หนังสือพิมพ์ไทยเสรี ฉบับที่ 121

Page 1

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ทั นประจำ ส �ถเดืาอนพฤษภาคม น ก า ร ณ์2557

ติ ด ต า ม ข่ า ว ส า ร ไ ด้ ที่

w w w . t h a i s a e r e e .หน้ c oาm1

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557 ราคา 10 บาท

“ชาญวิทย์”เมินการเมืองร้อน ทุม่ ทุน500ล.เปิดตลาดไทบ้าน พัฒนาให้เป็นวิถชี มุ ชนดัง้ เดิม

เปิดศูนย์กระจายสินค้า ; นายสุนทร อรุณานนท์ชัย ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบริชั่น ซิสเทม จำ�กัด มร.จอห์น คริสตี้ ประธานกรรมการบริหาร เทสโก้ โลตัส เปิด “ศูนย์กระจายสินค้าภูมิภาค” ซึ่งเป็นศูนย์ที่ทันสมัยมาตรฐานสากล และ ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยมี นายวินัย สิทธิมณฑล รองผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น พร้อมหัวหน้าหน่วยงาน และนักธุรกิจ ร่วมแสดงความยินดี ณ ศูนย์กระจายสินค้า เทส โก้ โลตัส ถนนมิตรภาพ ต.ท่าพระ อ.เมือง จ.ขอนแก่น เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2557

นั ก ธุ ร กิ จ ไทยเวี ย ด ผู้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ อสั ง หาฯ ชี้ไทยยังไม่มีความพร้อมเป็น AEC น ชี้การเมืองตัวแปร ปรับ บุ ก ตลาดเวี ย ดนาม ขอนแก่ รกิจหันมาพัฒนาพื้นที่เชิง ทั้งภาครัฐและเอกชน ชี้ไทยยังไม่มีความพร้อม ห นุ น ค น รุ่ น ใ ห ม่ แผนธุ มากพอก้าวเข้าสู่ AEC ปลายปี 2558 โดย พาณิ ช ย์ ใ ห้ เ ป็ น วิ ถ ี ช ุ ม ชนแบบ ลงทุนข้ามชาติสดใส ดั้งเดิม พร้อมปรับให้เข้ากับสังคม เฉพาะในเรื่องของภาษา อยากให้คนไทยฉวย

อนาคตเศรษฐกิจไทยภายใต้ประชาคมอาเซียน ; นายวินัย สิทธิมณฑล รองผู้ว่า ราชการจังหวัดขอนแก่น เป็นประธานเปิดงาน “อนาคตเศรษฐกิจไทยภายใต้ประชาคม อาเซียน” โดยมี นายวุฒิชัย ดวงรัตน์ รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ นายสาโรจน์ สุวัตถิกุล พาณิชย์จังหวัดขอนแก่น พร้อมหัวหน้าหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมพิธี ณ ขอน แก่นฮอลล์ ชั้น 5 ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซ่า จังหวัดขอนแก่น

นักธุรกิจไทย เชื้อสายเวียดนาม เล็งอนาคต ยึดครองธุรกิจในเวียดนาม ดันคนรุ่นใหม่ ลงทุนข้ามชาติ โดยมีสมาคมนักธุรกิจไทยเวียดนาม อาสาคนเป็นคนกลางเชื่อมโยง ประสานงานทั้งสองประเทศให้ อ่านต่อหน้า 11

เมืองยุคไอที มองตลาดยังขยาย ตัวได้ หลังจากได้แรงหนุนปรับตัว รองรับการเปิดAEC อ่านต่อหน้า 11

โอกาสที่ต่างชาติแห่เข้าลงทุนเป็นประโยชน์แก่ ตน อย่ามองว่าเป็นการแข่งขัน แต่ตอ้ งเร่งปรับ ตัวเองให้เข้ากับสถานการณ์ อ่านต่อหน้า 2

เซ็ น โทซ่ า ผุ ด ไลฟ์ ส ไตล์ ม อลล์ อนาคตเศรษฐกิ จ ไทย ยึ ด หลั ก ครบถ้ ว นในที่ เ ดี ย ว เทสโก้โลตัสเปิดศูนย์กระจายสินค้า ภายใต้ ป ระชาคมอาเซี ย น ขอนแก่นนำ�ร่องแห่งแรกในภูมิภาค

พาณิชย์ เดินสายสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ เทสโก้ โลตัส เปิดศูนย์กระจายสินค้าภูมภิ าคแห่งแรก ประกอบการธุรกิจในภูมิภาค เตรียมรับมือ ทีจ่ งั หวัดขอนแก่น รองรับธุรกิจทีเ่ ติบโตอย่างต่อเนือ่ ง กระแสอาเซียน สร้างความเชือ่ มัน่ แสดงความ แข็งแกร่ง สำ�รวจลู่ทางการลงทุน ขับเคลื่อน นำ�ส่งสินค้าให้ลูกค้าทั่วภาคอีสาน พร้อมส่งเสริมการ สู่เศรษฐกิจโลก เพื่อรองรับตลาดการค้าการ เติบโตของเศรษฐกิจในพื้นที่ อ่านต่อหน้า 11 ลงทุนที่มีมูลค่ามหาศาล อ่านต่อหน้า 11

“เซ็นโทซ่า” ทุ่มงบว่า 70 ล้านบาท ขยายสาขาแห่งที่ 3 ในแบบไลฟ์ สไตล์มอลล์ รับความเปลี่ยนแปลง ในยุ ค โลกไร้ พ รมแดน ขยายฐาน ลูกค้า และปรับตัวชิงส่วนแบ่งการ ตลาดคืนจากห้างยักษ์ใหญ่ที่รุกเข้า มาในท้องถิ่น อ่านต่อหน้า 11

รับรองมาตรฐาน โรงแรม 5 ดาว ; มร. โอเล่ นีลเซ่น ผู้จัดการใหญ่ โรงแรมพูล แมน ขอนแก่น ราชา ออคิด พร้อมผู้บริหาร และพนักงานโรงแรมฯ แสดงความ ยินดีในโอกาส โรงแรมพูลแมน ขอนแก่น ราชา ออคิด ได้รับมอบเครื่องหมาย รับรองมาตรฐานการท่องเที่ยวไทย ประจำ�ปี 2556 “Thailand Tourism Standard 2013” ประเภทโรงแรมระดับ 5 ดาว จากกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่อง เที่ยวและกีฬา เมื่อเร็วๆ นี้


หน้า 2 เซ็นโทซ่า

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557 • ต่อจากหน้า 11 โดยปัจจุบันนี้ด่านเข้า-ออก จะปิดในเวลา 22.00 น.

โดยยึดหลัก One stop service เพือ่ ตอบสนองความ ต้องการของประชาชนยุคใหม่ โดยพัฒนาตัวเองให้เป็นมากกว่าผู้ค้าปลีก หรื อ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า ท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง นอกจากการ พัฒนาพื้นที่สำ�หรับจำ�หน่ายสินค้าแล้ว บริษัทฯ ยังได้เพิ่มมูลค่าที่ดินให้ชาวขอนแก่น ได้เข้ามาใช้ เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ยกระดับด้านบริการ และเป็นทางเลือกในการจับจ่ายสินค้า เพื่อพัฒนา ห้างสรรพสินค้าให้เข้ากับยุคสมัยแห่งเทคโนโลยี ปัจจุบันของเมืองขอนแก่น ซึ่งเป็นเมือง MICE CITY และ EVENT CITY นายสัญชัย กล่าวต่อว่า โดยเน้นให้บริการ ด้านสินค้าอุปโภคและบริโภคเป็นหลัก แต่ทั้งนี้ ยังให้ความสำ�คัญกับสินค้าที่นำ�มาจำ�หน่าย ต้อง ครบครันในการใช้ชีวิตประจำ�วันทุกประเภทรวม ทั้งยังได้เพิ่มสินค้าประเภทอาหารสดเพื่อเป็นการ ตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภคให้ครบถ้วน มากยิ่งขึ้น แต่ทั้งนี้ ราคาต้องถูกกว่าเพื่อเป็นการ ช่วยเหลือผู้บริโภคภายในท้องถิ่นอย่างแท้จริง อีก ทั้งเป็นการช่วยเหลือให้ผู้ประกอบการ SMEs จึง ได้จดั พืน้ ทีส่ �ำ หรับการเปิดตัวจำ�หน่ายสินค้า OTOP สินค้าจากชุมชน ซึ่ ง ถื อ เป็ น การช่ ว ยเหลื อ พึ่ ง พาซึ่ ง กั น ระหว่างผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ และผูบ้ ริโภคในท้อง ถิ่น ให้มีพื้นที่สำ�หรับผู้ประกอบการ SMEs ขนาด กลางและขนาดย่อม ให้สามารถยืนอยู่ได้ในตลาด การค้าสากล จึงพัฒนารูปแบบสู่การเป็น “เซ็นโท ซ่า มาร์เก็ต” ถนนศรีจันทร์ ในรูปแบบของไลฟ์ สไตล์มอลล์ “นอกจากพื้ น ที่ จำ � หน่ า ยสิ น ค้ า อุ ป โภค บริโภค สินค้าอาหารแห้งแล้ว ยังเพิม่ สินค้าประเภท อาหารสด และสินค้าประเภท Ready to eat หรือ สินค้าสำ�เร็จพร้อมปรุงให้มีความหลากหลายมาก ยิง่ ขึน้ ยังมีพนื้ ทีส่ �ำ หรับการพักผ่อน และผ่อนคลาย จากการทำ�งาน อาทิ ร้านกาแฟ อะเมซอน, ร้าน เบเกอรี่, ร้านจำ�หน่ายยา ซึ่งมีเภสัชกรคอยให้คำ� ปรึกษาตลอดทัง้ วัน ร้านเสริมสวย Salon by For-U ร้ า นจำ � หน่ า ยและซ่ อ มอุ ป กรณ์ มื อ ถื อ อุ ป กรณ์ คอมพิวเตอร์ รวมถึง Gift shop ซึ่งมีสินค้าสำ�หรับ สุภาพสตรีทุกวัย และเชื่อมั่นว่า เซ็นโทซ่า มาร์เก็ต จะสร้างความประทับใจในความเป็น ไลฟ์สไตล์ มอลล์ ให้กับประชาชนที่เข้ามาใช้บริการภายใน ห้างสรรพสินค้าของท้องถิ่นอย่างแน่นอน” นาย สัญชัย กล่าวและว่า “เซ็นโทซ่า มาร์เก็ต” ถนนศรีจันทร์ เป็น ทำ�เลซึง่ มีศกั ยภาพสูงมาก เพราะอยูใ่ นแหล่งชุมชน ใกล้กับวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล โรงพยาบาล ขอนแก่น และหน่วยงานทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน อีก ทัง้ มีสถานทีจ่ อดรถยนต์สะดวกสบายกว่า 100 คัน เปิดให้บริการทุกวันตัง้ แต่เวลา 10.00 น. - 21.00 น. หรือ สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ 043-222572 ภาย ใต้การบริการที่ว่า “จับจ่ายถูกใจไป เซ็นโทซ่า จับ จ่ายคุ้มค่า ที่เซ็นโทซ่าทุกสาขา”

ชี้ไทยฯ

• ต่อจากหน้า 1

ในโอกาสที่ ไ ด้ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมเวที สือ่ มวลชนสัญจร การเตรียมความพร้อมสูป่ ระชาคม อาเซียน ที่จังหวัดหนองคาย ซึ่งจัดขึ้นโดย สำ�นัก ประชาสัมพันธ์เขต 1 จังหวัดขอนแก่น และได้มีการ เชิญวิทยากร คือ น.ส.ศรุดา นรสิงห์ พาณิชย์จังหวัด หนองคาย และ นางดวงใจ สุขเกษมศิน รองประธาน หอการค้าจังหวัดหนองคาย มาเป็นวิทยากรเสวนา และบรรยายพิเศษร่วมกัน เพื่อให้ความรู้เรื่องของ การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนใน ปลายปี พ.ศ.2558 นี้ นางดวงใจฯ รองประธานหอการค้าจังหวัด หนองคาย กล่าวว่า จังหวัดหนองคายได้มกี ารทำ�การ ค้า การลงทุนกับประเทศ สปป.ลาว และประเทศ เวียดนาม มาเป็นเวลานานหลายสิบปี ในสมัยก่อน นัน้ การเดินทางข้ามไปมาหาสูก่ นั ระหว่างคนไทยกับ ประเทศ สปป.ลาว จะใช้ทางเรือเป็นหลัก ไม่ว่าจะ เป็นทีท่ า่ เรือท่าเสด็จ เทศบาลเมืองหนองคาย-ท่าเดือ่ แขวงนครเวียงจันทน์ หรือการล่องเรือไปตามลำ�นํ้า โขง ไปตามเมืองต่างๆ ของประเทศ สปป.ลาว เพื่อ การค้า การเดินทาง ซึ่ ง ในสมั ย นั้ น การทำ � มาค้ า ชายระหว่ า ง ไทย(หนองคาย) กับประเทศ สปป.ลาว (เวียงจันทน์) ทำ�ให้คนจังหวัดหนองคาย อุดรธานี และตามริมแม่นํ้ าโขง มีความรํ่ารวยกันมาก ด่านศุลกากรและตรวจ คนเข้าเมือง จะปิดเวลา 4 โมงเย็นเท่านั้น แต่เมื่อมี การก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-ลาว ขึ้นเป็นแห่ง แรกที่หนองคาย ก็ต้องยอมรับสภาพว่า การค้าตาม แนวชายแดน ไทย-ลาว ในรูปแบบเดิมๆ ลดลงไป เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในจังหวัดหนองคาย ทั้งนี้ เพราะความสะดวกสบายในการเดินทางมีมากขึ้น

ทำ�ให้หลายสิง่ หลายอย่างเปลีย่ นแปลงไปในหลายๆ ด้าน ในด้ า นความเตรี ย มความพร้ อ มเข้ า สู่ ประชาคมอาเซียนนั้น มีอยู่ด้วยกัน 2 ประเด็น คือ 1.ความพร้อมในระดับประเทศ 2.ความพร้อมในระดั บประชาชนและท้องถิ่น ซึ่งในความพร้อมในระดับ ประเทศนั้นในฐานะภาคเอกชนก็ต้องพูดกันตรงๆ ว่า ยังไม่ค่อยเห็นมีความพร้อมสักเท่าไหร่ ทั้งๆ ที่ ในกรณีดังกล่าวนี้ คือ การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในระดับประเทศนั้น ได้มีการพูด คุยกันมาเป็นเวลานานแล้ว ในส่ ว นของท้ อ งถิ่ น เองนั้ น หอการค้ า ใน ฐานะของภาคเอกชน ได้เข้าไปดูแลร่วมกับหน่วยงา นอื่นๆ มาโดยตลอด โดยเฉพาะก่อนที่จะมีสะพาน มิตรภาพ หอการค้าจังหวัดคือ หน่วยงานทีส่ �ำ คัญมาก ของท้องถิ่น ในการคอยทำ�หน้าที่เชื่อมโยงระหว่าง พ่อค้า แม่ค้าไม่ว่าจะเป็น ไทย/เวียดนาม,ไทย/จีน เพื่อ ให้เกิดความพร้อมต่างๆ ของท้องถิ่น เมื่อมีสะพาน การเดินทาง ขนส่ง สะดวกมากขึ้น การค้าระดับ ท้องถิน่ ก็เริม่ หายไป โดยเฉพาะโชห่วย ทีเ่ คยทำ�กันมา เป็นเวลานานนับชั่วอายุคน ก็เหลือเพียงไม่กี่สิบแห่ง เท่านั้น เพราะการค้ารายใหญ่สามารถทำ�ได้สะดวก และมีจำ�นวนมากเข้ามาแย่งพื้นที่การตลาดไปเกือบ หมด อีกปัญหาหนึ่งที่สำ�คัญมากคือ ปัญหาของยา เสพติดที่แพร่ระบาดเข้ามาในพื้นที่ เพราะเนื่องจาก มีความสะดวกมากขึน้ แต่กจ็ ะทำ�ให้เกิดความอ่อนแอ ในด้านการศึกษา และกับคนในวัยทำ�งานมากขึน้ จน เป็นเหตุให้โอกาสการแข่งขันน้อยลงไปทุกขณะ “ปัญหาที่กล่าวมานั้น คือ อุปสรรคที่ใหญ่ หลวง ที่เป็นสิ่งทำ�ให้การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนทั้งของระดับประเทศ และระดับ ท้องถิน่ ยังไม่มคี วามพร้อมมากพอ ในขณะทีป่ ระเทศ เพื่อนบ้านที่เคยล้าหลังประเทศไทย กลับมีความ พร้อมที่มากกว่า” นางดวงใจ กล่าว น.ส.ศรุดา นรสิงห์ พาณิชย์จงั หวัดหนองคาย ได้กล่าวถึงความพร้อมที่จะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ว่ า การเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย นนั้ น ทั้ ง หมดทุ ก ประเทศเน้นไปที่การท่องเที่ยวเป็นหลัก จึงขอชี้ว่า ท้องถิน่ นัน้ ยังขาดความพร้อมทางด้านนีอ้ ยูม่ าก เช่น ความพร้อมด้านเซอร์วิสมายส์ หรือการบริการด้วย ใจ ยังขาดความพร้อมอยูอ่ กี มาก โดยเฉพาะตามพืน้ ที่ ที่อยู่ตามแนวชายแดนของภาคอีสาน ตั้งแต่จังหวัด เลย ยันจังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนี้ แ ล้ ว ก็ ยั ง กล่ า วเฉพาะจั ง หวั ด หนองคาย ซึ่งมีภูมิศาสตร์ที่อยู่ระหว่าง สองเมืองที่ มีความเจริญก้าวหน้าในอัตราสูงคือ จังหวัดอุดรธานี และนครเวียงเวียงจันทน์ แต่จังหวัดหนองคายเอง ยังขาดความพร้อมด้านเซอร์วิสมายส์ ทั้งๆ ที่น่าที่ จะเอาจุดแข็งของภูมิศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อพื้นที่ได้อย่างมากมาย เพราะจังหวัดหนองคาย เป็นจุดเริ่มต้นที่จะต้องผ่านเข้าประเทศไทย และ ผ่านออกไปกลุ่มประเทศอาเซียนและจีนตอนใต้ แต่ทั้งหมดยังไม่มีความพร้อมเลย เช่น คุณภาพของ การบริการ ได้แก่ภาษาอาเซียน ประเทศเพื่อนบ้าน หลายๆประเทศพูด ใช้ ภาษาได้มากกว่า 2 ภาษาขึน้ ไป คือภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือภาษาไทยเป็นภาษาที่ สาม ในขณะทีค่ นไทยเอง รวมไปถึงข้าราชการระดับ ผูบ้ ริหารเองนัน้ ยังพูดภาษาอังกฤษ ได้เพียงเข้าใจ แต่ ยังใช้อย่างเป็นทางการแทบไม่ได้ “ฉะนั้ น สิ่ ง สำ � คั ญ อั น ดั บ ต้ น ๆของปั ญ หา ความไม่ พ ร้ อ ม คนไทยทั้ ง ในระดั บ ประเทศและ ระดับท้องถิ่น จะต้องทำ�ความเข้าใจในเรื่องของ ภาษาอาเซียน วัฒนธรรมอาเซียนในแต่ละประเทศให้ เกิดความเข้าใจอย่างละเอียดถ่องแท้และลึกซึ้ง โดย เฉพาะประเทศที่มีชายแดนที่ติดต่อกับประเทศไทย และท้องถิ่นอื่นๆ เสียก่อน” นอกจากนี้แล้วก็ยังชี้ว่า ประเทศไทยและ ท้องถิ่นควรที่จะทำ�อย่างไรถึงจะให้มีความพร้อม ที่ จ ะเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย นเหมื อ นกั บ ประเทศ เพื่อนบ้านว่า เราจะต้องไม่มองว่าประเทศที่เคยมี ความล้าหลังประเทศไทยว่า จะไม่สามารถตามทัน ประเทศไทย และอย่าไปมองว่าการทีห่ ลายๆประเทศ เกิดโครงการต่างๆ ที่หลั่งไหลมาจากประเทศอื่นๆ ที่ มี ทุ น หนานั้ น เป็ น การแข่ ง ขั น แต่ จ ะต้ อ งมอง ว่านั้นแหละคือโอกาสทองของเราที่จะตักตวงเอา ประโยชน์จากสิ่งเหล่านั้น โดยที่จะต้องทำ�ตัวและ ปรับปรุงตัวให้เป็นหุ้นส่วนของอาเซียนให้ได้ แต่ก็ จะต้องเป็นด้วยความระมัดระวังแบบวิน วิน อย่ า งเช่ น ประเทศเมี ย นม่ า ร์ หลั ง จากเปิ ด ประเทศแล้วนัน้ กำ�ลังเนือ้ หอม เพราะทุกคนกำ�ลังมุง่ หน้าสู่ประเทศเมียนมาร์เพื่อการค้า การลงทุน เนื่อง ประเทศเมียนมาร์อุดมสมบูรณ์ ค่าแรงตํ่า ทรัพยากร นานาชนิดมากมาย หรืออย่างประเทศ สปป.ลาว เมื่อ สมัยก่อนประเทศไทยคือ ประเทศทีเ่ ข้าไปยังลงทุนทุก ด้าน เป็นอันดับหนึ่ง แต่ปัจจุบันนี้ประเทศไทยอยู่ใน อันดับสาม ตํ่ากว่าประเทศเวียดนามและประเทศจีน

