swu50-2

Page 1

ไมวาทศวรรษหนาจะเปนอยางไร ขอยืนยันหลักการของ ปู ยา ตา ยาย เกา ๆ คือ สุ จิ ปุ ลิ ไดแก ปญญา ที่เกิดจากการฟง คิด ถาม และ ตอบ รวม ทั้ง พุทธศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และ พัฒนาศึกษา มาเปนหลักในการเรียนรู นอกจากนี้ตองปลูกฝงใหเด็กรักการอาน เพราะเปน รากฐานสําคัญ และสราง ทักษะการสังเกตใหมาก รวมทั้งรูจัก การคนควา อยูเสมอ บางคนเรียนมาก แตไมสามารถสื่อสารได บางคนทําแต ขอสอบปรนัยได แตคิดไมเปน ซึ่งเด็กใน ทศวรรษหนาตองคิดเอง ตั้งแตตน

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 23 กันยายน 2542


๘๐ พรรษา มหาราชัน ลุแปดสิบ พรรษา มหาสวัสดิ์ หกสิบป พระครองใจ ไทยทุกนาม คือกษัตริย พัฒนา ประชาสุข คือพอหลวง ผูเมตตา ประชาไทย ศึกษาศาสตร ประสานมิตร จิตสํานึก เทิดพระเกียรติ ดวยจงรัก และภักดี ขอพระองค ทรงเกษม สิริเฉลิม พระอนามัย คงคืน ยืนพระชนม

พระรมฉัตร โพธิ์ทอง ของสยาม ทั่วเขตคาม พระดับเข็ญ รมเย็นใจ คือประมุข เหนือประมุข ผูยิ่งใหญ คือโคมไฟ สองสวาง ทางชีวี นอมรําลึก พระคุณ อุนเกศี รวมฤดี กราบไตรรัตน พิพัฒนพล พระกายสุข พระทัยเสริม เพิ่มพูนผล นอมใจดล ขอพระองค ทรงพระเจริญ ดวยเกลาดวยกระหมอมขอเดชะ ขาพระพุทธเจา คณะศึกษาศาสตร นายสัญญา รัตนวรารักษ ผูประพันธ


ISBN 1513-3443

วารสารวิชาการ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ JOURNAL OF EDUCATION: FACULTY OF EDUCATION : SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY ปที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2550

เจาของ

:

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท 23 เขตวัฒนา กทม. 10110 โทร. 0-2664-1000 ตอ 5539, 5580โทรสาร 0-2260-0124

พิมพที่ ที่ปรึกษา

:

สํานักงานเลขานุการคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทวิโรฒ คณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หัวหนาภาควิชา หัวหนาสาขาวิชา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

บรรณาธิการ

:

:

ศาสตราจารย ดร.อารี สัณหฉวี

หัวหนากองบรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ :

ผูชวยศาสตราจารยอลิศรา เจริญวานิช ผูชวยศาสตราจารยบุญยฤทธิ์ คงคาเพ็ชร ผูชวยศาสตราจารย ดร.องอาจ นัยพัฒน ผูชวยศาสตราจารย ดร.ฤทธิชัย ออนมิง่

รูปเลม

:

ผูชวยศาสตราจารยอลิศรา เจริญวานิช นายธนพล ติดสิลานนท

กองจัดการ

:

นายพิสทิ ธิ์ แตมบรรจง นางสุรางค เบญจศรี นางสาวเมลดา พาทีเพราะ นายสุทธิศกั ดิ์ แซแต นางสาวพัชรินทร ธรรมสุวรรณ นางสาวคํานึง ทองคําสุข นายสมชาย หาบานแทน


หลักเกณฑการเขียนตนฉบับวารสารวิชาการศึกษาศาสตร นโยบายวารสาร วารสารวิชาการศึกษาศาสตร เปนวารสารที่ พิมพเพื่อเผยแพรบทความ รายงานการวิจัย บทวิจารณ ขอคิดเห็น และขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการศึกษาทั้งความเคลื่อนไหว และการเปลี่ยนแปลงในแวดวงการศึกษาที่ เกิดขึ้น ทัศนะและความเห็น ในวารสารฉบับนี้เปนของผูเขียนแตละทาน และไมจําเปนที่จะตองสอดคลองกับ นโยบาย จุดยืน ทัศนะ ของคณะศึกษาศาสตร กองบรรณาธิการยินดีพิจารณาผลงานสาขามนุษยศาสตรและ สังคมศาสตรทุกสาขา ผลงานที่ไดรับการพิจารณาตีพิมพในวารสารอาจถูกดัดแปลงแกไขรูปแบบและสํานวน ตามที่เห็นสมควร ผูประสงคจะนําขอความใด ๆ ไปพิมพเผยแพรตอไป ตองไดรับอนุญาตจากผูเขียนตาม กฎหมายลิขสิทธิ์ การพิจารณาตนฉบับ บทความที่ ตี พิ ม พ จ ะต อ งได รั บ ความเห็ น ชอบจากกองบรรณาธิ ก าร และผ า นการกลั่ น กรองจาก ผูทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวของ กรณีที่ตองปรับปรุงแกไข จะสงกลับไปยังผูเขียนเพื่อดําเนินการตอไป การเสนอบทความเพื่อพิมพในวารสารวิชาการศึกษาศาสตร 1. บทความแตละบทความจะตองมีชื่อเรื่อง ชื่อผูเขียน (ครบทุกคน) วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด และ ตําแหนงทางวิชาการ (ถามี) ของผูเขียนครบทุกคน 2. ตนฉบับตองระบุชื่อ นามสกุลจริง สถานที่ทํางานหรือที่อยู และเบอรโทรศัพท ที่สามารถติดตอได 3. ผูเสนอผลงานตองสงตนฉบับพิมพหนาเดี่ยว ควรใชตัวอักษร Cordia New ขนาด 16 บนกระดาษ ขนาด 8.5 นิ้ว x 11 นิ้ว ความยาวของตนฉบับรวมทั้งตาราง แผนภูมิ และเอกสารอางอิงไมเกิน 20 หนา พรอ ม กับบันทึกบทความลงในแผนซีดี 4. ตนฉบับที่เปนงานแปลหรือเรียบเรียงจะตองบอกแหลงที่มาโดยละเอียด 5. ตองเปนบทความที่ไมเคยตีพิมพเผยแพรมากอน 6. กองบรรณาธิการขอใชสิทธิในการนําบทความที่ตีพิมพในวารสารวิชาการศึกษาศาสตรเผยแพรลง ในเว็บไซตวารสารวิชาการศึกษาศาสตรออนไลน Æ กรณีที่เปนบทความทางวิชาการ ควรมีสวนประกอบทั่วไปดังนี้ 1. บทคัดยอภาษาไทย 2. บทคัดยอภาษาอังกฤษ 3. บทนํา 4. เนื้อหา 5. บทสรุป 6. บรรณานุกรม


Æ กรณีที่เปนบทความวิจัย ควรมีสวนประกอบทั่วไป ดังนี้ 1. บทคัดยอภาษาไทย 2. บทคัดยอภาษาอังกฤษ 3. บทนํา / ความเปนมาของปญหาการวิจัย 4. วัตถุประสงคของการวิจัย 5. สมมุติฐาน (ถามี) 6. วิธีดําเนินการวิจัย 7. สรุปผลการวิจัย และการอภิปรายผล 8. ขอเสนอแนะ 9. บรรณานุกรม การเขียนเอกสารอางอิงและบรรณานุกรม การอางอิงในบทความใหผูเขียนระบุที่มาของขอมูล/เนื้อเรื่องที่อางอิง โดยบอกชื่อ นามสกุล (หรือ เฉพาะนามสกุล ถา เปน ภาษาอั ง กฤษ) และปที่พิ ม พ ข องเอกสาร (และหนา กรณีอ า งอิง ขอ ความเฉพาะ บางสวน) การอางอิงแบบเชิงอรรถ ใหใชไดในกรณีที่ตองการขยายความ สําหรับการเขียนเอกสารอางอิงทาย บทความ ใหใชดังตัวอยางตอไปนี้ 1. หนังสือใหเรียงลําดับ ดังนี้ ชื่อผูแตง. (ปที่ พิม พ) . ชื่ อเรื่อง. (ฉบั บพิ ม พ) . สถานที่พิ ม พ: ผูจัดพิมพ. อํานวย แสงสวาง. (2544). การจัดการทรัพยากรมนุษย. (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน. 2. วารสารภาษาไทย ใหเรียงลําดับดังนี้ ชื่อตัว ชื่อสกุล. (ป พ.ศ.ที่พิมพ). ชื่อเรื่อง. ชื่อหรือชื่อยอ วารสาร, ปที่ (ฉบับที่), หนาแรก-หนาสุดทาย. ตัวอยางเชน อรัญญา จิวาลักษณ. (2544). ความฉลาดทางอารมณ: ปจจัยแหงความสําเร็จในการทํางาน. วารสารสมาคมพยาบาลสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 23(1), 42-49. 3. วารสารตางประเทศ ใหเรียงลําดับดังนี้ ชื่อสกุล, ชื่อนํายอ ชื่อตามยอ. (ป ค.ศ.ที่พิมพ). ชื่อเรื่อง : ชื่อหรือชื่อยอวารสาร, ปที่ ( ฉบับที่), หนาแรก-หนาสุดทาย. ตัวอยางเชน Hartman, L. M. (1979). The preventive reduction of psychological risk in asymptomatic adolescents. American Journal of Orthopsychiatry, 49(1), 121 – 135. 4. แหลงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ระบบออนไลน (Online) ใหเรียงลําดับดังนี้ ชื่อผูเขียน. (ปที่เผยแพร). ชื่อเรื่อง. แหลงที่เขาถึง: [วัน เดือน ป ที่เขาถึงเอกสาร] ตัวอยางเชน Oconnor, R.M. (2003). Emotional intelligence and academic success: examining the transition from high school to university.(Online).Available: http://www.sciencedirect.com. Accessed [25/3/2003]. การตอบแทน กองบรรณาธิการจะอภินันทนาการวารสารฉบับที่บทความนั้นตีพิมพทานละ 3 ฉบับ


ISBN 1513-3443

วารสารวิชาการ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ JOURNAL OF EDUCATION: FACULTY OF EDUCATION : SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY ปที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2550

สารบัญ ภาษาเพื่อพัฒนาปญญา Ö ผูชวยศาสตราจารย ดร.บังอร พานทอง จิตวิทยาเพื่อการติดตอสื่อสารและเขาใจผูอื่น Öรศ.มุกดา ศรียงค การพัฒนาคาดัชนีพลังงานจําเพาะของการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย โดยพิจารณาจากปจจัยเชิงโครงสรางและปจจัยเชิงพฤติกรรม Ö โอภาส สุขหวาน อภิชิต เทอดโยธิน ดร. ไพรัช วงศยุทธไกร การพัฒนาแบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก Ö พัชรี จิ๋วพัฒนกุล การพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนมัธยมนาคนาวาอุปถัมภ Ö เวธกา หนูเพ็ชร การพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ําสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 Ö สมศักดิ์ พาหะมาก ปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการเรียนของพระนิสิต คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร Ö พระมหาสุชาติ ใหมออน

1

11

19

31

41

55

67


องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความรับผิดชอบในการทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร Ö พระมหาสมควร ขุนภิบาล

75

ปจจัยที่สงผลตอการปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย Ö นางสาวมนัสวี วัชรวิศิษฏ

87

รูปแบบการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับขาราชการพลเรือนไทย Ö วาที่ รอยโท นภเกตุ สุขสมเพียร

101

องคประกอบที่มีอิทธิพลตอการวางแผนดานการเงิน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค Ö สุดฤทัย จันทรแชมชอย

113

การพัฒนาชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง เรื่องแนวทางการผลิตอาหาร ตามหลักตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี Öสมชาย เรืองมณีชัชวาล

121

การแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงของโครงสรางองคประกอบอันดับหนึ่งและอันดับสูง ของแบบประเมินการสอนโดยผูเรียนของมารชฉบับภาษาไทย Ö อนุ เจริญวงศระยับ

133

หลักสูตรที่เปดสอนในคณะศึกษาศาสตร

134


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

1

ภาษาเพื่อพัฒนาปญญา Ö ผูชวยศาสตราจารย ดร.บังอร พานทอง บทคัดยอ บทความนี้ มี ค วามมุ ง หมายที่ จ ะเสนอแนวการจั ด การ เรี ย นรู ภ าษาต า ง ๆโดยเฉพาะ เพื่ อ เสนอแนะครู ผู ส อนหรื อ ผู อ า น เกี่ยวกับแนวทางการจัดการเรียนรูหรือการสอนที่แ นนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ ผูสอนตองเขาใจผูเรียนซึ่งเปนเด็กเล็ก ทําอยางไรจึงจะ สามารถเขาใจผูเรียนไดดี กิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ซึ่งครูผูสอนจัด ขึ้นอยางเหมาะสมเปนอยางไร เพื่อเปดโอกาสใหเด็กไดเรียนรูอยาง เต็มศักยภาพ ผูสอนภาษาเด็กระดับเริ่มตนหรือเด็กเล็ก ตองมีความ เขาใจทั้งดานทฤษฎีการสอนภาษาและทฤษฎีการเรียนรู การเพิ่มพูน ความรูความสามารถหรือคุณภาพดานการใชภาษาที่กําลังสอน และ การเขาใจผูเรียน ผูสอนสวนใหญเขาใจวาการสอนเด็กเล็กควรเปนสิ่ง ที่ ง า ย ๆ ตรงไปตรงมาไม ซั บ ซ อ น แต ใ นทางตรงข า มเด็ ก ทุ ก คนมี ความรู แ ละประสบการณ ม ากพอควร ผูส อนจึ ง ควรเขา ใจเทคนิ ค วิธีการเรียนรูของผูเรียนวาทําความเขาใจสิ่งที่เรียนไดอยางไร เด็กมี ศักยภาพและความสามารถที่จะคิดหรือทําในสิ่งที่ผูใหญไมคาดคิด ครูผูสอนจึงควรใหการสนับสนุนเพื่อใหเกิดการพัฒนาการใชภาษาทั้ง ในชั้นเรียนและชีวิตประจําวัน การที่เด็กสามารถใชภาษาไดอยางมี ประสิ ท ธิ ภ าพและถู ก ตอ ง ทั ก ษะการสื่ อ สารและศั ก ยภาพในการ เรี ย นรู จ ะพั ฒ นาอย า งรวดเร็ ว เป น พื้ น ฐานของการเรี ย นรู ต อ ไปใน อนาคต

ผูชวยศาสตราจารย ประจําสาขาวิชาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


2

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ABTRACT This article is about teaching and learning languages. It aims to help readers or teachers to make teaching more effective, by attending to learning and the world of the learners, and by understanding how classroom activities and teacher can create children’s opportunities for learning. The teacher of young learners requires an understanding of theoretical knowledge of teaching, increasing the quality of languages education and concentrating an children’s abilities. Do not misleading to think that children will only learn simple languages. On the contrary, the teachers need to be highly skilled to reach into the children’s world. They need to understand how children make sense of the world and how they learn. Children have huge learning potential and can always do more them we think they can. Teachers should support them in constructing meaning for every activities and language use in classes and daily life. They can use languages effectively and efficiently. Their communication skills as well as their potential would be developed. สติปญญาหรือปญญาเปนสิ่งที่เกิดคูมากับมนุษยทุก คน จะมีมากนอยขึ้นกับระดับอายุ ประสบการณ และการ พัฒนา หากบุคคลใดไดรับการพัฒนาอยางมีแบบแผนถูกตอง การพัฒ นาดา นสติ ปญ ญาจะเจริญ ขึ้น อยา งมี ป ระสิ ท ธิภ าพ การดเนอร (Gardner 1993) นักวิชาการที่มีชื่อเสียงเปนที่รูจัก ดีเกี่ย วกั บ เรื่อ งนี้ ไดเ สนอแนวพัฒนาสติปญ ญาของมนุษ ย ตามทฤษฎีพหุปญญา (Multiple Intelligence) การดเนอร กลาววาแนวทางการพัฒนาสติปญญาของมนุษยมีหลายดาน ไดแก ดานภาษา ตรรกและคณิตศาสตร มิติสัมพันธ การ เคลื่อนไหวรางกาย ดนตรีและจังหวะ ความเขาใจตนเอง ดาน มนุษยสัมพันธ และความเขาใจธรรมชาติ การพัฒนาดาน ภาษาเปนฐานในการพัฒนาดานอื่น ๆ เพราะภาษาเปน เครื่องมือในการสื่อสารใหคนรอบขางเขาใจไดวา เราคิดอะไร ทําอะไรไดหรือไม เขาใจหรือไม สื่อสารกับทุกคนใหเขาใจได ดังนั้นการเรียนรูภาษาจึงเปนองคประกอบสําคัญในการพัฒนา

สติปญญาของมนุษย การพัฒนาการเรียนรูภ าษาเริ่ม ตั้งแตเกิด และพัฒนาอยางตอเนื่องจนสามารถสื่อสารได ดวยทักษะการฟงและการพูด เด็กมีความสามารถในการ สื่อสารระดับดังกลาวอยางดี กอนการเขาศึกษาในระบบ โรงเรียน หากการพัฒนาดานภาษามีความตอเนื่องและ ถูกวิธี จะเปนรากฐานการพัฒนาสติปญญาของเด็กอยาง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สามารถเรี ย นรู สิ่ ง ต า ง ๆ ได ทุ ก ด า น ผูปกครองหรือผูสอนภาษาจึงควรคํานึงและหาแนวทางใน การสอนภาษาให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ซึ่ ง มี ห ลาย แนวทางที่นาจะพิจารณา การพัฒนาการเรียนรูภาษา การศึกษาคนควาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนและการเรียนรูภาษา ไดทํามาเปนเวลานานและ พัฒนามาอยางตอเนื่อง นักภาษาศาสตร นักการศึกษา นักจิตวิทยาภาษาศาสตร ตลอดจนนักวิจัยดานภาษา ได นําหลักวิชาการตางๆ มาประกอบการศึกษาคนควาภาษา ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตลอดระยะเวลาที่ผานมาการ จัดการเรียนรูยังไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร เด็กบาง คนไมสามารถอานหนังสือไดตามระดับชั้นที่ตนเรียนอยู มี ผ ลกระทบต อ การเขี ย นและการเรี ย นรู วิ ช าอื่ น ๆ นักวิชาการจึงมาพิจารณาวา การเรียนรูภาษาไมนาจะ เปนเรื่องที่ยาก เพราะเด็กจะเริ่มเรียนรูภาษาตั้งแตแรก เกิด และมีความสามารถสื่อสารกับบิดามารดาและคน รอบขางในครอบครัวไดดี กอนเด็กเขาสูระบบการเรียนใน โรงเรียน สวนใหญมีทักษะภาษาดานการฟง การพูด ใน ระดับสื่อสารได บางคนอาจมีทักษะการอานและการ เขียนพื้นฐานเล็กนอย แตคําถามที่เกิดขึ้นตามมาก็คือ ทั้งๆ ที่เด็กมีพื้นความรูการใชภาษาอยูแลว ทําไมการ เรียนการสอนภาษาจึงกลายเปนเรื่องยาก เด็กไมเขาใจไม สามารถนําไปใชไ ดอ ยางถูกตองตามสถานการณตางๆ นักวิชาการดานภาษาหลายทานเริ่มสนใจและเริ่มคนควา อยางจริงจัง Kenneth Goodman (1986) ไดพบวา สาเหตุที่ทําใหเด็กเรียนภาษาแลวไมเขาใจ หรือกลายเปน วิชาที่เขาใจไดยาก เพราะการเรียนการสอนไมไดเปนไป ตามธรรมชาติ การเรียนรูทุกอยางไมยกเวนการเรียนรู ภาษา ตองมีความหมายและเขาใจไดรวดเร็วขึ้นหากมี ประสบการณเดิมในเรื่องนั้นๆ เนนการนําภาษาไปสื่อ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ความซึ่งกันและกันในรูปแบบของภาษาตางๆ เชนเด็กสามารถ สื่อความหมายกับมารดาไดวาหิวโดยการรองไห เด็กไมตองใช ภาษาพูด เปนการใชภาษาอีกรูปแบบหนึ่งที่สื่อความหมายได แตการสอนภาษาที่ผานมา ผูสอนไมคํานึงถึงความหมายของ ภาษา การสอนกลับสวนทางกันโดยการแยกสอนภาษา ออกเปนสวนยอยๆ เชน เรื่องเสียง พยางค คํา และประโยค ฯลฯ เปนตน การเรียนรูภาษาโดยแยกสวนยอยๆ ทําให ลําบากตอการทําความเขาใจ เด็กไมสามารถนําประสบการณ ทางภาษาที่มีอยูมาชวยทําความเขาใจขอความนั้นๆ ได ภาษาที่เคยใชมาเปนเวลาพอสมควรจนสามารถสื่อสารไดกลับ กลายเปนศาสตรใหม เนนสวนประกอบตางๆของภาษา ซึ่ง เด็ ก จะไม เ ข า ใจหรื อ ทํ า ความเข า ใจยากเพราะไม มี ประสบการณเกี่ยวกับสัญญลักษณภาษาเหลานั้นมากอน ประเด็นดังกลาวนี้จึงเปนแนวทางใหครูผูสอนไดยอน พิจารณาวา ในการเรียนรูภาษาของเด็กจากบานนั้น เขา เรียนรูมาไดอยางไร เด็กใชภาษาอยางมีความหมาย มี จุดประสงคในการใชและภาษานั้นๆ ตองเกิดจากความเขาใจ

ของตนเองวาใชเพื่ออะไร ใชกับใคร ดังนั้นแนวทางใหม ในการสอนภาษาจึงควรเปนการเนนการจัดการเรียนการ สอนหรือการเรียนรูภาษาที่มีความหมาย กอนที่เราจะ แบงออกเปนสวนยอยๆ สงเสริมความรูและประสบการณ ภาษใหเด็ก เชน อานเรื่องใหเด็กฟงบอยๆ แนะนําใหอาน หนังสือดีๆ เด็กเกิดความเคยชินกับสัญญลักษณ และ โครงสรางภาษา เพื่อจะไดขอมูลตางๆ มากขึ้น สนใจการ อานมากขึ้น จะเปนพื้นฐานที่ดีในการเรียนรูภาษาตอไป ยิ่งอานมากไดเห็นแบบอยางการใชภาษาในสถานการณ ตางๆมากขึ้น เด็กเรียนรูตามธรรมชาติ โดยเรียนรูไปทีละ ขั้นและเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ การเรียนรูภาษาในโรงเรียนจะ นาสนใจ เรียนรูโดยไมรูสึกวาเปนศาสตรใหมหรือยากแต อยางไร ยิ่งผูสอนมีสื่อที่นาสนใจ เด็กจะสนุกสนานกับ การเรียนรูและเรียนไดผลดี การเรียนที่มีประสิทธิภาพใน โรงเรียนมีผลตอเนื่องทั้งทางดานการใชภาษา วัฒนธรรม สิ่งตางๆเหลานี้เปนองคประกอบที่ทําให และสังคม สามารถเรียนรูภาษาไดอยางเขาใจและนําไปใชไดผลดี

Goodman (1986) กลาววา การเรียนภาษานั้นจะยากหรืองายขึ้นอยูกับปจจัยสําคัญดังตอไปนี้ IT IS EASY WHEN: It’s real and natural. It’s whole. It’s sensible. It’s interesting. It’s relevant. It belongs to the learner. It’s part of a real event. It has social utility. It has purpose for the learner. The learner chose to use it. It’s accessible to the learner. The learner has power to use it.

