปัญญาภิวัฒน์ อยู่ในระดับมาก (X¯ = 3.94) อิทธิพลจากการเรียนการสอน และหลักสูตรการเรียน การสอน ในรูปแบบการเรียนรูค้ วบคูก่ บั การท�ำงาน และ เมื่ อ จบการศึ ก ษาแล้ ว มี ง านรองรั บ เป็ น รู ป แบบและ หลักสูตรการเรียนการสอนที่แตกต่างจากสถาบันอุดม ศึกษาอื่นๆ ดังนั้นความเป็นหลักสูตรเฉพาะทางนั้นมีผล ต่อการเลือกเข้าศึกษาต่อ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สมพิศ อยู่สุขสวัสดิ์ (2548) ศึกษาแรงจูงใจต่อการ เข้าศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิทยาลัย เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ผลการวิจยั พบว่า แรงจูงใจของนักศึกษา ในภาพรวมอยูใ่ นระดับดีมาก โดยแรงจูงใจด้านหลักสูตร หรือสาขาวิชาอยู่ในระดับมาก (3) ด้านปัจจัยเกีย่ วกับสถาบันและองค์กร มีผลต่อ การเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการ ปัญญาภิวฒ ั น์ อยูใ่ นระดับปานกลาง (X¯ = 3.39) อิทธิพล จากปัจจัยทางกายภาพของสถาบันทีเ่ ป็นแรงจูงใจในการ เลือกเข้าศึกษาต่อ ได้แก่ ความมีชอื่ เสียงของสถาบันและ องค์กร ความพร้อมของอาคารเรียน อุปกรณ์การเรียน ที่ทันสมัย รวมถึงความสะดวกในการเดินทางมาเรียน ซึ่งปัจจัยเกี่ยวกับสถาบันฯ สอดคล้องกับงานวิจัยของ กัญกมญ เถื่อนเหมือน (2551) ศึกษาเรื่อง ปัจจัยจูงใจ ในการเลือกเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยศรีปทุม ผลการ ศึกษา พบว่าปัจจัยที่มีผลในการจูงใจเลือกเข้าศึกษา

69


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ในมหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุด 3 ล�ำดับแรก คือ ปัจจัยด้านสถานที่ตั้ง ชื่อเสียงของ มหาวิทยาลัย และสิง่ อ�ำนวยความสะดวก สอดคล้องกับ งานวิ จั ย ของประลั ด ดา ไถ้ เ งิ น (2550) ศึ ก ษาเรื่ อ ง แรงจูงใจของบัณฑิตที่ส�ำเร็จการศึกษาจากสาขาอื่นต่อ การศึกษาโครงการนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ผลการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่ มีความต้องการศึกษาต่อในโครงการนิตศิ าสตร์ภาคบัณฑิต ตามกระแสค่านิยม เพือ่ ให้ตนเองเป็นทีย่ อมรับจากสังคม มากขึ้น ล�ำดับแรงจูงใจในการศึกษาจากมากไปหาน้อย ได้แก่ แรงจูงใจของบุคคลทางสังคม การยอมรับในชือ่ เสียง ของสถาบัน การยอมรับจากบุคคลอืน่ ภายหลังจากส�ำเร็จ การศึกษา แต่เนือ่ งจากสถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดใหม่ ยังไม่มีบัณฑิตส�ำเร็จ การศึกษา ดังนั้น ความมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักของ สังคมจึงยังไม่ใช่ปัจจัยหลักที่เป็นแรงจูงใจในการเลือก เข้าศึกษาต่อ ซึ่งปัจจัยในด้านนี้อาจจะต้องใช้ระยะเวลา ในการสร้างพอสมควร (4) ด้านอิทธิพลจากสื่อประชาสัมพันธ์ มีผลต่อ การเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สถาบันการจัดการ ปัญญาภิวฒ ั น์ อยูใ่ นระดับน้อย (X¯ = 2.55) การประชาสัมพันธ์โดยใช้อิทธิพลจากสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ที่ เป็นแรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่ออันประกอบด้วย สือ่ วิทยุ โทรทัศน์ สิง่ พิมพ์ และป้ายโฆษณาประชาสัมพันธ์ จากผลการวิจยั ด้านอิทธิพลจากสือ่ ประชาสัมพันธ์ทมี่ ผี ล ต่อการเลือกเข้าศึกษาต่ออยูใ่ นระดับน้อย ปัจจัยสืบเนือ่ ง ที่เกี่ยวข้องกับความมีชื่อเสียงของสถาบัน และการเป็น ที่ ย อมรั บ ในวงสั ง คม แม้ ส ถาบั น ฯจะเร่ ง ด� ำ เนิ น การ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อเพื่อให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น แต่ก็ยัง มีผลอยู่ในระดับน้อย ซึ่งอาจจะต้องเพิ่มช่องทางในการ ติดต่อสื่อสารผ่านเว็บไซต์ต่างๆให้มากขึ้น (5) ด้านแรงจูงใจใฝ่สมั พันธ์ เป็นด้านทีม่ คี า่ เฉลีย่ น้อยของแรงจูงใจภายนอก ในการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับ ปริญญาตรี สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ ผลการวิจยั อยูใ่ นระดับน้อย (X¯ = 2.50) อาจเพราะว่า การตัดสินใจ ในการเลือกศึกษาต่อนั้น บุคคลรอบข้างไม่ได้มีอิทธิพล

70

มากนักในการเลือกตัดสินใจ จากผลการวิจยั ท�ำให้พบว่า นักศึกษามีแรงจูงใจภายในสูงกว่าแรงจูงใจจากภายนอก ในการเลือกเข้าศึกษาต่อ แต่ก็พบงานวิจัยหลายฉบับ ได้แก่งานวิจยั ของ วิภา อร่ามรุง่ โรจน์ชยั (2543) ท�ำการ ศึกษาเรือ่ งแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของ นักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตบพิตรพิมขุ มหาเมฆ พบว่า นักศึกษามีแรงจูงใจในการศึกษาต่อ ระดับปริญญาตรี ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องในระดับน้อย และงานวิจัยของลาวัลย์ เบญจศิล (2549) ศึกษาเรื่อง แรงจูงใจในการเข้าศึกษาต่อของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สวนสุ นั น ทา ปีการศึกษา 2547 พบว่า แรงจูงใจในการศึกษาต่อใน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนนั ทา ด้านบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องอยูใ่ นระดับปานกลาง แรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ เมื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีความ ต้องการของมนุษย์ตามแนวคิดของมาสโลว์ (อ้างถึงใน สุรางค์ โค้วตระกูล, 2545) ตรงกับขั้นที่ 3 คือความ ต้องการความรักหรือสังคม โดยมนุษย์ทุกคนมีความ ปรารถนาจะเป็นที่รักของผู้อื่น และต้องการมีความ สัมพันธ์กบั ผูอ้ นื่ ดังนัน้ แรงจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อ คือ การได้รบั อิทธิพลจากบุคคลใกล้ชดิ อันประกอบด้วย พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ญาติ และเพื่อนฝูง เป็นต้น ข้อเสนอแนะ 1. ด้านการจัดการเรียนการสอน การน�ำไปใช้ประโยชน์ในการด้านจัดการเรียน การสอน ผลการวิจัยจากกลุ่มตัวอย่างพบว่า นักศึกษา มีแรงจูงใจภายในอยู่ในระดับมาก ซึ่งถือเป็นทิศทางที่ดี ทีจ่ ะสามารถพัฒนานักศึกษาให้มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประสิทธิภาพการท�ำงานให้ดขี นึ้ ดังนัน้ การออกแบบ การเรียนการสอนของอาจารย์ควรจะกระตุน้ ให้นกั ศึกษา ได้นำ� แรงจูงใจภายในทีม่ อี ยูแ่ ล้วได้แสดงศักยภาพออกมา จะท� ำ ให้ นั ก ศึ ก ษามี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นที่ ดี ขึ้ น ตัวอย่างเช่น การเลือกหัวข้อทีจ่ ะศึกษาด้วยตนเองตามที่ นักศึกษาสนใจ เป็นต้น


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

2. ด้านหลักสูตร ผลการวิจัยพบว่า แรงจูงใจภายนอก ด้านปัจจัย ด้านหลักสูตรการเรียนการสอน และด้านค่าใช้จา่ ยในการ ศึกษาอยูใ่ นระดับมาก จากผลการวิจยั สะท้อนให้เห็นว่า ด้านหลักสูตรการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนรู้บน พื้นฐานของการท�ำงาน (Work Based Learning) และ สถาบันได้รับการสนับสนุนจากบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นรูปแบบของ Corporate University ถือเป็นจุดเด่นของทางสถาบัน เป็นปัจจัยส�ำคัญทีส่ ง่ ผลต่อ การเลือกเข้าศึกษาต่อ และเชือ่ มโยงไปถึงปัจจัยทางด้าน ทุนการศึกษา และการมีรายได้ระหว่างเรียน ดังนั้น ควรจะพัฒนาหลักสูตรไปในแนวทางดังกล่าวให้มีความ โดดเด่นมากขึ้น

บรรณานุกรม

กัญกมญ เถือ่ นเหมือน. (2551). ปัจจัยจูงใจในการเลือก เข้าศึกษาของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยศรีปทุม. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. 8(1), 5-12. ประลัดดา ไถ้เงิน. (2550). แรงจูงใจของบัณฑิตที่ส�ำเร็จ การศึ ก ษาจากสาขาอื่ น ต่ อ การศึ ก ษาโครงการ นิติศาสตร์ภาคบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์. ปริญญานิพนธ์พัฒนาแรงงานและ สวัสดิการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. พรรณี ชูทยั เจนจิต. (2545). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: บริษัท เมธีทิปส์ จ�ำกัด. พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2530). การศึกษา: เครื่องมือพัฒนาที่ยังต้องพัฒนา. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ พุทธธรรม. ลาวัลย์ เบญจศีล. (2549). แรงจูงใจในการเข้าศึกษาต่อ ของนั ก ศึ ก ษาคณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ปีการศึกษา 2547. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. วรากร ทรัพย์วริ ะปกรณ์ และทรงวุฒิ อยูเ่ อีย่ ม. (2551). แรงจูงใจในงานที่มีผลต่อความผูกพันในงานของ อาสาสมั ค รสาธารณสุ ข . วารสารศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 19(2), 59-74.

วิภา อร่ามรุง่ โรจน์ชยั . (2543). แรงจูงใจในการศึกษาต่อ ระดับปริญญาตรีของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล วิทยาเขตบพิตรพิมุข มหาเมฆ. ปริญญา นิ พ นธ์ ก ารศึ ก ษามหาบั ณ ฑิ ต , มหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ. สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์. (2553). คูม่ อื นักศึกษา ปีการศึกษา 2553. นนทบุรี: สถาบันฯ. สมพิศ อยู่สุขสวัสดิ์. (2548). ศึกษาแรงจูงใจต่อการเข้า ศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิทยาลัย เทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. กรุงเทพฯ: วิทยาลัย เทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สมลักษณ์ ลันสุชีพ. (2545). แรงจูงใจในการเลือก ศึกษาต่อวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล. ปริญญานิพนธ์ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย มหิดล. สิน พันธุพ์ นิ จิ . (2549). เทคนิคการวิจยั ทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์. สุรางค์ โค้วตระกูล. (2545). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อรพินทร์ ชูชม และอัจฉรา สุขารมณ์. (2543). การวัด ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแรงจูงใจภายใน: ปัจจัยที่สัมพันธ์กับแรงจูงใจภายใน. กรุงเทพฯ: สถาบั น วิ จั ย พฤติ ก รรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ. อารี พันธ์มณี. (2546). จิตวิทยาสร้างสรรค์การเรียน การสอน. กรุงเทพฯ: ใยไหม เอดดูเคท. Houle, O. C. (1961). The inquiringmind. Madison, WI: University of Wisconsin Press. Ryan, R.M., and Deci, E.L. (2000). Intrinsic and extrinsic motivation: Classic definitions and new direction. Contemporary Educational Psychology, 25, 54-67.

71


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Mrs. Noppamas Paludkong received her Master of Arts (Educational Psychology and Guidance) from Kasertsart University, her Bachelor of Arts (Social Development Management) from Khon Kaen University, She is currently Head of General Education Program in Faculty of Liberal Arts, Panyapiwat Institute of Managemant.

72


ปั

จจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Factors Affecting Emotional Quotient Development of Rajamangala University of Technology Thanyaburi Students รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร วิทยอุดม อาจารย์ประจ�ำคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี E-mail: nps_system@hotmail.com ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เขมมารี รักษ์ชูชีพ อาจารย์ประจ�ำคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี E-mail: khemaree2011@hotmail.com ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรศักดิ์ สุรังคพิพรรธน์ อาจารย์ประจ�ำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี E-mail: jirsu@hotmail.com อิศราภรณ์ เทียมศร อาจารย์ประจ�ำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี E-mail: t_issaraporn@yahoo.com

73


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

บทคัดย่อ

การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1) ศึกษาระดับความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2) เพือ่ ศึกษาปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนา ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงส�ำรวจ โดยประชากรทีใ่ ช้ในการศึกษาครัง้ นี้ เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีทกุ ชัน้ ปี ที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีจ�ำนวนนักศึกษาทั้งสิ้น 25,388 คน ขนาดของตัวอย่าง 394 คน การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยจ�ำนวนหน่วยตัวอย่างเป็นสัดส่วนกับจ�ำนวนประชากร ใช้คณะที่นักศึกษาสังกัด เป็นชั้นภูมิ การสุ่มตัวอย่างจากแต่ละชั้นภูมิใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Correlation) และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression) ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นหญิง ส่วนมากเป็นนักศึกษา สังกัดคณะบริหารธุรกิจ ก�ำลังศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 1 ส่วนมากมีระดับผลการศึกษาเฉลี่ยอยู่ในช่วง 2.50-2.99 ในภาพรวมนักศึกษามีระดับขององค์ประกอบของความฉลาดทางอารมณ์อยู่ในระดับ ปานกลาง โดยมีความฉลาดทางอารมณ์ด้านความสามารถภายในตน ด้านทักษะความเก่งคน ด้านความสามารถในการปรับตัว และด้านกลยุทธ์ในการบริหารความเครียดระดับปานกลาง ส่วนด้านการจูงใจตนเองและสภาวะทางอารมณ์อยู่ในระดับสูง ระดับความฉลาดทางอารมณ์ของ นักศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับสูง โดยนักศึกษามีความฉลาดทางอารมณ์ระดับบุคคลในระดับสูง และมีความฉลาดทางอารมณ์ระดับสังคมในระดับสูง ส�ำหรับปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการพัฒนาความฉลาด ทางอารมณ์ของนักศึกษา ได้แก่ ความสามารถภายในตน ทักษะความเก่งคน ความสามารถในการ ปรับตัว กลยุทธ์ในการบริหารความเครียด การจูงใจตนเองและสภาวะทางอารมณ์ โดยปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษามากที่สุด ได้แก่ การจูงใจตนเองและสภาวะทาง อารมณ์ รองลงมาคือ ความสามารถในการปรับตัว ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาความฉลาด ทางอารมณ์ของนักศึกษา ได้แก่ การที่นักศึกษาไม่ทราบว่าควรปฏิบัติตนในสถานการณ์ต่างๆ อย่างไร การที่นักศึกษาไม่สามารถควบคุมอารมณ์และการแสดงออกทางอารมณ์ของตนเองได้ เมื่อมีเหตุการณ์ต่างๆ เข้ามากระทบ ข้อเสนอแนะจากการวิจัยได้แก่ การจัดกิจกรรมในการพัฒนา ความฉลาดทางอารณ์ให้แก่นักศึกษา ทั้งกิจกรรมทางสังคมและกิจกรรมทางศาสนาโดยจัดควบคู่ กันไป มหาวิทยาลัยควรจัดให้มนี กั จิตวิทยาเพือ่ ให้คำ� ปรึกษาแก่นกั ศึกษาทีม่ ปี ญ ั หา รวมทัง้ ควรบรรจุ เรือ่ งความฉลาดทางอารมณ์ในหลักสูตรเพือ่ ให้นกั ศึกษาทุกคนได้เรียนและสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจ�ำวันและการท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ค�ำส�ำคัญ: ความฉลาดทางอารมณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

74


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Abstract

The objectives of this study are to 1) study emotional quotient of students from Rajamangala University of Technology Thanyaburi, 2) study factors influencing emotional quotient developments of these students, and 3) study problems and obstacles of their emotional quotient developments. This is a survey research, where total populations of 25,388 students are students from all faculties of Rajamangala University of Technology Thanyaburi. This study utilizes two-stage sampling: stratified random sampling on proportion of students in each faculty and simple random sampling of students in each faculty, with 394 samples for this research. Questionnaires are utilized for data collection. The descriptive and inferential statistics of frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation and multiple regression are utilized for the data analysis purpose. Findings indicate the following characteristics: Majority of students are female, first year students at Faculty of Business Administration, and average grade point at 2.50-2.99. Overall EQ level of student is on the average level. In the areas of individual EQ levels of inner self EQ, relationship ability, adaptability, and stress management strategy are on the average level. In the areas of individual EQ levels of self motivation and emotional status are on the high level. Factors affecting student EQ are inner-self EQ, relationship ability, adaptability, stress management strategy, self motivation, and emotion status. Factors influencing students EQ the most are self motivation and emotional status; while the second is adaptation ability. Problems and obstacles in EQ development are: students not knowing how to behave in various situations and students not being able to control EQ when facing certain serious situations. Suggestions from this research are that university may organize some EQ development activities on both social and religious activities, and that university may employ psychologist to counsel students with problems, or may consider including this EQ development and control subjects in the curriculum in order that students could use knowledge gained from the subjects for the benefit of daily life and working efficiency. Keywords: Emotional Quotient, Rajamangala University of Technology Thanyaburi

75


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

บทน�ำ ความฉลาดทางอารมณ์เป็นความสามารถในเชิง อารมณ์และการปรับตัวทางสังคมเป็นตัวบ่งชีว้ า่ บุคคลนัน้ จะประสบความส�ำเร็จหรือความล้มเหลว และสามารถ สร้างแรงจูงใจในตัวเองไปสู่การใช้ศักยภาพที่มีอยู่อย่าง สร้างสรรค์ และจากปัญหาที่เกิดจากความบกพร่อง ทางด้านความฉลาดทางอารมณ์ จะท�ำให้คุณภาพงาน ด้อยกว่าที่ควรจะเป็น อีกทั้งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและ การท�ำงานอย่างไม่มีความสุข อาทิ บุคลากรมองว่างาน เป็นเพียงภาระหน้าที่ มิใช่อาชีพที่ตนรักและพึงพอใจ เหตุที่ต้องท�ำก็เพราะต้องการผลตอบแทนคือ เงินเดือน ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญในการด�ำรงชีวิตก็เลยต้องท�ำงาน ทัง้ ๆ ทีไ่ ม่มใี จรักในอาชีพนัน้ เมือ่ เป็นเช่นนัน้ ก็ไม่สามารถ สรุปได้ว่าผู้ที่มีความฉลาดทางสติปัญญาสูงจะเป็นผู้ที่มี ความฉลาดทางอารมณ์สูง และจะประสบความส�ำเร็จ ในชีวิตการท�ำงาน (วีระวัฒน์ ปันนิตามัย, 2542) โดย Goleman (1995) ได้อ้างถึงผลการศึกษาของบริษัท Hay/McBer Boston ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึง่ ท�ำการ ศึกษาถึงขีดความสามารถที่มีส่วนก�ำหนดความส�ำเร็จ ในการท�ำงานของพนักงานใน 40 บริษทั พบว่า พนักงาน มีความสามารถทางสมองที่เหนือกว่าผู้อื่นเพียง 27% แต่ มี ค วามสามารถทางด้ า นความฉลาดทางอารมณ์ เหนือกว่าผู้อื่นถึง 53% นอกจากนี้ผลการศึกษาของ Harvard University ที่ท�ำการศึกษาองค์ประกอบของ ความส�ำเร็จในการท�ำงานย้อนหลัง โดยศึกษาจากผูเ้ รียนจบ ในปี ค.ศ. 1940 จ�ำนวน 95 คน เป็นการศึกษาระยะยาว ติดตามจนถึงวัยกลางคน พบว่า นักศึกษาทีเ่ รียนจบและ มีผลการเรียนในระดับสูงมักไม่ใคร่ประสบความส�ำเร็จ เมื่อเทียบกับนักศึกษาที่คะแนนต�่ำกว่า แต่มีความฉลาด ทางอารมณ์ในระดับสูงกว่าทั้งทางด้านการท�ำงานและ ครอบครัว (กรมสุขภาพจิต, 2543) จากสถิ ติ ก ารตายต่ อ ประชากร 100,000 คน จ�ำแนกตามกลุม่ สาเหตุการตาย 10 กลุม่ แรก พ.ศ. 2537 และ พ.ศ. 2540 ในประเทศไทยพบว่ า โรคที่ ติ ด 10 อันดับแรกทีส่ าเหตุหนึง่ เกิดจากอารมณ์ คือ โรคทางด้าน

76

ระบบการไหลเวียนเลือด โรคระบบหายใจ โรคเกี่ยวกับ ระบบต่อมไร้ท่อ และโรคระบบย่อยอาหาร โดยที่อัตรา การตายปี พ.ศ. 2537 และ พ.ศ. 2540 เกิดจากโรคที่ เกี่ยวกับระบบการไหลเวียนเลือดมากที่สุด (ส�ำนักงาน สถิติแห่งชาติ, 2542) ประกอบกับธงชัย ทวิชาชาติ และคณะ (2541) ได้ท�ำการศึกษาเรื่อง ความเครียด และสุขภาพจิตของคนไทย ท�ำการส�ำรวจประชาชน ในประเทศไทยเพื่อหาความชุกของความเครียดโดยใช้ รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนาชนิดตัวขวาง ณ จุดหนึ่ง ของเวลา โดยสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มตามจังหวัดต่างๆ รวมทัง้ หมด 76 จังหวัด มีประชากรตัวอย่าง 10,775 ราย ผลจากการศึกษาพบว่า คนไทยมีความเครียดร้อยละ 67.6 และสาเหตุที่ท�ำให้เครียดมากที่สุดคือ ปัญหาการงาน และอาชีพ และจากรายงานผลสรุปการส�ำรวจการเข้าออกงาน ปีพ.ศ. 2538 ทั่วประเทศพบว่า การเข้างาน ทั้งหมด 1,285,292 คน เป็นการเข้างานแทนคนเก่าที่ ออกไปมีจ�ำนวน 665,262 คน ซึ่งมากกว่าการเข้างาน ในต�ำแหน่งใหม่ ส่วนการออกงานจากการออกงานทัง้ หมด 786,214 คน เป็นการลาออกจ�ำนวน 663,726 คน ซึง่ มากกว่าการออกจากงานจากการเลิกจ้าง และการท�ำผิด (กรมการจัดหางาน, 2540) ทั้งนี้จากตัวเลขการลาออก และการเข้างานแทนคนเก่าที่ออกไปสูงกว่ากรณีอื่นๆ ซึง่ สามารถอนุมานได้วา่ บุคลากรในองค์กรมีความพึงพอใจ ในการท�ำงานต�่ำ ขาดความผูกพันต่อองค์กร เนื่องจาก ความสัมพันธ์ของความพอใจในการท�ำงาน และความ ผูกพันต่อองค์กรเป็นความสัมพันธ์ในทางลบกับอัตรา การเข้าออกงาน (ฉัฐภูมิ วัฒนศิรพิ งศ์, 2537) นอกจากนี้ ผลการส�ำรวจสุขภาพจิตในภาวะวิกฤตเศรษฐกิจของ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพโดยสอบถามทางโทรศัพท์จะเห็น ได้วา่ ความรูส้ กึ เครียดในระดับปานกลางถึงมากของกลุม่ ผู้ประกอบอาชีพเพิ่มสูงขึ้นเมื่อพิจารณาผลการส�ำรวจ จากครั้งที่สอง ซึ่งสาเหตุหนึ่งของความเครียดเกิดจาก ปฏิกิริยาตอบสนองทางด้านอารมณ์ที่มีต่อเหตุการณ์ที่ ก่อให้เกิดความไม่สบายใจ


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ความฉลาดทางอารมณ์เป็นกระแสที่ประเทศไทย รับมาจากชาวตะวันตก ซึ่งช่วงแรกได้มีงานวิจัยและ การศึกษาของนักจิตวิทยา และนักวิชาการหลายท่านที่ พบว่า ปัจจัยส�ำคัญที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จของคนนั้นมี มากกว่าความฉลาดทางสติปัญญา และจุดประกายให้ ตระหนักถึงความส� ำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ (Livingston, 1971; McClelland, 1973; Gardner, 1983) หลังจากนั้น Mayer และ Salovey (1990) ได้ บัญญัติศัพท์ค�ำว่า Emotinal Quotient โดยได้อธิบาย ถึ ง ความฉลาดทางอารมณ์ ว ่ า เป็ น รู ป แบบหนึ่ ง ของ ความฉลาดทางสั ง คมที่ ป ระกอบด้ ว ยความสามารถ ในการรู ้ อ ารมณ์ แ ละความรู ้ สึ ก ของตนเองและผู ้ อื่ น สามารถแยกความแตกต่างของอารมณ์ที่เกิดขึ้นได้และ ใช้ข้อมูลนี้เป็นเครื่องชี้น�ำในการคิดและกระท�ำสิ่งต่างๆ ต่อมา Goleman (1995) ท�ำการศึกษาต่อจากงานของ Mayer และ Salovey ซึง่ Goleman ได้ปรับปรุงรูปแบบ โดยเน้นว่าความฉลาดทางอารมณ์สามารถเปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้ตลอดชีวติ ส่งผลให้ความฉลาดทางอารมณ์ เป็นทีร่ จู้ กั กันแพร่หลาย และประกอบกับ Gibbs (1995) เขียนบทความเรื่อง “The EQ Factor” ตีพิมพ์ลงใน นิตยสาร TIME ซึ่งได้ยกตัวอย่างงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นถึง ความส�ำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ ท�ำให้มกี ารตืน่ ตัว ที่จะศึกษาทางด้านความฉลาดทางอารมณ์กันมากขึ้น รวมทัง้ ประเทศไทยด้วย โดยในประเทศไทยเริม่ จากแวดวง ทางวิชาการ ดังจะเห็นได้จากเทอดศักดิ์ เดชคง (2542) เขียนหนังสือเรื่อง ความฉลาดทางอารมณ์ และได้เขียน หนังสือเรือ่ งจากความฉลาดทางอารมณ์สสู่ ติและปัญญา ในปีเดียวกัน วีระวัฒน์ ปันนิตามัย (2542) เขียนหนังสือ เรือ่ ง เชาว์อารมณ์ (EQ) ดัชนีวดั ความสุขและความส�ำเร็จ ของชีวติ ต่อมาปีพ.ศ. 2543 สถาบันวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ ได้กอ่ ตัง้ ชมรมผูส้ นใจ อีควิ ขึน้ อย่างเป็นทางการเพือ่ เป็น ศูนย์กลางแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการในเรื่องความ ฉลาดทางอารมณ์ และในปีเดียวกันอัจฉรา สุขารมณ์, วิ ล าสลั ก ษณ์ ชั ว วั ล ลี และอรพิ น ทร์ ชู ช ม (2543) ได้รวบรวมบทความทางวิชาการเรื่องอีคิว โดยเฉพาะ

แก่สมาชิกชมรม และผู้สนใจอีคิวทุกท่าน นอกจากนี้ แสงอุษา โลจนานนท์ และกฤษณ์ รุยาพร (2543) เขียน หนังสือเรื่อง การบริหารอารมณ์ด้วยรอยยิ้มแบบไทยๆ ต่อมา อัจฉรา สุขารมณ์, วิลาสลักษณ์ ชัววัลลี และ อรพินทร์ ชูชม (2544) ได้รวบรวมบทความทางวิชาการ (เล่ม 2) เรื่อง อีคิว : จากแนวคิด....สู่การปฏิบัติ และ ในปีเดียวกัน เทอดศักดิ์ เดชคง (2544) เขียนหนังสือเรือ่ ง สติบ�ำบัด ซึ่งเป็นแนวทางการบ�ำบัดอาการทางจิตใจ ด้วยหลักของสติควบคูก่ บั หลักของความฉลาดทางอารมณ์ จากการศึกษาทางด้านความฉลาดทางอารมณ์อย่าง ต่อเนือ่ งของนักวิชาการและนักจิตวิทยา พบว่า นอกจาก จะเป็นปัจจัยที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จแล้ว ความฉลาดทาง อารมณ์ยงั เป็นส่วนหนึง่ ทีส่ ง่ เสริมความฉลาดทางสติปญั ญา อีกด้วย ดังเช่นที่ วีระวัฒน์ ปันนิตามัย (2542) ได้กล่าว ไว้วา่ ผูท้ มี่ คี วามฉลาดทางอารมณ์สงู มักมีแนวโน้มทีจ่ ะมี ความฉลาดทางสติปญ ั ญาสูงด้วย เพราะองค์ประกอบของ ความฉลาดทางอารมณ์จะช่วยเสริมสร้างให้คนเรียนรูแ้ ละ แก้ปัญหาได้ดียิ่งขึ้น เนื่องจากสมองส่วนกลางที่เรียกว่า Limbic system มีสมองที่เป็นศูนย์กลางของการรับรู้ และตอบสนอง ต่ออารมณ์โกรธ กลัวของมนุษย์ เรียกว่า Amygdala ซึ่งเป็นบริเวณที่เกิดอารมณ์และส่งผลต่อ การท�ำงานของสมองชั้นนอกสุดที่เรียกว่า Neocrotex หรือ Cerebral System ที่ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการคิด การรับรู้ และการวางแผน ดังนั้นจึงควรตระหนักถึง ความส�ำคัญในการพัฒนาทางด้านสติปญ ั ญาควบคูไ่ ปกับ ความฉลาดทางอารมณ์เพื่อประสิทธิภาพในตัวผลงาน และมีความสุขในการท�ำงาน จากกระแสโลกาภิวัฒน์ที่ท�ำให้องค์กรธุรกิจจะต้อง ปรับเปลีย่ นกระบวนการท�ำงานเพือ่ ความรวดเร็วในการรับ ข้อมูลข่าวสารเพราะเป็นยุคที่ผู้มีความรู้คือผู้ที่มีอ�ำนาจ (สิปปนนท์ เกตุทัต, 2543) และให้ความส�ำคัญกับการ ร่วมมือกันโดยเฉพาะการร่วมกันคิด ร่วมกันเสนอแนวทาง ในการแก้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ จากการท�ำงาน ท�ำให้บคุ ลากร ในองค์กรธุรกิจมีมุมมองที่กว้างขึ้น มีแนวทางในการ แก้ปัญหามากขึ้น และเป็นการสนับสนุนให้บุคลากรใน

77


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

องค์กรธุรกิจได้ใช้ความคิด และกล้าแสดงออก ซึ่งจาก กระแสดังกล่าวส่งผลให้บุคลากรในองค์กรธุรกิจจะต้อง ปรับตัวอย่างมากและอาจจะก่อให้เกิดความเครียดได้ ประกอบกับในกระบวนการท�ำงานที่บุคลากรจะต้องมี การปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้น ดังนั้นการพัฒนาความฉลาด ทางอารมณ์ของบุคลากรในองค์กรธุรกิจจึงมีความส�ำคัญ ในยุคปัจจุบัน ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาความฉลาดทาง อารมณ์ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย เนือ่ งจากนักศึกษา ในมหาวิทยาลัยมีภาระการเรียนทีห่ นัก รวมทัง้ ต้องเรียน เพื่ อ เป็ น พื้ น ฐานของการประกอบอาชี พ ในอนาคต นักศึกษาจึงประสบความเครียดหลายด้าน คณะผู้วิจัย จึงต้องการศึกษาว่ามีปจั จัยอะไรบ้างทีม่ ผี ลต่อการพัฒนา ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาระดั บ ความฉลาดทางอารมณ์ ข อง นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2. เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การพั ฒ นา ความฉลาดทางอารมณ์ ข องนั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 3. เพื่ อ ศึ ก ษาปั ญ หาและอุ ป สรรคในการพั ฒ นา ความฉลาดทางอารมณ์ ข องนั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การทบทวนวรรณกรรม Bar-On (1997) ได้เสนอแนวคิดเกีย่ วกับองค์ประกอบ ของความฉลาดทางอารมณ์ โดยแบ่งออกเป็น 5 ด้าน 15 คุณลักษณะที่ส�ำคัญๆ ดังนี้ 1. ความสามารถภายในตน ซึง่ เป็นความสามารถที่ มีองค์ประกอบย่อย ดังนี้ 1) ความสามารถในการเข้าใจ ภาวะอารมณ์ของตน รู้จักตนเอง 2) มีความกล้าที่จะ แสดงความคิดความเห็นและความรู้สึกของตนเอง และ 3) การตระหนักรู้ คือ มีสติ 2. ทักษะทางด้านความเก่งคนหรือมนุษยสัมพันธ์ มีองค์ประกอบย่อยดังนี้ 1) ความสามารถในการสร้าง

78

สัมพันธภาพทีด่ กี บั ผูอ้ นื่ 2) มีนำ�้ ใจ เอือ้ อาทร ห่วงใยผูอ้ นื่ และ 3) ตระหนักรู้เท่าทันในความรู้สึกนึกคิดของผู้อื่น 3. ความสามารถในการปรับตัวมีองค์ประกอบย่อย ดังนี้ 1) ความสามารถในการตรวจสอบความรูส้ กึ ของตน 2) เข้าใจสถานการณ์ตา่ งๆ และสามารถตีความได้ถกู ต้อง ตรงตามความเป็นจริง 3) มีความยืดหยุน่ ในความคิดและ ความรู้สึกของตนเป็นอย่างดี และ 4) มีความสามารถ ในการแก้ปญ ั หาและสถานการณ์เฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี 4. มี ก ลยุ ท ธ์ ใ นการบริ ห ารจั ด การความเครี ย ด มีองค์ประกอบย่อยดังนี้ 1) สามารถบริหารจัดการ ความเครียดได้อย่างดี 2) ควบคุมอารมณ์ได้เป็นอย่างดี และแสดงออกได้อย่างเหมาะสม การจูงใจตนเองและสภาวะทางอารมณ์ มีองค์ประกอบ ย่อยดังนี้ 1) การมองโลกในแง่ดี 2) การแสดงออกและ มีความรู้สึกที่เป็นสุขที่สามารถสังเกตเห็นได้ 3) สร้าง ความสนุกสนานให้เกิดแก่ตนเองและผู้อื่น กรมสุขภาพจิต (2549) กล่าวว่า ความฉลาดทาง อารมณ์ คือ ความสามารถทางอารมณ์ที่จะช่วยให้การ ด�ำเนินชีวิตเป็นไปอย่างสร้างสรรค์และมีความสุข โดย แบ่งองค์ประกอบของความฉลาดทางอารมณ์ออกเป็น 3 ประการ ได้แก่ ความดี ความเก่ง และความสุข ความดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุม อารมณ์และความต้องการของตนเองได้ รูจ้ กั เห็นอกเห็นใจ ผู้อื่นและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม ประกอบด้วย 1) ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการ ของตนเอง หมายถึง ความสามารถในการรับรู้อารมณ์ และความต้องการของตนเอง สามารถควบคุมอารมณ์ และความต้องการของตนเองได้ และสามารถแสดง อารมรณ์ออกมาได้อย่างเหมาะสม 2) ความสามารถใน การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น หมายถึง การรู้จักใส่ใจผู้อื่น สามารถเข้าใจและยอมรับผู้อื่นได้ รวมทั้งสามารถแสดง ความเห็นใจผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม และ 3) ความ สามารถในการรับผิดชอบ: รู้จักการให้ รู้จักการรับ รู้จัก รับผิด รู้จักให้อภัย และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ความเก่ง หมายถึง ความสามารถในการรูจ้ กั ตนเอง มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจแก้ปญ ั หา และแสดงออกได้ อย่างมีประสิทธิภาพตลอดจน มีสมั พันธภาพทีด่ กี บั ผูอ้ นื่ ประกอบด้วย 1) ความสามารถในการรูจ้ กั และสร้างแรง จูงใจให้ตนเอง หมายถึง การรู้ศักยภาพของตนเอง สามารถสร้างขวัญและก�ำลังใจให้ตนเองได้ มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะไปให้ถงึ เป้าหมาย 2) ความสามารถในการตัดสินใจ และแก้ปัญหา หมายถึง การสามารถรับรู้และเข้าใจ ปัญหา มีขนั้ ตอนในการแก้ปญ ั หาได้อย่างเหมาะสม และ มีความยืดหยุน่ และ 3) ความสามารถในการมีสมั พันธภาพ กับผู้อื่น หมายถึง การรู้จักการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับ ผู้อื่น กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และสามารถแสดง ความเห็นที่ขัดแย้งได้อย่างสร้างสรรค์ ความสุข หมายถึง ความสามารถในการด�ำเนินชีวติ อย่างเป็นสุข มีความภูมิใจในตนเอง พอใจในชีวิต และ มีความสุขสงบทางใจ ประกอบด้วย 1) ความภูมิใจใน ตนเอง หมายถึง การเห็นคุณค่าในตนเอง เชือ่ มัน่ ศรัทธา ในตนเอง 2) ความพึงพอใจในชีวิต หมายถึง การรู้จัก มองโลกในแง่ดี มีอารมณ์ขัน และพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ และ 3) ความสงบทางใจ หมายถึง การมีวธิ หี รือกิจกรรม ที่เสริมสร้างความสุข รู้จักผ่อนคลาย และมีความสงบ ทางจิตใจ ส�ำหรับปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อความฉลาดทางอารมณ์ กรมสุขภาพจิตกล่าวว่า ขึ้นกับปัจจัยหลักๆ 2 ประการ คือ 1) พันธุกรรมและพื้นฐานอารมณ์ พันธุกรรม เป็น ตั ว ก� ำ หนดให้ ม นุ ษ ย์ แ ต่ ล ะคนมี ลั ก ษณะพื้ น ฐานทาง อารมณ์ที่แตกต่างกัน และพื้นฐานอารมณ์ที่ติดตัวมา แต่ก�ำเนิด ก็เป็นส่วนส�ำคัญในการก�ำหนดพฤติกรรม อารมณ์ และบุคลิกภาพ นอกจากนี้ ภาวะแวดล้อม ขณะอยูใ่ นครรภ์ มีสว่ นส�ำคัญต่อพืน้ ฐานอารมณ์ของลูก 2) สภาพแวดล้อมและการเลี้ยงดู การเลี้ยงดูในสภาพที่ เหมาะสม สามารถพัฒนาและควบคุมพืน้ ฐานทางอารมณ์ ด้านลบได้ ขณะเดียวกันก็สามารถช่วยส่งเสริมพื้นฐาน อารมณ์ด้านบวกให้โดดเด่นยิ่งขึ้น

แสงอุษา โลจนานนท์ และกฤษณ์ รุยาพร (2543) ได้สรุปองค์ประกอบของผู้ที่มีความฉลาดทางอารมณ์ไว้ ด้วยค�ำว่า SMILE ซึ่งอักษรแต่ละตัว มีความหมาย ดังนี้ 1) S-Self Awareness : เป็นผูท้ รี่ จู้ กั อารมณ์ของตนเอง รู้ว่าอารมณ์ของเราในยามปกติและในยามไม่ปกติเป็น เช่นไร รู้สาเหตุของการเกิดอารมณ์นั้น และมองเห็นถึง ผลกระทบของอารมณ์ที่เกิด 2) M-Management Emotion: สามารถบริหารจัดการกับอารมณ์ของตนเอง เมื่อตระหนักรู้ถึงอารมณ์ของตนเองแล้วว่าก�ำลังรู้สึก อย่างไร ทัง้ นีอ้ าจจะเป็นอารมณ์ทางด้านบวก หรืออารมณ์ ทางด้านลบก็ได้ จะสามารถจัดการหรือควบคุมอารมณ์ ของตนเองให้แสดงออกทางพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม กับบุคคล สถานที่ เวลา และเหตุการณ์ 3) I-Innovate Inspiration : สร้างสรรค์และจูงใจอารมณ์ตนเองการมี แรงบันดาลใจหรือแรงจูงใจในตัวเอง มองโลกในแง่ดี สามารถน�ำความรู้สึกของตนมาสร้างพลังในการกระท�ำ สิ่งต่างๆ น�ำไปสู่เป้าหมายที่ต้องการได้ 4) L-Listen with Head and Heart: เข้าใจอารมณ์ผู้อื่นมีความ เข้าอกเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น ทั้งนี้จะต้องวางตัวให้ เป็นกลาง ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ นื่ และ 5) E-Enhance Social Skill: มีทักษะประสานสัมพันธ์ ทางสังคม เป็นความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพที่ ดีกบั บุคคลอืน่ เพือ่ การอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมีความสุข เข้าใจสภาพการณ์ตา่ งๆ ได้ดี และสามารถสือ่ สาร ชักจูง ประนีประนอม หรือยุตขิ อ้ ขัดแย้งเพือ่ การอยูร่ ว่ มกันอย่าง มีความสุขของทีมงานและสังคม เทอดศักดิ์ เดชคง (2542) กล่าวว่า ความฉลาด ทางอารมณ์เป็นความสามารถของบุคคลในการน�ำไปสู่ การเป็นคนดี มีคุณค่า และมีความสุข การเป็นคนดี จะรวมความหมายไปถึงความเห็นอกเห็นใจผูอ้ นื่ ซึง่ ก็คอื ความเมตตา กรุณา การมีคุณค่าจะสอดคล้องกับการมี สติรู้ตัว (awareness) และการมีความสุข เกิดจากการ รู้จักมองโลก รู้จักที่จะเลือกหาความสุขใส่ตัว เมื่อเกิด ความทุกข์ก็หาวิธีแก้ไขโดยใช้ปัญญา

79


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

พระราชวรมุนี (ประยูร ธมมจิตโต) (2542) ได้เสนอ ไว้ว่า ผู้ที่ยังไม่บรรลุเป็นพระอรหันต์ก็ต้องการวิธีการ ควบคุมพลังขัดแย้งระหว่างกุศลและอกุศลให้อยูใ่ นกรอบ อันดีงาม มีการแสดงออกทางอารมณ์เป็นที่ยอมรับได้ ในสังคม กระบวนการการพัฒนาตนเองในเรื่องของการ แสดงออกทางอารมณ์นั้นมี 2 วิธีด้วยกันคือ 1) สมถวิธี หรือสมถกรรมฐาน: เน้นให้มีพลังสมาธิข่มฝ่ายไม่ดี ทัง้ หลายไม่ให้มบี ทบาท แต่จะช่วยให้เป็นฐานของปัญญา นัน่ คือ จะท�ำงานอะไรให้ได้ผลมีปญ ั ญาได้ชดั เจนแจ่มแจ้ง ต้องข่มฝ่ายอกุศลไว้จะท�ำให้คิดได้ชัดเจน แสดงออกได้ ถูกต้อง ไม่เป็นทาสของอารมณ์ เพราะสามารถควบคุม ฝ่ายที่ไม่ดีได้ และท�ำให้ความรู้สึกที่ดีได้แสดงออก ทั้งนี้ วิธีสมถวิธีหรือสมถกรรมฐานมีข้อจ�ำกัดคือ เมื่อใดที่ ออกจากกรรมฐาน ออกจากสมาธิแล้ว ฝ่ายอกุศลก็จะ มีฤทธิ์เดชมาก ไม่สามารถประนีประนอมกันในชีวิต ประจ�ำวันได้ อาทิ เมือ่ ออกจากกรรมฐานแล้วความโลภ ก็อาจจะแสดงออกได้เหมือนเดิม เพราะฉะนั้นจึงต้องมี วิธที ี่ 2 ตามมา 2) วิปสั สนากรรมฐาน: วิธนี เี้ ป็นการพัฒนา ให้สมาธิข่มฝ่ายไม่ดีทั้งหลายไม่ให้มีบทบาทอย่างถาวร และอยูใ่ นสังคมได้ ถ้าเป็นสมถกรรมฐานจะต้องปลีกวิเวก ออกไป ครั้นพอกลับมาก็ฟุ้งซ่านเหมือนเดิม ทั้งนี้สมาธิ เป็นส่วนหนึง่ ของวิปสั สนาทีเ่ รียกว่า ขณิกสมาธิ ทีจ่ ำ� เป็น ต่อการเรียน การท�ำงาน และจ�ำเป็นต่อการเกิดปัญญา วิปัสสนา เป็นวิธีการพัฒนาปัญญาโดยตรง ซึ่งเริ่มต้น ด้วยสติปฏั ฐานทีเ่ น้นการฝึกสติเพือ่ พัฒนาปัญญา สติคอื ความรู้ตัว รู้ทันปัจจุบัน รู้จักแสดงออกอย่างเหมาะสม ในสถานการณ์ต่างๆ วินดั ดา ปิยะศิลป์ (มปป.) ได้กล่าวถึงแนวทางในการ พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ รวมทั้งกิจกรรมที่ช่วย การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ดังนี้ 1) ส่งเสริม พัฒนาการรอบด้านตามวัย: ร่างกาย สติปญ ั ญา อารมณ์ จิตใจ สังคม จริยธรรม 2) สร้างให้มีอารมณ์ที่มั่นคง (Emotional stability) 3) ฝึกการมองโลกในแง่ดี: เห็น ข้อดีในตนเองและผูอ้ นื่ เห็นข้อดีของเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ 4) ฝึกการควบคุมตนเอง (self control / discipline)