หมู่บ้านเอื้ออาทรศิลา ซ.1 ต.ศิลา อ.เมือง จ.ขอนแก่น

ออกแบบ/ผลิ ต ป้ายไวนิล ป้ายโฆษณา ธงญี่ปุ่น สติ๊กเกอร์ นามบัตร

ใบปลิว การ์ด ตรายาง แผ่นพับ โปสเตอร์ สื่อสิ่งพิมพ์ทุกชนิด ถ่ายเอกสาร ปริ๊นงาน รับ-ส่งแฟกซ์ ติดต่อ ยิ้ม 0834170363 E-mail : smile7738@gmail.com

เพิ่มศักยภาพแหล่งเรียนรู้ วิทยากรเกษตรกร

นายโอฬาร พิ ทั ก ษ์ อธิ บ ดี ก รม ส่ ง เสริ ม การเกษตร เปิดเผยภายหลังเป็น ประธานเปิ ด งาน สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ การเพิ่ ม ศั ก ยภาพ วิ ท ยากรเกษตรกร แหล่งเรียนรู้องค์กร เกษตรกรด้านเคหกิจ เกษตร เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2557 ณ โรงแรมกรีน โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท อำ�เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ว่า เพื่อเป็นการเตรียม พร้อมรับการเปิดประเทศอาเซียน ซึง่ ประเทศไทยถือ เป็นพื้นที่ปลูกและส่งออกสินค้าทางการเกษตรมาก ที่สุด ดังนั้น เกษตรกรไทยต้องเรียนรู้และเชี่ยวชาญ ความแตกต่างของสินค้าทางการเกษตร เพื่อความ ได้เปรียบในตลาดการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกษตรกรต้องมีการรวมกลุ่ม สร้างเสริมศักยภาพ ความเข้มแข็งและยกระดับให้เกษตรกรไทยมีความ พร้อมในการเปิดประตูก้าวสู่ความเป็น AEC และ เป็นการเปิดกว้างในประเทศสมาชิกอาเซียนอีกด้วย การเร่งเสริมสร้างความรู้ให้กับเกษตรกร ไทยในส่วนภูมิภาคสู่การเป็น Smart Farmer โดย การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพวิทยากร เกษตรกร แหล่งเรียนรู้องค์กรเกษตรกรด้านเคหกิจ เกษตร ซึ่งจะนำ�ไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีทั้ง 3 ด้าน คือ สร้างความมั่นคงด้านอาหารโภชนาการ, ด้านครอบครัวสุขอนามัย แรงงาน สิ่งแวดล้อม และ ความมั่นคงด้านเศรษฐกิจของครอบครัว ซึ่ ง วิ ท ยากรจะเป็ น ผู้ ถ่ า ยทอดความรู้ เทคโนโลยี และให้คำ�ปรึกษาด้านการเกษตรและ ด้านเคหกิจเกษตร และพัฒนาสู่การเป็นผู้นำ�ที่เข้ม แข็งและยั่งยืน ซึ่งจะทำ�ให้เกษตรกรก้าวสู่การเป็น Smart Farmer พร้อมกับพัฒนาแหล่งเรียนรู้องค์กร เกษตรกรด้านเคหกิจเกษตรต้นแบบ ให้กบั เกษตรกร ได้นำ�ไปเป็นแบบอย่างในการประกอบอาชีพ ซึ่ง จะเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต เกิดการปรับเปลี่ยน ทัศนคติ มีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ เพื่อเป็นการร่วมกันหาแนวทางในการพัฒนาเพิ่ม ศักยภาพให้กับเกษตรกรให้เกิดเป็นรูปธรรมอย่าง ยั่งยืน นายโอฬาร กล่าว ด้าน นางปทุมวัน ประจันพล ผู้อำ�นวยการ

สำ�นักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต 4 จังหวัด ขอนแก่น เปิดเผยว่า สำ�นักส่งเสริมและพัฒนาการ เกษตรเขต 4 ขอนแก่น ร่วมกับ สำ�นักส่งเสริมและ พัฒนาการเกษตรเขต 7 จังหวัดนครราชสีมา จัด สัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารเพิม่ ศักยภาพวิทยากรเกษตรกร ของแหล่งเรียนรูอ้ งค์กรเกษตรกรด้านเคหกิจเกษตร ระดับเขตของภาคอีสาน เพือ่ พัฒนาวิทยากร แม่บา้ น เกษตรกร ให้มีความเชี่ยวชาญและสามารถถ่ายทอด ความรู้ พร้อมทั้งให้คำ�ปรึกษากับเกษตรกรในการ ปรับเปลี่ยนและพัฒนารูปแบบการเกษตรเพื่อยก ระดับให้เป็น Smart Farmer ทัง้ ยังพัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูป้ ระกอบอาชีพการเกษตรให้มปี ระสิทธิภาพ มี ความเข้มแข็ง และมั่นคงเป็นรูปธรรมอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ยั ง ได้ เ รี ย นรู้ จ ากแหล่ ง พื้ น ที่ การเกษตรจริ ง จากสวนเกษตรสมุ น ไพรสู่ ก าร แปรรูปและจำ�หน่ายแล้ว ยังให้ความรู้ในการเตรียม ความพร้อมของร่างกาย โดยจัดให้มีการส่งเสริมสุข ภาพใน Concept ปลุกพลังเพื่อสร้างสิ่งมหัศจรรย์ แห่งชีวิต ในรูปแบบการออกกำ�ลังกายกลางแจ้งทุก เช้า เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของกล้ามเนื้อ ก่อนทำ�งานในแต่ละวัน ซึ่งการฝึกจะเน้นการมีส่วน ร่วม โดยใช้หลักปรัชญา “การเรียนแบบมีความสุข Plearn (Play+Learn)” นางปทุมวัน กล่าวต่อว่า เชือ่ ว่าการอบรมเชิง ปฏิบตั กิ ารเพิม่ ศักยภาพวิทยากรเกษตรกรของแหล่ง เรียนรูอ้ งค์กรเกษตรกรด้านเคหกิจเกษตร จะช่วยเพิม่ ทักษะให้กบั วิทยากรเกษตรกร เพือ่ สามารถถ่ายทอด ความรูแ้ ละให้ค�ำ ปรึกษากับเกษตรกรในพืน้ ทีไ่ ด้อย่าง มีประสิทธิภาพ และจะทำ�ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร มีการพัฒนาศักยภาพและมีความพร้อมเมื่อถึงเวลา ที่ก้าวสู่การเป็น AEC

เรื่องของในหลวงที่เรา (อาจ) ไม่เคยรู้

โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำ � ริ จนถึ ง ปั จ จุ บั น มี จำ � นวนกว่ า 3,000 โครงการ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา เริ่มต้นขึ้น จากเงินส่วนพระองค์จำ�นวน 32,866.73 บาท ซึ่ง ได้จากการขายหนังสือดนตรีที่พระเจนดุริยางค์ จากการขายนมวัว ก็ค่อยๆ เติบโตเป็นโครงการ พัฒนามาจนเป็นอย่างที่เราเห็นกันทุกวันนี้ เวลา มีพระราชอาคันตุกะเสด็จมาเยี่ยมชมโครงการฯ สวนจิตรลดา ในหลวงจะเสด็จฯ ลงมาอธิบายด้วย พระองค์เอง เนื่องจากทรงรู้ทุกรายละเอียด ทรงศึกษาลักษณะอากาศทุกวัน โดยใช้ ข้อมูลที่กรมอุตุนิยมวิทยานำ�ขึ้นทูลเกล้าฯ ร่วม กับข้อมูลจากต่างประเทศทีห่ ามาเอง เพือ่ ป้องกัน ภัยธรรมชาติทอี่ าจก่อความเสียหายแก่ประชาชน ทุกครัง้ ทีเ่ สด็จฯไปยังสถานต่างๆ จะทรงมีสงิ่ ของ ประจำ�พระองค์อยู่ 3 สิ่ง คือ แผนที่ซึ่งทรงทำ�ขึ้น เอง (ตัดต่อเอง ปะกาวเอง) กล้องถ่ายรูป และ ดินสอที่มียางลบ ในหลวงทรงงานด้วยพระองค์ เองทุกอย่าง แม้กระทั่งการโรเนียวกระดาษ ให้ข้าราชการที่เข้าเฝ้าฯ ถวายงานเก็บ ร่ม : ครั้งหนึ่งเมื่อในหลวงเสด็จฯ เยี่ยมโครงการ ห้วยสัตว์ใหญ่ เมื่อเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่งมาถึง ปรากฏว่าฝนตกลงมาอย่างหนัก ข้าราชการและ ราษฎรทีเ่ ข้าแถวรอรับเปียกฝนกันทุกคน เมือ่ ทรง เห็นดังนัน้ จึงมีรบั สัง่ ให้องครักษ์เก็บร่ม แล้วทรง เยี่ยมข้าราชการและราษฎรทั้งกลางสายฝน ม.ร.ว.คึ ก ฤทธิ์ ปราโมช กราบบั ง คม

ทูลถามว่า เคยทรงเหนื่อยทรงท้อบ้างหรือไม่ ในหลวงตอบว่ า ‘ความจริ ง มั น น่ า ท้ อ ถอยอยู่ หรอก ! บางเรื่องมันน่าท้อถอย แต่ว่าฉันท้อไม่ ได้ เพราะเดิมพันของเรานั้นสูงเหลือเกิน เดิมพัน ของเรานั้นคือบ้านเมือง คือความสุขของคนไทย ทั่วประเทศ’ ทรงนึกถึงแต่ประชาชน แม้กระทั่ง วันที่พระองค์ทรงกำ�ลังจะเข้าห้องผ่าตัดกระดูก สันหลังในอีก 5 ชั่วโมง (20 กรกฎาคม 2549) ยัง ทรงรับสัง่ ให้ขา้ ราชบริพารไปติดตัง้ คอมพิวเตอร์ เดินสายออนไลน์ไว้ เพราะกำ�ลังมีพายุเข้าประเทศ พระองค์จะได้มอนิเตอร์ เผื่อนํ้าท่วมจะได้ช่วย เหลือทัน ทรงเสวย ข้าวกล้อง เป็นพระกระยาหาร หลักอาหารทรงโปรด : โปรดผัดผักทุกชนิด เช่น ผัดคะน้า ผัดถั่วงอก ผัดถั่วลันเตา ผักที่ไม่โปรด : ผักชี ต้นหอม และตังฉ่าย ไม่เสวยปลานิล เพราะ ทรงเป็นผูเ้ ลีย้ งปลานิลคนแรกในประเทศไทย โดย ใช้สระว่ายนํา้ ในพระตำ�หนักสวนจิตรลดาเป็นบ่อ เลี้ยง แล้วแจกจ่ายพันธุ์ไปให้กรมประมง เครื่อง ดื่มทรงโปรด : โปรดโอวัลตินเป็นพิเศษ เคยเสวย วันหนึ่งหลายครั้ง ทีวีช่องโปรด ทรงโปรดข่าวช่องฝรั่งเศส ของยู บี ซี เพื่ อ ทรงรั บ ฟั ง ข่ า วสารจากทั่ ว โลก ทรงฟั ง จส.100 และเคยโทรศั พ ท์ ไ ปรายงาน สถานการณ์ต่างๆใน กทม.ไปที่ จส.100 ด้วย โดย ใช้พระนามแฝง

“ปีแห่งการบริการ มาตรฐานอย่างมือ อาชีพ” ; นายธีระ ศั ก ดิ์ ฑี ฆ ายุ พั น ธุ์ น า ย ก เ ท ศ ม น ต รี นครขอนแก่น พร้อม ด้ ว ย นายธวั ช ชั ย รื่ น ร ม ย์ สิ ริ ร อ ง น า ย ก เ ท ศ ม น ต รี นครขอนแก่น ,นาย สุ ภั ฐ วิ ท ย์ ธารชั ย ปลัดเทศบาล ,หัวหน้าส่วนงานเทศบาลนครขอนแก่น พนักงานครูเทศบาล และพนักงานเทศบาล นครขอนแก่น ร่วมรับฟังการนำ�เสนอแนวทางปฏิบัติงานไปสู่ “ปีแห่งการบริการ มาตรฐานอย่าง มืออาชีพ” เพื่อทบทวนกระบวนการปฏิบัติงานที่ผ่านมา และหาแนวทางการพัฒนางาน ตลอดจน บุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ

ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น

เร่งแก้ปัญหาต้นนํ้าเปลี่ยนสภาพ

ปัญหาการขาดแคลนนํ้าในแหล่งกักเก็บนํ้า ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ของจังหวัดอุดรธานีเริ่มที่จะ มีปัญหานํ้าที่ไหลจากแหล่งต้นนํ้าไม่ไหลลงแหล่ง กักเก็บเหมือนเดิม สาเหตุมาจากว่าแหล่งต้นเองก็มี สภาพที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ตามฤดูกาลที่ ผันแปรไป นายเจน คุณโชติ นายกเทศมนตรีตำ�บลอุบ มุง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี เปิดเผยว่า ขณะนี้ทาง เทศบาลตำ�บลอุบมุง อ.หนองวัวซอ ได้มีการจัดซื้อ จัดจ้างให้ผู้รับเหมาเข้าดำ�เนินการปรับปรุงขุดลอก อ่างเก็บนํ้าห้วยขมิ้น บ้านหนองคำ� ม.8 ต.อุบมุง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี ตาม”โครงการพัฒนาแห ล่งนํา้ เพือ่ อุปโภค บริโภค และนํา้ เพือ่ การเกษตร” ภาย ใต้โครงการเงินอุดหนุนเฉพาะกิจสำ�หรับการบริหาร จัดการนํา้ เพือ่ สนับสนุนงานฎีกา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ซึง่ อ่างเก็บนํา้ ห้วยขมิน้ เป็นอ่างเก็บนํา้ ขนาด กลาง ซึ่งมีที่ตั้งอยู่เชิงเทือกเขาภูพานที่เป็นแหล่งต้น กำ�เนิดของลำ�ห้วยขมิ้น และเป็นหนึ่งในหลายสิบ แหล่งต้นกำ�เนิดของลำ�ห้วยทีเ่ กิดขึน้ ทีเ่ ทือกเขาภูพาน ที่ไหลลงสู่อ่างเก็บนํ้าห้วยหลวง อ.กุดจับ ซึ่งเป็นแห ล่งนํ้าขนาดใหญ่ที่มีความจุที่ 136 ล้าน ลบ.ม.เศษ และที่สำ�คัญเป็นแหล่งนํ้าดิบที่ใช้ทั้งการเกษตรและ นํ้าเพื่อการอุปโภคและบริโภค โดยเฉพาะนํ้าดื่มของ ประชาชนในเขตเทศบาลนครอุดรธานีทั้งหมด และ บริเวณใกล้เคียง แต่ ใ นปั จ จุ บั น นี้ นั้ น บริ เ วณห้ ว ยขมิ้ น และ อ่างเก็บนํ้าห้วยขมิ้นทั้งหมดที่เป็นแหล่งธรรมชาติที่ มีความสำ�คัญต่อการเกษตรในพื้นที่เป็นอย่างมาก มี พื้นที่ประมาณเฉพาะตัวอ่างเก็บนํ้าประมาณ 39 ไร่

เศษ ซึ่งเป็นพื้นที่แหล่งนํ้าต้นทุน ในภาคการเกษตร ในช่วงฤดูแล้ง ได้ใช้ประโยชน์จากแหล่งดังกล่าวนี้ นอกจากนี้แล้วก็เป็นแหล่งนํ้าเพื่อการเพาะปลูกพืช เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นํ้าและเป็นแหล่งอาหาร ที่สำ�คัญของชุมชน และที่สำ�คัญยังเป็นต้นนํ้าห้วย หลวง กำ�ลังเกิดความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติไป อย่างมาก บางช่วงถูกชาวบ้านรุกลํ้าแนวเขตลำ�ห้วย บางแห่งมีสภาพตื้นเขิน จนทำ�ให้เกิดปัญหาในเรื่อง ของนํ้ า ท่ ว ม นํ้ า แล้ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ แห ล่ ง ต้ น นํ้ า เทศบาล ตำ�บลอุบมุง จึงได้ทำ� โครงการปรับปรุงขุด ลอกอ่ า งเก็ บ นํ้ า ห้ ว ย ขมิ้น เพื่ออนุรักษ์และ ฟื้นฟูแหล่งนํ้าต้นทุน ไว้ ใ ช้ ไ ด้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ตลอดไป และเพื่อแก้ ปัญหาภัยพิบัติ แต่ไม่มี งบประมาณเพียงพอที่ จะดำ�เนินการได้ น า ย โ ช ค ชั ย วั ฒ นกุ ล นายอำ � เภอ ห น อ ง วั ว ซ อ เ ปิ ด เ ผ ย ว่ า จ า ก ก า ร ที่ เทศบาลตำ � บลอุ บ มุ ง อ.หนองวัวซอ ได้เสนอ โครงการดั ง กล่ า วใน ลั ก ษณะของเป็ น การ ถวายฎีกานัน้ อำ�เภอได้

ทำ�การประสานงานให้สง่ ต่อไปยังจังหวัด และนำ�ส่ง ไปยังสำ�นักราชเลขาธิการ สำ�นักพระราชวัง ต่อมาสำ�นักพระราชวัง ได้ให้จังหวัดและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องคือ คณะกรรมการประสาน งานพิเศษโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริ(กปร) และสำ�นักงานชลประทานจังหวัด กรมชลประทาน กรมส่งเสริมปกครองส่วนท้องถิน่ ทำ�การตรวจสอบ ข้อเท็จจริงและความเหมาะสม จากนั้นก็ให้กรมส่ง เสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นพิจารณาจัดสรรงบ ประมาณ สำ�หรับ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี ได้รับ

เงินงบประมาณดังกล่าว จำ�นวน 2 โครงการคือ 1.โค รงการขุดลอกอ่างเก็บนํ้าห้วยขมิ้น ต.อุบมุง วงเงิน 8.32 ล้านบาท 2.โครงการขุดลอกหนองนํา้ สาธารณะ หนองอ้อ เทศบาลตำ�บลผาแดง อ.หนองวัวซอ วงเงิน 8.7 ล้านบาท โดยเฉพาะโครงการขุดลอกหนองสาธารณะ หนองอ้อนั้น เมื่อโครงการดังกล่าวเสร็จสิ้นเทศบาล ตำ�บลภูผาแดงฯ จะนำ�เอานํ้าในหนองอ้อไปทำ�เป็น นํ้าประปา เพื่อบริการแก่ประชาชนในเขตเทศบาล ภูผาแดง และใกล้เคียง ขณะนีท้ งั้ สองโครงการมีความ ก้าวหน้าประมาณ 30% แล้ว


หน้า 3

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557

ใช้คนไม่สงสัย ถ้าสงสัยไม่ใช้

ในการเลือกคนมาร่วมทำ�งาน จะยึดหลัก ว่า ใช้คนให้ถูกกับงาน “Put the right man on the right job” หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ต้องมองให้ออก ว่างานชนิดใดเหมาะกับคนประเภทใด ที่สำ�คัญ ต้องวางคนให้ถูกงาน ทำ�แล้วมีความสุข สนุกกับ งาน ผลงานที่ออกมาก็จะดี คนบางคนมีคุณสมบัติเหมาะทำ�งานใน สภาวะปกติ แต่เมื่อใดที่เกิดภาวะวิกฤตต้องใช้ ความกล้าหาญเด็ดขาดในการแก้ปัญหา คนนั้นก็ จะกลายเป็นคนที่ไม่เหมาะสมกับงานในฉับพลัน ในยามทีส่ งั คมแตกแยกต้องการสร้างความสามัคคี และสมานฉั น ท์ ก็ ต้ อ งอาศั ย บุ ค คลอั น เป็ น ที่ ยอมรับของทุกฝ่าย และพร้อมที่จะออมชอม เพื่อ การสมานฉันท์ ไม่ใช่ผู้นำ�ตกยุค ล้าหลัง ไม่ทัน การณ์ ซึ่งก็มีปรากฏให้เห็นเป็นตัวอย่างแล้ว การรู้จักเลือกใช้คนเข้ามีส่วนร่วมในการ ทำ�งานอย่างชาญฉลาด ไม่ใช่เพียงแค่การเลือก คนที่ตนรู้สึกพึงพอใจเท่านั้น แต่ควรเลือกคนที่มี ความเหมาะสมกับลักษณะงานเป็นสำ�คัญ ซึง่ เป็น สิ่งสำ�คัญที่ผู้นำ�ต้องเรียนรู้ จะเห็นได้วา่ ผูบ้ ริหารทีป่ ระสบความสำ�เร็จ จะมีสายตาเฉียบคมเหมือนนกอินทรีย์ ทีม่ องเห็น ภาพรวมมาจากทีส่ งู และรูว้ า่ ส่วนไหนขององค์กร มีจุดอ่อน จุดแข็งอย่างไร และควรจะจัดวางคน แบบใดไว้ตรงส่วนใดขององค์กร เพือ่ คนจะได้ถกู ใช้อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่งจะนำ�ไปสู่การสร้างผลิต