3

IT IS HARD WHEN : It’s artificial It’s broken into bits and pieces. It’s nonsense. It’s dull and uninteresting. It’s irrelevant to the learner. It belongs to somebody else. It’s out of context. It has no social value. It has no discernible purpose. It’s imposed by someone else. It’s inaccessible. The learner is powerless. (Goodman: 1986, p.8)


4

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

จากแนวคิดของ Goodman (1986) ขางตน การ จัดการเรียนการสอนหรือการจัดการเรียนรูภาษาตาง ๆ จึง เปนเรื่องสําคัญ เด็กทุกคนเขาสูระบบโรงเรียนมาพรอมกับ ความดานรูภาษา โดยเฉพาะภาษาแมในระดับสื่อสารได หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ มีความรูพื้นฐานทักษะการฟง การ พูด ในระดับใชส่ือสารในชีวิตประจําวันได ยังขาดแตทักษะ การอาน การเขียน ตามรูปแบบของภาษานั้น ๆ การสอน ภาษาจึงจําเปนตองเนนที่ความหมาย ใหประสบการณการ อ า นสั ญ ลั ก ษณ ภ าษาในรู ป แบบการเขี ย นต า ง ๆ ให ม าก เด็ ก จะเกิ ด ความเคยชิ น และเรี ย นรู ต ามไปโดยธรรมชาติ จากนั้ น จึ ง แยกแยะรู ป แบบ องค ป ระกอบและโครงสร า ง ภาษาตาง ๆ เชื่อวา เด็กจะสามารถทํา ความเขาใจและ นําไปปรับใชไดดีและมีประสิทธิภาพ ทฤษฎีการเรียนรูภาษา ทฤษฎีการเรียนรูของ พีเอเจ ( Piaget) แนวคิดดานการเรียนรูของ Piaget (Cameron 2001) นั้น สรุปวาเด็กเปนผูที่เรียนรูอยูตลอดเวลา Piaget สนใ จวิ ธี ก า ร เ รี ยน รู ข อง เด็ ก จ า ก กิ จกรรมต า ง ๆ ใ น สภาพแวดลอมรอบตัว การเรียนรูการแกไขปญหาตาง ๆ ที่ เกิดขึ้นหรือการมีปฏิกริยาโตตอบ ที่สําคัญปฏิกริยาโตตอบ เหลานี้ มีผลตอการพัฒนาความเจริญทางสมองของเด็ก อยางไร จากการทดลอง พีเอเจ เชื่อวา การคิดวิเคราะห ของเด็ ก เกิ ด จากการกระทํ า หรื อ ปฏิ ก ริ ย าบางอย า งที่ ใ ห ขอมูลกอน ระหวางการกระทําหรือปฏิกริยาเหลานั้นเกิดขึ้น สมองจะเกิ ด การพั ฒ นาความคิ ด วิ เ คราะห ส ถานการณ เหลานั้นเพื่อแสดงพฤติกรรมโตตอบที่เหมาะสม จากทฤษฎี ทางจิตวิทยา Piaget กลาวถึงการพัฒนาของสมองอันมีผล มาจากการกระทํ า หรื อ การมี ป ฏิ ก ริ ย าโต ต อบการกระทํ า ทั้งหลายอยู 2 แบบคือ การลอกเลียนแบบ (Assimilation) เกิดขึ้นโดยเด็กทําตามพฤติกรรมบางอยางที่เห็นเปนตนแบบ โดยไมเปลี่ยนแปลง แบบที่สองคือการพัฒนาความคิดและ ปรับใช (Accommodation) เปนการกระทําที่เกิดขึ้นโดยมี ก า ร ป รั บ ห รื อ พั ฒ น า ค ว า ม คิ ด บ า ง ส ว น ใ ห เ ข า กั บ สภาพแวดลอม อาจมีพฤติกรรมที่ตางออกไปจากเดิม เพื่อ ตอบสนองการกระทําหรือกิจกรรมนั้น ทั้งสองกระบวนการนี้ ทํ า ให เ ด็ ก แสดงพฤติ ก รรมออกมาและกลายเป น รู ป แบบ กระบวนการคิด โดยเฉพาะกระบวนการพัฒนาความคิดและ

ปรั บ ใช มี ป ระโยชน อ ย า งยิ่ ง ต อ การเรี ย นรู ภ าษา ในการ เรียนรูของเด็ก Piaget ย้ําเด็กจะคิดและเรียนรูจากการ กระทํา ตาง ๆ กอใหเกิดการพัฒนาทั้ง 2 ทางดังกลา ว ตลอดเวลา การเลียนแบบจะเกิดขึ้นจากพฤติกรรมที่เด็กได พบเห็นและทําตาม เชน การรับประทานอาหาร อาจใช เครื่องใชตางๆกัน พื้นฐานคือการใชชอนตักอาหาร บางครั้ง อาจใชสอมชวย หรือใชสอมแทนไดเพื่อสะดวกกวา เชน ผลไมหรืออาหารชิ้นเล็ก ๆ เฉพาะคํา เมื่อผูใหญจัดเตรียม สอมให เด็กอาจใชสอมตักเหมือนชอน ตอมาพบวาสอมมี ลักษณะปลายแหลม จึงเปลี่ยนเปนจิ้มอาหารแทน ตอนนี้ การพัฒนาความคิดของเด็กเกิดขึ้น การพัฒนาจะตอเนื่อง จนเกิดการเรียนรูโดยใชชอนและสอมรวมกัน การพัฒนา ความคิดและการเรียนรูดังกลาวของเด็กจะพัฒนาขึ้นเมื่อ เทียบกับการเรียนรูภาษา ตามแนวคิดการพัฒนาการเรียนรู และความคิดของ Piaget การพัฒนาจะเปนไปตามลําดับ และสิ้นสุดเมื่อมีความเขาใจในกฏเกณฑตางๆ ของสังคมที่ เปน รูป แบบ มีความเขา ใจในความสัมพัน ธข องสิ่ง ตา ง ๆ ตามแนวคิดที่เปนเหตุเปนผล เด็กจะพัฒนาทีละระดับจน อายุประมาณ 11 ปขึ้นไป จึงจะสามารถมีความรูความคิดที่ สมบูรณแบบ อยางไรก็ตามทฤษฎีการเรียนรูภาษาตาม แนวคิดของ Piaget ยังคงย้ําวา เด็กจะตองพัฒนาไป ตามลําดับขั้นตอน จะขามขั้นตอนไมได แต โดแนวดสัน (Donaldson 1978) เชื่อวาหากสอนโดยใชภาษาที่ เ ห ม า ะ ส ม มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ที่ ดี เ ด็ ก มี ความสามารถในการพั ฒ นาการคิ ด และเรี ย นรู ไ ด อ ย า งมี ประสิทธิภาพ สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งที่ Piaget ไมไดให ความสําคัญคือดานสังคมรอบตัวเด็ก ซึ่งตางจากไวกอสกี ( Vygotsky) ซึ่งเนนสังคมแวดลอมมากในการเรียนรูของเด็ก โดแนวดสัน (Donaldson 1978) ไมเห็นดวยกับ แนวคิดของ Piaget ที่ประเมินความสามารถและศักยภาพ ของเด็กต่ํากวาความเปนจริง การสอนหรือเสริมสรางความรู ใหแกเด็กนั้น หากใชรูปแบบภาษา สื่อการสอน กิจกรรม หรืองานที่เหมาะสมแลว เด็กมีความสามารถและศักยภาพ ในการคิดวิเคราะหสูง ทําความเขาใจสิ่งตางๆไดเปนอยางดี แม จ ะเป น ความคิ ด ในระดั บ สู ง ที่ มี รู ป แบบหรื อ ต อ งใช กระบวนการทําความเขาใจดวยตรรกวิทยา เด็กสามารถ เรียนรูไดเชนกัน สิ่งสําคัญในชีวิตของเด็กที่ พีเอเจ ไมให


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ความสําคัญ คือ สังคมที่แ วดลอ ม เด็กที่อยูใ นโลกสว นตัว คิดแตสวนที่เกี่ยวของกับตนเองมากเกินไป จะมีผลตอการ พัฒนาศักยภาพและความสามารถตางจากเด็กที่เรียนรูจาก สภาพแวดลอมดวย เด็กที่มีโอกาสสื่อสารกับเพื่อน ๆ หรือ ผู ใ หญ ที่ อ ยู ร อบตั ว แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ ด า นสั ง คมแวดล อ ม กิจกรรมและพฤติกรรมตางๆจะมีอิทธิพลตอพัฒนาการการ เรี ย นรู ข องเด็ ก ได ดี แ ละมี ป ระสิ ท ธิภ าพมากกว า ไวกอสกี (Vygotsky 1978) ใหความสําคัญการพัฒนาลักษณะนี้ อยางยิ่ง ตามแนวทฤษฎี ข องพี เ อเจ เชื่ อ ว า เด็ ก เป น ผู ที่ พยายามทํ า ความเข า ใจกั บ สิ่ ง ต า ง ๆ รอบตั ว (Sensemakes) เปนผูที่กระตือรือรนในการเรียนรู นักคิด และ พยายามทําความเขาใจสิ่งที่อยูรอบตัวอยางมีจุดประสงค และตั้งใจ ดังนั้นหากตองการสอนภาษา หรือวิชาการใดก็ ตามใหแกเด็ก จึงควรจัดเนื้อหากิจกรรมและงานตาง ๆ ให เหมาะสมกั บ ประสบการณ ข องเด็ ก จะเป น การต อ ยอด ขยายความรู ค วามเข า ใจของเด็ ก มากขึ้ น และตอบสนอง ความอยากรูอยากเห็น หรือคําถามตาง ๆ ของเด็กไดอยาง เต็มที่ ดังนั้นสังคมและสิ่งแวดลอมในการเรียนรู จึงเปนสิ่ง สําคัญ ที่จะชวยใหโอกาสเด็กในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ ไดตาม ธรรมชาติ ทฤษฎีการสอนภาษาของ ไวกอสกี (Vygotsky) ไวกอสกี (1978) มีแนวคิดดานการพัฒนาการ เรียนรูภาษาตางจาก พีเอเจ ไวกอสกีเนนสังคมแวดลอมเด็ก ซึ่ ง ป จ จุ บั น พบว า ทฤษฎี ด า นสั ง คมและวั ฒ นธรรม (Sociocultural theory) เขามามีบทบาทในการพัฒนาการ เรียนรูอยากมาก อยางไรก็ตามไวกอสกีไมไดละทิ้งความ แตกต า งระหว า งพั ฒ นาการของแต ล ะบุ ค คล เด็ ก ทุ ก คน เรียนรูการสื่อสารเพื่อความอยูรอดตั้งแตแรกเกิด ดวยภาษา ในรูปแบบตาง ๆ แตการพัฒนาภาษาอยางเปนระบบเริ่มขึ้น เมื่ออายุประมาณ 2 ป เด็กเริ่มใชภาษาเปนเครื่องมือในการ สื่ อ สาร การฝ ก ใช คํ า ที่ ห ลากหลาย พฤติ ก รรมที่ แ สดงถึ ง ความพยายามทําความเขาใจกับภาษาที่พบได คือการพูด ดัง ๆ กับตนเอง (Private speech) แสดงพฤติกรรมให เหมาะสมกับสิ่งที่กําลังกระทําหรือกําลังเลนอยู เมื่อโตขึ้น พฤติ ก รรมนี้ จ ะลดลง เริ่ ม มีค วามเขา ใจถึ ง ความแตกต า ง ระหว า งการพู ด ทั่ ว ไปในสั ง คมรอบตั ว และการพู ด เพื่ อ

5

กระตุนความคิด (Inner speech) ซึ่งจะมีบทบาทสําคัญ ตอไปในการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง พฤติกรรมนี้อาจ พบเห็นไดกับผูใหญบางคน ซึ่งตกอยูในสภาวะที่คับขันหรือ เพื่อย้ําความมั่นใจ อาจคิดและพูดดัง ๆ เพื่อย้ําความแนใจ ของตนเอง ไวกอสกี (Vygotsky 1962) กลาวถึงการพัฒนา ภาษาพู ด ของเด็ ก อ อ นจนถึ ง ระดั บ พั ฒ นาเป น ภาษา โดย ชี้ใหเห็นวาภาษาหรือคําที่เด็กเล็กใชแตละคําสื่อสิ่งใดบางใน สมองของเด็ก เด็กระดับอายุนี้จะพูดโดยใชคําโดด ๆ แทน ความหมายเปนประโยคคําพูดในภาษาของผูใหญ เชน พูด คําวา นก อาจหมายถึงนกกําลังบิน นกเกาะบนตนไม เปน ตน ทฤษฎีการเรียนรูภาษาของไวกอสกี จึงขึ้นอยูกับบริบท ทางสังคม มีผูคนแวดลอมตั้งแตแรกเกิด ซึ่งตางจากแนวคิด ของ พีเอเจ ที่เชื่อวาเด็กจะมีความกระตือรือรน ในการเรียนรู ในโลกของตนเอง ไวกอสกีย้ําวา ผูคนแวดลอมชวยในการ เรียนรูและกอใหเกิดความคิดความสนใจ แสดงออกโดยการ พูดระหวางเลน การอาน การตั้งคําถาม ผูใหญตองเปนผูที่ เข า ใจ ส ง เสริ ม หรื อ พั ฒ นาอย า งถู ก ทาง เด็ ก จะสามารถ พัฒนาภาษาไดอยางรวดเร็ว ความสามารถในการเรียนรูของ เด็กดวยวิธีการสอนแบบตาง ๆ สอนใหรูจักคิดเปนหลักการ พื้นฐานในการพัฒนาสติปญญา ความเฉลียวฉลาด ดวยการ ชี้แนะนี้เด็กจะเรียนรูไดเร็วและถูกตองมากกวาการเรียนรู ดวยตนเอง ความสามารถในการคิดวิเคราะหและเรียนรูสิ่ง ตาง ๆ รอบตัวเกิดขึ้นในสวนของการเรียนรูที่มีผูชวยชี้แนะทํา ใหสามารถคิดวิเคราะหไดซึ่งเรียกวา Zone of Proximal Development (ZPD) ของเด็ก การสื่อสารระหวางพอแม และลูกเหลานี้จะเปนไปตามธรรมชาติ การสังเกตพฤติกรรม เด็ ก พ อ แม จ ะทราบทั น ที ว า ควรช ว ยเสริ ม พั ฒ นาการได อย า งไร ครู ผู ส อนเช น เดี ย วกั น หากเข า ใจธรรมชาติ แนว ทางการเรียนรูของเด็กแตละคนและสามารถชวยเสริมความรู ไดอยางตรงประเด็น จะทําใหผลการเรียนรูมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น ไวกอสกี ได อ ธิ บ ายความหมายของสติ ป ญ ญา ความเฉลียวฉลาดจากการไดรับการชี้แนะ (ZPD) โดยเสนอ วาการวัดความสามารถและสติปญญาของเด็กในการกระทํา สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ ด็ ก ทํ า เอง ควรฝ ก จากความสามารถและ สติปญญาของเด็กที่สามารถทําไดจากการไดรับคําแนะนํา


6

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ชวยเหลือจากผูที่มีทักษะความรู เด็กที่มีความสามารถใน ระดั บ เดี ย วกั น ได รั บ การช ว ยสนั บ สนุ น เหมื อ นกั น อาจ พั ฒ นาได ไ ม เ ท า กั น เช น การเรี ย นรู ภ าษา ครู ผู ส อนให ตัวอยางประโยคพูดใหเด็กฟง บางคนอาจสามารถพูดตาม ไดถูกตอง แตบางคนอาจพัฒนาประโยคใหมีความหมายที่ ตางออกไป โดยใชโครงสรางเดิม การเรียนรูที่จะกระทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งและเรียนรูที่จะ คิดของเด็กจะพัฒนาไดดี หากไดมีการ ปฏิสัมพันธกับผูใหญ ภาษาเป น เครื่ อ งมื อ ช ว ยในการพั ฒ นาอย า งหลากหลาย จากนั้นเด็กจะสามารถคิดและแสดงพฤติกรรมของตนเอง อยางอิสระ จากการเรียนรูโดยการเรียนแบบหรือคิดดัง ๆ ให ตนเองได ยิ น จะเริ่ ม เป น การคิ ด ภายในสมอง ซึ่ ง เรี ย กว า Internalization คือความสามารถคิดวิเคราะหสําหรับ ไวกอสกี แลว ความสามารถนี้มีเพียงถายโอนความคิดเทานั้น แตถา สามารถคิดวิเคราะหเชื่อมโยงสิ่งตาง ๆ ไดอยางเปนเหตุเปน ผล มีความหมายในกระบวนการของการคิดวิเคราะหนี้ จะมี ทั้งแนวคิดที่เกิดขึ้นเฉพาะตัวรูจักแตตนเอง (Interpersonal) และแนวคิ ด ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ องค ป ระกอบอื่ น ๆ หรื อ ด า นมนุษยสัมพันธ (Interpersonal) แนวคิดดานการเรียนรูภาษาของไวกอสกี ตามความเชื่อของนักภาษาหรือตามแนวการสอน ภาษา ตางใหความสําคัญของคําแตละคําและความหมาย ซึ่ง ในความเปน จริ ง คํา และความหมายมีค วามสํา คัญ ใน ระดั บ หนึ่ ง แต ต ามแนวคิ ด ของ ไวกอสกี นั้ น การสื่ อ ความหมายให ชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น ต อ งอาศั ย องค ป ระกอบของ โครงสรางภาษา ผูใชภาษาจึงจะสามารถสื่อสารไดถูกตอง ตามกาลเทศะ แนวคิดเกี่ยวกับ ZPD ของ ไวกอสกี สามารถ นํามาใชไดโดยผูสอนภาษาควรวางแผนการสอนใหชัดเจน จัดกิจกรรมหรือบทอานที่มีความหมาย จะทําใหเขาใจการ นําคํามาใชรวมกันไดอยางไร เทคนิควิธีการเรียนรูของเด็ก แต ละคนเปนเชนไรซึ่ง เปนแนวทางชวยให สามารถเรียนรู ภาษาไดอยางดี จะเปนแนวทางกาจัดการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ ทฤษฎีการเรียนรูภาษาของ บรูเนอร (Bruner 1990) บรูเนอร (Bruner 1990) กลาววา ภาษาเปน องคประกอบหรือเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาการเรียนรู และสติปญญาของมนุษยในสังคมตาง ๆ เด็กก็เชนเดียวกัน

การเจริญโตและพัฒนาการทางสติปญญา โดยการใชภาษา เป น สื่อจะเกิดขึ้นตลอดเวลา โดยผูใหญจะใชเทคนิค การ เสริมตอความรู (Scaffolding) และทํากิจกรรมที่เสริมความ เขา ใจทํา ใหเด็ก เรีย นรูไ ด ดี จากการทดลองใช เทคนิ คการ เสริมตอการเรียนรู ผูปกครองสามารถใชเทคนิคไดอยางมี ประสิทธิภาพ ตองปฏิบัติดังนี้ 1. ตองพยายามใหเด็กสนใจงานหรือกิจกรรมที่ทํา 2. อธิ บ ายงานหรื อ กิ จ กรรมให ชั ด เจน หรื อ แบงเปนขั้นตอนเพื่องายตอความเขาใจ และปฏิบัติถูกตอง 3. ตอ งพยายามใหเด็กปฏิบัติต ามงานที่กํา หด เปนลําดับไมขาดตกบกพรอง เพื่อใหบรรลุจุดมุงหมาย 4. ชี้ประเด็นสําคัญของงานหรือชี้แนะการปฏิบัติ บางประการ เด็ ก จะเข า ใจง า ยขึ้ น ไม ทํ า ให เ ด็ ก เกิ ด ความ รําคาญ เทคนิคการเสริมตอการเรียนรูนี้ ทั้งผูปกครองและ ครูผูสอน สามารถนําไปปรับใชไดหลายสถานการณ แมแต การใชเทคนิคการสอนนี้ในชั้นเรียน อีกเทคนิคหนึ่งที่ บรูเนอร เสนอแนะคือ การเรียนรู ตามรูปแบบและการทํากิจกรรมประจํา (Formats and routines) เปนเทคนิคการสอนที่ตอเนื่องกับการเสริมตอการ เรียนรูได อาจปฏิบัติเปนกิจวัตรประจําหรือทําบอย ๆ เด็กจะ เกิ ด ความเคยชิ น และใช ภ าษารู ป แบบนั้ น ๆ ได ใ นที่ สุ ด กิจกรรมตัวอยางเชน การอานหนังสือใหเด็กฟงเปนประจํา พร อ มพู ด คุ ย ตั้ ง คํ า ถาม โต ต อบ เด็ ก จะฝ ก คิ ด และจดจํ า รูปแบบการปฏิสัมพัน ธดวยในเวลาเดียวกัน ระหวางการ พูดคุยโตตอบเด็กจะคิดวิเคราะห คาดเดาความหมายจาก การอาน คาดเดาวาเรื่องควรจะเปนอยางไรตอไป หากผูใหญ เขาใจธรรมชาติของเด็กแตละคน ใหโอกาสเด็กไดคิดและ เรี ย นรู ต ามระดั บ ความสามารถอย า งเหมาะสม เด็ ก จะ สามารถพัฒนาความคิด สติปญญาไดอยางเต็มศักยภาพ การอานหนังสือรวมกันระหวางพอแมและเด็กเปน กิจกรรมที่พัฒนาสติปญญาของเด็กลําดับตั้งแตเด็กเล็ก อาจ เปนหนังสือภาพเปนสวนใหญ อักษรตัวโต ๆ และพอแมเปน ผูที่ทําหนาที่พูดและใชภาษาที่เปนแบบอยางใหเด็กไดเรียนรู หลักการเสริมตอการเรียนรูจะใชมากในชองนี้ โดยพอแมใช ประโยชน จ ากสิ่ ง ที่ อ า น ซั ก ถามหรื อ ให โ อกาสเด็ ก เดา ความหมายวาควรจะเปนอยางไรตอไป ซึ่งเด็กอาจโตตอบ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ด ว ยภาษาในรู ป แบบต า ง ๆ เมื่ อ เด็ ก โตขึ้ น ตามลํ า ดั บ บทบาทของพอแมและเด็กจะเปลี่ยนไปเชนกัน พอแมอาจจะ ถามนอยลง เพราะคําถามสวนใหญกลายเปนคําตามของ เด็กเพราะเด็กเริ่มเรียนรูภาษามากขึ้น เกิดความสงสัยหา ความหมายหรือไมเขาใจโครงสรางของภาษาที่พบใหม ๆ การใหโอกาสเด็กไดคิดวิเคราะหคาดเดาการใชภาษาเชนนี้ เปรียบเหมือนการเปดชองวางรองรับความเจริญเติบโตของ การใชภาษา (Space of growth) ซึ่งตรงกับแนวคิด ZPD ของไวกอสกี ที่เนนการเรียนรูภาษาจากการใชรับการชี้แนะ จากผูอยูรอบขาง ทําใหเด็กสามารถทําความเขาใจใชภาษา ไดถูกตอง ซึ่ง บรูเนอร (อางอิงจาก Cameron, 2001) เสริม ว า การสอนภาษาด ว ยกิ จ กรรมประจํ า ลั ก ษณะทํ า เป น ประจํา ประกอบการคิดวิเคราะห ตัดสินใจในการเลือกใชคํา สํานวนภาษารูปแบบตาง ๆ เปนองคประกอบสําคัญของการ พัฒนาการเรี ยนรูภ าษาและการพัฒ นาสติ ป ญ ญาของใน เวลาเดียวกัน คาเมรอน (Cameron 2001) ไดเสนอแนะ องคประกอบการเรียนรูภาษาจากแนวทฤษฎีตาง ๆ กลาว พอสรุปองคประกอบการเรียนรูภาษาที่สําคัญ ๆ 1. การเรียนรูภาษาเด็กจะมีความอยากรูอยาก เห็ น และต อ งการทราบความหมาย เพื่ อ ให ต นเองเข า ใจ เทาที่ความสามารถหรือระดับความรูของตนซึ่งยังมีจํากัด และบางครั้งยังไมเขาใจชัดเจน ครูจึงมีความจําเปนตองจัด แผนการเรียนรูใหเหมาะสม กิจกรรมที่นาสนใจ จะทําใหเด็ก สามารถเขาใจภาษามากขึ้นและนําหลักการเหลานั้นมาใช 2. การเรียนรูภาษา เด็กทุกคนมีชองวางใหเติม เต็ ม ช อ งว า งดั ง กล า วหมายถึ ง สิ่ ง ที่ เ ด็ ก ต อ งการเรี ย นรู เพิ่มเติม การเรียนรูของเด็กไดดีหรือไมขึ้นอยูกับการพัฒนา ความเขาใจภาษา ความสามารถในการคิดวิเคราะหการ เรียนรูจากผูช้ีแนะ ศักยภาพเฉพาะบุคคล ตางมีผลชวยให การเรียนรูประสบผลสําเร็จตางกัน กิจกรรมที่เสริมใหเด็ก เรียนรูและคิดวิเคราะหไดมากขึ้นคือ เทคนิคการเสริมตอการ เรี ย นรู (scaffolding) และการฝ ก มาก ๆ เป น ประจํ า (Routines) 3. เด็กจะสามารถเรียนรูภาษาไดดีขึ้น หากมีผู ชี้แนะใหรูจักตัวบงชี้ทางภาษา (Language cues) ใน ลั ก ษณะต า ง ๆ ทั ก ษะการสั ง เกตเหล า นี้ หากเด็ ก สนใจ

7

เข า ใจและนํ า ไปใช ไ ด การเรี ย นรู จ ะง า ยขึ้ น และสามารถ เรียนรูภาษาไดดีขึ้น 4. การเรียนรูภาษาของเด็กจะพัฒนาขึ้นเปนลําดับ เปนสังคม หากไดมีโอกาสใชในการปฏิสัมพันธกับเพื่อนหรือ ผูใหญในสังคม ทําใหเกิดความเชื่อมั่น ใชภาษาของตนเอง ไดอยางมั่นใจ นอกจากนี้ยังขึ้นกับประสบการณการเรียนรู หรือการใชภาษานั้น ๆ หากไดมีโอกาสใชเปนประจํา ไดพบ เ ห็ น รู ป แ บ บ ภ า ษ า ที ห ล า ก ห ล า ย จ ะ เ ป น ก า ร เ พิ่ ม ประสบการณดานภาษามากขึ้น การเรียนรูจะพัฒนาอยาง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ทฤษฎีการเรียนรูภาษาของกูดแมน (Goodman 1968) กูด แมนเป น นัก ภาษาศาสตรแ ละการศึก ษาอีก ผู หนึ่งที่สนใจการเรียนรูภาษา ไดพบปญหาการสอนภาษาที่ ไมมีประสิทธิภาพเกิดคําถามตามมาวา ทําไมเด็กซึ่งเรียนรู ภาษาจากครอบครัวในระดับสื่อสารได แตเมื่อเขาสูระบบ การศึกษา ความสามารถทางภาษากลับไมพัฒนาเทาที่ควร กูดแมน มีแนวคิดสอดคลองกับนักภาษาศาสตรหลายทาน โดยเฉพาะ ไวกอสกี จึงเริ่มงานวิจัยคนการสอนภาษาตั้งแต ชวงปทศวรรษที่ 60 ศึกษาเทคนิควิธีการอานของผูอานแตละ คน จนพบว า การอ า นเป น กระบวนการทางจิ ต วิ ท ยา ผสมผสานในกระบวนการคิด วิเคราะหเดาความ จนเขาใจ ในสิ่งที่อาน กระบวนการอานจะดําเนินเปนวงจรเริ่มตั้งแต การอาน ผูอานพยายามทําความเขาใจและเลือกความหมาย ที่คิดวาถูกตอง (Selecting) ในบริบทภาษานั้น ๆ หากผูอาน สามารถเขาใจได จะยอมรับหรือสนับสนุนความหมายนั้น ๆ (Conforming) แตหากอานแลวเกิดมีขอสงสัยจะกลับมา พิ จ ารณาหรื อ วิ เ คราะห อี ก ครั้ ง หนึ่ ง และเข า ใจให ถู ก ต อ ง (Self-correcting) เมื่อเขาใจก็จะยอมความหมายนั้น ๆ อีก ครั้งหนึ่ง (Re-conforming) ระดับสุดทายผูอานจะเขาใจ ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ เ นื้ อ ค ว า ม แ ล ะ เ นื้ อ ค ว า ม ที่ อ า น (Comprehending) วงจรนี้ เ รี ย กวา กระบวนการอ า น (Reading process) จากกระบวนการอานที่เกิดขึ้นในแตละ บุคคลจะตางกัน บางคนมีพื้นฐานประสบการณมาก เขาใจ โครงสรางภาษา รูปแบบภาษามากกวา จะมีความสามารถ ในการอานสูงกวา ผูที่มีกระบวนการอานต่ํา จะอยูในกลุมที่ อานผิดพลาดมาก ไมทราบความหมายและใชภาษานั้น ๆ โดยไมสามารถแกไขไดดวยตนเอง