80

5) ฝึกการรู้จักตนเอง ประเมินและพัฒนาตนเอง (self awareness) 6) สร้างวงจรความสุขในการด�ำเนินชีวิต (pleasure circuit) 7) สร้างแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์ (Achievement motivation) 8) สร้ า งความรู ้ สึ ก ว่ า ตนเอง มีคุณค่า (self esteem) 9) ฝึกการใช้สมอง 2 ข้าง 10) ฝึกทักษะการเข้าสังคม (social skills training) และ 11) ฝึกการหาแบบอย่างที่ดี ( Role model) วิธีการวิจัย กรอบแนวคิดในการศึกษาครัง้ นี้ ให้ความส�ำคัญกับ ระดับความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อความฉลาด ทางอารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี วิธีการในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปัญหา และอุ ป สรรคในการพั ฒ นาความฉลาดทางอารมณ์ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประกอบด้วย ตัวแปรอิสระ 5 ตัว ได้แก่ ความสามารถ ภายในตนทักษะความเก่งคน ความสามารถในการปรับตัว กลยุทธ์ในการบริหารความเครียด และการจูงใจตนเอง และสภาวะทางอารมณ์ โดยพิจารณาความฉลาดทาง อารมณ์ในระดับบุคคล และความฉลาดทางอารมณ์ ในระดับสังคม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักศึกษา ระดับปริญญาตรีทกุ ชัน้ ปีทกี่ ำ� ลังศึกษาอยูใ่ นมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีจ�ำนวน 25,388 คน จ�ำแนก เป็น 10 คณะ และ 1 วิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การศึกษาครั้งนี้ เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีทุกชั้นปี ที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี ซึง่ เลือกจากนักศึกษา 10 คณะ และ 1 วิทยาลัย ก� ำ หนดขนาดของตั ว อย่ า งโดยวิ ธี ก ารของยามาเน่ (Yamane, 1970: 886) ที่ระดับความมีนัยส�ำคัญ 0.05 และขนาดความคลาดเคลื่อน +/- 5% ได้กลุ่มตัวอย่าง 394 คน การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยจ�ำนวนหน่วย


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ตัวอย่างเป็นสัดส่ วนกับจ�ำ นวนประชากร ใช้คณะที่ นักศึกษาสังกัดเป็นชั้นภูมิ การสุ่มตัวอย่างจากแต่ละ ชัน้ ภูมใิ ช้วธิ กี ารสุม่ ตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่ อ งมื อ ที่ ใช้ ใ นการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล เป็ น แบบสอบถามเพื่ อ วั ด ระดั บ ความฉลาดทางอารมณ์ การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ และอุปสรรคในการ พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ซึง่ ผูว้ จิ ยั สร้างขึน้ จากการศึกษา เอกสาร ทฤษฎี แนวคิดต่างๆ รวมถึงงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง และสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ รวมทั้งกรอบแนวคิดที่ ก�ำหนดขึน้ การทดสอบคุณภาพแบบสอบถามทีส่ ร้างขึน้ เพื่อการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีขั้นตอนดังนี้ 1. การตรวจสอบความแม่นตรงเชิงพินิจ (Face Validity) เมื่ อ สร้ า งแบบสอบถามแล้ ว ผู ้ วิ จั ย จะให้ ผู้เชี่ยวชาญ 3 ราย ตรวจสอบความครอบคลุมเนื้อหา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2. การทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability Test) ก่อนที่จะน�ำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปใช้จริง ผู้วิจัย จะน�ำแบบสอบถามไปทดลองใช้กับนักศึกษา ที่ไม่ใช่ เป็นกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 50 คน เพื่อตรวจสอบความ เข้าใจและความสมบูรณ์ในค�ำถาม จากนัน้ จึงน�ำผลการ สอบถามไปค�ำนวณค่า Reliability Coefficient Alpha เพือ่ วัดความสอดคล้องภายใน (Internal Consistency) ของข้อความแต่ละตอนในแบบสอบถาม โดยใช้วธิ หี าค่า สัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha-coefficient) การเก็บรวบรวมข้อมูลคณะผู้วิจัยด�ำเนินการเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ ข้อมูลจากแบบสอบถาม ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ท�ำการ สอบถามจากนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี จ�ำนวน 394 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครือ่ งมือ ข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ ข้อมูลเอกสารวิชาการ แนวคิด ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั งิ านตลอดจนผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

วิธีวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยท�ำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปคอมพิวเตอร์ โดยได้แบ่งการ วิเคราะห์ออกเป็นสองส่วน คือ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิง ปริมาณ ซึ่งแยกเป็นการวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) วิเคราะห์โดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพือ่ วิเคราะห์เกีย่ วกับข้อมูลทัว่ ๆ ของตัวอย่างและปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลธั ญ บุ รี การวิเคราะห์ดว้ ยสถิตเิ ชิงอนุมาน (Inferential Statistics) วิเคราะห์โดย ใช้วธิ กี ารศึกษาความสัมพันธ์ (Correlation) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุ (Multiple Regression) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ คณะผู้วิจัยได้ท�ำ การวิเคราะห์โดยการน�ำข้อมูลมาจ�ำแนก จัดหมวดหมู่ เชือ่ มโยงข้อมูลทีไ่ ด้ วิเคราะห์สว่ นประกอบ และสรุปผล โดยอาศัยความสอดคล้องและความเป็นเหตุเป็นผล ผลการวิจัย นักศึกษาส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 51.5 เป็นหญิง มีอายุตำ�่ สุด 17 ปี และมีอายุสงู ทีส่ ดุ 29 ปี โดยอายุเฉลีย่ ของนักศึกษาเท่ากับ 20.12 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.74 ปี ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ คิดเป็น ร้อยละ 25.4 ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาทีก่ �ำลังศึกษาในชั้น ปีที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 27.4 นักศึกษาทีต่ อบแบบสอบถาม ส่วนมากมีระดับคะแนนเฉลีย่ สะสมอยูใ่ นช่วง 2.50-2.99 คิดเป็นร้อยละ 39.6

81


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ระดับความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ตารางที่ 1: ภาพรวมความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ความฉลาดทางอารมณ์ ความสามารถภายในตน ทักษะความเก่งคน ความสามารถในการปรับตัว กลยุทธ์ในการบริหารความเครียด การจูงใจตนเองและสภาวะทางอารมณ์ ภาพรวม

ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความฉลาดทางอารมณ์ 3.24 0.45 ปานกลาง 3.56 0.29 ปานกลาง 3.40 0.43 ปานกลาง 3.36 0.40 ปานกลาง 3.51 0.35 ปานกลาง 3.46 0.41 ปานกลาง

จากตารางที่ 1 พบว่า ในภาพรวมนักศึกษามีความ ฉลาดทางอารมณ์อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ย 3.51 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.41 โดยมีความฉลาด ทางอารมณ์ในด้านทักษะความเก่งคนสูงที่สุดรองลงมา เป็นด้านการจูงใจตนเองและสภาวะทางอารมณ์ ด้าน ความสามารถในการปรับตัวด้านกลยุทธ์ในการบริหาร ความเครียด และด้านความสามารถภายในตน ตามล�ำดับ โดยมีรายละเอียดในแต่ละด้าน ดังนี้ ด้านความสามารถภายในตน ในภาพรวมนักศึกษา มีความฉลาดทางอารมณ์อยู่ในระดับปานกลาง โดยมี ความสามารถในการรับรู้อารมณ์ของตนเองและเข้าใจ ตนเองได้ดี และมีความรูเ้ ท่าทันความต้องการของตนเอง ในระดั บ สู ง และนั กศึ ก ษามี ค วามฉลาดทางอารมณ์ ในเรื่องการรู้สึกหงุดหงิดเมื่อสิ่งต่างๆ ไม่เป็นไปตามที่ ตนเองต้องการต�ำ่ ทีส่ ดุ ด้านทักษะความเก่งคน ในภาพรวม นักศึกษามีความฉลาดทางอารมณ์ในระดับปานกลาง โดยนักศึกษาสามารถแสดงความชื่นชมยินดีต่อความ ส�ำเร็จของผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมสูงที่สุด รองลงมาคือ การแสดงน�ำ้ ใจและเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ตอ่ ผูอ้ นื่ อย่างสม�ำ่ เสมอ ส่วนเรือ่ งการไม่สนใจต่อความเดือดร้อนของคนทีต่ นเอง ไม่รู้จัก นักศึกษามีระดับความฉลาดทางอารมณ์ต�่ำที่สุด ด้านความสามารถในการปรับตัว ในภาพรวมนักศึกษา มีความฉลาดทางอารมณ์อยู่ในระดับ ปานกลาง โดย

82

นั ก ศึ ก ษารู ้ จั ก ให้ เ กี ย รติ ผู ้ อื่ น รวมทั้ ง รู ้ จั ก การสร้ า ง สั ม พั น ธภาพที่ ดี กั บ ผู ้ อื่ น สู ง ที่ สุ ด รองลงมานั ก ศึ ก ษา มี ค วามสามารถในการควบคุ ม อารมณ์ แ ละสามารถ แสดงออกได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ นักศึกษารู้จัก การให้ รู้จักการรับ รู้จักรับผิดชอบและรู้จักให้อภัย ส่วนการรู้สึกล�ำบากใจและไม่สบายใจเมื่อต้องอยู่กับ คนแปลกหน้าหรือคนทีไ่ ม่คนุ้ เคย นักศึกษามีความฉลาด ทางอารมณ์ต�่ำที่สุด ด้านกลยุทธ์ในการบริหารความเครียดในภาพรวม นักศึกษามีความฉลาดทางอารมณ์อยูใ่ นระดับปานกลาง โดยนักศึกษามีการยอมรับความผิดและสามารถขอโทษ ผูอ้ นื่ ได้เมือ่ ตนเองท�ำผิดสูงทีส่ ดุ รองลงมา ได้แก่ การรูจ้ กั ผ่อนคลายความเครียด โดยการหากิจกรรมที่เสริมสร้าง ความสุขให้กับตนเอง ส่วนเรื่องที่นักศึกษามีความฉลาด ทางอารมณ์ตำ�่ ทีส่ ดุ ได้แก่ การทีส่ ภาพแวดล้อมมีอทิ ธิพล ท�ำให้อารมณ์ของนักศึกษาเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ด้านการจูงใจตนเองและสภาวะทางอารมณ์ ใน ภาพรวมนักศึกษามีความฉลาดทางอารมณ์ในระดับ ปานกลาง โดยนักศึกษามีความสุข สงบทางจิตใจ รู้สึก พึงพอใจในสิ่งที่ตนเองมีและเป็นอยู่สูงที่สุด รองลงมา ได้แก่ การตัง้ เป้าหมายของชีวติ อย่างชัดเจนและมีความ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะไปให้ถงึ เป้าหมายนัน้ ส�ำหรับประเด็นทีน่ กั ศึกษา มีความฉลาดทางอารมณ์ต�่ำที่สุด ได้แก่ การรู้สึกว่า


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ตนเองไม่ได้รับความยุติธรรมหรือไม่ได้รับความเข้าใจ จากผู้คนรอบข้าง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษา ในภาพรวมมีการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในระดับสูง โดยนักศึกษามีการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ทั้งใน ระดับบุคคล และระดับสังคมอยูใ่ นระดับสูง ส�ำหรับการ พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในระดับบุคคล นักศึกษา มีการพัฒนาในประเด็น การมีความสามารถในการรู้จัก อารมณ์ของตนเองสูงที่สุด รองลงมาได้แก่ การมีความ สามารถในการสร้างแรงจูงใจให้กับตนเอง ส่วนประเด็น ที่นักศึกษามีการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ต�่ำที่สุด ได้แก่ การมีขนั ติ รูจ้ กั ข่มอารมณ์ของตน ส่วนการพัฒนา

ความฉลาดทางอารมณ์ในระดับสังคม นักศึกษามีการ พัฒนาในประเด็นการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สูงที่สุด รองลงมาได้แก่ การรู้และเข้าใจถึงอารมณ์ของ ผู้อื่น ส�ำหรบประเด็นที่นักศึกษามีการพัฒนาต�่ำที่สุด ได้แก่ การสามารถจัดการกับความขัดแย้ง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาความฉลาดทาง อารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี ปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษา ซึง่ ประกอบด้วย เพศ อายุ คณะ ชัน้ ปี และระดับคะแนนเฉลีย่ ไม่มอี ทิ ธิพลต่อ การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษา

ตารางที่ 2: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

สัมประสิทธิ์ ค่าสถิติที ค่า Sig. สัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R2) การถดถอย ความสามารถภายในตน 0.422 5.379 0.000 0.144 ทักษะความเก่งคน 0.669 10.150 0.000 0.277 ความสามารถในการปรับตัว 0.707 10.655 0.000 0.293 กลยุทธ์ในการบริหารความเครียด 0.469 6.444 0.000 0.170 การจูงใจตนเองและสภาวะทางอารมณ์ 0.681 11.002 0.000 0.304 ตัวแปรอิสระ

ปัจจัยความสามารถภายในตน เป็นปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพล ต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติ โดยปัจจัยความสามารถภายในตน สามารถอธิบายความผันแปรของการพัฒนาความฉลาด ทางอารมณ์ของนักศึกษาได้ร้อยละ 14.4 เมื่อปัจจัยอื่น คงที่ ปัจจัยทักษะความเก่งคน เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษา อย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติ โดยปัจจัยทักษะความเก่งคนสามารถ อธิบายความผันแปรของการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ของนักศึกษาได้ร้อยละ 27.7 เมื่อปัจจัยอื่นคงที่

ปัจจัยความสามารถในการปรับตัว เป็นปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษา อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ โดยปัจจัยความสามารถในการ ปรับตัวสามารถอธิบายความผันแปรของการพัฒนา ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาได้ร้อยละ 29.3 เมื่อปัจจัยอื่นคงที่ ปัจจัยกลยุทธ์ในการบริหารความเครียดเป็นปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของ นักศึกษาอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ โดยปัจจัย กลยุทธ์ ในการบริหารความเครียด สามารถอธิบายความผันแปร ของการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาได้ ร้อยละ 17 เมื่อปัจจัยอื่นคงที่

83


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ปัจจัยการจูงใจตนเองและสภาวะทางอารมณ์ เป็น ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ของนั ก ศึ ก ษาอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ โดยปั จ จั ย การจูงใจตนเองและสภาวะทางอารมณ์ สามารถอธิบาย ความผันแปรของการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของ นักศึกษาได้ร้อยละ 30.4 เมื่อปัจจัยอื่นคงที่ ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาความฉลาดทาง อารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี ผลการศึ ก ษาปั ญ หาและอุ ป สรรค์ ใ นการพั ฒ นา ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาจากความถี่ของ ค�ำตอบในประเด็นปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนา ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาได้แก่ การทีน่ กั ศึกษา เป็นผูม้ ใี จร้อน มีอารมณ์ววู่ าม มีอารมณ์แปรปรวนได้งา่ ย จากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นรอบๆ ตัว นอกจากนั้น เป็นปัญหาจากการทีน่ กั ศึกษาไม่มคี วามสนใจในสิง่ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นรอบๆตัว หมกมุ่นอยู่กับตัวเอง สนใจตัวเอง มากเกินไปไม่เปิดใจยอมรับผู้อื่น มีความมั่นใจในตัวเอง มากเกินไป จนท�ำให้ไม่สามารถรับฟังความคิดเห็นของ ผูอ้ นื่ ได้ ไม่ยอมรับความผิดของตัวเอง หรือมีความไม่มนั่ ใจ ในตัวเองท�ำให้ไม่กล้าแสดงออก เมือ่ นักศึกษามีการแปรปรวนทางอารมณ์ นักศึกษา จะมีวธิ กี ารในการจัดการอารมณ์แปรปรวนทีเ่ กิดขึน้ ด้วย วิ ธี ก ารต่ า งๆ กั น นั ก ศึ ก ษาส่ ว นหนึ่ ง จะพยายามตั ด ความโกรธ ตั้งสติ พยายามใช้เหตุผล มองโลกในแง่ดี พยายามท�ำความเข้าใจสถานการณ์ต่างๆ นักศึกษา ส่วนหนึ่งจะใช้วิธีเบี่ยงความสนใจของตัวเองออกไปจาก เรือ่ งทีท่ ำ� ให้อารมณ์แปรปรวน ด้วยการท�ำกิจกรรมต่างๆ หรือหลีกเลีย่ งไปจากสถานการณ์หรือบุคคลทีท่ ำ� ให้ตนเอง มีอารมณ์แปรปรวน นักศึกษาส่วนหนึง่ จะใช้วธิ กี ารพูดคุย ปรึกษาหรือระบายสิ่งที่เกิดขึ้น ให้เพื่อน รุ่นพี่ รุ่นน้อง ผู้ปกครอง อาจารย์ และบุคคลที่ตนเองไว้วางใจฟัง นักศึกษาส่วนหนึ่งใช้วิธีการอื่นๆ เพื่อให้ลืมสิ่งที่เกิดขึ้น เช่น การดืม่ เหล้า การนอนหลับ รวมทัง้ มีนกั ศึกษาส่วนหนึง่ ที่ไม่ควบคุมอารมณ์ตนเอง ปล่อยให้ตนเองกระท�ำไป ตามความรู้สึกในสถานการณ์นั้นๆ

84

ส�ำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาความฉลาดทาง อารมณ์ นักศึกษาส่วนมากเสนอให้คณะหรือมหาวิทยาลัย จัดกิจกรรมนันทนาการ หรือกิจกรรมที่ช่วยผ่อนคลาย ความเครียดและสร้างความสุขให้แก่นกั ศึกษา นักศึกษา ส่วนหนึ่งเสนอให้คณะหรือมหาวิทยาลัยจัดกิจกรรมที่ ส่งเสริมการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ โดยเน้น กิจกรรมทางศาสนา นักศึกษาส่วนหนึ่งเสนอให้มีการ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในมหาวิทยาลัยให้มคี วามสดชืน่ และช่วยผ่อนคลายอารมณ์ของนักศึกษา รวมทัง้ จัดให้มี จิตแพทย์ประจ�ำมหาวิทยาลัย เพือ่ ให้นกั ศึกษาทีม่ ปี ญ ั หา สามารถไปปรึกษาได้ นักศึกษาส่วนหนึ่งเสนอให้มีการ ลดกฎ ระเบียบต่างๆ ลง และขอให้อาจารย์ปรับปรุงวิธี การสอน เพื่อให้นักศึกษาเรียนแล้วไม่เกิดความเครียด รวมทัง้ ขอให้อาจารย์มคี วามเข้าใจนักศึกษาซึง่ อยูใ่ นช่วง วัยรุน่ ให้มากขึน้ นอกจากนัน้ มีนกั ศึกษาส่วนหนึง่ เห็นว่า คณะหรือมหาวิทยาลัยไม่จ�ำเป็นต้องท�ำอะไร เนื่องจาก การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาเป็นเรือ่ ง ส่วนตัวของนักศึกษาทีต่ วั นักศึกษาต้องรับผิดชอบตัวเอง สรุปและอภิปรายผล จากผลการศึกษาระดับความฉลาดทางอารมณ์ของ นักศึกษาในภาพรวม ซึง่ นักศึกษามีความฉลาดทางอารมณ์ ในระดั บ ปานกลาง โดยมี ค วามฉลาดทางอารมณ์ ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ความสามารถภายในตน ทักษะความ เก่งคน ความสามารถในการปรับตัว กลยุทธ์ในการ บริหารความเครียด การจูงใจตนเองและสภาวะทาง อารมณ์ อยู่ในระดับปานกลาง แสดงให้เห็นว่านักศึกษา บางส่วนใช้หลักเหตุผลในการด�ำเนินชีวิต โดยนักศึกษา กลุ ่ ม นี้ เ ป็ น ผู ้ ที่ มี ค วามเข้ า ใจในตนเอง มี ค วามรู ้ สึ ก ภาคภูมิใจในตนเอง มีความกล้าแสดงออก มีเหตุมีผล มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์ของตนเอง มีจติ ใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่นมีความเข้าใจผู้อื่น รู้จักการให้ การรับ มีมนุษยสัมพันธ์ดีแก้ปัญหาและบริหารความ ขัดแย้งได้ดี นอกจากนัน้ ยังสามารถด�ำรงตนเองให้อยูใ่ น สังคมได้อย่างมีความสุข ด้วยการมองโลกในแง่ดี รู้จัก วิธีการท�ำให้ตนเองผ่อนคลายความทุกข์และสามารถ


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

สร้างความสุขให้ตนเองได้ รวมทั้งนักศึกษากลุ่มนี้ยังมี เป้าหมาย ในชีวติ มีความหวังมีทศั นคติทดี่ ตี อ่ บุคคลและ สิ่งแวดล้อม มีความพึงพอใจในสิ่งที่ตนเองมี ตนเองเป็น ท�ำให้นกั ศึกษากลุม่ นีม้ คี วามสุข มีสขุ ภาพจิตทีด่ ี มีความ อดทน มีความเข้มแข็งกล้าเผชิญต่ออุปสรรคและปัญหา ต่างๆ ได้ การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษา ใน ภาพรวมมีการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในระดับสูง โดยนักศึกษามีการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ทั้งใน ระดับบุคคล และระดับสังคมอยูใ่ นระดับสูง แสดงให้เห็น ว่ า นั ก ศึ ก ษามี ค วามสามารถในการรั บ รู ้ อ ารมณ์ ข อง ตนเองมากขึ้น รวมทั้งสามารถที่จะควบคุมอารมณ์และ การแสดงออกทางอารมณ์ได้ดีขึ้น นั่นคือ นักศึกษามี ความอดทน มีความอดกลั้น รู้จักข่มอารมณ์ตนเอง สามารถน�ำหลักขันติมาใช้ในการด�ำรงชีวิตได้ นอกจาก นั้น นักศึกษายังมีความสามารถในการรับรู้และเข้าใจ อารมณ์ของบุคคลอืน่ ๆ ทีอ่ ยูแ่ วดล้อม สามารถทีจ่ ะแสดง อารมณ์ตอบสนองต่อเหตุการณ์ตา่ งๆ ได้อย่างสอดคล้อง และเหมาะสมกับกาลเทศะ ท�ำให้สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่น และด�ำเนินชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์และมีความสุข การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาต้อง ท�ำให้นักศึกษารู้จักมองโลกในแง่ดี มีความคิดในแง่บวก เสมอ มีอารมณ์ขนั มีจติ ใจแจ่มใสเบิกบาน ไม่เศร้าหมอง รู้จกั สร้างความสุขให้กับตนเอง สามารถสร้างขวัญก�ำลัง ใจให้กบั ตนเองได้ และรูว้ ธิ กี ารในการจัดการอารมณ์ทไี่ ม่ พึงประสงค์ หรือรูว้ ธิ กี ารในการดึงตนเองออกจากความ ทุกข์ นอกจากนั้นควรต้องมีกิจกรรมเพื่อท�ำให้นักศึกษา มีความรักตนเอง มีความเชื่อมั่นในตนเอง และมีความ ภาคภูมิใจในตนเองเพิ่มขึ้นด้วย นักศึกษาควรมีความ เข้าใจในตนเองมีการยอมรับในตนเอง และหาข้อดี ข้อ ด้อยของตนเองได้ เพือ่ ให้สามารถพัฒนาข้อดีของตนเอง จนเป็นจุดเด่น และท�ำให้เกิดการยอมรับและภาคภูมิใจ รวมทั้งมีการพัฒนาในจุดด้อย เพื่อให้นักศึกษาแก้ไข ปรับปรุงตนเอง

ข้อเสนอแนะ 1. มหาวิทยาลัยควรบรรจุเรือ่ งความฉลาดทางอารมณ์ เข้ า ไปในหลั ก สู ต ร เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาทุ ก คนได้ เรี ย นรู ้ เพราะยังมีนักศึกษาบางส่วนไม่เข้าใจว่าความฉลาดทาง อารมณ์คืออะไร มีความส�ำคัญอย่างไร และหากจะ พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ควรท�ำอย่างไร หรือหาก ไม่สามารถบรรจุลงในหลักสูตรได้ อย่างน้อยทีส่ ดุ ควรมี การสอดแทรกเรื่องความฉลาดทางอารมณ์เข้าไปในทุก วิชา เช่น วิชาทางด้านวิทยาศาสตร์ สอดแทรกเรือ่ งของ ความอดทน ความมีเหตุมีผล วิชาทางด้านคณิตศาสตร์ สอดแทรกเรื่องความมีสมาธิ ความมั่นคงของอารมณ์ วิชาทางด้านสังคมศาสตร์ สอดแทรกเรื่องความเข้าใจ ตนเอง การอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม เป็นต้น 2. อาจารย์ผู้สอนทุกคนในมหาวิทยาลัย ควรเป็น แบบอย่างที่ดีให้กับนักศึกษา โดยการสอน ให้นักศึกษา รู้จักการแก้ปัญหาด้วยการใช้เหตุผล มากกว่าอารมณ์ สอนให้นกั ศึกษาคิดในแง่บวกมองโลกในแง่ดี โดยอาจจะ เริม่ ต้นจากการสอนให้นกั ศึกษาเห็นว่า ปัญหาทุกปัญหา มีทางออกเสมอ สอนให้รู้ว่าหากนักศึกษามีสติ ก็จะ สามารถแก้ปัญหาทุกปัญหาได้ 3. มหาวิทยาลัยควรจัดกิจกรรมแนะแนว โดยอาจ จะแบ่งกิจกรรมออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นจัดตั้ง ศูนย์กลางในการให้ค�ำปรึกษา โดยการจัดนักจิตวิทยา มาประจ�ำในมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาที่มีปัญหา มีความทุกข์มีที่พึ่งที่สามารถปรับทุกข์และระบายความ รู้สึกต่างๆ ได้ เพราะเมื่อนักศึกษามีปัญหาในบางเรื่อง อาจจะรู้สึกว่าไม่ไว้ใจอาจารย์ เพราะอาจารย์ส่วนหนึ่ง มีความเข้มงวด หากแต่จะไว้ใจนักจิตวิทยาซึ่งนักศึกษา เชือ่ ว่าจะสามารถเก็บความลับของตนได้และมีความเข้าใจ ตนเองมากกว่าอาจารย์ กิจกรรมส่วนที่ 2 คือ การจัด กิจกรรมแนะแนวผู้ปกครอง เนื่องจากการเลี้ยงดูและ ครอบครัวเป็นปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อความฉลาดทางอารมณ์ ของนักศึกษา ดังนั้น ควรให้ผู้ปกครองเข้ามามีบทบาท และมีสว่ นร่วมในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของ นักศึกษา โดยการจัดกิจกรรมฝึกอบรมการพัฒนาความ ฉลาดทางอารมณ์ของผู้ปกครอง

85


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

4. มหาวิทยาลัยควรจัดกิจกรรมหรือโครงการเพื่อ พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ให้กบั นักศึกษา โดยจัดท�ำ เป็นโครงการในลักษณะทีต่ อ่ เนือ่ ง และจัดอย่างสม�ำ่ เสมอ มีการทดสอบความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาก่อนเข้า โครงการ และมีการจัดนักจิตวิทยาหรือผู้เชี่ยวชาญมา ให้ความรู้ และท�ำการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ของนักศึกษา มีการด�ำเนินกิจกรรมหรือโครงการอย่าง ต่อเนือ่ ง ตัง้ แต่ปแี รกทีน่ กั ศึกษาเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย จนกระทั่งนักศึกษาจบการศึกษา มีการประเมินผลของ โครงการต่อเนื่องทุกปีจนกระทั่งนักศึกษาจบการศึกษา และออกสูต่ ลาดแรงงาน รวมทัง้ มีการน�ำผลการประเมิน โครงการนัน้ มาท�ำการปรับปรุงกระบวนการในการด�ำเนิน โครงการในปีถัดไป 5. มหาวิทยาลัยควรมีการจัดกิจกรรมเพือ่ ผ่อนคลาย ความเครียดของนักศึกษาพร้อมๆ กับพัฒนาความฉลาด ทางอารมณ์ให้กับนักศึกษาเป็นระยะๆ โดยอาจจะแบ่ง กิ จ กรรมออกเป็ น 3 ด้ า น คื อ กิ จ กรรมด้ า นดนตรี กิจกรรมด้านกีฬา และกิจกรรมด้านศาสนา การจัด กิจกรรมทั้ง 3 ด้านให้นักศึกษาเข้าร่วมนั้น จะท�ำให้ นักศึกษามีการพัฒนาทางด้านบุคลิกภาพ คือ มีบคุ ลิกภาพ ที่ดีขึ้น มีสุขภาพแข็งแรงทั้งสุขภาพกาย และสุขภาพจิต ช่วยให้เกิดความผ่อนคลาย นักศึกษาจะมีความคล่องแคล่ว กระฉับกระเฉง มีความมั่นใจในตนเอง มีความสงบ เป็นคนใจเย็น หนักแน่น มีความสามารถยอมรับผู้อื่น ได้ง่าย เข้ากับผู้อื่นได้ดีท�ำให้นักศึกษารู้สึกว่าตนเองมี คุณค่า มีความสามารถ มีความอบอุน่ ได้รบั การยอมรับ และมีความคิดในแง่ดี มีทัศนคติที่ดี

บรรณานุกรม

กรมการจัดหางาน. (2540). รายงานการวิจยั ภาวการณ์ มีงานท�ำและการท�ำงาน. กรุงเทพฯ: กรมฯ. กรมสุขภาพจิต. (2543). สุขภาพจิตดีดว้ ยอีควิ . เอกสาร ประกอบการประชุมวิชาการประจ�ำปี 2543. กรมสุขภาพจิต. (2549). คู่มือความฉลาดทางอารมณ์ ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข.

86

ฉัฐภูมิ วัฒนศิรพิ งศ์. (2537). ความพึงพอใจในการท�ำงาน และความผูกพันต่อองค์การ. ภาคนิพนธ์โครงการ บัณฑิตศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. เทอดศักดิ์ เดชคง. (2542). ความฉลาดทางอารมณ์. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: มติชน. เทอดศักดิ์ เดชคง. (2544). สติบำ� บัด. กรุงเทพฯ: มติชน. ธงชัย ทวิชาชาติ และคณะ. (2541). รายงานการวิจยั เรือ่ ง ความเครียดและสุขภาพจิตของคนไทย. กรุงเทพฯ: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. พระราชวรมุนี (ประยูร ธมมจิตโต). (2542). อีควิ ในแนว พุทธศาสนา. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 5(1), 7-13. วินดั ดา ปิยะศิลป์, พญ. (ม.ป.ป.) ความฉลาดทางอารมณ์. เชียงใหม่: สมาคมนักกิจกรรมบ�ำบัด/อาชีวบ�ำบัด แห่งประเทศไทย คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. (2542). เชาวน์อารมณ์ (EQ): ดัชนี วัดความสุขและความส�ำเร็จของชีวิต. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท. สิปปนนท์ เกตุทตั . (2543). ก้าวมัน่ ทันโลก: วิสยั ทัศน์และ ยุทธศาสตร์แห่งชาติดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ในเอกสารประกอบการประชุมสัมมนาระดมความคิด เกีย่ วกับการปฏิรปู การศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. แสงอุษา โลจนานนท์ และกฤษณ์ รุยาพร. (2543). การบริหารอารมณ์ด้วยรอยยิ้มแบบไทยๆ. ม.ป.ท.: มิตรนราการพิมพ์. ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2542). ประมวลข้อมูลสถิติที่ ส�ำคัญของประเทศไทย พ.ศ. 2542 (ฉบับพิเศษ). กรุงเทพฯ: กองคลังข้อมูลและสนเทศสถิติ ส�ำนักงาน สถิติแห่งชาติ. อัจฉรา สุขารมณ์ วิลาสลักษณ์ ชัววัลลี และอรพินทร์ ชูชม. (2543). รวบบทความทางวิชาการ EQ. กรุงเทพฯ: เดสค์ท็อป.


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

อัจฉรา สุขารมณ์ วิลาสลักษณ์ ชัววัลลี และอรพินทร์ ชูชม. (2544). รวบบทความทางวิชาการ EQ เล่ม 2 เรื่องอีคิว: จากแนวคิด...สู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ชมรมผู้สนใจ อีคิว. Bar-On, Reuven. (1997). BarOn emotional quotient inventory: A measure of emotional intelligence. Toronto: Multi-Health. Gardner, H. (1983). Frames of mind: The theory of multiple intelligences. New York: Basic Books. Gibbs, Nancy. (1995). The EQ factor. TIME, 9 (October), 24-31. Goleman, Daniel. (1995). Emotional Intelligence. New York: Bantam Books.

Livingston, J.S. (1971). Myths of the well-educated managers. Harvard Business Review, 49, 78-85. Mayer. J.D & Salovey P. (1990). Imagination, cognition and personality. New York : Basic Books. McClelland, D. C. (1973). Testing for competence rather than intelligence. American Psychologist, 28(1), 1-14. Yamane, Taro. (1970). Statistical an introductory analysis. 2nd ed. Tokyo: John Weatherthill.

87


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Dr.Wichien Withaya-udom received his D.P.A. in Public Administration with a major in Human Resources Management in 2009 from Ramkhamhaeng University, Thailand. He also earned his Master of Art in Social Development Administration in 1982 from National Institute of Development and Administration, Thailand, and Bachelor of Economics with a major in Finance and Human Resources Development in 1978 from Thammasat University, Thailand. Wichien Withaya-udom is currently the associate professor of Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thailand. Dr.Kemmary  Raksa-chucheep received her Ph.D. in Development Administration (International Program) in 2007 from National Institute of Development and Administration, Thailand. She also earned her Master of Arts in Business Communication and Management (International Program) in 1986 from University of Thai Chamber of Commerce, Thailand, and Bachelor of Economics with a major in Public Finance in 1977 from Ramkhamhaeng University, Thailand. Kemmary Raksa-chucheep is currently the assistant professor of Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thailand. Dr.Jirasak Surungkapiprat received his Ph.D. in Educational Measurement and Evaluation in 1997 from Chulalongkorn University, Thailand. He also earned his Master of Economics in Development Economics in 1983 from National Institute of Development and Administration, Thailand, and Bachelor of Sciences with a major in Mathematics in 1978 from Chiang Mai University, Thailand. Jirasakdi Surangkapipatna is currently the assistant professor of Faculty of Fine and Applied Arts, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thailand. Issaraporn Thiamsorn received her Master of Sciences in Applied Statistics in 2006 from National Institute of Development and Administration, Thailand. She also earned her Bachelor of Sciences in Mathematics in 1996 from Naresuan University, Thailand. Issaraporn Thiamsorn is currently the lecturer in Applied Statistics of Faculty of Science and Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thailand.

88


ารพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย Family Counseling Program Development for Decreasing Aggressive Behavior of Kindergarten Children in Lower Southern Thailand วิจิตรา สายอ๋อง นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Email: vij.seyong@gmail.com

บทคัดย่อ

การสื่อสารที่ไม่เหมาะสมในครอบครัว เป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียน อนุบาลก่อตัว และเพิ่มความรุนแรงขึ้นเมื่อได้รับสิ่งยั่วยุหรือสิ่งเร้า โดยเฉพาะเด็กที่อยู่ท่ามกลาง สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย การศึกษานวัตกรรมโปรแกรม การให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล ในพื้นที่ภาคใต้ ตอนล่างของประเทศไทยจึงมีความส�ำคัญ การวิจยั นี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ 1) ค้นหาแบบแผนการอบรม เลี้ยงดูบุตรและการสื่อสารในครอบครัว และ 2) สร้างโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพือ่ ลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล ด้วยกระบวนการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร โดยใช้ทฤษฎี การให้การปรึกษาครอบครัวของซะเทียร์ การออกแบบวิจัยเป็นแบบผสมผสาน มีการประเมิน ประสิทธิผลของโปรแกรมทั้งเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือครอบครัวที่ บุตรอยู่ชั้นอนุบาล ช่วงอายุ 4-5 ปี ในจังหวัดยะลา และจังหวัดปัตตานี ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ มาตรวัดลักษณะครอบครัว มาตรวัดการอบรมเลี้ยงดูบุตร มาตรวัด พฤติกรรมก้าวร้าวบุตร มาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวนักเรียน และมาตรวัดความพึงพอใจต่อการเข้ารับ การปรึกษาครอบครัว ผลการศึกษา พบว่า 1) บิดามารดาที่มีบุตรก้าวร้าว ส่วนใหญ่อบรมเลี้ยงดู บุตรแบบควบคุม และมีการสื่อสารในครอบครัวที่ไม่เหมาะสม ทั้งด้วยภาษาถ้อยค�ำ และภาษา ท่าทาง เช่น ดุด่า ทุบตี หรือหยิก 2) โปรแกรมที่สร้างขึ้น เป็นการบูรณาการระหว่างแบบแผน การอบรมเลี้ยงดูบุตรและการสื่อสารในครอบครัว เข้ากับกระบวนการให้การปรึกษาครอบครัว ตามทฤษฎีของซะเทียร์ และ 3) ประสิทธิผลของโปรแกรมในเชิงคุณภาพ ครอบครัวกรณีศึกษา

89


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

สะท้อนว่า “พฤติกรรมก้าวร้าวของบุตรทางร่างกาย และวาจาเปลีย่ นแปลงไปในทางเหมาะสมขึน้ ” และเชิงปริมาณ พบว่าการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวทางร่างกาย และวาจาของบุตร หลังการให้ การปรึกษาครอบครัวลดลง ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าทฤษฎีการให้การปรึกษาครอบครัวของ ซะเทียร์ ใช้ได้ผลต่อการลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล และโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น น�ำไปใช้ในการแก้ไขพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาลได้ โดยครอบครัวมีสว่ นส�ำคัญในการ แก้ไข และพัฒนาพฤติกรรมของบุตร ทั้งนี้ ผู้ให้การปรึกษาในสถานศึกษาหรือหน่วยงานอื่นๆ สามารถน�ำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ตามบริบทของวัฒนธรรมที่แตกต่างกันไปหรือเป็นรายกรณี ค�ำส�ำคัญ: การให้การปรึกษาครอบครัวของซะเทียร์ การวิจยั แบบผสมผสาน การวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร

Abstract

Improper communication in the family is one reason leading to aggressive behavior in kindergarten students, and tending to be more severe when being driven by stimulus, particularly, students who are living in the insurgency areas in the lower Southern Thailand. An innovative counseling program for families is a vital way out. This research aims to 1) find out a plan for fostering children and patterns for family communication; and 2) construct a family counseling program to reduce aggressive behavior via action research applying Satir’s theory of family therapy. The research combines qualitative and quantitative techniques to evaluate the effectiveness of the program. The sample is from families with aggressive kindergarten kids, aged 4-5, in Yala and Pattani provinces. The research instruments include measurements of family characteristics, measurements of child-raising, measurements of aggressive behaviors, and measurements of counseling satisfaction. The study reveals that 1) aggressive children are raised under the control of parents and exposed to improper communication in terms of words, features and gestures, such as beating, yelling or pinching; 2) the program being constructed is the integration of a child-raising plan and the pattern of family communication with Satir’s theory of family therapy; 3) regarding the qualitative effectiveness of the program, aggressive behavior both physical and verbal has become more proper; meanwhile, regarding quantitative effectiveness, aggressive behavior physical and verbal is also declining. These confirm that Satir’s theory and the program being developed are effective; counselors in schools or other entities are advised to apply the program according to individual context or case. However, the family still plays an important role in the amendment and development of child behavior. Keywords: Satir’s Family Counseling, Mixed Methods Research, Action Research

90


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

บทน�ำ เด็กเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่ายิ่งในการพัฒนา ประเทศ เป็นผูส้ บื ทอดมรดกทางวัฒนธรรม เป็นผูส้ บื สาน วัฒนธรรมประชาธิปไตยและวัฒนธรรมทางการเมือง เป็ น อนาคตของครอบครั ว และชุ ม ชน อนาคตของ ประเทศชาติจงึ ขึน้ อยูก่ บั คุณภาพของเด็ก (อรพินทร์ ชูชม, อัจฉรา สุขารมณ์ และวิลาสลักษณ์ ชัววัลลี, 2542) การพัฒนาเด็กในช่วงวัยแรกเกิดจนถึง 5 ปี ถือเป็นช่วง เวลาส�ำคัญและจ�ำเป็นทีส่ ดุ ในการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ ที่ยั่งยืนและป้องกันปัญหาสังคมในระยะยาว (สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์, 2545) โดยเฉพาะปัญหาพฤติกรรม ก้าวร้าว ซึ่งเริ่มบ่มเพาะขึ้นตั้งแต่ช่วงวัยทารก เด็กช่วงวัย 4-5 ปี หรือวัยอนุบาล จะเรียนรู้และ จดจ�ำพฤติกรรมจากการพูด อารมณ์ การแสดงกริยา ท่าทางต่างๆ ผ่านตัวแบบที่เด็กพบเจอ และเลียนแบบ พฤติกรรมเหล่านัน้ โดยไม่รตู้ วั การเลียนแบบเป็นตัวแปร ส�ำคัญที่ยั่วยุให้เด็กแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ทั้งการ เลียนแบบจากสังคม เช่น ครู และเพื่อนร่วมชั้นเรียน สื่อสารมวลชน มีบทบาทส�ำคัญต่อการสร้างพฤติกรรม โน้มน้าวจิตใจ และทัศนคติของเด็กให้เห็นผิดเป็นชอบ โดยเฉพาะพฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงความก้าวร้าวรุนแรง จากผลการศึกษา พบว่าอิทธิพลของสื่อที่มีความรุนแรง ส่งผลให้เด็กมีความคิด อารมณ์ มีการจดจ�ำ และเกิดการ เลียนแบบพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงตามมา (Browne & Hamilton-Giachritsis, 2005; Hogan, 2005) บิดามารดาที่แสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสม เช่น พู ด จาหยาบคาย ทะเลาะ และทุ บ ตี กั น ให้ เ ด็ ก เห็ น เด็กก็จะซึมซับ จดจ�ำ และเลียนแบบพฤติกรรมเหล่านัน้ (สดใส คุม้ ทรัพย์อนันต์, 2554) ฟรอยด์ (Freud, 18561939) เชื่อว่าเด็กชายจะพยายามเลียนแบบพฤติกรรม ให้เหมือนบิดา ส่วนเด็กหญิงจะเลียนแบบพฤติกรรม ให้เหมือนมารดา ซึ่งพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยนี้ ขึน้ อยูก่ บั อิทธิพลของครอบครัวในการเป็นตัวแบบของเด็ก การสือ่ สารทีไ่ ม่เหมาะสมในครอบครัว เป็นสาเหตุหนึง่ ที่ท�ำให้พฤติกรรมก้าวร้าวก่อตัว และเพิ่มความรุนแรง

ยิง่ ขึน้ ทัง้ นีเ้ พราะปฏิสมั พันธ์ของสมาชิกครอบครัวส่งผล ต่อการรับรู้ อารมณ์ ความรู้สึก และท�ำให้สัมพันธภาพ ในครอบครัวไม่เหนียวแน่นไร้ซึ่งความสุข ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์ กล่าวถึงปัญหาครอบครัว ส่วนใหญ่เกิดจาก สมาชิกครอบครัวขาดการสื่อสารแบบตรงไปตรงมา ท�ำให้เด็กขาดความรักความอบอุน่ ขาดทีพ่ งึ่ พิงทางจิตใจ เมื่ อ มี ป ั ญ หาจึ ง ไม่ ส ามารถปรึ ก ษาใครได้ (วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ,์ 2545; สุรพร เสีย้ นสลาย, 2550; อุมาพร ตรังคสมบัติ, 2544) ท�ำให้ความก้าวร้าวยังคงด�ำเนิน ต่อไปในช่วงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ พฤติ ก รรมก้ า วร้ า วของเด็ ก นั ก เรี ย นอนุ บ าลใน ประเทศไทย มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น (กรมสุขภาพจิต, 2547) จากรายงานของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา โครงการติดตามสภาพเด็ก “ไชลด์ วอทช์” (child watch) ในรอบปี 2547-2548 พบว่าสภาวการณ์ เด็กและเยาวชน มีปัญหาด้านลบมากกว่าด้านบวก (กระทรวงพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ , 2553) สอดคล้องกับผลการส�ำรวจบิดามารดาในเขต กรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 1,000 คน ที่มีบุตรในช่วงวัย 2 ถึง 7 ปี เกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็กที่บิดามารดา เป็นห่วงมากทีส่ ดุ พบว่าอันดับหนึง่ คือการแสดงพฤติกรรม ก้าวร้าวรุนแรง โดยสาเหตุหลักมาจากความอ่อนแอ ของสถาบันครอบครัว เนือ่ งจากบิดามารดามีเวลาอบรม สั่งสอนบุตรน้อยลง (กรมสุขภาพจิต, 2548) จากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ของประเทศไทย สะท้อนถึงการได้รบั ประสบการณ์จาก การอบรมเลีย้ งดู การถ่ายทอดความรู้ การปลูกฝังค่านิยม วัฒนธรรม และความเชือ่ ทีไ่ ม่เหมาะสมตัง้ แต่ชว่ งวัยเด็ก ปัจจัยดังกล่าวสามารถท�ำนายความก้าวร้าวที่เพิ่มความ รุนแรงขึน้ ในช่วงวัยรุน่ และด�ำเนินต่อไปในช่วงวัยผูใ้ หญ่ ผลพวงจากการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงของเด็ก และเยาวชนในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย ถือเป็นปรากฎการณ์ทางสังคมของการใช้ความก้าวร้าว รุนแรง เพือ่ ท�ำลายล้างและตอบสนองในสิง่ ทีต่ นต้องการ ความก้าวร้าวรุนแรงดังกล่าว ส่งผลให้เกิดความเสียหาย