ภาพให้กับองค์กรได้อย่างสูงสุด “นาย” บางคนประสบความสำ�เร็จในการ ทำ�งานตลอดเวลาไม่ว่าจะอยู่ในช่วงไหนของการ ทำ�งาน แต่บางคนที่ล้มเหลว ก็ไม่ได้หมายความ ว่า เป็นเพราะคุณสมบัติในตัวของเขาเพียงอย่าง เดียว การที่นายจะใช้หรือไม่ใช้ลูกน้องทำ�งาน เกิดจากสาเหตุหลายอย่างด้วยกัน ซึง่ นายประเภท ที่ ไ ม่ ใ ช้ ลู ก น้ อ งทำ � งาน อาจเป็ น นายที่ มี ค วาม สามารถหรือไม่มีความสามารถก็ได้ นายบางคนมีความรู้ความสามารถมากกว่าลูก น้องซะอีก แต่ก็ใช้ลูกน้องเพื่อให้ผลงานออกมา ดี ตัวเองจะเจริญก้าวหน้าสูงขึ้นไป ถ้าเราได้นาย ประเภทนี้จะโชคดี นายบางคนมีความรู้ สู้ลูกน้องไม่ได้ แต่ ฉลาดใช้ลูกน้องให้ทำ�งานให้ ผลงานก็ออกมาดี ถ้าเราได้นายประเภทนี้ก็โชคดีเช่นกัน แต่ที่โชคร้ายที่สุดก็คือ การมีนายที่ไม่มีความรู้ แล้วยังไม่คิดจะใช้ลูกน้องทำ�งานอีก การเป็นคนดีมฝี มี อื ไม่ได้เป็นหลักประกัน ว่าจะเป็นผู้ที่ประสบความสำ�เร็จในการทำ�งาน จริงอยู่ถึงแม้จะเป็นม้าดี ฝีตีนดี แต่ถ้าคนขี่ไม่มี ฝีมือ ก็ยากที่จะเข้าป้ายได้ และนายบางคนก็ชอบทีจ่ ะทำ�เช่นนีค้ อื “มี เรือดี พายดี ไม่ขี่ข้าม ดันเอาเรือรั่วนํ้ามาข้ามขี่”

เปิดโลกออทิสติก ค รั้ ง ที่ 8 ; นายสมศักดิ์ สุวรรณสุจริต ผวจ. ขอนแก่น เป็นประ ธานเปิ ด งานเปิ ด โลกออทิสติก ครั้งที่ 8 เพื่อเผยแพร่องค์ ความรู้ และสร้ า ง ความสั ม พั น ธ์ ข อง เครือข่ายการทำ�งาน ร่วมกันระหว่างครู ผู้ปกครอง และบุคลากรทางการแพทย์ ตลอดจนการนำ�เสนอผลงานวิจัย เนื่อง ในวาระครบรอบ 10 ปี ของการดำ�เนินงานศูนย์ออทิสติก ณ โรงแรมพูลแมน ขอนแก่น ราชาออคิด จังหวัดขอนแก่น ง า น ป ร ะ เ พ ณี วั น งู จ ง อ า ง ประจำ � ปี 2557 ; นายสิ ท ธิ กุ ล ภูคำ�วงศ์ รองนายก อ บ จ . ข อ น แ ก่ น เป็ น ประธานเปิ ด โครงการส่ ง เสริ ม การท่องเที่ยว งาน ประเพณีวันงูจงอาง ป ร ะ จำ � ปี 2 5 5 7 ระหว่างวันที่ 11-17 เมษายน 2557 ณ หมู่บ้านงูจงอาง บ้านโคกสง่า ต.ทรายมูล อ.นํ้าพอง จ.ขอนแก่น เพื่อสืบสานวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น และสร้างความสามัคคีให้กับชุมชน นำ�ไปสู่ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

ค่ายอบรมผู้นำ� เยาวชนให้มีความคิด สร้างสรรค์ด้านพลังงาน และสิ่ ง แวดล้ อ มเพื่ อ โลกที่

ยั่งยืน ปีที่ 3 โครงการ Move World Together : เคลื่อน โลกไปด้วยกัน สัญจรไปพบกับเยาวชนภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ด้วยวิธีการพัฒนามนุษย์ที่แปลก ใหม่ ทั้งวิธีคิด เนื้อหา และกระบวนการไปถ่ายทอด แก่เยาวชนให้กล้าคิดใหม่อย่างสร้างสรรค์ ในชื่อ ค่ายอบรมผู้นำ�เยาวชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Move World Together : เคลือ่ นโลกไปด้วยกัน

เพื่อโลกที่ยั่งยืน ระหว่างวันที่ 3-7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ณ เขื่อนอุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น นายรังสรรค์ อัฐมโนลาภ ผู้ช่วยผู้ว่าการ กิจการสังคม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เปิดเผยว่า ค่ายผู้นำ�เยาวชนเพื่อโลกที่ยั่งยืน เป็นส่วนหนึง่ ของ โครงการ Move World Together ดำ�เนินการภายใต้ความร่วมมือของการไฟฟ้าฝ่าย ผลิตแห่งประเทศไทย คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ สำ � นั ก งานส่ ง เสริ ม สวัสดิภาพและพิทกั ษ์เด็ก เยาวชน ผูด้ อ้ ยโอกาส และ ผูส้ งู อายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง ของมนุษย์ และสมาคมพัฒนาศักยภาพและอัจฉริย ภาพมนุษย์ เริ่มดำ�เนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555

ในการสร้างเยาวชนคนพันธุ์ใหม่ โดยการ พัฒนาศักยภาพเยาวชนผ่านการพัฒนาทักษะความ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดนอกกรอบ ให้แก่นความ รู้ด้านวิทยาศาสตร์ พลังงานและสิ่งแวดล้อม ด้วย วิธีการที่แปลกใหม่เรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง พร้ อ มการปลุ ก สำ� นึ ก รั บ ผิ ด ชอบของเยาวชนต่ อ การแก้ไขปัญหาชาติบ้านเมือง ตลอดจนการพัฒนา ขีดความสามารถของคนทำ�งานด้านเยาวชนการ ส่งเสริมและสร้างเครือข่ายด้านเยาวชน พฤติกรรม ใหม่ๆ เพือ่ ทำ�ให้ประหยัดพลังงาน หรือนำ�สิง่ ทีม่ อี ยู่ มาสร้างประโยชน์ให้มากขึน้ กว่าเดิม และการฝึกฝน ทักษะการทำ�งานเป็นทีมเพื่อประโยชน์ในการทำ� โครงงานแก้ไขปัญหาในโรงเรียน-ชุมชนและสังคม ต่อไป นายรั ง สรรค์ กล่ า วต่ อ ว่ า ตลอดระยะเวลาเกือบ 3 ปีของโครง การฯ มี เ ยาวชนและผู้ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ โครงการทั้ ง ที่ ม าจากค่ า ยอบรมและ เวทีกิจกรรมต่างๆ จำ�นวนกว่า 2,000 คน มีโครงงานเยาวชนที่เน้นการแก้ไข ปัญหาแบบ Problem-Based Solving Method ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์กว่า 85 โครงงานและ ในจำ�นวนนีม้ ี 3 โครงงานอยูใ่ นระหว่าง การยื่นขอจดอนุสิทธิบัตร ปัจจุบนั มีโรงเรียนทัว่ ประเทศ ให้ความสนใจแนวคิด อุดมการณ์และ รูปแบบกิจกรรมของโครงการฯ นำ�ไป ขยายผลในจังหวัดพิษณุโลก นครพนม ลำ � พู น และจั ง หวั ด จั น ทบุ รี และใน อนาคตอันใกล้โครงการฯ ก็จะได้ร่วม มือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัด อบรมให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ และเยาวชนในจังหวัด ปทุมธานี กิจกรรมในค่ายประกอบด้วย การปลุกจิตสำ�นึกเยาวชนอายุ 15-21 ปี ให้ตระหนักเห็นปัญหาต่างๆ ที่รุมเร้า สังคมไทย และโลกใบนี้ เพื่อกระตุ้น ให้ใช้ พลังของตนเองและกลุ่ มเพื่อน

ทำ�งานเป็นทีมคิดนอกกรอบ วิเคราะห์ปญ ั หาและหา แนวทางแก้ไขปัญหาพลังงานและสิง่ แวดล้อมอย่าง สร้างสรรค์ทงั้ ในเชิงวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ให้โรงเรียน ชุมชน และประเทศไทย น่าอยู่ขึ้น ทั้งนี้เยาวชนจะถูกฝึกให้คิด อย่างมีวิจารณญาณ คิดนอกกรอบ สร้างสรรค์ และคิดเชิงนวัตกรรมใหม่ ควบคูไ่ ปกับการเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ิ การทดลองวิทยาศาสตร์ การถอดบท เรียนจากชีวิตจริง และพัฒนาโครง งานเพื่อแก้ไขปัญหาที่กลุ่มเองสนใจ อย่ า งเป็ น รู ป ธรรมและยั่ ง ยื น ซึ่ ง เยาวชนได้รับประโยชน์ชนิดคุณภาพ คับแก้วจากทีมวิทยากรมืออาชีพจาก หลากหลายสาขา อาทิ ผศ.ดร.จิ ต ติ มงคลชัยอรัญญา (มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์) ผศ.ดร.อุษณีย์ อนุรุทธ์ วงศ์ (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และสมาคมพั ฒ นาศั ก ยภาพและ อัจฉริยภาพมนุษย์) และ อ.ประภาส พันธุ์อร่าม (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย) พร้ อ มที ม วิ ท ยากรผู้ ช่วยและวิทยากรกระบวนการกว่า 20 คน และทีส่ �ำ คัญมีผนู้ �ำ เยาวชนเข้าร่วม กิจกรรม จำ�นวน 113 คน 25 ทีม จาก ผู้สมัครทั้งหมด 35 ทีม รวมผู้เข้าร่วม ทั้งสิ้น 161คน นายรั ง สรรค์ กล่ า วต่ อ ว่ า เมื่อกลับไปภูมิลำ�เนาแล้ว กลุ่มเยาวชนจะได้รับการ สนับสนุนให้สานฝันความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม โครงงานใหม่ ๆ ให้ เ ป็ น จริ ง เพื่ อ พั ฒ นาชุ ม ชน และสังคม โดยโครงการจะสนับสนุนทุนดำ�เนิน การ ทีมพี่เลี้ยง และทีมผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาจาก มหาวิทยาลัยต่างๆ ทัว่ ประเทศ ช่วยให้ค�ำ แนะนำ�เพือ่ เติมเต็มแก่นความรูเ้ ชิงลึกเฉพาะด้าน ทัง้ การเชิญมา ร่วมในค่ายที่ 2 และเดินทางไปเยี่ยมเยียนในพื้นที่ เพื่อให้โครงงานนั้นๆ สามารถปฏิบัติได้จริง นำ�ไป สู่การสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง เกิดความภูมิใจ ต่อเยาวชน และโรงเรียนหรือชุมชน อีกทั้งยังสร้าง

มีการพูดคุยกับ นายเสนีย์ จิตตเกษม ผู้ว่าราชการ จังหวัดและ นายวิเชียร ขาวขำ� นายก อบจ.อุดรธานี เพื่อขอใช้พื้นที่ในการทำ�การก่อสร้างสนามฟุตบอล คือ พื้นที่ของ อบจ.ที่ริมถนนสายอุดรธานี- ต.สาม พร้าว ประมาณ 100 ไร่เศษ และ อีกแห่งหนึง่ คือ พืน้ ที่ หนองแด ริมถนนมิตรภาพอุดรธานี – หนองคาย ห่าง จากตัวเมืองไปทางจังหวัดหนองคายประมาณ 3 ก.ม.เศษๆ ซึ่งทั้งนายสุวิทย์ฯ ในฐานะของประธาน สโมสรฯและ นายศราวุธฯ ในฐานะของผู้จัดการ ทีมฟุตบอล มีความเห็นสอดคล้องกันว่า อยากที่จะ ขอแบ่งพื้นที่หนองแด ที่มีเนื้อที่ประมาณ 1000 ไร่ ซึ่งจังหวัดอุดรธานีเอง ก็มีแผนการใช้พื้นที่ดังกล่าว ทำ�เป็นศูนย์ประชุมขนาดใหญ่และศูนย์วัฒนธรรม อยู่แล้ว โดยจะขอแบ่งพื้นที่ประมาณ 100 ไร่ นำ�เอา มาทำ�โครงการก่อสร้างสนามฟุตบอลขนาดความจุ 25,000 ที่นั่ง โดยไม่มีลู่วิ่ง ขณะนี้ได้ขอความร่วมมือ กับสำ�นักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด และกอง ช่าง อบจ. เป็นคนออกแบบ ซึ่งคาดว่าเบื้องต้นจะใช้ งบประมาณ 600 ล้านบาท เป็นค่าก่อสร้าง ยังไม่รวม กับงบประมาณสำ�หรับสิ่งอำ�นวยความสะดวกอื่นๆ ภายในสนาม ซึ่ ง พื้ น ที่ ดั ง กล่ า วนั้ น อยู่ ลึ ก จากริ ม ถนน

ประมาณ 200 เมตร ตนจึ ง วาง แปลนให้ออกแบบ ถนนทางเข้ า เป็ น ถนนขนาด 10 เลน เป็ น ทางเข้ า และถนนรอบ สนาม พร้อมด้วย สัญลักษณ์ของจังหวัดคือ ไหบ้านเชียงขนาดใหญ่ ท้าวเวสสุวรรณ ที่จะประดิษฐานที่ทางเข้าทั้งสอง ด้าน และสวนสาธารณะเพื่อเป็นที่พักผ่อน เพื่อ อำ�นวยความสะดวกแก่การเดินทางเข้าออก และทัง้ นี้ การก่อสร้างสนามฟุตบอลดังกล่าวนั้น ให้มีความ สอดคล้องกับการใช้พื้นที่ในการทำ�โครงการอื่นๆ ของทางจังหวัดในบริเวณพื้นที่ดังกล่าวด้วย และยัง จะสามารถใช้สนามฟุตบอลดังกล่าวในการจัดกิจกร รมอืน่ ๆ ของจังหวัดในโอกาสอืน่ ได้อกี ด้วย นอกจาก นีแ้ ล้วเมือ่ ก่อสร้างเสร็จตามโครงการ ก็จะมอบสนาม ฟุตบอลดังกล่าวให้กับจังหวัดอุดรธานีเป็นผู้ดูแล รักษา ส่วนสโมสรฯ ก็จะขอเช่าใช้ในนามของสโมสร ฟุตบอลอุดรธานี เอฟ ซี อย่างไรก็ตามเนื่องจากพื้นที่หนองแดนั้น จำ�เป็นที่จะต้องถมดินก่อน และมีโครงการที่จะนำ�

ผลงานที่เป็นนวัตกรรมสำ�หรับประเทศไทยด้วย ในช่ ว ง 2 ปี ที่ ผ่ า นมา มี ก ลุ่ ม เยาวชนทั่ ว ประเทศที่เข้าค่าย และพัฒนาโครงงานแก้ปัญหา

พลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งสร้ า งสรรค์ ใ น โรงเรียน/ชุมชน 85 โครงงาน เช่น โครงงานสกัด สารจากพืชหลายชนิดที่เป็นพิษหรือไม่เคยนำ�มา ประโยชน์มาใช้ในการกำ�จัดแมลงทีเ่ ป็นศัตรูพชื การ สร้างเตาและอุปกรณ์ไฟฟ้าประหยัดพลังงาน สร้าง เครื่องไล่นกด้วยวิธีการต่างๆ สร้างต้นแบบเครื่อง กำ�เนิดไฟฟ้าที่ไม่ใช้เชื้อเพลิงใดๆ เป็นต้น และมีผล งานที่อยู่ระหว่างการจดอนุสิทธิบัตร 3 โครงงาน

ทีมข่าวไทยเสรี..รายงาน

ประธานสโมสรที ม ยั ก ษ์ แ สดคนใหม่ ทุ ม ่ เงิ น ยกระดั บ ฟุ ต บอลอุ ด รขนานใหญ่ เทศกาลกิ น ปลาแซบนั ว ทั ว ร์ เ ขื่ อ น อุ บ ล รั ต น์

อำ�เภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น จัดงาน เทศกาลกินปลา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และ ชมธรรมชาติในเขื่อนอุบลรัตน์ เขื่อนขนาดใหญ่ ของภาคอีสานซึ่งมีสถานที่ท่องเที่ยวโดยเฉพาะ หน้าแล้งนํ้าในเขื่อนจะลดลงจนเห็นเป็นชายหาด สามารถลงเล่นนํ้าได้ และกลายเป็นแหล่งท่อง เที่ยวทะเลนํ้าจืด ที่มีนักท่องเที่ยวให้ความสนใจ มากที่สุด นายสมศักดิ์ สุวรรณสุจริต ผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด ขอนแก่ น เปิ ด เผยว่ า อ่ า งเก็ บ นํ้ า เขื่ อ น อุบลรัตน์ อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น มีพื้นที่รอบ เขื่อนครอบคลุมรวม 2 จังหวัด คือ ขอนแก่น และ หนองบัวลำ�ภู จึงมีชายหาดถึง 2 แห่ง คือ หาด พัทยา 2 อยู่ที่อำ�เภอภูเวียง และหาดบางแสน 2 อยู่ ทีอ่ �ำ เภออุบลรัตน์ และเป็นแหล่งทีน่ กั ท่องเทีย่ วให้ ความสนใจมากที่สุดในช่วงหน้าร้อน เพราะเป็น สถานทีซ่ งึ่ มีชายหาดสวยงาม สามารถลงเล่นนํา้ ได้ อีกทั้งมีร้านอาหารให้บริเวณชายหาด นอกจากได้ เล่นนํา้ แล้ว ยังมีเรือแพ เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วได้ลอ่ ง แพชมทัศนียภาพความสวยงามแบบธรรมชาติของ เขื่อนอุบลรัตน์

สำ�หรับเทศกาลงาน กินปลาแซบนัว ทัวร์ เขือ่ นอุบลรัตน์ จัดขึน้ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ เริม่ ตั้งแต่วันที่ 8 เมษายน 2557 เป็นต้นไป โดยมีปลา มากมายหลากหลายชนิด กุ้งก้ามกรามขนาดใหญ่ การประกวดปรุงอาหารจากปลา และกุ้งก้ามกราม การประกวดเขตอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ์ ป ลาชุ ม ชนรอบ เขื่อน การจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสัตว์นํ้า การจัดนิทรรศการสัตว์นํ้าในเขื่อนอุบลรัตน์ และ สามารถนั่งเรือแพชมความงามของธรรมชาติยาม เย็นรอบเขื่อนอุบลรัตน์ รวมทั้งสถานที่พัก มีโฮม สเตย์ รีสอร์ท และอาคารที่พัก เรือนรับรองภายใน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยเขื่อนอุบลรัตน์ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวได้อย่างพอเพียง ตลอดช่วงหน้าร้อนนี้ อำ�เภอเขือ่ นอุบลรัตน์ จึ ง ขอเชิ ญ ชวนให้ ม าเที่ ย วชมความงามเขื่ อ น อุบลรัตน์ พร้อมเยีย่ มดูระบบชลประทานเกษตรกร ที่สามารถปลูกข้าวได้เต็มพื้นที่และการผลิตไฟฟ้า ได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเป็นทั้งแหล่งท่องเที่ยว และ เป็นแหล่งผลิตพลังงานให้กับประชาชนได้อย่าง สมบูรณ์สืบต่อไป