8

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

จากการวิเคราะหความสามารถในการอาน กูดแมน ไดทําการวิจัยดานการสอนภาษาจนกลายเปนแนวการสอน ที่เปนที่รูจักทั่วไป คือ Whole Language Approach นักวิชาการไทยไดใหคําแปลไวหลายคํา เชน การสอนตาม แบบธรรมชาติ การสอนแบบมหภาค การสอนแบบเน น พื้นฐานประสบการณ และการสอนแบบองครวม โดยแนว การสอนนี้ กู ด แมน จะมี ห ลั ก สํ า คั ญ ในการจั ด การเรี ย นรู ภาษาเพื่ อ ให เ กิ ด การพั ฒ นาทั ก ษะทางภาษา ตลอดจน ความสามารถในการใชภาษาในชีวิตประจําวัน ซึ่งเทากับ เปน การพัฒนาสติปญ ญาในเวลาเดียวกัน แนวการสอน พอสรุปไดดังนี้ 1. การสอนภาษาตองสอนจากเนื้อความที่มี ความหมายให ผู เ รี ย นได เ ห็ น ภาพรวมก อ น จึ ง จะสอน สวนยอ ย ๆ ของภาษา เนนใหเขาใจโครงสรางแตละแบบ ตลอดจนการนําไปใชในสังคมและชีวิตประจําวัน กูดแมน เนนการใช วรรณกรรมเปนสื่อการสอนภาษา 2. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เนนผูเรียน เปนสําคัญตองพิจารณาความสนใจของผูเรียน หากผูเรียนมี ฐานะความสนใจแลว การเรียนรูจะประสบความสําเร็จสูง 3. การจัดการเรียนรูภาษาจะตองใหผูเรียนมี โอกาสใชทักษะทางภาษาทั้ง 4 อยางบูรณาการ ทั้งการพูด การฟง การอานและการเขียน ตลอดชวงเวลาที่สอน ให เปนไปตามธรรมชาติ ผูเรียนจะไดมีโอกาสคิดวิเคราะหและ โตตอบไดเหมือนสภาพจริง 4. สภาพสังคมรอบตัวผูเรียน มีอิทธิพลอยางยิ่ง ตอการเรียนรูภาษา การใชภาษาไดอยางถูกตองเหมาะสม สละสลวย ไพเราะ มีความหมายลึกซึ้ง ลวนเปนการแสดงให เห็นสติปญญาของผูใชภาษานั้น ๆ เด็กที่เรียนรูภาษาเชน แตละคนจะใชภาษาไดในระดับตาง ๆ กัน และระดับตาง ๆ กัน และระดับความสามารถการใชภาษา ใชคําที่เหมาะสม ลวนเปนสวนหนึ่งของสติปญญาทั้งสิ้น 5. การอานและทําความเขาใจในเนื้อความที่อาน แตละคนจะมีแนวทางในการคิดวิเคราะหตามแนวทางของ ตนเอง บางครั้ ง เนื้อ ความเดี ย วกั น แตผู อ า นมี ความรู แ ละ ประสบการณตางกัน อาจจะเขาใจไมเหมือนกันทั้งหมดแต เนื้อความหลักจะจับประเด็นไดเหมือนกัน

แนวการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมปญญา จากที่กลาวมาแลวขางตน การจัดการเรียนรูภาษา ทุกคนแนวทฤษฎีลวนมีองคประกอบนําไปสูการพัฒนาจาก ใชสมองของเด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็กซึ่งสมองยังมีขอมูลไม มาก หากไดรับการเลี้ยงดูและใหขอมูลที่ดีมีประโยชน เด็ก นั้นจะมีพัฒนาการทางสมองไดอยางเต็มศักยภาพการเรียนรู ภาษาเปนการสะสมเครื่องมือในการดํารงชีวิตของมนุษยทุก คนทั้งเด็กและผูใหญ ผูที่มีความรูพื้นฐานภาษาดี ทุกทักษะ โดยเฉพาะภาษาแม จะเปนพื้นฐานใหศึกษาศาสตรตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ แมแตการเรียนรูภาษาตางประเทศก็ จะไมป ระสบป ญ หา สามารถพัฒ นาไดอ ยางรวดเร็ ว การ แสดงออกดวยการใชภาษาเปนตัวบงชี้ดานสติปญญาไดอีก 1 รูปแบบ เพื่อใหการจัดการเรียนรูภาษาประสบความสําเร็จ และมีประสิทธิภาพ และเปนแนวทางการสรางปญญาแกผู เรียนรู จึงขอเสนอแนะแนวทางการจัดการเรียนรูภาษาเพื่อ พัฒนาศักยภาพการเรียนรูดานภาษาและสติปญญา ซึ่งจะ เปนพื้นฐานการเรียนรูศาสตรอื่น ๆ ในอนาคต การจัด กระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสติปญญา ไดแก 1. การเรียนรูภาษาจากวรรณกรรม ทําใหผูเรียน ไดแบบอยางภาษาที่หลากหลายเขาใจวิธีการขึ้นตนหรือสรุป เรื่ อ ง ควรใช ภ าษารู ป แบบไหน การอธิ บ ายตั ว ละคร สภาพแวดลอม องคประกอบหรือฉากตาง ๆ ของเรื่อง การ ดํา เนิ น เรื่ อ ง การสร า งปมป ญ หา การแก ปญ หา สํ า นวน ภาษาและคําศัพทที่นาสนใจ ตลอดจนคติเตือนใจที่ไดจาก การอานวรรณกรรมนั้นลวนสามารถนําไปใชเปนแบบอยาง ในอนาคตไดทั้งสิ้น 2. ควรสงเสริมใหรักการอานโดยการจัดกิจกรรม การอานหรือเลาเรื่องที่นาสนใจใหเด็กฟงเปนประจําหรืออาจ เปนกิจกรรมการอานหนังสือรวมกันทั้งเด็กและพอแมหรือครู ไดมีโอกาสทํากิจกรรมรวมกันไดมีการซักถามโตตอบและ อธิบายขยายความกอใหเกิดการคิดวิเคราะห การคาดเดา ความหมายของเนื้อความภาษาที่อานนั้นอยูตลอดเวลา หาก ทํา เป น กิ จ กรรมประจํา เด็ ก จะเกิ ด ความเคยชิ น และรั ก การอานในที่สุด


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 3. กิจกรรมการอานรวมกัน (Shared book experience) และการชวยเหลือดานการอาน (Assisted reading) เปนกิจกรรมที่เหมาะสําหรัยเด็กเล็กเพื่อเสริม ความรู ด า นภาษาและรู ป แบบภาษาการนํ า ไปใช ใ น ชีวิตประจําวัน ฝกทักษะการสังเกต การคิดวิเคราะหจากการ เสริมตอการเรียนรู (Scaffolding) การตอบคําถาม การตั้ง คํ า ถาม ล ว นเป น องค ป ระกอบสํ า คั ญ ในการพั ฒ นา สติปญญาของเด็กทั้งสิ้น จากกิจกรรมดังกลาวขางตนลวนจะชวยเสริมสราง และพัฒนาความสามารถดานภาษาและสติปญญา เด็กทุก คนเกิ ด มาพร อ มกั บ ความสามารถและสติ ป ญ ญาใน ระดับพื้นฐาน ทุกคนมีศักยภาพในการเรียนรูหรือเพื่อรับการ พัฒนาอยางถูกทาง หากผูอยูรอบขางเขาใจ คนพบความ

9

สนใจ ความถนัด ความชอบและเทคนิควิธีการเรียนรูของเด็ก แตละคนเสริมดวยเทคนิควิธีและการใหขอมูลที่เหมาะสม จากผูใ หญ ห รื อ ผู ที่อ ยู ร อบขา ง เด็ก จะเจริญ เติบ โตอยา งมี คุ ณ ภาพ ทั้ ง ร า งกาย สมองและสติ ป ญ ญา ผู ใ หญ ห รื อ ครูผูสอนตองไมประมาทความสามารถของเด็กหรือประเมิน ความสามารถของเด็กต่ํากวาความเปนจริง คิดวาเด็กยัง เล็กอยู สอนอะไรก็ได อยาสอนสิ่งที่ยุงยากซับซอนเด็กไม สามารถจะเรี ย นรู ไ ด แต ใ นสภาพความเป น จริ ง เด็ ก มี ศักยภาพและมีประสบการณภาษาโดยเฉพาะทักษะการฟง และการพูดสูงกวาที่เราคิดมาก หากไดรับการสอนและการ ชี้แนะที่ถูกทาง เด็กจะพัฒนาสติปญญาไดอยากรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ


10

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

บรรณานุกรม Bruner, J. Acts of Meaning. Cambridge, MA:Harvard University Press, 1990. Cameron, L. Teaching Languages to Young Learners. Cambridge University Press, Cambridge, U.K. 2001. Donaldson, M. Child’s minds. London: Fontana, 1978. Eldredge, J. Teaching Decoding in Holistic Classrooms. New Jersey : Merrill, Printice Hall, 1995. Gardner, H. Multiple Intelligences: The theory in practice. Basic books, New York. Goodman, K.S. “ Reading : A Psycholinguistic Guessing Game.” In Journal of the Reading Specialist, 6. 26-35, 1967. Goodman, K.S. The Psycholinguistic Nature of the Reading Process. Detroit: Wayne State University Press, 1968. Goodman, K.S. “Whole Language Research: Foundations and Development”. In The Elementary School Journal, 90. 207-221, 1989. Goodman, K.S. What’s Whole in Language. New Hampshire, Heinemann. Educational Books, 1996. Goodman, K.S., Smith, E.B., Meredith, R. & Goodman, Y.M. Language and Thinking in School : A Whole Language Curriculum. New York : Richard C. Owen Publisher, Inc. 1987. Goodman, Y.M. “ Roots of the Whole Language Movement.” In The Elementary School Journal, 90, 113-127, 1989. Maguire, M. “ Understanding and Implementing a Whole Language Program in Quebec.” In The Elementary School Journal, 90, 143-159,1989. Watson, D.J. “Defining and Describing Whole Language”. In The Elementary School Journal, 90, 129-141,1989. Weaver, C. Reading Process and Practice : From Socio–psycholinguistics to Whole Language. Portsmoth, Heinemann Educational Books, 1987.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

11

จิตวิทยาเพื่อการติดตอสือ่ สารและเขาใจผูอื่น Öรองศาสตราจารย มุกดา ศรียงค

บทคัดยอ จิ ต วิ ท ยาการสื่ อ สารและเข า ใจผู อื่ น มี จุ ด มุ ง หมายให ผู สื่อ สารสามารถสื่อ สารไดอ ยา งมี ป ระสิท ธิผ ล โดยใชทัก ษะและ กลยุทธในการสื่อสารเพื่อชวยใหผูสงสารและผูรับสารมีความเขาใจ ถูกตองตรงกัน จิตวิทยาสื่อสารจึงทําหนาที่เสมือนเปนกุญแจสําคัญ ที่ ใ ชไ ขสูค วามสํา เร็จ ในการทํา งานและอาชีพ ตลอดจนการมี ปฎิ สัมพันธระหวางบุคคลในสังคม ABTRACT

The purposes of the psychology for communication and understanding others are to enchance messengers to be able to send message effectively and to help receivers understand it correctly, by using their communication skills and techniaques. The function of the psychology for communication and understanding is the key to be successful in his or her career and interpersonal relations.

อาจารยประจําภาควิชาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง


12

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ความ สําคัญของการจิตวิทยาสื่อสาร การสื่ อ สาร คื อ การถ า ยทอด ข อ มู ล ความคิ ด ความรูสึก จากผูหนึ่งไปสูอีกผูหนึ่ง ในหนวยงาน หรืองคการ การสื่อสารคือการติดตอ สั่งงาน- รับคําสั่ง ระหวางผูบังคับ บั ญ ชา-ผู อ ยู ใ ต บั ง คั บ บั ญ ชา ผู บ ริ ห าร-ผู ป ฏิ บั ติ หั ว หน า ลู กน อ ง ทั้ง นี้เพื่อผลการปฏิบั ติง านใหเปน ไปตามเปา หมาย เดียวกัน การสื่อสารจึงทําหนาที่เสมือนเปนกุญแจสําคัญ ที่ใช ไขสูความสําเร็จในการงานและอาชีพ ตลอดจนการปฏิสัมพันธ ระหวางผูคนในสังคมทั่วไป การรูจักหลักจิตวิทยาในการสื่อสารจะชวยใหผูทํา การสื่อสารสามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะ

ผูสงสาร ความคิด/ความเชื่อ เจตคติ อารมณ

สามารถใช ทักษะและกลยุทธในการสื่อสารที่ชวยให เกิด ความเข า ใจตรงกัน ความคิดเห็น และ ประสบการณ เกี่ ย ว กั บ สิ่ ง ต า งๆ ที่ น า สนใจ ด ว ยเหตุ นี้ การพั ฒ นา ทักษะ ทั้งภาษาพูดและภาษากาย การรูจักเครื่อง มือและ ชองทางที่จะใชสื่อจึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะทําใหการ ถ า ยทอดความรู สึ ก นึ ก คิ ด ระหว า งกั น และกั น ได อ ย า ง ถูกตองและเขาใจตรงกันทั้งผูสงสารและผูรับสาร อาจกลาว

“การสื่อสารเปนกระบวนการที่ โดยสรุ ปไดวา ประกอบด ว ย ผู ส ง สาร วิ ธี ห รื อ ช อ งทางที่ ใ ช ในการสื่ อ เนื้อหาสาระและผูรับสาร ดังแสดงในแผนภาพขางลางนี้

สื่อตางๆ คําพูด ทาทาง

ผูรับสาร การแปลความหมาย

อุปสรรค

เรื่องที่ตองการบอกกลาว

สับสนในรายละเอียดที่ไมชัดเจน?

แผนภาพ 1 : จิตวิทยาการสื่อสาร จากภาพ จะเห็ น ว า สิ่ ง ที่ เ ป น อุ ป สรรคของการ สื่อสารนอกเหนือจากเทคนิควิธี และสิ่งรบกวนตาง ๆ เชนแสง สี เสียง และสื่อที่ใชแลว ยังเกี่ยวของกับความเต็มใจในการนํา เสนอ ทั ศ นคติ ร ะหว า งผู สื่ อ -ผู รั บ ตลอดจน เป า หมายที่ คลุมเครือ ทักษะในการใชสื่อ คําพูด ทาทาง ความเชื่อ และ การปกปดความสนใจที่แทจริง อีกดวย การสื่ อ สารที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ ได จะต อ งอาศั ย คุณสมบัติของผูสื่อสารที่ดี เนื่อง การสื่อสารก็คือการถายทอด ความคิ ด จากผู ส ง ไปยั ง ผู รั บ สาร ถ า ผู ส งสามารถถ ายทอด ความคิดไดอยางตรงไปตรงมา ไมซับซอนซอนเงื่อน ผูรับก็จะ

รับรูไดตรงประเด็น ไมตีความเอาเอง และตองไมลืมวาแม ตั ว เราเองก็ ยั ง รั บ รู บ างเรื่ อ งแบบเข า ข า งตั ว เองหรื อ เอา ตัวเองเปนมาตรฐานจึงเปนเรื่องยากที่จะคาดหวังใหผูรับ ขาวสารจากเราจะเขาใจตรงกับเราไดถูกตองทุกประการ ลักษณะของการสื่อสารที่ดีเปนอยางไร การสื่ อ สารที่ ดี บ รรลุ เ ป า หมายจะต อ งอาศั ย ความสัมพันธที่เปดเผย และสงเสริมสนับสนุนซึ่งกันและ กัน ซึ่ง สัง เกตได จ ากบรรยากาศของการติด ตอ สื่อ สาร นั่นเองถาบรรยากาศไมราบรื่นเหมือนมีหมอกทึบ การสื่อสาร ก็จ ะสะดุ ดติ ด ขั ด ตา งจากการมี บ รรยา กาศที่ดี แจ ม ใส


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 โอกาสจะประสบความสําเร็จก็มีสูง ซึ่งบรรยากาศการสื่อสาร ที่ แ สดงถึ ง ความสั ม พั น ธ ที่ ส ง เสริ ม และเป ด เผยมี ลั ก ษณะ สําคัญ 7 ประการ ดังนี้ 1. ผูสงและผูรับจะตองมีความยินดี เต็มใจที่จะใหและรับ ฟงความคิดเห็นสะทอนกลับของอีกฝาย 2. เห็ น คุ ณ ค า ซึ่ ง กั น และกั น และต อ งให เ วลาในการ แลกเปลี่ยนขอมูล 3. ใหการยอมรับนับถือตอความตองการและความสนใจ ของอีกฝาย 4. ยิ นดี ที่ จะพู ดจาเป ดเผยเกี่ ยวกั บตนเองในสถานการณ ที่ เหมาะสม 5. มีความเชื่อวาคนสวนใหญจะสนอง ตอบในทางบวก มากกวาทางลบลบ 6. ใหเกียรติและยอมรับในสิทธิที่คนจะเลือกตัดสินตาม ความคิดเห็นเกี่ยวกับขอมูลดวยตัวเขาเอง 7. ตระหนัก วา ไม จํา เปน ที่ทุก คนจะตอ งเห็น ดว ยกั บ ความคิดเห็นของเราเสมอไป ฉะนั้ น จึ ง ต อ งระมั ด ระวั ง การแสดงพฤติ ก รรมที่ ขัดขวางการสื่อสาร เชนทําเปนแสนรูไปหมดทุกเรื่องไมวาใคร จะพูดถึงเรื่องอะไร แตไมเคยแสดงความคิดเห็นของตนเอง บาง คนชอบขัดคอ เรียกรองความสนใจดวยวิธีตาง ๆ เพราะไมมี อะไรจะพูด บางคนชางพูด พูดไมหยุด พูดเอง ตอบเองแตบาง คนชอบแสดงความคิดเห็นของตนเองตลอดเวลาเพื่อใหคนอื่นชื่นชม การพูดและฟงใหเปน การรูจักพูดฟง นับวาเปนหลักสําคัญอีกประการหนึ่ง ของการใชจิตวิทยาในการสื่อสาร ผูสื่อสารที่ดีจะตองพูด และ

ไมชอบฟงเรื่องอะไรและสนใจในสิ่งใดเปนพิเศษ ที่สําคัญ ก็คือรูจักเวลาและสถานที่ที่เหมาะสมในการสื่อสาร ในทํ า นองเดี ย วกั น การฟ ง เป น ก็ คื อ ผู ฟ ง ที่ ดี จะตอง รูและเขาใจในสิ่งที่ไดรับฟง ตางจาก คําพังเพย ที่วา “ ฟงไมสับจับไปกระเดียด...” หรือ “ฟงหู ไวหู...” เปนตน ซึ่งแสดงถึงวาฟงไมเปนนั่นเอง การฟงเปนคือ ตองฟงอยางตั้งใจ โดยแสดงกิริยาทาทางวากําลังสนใจ เรื่องที่รับฟง และจริงใจ ทําความเขาใจอยางชัดเจนในสิ่งที่ ไดยิน และรูวาควรยุติการสนทนาเมื่อใด จะเห็นไดวา การพูดและฟง เปนพฤติกรรมของ มนุ ษ ย ที่ ใ ช ใ นการสื่ อ สาร ถ า เรารู จั ก วิ ธีก ารพู ด และฟ ง ที่ เหมาะสมในขณะที่ กํ า ลั ง สนทนากั บ ใครก็ ต าม ย อ ม กอใหเกิดประโยชนกับทั้งสองฝาย โดยทั่วไปแลวคนสวน ใหญจะใสใจฟงผูอื่นเพียง 25 % เทานั้นที่เหลืออีก 75% เราจะไม ใ ส ใ จ ฉะนั้ น ในการทํ า งาน เราจึ ง จํ า เป น ต อ ง พัฒนาธรรมชาติของการสื่อสารเบื้องตน ดังกลาว การฝกเปนผูฟงที่ดี จึงเปนสิ่งจําเปนตอการ สื่อ สารในการทํา งาน เพราะคนสวนใหญช อบพูด แตไ ม ชอบฟง หลายครั้งที่การทํางานเปนกลุม หรือเปนทีม การ ติดตอ กับ ผูอื่น เรามัก จะละเลยในขอ นี้ จึง เปน อุปสรรค อย า งยิ่ ง ที่ จ ะเข า ใจ การฝ ก เป น ผู ฟ ง ที่ ดี ค วรปฏิ บั ติ ตามลําดับดังนี้

1. มีสมาธิขณะฟง เพื่อเขาใจประเด็นของ 2. กลาวย้ําทบทวนขอมูลที่ไดยิน

ฟ ง ให เ ป น เราคงคุ น กั บ คํ า พั ง เพย “ปากเป น เอกเลขเป น โท หนังสือเปนตรี ชั่วดีเปนตรา....” ซึ่งชี้ใหเห็นถึงการพูดเปน สําคัญกวาการทําสิ่งอื่นๆ เปน การพูดดีพูดเปนก็จะไดทุกอยาง ที่ปรารถนา การสื่อสารในการทํางานก็เชน เดียวกัน ผูพูดหรือ ผูทําหนาที่ออกคําสั่งควร จะตอง คํานึงถึง การจะพูดอยางไรจึง จะไดผลดี การพูดเปน คือ ผูพูดจะตองทราบในสิ่งตอไปนี้ คือ... รูวาตองการบอกกลาว หรือพูดคุยเรื่องอะไร ตองให ความ กระจาง ชัดเจน และกระชับ ไมสับสนในเรื่องที่พูดรูจักเลือกวิธีที่ จะใชถายทอดความคิดดวยคําพูดที่เขาใจไดงาย ขณะเดียวกัน สามารถสรางและรักษาสัมพันธ ภาพที่ดีกับผูฟงไดรูวาผูฟงชอบ-

13

3. แสดงความเขาใจในสิ่งที่ฟง 4. ซักถามขอมูลเพิ่มเติม 5. กระตุนใหมีการเสนอแนะเพิ่มเติม 6. รวมแสดงความคิดเห็นในจังหวะที่ เหมาะสม และหยุดขณะฟงเขาพูด


14

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ลักษณะการสื่อสารที่ไมใชคําพูด นอกจากการใชภาษาในการสื่อสารที่ตองคํานึงถึงการ เป น ผู พู ด และผู ฟ ง ที่ ดี เ กี่ ย วกั บ ถ อ ยคํ า ภาษาที่ ใ ช ถ า ยทอด ความคิดความเขาใจแลว การสื่อสารที่ดียังตองคํานึงถึงการ สื่อสารที่ไมใชคําพูด ไดแก พฤติกรรมทุกชนิดที่ไมใชถอยคํา ภาษาในการพูดและการเขียน มักเปนการแสดงออกดวยภาษา กาย น้ําเสียงรวมทั้งลักษณะเครื่องแตงกาย เครื่องประดับ สีสัน กิริย ามารยาท ฯลฯ ซึ่ง มี น้ํา หนั ก ที่นา เชื่อ ถือ แตกต า งกัน ปกติแลว ในการสื่อสาร การใชคําพูดจะนาเชื่อถือนอย กวา น้ําเสียงและสีหนาทาทาง (คําพูด 7% ,น้ําเสียง 38% ,สีหนา 55 %) ภาษาทาทาง มัก ทําหนาที่แทนภาษาพูด 3 ประการ คือ เปนตัวแทน แสดงโดยทาทางไมตองใชคําพูด เปนเครื่องสนับสนุน แสดงถึงความจริงใจของผูพูด เป น เครื่ อ งแสดงความขั ด แย ง ถ า ไม ส อดคล อ งกั บ คํ า พู ด ปกติ เ ราจะเชื่ อ ถื อ ท า ทางที่ ผู อื่ น แสดงออก มากกวาคําพูด การสื่อสารที่ไมใชคําพูดไดรับอิทธิพลจากอะไรบาง อิทธิพลที่เปนเบื้องหลังของการสื่อสารที่ไมใชคําพูด ได แ ก เวลา พื้ น ที่ วั ฒ นธรรม รู ป ลั ก ษณ ข องสิ่ ง ของ เครื่องใช ซึ่งแปรเปลี่ยนไปตามคานิยมของคนในทอง ถิ่นและ สังคมนั้น ๆ เชน คนฝรั่งเศสจะนอนกลางวัน คนไทยทักทาย ดวยการยกมือไหว แตคนฝรั่งใชวิธีจับมือ จะเห็นไดวา ภาษา ทา ทางสัมพันธกับวัฒนธรรมและเชื้อชาติ อาทิ เชน พฤติกรรม การถมน้ําลาย คนจีนถือวาเปนการแสดงการเยาะเยยใหกลัว โกรธ และอาย แต ค นอเมริ กั น อิ น เดี ย น ถื อ ว า เป น การแสดง ความเมตตาที่ ห มอถ ม น้ํ า ลายใส ค นไข ถ า เราลองสั ง เกต วัฒนธรรมพื้นบานของไทยเราเอง เราก็จะพบการสื่อสารที่ไม ต อ งใช ว าจา แต ใ ช ท า ทางและสิ่ ง ของเครื่ อ งใช เ ป น ตั ว แทน สื่อสารความรูสึกใหเราพบได เชน การตั้งโองน้ําพรอมกระบวย ตักน้ําไวหนาบาน การแยมยิ้มทักทายแขกผูมายืน จนไดชื่อวา เปนสยามเมืองยิ้ม เปนตน ตั ว อย า ง การสื่ อ ความหมายด ว ยภาษากาย (Body language) ที่ใชกันอยูบอย ๆ และมีความหมายคอนขาง เป น สากลในกลุ ม งานบริ ห ารที่ ผู แ สดงออกมาโดยไม รู ตั ว แต กําลังครุนคิดและเก็บอารมณไมพึงพอใจไวภายใน ไดแก รอยยน