91


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ต่อทุกภาคส่วนทัง้ ในระดับจุลภาคและมหภาค ตลอดจน กระทบกระเทื อ นต่ อ การพั ฒ นาประชาธิ ป ไตยและ การเมืองไทย จากความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ผูว้ จิ ยั มีความประสงค์จะศึกษาเพื่อหาวิธีการให้พฤติกรรม ก้าวร้าวของเด็กลดลง ก่อนที่จะก้าวข้ามไปสู่วัยอื่นๆ ซึง่ จะแก้ยากขึน้ เรือ่ ยๆ ตามวัย โดยผูว้ จิ ยั สนใจจะศึกษา พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล ช่วงอายุ 4-5 ปี โรงเรียนอนุบาลศรีบ�ำรุง จังหวัดยะลา โรงเรียนอนุบาล ยะลา จังหวัดยะลา โรงเรียนเทศบาล 5 (บ้านตลาดเก่า) จังหวัดยะลา และโรงเรียนเจริญศรีศกึ ษา จังหวัดปัตตานี โดยคัดเลือกกลุม่ ตัวอย่างจากครอบครัวทีบ่ ตุ รมีพฤติกรรม ก้าวร้าว จากกระบวนการสือ่ สารในครอบครัวไม่เหมาะสม ที่ มี คะแนนจากการตอบมาตรวัดพฤติก รรมก้าวร้าว นักเรียน มาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวบุตร และมาตรวัด การอบรมเลี้ยงดูบุตร รวมกันตั้งแต่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 75 ขึ้นไป การตั ด สิ น ใจเลื อ กศึ ก ษากลุ ่ ม ตั ว อย่ า งดั ง กล่ า ว เนือ่ งจากกลุม่ ตัวอย่างอยูใ่ นพืน้ ทีพ่ หุวฒ ั นธรรม และจาก สถิติ เหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดยะลา และจังหวัด ปัตตานี ยังคงมีอยู่ค่อนข้างน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบ กับเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดนราธิวาส ซึง่ จะท�ำให้ ผูว้ จิ ยั สามารถเข้าถึงกลุม่ ตัวอย่างได้งา่ ยขึน้ และมีความ ปลอดภัยในการเก็บข้อมูล การเข้าถึงปรากฎการณ์ที่ แท้จริงของกลุ่มตัวอย่าง ย่อมท�ำให้ผู้วิจัย ได้ข้อมูลที่ เกิดขึน้ จริงในบริบทของสังคม และการเข้าถึงกลุม่ ตัวอย่าง ทีม่ คี วามหลากหลาย จะน�ำมาซึง่ ข้อมูลทีเ่ ป็นข้อเท็จจริง ในเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว เพือ่ ผูว้ จิ ยั จะได้ใช้เป็นข้อมูลพืน้ ฐานในการประเมิน และ วิเคราะห์ครอบครัว อันจะน�ำไปสูก่ ารให้การปรึกษาต่อไป ในการให้ ก ารปรึ ก ษา ผู ้ วิ จั ย น� ำ ทฤษฎี ก ารให้ การปรึกษาครอบครัวของซะเทียร์มาประยุกต์ใช้ ทฤษฎี ดังกล่าวมีผนู้ ำ� ไปใช้ในหลากหลายวัฒนธรรมและประเทศ ทั้งในทวีปยุโรป และทวีปเอเซีย เช่นประเทศฮ่องกง ส�ำหรับประเทศไทยมีผู้น�ำทฤษฎีของซะเทียร์มาใช้กัน

92

อย่างแพร่หลาย กระทั่งมีการก่อตั้ง “สมาคมพัฒนา ศักยภาพมนุษย์และจิตบ�ำบัดแนวซะเทียร์” แนวคิดของ ซะเทียร์เกีย่ วกับการให้การปรึกษาครอบครัวเป็นแนวคิด แบบกลางๆ ทีม่ คี วามเป็นสากล กล่าวคือมีความเป็นไปได้ ส�ำหรับการน�ำไปใช้ในทุกวัฒนธรรม ผูว้ จิ ยั เชือ่ ว่าในพืน้ ที่ การศึกษาซึ่งเป็นพหุวัฒนธรรม การน�ำแนวคิดดังกล่าว มาใช้เป็นฐานในการสร้างโปรแกรมการให้การปรึกษา ครอบครัวน่าจะเป็นไปได้ โดยผู้วิจัยจะมีการปรับใช้ เพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของวัฒนธรรมท้องถิ่นที่มี เหตุการณ์ความไม่สงบ วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อค้นหา และวิเคราะห์แบบแผนการอบรม เลีย้ งดูบตุ รและการสือ่ สารในครอบครัวทีบ่ ตุ รมีและไม่มี พฤติกรรมก้าวร้าว 2. เพื่อสร้าง และศึกษาผลของการใช้โปรแกรม การให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าว ของเด็กนักเรียนอนุบาล ก่อนและหลังการทดลอง สมมติฐานของการศึกษา เพื่อค้นหาค�ำตอบตามวัตถุประสงค์ในข้อ (2) คือ ผลของการใช้โปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล ก่อนและหลัง การทดลองมีความแตกต่างกัน ทบทวนวรรณกรรม ผูว้ จิ ยั ทบทวนวรรณกรรม เพือ่ เป็นแนวทางส�ำหรับ พัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว ผู้วิจัย สรุปพอสังเขป ดังนี้ 1. การให้ ก ารปรึ ก ษาครอบครั ว ตามทฤษฎี ข อง ซะเที ย ร์ มี ป รั ช ญาพื้ น ฐานคื อ มุ ่ ง เน้ น การเพิ่ ม ความ ภาคภูมใิ จในตนให้เกิดขึน้ กับสมาชิกครอบครัว ด้วยการ เปลี่ ย นแปลงความสั ม พั น ธ์ ภ ายในระบบครอบครั ว ซึง่ การเปลีย่ นแปลงเป็นสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้และเกิดขึน้ ได้เสมอ ส�ำหรับบุคคล (O’ Halloran & Weimer, 2005)


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

เนื่องจากบุคคลมีความสามารถในเจริญเติบโต มีความ สามารถในการเปลีย่ นแปลง และมีความสามารถในการ ท�ำความเข้าใจสิง่ ใหม่ๆ ได้อย่างต่อเนือ่ ง (Haber, 2002) ซะเทียร์ และแบลด์วิน (Satir & Baldwin, 1983) เชื่อว่าครอบครัว จะต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับรูปแบบ การสื่อสารของสมาชิกครอบครัว เมื่อสมาชิกครอบครัว มี ค วามคิ ด เห็ น ไม่ ต รงกั น ขั ด แย้ ง กั น และต� ำ หนิ กั น บรรยากาศเช่นนี้ จะท�ำให้สมาชิกครอบครัวมีความ ภาคภูมใิ จในตนเองต�ำ่ เพราะฉะนัน้ ในการให้การปรึกษา ครอบครัว ผู้ให้การปรึกษาต้องพยายามปรับเปลี่ยน แนวคิดของผูร้ บั การปรึกษาให้เกิดความภาคภูมใิ จในตน มากขึ้น ซะเทียร์ เชือ่ ว่าความภาคภูมใิ จในตน เป็นรากฐาน ส�ำคัญของสุขภาพจิต จากการสื่อสารของบิดามารดา เด็กจะเรียนรูโ้ ดยการตีความจากค�ำพูด น�ำ้ เสียง การสัมผัส ตลอดจนการแสดงกิริยาท่าทางต่างๆ จนหล่อหลอม เป็นรูปแบบการสื่อสาร การเจริญเติบโตในครอบครัวที่ ไม่ตระหนักรู้อารมณ์และความรู้สึกของตน หรือหาก ตระหนักรู้แต่เก็บกดอารมณ์ไว้ ท�ำให้เกิดบรรยากาศ ของความเฉื่อยทางอารมณ์ สมาชิกจะหลีกเลี่ยงการมี ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน และมุ่งสนใจกิจกรรมอื่นที่ไม่เกี่ยวกับ กิจกรรมครอบครัว ส่งผลต่อปฏิสัมพันธ์และสุขภาพจิต ของสมาชิกครอบครัว 2. ลักษณะพฤติกรรมตามพัฒนาการ: เด็กช่วงวัย อนุบาล เป็นช่วงที่พัฒนาทักษะการรับรู้ทางความคิด มีความอยากรู้อยากเห็น เป็นช่วงที่เกิดการเรียนรู้สิ่ง แปลกใหม่รอบๆ ตัว เกิดการเลียนแบบพฤติกรรมต่างๆ จากบิดามารดา ในการอบรมเลีย้ งดูบดิ ามารดาควรสอน แบบค่อยเป็นค่อยไป กระตุน้ ให้เด็กได้ซกั ถามและลงมือ กระท�ำ เพื่อฝึกความคิดริเริ่ม เพราะการสื่อสารเป็น สิ่งส�ำคัญส�ำหรับเด็กวัยนี้ บิดามารดาจึงควรใช้รูปแบบ การสือ่ สารทีเ่ หมาะสม เพือ่ ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ อันส่งผลต่อการแสดงพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ บิดามารดา จึงไม่ควรใช้วิธีการดุด่าจนเด็กเกิดความกลัว เนื่องจาก อาจท�ำให้พฒ ั นาการของเด็กหยุดชะงักและน�ำมาซึง่ การ

แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวได้ในภายหลัง ทั้งนี้ พัฒนาการ ในแต่ละขัน้ จะมีวกิ ฤติการณ์ทางสังคมเกิดขึน้ หากบุคคล ไม่สามารถผ่านวิกฤติการณ์ในขั้นใดขั้นหนึ่ง ย่อมส่งผล ให้เกิดปัญหาต่อพัฒนาการในขั้นถัดไป ท�ำให้เกิดความ บกพร่องทางจิตสังคม และเกิดปัญหาทางจิตใจตามมา ภายหลัง (Boeree, 2007) 3. พฤติกรรมก้าวร้าว มีแหล่งที่มา 3 แหล่ง คือ (1) เกิดจากสัญชาตญาณติดตัวบุคคลมาแต่เกิด (2) เกิด จากการกระท�ำทีผ่ า่ นกระบวนการเรียนรู้ และ (3) เกิดจาก ปฏิสมั พันธ์ระหว่างความคับข้องใจกับสถานการณ์กระตุน้ ทั้ ง นี้ ผู ้ วิ จั ย เชื่ อ ว่ า กระบวนการขั ด เกลาทางสั ง คม สามารถลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาลได้ โดยผ่านการเรียนรู้จากการกระท�ำ (Tremblay, 2002, 2003) มีเบ้าหลอมส�ำคัญคือ สถาบันครอบครัว จากการ อบรมเลีย้ งดูผา่ นตัวแบบ ทัง้ ทีเ่ ป็นบุคคลและสัญลักษณ์ (Bandura, 1973) ด้วยการถ่ายทอดความรู้ และค่านิยม ผ่ า นกระบวนการสื่ อ สารที่ เ หมาะสม ขณะเดี ย วกั น หากกระบวนการสื่อสารไม่เหมาะสม เด็กอาจเกิดความ คับข้องใจ เก็บกดทางอารมณ์ และส่งผลต่อการแสดง พฤติกรรมก้าวร้าวได้ในภายหลัง (Aronson et al., 2007) 4. ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อพฤติกรรมก้าวร้าว ได้แก่ ปัจจัย ด้านชีวภาพ จากผลการวิจัยของ แบงค์ส และแจครีน (Banks & Jacklin, 1996) พบว่าอาชญากรวัยรุ่นชาย มีปริมาณฮอร์โมนเพศเทสโทสตีโรน (testosterone) สูงกว่ากลุ่มนักเรียนชาย ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ทั้งสภาพแวดล้อมภายในตัวเด็ก และสภาพแวดล้อม ภายนอก อาทิ การอบรมเลี้ยงดู เพื่อน การเปิดรับสื่อ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ และการเล่นวีดีโอเกมที่มีความ รุนแรง ส่งผลให้พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กรุนแรงขึ้น เนื่องจากเด็กเกิดการจดจ�ำและเลียนแบบพฤติกรรมที่ ไม่ดีจากสื่อ (McVey & Mary, 1999; Tatum, 2000) อิทธิพลของสือ่ ทีม่ คี วามรุนแรง ส่งผลต่อความคิด อารมณ์ และการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว (Browne & HamiltonGiachritsis, 2005; Hogan, 2005)

93


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

กรอบแนวความคิด กรอบแนวความคิดในการสร้างโปรแกรมจ�ำลอง 1 เป็นโปรแกรมต้นแบบ ส�ำหรับน�ำไปพัฒนาเพื่อให้ได้มา ซึ่ ง โปรแกรมการให้ ก ารปรึ ก ษาครอบครั ว เพื่ อ ลด พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล การสร้าง โปรแกรมจ�ำลอง 1 เกิดจากการบูรณาการกระบวนการ ให้การปรึกษาครอบครัวตามทฤษฎีของซะเทียร์เข้ากับ แบบแผนการอบรมเลีย้ งดูบตุ รและการสือ่ สารในครอบครัว

จังหวัดยะลา จ�ำนวน 3 ครอบครัว ประกอบด้วย กรณี ศึกษาครอบครัวที่ 1 กรณีศกึ ษาครอบครัวที่ 2 และกรณี ศึกษาครอบครัวที่ 3 ใช้ระยะเวลาทดลองครอบครัวละ 5 ครั้ง สัปดาห์ละ 1 ครั้งๆ ละ 60 นาที ทั้งนี้ ก่อนเริ่ม การให้การปรึกษา ผูว้ จิ ยั ขออนุญาตใช้เครือ่ งบันทึกภาพ บันทึกเสียง และการจดบันทึก เพื่อเก็บประเด็นส�ำคัญ

รูปที่ 2: กรอบการสร้างโปรแกรมจ�ำลอง 2

รูปที่ 1: กรอบการสร้างโปรแกรมจ�ำลอง 1

จากรูปที่ 1 อธิบายได้วา่ การสร้างโปรแกรมจ�ำลอง 1 ขึ้นอยู่กับ (ก) กระบวนการให้การปรึกษาครอบครัว ตามทฤษฎีของซะเทียร์ และ (ข) แบบแผนการอบรม เลี้ยงดูบุตรและการสื่อสารในครอบครัว ประกอบด้วย (1) ประสบการณ์การอบรมเลี้ยงดูบุตรที่ไม่มีพฤติกรรม ก้าวร้าว (2) ประสบการณ์การอบรมเลี้ยงดูบุตรที่มี พฤติกรรมก้าวร้าว และ (3) การสื่อสารในครอบครัว ตามทฤษฎีของซะเทียร์ การพัฒนาโปรแกรมจ�ำลอง 1 สูโ่ ปรแกรมจ�ำลอง 2 ผู้วิจัย น�ำโปรแกรมจ�ำลอง 1 ให้การปรึกษาครอบครัว กรณีศึกษา (รายครอบครัว) โรงเรียนอนุบาลศรีบ�ำรุง

94

จากรูปที่ 2 แสดงให้เห็นว่าการสร้างโปรแกรม จ�ำลอง 2 ขึ้นอยู่กับ (ก) การสะท้อนผลการปฏิบัติ จากโปรแกรมจ�ำลอง 1 (ข) การวิเคราะห์สภาพปัญหา และอุปสรรค จากโปรแกรมจ�ำลอง 1 และ (ค) การ ประเมินผล และปรับปรุงพัฒนา จากโปรแกรมจ�ำลอง 1 ส�ำหรับการพัฒนาโปรแกรมจ�ำลอง 2 สู่โปรแกรม จ�ำลอง 3 ผู้วิจัย น�ำโปรแกรมจ�ำลอง 2 ให้การปรึกษา ครอบครัวกรณีศึกษา (รายครอบครัว) โรงเรียนอนุบาล ยะลา จังหวัดยะลา จ�ำนวน 6 ครอบครัว ประกอบด้วย กรณีศึกษาครอบครัวที่ 4 กรณีศึกษาครอบครัวที่ 5 กรณีศึกษาครอบครัวที่ 6 กรณีศึกษาครอบครัวที่ 7 กรณีศกึ ษาครอบครัวที่ 8 และกรณีศกึ ษาครอบครัวที่ 9 การพัฒนาโปรแกรมจ�ำลอง 3 สู่โปรแกรมการให้ การปรึกษาครอบครัว เพือ่ ลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็ก นักเรียนอนุบาล ผู้วิจัย น�ำโปรแกรมจ�ำลอง 3 ให้การ ปรึกษาครอบครัวกรณีศึกษา (รายครอบครัว) โรงเรียน เทศบาล 5 (บ้ า นตลาดเก่ า) จั ง หวั ด ยะลา จ�ำ นวน


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

9 ครอบครัว ประกอบด้วย กรณีศึกษาครอบครัวที่ 10 กรณีศึกษาครอบครัวที่ 11 กรณีศึกษาครอบครัวที่ 12 กรณีศึกษาครอบครัวที่ 13 กรณีศึกษาครอบครัวที่ 14 กรณีศึกษาครอบครัวที่ 15 กรณีศึกษาครอบครัวที่ 16 กรณีศกึ ษาครอบครัวที่ 17 และกรณีศกึ ษาครอบครัวที่ 18

รูปที่ 3: กรอบการสร้างโปรแกรมจ�ำลอง 3

จากรูปที่ 3 อธิบายได้วา่ การสร้างโปรแกรมจ�ำลอง 3 ขึ้นอยู่กับ (ก) การสะท้อนการปฏิบัติ จากโปรแกรม จ�ำลอง 2 (ข) การวิเคราะห์สภาพปัญหา และอุปสรรค จากโปรแกรมจ�ำลอง 2 และ (ค) การประเมินผล และ ปรับปรุงพัฒนา จากโปรแกรมจ�ำลอง 2 ส�ำหรับการประเมินผลการให้การปรึกษา ผู้วิจัย ด�ำเนินการหลังจากการให้การปรึกษาในแต่ละครั้งของ โปรแกรมจ�ำลอง 1 โปรแกรมจ�ำลอง 2 และโปรแกรม จ�ำลอง 3 เสร็จสิ้น โดยสะท้อนผลการปฏิบัติจากการ ให้การปรึกษา ด้วยวิธีการสัมภาษณ์พูดคุยแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ระหว่างผูร้ บั การปรึกษา (บิดาและมารดา) และผูใ้ ห้การปรึกษา เกีย่ วกับพฤติกรรมการใส่ใจส�ำหรับ การสร้ า งสั ม พั น ธภาพ ที่ ผู ้ ใ ห้ ก ารปรึ ก ษาปฏิ บั ติ ต ่ อ ครอบครัวกรณีศึกษาในระหว่างการให้การปรึกษา เช่น การประสานสายตา การแสดงออกทางสีหน้า การแสดง ท่าทางและอากัปกิริยาต่างๆ ลักษณะการพูด และ น�ำ้ เสียงว่าเป็นอย่างไร ควรมีการปรับปรุงหรือไม่ อย่างไร ตลอดจนสั ม ภาษณ์ พู ด คุ ย แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น

ประเด็นความรูส้ กึ ต่อเทคนิคทีใ่ ช้ในการบ�ำบัด และระยะ เวลาที่ใช้ในการให้การปรึกษา รวมถึงสัมภาษณ์พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างครอบครัวกรณีศึกษา (เฉพาะบิดามารดา) ครูประจ�ำชัน้ ของเด็กนักเรียนอนุบาล ช่วงอายุ 4-5 ปี และตัวผูว้ จิ ยั เกีย่ วกับการแสดงพฤติกรรม ของเด็กนักเรียนอนุบาล ว่าเปลีย่ นแปลงไปในทิศทางใด และอย่างไร ตลอดจนข้อเสนอแนะต่างๆ ผลการวิจยั จากการสะท้อนผลการปฏิบตั ิ โดยวิเคราะห์ ข้อมูลจากการสังเกต การบันทึกเทป การบันทึกวีดีโอ และการจดบันทึก ผู้วิจัย น�ำผลการวิเคราะห์ดังกล่าว มาบูรณาการเข้ากับผลการวิเคราะห์ที่ได้จากการตอบ มาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวบุตร มาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าว นั ก เรี ย น และมาตรวั ด ความพึ ง พอใจต่ อ การเข้ า รั บ การปรึกษาครอบครัว เพื่อยืนยันประสิทธิผลของแต่ละ โปรแกรมว่ามีประสิทธิผลมากน้อยเพียงใดในเชิงปริมาณ ทัง้ นี้ ในการพัฒนาแต่ละโปรแกรมจ�ำลอง ผูว้ จิ ยั ด�ำเนิน การวิเคราะห์สภาพปัญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ้นจาก การทดลอง พร้อมทั้งประเมินผล และปรับปรุงพัฒนา โดยจะใช้ระยะเวลาภายใน 1 สัปดาห์ เมื่อสิ้นสุดการทดลองให้การปรึกษาของโปรแกรม จ�ำลอง 1 โปรแกรมจ�ำลอง 2 และโปรแกรมจ�ำลอง 3 ผู ้ วิ จั ย เชิ ญ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งประชุ ม ปรึ ก ษาหารื อ ร่ ว มกั น ประกอบด้วย (1) ครูประจ�ำชั้นของเด็กนักเรียนอนุบาล ช่ ว งอายุ 4-5 ปี โรงเรี ย นอนุ บ าลศรี บ� ำ รุ ง 2 คน โรงเรียนอนุบาลยะลา 5 คน และโรงเรียนเทศบาล 5 (บ้านตลาดเก่า) 4 คน (2) ครอบครัวกรณีศึกษา (บิดา และมารดา) จ�ำนวน 18 ครอบครัวๆ ละ 2 คน (36 คน) รวมผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น 42 คน เพื่อแจ้งผลการ ทดลองโปรแกรมจ�ำลอง 1 โปรแกรมจ�ำลอง 2 และ โปรแกรมจ�ำลอง 3 ตลอดจนร่วมกันหาข้อสรุปโปรแกรม การให้การปรึกษาครอบครัวทีเ่ ป็นไปได้มากทีส่ ดุ จากนัน้ ผู้วิจัย ด�ำเนินการประเมินผล และสรุปผลด้วยตนเอง อีกครัง้ เพือ่ น�ำไปสูก่ ารสร้างโปรแกรมการให้การปรึกษา ครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียน อนุบาล

95


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

รูปที่ 4: กรอบการสร้างโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล

จากรู ป ที่ 4 อธิ บ ายได้ ว ่ า การสร้ า งโปรแกรม การให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าว ของเด็กนักเรียนอนุบาล ขึ้นอยู่กับ (ก) การสะท้อน การปฏิบัติ จากโปรแกรมจ�ำลอง 3 (ข) การวิเคราะห์ สภาพปัญหา และอุปสรรค จากโปรแกรมจ�ำลอง 3 และ (ค) การประเมินผล และปรับปรุงพัฒนา จากโปรแกรม จ�ำลอง 3 ผู้วิจัย น�ำโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่ อ ลดพฤติ ก รรมก้ า วร้ า วของเด็ ก นั ก เรี ย นอนุ บ าล ให้การปรึกษาครอบครัวกรณีศกึ ษา โรงเรียนเจริญศรีศกึ ษา

จังหวัดปัตตานี จ�ำนวน 3 ครอบครัว ประกอบด้วย กรณีศึกษาครอบครัวที่ 19 กรณีศึกษาครอบครัวที่ 20 และกรณีศึกษาครอบครัวที่ 21 เมื่อสิ้นสุดการทดลองโปรแกรมการให้การปรึกษา ผูว้ จิ ยั ท�ำการสะท้อนผลการปฏิบตั จิ ากการให้การปรึกษา ด้วยวิธีการสัมภาษณ์พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างผู้รับการปรึกษา (บิดาและมารดา) และผู้ให้ การปรึกษา ประเด็นเดียวกับที่ได้กล่าวไว้ในโปรแกรม จ�ำลอง 1 โปรแกรมจ�ำลอง 2 และโปรแกรมจ�ำลอง 3 ตลอดจนวิเคราะห์ข้อมูลจากการสังเกต การบันทึกเทป การบันทึกวีดโี อ การจดบันทึก การตอบมาตรวัดพฤติกรรม ก้าวร้าวนักเรียน มาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวบุตร และ มาตรวัดความพึงพอใจต่อการเข้ารับการปรึกษาครอบครัว เพื่อยืนยันประสิทธิผลของโปรแกรมการให้การปรึกษา ครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียน อนุบาล ว่ามีความเหมาะสม ทันสมัย สามารถใช้ได้จริง ในสถานการณ์ปัจจุบันของพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง และ พื้นที่อื่นๆ ของประเทศไทย จากกรอบการสร้างโปรแกรมในข้างต้น เพือ่ ให้เห็น เป็นรูปธรรมชัดเจนยิ่งขึ้น ผู้วิจัย จึงสรุปเป็นกรอบการ พัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อลด พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล ดังทีไ่ ด้แสดงไว้ (ภาพ 5)

รูปที่ 5: กรอบการพัฒนาโปรแกรมการให้ค�ำปรึกษาครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล

96


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

วิธีการวิจัย ผูว้ จิ ยั น�ำวิธกี ารวิจยั แบบผสมผสาน ระหว่างวิธกี าร วิจยั เชิงคุณภาพและวิธกี ารวิจยั เชิงปริมาณ ซึง่ เป็นวิธกี าร ทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างมากในทางสังคมศาสตร์ เนือ่ งจาก เป็นวิธีที่ได้รับการพิจารณาว่าถูกต้องเหมาะสม และมี จุดยืนที่โดดเด่น (Creswell, 2002, 2003) ซึ่งเป็น การน�ำข้อดีหรือจุดเด่นของแต่ละแนวทางมาส่งเสริม เกื้อกูลซึ่งกันและกัน ผูว้ จิ ยั พัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว ด้วยกระบวนการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร (action research: AR) ทีเ่ ป็นการผสมผสานระหว่างวิธกี ารวิจยั เชิงปริมาณ และวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ในส่วนของวิธีการวิจัยเชิง ปริมาณผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงส�ำรวจ (survey research) และการวิจยั กึง่ ทดลอง (quasi-experimental research) แบบหนึง่ กลุม่ วัดก่อนและหลังการทดลอง (one group pretest-posttest design) ส�ำหรับวิธกี ารวิจยั เชิงคุณภาพ ผูว้ จิ ยั น�ำ (1) การวิจยั เชิงปฏิบัติการ ซึ่งจัดอยู่ในประเภทการวิจัยเชิงคุณภาพ (Jarvinen, 2007) โดยยึดตามแนวคิดของ เคมมิส และ แม็คเทกเกอร์ท (Kemmis & McTaggart, 2000); เมเยอร์ (Meyer, 1993) มาประยุกต์ใช้ การวิจัยเชิง ปฏิบตั กิ าร เป็นการวิจยั ทีอ่ าศัยการปฏิบตั ริ ว่ มกันระหว่าง ตัวผู้วิจัยและผู้ที่เกี่ยวข้อง ด้วยการค้นหาความจริงจาก ประสบการณ์ตรงของบุคคล (DePoy, Hartman & Haslett, 1999) เน้นการพัฒนาหรือแก้ปัญหา มีวงจร การพั ฒ นาต่ อ เนื่ อ ง (นุ ช วนา เหลื อ งอั ง กู ร , 2550) มีล�ำดับขั้นชัดเจน กล่าวคือ มีการวางแผน ลงมือปฏิบัติ สังเกต และสะท้อนผลการปฏิบตั จิ ากการให้การปรึกษา ในทุ ก วงจรการพั ฒ นา ด้ ว ยวิ ธี ก ารสั ม ภาษณ์ พู ด คุ ย แลกเปลีย่ นความคิดเห็น ระหว่างตัวผูว้ จิ ยั และผูท้ เี่ กีย่ วข้อง โดยพัฒนาหลายวงรอบ (spiral) จนกว่าผลการพัฒนา จะเป็นทีน่ า่ พอใจ หรือจนกว่าจะสิน้ สุดระยะเวลาการวิจยั (2) การสนทนากลุม่ (3) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และ (4) การสังเกต

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัย ใช้มาตรวัดเป็นเครื่องมือส�ำหรับคัดกรอง กลุม่ ตัวอย่าง เก็บรวบรวมข้อมูลพืน้ ฐานครอบครัว และ ประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการให้การปรึกษา ครอบครัว ผูว้ จิ ยั สร้างเครือ่ งมือจากการทบทวนวรรณกรรม งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และส� ำ รวจข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น จาก กลุ่มคนที่เกี่ยวข้องกับเด็กวัย 4-5 ปี จ�ำนวน 3 กลุ่ม ประกอบด้วย (1) บิดา และมารดา (2) ครู และ (3) เด็ก นักเรียนอนุบาล ช่วงอายุ 4-5 ปี โดยให้บิดา มารดา และครูตอบแบบสอบถามปลายเปิด และสัมภาษณ์แบบ เจาะลึกเด็กนักเรียนอนุบาลว่าเหตุการณ์แบบใดทีก่ ระตุน้ ให้เด็กวัย 4-5 ปี แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว และลักษณะ พฤติกรรมการแสดงออกของเด็กวัยนีเ้ ป็นเช่นใด เพือ่ ให้ ครอบคลุมถึงเหตุการณ์ และการแสดงพฤติกรรมของ เด็กนักเรียนอนุบาล ช่วงอายุ 4-5 ปี ตามบริบทของ สังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ผู้วิจัย น�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ โดยน�ำแบบทดสอบความก้าวร้าวของ แม็คโคนาลด์ และ คนอื่นๆ (McKonald et al., 2000); บัสส์ และเพอร์รี่ (Buss & Perry, 1992); ทิพย์วัลย์ สุทิน (2539) เป็น แนวทางในการสร้างมาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวบุตร และมาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวนักเรียน เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ประกอบด้วย (1) มาตรวัด ลักษณะครอบครัว ลักษณะค�ำถามเป็นค�ำถามปลายปิด แบบตรวจสอบรายการ พร้ อ มทั้ ง ค� ำ ถามปลายเปิ ด (2) มาตรวัดการอบรมเลี้ยงดูบุตร ลักษณะค�ำถามเป็น ค�ำถามปลายปิดแบบมาตราส่วนประมาณค่า มี 5 ระดับ (3) มาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวบุตร ลักษณะค�ำถามเป็น ค�ำถามปลายปิดแบบมาตราส่วนประมาณค่า มี 5 ระดับ (4) มาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวนักเรียน ลักษณะค�ำถาม เป็นค�ำถามปลายปิดแบบมาตรส่วนประมาณค่า มี 5 ระดับ และ (5) มาตรวัดความพึงพอใจต่อการเข้ารับการปรึกษา ครอบครัว ลักษณะค�ำถามเป็นค�ำถามปลายปิดแบบ มาตรส่วนประมาณค่า มี 5 ระดับ

97


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

คุณภาพเครื่องมือ 1. ความตรงด้านเนื้อหา (content validity) ให้ ผูท้ รงคุณวุฒิ จ�ำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเหมาะสม ของภาษาที่ใช้ การจ�ำแนกเนื้อหาว่าถูกต้องสมบูรณ์ สอดคล้ อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละนิ ย ามปฏิ บั ติ ก ารที่ ก�ำหนดไว้หรือไม่ โดย (1) มาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวบุตร ได้ข้อค�ำถาม 90 ข้อ ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.67-1.00 (2) มาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าว นักเรียน ได้ข้อค�ำถาม 70 ข้อ ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.67-1.00 และ (3) มาตรวัดการอบรม เลี้ยงดูบุตร ข้อค�ำถาม 60 ข้อ ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.67-1.00 ผู้วิจัย น�ำมาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวนักเรียน มาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวบุตร และมาตรวัดการอบรม เลี้ยงดูบุตร ที่ได้รับการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของ ผู้ทรงคุณวุฒิไปทดลองใช้ (try out) กับครูประจ�ำชั้น และครอบครัวของเด็กนักเรียนอนุบาล ช่วงอายุ 4-5 ปี ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจริง จ�ำนวน 32 ครอบครัว 2. ความเชื่อถือได้ (reliability) ประกอบด้วย (1) มาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวบุตร มีคา่ สัมประสิทธิข์ อง แอลฟาทั้งฉบับ เท่ากับ .97 (2) มาตรวัดพฤติกรรม ก้าวร้าวนักเรียน มีค่าสัมประสิทธิ์ของแอลฟาทั้งฉบับ เท่ากับ .95 และ (3) มาตรวัดการอบรมเลี้ยงดูบุตร มีสัมประสิทธิ์ของแอลฟาทั้งฉบับ เท่ากับ .85 การออกแบบวิจัย การออกแบบวิจยั (research design) เป็นการวิจยั แบบผสมผสานระหว่ า งวิ ธี ก ารวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพและ เชิงปริมาณ รายละเอียดดังนี้ ผูว้ จิ ยั ส�ำรวจข้อมูลเบือ้ งต้นจากกลุม่ คนทีเ่ กีย่ วข้อง กับเด็กวัย 4-5 ปี ประกอบด้วย (1) บิดา และมารดา (2) ครู และ (3) เด็กนักเรียนอนุบาล ช่วงอายุ 4-5 ปี โดยใช้ แ บบสอบถามปลายเปิ ด และสั ม ภาษณ์ แ บบ เจาะลึกเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่กระตุ้นให้เด็กวัย 4-5 ปี แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว และลักษณะพฤติกรรมการ

98

แสดงออกของเด็กวัยนี้เป็นเช่นใด เพื่อให้ครอบคลุมถึง เหตุการณ์ และการแสดงพฤติกรรมของเด็กวัย 4-5 ปี ตามบริบทของสังคมทีเ่ ป็นพหุวฒ ั นธรรม ในพืน้ ทีภ่ าคใต้ ตอนล่างของประเทศไทย จากนั้นผู้วิจัยน�ำข้อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ โดยน�ำแบบทดสอบความ ก้าวร้าวของ แม็คโคนาลด์ และคนอื่นๆ; บัสส์ และ เพอร์รี่ (McKonald, D’Amico & O’Laughlin, 2000; Buss & Perry, 1992) เป็นแนวทางในการสร้างมาตรวัด พฤติกรรมก้าวร้าวบุตร และมาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าว นักเรียน ผู ้ วิ จั ย ส� ำ รวจข้ อ มู ล พื้ น ฐานครอบครั ว ข้ อ มู ล การอบรมเลี้ยงดูบุตร และการแสดงพฤติกรรมของเด็ก นักเรียนอนุบาล ช่วงอายุ 4-5 ปี ว่าเป็นไปในทิศทางใด เพื่อให้ได้มาซึ่ง (1) ข้อมูลพื้นฐานครอบครัว (2) ข้อมูล พื้ น ฐานการอบรมเลี้ ย งดู บุ ต รของบิ ด า และมารดา (3) ข้อมูลพื้นฐานการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็ก นักเรียนอนุบาล (4) ความสัมพันธ์ระหว่างการอบรม เลี้ยงดูบุตรของบิดา การอบรมเลี้ยงดูบุตรของมารดา และข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล กับการแสดงพฤติกรรม ก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล และ (5) คัดกรอง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย โดยผู้วิจัยขอความร่วมมือจาก บิดาและมารดาของเด็กนักเรียนอนุบาล ช่วงอายุ 4-5 ปี โรงเรียนอนุบาลในจังหวัดยะลา และโรงเรียนอนุบาลใน จังหวัดปัตตานี ตอบมาตรวัดลักษณะครอบครัว มาตรวัด การอบรมเลีย้ งดูบตุ ร และมาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวบุตร ตลอดจนขอความร่ ว มมื อ จากครู ป ระจ� ำ ชั้ น ของเด็ ก นักเรียนอนุบาล ช่วงอายุ 4-5 ปี ในจังหวัดยะลา และ จังหวัดปัตตานี ตอบมาตรวัดพฤติกรรมก้าวร้าวนักเรียน ผู ้ วิ จั ย จั ด สนทนากลุ ่ ม บิ ด ามารดาที่ บุ ต รมี แ ละไม่ มี พฤติ ก รรมก้ า วร้ า ว คั ด กรองผู ้ เข้ า ร่ ว มสนทนากลุ ่ ม จ�ำนวน 24 คน ใช้เกณฑ์เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 25 แบ่งกลุ่ม สนทนาเป็น 2 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มบิดามารดาที่บุตรมี พฤติกรรมก้าวร้าว (เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 75 ขึน้ ไป) จ�ำนวน 12 คน (ครอบครัวละ 2 คน เฉพาะบิดาและมารดา) แยกเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 6 คน และ (2) กลุ่มบิดามารดา


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ทีบ่ ตุ รไม่มพี ฤติกรรมก้าวร้าว (เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 25 ลงมา (ครอบครัวละ 2 คน เฉพาะบิดาและมารดา) แยกเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 6 คน การจัดสนทนากลุม่ ดังกล่าว เพือ่ ค้นหาประสบการณ์ การอบรมเลี้ยงดูบุตรของบิดามารดาที่บุตรมีและไม่มี พฤติกรรมก้าวร้าว ประเด็น “ลักษณะการสือ่ สารในการ อบรมเลี้ยงดูบุตร กับความก้าวร้าวของเด็กนักเรียน อนุบาล” จากนั้นผู้วิจัยน�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และ สังเคราะห์ดว้ ยตนเอง เพือ่ ให้ได้มาซึง่ แบบแผนการอบรม เลี้ยงดูบุตรและการสื่อสารในครอบครัว และผสมผสาน กับกระบวนการให้การปรึกษาครอบครัวตามทฤษฎีของ ซะเทียร์ จากนั้นบูรณาการลงในโปรแกรมจ�ำลอง 1 เพื่อน�ำไปสู่การให้การปรึกษาครอบครัวต่อไปผู้วิจัย ใช้การวิจัยกึ่งทดลองแบบหนึ่งกลุ่มวัดก่อนและหลัง การทดลอง โดยให้การปรึกษาเป็นรายครอบครัว คือ โปรแกรมจ�ำลอง 1 ให้การปรึกษาครอบครัวกรณีศึกษา โรงเรียนอนุบาลศรีบ�ำรุง จังหวัดยะลา 3 ครอบครัว โปรแกรมจ�ำลอง 2 ให้การปรึกษาครอบครัวกรณีศึกษา โรงเรี ย นอนุ บ าลยะลา จั ง หวั ด ยะลา 6 ครอบครั ว โปรแกรมจ�ำลอง 3 ให้การปรึกษาครอบครัวกรณีศึกษา โรงเรี ย นเทศบาล 5 (บ้ า นตลาดเก่ า ) จั ง หวั ด ยะลา 9 ครอบครัว และโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว กรณีศึกษา เป็นการยืนยันประสิทธิผลของโปรแกรม การให้การปรึกษาครอบครัว โดยให้การปรึกษาครอบครัว โรงเรียนเจริญศรีศึกษา จังหวัดปัตตานี 3 ครอบครัว รวมครอบครัวกรณีศกึ ษาทัง้ สิน้ 21 ครอบครัว ในแต่ละ โปรแกรมและแต่ละครั้งของการให้การปรึกษาจะมีการ สะท้อนผลการให้การปรึกษาครอบครัว การวิเคราะห์ ข้อมูล การวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค์จากการให้การ ปรึกษา ตลอดจนมีการประเมินผลและปรับปรุงพัฒนา ผู ้ วิ จั ย สรุ ป ขั้ น ตอนการพั ฒ นาโปรแกรมการให้ ก าร ปรึกษาครอบครัว ดังรูปที่ 6

รูปที่ 6: ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษา ครอบครัว

สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยแยกวิเคราะห์ระหว่าง วิ ธี ก ารวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณและวิ ธี ก ารวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ จากการส�ำรวจเบื้องต้น และจากการทดลองให้ ก ารปรึ ก ษา สถิ ติ ที่ ใช้ ใ นการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต�ำ่ สุด และค่าสูงสุด นอกจากนี้ ผูว้ จิ ยั ใช้คา่ สัมประสิทธิ์

99


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

สหสัมพันธ์ โดยใช้สตู รของเพียร์สนั (pearson product moment correlation coefficient) และสร้างสมการ พยากรณ์ โ ดยวิ ธี วิ เ คราะห์ ถ ดถอยพหุ คู ณ แบบปกติ (Enter multiple regression analysis) ส�ำหรับวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยน�ำข้อมูลจาก การจัดสนทนากลุ่มและการสะท้อนผลการปฏิบัติจาก การให้การปรึกษาครอบครัว ด้วยวิธกี ารพูดคุยแลกเปลีย่ น ความคิดเห็นระหว่างตัวผู้วิจัย และผู้ที่เกี่ยวข้อง การจัด กระท�ำดังกล่าว เพื่อให้ได้มาซึ่งโปรแกรมการให้การ ปรึกษาครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็ก นักเรียนอนุบาล ทีม่ คี วามเหมาะสม ทันสมัยและสามารถ ใช้ได้จริงในสถานการณ์ปัจจุบัน ผู ้ วิ จั ย น� ำ ผลการวิ เ คราะห์ ที่ ไ ด้ จ ากการวิ จั ย เชิ ง ปริมาณมาผสมผสานกับผลการวิเคราะห์ที่ได้จากการ วิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อเชื่อมโยงสู่การรายงานผลการวิจัย แบบบูรณาการทีส่ อดคล้องกลมกลืน มีความถูกต้องและ น่าเชื่อถือได้ ผลการวิจัย 1. ประสบการณ์การอบรมเลีย้ งดูบตุ รทีม่ พี ฤติกรรม ก้าวร้าว พบว่าบิดามารดามีรปู แบบการอบรมเลีย้ งดูบตุ ร (1) แบบควบคุม ด้วยการสัง่ ห้าม เช่น “อย่าพูด....อย่าท�ำ... หรืออย่าเล่น…” และบังคับให้บตุ รท�ำตามความต้องการ ของตน เมือ่ บุตรไม่ทำ� ตามหรือร้องไห้โวยวาย บิดามารดา ก็จะอ้างบุคคลทีบ่ ตุ รเกรงกลัวมาข่มขู่ เช่น “ถ้ายังไม่หยุด เดีย๋ วจะโทรไปบอกพ่อให้มาจัดการ” และ (2) แบบตามใจ: บิดามารดาตามใจบุตรมากเกินไป คือ ไม่วา่ บุตรต้องการ หรืออยากได้สิ่งของใดๆ บิดามารดาก็จะหามาให้บุตร ทันที เพราะไม่ต้องการขัดใจ และไม่ต้องการให้บุตร เสียใจหรือร้องไห้ วิธีการลงโทษบุตร: บิดามารดาใช้วิธีการข่มขู่ ดุด่า ทุบตีหรือหยิก เพื่อให้บุตรหยุดแสดงพฤติกรรมที่ ไม่เหมาะสม สภาวะอารมณ์: บิดามารดาสื่อสารกับบุตรด้วย อารมณ์มากกว่าเหตุผล เช่น เมื่อบุตรรบเร้าอยากได้

100

สิ่งของ บิดามารดาจะเกิดความรู้สึกร�ำคาญ และต่อว่า ดุดา่ ทุบตีหรือหยิกบุตร เพือ่ เป็นการระบายความไม่พอใจ 2. ประสบการณ์การอบรมเลีย้ งดูบตุ รทีไ่ ม่มพี ฤติกรรม ก้าวร้าว พบว่าบิดามารดามีรปู แบบการอบรมเลีย้ งดูบตุ ร แบบดูแลเอาใจใส่ ให้ความส�ำคัญ ให้ความรักความอบอุน่ และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ให้กับบุตร โดยบิดา มารดาจะให้บตุ รได้ลองผิดลองถูกในการท�ำกิจกรรมของ ชีวิต เพื่อให้บุตรเกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และ บิดามารดาจะคอยดูแลการท�ำกิจกรรมของบุตรอยูห่ า่ งๆ อันเป็นการป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับบุตร วิธกี ารลงโทษบุตร: บิดามารดาจะใช้วธิ กี ารลงโทษ ก็ต่อเมื่อเห็นว่าบุตรพูดจาไม่รู้เรื่อง และยังคงดื้อรั้น แสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสมต่อไป แต่บดิ ามารดาก็อธิบาย เหตุผลต่อบุตรเสมอว่า เพราะอะไรจึงต้องลงโทษบุตร สภาวะอารมณ์: บิดามารดาสื่อสารกับบุตรด้วย เหตุผลมากกว่าอารมณ์ และมีการรับรูอ้ ารมณ์ของตนเอง เช่น หากตนเองอยู่ในสภาวะอารมณ์ไม่มั่นคง ก็จะมอบ หน้าที่การดูแลบุตรให้กับบิดาหรือมารดาผู้ที่มีสภาวะ อารมณ์มั่นคงมากกว่าตน เมื่อสภาวะอารมณ์ของตน สงบลง จึงเข้ามาพูดคุยท�ำความเข้าใจกับบุตร หรือท�ำ กิจกรรมกับบุตรตามปกติ 3. แบบแผนการอบรมเลี้ยงดูบุตรและการสื่อสาร ในครอบครัว พบว่าบิดามารดาที่มีบุตรก้าวร้าว มีการ อบรมเลี้ ย งดู บุ ต รแบบควบคุ ม และมี ก ารสื่ อ สารใน ครอบครัวทีไ่ ม่เหมาะสม ทัง้ ด้วยภาษาถ้อยค�ำ และภาษา ท่าทาง เช่น สัง่ ห้าม “อย่าพูด....อย่าท�ำ...หรืออย่าเล่น…” และบังคับให้บตุ รท�ำตามความต้องการของตน เมือ่ บุตร ไม่ทำ� ตามหรือร้องไห้โวยวาย บิดามารดาก็จะอ้างบุคคล ที่บุตรเกรงกลัวมาข่มขู่ เช่น “ถ้ายังไม่หยุด เดี๋ยวจะโทร ไปบอกพ่อให้มาจัดการ” ตลอดจนลงโทษบุตรด้วยการ ทุบตี หรือหยิก เพื่อเป็นการระบายความโกรธหรือ ไม่พอใจ ส่วนบิดามารดาทีม่ บี ตุ รไม่กา้ วร้าว มีการอบรม เลี้ยงดูบุตรแบบเอาใจใส่ และมีการสื่อสารในครอบครัว ที่เหมาะสม ทั้งด้วยภาษาถ้อยค�ำ และภาษาท่าทาง โดยการพูดคุยกันอย่างเปิดเผย ชัดเจน ตรงไปตรงมา