ประธานสโมสรทีมฟุตบอลอุดรธานี เอฟ ซี “ยักษ์แสด” คนใหม่ เผยเตรียมทุ่มงบประมาณก้อน ใหญ่กว่า 700 ล้านบาท ในการก่อสร้างสนามฟุตบอล ให้เป็นสมบัตขิ องจังหวัดและพัฒนาทีมฟุตบอลของ สโมสรให้เป็นนักฟุตบอลอาชีพเทียบชั้นได้ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ นายสุวิทย์ พิพัฒนวิไลกุล ประธานสโมสร ทีมฟุตบอลอุดรธานี เอฟ ซี “ยักษ์แสด” คนใหม่ เปิด เผยถึงแนวทาง ทิศทางในการพัฒนากีฬาฟุตบอลของ จังหวัดอุดรธานีและของทีมอุดรธานี เอฟ ซี “ยักษ์ แสด” ในอนาคตว่า จะมีการก่อสร้างสนามฟุตบอล ขนาดใหญ่ความจุ 25,000 ที่นั่ง โดยกะใช้เงินงบ ประมาณเบือ้ งต้นเป็นค่าก่อสร้าง 600 ล้านบาท ยังไม่ รวมค่าสิ่งอำ�นวยความสะดวกอย่างอื่น พร้อมกันนี้ จะจัดหางบประมาณอีกประมาณ 30 ล้าน เพือ่ พัฒนา ในด้านต่างๆของทีมอุดรธานี เอฟ ซี”ยักษ์แสด” เพือ่ ให้ทีมสามารถก้าวขึ้นไปแข่งขันอยู่ในลีก ดีวิชั่น 1 ในฤดูกาลหน้า เพื่อยกระดับของทีมให้เทียมเท่าทีม ฟุตบอลทั้งในประเทศและต่างประเทศ นายสุวิทย์ฯ กล่าวว่า สำ�หรับกรณีแรกการ ก่อสร้างสนามฟุตบอลขนาดความจุ 25,000 ที่นั่ง ว่า ตนเองพร้อมด้วย นายศราวุธ เพชรพนมพร อดีต ส.ส.เพื่อไทย และคณะกรรมการบริหารชุดใหม่ ได้

พั ฒ นาศั ก ยภาพ ผู้ นำ � ชุ ม ช น ; ดร.พงษ์ศักดิ์ ตั้ ง ว า นิ ช ก พ ง ษ์ นายก อบจ. ข อ น แ ก่ น เ ป็ น ป ร ะ ธ า น เ ปิ ด โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ศักยภาพผูน้ �ำ ชุมชน ในการเตรียมความ พร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 29 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2557 ณ ชุดาปาร์ครีสอร์ทแอนด์โฮเต็ล ต.บ้านค้อ อ.เมือง จ.ขอนแก่น เพื่อให้ผู้น�ำ ชุมชน ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลกระทบทั้งด้านบวก-ลบ เมื่อ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ดินที่มีการขุดลอกจากหนองสำ�โรงจำ�นวน 1 ล้าน ลบ.ม.มาใช้ถมในพืน้ ทีด่ งั กล่าว หลังจากนัน้ ก็จะใช้ เวลาก่อสร้างสนามและอืน่ ๆ ในโครงการประมาณ 2-3 ปี ในส่วนของการพัฒนาทีมฟุตบอลอุดรธานี เอฟ ซี นั้น ในฐานะที่ได้มีการก่อตั้งเป็นสโมสรฟุ ตบอลฯที่เก่าแก่ของภาคอีสานสโมสรฯหนึ่ง ที่ก่อ ตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 และเข้าร่วมการแข่งในลีก อาชีพมาตลอด ซึ่งตนเองจะใช้เงินงบประมาณไม่ น้อยกว่า 30 ล้านบาท ในการพัฒนาทัง้ ตัวนักฟุตบอล การบริหารทีม การจัดหานักฟุตบอลเข้ามาเสริม ทีมให้มีความเข้มแข็ง และสโมสรฟุตบอลอุดรธานี เอฟ ซี.ให้มีความเจริญก้าวหน้า ก้าวสู่ลีกสูงสุดของ ประเทศ และให้มคี วามเทียมเท่ากับทีมฟุตบอลแนว หน้าของทัง้ ในประเทศ และประเทศเพือ่ นบ้านต่อไป

ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ชุ ม ช น ; ดร.พงษ์ศักดิ์ ตัง้ วานิชกพงษ์ นายก อบจ.ขอนแก่น เป็น ประธานเปิ ด โครง การส่งเสริมสุขภาพ ชุ ม ชน เพื่ อ พั ฒ นา ศั ก ย ภ า พ อ ส ม . แ ก น นำ � ห มู่ บ้ า น และประชาชนใน พื้นที่อำ�เภอกระนวน ให้มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนได้ อย่างถูกต้อง ระหว่างวันที่ 1 – 5 พฤษภาคม 2557 ณ ห้องประชุมโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม อ.กระนวน จ.ขอนแก่น


หน้า 4

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557

ประมวลภาพกิจกรรม

ทำ�บุญเลี้ยงพระเพล พร้อมถวายสังฆทาน เนื่องในโอกาสครบ รอบ “วันก่อตั้งสมาคมสื่อมวลชนจังหวัดขอนแก่น” เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ กับสื่อมวลชนผู้ล่วงลับ ณ วัดกลาง ต.เมืองเก่า อ.เมือง จ.ขอนแก่น เมื่อ วันที่ 9 เมษายน 2557

ร่วมทำ�บุญขึ้นบ้านใหม่คุณพ่อจะเด็ด แดนอุดร สื่อมวลชนอาวุโส เนือ่ งในวันทำ�บุญขึน้ บ้านใหม่ ทีบ่ า้ นซำ�จาน ต.บ้านค้อ อ.เมือง จ.ขอนแก่น เมื่อวันที่ 5 พ.ค. 57

เข้าเยี่ยมให้กำ�ลังใจ นายถาวร บุตรชาดา บรรณาธิการบริหาร หนังสือพิมพ์ขา่ วอีสาน อดีตนายกสมาคมฯ ประสบอุบตั เิ หตุวบู ในห้องนํา้ บ้านพัก พร้อมมอบเงินช่วยเหลือให้กับภรรยา ณ อาคาร 5 ชั้น 1 รพ.ศูนย์ ขอนแก่น เมื่อ 11 พ.ค.57

ศูนย์คลังเลือดกลาง รพ.ขอนแก่น ,ภาคบริการโลหิตแห่งชาติ ที่ 6 สภากาชาดไทย ,คลังเลือดกลาง มข. ,ชมรมผู้บริจาคโลหิตจังหวัด ขอนแก่น และสมาคมสื่อมวลชนจังหวัดขอนแก่น ร่วมจัดการประชุม เตรียมจัดงาน “วันสื่อมวลชนพบงานบริการโลหิต 2557” เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2557 ณ ห้องแก่นเงิน รพ.ขอนแก่น

ร่วมเป็นเจ้าภาพและฟังสวดพระอภิธรรมศพ บิดานายประเสริฐ เอี่ยมสนิทอมร เจ้าของ บรรณาธิการ นสพ.ข่าวอีสานไทยแลนด์นิวส์ ณ มูลนิธิขอนแก่นสามัคคีอุทิศ ถนนรอบเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น เมื่อวันที่ 8 เมษายน 25557

ร่วมแสดงความยินดี เนือ่ งในวันคล้ายวันเกิด นายถาวร บุตรชาดา บรรณาธิการบริหาร หนังสือพิมพ์ขา่ วอีสาน อดีตนายกสมาคมสือ่ มวลชน จังหวัดขอนแก่น ณ บ้านคุ้มนักข่าว ต.เมืองเก่า อ.เมือง จ.ขอนแก่น เมื่อ วันที่ 9 เมษายน 2557

พั ฒ นาพื้ น ที่ แ ก่ ง ละว้ า อย่ า ง สมดุ ล และยั่ ง ยื น ; นายวินัย สิทธิมณฑล รอง ผวจ.ขอนแก่น เป็ น ประธานเปิ ด โครงการ KKP-KKU-LAWA หรือ โครงการ ความร่ ว มมื อ จั ง หวั ด ขอนแก่ น และมหาวิทยาลัยขอนแก่น ใน โครงการพัฒนาพื้นที่แก่งละว้า อย่างสมดุลและยั่งยืน และการ ปาฐกถาพิเศษ โดย ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี นายกสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ในหัวข้อ “อยู่อย่างเท่าทัน กับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมเศรษฐกิจสร้างสรรค์” โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ ผู้นำ�ชุมชน และท้องถิ่น จากพื้นที่แก้งละว้า ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐและเอกชน และนักวิชาการ กว่า 200 คน ณ ห้องประชุมพีร สิทธิ์ คำ�นวณศิลป์ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ทัศนศึกษา โรงไฟฟ้าพลังนํ้าลำ�ตะคองชลภาวัฒนา อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา โดย นายภิญโญ ทองสิงห์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการโรงไฟฟ้า พลังนํ้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ -บริหาร ,นายธนวัฒน์ นุกูลการ ผู้ช่วย ผู้อำ�นวยการโรงไฟฟ้านํ้าพอง และนายพิชิต ธีรโสภณ หัวหน้ากองบำ�รุง รักษาสายส่ง ฝ่ายปฏิบัติการ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นวิทยากร บรรยายสรุปภารกิจของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พร้อมนำ�เยี่ยมชมอุโมงค์โรงไฟฟ้าลำ�ตะคองชลภาวัฒนา

แสดงความเสียใจ และมอบเงินร่วมเป็นเจ้าภาพในการสวดพระ อภิธรรมศพ คุณแม่ทอง จันพรม แม่คุณนิกร จันพรม ณ บ้านหนองแต้ อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2557

เข้าเยี่ยมให้กำ�ลังใจ นายอนุสรณ์ ศุขโข สามีคุณสุพัตรา ศุขโข บรรณาธิการ หนังสือพิมพ์ไทยเสรี และเลขาธิการ สมาคมฯ ทีเ่ ข้ารับการ ผ่าตัดระบบหัวใจ ณ บ้านศุขโข เมื่อ 29 เม.ย.57

มอบปัจจัยการ ผลิ ต ทางการ เกษตร ; น า ย ส ม ศั ก ดิ์ สุ ว รรณสุ จ ริ ต ผวจ.ขอนแก่ น เ ป็ น ป ร ะ ธ า น มอบปั จ จั ย การ ผ ลิ ต ท า ง ก า ร เกษตรตาม โครงการลดรายจ่ายครัวเรือนเกษตรกร โดยมีเกษตรกรมารับปัจจัยการผลิตจำ�นวน 300 ราย จาก 10 ตำ�บลของอำ�เภอกระนวน เป็นโครงการทีท่ างภาครัฐจัดให้ เพือ่ ช่วยเหลือครอบครัวทีม่ รี ายได้ตาํ่ เป็นการ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ณ หอประชุมอำ�เภอกระนวน

พอ.สว.ขอนแก่น ออกให้บริการ ; นายวิวัฒ เมธีวรรณกิจ รอง ผวจ. ขอนแก่น พร้อมด้วยนายแพทย์ สสจ.ขอนแก่น ,รอง ผอ.โรงพยาบาล ศรีนครินทร์ ไปเยี่ยมให้กำ�ลังใจหน่วยแพทย์ พอ.สว.จังหวัดขอนแก่น ที่ ออกไปให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วย และแนะแนวการดูแลรักษาสุขภาพ ของประชาชนที่โรงเรียนบ้านป่าเป้ง ต.แวงน้อย อ.แวงน้อย โดยมี ประชาชนสนใจมารับบริการจำ�นวนมาก

เทสโก้ โลตัส มอบทุนการศึกษา ; คุณสลิลลา สีหพันธุ์ รองประธาน กรรมการ ฝ่ายกิจการบรรษัท เทสโก้ โลตัส มอบเงินจำ�นวน 50,000 บาท เพือ่ สนับสนุนทุนการศึกษาแก่บตุ ร-ธิดา ชมรมสือ่ สร้างสรรค์ จ. ขอนแก่น โดยมี พันตรี พิสษิ ฐ์ ชาญเจริญ นายกสมาคมสือ่ มวลชนจังหวัดขอนแก่น และประธานชมรมสื่อสร้างสรรค์ ให้เกียรติรับมอบ ณ ห้องประชุม หอการค้าจังหวัดขอนแก่น เมื่อเร็ว ๆ นี้

เซ็นทาราขอนแก่น “เล่นเกมส์รับรางวัลทานฟรี” ; คุณพอล สโนว์ (ขวา) ผูจ้ ดั การฝ่ายปฎิบตั กิ าร โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา มอบ บัตรกำ�นัลรับประทานอาหาร แก่ คุณอัจฉราวรรณ หินเธาว์ (กลาง) เนือ่ ง ในโอกาสชนะการเล่นเกมส์ผ่านทาง www.facebook.com/Centara.kk โดยมีคณ ุ ภัทรพล ดีปานแก้ว (ซ้าย) ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายขายร่วมแสดงความ ยินดี ณ โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น

เ ปิ ด สำ � นั ก งานอัยการ ; นายสมศั ก ดิ์ สุ ว รรณสุ จ ริ ต ผวจ.ขอนแก่น มอบกระเช้ า แสดงความ ยิ น ดี กั บ นาย วิเชตร แสนคำ� อัยการจังหวัด คุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดขอนแก่น เนื่องในโอกาสเปิดสำ�นักงานใหม่อย่างเป็นทางการ โดยมีหน่วยงานภาครัฐและเอกชนร่วม แสดงความยินดีอย่างคับคั่ง ณ สำ�นักงานอัยการคุ้มครองสิทธิฯ จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2557


หน้า 5

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557

ครูอุดรธานีพบวิธีเลี้ยงมดกินไข่นอกธรรมชาติ “มดแดง” เป็นมดที่คนไทยรู้จักกันทั่วไป และนำ�มาใช้ประโยชน์หลายด้าน โดยเฉพาะการนำ� ไข่ของมันปรุงเมนูเด็ด หลายบ้านโดยเฉพาะในต่าง จังหวัดก็มักจะปรุงอาหารที่มีไข่มดแดงเป็นส่วน ประกอบ ทั้งแกงผักหวานไข่มดแดง ไข่เจียวไข่ มดแดง หรือยำ�ไข่มดแดง ซึ่งในช่วงเดือนมกราคมเมษายน เป็ น ช่ ว งที่ ไ ข่ ม ดออกเป็ น ไข่ ม ดหรื อ ตั ว หนอน เป็นที่นิยมของผู้บริโภค บางแห่งราคาสูงถึง กิโลกรัมละ 300 บาท ที่โรงเรียนมัธยมชัยนานคำ�วิทยา มีครูสาขา ศิลปะ ได้พบวิธเี ลีย้ งมดแดงใหญ่นอกธรรมชาติ เพือ่ เอาไข่โดยไม่ต้องใช้วิธีการเดิมที่ต้องแหย่รังมดเพื่อ เอาไข่ ผู้สื่อข่าวจึงเดินทางไปยังโรงเรียนมัธยมชัย นาคำ�วิทยา ต.นาคำ� อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี ซึ่งเป็น โรงเรียนมัธยมในสังกัด อบจ.อุดรธานี ตัง้ อยูร่ มิ ถนน สาย อ.เพ็ญ-อ.บ้านดุง และได้พบกับ นายวิชัย ด่า นพงษ์ ครูสอนวิชาศิลปะ และเพือ่ นๆ ครูในโรงเรียน เดียวกันอีกจำ�นวนหนึ่ง

นายวิชยั ฯ และเพือ่ นครูเล่าให้ฟงั ว่า ในระยะ นี้เป็นช่วงปิดเทอมใหญ่ของทางโรงเรียน และเมื่อ เดือนมีนาคมหลังจากโรงเรียนปิดเทอมแล้ว ตนและ เพื่อนครูได้ทำ�ความสะอาดบริเวณอาคารเรียนและ ห้องพักที่อยู่ด้านหลังอาคารอำ�นวยการ โดยได้เก็บ เอาขวดนํ้าอัดลมเปล่าจำ�นวนหนึ่งใส่ถุงพลาสติก ใหญ่วางเอาไว้ใต้ต้นไม้หน้าอาคาร ต่อมาได้มีพ่อค้า รับซื้อของเก่ามาขอซื้อขวด จึงจะเอามาขวดเปล่า มาขาย เมือ่ นำ�ขวดเปล่าออกมาจากถุง สังเกตเห็นว่า ในขวดมีมดเข้าไปอาศัยอยูใ่ นขวดเปล่าหลายลูกและ วางไข่เอาไว้เป็นจำ�นวนมาก จึงเกิดความคิดว่า น่าจะ ทดลองใช้ขวดเปล่ามาใช้เป็นรังแทนรังธรรมชาติที่ มดแดงใหญ่ท�ำ รังอาศัยอยูต่ ามต้นไม้ใหญ่และอยูส่ งู จากพื้นดิน ดังนั้นจึงร่วมกับเพื่อนครู ช่วยกันดัดแปลง ขวดพลาสติกเปล่า โดยการใช้เชือกหรือลวดผูกปาก ขวดพลาสติก และตัดปากขวดออกเล็กน้อยเพื่อให้ มดเดินเข้าออกได้สะดวก แล้วเอาไปผูกแขวนเอาไว้

ข อ น แ ก่ น จั บ จ ริ ง ลดอุบัติเหตุทางถนน นายสมศักดิ์ สุวรรณสุจริต ผู้ว่าราชการ จังหวัดขอนแก่น เป็นประธานพิธีเปิดโครงการ ป้ อ งกั น อุ บั ติ เ หตุ ท างถนนโดยการควบคุ ม ความเร็ ว บนถนนมิ ต รภาพ มี เ ป้ า หมายในการ ลดอุบัติเหตุจำ�นวนผู้เสียชีวิต และผู้บาดเจ็บรวม ถึ ง การปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมของผู้ ขั บ ขี่ ใ ห้ ใ ช้ ความเร็วตามกฎหมายกำ�หนดตามกรอบแนวคิด โดยใช้ยุทธศาสตร์ 2 ด้าน ยุทธศาสตร์ที่ 1 การ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ ให้สาธารณชนทราบ โดยติดตั้งป้ายเขตตรวจจับความเร็ว มีแจกเอกสาร แผ่นพับในเขตจังหวัดขอนแก่น ยุทธศาสตร์ที่ 2 ใน การบังคับใช้กฎหมายเป็นปฏิบตั กิ ารตัง้ จุดตรวจจับ ความเร็ว โดยครอบคลุมทุกช่วงเวลาและสถานทีต่ งั้ จุดตั้งกล้องจับความเร็วจะปรับเปลี่ยนไป

เรื่อยๆ เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2557 เป็นต้นไปโดย ใช้ก�ำ ลังตำ�รวจจาก 7 สถานีต�ำ รวจ และกำ�ลังตำ�รวจ ทางหลวงขอนแก่น บูรณาการทำ�งานร่วมกัน ใน การตรวจจับความเร็วการขับรถบนถนนมิตรภาพ ในเขตจังหวัดขอนแก่น ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น กล่าวว่า จาก นี้ไปจังหวัดขอนแก่นจะมีมาตรการเข้มงวดในการ ตรวจจับความเร็ว เพราะสถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุมาจา การขับรถเร็ว ซึง่ จะเป็นการบังคับผูใ้ ช้รถใช้ถนนใน เขตถนนมิตรภาพให้รกั ษาวินยั การจราจรมากยิง่ ขึน้ เพื่อลดอุบัติเหตุ และจำ�นวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ โดยกำ�หนดความเร็วดังนี้ ความเร็วในเขตเทศบาล รถบรรทุก รถโดยสาร ความเร็วไม่เกิน 60 ก.ม./ ช.ม.,รถพ่วง รถยนต์สามล้อความเร็วไม่เกิน 45