บนหนาผาก การสงเสียงดัง การดึงผม เคาะโตะ เมมริม ฝปาก และอื่นๆเปนตน การสื่อสารในการทํางาน เรามั ก ใช ก ารสื่ อ สารเมื่ อ เราต อ งปฏิ บั ติ ใ น หนวยงาน ในหนาที่ตอไปนี้ 1.การประสานงาน (Task coordination) 2.การแกปญหา (Problem solving) 3.การแบ งป นข าวสารข อมู ล( Information

sharing) 4.การขจัดความแยง ( Conflict resolution) เครื่องมือ สื่อสารที่ ใชในการทํางานในองคการมี 2 ชนิด ไดแก ใชภาษา ไมใชภาษา โทรศัพท ทาทาง คูมือการทํางาน น้ําเสียง รายงานการประชุม สีหนา คําสั่ง,หนังสือเวียน แววตา นิตยสาร ,หนังสือพิมพ เครื่องแตงกาย สุนทรพจน การวิ เ คราะห ก ารสื่ อ สารสั ม พั น ธ ด ว ยจิ ต วิ ท ยา (Transactional Analysis) การสื่อสารคือการมีปฏิสัมพันธระหวางบุคคล 2 คน ซึ่งมีความแตกตางกันในดานความตองการทางกาย และทางใจ ซึ่งที่ไดทําความเขาใจกันมาตั้งแตตอนตนแลว ในหัวขอนี้เปนจิตวิทยาการเพื่อการวิเคราะหการสื่อสาร สัมพันธ เปนจิตวิทยาที่สงเสริมใหรูจักวิเคราะหการโตตอบ ของคูสนทนา ซึ่งคนพบโดยจิตแพทยชื่อ อีริค เบิรน (Eric

Bern, 1971) ตามแนวคิดนี้ จะทําใหตระหนักรูในการสื่อ ความในใจลึกๆ จากการตอบโตโดยใชภาษา ทาทางและ น้ําเสียง สาระสําคัญของการวิเคราะหปฏิ- สัมพันธของ การสื่อสาร ก็คือ ความเชื่อวาคนเราทุกคนจะมีบุคลิกภาพ ที่ประกอบดวยภาวะทางจิต (Ego) 3 สวน คือ


15

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

A ยอมาจาก Adult หมายถึงความเปนผูมีภาวะจิตที่ เปนผูใหญ เต็มไปดวยเหตุผล P ยอมาจาก Parent หมายถึงภาวะจิตที่ถูกครอบงํา ดวยความเปนพอ-แมที่บุคคลนั้นไดมีประสบ การณมาแตวัยเด็ก C ยอมาจาก Child หมายถึงภาวะจิตที่ถูกครอบงําจาก ชีวิตในวัยเด็กซึ่งจําลองเปนแผนภาพที่ 2 เมื่อบุคคลสองฝายตองสื่อสารโตตอบกัน ทั้งสองฝายจะใช ภาวะจิ ต ทั้ ง สามส ว นนี้ ในสถานะที่ แ ตกต า งกั น ไปตาม บุคลิกภาพที่ถูกพัฒนา ดังภาพ 2 (1) ปกติแลวการสื่อสาร ระ หวาบุคคลควรจะใชภาวะจิตแบบ A ในทั้ง 2 ฝาย จะทําให

แม หรือผูปกครอง ที่คอยชอบตําหนิ ชี้แนะ สั่งสอน ฯลฯ จะทําใหการสนทนาหยุดลง เพราะฝายหนึ่งดํารงอยูดวย เหตุผล แตอีกฝายหนึ่งไมมีเหตุผลเกิดความ ไมสอดคลอง ในสถานการณเชนนี้ถาฝายที่ใช A เปลี่ยนมาใช C ตอบ กลับไปวา “ก็ไมมีเงินนี่ นะ” การพูดคุยก็อาจตอเนื่องไป เรื่อย ๆ ตามภาวะจิตที่สนองตอบกันแบบพอแมและลูกนั่นเอง ยังมีการโตตอบอีกลักษณะหนึ่งซึ่งเปนลักษณะที่ สําคัญมากในสถานการณทางสังคมที่แอบแฝงไมจริงใจ ชนิดที่เรียกวา ปากกับใจไมตรงกัน หรือบิดเบือนปดบัง ความตองการที่แทจริงเอาไว ตามภาพที่ 2(4) เมื่อฝา ย

การสนทนาสอดคลองและราบรื่น คนหนึ่งถามวา “กี่โมงแลว”

หนึ่งในที่ประชุมสื่อสารวา “ขอแสดงความคิดเห็นไดไหม”

อีกคนก็ตอบดวยสภาพจิตเดียวกันวา “10 โมงเชา” เปนการ ถามตอบแบบมีเหตุผลไมมีอารมณอื่นเขามาเกี่ยวของ ดังภาพ 2(2) แตถาทั้งสองฝายโตตอบกันโดยใชภาวะจิตตางกันยอมจะ ทําใหการโตตอบนั้นไมราบรื่นแตจะเกิดความขัดแยง ดังภาพ

ดวยน้ําเสียงที่ออดออน แตในใจกลับกําลัง “กลัววาเขาจะ

2(3) คือ ฝายเริ่มตนสื่อดวยการใชภาวะจิต A คือถามวา “กี่โมง แลว” แตอีกฝา ยกลับโตตอบกลับมาโดยใชภาวะจิตแบบ P ทํานองตําหนิวา “ทําไมไมซื้อนาฬิกาเสียที” ความเปนจริงของชีวิตประจําวัน เราจะใชการโตตอบ แบบขัดแยงนี้อยูบอย ๆ ทั้งนี้เราใชความรูสึกและทัศนคติที่เรา เคยใชอยูเปนนิสัย ที่แฝงอยูกับบุคลิกภาพของเรา ในภาวะพอ

ปฏิเสธ” อีกฝายไมรูเทาทันก็อาจตอบวา “อืม พูดออกมา สิ แตอยาพูดยาวนะ” การโตตอบแบบแอบแฝงนี้จะใชกัน ทุกวงการ ที่ใชการเจรจาตอรอง เพื่อผลประโยชน จะเลน

“เกมตกเบ็ด” ลอเหยื่อนี้อยูเสมอ ฝายที่ไมรูเทาทันก็เปน เหยื่อโดยเฉพาะฝายลูกคามัก จะเปนเหยื่อใหฝายพอคา แมขายของลดราคาอยูเสมอ เพราะฝายขายมักจะใชคําพูด ว า “วั น นี้ เ ป น วั น สุ ด ท า ยข องการลดราคานะ .... (หมายความว า ถ า ไม ต กลงใจซื้ อ ในวั น นี้ ก็ จ ะต อ งซื้ อ ใน ราคาที่แพงกวา...”)

1

2

3

4

แผนภาพ 2 รูปแบบของจิตวิทยาการสื่อสารสัมพันธ


16

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

วิ ธี ก า ร ใ ห ค ว า ม ใ ส ใ จ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร สั ม พั น ธ

(STROKE) เราจะพบวาในการติดตอสื่อสารระหวาง บุคคลนั้น ทั้งสองฝายตองการความใสใจซึ่งกันและกัน ปญหาของการ สื่อสารที่ไมประสบความสําเร็จ ไมสามารถสานความ สัมพันธ ทัศนคติตอการดําเนินชีวิต ในการตัดสินดําเนินชีวิตของคนเราในสถานการณ ต อ เนื่ อ งได เ กิ ด จากการให ก ารใสใจในทางลบ มากกว า ทางบวก อยางไรก็ตาม การตอบรับไมวาดีหรือราย ก็ยัง ดีกวาการสื่อ สารที่ไมมีเสียงตอบรับใดๆ เลย ลักษณะของ การตอบรับที่แสดงถึงความใสใจ เชน 1. คิดคํานึงอยูแตในใจตนเอง (withdrawal stroke) ไมแสดงออกใหอีกฝายไดรับทราบความรูสึกของเราวาเรา รูสึกพึงพอใจหรือไม 2. ทําไปตามระเบียบ ( ritual stroke ) แสดงการ ตอบรั บ แบบขอไปที เ ป น ไปตามระเบี ย บปฏิ บั ติ ไม แ สดง ความรูสึกเปนพิเศษแตอยางใด วาดี หรือไมดี 3. ถอยทีถอยอาศัยเฉพาะเรื่องที่สนใจ ( pastime

stroke) บางครั้งในการสนทนา เราอาจแสดงการใสใจใน บางประเด็นซึ่งผูพูดจะสังเกตเห็นไดจากปฏิกิริยาทาทางของ เราเทานั้น 4. ลงมือปฏิบัติตามที่ตกลง (activities stroke) บางคนอาจแสดงความใสใจโดยกระทําทันที 5. การเลนเกม (game stroke) ในบางสถานการณการ ใสใจอาจกระทําโดยแสรงทําเปนสนใจ หรือเจตนาใชคําพูด ใหเกิดการยอมรับ ในข อ เสนอตา ง ๆ ดว ยการสื่อ สารแบบ แอบแฝง 6.เปนกันเอง ( intimacy) เปนการแสดงถึงความ สนิทชิดเชื้อ ทําใหคูสารทนาเกิดความไววางใจและพึงพอใจ ไดเปนอยางดี หลักของการสื่อสารเพื่อเขาใจผูอื่นก็ไดแคการใสใจ แลวยังตองคํานึงถึงทัศนคติตอชีวิตของผูคนอีกดวย ซึ่งเรา สามารถแยกแยะการมองเห็น คุณคาของตนเอง จากทัศน ชีวิตของแนวคิดจิตวิทยาการสื่อสารสัมพันธได 4 แบบ ดังนี้

I’m OK – You’re OK ฉันดี – คุณก็ดี I’m not-OK – You’re OK ฉันแย – แตคุณดี I’m OK – You’re not-OK ฉันดี – แตคุณแย I’m not-OK – You’re not-OK ฉันแย – คุณก็แย ตางๆ แตละคนจะมีทัศนคติตอตัวเองและตอผูอื่น ใน แบบใดแบบหนึ่ง ขางบนนี้ ตลอดเวลาเราทราบมาตั้งแต ตนแลววา ทัศนคติเปนตัวนําทางการแสดงพฤติกรรมของเรา เพราะฉะนั้ น ถ า เราคิ ด ว า ตนเองดี ขณะเดี ย วกั น เราก็ มี ทัศนคติตอคนอื่นวาเขาก็ดี แบบ “ I’m OK – You’re OK” เราก็ จ ะยอมรั บ ความคิ ด เห็ น และการกระทํ า ของเขา ขณะเดียวกันตัวเราเองก็ไมนึกดูถูกตัวเอง การดําเนินชีวิตก็ จะมีแตความสงบสุข ไมรูสึกเปนทุกข เรียกวาเปนคนมองโลก ในแงดี แตถาเรามีทัศนคติในแบบ “I’m not-OK – You’re

OK” หรือ แบบ “I’m OK – You’re not-OK” เราก็อยู รวมกับผูอื่นไดยาก เพราะถาคิดวาตัวเราแย –คนอื่นดี หรือ ตัว เราดี-คนอื่น แย ไม วากรณี ใ ด ก็จ ะเปน ปญ หาในความ สัมพันธระหวางการกระทําของเรา ที่ทําใหผูอื่นไมพอใจ และ ในทางกลับกัน เราไมพอใจการกระทําของผูอื่น ถาเปนแบบ

“ I’m not-OK – You’re not-OK” สภาพชีวิตของบุคคลนี้จะหมดหวังทอแทตอโลกโดยสิ้นเชิง เพราะไมมีอะไรดีสําหรับเขาเลย ถาเปนคุณ ๆ จะมีชีวิตได อยางไร เพราะหมายถึงสุขภาพจิตของคุณไมดี อาจตองขอ รับคําปรึกษาจากจิตแพทย หรือนักจิตวิทยาโดยดวน การตระหนักรูใน การสื่อสารในการปฏิบัติงาน แบรดฟอรด และ โกเบอรแมน ((Bradford and

Guberman, 1978) ไดประยุกตแนวคิด ภาวะจิตแบบ ผูใหญ (A) มาเปนหลักในการวิเคราะหสถานการณเพื่อเขา ใจผูอื่นตนเองและผูรวมงาน และสามารถตัด สินใจสื่อสารได อยางมีประสิทธิภาพ มีรูป แบบการสื่อสาร 4 แบบดวยกันคือ 1.แบบควบคุม คุณสามารถบอกใหคนอื่นทําตามที่ คุณตองการ ถาคุณรูวาบุคคลนั้นมีความเปน C สูงคือ ยอมรั บ คํ า สั่ ง จากคุ ณ เพราะคุ ณ ต อ งการให ง านสํ า เร็ จ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 2.แบบยอมรับ(ฟงความคิดเห็น) คุณสามารถทํา ตามที่ผูอื่นตองการใหทํา ถาคุณรูวาบุคคลนั้นมีขอมูลที่คุณ ตองการ แตมีความเปน C ที่ผิดหวังตองการการยอมรับ ความเขาใจจาก P ของคุณอยางยิ่ง 3.แบบพัฒนา คุณสามารถรวมกลุมและยอมรับ ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ถาทั้งคุณและบุคคลนั้นมีความ เปนA เหมือน ๆ กัน 4. แบบปกปอง คุณสามารถตกลงใจที่จะไมทํา อะไรเลย ถาความเปน C และ P ของคุณกําลังขัดแยงกัน เปนความรูสึกสองจิตสองใจระหวางสิ่งที่คนอื่นตองการให คุณปฏิบัติ กับคุณธรรมในใจของคุณ คุณจึงตอง การปกปอง ตัวคุณเอง

17

สรุป ทานสามารถวิเคราะหหลักการสื่อ สารที่ทานใชใน การทํางานปจจุบันของทาน วาทานมักใชวีธีการตัดสินใจ รูปแบบใดในที่ การประชุม และผลลัพธจะออกมาเปนเชนใด ทานจะใชความเปนผูใหญที่มีวุฒิภาวะ (A) หรือใชจิตใต สํานึกแบบ พอแม ( P) หรือใชจิตใตสํานึกแบบเด็ก (C ) มากกวากัน ขณะ เดียวกันทานก็ตองใสใจสังเกตวาผูที่ทาน กําลังโต ตอบอยูดวยกําลังใช สภาวะจิต P, A, หรือ C เหมือนทานหรืออยางไร เขาตอง การการตอบ สนองแบบใด เพื่อที่ทานจะไดสื่อสารกลับไปไปไดอยางสอดคลอง หรือ หากวาทานประ เมินวาไมเกิดประโยชนในการสื่อสารตอไป ทานจะไดเลือกแสดงบทบาทที่ขัดแยงเพื่อยุติการสื่อสารนั้น

บรรณานุกรม

Bradford, J. Allyn & Guberman, Reuben.(1978). Transactional Awareness., London: AddisonWesley Publishing Company Inc. Devito, Joseph A.(1997). Human Communication. 7th ed., New York: Longman. Mulligan, John. 1988. The Personal Management Handbook. London: Marshall Editions Ltd.


18

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

19

การพัฒนาคาดัชนีพลังงานจําเพาะของการใชพลังงาน ไฟฟาในที่อยูอาศัยโดยพิจารณาจากปจจัยเชิงโครงสราง และปจจัยเชิงพฤติกรรม (The Development of Specific Energy Consumption in Residential Sector by Considering Structural and Behavioural Factors) Ö โอภาส สุขหวาน 1 อภิชิต เทอดโยธิน 1 ดร. ไพรัช วงศยุทธไกร

2

บทคัดยอ จุดประสงคของการวิจัยในครั้งนี้ เพื่อพัฒนาคาดัชนีพลังงาน จํ า เพาะที่ เ หมาะสมของการใช พ ลั ง งานไฟฟ า ในที่ อ ยู อ าศั ย โดย พิ จ ารณาจากป จ จั ย เชิ ง โครงสร า งและป จ จั ย เชิ ง พฤติ ก รรม เพื่ อ สนองตอบต อ แนวทางในการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานไฟฟ า ในที่ อ ยู อ าศั ย ขอบเขตของการวิจัยเปนการศึกษาการใชพลังงานไฟฟาในบานที่อยู อาศัยแบบบานเดี่ยวในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ขอมูล พลังงานที่ศึกษาคือพลังงานไฟฟาซึ่งไดจากการรวบรวมขอมูลใบแจง คาไฟฟาของการไฟฟานครหลวง ขอมูลที่ไดใชขอมูลในรอบเดือน เดียวกันและยอนหลังอีก 6 เดือนเพื่อหาคาเฉลี่ยการใชพลังงานไฟฟา ของครัวเรือน ปจจัยเชิงโครงสรางที่ศึกษาประกอบดวย สถานภาพของ ครอบครัว การเลือกใชแหลงพลังงานที่สามารถทดแทนการใชพลังงาน ไฟฟา ลักษณะทางกายภาพของบานที่อยูอาศัยและสภาพแวดลอม

1 2

คณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี สาขาวิชาอุตสาหกรรมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


20

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ทางธรรมชาติ และการใชอุปกรณเครื่องใชไฟฟา ปจจัยเชิง พฤติกรรมที่ศึกษาประกอบดวย ลักษณะการใชพลังงาน ไฟฟา จิตสํานึกในการประหยัดพลังงาน การตอบสนองตอ สถานการณพลังงานไฟฟาในปจจุบัน ลักษณะรูปแบบการ ดํารงชีวิต และความรูและความเขาใจเรื่องพลังงานไฟฟา ประชากรที่ ใ ช ศึ ก ษาคื อ ผู อ ยู อ าศั ย ในบ า นเดี่ ย วในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จํานวนกลุมตัวอยาง 400 ครัวเรือนไดมาจากการสุมอยางมีระบบ เครื่องมือที่ใชเปน แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะหและพัฒนาคาดัชนี พลังงานจําเพาะของการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัยคือ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยสามารถใชเปนเครื่องมือในการ กําหนดมาตรฐานเชิงพฤติกรรมของการใชพลังงานไฟฟาแต ละชนิดในที่อ ยู อาศัยพรอ มกับ สงเสริมและประชาสัมพัน ธ เพื่อใหความรูเกี่ยวกับการใชพลังงานไฟฟา การปรับทัศนคติ ในการประหยัดพลังงานที่สามารถพัฒนาไปสูการปฏิบัติได อยางเปนรูปธรรม คําสําคัญ : ดัชนีพลังงานจําเพาะ ภาคที่อยูอาศัย ปจจัยเชิงโครงสราง ปจจัยเชิงพฤติกรรม พลังงานไฟฟา ABTRACT This study is aimed at development of specific energy consumption in residential sector by considering structural and behavioural factors of the single house in Bangkok and its suburban area. The structural factors in this study consist of household characteristics, in-house members, types of habitat, income, and appliances end-uses; while behavioural factors consist of lifestyles, attitudes, knowledge, energy situation responses, and electricity usage. The residential bills from the Metropolitan Electricity Authority, during the latest and 6 months backwards, were collected as the data for energy consumption. The population in this study were residents of single houses in Bangkok and its suburban area. Four hundred households were selected through systematic random sampling method. Questionnaires

were used as instrument for data collection. Percentage, mean, standard deviation, multiple regression, and t-test were used as statistical tools for data analysis. The results of this study revealed that the mentioned factors significantly affected energy consumption. Each factors indicated that the in-house members behaviour could be adaptable to reduce their residential electricity consumption and also help them realize the importance of the campaign and information about residential energy conservation. And the finally , this result can develope to specific energy consumption in residential sector . Keywords : Specific Energy Consumption, Residential Sector, Structural Factor, Behavioural Factor, Electricity. 1. ความสําคัญและความเปนมา การใชพลังงานของมนุษยเกี่ยวของกับกิจกรรมตาง ๆ ในชีวิตประจําวันของเรา ปจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจสงผล ใหปริมาณการใชพลังงานภายในประเทศมีความผันแปรไป ดั ง เช น ในช ว งป 2534 - 2539 ภาวะทางเศรษฐกิ จ ของ ประเทศไทยมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยรอยละ 8 ตอป ซึ่งสงผล ใหปริมาณการใชพลังงานเพิ่มขั้นเฉลี่ยที่รอยละ 8 ตอป แต เมื่ อ เกิ ด วิ ก ฤติ ก ารณ ด า นเศรษฐกิ จ ในป 2540 การ เจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ถดถอยติ ด ลบที่ ร อ ยละ 0.92 ในขณะที่อัตราการขยายตัวของการใชพลังงานของประเทศ กลับลดลงรอยละ 0.33 เชนกัน จากรูปแบบของการใชพลังงานในประเทศไทยซึ่งมี หลากหลายลักษณะ เมื่อแยกตามประเภทของพลังงาน แบง ไดเปน การใชนํ้ามันสําเร็จรูป พลังงานหมุนเวียน ไฟฟา ถาน หิ น และก า ซธรรมชาติ เป น ต น เมื่ อ จํ า แนกตามสาขา เศรษฐกิจของการใชพลังงาน แบงไดเปน การใชพลังงานใน สาขาการคมนาคมขนส ง สาขาอุ ต สาหกรรมการผลิ ต ซึ่ ง รวมถึงสาขาเหมืองแรและสาขาการกอสราง สาขาธุรกิจและ ที่อยูอาศัย และสาขาภาคการเกษตรกรรม สําหรับภาคที่อยู อาศัย มีการใชพลังงานไฟฟา กาซหุงตม น้ํามันกาด ไมฟน ถานไม และแกลบ เปนตน ซึ่งรูปแบบการใชเชื้อเพลิงแตละ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ประเภทแตกตางกันออกไปตามสภาพของพื้นที่ เชน ในเขต กรุงเทพและปริมณฑลตลอดจนเขตเมืองมีการใชพลังงาน ไฟฟ า เป น หลั ก ส ว นในเขตชนบทกลั บ มี ก ารใช พ ลั ง งาน หมุนเวียนเปนสวนใหญ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปจจัยหลาย ๆ ดาน เชน ลักษณะทางสภาพแวดลอม ภูมิอากาศ สภาพเศรษฐกิจ และสั ง คม และการเข า ถึ ง ของแหล ง พลั ง งาน โดยเมื่ อ พิจารณาในสวนที่อยูอาศัย ซึ่งเปนสังคมขนาดเล็กสุด ปจจัย ที่สงผลตอการใชพลังงานสามารถแบงไดเปน 2 กลุมหลัก คือ กลุมปจจัยเชิงโครงสรางและกลุมปจจัยเชิงพฤติกรรม ปจจัยเชิงโครงสราง ในที่นี้หมายถึง ลักษณะทาง กายภาพและสถานภาพของอาคารและผูอยูอาศัย ซึ่งเปนตัว แปรที่สงผลตอการใชพลังงานไฟฟา ปจจัยเชิงโครงสรางที่ สง ผลตอ การใช พ ลั ง งานไฟฟา ในที่อ ยู อ าศัย ประกอบด ว ย ลักษณะทางกายภาพของบานที่อยูอาศัยและสภาพแวดลอม ทางธรรมชาติ ลั ก ษณะและสถานภาพของครอบครั ว รายไดและอํานาจในการซื้อ การใช ร ะบบไฟฟ า แสงสว า ง และอุ ป กรณ เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า ภายในที่ อ ยู อ าศั ย และการ เลือกใชพลังงานชนิดอื่นประกอบกัน เปนตน ปจจัยเชิงพฤติกรรม ซึ่งพฤติกรรมในการใชพลังงาน ขึ้นกับเหตุผลในหลายแนวทาง ทั้งจากอิทธิพลภายในและ อิ ท ธิ พ ลภายนอก รายละเอี ย ดของป จ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ พฤติ ก รรมการใช พ ลั ง งานได แ ก พฤติ ก รรมการเลื อ กซื้ อ อุปกรณภ ายในบาน พฤติกรรมการใชแ ละการบํา รุงรัก ษา อุปกรณ และความรูและความเขาใจ เจตคติและทัศนคติ เปนตน ในการอนุรักษพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัยสามารถ พิจารณาที่ปจจัยเชิงโครงสรา ง โดยสามารถดําเนินการได ตั้งแตการออกแบบสําหรับที่อยูอาศัยใหมไปจนกระทั่งถึงการ ปรับปรุงประสิทธิภาพที่อยูอาศัยที่กําลังใชงานอยู แตกระนั้น ตั ว ที่ ก ระตุ น ให ก ารใช พ ลั ง งานมากน อ ยเพี ย งใดขึ้ น อยู กั บ พฤติกรรมของผูอยูอาศัยเปนหลัก อันเกี่ยวพันธกับปจจัยเชิง โครงสราง แตประเด็นที่สําคัญของการนุรักษพลังงานในที่อยู อาศัยปฏิเสธไมไดวาปจจัยเชิงพฤติกรรมเปนปจจัยหลักตัว หนึ่งที่สามารถกระตุนใหเกิดการประหยัดพลังงานได โดยเรา สามารถใชปจจัยเชิงพฤติกรรมเปนเครื่องมือไดอีกทางหนึ่ง ซึ่งปจจัยทางพฤติกรรมที่สามารถดําเนินการอนุรักษพลังงาน