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ยอมรับ และไม่ตัดสินกันและกัน อธิบายเหตุผลให้บุตร รับรู้และเข้าใจ ด้วยสภาวะอารมณ์ที่มั่นคงปกติ โดยมี การสัมผัสบุตรด้วยความอ่อนโยน เช่น โอบกอด ลูบ ศีรษะ จับมือ หอมแก้มฯ เพือ่ ให้บตุ รได้ซมึ ซับและจดจ�ำ การแสดงความรักความอบอุน่ ของบิดามารดาไว้ในความ

ทรงจ�ำ อันเป็นการป้องกันไม่ให้พฤติกรรมก้าวร้าวก่อตัว ขึ้นในอนาคต 4. การสร้างโปรแกรมจ�ำลอง 1 ได้รปู แบบโปรแกรม ดังรูปที่ 7

ระยะเวลาในการให้การปรึกษาครอบครัวละ 28 วัน ให้ค�ำปรึกษา 60 นาที ให้ค�ำปรึกษา 60 นาที การสร้างสัมพันธภาพ การอบรมเลี้ยงดูบุตร สร้างไมตรีจิตและ เทคนิคของซะเทียร์ บรรยากาศของความไว้ กรณีตวั อย่าง : บิดามารดา 1 1 วางใจกัน ขัดแย้งกัน ขณะที่บุตร สป. สป. เทคนิคของซะเทียร์ อยู่ด้วย กรณีตวั อย่าง : การแสดง มอบหมายการบ้าน ความรักความอบอุ่น มอบหมายการบ้าน

• •

• • •

ครั้งที่ 1

ให้ค�ำปรึกษา 60 นาที ให้ค�ำปรึกษา 60 นาที ให้ค�ำปรึกษา 60 นาที การจัดการกับพฤติกรรม การจัดการกับพฤติกรรม สรุปและปิดโครงการ ก้าวร้าว ก้าวร้าว บิดาและมารดาบอก เทคนิคของซะเทียร์ เทคนิคของซะเทียร์ ความรู้สึกในการเข้ารับ 1 1 กรณีตัวอย่าง : การขว้าง กรณีตวั อย่าง : บิดามารดา การปรึกษา สป. สป. ปาสิ่งของใส่คนอื่น และบุตรรับชมโทรทัศน์ แจกหนังสือ “แบบแผน มอบหมายการบ้าน ภาพความรุนแรงด้วยกัน การอบรมเลี้ยงดูบุตร” มอบหมายการบ้าน

• • •

ครั้งที่ 2

• •

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 4

ครั้งที่ 5

รูปที่ 7: ระยะเวลา และ Treatment ในการให้การปรึกษาโปรแกรมจ�ำลอง 1

ปัญหาและอุปสรรคจากการให้การปรึกษาของ โปรแกรมจ�ำลอง 1 พบว่าระยะเวลาของการให้การปรึกษา จ�ำนวน 5 ครัง้ มากเกินไปส�ำหรับครอบครัวทีด่ ำ� เนินชีวติ ในสภาพการณ์ปัจจุบันและในสถานการณ์ความไม่สงบ ในพืน้ ทีภ่ าคใต้ตอนล่าง อันเป็นสาเหตุสำ� คัญประการหนึง่

ที่ท�ำให้ครอบครัวต้องยุติหรือจ�ำหน่ายออกจากการให้ การปรึกษาก่อนก�ำหนด 5. การพั ฒ นาโปรแกรมจ� ำ ลอง 1 ได้ รู ป แบบ โปรแกรมจ�ำลอง 2 ดังรูปที่ 8

ระยะเวลาในการให้การปรึกษาครอบครัวละ 21 วัน ให้ค�ำปรึกษา 90 นาที การสร้างสัมพันธภาพ สร้างไมตรีจิตและบรรยากาศของ ความไว้วางใจกัน 1 เทคนิคของซะเทียร์ สป. กรณีตัวอย่าง : การแสดงความรัก ความอบอุ่น มอบหมายการบ้าน

• • • •

ครั้งที่ 1

ให้ค�ำปรึกษา 90 นาที ให้ค�ำปรึกษา 40 นาที ให้ค�ำปรึกษา 40 นาที การจัดการกับพฤติกรรมก้าวร้าว สรุปและปิดโครงการ ติดตามประเมินผล เทคนิคของซะเทียร์ บิดาและมารดาบอกความรู้สึก เยี่ยมบ้าน/โทรศัพท์ กรณีตัวอย่าง : บิดา มารดา ในการเข้ารับการปรึกษา 1 1 ขัดแย้งกัน ขณะที่บุตรอยู่ด้วย แจกหนังสือ “แบบแผนการอบรม สป. สป. การขว้างปาสิ่งของใส่คนอื่น เลีย้ งดูบุตร” บิดามารดาและบุตรรับชมโทรทัศน์ ภาพความรุนแรงด้วยกัน มอบหมายการบ้าน

• • • • •

• •

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 4

รูปที่ 8: ระยะเวลา และ Treatment ในการให้การปรึกษาของโปรแกรมจ�ำลอง 2

101


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ผลการให้การปรึกษาครอบครัวของโปรแกรม จ�ำลอง 2 พบว่าหลังการให้การปรึกษาครั้งที่ 1 ผ่านไป 1 สัปดาห์ พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล ยังคงด�ำเนินต่อไปเช่นเดิม ผู้วิจัยวิเคราะห์ว่าระยะห่าง ของการให้ ก ารปรึ ก ษาครอบครั ว 1 สั ป ดาห์ / ครั้ ง

น้ อ ยเกิ น ไปหรื อ เร็ ว เกิ น ไปส� ำ หรั บ การเปลี่ ย นแปลง พฤติกรรมของเด็กนักเรียนอนุบาลที่ยั่งยืนและถาวร 6. การพั ฒ นาโปรแกรมจ� ำ ลอง 2 ได้ รู ป แบบ โปรแกรมจ�ำลอง 3 ดังรูปที่ 9

ระยะเวลาในการให้การปรึกษาครอบครัวละ 41 วัน ให้ค�ำปรึกษา 90 นาที การสร้างสัมพันธภาพ สร้างไมตรีจิตและบรรยากาศของ ความไว้วางใจกัน เทคนิคของซะเทียร์ 10 กรณีตัวอย่าง : ขณะที่ท่านวุ่นวาย วัน อยู่กับการท�ำงานแต่บุตรอยากรู้ อยากเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมในชีวิต ประจ�ำวัน มอบหมายการบ้าน

• • • •

ให้ค�ำปรึกษา 90 นาที การจัดการกับพฤติกรรมก้าวร้าว เทคนิคของซะเทียร์ กรณีตัวอย่าง : บิดา มารดา ขัดแย้งกัน ขณะที่บุตรอยู่ด้วย 14 การขว้างปาสิ่งของใส่คนอื่น วัน บิดามารดาและบุตรรับชมโทรทัศน์ ภาพความรุนแรงด้วยกัน มอบหมายการบ้าน

• • • • •

ครั้งที่ 1

ให้ค�ำปรึกษา 40 นาที สรุปและปิดโครงการ บิดาและมารดาบอกความรู้สึก ในการเข้ารับการปรึกษา แจกหนังสือ “แบบแผนการอบรม 17 เลี้ยงดูบุตร” วัน

• •

ครั้งที่ 2

ให้ค�ำปรึกษา 40 นาที ติดตามประเมินผล เยี่ยมบ้าน/โทรศัพท์

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 4

รูปที่ 9: ระยะเวลา และ Treatment ในการให้การปรึกษาของโปรแกรมจ�ำลอง 3

ผลการให้การปรึกษาครอบครัวของโปรแกรม จ�ำลอง 3 พบว่าพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียน อนุบาลลดลงตั้งแต่ช่วงการปรึกษาครั้งที่ 1 และลดลง เรือ่ ย ๆ ตามระยะเวลาของการปรึกษา ดังนัน้ โปรแกรม การให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าว

ของเด็กนักเรียนอนุบาล ผู้วิจัยจึงใช้ Treatment และ ระยะเวลาในการปรึกษาเช่นเดียวกับโปรแกรมจ�ำลอง 3 รูปแบบโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อลด พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล ดังรูปที่ 10

ระยะเวลาในการให้การปรึกษาครอบครัวละ 41 วัน ให้ค�ำปรึกษา 90 นาที การสร้างสัมพันธภาพ สร้างไมตรีจิตและบรรยากาศของ ความไว้วางใจกัน เทคนิคของซะเทียร์ 10 กรณีตัวอย่าง : ขณะที่ท่านวุ่นวาย วัน อยู่กับการท�ำงานแต่บุตรอยากรู้ อยากเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมในชีวิต ประจ�ำวัน มอบหมายการบ้าน

• • • •

ครั้งที่ 1

ให้ค�ำปรึกษา 90 นาที การจัดการกับพฤติกรรมก้าวร้าว เทคนิคของซะเทียร์ กรณีตัวอย่าง : บิดา มารดา ขัดแย้งกัน ขณะที่บุตรอยู่ด้วย 14 การขว้างปาสิ่งของใส่คนอื่น วัน บิดามารดาและบุตรรับชมโทรทัศน์ ภาพความรุนแรงด้วยกัน มอบหมายการบ้าน

• • • • •

ครั้งที่ 2

ให้ค�ำปรึกษา 40 นาที สรุปและปิดโครงการ บิดาและมารดาบอกความรู้สึก ในการเข้ารับการปรึกษา แจกหนังสือ “แบบแผนการอบรม 17 เลี้ยงดูบุตร” วัน

• •

ให้ค�ำปรึกษา 40 นาที ติดตามประเมินผล เยี่ยมบ้าน/โทรศัพท์

ครั้งที่ 3

รูปที่ 10: ระยะเวลา และ Treatment ในการให้การปรึกษาของโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว

102

ครั้งที่ 4


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

รูปแบบโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่ อ ลดพฤติ ก รรมก้ า วร้ า วของเด็ ก นั ก เรี ย นอนุ บ าล ประกอบด้วยการให้การปรึกษา 4 ครัง้ คือ (1) การสร้าง สัมพันภาพ ใช้เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพร่วมกับ แบบแผนการอบรมเลี้ ย งดู บุ ต รและการสื่ อ สารใน ครอบครัว (2) การจัดการกับพฤติกรรมก้าวร้าว ใช้เทคนิค การให้การปรึกษาครอบครัวของซะเทียร์รว่ มกับแบบแผน การอบรมเลีย้ งดูบตุ รและการสือ่ สารในครอบครัว (3) สรุป และปิดโครงการ และ (4) การติดตามประเมินผล เมื่อ เสร็จสิน้ การให้การปรึกษาในแต่ละครัง้ ผูใ้ ห้การปรึกษา มีการมอบหมายการบ้านให้ผู้เข้ารับการปรึกษาไปฝึก ปฏิบัติ ระยะห่างของการให้การปรึกษาแต่ละครั้ง คือ ครัง้ ที่ 2 ห่างจากครัง้ ที่ 1 จ�ำนวน 1 สัปดาห์ครึง่ (10 วัน) ครั้งที่ 3 ห่างจากครั้งที่ 2 จ�ำนวน 2 สัปดาห์ (14 วัน) และครั้งที่ 4 ห่างจากครั้งที่ 3 จ�ำนวน 2 สัปดาห์ครึ่ง (17 วัน) รวมระยะเวลาให้การปรึกษาครอบครัวละ 41 วัน ระยะเวลาการให้การปรึกษา ครั้งที่ 1 ใช้ระยะเวลา 90 นาที ครั้งที่ 2 ใช้ระยะเวลา 90 นาที ครั้งที่ 3 ใช้ ระยะเวลา 40 นาที และครัง้ ที่ 4 ใช้ระยะเวลา 40 นาที ส�ำหรับสถานที่ให้การปรึกษาขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และความสะดวกของผู้เข้ารับการปรึกษา ทักษะส�ำคัญ ในการประเมินและให้การปรึกษา ได้แก่ 1) การใช้เทคนิค การให้การปรึกษาครอบครัวของซะเทียร์ ประกอบด้วย การใช้เชือก การแสดงกิริยาเฉพาะการสัมผัส การใช้ สรรพนามแทนตัว การสลับบทบาท เก้าอี้เปล่า ท่าทาง การสือ่ สาร การมองมุมใหม่ และการมอบหมายการบ้าน 2) การใช้แบบแผนการอบรมเลีย้ งดูบตุ รและการสือ่ สาร ในครอบครัว ประกอบด้วย กรณีตัวอย่างที่ 1 “ขณะที่ ท่านวุ่นวายอยู่กับการท�ำงาน แต่บุตรมีความอยากรู้ อยากเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวัน” กรณี ตัวอย่างที่ 2 “การเลียนแบบพฤติกรรมความรุนแรง จากการรับชมภาพความรุนแรงจากโทรทัศน์” กรณี ตัวอย่างที่ 3 “การขว้างปาสิ่งของใส่คนอื่น” และกรณี

ตัวอย่างที่ 4 “บิดามารดาขัดแย้งกัน ขณะทีบ่ ตุ รอยูด่ ว้ ย” 3) การใช้ประโยคค�ำถาม และ 4) การสังเกต 8. ประสิทธิผลของโปรแกรมการให้การปรึกษา ครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียน อนุบาล เชิงคุณภาพ ครอบครัวกรณีศึกษาสะท้อนว่า “พฤติกรรมก้าวร้าวของบุตรทางร่างกาย และวาจา เปลี่ยนแปลงไปในทางเหมาะสมขึ้น เช่น ไม่แกล้งน้อง ไม่ทะเลาะกับน้อง และพูดจาไพเราะขึ้น” กล่าวคือ หลังการให้การปรึกษาครัง้ ที่ 2 ผ่านไปสองสัปดาห์ (14 วัน) บิดามารดาของน้องซินซิน (นามสมมติ) สะท้อนว่า “น้องซินซินมีพฤติกรรมที่ดีขึ้นมากพูดง่ายขึ้นนะ” และ สะท้อนต่อว่า “พ่อเขาก็ดขี นึ้ ช่วยเหลืองานบ้านเรามากขึน้ ” มารดาของน้องซินซินหยุดหัวเราะนิดนึงก่อนจะพูดว่า “พฤติกรรมดีขนึ้ ทัง้ ลูกทัง้ พ่อเลยค่ะ” ส่วนบิดาสะท้อนว่า “แม่เขาก็ลดเสียงดังลงและพูดจาไพเราะกับลูกมากขึ้น ไม่ขี้โมโหเหมือนก่อน” หลั ง การให้ ก ารปรึ ก ษาครั้ ง ที่ 3 ผ่ า นไป สองสัปดาห์ครึ่ง (ระยะการติดตามประเมินผล) มารดา ของน้องแก่นแก้ว สะท้อนว่า “ลูกมีพฤติกรรมดีขึ้น พูดง่ายขึน้ ไม่ขว้างปาสิง่ ของเหมือนก่อน” มารดาสะท้อน ต่อว่า “พ่อเขาก็อารมณ์เย็นลงมากเลย ไม่ดุด่าว่ากล่าว และไม่ลงไม้ลงมือกับลูกแล้วค่ะ” ส่วนบิดาของน้องไซมอล สะท้อนว่า “หลังจากแม่เขาพูดกับลูกดีๆ ผมสังเกตได้วา่ ลูกมีพฤติกรรมที่เหมาะสมขึ้น” นอกจากนี้ น้องซินซิน สะท้อนพฤติกรรมของน้องต้นข้าวซึง่ เป็นเพือ่ นเล่นกันว่า “เดีย๋ วนี้ พีต่ น้ ข้าวไม่แกล้งน้องแล้ว พีต่ น้ ข้าวให้ขนมน้อง กินด้วย” ซึง่ น้องซินซินเปลีย่ นสรรพนามจากเดิมทีเ่ รียกว่า “ไอ้ต้นข้าว” ส�ำหรับระยะเวลาของการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ก้ า วร้ า ว เกิ ด ขึ้ น ในช่ ว งการให้ ก ารปรึ ก ษาครั้ ง ที่ 2 โดยการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมยิง่ ชัดเจนขึน้ ในช่วงการ ให้การปรึกษาครั้งที่ 3 และยังคงด�ำเนินไปในทิศทางที่ เหมาะสมขึน้ แม้จะยุตกิ ารให้การปรึกษาไปแล้ว ดังภาพ ที่ 11

103


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

รูปที่ 11: ช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาลในโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว

ประสิทธิผลของโปรแกรมการให้การปรึกษา ครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียน อนุบาล เชิงปริมาณ พบว่าการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ของเด็กนักเรียนอนุบาล โดยรวมทั้งด้านร่างกาย และ ด้านวาจา ก่อนการทดลอง มีคา่ เฉลีย่ 1.58 ส่วนเบีย่ งเบน มาตรฐาน .07 และหลังการทดลอง มีค่าเฉลี่ย 1.42 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .14 ส�ำหรับการทดสอบความ แตกต่างระหว่างค่าเฉลีย่ พบว่าก่อนและหลังการทดลอง มีความแตกต่างกัน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการให้การปรึกษา ครอบครัว โดยใช้กระบวนการให้การปรึกษาครอบครัว ตามทฤษฎีของซะเทียร์บูรณาการเข้ากับแบบแผนการ อบรมเลีย้ งดูบตุ รและการสือ่ สารในครอบครัวทีเ่ กิดขึน้ จริง ในบริบทของสังคม ท�ำให้โปรแกรมการให้การปรึกษา ครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียน อนุบาลทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มีประสิทธิผลคือ สามารถเปลีย่ นแปลง พฤติ ก รรมการอบรมเลี้ ย งดู บุ ต รและการสื่ อ สารใน ครอบครัวทีเ่ หมาะสมขึน้ ส่งผลให้พฤติกรรมก้าวร้าวของ เด็กนักเรียนอนุบาลลดลง และสามารถอธิบายเชื่อมโยง ได้ว่าทฤษฎีการให้การปรึกษาครอบครัวของซะเทียร์ ใช้ได้ผลต่อการลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียน อนุ บ าล และโปรแกรมที่ พั ฒ นาขึ้ น สามารถน� ำ ไปใช้ ในการแก้ไขพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาลได้ โดยครอบครั ว มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ในการแก้ ไขและพั ฒ นา พฤติกรรมของบุตร

104

สรุปและอภิปรายผล ผลการวิเคราะห์แบบแผนการอบรมเลี้ยงดูบุตร และการสื่อสารในครอบครัว พบว่าบิดามารดาที่บุตรมี พฤติกรรมก้าวร้าว มีรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูบุตรแบบ ควบคุม โดยการออกค�ำสั่ง สั่งห้าม และข่มขู่ให้บุตร เกรงกลัว ใช้วิธีการลงโทษบุตรทั้งทางวาจา และทาง ร่างกาย เช่น ต�ำหนิ ดุดา่ ทุบตี และหยิกฯ แสดงให้เห็นว่า บิดามารดามีแบบแผนการอบรมเลีย้ งดูบตุ รโดยใช้อารมณ์ มากกว่าเหตุผล ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ อีรอน (Eron, 1993) พบว่าการลงโทษมีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมก้าวร้าวในระดับสูง ไม่ว่าเด็กจะอยู่ในสภาพ ครอบครัวที่มีฐานะทางเศรษฐกิจระดับใดก็ตาม และยัง พบว่าบิดามารดาใช้รปู แบบการอบรมเลีย้ งดูแบบตามใจ บุตรมากจนเกินไป สอดคล้องกับข้อค้นพบทีว่ า่ การอบรม เลี้ยงดูบุตรแบบตามใจให้อิสระเด็กมากจนเกินไป ยอม ตามใจเด็กทุกอย่าง และไม่มีการลงโทษเมื่อเด็กกระท�ำ ความผิด จะท�ำให้เด็กไม่สามารถแยกแยะว่าการกระท�ำใด ควรหรือไม่ควร ถูกหรือผิด ส่งผลให้เด็กแสดงพฤติกรรม ก้าวร้าวและไม่เชื่อฟังผู้ใหญ่ (กระทรวงสาธารณสุข, กรมสุขภาพจิต, 2548; ผกา สัตยธรรม, 2552) ส�ำหรับบิดามารดาที่บุตรไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว มีแบบแผนการอบรมเลี้ยงดูบุตรแบบเอาใจใส่ และมี การสือ่ สารในครอบครัวทีเ่ หมาะสมทัง้ ด้วยภาษาถ้อยค�ำ และภาษาท่าทาง มีการพูดคุยกันอย่างเปิดเผย ชัดเจน ตรงไปตรงมา ยอมรับและไม่ตัดสินกัน อธิบายเหตุผล ให้บุตรรับรู้และเข้าใจด้วยสภาวะอารมณ์ที่มั่นคงปกติ โดยมีการสัมผัสบุตรด้วยความอ่อนโยน เช่น โอบกอด


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ลูบศีรษะ จับมือ และหอมแก้มฯ สอดคล้องกับ ผกา สัตยธรรม (2542) กล่าวว่าความรักความอบอุน่ ระหว่าง บิดามารดาที่มีต่อบุตรส�ำคัญมากเพราะเป็นสิ่งที่เด็ก ทุกคนปรารถนา และสอดคล้องกับการติดต่อสื่อสาร แบบสอดคล้องกันของซะเทียร์ (Satir, 1983) กล่าวคือ ใช้ภาษาพูดและภาษาท่าทางทีแ่ สดงถึงความรูส้ กึ มีเจตนา ไปในทิศทางเดียวกัน เป็นการติดต่อสื่อสารที่ชัดเจน เปิดเผย และตรงไปตรงมา ผลจากการสะท้อนการปฏิบตั ิ หลังการให้การปรึกษา ครั้งที่ 3 ผ่านไปสองสัปดาห์ครึ่ง (ระยะการติดตาม ประเมินผล) มารดาของน้องแก่นแก้วสะท้อนว่า “ลูกมี พฤติกรรมทีด่ ขี นึ้ พูดง่ายขึน้ ไม่ขว้างปาสิง่ ของเหมือนก่อน” ส่วนบิดาของน้องไซมอลสะท้อนว่า “หลังจากแม่เขาพูด กับลูกดี ๆ ผมสังเกตได้วา่ ลูกก็มพี ฤติกรรมทีเ่ หมาะสมขึน้ ” ข้อค้นพบดังกล่าวสอดคล้องกับข้อค้นพบทีว่ า่ การเรียนรู้ ส่วนใหญ่ในวัยเด็ก เกิดจากการเลียนแบบตัวแบบที่เด็ก พบเห็นในชีวิตประจ�ำวัน (David & Margaret, 2003; Hilda, 2005) และยังสอดคล้องกับข้อค้นพบของ กุลยา ตันติผลาชีวะ (2542) กล่าวว่าโดยปกติบิดามารดามี อิทธิพลในการอบรมเลี้ยงดู การสร้างพฤติกรรมต่างๆ ให้เกิดขึ้นกับเด็ก ปลูกฝังค่านิยมที่ดีงามและกระตุ้นให้ เด็กมีพฤติกรรมที่เหมาะสม จากการทดสอบสมมติฐาน แสดงให้เห็นว่าพฤติกรรม ก้าวร้าวโดยรวม และรายด้าน ทั้งด้านร่างกาย และ ด้านวาจา ก่อน และหลังการทดลองมีความแตกต่างกัน ซึง่ ในเชิงปริมาณค่าเฉลีย่ ของการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ก่ อ นและหลั ง การทดลองมี ค วามแตกต่ า งกั น ไม่ ม าก ข้อค้นพบดังกล่าวอธิบายได้ว่าเป็นเพราะเด็กนักเรียน อนุบาล ช่วงวัย 4-5 ปี เป็นช่วงวัยแห่งการสร้างนิสัย การแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยนี้จึงมีไม่มาก เหมือนกับช่วงวัยอืน่ ๆ ทีอ่ ายุมากขึน้ (ศรีเรือน แก้วกังวาล, 2549) ผูว้ จิ ยั สามารถยืนยันผลการทดลองในเชิงคุณภาพ ได้วา่ การแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล ลดลง กล่าวคือบิดาและมารดาสะท้อนผลหลังเข้ารับ การปรึกษาในท�ำนองเดียวกันว่า “พฤติกรรมก้าวร้าว

ของบุ ต รลดลงทั้ ง ด้ า นร่ า งกาย และด้ า นวาจา เช่ น ไม่แกล้งน้อง ไม่ทะเลาะกับน้อง และพูดจาไพเราะขึ้น” ข้อค้นพบดังกล่าวยังสอดคล้องกับข้อค้นพบที่ว่า การวิจัยแบบผสมผสานเป็นการน�ำข้อดีหรือจุดเด่นของ แต่ละแนวทางมาส่งเสริมเกื้อกูลซึ่งกันและกัน กล่าวคือ การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการศึกษาและเก็บรวบรวม รายละเอียดของเรือ่ งราวต่างๆ ในปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ ตามสภาพความเป็นธรรมชาติและตามความเป็นจริง (Polkinghorne, 2005) มีจุดเด่นด้านรายละเอียดของ การพรรณนาความทีใ่ ห้ความมีชวี ติ ชีวา ความเข้าใจลึกๆ และความชัดเจนในสิง่ ทีศ่ กึ ษา ขณะทีก่ ารวิจยั เชิงปริมาณ มีจุดแข็งตรงที่สามารถเสนอความเป็นรูปธรรมในเชิง ปริมาณได้ทุกแนวคิดและทุกประเด็นที่ศึกษา (สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ และกรรณิการ์ สุขเกษม, 2547) ข้อค้นพบที่เป็นจุดเด่นของการศึกษานี้ 1. วิธกี ารวิจยั เป็นการวิจยั แบบผสมผสาน ระหว่าง การวิจยั เชิงคุณภาพ และการวิจยั เชิงปริมาณ ซึง่ เป็นการ น�ำจุดเด่นมาสนับสนุนเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และมีการ ประเมินผลทั้งในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพเพื่อให้ได้ มาซึ่งโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัวที่มีความ เหมาะสม ทันสมัย และใช้ได้จริงในสถานการณ์ปัจจุบัน 2. วิธีด�ำเนินการสร้างโปรแกรมจ� ำลอง 1 หรือ โปรแกรมต้นแบบ เป็นการเชื่อมโยงผลที่ได้จากการ วิเคราะห์การถดถอยพหุคณ ุ กล่าวคือผูว้ จิ ยั ท�ำการศึกษา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ของเด็กนักเรียนอนุบาล และน�ำไปสูก่ ารวางแผนในการ สร้างโปรแกรมจ�ำลอง เพือ่ การปรึกษาทีม่ คี วามเหมาะสม กับพื้นฐานของครอบครัว 3. การสร้างโปรแกรมจ�ำลอง 1 หรือโปรแกรม ต้นแบบ เป็นการผสมผสานระหว่างกระบวนการให้การ ปรึกษาครอบครัวตามทฤษฎีของซะเทียร์ ที่มีความเป็น สากล ใช้ได้กบั ทุกวัฒนธรรมและประเทศ เข้ากับแบบแผน การอบรมเลีย้ งดูบตุ รและการสือ่ สารในครอบครัว ทีเ่ กิด ขึน้ จริงในบริบทของสังคม จึงท�ำให้โปรแกรมการให้การ

105


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ปรึกษาครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็ก นักเรียนอนุบาล ที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมต่อการ ให้การปรึกษาในทุกวัฒนธรรม 4. ขั้นตอนและวงจรการพัฒนาโปรแกรม เป็นการ น�ำกระบวนการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารมาประยุกต์ใช้ โดยเริม่ พัฒนาจากวงจรเล็กแล้วขยายไปสูว่ งจรทีใ่ หญ่ขนึ้ ท�ำให้ เห็นความเสถียรของโปรแกรมต่างๆ มีการพัฒนาที่เป็น ล�ำดับขัน้ ตอนชัดเจน มีการวางแผน ลงมือปฏิบตั ิ สังเกต และสะท้อนผลการปฏิบตั จิ ากการให้การปรึกษา ด้วยวิธี การสัมภาษณ์พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่าง ผู้ให้การปรึกษากับผู้เข้ารับการปรึกษา ท�ำให้ได้มาซึ่ง ข้อมูลในเชิงลึก ข้อค้นพบที่เป็นจุดอ่อนของการศึกษานี้ การพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่ อ ลดพฤติ ก รรมก้ า วร้ า วของเด็ ก นั ก เรี ย นอนุ บ าล เป็นการให้การปรึกษาครอบครัวและมีการติดตามผล ในช่วงระยะเวลาสั้นๆ จึงอาจไม่ได้ผลที่ยั่งยืน ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ 1. โปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อลด พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล พัฒนาขึ้น จากการให้การปรึกษาครอบครัวในบริบทสังคมปัจจุบัน ของพื้นที่การศึกษา เช่น สภาพเศรษฐกิจ และสังคม สภาพแวดล้อม และเหตุการณ์ความไม่สงบ ส�ำหรับผู้ที่ ท�ำหน้าทีใ่ ห้การปรึกษา อาทิ อาจารย์ทปี่ รึกษา นักจิตวิทยา ให้การปรึกษา และนักจิตบ�ำบัดครอบครัว ตลอดจนผู้ที่ เกี่ยวข้องในโรงเรียนอนุบาล สถาบันการศึกษาหรือ หน่วยงานอืน่ ๆ ทัง้ ภาครัฐ และเอกชน ทีจ่ ะน�ำโปรแกรม การให้การปรึกษาครอบครัวไปใช้ในการให้การปรึกษา ควรท�ำการศึกษาบริบทของพื้นที่ ขอบเขต และกลุ่ม ตัวอย่างที่จะน�ำไปใช้ให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และควรทดสอบทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับบริบทของสังคม เพื่อความเหมาะสม ทันสมัย และเกิดประโยชน์สูงสุด ต่อการให้การปรึกษาครอบครัว

106

2. โปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อลด พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล เป็นกรณีศกึ ษา ให้การปรึกษาครอบครัวในจังหวัดยะลา และจังหวัด ปั ต ตานี แต่ เ นื่ อ งจากการให้ ก ารปรึ ก ษาครอบครั ว ตามทฤษฎีของซะเทียร์ มีความเป็นสากล จึงน่าจะน�ำ ไปใช้ในเขตพื้นที่อื่นๆ ได้ด้วย แต่การใช้ต้องท�ำโดยผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ (professional) ผู้ที่มีการอบรมทางด้าน การให้การปรึกษา เพราะจะต้องรู้จักการปรับเทคนิค ปลีกย่อยให้เหมาะสมกับบริบทสังคมวัฒนธรรมในแต่ละ ท้องถิ่นซึ่งแตกต่างกันไป จึงจะท�ำให้การใช้โปรแกรม ได้ผลดี และเป็นประโยชน์สูงสุด ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย พบว่า 1. แบบแผนการอบรมเลี้ยงดูบุตรและการสื่อสาร ในครอบครัว เกิดจากการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ประสบการณ์ ก ารอบรมเลี้ ย งดู บุ ต รของบิ ด ามารดา ที่บุตรมีและไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว ช่วงอายุ 4-5 ปี ในพื้นที่จังหวัดยะลา ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม ดังนัน้ หน่วยงานทีท่ ำ� งานด้านการให้การ ปรึกษาครอบครัว อาทิ ศูนย์ให้การปรึกษา ส�ำนักงาน สาธารณสุข โรงพยาบาล และสถาบันการศึกษา ทัง้ ในส่วน ของภาครัฐ และเอกชน ควรก�ำหนดนโยบายการเสริมสร้าง ความรู้สู่การปฏิบัติ ด้วยการน�ำ 2. แบบแผนการอบรมเลี้ยงดูบุตรและการสื่อสาร ในครอบครัว ไปประยุกต์ใช้โดยการจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ให้แก่ครอบครัวชาวไทยพุทธ ชาวไทยมุสลิม ชาวไทย เชือ้ สายจีน และชาวไทยทีน่ บั ถือศาสนาคริสต์ในภูมภิ าค ต่างๆ ที่บุตรอยู่ชั้นอนุบาล ช่วงอายุ 4-5 ปี ตลอดจน ครอบครัวทีเ่ ตรียมความพร้อมส�ำหรับการเป็นบิดามารดา อันเป็นการป้องกันและลดปัญหาความก้าวร้าวรุนแรง ทั้งนี้ เพื่อความสงบสุขที่ยั่งยืนทั้งต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม 3. ผลการศึกษา พบว่าโปรแกรมการให้การปรึกษา ครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียน อนุบาล สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ในพืน้ ทีพ่ หุวฒ ั นธรรม ดังนั้น หน่วยงานด้านการให้การปรึกษาครอบครัว อาทิ ศูนย์ให้การปรึกษา ส�ำนักงานสาธารณสุข โรงพยาบาล


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

และสถาบันการศึกษา ทัง้ ในส่วนของภาครัฐ และเอกชน ควรก� ำ หนดนโยบายการเพิ่ ม พู น ความรู ้ และความ เชีย่ วชาญช�ำนาญการ โดยการจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแก่ บุคลากรในหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบด้านการให้การปรึกษา ครอบครัว อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยมีวิทยากรผู้มี ความเชี่ยวชาญด้านการใช้โปรแกรมการให้การปรึกษา ครอบครัว เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียน อนุบาล เพือ่ ให้บคุ ลากรทีท่ �ำงานด้านการให้การปรึกษา ครอบครัว สามารถให้การปรึกษาครอบครัวจ�ำนวนมากขึน้ อันเป็นการเพิม่ คุณภาพของการให้การปรึกษาครอบครัว และน�ำพาครอบครัวสู่ความสงบสุข ซึ่งมีผลท�ำให้สังคม โดยรวมมีความสงบสุขด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะในเขต พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึง่ ยังคงมี ความรุนแรงอยู่ ข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ พบว่า 1. การพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่ อ ลดพฤติ ก รรมก้ า วร้ า วของเด็ ก นั ก เรี ย นอนุ บ าล เป็นการให้การปรึกษาครอบครัวและมีการติดตามผล ในช่วงระยะเวลาสัน้ ๆ อาจไม่ได้ผลทีย่ งั่ ยืน เด็กอาจกลาย เป็นคนชอบใช้ความรุนแรงเป็นพวกอันธพาล ท�ำให้ ครอบครัวขาดความสงบสุข และกลายเป็นปัญหาสังคม ในอนาคต ดังนั้น จึงควรมีการศึกษาแบบเดียวกันนี้ แบบระยะยาว (longitudinal study) และมีการติดตาม ผลอย่างต่อเนือ่ ง และควรมีการขยายผลการให้การปรึกษา ครอบครัวที่บุตรมีพฤติกรรมก้าวร้าว อยู่ในช่วงวัยอื่นๆ ในช่วงอายุที่มากขึ้น 2. โปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อลด พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล เป็นการ ผสมผสานระหว่าง แบบแผนการอบรมเลี้ยงดูบุตรและ การสือ่ สารในครอบครัว เข้ากับกระบวนการให้การปรึกษา ครอบครั ว ตามทฤษฎี ข องซะเที ย ร์ ดั ง นั้ น การวิ จั ย ในอนาคตควรมีการเปรียบเทียบกับทฤษฎีอนื่ ๆ เช่น ทฤษฎี เหตุผลและอารมณ์ ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม เพื่อประเมิน ว่าการให้การปรึกษาครอบครัวแบบใดมีประสิทธิผล ต่อการลดพฤติกรรมกรรมก้าวร้าวของเด็กนักเรียนอนุบาล อันจะน�ำไปสู่การพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษา

ครอบครัวที่มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น กิตติกรรมประกาศ ดุษฎีนิพนธ์เล่มนี้ ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก สถาบันพระปกเกล้าฯ ด�ำเนินงานจนส�ำเร็จเรียบร้อย ได้ด้วยความเสียสละ อุตสาหะ อนุเคราะห์ช่วยเหลือ ด้วยน�้ำใจจากบุคคลหลายท่านที่เป็น “ครู” ผู้ประสิทธิ์ ประศาสน์วิชาความรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ดุษฎีนิพนธ์ เล่มนีเ้ ริม่ ต้นจาก ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ประสิทธิร์ ฐั สินธุ์ อดี ต ประธานหลั ก สู ต รปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขา การบริหารการพัฒนา ทีน่ ำ� ผูว้ จิ ยั เข้าสูเ่ ส้นทางการศึกษา วิจัย ศาสตราจารย์ ดร.ศรีเรือน แก้วกังวาน ประธาน กรรมการสอบ ผูช้ แี้ นะแนวทางผูว้ จิ ยั เข้าสูเ่ ส้นทางจิตวิทยา การให้การปรึกษา ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ผู้วิจัยขอขอบพระคุณศาสตราจารย์ ดร.วรเดช จันทรศร ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา วิชาการบริหารการพัฒนา ที่ให้ความเมตตาแนะน�ำ การวิจัยอย่างต่อเนื่อง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอมอร กฤษณะรังสรรค์ ประธานกรรมการทีป่ รึกษาดุษฎีนพิ นธ์ และรองศาสตราจารย์ ดร.โยธิน แสวงดี กรรมการ ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ ที่คอยถามไถ่ ให้ก�ำลังใจ ทุ่มเท เสียสละเวลาอันมีคา่ ยิง่ ในการให้มมุ มอง ข้อคิดเห็นทีเ่ ป็น ประโยชน์ตอ่ การวิจยั แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความ เอาใจใส่อย่างดียงิ่ ท�ำให้ผวู้ จิ ยั ได้รบั แนวทางในการศึกษา ค้นคว้า ความรูแ้ ละประสบการณ์อย่างกว้างขวาง ตลอดจน ขอขอบพระคุณผูท้ รงคุณวุฒทิ กุ ท่านทีใ่ ห้คำ� แนะน�ำเพิม่ เติม กระทั่งดุษฎีนิพนธ์ส�ำเร็จอย่างสมบูรณ์ ท้ายสุดนี้ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณบิดามารดา ผู ้ เ ป็ น ที่ รั ก ผู ้ ใ ห้ ก� ำ ลั ง ใจ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ผู้บังคับบัญชาที่ให้โอกาสในการศึกษา สถาบันพระปกเกล้าฯ ผู้สนับสนุนทุนวิจัย คุณทวิติยา สินธุพงศ์ และเรือโทช�ำนาญ แตงทอง ทีเ่ ป็นก�ำลังใจและ ให้ความอนุเคราะห์อย่างต่อเนื่องด้วยดีเสมอมา สาระ และประโยชน์ที่พึงได้รับจากดุษฎีนิพนธ์เล่มนี้ ผู้วิจัย ขอมอบแด่บิดา มารดา คณาจารย์ และผู้มีพระคุณ ทุกท่าน

107


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

บรรณานุกรม

กรมสุขภาพจิต. (2547). การทบทวนองค์ความรู้และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องในเรื่องระบาดวิทยาของปัญหา สุขภาพจิตและโรคทางจิตเวช. กรุงเทพฯ: องค์การ สงเคราะห์ทหารผ่านศึก. กรมสุขภาพจิต. (2548). เด็กกรุงเทพฯก้าวร้าว-เรียนรู้ ทางเพศเร็ ว. สื บค้นเมื่อ 13 กรกฎาคม 2552 จาก กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เว็บไซต์: http://www.dmh.go.th กระทรวงพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ . (2553). สถิติตัวบ่งชี้สภาวะการณ์เด็กและเยาวชน (child watch). กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ. กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2542). การเลีย้ งดูเด็กก่อนวัยเรียน : 3-5 ขวบ. กรุงเทพฯ: โชติสุขการพิมพ์. ทิพย์วัลย์ สุทิน. (2539). การลดพฤติกรรมก้าวร้าวของ นักเรียนวัยรุ่นโดยรูปแบบการปรับพฤติกรรมด้วย ปัญญา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต ภาควิชาจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นุชวนา เหลืองอังกูร. (2550). การวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารและ การวิจยั โดยผูป้ ฏิบตั งิ าน. สืบค้นเมือ่ 15 พฤศจิกายน 2550 จาก http://eclassnet.kku.ac.th ผกา สัตยธรรม. (2552). สุขภาพจิตเด็ก. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ผ่องพรรณ เกิดพิทกั ษ์. (2542). การให้คำ� ปรึกษาครอบครัว ตามแนวมนุษย์นิยม. วารสารการแนะแนวและ จิตวิทยาการศึกษา, 1(2), 30-31. วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์. (2545 ). จิตวิทยาการปรับตัว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ. ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2549). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิต ทุกช่วงวัย. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สดใส คุม้ ทรัพย์อนันต์. (2554). ครอบครัวบ�ำบัดส�ำหรับ ผู้ปฏิบัติงานด้านครอบครัวและเด็ก. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

108

สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2545). การวัดและประเมิน แนวใหม่: เด็กปฐมวัย. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. สุชาติ ประสิทธิร์ ฐั สินธุ์ และกรรณิการ์ สุขเกษม. (2547). วิธกี ารวิจยั เชิงคุณภาพ: การวิจยั ปัญหาปัจจุบนั และ การวิจัยอนาคตกาล. กรุงเทพฯ: เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง. สุพร ประเสริฐราชกิจ. (2541). รวมประวัติสัญลักษณ์ จังหวัดและตราสถาบันต่างๆ ของไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น. อรพินทร์ ชูชม, อัจฉรา สุขารมณ์ และวิลาสลักษณ์ ชัววัลลี. (2542). การทดลองใช้และตรวจสอบ คุณภาพมาตรฐานวัดสติปัญญาทางอารมณ์ของ ซัทท์และคณะ. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง ทฤษฎีและการวัดอีคิว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ศรีนคริทรวิโรฒ. อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2544). จิตบ�ำบัดและการให้ ค�ำปรึกษาครอบครัว. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง. Aronson, E., Wilson, T. D., & Akert, R. M. (2007). Social psychology. 6th ed. Garden City, NY: Prentice-Hall. Bandura, A. (1973). Aggression: A social learning analysis. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall Banks, T., & Dabbs, J. M. (1996). Salivary testosterone and cortisol in delinquent and violent urban subculture. Journal of Social Psychology, 136(1), 49-46. Browne, K. D., & Hamilton-Giachritsis, C. (2005). The influence of violent media on children and adolescents: A public-health approach. Lancet, 36(5), 702-10. Buss, A. H. & Perry, M. (1992). The aggression questionnaire. Journal of Personality and Social Psychology, 63(3), 452-459. Retrieved November 14, 2007, from http://www. atkinson. yorku.ca/~psyctest/aggress.pdf


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Creswell, J. W. (2002). Educational research: Planning, conducting, and evaluating quantitative and qualitative approaches to research. Upper Saddle River, NJ: Merrill/ Pearson Education. Creswell, J. W. (2003). Research design: Quantitative, qualitative, and mixed methods approaches. 2nd ed. Thousand Oaks, CA: Sage. David, B., & Margaret, S. (2003). Education: Entertainment and learning in the home. Philadelphia: Open University Press. DePoy, E. Hartman, A., & Haslett, D. (1999). Critical action research: A model for social work knowing. Social Work, 44(6), 560-570. Eron, W. L. (1993). The effects of strategy games on measures of problem solving, mathematics anxiety, and logical reasoning on selected undergraduate elementary education majors. Dissertation Abstracts International, 94(7), 79-A. Haber, R. (2002). Virginia Satir: An integrated, Humanistic approach. Contemporary Family Therapy, 24(1), 23-34. Hilda, L. J. (2005). Early education curriculum: A child’s connection to the world. 3rd ed. Texas: Stratford Publishing Services. Hogan, M. J. (2005). Adolescents and media violence: Sis crucial issues for practitioners. Adolescent Clinics, 42(1), 409-14. Jarvinen, P. (2007). Action research is similar to design science. Quality & Quantity, 41(1), 37-54.

Kemmis, S. & McTaggart, R. (2000). Participatory action research In: N. K. Denzin, & Y. S. Lincoln (Eds.), Handbook of Qualitative Research. 2nd ed. Thousand Oaks: Sage. Mayer, J. D., Salovey, P., & Caruso, D. (1997). Competing models of emotional intelligence, (in Press) In R. J. Sternberg (Ed.). Handbook of human intelligence. New York: Cambridge. McKonald, C.D., D’Amico, L., & O’Laughlin, E. M. (2000, April). Relational aggression and victimization in middle-school students. Paper presented at the 2000 Biennial meeting of the conference on human development. Memphis, TN. McVey, V., & Mary, D. (1999). Violence on television: How teachers can help parent affect positive change nutrition, health and safety. Journal of Early Education and Family Review, 7(2), 36-45. O’ Halloran, M. S., & Weimer, A. K. (2005). Changing roles: Individual and family therapy In the treatment of anorexia nervosa. The Family Journal, 13(2), 181-187. Polkinghorne, D. E. (2005). Language and meaning: Data collection in qualitative research. Journal of Counseling Psychology, 52, 137-145. Satir, V. (1983). Conjoint family therapy. 3rd ed. Palo Alto, CA: Science & Behavior Books. Satir, V., & Baldwin, M. (1983). Satir step by step. Palo Alto, CA: Science and Behavior. Tremblay, R. E. (2002). Prevention of injury by early socialization of aggressive behavior. Injury Prevention, 8(4), 17-21.