ที่ ต้ น ไม้ ที่ มี รั ง มด แดงทำ�รังอยู่ หลัง จากนั้ น อี ก 2-3 วัน ก็มาสังเกตดู ก็ ปรากฏว่ามีมดแดง จำ�นวนมากเข้าไป อยู่ในขวด และมี การเดินเข้า เดินออก เพื่อไต่ไปยังรังใหญ่ที่อยู่บน บังเอิญดังกล่าว ตนและเพือ่ นครูดว้ ยกัน คิดว่าหาก ต้นไม้ นอกจากนี้แล้วก็ยังสังเกตเห็นอีกว่า มดที่อยู่ การดัดแปลงเอาขวดพลาสติกมาทำ�เป็นรังมดแดง ในขวดก็มกี ารวางไข่มดไว้ และเมือ่ นำ�เอาไปเทียบกับ ใหญ่แทนรังใบไม้ธรรมชาติทมี่ ดแดงใหญ่สร้างเอง ไข่มดที่อยู่ในรังธรรมชาติที่มดวางเอาไว้ในรังใบไม้ ตามธรรมชาติ และอยูบ่ นต้นไม้สงู ๆตามธรรมชาติ ธรรมชาติบนต้นไม้ ก็มีขนาดเท่ากัน และมีทั้งไข่มด ได้ และมีจำ�นวนไข่มดมากพอต่อความต้องการ นางพญา หรือไข่แม่เป้ง และไข่มดงาน เหมือนกัน ของคนนัน้ ก็จะทำ�ให้ผทู้ จี่ ะต้องใช้วธิ ไี ปแหย่รงั มด นายวิชัยฯ กล่าวอีกว่า นายไสว ตราศรี ผู้ ที่อยู่บนต้นไม้ เพื่อที่จะเอาไข่มดแดงเอาไปขาย อำ�นวยการโรงเรียน ได้บอกว่า ขอให้ทำ�การทดลอง หรือบริโภค ลดขั้นตอนลงไปและมีความสะดวก เลี้ยงมดแดงด้วยวิธีดังกล่าวต่อไปอีก โดยให้สังเกต มากขึ้น หรืออาจจะดัดแปลงไปทำ�เป็นโครงการ พฤติ ก ารณ์ ข องมดอย่ า งละเอี ย ดว่ า เป็ น อย่ า งไร ฟาร์มเลี้ยงมดแดง เพื่อเอาไข่เลยก็ได้ พร้อมกันนี้ ตนก็เกิดความคิดต่อไปอีกว่า เพราะอาจจะสามารถนำ�เอามาเป็นสือ่ การเรียน การ ส อ น ใ ห้ กั บ จะนำ�เอาวิธีการดังกล่าว ไปทดลองทำ�การสอน เด็ ก นั ก เรี ย น ให้กับเด็กนักเรียนในส่วนที่ตนเองรับผิดชอบอยู่ ในวิ ช ากลุ่ ม ในเทอมหน้า โดยจะเป็นการเรียน การสอน ตาม การงานอาชีพ ธรรมชาติ ใ ห้ กั บ เด็ ก นั ก เรี ย น ในเรื่ อ งของการ ในโครงการ สังเกตพฤติการณ์เรียนรู้อย่างใกล้ชิด เพื่อให้เกิด ปิ ด ทองหลั ง การอนุรกั ษ์ทางธรรมชาติ ของวงจรชีวติ ของสัตว์ ใกล้ตัวกับชีวิตประจำ�วันของคน พระได้ นอกจากนี้ ยงยุทธ ขาวโกมล...รายงาน แล้ ว จากการ ก.ม./ช.ม. และรถยนต์อื่นทั่วไป (รถเก๋ง รถกระบะ) สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุทางถนนเกิดจากการขับรถ รถตู้ รถจักรยานยนต์ ไม่เกิน 80 ก.ม./ช.ม. เกินอัตรากำ�หนดถึงกว่าร้อยละ 27 ของการอุบตั เิ หตุ ส่วนความเร็วนอกเขตเทศบาล กำ�หนด ทางถนนทั้งหมด ดั ง นี้ รถบรรทุ ก รถ โดยสาร ความเร็ ว ไม่ เกิน 80 ก.ม./ช.ม.,รถ พ่วง รถยนต์สามล้อไม่ เกิน 60 ก.ม./ช.ม.และ รถยนต์ อื่ น ทั่ ว ไป รถ เก๋ ง กระบะ รถตู้ รถ จักรยานยนต์ ไม่เกิน 90 ก.ม./ช.ม. ผู้ ว่ า ร า ช ก า ร จังหวัดขอนแก่น กล่าว ต่ อ ว่ า การขั บ รถเร็ ว ทำ�ให้เกิดอุบัติเหตุด้วย Fairy Fantasia 8 ; ศูนย์สรรพสินค้าแฟรี่พลาซ่า ร่วมกับเสื้อผ้าบุรุษ เงื่ อ นไข คนขั บ เบรค LTD จัดการประกวดร้องเพลง Fairy Fantasia 8 The Show By LTD รอบ ไม่ ทั น ความรุ น แรง ชิงชนะเลิศ และขอแสดงความยินดีกบั F9 เน-นายนัทธพงศ์ พันกาฬสินธุ์ ของการชนเพิ่ ม ขึ้ น ผู้ครองตำ�แหน่งชนะเลิศ Fairy Fantasia 8 ที่เวทีชั้น 2 แฟรี่พลาซ่า เมื่อ ตามระดับความเร็ว ซึ่ง วันที่ 10 พฤษภาคม 2557 ที่ผ่านมา

แผลร้อนในสำ�คัญไฉน

โดย รศ.ทพญ.เข็มพร กิจสหวงศ์

แผลแอ็ ฟ ทั ส ( Aphthous) หรื อ แอ็ ฟ ทา ( Aphthae) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แผลร้อน ใน นับได้วา่ เป็นความผิดปกติอย่างหนึง่ ทีพ่ บบ่อย และมักก่อให้เกิดความรำ�คาญ ความเจ็บปวด ความ ทรมาน รวมทัง้ ก่อให้เกิดความวิตกกังวลแก่ผปู้ ว่ ย แผลร้อนในเหล่านี้มีได้ทั้งชนิดเฉียบพลัน และ ชนิดเรื้องรัง การอักเสบก็มีได้ตั้งแต่เล็กน้อย ปาน กลางจนกระทัง่ ถึงรุนแรง สาเหตุทแี่ ท้จริงทีท่ ำ�ให้ เกิดแผลร้อนใน ขณะนีย้ งั ไม่ทราบแน่ชดั นะคะ แต่ พบว่า มีปัจจัยหลายอย่างที่ชักนำ�ให้เกิดโรคขึ้น ได้แก่ ภยันตรายเฉพาะที่ เช่น การเผลอกัดปากตัว เอง การแปรงฟัน โดยใช้แปรงขนแข็งหรือแปรง โดนเนือ้ เยือ่ อ่อน เป็นต้น สภาวะการเปลีย่ นแปลง ของฮอร์โมน โดยพบว่ามีความสัมพันธ์ของการ เกิดแผลร้อนในกับการมีประจำ�เดือน คือ มักจะ เกิดได้บ่อยในระยะก่อนหรือหลังมีประจำ�เดือน ในช่วงตั้งครรภ์มักไม่ค่อยพบแผลร้อนใน แต่จะ เกิดขึ้นใหม่ได้หลังจากการคลอดบุตรแล้ว ปัจจัยอีกอย่างหนึง่ ได้แก่ สภาวะทางจิตใจ ในคนที่มีความเครียดหรือมีปัญหาทางจิตใจมาก

จะเป็นแผลร้อนในกันมาก นอกจากนี้ในบุคคล ที่มีประวัติเป็นโรคภูมิแพ้หรือแพ้สารต่างๆ ง่าย นอกจากนี้ยังพบว่า จะเกิดมีแผลร้อนในขึ้นหลัง จากที่มีการใช้ยาหรือรับประทานอาหารบางชนิด ด้ ว ย โดยทั่ ว ไปแผลร้ อ นในมั ก จะเป็ น อยู่ น าน ประมาณ 7-14 วันแล้วจะค่อยๆหายไปเอง แต่ใน ช่วง 2-3 วันแรก แผลจะเจ็บมาก จึงมักเป็นอาการ สำ�คัญนำ�ผูป้ ว่ ยไปพบ ทันตแพทย์ ทันตแพทย์อาจ จ่ายยาที่ช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวด และลดระยะ เวลานานของการเป็นแผลลง เช่น ยาจำ�พวกสเตีย รอยด์ที่เป็นขี้ผึ้งสำ�หรับใช้ทาเฉพาะที่ เพื่อไปลด การอักเสบ การทายาในแผลที่เพิ่งเริ่มเป็นมักจะ ช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น “แผลร้ อ นใน สั ม พั น ธ์ กั บ ความเครี ย ด และการพักผ่อนไม่เพียงพอ” หากท่านมีข้อสงสัย เขียนมาหาเราได้ที่ หน่วยประชาสัมพันธ์ คณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002 โทร. 043-202405 ต่อ 11188 พบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีค่ะ

อบรมการหนีไฟพนักงานใหม่ ; โรงแรมพูลแมน ขอนแก่น ราชา ออคิด จัดให้มีการปฏิบัติตาม แผนฝึกซ้อมระงับอัคคีภัยในอาคารสูง อบรมให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยให้แก่พนักงานใหม่ พร้อมทั้งจำ�ลองเหตุการณ์เพื่อให้พนักงานได้รู้ถึงขั้นตอนที่ควรจะ ปฏิบัติ เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ และการประสานงานที่ดีทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของพนักงานทุกท่าน รวมไปถึงแขกผู้เข้าพัก เพื่อเตรียมความพร้อม รับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินและสร้างความมั่นใจทางระบบการระงับอัคคีภัยภายในโรงแรมฯ


หน้า 6

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557


ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557

หน้า 7


หน้า 8

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557

นวัตกรรม สลายไขมัน ไม่ตอ้ งดูด ไม่ตอ้ งผ่า ปัญหาไขมันส่วนเกิน ยังคงกวนใจทัง้ ผูห้ ญิง และผู้ชายทำ�ให้เสียบุคลิก เสียความมั่นใจ และเสีย สุขภาพ วงการแพทย์ความงามคิดค้นหาวิธีกำ�จัดไข มันตัวร้ายที่ฝังแน่นในชั้นลึกนี้ตลอดเวลา จากการ ดูดไขมันที่มีความเสี่ยงและเกิดรอยชํ้า การผ่าตัด ก็แสนหวาดเสียว แถมต้องมีเวลาพักฟื้น นอกนั้น ยังต้องยอมรับกับรอยแผลเย็บอีกด้วย จึงนำ�มาสู่ นวัตกรรม สุดลํ้าใหม่ล่าสุด การกำ�จัดไขมันชั้นลึก โดยไม่ต้องผ่าตัด “พุง” เป็นส่วนที่คนส่วนใหญ่อยากกำ�จัด ออกไปมากที่สุดในร่างกาย แต่ไขมันที่พุงกับเจ้า ห่วงยางข้างเอวนีห่ ละทีก่ �ำ จัดได้ยากทีส่ ดุ ไม่วา่ จะอด อาหาร หรือออกกำ�ลังกายอย่างไรก็ไม่สามารถกำ�จัด ออกไปได้ง่ายๆ จนใครๆ พากันเรียกชื่อว่า ไขมันดื้อ ด้าน หรือ Stubborn Fat ทางเดียวที่จะจัดการเอาไข มันส่วนนี้ออกไป คือดูดไขมัน ซึ่งต่อให้อยากหุ่นดี อย่างไรก็ต้องคิดหนัก ถ้าจะเลือกวิธีนี้

Solta Medical,Inc เป็นบริษทั คิดค้นและวิจยั เกี่ยวกับเครื่องมือแพทย์กลุ่มเวชสำ�อางชั้นนำ�ระดับ โลก ล่าสุดบริษัทฯ ได้มีการเสนอเครื่องมือสำ�หรับ การกระชับสัดส่วน Liposonix เครื่อง Liposonix เป็นนวัตกรรมการใช้คลื่นอัลตราซาวด์แบบเจาะจง ไปที่เป้าหมาย (HIFU) เพื่อไปทำ�ลายเซลล์ไขมัน บริ เ วณรอบเอว หน้ า ท้ อ งด้ า นหน้ า และด้ า นข้ า ง เพียงการทำ� ทรีทเม้นท์ 1 ครั้งใช้เวลาเพียง 1 ชั่วโมง สามารถลดรอบเอวได้ 1ไซส์ของขนาดกระโปรง HIFU แตกต่างจากคลืน่ อัลตร้าซาวด์ทวั่ ไป อย่างไร มีเครือ่ งมือแพทย์ทใี่ ช้พลังงาน อัลตร้าซาวด์ ในการส่งผ่านผิวไปทำ�ลายเซลล์ไขมัน แต่ความแตก ต่างของเทคโนโลยี HIFU (High-Intensity Focused Ultrasound) อยู่ ที่ ก ารโฟกั ส ความเข้ ม ข้ น ของ พลังงาน ให้สามารถส่งผ่านผิวลงไปทำ�ลายเซลล์ไข มันได้ โดยไม่ทำ�ลายเซลล์ส่วนอื่น อธิบายอย่างง่าย

พลังงานอัลตร้าซาวด์โดยทั่วไปเทียบได้กับแสงแดด แต่ พ ลั ง งาน HIFU คื อ แสงแดดที่ ผ่ า นแว่ น ขยาย สามารถรวมแสงแดดให้มีความเข้มข้นสูงเป็นจุด เดียว ได้ตามต้องการ สามารถส่งพลังงานเจาะจงเป้า หมาย ลงไปในระดับลึกของชัน้ ผิว สูช่ นั้ ไขมันสะสม นับเป็นครั้งแรก ที่พลังงานสามารถลงไปกำ�จัดไข มันระดับลึกได้โดยไม่ต้องผ่าตัด ส่วนพลังงานอัลต ร้าซาวด์ชนิดอื่นๆที่มีอยู่ในปัจจุบันก็มีพลังงานตํ่า และไม่สามารถส่งพลังงานเฉพาะ เจาะจงเป้าหมาย ทำ�ให้ตอ้ งทำ�การรักษาหลายครัง้ และไม่สามารถคาด เดาผลลัพธ์ได้ ด้วยการพัฒนาทางด้านการแพทย์ในปัจจุบนั จึงได้เกิดเครือ่ งมือแพทย์ใหม่ลา่ สุดในการลดสัดส่วน ที่เรียก LipoSonix โดยใช้หลักการส่งผ่านพลังงาน HIFU ลงไปโฟกัสทำ�ลายเฉพาะเซลล์ไขมัน ให้แตก ตัวออก เป็นอนุภาคเล็กซึ่งกระบวนการดูดซึมตาม ธรรมชาติ จะกำ�จัด ออกเป็นของเสียไปในที่สุด ก่ อ นหน้ า นี้ เมื่ อ พู ด ถึ ง การกำ � จั ด ไขมั น ด้วยวิธีไม่ผ่าตัด ก็มักจะ เป็ น พลั ง งานคลื่ น วิ ท ยุ หรือเลเซอร์ ซึ่งพลังงาน เหล่านั้น สามารถลงลึก ได้เพียงชั้นผิวหนังบนๆ จึ ง ช่ ว ยได้ เ พี ย งกระชั บ ผิ ว ช่ ว ยการไหลเวี ย น

ของเลือด ไม่สามารถลงลึกได้ถึงชั้นไขมันที่อยู่ใต้ ผิว ลึก1- 2 ซ.ม. ต่างกับ LipoSonix ที่เป็นพลังงาน อัลตร้าซาวด์ชนิด HIFU ที่ถูกพัฒนานำ�มาใช้ในการ กำ�จัดไขมันในชัน้ ลึกโดยเฉพาะสามารถลงลึกถึงชัน้ ไขมัน โดยไม่ทำ�ลายผิวชั้นบน หรือเนื้อเยื่อโดยรอบ ไม่มีแผลเปิด ไม่ต้องพักฟื้นใช้ระยะเวลาในการทำ� 1 ช.ม. หลังทำ�สามารถกลับไปใช้ชีวิตได้ตามปกติ Liposonix ถือเป็นตัวช่วยกำ�จัดไขมันที่ยาก ต่อการสลาย นอกเหนือจากจำ�กัดอาหารและออก กำ�ลังกาย ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวผ่านการรับรอง มาตรฐานองค์ ก ารอาหารและยาจากประเทศ สหรัฐอเมริกา (FDA) ว่าเป็นเครื่องมือที่สามารถลด ขนาดรอบเอวและหน้าท้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ เฉลี่ยแล้วสามารถลดขนาดรอบเอวหลังจากที่ทำ� ทรีทเมนท์เพียง 1 ครั้ง ในเวลาเพียง 1 ชั่วโมง ได้ถึง อย่างน้อย 1 นิ้ว หรือลดขนากกระโปรง/กางเกง 1 ไซส์ โดยใช้เวลาเห็นผลลัพธ์ประมาณ 8-12 สัปดาห์ (เนื่องจากร่างกายของเราใช้กระบวนการธรรมชาติ ในการกำ�จัดเซลล์ไขมันออกไป) จากการศึกษาโดย ทีมแพทย์ในสหรัฐอเมริกา ผลของการหดเล็กลงของ ชัน้ ไขมัน ทำ�ให้สดั ส่วนเล็กลงตัง้ แต่ 1-4 นิว้ เป็นการ รักษาที่ได้รับ U.S.FDA approved สำ�หรับความ สามารถที่ชัดเจน ในการลดไขมันรอบเอว สอบถามเพิ่มเติมที่ ริญระวี คลินิก 043225627 , 0817175088

ป ร ะ มู ล เ ล ข ท ะ เ บี ย น ส ว ย ชนะเพื่ออะไร

เถียงชนะลูกค้า ชนะแล้วลูกค้าก็หายไป เถียงชนะเพื่อนร่วมงาน ชนะแล้วความสามัคคีก็หมดไป เถียงชนะเจ้านาย ชนะแล้วก็ไม่ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน เถียงชนะญาติ ชนะแล้วความเป็นญาติพี่น้องหายไป เถียงชนะเพื่อน ชนะแล้วเพื่อนก็น้อยลง เถียงชนะคนรัก ชนะแล้วความรักก็จางไป เถียงชนะใคร ชนะคือแพ้ สู้ชนะตัวเองไม่ได้ ให้ตัวเองเข้มแข็งเติบโต มั่นคง ถึงจะเป็นผู้ชนะที่แท้จริง ชนะ ใครใครก็ต้องการ แต่ชนะแล้ว ได้ไม่คุ้มเสีย ชนะแล้วเสียประโยชน์ ชนะแล้ว ไม่ได้อะไร แล้วเรายังจะต้องการ ความชนะอยู่อีกหรือ เราโง่หรือฉลาดกันแน่

“แก้ ว แหวน เงิ น ทอง”

ข น ส่ ง จั ง ห วั ด ข อ น แ ก่ น ประมู ล หมายเลขทะเบี ย นรถสวย ครั้งที่ 11 หมวด กว “แก้วแหวน เงิน ทอง” ระหว่างวันที่ 26 – 27 เมษายน 2557 ณ โรงแรมเซ็นทารา คอนเวน ชั่น เซ็นเตอร์ ขอนแก่น โดยนำ�เงิน รายได้จากการประมูลทะเบียนรถใน แต่ละครัง้ เข้าสมทบกองทุนเพือ่ ความ ปลอดภั ย ในการใช้ ร ถใช้ ถ นน และ จัดสรรเงินดังกล่าวนำ�มาใช้แก้ปัญหา และป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุบนท้องถนน รวมไปถึงการจัดซือ้ อุปกรณ์ สำ�หรับผู้ได้รับบาดเจ็บและคนพิการ อันมีสาเหตุมาจากอุบัติเหตุที่เกิด ขึ้นจากการใช้รถใช้ถนน นายกนก ศิรพิ านิชกร ขนส่งจังหวัดขอนแก่น เปิดเผยว่า หมวด กว ให้ความหมายถึง “แก้วแหวน เงินทอง” มีหมายเลขทีท่ ำ�การประมูล

จำ � นวน 301 หมายเลข กำ � หนดการ ประมูล 2 วัน และในปี 2557 นี้ ได้รับ เกียรติจาก นายอัฌษาไธค์ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต อธิบดีกรมการขนส่ง เป็นประธาน เปิดการประมูล สำ � หรั บ ครั้ ง นี้ แผ่ น ป้ า ยทะเบี ย น มีความพิเศษที่นำ�มาเสริมความเป็นสิริ มงคล ลั ก ษณะแผ่ น ป้ า ยเป็ น กราฟฟิ ก โดยนำ�เอกลักษณ์ของจังหวัดขอนแก่น อาทิ “พระธาตุ ข ามแก่ น ” ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง เป็นที่เคารพสักการบูชาของชาวขอนแก่น และ พุทธศาสนิกชนทั่วไป “ดอกคูน” เป็นดอกไม้ประจำ�จังหวัดขอนแก่น มี ความหมายถึงการอุดหนุนคํ​ํ้าคูน “ไดโนเสาร์สิรินธนเน่” และแคน ซึ่ง เป็นเครื่องดนตรี ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของชาวขอนแก่น โดยภาพที่ปรากฏ บนแผ่นป้ายทะเบียนรถล้วนเสริมสร้างความเป็นสิริมงคลอย่างยิ่ง