21

ในที่อ ยูอ าศัย ไดแ ก การรั บ รูค วามสํา คัญ ของการประหยั ด พลังงาน การปรับเปลี่ยนทัศนะคติดานการใชพลังงานวามี ความสํา คัญกั บสวนรวม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช พลั ง งานให ป ระหยั ด พลั ง งานมากขึ้ น จากป จ จั ย ดั ง กล า ว สามารถกระตุนใหเกิดการอนุรักษพลังงานโดยพิจารณาตาม พื้นฐานความตองการความสะดวกสบายในการดํารงชีวิต และการอยูอาศัยของแตละสภาพพื้นฐานของครอบครัวนั้น ๆ ดวยเหตุนี้ ผูวิจัยจึงมีแนวคิดที่จะศึกษามาตรฐาน การใชพลังงานในที่อยูอาศัยและพัฒนาเปนคาดัชนีพลังงาน จําเพาะของการใชพลังงานในที่อยูอาศัยโดยพิจารณาในสวน ของการใชพลังงานไฟฟาเปนหลัก โดยศึกษาความสัมพันธ ของปริ ม าณการใช พ ลั ง งานและป จ จั ย เชิ ง โครงสร า งและ ป จ จั ย เชิ ง พฤติ ก รรม แนวทางในการดํ า เนิ น การจะ ทําการศึกษาการใชพลังงานไฟฟาของผูอยูอาศัยโดยเลือก กลุมตัวอยางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และใช เทคนิคการวิจัยเชิงสํารวจ 2. วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อพัฒนาคาดัชนีพลังงานจําเพาะที่เหมาะสมที่สุด ของการใช พ ลั ง งานไฟฟ า ในที่ อ ยู อ าศั ย เพื่ อ สนองตอบต อ แนวทางในการอนุรักษพลังงานในที่อยูอาศัย โดยการศึกษา การใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัยและทําการพัฒนาโมเดล ทางคณิตศาสตรของความสัมพันธของการใชพลังงานไฟฟา กับปจจัยเชิงโครงสรางและปจจัยเชิงพฤติกรรม และกําหนด เงื่อนไขบังคับของปจจัยตาง ๆ 3. ความสําคัญของการวิจัย คาดัชนีพลังงานจําเพาะของการใชพลังงานไฟฟา ในที่อยูอาศัยและโมเดลทางคณิตศาสตรของความสัมพันธ ระหว า งการใช พ ลั ง งานไฟฟ า กั บ ป จ จั ย เชิ ง โครงสร า งและ ป จ จั ย เชิ ง พฤติ ก รรมที่ ไ ด สามารถใช เ ป น เครื่ อ งมื อ ในการ กําหนดมาตรฐานการจัดการดานการใชพลังงานไฟฟาในภาค ที่ อ ยู อ าศั ย ของประเทศไทย เพื่ อ ส ง เสริ ม ด า นการอนุ รั ก ษ พลังงานของประเทศไทย ซึ่งหนวยงานทั้ง ภาครัฐสามารถ พั ฒ นาไปสู แ นวทางในการกํ า หนดมาตรฐานการอนุ รั ก ษ พลังงานในที่อยูอาศัย เอกชน ผูประกอบการดานการกอสราง ที่อยูอาศัยและประชาชนทั่วไปสามารถใชคาดัชนีพลังงาน จําเพาะเปนปจจัยในการออกแบบบานที่อยูอาศัยโดยอาศัย


22

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ปจจัยเชิงโครงสรางและปจจัยเชิงพฤติกรรมเปนตัวกําหนด เงื่อนในการออกแบบอาคารที่อยูอาศัย 4. ขอบเขตของการวิจัย ในการดํ า เนิ น การวิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาค า ดั ช นี พลังงานจําเพาะของการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัยโดย พิจารณาจากปจจัยเชิงโครงสรางและปจจัยเชิงพฤติกรรม มี ขอบเขตในการดําเนินการวิจัยดังนี้ 4.1 การศึกษาการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย การศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ ใช ก ารวิ จั ย เชิ ง สํ า รวจ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลใชแบบสอบถาม โดยมุง ศึกษาเฉพาะการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย โดยไมศึกษา พลังงานประเภทอื่น และการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย เป น การใช พ ลั ง งานไฟฟ า โดยตรงเพื่ อ กิ จ กรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายในที่อยูอาศัยเทานั้น และขอมูลที่มีความสัมพันธกับการ ใช พ ลั ง งานในที่ อ ยู อ าศั ย โดยแบ ง เป น ข อ มู ล ออกเป น 2 ประเด็นหลัก คือปจจัยเชิงโครงสราง และปจจัยเชิงพฤติกรรม 4.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ ทํ า การสํ า รวจ เป น ผู อ ยู อ าศั ย ใน ครัวเรือนที่อยูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวน 3,227,943 ครัวเรือน กลุ ม ตั ว อย า ง ใช ก ารกํ า หนดขนาดกลุ ม ตั ว อย า ง สํ า หรั บ การศึ ก ษาค า เฉลี่ ย ของประชากร ณ ระดั บ ความ เชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อนของการประมาณคาเฉลี่ย เกิดขึ้นในระดับ ± 10% ของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ได ขนาดของกลุมตัวอยาง 400 ครัวเรือน 4.3 ตัวแปรที่ศึกษา การวิ จั ย ในครั้ ง นี้ มุ ง ศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาโมเดล ความสัมพันธทางคณิตศาสตรของการใชพลังงานไฟฟาในที่ อยู อ าศั ย กั บ ป จ จั ย เชิ ง โครงสร า งและป จ จั ย เชิ ง พฤติ ก รรม รายละเอียดของตัวแปรมีดังนี้ 4.3.1 ตัวแปรตน ไดแกปจจัยที่สงผลตอการใช พลังานไฟฟาในที่อยูอาศัย แบงออกเปน 2 กลุมหลัก คือ 4.3.1.1 ปจจัยเชิงโครงสราง ประกอบดวย 4.3.1.1.1 สถานภาพของครอบครัว 4.3.1.1.2 การเลือกใชแหลงพลังงานที่ สามารถทดแทนการใชพลังงานไฟฟา

4.3.1.1.3 ลักษณะทางกายภาพของบาน ที่อยูอาศัยและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ 4.3.1.1.4 การใชอุปกรณเครื่องใชไฟฟา 4.3.1.2 ปจจัยเชิงพฤติกรรม ประกอบดวย 4.3.1.2.1 ลักษณะการใชพลังงานไฟฟา 4.3.1.2.2 จิตสํานึกในการประหยัดพลังงาน 4.3.1.2.3 การตอบสนองตอสถานการณ พลังงานไฟฟาในปจจุบัน 4.3.1.2.4. ลักษณะรูปแบบการดํารงชีวิต 4.3.1.2.5. ความรูและความเขา ใจเรื่อ ง พลังงานไฟฟา 4.3.2 ตั ว แปรตาม ได แ ก ข อ มู ล การใช พ ลั ง งาน ไฟฟาในที่อยูอาศัย 4.4 ขั้นตอนในการดําเนินการวิจัย การวิจั ย ครั้ง นี้ ผู วิจั ย แบง การดํ า เนิ น การวิ จั ย ออกเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 การศึกษาการใชพลังงานไฟฟาในที่อ ยู อาศัย ซึ่งมีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้ 1. ศึ ก ษ า ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ ง า น วิ จั ย ที่ เกี่ยวของกับการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัยและกําหนด ตั ว แปรออกแบบของป จ จั ย เชิ ง โครงสร า งและป จ จั ย เชิ ง พฤติกรรมของการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย 2. สํา รวจขอ มู ล และวิเ คราะหเบื้อ งต น ของ การใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัยจากกลุมตัวอยางที่กําหนด ตอนที่ 2 การศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ข องการใช พลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัยกับปจจัยเชิงโครงสรางและปจจัย เชิงพฤติกรรม ซึ่งมีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้ 1. กํ า หนดฟ ง ก ชั น เป า หมายของการใช พลั ง งานในที่ อ ยู อ าศั ย จากตั ว แปรออกแบบของป จ จั ย เชิ ง โครงสรางและปจจัยเชิงพฤติกรรมของการใชพลังงานไฟฟา ในที่อยูอาศัย 2. วิเคราะหขอมูลและพัฒนาโมเดลทาง คณิตศาสตรของความสัมพันธระหวางการใชพลังงานไฟฟา ในที่อยูอาศัยกับปจจัยเชิงโครงสรางและปจจัยเชิงพฤติกรรม 3. กําหนดเงื่อนไขบังคับของการใชพลังงาน จากตัวแปรเชิงโครงสรางและตัวแปรเชิงพฤติกรรม


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ตอนที่ 3 การพัฒนาคาดัชนีพลังงานจําเพาะและ วิเคราะหความไวของการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย ซึ่งมี ขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้ 1. หาค า ที่ เ หมาะสมของปริ ม าณการใช พลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย 2. สรางสถานการณจําลองโดยการปรับเปลี่ยน เงื่อนไขบังคับของการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย 3. วิ เ คราะห ค วามไวของการใช พ ลั ง งาน ไฟฟาในที่อยูอาศัยจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงปจจัย เชิ งโครงสร างและปจจัยเชิงพฤติกรรมของการใชพลังงาน ไฟฟาในที่อยูอาศัยจากสถานการณจําลอง 4. พัฒนาคาดัชนีพลังงานจําเพาะของการ ใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย 5. ผลการวิจัย 5.1 ตอนที่ 1 ผลการสํ า รวจการใช พ ลั ง งาน ไฟฟาในที่อยูอาศัย การดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการ โดยขอความรวมมือกับกลุมตัวอยางที่เปนผูอยูอาศัยในบานเดี่ยว

ในเขตกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑลเพื่อสอบถามและ เก็บขอมูล ไดรับขอมูลกลับจํานวน 500 ฉบับ (ขอมูล ณ วันที่ 23 มีนาคม 2549) และนําแบบสอบถามที่ไดรับคืนมา เลื อ กเอาฉบั บ ที่ ส มบู ร ณ จํ า นวน 406 ฉบั บ คิ ด เป น ร อ ยละ 81.20 ของจํานวนแบบสอบถามที่ไดรับคืนมาทั้งหมด ลงรหัส และบันทึกขอมูลเพื่อวิเคราะหขอมูลดังนี้ 5.1.1 ขอมูลการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย การศึกษาขอมูลการใชพลังงานไฟฟ าในที่ อยู อ าศัย ได เก็ บ ข อ มู ล โดยพิ จ ารณาจาก เดือ นของการใช พลังงานไฟฟาลาสุด การเก็บขอมูลใหระบุ วัน เดือน ป ของ ค า ไฟฟ า เดื อ นล า สุ ด ปริ ม าณการใช ไ ฟฟ า ประจํ า เดื อ น ค า ใช จ า ยประจํ า เดื อ น และข อ มู ล ประวั ติ ก ารใช ไ ฟฟ า ยอนหลัง 6 เดือน ผลการศึกษาการใชพลังงานไฟฟาในที่อยู อาศัยแสดงไวดังรูปที่ 1

Histogram

50

Frequency

40

30

20

10

Mean =393.1108 Std. Dev. =257.84981 N =406

0 0.00

200.00

400.00

600.00

800.00

23

1000.00 1200.00 1400.00

averkwh

รูปที่ 1 ปริมาณการใชพลังงานไฟฟาเฉลี่ยในที่อยูอาศัย


24

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

จากรูปที่ 1 แสดงความถี่ของปริมาณการใชพลังงาน ไฟฟ า ในที่ อ ยู อ าศัย ผลการศึ ก ษาพบว า ค า เฉลี่ ยของการใช พลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย 393.11 กิโลวัตตชั่วโมง โดยคาการ ใชพลังงานไฟฟาต่ําสุดมีคาเทากับ 37.40 กิโลวัตตชั่วโมง คา พลั ง งานไฟฟ า สู ง สุด 1480.20 กิ โ ลวั ตต ชั่ ว โมง คา เบี่ ยงเบน มาตรฐาน 257.85 กิโลวัตตชั่วโมง 5.1.2 ปจจัยเชิงโครงสราง 5.1.2.1 สถานภาพของครอบครัว การเก็บขอมูลของสถานภาพของครอบครัว โดยใหระบุจํานวนสมาชิกภายในบาน เพศ อายุ วุฒิการศึกษาที่ สําเร็จสูงสุด และอาชีพในปจจุบัน ผลการศึกษาเปนดังนี้ โดยเฉลี่ยอยูที่ 4 คน ต่ําสุด 1 คน สูงสุด 10 คน ( x = 4.16 ,max = 10.00 min = 1.00 SD = 1.70 ) คาเฉลี่ยของเพศชายอยูที่ 2 คนตอครัวเรือน ( x = 1.95 ,max = 6.00 min = 0.00 SD = 1.10 ) เพศหญิงที่ 2 คน ( x = 2.21 ,max = 7.00 min = 0.00 SD = 1.20 ) ชวงอายุ โดยมากอยูที่ 25-60 ปเฉลี่ย ที่ 3 คน ( x = 2.87 ,max = 8.00 min = 0.00 SD = 1.26 ) ระดับการศึกษาสูงสุดโดยสวนมาก อยูที่ต่ํากวาปริญญาตรีเฉลียที่ 2 คน ( x = 2.28 ,max = 9.00 min = 0.00 SD = 1.81) อาชีพในปจจุบันโดยสวนมากอยูที่ พนักงาน/ลูกจาง/ขาราชการ เฉลี่ยที่ 2 คน ( x = 1.96 ,max = 8.00 min = 0.00 SD = 1.21 ) รายไดรวมเฉลี่ยของทั้ง ครอบครัวซึ่งมีคาเฉลี่ยที่ 41,333 – 51,333 บาทตอเดือน ( x = 5.1333 ,max = 11.00 min = 1.00 SD = 2.70 ) 5.1.2.2 การใช พ ลั ง งานอื่ น ที่ ส ามารถ ทดแทนการใชพลังงานไฟฟา จากการศึ ก ษาการเลื อ กใช พ ลั ง งานอื่ น ที่ สามารถใชทดแทนการใชพลังงานไฟฟา โดยมีพลังงานอื่น ๆ คือ กาซหุงตม ไมฟน/ถานไม และ อื่น ๆ ผลการศึกษาพบวามี การใชกาซหุงตมเปนสวนมาก ขนาดถังกาซเฉลี่ยที่ใชเปนขนาด 15 กิโลกรัม ระยะเวลาเฉลี่ยที่ใช 2.62 เดือน วัตถุประสงคที่ใช เพื่อการประกอบอาหาร และลักษณะการใชงานเฉลี่ยแตละ สัปดาหอยูในชวงวันจันทรถึงวันศุกร 5.1.2.3 ลักษณะทางกายภาพของบานที่อยู อาศัยลักษณะของบานที่อยูอาศัยสวนมากเปนบานขนาด 2 ชั้น พื้นที่ 100-150 ตารางเมตร จํานวนหองนอนสวนมาก 3 หอง

หองน้ําสวนมาก 2 หอง หองครัว 1 หอง หองนั่งเลน/รับแขก 1 หอง วัสดุกอสรางโดยสวนใหญใชอิฐมอญฉาบปูน และมี การปองกันความรอนใหกับบานที่อยูอาศัย 2 วิธีการ 5.1.2.4 การใช อุ ป กรณ เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า เมื่ อ พิจารณาจากครัวเรือนที่มีเครื่องปรับอากาศ การใชงาน เฉลี่ ย ใน 1 วั น ขนาดการใช พ ลั ง งานไฟฟ า สํ า หรั บ เ ค รื่ อ ง ป รั บ อ า ก า ศ เ ฉ ลี่ ย ต อ วั น สํ า ห รั บ บ า น ที่ มี เครื่องปรับอากาศ 1 เครื่องมีคาเฉลี่ย 8.62 กิโลวัตตชั่วโมง ตอวัน บานที่มีเครื่องปรับอากาศ 2 เครื่องมีคาเฉลี่ย 19.98 กิโลวัตตชั่วโมงตอวัน บานที่มีเครื่องปรับอากาศ 3 เครื่องมี ค า เ ฉ ลี่ ย 2 8 . 7 6 กิ โ ล วั ต ต ชั่ ว โ ม ง ต อ วั น บ า น ที่ มี เครื่องปรับอากาศตั้งแต 4 เครื่องขึ้นไปมีคาเฉลี่ย 44.74 กิโลวัตตชั่วโมงตอวัน ขนาดการใชพลังงานไฟฟาสําหรับแสงสวางเฉลี่ย ตอวัน มีคาเฉลี่ย 13.44 กิโลวัตตชั่วโมงตอวัน ครัวเรือนที่มี ตูเย็น 1 เครื่องจํานวน 288 ครัวเรือน ขนาดการใชพลังงาน ไฟฟาเฉลี่ยตอวัน 1.54 กิโลวัตตชั่วโมง มีตูเย็น 2 เครื่อง จํานวน 94 ครัวเรือนขนาดการใชพลังงานไฟฟาเฉลี่ยตอวัน 3.07 กิโลวัตตชั่วโมง มีตูเย็นตั้งแต 3 เครื่องขึ้นไปจํานวน 24 ครัวเรือนขนาดการใชพลังงานไฟฟาเฉลี่ยตอวัน 4.88 กิโลวัตตชั่วโมง ผลการศึกษาการใชอุปกรณเครื่องใชไฟฟาชนิด อื่น ๆ ขนาดการใชพลังงานไฟฟาเฉลี่ยตอวัน 6.81 กิโลวัตตชั่วโมง 5.1.3 ปจจัยเชิงพฤติกรรม 5.1.3.1 ลักษณะพฤติกรรมการใช พลังงานไฟฟาลักษณะพฤติกรรมการใชพลังงานไฟฟาของ อุปกรณเครื่องใชไฟฟา โดยกําหนดใหลักษณะพฤติกรรม การใชพลังงานไฟฟาที่ประหยัดพลังงานมีคะแนนเปนบวก และลักษณะพฤติกรรมการใชพลังงานไฟฟาที่ไมประหยัด พลังงานมีคะแนนเปนลบ พฤติกรรมการใชพลังงานไฟฟาแยกตามชนิดการ ใชพลังงานไฟฟาไดดังนี้ คาเฉลี่ยลักษณะการใชพลังงาน ไฟฟาของเครื่องปรับอากาศอยูที่ ระดับคะแนน 6.65 คาเฉลี่ยลักษณะพฤติกรรมการใชพลังงานไฟฟาระบบแสง สวางอยูที่ ระดับคะแนน 1.13 คาเฉลี่ยลักษณะพฤติกรรม การใชพลังงานไฟฟาสําหรับตูเย็นอยูที่ ระดับคะแนน 3.02


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 และ คาเฉลี่ยลักษณะพฤติกรรมการใชพลังงานไฟฟาสําหรับ อุปกรณเครื่องใชไฟฟาอื่น ๆ อยูที่ ระดับคะแนน 1.56 5.1.3.2 ปจจัยเชิงพฤติกรรมผล การศึกษาพบวา คาเฉลี่ยของจิตสํานึกในการประหยัดพลังงาน อยูที่ ระดับคะแนน 3.57 ผลการศึกษาพบวา คาเฉลี่ยของ จิตสํานึกในการประหยัดพลังงานอยูที่ ระดับคะแนน 3.57 ดัง รูปที่ 4.24 คาเฉลี่ยของมีการตอบสนองตอสถานการณพลังงาน ไฟฟาอยูที่ ระดับคะแนน 3.6425 คาเฉลี่ยของลักษณะรูปแบบ การดํารงชีวิตอยูที่ ระดับคะแนน 3.11 ดังรูปที่ 4.26 และ การศึกษาความรูความเขาใจเรื่องพลังงานไฟฟามีคะแนนเต็ม 15 คะแนน ผลการศึกษาพบวา คาเฉลี่ยของความรูความเขาใจ เรื่องพลังงานอยูที่ ระดับคะแนน 10.14 5.2 ตอนที่ 2 ผลการศึกษาความสัมพันธของการ ใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัยกับปจจัยเชิงโครงสรางและ ปจจัยเชิงพฤติกรรม

(ก) การใชเครื่องปรับอากาศ

(ค) การใชตูเย็น

25

การศึกษาความสัมพันธของการใชพลังงานไฟฟา ในที่อยูอาศัย กับปจจัยเชิงโครงสรางและปจจัยเชิง พฤติกรรม เปนการศึกษาการใชพลังงานไฟฟาในที่อยู อาศัย โดยเปรียบเทียบกับปจจัยเชิงโครงสราง ขนาดพื้นที่ อุปกรณเครื่องใชพลังงานไฟฟาตาง ๆ และปจจัยเชิง พฤติกรรม เชน พฤติกรรมดานใชอุปกรณที่เกี่ยวกับการใช พลังงานไฟฟา ทัศนคติดานการอนุรักษพลังงาน การ ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของสถานการณพลังงาน ซึ่งจะแสดงโดยการหาความสัมพันธในรูปแบบของโมเดล ทางคณิตศาสตร โดยผลการศึกษาเปนดังนี้ 5.2.1 ฟงกชันเปาหมายของการใช พลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย ปริมาณการใชพลังงานไฟฟา มีตัวพยากรณที่สําคัญที่ใชในการทํานายปริมาณการใช พลังงาน คือ

(ข) การใชแสงสวาง

(ง) การใชอุปกรณเครื่องใชไฟฟาอื่น ๆ

รูปที่ 2 ความสัมพันธระหวางปริมาณการใชพลังงานไฟฟากับปจจัยเชิงโครงสราง


26

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

5.2.1.1 ปริ ม าณการใช พ ลั ง งานไฟฟ า (Averkwh) สัมพันธกับปจจัยเชิงโครงสราง (ดังรูปที่ 2) ไดแก ขนาดการใชเครื่องปรับอากาศ(Aircond) ขนาดการใชอุปกรณ เครื่องใชไฟฟา อื่น ๆ(Appliance) ขนาดการใชตูเย็น(Refrig)

และขนาดการใชไฟฟาแสงสวาง(Light) โดยสามารถรวม ทํานายไดรอยละ 33.6 25.7 25.2 และ 9.5 ตามลําดับ ได ผ ลการวิ เ คราะห ค วามถดถอยและรู ป แบบการใช พลังงานไฟฟาดังนี้

Averkwh = 0.252refrig + 0.095light + 0.336aircond + 0.257appliance

(ก) ความรูและความเขาใจเรื่องพลังงานไฟฟา

(ข) ลักษณะรูปแบบการดํารงชีวิต kwh Observed Linear

1400.00

1200.00

1000.00

800.00

600.00

400.00

200.00

0.00 2.00

4.00

6.00

8.00

rt4

(ค) จิตสํานึกในการประหยัดพลังงาน

(ง) การตอบสนองตอสถานการณพลังงานฯ

รูปที่ 3 ความสัมพันธระหวางปริมาณการใชพลังงานไฟฟากับปจจัยเชิงพฤติกรรม 5.2.1.2 ปริ ม าณการใช พ ลั ง งานไฟฟ า สั ม พั น ธ กั บ ป จ จั ย เชิ ง พฤติ ก รรม (ดั ง รู ป ที่ 3) ได แ ก การ ตอบสนองตอสถานการณพลังงานไฟฟาในปจจุบัน(Res1 และ Res2) ลักษณะรูปแบบการดํารงชีวิต(Life) จิตสํานึกในการ ประหยั ด พลั ง งาน(Att) และความรู แ ละความเข า ใจเรื่ อ ง

พลังงานไฟฟา(Know) โดยสามารถรวมทํานายไดรอยละ 34.2 36.1 31.5 16.4 และ 10.6 ตามลําดับ ไดผลการ วิเคราะหความถดถอยและรูปแบบการใชพลังงานไฟฟา ดังนี้

Averkwh = 0.164 Att + 0.342 Re s1 − 0.361 Re s2 − 0.315life − 0.106 Know


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 5.2.2 เงื่อนไขบังคับของการใชพลังงานไฟฟาในที่ อยูอาศัย 5.2.2.1 เงื่ อ นไขบั ง คั บ จากป จ จั ย เชิ ง โครงสราง ไดแก ขนาดการใชพลังงานไฟฟา มีตัวพยากรณที่ สําคัญที่ใชในการกําหนดขนาดของการใชพลังงานไฟฟาคือ 5.2.2.1.1 ขนาดการใชพลังงานไฟฟาของ ปรับอากาศ มีตัวพยากรณคือ พฤติกรรมการใชพลังงานไฟฟา ในเครื่องปรับอากาศ (BEHAC) สามารถรวมทํานายไดรอยละ 15.8 และ ไดผลการวิเคราะหความถดถอยและรูปแบบที่ใชใน ก า ร กํ า ห น ด ข น า ด ข อ ง ก า ร ใ ช พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ า ข อ ง เครื่องปรับอากาศดังนี้ behac;−0.158aircond ≥ 50