109


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Tremblay, R. E. (2003). Why socialization fails. The case of chronic physical aggression. In B. B. Lahey, T. E. Moffitt, & A. Caspi (Eds.), Causes of conduct disorder and juvenile delinquency (pp. 182-224). New York: Guilford Press.

Tremblay, R. E., Nagin, D. S., Se´guin, J. R., Zoccolillo, M., Zelazo, P. D., Boivin, M., et al. (2004). Physical aggression during early childhood: Trajectories and predictors. Pediatrics, 114(1), 43-50.

Vijitra  Saiong her Ph.D. Candidate in Counseling Psychology in 2011 from the Doctor of Philosophy Program in Development Administration of Suan Sunandha Rajabhat University, Thailand. She also earned her Master of Education (Educational Psychology) in 2005 from Prince of Songkla University, Thailand and Bachelor of Social Studies in 2001 from Yala Rajabhat university, Thailand. Vijitr Saiong is currently the teacher and researcher of Yala Technical Colledge, Thailand. Her research interest covers counseling psychology, research methods in counseling psychology, social psychology and educational psychology.

110


วิ

วัฒนาการเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย The Evolution of Wireless Communication Technology ดร.ดัชกรณ์ ตันเจริญ รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์ รักษาการหัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ E-mail: datchakorntan@pim.ac.th

บทคัดย่อ

เทคโนโลยีการสือ่ สารไร้สายในปัจจุบนั มีบทบาทต่อการด�ำเนินชีวติ ของคนในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยได้มีการท�ำให้เป็นมาตรฐานเพื่อให้การสื่อสารไร้สายด�ำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายมีการพัฒนามาตั้งแต่ยุคที่ 1 ยุคที่ 2 และยุคที่ 3 ส�ำหรับการรับส่ง ข้อมูลบนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น GPRS, EDGE, WCDMA และ CDMA2000 รวมถึง เครือข่ายรับส่งข้อมูลไร้สาย เช่น Wi-Fi และ WiMAX เทคโนโลยีเหล่านีม้ กี ารพัฒนาทัง้ ด้านความเร็ว และระยะในการรับส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง WiMAX เป็นเทคโนโลยีที่มีความน่าสนใจเนื่องจาก มีความเร็วสูง และรองรับระยะทางการให้บริการได้ไกล ในบทความนี้จะกล่าวถึงวิวัฒนาการของ เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายในยุคต่างๆ รวมถึงการเปรียบเทียบเทคโนโลยีที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน และแนวโน้มของเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายในอนาคต ค�ำส�ำคัญ: การสื่อสารไร้สาย โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครือข่ายความเร็วสูง 3G ไวแม็กซ์

Abstract

Currently, wireless communication technology influences the life of people in information technology era. Such technology has been standardized for efficient usage. The wireless communication technology is developed from 1G, 2G and 3G based on data transmission on mobile phones such as GPRS, EDGE, WCDMA or

111


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

CDMA2000. In addition, wireless network standard for personal computers arises including Wi-Fi and WiMAX. This technology is developed in terms of speed and transmission distance. WiMAX is especially an interesting technology due to high speed and long distance support. In this article, the evolution of wireless communication technology is described. The comparison of current technology and the trend of wireless communication technology in the future will be discussed. Keywords: Wireless Communication, Mobile Phone, Broadband Network, 3G, WiMAX บทน�ำ ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีอิทธิพลต่อ การด�ำรงชีวิตประจ�ำวันของเรา โดยเฉพาะเทคโนโลยี การสื่อสาร ซึ่งจะเห็นได้จากการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ และการใช้บริการอินเทอร์เน็ต โดยการเชือ่ มต่อเครือข่าย ทั้งแบบใช้สาย (Wire) และแบบไร้สาย (Wireless) ซึ่ งเครื อข่ า ยไร้ ส ายมี ค วามคล่องตัวในการท�ำงานสูง สามารถใช้งานได้สะดวกทุกสถานที่ ท�ำให้เครือข่ายไร้สาย ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเติบโตอย่างรวดเร็ว เพือ่ ตอบสนองความต้องการของผูท้ ตี่ อ้ งการน�ำเครือข่าย ไร้สายมาใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เทคโนโลยีการสือ่ สารไร้สายมีการพัฒนาใช้ในระบบ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ตัง้ แต่ยคุ ที่ 1 (1G) จนถึงยุคที่ 3 (3G) ซึ่งเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายได้พัฒนาขึ้น อย่างต่อเนื่อง เช่น GPRS (General Packet Radio Service), EDGE (Enhanced Data rates for Global Evolution), WCDMA (Wideband Code Division Multiple Access) หรือ CDMA2000 (Varshney, 2000) นอกจากนัน้ ยังมีการรับส่งข้อมูลบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยเทคโนโลยีไร้สาย เช่น Infrared, Bluetooth,

112

Wi-Fi, WiMAX เทคโนโลยีเหล่านี้มีการพัฒนาทั้งด้าน ความเร็ว และระยะทางในการรับส่งข้อมูล WiMAX เป็น เทคโนโลยีหนึง่ ทีม่ คี วามน่าสนใจ เนือ่ งจากมีความเร็วสูง และรองรับระยะทางการให้บริการได้ไกล จึงมีแนวโน้ม ที่จะน�ำมาใช้งานส�ำหรับการสื่อสารไร้สายในอนาคต (อรรคพล ยุตตะกรณ์, 2554) บทความนี้ ก ล่ า วถึ ง วิ วั ฒ นาการของเทคโนโลยี การสื่อสารไร้สายในยุคต่างๆ รวมถึงการเปรียบเทียบ เทคโนโลยีทใี่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั และแนวโน้มของเทคโนโลยี การสื่อสารไร้สายในอนาคต รูปที่ 1 แสดงการพัฒนา ของเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น โดยเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายมีความเจริญก้าวหน้า อย่างรวดเร็ว สามารถรองรับการรับส่งข้อมูลได้ทคี่ วามเร็ว สูงขึ้นตามการพัฒนาของเทคโนโลยี ซึ่งในบทความนี้ จะอธิบายวิวัฒนาการของการสื่อสารไร้สายแต่ละยุค ตัง้ แต่ยคุ อนาล็อก ยุคดิจทิ ลั จนถึงยุคปัจจุบนั ทีส่ ามารถ รองรับการรับส่งข้อมูล เสียงและสื่อมัลติมีเดียได้ด้วย ความเร็วสูง ซึง่ เป็นสิง่ ส�ำคัญของการพัฒนาด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ที่มา: http://www.ecti-thailand.org/emagazine/views/99 รูปที่ 1: การพัฒนาของเทคโนโลยีการสื่อสารตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

วิวัฒนาการของการสื่อสารไร้สาย เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุคที่ 1 (1G) ยุ ค ที่ 1 เป็ น ยุ ค ที่ ใช้ ร ะบบอนาล็ อ ก (Analog) โดยใช้สัญญาณวิทยุในการส่งคลื่นเสียง สามารถใช้งาน ทางด้านเสียงได้อย่างเดียว เฉพาะการโทรออกและ รับสายเข้า แต่ไม่รองรับการส่งข้อมูลและข้อความ SMS (Short Message Service) โดยมีระบบแรกทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มาใช้งาน เรียกว่า ระบบ AMPS (Analog Advance Mobile Phone Service) ซึง่ จะส่งสัญญาณโดยใช้คลืน่ ความถี่ที่ 824-894 MHz และใช้หลักการแบ่งช่อง สัญญาณทางความถี่ หรือ FDMA (Frequency Division Multiple Access) เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ยุคที่ 2 (2G) ยุคที่ 2 มีการเปลี่ยนแปลงจากการส่งคลื่นวิทยุ แบบอนาล็อกมาเป็นการเข้ารหัสแบบดิจิทัล (Digital) ส่งทางคลืน่ ไมโครเวฟ (Microwave) ท�ำให้สามารถใช้งาน ส่งข้อมูลหรือ SMS ได้ นอกเหนือจากการใช้งานด้านเสียง ยังสามารถรับส่งข้อมูลต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น และก่อให้เกิดระบบ GSM (Global System

for Mobile Communication) โดยเน้นการเชื่อมโยง ติ ด ต่ อ กั น ได้ ทั่ ว โลกด้ ว ยบริ ก ารโรมมิ่ ง (Roaming) การเข้าถึงช่องสัญญาณใช้หลักการแบ่งช่องสัญญาณ ทางเวลา TDMA (Time Division Multiple Access) โดยใช้ความถีใ่ นการติดต่อกับสถานีฐานที่ 890-960 MHz มีการเข้ารหัสสัญญาณเสียงโดยการบีบอัดสัญญาณเสียง ในรูปแบบดิจิทัล เทคโนโลยี GPRS และ EGDE หลังยุคที่ 2 เริม่ มีการรองรับการรับส่งข้อมูลมัลติมเี ดีย ได้โดยใช้เทคโนโลยี GPRS เทคโนโลยีนสี้ ามารถส่งข้อมูล ได้ที่ความเร็วสูงสุด 115 Kbps แต่โดยปกติความเร็ว จะถูกจ�ำกัดอยู่ที่ประมาณ 40 Kbps และสามารถให้ บริการรับส่งข้อมูลแบบแพคเก็ต (Packet) ที่ความเร็ว 20-40 Kbps ส่วน EDGE เป็นเทคโนโลยีต่อยอดของ GPRS ที่มี ความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสุดที่ 384 Kbps แต่สามารถ ใช้งานได้จริงทีค่ วามเร็ว 80-100 Kbps เทคโนโลยี EDGE ใช้งานบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ TDMA ซึ่งเป็นระบบ ทีเ่ ครือ่ งโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ต่ละเครือ่ งจะถูกจัดสรรเวลา

113


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ให้ใช้ภายในช่องความถีเ่ ดียวกัน เทคโนโลยีนมี้ กี ารบีบอัด ข้อมูลในอัตราส่วน 3:1 จึงมีอัตราเร็วในการส่งข้อมูล มากกว่า GPRS ประมาณ 3 เท่า เทคโนโลยี GPRS และ EDGE เกิดขึ้นมาจากการ พัฒนาเครือข่าย 2G ของมาตรฐาน GSM และ CDMA เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เนื่องจากการท�ำงานแบบ TDMA ผูใ้ ห้บริการเครือข่ายไม่สามารถจัดการทรัพยากร เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้อย่างคล่องตัว เมื่อมีการ พัฒนาเทคโนโลยี GPRS และ EDGE ซึ่งเป็นการเสริม เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูลแบบแพ็กเกตสวิตชิ่ง (Packet Switching) ที่มีความยืดหยุ่นในการสื่อสารข้อมูลที่ ไม่ใช่เสียง (Non-Voice) แต่เทคโนโลยีทั้งสองประเภท เป็นการพัฒนาบนเครือข่ายแบบเดิมทีม่ กี ารท�ำงานแบบ TDMA ท�ำให้ผใู้ ห้บริการเครือข่ายไม่สามารถเปิดให้บริการ แบบ Non-Voice ได้อย่างเต็มรูปแบบ เนือ่ งจากท�ำให้เกิด การรบกวนต่อการสื่อสารแบบ Voice ในขณะเดียวกัน การสือ่ สารความเร็วสูง (Broadband Communication) ผ่านคู่สาย เช่น DSL (Digital Subscriber Line) ได้ เกิดขึ้นเป็นทางเลือกใหม่ส�ำหรับผู้ใช้บริการ จึงท�ำให้ GPRS และ EDGE มีการใช้บริการน้อยลง เนื่องจากมี ความสามารถในการรับส่งข้อมูลได้ช้า เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายยุคที่ 3 (3G) เทคโนโลยี 3G เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย รูปแบบใหม่ด้วยอัตราเร็วที่สูงขึ้น โดยการให้บริการ มัลติมเี ดียในระบบไร้สาย ด้วยช่องทางทีม่ คี วามจุในการ รับส่งข้อมูลมากขึ้น ท�ำให้มีประสิทธิภาพในการรับส่ง ข้อมูลและแอพพลิเคชั่น (Application) ต่างๆ รวมทั้ง บริการระบบเสียงดีขึ้น สามารถใช้บริการมัลติมีเดียได้ สมบูรณ์แบบขึ้น เช่น การให้บริการโทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ การรับส่งข้อความที่มีขนาดใหญ่ การประชุม ทางไกลผ่านหน้าจออุปกรณ์สื่อสาร การดาวน์โหลด ข้อมูล เพลง วีดีโอ การชมภาพยนตร์ และการแสดง แผนที่ตั้ง เป็นต้น ท�ำให้สามารถสื่อสารกันเป็นแบบ อินเตอร์แอคทีฟ (Interactive) คือ มีการแลกเปลี่ยน

114

ข้อมูลกันได้ตลอดเวลา ท�ำให้ชวี ติ ประจ�ำวันสะดวกสบาย คล่องตัวมากขึ้น โดยใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นเสมือน คอมพิวเตอร์พกพาส่วนบุคคล รวมทัง้ การใช้กล้องถ่ายรูป และบริการติดตามข้อมูลข่าวสารต่างๆ เช่น ข่าวเกาะติด สถานการณ์ ข่าวบันเทิง ข้อมูลการเงิน และข้อมูล การท่องเทีย่ ว เป็นต้น คุณสมบัตหิ ลักของ 3G คือ มีการ เชือ่ มต่อกับระบบเครือข่ายได้ตลอดเวลาทีผ่ ใู้ ช้เปิดเครือ่ ง โทรศัพท์ จึงไม่จ�ำเป็นต้องเชื่อมต่อสัญญาณเครือข่าย ทุกครั้งเพื่อใช้บริการรับส่งข้อมูล ค่าบริการจะเกิดขึ้น เมือ่ มีการเรียกใช้ขอ้ มูลผ่านเครือข่ายเท่านัน้ การสือ่ สาร ไร้สายระบบ 3G สามารถใช้กับอุปกรณ์การสื่อสารได้ หลากหลาย เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ PDA (Personal Digital Assistant) คอมพิวเตอร์พกพา (Notebook) หรือ Tablet PC เป็นต้น โดยเทคโนโลยี 3G ในปัจจุบันมีการพัฒนาขึ้นอยู่ 2 ค่าย คือ เทคโนโลยี CDMA2000 และเทคโนโลยี WCDMA ดังจะได้อธิบายดังต่อไปนี้ เทคโนโลยี CDMA2000 เทคโนโลยี CDMA2000 ที่สามารถใช้บริการใน ประเทศไทย คือ CDMA2000 1X ซึ่งเป็นเทคโนโลยี สือ่ สารไร้สายทีส่ ามารถรองรับการให้บริการทัง้ เสียงและ ข้อมูล โดยอาศัยแถบความถี่ขนาด 1.25 MHz และมี ประสิทธิภาพรองรับผูใ้ ช้บริการได้ มากกว่าระบบ CDMA One ในยุคที่ 2 ถึง 2 เท่า และมากกว่าเทคโนโลยี GSM หลายเท่า โดยเทคโนโลยี CDMA2000 1X สามารถ ให้บริการข้อมูลไร้สายด้วยความเร็วเฉลี่ย 50-90 Kbps และความเร็วสูงสุด 153 Kbps โดยมีผู้ผลิตที่มีชื่อเสียง ระดับโลกที่ผลิตและจ�ำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบนี้ ได้แก่ พานาโซนิค ซัมซุง ซันโย อีรคิ สัน โมโตโรล่า แอลจี เคียวเซร่า และโนเกีย เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีการพัฒนา เทคโนโลยี CDMA2000 1xEV-DO ซึง่ 1xEV-DO ย่อมา จาก First Evolution, Data Optimized เทคโนโลยีนี้ มีการส่งสัญญาณข้อมูลแบบแพคเก็ตที่มีประสิทธิภาพ และความเร็วสูง ต้นทุนต�ำ่ เหมาะส�ำหรับผูใ้ ช้ทวั่ ไป รวมถึง


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ผู้ใช้ที่ต้องการรับส่งข้อมูลความเร็วสูงผ่านโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ให้เชื่อมโยงเข้าสู่อินเทอร์เน็ตแบบไร้สายได้ ครอบคลุมพื้นที่กว้างที่มีประสิทธิภาพ พร้อมรูปแบบ การใช้งานทีง่ า่ ย โดยมีลกั ษณะการท�ำงานทีใ่ กล้เคียงกับ การใช้ ง านบนอิ น เทอร์ เ น็ ต แบบใช้ ส าย เทคโนโลยี CDMA2000 1xEV-DO จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถส่งข้อมูล ได้รวดเร็ว เทียบเท่ากับการส่งสัญญาณด้วยสายแบบ DSL และมีความเร็วที่จะรองรับการใช้งานที่ต้องการ ประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลความเร็วสูง เช่น ข้อมูลภาพ หรือวิดีโอ ด้วยเหตุนี้จึงเป็นสาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้การใช้ เทคโนโลยีนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยี WCDMA เทคโนโลยี WCDMA เป็นเทคโนโลยี CDMA ที่มี มาตรฐานตามข้อก�ำหนดของ ITU (International Telecommunication Union) และมีชอื่ เป็นทางการว่า IMT-2000 WCDMA เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารระบบ ไร้สายในยุคที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพในการรับส่งสัญญาณ เสียง ภาพ ข้อมูลและวิดโี อ ด้วยความเร็วสูงถึง 2 Mbps โดยสัญญาณขาเข้าจะถูกแปลงเป็นสัญญาณดิจทิ ลั และ ส่งไปเป็นรหัสผ่านแถบคลื่นสัญญาณกระจายไปสู่คลื่น ความถี่ต่างๆ ผู้ให้บริการเทคโนโลยีนี้จะใช้แถบคลื่น สัญญาณที่ 5MHz ในย่านความถี่แคบที่ใช้ช่องสัญญาณ ที่ 1.25 MHz ระบบ WCDMA เป็นเทคโนโลยี 3G ของระบบ GSM จึงท�ำให้เกิดโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ Dual Mode (GSM/ WCDMA) ขึ้นมา ส่วนระบบ CDMA2000 พัฒนามาจากระบบ CDMA One เทคโนโลยี HSDPA เทคโนโลยี HSDPA (High Speed Downlink Packet Access) เป็นส่วนขยายของเทคโนโลยี WCDMA

ที่มีความสามารถในการส่งข้อมูลที่ความเร็วสูงขึ้นถึง 1.8-14.4 Mbps เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการดาวน์โหลด ข้อมูลด้วยอัตรารับส่งข้อมูลสูงสุดและความจุระบบที่ เพิ่มขึ้น โดยมีพื้นที่ครอบคลุมมากขึ้นและศักยภาพของ เซลล์มีประสิทธิภาพสูง เทคโนโลยีนี้มีการสื่อสารข้อมูล ที่รวดเร็วกว่า EDGE ภายใต้เครือข่ายแบบ UMTS (Universal Mobile Telecommunications System) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งผ่านข้อมูลที่รวดเร็วและ เพิม่ ช่วงเวลาของข้อมูล เทคโนโลยี HSDPA ใช้ WCDMA เพือ่ สนับสนุนแอพพลิเคชัน่ บรอดแบนด์ได้เพิม่ ขึน้ มีการ ประวิงเวลา (Time Delay) ที่สั้นลง และมีเวลาโต้ตอบ ของเครือข่ายที่เร็วขึ้น เทคโนโลยี 3G LTE เทคโนโลยี 3G LTE (Long Term Evolution) เป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน 3GPP (3rd Generation Partner Ship Project) ที่มีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงบนระบบเครือข่ายเคลื่อนที่ และเป็นการต่อยอดของเทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี LTE ยังรวมไปถึง HSPA (High Speed Packet Access) ด้วย เพือ่ รองรับการสือ่ สารข้อมูลความเร็วสูงทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ปัจจัยหลักของ LTE คือ การเพิ่มความเร็วในการรับส่ง ข้อมูล การดาวน์โหลดและอัพโหลด และการลดค่า ความหน่วงเวลา (Latency) ท�ำให้ผู้ใช้บริการได้บริการ ที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รูปที่ 2 แสดงการพัฒนาเทคโนโลยีการสือ่ สารข้อมูล ไร้สายส�ำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคต่างๆ หัวข้อถัดไปจะกล่าวถึงเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย ที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตตามที่อยู่อาศัยและที่ท�ำงาน ทัง้ ภายในและภายนอกอาคาร ได้แก่ Wi-Fi และ WiMAX ที่ได้มีการพัฒนาขึ้นในปัจจุบัน

115


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ที่มา: http://wineberrywinter.wordpress.com รูปที่ 2: การพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลไร้สายสำ�หรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคต่างๆ

เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย Wi-Fi มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย Wi-Fi หรือ IEEE 802.11 อยู่ในกลุ่ม WLAN (Wireless Local Area Network) ได้รับการเผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2540 โดย IEEE (The Institute of Electronics and Electrical Engineers) ซึง่ มีขอ้ ก�ำหนดระบุไว้วา่ มีความสามารถในการรับส่งข้อมูล ที่ความเร็ว 1, 2, 5.5, 11 และ 54 Mbps มีกลไกของ การท�ำงานแบบ CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access/Collision Avoidance) และมีกลไกในการ เข้ารหัสข้อมูลก่อนแพร่กระจายสัญญาณไปบนอากาศ พร้อมทั้งมีการตรวจสอบผู้ใช้งานด้วย (อ�ำนาจ มีมงคล, 2553) ในยุ ค เริ่ ม แรกให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานที่ ค่อนข้างต�ำ่ และไม่มกี ารรับรองคุณภาพของการให้บริการ ทีเ่ รียกว่า QoS (Quality of Service) ซึง่ มีความส�ำคัญ ในสภาพแวดล้ อ มหลายประเภท IEEE จึ ง ได้ จั ด ตั้ ง คณะท�ำงานขึน้ มาหลายชุดเพือ่ ท�ำการพัฒนาและปรับปรุง มาตรฐานให้มศี กั ยภาพสูงขึน้ (Walke, 2006) มาตรฐาน IEEE 802.11 ที่น�ำมาใช้ในประเทศไทยมีดังนี้ IEEE 802.11a เป็นมาตรฐานที่ได้รับการเผยแพร่ เมื่อปี พ.ศ. 2542 ใช้เทคโนโลยี OFDM (Orthogonal Frequency Division Multiplexing) เพื่อพัฒนาให้

116

ผลิตภัณฑ์ไร้สายมีความสามารถในการรับส่งข้อมูลด้วย อัตราความเร็วสูงสุด 54 Mbps โดยใช้คลื่นวิทยุย่าน ความถี่ 5 GHz มาตรฐาน IEEE 802.11a มี รั ศ มี การใช้งานในระยะสั้น IEEE 802.11b เป็นมาตรฐานที่เผยแพร่ออกมา พร้อมกับมาตรฐาน IEEE 802.11a ซึ่งได้รับความนิยม ในการใช้งาน ผลิตภัณฑ์ทอี่ อกแบบมาให้รองรับมาตรฐาน IEEE 802.11b ใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า CCK (Complimentary Code Keying) ร่วมกับเทคโนโลยี DSSS (Direct Sequence Spread Spectrum) เพื่อให้ สามารถรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล ได้ ด ้ ว ยอั ต ราความเร็ ว สู ง สุ ด ที่ 11 Mbps โดยใช้คลืน่ สัญญาณวิทยุยา่ นความถี่ 2.4 GHz ซึ่งเป็นย่านความถี่ที่อนุญาตให้ใช้งานในแบบสาธารณะ ทางด้านวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม และการแพทย์ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ความถี่ย่านนี้ ประกอบด้วยผลิตภัณฑ์ที่ รองรับเทคโนโลยี Bluetooth โทรศัพท์ไร้สายและ เครื่องไมโครเวฟ จึงท�ำให้การใช้งานนั้นมีปัญหาในเรื่อง ของสัญญาณรบกวน ข้อดีของมาตรฐาน IEEE 802.11b คือ สามารถสนับสนุนการใช้งานบริเวณกว้างกว่ามาตรฐาน IEEE 802.11a โดยมาตรฐาน IEEE 802.11b เป็นทีร่ จู้ กั ในเครื่องหมายการค้า Wi-Fi ซึ่งก�ำหนดขึ้นโดย WECA


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

(Wireless Ethernet Compatibility Alliance) ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้รบั เครือ่ งหมาย Wi-Fi ได้ผา่ นการตรวจสอบ และรับรองว่าเป็นไปตามข้อก�ำหนดของมาตรฐาน IEEE 802.11b ซึ่งสามารถใช้งานร่วมกันกับผลิตภัณฑ์ของ ผู้ผลิตรายอื่นได้ IEEE 802.11g เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้งานกันมาก และเข้ามาทดแทนผลิตภัณฑ์ที่รองรับมาตรฐาน IEEE 802.11b เนือ่ งจากสนับสนุนอัตราความเร็วของการรับส่ง ข้อมูลในระดับ 54 Mbps โดยใช้เทคโนโลยี OFDM บนคลืน่ สัญญาณวิทยุยา่ นความถี่ 2.4 GHz พร้อมความ สามารถในการใช้งานร่วมกันกับมาตรฐาน IEEE 802.11b ได้ IEEE 802.11e เป็นมาตรฐานทีอ่ อกแบบมาส�ำหรับ การใช้งานทางด้านมัลติมเิ ดียอย่าง VoIP (Voice over IP) เพื่ อ ควบคุ ม และรั บ ประกั น คุ ณ ภาพของการใช้ ง าน โดยการปรับปรุง MAC Layer ให้มีคุณสมบัติในการ รับรองการใช้งานที่มีประสิทธิภาพ IEEE 802.11n เป็ น มาตรฐานของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เครือข่ายไร้สายทีจ่ ะเข้ามาแทนทีม่ าตรฐาน IEEE 802.11a IEEE 802.11b และ IEEE 802.11g ที่ใช้งานกันอยู่ ในปัจจุบัน โดยให้อัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูล ในระดับ 100 Mbps เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย WiMAX เทคโนโลยี WiMAX ย่ อ มาจาก Worldwide Interoperability for Microwave Access และมี ชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า IEEE 802.16 ได้รับการ อนุ มั ติ โ ดย IEEE เมื่ อ เดื อ นมกราคม พ.ศ. 2547 มาตรฐาน WiMAX จัดอยู่ในกลุ่ม WMAN (Wireless Metropolitan Area Network) ให้บริการการสื่อสาร ไร้ ส ายความเร็ ว สู ง BWA (Broadband Wireless Access) ในระดับเมือง ชานเมือง และชนบท (เศรษฐพงส์ มะลิสวุ รรณ, 2553) ซึง่ ความเร็วการสือ่ สารข้อมูลขึน้ กับ หลายปัจจัย เช่น วิธีการมอดดูเลชั่น (Modulation) ความกว้างของช่องสัญญาณ (Channel Bandwidth) ระดับความแรงของสัญญาณ และระดับของสัญญาณ

รบกวน เป็นต้น มาตรฐาน IEEE 802.16a มีความสามารถ รองรับการท�ำงานในลักษณะ NLoS (Non Line of Sight) คือ สามารถท�ำงานได้ดีแม้มีสิ่งกีดขวาง ท�ำให้ WiMAX ช่วยให้ผใู้ ช้งานสามารถขยายเครือข่ายเชือ่ มต่อ อินเทอร์เน็ตได้กว้างไกล โดยมีรศั มีทำ� การถึง 48 กิโลเมตร ซึ่งให้บริการได้ไกลกว่า Wi-Fi มาก นอกจากนี้ WiMAX ยังมีอตั ราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลสูงสุดถึง 75 Mbps ส�ำหรับมาตรฐานของอุปกรณ์ที่จะน�ำมาใช้งานร่วมกับ เทคโนโลยี IEEE 802.16 นี้ จะมีองค์กรซึง่ ท�ำหน้าทีด่ แู ล และรับผิดชอบอยู่ ได้แก่ WiMAX Forum ซึง่ ได้จดั ตัง้ ขึน้ โดยกลุม่ บริษทั ชัน้ น�ำทางด้านเทคโนโลยีการสือ่ สารในปี พ.ศ. 2544 องค์กร WiMAX Forum นีท้ ำ� หน้าทีป่ รับปรุง พัฒนา และก�ำหนดมาตรฐานของ IEEE 802.16 รวมทัง้ ท�ำหน้าทีต่ รวจสอบและออกใบรับรองให้แก่อปุ กรณ์ทไี่ ด้ มาตรฐาน (Etemad, 2008) โดยมีการพัฒนามาตรฐาน ดังนี้ IEEE 802.16 เป็นมาตรฐานที่มีรัศมีการท�ำงาน 1.6-4.8 กิโลเมตร และเป็นมาตรฐานเดียวที่สนับสนุน LoS (Line-of-Sight) โดยมีการใช้งานในช่วงความถี่ที่ สูงมาก คือ 10-66 GHz IEEE 802.16a เป็นมาตรฐานที่แก้ไขปรับปรุง จาก IEEE 802.16 เดิม โดยใช้งานที่ความถี่ 2-11 GHz ซึ่งคุณสมบัติเด่น คือ คุณสมบัติการรองรับการท�ำงาน แบบ NLoS นอกจากนี้ก็ยังช่วยให้สามารถขยายระบบ เครือข่ายเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูงได้ด้วย รัศมีท�ำการที่ไกล 48 กิโลเมตร และมีอัตราความเร็ว ในการรับส่งข้อมูลสูงสุด 75 Mbps ท�ำให้สามารถรองรับ การเชือ่ มต่อการใช้งานระบบเครือข่ายของบริษทั ทีใ่ ช้สาย ประเภท T1 และการเชื่อมต่อแบบ DSL ตามบ้านเรือน ที่พักอาศัยได้พร้อมกันโดยไม่เกิดปัญหาในการใช้งาน IEEE 802.16e เป็นมาตรฐานที่ออกแบบมาให้ สนับสนุนการใช้งานร่วมกับอุปกรณ์พกพาประเภทต่างๆ เช่น อุปกรณ์พีดีเอ คอมพิวเตอร์พกพา เป็นต้น โดยให้ รัศมีท�ำงานที่ 1.6-4.8 กิโลเมตร และมีระบบที่ช่วยให้ ผู้ใช้งานสามารถสื่อสารได้โดยให้คุณภาพในการสื่อสาร ทีด่ แี ละมีเสถียรภาพในการใช้งานขณะทีม่ กี ารเคลือ่ นทีอ่ ยู่

117


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

WiMAX Forum ได้ตงั้ เป้าหมายความเร็วการสือ่ สาร ข้อมูล คือ 40 Mbps ส�ำหรับการใช้งานเชื่อมต่อแบบ ไม่เคลือ่ นที่ (Fixed Access) และการเชือ่ มต่อแบบพกพา (Portable Access) ส่วนการเชื่อมต่อแบบเคลื่อนที่ (Mobile Access) จะมีความเร็วการสื่อสารข้อมูล 15 Mbps ที่ รั ศ มี ท� ำ การของสถานี ฐ านประมาณ 3 กิโลเมตร (ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ, 2549) การเปรียบเทียบเทคโนโลยี WiMAX, Wi-Fi และ 3G WiMAX อยูบ่ นพืน้ ฐานของเทคโนโลยี IEEE 802.16 ขณะที่ Wi-Fi อยูบ่ นพืน้ ฐานของเทคโนโลยี IEEE 802.11 ของ WLAN โดย Wi-Fi มีการใช้งานที่แพร่หลายใน สถานทีต่ า่ งๆ อุปกรณ์หาได้งา่ ย ท�ำให้ผใู้ ช้สามารถเข้าถึง อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบไร้สายได้สะดวก แต่ Wi-Fi มีเป้าหมายให้บริการในพืน้ ทีข่ นาดเล็ก หรือเป็น WLAN ทีม่ คี วามเร็วในการส่งข้อมูลสูง ส่วน WiMAX มีความเร็ว ในการส่งข้อมูลต�ำ่ กว่า แต่มพี นื้ ทีก่ ารให้บริการทีก่ ว้างกว่า ในระดับเมือง หรือเป็น WMAN ดังนัน้ การใช้งาน WiMAX และ Wi-Fi สามารถใช้งานเสริมกันได้ คือ เมื่อผู้ใช้ อยูภ่ ายในอาคารจะเข้าถึงอินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่าย Wi-Fi

ส่วนเมื่อออกไปภายนอกอาคารตามสถานที่ต่างๆ จะ เปลี่ยนมาใช้ WiMAX ส่วนเทคโนโลยี 3G เป็นเทคโนโลยีของโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ซึ่งสามารถให้บริการได้ทั้งเสียงและสื่อผสม ที่รองรับการรับส่งข้อมูลความเร็วสูงได้ มี 2 ค่าย คือ WCDMA และ CDMA2000 ส่วน WiMAX มีพื้นฐาน มาจากเครือข่ายข้อมูลที่ให้บริการความเร็วสูงทั้งแบบ อยูก่ บั ทีแ่ ละเคลือ่ นทีด่ ว้ ย ทัง้ สองเทคโนโลยีเป็นเทคโนโลยี คนละมาตรฐาน ทีใ่ ช้คลืน่ ความถีต่ า่ งกัน (Shalid, 2008) โดย WiMAX มีความเร็วมากกว่าเพราะมุ่งเน้นไปที่ด้าน การส่ ง ข้ อ มู ล สื่ อ ประสมด้ ว ยความเร็ ว สู ง เป็ น หลั ก สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ 3G มีความซับซ้อนกว่า WiMAX ดังนั้นด้านการลงทุนติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย WiMAX จะมีต้นทุนที่ต�่ำกว่า ส่วนความสามารถในการ สื่อสารระหว่างการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง 3G จะมี ความสามารถมากกว่า เนื่องจากมีการพัฒนามาจาก เครือข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ซึง่ มุง่ เน้นการสือ่ สารทางเสียง และความสามารถในการเคลือ่ นที่ แต่ละเทคโนโลยีจงึ มี คุณสมบัตทิ แี่ ตกต่างกันหลายด้าน โดยตารางที่ 1 จะแสดง การเปรี ย บเที ย บคุ ณ สมบั ติ ข องเทคโนโลยี ร ะหว่ า ง WiMAX, 3G และ WLAN

ตารางที่ 1: การเปรียบเทียบคุณสมบัติของเทคโนโลยีระหว่าง WiMAX, 3G และ WLAN เทคโนโลยี คุณสมบัติ ความเร็ว Downlink (Mbps) ความเร็ว Uplink (Mbps) แบนวิดท์ (MHz) การเข้าถึง (Access) รูปแบบการส่งสัญญาณ (Duplex) การเคลื่อนที่ที่รองรับ (Mobility) พื้นที่ที่คลอบคลุม (Coverage) มาตรฐาน (Standard) ที่มา : http://www.wimaxforum.org

118

WiMAX 802.16 14 5.3 10 OFDMA TDD ปานกลาง ปานกลาง IEEE 802.16

3G HSPA 3.6 1.5 10 TDMA, CDMA FDD สูง ใหญ่ 3GPP

WLAN 802.11 54 54 20 CSMA/CA TDD ต�่ำ เล็ก IEEE 802.11


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

บทสรุป บทความนี้ได้กล่าวถึงวิวัฒนาการของเทคโนโลยี การสื่อสารไร้สายตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงเทคโนโลยีที่ใช้อยู่ ในปัจจุบนั โดยสรุปข้อมูลพืน้ ฐานทีเ่ ป็นประโยชน์สำ� หรับ การศึ ก ษาและพั ฒ นาเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารไร้ ส าย ในอนาคต รวมถึงมาตรฐานเทคโนโลยีการสือ่ สารไร้สาย ที่ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องในยุคต่างๆ จนมาถึง เทคโนโลยีการสื่อสาร 3G นอกจากนั้นยังได้อธิบายถึง มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย Wi-Fi และเครือข่ายไร้สาย ความเร็ ว สู ง ที่ มี แ นวโน้ ม จะน� ำ มาใช้ ใ นประเทศไทย อย่างเช่น WiMAX หรือ IEEE 802.16 ซึ่งมีข้อดีอยู่ หลายประการ ซึง่ เป็นเครือข่ายข้อมูลความเร็วสูง สามารถ ให้บริการด้านบรอดแบนด์ไร้สายได้ไกล แต่ไม่สนับสนุน การใช้งานกับระบบการสือ่ สารเคลือ่ นที่ และยังด้อยกว่า 3G ซึ่งมีความสามารถในการรับส่งสัญญาณในขณะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงได้อย่างมีเสถียรภาพ ทั้งสอง เทคโนโลยีมขี อ้ ดีตา่ งกัน จึงมีแนวโน้มในการน�ำเทคโนโลยี 3G และ WiMAX มาผสมผสานกันเป็นเทคโนโลยี 4G โดยมี 2 แนวทางด้วยกัน คือ เทคโนโลยี WiMAX ต้องพัฒนาความสามารถในการเคลื่อนที่ของเครื่องรับ สัญญาณ และเทคโนโลยี 3G LTE ซึ่งได้รับการพัฒนา มาจากระบบ 3G อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยได้มีการ ศึกษาทีจ่ ะน�ำเทคโนโลยีดงั กล่าวมาใช้รว่ มกัน เพือ่ ให้ผใู้ ช้ สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้อย่างทัว่ ถึง ทัง้ ในเขตเมือง และชนบททั่วประเทศในอนาคต

บรรณานุกรม

เศรษฐพงส์ มะลิสุวรรณ. (2553). BWA คือ อะไร. สืบค้นเมื่อ 9 มกราคม 2554, จาก Communication Center on the Internet เว็บไซต์: http:// www.torakom.com ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ และศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ. (2549). รายงานการศึกษาแนวทางการ จัดสรรคลืน่ ความถีส่ ำ� หรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี WiMAX ในประเทศไทย. สิงหาคม 2549.

สุภาวดี อร่ามวิทย์. (2553). การสื่อสารอนาคตในยุค แถบความถี่กว้าง. สืบค้นเมื่อ 6 มิถุนายน 2554, จากสมาคมวิชาการไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคมและสารสนเทศ (ECTI) เว็ บ ไซต์ : http://www.ecti-thailand.org/emagazine/ views/99 อ�ำนาจ มีมงคล และอรรณพ ขันธิกลุ . (2553). ออกแบบ และติดตั้งระบบ Wireless LAN. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: ไอดีซี พรีเมียร์. อรรคพล ยุตตะกรณ์. (2554). WiMAX ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 9 มกราคม 2554, จาก Wimax in Thailand เว็บไซต์: http://www.wimax.in.th Etemad, K. (2008). Overview of Mobile WiMAX Technology and Evolution. IEEE Communications Magazine, 46(10), 31-40. Shalid, M., Shoulian, T., & Shan, A. (2008). Mobile Broadband: Comparison of Mobile WiMAX and Cellular 3G/3G+ Technologies. Information Technology Journal, Asian Network for Scientific Information. Varshney, U. (2000). Recent Advance in Wireless Networking. IEEE Computer Magazine, 33(6), 100-103. Walke, B., Mangold, S., & Berlemann, L. (2006). IEEE 802 Wireless Systems. John Wiley & Sons. Wimaxforum. (2010). Wimaxforum. Retrieved January 11, 2011, Website: http://www. wimaxforum.org Wineberrywinter. (2010) Internet & Communication Technology (ITM 640). Retrieved April 19, 2011, from Wineberrywinter’s Blog Website: http://wineberrywinter.wordpress. com

119


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Dr.Datchakorn Tancharoen received the B.Eng. in Electrical Engineering from Chulalongkorn University. He continued the Master Degree majoring in Communication Engineering with the scholarship of Thai Graduated Institute Science and Technology (TGIST) from National Science and Technology Development Agency (NSTDA). After he graduated, he got the scholarship from Toshiba Foundation to join the Toshiba CMS as a research engineer in Yokohama, Japan. He was also awarded the Japanese Government Scholarship to study in the University of Tokyo and received the Ph.D. degree in Information and Communication Engineering, Department of Electronic Engineering in 2007. Currently, he works as the Chairperson for Department of Information Technology and Associate Dean for Administration and International Relations, Faculty of Engineering and Technology, Panyapiwat Institute of Management. His current research is about Multimedia Processing and Communication, Web Technology, Social Networking and Cultural Modeling.

120


โยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของภูมิภาค อาเซียน: การปรับตัวของยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทย เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ป Õ  พ.ศ. 2558 ASEAN ICT Policy: Higher Education Strategic Enhancing toward AEC 2015 สุดาสวรรค์ งามมงคลวงศ์ หัวหน้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก E-mail: lukmoonoy_ping@hotmail.com

บทคัดย่อ

บทความฉบับนีเ้ ป็นการน�ำเสนอเกีย่ วกับนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร รวมถึงระบบ การศึกษาในระดับอุดมศึกษาของภูมิภาคอาเซียน ซึ่งเน้นไปที่ประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย นอกจากนี้มีการน�ำเสนอยุทธศาสตร์การปรับตัวของอุดมศึกษาไทยเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งประกอบด้วยยุทธ์ศาสตร์หลักๆ 3 ด้าน ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีด ความสามารถของบัณฑิตให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาความ เข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษาเพือ่ การพัฒนาประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมบทบาท ของอุดมศึกษาไทยในประชาคมอาเซียน และในส่วนท้ายเป็นการน�ำเสนอการปรับตัวของมหาวิทยาลัย ในประเทศเพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่ประชาคม อาเซียน ค�ำส�ำคัญ: ประชาคมอาเซียน นโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร อุดมศึกษาไทย

Abstract

This article is about the presentation of information and communication technology policy in relation to higher education system in the ASEAN region, with the focus on policy and systems implemented in Thailand, Singapore and Malaysia. Thailand also presented a strategy of its own higher education policy that could be adapted by the ASEAN community in 2015. This strategy has 3 main areas. The first strategy is to increase the capabilities of graduates with international quality standards. The second strategy is to strengthen the institutions of higher education within

121


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

the ASEAN community. The third strategy is to strengthen the role of higher education of Thailand in the ASEAN community. The end result is the presentation of preparation processes where Thai universities could be adapted to meet directions and requirements of the ASEAN community. Keywords: ASEAN Community, Higher Education, ICT Policy บทน�ำ ในปัจจุบนั ประเทศต่างๆ ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนา ประเทศในด้านต่างๆ จึงได้มีการก�ำหนดนโยบายการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขึ้นเพื่อเป็นกรอบ ส�ำหรับการด�ำเนินงานในด้านต่างๆ ซึ่งกรอบนโยบาย เหล่านีเ้ ปรียบเสมือนแนวทางให้แต่ละประเทศหรือแต่ละ องค์กรก้าวตามอย่างมีระบบ ส�ำหรับภาคการศึกษานั้น นับว่าเป็นอีกภาคส่วนหนึง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญต่อการพัฒนา ประเทศในอนาคต การพัฒนาทุนมนุษย์ที่มีศักยภาพ นับเป็นหน้าที่หลักของระบบการศึกษาของทุกประเทศ รวมถึงประเทศไทยโดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2558 ภูมิภาค อาเซียน ซึง่ ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 10 ประเทศ จะรวมตัวกลายเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งการรวมตัว ครั้งนี้ก็ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ รวมถึง ด้านการศึกษาก่อให้มกี ารเคลือ่ นย้ายก�ำลังคน ทัง้ นักศึกษา บุคลากร อาจารย์ หรือแม้กระทั่งหน่วยกิตในการเรียน การสอน เพื่อเป็นการรองรับประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 แต่ละประเทศได้มกี ารปรับตัวในหลายๆ ด้าน ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง วัฒนธรรม รวมถึ ง ด้ า นการศึ ก ษา โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในระดั บ อุดมศึกษาถือว่าเป็นก�ำลังคนส�ำคัญที่พร้อมจะออกไปสู่ การพัฒนาประเทศอย่างเต็มตัว นโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของ ภูมิภาคอาเซียน ประเทศไทย ส�ำหรับประเทศไทยได้ประกาศใช้นโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศฉบับแรก ซึ่งเป็นนโยบายที่คณะกรรรมการ

122

เทคโนโลยี ส ารสนเทศแห่ ง ชาติ ไ ด้ จั ด ท� ำ ขึ้ น เพื่ อ เป็ น แนวทางในการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานส�ำหรับเทคโนโลยี สารสนเทศของประเทศไทย โดยได้เริ่มแผนเทคโนโลยี สารสนเทศ หรือ IT 2000 ใน ปี พ.ศ. 2539 สิน้ สุดในปี พ.ศ. 2543 ซึ่งแผนฉบับนี้ครอบคลุมระยะเวลา 5 ปี โดยภารกิ จ หลั ก ของแผนที่ ส� ำ คั ญ 3 ประการ คื อ 1) การลงทุ น ในโครงสร้ า งสารสนเทศ เพื่ อ จุ ด พลั ง ความสามารถของมนุษย์และพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน 2) การลงทุนในด้านการศึกษาทีด่ ขี องพลเมือง และบุคลากรด้านสารสนเทศ 3) การพัฒนาสารสนเทศ และปรับปรุงบทบาทภาครัฐ เพือ่ บริการทีด่ ขี นึ้ และสร้าง รากฐานอุ ต สาหกรรมสารสนเทศที่ แข็ ง แกร่ ง ต่ อ มา เป็นแผน IT 2010 ซึง่ แผนเทคโนโลยีสารเทศ 2010 นัน้ เป็นแผนระยะยาวครอบคลุมเป็นระยะ 10 ปี ดังนั้น รัฐบาลจึงมี การประกาศแผนระยะสั้นขึ้นมา 2 แผน ได้แก่ แผนเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารฉบับที่ 1 (ICT Master Plan I) และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อ สารฉบั บ ที่ 2 (ICT Master Plan II) ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยก�ำลังจะสิ้นสุดการใช้แผน ICT ฉบับที่ 2 ลงในปี พ.ศ. 2556 ส�ำหรับแผนเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารฉบับล่าสุดซึง่ ผ่านความเห็นชอบ ของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 นั้นเป็น แผนที่ใช้ชื่อว่า แผน ICT 2020 หรือ Smart Thailand ระยะเวลาของแผนครอบคลุมตั้งแต่ปี (2554-2563) ซึ่งแผนเทคโนโลยีสารสนและการสื่อสารของประเทศ ตั้ ง แต่ เริ่ ม ต้ น ถึ ง ปั จ จุ บั น สามารถสรุ ป ได้ ดั ง รู ป ที่ 1 (กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร, 2554)


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ทีม่ า: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร, 2554 รูปที่ 1: ระยะการใช้ แ ผนเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสารของประเทศไทย

ส� ำ หรั บ แผนแม่ บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสือ่ สารเพือ่ การศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556 ถูกน�ำมาใช้เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการ พัฒนาระบบ ICT ให้มปี ระสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิดการใช้ สารสนเทศที่ ส ามารถบรรลุ ภ ารกิ จ ด้ ว ยความพร้ อ ม รองรับการบริหารจัดการ การเรียนการสอนประสาน ความร่วมมือกับองค์กรต่างๆ เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง และการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน การพัฒนาระบบ ICT มีเป้าหมายส�ำคัญคือ การบูรณาการ การเชือ่ มโยงข้อมูล สารสนเทศด้านต่างๆ ให้สามารถใช้ร่วมกันตามบริบท ของแต่ละฝ่ายได้ ตามหลัก 3Ns ดังรูปที่ 2 (ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, ม.ป.ป.)