พ.ต.อ.กฤตัชญ์ บำ�รุงรัตนยศ “ผู้กำ�กับป้ายแดง” มือปราบยาเสพติด

มุ่งสร้างโรงพักเมืองขอนแก่นให้ทันสมัย พร้อมสู่ประชาคมอาเซียนปี ‘58 “สวัสดีค่ะ”หนังสือพิมพ์ไทยเสรี ขอต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่คอลัมน์ “สายตรงโรงพัก” ฉบับประจำ� เดือนพฤษภาคม พุทธศักราช 2557 เราขอแนะนำ�ท่าน ผู้อ่านให้รู้จักกับคนในแวดวงสีกากี คือ “ตำ�รวจ”หรือ “ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์” ในพื้นที่ภาคอีสานเช่นเคยค่ะ ในฉบับนีเ้ ราขอแนะนำ�ท่านให้รจู้ กั กับ พ.ต.อ.กฤตัชญ์ บำ�รุงรัตนยศ ผกก.สภ.เมืองขอนแก่น คนใหม่ล่าสุด ค่ะ ทีท่ �ำ งานได้ทงั้ ฝ่ายบูแ๊ ละบุน๋ ถือเป็นนายตำ�รวจมือ ปราบยาเสพติดมือฉมัง ที่หาตัวจับยากคนหนึ่ง พ.ต.อ.กฤตัชญ์ บำ�รุงรัตนยศ ปัจจุบันอายุ 43 ปี เดิมมีชื่อว่า เขตขัณฑ์ บำ�รุงรัตน์ มาเปลี่ยนชื่อเป็น พ.ต.อ.กฤตัชญ์ บำ�รุงรัตนยศ เมื่อครั้งดำ�รงตำ�แหน่ง เป็น ผกก.1 บก.ปทส.บช.ก. เมื่อต้นปี 2557 นี่เองค่ะ ประวัติการศึกษา จบปริญญาตรี รัฐประศาสศาสตร์ บั ณ ฑิ ต โรงเรี ย นนายร้ อ ยตำ � รวจสามพราน รุ่ น ที่ 46 ปริ ญ ญาโท ศิ ล ปศาสตร์ ม หาบั ณ ฑิ ต คณะ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ หลักสูตร Pacific Training intiative“Global Challenges for Law Enforcement” FBI Bangkok Thailand ประวัติรับราชการ ปี 2536 รอง สว.ประจำ� รร.นรต. บช.ร.ร.นรต. จากนั้นย้ายไปเป็น รอง สวส. สน.ภาษีเจริญ ,สน.โชคชัย และ.สน.วังทองหลาง ก่อนย้ายไปเป็น รอง สว.ผ.3 กก.2 ป. บช.ก. และได้ รับความไว้วางใจให้เป็น นว.(สบ.2) ผบช.ประจำ� ตร. ปี 2546 ขยับขึ้นเป็น สว.ผ.4 กก.3 ป.บช.ก. ,สว.กก. 4 บก.ป.บช.ก. ,สว.กก.2บก.ป.บช.ก. จนกระทั่งปี 2550 เป็น รอง ผกก.ประจำ� สง.ผบ.ตร. ,รอง ผกก. 1บก.ป.บช.ก. และในปี 2554 ขึน้ เป็น ผกก.2 บก.ปอศ. บช.ก. ขณะทีม่ อี ายุเพียง 39 ปี จากนัน้ ย้ายไปเป็น ผกก. 1 บก.ปทส.บช.ก. และมีคำ�สัง่ ให้มารับตำ�แหน่ง ผกก. สภ.เมืองขอนแก่น เมื่อ 5 ก.พ.2557 ที่ผ่านมา พ.ต.อ.กฤตัชญ์ ถือเป็นนายตำ�รวจมือปราบ ยาเสพติดมือฉมังคนหนึ่งที่มีผลงานดีเด่น สามารถ

ทำ � งานได้ ทั้ ง ฝ่ า ยบู๊ และฝ่ายบุ๋น ในหลาก หลายบทบาทหน้ า ที่ โดยเฉพาะในส่วนกลาง ได้รับรางวัลประกันผลงาน: รางวัลปราบปรามยาเสพติดดีเด่น เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2548 ประกาศเกียรติคุณข้าราชการตำ�รวจทำ�หน้าที่ ปราบปรามยาเสพติดดีเด่น สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ ปี พ.ศ.2548 ประกาศเกียรติคุณข้าราชการตำ�รวจทำ� หน้าที่ปราบปรามยาเสพติดดีเด่น สำ�นักงานตำ�รวจ แห่งชาติ ปี 2549 ทันทีที่ พ.ต.อ.กฤตัชญ์ มารับตำ�แหน่ง ผกก.สภ.เมือง ขอนแก่น ได้ประชุมคณะกรรมการติดตามและตรวจ สอบการบริหารงานตำ�รวจ (กต.ตร.) ทำ�การปรับปรุง โรงพักขึ้นใหม่ภายในเวลา 46 วัน และเมื่อต้นเดือน เม.ย. เปิดเป็นศูนย์บริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ หรือ ศูนย์ ONE STOP SERVICE เพื่อให้ประชาชนได้รับ บริการทีส่ ะดวก รวดเร็วและมีความทันสมัยเพือ่ เตรียม พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ที่จะถึงนี้ ปิดท้ายคอลัมน์ ผกก.สภ.เมืองขอนแก่น ได้ กล่าวฝากถึงเพื่อนตำ�รวจ สภ.เมืองขอนแก่น ด้วยว่า “ตำ�รวจต้องมีจิตบริการ ต้องรู้สึกว่าประชาชนที่มาใช้ บริการมีความเดือดร้อน ทุกข์ใจ ต้องบำ�บัดทุกข์ ปัดเป่า ให้ประชาชนอย่างรวดเร็วเป็นธรรม โดยทำ�หน้าที่ให้ สมศักดิ์ศรีใช้กิริยาวาจาที่เป็นมิตรที่สำ�คัญไม่มองข้าม ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนให้ลงมือแก้ไข ทันทีครับ” คติพจน์ : เสียสละ อุทศิ ตนด้วยจิตบริการ ขจัด ภัยพาล เพื่อความผาสุกของประชาชน สำ�หรับคอลัมน์สายตรงโรงพักฉบับนี้ ต้อง ขอลาท่านผู้อ่านไปก่อน ไว้พบกันใหม่ฉบับหน้าเดือน มิถุนายน 2557 นะคะ “สวัสดีค่ะ”

นอกจากนี้ แผ่น ป้า ยทะเบี ย นทั้ งหมดที่ นำ� มาประมู ล สำ�นักงานขนส่งจังหวัดขอนแก่นได้นำ�เข้าพิธีเสริมสิริ มงคล เมื่อวันที่ 19 เมษายน ซึ่งเป็นวันเสาร์ห้า ณ วัดพระ ธาตุขามแก่น อำ�เภอนํ​ํ้าพอง จังหวัดขอนแก่น สำ�หรับการประมูลหมายเลขทะเบียนรถสวย กว 9999 ขอนแก่น ผู้ประมูลได้คือ นายเอกราช ปัญญางาม นักธุรกิจจากกรุงเทพ ประมูลในราคา 1,100,000 บาท โดย ยอดการประมูลในวันแรกรวมเงินทัง้ สิน้ 12,984,000บาท และเมื่อปิดการประมูลหมายเลขทะเบียนสวยจำ�นวน 301 หมายเลข รวมสองวันได้ยอดเงินประมูลรวมทั้งสิ้น 21,090,000 บาท ซึ่งถือว่าเป็นไปตามเป้าที่กำ�หนด

“ที่ ผ่ า นมาจั ง หวั ด ขอนแก่ น เปิ ด การประมู ล หมายเลขทะเบียนรถมาแล้วรวม 10 ครั้ง ได้เงินเข้ากอง ทุนฯ จำ�นวน 156,234,898 บาท เมื่อรวมการประมูล 21 ครั้ง จังหวัดขอนแก่นสามารถนำ�เงินรายได้สมทบเข้า กองทุนเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนรวมกว่า 177,324,898 บาท ซึ่งจะนำ�เงินรายได้สมทบเข้ากองทุน เพือ่ ความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนและจัดสรรในการ แก้ไขปัญหาและป้องกันการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน รวมไปถึงการจัดซื้ออุปกรณ์สำ�หรับผู้ได้รับบาดเจ็บและ คนพิการอันมีสาเหตุมาจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการใช้ รถใช้ถนนต่อไป” นายกนก กล่าว

เพ็ญศิริ นาคทน ...รายงาน


หน้า 9

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557

กินเพื่อสุขภาพ ดีอย่างยั่งยืน

เ ช ฟ ใ ห ญ่ โ ร ง แ ร ม พู ล แ ม น ขอนแก่ น ราชา ออคิ ด คุ ณ สุ วิ ท ย์ ศิ ร ะ สวัสดิ์ เปิดคอร์สสอนทำ�นํ้าสลัดสมุนไพร เพื่อสุขภาพ ให้กับเหล่าสื่อมวลชน และ ผู้สนใจ ณ ห้องอาหารพาวิเลี่ยน คาเฟ่ ซึ่ง ได้สอดคล้องกับโครงการ “PLANET 21” ในส่ ว นของการดู แ ลรั ก ษาสุ ข ภาพ โดย การเลื อ กกิ น เพื่ อ สุ ข ภาพ ดี อ ย่ า งยั่ ง ยื น (Balanced eating) “PLANET 21” คือ โครงการการ พั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ซึ่ ง ริ เ ริ่ ม ก่ อ ตั้ ง โดยบริ ษั ท แอคคอร์ (Accor) มีนโยบายเพื่อการดำ�เนินงานอย่างเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชนของแอคคอร์ทั่ว โลก วัคถุดิบในการทำ� นํ้าสลัดสมุนไพรเพื่อสุขภาพ หัวหอมสับ 300 กรัม พริกไทยสด (เขียว) 200 กรัม คื่นฉ่าย 100 กรัม แคปเปอร์ 50 กรัม กระเทียมสับ 1 เม็ด มะกอกยัดไส้ 100 กรัม ต้นหอม 100 กรัม

พาสลี่ (ผักชีฝรั่ง) 100 กรัม นํ้ามันสลัด 1 ลิตร นํ้าส้มสายชู หรือนํ้ามะนาว 1 ลิตร ไข่ขาวต้ม 5 ฟอง ซอส L&P 2 ช้อนชา กุยช่ายเขียว 1 กำ� วิธีการทำ� นํ้าสลัดสมุนไพรเพื่อสุขภาพ 1. ใส่สว่ นผสมต่างๆทีเ่ ตรียมไว้ลงในถ้วย ได้แก่ คื่นฉ่าย กุ้ยช่าย กระเทียมสับ หัวหอมสับ (เพื่อเพิ่ม ความหวาน) แคปเปอร์ (เพื่อเพิ่มความหอม) ต้นหอม สับ 2 ช้อน (เพื่อเพิ่มสีสันให้นํ้าสลัดดูน่าทานมากยิ่ง ขึ้น) พาสลี่หรือผักชีฝรั่ง มะกอกยัดไส้ (เพื่อเพิ่มความ เปรี้ยวและเค็ม หากคุณชอบทานรสเปรี้ยวสามารถใส่

ซื้อมาสด้า 2 ทุกรุ่น ดาวน์เพียง 2,222 บาทฟรี ประกันภัยชั้น 1 รับรถทันที ผ่อนนาน 84 งวด ซื้อมาสด้า 3 รุ่น 1600 CC รับส่วนลดทันที 75,000 บาท รับรถทันที ซื้อมาสด้า 3 รุ่น 2000 CC รับส่วนลดทันที 90,000 บาท BT-50 Pro ทุกรุ่น ดาวน์ 5% ผ่อนนาน 84 งวดฟรี ประกันภัยชั้นหนึ่ง 1 ปี หรือรับส่วนลด ทันที 50,000 บาท

ได้ตามความชอบ) พริกไทยสดสับให้ละเอียด 1 ช้อน (เพือ่ เพิม่ ความเผ็ด จัดจ้าน สามารถใส่ได้ตาม ความชอบ) 2. ไข่ขาวต้ม ขูดเป็นฝอยๆ ให้ความเข้มข้น ใส่ 1 ช้อน หรือ 2 ช้อน 3. ใส่นาํ้ ส้มสายชูเพือ่ เพิม่ ความเปรีย้ ว หรือ อาจใช้นํ้ามะนาวแทนก็ได้ 4. เติ ม นํ้ า มั น สลั ด และซอส L&P ตา มด้วยนํ้าซุปลงในส่วนผสมทั้งหมด 5. นำ�ส่วนผสมทั้งหมด ลงปั่นในเครื่อง Fairynote 8 ; ศูนย์สรรพสินค้าแฟรีพ ่ ลาซ่า ขอแสดงความยินดีกบั ปั่น ปั่นให้ละเอียดจนเป็นเนื้อเดียวกันก็จะได้นํ้า ผู้โชคดี ที่ได้รับรางวัล ซัมซุงกาแล็คซี่โน๊ต 8 นิ้ว กับรายการช้อบที่ สลัดเพือ่ สุขภาพ สามารถเก็บไว้ในตูเ้ ย็นได้นานถึง แฟรี่ แจกฟรีโน๊ต 8” 1 สัปดาห์

แน่ใจเหรอว่าคุณรู้จักเมืองคุณจริง ; นายธนบดี กุลทล ผู้ อำ�นวยการฝ่ายการตลาด บริษัท ฟอร์ด เซลส์ แอนด์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำ�กัด นายสมภพ โกศลกิตย์ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริษทั ขอนแก่นสหชัย มอเตอร์ เซลส์ จำ�กัด มอบรถยนต์ Ford EcoSport ให้กับ นายขจรพงษ์ ร่วมแก้ว พร้อมทีมงาน ผู้โชคดีจากการร่วม กิจกรรม campaign EcoSport Urban Discoveries “แน่ใจเหรอ ว่าคุณรูจ้ กั เมืองคุณจริง” ณ โชว์รมู บริษทั สหชัยขอนแก่น มอเตอร์ เซล์ส จำ�กัด ถนนมิตรภาพ เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2557


หน้า 10

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557


หน้า 11

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557 ชาญวิทย์

• ต่อจากหน้า 1 ดำ�เนินการพัฒนาพื้นที่ 16 ไร่ สำ�หรับผู้มีรายได้ เวียดนามเสียมากกว่า สินค้าดังกล่าวนั้นส่วนมาก จึงต้องมีการศึกษาให้ดี ทำ�ให้สินค้าของเวียดนาม เซ็ปต์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยติดตั้งอุปกรณ์ ให้ผปู้ ระกอบการธุรกิจ SMEs ได้เข้าถึงและมีความ

นายชาญวิทย์ ตัง้ ธนวัฒน์ เจ้าของโครงการ บ้านจัดสรร บริษัทในเครือ P.S. Home เปิดเผย ว่า ปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปลายปีที่ผ่าน มา ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และภาพรวมธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ก็ได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน เนื่องจากลูกค้าชะลอการตัดสินใจซื้อบ้าน หรือ คอนโดมิเนียม ทำ�ให้บริษัทต่างๆ ต้องปรับกลยุทธ์ การทำ�การตลาดให้เหมาะสมกับสถานการณ์ “เชื่อว่าหลังสถานการณ์การเมืองคลี่คลาย คาดว่ า จะทำ � ให้ ลู ก ค้ า ที่ จ ะซื้ อ บ้ า นเข้ า เยี่ ย มชม โครงการเป็นปกติ และสามารถตัดสินใจได้เร็วขึ้น เพราะดอกเบี้ยในปัจจุบันถือว่าอยู่ในระดับตํ่า จะ ส่งผลจูงใจให้คนที่คิดจะซื้อบ้าน ตัดสินใจได้ง่าย ขึ้น” นายชาญวิทย์ กล่าวต่อว่า บริษัทเตรียม พัฒนาโครงการจอมพลคอมเพล็กซ์ บนเนื้อที่เฟส แรก 32 ไร่ ติดกับถนนกสิกรทุ่งสร้างและถนน จอมพล ใกล้กับบึงทุ่งสร้างขอนแก่น โดยรูปแบบ การลงทุนเป็นพืน้ ทีเ่ ชิงพาณิชย์ให้อยูร่ ว่ มกับชุมชน ได้อย่างยั่งยืน ให้เป็นวิถีชุมชนที่อยู่อาศัย ตลาด สวนสาธารณะเพื่อการพักผ่อน พร้อมสิ่งอำ�นวย ความสะดวกในวิถีชีวิตความเป็นอยู่แบบดั้งเดิม ภายในโครงการ “จอมพลคอมเพล็กซ์” ตลาดไทบ้าน มีอาคารพาณิชย์ ที่จอดรถยนต์ พื้นที่ เช่าสำ�หรับการค้า 2 ชั้น พร้อมซูเปอร์มาร์เก็ต ร้าน ค้าชั้นนำ� ธนาคาร และในเฟสแรกยังขยายเพิ่มอีก 16 ไร่ ซึ่งเป็นพื้นที่เดียวกัน โดยมุ่งเน้นการใช้ชีวิต ของคนในชุ ม ชนให้ อ ยู่ แ บบดั้งเดิมที่มีตลาดสด แต่สะอาดและสะดวกสบายเช่นเดียวกับการเดิน ห้างสรรพสินค้า และยังครอบคลุมเบ็ดเสร็จ เชื่อ ว่าความพร้อมที่มีอยู่ภายในตลาดจอมพล จะลด ปัญหาความวุ่นวายของสังคมเมืองให้เป็นวิถีชีวิต ของชาวชุมชนแบบดั้งเดิม ที่พัฒนาให้เข้ากับวิถี ชีวิตของสังคมเมืองในยุคแห่งเทคโนโลยี “ตลาดจอมพล ใช้งบประมาณกว่า 500 ล้านบาท โดยขยายพืน้ ที่ 16 ไร่ เพือ่ ใช้เป็นตลาดสด ชั่วคราวด้านหน้า เพื่อให้แม่ค้าอาหารสด อาหาร ปรุงสำ�เร็จ ผลไม้สดทั้งปลีกและส่ง เข้ามาเปิดให้ บริการก่อน โดยค่าเช่าพื้นที่ขายล๊อคละ 1,500 – 3,000 บาท รวมถึงพื้นที่พลาซ่าบางส่วน และมี พื้นที่สำ�หรับเปิดท้าย โดยเตรียมปรับพื้นที่สำ�หรับ จอดรถยนต์ เพื่ อ อำ � นวยความสะดวกสำ � หรั บ ประชาชนเพิ่ม คาดว่า จะทดลองเปิดบริการเฟส แรกภายในไตรมาส 3 ของปี 2557 นี”้ นายชาญวิทย์ กล่าวและว่า ปัจจุบนั การจราจรเป็นปัญหาหลักสำ�หรับ การใช้ ชี วิ ต ของคนเมื อ ง อี ก ทั้ ง พฤติ ก รรมการ บริ โ ภคของประชาชนส่ ว นใหญ่ ที่ เ ปลี่ ย นไปให้ ความสำ�คัญกับห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่อย่าง บิก๊ ซี, เทสโก้ โลตัส, แมคโคร และเดินช็อปในเซ็นทรัล พลาซ่า ซึ่งเป็นสถานที่มีทุกอย่างครบวงจรพร้อม กับสถานที่จอดรถเป็นสิ่งอำ�นวยความสะดวก ซึ่ง นับเป็นปัจจัยที่มีความสำ�คัญ การเปิดย่านการค้ามักมีปัญหาการจราจร เป็นภาระของสังคมตามมา จะเห็นได้วา่ ถนนกสิกร ทุ่งสร้าง โดยเฉพาะย่านตลาดบ้านดอนหญ้านาง เป็นถนนที่จอดรถไม่เป็นระเบียบ จอดซ้อนคันใน เวลาเร่งด่วน รวมถึงร้านค้าที่ใช้ทางเท้าสาธารณะ เป็นพืน้ ทีค่ า้ ขาย เป็นสาเหตุทที่ �ำ ให้เกิดปัญหารถติด การจราจรแออัด ด้วยเหตุนี้ “ตลาดจอมพล” จึงตอบ โจทย์ประชาชนที่สัญจรในบริเวณดังกล่าว และไม่ ทิ้งภาระให้เป็นปัญหาของสังคมในการจอดรถที่ ไม่เป็นระเบียบ โดยการจัดพืน้ ทีจ่ อดรถยนต์ภายใน โครงการที่สามารถรองรับรถยนต์ได้เกือบพันคัน “หากประชาชนที่จอดรถริมฟุตบาตรด้าน นอก อาจต้องเสียเวลาเดินเข้ามาที่ร้านค้าไกลพอ สมควร และการจั ด แบ่ ง โซนพื้นที่ค้าขายซึ่งให้ ความสะดวกในการเลือกซื้อสินค้า รวมทั้งมีการ วางระบบจราจรเพื่ออำ�นวยความสะดวกในการ เข้า-ออกได้หลายเส้นทาง อีกทั้งจะเป็นการเอื้อ ประโยชน์ สำ � หรั บ ผู้ ป ระกอบการร้ า นค้ า อาคาร พาณิชย์ทั้งปัจจุบันและอนาคต เชื่อว่าการจอดรถ อย่างไม่เป็นระเบียบริมถนนกสิกรทุง่ สร้างจะหมด ไป และไม่ทำ�ให้รถติดบริเวณหน้าโครงการอย่าง แน่นอน” นายชาญวิทย์ กล่าวและว่า โครงการ “จอมพลคอมเพล็ ก ซ์ ” กำ � ลั ง