5.2.2.1.2 ขนาดการใชพลังงานไฟฟาแสง สวาง มีตัวพยากรณคือ พฤติกรรมการใชพลังงานไฟฟาไฟฟา แสงสวาง (BEHLIG) สามารถรวมทํานายไดรอยละ 11.7 และ ไดผลการวิเคราะหความถดถอยและรูปแบบที่ใชในการกําหนด ขนาดของการใชของไฟฟาแสงสวาง ดังนี้ behlig ;−0.117light ≥ 50

5.2.2.1.3 ขนาดของการใช อุ ป กรณ เครื่ อ งใช ไ ฟฟ า อื่ น ๆ มี ตั ว พยากรณ คื อ พฤติ ก รรมการใช พลั ง งานไฟฟ า ในอุ ป กรณ เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า อื่ น ๆ (BEHAPP) สามารถรวมทํานายไดรอยละ 12.9 ไดผลการวิเคราะหความ ถดถอยและรูปแบบที่ใชในการกําหนดขนาดของการใชพลังงาน ไฟฟาของอุปกรณเครื่องใชไฟฟาอื่น ๆ ดังนี้ behapp;−0.129appliance ≥ 50

5.2.2.2 เงื่อนไขบังคับจากปจจัยเชิงพฤติกรรม มีตัว พยากรณที่สําคัญที่ใชในการทํานายลักษณะการใชพลังงาน ไฟฟาคือ 5.2.2.2.1 ตัวพยากรณ คือ พฤติกรรมการ ใชพลังงานไฟฟาเครื่องปรับอากาศ (BEHAC) มีความสัมพันธ กั บ การตอบสนองต อ สถานการณ พ ลัง งานไฟฟา ในปจ จุบั น (Res2) ลั ก ษณะรู ป แบบการดํ า รงชี วิ ต (Life) สามารถร ว ม ทํ า นายได ร อ ยละ 16.5 และ 15.8 ตามลํ า ดั บ ได ผ ลการ

27

วิ เ คราะห ค วามถดถอยและรู ป แบบที่ ใ ช ใ นการกํ า หนด ปจจัยเชิงพฤติกรรม ดังนี้ behac;0.165res2 + 0.158life ≥ 50

5.2.2.2.2 ตัวพยากรณ คือ พฤติกรรม ก า ร ใ ช พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ า ใ น แ ส ง ส ว า ง ( BEHLIG) มี ความสั ม พั น ธ กั บ ลั ก ษณะรู ป แบบการดํ า รงชี วิ ต (Life) สามารถรว มทํา นายได รอยละ 16.7 ไดผลการวิเ คราะห ความถดถอยและรู ป แบบที่ ใ ช ใ นการกํ า หนดป จ จั ย เชิ ง พฤติกรรม ดังนี้ behlig ;0.167life ≥ 50

5.2.2.2.3 ตั ว พยากรณ คื อ พฤติ ก รรมการใช พลั ง งานไฟฟ า ตู เ ย็ น (BEHREF) มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ ลั ก ษณะรู ป แบบการดํ า รงชี วิ ต (Life) จิ ต สํ า นึ ก ในการ ประหยัดพลังงาน(Att) และความรูและความเขาใจเรื่อง พลังงานไฟฟา(Know) สามารถรวมทํานายไดรอยละ 11.7 22.5 และ 21.8 ตามลําดับ ไดผลการวิเคราะหความถดถอย และรูปแบบที่ใชในการกําหนดปจจัยเชิงพฤติกรรม ดังนี้ behref ;0.225att + 0.218know + 0.117life ≥ 50

5.2.2.2.4 ตั ว พยากรณ คื อ พฤติ ก รรมการใช พลังงานไฟฟาในอุปกรณเครื่องใชไฟฟาอื่น ๆ (BEHAPP) มีความสัมพันธกับ การตอบสนองตอสถานการณพลังงาน ไฟฟาในปจจุบัน(Res2) และลักษณะรูปแบบการดํารงชีวิต (Life) สามารถร ว มทํ า นายได ร อ ยละ 15.3 และ 10.8 ตามลําดับ ไดผลการวิเคราะหความถดถอยและรูปแบบที่ ใชในการกําหนดปจจัยเชิงพฤติกรรม ดังนี้ behapp;0.153res2 + 0.108life ≥ 50

5.3 ตอนที่ 3 การพัฒนาคาดัชนีพลังงาน จําเพาะและวิเคราะหความไวของการใชพลังงานไฟฟา ในที่อยูอาศัย การพัฒนาคาดัชนีพลังงานจําเพาะของการ ใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย เปนการวิเคราะหผลกระทบ จากการดํ า เนิ น การด า นการจั ด การด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง ง า น โ ด ย ก า ร ใ ช โ ม เ ด ล ท า ง ค ณิ ต ศ า ส ต ร ข อ ง


28

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ความสัมพั น ธร ะหวางการใชพ ลัง งานไฟฟา ในที่อ ยูอ าศัยกับ ปจจัยเชิงโครงสรางและปจจัยเชิงพฤติกรรม เปนเครื่องมือใน การจัดการดานการอนุรักษพลังงาน โดยการกําหนดขอบเขต หรือลดปจจัยเชิงโครงสรางและ/หรือปจจัยเชิงพฤติกรรม และ พัฒนาสูคาดัชนีพลังงานจําเพาะของการใชพลังงานไฟฟาในที่ อยูอาศัย 5.3.1 หาค า ที่ เ หมาะสมของปริ ม าณการใช พลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย จากฟงกชันเปาหมาย หาคาที่ต่ํา ที่สุดของการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย โดยใชขอบเขตจาก เงื่อนไขบังคับที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลของกลุมตัวอยาง จากความสั ม พั น ธ ร ะหว า งปริ ม าณการใช พลั ง งานไฟฟ า กั บ ป จ จั ย เชิ ง โครงสร า ง และความสั ม พั น ธ ระหวางปริมาณการใชพลังงานไฟฟากับปจจัยเชิงพฤติกรรม ที่ ค า คะแนนมาตรฐานของป จ จั ย เชิ ง โครงสร า งและคะแนน มาตรฐานของปจจัยเชิงพฤติกรรมมีคาเทากับคาเฉลี่ยของกลุม ตั ว อย า ง สามารถวิ เ คราะห ห าค า เฉลี่ ย ของการใช พ ลั ง งาน ไฟฟาในที่อยูอาศัยไดเทากับ 393 กิโลวัตตชั่วโมง 5.3.2 สร า งสถานการณ จํ า ลองโดยการ ปรั บ เปลี่ ย นเงื่ อ นไขบั ง คั บ และวิ เ คราะห ค วามไวของการใช พลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย จากเงื่อนไขบังคับที่ไดจากการสํารวจขอมูลจาก กลุมตัวอยาง กําหนดเงื่อนไขบังคับใหม โดยพิจารณาใหเกิด การใชพลังงานที่ประหยัดขึ้น มีปจจัยเชิงพฤติกรรมและปจจัย เชิ ง โครงสร า งตั ว ใดที่ ส ง ผลต อ การใช พ ลั ง งานที่ ป ระหยั ด ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขดังกลาวโดยตองคํานึงถึงการไมสงผลกระทบ ตอความสะดวกสบาย ความพึงพอใจของการดําเนินชีวิต จากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงปจจั ยเชิ ง โครงสรางและปจจัยเชิงพฤติกรรมของการใชพลังงานไฟฟาในที่ อยูอาศัยจากสถานการณจําลอง การปรับเปลี่ยนเงื่อนไขบังคับ คือการกําหนดขอบเขตหรือลดปจจัยเชิงโครงสราง และ/หรือ ปจจัยเชิงพฤติกรรมจากโมเดลทางคณิตศาสตรนั้นใหม กระทํา เพื่อกําหนดคาที่เหมาะสมที่สุดของการใชพลังงานไฟฟาในที่อยู อาศัยใหมีคาลดลง โดยการเปลี่ยนแปลงปจจัยเชิงโครงสราง และ/หรือปจจัยเชิงพฤติกรรมตามสภาวะ หรือเงื่อนไขของกลุม ตัวอยางที่สามารถปฏิบัติไดจริง อันไมสงผลกระทบอยางรุนแรง

หรื อ ขั ด ต อ ความรู สึ ก ต อ ความสะดวกสบายในการใช ชีวิตประจําวัน 5.3.2.1 ความไวจากการปรับเปลี่ยน ปจจั ย เชิง โครงสรา ง ตัว พยากรณที่ สง ผลกระทบต อ การ เปลี่ยนแปลงปริมาณการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย ไดแก ขนาดของการใชไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ ขนาด ของการใชไฟฟาของอุปกรณเครื่องใชไฟฟาชนิดอื่น ขนาด ของการใชไฟฟาของตูเย็น และขนาดของการใชไฟฟาของ แสงสวาง โดยมีอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการใช พลั ง งานไฟฟา แต ละปจ จัย ในเชิ ง บวกทุก ตัว ปจ จัย มี ค า เทากับรอยละ 33.6 25.7 25.2 และ 9.5 ตามลําดับ 5.3.2.2 ความไวจากการปรั บ เปลี่ ย น ปจจัยเชิงพฤติกรรม ตัว พยากรณที่สงผลกระทบต อ การ เปลี่ยนแปลงปริมาณการใชพลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย ไดแก ปจจัยที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกไดแก จิตสํานึกในการประหยัดพลังงาน(Att) และ การตอบสนอง ต อ สถานการณ พ ลั ง งานไฟฟ า ในป จ จุ บั น (Res1) โดยมี อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการใชพลังงานไฟฟาแต ละปจจัยเทากับรอยละ 16.4 และ 34.2 ตามลําดับ ขณะที่ ปจจัยที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงในเชิงลบไดแก ลักษณะ รูปแบบการดํารงชีวิต(Life) การตอบสนองตอสถานการณ พลังงานไฟฟาในปจจุบัน (Res2) และความรูและความ เข า ใจเรื่ อ งพลั ง งานไฟฟ า (Know) โดยมี อั ต ราการ เปลี่ยนแปลงของปริมาณการใชพลังงานไฟฟาแตละปจจัย เทากับรอยละ 31.5 36.1 16.4 5.3.3 พัฒนาคาดัชนีพลังงานจําเพาะของการใช พลังงานไฟฟาในที่อยูอาศัย จากผลของการกําหนดเงื่อนไขบังคับใหม เพื่อใหไดคาที่เหมาะสมที่สุดของการใชพลังงานไฟฟาในที่ อยูอาศัย โดยการเปลี่ยนแปลงปจจัยเชิงโครงสรางและ/ หรือปจจัยเชิงพฤติกรรม จะสงผลตอขอมูลการใชพลังงาน ไฟฟาในที่อยูอาศัยที่จะลดลง ซึ่งคาที่ไดใหมจะกําหนดเปน คาดัชนีพลังงานจําเพาะของการใชพลังงานไฟฟาในที่อยู อาศัยตอไป


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 6. สรุปผล ผลการวิ เ คราะห ห าค า เหมาะสมที่ สุ ด ของการใช พลั ง งานไฟฟ า ในที่ อ ยู อ าศั ย จากสมการถดถอยของการใช พลังงานกับปจจัยเชิงโครงสรางและปจจัยเชิงพฤติกรรม และ สมการถดถอยของปจจัยเชิงโครงสรางและปจจัยเชิงพฤติกรรม กับลักษณะของการใชพ ลังงานไฟฟาที่มีพฤติกรรมประหยัด พลังงาน พบวาตัวพยากรณที่สามารถใชกําหนดคุณลักษณะ ของการใชพลังงานที่เหมาะสมที่สุดสําหรับปจจัยเชิงโครงสราง ไดแก การใชเครื่องปรับอากาศ การใชอุปกรณเครื่องใชไฟฟาอื่น ๆ และสําหรับปจจัยเชิงพฤติกรรม ไดแก ลักษณะรูปแบบการ ดํารงชีวิต จิตสํานึกในการประหยัดพลังงาน และความรูและ

29

ความเขาใจในเรื่องพลังงานไฟฟา ผลการวิจัยสามารถใช เปนเครื่องมือในการกําหนดมาตรฐานเชิงโครงสรางและ มาตรฐานเชิ งพฤติ กรรมของการใชพ ลั ง งานไฟฟา แตละ ชนิ ด ในที่ อ ยู อ าศั ย พร อ มกั บ ส ง เสริ ม และประชาสั ม พั น ธ เพื่ อ ให ค วามรู เ กี่ ย วกั บ การใช พ ลั ง งานไฟฟ า การปรั บ ทัศนคติในการประหยัดพลังงานที่สามารถพัฒนาไปสูการ ปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม ทุนสนับสนุนการวิจัย งานวิจัยนี้ไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากกองทุน สงเสริมการอนุรักษพลังงาน สํานักงานนโยบายและแผน พลังงาน กระทรวงพลังงาน ประเทศไทย

บรรณานุกรม Brockett, D and other,"A tale of five Cities : The China residential Energy Consumption Survey",Human and Social Dimensons of Energy use,pp.8.29-8.40 Chairarattananon,S,2003,"A technical review of energy conservation programs for commercial and government buildings in Thailand",Energy conservation and management, vol 44 pp. 743-762 Chwieduk,D,1999"Prospects for low energy building in Poland",Renewable Energy, vol 16 pp.1196-1199 Dzioubinski,O and other,1999,"Trends in consumption and production : Household energy consumption",Economics&Socal Affairs,UN Haas, R., Biermayr, P., Zoechling, J. and Auer, H. (1998), Impacts on Electricity Consumption of Household Appliances in Austria: a Comparison of Time Series and Cross-Section Analyses, Energy Policy, vol. 26(13), pp. 1031-1040. Halvorsen, B. and Larsen, B.M. (2001), The Flexibility of Household Electricity Demand Over Time, Resource and Energy Economics, vol. 23, pp. 1-18. Herendeen,R,1983,"Measuring energy saving using personal trend data",Energy and Building,Vol. 5 pp.289-296 Jaber, J.O., Mamlook, R. and Awad, W. (2003), Assessment of Energy Conservation and Awareness Programs in the Household Sector in Jordan, paper presented in the World Climate and Energy Event, pp. 215-228, 1-5 December 2003, Rio de Janeiro, Brazil. Lam,J,2000,"Residential sector air conditioning loads and electricity use in Hong Kong",Energy conversion&management,vol.41 pp.1757-768


30

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 Levermore,G,L,1992,"Building energy management systems",E&FN Spon,London Lucas,I.B and other, 2001, "Behavioral factors study of residential users which influence the energy consumption",Renewable Energy vol 24 pp. 521-527 Mansouri, I., Newborough, M. and Probert, D. (1996), Energy Consumption in UK Households: Impact of Domestic Electricity Appliances, Applied Energy, vol. 54(3), pp. 211-285. Mullaly, C. (1998), Home Energy Use Behaviour: a Necessary Component of Successful Local Government Home Energy Conservation (LGHEC) Programs, Energy Policy, vol. 26(14), pp 1040-1052. Pyrko, J. and Noren, C. (2006), Can we change residential customers' energy attitudes. using information and knowledge, Available online: http://www.vok.lth.se/. Sheinbaum, C. (1996), The Structure of Residential Energy Consumption in the Mexico City Metropolitan Area, Energy for Sustainable Development, vol. 3(1), pp. 43-48. Tatietse,T and other ,2002,"Contribution to the analysis of urban residential electrical energy demand n developing countries", Energy vol 27 pp. 591-606 Tuan, N. A. (1996), Analysis of Household Energy Demand in Vietnam, Energy Policy, vol. 24(12), pp. 1089-1099. Turiel, I. (1997), Present Status of Residential Appliance Energy Efficiency Standards – an International Review, Energy and Building, vol. 26, pp. 5-15. Tyler,S,1996,"Household energy use in asian cities : Responding to development success",Atmospheric environment,vol 30,pp.809-816 UK National Report,2001,"Progression in energy efficiency indicators for the UK an analysis based on the ODYSSEE database", UK National Report Unander,F and other,"Residential energy use : an international perspective on long - term trends in Denmark, Norway and Sweden, Energy policy, article in press. Vrinker,K,2000,"Long-term trends in direct and indirect household energy intensities : a factor in dematerialization?",Energy policy,vol. 28 pp.713-727


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

31

การพัฒนาแบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคม สําหรับเด็กออทิสติก (A Program Development to Create a Training Model for Enhance Social Skills of Children with Autism) Ö พัชรี จิ๋วพัฒนกุล 1 ศาสตราจารย ดร. ผดุง อารยะวิญู 2 รองศาสตราจารย ดร. สมสรร วงษอยูนอย 3 ผูชว ยศาสตราจารย ดร.องอาจ นัยพัฒน 4

บทคัดยอ การศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ พั ฒ นาแบบฝ ก เพื่ อ เสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับ เด็กออทิสติก ดวยการดําเนินการ วิจัยพัฒนาเปน 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่1การสรางแบบตรวจสอบทักษะทาง สังคมสําหรับเด็กออทิสติก ขั้นที่2 การสรางแบบประเมินทักษะทาง สังคมสําหรับ เด็กออทิสติก และขั้นที่3 การเสริมสรางทักษะทางสังคม สําหรับเด็กออทิสติก กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยเปนเด็กออทิสติกที่มี ปญหาทักษะทางสังคม ดานการควบคุมคนเอง การสื่อความหมายกับ บุค คลอื่น และการทํา งานรว มกับ บุค คลอื่น ที่เ รีย นอยูช ว งชั้น ที่1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา2549 โรงเรียนวัดโสมนัส สํานักงานเขต การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 สํานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เลือกโดยวิธีเจาะจง จํานวน 6 คน

อาจารย คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2 ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ 3 อาจารยประจําสํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ 4 อาจารยประจํา ภาควิชาวิจัยและวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ

1


32

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

เครื่องมือที่ที่ใช ในการวิ จั ยครั้ งนี้มี 3 ชนิด คือ แบบ ตรวจสอบทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก แบบเสริมสรางทักษะ ทางสั งคมสํ าหรั บเด็ กออทิ สติ ก และแบบประเมิ นทั กษะทางสั งคม สําหรั บเด็ กออทิ สติ ก ใช รู ปแบบการวิจั ยทางการศึ กษาพิ เศษการ ทดลองกลุมตัวอยางเดี่ยว(Single Subject Design) แบบหลายเสน ฐานระหวางพฤติกรรม (Multiple Baseline Across Behaviors) แบบ AB-A ผลการที่ไดจากการวิจัยครั้งนี้คือ 1. แบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็ก ออทิสติก ประกอบดวย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ตรวจสอบทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก โดย ใชแบบตรวจสอบทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติกที่สรางขึ้น ขั้นที่ 2 เสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก โดยใชแบบเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก ที่สรางขึ้น ขั้นที่ 3 ประเมินทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก โดย ใชแบบประเมินทักษะทางสังคมสําหรั บ เด็กออทิสติก ที่สรางขึ้น เครื่องมือวิจัยที่สรางขึ้นทั้ง 3 ชุดนี้ไดผานการตรวจสอบความ เที่ยงตรงเชิงพินิจจากผูเชี่ยวชาญแลว เห็นวามีความเหมาะสมอยูใน ระดับดี ซึ่งรายละเอียดของเครื่องมือมีดังนี้ 1.1 แบบตรวจสอบทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก มีลักษณะเปนแบบตรวจสอบรายการ แบบ 2 ตัวเลือก ใชทดสอบเด็ก ออทิสติกเปนรายบุคคล มีเนื้อหาครอบคลุมทักษะทางสังคม 3 ดาน เปนแบบตรวจสอบรายการทั้งสิ้น 31 ขอคําถาม ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ทักษะทางสังคมดานที่ 1 การควบคุมคนเอง แยกเปน ทักษะยอยที่ 1 การรอคอย มีแบบตรวจสอบรายการ 6 ขอคําถาม ทักษะยอยที่ 2 การทําตามกติกาที่กําหนด มีแบบตรวจสอบ รายการ 7 ขอคําถาม ทักษะทางสังคมดานที่ 2 การสื่อความหมายกับบุคคลอื่น แยกเปน ดานยอยที่ 1 การสบตา มีแบบตรวจสอบรายการ 5 ขอ คําถาม ดานยอยที่ 2 การเลียนแบบ มีแบบตรวจสอบรายการ 3 ขอ คําถาม ดานยอยที่ 3 การแสดงความสนใจผูอื่น มีแบบตรวจสอบ รายการ 5 ขอคําถาม และ ทักษะทางสังคมดานที่ 3 การทํางานรวมกับบุคคลอื่น แยก เปน ดานยอยที่ 1 การแบงปน มีแบบตรวจสอบรายการ 6 ขอ คําถาม ดานยอยที่ 2 การทําตามคําแนะนํา มีแบบตรวจสอบ รายการ 4 ขอคําถาม

1.2 แบบเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็ก ออทิสติก มีลักษณะเปนแผนการจัดกิจกรรมครอบคลุม กิจกรรม ซึ่งมี ทักษะทางสังคม 3 ดาน รวม 64 รายละเอียดดังนี้ ทักษะทางสังคมดานที่ 1 การควบคุมตนเอง แยกเปน ทักษะยอยที่ 1 การรอคอย มี 11 กิจกรรม ทักษะ ยอยที่ 2 การปฏิบัติตามกติกาที่กําหนด มี 11 กิจกรรม ทักษะทางสังคมดานที่ 2 การสื่อความหมายกับ บุคคลอื่น แยกเปนทักษะยอยที่ 1 การสบตา มี 4 กิจกรรม ทักษะยอยที่ 2 การเลียนแบบ มี 4 กิจกรรม ทักษะยอยที่ 3 การแสดงความสนใจผูอื่น มี 16 กิจกรรม ทักษะทางสังคมดานที่ 3 การทํางานรวมกับ บุ ค คลอื่ น แยกเป น ทั ก ษะย อ ยที่ 1 การแบ ง ป น มี 9 กิ จ กรรม ทั ก ษะย อ ยที่ 2 การทํา ตามคํา แนะนํา มี 9 กิจกรรม 1.3 ประเมิน ทัก ษะทางสัง คมสํา หรับ เด็ก ออทิสติก มีลักษณะเปนแบบสังเกตและบันทึกพฤติกรรม สําหรับเด็กออทิสติกแบบชวงเวลาของการเกิดพฤติกรรม (Interval Recording) เปนแผนตารางสังเกตและบันทึก พฤติกรรม (Interval Scoring Sheet) โดยกําหนดการสังเกต และบั นทึ กพฤติ กรรม ครั้ งละ 10 นาที แบ งเป น 10 ชวงเวลาๆ ละ 1 นาที ใชกําหนดการสังเกตและบันทึก พฤติกรรมที่มีเนื้อ หาสอดคลอ งกับ การเสริมสรา งทาง สังคมสําหรับเด็กออทิสติก 2. ประสิทธิภาพของแบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะ ทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก จากการศึกษาพบวา แบบฝกนี้มีความเหมาะสมอยูในระดับดีมากโดย 2.1 แบบตรวจสอบทักษะทางสังคมสําหรับเด็ก ออทิสติกมี่คาความเที่ยงตรงเชิงพินิจเทากับ1.00 2.2 เด็กออทิสติกที่ไดรับการเสริมสรางทักษะ ทางสังคม 3 ดาน มีทักษะทางสังคมสูงขึ้น ABTRACT A Program Development to Create a Training Model for Enhance Social Skills of Children with Autism. The major purpose of this study was to develop a package for training


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 social skills for autistic children. The research procedure was devised into 3 stages as follows Stage 1. Develop a social skill checklists for autistic children. Stage 2. Develop a social skill assessment for autistic children. Stage 3. Develop a social skill training package for autistic children. The sample consisted of 6 autistic children, whose social skills were inadequate in the areas of self control, communication with others, and working cooperatively form schoolchildren in grade 1, 1st semester of the Academic Year 2006, form Wat Somanas School, Bangkok Metropolis, Ministry of Education. Three instruments were employed in the study, namely, Social Skill Checklist, Social Skill Assessment, and Social Skill Training Package. The Multiple Baseline Design of the Single Subject Design, A-B-A, was utilized in this research. The findings were as followed: 1. A Social Skill Training Package was created and developed in accordance with the specified criteria. This was developed in three stages : The social skills of the autistic children were screened using the Social Skill Checklists, 2. The Social Skill Training Package was developed and applied to the autistic children, and 3 The social skills of the autistic children were assessed using the Social Skill Assessment Forms. The above 3 instruments were reviewed by the expert and, as a result yielded acceptable face validity. The brief description of the research development was as follows: 1.1 The Social Skill Checklist consisted of 31 dichotomous items, devising in 3 area including 1. Self – Control, 2. Communication and Working with Others. 3. The Self Control was devised in to 2 sub-areas, namely, Waiting consisting of 6 items, and Following Rules covering 7 items, Communication comprising 3 sub-areas, including – EyeContact covering 5 items, Imitation – 3 Items, Showing Interest in Others – 5 items. Working with Others was divided into 2 sub-