ที่มา: แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร เพือ่ การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556 รูปที่ 2: เป้าหมายการพัฒนา ICT เพื่อการศึกษา

- เครือข่ายเพื่อการศึกษาแห่งชาติ (NEdNet : National Education Network) - ระบบสารสนเทศเพือ่ การศึกษาแห่งชาติ (NEIS : National Education Information System) - ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ แ ห่ ง ชาติ (NLC : National Learning Center) โดยแผนเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่อการศึกษามีวิสัยทัศน์ คือ การศึกษาแห่งอนาคต เป็นจริงได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Enabling Future Education with ICT) ซึ่งมีการ ก�ำหนดยุทธศาสตร์ไว้ทงั้ หมด 4 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย (ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, ม.ป.ป). ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างก�ำลังคนให้มีศักยภาพในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่างสร้างสรรค์ มีธรรมาภิบาล คุณธรรม จริยธรรม วิจารณญาณ และรู้เท่าทัน รวมทั้ ง เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการ แข่งขันของประเทศไทย ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสนับสนุนการเรียนการสอนด้วย การใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สาร เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การศึกษาของประเทศไทย ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพือ่ สนับสนุนการศึกษาของประเทศไทย ยุทธศาสตร์ที่ 4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ และ การบริการด้านการศึกษาซึ่งเอื้อต่อ การสร้างธรรมาภิบาลของสังคม จากยุทธศาสตร์ทั้ง 4 ประการของนโยบายด้าน เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของไทยนั้ น เน้นหลักในการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร เข้ามาใช้กับทุกภาคส่วนของการศึกษา ทั้งสนับสนุน

123


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

การเรียนการสอน การพัฒนาโครงสร้าง รวมถึงการน�ำมา ประยุกต์ใช้กบั การบริหารจัดการด้านการศึกษา โดยเน้น หลักการบริหารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี ธรรมาภิบาล ส�ำหรับประเทศถัดมาที่จะกล่าวถึงคือ ประเทศ สิงคโปร์ เนื่องจาก สิงคโปร์นับว่าเป็นประเทศที่มีความ โดดเด่นเรื่องของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในด้าน ต่างๆ ซึ่งประเด็นที่ส�ำคัญที่ท�ำให้ประเทศมีการพัฒนา เทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง คือการวางแผนนโยบายที่มี ความชัดเจน เป็นไปได้ มีความต่อเนื่อง ประเทศสิงคโปร์ ส�ำหรับประเทศสิงคโปร์เริ่มมีการใช้แผนนโยบาย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ การศึกษา หรือ IT Master Plan 1 for Education (MP1: 1997-2002) โดยมีประเด็นส�ำคัญ 4 ด้าน คือ 1) หลักสูตร และการประเมินค่า 2) เนื้อหาและแหล่งการเรียนรู้ 3) โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 4) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และตามด้วยแผน Master Plan 2 for Education (MP2: 2003-2008) ซึ่งมี เนื้อหาหลักอยู่ทั้งหมด 5 ประเด็น ได้แก่ 1) การใช้ ICT ในหลักสูตรและการประเมินค่า 2) พัฒนาผู้เชี่ยวชาญ ในการสอน 3) การเสริมสร้างความสามารถให้กบั โรงเรียน 4) การวิจัยและพัฒนา และ 5) โครงสร้างพื้นฐาน และการสนับสนุน และในปัจจุบันประเทศสิงคโปร์ได้มี การน�ำแผนนโยบาย MP3 หรือ IT Master Plan 3 for Education (MP3: 2009-2014) ซึ่งเป็นการสาน ความต่อเนื่องจากแผนแม่บทในฉบับที่ 1 และ 2 ให้มี การพัฒนาอย่างต่อเนื่องเช่น การใช้ ICT ในหลักสูตร และการประเมินค่า การสร้างความสามารถของผู้สอน การเผยแพร่ขอ้ มูลทีด่ แี ละความส�ำเร็จทางด้านนวัตกรรม ร่วมกัน การยกระดับและเพิ่มโครงสร้างพื้นฐานให้ดีขึ้น โดยมีการค้นหาวิธีการที่จะท�ำท�ำให้บรรลุวัตถุประสงค์ หลัก 4 ประการในการปรับปรุงผลลัพธ์ของการเรียน ซึ่งประกอบด้วย (Park, 2011)

124

ประการที่ 1: strengthen competencies for selfdirected learning (เสริมสร้างความ แข็งแกร่งของการเรียนรู้ด้วยตนเอง) ประการที่ 2: tailor learning experiences according to the way that each student learns best (การฝึกประสบการณ์การเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับแต่ละคนอย่างดีที่สุด) ประการที่ 3: encourage students to go deeper and advance their learning (การ กระตุ ้ น ให้ นั ก เรี ย นรู ้ ลึ ก และมี ค วาม เชี่ยวชาญในการเรียน) ประการที่ 4: learn anywhere (การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ ทุกที่) จะเห็ น ได้ ว ่ า การวางแผนนโยบายที่ ชั ด เจนและ มีความต่อเนือ่ งของประเทศสิงคโปร์ทำ� ให้เกิดการพัฒนา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเทศมาเลเซีย จากนโยบายของแผนเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สารทีโ่ ดดเด่นของประเทศภายใต้ชอื่ Malaysia’s Vision 2020 กระทรวงศึกษาธิการของประเทศมาเลเซีย เห็นว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ICT เป็นการปฏิวัติหรือการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ การจัด เตรี ย มหลั ก สู ต ร การปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก ารสอนให้ ดี ขึ้ น ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นของการบริหารจัดการโครงสร้าง ในโรงเรียน ความเชื่อมโยงที่แข็งแกร่งระหว่างโรงเรียน และสังคมและผูม้ อี ำ� นาจของผูเ้ รียนส�ำหรับแนวความคิด ของ ICT ในภาคการศึกษานัน้ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ศึกษาธิการ ได้มีนโยบายส�ำคัญหลักอยู่ 3 ประเด็น ประกอบด้วย (UNESCO Bangkok, n.d.) 1. ICT ส�ำหรับนักเรียนทุกคน หมายถึง การน�ำ ICT มาใช้ทำ� ให้ลดช่องว่างทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างโรงเรียน 2. หน้าที่และภารกิจของ ICT ในการศึกษา คือ เครื่องมือส�ำหรับการเรียนและการสอน 3. ก ารใช้ ICT ในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลของระบบการบริหารจัดการของโรงเรียน


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

รัฐบาลมีความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงโรงเรียน ทุกแห่งให้เป็น Smart School ได้ภายในปี 2010 ซึ่งเทคโนโลยีมัลติมีเดียเป็นสิ่งที่เข้ามามีบทบาทส�ำหรับ การสร้างโครงสร้าง เพื่อใช้ส�ำหรับการเรียนการสอน แบบใหม่ และการบริหารจัดการกระบวนการ การติดต่อ ประสานงานกับประชาชนซึง่ อยูภ่ ายนอก และเครือข่าย ทางการศึกษาที่จะเชื่อมโยงกับทุกๆ โรงเรียนส�ำหรับ Smart Schools มีสามส่วนที่น�ำมา ใช้เป็นโครงการ น�ำร่อง คือ 1) วัตถุดิบทางการเรียน การสอน 2) ระบบ การประเมินผลทีถ่ กู ต้องแม่นย�ำ และ 3) ระบบการบริการ จัดการที่ผสมผสานสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและ สารสนเทศให้เกิดประโยชน์ในการเพิ่มมูลค่าการผลิต “Smart Schools” มีองค์ประกอบส�ำคัญ 5 ประเด็น (UNESCO Bangkok, n.d.) คือ 1. การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานทาง ICT ให้ เพียงพอ รวมถึงอุปกรณ์และเครือ่ งมือต่างๆ ทางการศึกษา ทั้งหมด 2. ก ารเอาหลั ก สู ต รและการประเมิ น ที่ ล ้ า สมั ย ทางด้าน ICT ออกจากระบบ และการให้ความส�ำคัญ ของการผสมผสาน ICT กับการเรียนการสอน 3. การยกระดับของความรูด้ า้ น ICT และทักษะของ นักเรียนและอาจารย์ 4. การเพิม่ ขึน้ ของการใช้ ICT ในการบริหารจัดการ ทางการศึกษา 5. การยกระดับของการดูแลรักษาและการบริหาร จั ด การอุ ป กรณ์ ท างด้ า น ICT ในทุ ก สถานที่ ตั้ ง ของ สถานศึกษา ประชาคมอาเซียน อาเซียน มีสมาชิกผูก้ อ่ ตัง้ ครัง้ แรกจ�ำนวน 5 ประเทศ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และมีการเพิ่มสมาชิกต่อมาเรื่อยๆ ได้แก่ ประเทศ บรูไนดารุสซาลาม เวียดนาม ลาว พม่า และกัมพูชาเป็น ประเทศสุดท้าย ในปี พ.ศ. 2542 โดยวัตถุประสงค์ ของการเป็นประชาคมอาเซียน ได้แก่ 1) การส่งเสริม

ความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก 2) ธ�ำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง 3) เสริมสร้างเศรษฐกิจและ ความอยู่ดีกินดีของประชาชน 4) การพัฒนาสังคมและ วัฒนธรรม และ 5) การส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่างประเทศต่างๆ ประชาคมอาเซี ย นประกอบด้ ว ยความร่ ว มมื อ 3 ส่ ว นหลั ก ได้ แ ก่ ประชาคมการเมื อ งความมั่ ง คง อาเซียน (ASEAN Security Community: ASC) ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community: AEC) และประชาคมสังคมวัฒนธรรม อาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) ดังรูปที่ 3

ที่มา : ส�ำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ, 2553 รูปที่ 3: เสาหลักส�ำคัญของประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558

โดยประชาคมดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. ประชาคมการเมืองความมัง่ คงอาเซียน (ASEAN Security Community-ASC) เน้นการเสริมสร้าง อาเซียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ คือ 1) ประชาคมทีม่ ี กฎเกณฑ์ ค่านิยม และบรรทัดฐานร่วมกัน 2) ภูมิภาค ทีเ่ ป็นปึกแผ่น สงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษา ความมัน่ คงรอบด้าน และการมีพลวัตและปฏิสมั พันธ์กบั โลกภายนอก 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) เน้นการบูรณาการด้าน

125


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

เศรษฐกิจเป็นหลัก ประกอบด้วย 1) การเป็นตลาดและ ฐานการผลิตร่วมที่มีการเคลื่อนย้ายสินค้า การบริการ การลงทุน เงินทุนและแรงงานฝีมอื อย่างเสรี 2) เสริมสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน ทัง้ ในด้านนโยบายการแข่งขัน นโยบายภาษี การคุม้ ครอง ผู้บริโภค การจัดการด้านทรัพย์สินทางปัญญา พาณิชย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และการพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน 3) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาคด้วยการพัฒนา กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม (SMEs) 4) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลกเพือ่ ความแข็งแกร่ง และแข่งขันได้กับภูมิภาคอื่น 3. ประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio–Cultural Community-ASCC) เน้นให้ ประชาชนอาเซียนมีสภาพความเป็นอยูแ่ ละคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ซึง่ ประกอบด้วยความร่วมมือ 6 ด้าน คือ 1) การพัฒนา มนุษย์ 2) การคุ้มครองและสวัสดิการสังคมด้วยการ ลดความยากจน ส่งเสริมการคุม้ ครองและสวัสดิการสังคม สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย 3) สิทธิและความยุติธรรม ทางสังคม 4) ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม 5) การสร้าง อัตลักษณ์อาเซียน และ 6) การลดช่องว่างทางการพัฒนา (ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. ส�ำนักความสัมพันธ์ ต่างประเทศ, 2553) กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) กฎบัตรอาเซียนเป็นประเด็นทีม่ คี วามส�ำคัญกับการ รวมตัวของประเทศสมาชิก หรือจะเรียกอีกอย่างว่า กฎบัตรสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส�ำหรับกฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนกับรัฐธรรมนูญ ที่คอยก�ำกับดูแลกลุ่มประเทศสมาชิก โดยอาเซียนต้อง ส่งเสริมอัตลักษณ์รว่ มกันของคนและความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ในหมู่ประชาชนของตน เพื่อให้บรรลุชะตา เป้าหมาย และคุณค่าร่วมกันของอาเซียน โดยมีคำ� ขวัญของอาเซียน คือ “วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว” (The ASEAN motto shall be: “One Vision, One Identity, One Community”) (ส�ำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ. ส�ำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ, 2553)

126

ระบบอุดมศึกษาของประเทศในภูมิภาคอาเซียน ส�ำหรับประเทศในภูมิภาคอาเซียนนั้นแม้ว่าระบบ การศึกษาของแต่ละประเทศจะไม่เหมือนกันตามลักษณะ ภูมิหลังและวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ แต่ก็ยังมี ความเหมือนในเรื่องหลักสูตรที่มีหลากหลาย การเปิด หลักสูตรที่เป็นที่ต้องการของผู้เรียนเป็นหลัก ส�ำหรับ ระบบอุดมศึกษาทีน่ า่ สนใจ และถือว่าประสบความส�ำเร็จ ของภูมภิ าคอาเซียน ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์และประเทศ มาเลเซีย ซึ่งในบทความนี้จะเป็นการน�ำเสนอระบบ อุดมศึกษาของ 3 ประเทศ ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย ซึง่ จะท�ำให้ผอู้ า่ นได้มองเห็นประเด็น ทีเ่ ป็นความเหมือนและความแตกต่างของแต่ละประเทศ ประเทศสิงคโปร์ ระบบอุ ด มศึ ก ษามี แ นวคิ ด มาจาก IT 2000 Singapore’s Vision of an Intelligent Island ซึ่งมี เป้าหมายเพือ่ จะเป็นมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำของโลก มุง่ ความ เป็นนานาชาติ ให้ความส�ำคัญกับงานวิจัยและพัฒนา ในภาคของธุรกิจอุตสาหกรรม เน้นการพัฒนาคุณลักษณะ ของบัณฑิตที่เป็นที่ต้องการของผู้ประกอบการ มีการ เรียนรูต้ ลอดชีวติ ยกตัวอย่างเช่น มหาวิทยาลัยแห่งชาติ สิงคโปร์มีแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยเป็น ศูนย์กลางการศึกษา ทีม่ คี ณ ุ ภาพมุง่ เน้นการพัฒนาบัณฑิต ให้มีศักยภาพ เป็นผู้น�ำ มีความคิดสร้างสรรค์ เช่น โครงการ The Talent Development Programme ให้ความส�ำคัญกับการศึกษาและการฝึกอบรมพัฒนา ทักษะแรงงานของผู้ที่มีงานท�ำอยู่แล้ว ท�ำให้ประชาชน ของประเทศได้มีการพัฒนาความรู้ความสามารถอย่าง ต่อเนื่อง (วราภรณ์ บวรศิริ, ม.ป.ป.) ประเทศมาเลเซีย ในประเทศมาเลเซียนัน้ การปฏิรปู อุดมศึกษามีพนื้ ฐาน มาจาก Vision 2020 และจากพระราชบัญญัติต่างๆ ของประเทศที่ประกาศใช้อย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงหลายอย่าง เช่น สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ มีรูปแบบเป็นองค์กรตามกฎหมาย แต่มีความคล่องตัว ในการจัดหารายได้ของตนเอง สามารถก่อตัง้ บริษทั จ�ำกัด เพื่อด�ำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สิน ท�ำให้มีก�ำไรและเป็น


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ผลประโยชน์แก่มหาวิทยาลัยอีกด้วย ส�ำหรับมหาวิทยาลัย การศึกษาเอกชนของประเทศนั้น ได้มีการเปิดการสอน ทีห่ ลากหลายมีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ โดยธุรกิจการศึกษาเป็นจุดมุง่ หมายของรัฐบาลมาเลเซีย ทีจ่ ะท�ำให้เป็นอุตสาหกรรมการศึกษาเพือ่ เป็นแหล่งรายได้ ของประเทศอีกอย่างหนึ่ง จะสังเกตได้ว่าความส�ำเร็จ ของทัง้ สองประเทศเป็นการปฏิบตั ติ ามแนวนโยบายของ รัฐบาลที่ได้ประกาศออกมาใช้ ซึ่งความส�ำเร็จดังกล่าว เกิดจากความมุ่งมั่นและการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของ ภาครัฐทีจ่ ะผลิตบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพอย่างแท้จริง (วราภรณ์ บวรศิริ, ม.ป.ป.) ประเทศไทย ได้มีการจัดกรอบการศึกษาระดับอุดมศึกษาในการ แบ่ ง กลุ ่ ม ของประเภทของสถาบันอุดมศึก ษาเพื่อให้ สะดวกและชัดเจนเกีย่ วกับการประกันคุณภาพการศึกษา โดยสามารถแบ่งสถาบันอุดมศึกษาออกเป็น 4 รูปแบบ ได้แก่ - มหาวิทยาลัยวิจัย - มหาวิทยาลัยเฉพาะด้าน - มหาวิทยาลัยเน้นการสอน - วิทยาลัยชุมชน ส�ำหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของประเทศไทยนัน้ มีมากกว่าของประเทศเพื่อนบ้านเมื่อเทียบกับประเทศ สิงคโปร์และประเทศมาเลเซีย แต่การขยายตัวและการ เพิ่มจ�ำนวนยังมีน้อยกว่าประเทศมาเลเซีย ซึ่งประเทศ มาเลเซียเน้นความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ ซึ่งมุ่งเน้นการหารายได้จากนักศึกษาต่างชาติ ส�ำหรับ สถานอุดมศึกษาของรัฐนัน้ ในปัจจุบนั รัฐบาลยังคงให้เงิน สนับสนุนแก่สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่ออกนอกระบบ ราชการ ในรูปของ Block grant เพือ่ ให้สถาบันอุดมศึกษา ของรัฐสามารถด�ำเนินภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลและมีการตรวจสอบได้ สถาบันอุดมศึกษา ของรัฐจะต้องมีการพึ่งตนเองมากขึ้น มีการด�ำเนินการ ทางการพาณิชย์ รัฐบาลควรจะมีการสนับสนุนการเปิด สอนหลักสูตรนานาชาติ เพือ่ เป็นผูน้ ำ� ทางการอุดมศึกษา

ในประชาคมโลกและสร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ประเทศ (พินิติ รตะนานุกูล, ม.ป.ป) จากระบบอุดมศึกษาของ 3 ประเทศที่ได้กล่าวมา ข้างต้นจะพบว่าความเหมือนกันของระบบอุดมศึกษา คือ มีการเปิดการเรียนการสอนที่หลากหลาย มีการน�ำ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาประยุกต์ใช้ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพทัง้ การเรียนการสอน การบริหารจัดการ การผลิ ต บั ณ ฑิ ต ให้ เ ป็ น ที่ ต ้ อ งการของตลาดแรงงาน แต่ประเด็นที่เป็นความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดเจน คือเป้าหมายของแต่ละประเทศ เช่น ประเทศสิงคโปร์ ต้ อ งการพั ฒ นาระบบอุ ด มศึ ก ษาให้ เ ป็ น สากล เน้ น กระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาต่างประเทศ ซึ่งจะใกล้เคียงกับประเทศมาเลเซีย แต่มาเลเซียจะเน้น การพัฒนาระบบอุดมศึกษาให้อยูในรูปแบบเชิงพาณิชย์ กล่าวคือ การสร้างรายได้จากการศึกษา การเปิดหลักสูตร ภาษาต่างประเทศให้เพิม่ ขึน้ เพือ่ ดึงดูดนักศึกษาต่างชาติ เป็นการสร้างรายได้ให้กับมหาวิทยาลัยและประเทศ ยุ ท ธศาสตร์ อุ ด มศึ ก ษาไทยต่ อ การปรั บ ตั ว เข้ า สู ่ ประชาคมอาเซียน ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ สกอ. ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการเปิดเสรีเพือ่ ก้าวสูป่ ระชาคม อาเซียนในปี พ.ศ. 2558 โดยที่มีการวิเคราะห์ศักยภาพ ของอุดมศึกษาไทยเพือ่ เข้า สูป่ ระชาคมอาเซียน โดยสิง่ ที่ ประเทศมีศกั ยภาพ ในการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ได้แก่ 1) การประกันคุณภาพภายใน 2) การประกันคุณภาพ การศึกษาภายนอก 3) มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา 4) กรอบมาตรฐานคุณวุฒแิ ห่งชาติ (Thai Qualifications Framework on Higher EDUCATION : TQF: HEd) โดยที่วิธีการด�ำเนินการศึกษาวิจัยเพื่อจัดท�ำยุทธศาสตร์ อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อม สู่การเป็น ประชาคมอาเซียนนั้นได้มีการประชุมในภาคส่วนต่างๆ รวมถึงการวิเคราะห์เพื่อหาจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค์ (SWOT Analysis) ของอุดมศึกษาไทย ซึ่งผลจากการด�ำเนินการดังกล่าวท�ำให้ได้ยุทธศาสตร์

127


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ของอุดมศึกษาไทย โดยมีการก�ำหนด วิสัยทัศน์ คือ บัณฑิตไทยมีความสามารถในระดับสากล และมีความ รั บ ผิ ด ชอบในฐานะสมาชิ ก ประชาคมอาเซี ย นและ ประชาคมโลก และมียทุ ธศาสตร์ทรี่ องรับ 3 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย (ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ส�ำนักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ, 2553) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิต ให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล โดยมีกลยุทธ์ในการด�ำเนินการ ได้แก่ การพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ภาษา อั งกฤษของนัก ศึก ษาไทยในระดับที่ ใช้ในการท�ำงานได้ และการพัฒนา สมรรถนะด้านการประกอบอาชีพและ การท�ำงานข้ามวัฒนธรรมของบัณฑิต ไทย (พินิติ รตะนานุกูล, 2554) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาความเข้มแข็งของสถาบัน อุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาประชาคม อาเซียน ส�ำหรับกลยุทธ์ที่ใช้ในการ พัฒนา ประกอบไปด้วย การพัฒนา อาจารย์ให้มสี มรรถนะสากล การส่งเสริม การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม เกี่ยวกับอาเซียนในสถาบันอุดมศึกษา การพั ฒ นาหลั ก สู ต รและการเรี ย น การสอน การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน ให้มีคุณภาพระดับสากล การพัฒนา วิ ช าการและการวิ จั ย สู ่ ก ารเป็ น เลิ ศ และการพัฒนาระบบอุดมศึกษาแห่ง อาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมบทบาทของอุดมศึกษาไทย ในประชาคมอาเซียน โดยมีกลยุทธ์ ในการส่งเสริมบทบาทความเป็นผู้น�ำ ของสถาบันอุดมศึกษาไทยที่เกี่ยวข้อง กับสามเสาหลักในการสร้างประชาคม อาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเสาด้าน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

128

การสร้างความตระหนักในการรวมตัว เป็ น ประชาคมอาเซี ย นและบทบาท ของอุ ด มศึ ก ษาไทยในการพั ฒ นา ประชาคมอาเซียนทั้งในด้านบวกและ ด้านลบ การส่งเสริมให้ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการศึกษาในกลุม่ ประเทศ เพื่อนบ้าน และการพัฒนาศูนย์ข้อมูล เกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษาในอาเซียน การปรับตัวของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ส�ำหรับการปรับตัวของสถาบันอุดมศึกษาไทยนั้น ได้มีมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้วางแผนเพื่อเตรียมตัวการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน เช่น มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตั้งเป้าเป็นอุทยานการศึกษาแห่งอาเซียน (Education Park of ASEAN) โดยได้มีการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคม อาเซียนในรูปแบบต่างๆ เช่น การจัดตัง้ โครงการภูมภิ าค ศึกษาในปี 2543 มีการเรียนการสอนและการวิจัยด้าน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศกึ ษา ซึง่ ได้มกี ารด�ำเนินการเปิด หลักสูตรอาเซียนศึกษา ซึง่ เงือ่ นไขในการเรียนคือ การมี การส่งนักศึกษาไปยังมหาวิทยาลัยต่างๆ ในกลุม่ ประเทศ อาเซียน เป็นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา นอกจาก หลักสูตรระดับปริญญาตรีแล้ว มหาวิทยาลัยยังด�ำเนินการ เปิดหลักสูตรในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกซึง่ เป็น หลั ก สู ต รที่ ร องรั บ การเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น (กีรร์ ตั น์ สงวนไทร, 2554) ซึง่ นอกจากนีแ้ ล้ว ในปัจจุบนั ได้มีการก่อตั้งเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน : ASEAN University Network (AUN) (เครือข่ายมหาวิทยาลัย อาเซียน, 2554) เป็นการจัดตัง้ ขึน้ เพือ่ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของภูมิภาคและสร้างความส�ำนึกในความเป็นอาเซียน ซึ่งมีมหาวิทยาลัยไทยเข้าเป็นสมาชิก 3 มหาวิทยาลัย ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา และ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีการทบทวนกฎบัตรเครือข่าย มหาวิทยาลัยอาเซียน เพือ่ ให้กฎบัตรดังกล่าวเอือ้ ประโยชน์ ต่อการเสริมสร้างความร่วมมือด้านอุดมศึกษาในอาเซียน อย่างแท้จริงซึง่ ท�ำให้ประเทศไทยได้รบั ประโยชน์ดงั กล่าว เป็นการแสดงถึงพันธะผูกพันที่มั่นคงของประเทศไทย


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ในการสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของอาเซียน ให้มศี กั ยภาพและความพร้อมเพือ่ รองรับการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียนในปี 2558 กิจกรรมที่ AUN ได้ ด�ำเนินการไปแล้ว เช่น 1) เปิดโปรแกรมอาเซียนศึกษา (ASEAN Study Programme) 2) การประชุมด้าน การศึกษาของ AUN และการแข่งขันพูดของเยาวชน (AUN Education Forum and Young Speakers Contest) 3) การประชุมด้านวัฒนธรรมของเยาวชน อาเซี ย น (ASEAN Youth Cultural Forum) 4) โครงการแลกเปลี่ ย นนั ก เรี ย น (AUN Student Exchange Programme) 5) โครงการแลกเปลี่ยน คณาจารย์/ผูเ้ ชีย่ วชาญของ AUN (AUN Distinguished Scholars Programme) 6) ความร่วมมือด้านการวิจัย (Collaborative Research) เป็ น ต้ น (ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา, ส�ำนักยุทธศาสตร์อดุ มศึกษา ต่างประเทศ, กลุม่ บริหารนโยบายการเปิดเสรีอดุ มศึกษา, 2553) จากความตืน่ ตัวดังกล่าวของมหาวิทยาลัยต่างๆ นัน้ กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนับว่าเป็นอีกมหาวิทยาลัยที่ มีจ�ำนวนค่อนข้างมากในประเทศไทย จากการศึกษา การเตรียมความพร้อมของมหาวิทยาลัยราชภัฏในการ เข้าร่วมประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558 ซึ่งได้ผลสรุป การศึกษาในประเด็นต่างๆ ได้ 5 ประเด็นหลักดังนี้ ประเด็นที่ 1 สถานภาพปัจจุบนั ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ เกี่ ย วกั บ การจั ด การศึ ก ษาที่ สั ม พั น ธ์ กั บ ต่ า งประเทศ ประเด็นที่ 2 ความคิดเห็นของประชาคมมหาวิทยาลัย ราชภัฏต่อการเข้าร่วมประชาคมอาเซียน พ.ศ. 2558 ประเด็นที่ 3 การเตรียมความพร้อมของมหาวิทยาลัย ราชภั ฏ ในการรองรั บ การเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น ประเด็นที่ 4 ปัญหาและอุปสรรคในการเตรียมความพร้อม ในการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ประเด็นที่ 5 ข้อเสนอแนะ จากประสบการณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยมีการ สรุปข้อเสนอแนะจากผลการศึกษาคือ 1) มหาวิทยาลัย ราชภัฏต้องประสานความร่วมมือในการพัฒนาหลักสูตร ระดับต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาต่างประเทศเข้ามาศึกษา ควรเพิ่ ม การเรี ย นการสอนที่ใช้ภาษาอัง กฤษมากขึ้น 2) มหาวิทยาลัยราชภัฏต้องเผยแพร่วีดิทัศน์ความรู้

ด้านการเข้าสมาคมอาเซียนให้รวดเร็วกว้างขวาง รวมทัง้ การเรียนรูส้ งั คมวัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจน พัฒนาทักษะภาษาของประเทศเพื่อนบ้านให้อาจารย์ และนักศึกษามากขึน้ 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏควรมีการ แลกเปลี่ยนและประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาในประเทศ อาเซียนได้มโี อกาสศึกษาในประเทศไทยมากขึน้ โดยเน้น การใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนให้มากขึ้น 4) นับแต่นี้ ถึง ปี พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏควรเร่งพัฒนา โครงการความร่วมมือต่างๆ กับกลุ่มประเทศสมาชิก อาเซียนให้มากขึ้นตามแผนยุทธศาสตร์ 9 ประการ เพือ่ แสดงเจตนารมณ์ในการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนอย่าง ต่อเนื่อง 5) มหาวิทยาลัยราชภัฏควรร่วมมือท�ำวิจัยกับ มหาวิทยาลัยในกลุม่ ประเทศสมาชิกอาเซียน และในแต่ละ ประเทศ ควรมีงานวิจัยที่เชื่อมโยงกับความเป็นอาเซียน มากขึ้ น ทั้ ง นี้ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อาจเริ่ ม ต้ น ศึ ก ษา การเตรียมความพร้อมของมหาวิทยาลัยในประเทศสมาชิก อาเซียนที่มีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏก่อน เพือ่ น�ำไปสูค่ วามร่วมมือในการเตรียมความพร้อมร่วมกัน ส�ำหรับการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558 นอกจากนีค้ วรติดตามประเมินผลการเตรียมความพร้อม ของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในรูปแบบของการวิจัย เป็นระยะ เพือ่ ปรับปรุงและพัฒนาการด�ำเนินงานให้บรรลุ เป้าหมายของโครงการและกิจกรรมทีม่ หาวิทยาลัยราชภัฏ ร่วมกันท�ำอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เช่น หลักสูตร การเรียนการสอน การพัฒนาครู อาจารย์ และนักศึกษา จุดเด่นโดยเน้นหลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม เนือ่ งจากมหาวิทยาลัยราชภัฏกระจายอยูท่ วั่ ภูมภิ าคของ ประเทศ มีแหล่งข้อมูลวัฒนธรรมหลากหลายในท้องถิน่ และมีโรงแรมส�ำหรับให้บริการทุกมหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นเครือข่ายอยู่แล้ว (เปรื่อง กิจรัตน์ภร, 2554) นอกจากการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ ทีก่ ล่าว มาแล้วนัน้ ประเด็นส�ำคัญทีน่ บั ว่าเป็นปัญหาเนือ่ งจากต้อง มีการปรับอย่างค่อยเป็นค่อยไป คือ การเลือ่ นการเปิด-ปิด ภาคเรียน ซึง่ มีประเด็นความเห็น ทีแ่ บ่งออกเป็นสองส่วน คือ เห็นด้วยกับไม่เห็นด้วย ซึง่ จากการประชุมอธิการบดี แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4/2554 เปิดเผยว่า ที่ประชุม

129


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

มีมติเป็นเอกฉันท์ในการเตรียมพร้อมมหาวิทยาลัยเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน โดยจะเริ่มภายในปีการศึกษา 2555 ด้วยการเลือ่ นการเปิด-ปิดภาคเรียนให้เป็นสากล จึงท�ำให้ ต้องเปลีย่ นจากการเปิดภาคเรียนเดือนมิถนุ ายน เป็นต้น เดือนกันยายน เหมือนกับประเทศสมาชิกอาเซียนอีก 9 ประเทศที่มีการเปลี่ยนตรงกันแล้ว ซึ่งจะมีประโยชน์ ในด้านการแลกเปลีย่ นนักศึกษาทีอ่ าจจะเป็นอุปสรรคได้ หากการเปิด-ปิดภาคเรียนของไทยไม่ตรงกับประเทศ สมาชิกอาเซียน จากการเลื่อนการเปิด-ปิด ในครั้งนี้ คงจะมีการปรับเปลี่ยนแบบค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจาก จะมี ผ ลกระทบกั บ ระบบการศึ ก ษาโดยภาพรวม (ประสาท สืบค้า, 2554) บทสรุป การก้าวสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 นั้น มีผลต่อการเปลีย่ นแปลงทัง้ ระบบเศรษฐกิจ การค้า และ การศึกษา ในภาคส่วนของอุดมศึกษา การเตรียมตัวของ สถาบันอุดมศึกษาไทยควรเป็นการร่วมมือกันวางแผนกัน เพือ่ เข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน เพือ่ แข่งขันกับอีก 9 ประเทศ การพั ฒ นาที่ ส� ำ คั ญ คื อ การเสริ ม หลั ก สู ต รที่ มี ค วาม เชื่อมโยงกันกับกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน เนื่องจาก การพัฒนาทุนมนุษย์ และการเคลือ่ นย้ายทุนมนุษย์ไปยัง ประเทศต่างๆ ได้อย่างเสรี นอกจากระบบการศึกษา ของไทยที่ต้องการมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การใช้ เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารให้ ค รอบคลุ ม ทุกภาคส่วนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ การติดต่อสือ่ สาร รวมถึงการเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ และ การพัฒนาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษาและ บุคลากรไทยยังเป็นสิ่งจ�ำเป็น เนื่องจากภาษาอังกฤษ จะเป็นภาษาหลักที่กลุ่มประเทศสมาชิกใช้ในการติดต่อ สือ่ สาร นอกจากภาษาไทยและภาษาอังกฤษแล้ว การฝึก ทักษะการใช้ภาษาที่ 3 เช่น ภาษาจีนแมนดาริน หรือ ภาษาบาฮาซาที่ใช้ในมาเลเซีย ก็นับว่ามีความส�ำคัญ ส�ำหรับการเตรียมพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558

130

บรรณานุกรม

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. (2554). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ. กีร์รัตน์ สงวนไทร. (2554). ‘ม.วลัยลักษณ์’ ขยับปรับ ยุทธศาสตร์รับ AEC. สยามธุรกิจ, ฉบับที่ 1237, ประจ�ำวันที่ 17-20 กันยายน 2554. เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network–AUN). (2554). ส�ำนักความสัมพันธ์ ต่างประเทศ. สืบค้นเมื่อ 13 กันยายน 2554, จาก กระทรวงศึกษาธิการ เว็บไซต์: http://www. asean.moe.go.th/index.php?option=com_ content&view=article&id=19&Itemid=8 ประสาท สืบค้า. (2554). ที่ประชุม ทปอ. มีมติเลื่อน เปิดเทอมให้ตรงกับประเทศอาเซียน. ส�ำนักข่าวไทย. สืบค้นเมือ่ 6 กันยายน 2554, จาก MCOT เว็บไซต์ http://www.mcot.net/cfcustom/-cache_ page/248867.html เปรื่ อ ง กิ จ รั ต น์ ภ ร. (2554). การศึ ก ษาการเตรี ย ม ความพร้อมของมหาวิทยาลัยราชภัฏในการเข้าร่วม ประชาคมอาเซี ย น ปี พ.ศ. 2558. (เอกสาร การประชุม). สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2554, จาก ส�ำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา เว็บไซต์ http:// www.mua.go.th/users/bhes/-front_home/ Ohecbhes2554/Doc_54/-p910.4512.00/ 9_05.pdf พินิติ รตะนานุกูล. (2554). สกอ. เตรียมความพร้อม อุ ด มศึ ก ษารองรั บ การเป็ น ประชาคมอาเซี ย น. จดหมายข่าวส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2(52). สืบค้นเมื่อ 6 กันยายน 2554, จาก ส�ำนัก คณะกรรมการการอุดมศึกษา เว็บไซต์ http:// www.mua.go.th/pr_web/ohecnews/data/ 20110307.pdf


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

พินิติ รตะนานุกูล. (ม.ป.ป). การอุดมศึกษาไทยในปี 2015. สื บ ค้ น เมื่ อ 25 กั น ยายน 2554, จาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เว็บไซต์ http://ird. oop.swu.ac.th/Portals/46/ASEAN%202015/ ASEAN%-202015_Dr.Phiniti.pdf วราภรณ์ บวรศิริ. (ม.ป.ป.). การปฏิรูปอุดมศึกษาของ ประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ส�ำนักยุทธศาสตร์ อุ ด มศึ ก ษาต่ า งประเทศ. (2553). ยุ ท ธศาสตร์ อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็น ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานฯ. ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ส�ำนักยุทธศาสตร์ อุดมศึกษาต่างประเทศ. กลุม่ บริหารนโยบายการเปิด เสรีอุดมศึกษา. (2553). การปรับกฎบัตรเครือข่าย มหาวิทยาลัยอาเซียน (Charter of the ASEAN University 2554). สืบค้นเมื่อ 3 กันยายน 2554, จาก ส�ำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา เว็บไซต์ http://www.satit.-mua.go.th/newspaper/ anc_doc/201008 11144023.pdf

ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. ส�ำนักความสัมพันธ์ ต่างประเทศ. (2553). การศึกษาการสร้างประชาคม อาเซียน พ.ศ. 2558.กรุงเทพฯ: กลุม่ ประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ. ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (ม.ป.ป). แผนแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานฯ. Park, Jonghwi. (2011). ICT in Education in Asia-Pacific. Asia-Pacific Regional Forum on ICT Applications. Retrieved September 15, 2011, from Committed to Connecting the World Website: http://www.itu.int/ITUD/ asp/CMS/Events/2011/ict-apps/s5_JPark.pdf UNESCO Bangkok. (n.d.). ICT in Education Malaysia. Retrieved September 11, 2011, from UNESCO Bangkok Website: http:// www.unescobkk.org/education/ict/themes/ policy/regional-country-overviews/malaysia

Mrs. Sudasawan Ngammongkonwong is studying Ph.D in Information and Communication Technology for Education, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Thailand. She received Master of Science in 2004 from Walailak University and Bachelor of Business Administration in Computing from North Eastern University, including Bachelor of Economics in 2005 from Sukhothai Thammathirat Open University, Thailand. She currently works at Southeast Bangkok College as the Head of Business Computer, Faculty of Business Administration.