น้อย หรือพนักงานประจำ�ทีต่ อ้ งการหารายได้เสริม และเปิดโอกาสให้กบั ผูค้ า้ รายใหม่ได้มพี นื้ ทีส่ �ำ หรับ ค้าขาย รูปแบบของตลาดจอมพลไม่ได้เป็นแบบวา ไรตี้ แต่เป็นตลาดโต้รงุ่ เป็นตลาดสด ซึง่ ถือเป็นพืน้ ฐานของคนที่จำ�เป็นต้องกิน ต้องใช้ และเป็นวิถี ชีวิตที่อยู่รอบๆ ตัวของทุกคนซึ่งเป็นกิจวัตรที่จะ ดำ�รงอยู่ได้ในระยะยาว และมีความเสี่ยงน้อย นายชาญวิ ท ย์ กล่ า วต่ อ ว่ า ในช่ ว งแรก เป็นการเปิดขายในส่วนของอาคารพาณิชย์เฉพาะ ด้ า นหน้ า ราคาเริ่ ม ที่ 6 ล้ า นต้ น ๆ ซึ่ ง มี ผ ลตอบ รับดีมาก และในส่วนของตลาดซึ่งอาจต้องปรับ แผนการพัฒนารูปแบบเพือ่ ให้มคี วามเหมาะสมกับ ผู้บริโภคมากที่สุด ในการเปิดประเทศเสรีอาเซียน หรือ AEC ถ้ามองเฉพาะผู้ค้าภายในประเทศ จะเห็นได้ว่านัก ลงทุ น จากส่ ว นกลางเข้ า มาลงทุ น ในพื้ น ที่ ส่ ว น ภูมิภาคอย่างมาก แต่ยังถือว่าง่ายต่อการแข่งขัน เพราะส่วนใหญ่จะยึดบริเวณแถบชานเมืองรอบ นอก ในขณะทีเ่ รามีพนื้ ทีก่ ลางเมืองจึงมองว่าตลาด จอมพลยั ง ได้ เ ปรี ย บในตลาดการแข่ ง ขั น ธุ ร กิ จ ประเภทเดียวกันด้านพื้นที่ “แต่สำ�หรับอนาคตอีก 3-5 ปี ธุรกิจต้องมี การปรับตัวเพื่อรองรับ AEC กลุ่มนักลงทุน กลุ่ม ลูกค้า รวมถึงนักท่องเที่ยวที่จะเข้ามาในพื้นที่ ดัง นั้น คู่แข่งทางการค้าก็มากขึ้นด้วยเช่นกัน ซึ่งการ ปรับตัวของธุรกิจขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ของผู้ประกอบ การที่ต้องมีการตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา และปรับเพื่อ ไม่ ต้ อ งหยุ ด อยู่ กั บ ธุ ร กิ จ ที่ ซื้ อ มาขายไป แต่ ต้ อ ง พัฒนาให้มากกว่าทีเ่ ป็นอยู”่ นายชาญวิทย์ กล่าวและ ว่า สำ � ห รั บ เ ฟ ส 2 ไ ด้ เ ต รี ย ม แ ผ น ก า ร พั ฒ นาพื้ น ที่ ติ ด กั น จำ � นวน 8 ไร่ โดยสร้ า งเป็ น คอนโดมิเนียม จำ�นวน 3 อาคาร โรงแรมขนาดกลาง 1 แห่ง พร้อมที่จอดรถอีกกว่า 700 คัน ในรูปแบบ “คอมมิวนิตี มอลล์” เพื่อเป็นการดึงดูดให้ผู้ที่พัก และอยู่อาศัย เข้ามาใช้พื้นที่ภายในโครงการโดยไม่ จำ�เป็นต้องเสียเวลาในการเดินทางไปห้างสรรพ สินค้า ซึ่งมีสินค้าครบวงจรเช่นเดียวกัน และยังมี มากกว่าในการเป็นวิถีชุมชนแบบดั้งเดิม นอกจากโครงการ “จอมพลคอมเพล็กซ์” แล้ว บริษัทในกลุ่ม P.S.Home ซึ่งเน้นเฉพาะพื้นที่ ทำ�เลทองจึงสามารถพัฒนาศักยภาพในเชิงพาณิชย์ อาทิ ที่ ดิ น บริ เ วณถนนกลางเมื อ งตรงข้ า มไนท์ ตี้ไนท์ อาจพัฒนาที่ดินแนวราบ หรือมีการปรับ เปลี่ยนเป็นทาวน์โฮม เพื่อให้มีพื้นที่ใช้สอย นายชาญวิทย์ กล่าวต่อว่า ส่วนที่สนามบิน ซึ่งมีพื้นที่ 100 กว่าไร่ นับเป็นเส้นทางที่นักลงทุน ให้ความสนใจ ในขณะที่เศรษฐกิจมีการชะลอตัว ลูกค้าจะตัดสินใจเลือกมากขึ้น ดังนั้น การสร้าง อาคารพาณิชย์ในพืน้ ทีท่ �ำ เลทองจึงมีโอกาสมากกว่า แต่ในขณะเดียวกัน เมื่อเศรษฐกิจเติบโต โอกาสที่ ลูกค้าจะเลือกสถานที่ในการลงทุนธุรกิจ ก็ยังเป็น โอกาสดีสำ�หรับการมีพื้นที่ในทำ�เลที่เหมาะสมซึ่ง จะเป็นอีกทางเลือกที่ได้รับการพิจารณาในระดับ ต้นๆ เช่นกัน และที่สำ�คัญ มีความเสี่ยงน้อยกว่า “โดยเฉพาะเมื่อขอนแก่นจะเป็นจุดเชื่อม โยงยุทธศาสตร์ทางการขนส่งเมื่อเข้าสู่ AEC และ จะเป็ น ศู น ย์ ก ลางทางการค้ า ระหว่ า งประเทศ สมาชิกอาเซียนอีกด้วย ซึ่งการเป็นศูนย์กลางทาง เศรษฐกิจย่อมมีประชาชนทั้งชาวไทยและชาวต่าง ชาติเข้ามาลงทุนและอยูอ่ าศัยเพิม่ ขึน้ อย่างแน่นอน จึงเชือ่ ว่าตลาดอสังหาฯ และธุรกิจ SMEs จะเติบโต ขึ้นซึ่งเป็นการเติบโตจากพื้นฐานของมันเอง” นาย ชาญวิทย์ กล่าว

นักธุรกิจไทยเวียด • ต่อจากหน้า 1 นายเจริญชัย ไพศาลกิจรุ่งเรือง เลขาธิการ สมาคมนักธุรกิจไทย-เวียดนาม เปิดเผยว่าปัจจุบัน นีส้ ภาวะการค้าขายลงทุนระหว่างจังหวัดอุดรธานี กับเวียดนาม โดยเฉพาะในส่วนของภาคกลางของ เวียดนามนัน้ ยังไม่ได้มกี ารรวบรวมข้อมูลทีช่ ดั เจน ส่วนใหญ่จะเป็นการทำ�ธุรกิจขนาดเล็ก-ย่อมใน ลักษณะทีเ่ ป็น SMEs เพราะว่าส่วนมากแล้วจะเป็น ในลักษณะที่คนไทยเชื้อสายเวียดนามจากจังหวัด ต่างๆ ในภาคอีสานและจากจังหวัดอุดรธานี จะ เป็ น ฝ่ า ยที่ เ ดิ น ทางไปรั บ สิ น ค้ า มาจากประเทศ

จะเป็นเสือ้ ผ้าสำ�เร็จรูป รองเท้ายีห่ อ้ ดังๆ แต่ผลิตใน ประเทศเวียดนาม หรือเป็นเส้นด้าย เส้นไหม เพื่อ นำ�เอามาผลิตเป็นผ้าผืน และที่เป็นสินค้าอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ก็เป็นกระเบื้องปูพื้นยี่ห้อยุโรปแต่ผลิตในประเทศ เวียดนาม ที่จะมีวางขายอยู่โดยทั่วไปทั้งในห้าง สรรพสินค้าและที่เป็นศูนย์กระเบื้องตามสถานที่ ต่างๆ เพราะเวียดนามค่าแรงถูกกว่าประเทศไทย มาก นอกจากนี้แล้วก็เป็นสินค้าหลังคาเหล็ก หรือ แมททอลชีทต์ ที่ได้นำ�เข้ายังประเทศไทยตกเดือน ละประมาณ 200 ตัน และเครื่องจักรหนักบางชนิด เช่น เครือ่ งรีดเหล็กทีจ่ ะมาทำ�เป็นหลังคาเหล็ก หรือ แมททอลชีทต์ แต่อย่างไรก็ตามก็เป็นเพียงส่วนหนึ่งเล็ก น้อยเท่านั้น ในขณะที่สินค้าไทยก็ยังเป็นที่นิยม และเป็นที่ต้องการของชาวเวียดนาม ที่เดินทางเข้า มาท่องเทีย่ วในจังหวัดอุดรธานีและภาคอีสานชนิด เต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ทกุ ชนิด โดยเฉพาะหม้อหุงข้าว ไฟฟ้าเป็นที่นิยมของชาวเวียดนามมากที่สุด ต้อง เป็นหม้อหุงข้าวจากประเทศไทยเท่านั้น พร้อมกันนีย้ งั ได้กล่าวถึงการจัดตัง้ สมาคม นั ก ธุ ร กิ จ ไทย-เวี ย ดนาม ขึ้ น มานั้ น ก็ เ ป็ น การ รวบรวมเอาคนเวี ย ดนามที่ เ ป็ น คนรุ่ น แรกๆที่ เดินทางเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย โดยเฉพาะ ในภาคอีสาน เช่น จังหวัดอุดรธานี หนองคาย สกลนคร หนองบั ว ลำ � ภู เลย อุ บ ลราชธานี อำ�นาจเจริญ มาเป็นสมาชิกของสมาคม เพื่อการ ทำ � กิ จ กรรมช่ ว ยเหลื อ แก่ นั ก ธุ ร กิ จ เวี ย ดนามรุ่ น ใหม่ที่ได้รับสัญชาติหรือที่เรียกว่าคนไทย เชื้อสาย เวี ย ดนามที่ มี ค วามต้ อ งการที่ จ ะเข้ า ทำ � ธุ ร กิ จ ใน ประเทศเวียดนาม หรือคนเวียดนามที่จะเข้ามาทำ� ธุรกิจในประเทศไทย หรือในภาคอีสาน นายเจริญชัยฯ กล่าวต่อว่า อนาคตการทำ� ธุรกิจในประเทศเวียดนามนั้น จะเป็นคนรุ่นลูก รุ่นหลาน หรือที่เรียกกันว่าคนไทยใหม่ หรือคน ไทย เชื้อสายเวียดนาม ที่ได้รับการศึกษาที่ดี และ มี เ งิ น ทุ น ในด้ า นการทำ � ธุ ร กิ จ สมาคมนั ก ธุ ร กิ จ ไทย-เวียดนาม ซึ่งมีสมาชิกที่ยังสามารถใช้ภาษา เวียดนามได้ทั้งการเขียน พูด และรู้จักประเพณี วั ฒ นธรรมของประเทศเวี ย ดนาม จะคอยเป็ น คนกลางส่งเสริมสนับสนุน ประสานงานทั้งใน และนอกประเทศให้กับนักธุรกิจชาวไทย เชื้อสาย เวียดนาม หรือ นักธุรกิจจากประเทศเวียดนาม ที่ ต้ อ งการเข้ า มาลงทุ น ในภาคอี ส านหรื อ ใน ประเทศไทยให้ ให้กบั บุคคลรุน่ ลูก รุน่ หลาน ทีอ่ าจ จะไม่สามารถพูดภาษาเวียดนามได้ นอกจากนีแ้ ล้ว สมาคมฯก็ยังมีเป้าหมายพร้อมที่จะสนับสนุนช่วย เหลือแก่หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนทุกแห่ง ไม่ว่าจะเป็นจังหวัด หอการค้า สภาอุตสาหกรรม หรือ แม้กระทั้งในด้านส่วนบุคคล เบือ้ งต้นนีต้ นเองในฐานะทีเ่ ป็นสมาชิกของ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี และสภาอุตสาหกรรม จังหวัดอุดรธานี ได้เคยนำ�โครงการให้มกี ารเปิดสาย การบิน ทำ�การบินตรงระหว่างอุดรธานี-ดานัง หรือ เง่หอ์ าน หรือเมืองวินห์ –อุดรธานี เพือ่ เป็นการเปิด เส้นทางเดินทาง ท่องเที่ยวใหม่ ระหว่างภาคอีสาน ของไทยกับเมืองต่างๆ ทางภาคกลางของเวียดนาม ที่เป็นเมืองท่องเที่ยว ซึ่งเมื่อเดือนมิถุนายน 2556 ทางสมาคมนักธุรกิจไทย-เวียดนาม และผู้บริหาร ระดับสูงของเมืองเง่หอ์ าน ก็ได้มกี ารลงนาม MOU เอาไว้แล้ว นอกจากนี้แล้วสมาคมนักธุรกิจไทยเวียดนาม ก็ยังมีเป้าหมายและแผนงานที่จะให้การ สนับสนุนช่วยเหลือในด้านอื่นๆ เช่น การค้า การ ลงทุน การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร การศึกษา ฯลฯ ในอนาคตด้วย “ผมมองไม่ เ ห็ น ถึ ง ปั ญ หาอุ ป สรรคต่ อ ทั้งคนไทยเชื้อสายเวียดนาม หรือที่เป็นคนไทย กับ การทีจ่ ะเข้าไปลงทุนในประเทศเวียดนามทัง้ ทีภ่ าค กลางของประเทศหรือในส่วนต่างๆของประเทศ เวียดนามนอกจากภาษาในการสื่อสาร แต่ก็กล่าว แล้วว่า สมาคมนักธุรกิจไทย-เวียดนาม พร้อมที่ จะเป็นคนกลางทำ�หน้าที่ประสานงานให้ทั้งสอง ฝ่าย ในประเทศเวียดนามขณะนี้มีการตั้งเป็นเขต เศรษฐกิจพิเศษหรือนิคมอุตสาหกรรมเกือบทุก จังหวัด และมีการส่งเสริมให้มีการลงทุนกับทุก ประเทศ มีนักลงทุนเป็นจำ�นวนมากเข้าไปลงทุน

ในขณะนีส้ ามารถสูก้ บั สินค้าของต่างประเทศ เช่น จากประเทศจีนได้ทงั้ ด้านราคาและคุณภาพ” นายเจ ริญชัยฯ กล่าว นอกจากนีแ้ ล้ว นายเจริญชัยฯ ยังเปิดเผยว่า ตนเองในฐานะทีเ่ ป็นลูกหลานคนเวียดนาม ทีไ่ ด้รบั สัญชาติเป็นคนไทย แต่ยังมีเชื้อสายเป็นเวียดนาม อยู่ ก็เป็นนักธุรกิจรายหนึ่งที่ได้รับการสนับสนุน ช่วยเหลือจากทางสมาคมในการดำ�เนินธุรกิจใน ประเทศเวียดนาม สำ�หรับในประเทศไทยได้ด�ำ เนิน ธุรกิจผลิตแมททอลชีทต์ หรือหลังคาเหล็ก ในนาม ของ บริษัท บี เค กรุ๊ป จำ�กัด ทำ�การผลิตแมททอล ชี ท ต์ จำ � หน่ า ยทั่ ว ประเทศโดยใช้ เ ทคโนโลยี ข อง ออสเตรเลีย ขณะนี้ได้มีการร่วมทุนกับนักธุรกิจชาว เวียดนามตั้งโรงงานเพื่อผลิตแมททอลชีทท์ต์ออก จำ�หน่ายในประเทศเพื่อชดเชยส่วนที่ยังขาดเหลือ ด้วยเงินทุน 3000 ล้านบาท โดยจะตั้งโรงงานผลิต อยู่ในนิคม 304 อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี ภายใต้ ชื่อบริษัทและยี่ห้อสินค้าว่า “ฮ้วแซนไทยแลนด์” โดยใช้โนฮาวจากประเทศเวียดนามสำ�หรับการ ผลิต ซึง่ ก็เป็นอีกบทบาทหนึง่ ของสมาคมนักธุรกิจ ไทย-เวียดนาม ที่ได้ช่วยเหลือในการประสานงาน ให้ตนและนักธุรกิจของเวียดนาม ได้มีการพบปะ พูดคุยกับจนได้บรรลุไปจนถึงได้มีการร่วมกันลง ทุนในประเทศไทย

เทสโก้โลตัส

• ต่อจากหน้า 1

ศูนย์กระจายสินค้าเทสโก้ โลตัส ในจังหวัด ขอนแก่น เป็นศูนย์กระจายสินค้าที่มีขนาดใหญ่ ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย ด้วยเนื้อที่ใช้สอยถึง 52,000 ตารางเมตร และยังเป็นศูนย์กระจายสินค้า ที่ ค รบวงจรแห่ ง แรกในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก สมั ย ใหม่ของไทย ด้วยการจัดเก็บและกระจายสินค้า ทุกประเภท ทั้งสินค้าอุปโภคบริโภค สินค้าที่ไม่ใช่ อาหาร และอาหารสดชนิดต่างๆ รวมถึงอาหารแช่ เย็นและแช่แข็ง ซึ่งถูกจัดเก็บในพื้นที่ที่มีอุณหภูมิ แตกต่างกันไป ตั้งแต่ -21 องศาเซลเซียสสำ�หรับ อาหารแช่แข็ง 1 องศาเซลเซียสสำ�หรับผลิตภัณฑ์ นมและเนื้อสัตว์ 12 องศาเซลเซียสสำ�หรับผักและ ผลไม้ 20 องศาเซลเซียสสำ�หรับขนมปังและเบเกอรี่ ไปจนถึงการจัดเก็บสินค้าในอุณหภูมหิ อ้ ง นอกจาก นี้ ศูนย์กระจายสินค้าดังกล่าว ยังสามารถกระจาย สินค้าที่บรรจุในขนาดต่างๆ ทั้งแบบเต็มพาเล็ท จนถึงชิ้นเดี่ยว มร.จอห์น คริสตี้ ประธานกรรมการบริหาร เทสโก้ โลตัส กล่าวว่า “การเปิดศูนย์กระจายสินค้า แห่ ง ใหม่ ที่ จั ง หวั ด ขอนแก่ น นี้ นั บ เป็ น อี ก หนึ่ ง โครงการที่เทสโก้ โลตัสได้มีส่วนในการช่วยขับ เคลือ่ นเศรษฐกิจไทยอย่างต่อเนือ่ ง โดยเราได้ใช้เงิน ลงทุนถึง 2,500 ล้านบาท ในการสร้างศูนย์กระจาย สินค้าทีท่ นั สมัยมาตรฐานสากล และยังได้สร้างงาน ในท้องถิ่นอีกเกือบ 1,000 ตำ�แหน่ง” ศูนย์กระจายสินค้าแห่งใหม่นี้ รองรับธุรกิจ ของเทสโก้ โลตัสที่กำ�ลังเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดย ปัจจุบันจัดส่งสินค้าแก่ร้านค้าทุกรูปแบบในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือจำ�นวนกว่า 300 แห่ง ทั้งร้าน ค้าขนาดเล็กอย่างเทสโก้ โลตัส เอ็กซ์เพรส จนถึง ร้านค้าขนาดใหญ่อย่างเทสโก้ โลตัส เอ็กซ์ตร้า ด้วยการจัดเก็บและกระจายสินค้า 1 ล้านกล่องต่อ สัปดาห์ในปัจจุบัน และมีศักยภาพสามารถรองรับ ได้ถึง 3 ล้านกล่องต่อสัปดาห์ในอนาคต “จุดประสงค์หลักของเราในการเปิดศูนย์ กระจายสินค้าภูมิภาคที่ขอนแก่น คือการนำ�สินค้า มาอยู่ใกล้มือลูกค้ามากยิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยให้มีสินค้า ในร้านตามที่ลูกค้าต้องการตลอดเวลา นอกจากนี้ การจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าที่จังหวัดขอนแก่นยัง ช่วยลดระยะทางการขนส่งได้ถงึ 400,000 กิโลเมตร ต่ อ สั ป ดาห์ ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ เ ราลดการปล่ อ ยก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ จากขนส่งได้เป็นจำ�นวนมาก” มร.จอห์น คริสตี้ กล่าวเสริม ศูนย์กระจายสินค้าเทสโก้ โลตัส ที่จังหวัด ขอนแก่น ก่อสร้างตามแบบมาตรฐานสากล และ เป็นรูปแบบเดียวกับศูนย์กระจายสินค้าชั้นนำ�ใน สหราชอาณาจักรและยุโรป โดยได้รวมนวัตกรรม ล่าสุดด้านการกระจายสินค้ามาไว้ในที่เดียวกัน นอกจากนี้ ศูนย์กระจายสินค้าแห่งใหม่นยี้ งั คงคอน