33

areas; Sharing which consisted of 6 items and Following Instruction – 4 items 1.2 The Social Skill Training Package consisted of 64 social skill activities covering the above 3 areas : 11 activities for Waiting and also 11 items for Following Rules – Self – Control ; 4 activities for eye – contact , 4 activities for Imitation and 16 activities for Sharing and 9 activities for Following Instruction-Working Others. 1.3 The Social Skill Assessment applied the interval recording in the observation and the recording of the behaviors of the autistic children which were recorded in the interval scoring sheet. The behaviors were recorded in accordance with the social skills being trained. 2. The efficiency of the Social Skill Training Package was ascertained at the “very high“ level. 2.1 The Social Skill Assessment reached 1.00 of face validity. 2.2 The social skills of autistic children learned through the Social Skill Training Package improved significantly. บทนํา การศึกษาเปนกระบวนการสําคัญในการ พัฒนาประเทศใหมีคุณภาพ หากคนสวนใหญในประเทศ มี คุ ณ ภาพแล ว ย อ มส ง ผลต อ การพั ฒ นาประเทศให เจริญกาวหนาในที่สุด และจากกระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลง ไปอยางรวดเร็ว รัฐตระหนักถึงความสําคัญในการพัฒนา บุ ค ลากรของชาติ ใ นทุ ก ๆด า นด ว ยการวางรากฐาน การศึ กษาให มั่ นคง รั ฐจะต องพั ฒนาคนให พร อมที่ จะ เผชิ ญกั บวิ ถี ชี วิ ตและให เอื้ อต อการพั ฒนาประเทศโดย ส ว นรวมในอนาคต สั ง คมป จ จุ บั น จึ ง เร ง การพั ฒ นา คุ ณ ภาพของคนทุ ก คนโดยให ค วามสํ า คั ญ ต อ การจั ด การศึกษาเพื่อสงเสริมใหทุกคนไดพัฒนาตามศักยภาพของ ตนเองอยางเต็มที่ สามารถอยูรวมกันในสังคมไดอยาง ปกติสุข


34

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาไทยพุทธศักราช 2540 มาตรา 43 บัญญัติไววา" บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้น พื้นฐานไมนอยกวา 12 ป ที่รัฐตองจัดการใหอยางทั่วถึงและมี คุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย " จึงเกิดการปฏิรูปการศึกษาและมีการ ตราพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2452 อันเปน กฎหมายแม บทในการบริ หารและจั ดการศึ กษาให สอดคล องกั บ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการแหงศึกษา ชาติฉบับดังกลาวไดกําหนดใหรัฐตองจัดการศึกษาใหกับคนในชาติ ทุกคนทุกกลุมไมเวนเด็กพิการหรือเด็กดอยโอกาส และระบุไวชัดเจน ในหมวด 2 สิทธิหนาที่ทางการศึกษา มาตรา 10 วรรค 2 วา "การ จัดการศึ กษาสํ าหรับบุคคลซึ่ งมีความบกพร องทางรางกาย จิตใจ สติ ป ญญา อารมณ สั งคม การเรี ยนรู หรื อมี ร างกายพิ การ หรื อ ทุพพลภาพ หรือบุคคลซึ่งไมสามารถพึ่งตนเองไดหรือ ไมมีผูดูแลหรือ ดอยโอกาสตองจัดใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิและโอกาสไดรับการศึกษา ขั้นพื้นฐานเปนพิเศษ วรรค 3 "การจัดการศึกษาสําหรับคนพิการใหจัด ตั้งแตแรกเกิ ดหรือแรกพบความพิ การโดยไมเสียคาใชจายและให บุคคลดังกลาวมีสิทธิไดรับสิ่งอํานวยความสะดวก สื่อ บริการ และ ความช วยเหลื ออื่ นใดทางการศึ กษาตามหลั กเกณฑ และวิ ธี การที่ กําหนดในกฎกระทรวง" จากการที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาไทย พุทธศักราช 2540 เปดโอกาสทางการศึกษาใหแกทุกคนในชาติ ปรากฏว าเด็กที่ มีความตองการพิเศษมีโอกาสเขาสู ระบบโรงเรี ยน จํานวนมากขึ้น จํานวนเด็กที่มีความตองการพิเศษที่เขาสูระบบโรงเรียน มากขึ้นเหลานี้ พบวา เด็กออทิสติกถูกสงเขาโรงเรียนมากขึ้นดวย เด็ก ออทิสติกมีเพิ่มมากขึ้นประมาณรอยละ 3 ของเด็กพิเศษ (ผดุง อารยะ วิญู. 2546 : 12) เปาหมายสูงสุดของการจัดการศึกษาใหกับเด็ก ออทิสติก คือการสงเด็กเขาสูหองเรียนปกติหรือระบบเรียนรวมใหมาก ที่สุดโดยมีความเชื่อพื้นฐานวา เด็กออทิสติกมีความเหมือนเด็กปกติ มากกวาความแตกตาง (ดารณี อุทัยรัตนกิจ. 2545 : 29) มีความเห็น วา การใหเด็กอทิสติกเรียนรวมกับเด็กปกติเปนการ บูรณาการทั้ง ทางดานสังคมและ การเรียนเปนการเปดโอกาสใหเด็กปกติและ เด็ก ออทิสติกจะไดเรียนรูซึ่งกันและกัน เด็กออทิสติกเปนเด็กที่มีความตองการพิเศษกลุมหนึ่งที่ มีความบกพรองของพัฒนาการหลายดานไดแก ความบกพรองของ ทักษะทางสังคม การสื่อสาร จินตนาการ และการแสดงพฤติกรรม

(ดารณี อุทัยรัตนกิจ. 2545 : 29) เด็กออทิสติกขาดความ เข าใจกฎเกณฑ ทางสั งคม การสร างปฏิ สั มพั นธ ไม เป น ธรรมชาติ มีพฤติกรรมทางสังคมไมสมวัย ไมเปนที่ยอมรับ ของเพื่อนและบุคคลทั่วไป (เพ็ญแข ลิ่มศิลา. 2545 : 27) ทักษะทางสังคมเปนทักษะและมีความสําคัญตอมนุษยใน การดํารงชีพและการอยูรวมกันของคนในสังคมทุกระดับ ตองมีการติดตอสัมพันธกันโดยอาศัยทักษะทางสังคม(ศรี กัลยา พึ่งแสงสี. 2539 : 28) ทักษะทางสังคมมี ความสําคัญตอพัฒนาการทางสังคมของเด็กมากและ ส ง ผลต อ ตั ว เด็ ก ในทุ ก ๆด า น ทั้ ง ทางด านจิ ตใจ สั งคม ทักษะทางสังคมมีความสําคัญเพราะเปนทักษะพื้นฐานที่ จําเปน และมีความสําคัญตอมนุษยที่จะดํารงชีวิตและทํา ให การทํ างานร วมกั บผู อื่ นในสั งคมได อย างมี ความสุ ข ปรับตัวเขากับผูอื่น เด็กออทิสติกมีปญหาพัฒนาการ ทางดานสังคมในลักษณะมีปฎิสัมพันธที่ไมเหมาะสมกับ บุคคลอื่นหรือขาดทักษะทางสังคม สงผลใหเด็กออทิสติก ขาดเพื่อน มีปญหาในการการปรับตัว การทํางานรวมกับ บุคคลอื่นๆ (Teplin. 1996: 52) ; (Dalton. 2000 : 45) ; (Greene. 2001 :12) เด็กทั่วไปจะเรียนรูทักษะทางสังคม ตางๆ จากการสอน การฟง การสังเกตสิ่งตางๆ รอบตัวอยู ทุกวัน (วินัดดา ปยะศิลป. 2537: 45) แตเด็กออทิสติกไม สามารถทําสิ่งเหลานี้ได จึงจําเปนจะตองชวยเหลือพัฒนา ความเขาใจทางสังคมใหแกเด็กออทิสติก(ผดุง อารยะวิญู. 2542 : 162) เพื่อที่จะชวยใหเด็กสามารถดํารง ชีวิตประจําวันไดอยางมีความสุข ดวยเหตุผลตางๆ ที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยจึง สนใจที่จะศึกษาการพัฒนารูปแบบการฝกเพื่อเสริมสราง ทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติกโดยการใชทฤษฎีทาง จิตใจหลักการอานจิตใจเปนฐานในการคิดกิจกรรมการเลน และเกมเพื่ อฝ กทั กษะทางสั งคมด านการรั บรู และเข าใจ อารมณบุคคลอื่น และใชแนวคิดวิธีการสอนโดยใชเรื่องราว ทางสังคมมาเปนฐานในการคิดกิจกรรมการเลนและเกมใน การฝ กเพื่ อพั ฒ นาทั ก ษะทางสั ง คมด า นการควบคุ ม ตนเอง การสื่อความหมายทางสังคมกับบุคคลอื่น การทํางาน รวมกับบุคคลอื่น


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 จุดมุงหมายของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อ 1. สรางแบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับ เด็กออทิสติกที่กําลังเรียนอยูในชวงชั้นที่ 1 ซึ่งมีปญหาทักษะทาง สังคมกับบุคคลอื่นดังนี้ 1.1 สรางแบบตรวจสอบทักษะทางสังคมสําหรับเด็ก ออทิสติก ดานการควบคุมตนเอง การสื่อความหมายกับบุคคลอื่น และการทํางานรวมกับบุคคลอื่น 1.2 สรางแบบประเมินทักษะทางสังคมสําหรับเด็ก ออทิสติก ดานการควบคุมตนเองการสื่อความหมายกับบุคคลอื่น และ การทํางานรวมกับบุคคลอื่น 1.3 สรางแบบเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็ก ออทิสติก ดานการควบคุมตนเอง การสื่อความหมายกับบุคคลอื่น และ การทํางานรวมกับบุคคลอื่น 2. ประเมินประสิทธิภาพของแบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะ ทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก ดังนี้ 2.1 ประเมินทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก ดานการ ควบคุมตนเอง การสื่อความหมายกับบุคคลอื่น และการทํางาน รวมกับบุคคลอื่น โดยการสังเกตและบันทึกพฤติกรรม กอนขณะทํา การ และหลังทําการทดลองใชแบบเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับ เด็กออทิสติก 2.2 ประเมินผลแบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับ เด็กออทิสติก สมมติฐานในการวิจัย 1. แบบตรวจสอบทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติกมีคา ความเชื่อมั่นไมต่ํากวา 0.80 2. ประสิทธิภาพของแบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคม สําหรับเด็กออทิสติก อยูในระดับเหมาะสมดี 2.1 เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกทักษะทางสังคม ดวย แบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก ดานการ ควบคุมตนเอง มีทักษะทางสังคมสูงกวากอนไดรับการฝก 2.2 เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกทักษะทางสังคม ดวยแบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก ดานการสื่อความหมายกับ บุคคลอื่น มีทักษะทางสังคมสูง กวา กอนไดรับ การฝก

35

2.3 เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกทักษะทางสังคม ดวยแบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็ก ออทิสติก ดานการทํางานรวมกับบุคคลอื่น มีทักษะทาง สังคมสูงกวากอนไดรับการฝก วิธีดําเนินการวิจัย ประเภทของงานวิ จั ย ใช รู ป แบบการวิ จั ย ทาง การศึ กษาพิ เศษการทดลองกลุ มตั วอย างเดี่ ยว(Single Subject Design) แบบหลายเสนฐานระหวางพฤติกรรม (Multiple Baseline Across Behaviors) แบบ A-B-A ประชากรกลุมตัวอยาง 1. ประชากรที่ศึกษาคือ เด็กออทิสติกที่มีปญหา ทักษะทางสังคมที่กําลังเรียนอยูในระดับชวงชั้นที่ 1 2. กลุมตัวอยางที่ศึกษาคือ เด็กออทิสติก ซึ่งเรียน อยูระดับชวงชั้นที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนวัดโสมนัส สํานักงานการศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ ที่มีปญหาทักษะทางสังคมใน การสร า งปฏิ สั ม พั น ธ ท างสั ง คมกั บ บุ ค คลอื่ น ด า น การควบคุมตนเอง การสื่อความหมายกับบุคคลอื่ น ก า ร ทํ า งานร ว มกั บ บุ ค คลอื่ น เลื อ กโดยวิ ธี เ จาะจง (Purposive Sampling) จํานวน 6 คน ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน คือ แบบฝกเพื่อ เสริ ม สร า งทั ก ษะทางสั ง คมสํา หรั บ เด็ ก ออทิ ส ติ ก ตั ว แปรตาม คือ ทักษะทางสังคมของเด็กออทิสติก 3 ดาน ไดแก การควบคุมตนเอง การสื่อความหมายกับ บุคคลอื่น การทํางานรวมกับบุคคลอื่น เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ1.แบบตรวจสอบ ทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก ซี่งเปนแบบตรวจสอบ รายการ 2 ตั ว เลื อ กใช ท ดสอบเด็ ก ออทิ ส ติ ก เป น รายบุคคล มีเนื้อหาครอบคลุมทักษะทางสังคมพื้นฐาน 3 ดาน 31 ขอคําถาม 2. แบบเสริมสรางทักษะทางสังคม สําหรับเด็กออทิสติก ซึ่งเปนแผนการจัดกิจกรรมครอบคลุม ทักษะทางสังคมพื้นฐาน 3 ดานรวม 64 กิจกรรม 3. แบบ ประเมิ นทั กษะทางสั งคมสํ าหรั บเด็ กออทิ สติ ก เป นแบบ สั งเกตและบั นทึ กพฤติ กรรมสํ าหรั บเด็ กออทิ สติ กแบบ ชวงเวลาของการเกิดพฤติกรรม(Interval Recording)


36

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

การเก็บรวบรวมขอมูล ระหวางเดือนมิถุนายน – กันยายน 2549 ทําการตรวจสอบนักเรียนจํานวน 6 คน โดยใชแบบตรวจสอบ ทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติกที่ผูวิจัยสรางขึ้น เพื่อเปนกลุม ตัวอยาง ในการเสริมสรางทักษะทางสังคมพื้นฐาน ดานการควบคุม ตนเองจํานวน 2 คน ดานการสื่อความหมายกับบุคคลอื่นจํานวน 2 คน และดานการทํางานรวมกับบุคคลอื่นจํานวน 2 คน การทดลองนี้ ใชการ วิจัยทางการศึกษาพิเศษในรูปแบบกลุมตัวอยางเดี่ยว ( Single Subject Design ) ประเภท Multiple Baseline AcrossBehaviors โดยกลุม ตัวอยางที่ไดคัดเลือกแบบเจาะจง จะไดรับการเสริมสรางทักษะทาง สังคมดวยชุดฝกกิจกรรมที่ผูวิจัยสรางขึ้นครั้งละ 30 นาที ในดานการ ควบคุมตนเอง 22 ครั้ง ดานการสื่อความหมายกับบุคคลอื่น 24 ครั้ง และดานการทํางานรวมกับบุคคลอื่น 18 ครั้ง สวนการประเมินทักษะ ทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติกนั้น นักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง จะถูก สังเกตและบันทึกพฤติกรรมทักษะทางสังคมพื้นฐานเปาหมายครั้งละ 10 นาทีตอ 1 คน โดยกําหนดการสังเกตและบันทึกพฤติกรรม เปน ความถี่

เสนฐาน

การรอคอย

2 0

การปฏิบัติตามกติกาทีก่ ําหนด

ดานที่ 1 การควบคุมตนเอง

6 4

ผลการวิจัย พบวานักเรียนทั้ง 6 คนที่ไดรับ การเสริมสรางทักษะทางสังคมมีทักษะทางสังคมสูงขึ้น

การจัดกระทํา

x 1=4.32 x 2=1.18

8

3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 (เสนฐาน) ระยะที่ 2 (การจัดกระทํา) และ ระยะที่ 3 (ติดตามผล) นักเรียนคนที่ 1,2 ไดรับการตรวจสอบ ทักษะทางสังคมพื้นฐานดานการควบคุมตนเอง นักเรียนคน ที่ 3,4 ไดรับการตรวจสอบทักษะทางสังคมพื้นฐานดานการ สื่อความหมายกับบุคคลอื่น นักเรียนคนที่ 5,6 ไดรับการ ตรวจสอบทักษะทางสังคมพื้นฐาน ดานการสื่อทํางานรวมกับ บุคคลอื่น การวิ เ คราะห ข อ มู ล นํ า ผลการสั ง เกตและ บันทึกพฤติกรรมสําหรับเด็กออทิสติก ของนักเรียนแตละ คนมาหาคาความสอดคลองของผูสังเกตทั้ง 2 คน นํา คาที่มีความสอดคลองเกิน รอยละ 80 แสดงผลโดย กราฟเสนตรง

หยุดการจัดกระทํา

=1.4 x 1=4 x 2 4

x 1=0

นร.คนที่ 1 นร.คนที่ 2

x 2=0 ครั้งที่

8

x 1=4.09

7

x 1=4. x 2=1.4

6 5 4

8

x 2=1.1

x 1=0

3 2 1 0

1=0 Xx1=0

ครั้งที่

5

10

15

20

25

คาความถี่ และคาเฉลี่ยการเกิดพฤติกรรมทักษะทางสังคมเปาหมายของนักเรียนคนที่ 1 และ2 ซึ่งหลังจากการเสริมสรางทักษะทางสังคมดานการควบคุมตนเองแลวมีทักษะทางสังคมฯมีสูงขึ้น


37

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ความถี่

การสบตาและการเลียนแบบ

การจัดกระทํา

หยุดการจัดกระทํา

x 31.88

10 8

x 4=1.

6

x 4=5.

x 4=8.

88

2

นร.คนที่ 3 นร.คนที่ 4

8

4

x 3=0

2 0

การแสดงความสนใจผูอ ื่น

ดานที่ 2 การlสื่อความหมายกับบุคคลอื่น

เสนฐาน

x 3=3.

ครั้งที่

10

x 4=7

x 4=5.94

8 6

x 4=0.8

4 2

x 3=0

8

x 3=5.

x 3=3.9

0

5

10

15

ครั้งที่

2

3

30

25

20

คาความถี่ และคาเฉลี่ยการเกิดพฤติกรรมทักษะทางสังคมเปาหมายของนักเรียนคนที่ 3และ4 ซึ่งหลังจากการเสริมสรางทักษะทางสังคมดานการสื่อความหมายกับบุคคลอื่นแลวมีทักษะทางสังคมดานการสื่อความหมาย กับบุคคลอื่นมีสูงขึ้น ความถี่

การจัดกระทํา

เสนฐาน

x 5=2.33

7

หยุดการจัดกระทํา

x 6=5.8

6

การแบงปน

4

x 5=0

x 6=3.3

นร.คนที่ 5

3

นร.คนที่ 6

3 2 1 0

x

6=0

x 5=4. ครั้งที่

x 6=5. การทําตามคําแนะนํา

ดานที่ 3 การทํางานรวมกับบุคคลอื่น

5

10

89

8

x 5=2.

2

x 53.4

4

0

6 4

x 6=6.

x 6=0 x 5=0

ครั้งที่

0

5

10

15

20

คาความถี่ และคาเฉลี่ยการเกิดพฤติกรรมทักษะทางสังคมเปาหมายของนักเรียนคนที่ 5 และ6 ซึ่งหลังจากการเสริมสรางทักษะ ทางสังคมดานการทํางานรวมกับบุคคลอื่นแลวมีทักษะทางสังคม ดานการทํางานรวมกับบุคคลอื่นมีสูงขึ้น


38

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

การอภิปรายผลการวิจัย การประเมินผลแบบฝกเพื่อเสริมสราง ทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก จากการศึกษา พบวา 2.1 แบบตรวจสอบทักษะทางสัง คมสํา หรับ เด็ก ออทิ สติก มีคาความเที่ยงตรงเชิงพินิจ1.00 ทุกดาน 2.2 แบบประเมินทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก ซึ่งเปนแบบสังเกตและบึนทึกพฤติกรรมแบบชวงเวลาของการเกิด พฤติกรรม ( Interval Recording ) ในเวลา 10 นาที แบงเปน 10 ชวงๆละ 1 นาที และอุปกรณเสริมอื่นๆ มีความเหมาะสมใชบันทึกการสังเกต พฤติกรรมทักษะทางสังคม 2.3 แบบเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก ซึ่ง เปนแผนการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับ เด็กออทิสติก สามารถเสริมสรางทักษะทางสังคมใหแกเด็กออทิสติกทั้ง 3 ดานสูงขึ้นดังนี้ 2.1 นักเรียนคนที่ 1 และ 2 ที่ไดรับการเสริมสราง ทักษะทางสังคม ดานการควบคุมตนเอง เรื่องการรอคอย และการ ปฏิบัติตามกติกาที่กําหนด มีทักษะทางสังคม สูงขึ้น 2.2 นักเรียนคนที่ 3 และ 4 ที่ไดรับการเสริมสรางทักษะ ทางสั ง คมด า นการสื่ อ สารกั บ บุ ค คลอื่ น เรื่ อ ง การสบตา การ เลียนแบบ และการแสดงความสนใจผูอื่น มีทักษะทางสังคมสูงขึ้น 2.3 นักเรียนคนที่ 5 และ 6 ที่ไดรับการเสริมสรางทักษะ ทางสังคมดานการทํางานรวมกับบุคคลอื่น เรื่องการแบงปน และการ ทําตามคําแนะนํา มีทักษะทางสังคมสูงขึ้น ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. แบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิ สติก นี้ประกอบดวย 3 สวนคือ 1. แบบตรวจสอบทักษะทางสังคม สําหรับเด็กออทิสติก 2. แบบประเมินทักษะทางสังคมสําหรับเด็ก ออทิสติก 3.แบบเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก มี ความเหมาะสมที่หนวยงานทางการศึกษาโดยเฉพาะดานการศึกษา พิเศษ จะกําหนดใหทําการตรวจสอบปญหาที่แทจริงของเด็กแตละคน กอนวางแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) เพื่อจะไดจัดทํา IEP ไดเหมาะและมีประสิทธิผลเปนรายบุคคล 2. จากผลจากการเสริมสรางทักษะในครั้งนี้ พบวานักเรียน ที่เปนกลุมตัวอยางที่ไดรับการเอาใจใสจากผูปกครองอยางใกลชิดให ความรวมมือติดตามความกาวหนาของบุตรหลานจากผูวิจัยอยาง ใกลชิด ผลการทดลองพัฒนาไดดีกวา ซึ่งจะเปนแนวคิดและแนวทาง สําหรับผูบริหาร ผูรับผิดชอบงานแนะแนว และอาจารยที่รับผิดชอบใน

การวางแผนเสนอแนะแนวทาง สรางความรวมมือเอาใจใส จากผูปกครองเพื่อพัฒนาบุตรหลานไดเต็มศักยภาพตอไป ขอเสนอแนะในการนําไปใช 1. แบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับ เด็ กออทิ สติ กนี้ เป นการวิ จั ยที่ใชการวิจั ยทางการศึกษา พิเศษ แบบการวิจัยกลุมตัวอยางเดี่ยว (Single Subject Design) รูปแบบหลายเสนฐานระหวางพฤติกรรม (Multiple Baseline Design Across Behavior) ซึ่งเก็บขอมูลจากการ สังเกตและบันทึกพฤติกรรม ตองการขอมูลที่มีความเชื่อมั่น ผูที่จะนําแบบฝกเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็ก ออทิสติกนี้ไปใช ควรจะไดศึกษาทําความเขาใจและทดลอง ฝ กการสั งเกตและบั นทึ กพฤติ กรรมให มี ความรู ความ ชํานาญ 2. เด็ กออทิ สติ กมี ความแตกต างกั นอย าง หลากหลาย การเลือกใชกิจกรรมสื่อเพื่อเสริมสรางทักษะ ทางสังคมสําหรับเด็กแตละคน ผูวิจัยควรจะตองศึกษาวา กิ จกรรมและสื่ อในแต ละแผนการจั ดกิ จกรรมมี ความ เหมาะสมสอดคลองกับความชอบและมีพลังเสริมแรง ตอเด็กจริงๆ ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 1. ควรจะจัดทําแผนการจัดกิจกรรมเสริมสราง ทักษะทางสังคมดานการควบคุมตนเองการสื่อความหมาย กับบุคคลอื่น และการทํางานรวมกับบุคคลอื่น โดยใชสื่อ มัลติมีเดีย 2. ควรจะเสริ มสร างทั กษะทางการสื่ อ ความหมายให แก เด็ กออทิ สติ กโดยเฉพาะแผนการจั ด กิจกรรม Joint Attention เชน การชักชวนใหเพื่อนสนใจสิ่งที่ ตัวเองสนใจ การชักชวนใหเพื่อนเลน เปนตน และแผนการ จัดกิจกรรม Emotional Reciprocity ควรจะเพิ่มการ แลกเปลี่ยนทางอารมณ 3. ควรจะออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาความเข็ม ของการจัดกระทํา(ความถี่ที่เหมาะสมของจํานวนครั้งในการ จัดกิจกรรม)ที่เสริมสรางทักษะดานตางๆ สําหรับเด็กแตละ คน หรือ ออกแบบเปรียบเทียบผลการเสริมสรางทักษะฯ กับกลุมตัว อยา งที่มีลัก ษณะใกลเคี ยงกัน 2 กลุม เชน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

กลุม เด็ก ออทิสติกที่ขาดทักษะทางสังคม ลักษณะไมพูดที่มีอารมณ รุนแรง และกลุมเด็กออทิสติกที่ขาดทักษะทางสังคมลักษณะไมพูด อารมณดี 4. ควรจะนําเทคนิคและวิธีการอื่นที่สอดคลองกับลักษณะ การเรียนรูของ เด็กออทิสติก เชน บัตรพลัง (Power Card) มาเปนแนว ในการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมสําหรับเด็กออทิสติก

บรรณานุกรม ดารณี อุทัยรัตนกิจ.( 2545 ). “จะรูไดอยางไรวาเด็กเขาขายออทิซึ่ม", ในเอกสารประกอบการประชุม ปฏิบัติการ เรื่องครู หมอ พอแม : มิติการพัฒนาศักยภาพบุคคลออทิสติก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผดุง อารยะวิญู.(2542).การศึกษาสําหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษ. พิมพครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแวนแกว. เพ็ญแข ลิ่มศิลา. 2542). การรักษาออทิซึมเบื้องตนในโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมป: สมุทรปราการ ศรีกัลยา พึ่งแสง.(2539). การศึกษาพฤติกรรมของครูในการสงเสริมทักษะทางสังคมใหแกนักเรียน ชั้นประถมปที่ 6 โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา.คณะกรรมการ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต ( ประถมศึกษา ). กรุงเทพฯ : บันฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. Dalton, R., & Forman, M. A. ( 2000 ). “ Pervasive Developmental Disorder and Childhood Psychosis. in “ Nelson Textbook of Pediatrics. 16th ed.Edited by Philadelphia : WB Saunders Company. Greene, S. (2001). "Social Skill Intervention for Children with Autism and Asperger Disorder, " in Autism A Comprehensive Occupational Therapy Approach. Edited by Heather Miller – Kuhaneck. Bethesda : The American Occupational Therapy Association Teplin, S. W. (1999). ‘ Autism and Related Disorders, “ In Developmental - Behavioral Pediatrics. 3rd ed. Edited by Melvin D . Levine, William B. Carey and Allen C. Crocker. Philadelphia : W. B. Saunders. (online). Available. : http://www.chmed.com/aut. Retrieved April 12, 2003.