131


ารจัดการช่องว่างระหว่างวัยเพื่อการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ Generation Gap Management to Develop Human Resources in Organization ผู้ช่วยศาสตราจารย์กนกพันธรน์ โลกุตรวงศ์ อาจารย์ประจ�ำคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น E-mail: kanokpanthorn@tni.ac.th

บทคัดย่อ

ในแต่ละองค์การย่อมมีรูปแบบของการจัดการบุคลากรที่แตกต่างกัน ปัญหาการจัดการบุคลากร ในแต่ละองค์การก็ย่อมแตกต่างกัน ปัญหาหนึ่งในการจัดการบุคลากรคือ ช่องว่างระหว่างวัย ซึ่งมีหลายองค์การที่พยายามแก้ไขปัญหาโดยการรับบุคลากรที่มีอายุใกล้เคียงกันเพื่อลดช่องว่าง ระหว่างวัย จึงเป็นการแก้ไขปัญหาทีป่ ลายเหตุ การแก้ปญ ั หาทีต่ น้ เหตุจงึ อยูท่ วี่ สิ ยั ทัศน์และมุมมอง ของผู้บริหาร ถ้ามองบุคลากรเป็นลูกจ้าง องค์การก็จะได้เพียงบุคลากรที่รับจ้างท�ำงาน จะไม่ได้ จิตวิญญาณในการท�ำงานหรือความจงรักภักดีตอ่ องค์การ บุคลากรทีเ่ ป็นเพียงลูกจ้างจะสร้างมูลค่า ให้กับองค์การได้โดยขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการจ้างงาน ในทางกลับกัน ถ้ามองบุคลากรเป็น สินทรัพย์ องค์การก็จะได้บุคลากรเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าประเมินเป็นมูลค่าไม่ได้ ซึ่งจะมี จิตวิญญาณในการท�ำงานอย่างทุม่ เทและมีความจงรักภักดีตอ่ องค์การ สามารถสร้างและเพิม่ มูลค่า ให้กบั องค์การได้อย่างยัง่ ยืน ดังนัน้ ในการจัดการช่องว่างระหว่างวัยเพือ่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ในองค์การจึงเป็นประเด็นส�ำคัญในการท�ำงานเป็นทีม ความแตกต่างทางด้านความคิดและมุมมอง จะเป็นจุดแข็งแห่งการพัฒนาองค์การ ประเด็นรองลงมาจะต้องสร้างขวัญและก�ำลังใจในการปฏิบตั งิ าน เสริมสร้างแรงจูงใจในการท�ำงาน ปลูกสร้างจิตส�ำนึกที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความจงรักภักดีต่อ องค์การ สร้างสิง่ แวดล้อมทีด่ เี พือ่ สนับสนุนการท�ำงาน สนับสนุนและส่งเสริมให้มกี ารปรับปรุงพัฒนา ความรูค้ วามสามารถของบุคลากร เพือ่ เพิม่ คุณภาพในการท�ำงานให้มปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง จะท�ำให้องค์การด�ำเนินการประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมาย ค�ำส�ำคัญ: ช่องว่างระหว่างวัย ทรัพยากรมนุษย์ การท�ำงานเป็นทีม มนุษยสัมพันธ์

132


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Abstract

The personnel management models in each organization are different. One issue in personnel management is a generation gap. Many organizations are trying to overcome this generation gap by recruiting almost the same age personnel in order to reduce the gap, which is a top-down solution. For the top-up solution, it depends on visions and points of view of the CEO or executives. In aspect of human resources management, human resources are crucial assets in an organization. On the other hand, if employees are considered as mercenary workers serving for an organization, they can contribute value to organizations, depending on employees for attractive employment. It will be only human contact for work. As a result, the generation gap management of human resources development in an organization is an important key for team working. The different ideas and viewpoints will be a strong strategy to develop organization. The minor important keys are creating morale, motivation, and interpersonal relations at work as well as a great sense of loyalty to organizations by supporting to do a good work environment. Human Resource Development should be a key to improve work quality and efficiency which support organization to achieve all goals. Keywords: Generation gap, Human Resources, Team Working, Interpersonal Relations

บทน�ำ การจัดการบุคลากรในองค์การ โดยทัว่ ไปแล้ว องค์ การใหญ่ๆ ที่ประสบความส�ำเร็จจะมีระบบของการ จัดการที่ดี แต่ถ้าไม่มีระบบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ที่ดี องค์การนั้นๆ ก็ยากที่จะประสบความส�ำเร็จ ดังนั้น การจัดการทรัพยากรมนุษย์ จึงเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุด ประการหนึ่งของการพัฒนาองค์การ การสร้างรูปแบบระบบการท�ำงานภายในองค์การ การจั ด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ จ ะต้ อ งมาก่ อ นระบบ กล่าวคือ การจัดท�ำระบบที่ดีย่อมมีการขับเคลื่อนอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยเริ่มจากการที่ต้องให้ได้คนดีคนเก่ง มาจั ด ท� ำ ระบบในเบื้ อ งต้ น ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ขับเคลื่อนในองค์การให้ได้เสียก่อน

ที่มา: www.stoyko.net รูปที่ 1: แผนภาพแสดงล�ำดับการจัดการบุคลากรในองค์การ

133


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ดังนัน้ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ จึงเป็นสิง่ ส�ำคัญ อย่างยิง่ ในเบือ้ งต้นในการจัดวางต�ำแหน่งการบริหารงาน ด้านต่างๆ ภายในองค์การ (Put the right man to the right job) ให้เหมาะสม หากมีการจัดวางต�ำแหน่ง บุคลากรที่ไม่ถูกต้องแล้ว ย่อมมีอุปสรรคและปัญหา ต่างๆ เกิดขึน้ ในกระบวนการท�ำงาน ซึง่ จะส่งผลเสียหาย ต่อองค์การ การจ�ำแนกกลุ่มบุคคล การจ�ำแนกกลุม่ บุคคลส�ำหรับองค์การ มีความจ�ำเป็น ทีต่ อ้ งกระท�ำอย่างรอบคอบ เพือ่ ให้เกิดระบบการท�ำงาน ที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ตลอดจนเพื่อความ อยู่รอดและความเจริญก้าวหน้าขององค์การ การพิจารณาสรรหาบุคลากร จึงไม่ใช่การพิจารณา เพียงหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ (Liability) แต่ตอ้ งพิจารณา ว่า เป็นเรื่องของการลงทุน ต้องมองคนให้เป็นสินทรัพย์ (Asset) ถือเป็นการลงทุนทีจ่ ะท�ำให้เกิดประโยชน์สงู สุด จึงจะถือเป็นการลงทุนท�ำให้เพิม่ มูลค่าได้ ถ้ามองคนเป็น ลูกจ้าง (Employee) ก็จะได้เพียงบุคคลทีร่ บั จ้างการท�ำงาน จะขาดจิตวิญญาณในการท�ำงานอย่างทุม่ เทเพือ่ องค์การ ขาดความจงรักภักดีตอ่ องค์การ นอกจากนัน้ ในการจ้างคน จะต้องค�ำนึงถึงการบริหารความเสี่ยงด้วย จากแนวคิด การบริหารคน สามารถจ�ำแนกกลุ่มบุคคลออกได้เป็น 4 กลุ่ม คือ (ผู้วิจัย) กลุม่ ที่ 1 “คนดี คนเก่ง” เป็นคนทีม่ จี ติ คุณธรรมทีด่ ี มีมนุษยสัมพันธ์ มีความรู้ และทักษะในการแก้ไขปัญหา ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี เป็นกลุม่ คนทีห่ ายากทีท่ กุ ๆ องค์การ ต่างอยากได้ และอยากมีมากๆ กลุ่มที่ 2 “คนดี แต่เป็นคนไม่เก่ง” กลุ่มนี้คล้ายกับ คนกลุ่มที่ 1 เพียงแต่อาจจะมีความรู้ และทักษะใน การแก้ ไขปั ญ หาต่ า งๆ ในระดั บ ปานกลาง เรี ย กว่ า เก่งน้อยหน่อย แต่ถ้าได้ประสบการณ์มากขึ้น ก็จะ สามารถเก่งขึ้นไปได้เรื่อยๆ คนกลุ่มนี้ทางองค์การต่างๆ ก็อยากจะหาเข้ามา อย่างน้อยก็เป็นคนดี ความเก่ง สามารถฝึกฝนกันได้ ถ้าให้โอกาส

134

กลุ่มที่ 3 “คนไม่ดี แต่เป็นคนเก่ง” แม้จะเป็นคนที่ มีความรู้ และทักษะในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้เป็น อย่างดี แต่มีความคิด ความประพฤติค่อนไปทางทุจริต คอรัปชั่น เอาดีเข้าใส่ตัว ไม่มีจิตคุณธรรม เป็นคนที่กล้า เหยียบมือเพือ่ นเพือ่ ให้ตวั เองก้าวไปสูข่ า้ งหน้า เป็นคนที่ กล้ า ทิ้ ง ตั ว เองลงมาจากที่ สู ง โดยไม่ ลั ง เล คนกลุ ่ ม นี้ จึงน่ากลัวมาก หากองค์การมีการบริหารความเสี่ยงไม่ดี ย่อมจะท�ำให้องค์การเกิดความเสียหาย หรือถึงกาล ล่มสลายได้ เพราะคนกลุ่มนี้จะใช้ความเก่งในทางที่ผิด และมักจะเอาตัวเองรอดเสมอ กลุ่มที่ 4 “คนไม่ดี คนไม่เก่ง” จัดเป็นกลุ่มคนที่มี ความเสี่ยงมากที่สุด เนื่องจากจะมีทัศนคติ ความคิด ความประพฤติคอ่ นไปทางทุจริต คอรัปชัน่ เอาดีเข้าใส่ตวั ไม่มจี ติ คุณธรรมอยูแ่ ล้ว ยังเป็นคนด้อยปัญญา มีความรู้ และทักษะในการแก้ไขปัญหาต่างๆ น้อยนิด คนกลุ่มนี้ มักจะเอารัดเอาเปรียบในการท�ำงาน มีข้อต่อรองและ เงื่อนไขมาก คิดว่าคงไม่มีองค์การไหนเอาคนกลุ่มนี้ เข้ามาท�ำงานเป็นแน่ ยกเว้นการเล่นพรรคเล่นพวกเพื่อ การทุจริตในองค์การ ในทางอุดมคติแล้ว การรับบุคลากรเข้ามาท�ำงาน ในองค์การ จึงต้องพิจารณาเลือกคนดีเป็นประการแรก ความเก่งจึงเป็นรอง ส�ำหรับทักษะความสามารถจะขึน้ อยู่ กับการให้โอกาสในการสร้างสมประสบการณ์ การที่จะ พิจารณาว่า คนไหนเป็นคนดีหรือไม่ดี พิจารณาได้จาก พฤติกรรม ผลงาน และแนวคิดในการปฏิบัติตน ดังนั้น คนจะดีหรือไม่ดี ก็อยูท่ เี่ จตนาของความคิดและการกระท�ำ ของแต่ละบุคคล ว่ายังมีมิจฉาทิฐิและความอยุติธรรม อยู่หรือเปล่า จึงได้ยินบ่อยครั้งว่า “ท�ำดีแล้วไม่ได้ดี มีความมุ่งมั่น ทุ่มเทการท�ำงานด้วยจิตวิญญาณแล้ว แต่เจ้านายไม่เห็น” จึงมักมีประโยคที่พูดกันบ่อยครั้งว่า “ค่าของคน ไม่ได้อยูท่ ผี่ ลของงาน แต่คา่ ของคน อยูท่ วี่ า่ เป็นคนของใคร” ให้ได้ยินอยู่ทั่วไปในสังคมการท�ำงาน ในปัจจุบัน เนื่องจากความเห็นแก่ตัวที่มีมากขึ้นในจิตใจ มนุษย์ยุคปัจจุบัน


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ที่มา: www.nelsontouchconsulting.wordpress.com รูปที่ 2: แสดงความสัมพันธ์ของต้นทุนที่เป็นมนุษย์

การจัดการความเสี่ยงในการบริหารงานบุคคล ทักษะการบริหารงานบุคคล จึงมีความส�ำคัญต่อ ผูบ้ ริหารทุกคน (The important of human resource management to all managers) เป็นเพราะว่า ผูบ้ ริหารทุกคนไม่ตอ้ งการให้มคี วามผิดพลาดใดๆ เกิดขึน้ ในการบริหารงาน ซึ่งมีตัวอย่างของความผิดพลาดที่ ผู้บริหารงานไม่ต้องการให้เกิดขึ้น เช่น - การจ้างคนไม่เหมาะสมกับงาน - การมีอัตราการลาออกของพนักงานสูง - การที่พนักงานไม่ตั้งใจที่จะท�ำงานให้ดีที่สุด - การเสียเวลากับการสัมภาษณ์ที่ไม่ได้ประโยชน์ - การท�ำให้องค์การต้องขึน้ ศาลจากความไม่เป็นธรรม ของผู้บริหาร - การท�ำให้องค์การต้องขึน้ ศาลจากความไม่ปลอดภัย ทางด้านสภาวะสิ่งแวดล้อมในการท�ำงานทั้งภายในและ ภายนอก - การท� ำ ให้ พ นั ก งานคิ ด ว่ า เงิ น เดื อ นที่ เขาได้ รั บ ไม่ยุติธรรม - การกระท�ำที่ไม่ยุติธรรมและมีความสัมพันธ์ที่ ตึงเครียดกับพนักงาน - การไม่ยอมให้มีการฝึกอบรมและการพัฒนา จากตั ว อย่ า งเหล่ า นี้ จึ ง เป็ น ต้ น เหตุ ก ารท� ำ ลาย ประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การ ในความ เป็นจริงแล้ว แต่ละองค์การก็จะมีวัฒนธรรมการท�ำงาน ที่แตกต่างกัน ระบบและรูปแบบในการท�ำงานจึงเป็น ตัวชี้วัดที่แสดงถึงศักยภาพของการบริหารจัดการใน แต่ละองค์การว่ามีประสิทธิภาพเพียงใด

การพิจารณาบุคคลผูท้ มี่ ปี ระสบการณ์จากการท�ำงาน มาหลายองค์การ น่าจะมีมุมมอง วิสัยทัศน์ที่แตกต่าง เนือ่ งจากเห็นสัจจธรรมของระบบการท�ำงานในแต่ละแห่ง สามารถสรุปแนวคิดการร่วมงาน ได้ดังนี้ - หากได้ร่วมงานกับหัวหน้างานที่เป็นคนเก่งและ เป็นคนดี ต้องรีบเรียนรู้ เก็บทักษะต่างๆ ตักตวงความรู้ ให้ได้มากที่สุด - หากได้ร่วมงานกับหัวหน้างานที่เป็นคนไม่เก่ง แต่เป็นคนดี ต้องเรียนรูท้ กุ เรือ่ งด้วยตัวเอง เหนือ่ ยหน่อย - หากได้รว่ มงานกับหัวหน้างานทีเ่ ป็นคนเก่ง แต่เป็น คนไม่ดี ก็ตอ้ งทนกับความเจ็บปวด อาจจะถูกกลัน่ แกล้ง เอารัดเอาเปรียบ แต่ผลที่ได้จากการเรียนรู้ จะคุ้มค่า และรวดเร็ว - หากได้รว่ มงานกับหัวหน้างานทีเ่ ป็นคนไม่เก่งและ เป็นคนไม่ดแี ล้ว ถือเป็นโชคร้าย ขอแนะน�ำให้ไปแสวงหา งานใหม่ที่ดีกว่า แล้วชีวิตจะดีขึ้นแน่นอน ช่วงอายุของบุคลากรผู้ร่วมงาน ในปัจจุบันนี้ หากองค์การใดมีบุคลากรที่ท�ำงาน ร่วมกันอยูห่ ลายช่วงอายุคน ซึง่ คนแต่ละรุน่ (Generation gap) ก็จะมีแนวคิดและมุมมองที่แตกต่างกันไป อาจจะ เกิดปัญหาในการประสานงานกันในองค์การ เนื่องจาก มีแนวคิด มุมมอง และความต้องการที่แตกต่างกัน

ที่มา: www.advantagebizmag.com รูปที่ 3: ผู้ร่วมงานประกอบด้วยหลายช่วงอายุคน

135


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

มุ ม มองหนึ่ ง ในข้ อ ดี ข องการที่ มี ค วามคิ ด เห็ น ที่ หลากหลายและแตกต่างกัน การพิจารณาในการตัดสินใจ ของผูบ้ ริหารนัน้ มีหลายประการด้วยกัน ไม่ใช่การพิจารณา เรื่องๆ หนึ่งจากมุมมองเพียงด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น การเน้นนวัตกรรมทางความคิดสร้างสรรค์สมัยใหม่ เป็นการกระตุ้นให้มีความหลากหลายในข้อมูล ที่ท�ำให้ เกิดมุมมองที่หลากหลาย ก่อนการตัดสินใจ อย่างไรก็ดคี วามยากส�ำหรับผูบ้ ริหารในการตัดสินใจ ท่ามกลางความคิดเห็นทีห่ ลากหลายและแตกต่างกันก็มี อยู่มาก โดยปกติทั่วไปแล้วบุคคลที่เคยประสบความ ส�ำเร็จ มักมีความยึดมั่นถือมั่นต่อความคิดของตนเอง พอสมควร การด�ำเนินการในการแสดงความคิดเห็น ควรเริ่ม จากผู้บริหารต้องเปิดใจและยอมรับในความคิดเห็นของ ผู้อื่นที่แตกต่างจากตนเองเสียก่อน นอกจากนี้ ผู้บริหาร ยังจะต้องมีทกั ษะและความสามารถในการบริหารความ แตกต่างทางความคิดและน�ำการประชุมที่ดี โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการบริหารจัดการความขัดแย้งจากการประชุม ที่มีความคิดเห็นแตกต่างกัน หากสมาชิกต่างยึดมั่นและ ถือมั่นต่อความเห็นของตนเองก็จะน�ำไปสู่ความขัดแย้ง ได้โดยง่าย ในการน�ำการประชุมของผู้บริหาร จ�ำเป็นต้องมี บารมีที่สามารถท�ำให้สมาชิกยอมรับและส�ำคัญที่สุดคือ ผู้บริหารจะต้องมีความ สามารถที่จะเลือกรับฟังความ คิดเห็นที่แตกต่างและหลากหลาย และต้องสามารถ ตัดสินใจให้ได้ แม้ว่าจะไม่ได้เป็นไปตามความต้องการ ของทุกคน แต่เมือ่ ผูบ้ ริหารตัดสินใจแล้วก็จะต้องสามารถ ท�ำให้ผู้ที่มีความเห็นที่แตกต่างนั้นยอมรับ และปฏิบัติ ตามการตัดสินใจได้ ประเด็นทีท่ า้ ทายและยากทีส่ ดุ ส�ำหรับการตัดสินใจ ของผู้บริหารคือ แทนที่จะตัดสินใจกลับชะลอหรือดึง เรื่องออกไปเรื่อยๆ เนื่องจากไม่ชอบการเผชิญหน้ากับ ความขัดแย้ง หรือบางท่านก็นยิ มการโหวตแบบพวกมาก ลากไปทัง้ ๆ ทีค่ วามคิดเห็นของคนส่วนมากนัน้ อาจจะไม่ใช่ สิ่งที่ดีที่สุด แต่ผู้บริหารก็ไม่สามารถที่จะแสดงวุฒิภาวะ

136

ทางด้านการบริหารของตนเองออกมา ทั้งในการชักจูง ให้คนอื่นเห็นด้วย และการตัดสินใจที่ชัดเจน เฉียบคม ดังตัวอย่างอดีตประธานาธิบดีเคนเนดี้ของสหรัฐที่ชอบ รวบรวมคนเก่งๆ มาไว้ดว้ ยกัน จากนัน้ จะโยนปัญหาหรือ โจทย์ให้ และปล่อยให้คนเก่งเหล่านั้น ได้ท�ำการโต้เถียง และแสดงความคิดเห็นกัน อดีตประธานาธิบดีฯ ก็จะ นัง่ ฟังการโต้เถียงของคนเก่งเหล่านัน้ ไปเรือ่ ยๆ จนกระทัง่ ถึงจุดหนึง่ ก็จะเข้ามายุตกิ ารโต้เถียง และท�ำการตัดสินใจ โดยเมือ่ ตัดสินใจแล้ว ก็จะก้าวไปในประเด็นต่อไป วิธกี าร แบบนี้มีผู้น�ำหลายประเทศน�ำไปใช้กันจนประสบความ ส�ำเร็จ

ที่มา: www.readersdigest.ca รูปที่ 4 : การขัดแย้งทางความคิดเห็นของกลุ่มบุคคล

การท�ำงานร่วมกันกับผู้ร่วมงานที่มีช่วงอายุต่างกัน ในปั จ จุ บั น จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารเรี ย นรู ้ ถึ ง เบื้ อ งหลั ง (Background) ของแต่ ล ะช่ ว งอายุ ค นในแต่ ล ะยุ ค ซึง่ สามารถแบ่งช่วงอายุในแต่ละยุคออกได้เป็น 4 ยุค คือ (รัชฎา อสิสนธิสกุล และอ้อยอุมา รุ่งเรือง, 2548) ยุค Baby Boom เป็นกลุ่มคนที่เกิดในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณ พ.ศ. 2489-2504 เป็นก�ำลังส�ำคัญในการ พัฒนาและฟื้นฟูประเทศหลังเหตุการณ์สงครามโลกยุติ จะเป็นกลุ่มที่มีชีวิตเพื่อการท�ำงาน เคารพกฎเกณฑ์ มีกติกา มีวินัย มีความทุ่มเทและความอดทน ให้ความ


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ส�ำคัญกับผลงานแม้วา่ จะต้องใช้เวลานานกว่าจะประสบ ความส�ำเร็จ อีกทั้งยังมีแนวคิดที่จะต้องท�ำงานหนัก เพื่อสร้างเนื้อสร้างตัว มีความทุม่ เทกับการท�ำงานให้กับ องค์การมาก คนกลุม่ นีม้ กั จะไม่เปลีย่ นงานบ่อย เนือ่ งจาก มีความจงรักภักดีตอ่ องค์การอย่างมาก คนกลุม่ นีจ้ งึ เป็น พวกที่ท�ำงานหนัก ทุ่มเทการท�ำงานด้วยจิตวิญญาณ (Monozukuri) หามรุ่งหามค�่ำ เมื่อใดก็ตามที่คนกลุ่มนี้ เคลื่ อ นตั ว ไปที่ ไ หน ก็ จ ะส่ ง ผลให้ เ กิ ด การขั บ เคลื่ อ น ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ และสังคมของพื้นที่นั้นๆ ยุค Generation X เป็นกลุม่ ลูกหลานจากกลุม่ Baby Boom ประมาณ พ.ศ. 2505-2520 เป็นกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลการท�ำงาน ถ่ายทอดมาจากกลุ่ม Baby Boom ซึ่งได้วางรากฐาน ไว้แล้วเพื่อการต่อยอด แต่คนกลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มคนที่ ท�ำงานโดยมีความใฝ่ฝนั ทีอ่ ยากจะมีธรุ กิจเป็นของตนเอง มีความทะเยอทะยานสูง มีความตัง้ ใจ ทุม่ เท และท�ำงาน อย่างจริงจัง เป็นกลุม่ คนทีม่ ลี กั ษณะพฤติกรรมชอบอะไร ง่ายๆ ไม่ต้องเป็นทางการ แต่จะให้ความส�ำคัญ ในเรื่อง ความสมดุลระหว่างงานกับครอบครัว (Work-life Balance) มีแนวคิดการท�ำงานในลักษณะ “รูท้ กุ อย่างท�ำทุกอย่าง” ได้เพียงล�ำพัง ไม่ต้องพึ่งพาใคร มีความคิดเปิดกว้าง พร้อมรับฟังข้อติติง ความคิดเห็นที่แตกต่าง เพื่อการ ปรับปรุงและพัฒนาตนเอง ซึง่ ปัจจุบนั คนกลุม่ นีก้ ำ� ลังจะ ก้าวไปสู่ผู้บริหารระดับสูง ยุค Generation Y เป็นกลุ่มคนที่เกิดในช่วง 2521-2536 คนกลุ่มนี้ จะเป็นพวกกินบุญเก่าที่ได้รับจากกลุ่มคนในยุค Baby Boom และ Generation X ที่ได้ปูพื้นฐานและสร้าง ทางไว้ ใ ห้ แ ล้ ว คนกลุ่มนี้จึง มีความต้องการอยากได้ ที่ท�ำงานสบายๆ มีความเป็นส่วนตัวสูง มีความสมดุล ในชีวิต เป็นยุคอาหารชีวจิตบริโภค เรียกได้ว่าเป็น กลุม่ คนทีเ่ ติบโตมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี มีลกั ษณะนิสยั ชอบแสดงออก มีความเป็นตัวของตัวเองสูง ไม่ชอบอยู่ในกรอบและไม่ชอบเงื่อนไขที่ผูกพันมากนัก โดยทัว่ ไปคนกลุม่ นีต้ อ้ งการความชัดเจนในการท�ำงานว่า

สิ่งที่ท�ำมีผลต่อตนเองและองค์การอย่างไร อีกทั้งยังมี ความสามารถในการท�ำงานที่เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร และยังสามารถท�ำงานหลายๆ อย่างได้ในเวลาเดียวกัน เรียกได้ว่า มีไฟแรงพร้อมที่จะลุยงานได้ทุกเรื่อง ยุค Generation Z เป็นกลุม่ คนทีเ่ กิดช่วง 2537-2552 ปัจจุบนั จะเป็น กลุ่มคนที่มีความสามารถหลากหลาย มีทักษะความ สามารถหลายด้าน คนกลุ่มนี้จึงชอบการท�ำงานแบบ อิสระ (Freelance) เป็นกลุ่มคนท�ำงานหน้าใหม่ไฟแรง แต่ยังอ่อนต่อประสบการณ์ สนุกกับการท�ำงานเป็นทีม ไม่ชอบอยูใ่ นกรอบ บางคนอาจยังเรียนไม่จบเสียด้วยซ�ำ้ หรื อ บางคนมี แ ผนที่ จ ะเรี ย นต่ อ แต่ ไ ม่ ช อบเงื่ อ นไข การท�ำงานทีม่ กี ารผูกมัดตัวเอง เนือ่ งจากมีความรูส้ กึ ทีว่ า่ องค์การจะเอารัดเอาเปรียบตน คนกลุ่มนี้จึงชอบการ แสดงออกมีความเป็นตัวของตัวเองสูง ส�ำหรับกลุ่มคนที่เกิดช่วง 2553 เป็นต้นไป จะเป็น กลุ่มที่อยู่ท่ามกลางความผันผวนของเศรษฐกิจและ สิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง อนาคต จึงเป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน การแก้ไขช่องว่างระว่างวัย การแก้ไขช่องว่างระหว่างวัย ต้องเข้าใจถึงความ แตกต่างในพืน้ ฐาน (Background) ของแต่ละกลุม่ บุคคล และต้องยอมรับว่าคนเราถูกหล่อหลอมมาไม่เหมือนกัน พิ จ ารณาคนที่ มี ค วามเชื่ อ หรื อ มี ทั ศ นคติ ต ่ อ ชี วิ ต ที่ ไ ม่ เหมือนกัน ก็ไม่ได้หมายความว่าเป็นคนไม่ดีเสมอไป ทุกคนย่อมมีจุดแข็ง จุดอ่อน จุดที่เป็นโอกาส และจุดที่ เป็นอุปสรรค ไม่มากก็น้อย จึงต้องให้โอกาสคนๆนั้น แสดงผลงาน แทนทีจ่ ะต่อต้านไม่ยอมรับทุกกรณี ดังนัน้ จึงต้องพิจารณาหาจุดแข็ง จุดอ่อน จุดที่เป็นโอกาส และจุดทีเ่ ป็นอุปสรรค ของแต่ละคนในแต่ละกลุม่ ให้พบ จากนั้นต้องใช้ทักษะในการบริหารความแตกต่าง และ เปลี่ยนวิธีในการสื่อสารให้เข้าถึงคนแต่ละกลุ่มที่เราต้อง ร่วมท�ำงานด้วย ก็จะท�ำให้การด�ำเนินงานเป็นไปด้วย ความราบรืน่ เข้าใจกัน และท�ำงานร่วมกันอย่างมีความสุข

137


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ที่มา: www.facebook.com รูปที่ 5: การท�ำงานร่วมกันที่ไม่มีช่องว่างระหว่างวัย

ในสังคมไทยการมีสัมมาคาราวะเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ ในวัฒนธรรมไทย การให้เกียรติและให้ความเคารพต่อ ผู้ใหญ่จึงเป็นสิ่งที่ควรกระท�ำ เมื่อเราให้เกียรติผู้ใหญ่ ผูใ้ หญ่กจ็ ะให้เกียรติเรา หากบังเอิญเรามีตำ� แหน่งสูงกว่า ผูส้ งู วัยกว่าเรา ก็จงแสดงความชืน่ ชมต่อผูส้ งู วัย ในฐานะ ทีม่ วี ยั วุฒสิ งู กว่าหรือในด้านการเป็นเสาหลักขององค์การ และจงรับฟัง เมื่อกลุ่มผู้สูงวัยถ่ายทอดประสบการณ์ ถึงในอดีตของการต่อสู้ ความพากเพียรในการท�ำงาน จนผ่านพ้นความยากล�ำบากมาได้ เพราะสิง่ นัน้ คือ สิง่ ที่ คนรุน่ หลังไม่มแี ละไม่รจู้ กั อย่าได้มมี มุ มองอย่างเด็ดขาดว่า กลุม่ ผูส้ งู อายุ คือ หมาล่าเนือ้ ทีไ่ ม่มที ไี่ ป แต่การทีพ่ วกเขา ท� ำ งานอยู ่ จ นถึ ง วั ย เกษี ย ณหรื อ เลยวั ย เกษี ย ณได้ นั้ น เป็นเพราะกลุม่ ผูส้ งู วัยเชือ่ ในคุณค่าของความมัน่ คง และ ถือความซือ่ สัตย์เป็นทีส่ ดุ เพือ่ ให้การร่วมงานเกิดอุปสรรค ช่องว่างระหว่างวัยให้น้อยที่สุด สามารถสรุปแนวทาง ในการท�ำงานร่วมกับคนในยุคต่างๆ ได้ดังนี้ (ดวงดาว สุวรรณคร, สาธิตา โสรัสสะ และนงนาถ ห่านวิไล, 2546) เมื่อต้องท�ำงานร่วมกับคนกลุ่ม Baby Boom การร่ ว มท� ำ งานกั บ คนกลุ ่ ม Baby Boom นั้ น จงแสดงความนับถือ รับฟัง และเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ ของคนกลุ่มนี้ แล้วพยายามปรับใช้ให้เป็นประโยชน์ ไม่วา่ ตัวเราจะเก่งกาจหรือจะประสบความส�ำเร็จเพียงใด เราก็ยงั ต้องเรียนรูอ้ ยูเ่ สมอ อย่าได้ทำ� ตัวเป็นน�ำ้ ทีเ่ ต็มแก้ว

138

รินเท่าไรก็ลน้ ออกมาหมด อย่าแสดงออกว่าการท�ำงานหนัก คือ การถูกเอาเปรียบ เพราะคนกลุม่ Baby Boom จะให้ ความส�ำคัญต่อหลักการท�ำงาน เห็นคุณค่าต่อการท�ำงาน อย่างทุม่ เท (Monozukuri) และยึดถือวัฒนธรรมองค์การ หากต้องท�ำงานในองค์การใหญ่ๆ ที่มีประวัติศาสตร์ ยาวนาน ซึง่ บริหารงานโดยคนกลุม่ นี้ ควรพยายามเรียนรู้ ถึงวัฒนธรรมองค์การเสียก่อนว่า มีความเป็นมาอย่างไร มีการเจริญเติบโตอย่างไร ก่อนที่จะเสนอความคิดริเริ่ม เพื่อการเปลี่ยนแปลงใดๆ เมื่อต้องท�ำงานร่วมกับคนกลุ่ม Generation-X การท�ำงานกับคนกลุ่ม Generation–X จะต้อง พูดให้กระชับชัดเจนและไม่อ้อมค้อม เพราะคนกลุ่มนี้ จะชอบความตรงไปตรงมา หากเราสามารถสื่อสารได้ ใจความและตรงเป้าหมาย เราสามารถใช้ E-mail กับ คนกลุ่มนี้ได้ แต่หากเป็นเรื่องใหญ่จริงๆ ควรพูดต่อหน้า เพราะคนกลุ่มนี้ไม่ชอบการถูกบงการ เพียงให้นโยบาย กว้างๆ เปิดโอกาสให้คนกลุม่ นีไ้ ด้แก้ปญ ั หาเองจะดีทสี่ ดุ ส�ำหรับผูบ้ ริหารกลุม่ Baby Boom ควรลดความคาดหวัง ต่อคนกลุ่ม Generation–X ในการท�ำงานหนักโดยไม่มี วันหยุดหรือก้าวไปอย่างช้าๆ อย่างรุ่นตนเอง เพราะ คนกลุ่มนี้ต้องการชีวิตที่สมดุลและไม่ชอบการอยู่ติดที่ เมื่อต้องท�ำงานร่วมกับคนกลุ่ม Generation-Y ปัจจุบนั เนือ่ งจากคนกลุม่ นีก้ ำ� ลังเป็นวัยท�ำงาน ดังนัน้ กุญแจส�ำคัญ ในการท�ำงานร่วมกับคนกลุม่ Generation–Y คือ การให้ความรัก ให้กำ� ลังใจ และให้รางวัล ซึง่ ในบริบท ขององค์การก็ คือ จะต้องมีกลุม่ คนทีค่ อยให้ความช่วยเหลือ เกือ้ กูลการท�ำงานของคนกลุม่ นี้ การจัดให้มพี เี่ ลีย้ ง และ มอบหมายงานที่ท้าทายไม่น่าเบื่อ ซึ่งความจงรักภักดี ของกลุ่มคนนี้จะขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ที่มีต่อผู้บริหาร ทีอ่ ยูเ่ หนือโดยตรง ซึง่ จะต้องท�ำให้คนกลุม่ นีม้ คี วามรูส้ กึ ว่า ได้รับการเอาใจใส่ดูแลจากผู้บริหาร โดยอาจจะเริ่มจาก สิง่ เล็กๆ น้อยๆ เช่น การจัดท�ำนามบัตรให้ การให้โอกาส ได้แสดงความคิดเห็นในการเข้าร่วมประชุมในระดับบริหาร


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

เป็นต้น ซึ่งจะท�ำให้คนกลุ่มนี้ มีความรู้สึกว่าตัวเองมีค่า จะเป็นการผูกใจให้อยูร่ ว่ มกับองค์การนานๆ สิง่ ทีผ่ บู้ ริหาร ควรค�ำนึงในการร่วมงานกับคนกลุ่มนี้ คือ การยืดหยุ่น เรื่องสถานที่ท�ำงาน สามารถท�ำงานทางอินเทอร์เน็ต หรือท�ำงานอยู่ที่บ้านได้ โดยผลงานยังคงยอดเยี่ยม เหมือนเดิม การจัดอบรมให้พนักงานอย่างสม�่ำเสมอ จากผู้มีประสบการณ์อย่างแท้จริงเพื่อเพิ่มเติมความรู้ และทักษะใหม่ๆ ต้องมีความชัดเจนในการจัดการจาก ผูบ้ ริหารระดับสูงหรือผูม้ อี ำ� นาจในการแก้ไขปัญหาได้จริง และรวดเร็ว ต้องให้ความชัดเจนในขอบเขตหน้าทีก่ ารงาน ที่ต้องรับผิดชอบด�ำเนินการในการท�ำงานอย่างเต็มที่ เพื่ อ ที่ จ ะให้ ผ ลงานออกมาตามที่ อ งค์ ก ารต้ อ งการ โดยพร้อมทีจ่ ะให้หวั หน้าตรวจสอบได้ตลอดเวลา ดังนัน้ ผูบ้ ริหารระดับสูง ไม่ควรปล่อยให้คนกลุม่ Generation–Y ทีเ่ ป็นคนรุน่ ใหม่ทมี่ ศี กั ยภาพสูง หลุดออกจากองค์การไป ควรหาช่องทางหรือโอกาสใหม่ๆ ในการท�ำงาน เพื่อ ดึงดูดคนกลุ่มนี้ไว้ จะเป็นการเพิ่มผลประโยชน์ให้แก่ องค์การ ทั้งยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่พนักงาน ในองค์การอีกด้วย

ที่มา: www.daradaily.com รูปที่ 6: รูปแบบการท�ำงานโดยใช้นวัตกรรมสมัยใหม่

เมื่อต้องท�ำงานร่วมกับคนกลุ่ม Generation-Z คนกลุ่ม Generation-Z จะมาพร้อมกับนวัตกรรม ใหม่ๆ ทีท่ นั สมัย การเข้าร่วมท�ำงานกับคนกลุม่ นีต้ อ้ งลอง ท้าทายคนกลุ่มนี้ด้วยภารกิจใหม่ๆ คนกลุ่มนี้จะชอบ การเป็นคนส�ำคัญ การเพิ่มความรับผิดชอบเป็นเสมือน

การให้ค�ำชม จงเปิดโอกาสให้คนกลุ่มนี้ได้แสดงความ คิดเห็นของตนเอง ยอมรับให้เป็นส่วนหนึ่งในทีม ผู้ใหญ่ ทีย่ อมรับความคิดเห็นของคนกลุม่ นี้ ก็จะได้รบั การยอมรับ ผูใ้ หญ่จากคนกลุม่ นีเ้ ช่นกัน คนกลุม่ นีจ้ งึ ชอบให้ผบู้ ริหาร หรือหัวหน้าแสดงออกต่อสิ่งที่ตนเองก�ำลังท�ำ เพราะ ความรู้สึกและความคิดเห็นของเพื่อนร่วมงานมีผลต่อ คนกลุ่มนี้มาก การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการท�ำงานร่วมกัน การทีจ่ ะสร้างความสัมพันธ์ทดี่ กี บั ผูร้ ว่ มงานในแต่ละ ช่วงอายุ (Generation gap) ได้นนั้ เราควรจะได้เรียนรู้ ถึงธรรมชาติความต้องการของคนแต่ละรุ่นโดยทั่วไป เสียก่อน หากเราต้องการจะท�ำให้คนนัน้ เกิดความพึงพอใจ ก็ควรจะท�ำในสิ่งที่คนนั้นต้องการ การที่เราจะท�ำอะไร หรือให้อะไรแก่คนนั้นในสิ่งที่เขาไม่ต้องการ ก็จะไม่ช่วย สร้างให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นได้ เสมือนเป็นการน�ำ อาหารอร่อยๆ มาให้กบั คนทีก่ ำ� ลังอิม่ อยูแ่ ล้ว ย่อมไม่เกิด ประโยชน์อะไรเลย เราควรจะต้องพิจารณาดูเสียก่อนว่า เขามีความต้องการในสิง่ ใด ถ้าให้ถกู ต้องตามความต้องการ ของเขา เขาจึงจะเกิดความพึงพอใจ กฎเกณฑ์ขอ้ นีจ้ ะเป็น เงื่อนไขที่ส�ำคัญมาก ในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการ ท�ำงานร่วมกัน จึงเป็นการยากที่จะชี้ชัดลงไปว่า การสร้างความ สั ม พั น ธ์ ที่ ดี นั้ น เป็ น การง่ า ยหรื อ ยาก ซึ่ ง ทุ ก คนจะมี ขีดความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีได้มาก หรือน้อยไม่เท่ากัน จึงมีเคล็ดลับอยู่ที่ว่า ต้องรู้เขารู้เรา รู้ประเพณี รู้วัฒนธรรม ปรับกายใจของเราโดยไม่มีทิฐิ ฝึกให้เป็นนิสัย ควรสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับทุกชนชั้น ทุกระดับ ทีเ่ รานิยมเรียกกันว่า “มนุษยสัมพันธ์” โดยเฉพาะ มนุษยสัมพันธ์ทเี่ กีย่ วข้องกับการบริหารงานบุคคลเพือ่ ให้ บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การและการพัฒนาองค์การ ในทุกระดับ ดังนั้น เพื่อเสริมสร้างให้เกิดมนุษยสัมพันธ์ ที่ดีในแต่ละหน่วยงานในองค์การที่ผู้บริหารทุกระดับ ควรทราบเกีย่ วกับศิลปะของการสร้างมนุษยสัมพันธ์ทดี่ ี เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ

139


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ทักษะการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี การรู้จักจิตใจของผู้อื่น และรู้ความต้องการของ คนอืน่ เป็นสิง่ ส�ำคัญ เพราะทุกคนชอบให้มกี ารคล้อยตาม นอกจากนั้นทุกคนยังอยากให้คนอื่นสนใจ ผู้บริหารจึง ควรให้ความสนใจแก่คนทุกคน เพื่อเป็นการให้ก�ำลังใจ ในการท�ำงาน ที่มา: www.school.obec.go.th รูปที่ 7: แผนภาพความศรัทธาที่เป็นรากฐานของ มนุษยสัมพันธ์ ในการท�ำงานร่วมกัน

มนุษยสัมสัมพันธ์ในงานบริหารบุคคล การที่จะมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีได้ ผู้บริหารควรจะ ปรับปรุงตัวเองให้เป็นทีน่ า่ นิยม ยกย่องของผูอ้ นื่ เสียก่อน จึงจะท�ำให้ผอู้ นื่ อยากมาเข้าใกล้ หรือติดต่อสัมพันธ์ดว้ ย การปรั บ ปรุ ง ตนเองนั้ น ต้ อ งปรั บ ปรุ ง ทุ ก ด้ า น คื อ (จุฑา เทียนไทย, 2550) 1. Physical Adaptation เป็นการปรับตัวทาง กายภาพ ต้องดูแลรักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ รวมทัง้ การแต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะ จะเป็นการ เสริมบุคลิกภาพให้น่าสนใจ ท�ำให้เกิดความประทับใจ ทางกายภาพ 2. Emotional Adaptation เป็นการปรับตัวทางด้าน อารมณ์ โดยต้องพยายามปรับปรุงตนเอง อย่าเป็นคนที่ มีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์อย่างรวดเร็ว ควรจะมี อารมณ์หนักแน่น ผู้บริหารที่มีคุณสมบัติเช่นนี้จะท�ำให้ เป็นที่สนใจแก่คนทั่วไป 3. Intelligent Adaptation เป็นการปรับตัวทางด้าน สติปัญญา ผู้บริหารควรเป็นผู้มีความรู้กว้างขวาง และ รูจ้ กั รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ นื่ ยอมรับความคิดของผูอ้ นื่ อย่างมีเหตุผล 4. Ideational Adaptation การปรับตัวทางด้าน อุดมคติ ผู้บริหารอาจจะเปลี่ยนแปลงอุดมคติไปตาม ความจ�ำเป็น เพื่อปรับปรุงให้เข้ากับเรื่องนั้นๆ

140

ที่มา: www.cmemployment.org รูปที่ 8: ภาพความสุขจากการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี

ผู้บริหารที่ดี จึงควรจะรู้จักผู้ใต้บังคับบัญชาทุกคน เพราะบุคคลมีหลายจ�ำพวก แล้วแต่จะแบ่ง เช่น ประเภท ก้าวร้าวชอบแสดงออก (Extravert) กับเก็บตัวไม่กล้า แสดงออก (Introvert) บางคนเป็นคนขีโ้ มโหฉุนเฉียวง่าย บางคนก็ขอี้ ายชอบเก็บตัว บางคนชอบงานสังคม บางคน ขี้อิจฉาริษยา บางคนชอบเรียกร้องความสนใจ เป็นต้น ดังนั้น ผู้บริหารที่ดี ต้องพยายามใช้ลักษณะต่างๆ ของ ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาให้เป็นประโยชน์ เช่น ผูท้ ชี่ อบงานสังคม ก็อาจให้ท�ำงานทางด้านการประชาสัมพันธ์ เป็นต้น บทบาท ท่าที และความสัมพันธ์ระหว่างผูบ้ งั คับบัญชา กับผู้ใต้บังคับบัญชา หรือระหว่างผู้ใต้บังคับบัญชากับ ผูบ้ งั คับบัญชา ถ้าทัง้ 2 ฝ่ายรูใ้ จกันและกัน รูค้ วามต้องการ ของกันและกัน และเข้าใจซึง่ กันและกันอย่างถูกต้องแล้ว ความสุขใจ ความสบายใจ และความพอใจก็จะเกิดขึ้น ซึ่งเป็นบรรยากาศที่ทุกคนปรารถนาอย่างยิ่ง


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

ข้ อ ปฏิ บั ติ ม นุ ษ ยสั ม พั น ธ์ ส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห าร หรื อ หัวหน้างาน มี 18 ข้อ ดังนี้ (ชนาพร พิทยาบูรณ์, 2552) 1. ปฏิ บั ติ ง านตามกฎหมายหรื อ ตามระเบี ย บ แบบแผนขององค์การนั้น อย่าท�ำอะไรตามใจตนเอง โดยไม่มีหลักการแบบงานส่วนตัว หรือท�ำอะไรโดยไม่มี การวางแผน หรือไม่มีแบบแผน 2. ไม่เป็นผู้วางอ�ำนาจหรือถืออ�ำนาจว่าตนเป็น เจ้านายมีอ�ำนาจในหมู่ลูกน้อง จะท�ำอะไรก็ได้ มักใช้ อ�ำนาจเกินขอบเขตที่ตนมีอยู่ 3. เป็นผู้ที่สนใจและเอาใจใส่ในการงาน คอยตรวจ ดูแลงานทุกขณะ สิ่งใดที่บกพร่อง ควรปรับปรุงแก้ไข ไม่ปล่อยให้งานเป็นไปตามยถากรรม 4. พยายามปรับปรุงงานทีต่ นก�ำลังท�ำอยูใ่ ห้เหมาะสม กับเหตุการณ์และมีความทันสมัย 5. ไม่แสดงออกในลักษณะเคร่งเครียดหรือเคร่งขรึม จนเกินไป ควรเป็นผู้มีลักษณะสดชื่น มีอารมณ์เย็น หรือมีอารมณ์ขันในบางโอกาส แสดงออกซึ่งไมตรีจิต และมิตรภาพต่อเพื่อนร่วมงาน 6. การสั่งงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติ ต้องเป็น ค�ำสั่งที่แน่นอน โปร่งใส ชัดเจน มีเหตุผล และปฏิบัติได้ ไม่ก�ำกวม หรือขัดต่อระเบียบ 7. ติดตามผลงานที่สั่งไปว่า มีการด�ำเนินการได้ผล อย่างไร มีอะไรเป็นอุปสรรคบ้าง 8. ต้องเป็นผูร้ จู้ กั การประนีประนอม ไม่ทำ� เรือ่ งเล็ก ให้เป็นเรื่องใหญ่ ท�ำเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ให้ผ่านเลยไป 9. อย่าเป็นคนเห็นแก่ได้ อย่าให้ถกู วิจารณ์วา่ เห็นแก่ ของก�ำนัล จะเป็นการท�ำลายมนุษยสัมพันธ์ เสียความ ยุติธรรม ท�ำลายจิตใจผู้อื่น 10. กล้ารับผิดในทันทีที่มีความเสียหายหรือความ บกพร่องเกิดขึ้น 11. ในกรณีที่มีผู้ใต้บังคับบัญชามีนิสัยไม่ดี ไม่ควร แสดงกิริยาอารมณ์โกรธหรือโมโห ควรเรียกมาว่ากล่าว ตักเตือน หรือหาวิธีแก้ไขโดยใช้วิธีสนทนาหรืออบรม เป็นรายบุคคล ถ้าเหตุการณ์ไม่ดีขึ้น ก็ว่ากันไปตาม ระเบียบวินัย

12. เป็นผู้มีความอดทนหรือขันติธรรมเป็นพิเศษ 13. เป็นผู้สุจริตอย่างจริงใจ 14. เป็นคนไม่เล่นพวก ให้ความรักเมตตาต่อผู้ใต้ บังคับบัญชาและคนทั่ว ไปในแนวทางความยุติธ รรม สายกลาง อย่าสนับสนุนเฉพาะกลุ่มเฉพาะพวกของตน 15. เป็นผู้ที่รู้จักการเสียสละตามอัตภาพ 16. เป็นคนเสมอต้นเสมอปลาย มิตรภาพที่มีอยู่ กับเพื่อนฝูงอย่างไร เมื่อต�ำแหน่งสูงหรือใหญ่ขึ้นก็ควร รักษาไว้ในสภาพเดิม 17. รักเกียรติยศและศักดิ์ศรีของตน 18. ต้องระมัดระวัง หลีกเลี่ยง การถูกวิจารณ์จาก เพื่ อ นร่ ว มงานหรื อ ผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาว่ า เป็ น คนหู เ บา เป็นคนบ้าอ�ำนาจ เป็นคนไม่ยตุ ธิ รรม เป็นคนไม่รบั ผิดชอบ อย่าแสดงว่ายากจนหรือมั่งมีเกินไป ควรมีความเห็นอก เห็นใจต่อเพือ่ นร่วมงาน ถึงมีความรูน้ อ้ ย ก็อย่าให้ลกู น้อง ดูถกู จะเป็นการสร้างความสัมพันธ์ทดี่ กี บั ผูใ้ ต้บงั คับบัญชา เพื่อความเป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี

ที่มา: www.collegecareerlife.net รูปที่ 9: การยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน จะน�ำไปสู่ ความส�ำเร็จร่วมกัน

141


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

เมื่อต้องท�ำงานร่วมกันกับผู้บังคับบัญชาหรือผู้ใต้ บังคับบัญชา ควรยึดถือหลักปฏิบัติตน ในการสร้างและ รักษามนุษยสัมพันธ์ให้มีอยู่ในองค์การ ในฐานะที่เป็น ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาหน้ า ที่ ห ลั ก ใหญ่ ๆ คื อ การควบคุ ม สถานการณ์ท�ำงาน การดูแลและอ�ำนวยความสะดวก ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาท�ำงาน และการพัฒนาตัวบุคคล หากลูกน้องกับหัวหน้าไม่มคี วามสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กันแล้ว งานก็จะไม่ส�ำเร็จลุล่วงไปได้ ผู้เป็นหัวหน้างานนอกจาก จะต้องเข้าใจในลักษณะของงานที่ได้รับมอบหมายแล้ว ยังต้องมีความเข้าใจถึงกลไกในการท�ำงานของลูกน้องด้วย เพื่อส่งเสริมให้ก�ำลังใจลูกน้องได้ท�ำงานอย่างเต็มความ สามารถของแต่ละคน ข้อสรุปในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ 1. ช่วยให้บุคคลที่ปฏิบัติงานในองค์การมีขวัญและ ก�ำลังใจในการปฏิบตั งิ าน เกิดความจงรักภักดีตอ่ องค์การ ที่ตนปฏิบัติงาน 2. ช่วยพัฒนาให้องค์การเจริญเติบโต จากการเป็น สือ่ กลางในการประสานงานกับแผนกหรือหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อแสวงหาวิธีการให้ได้บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม (Put the right man to the right job) เข้ามาท�ำงาน ในองค์การเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3. ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งความมั่ น คงให้ แ ก่ สั ง คมและ ประเทศชาติ ถ้าการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ด�ำเนินการ อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ย่อมไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ระหว่างผู้ปฏิบัติงานและองค์การ ท� ำให้สภาพสังคม โดยส่วนรวมมีความสุข มีความเข้าใจที่ดีต่อกัน

ที่มา: www.stou.ac.th รูปที่ 10: การท�ำงานเป็นทีมเป็นกลยุทธ์ที่ส�ำคัญที่จะน�ำ องค์การไปสู่เป้าหมายได้ส�ำเร็จ

142

บรรณานุกรม

กวี วงศ์พฒ ุ . (2550). ภาวะผูน้ ำ� . ปรับปรุงพิมพ์ครัง้ ที่ 7. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาวิสัยทัศน์นักบริหาร. จุฑา เทียนไทย. (2550). การจัดการ: มุมมองนักบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล. ชนาพร พิทยาบูรณ์. (2552). มนุษยสัมพันธ์เกีย่ วข้องกับ อะไรในการท�ำงาน. กรุงเทพฯ: ส�ำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง. ดวงดาว สุ ว รรณคร สาธิ ต า โสรั ส สะ และนงนาถ ห่านวิไล. (2545). เจเนอเรชั่นใหม่สายพันธุ์แท้. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิพม์เนชั่นบุ๊ค. ดักลาส, เมอริล อี และ ดักลาส, ดอนน่า เอ็น. (2538). บริหารทีมงาน บริหารเวลา. เรียบเรียงโดย พิศมัย สุภัทรานนท์. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ บริษัท ซีเอ็ด ยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน). รัชฎา อสิสนธิสกุล และอ้อยอุมา รุ่งเรือง. (2548). การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ Generation Y เพือ่ การประยุกต์ใช้ในทีท่ ำ� งาน. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์. รุ่งเรือง ลิ้มชูปฏิภาณ์. (2547). การบริหารสมัยใหม่ เพื่อพัฒนาประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา. เอกชัย บุญยาทิษฐาน. (2551). 111 กูรูบริหารจัดการ อุตสาหกรรมโลก. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ฐานบุ๊คส์. Bateman, Thomas S. & Snell, Scott A. (2007). Management: Leading & collaborating in a competitive world. 7th ed. New York: McGraw-Hill. Tulgan, Bruce. (2009) Not everyone gets a trophy: How to manage generation Y San Francusco: Jossey-Bass. Wheelen, Thomas L. & Hunger, J. David. (2008). Strategic management and business policy. 11th ed. New Jersey: Pearson Education.