ประหยัดพลังงานมากมายอีกด้วย “ผมมีความภูมใิ จทีศ่ นู ย์กระจายสินค้าแห่ง ใหม่ของเราที่ขอนแก่นนี้จะมอบประสบการณ์ การช็อปปิ้งที่ดียิ่งขึ้นให้กับลูกค้า ช่วยสร้างงาน และส่งเสริมเศรษฐกิจในท้องถิ่น อีกทั้งยังจะช่วย สนับสนุนธุรกิจเราให้เติบโตอย่างต่อเนือ่ งอีกด้วย” มร. จอห์น คริสตี้ กล่าวสรุป ปัจจุบนั เทสโก้ โลตัส มีศนู ย์กระจายสินค้า 4 แห่งในภาคกลาง รองรับร้านค้าเกือบ 1,700 สาขา ในประเทศไทย โดยเทสโก้ โลตัส ได้ขยายเครือ ข่ายร้านค้าอย่างต่อเนื่อง และในปีนี้มีแผนงานที่ จะสร้างการเติบโตของธุรกิจด้วยกลยุทธ์ “การค้า ปลีกผ่านหลากหลายช่องทาง” (Multi-channel Retailing Strategy) และศูนย์กระจายสินค้าแห่งที่ 5 ที่ขอนแก่นนี้จะช่วยสนับสนุนการเติบโตของเท สโก้ โลตัส ได้เป็นอย่างดี

อนาคตเศรษฐกิจ • ต่อจากหน้า 1 นายวุฒิชัย ดวงรัตน์ รองปลัดกระทรวง พาณิ ช ย์ เปิ ด เผยว่ า ขณะนี้ ป ระเทศไทยมี ค วาม พร้ อ ม และมี ศั ก ยภาพหลายด้ า นที่ จ ะเข้ า สู่ ประชาคมอาเซี ย น ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด คื อ เรื่ อ งฝี มื อ แรงงาน คุณภาพสินค้าไทยไม่แพ้ใครในอาเซียน อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ด้านบริการ การท่องเทีย่ ว รวมถึงความพร้อมทางการแพทย์ อีก ทัง้ ทำ�เลทีต่ งั้ ประเทศไทยซึง่ เป็นศูนย์กลางอาเซียน จึงเป็นปัจจัยสำ�คัญที่น่าส่งเสริมและผลักดันให้ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางธุรกิจการค้าการลงทุน ระบบโลจิสติกส์ ฯลฯ โดยกระทรวงพาณิชย์พร้อมอย่างยิ่งที่จะ อำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการในทุกด้าน ไม่วา่ จะเปิดเวทีให้ผสู้ ง่ ออก และนักลงทุนได้พบปะ แลกเปลี่ยนข้อมูลทางการค้า เจรจาจับคู่ธุรกิจ รวม ถึงการจัดอบรมสัมมนา เพื่อเพิ่มความรู้ให้กับนัก ลงทุนหรือผู้ประกอบการ ที่สนใจลงทุนทำ�ธุรกิจ ในอาเซียน โดยมีผู้เชี่ยวชาญจากแขนงต่างๆ มาให้ คำ�แนะนำ� “ส่วนของกระทรวงเองก็เร่งพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานทางการค้ า ของไทย อาทิ มาตรฐาน สุ ข อนามั ย ของสิ น ค้ า เกษตร มาตรฐานสิ น ค้ า อุ ต สาหกรรม มาตรฐานสิ่ ง แวดล้ อ ม รวมถึ ง การ ปรั บ ปรุ ง ระบบเตื อ นภั ย ทางการค้ า และการใช้ มาตรการทางการค้าให้สามารถ ดำ�เนินการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ควบคูก่ บั การกำ�หนดมาตรฐานทางการ ค้าเพือ่ ป้องกันสินค้าทีไ่ ม่ได้มาตรฐาน และสินค้าทีอ่ าจ จะทะลักเข้ามาจากต่างประเทศได้ โดยหน่วยงานภาค รัฐที่เกี่ยวข้อง” นายวุฒิชัย กล่าวและว่า โครงการอนาคตเศรษฐกิ จ ไทยภายใต้ ประชาคมอาเซียน เป็นงานที่กระทรวงพาณิชย์ ตั้งใจจัดขึ้นเพื่อให้ข้อมูลความรู้และสร้างความ เข้าใจ ผ่านการจัดนิทรรศการ เพื่อให้บุคลากรทั้ง ในภาครัฐ ภาคเอกชน เยาวชน นิสิตนักศึกษา และ ประชาชนทั่วไป เข้าใจในประชาคมอาเซียนและ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยในนิทรรศการ จะมี ส าระความรู้ แ ละข้ อ มู ล ที่ มี ก ารสั ง เคราะห์ ให้เข้าใจง่าย โดยมีพันธมิตรที่สำ�คัญ ได้แก่ สภา หอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย รวมทัง้ สมาคมและส่วนราชการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องภายในงานยังมีการจัดสัมมนาต่างๆ โดย วิทยากรผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้ ด้านเศรษฐกิจ ในประชาคมอาเซียน รวมถึงสิ่งที่เป็นเครื่องมือที่ เป็นปัจจัยในการดำ�เนินธุรกิจ เช่น ทรัพย์สินทาง ปัญญา ระบบการค้าการลงทุน ตลอดจนข้อมูล กฎ ระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งหัวใจสำ�คัญหลักใน งาน คือ การเตรียมความพร้อมของไทยในการก้าว สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน นายวุฒิชัย กล่าวเพิ่มเติมว่า ในปี 2558 ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้เปิด ประตูเพื่อรวมให้เป็นหนึ่งเดียว ดังนั้น ตลาดการ ค้าการลงทุน และเศรษฐกิจเกือบทุกประเภทจะ มีการขยายตัวอย่างมาก โดยเฉพาะประชากรใน ประเทศสมาชิกกว่า 600 ล้านคน ซึ่งนับเป็นกำ�ลัง ซื้อที่สำ�คัญ จึงเป็นโอกาสดีที่ผู้ประกอบการของ ไทยทัง้ ส่วนกลางและส่วนภูมภิ าคต้องมีการพัฒนา ศักยภาพและปรับแนวทางธุรกิจเพื่อสอดรับและ ยกระดับสู่ความเป็นสากลนิยม ซึ่งจะเป็นโอกาส

เข้ า ใจในการพั ฒ นาสิ น ค้ า ให้ เ กิ ด ความน่ า สนใจ สามารถดึงดูดให้นักท่องเที่ยวได้เห็นศักยภาพและ มีความเชื่อมั่นในการลงทุนทางธุรกิจเพิ่มมากขึ้น กระทรวงพาณิ ช ย์ ตั้ งใจที่ จ ะใช้ ศั ก ยภาพ ของประเทศไทยให้อยู่ในแถวหน้าของอาเซียน เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นให้เกิดการลงทุน ทำ�ธุรกิจมากขึ้นในอาเซียน และผลักดันให้เกิด การค้าระหว่างประเทศ จากความสำ�เร็จการจัด งานในกรุ ง เทพฯ กระทรวงพาณิ ช ย์ จึ ง จั ด งาน อนาคตเศรษฐกิจไทยภายใต้ประชาคมอาเซียนใน ส่วนภูมิภาค ใน 5 จังหวัด ดังนี้ จังหวัดขอนแก่น, สงขลา, เชียงใหม่, ชลบุรี และจังหวัดสุราษฎร์ธานี “งานอนาคตเศรษฐกิจไทยภายใต้ประชาคม อาเซียน เป็นงานใหญ่ระดับชาติทกี่ ระทรวงพาณิชย์ ตั้งใจจัดขึ้นเพื่อให้ข้อมูล ความรู้ สร้างความเข้าใจ ผ่านการจัดนิทรรศการ ทำ�ให้บคุ ลากรทัง้ ในภาครัฐ ภาคเอกชน เยาวชน นิสติ นักศึกษา สถาบันวิชาการ ต่างๆ ในนิทรรศการจะมีสาระความรู้และข้อมูลที่ มีการสังเคราะห์ให้เข้าใจง่าย นอกจากนั้นยังได้นำ� เสนอความแข็งแกร่งของ 12 Clusters ทีส่ �ำ คัญของ อุตสาหกรรมสินค้าและบริการ โดยจับมือกับภาค เอกชนโดยเฉพาะสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รวมทัง้ สมาคม อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง” นายวุฒิชัย กล่าวและว่า ส่วนประโยชน์ทจี่ ะได้รบั ทำ�ให้เกิดการไหล เวียนของสินค้า เงินทุน แรงงานได้อิสระขึ้น และ มีการพัฒนาเครือข่ายการคมนาคมขนส่งระหว่าง กันเพื่อประโยชน์ด้านการค้าและการลงทุน การ ค้าภายในและต่างประเทศขยายตัว ทำ�ให้อุปสงค์ บริการโลจิสติกส์เพิม่ ขึน้ เป็น Gateway สำ�หรับการ ขนส่งทางถนน สำ�หรับประเทศจีนตอนใต้ มีเส้น ทาง (ถนน และรถไฟ) ที่เชื่อมโยงตามแนวระเบียง เศรษฐกิจ N-S และ E-W Economic corridor สร้าง โอกาสที่ดีในการเป็นศูนย์กลางเชื่อมต่อการขนส่ง และเศรษฐกิจในภูมิภาคและประเทศเพื่อนบ้าน ตามด่านชายแดน และความร่วมมือในระดับอนุ ภูมิภาคเช่น GMS เป็นปัจจัยที่สำ�คัญในการพัฒนา โครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงระหว่างประเทศ

เซ็นโทซ่า

• ต่อจากหน้า 1

นายสัญชัย ชินจตุรภัทร กรรมการผูจ้ ดั การ บริษัท เซ็นโทซ่า จำ�กัด เปิดเผยว่า ครอบครัว “ชิน จตุรภัทร” ประกอบธุรกิจห้างสรรพสินค้าคู่เมือง ขอนแก่นมาอย่างยาวนานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 จาก ห้างค้าปลีกเก่าแก่เล็กๆ บนถนนศรีจันทร์ ในชื่อ ร้าน “สหภัณฑ์” โดยมี นายเขียน และนางละออ ชินจตุรภัทร เป็นผู้ก่อตั้ง และด้วยบุคลิกที่ยิ้มแย้ม แจ่มใส ใจดี และขยันขันอดทน ทำ�ให้กิจการของ ร้านเจริญเติบโตขึ้น และขยายกิจการมาเป็นห้าง สรรพสินค้าในชื่อ “ห้างเซ็นโทซ่า ดีพาร์ทเม้นท์ สโตร์” จำ�หน่ายทั้งสินค้าเสื้อผ้าแฟชั่นชาย หญิง เครื่ อ งสำ � อาง เครื่ อ งหนั ง อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งเขี ย น แผนกซุปเปอร์มาร์เก็ต และอื่นๆ จากบรรพบุรษุ ทีต่ อ้ งการให้เป็นคลังสินค้า อุ ป โภคบริ โ ภคสำ� หรั บ เพื่ อ นบ้ า นและประชาน โดยทั่วไป ต่อมาได้มีการพัฒนารูปแบบควบคู่กับ การขยายเมืองขอนแก่น จึงพัฒนาเป็น “เซ็นโท ซ่า มาร์เก็ตเพลส” บนถนนมะลิวัลย์ และเพื่อปรับ ตัวสอดรับกับการเป็นประเทศสมาชิกอาเซียน หรือ AEC ที่กำ�ลังจะเข้ามามีบทบาทอย่างมากใน อนาคตอันใกล้ ยกระดับให้มคี วามเป็นสากล พร้อม ปรับรูปลักษณ์บริการที่ทันสมัยเพื่อตอบสนอง กับความต้องการ และพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของ ผู้บริโภคยุคใหม่ให้มีความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ได้มกี ารวางระบบการบริหารจัดการให้สอดรับกับ สถานการณ์เศรษฐกิจในปัจจุบัน นายสัญชัย กล่าวต่อว่า ได้ทมุ่ งบว่า 70 ล้าน บาท บนพืน้ ทีก่ ว่า 2 ไร่ ขยายสาขาแห่งที่ 3 “เซ็นโท ซ่า มาร์เก็ต” ในรูปแบบของไลฟ์สไตล์มอลล์ เพื่อ สอดรับความเปลี่ยนแปลงในยุคเทคโนโลยีที่ไร้ พรมแดน อีกทั้งเป็นการขยายฐานลูกค้า และปรับ ตัวชิงส่วนแบ่งการตลาดคืนจากห้างยักษ์ใหญ่ทเี่ ข้า มาขยายฐานในส่วนภูมิภาค โดยยึดหลักให้ความ สำ�คัญผู้ประกอบการ SMEs ให้มีพื้นที่นำ�เสนอ สินค้าของชุมชนสู่ผู้บริโภคในตลาดการค้าสากล


หน้า 12

ปีที่ 11 ฉบับที่ 121 ประจำ�เดือนพฤษภาคม 2557

ประชุมใหญ่สามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2557 ; ดร.บรรเจิด ฉัตรไพฑูรย์ ประธานกรรมการ บริษทั อุดรพัฒนา (1994) จำ�กัด และประธานบริหารโรงพยาบาล เอกอุดร (คนที่ 4 จากขวา) กล่าวเปิดการประชุมใหญ่สามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2557 พร้อมด้วยคณะกรรมการบริษทั อุดรพัฒนา (1994) จำ�กัด เพือ่ ชีแ้ จงความ ก้าวหน้าและเป้าหมายในปี 2557 ของโรงพยาบาลเอกอุดร ณ ห้องประชุมใหญ่ชั้น 4 โรงพยาบาลเอกอุดร เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2557

แสดงความยินดีผอู้ �ำ นวยการแพทย์ ; อาจารย์นายแพทย์รชั นัย ยศสิงห์ ประธานองค์กรแพทย์โรงพยาบาลเอกอุดร (คนที่ 5 จากขวา) และคณะอาจารย์แพทย์ โรงพยาบาลเอกอุดร มอบดอกไม้แสดงความยินดีแด่ อาจารย์นายแพทย์ชัชวาลย์ หมั่นพลศรี (คนที่ 6 จากขวา) ในโอกาสเข้ารับตำ�แหน่ง “ผู้อำ�นวยการ แพทย์โรงพยาบาลเอกอุดร” เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2557 ณ ห้องประชุมใหญ่ชั้น 4 โรงพยาบาลเอกอุดร

โครงการประกาศใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนาฯ ; คุณอรุณี จิวาศักดิ์อภิมาศ กรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกอุดร (แถวนั่งชุดชมพู) พร้อมด้วย อาจารย์ นายแพทย์รัชนัย ยศสิงห์ ประธานองค์กรแพทย์โรงพยาบาลเอกอุดร (แถวนั่งคนที่ 4 จากขวา) อาจารย์นายแพทย์ชัชวาลย์ หมั่นพลศรี ผู้อำ�นวยการแพทย์ โรงพยาบาลเอกอุดร (แถวนั่งคนที่ 3 จากขวา) และคณะผู้จัดการ หัวหน้าแผนก ร่วมถ่ายภาพที่ระลึกกับ ดร.นครชัย ชาญอุไร อาจารย์ประจำ�มหาวิทยาลัย ราชภัฎอุดรธานี เนื่องในโอกาสเป็นวิทยากรในโครงการประกาศใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนาฯและอบรมสถิติเพื่อการวิเคราะห์ ณ ห้องประชุมใหญ่ชั้น 4 โรงพยาบาลเอกอุดร เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2557

ศึกษาดูงาน ; คุณอรุณี จิวาศักดิ์อภิมาศ กรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกอุดร และผู้พิพากษาสมทบในศาลแรงงานภาค 4 (คนที่ 8 จากซ้าย) พร้อมด้วย คุณวิเชียร ชมดง ผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลเอกอุดร (คนที่ 7 จากซ้าย) ร่วมถ่ายภาพที่ระลึก กับคุณศุทรา คำ�สว่าง ผู้อำ�นวยการสำ�นักอำ�นวยการประจำ�ศาล จังหวัดอุดรธานี (คนที่ 9 จากซ้าย) และคณะ เนื่องในโอกาสศึกษาดูงานและเยี่ยมชมระบบบริหารงานของโรงพยาบาลเอกอุดร เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557

รดนํ้าดำ�หัว ; ดร.บรรเจิด ฉัตรไพฑูรย์ ประธานบริหารโรงพยาบาลเอกอุดร (คนที่ 5 จากขวา) ร่วมถ่ายภาพที่ระลึก กับ ดร.ประมวล โสภาพร ผู้อำ�นวย การโรงเรียนอุดรพิทยานุกูล (คนที่ 4 จากขวา) เนื่องในโอกาสนำ�อดีตผู้อำ�นวยการโรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและคณาจารย์ เข้าพบเพื่อรดนํ้าดำ�หัว เทศกาล เยี่ยมชมระบบบริหาร ; คุณอรุณี จิวาศักดิ์อภิมาศ กรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกอุดร (แถวหน้า คนที่ 5 จากซ้าย) และคณะ ร่วมถ่ายภาพที่ระลึกกับ สงกรานต์ 2557 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลเอกอุดร เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2557 Prof.Dr.Ichiro Komiya (แถวหน้า คนที่ 6 จากซ้าย) และ Assoc.Prof.Dr.Koichiro Okumura พร้อมด้วยคณะนักศึกษาแพทย์จาก University of the Ryukyus Hospital ประเทศญี่ปุ่น เนื่องในโอกาสเข้าเยี่ยมชมระบบบริหารงานของโรงพยาบาลเอกอุดร เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2557

มอบโทรทัศน์ 21 เครื่อง ; ดร.บรรเจิด ฉัตรไพฑูรย์ ประธานบริหารโรงพยาบาลเอกอุดร (คนที่ 4 จากขวา) คุณอรุณี จิวาศักดิ์อภิมาศ กรรมการบริหาร โรงพยาบาลเอกอุดร (สูทนํ้าเงิน) คุณวิเชียร ชมดง ผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลเอกอุดร (ขวาสุด) และคณะ มอบโทรทัศน์จำ�นวน 21 เครื่อง ให้กับวิทยาลัย เยี่ยมชมระบบบริหาร ; คุณอรุณี จิวาศักดิ์อภิมาศ กรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกอุดร (คนที่ 2 จากขวา) มอบของที่ระลึกแด่ Mr.HoungChaleunxay สารพัดช่างอุดรธานี เพื่อใช้ประกอบในการจัดเรียนการสอน โดยมีคุณมงคล แก้วรอด ผู้อำ�นวยการวิทยาลัยสารพัดช่างอุดรธานี เป็นผู้รับมอบ เมื่อวันที่ 3 KENESANE General Manager และ Mrs.Viengkeo ASSANA, Marketing Manager Assistant สมุดหน้าคำ�ลาว (Laos Yellow pages) ส.ป.ป.ลาวเนื่องใน โอกาสเข้าเยี่ยมชมระบบบริหารงานของโรงพยาบาลเอกอุดร เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2557 เมษายน 2557ณ โรงพยาบาลเอกอุดร

ที่ปรึกษา พล.ต.ท.ศักดา เตชะเกรียงไกร, ดร.สมเกียรติ แพทย์คุณ, รศ.ดร.ธีระ ฤทธิรอด, ดร.อาทิตย์ ฉัตรชัยพลรัตน์, ฉัตร ศรีพันธุ์, สิทธิโชค บุญโท, พ.อ.สมศักดิ์ สงทามะดัน, พีระ วีระชัย, ยงยุทธ ขาวโกมล เจ้าของ/บรรณาธิการบริหาร พ.ต.พิสษิ ฐ์ ชาญเจริญ บรรณาธิการ/ผูพ ้ มิ พ์และผูโ้ ฆษณา สุพตั รา ศุขโข กองบรรณาธิการ เพ็ญศิริ นาคทน,สิทธิชยั สีดาน้อย,มณฑล ศุขโข,รณชิต ชาญเจริญ,นาฏยาภรณ์ ชาญเจริญ,

ประคอง หนูราช,พันธ์ศักดิ์ วีระชัย,เสริมศักดิ์ ขาวโกมล สำ�นักงาน 76 ม.20 ถ.กสิกรทุ่งสร้าง ต.ศิลา อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ 08-9422-0228 โทรสาร 0-4324-4584 E-mail : Thaisaeree@gmail.com, Thaisaeree@yahoo.com ศูนย์อุดรธานี 152/3 ถ.อุดรดุษฏี ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 โทรศัพท์ 08-6864-0678 โทรสาร 0-4224-7905 E-mail: ps_veerachai@hotmail.com ศูนย์หนองคาย 78 หมู่ 4 ถนนเฉลิมพระเกียรติ์ ต.เมือง อ.เมือง จ.หนองคาย 43000 ที่ปรึกษากฎหมาย สังคม พุทธา สำ�นักงานทนายความประสพสุขธุรกิจและกฎหมาย ออกแบบ/กราฟฟิค เอื้อดีไซน์ 08-3417-0363


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.