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Kanokpanthorn  Logutarawong graduated from the Department of Physics in 1991 and received the MBA in Industrial Management from Ramkhamheang University in 2009, respectively. He also received the Certification in Sports Management from United State of Sports Academy, Daphne, Alabama, USA in 2007. He was a research associate in the Research Center of Microwave Utilization in Engineering, Department of Mechanical Engineering, Thammasat University, Rangsit Campus, Pathumthani, from 2003 – 2007. He received a scholarship from the Mitsubishi Heavy Industry, Japan to work as co-researcher on Hybrid Electric Vehicle in the Power Electronics Laboratory, Shibaura Institute of Technology, Toyosu campus, Tokyo, Japan, from Oct. 2009 to April 2010. He is currently the assistant professor of Physics, Faculty of Engineering, Thai-Nichi Institute of Technology, Thailand. His research interest covers Hybrid Electrical Energy, Hybrid Electric Vehicle, Wind Power and Solar Energy, Sports Science Management, Energy Management, and Industrial Management.

143


S

imulation Modeling Unit: A Bridge Cross-Domain Communication in Building and Developing Simulation หน่วยสร้างเเบบสถานการณ์จ�ำลอง: สะพานส�ำหรับการเชื่อมผ่านข้ามโดเมน ในการสร้างเเละพัฒนาเเบบจ�ำลองสถานการณ์ Dr. Kitti Setavoraphan Lecturer in MBA Program Faculty of Business Administration Panyapiwat Institute of Management E-mail: kittiset@pim.ac.th

Abstract

For a real-world problem, numerous simulation models have not only been developed by individuals but also built on different simulation modeling languages or environments. By a means of reproducing those simulation models, it is very difficult for afterward modelers to apply those simulation concepts (e.g., entities, attributes, processes, etc.) for their specific purposes related to the same problem. As a consequence, the conceptual simulation modeling (CSM) plays a key role in translating the problem’s concepts into a standard simulation modeling framework – which can be reused to develop simulation models on different languages or environments. This paper is focused on applying one of the CSM tools, named “Simulation Modeling Unit (SMU)” to bridge a gap of cross-domain communication between problem (application) domain and simulation domain. An illustration of development of a CSM for lockage operations using the SMU will also be given. Keywords: Conceptual Simulation Modeling, Inland Waterway Transportation Systems, Lockage Operations

144


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

บทคัดย่อ

ส�ำหรับปัญหาๆ หนึ่งที่สามารถหาค�ำตอบด้วยวิธีการสร้างแบบสถานการณ์จ�ำลองนั้น พบว่ามี แบบสถานการณ์จ�ำลองจ�ำนวนมากที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยวิธีแตกต่างกันไม่ว่าจะเนื่องด้วยนักพัฒนา หรือภาษาหรือสิ่งแวดล้อมส�ำหรับการสร้างแบบสถานการณ์จ�ำลอง แต่ถ้าจะมุ่งเน้นในเรื่องของ การน�ำแบบสถานการณ์จำ� ลองเหล่านัน้ มาใช้ใหม่เพือ่ หาค�ำตอบให้กบั ปัญหาทีใ่ กล้เคียงกับปัญหาเดิม ซึง่ มีลกั ษณะเฉพาะมากขึน้ ดูเหมือนจะเป็นสิง่ ทีย่ ากส�ำหรับนักพัฒนาคนต่อๆ มากับการน�ำแนวทาง การสร้างแบบสถานการณ์จ�ำลองเดิมมาใช้ เพราะฉะนั้นวิธีการสร้างแบบสถานการณ์จ�ำลองทาง ความคิดทีใ่ ช้สนับสนุนการสร้างแบบสถานการณ์จำ� ลองจึงเข้ามามีบทบาทมากยิง่ ขึน้ อันเป็นแนวทาง ที่ส�ำคัญในการสนับสนุนการน�ำกระบวนการ แนวคิด และรูปแบบของสถานการณ์จ�ำลองเดิม กลับมาใช้ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในบทความนี้ จะมุ่งเน้นในการน�ำเสนอเครื่องมือ ที่ถูกพัฒนาเพื่อการสร้างแบบจ�ำลองทางความคิดที่ใช้สนับสนุนการสร้างแบบสถานการณ์จ�ำลอง เพือ่ ลดช่องว่างการถ่ายโอนความคิดระหว่างปัญหากับแบบสถานการณ์จำ� ลอง โดยยกตัวอย่างกรณี การจ�ำลองสถานการณ์การปฏิบัติการประตูกั้นน�้ำที่ใช้ยกหรือลดระดับน�้ำในแม่น�้ำเพื่ออ�ำนวย ความสะดวกในการเดินทางของเรือบรรทุกสินค้า ค�ำส�ำคัญ: การสร้างแบบจ�ำลองทางความคิดที่ใช้สนับสนุนการสร้างแบบสถานการณ์จ�ำลอง ระบบการขนส่งทางน�้ำ ปฏิบัติการประตูกั้นน�้ำที่ใช้ยกหรือลดระดับน�้ำในแม่น�้ำ

Introduction Among a number of simulation models developed and applied in Modeling and Simulation (M&S), it is seen that one problem domain can be solved within a similar simulation modeling framework–using different structural and behavioral characteristics. Prior to a variety of modeling and translating methods, those simulation models have been created on particular simulation modeling languages or environments. It seems to be fine unless there is a need for reproducing or reusing the simulation concepts in a new study for a similar problem domain. There is an issue that has broadly been discussed among new-entry simulation modelers (e.g., university students, research assistants)

and even experienced ones. Their only concern is how to initiate a simulation project when assigned to deal with the same problem domain for specific requirements. For example, the assignment is to develop a simulation model for a lockage operations system to do feasibility studies for constructing and operating locks on the Chao Phraya River, Thailand. They probably either develop their own simulation models (which is time-consuming) or reuse the existing models (which is convenient but difficult to do so). Either ways, they still find difficulties in translating the problem domain into proper simulation concepts. Likewise, to develop a totally brand-new simulation model is not reasonable, especially by inexperienced simulation modelers or

145


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

non-domain experts (of lockage operations systems). The main reasons are: (1) a risk that the model can be run but not valid; (2) another risk that the project will never be completed. Obviously, these kinds of risks always happen in such large, complicated simulation projects. Back to the reusable approach, only one concern for those modelers to be cautious is that none of the simulation models can be perfectly reusable. Though, it is possible to interpret some previous simulation studies, for instance, the Fox River locks system with SLAM (Bandy, 1987; 1988; 1991), the Illinois waterway system with ProModel (Bandy, 1996), and the Ohio River and the Panama Canal waterways with AutoMod 11.0 (Biles et al., 2004) into, e.g., simulation concepts, parameters, and logical processes. It is indeed difficult to apply those resources into the new assignment, due to the boundaries of cross-domain communication (Arons, 1999). This well reflects to the impacts of the barriers between simulation languages or environments by a means of simulation contents and contexts. The key solution for this dilemma is to create an interface that can facilitate the transformation of concepts from problem (application) domain into simulation domain during simulation modeling processes. The interface has been well-known as a conceptual simulation model (CSM) (Benjamin et al., 1997). A CSM can be developed through a pattern-based and knowledge-based approach (Zhou et al. 2005). This approach allows the modelers to capture (encapsulate) structural and behavioral characteristics of the target system into a form

146

of logical and descriptive representations. Based on the approach, a CSM tool called “Simulation Modeling Unit (SMU)” has been developed to facilitate construction of one or more simulation modeling instances that contain process description, node reference number, attribute, and operation aspects for building conceptual simulation models (Setavoraphan, 2005). In this paper, a demonstration of building a CSM for a simple lockage operations system by using the SMU is presented. The remaining parts of the paper are organized as follows: In Section 2, the processes of building a CSM are briefly described. Transformation of the CSM to a Visual SLAM model is shown in Section 3 with model descriptions. Conclusions and discussions are given in Section 4. Processes of Conceptual Simulation Model Building In an inland waterway transportation system, one or more locks are required when a stretch of river is made navigable by bypassing an obstruction such as a rapid, dam, or location on the river where there is a significant change in elevation. Not only are the locks used to make a river more easily navigable but also to allow a canal to cross country that is not level. Canals associating with locks system provide connections between rivers and other waterway either upstream or downstream of the elevation change (Bandy, 1996). As a fixed chamber whose water level can be varied, a lock can raise of lower vessels between stretches of water at different levels. For further


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

details of general lockage operations, see the U.S. Corps Army of Engineers’ official website and Bandy’s works (1987, 1988, 1991, and 1996). In this section, the concepts of the inland waterway lock systems, including lockage operations (derived from above) are transformed and represented in terms of conceptualization representations. There are five processes for conceptual simulation model building. 1. Capture system descriptions: First of all, the modelers must be able to obtain all the required and necessary knowledge relating to the target system and to understand its concepts. The methods of knowledge acquisition can be reviewing literatures, interviewing domain experts, and doing research on the real lockage operations systems. 2. Set objectives for simulation modeling: Wise selection of the processes and objects of interests in the model is very helpful for the modelers to establish model boundaries–leading to a well-designed scope for simulation modeling goals. For example, this study is set to illustrate how a lock operates and controls the traffic on the Chao Phraya River when barge tows and their tow boats arrive and request for travelling through it. 3. Translate descriptions into a logical process-flow model: The main purpose is to represent a sequence of activities and decisions taking place in the system. The more levels the system can be decomposed into, the more details its activities can be described. Figure 1 shows a logical process-flow model of the system in general (0th level of decomposition).

Note: S= Start, SL= Single Lockage, DL= Double Lockage Figure 1: An overview of a sub logical processflow model for the lock system

4. Identify simulation modeling elements: To reduce difficulties in translating logical models into implementation models, the simulation modeling concepts need to be identified as the following categories (Zhou et al., 2004): a) Entities: Objects flow through the system to receive services provided by a sequence of activities. A barge tow consisting of a set of barges and a tow boat is defined as an entity for this study. b) Resources: Objects are placed at fixed locations of a system according to certain configurations to provide a means of services. Each lock has two resources which are its chamber and electric wrenches. c) Functional activities: An activity is a logical process transformed into a simulation function. A collection of simulation functional activities contains processing entities, controlling entities flows, and collecting generated data from the flows in the system, which can be illustrated as follows:

147


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

- Create entities: Barge tows are created and flow through the system; - Assign entities: An entity’s attributes are, for example, arrival time, number of barges, and travelling directions; - Process entities: Lockage is defined as a delay-time process – that deals directly with the entities’ travelling in the system; - Store/hold entities: Arrival barge tows requesting for lockage are held in a waiting queue; - Aggregate/disaggregate entities: A barge tow is a set of barges and a tow boat, which is batched into a single file and unbatched when needed; - Transport/route entities: Entities are moved along the routes through the system; - Branch the flow of entities: Conditions are made for distributing entities according to their directions and number of barges; - Control the movement of entities: Barge tows send and receive signals for locking through. Signals are generated to control the traffic at the lock; - Dispose entities: Barge tows leave the system when lockage is completed; and - Collect data/statistics: Time in system and waiting time in queues of each entity are collected for analysis. Utilization of electric wrenches is also determined. d) Input and output requirements: Time between arrival rates, service rates, and delay times are inputs. The outputs are expected to be, for instance, number of barges (for either SL or DL) and time in the lock system. 5. Build a conceptual simulation model: From most simulation modelers’ points of view,

148

the processes described in 1-4 seem to be appropriately sufficient for them to build a simulation model on a specific purpose. However, there still exist some amounts of the modelers that find difficulties in developing a simulation model. Integrating simulation modeling concepts to create simulation at implementation level requires experiences in modeling and acknowledgment in particular simulation languages or environments. To reduce the gaps between cross-domain knowledge requirements and the modelers’ skills, a conceptual simulation model (CSM) is exploited as an interface that bridging them together. Based on the ideas of Simulation Modeling Unit (SMU) approach, a CSM is developed through the transformation of knowledge representations in a platform of process descriptions associating with object-oriented and pattern-based approaches. Under these approaches, each logical activity (process) can be viewed as an object class that contains attributes and operations relating to simulation modeling elements – which later functions as a simulation modeling instance (aka. a simulation modeling unit). Figure 2 presents general structure of an SMU.

Figure 2: A simulation modeling unit


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Each SMU consists of process description, node reference number, attribute, and operation aspects. First, process description displays a logical activity existing in the problem domain. Second, node reference number is used as the reference numbering scheme to identify the uniqueness of each SMU and to define levels of decomposition. Third, each attribute provides information of a structural model element performing an action and containing one or more sets of data values required for both entities and resources to apply in simulation. The final aspect, operations, is referred as an initial function activating each SMU to accomplish its descriptive processing behavior. Each operation includes one or more sets of functional elements similar to those in simulation.

Furthermore, the SMU is able to deploy other object-oriented features such as polymorphism (e.g., methods and procedures) and aggregation (e.g., a-part-of relationship for decomposition and specialization). These features help enhance capabilities in constructing simulation by a means of software engineering development, which leads to more dynamics and agilities in transforming domain concepts into simulation concepts. See Setavoraphan’s work (2005) for more details about the basics and applications of SMU. As shown in Figure 3, a CSM is built by a set of SMUs to represent the general lockage operations in simulation concepts (that are transformed from Figure 1).

Figure 3: A CSM for lockage operations

149


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Besides, the node reference# 4 can be decomposed into two sub lower-level of the lockage operations: single and double lockage,

corresponding to barge tows’ size (dimensions) for locking through. Figure 4 shows the first level decomposition of the SMU Operate Lockage.

Note: SMU XOR J1 is used as a junction corresponding to conditional branching. Figure 4: 1st decomposition of the SMU Operate Lockage

150


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Sample descriptions of the attributes and operations are given in Table 1 and 2, respectively. Table 1: Descriptions of attributes Attribute Name EntBargeTow ResLock ResWrench

Description A barge tow is defined as an entity flowing in the lock system. A barge-tow entity consists of a set of barges and a tow boat. It contains entity type, direction, and number of barges. A lock is a resource that takes an action in filling or draining water, depending on whether a barge-tow entity travels up or down. The lock resource has its own name, resource#, activity time, and capacity. An electric wrench is a resource used to pull out the barges completing the first lockage. The wrench resource includes resource# and activity time.

Table 2: Descriptions of operations Operation Name BatchBargeTow BranchBargeTow CreateBargeTow CollectData HoldBargeTow ProcessLock ProcessWrench RouteBargeTow SetLockState TerminateBargeTow

Description An action is to accumulate a set of barge tow that requests for locking through. Each barge-tow entity is routed according to conditions. A barge-tow entity is created with a set of barges and a tow boat. Statistics data of interests are collected for analysis Barge-tow entities are held in queues waiting for signals to enter the lock The lock is operated for lockage by a means of delay-activity times. Electric wrenches are used when DL is required. Each barge-tow entity is routed for specific destinations An action (of sending a signal) verifies a status of the lock (busy/idle). Each barge-tow entity is terminated when it leaves the system.

Building a CSM is determined as repetitive processes, demanding for a lot of revisions and feedbacks–to make it logical, feasible, and valid. However, it is important for the modelers to be able to realize where their boundaries (aka. satisfactions or understandings) end. Also, remember that a CSM is just used to facilitate

the development of simulation models–not a magic wand that can create them immediately. The next step is to transform the CSM to a simulation language or environment to build a simulation model. Visual SLAM, a simulation language, has been selected as well as the destination of the transformation. (see Pritsker

151


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

and O’ Reilly, 1999 for understanding Visual SLAM). Model Descriptions Development of Visual SLAM network representations of the lock system involves with the use of logic, entities, resources, variables, and various network nodes, corresponding to the simulation concepts and elements described in the previous section. Flows of entities through the network are controlled by activities defined by either durations or conditions. Add-ons modification is needed for making the network

model more agile and effective. Following examples are given to demonstrate how to transform those SMUs into the Visual SLAM network nodes. As shown in Figure 5, the SMU Generate Barge Tows (from Fig. 3) can be transformed into a set of Visual SLAM network nodes, whose required framework is to create a function that generates a number of barge-tow entities traveling either upstream or downstream on the river – with random time-between arrivals defined in XX[1] and XX[2], respectively.

Figure 5: Creation of barge tows going either upstream or downstream

Actually, a barge tow carries one or up to fourteen barges plus a tow boat. An UNBATCH node is used to create random numbers of barges plus a tow boat defined in LTRIB[1] for each entity created from a CREATE node of each direction. The number of identical entities released from the UNBATCH node are assigned attributes to specify entity type (1 = row), identity group number (LL[1]), and size (LTRIB[2]), which are grouped together into a single file by a BATCH node. Three attributes are assigned

152

to each batch to define its arrival time (ATRIB[1]) at the current simulation time (TNOW), traveling direction (1 = upstream, 2 = downstream), and required space for the lock (LTRIB[2]). The batch is routed to a waiting queue for barge tows that request for locking through with specified approaching-time duration. Not every SMU can be directly transformed into the target simulation language or environment. Likewise, for Visual SLAM, it sometimes requires the modelers to configure network


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

nodes to reflect to the requirements described within the frameworks of one or more SMUs. This indeed demands the modelers’ experiences

in each particular simulation language or environment. Figure 6 is a good example for this case.

Figure 6: Creation of lock-traffic control signal and operation of lock-control

Figure 6 shows the network that represents traffic control at the lock, corresponding to a means of the SMU Place Barge Tows in Queues and the SMU Signal for Locking Through. A signal-control entity for locking through is created from a CREATE node, which is assigned its entity type (e.g., lock) and sent to a waiting queue for releasing “enter” signal. The status of lock (LL[0] = 0) is defined “free” before the lock signal is sent to the waiting queue. A SELECT node with ASSEMBLE option is used to control traffic at the lock by waiting each of the two entities for being available at the queues and combining them together to create a barge-tow entity permitted for locking through. The assembled entity maintains its attributes of the barge-tow entity (e.g., direction and space) to be used to select its routes during flowing through the network. It travels with a duration time specified in XX[3] to enter the

lock. The lock status is then changed to “busy” (LL[0] = 1). Next, determination of lockage operations is made due to the barge tow’s required space. If the space is less than or equal to 9, the entity is routed to single lockage operation. Otherwise, double lockage is operated, instead. Moreover, it is seen that Figure 6 also includes some partial concepts of the SMU Operate Lockage in terms of selection of lockage-operation type. This shows how important the modelers’ flexibility in translating concepts from knowledge representations like SMUs into a simulation language or environment such as Visual SLAM is needed. It is found out that the modelers must be able to define the boundaries of representing structural and behavioral characteristics within a well-designed framework of simulation contexts and contents– leading to modularization of Visual SLAM net-

153


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

work nodes. Not only can each module reflect to the concepts specified in individual SMUs but also affect to its and others’ functionality and continuity when composition takes place. Therefore, management of levels of details (e.g., decomposition) of conceptualization is crucial. The more the details of concepts are given (to define where the boundaries are located), the better the designs of modules are made (to identify in which those Visual SLAM network nodes are grouped). As of applying methodologies of decomposition and modularization, the modelers are

able to layout individual modules’ scopes, flows, and relationships, which helps reduce or eliminate complexity in modeling. For instance, it is fine for the modelers to transform the SMU Operate Lockage into only one set of Visual SLAM network nodes that include both lockage operation types. However, the result might turn out as a complex module that would create errors – depending on the modelers’ experiences and expertise. Figure 7 and 8, thus, are the examples of taking advantages from both decomposition and modularization.

Figure 7: Single lockage operation

The module given in Figure 7 shows the general processes for a single lockage operation. In this study, a lockage operation is determined as a time-consuming activity, so the main focus of designing this module is to find out how long each barge tow spends in lockage time. Lockage time is defined as a duration time that a lock takes for filling or draining water into

154

or out of the lock. When the lockage is completed, the barge tow moves out of the lock with XX[4] duration time. Then, the status of lock is turned to be “free” again. The barge tow continues its trip following its designated direction and leaves the system a TERMINATE node. The lock signal is sent back to its waiting queue with a particular delay time.


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Figure 8: Double lockage operation

As well, Figure 8 illustrates another module representing a double lockage operation, which is focused on not only lockage time but also resource-utilization time. In general, after the first lockage is completed, a wrench is utilized for pulling the barges in and out of the lock for locking through – that consumes time for each pulling activity. A RESOURCE block is used to identify resource WRENCH that has a capacity of 1 to be used in the module. An AWAIT node is used for the barge-tow entity representing the front part as it waits for being pulled by the WRENCH resource. When the WRENCH resource is available, it takes some pulling-time duration to move the part out of the lock. A FREE node is used to free one unit of resource WRENCH immediately, so that it is available for the next use. The water elevation inside

the lock then returns to the initial level to allow the entity, at this time, representing the back part to enter the lock for the second lockage. Both operations take place within specified lockage times. XX[5] represents a delay time for the back part to move out of the lock and combine together with the front part. LL[0] is changed to be 0 to turn the lock status to be free. The barge tow leaves the system to continue its journey at a TERMINATE node. The lock signal is delayed for a period of time before backing to its queue. All the modules of Visual SLAM network nodes illustrated above can be further improved for better performance as well as the SMUs. As stated earlier in this paper, building a CSM is iterative processes, which is also applied to the processes of creating a simulation model.

155


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

At the modeling satisfaction level, both SMUs and simulation modules will be standardized as references for future studies in the same problem domain. Therefore, degrees of reusability depend on how well they perform to answer those questions in modeling. Conclusions This paper represents an application of Simulation Modeling Unit (SMU) to develop a conceptual simulation model (CSM) with a purpose of facilitating construction of simulation models such as the lockage operations system with Visual SLAM as demonstrated (Note: Another demonstration, the regional distribution center systems with Arena, can be found in Setavoraphan’s thesis (2005)). It is seen that the simulation modeling concepts and elements can be captured and formalized into conceptualization level. This helps the modelers implement those into their simulation models. Moreover, the SMUs can be reused for building simulation models (within the same problem domain) on any other simulation languages or environments. It creates better performance in communications between modelers and between concepts and languages via effective and efficient representations. However, the SMUs are still too abstract for the modelers to build simulation when the system is more complex and has various constraints. Thus, having a team with a variety of individual skills plays the key role in reducing or eliminating difficulties in managing complexity.

156

Another issue to be included is that like many other modeling languages, SMU has been considered as an in-house modeling language– that is only used within a closed community or organization. This implies that a mutual agreement among team members in deploying SMU to communicate their simulation-work flows is indeed required–due to their different modeling backgrounds. To reduce gaps among theirs, a number of trainings and practices are essential.

References

Arons, H. D. S. (1999). Knowledge-based modeling of discrete-event simulation systems, Proceedings of the 1999 Winter Simulation Conference. Bandy, D. B. (1987). Simulation of Fox River locks boat traffic, Presented at St. Louis ORSA/TIMS Joint National Meeting. Bandy, D. B. (1988). Fox River locks SLAM simulation model, Proceedings of the 1988 Winter Simulation Conference. Bandy, D. B. (1991). Simulation of Fox River locks boat lift, Proceedings of the 1991 Winter Simulation Conference. Bandy, D. B. (1996). Simulation of the Illinois waterway locks system, Proceedings of the 1996 Winter Simulation Conference. Benjamin, P. C., Blinn, M., Fillion., and Mayer, R. J. (1993). Intelligent support for simulation modeling: A description-driven approach, Proceedings of the 1993 Summer Computer Simulation Conference.


วารสารปัญญาภิวัฒน์ PANYAPIWAT JOURNAL

Biles, W. E., Sasso, D., and Bilbrey, J. K. (2004). Integration of simulation and geographic information systems: Modeling traffic flow in inland waterways, Proceedings of the 2004 Winter Simulation Conference. U.S. Army Corps of Engineers. (2006). Navigation. Retrieved October 5, 2006, from: http:// www.swl.usace.army.mil/navigation/ lock. html. Pritsker, A.A.B. & O’Reilly, J.J. (1999). Simulation with Visual SLAM and AweSim. New York: John Wiley.

Setavoraphan, K. (2005). Conceptual simulation modeling for regional distribution center systems, Master’s thesis, Indiana State University, Terre Haute, Indiana, USA. Zhou, M., Setavoraphan, K., and Chen, Z. (2005). Conceptual simulation modeling of warehousing operations, Proceedings of the 2005 Winter Simulation Conference. Zhou, M., Son, Y. J., and Chen, Z. (2004). Knowledge representation for conceptual simulation modeling, Proceedings of the 2004 Winter Simulation Conference.

Dr.Kitti Setavoraphan received his Ph.D. in Industrial Engineering from the University of Oklahoma, USA in 2009. He also earned his Master of Science in Industrial Technology from Indiana State University, USA in 2005 and Bachelor of Computer Engineering from Assumption University, Thailand in 2002. He is currently a full-time lecturer in the Master Business Administration program at the Faculty of Business Administration, Panyapiwat Institute of Management. His research interests are in the areas of systems modeling and analysis, simulation, supply chain and logistics management, operations and production management, and risk management.

157


รายละเอียดการเตรียมบทความเพื่อส่งตีพิมพ์ วารสารปัญญาภิวฒ ั น์เป็นวารสารวิชาการของสถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ มีกำ� หนดจัดพิมพ์วารสารปีละ 2 ฉบับ จึงขอเชิญเสนอบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสาร โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ข้อมูลเบื้องต้นของวารสาร 1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแหล่งน�ำเสนอและเผยแพร่ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ 1.2 ประเภทผลงานทีจ่ ะตีพมิ พ์ ประกอบด้วย บทความวิชาการ (Academic article) บทความวิจยั (Research article) บทวิจารณ์หนังสือ (Book review) และบทความปริทัศน์ (Review article) 1.3 ขอบเขตเนื้อหา ประกอบด้วย สาขาวิชาบริหารธุรกิจ ศิลปศาสตร์ นิเทศศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และ เทคโนโลยี 1.4 ก�ำหนดพิมพ์เผยแพร่ ปีละ 2 ฉบับ (กรกฎาคม - ธันวาคม และ มกราคม - มิถุนายน) 2. นโยบายการพิจารณากลั่นกรองบทความ 2.1 บทความทีจ่ ะได้รบั การตีพมิ พ์ ต้องไม่เคยตีพมิ พ์เผยแพร่ทใี่ ดมาก่อน และต้องไม่อยูใ่ นกระบวนการพิจารณา ลงตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่นใด 2.2 บทความทีจ่ ะได้รบั การตีพมิ พ์ ต้องเป็นบทความทีแ่ สดงให้เห็นถึงคุณภาพทางวิชาการ และมีประโยชน์ในเชิง ทฤษฎีหรือเชิงปฏิบตั ิ โดยผ่านการพิจารณาและให้ความเห็นชอบจากผูท้ รงคุณวุฒิ (Peer review) ซึง่ ต้องมีคณ ุ สมบัติ อย่างต�่ำ ตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ ท�ำงานวิจัยและมีผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง จ�ำนวน อย่างน้อย 2 ท่านขึ้นไปต่อบทความ 2.3 กองบรรณาธิการอาจส่งผลการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิให้ผู้เขียนแก้ไข เพิ่มเติม หรือพิมพ์ต้นฉบับใหม่ แล้วแต่กรณี 2.4 กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขรูปแบบบทความที่ส่งมาตีพิมพ์ 2.5 การยอมรับเรื่องที่จะตีพิมพ์เป็นสิทธิ์ของกองบรรณาธิการ และกองบรรณาธิการจะไม่รับผิดชอบในเนื้อหา หรือความถูกต้องของเรื่องที่ส่งมาตีพิมพ์ทุกเรื่อง 3. ข้อก�ำหนดของบทความต้นฉบับ 3.1 การจัดพิมพ์บทความ 1) ความยาวของบทความ 10-12 หน้ากระดาษ A4 พิมพ์หน้าเดียว (นับรวมรูปภาพ ตาราง เอกสารอ้างอิง และภาคผนวก) 2) รูปแบบตัวอักษร ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun PSK เท่านั้น 3) ชื่อเรื่องบทความ ขนาดตัวอักษร 18 pt. (ตัวหนา) จัดกึ่งกลางหน้ากระดาษ 4) ชื่อผู้เขียนทุกคน พร้อมระบุวุฒิสูงสุด ต�ำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) ต�ำแหน่งงานและหน่วยงานที่สังกัด ขนาดตัวอักษร 16 pt. 5) ชื่อบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวหนา) จัดชิดซ้าย

158


6) เนื้อหาบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาดตัวอักษร 16 pt. จัดชิดซ้ายขวา 7) ชื่อหัวเรื่องใหญ่ ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวหนา) จัดชิดซ้าย ไม่ใส่เลขล�ำดับที่ 8) ชื่อหัวเรื่องรอง ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวหนา) ย่อหน้าเข้ามา 9) เนื้อหาบทความ พิมพ์ 2 คอลัมน์ ในแต่ละคอลัมน์ให้ชิดขอบซ้ายขวา ขนาดตัวอักษร 15 pt. 10) เนื้อหาบทความ ย่อหน้า 1 ซม. 11) ชื่อตาราง ขนาดตัวอักษร 14 pt. (ตัวหนา) ให้ระบุไว้บนตารางจัดชิดซ้าย ใต้ตารางให้บอกแหล่งที่มา จัดชิดซ้าย 12) ชื่อรูป ชื่อแผนภูมิ ขนาดตัวอักษร 14 pt. (ตัวหนา) ให้ระบุไว้ใต้รูป แผนภูมิ จัดกึ่งกลางหน้ากระดาษ ใต้รูปแผนภูมิให้บอกแหล่งที่มาจัดชิดซ้าย 13) ระยะขอบกระดาษ 1 นิ้ว (2.54 ซม.) เท่ากันทุกด้าน 14) หมายเลขหน้า ให้ใส่ไว้ต�ำแหน่งด้านล่างขวาตั้งแต่ต้นจนจบบทความ 15) ชื่อบรรณานุกรม ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวหนา) จัดชิดซ้าย 16) เนื้อหาบรรณานุกรม ขนาดตัวอักษร 16 pt. พิมพ์ 2 คอลัมน์ 3.2 ส่วนประกอบของบทความ 1) ชื่อเรื่องบทความ (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 2) ชื่อผู้เขียนทุกคน พร้อมระบุคุณวุฒิสูงสุด ต�ำแหน่งทางวิชาการ(ถ้ามี) ต�ำแหน่งงานและหน่วยงานที่ สังกัด (ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษขึ้นอยู่กับการเขียนภาษาในบทความ) 3) บทคัดย่อ (Abstract) ความยาวไม่เกิน 200 ค�ำ และค�ำส�ำคัญ (Keyword) 3-5 ค�ำ (ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ) 4) เนื้อเรื่อง 4.1) บทความวิชาการ ประกอบด้วย บทน�ำ เนื้อหา และบทสรุป 4.2) บทความวิจัย ประกอบด้วย บทน�ำ ทบทวนวรรณกรรม วิธีการวิจัย ผลการวิจัย อภิปราย และ สรุปผลการวิจัย 5) เอกสารอ้างอิง 6) ถ้ามีรปู ภาพ แผนภูมิ ตารางประกอบ หรืออืน่ ๆ ต้องมีหมายเลขก�ำกับในบทความ อ้างอิงแหล่งทีม่ าของ ข้อมูลให้ถูกต้อง ชัดเจน และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ใช้รูปภาพสีหรือขาว-ด�ำ ที่มีความคมชัด และส่งภาพถ่าย ต้นฉบับหรือไฟล์รูปภาพแยกต่างหาก แนบมาพร้อมกับบทความด้วย 3.3 การอ้างอิงเอกสาร 1) การอ้างอิงในเนือ้ หาเพือ่ บอกแหล่งทีม่ าของข้อความนัน้ ให้ใช้วธิ กี ารอ้างอิงแบบนาม-ปี โดยระบุชอื่ ผูเ้ ขียน ปีพิมพ์ และเลขหน้าของเอกสาร ไว้ข้างหน้าหรือข้างหลังของข้อความที่ต้องการอ้างอิง เช่น สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (2546: 147) ….. หรือ ..... (Newman and Cullen, 2007: 18-19) หรือ ..... (ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ, 2546: 217-219) 2) การอ้างอิงท้ายบทความ ให้รวบรวมเอกสารที่ใช้อ้างอิงไว้ท้ายบทความ เรียงตามล�ำดับอักษรชื่อผู้เขียน ให้เรียงรายการเอกสารภาษาไทยไว้ก่อนภาษาอังกฤษ โดยใช้รูปแบบการเขียนอ้างอิงตามระบบ APA ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้

159


2.1) วารสารและนิตยสาร วารสารเรียงล�ำดับหน้าโดยขึ้นต้นหน้าหนึ่งทุกครั้งเมื่อขึ้นฉบับใหม่ให้ระบุ (ฉบับที่) รูปแบบ ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ชื่อวารสาร, ปีที่(ฉบับที่), หน้าแรก-หน้าสุดท้าย. Author(s). (Year of publication). Title of article. Title of periodical or journal, Volume(issue), First-last page. ตัวอย่าง ขวัญฤทัย ค�ำขาว และเตือนใจ สามห้วย. (2530). สีธรรมชาติ. วารสารคหเศรษฐศาสตร์, 30(2), 29-36. Acton, G. J., Irvin, B. L., & Hopkins, B. A. (1991). Theory-testing research: building the science. Advance in Nursing Science, 14(1), 52-61. วารสารเรียงล�ำดับหน้าหนึ่งถึงหน้าสุดท้ายต่อเนื่องกันตลอดปี ไม่ต้องระบุ (ฉบับที่) ตัวอย่าง ขวัญฤทัย ค�ำขาว และเตือนใจ สามห้วย. (2530). สีธรรมชาติ. วารสารคหเศรษฐศาสตร์, 30, 29-36. Dzurec, L. C., & Abraham, I. L. (1993). The nature of inquiry linking quantitative and qualitative research nursing. Journal of Advanced Nursing, 18, 298-304.

2.2) หนังสือ รูปแบบ ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อหนังสือ. เมืองที่พิมพ์: ส�ำนักพิมพ์. ตัวอย่าง วิจารณ์ พานิช. (2551). การจัดการความรู้ ฉบับนักปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการจัดการ ความรู้เพื่อสังคม. Chakravarthy, B., Zaheer, A., & Zaheer, S. (1999). Knowledge sharing in organizations: A field study. Minneapolis: Strategic Management Resource Center, University of Minnesota. กรณีที่หนังสือไม่ปรากฏชื่อผู้แต่งหรือบรรณาธิการ ให้ขึ้นต้นด้วยชื่อหนังสือ ตัวอย่าง Merriam-Webster’s collegiate dictionary (10th ed.). (1993). Springfield, MA: Merriam-Webster 2.3) รายงานการประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการ รูปแบบ ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ชื่อเอกสารรวมเรื่องรายงานการประชุม, วัน เดือน ปี สถานที่จัด. เมืองที่พิมพ์: ส�ำนักพิมพ์. ตัวอย่าง กรมวิชาการ. (2538). การประชุมปฏิบัติการรณรงค์เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน, 25-29 พฤศจิกายน 2528 ณ วิทยาลัยครูมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ.

160


Deci, E. L., & Ryan, R. M. (1991). A motivational approach to self: Integration in personality. In R. Dienstbier (Ed.), Nebraska Symposium on Motivation: Vol. 38. Perspectives on Motivation (pp. 237-288). Lincoln: University of Nebraska Press. 2.4) บทความจากหนังสือพิมพ์ รูปแบบ ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์, เดือน วันที่). ชื่อเรื่อง. ชื่อหนังสือพิมพ์, หน้าที่น�ำมาอ้าง. ตัวอย่าง สายใจ ดวงมาลี. (2548, มิถุนายน 7). มาลาเรียลาม3จว.ใต้ตอนบน สธ.เร่งคุมเข้มกันเชื้อแพร่หนัก. คม-ชัด-ลึก, 25. Di Rado, A. (1995, March 15). Trekking through college: Classes explore modern society using the world of Star Trek. Los Angeles Time, p. A3. 2.5) วิทยานิพนธ์ รูปแบบ ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อวิทยานิพนธ์. ชื่อปริญญา, สถาบันการศึกษา. ตัวอย่าง พันทิพา สังข์เจริญ. (2528). วิเคราะห์บทร้อยกรองเนือ่ งในวโรกาสวันเฉลิมพระชนม-พรรษา 5 ธันวาคม. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Darling, C. W. (1976). Giver of due regard: the poetry of Richard Wilbur. Ph.D. Thesis, University of Conecticut, USA. 2.6) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบ ชื่อผู้เขียน. (ปีที่เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต). ชื่อเรื่อง. สืบค้นเมื่อ......., จาก ชื่อเว็บไซต์ เว็บไซต์: URL Address ตัวอย่าง ประพนธ์ ผาสุขยืด. (2551). การจัดการความรู.้ ..สูอ่ นาคตทีใ่ ฝ่ฝนั . สืบค้นเมือ่ 27 มีนาคม 2552, จาก การจัดการความรู้ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เว็บไซต์: http://www.si.mahidol.ac.th/km/admin/add_information/ document/document_files/95_1.pdf Treeson, Lauren. (2009). Exploring a KM process for retaining critical capabilities. Retrieved February 11, 2009, from KM Edge: Where the Best in KM Come Together Website: http://kmedge.org/ 2009/03/ knowledge-management-process-retaining-critical-capabilities.html

161


4. การส่งบทความ ผู้สนใจเสนอบทความสามารถจัดส่งบทความถึงกองบรรณาธิการวารสารได้โดยช่องทาง ดังนี้ 1) จัดส่งผ่านระบบ “Paper Submission” ได้ที่เว็บไซต์ http://journal.pim.ac.th หรือ 2) จัดส่งทางอีเมล์มาที่ research@pim.ac.th หรือ 3) จัดส่งทางไปรษณีย์ถึง บรรณาธิการวารสารปัญญาภิวัฒน์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 การจัดส่งบทความทางอีเมล์และทางไปรษณียต์ อ้ งส่งพร้อมแบบเสนอบทความ ซึง่ สามารถดาวน์โหลดได้ที่ เว็บไซต์ http://journal.pim.ac.th 5. ติดต่อสอบถามข้อมูล ติดตามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ http://journal.pim.ac.th หรือติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่ ส�ำนักวิจยั และพัฒนา สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2832 0225 หรืออีเมล์: research@pim.ac.th

162


แบบเสนอบทความ วารสารปัญญาภิวัฒน์ ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) : ............................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................... ชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) : ........................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................... ผู้เขียนหลัก (ชื่อที่ 1) ชื่อ-สกุล :.................................................................................................................................................................................... ต�ำแหน่งและที่อยู่หน่วยงาน : ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์.........................................................โทรสาร.................................................E-mail.................................................... ผู้เขียนหลัก (ชื่อที่ 2) ชื่อ-สกุล :.................................................................................................................................................................................... ต�ำแหน่งและที่อยู่หน่วยงาน : ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์.........................................................โทรสาร.................................................E-mail.................................................... ผู้เขียนหลัก (ชื่อที่ 3) ชื่อ-สกุล :.................................................................................................................................................................................... ต�ำแหน่งและที่อยู่หน่วยงาน : ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์.........................................................โทรสาร.................................................E-mail.................................................... ประเภทบทความที่เสนอ บทความวิชาการ (Academic article) บทความวิจัย (Research article) บทวิจารณ์หนังสือ (Book review) บทความปริทัศน์ (Review article) ถ้าบทความที่เสนอเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย วิทยานิพนธ์ หรืออื่นๆ โปรดระบุดังนี้ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ (เอก) วิทยานิพนธ์ (โท) อื่นๆ (ระบุ)........................................................... ค�ำรับรองจากผู้เขียน

“ข้าพเจ้าและผู้เขียนร่วม (ถ้ามี) ขอรับรองว่า บทความที่เสนอมานี้ยังไม่เคยได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณา ลงตีพมิ พ์ในวารสารหรือสิง่ ตีพมิ พ์อนื่ ใด ข้าพเจ้าและผูเ้ ขียนร่วมยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทัง้ ยินยอมให้กองบรรณาธิการมีสทิ ธิพ์ จิ ารณา และตรวจแก้ตน้ ฉบับได้ตามทีเ่ ห็นสมควร พร้อมนีข้ อมอบลิขสิทธิบ์ ทความทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์ให้แก่ สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ กรณีมกี ารฟ้องร้อง เรือ่ งการละเมิดลิขสิทธ์เกีย่ วกับภาพ กราฟ ข้อความส่วนใดส่วนหนึง่ และ/หรือข้อคิดเห็นทีป่ รากฏในบทความ ให้เป็นความรับผิดชอบของข้าพเจ้า และผู้เขียนร่วมแต่เพียงฝ่ายเดียว”

ลงชื่อ .......................................................................... ( ) ..................../..................../....................

163


ใบสมัครสมาชิก/สั่งซื้อ วารสารปัญญาภิวัฒน์ ชื่อ-นามสกุล/ชื่อหน่วยงาน............................................................................................................................................ ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่................ หมู่ท.ี่ .............ต�ำบล/แขวง........................................เขต/อ�ำเภอ.................................... จังหวัด....................................................... รหัสไปรษณีย.์ .............................โทรศัพท์. ................................................ โทรศัพท์มือถือ........................................................... โทรสาร.................................. E-mail........................................ มีความประสงค์จะสมัครเป็นสมาชิกวารสารปัญญาภิวัฒน์

ประเภท

1 ปี 2 ฉบับ เป็นเงิน 160 บาท

2 ปี 4 ฉบับ เป็นเงิน 310 บาท

3 ปี 6 ฉบับ เป็นเงิน 450 บาท

มกราคม - มิถุนายน

เริ่มฉบับประจ�ำเดือน

กรกฎาคม - ธันวาคม

วิธีการช�ำระเงิน

เงินสด ที่ส�ำนักวิจัยและพัฒนา อาคารอ�ำนวยการ ชั้น 2

โอนเงินผ่านธนาคาร

ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุรวงศ์ บัญชีสะสมทรัพย์

ชื่อบัญชี กองทุนวิจัย สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

เลขที่ 147-4-71631-1

ลงชื่อผู้สมัคร/สั่งซื้อ ...............................................................................

( )

..................../......................./....................

ส่งใบสมัครสมาชิก/สั่งซื้อวารสาร พร้อมหลักฐานการโอนเงิน ไปที่

ส�ำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลบางตลาด

อ� ำ เภอปากเกร็ ด จั ง หวั ด นนทบุ รี 11120 (วงเล็ บ มุ ม ซองด้ า นขวา “สมาชิ ก วารสารปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ ” ) โทรศัพท์ 0 2832 0225 โทรสาร 0 2832 0392

164


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.