39


40

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

41

การพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน สําหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนมัธยมนาคนาวาอุปถัมภ THE DEVELOPMENT OF ACTIVITY PACKAGES ON DOMESTIC WASTE WATER FOR TTHAYOMSUKSA II STUDENTS AT MATTHAYOMNARKNARWAROUPATUMP SCHOOL Ö เวธกา หนูเพ็ชร 1 ดร.สนอง ทองปาน 2 อาจารยสมปอง ใจดีเฉย 2 บทคัดยอ การวิจัยในครั้งนี้มีความมุงหมาย 2 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชนสําหรับ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 ให มี คุ ณ ภาพในระดั บ ดี แ ละมี ประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 และ 2) เพื่อนําชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน ไปทดลอง สอนกับนักเรียน โดยศึกษาผลการเรียนรู ดังนี้ 2.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียน 2.2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรกอนและ หลังเรียน 2.3) ความพึงพอใจที่มีตอชุดกิจกรรม ในการทดลองใช ชุ ด กิ จ กรรมใช นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการ ศึกษา 2549 โรงเรียนมัธยม นาคนาวาอุปถัมภ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร จํานวน 35 คน เปนกลุมตัวอยาง ใชชุดกิจกรรม จํานวน 4 ชุด คือ คําสําคัญ : การพัฒนาชุดกิจกรรม; น้ําเสียในชุมชน; นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ; ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ; ความพึงพอใจ

นิสิตปริญญาโท กลุมการสอนสิ่งแวดลอม สาขาวิชาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2 อาจารยประจําสาขาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

1


42

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

1) น้ํามาจากไหนใครไดใครเสีย 2) ความลับสุดขอบฟาที่รอการพิสูจน 3) นักวิชาการแหงลุมน้ําบานปา 4) คืนความสดใสใหสายน้ํา ผลการวิจัยพบวา ชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน ที่พั ฒ นาขึ้ น มีคุ ณ ภาพอยู ใ นระดั บ ดีม ากและมี ป ระสิ ท ธิภ าพ 83.17/81.66 ซึ่งเปนไปตามเกณฑ 80/80 ผลการทดลองใชชุด กิ จ กรรม ด า นผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นและด า นทั ก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอน เรียนและความพึงพอใจตอชุดกิจกรรมอยูในระดับดีมาก ABTRACT The purposes of this research were: 1) to develop activity packages on Domestic Waste Water for matthayomsuksa II students to attain the index of 80/80 2) to try out the activity packages on the following learning outcome; 2.1) students  achievement 2.2) students  science process skills 2.3) students  satisfaction on the learning packages. Sample of the study comprised thirty – five students enrolled at Matthayomnarknarwaroupatump school during the second semester of the 2006 academic year. The activity packages on domestic waste water conservation covered 4 topics: 1) Where Is the Water From ? Who Gains And Who Loose. 2) Top Secrets Await for Solution. 3) The Pioneers of the Banpa Canal. and 4) Bring the Bright Day Back to the Canal. The results revealed that the development of activity packages attained the efficiency index of 83.17/81.66. The students  achievement and science process skills were higher after the experiment. The

satisfaction towards learning packages were at the higher level. Keywords : The Development of Activity Packages; domestic waste water ; matthayomsuksa II students ; science process skills ; satisfaction บทนํา การขยายตัวของชุมชน ไดกอใหเกิดปญหาการ เสื่ อ มคุ ณ ภาพของน้ํ า ในแหล ง น้ํ า ต า งๆ เนื่ อ งจากการ เพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรอยางรวดเร็วทําใหปริมาณการ ใชน้ําในกิจกรรมตางๆ เพิ่มขึ้น ปริมาณของเสียที่ปนมากับ น้ํ า ซึ่ ง จะต อ งกํ า จั ด มี จํ า นวนมากขึ้ น จึ ง ส ง ผลให น้ํ า จาก แหลงน้ําตางๆ เสื่อมโทรมลงเรื่อยๆ สาเหตุที่ทําใหน้ําเสีย ได แ ก น้ํ า เสี ย จากโรงงานอุ ต สาหกรรม น้ํ า เสี ย จาก การเกษตร น้ํ า เสี ย จากกองขยะ และน้ํ า เสี ย จากแหล ง ชุมชนชนิดตางๆ เพราะน้ําเหลานี้ถูกปลอยลงสูแหลงน้ํา โดยไมผานการบําบัด ทั้งนี้ปริมาณการใชน้ําของคนเฉลี่ย 200 ลิตรตอคนตอวันซึ่งจะถูกเปลี่ยนเปนน้ําเสียประมาณ 80 เปอรเซ็นตหรือประมาณ 160 ลิตรตอคนตอวัน (กรมควบคุมมลพิษ. 2548: 5) ปญหาความเสื่อมโทรมของแหลงน้ําและการ ขาดแคลนน้ําในการอุปโภคและบริโภค สาเหตุหนึ่งมาจาก การขาดความสํานึกในการดูแลรักษาทรัพยากรน้ําและขาด มาตรการควบคุมบุคคลที่ไรความสํานึกอยางไดผล ปญหา สิ่ ง แวดล อ มจึ ง ถื อ ได ว า เป น ป ญ หาทางสั ง คมที่ จ ะต อ ง หาทางช ว ยกั น แก ไ ขและธํ า รงรั ก ษาไว ซึ่ ง คุ ณ ภาพ สิ่งแวดลอม (วินัย วีระวัฒนานนท. 2532:17) ฉะนั้นการที่ สมาชิกในชุมชนขาดความรูความเขาใจในเรื่องนี้ จึงเปน สาเหตุ ข องป ญ หาสิ่ ง แวดล อ มที่ เ สื่ อ มโทรมลง จึ ง จําเปนตองแกไขปญหาโดยใหการศึกษา เรื่องน้ําเสียใน ชุ ม ชน เพื่ อ หาแนวทางในการแก ไ ขป ญ หาเหล า นั้ น ให กลับคืนมาและสามารถนําไปใชประโยชนได กระทรวงศึกษาธิการไดมีการปฏิรูปการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และครอบคลุม การปฏิรู ป 3 ดา นที่เกี่ ย วข อ งโดยตรงกั บ สถานศึกษา ซึ่งหัวใจของการปฏิรูปในครั้งนี้คือการสอนที่


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 เน น ผู เ รี ย นเป น สํา คั ญ (กรมวิ ช าการ. 2548:2) การพั ฒ นา การเรียนรูดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรสามารถกระทําไดหลายวิธี วิธีหนึ่งที่จะชวย ได คื อ การพั ฒ นาชุ ด กิ จ กรรมในการจั ด การเรี ย นรู เพื่ อ ให สอดคลองกับการปฏิรูปการศึกษาในยุคปจจุบันที่เนนผูเรียน เปน สํา คัญ โดยเปดโอกาสใหครูผูสอนเปนเพียงผู คอยชี้แนะ หรือ ที่ป รึก ษา คอยสรา งสถานการณก ระตุน ความสนใจของ ผูเรียน โดยที่นักเรียนจะเปนผูที่ศึกษาคนควาทดลองหาคําตอบ ดวยตนเอง จากสภาพการณดังกลาวผูวิจัยในฐานะผูที่ศึกษา และสนใจทางดานสิ่งแวดลอม จึงมีความสนใจที่จะพัฒนาชุด กิ จ กรรม เรื่ อ ง น้ํ า เสี ย ในชุ ม ชน เพื่ อ ใช เ ป น นวั ต กรรม (Innovation) ในการพั ฒ นาผลการเรี ย นรู ด า นผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และความ พึงพอใจตอชุดกิจกรรม เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงการ เรียนการสอนในกลุมสาระวิทยาศาสตรและดานสิ่งแวดลอม ของโรงเรียน ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1. เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน ให มีคุณภาพในระดับดี และมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. เพื่ อ นํ า ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง น้ํ า เสี ย ในชุ ม ชน ไป ทดลองสอนกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนมัธยม 1) นาคนาวาอุ ป ถั ม ภ โดยศึ ก ษาผลการเรี ย นรู ดั ง นี้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังเรียนดวยชุด กิจกรรม 2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียน กอนและหลังเรียนดวยชุดกิจกรรม และ 3) ความพึงพอใจของ นักเรียนหลังเรียนที่มีตอชุดกิจกรรม ความสําคัญของการศึกษาคนควา การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ จะไดชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสีย ในชุมชนซึ่งมีคุณภาพในระดับดีและมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 และมี ศั ก ยภาพในการพั ฒ นาผลการเรี ย นรู ด า น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ด า นทั ก ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและดานความพึงพอใจตอชุดกิจกรรม เรื่อง น้ํา เสียในชุมชน ผลการศึ ก ษาวิ จั ย จะเป น ประโยชน แ ก ค รู ผู ส อน สิ่งแวดลอมศึกษา กลุมสาระวิทยาศาสตร และกลุมสาระอื่นๆ

43

ที่จะนําไปปรับปรุงในการจัดกิจกรรมบูรณาการในการเรียน การสอน ตลอดจนหน ว ยงานที่เกี่ ย วข อ งนํา ไปพิจ ารณา ปรับปรุงกิจกรรมในการสอนเรื่องน้ําเสียที่เกิดจากชุมชน ขอบเขตของการศึกษาคนควา การศึกษาวิจัยในครั้งนี้แบงการดําเนินการเปน 2 ขั้นตอน แตละตอนมีขอบเขตดังนี้ ตอนที่ 1 การพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสีย ในชุมชนสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียน มัธยมนาคนาวาอุปถัมภ มีขอบเขตดังนี้ การพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชนที่ พัฒนาขึ้นมีหนวยการเรียนรู 4 หนวย คือ 1) น้ํามาจาก ไหนใครไดใครเสีย 2) ความลับสุดขอบฟาที่รอการพิสูจน 3) นักวิทยาศาสตรแหงลุมน้ําบานปา และ 4) คืนความ สดใสใหสายน้ํา ตอนที่ 2 การนําชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชนที่ พัฒนาแลวไปทดลองสอน ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการทดลอง ประชากรและกลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนมัธยมนาคนาวาอุปถัมภ เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 35 คน ซึ่งไดมาโดยวิธีการสุมแบบหลาย ขั้นตอน (Multi – stage Sampling) ตัวแปรที่ใชในการศึกษาคนควา 1. ตัวแปรอิสระ ไดแก การสอนโดยใชชุด กิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน 2. ตัวแปรตาม คือ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 2.3 ความพึงพอใจที่มีตอชุดกิจกรรม สมมติฐานที่ใชในการวิจัย 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการ สอน โดยใชชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกวากอนเรียน 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการ สอน โดยใชชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชนมีทักษะ กระบวนทางวิทยาศาสตรสูงกวากอนเรียน


44

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอน โดยใชชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชนมีความพึงพอใจตอชุด กิจกรรมเรื่อง น้ําเสียในชุมชนอยูในระดับพึงพอใจมากขึ้นไป วิธีดําเนินการวิจัย การศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ ง น้ํ า เสี ย ในชุ ม ชน มุ ง ศึ ก ษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และความพึงพอใจตอชุดกิจกรรมน้ําเสียในชุมชน ขั้นตอนการ วิจัยดังนี้ ขั้น ตอนที่ 1 การพัฒ นาและหาประสิท ธิภ าพชุด กิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน ขั้ น ตอนที่ 2 การนํ า ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ งน้ํ า เสี ย ใน ชุมชน ที่พัฒนาขึ้นไปทดลองสอน ในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยไดดําเนินการในแตละขั้นดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง น้ําเสียในชุมชน 1.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการสรางและ การพัฒนาชุดกิจกรรม 1.2 ศึกษาขอ มูลน้ําเสียในชุมชนริมคลอง บ า นป า เช น 1) สํา รวจลั ก ษณะน้ํา เสี ย ของคลองบ า นป า 2) ศึ ก ษาค น คว า เอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ ง และ3) กําหนดเนื้อหาและกิจกรรม 1.3 ยกรางชุดกิจกรรมเรื่อง น้ําเสียในชุมชน 1.4 ใหผูทรงวุฒิ 5 ทาน พิจารณา คุณสมบัติของของชุดกิจกรรม 1.5 ทดลองใช เ บื้ อ งต น กั บ นั ก เรี ย น 3 ขั้น ตอน คือ 1) การทดลองสอนรายบุ ค คล 2) การหา ประสิทธิภาพกลุมยอย และ 3) การหาประสิทธิภาพกลุมใหญ 1.6 นําชุดกิจกรรมที่ผานการหา ประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 แลวไปทดลองใชกับนักเรียนที่ เปนกลุมตัวอยาง ขั้นตอนที่ 2 การนําชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียใน ชุมชน ที่พัฒนาแลวไปทดลองใชสอน นําชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน ที่พัฒนาขึ้นซึ่ง มีคุณสมบัติในระดับดี และผานการหาประสิทธิภาพตาม เกณฑ 80/80 ไปทดลองสอนนักเรียนกลุมตัวอยาง จํานวน 35

คน เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร และความพึงพอใจตอชุดกิจกรรม 2.1 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 2.1.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 2.1.2 แบบทดสอบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร 2.1.3 แบบวัดความพึงพอใจตอชุด กิจกรรมที่พัฒนาขึ้นเรื่อง น้ําเสียในชุมชน ผลจากการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญไดคาดัชนี ความสอดคลอง (IOC) ดังนี้ 1. แบบประเมินคุณภาพชุดฝกอบรมมีคา IOC ทั้งฉบับ เทากับ 0.91 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มี คา IOC ทั้งฉบับ เทากับ 0.91 3. แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร มีคา IOCทั้งฉบับเทากับ 0.94 4. แบบวัดความพึงพอใจ มีคา IOC ทั้งฉบับ เทากับ 0.89 ผู วิ จั ย ไ ด ป รั บ แ ก ไ ข ต า ม ผู เ ชี่ ย ว ช า ญ ที่ ใ ห ขอเสนอแนะ ดังนี้ 1.ปรั บ ตั ว ลวงในแบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนและแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรใหเหมาะสม 2. ปรับแกไขขอความถอยคําในแบบวัดความพึง พอใจใหถูกตองและปรับชุดกิจกรรมใหมีความเหมาะสม กับเวลา นํ า เครื่ อ งมื อ ที่ ผ า นการพั ฒ นาทั้ ง 3 ชุ ด ไป ทดลองใช กั บ นั ก เรี ย นที่ ไ ม ใ ช ก ลุ ม ตั ว อย า ง แล ว นํ า มา วิเคราะหหาคุณภาพของเครื่องมือ 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 40 ขอมีคาความยากงาย (P) ระหวาง 0.43 -0.80 คาอํานาจ จําแนก (r) ระหวาง 0.20 – 0.57 และคาความเชื่อมั่น ทั้ง ฉบับมีคา 0.8634 2. แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 20 ขอ มีคาความยากงาย (P) 0.35 – 0.80 คาอํานาจ


45

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 จําแนก (r) ระหวาง 0.20 -0.65 และคาความเชื่อมั่น KR-20 ทั้ง ฉบับ มีคา 0.6774 3. แบบวั ดความพึงพอใจตอ ชุดกิจกรรม เรื่อ ง น้ํา เสียในชุมชน มีคาความเชื่อมั่นโดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา ตาราง 1 แบบแผนการทดลอง ตัวแปรตาม แบบแผนการทดลอง 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน 2.ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร 3.ความพึงพอใจตอชุด กิจกรรม

One Group PretestPosttest design One Group PretestPosttest design One- Group Posttest –Only design

(α - coefficient) ของครอนบัค มีคาเทากับ 0.740 กําหนดแบบแผนการทดลอง (องอาจ นัยพัฒน. 548: 270)

การทดสอบ

กอน 17 ม.ค.2550

หมายเหตุ

หลัง 19 ก.พ. 2550

ใชขอสอบฉบับ เดียวกัน 17 ม.ค.2550 19 ก.พ. 2550 ใชขอสอบฉบับ เดียวกัน 19 ก.พ. 2550 ใชขอสอบวัดหลัง การสอบครั้ง เดียว 2.3 ดําเนินการทดลอง ทดสอบนักเรียน แลวบันทึกคะแนนเปนคะแนนทดสอบ ทดลองสอนกระทําในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา กอนเรียน (Pre–test ) 2549 ในชั่วโมงวิทยาศาสตรจํานวน 4 สัปดาหๆ ละ 2 วันๆ ละ 4. ดําเนินการสอนโดยจํานวน 16 ชั่วโมง และ 2 ชั่วโมง ติดตอกัน รวม 16 ชั่วโมง ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแตละหนวยการเรียนรู 2.4 การดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล เมื่อจบการเรียนการสอนแตละหนวย มีขั้นตอนดังนี้ 5. เมื่อ นักเรียนไดรับการสอนเรียบร อยแลวให 1. ติดตอผูอํานวยการโรงเรียนมัธยมนาคนาวา นักเรียนทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบ อุปถัมภ ประเมินวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและแบบ 2. ชี้แจงใหนักเรียนที่เปนกลุมทดลองทราบ วัดความพึงพอใจ โดยใชขอสอบชุดเดียวกับที่ใชทดสอบ กอ นเรี ยนและบั น ทึ ก ผลใหเ ป น คะแนนหลั ง เรี ย น (Post3. นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ test) แบบประเมินวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ไป ตาราง 2 รายละเอียดของการใชชุดกิจกรรม เรื่องน้ําเสียในชุมชน ครั้งที่ จํานวน กิจกรรม การประเมินผลเพื่อหาคา ชั่วโมง ประสิทธิภาพของ 80 ตัวแรก 1 4 1. น้ํามาจากไหนใครไดใครเสีย การตอบคําถามทายกิจกรรมที่ 1 2

4

2. ความลับสุดขอบฟาที่รอการพิสูจน

การตอบคําถามทายกิจกรรมที่ 2

3

4

3. นักวิชาการแหงลุมน้ําบานปา

การตอบคําถามทายกิจกรรมที่ 3

4

4

4. คืนความสดใสใหสายน้ํา

การตอบคําถามทายกิจกรรมที่ 4

2.5 การวิเคราะหผลการทดลองสอน (องอาจ นัยพัฒน. 2548: 203-207)


46

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ตาราง 3 การวิเคราะหผลการทดลองสอน ตัวแปรตาม 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 3. ความพึงพอใจตอชุดกิจกรรม

วิธีวิเคราะหขอมูล - t-test for Dependent Sample - t-test for Dependent Sample - t-test one group

การวิเคราะหผลการวิจัย 2.3 ความพึงพอใจ หาดัชนีความสอดคลอง ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูลตามขั้นตอนดังตอไปนี้ (IOC) และความเชื่อมั่น 1. ผลการพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน โดยขอมูลขางตนนําไปวิเคราะหขอมูลดวย 1.1 การหาคุณภาพในระดับดี คอมพิวเตอรโปรแกรม Microsoft Excel 1.2 การหาประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 ผลการวิเคราะหขอมูล 2. ผลการทดลองสอน 1. การพัฒนาชุดกิจกรรม ใหมี 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หาดัชนีความ สอดคลอง (IOC) วิเคราะหความยากงาย (p) อํานาจจําแนก ประสิทธิภาพเปนไปตามเกณฑ 80/80 1.1 การประเมินคุณภาพ ชุดกิจกรรม (r) และ หาความเชื่อมั่น โดยใชสูตร K-R 20 ของคูเดอร- ริ ชารดสัน 2.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร หา หาดัชนี เรื่องน้ําเสียในชุมชน โดยผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 ทาน ความสอดคลอง (IOC) วิเคราะหความยากงาย (p) อํานาจ ประเมินคุณภาพปรากฏผล ดังตาราง 4 จํา แนก (r) และหาความเชื่อ มั่น โดยใช สู ต ร K-R 20 ของ คู เดอร- ริชารดสัน ตาราง 4 แสดงผลการประเมินคุณภาพของชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชนที่พัฒนาขึ้น ชุดกิจกรรม คาเฉลี่ยแจกแจงรายการประเมิน ที่ จุดประสงค ใบความรู กิจกรรม แบบทดสอบ 1 2 3 4 ภาพรวม

4.75 4.65 4.85 4.65 4.72

4.78 4.60 4.67 4.75 4.70

4.62 4.48 4.66 4.71 4.62

จากตาราง 4 สรุปผลการประเมินคุณภาพ ชุดกิจกรรม โดย ผูเชี่ยวชาญ ไดวา ชุดกิจกรรมที่1 เรื่องน้ํามาจากไหนใครไดใคร เสีย ชุดกิจกรรมที่ 2 ความลับสุดขอบฟาที่รอการพิสูจน ชุด กิจกรรมที่ 3 นักวิชาการแหงลุมน้ําบานปา และชุดกิจกรรมที่ 4

4.50 4.65 4.85 4.75 4.69

คาเฉลี่ย (X )

ระดับ

4.66 4.59 4.76 4.72 4.68

ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก

คืนความสดใสใหสายน้ํา มีคา คะแนนเฉลี่ยเปน 4.66 , 4.59 , 4.76 และ 4.72 ตามลําดับ มีคาคะแนนเฉลี่ยอยู ในระดั บ ดี ม ากทั้ ง หมดและโดยภาพรวมคุ ณ ภาพ


47

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ของชุดกิจกรรมทั้งฉบับมีคาคะแนนเฉลี่ย 4.68 ซึ่งอยูในระดับ คุณภาพดีมาก 1.2 การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม เรื่อง น้ํา เสียในชุมชน ผูวิจัยไดนําชุดกิจกรรมที่สรางขึ้น ไปทดลองใชกับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนมัธยมนาคนาวาอุปถัมภ ที่มีลักษณะใกลเคียงกับกลุมตัวอยาง 3 ครั้ง สรุปผลได ดังนี้ ครั้ง ที่ 1 ทดลองกับ นักเรียนรายบุคคล จํานวน 3 คน ผลจากการสัมภาษณนักเรียนปรากฏวา กิจกรรมในชุดที่ 3 กิจกรรมยอยที่ 1 เรื่อง ตามลาหาความจริงและกิจกรรมยอยที่ 2 เรื่อง เมื่อความจริงปรากฏ การปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ในกลุ ม ปานกลางจะปฏิ บั ติ ไ ด ช า และกลุ ม อ อ นจะปฏิ บั ติ ไ ด คอนขางชาเนื่องจากการตรวจวัดคุณภาพน้ํามีหลายตัวชี้วัดทั้ง การตรวจทางดา นกายภาพ ทางด า นเคมี แ ละด า นชี ว วิ ท ยา นักเรียนไมมีทักษะในการวัดและการใชเครื่องมือ ผูวิจัยจึงไดนํา

ชุดกิจกรรมดังกลาวมาปรับปรุงแกไขโดยเพิ่มรายละเอียด ในการทดลอง วิธีการทดลองอยางละเอียดเนนการปฏิบัติ จริ ง ของนั ก เรี ย นเพื่ อ สร า งทั ก ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร ครั้งที่ 2 ทดลองกับนักเรียนกลุมยอย จํานวน 9 คน ผลปรากฏวานักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมที่ไดรับ มอบหมายได เ สร็ จ ตามกํ า หนดเวลาและในการปฏิ บั ติ กิจกรรมกลุมนักเรียนจะชวยกันปฏิบัติงานของกลุมโดยมี การวางแผนและแบ ง งานกั น ปฏิ บั ติ กิ จ กรรมที่ ไ ด รั บ มอบหมายเสร็จตามวัตถุประสงคที่วางไว ครั้ง ที่ 3 ทดลองกับ นักเรียนกลุมใหญจํา นวน 30 คน พบวานักเรียนที่เปนกลุมทดลองทําแบบทดสอบ วั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น เรื่ อ ง น้ํ า เสี ย ในชุ ม ชน หลั ง ปฏิ บั ติ ชุ ด กิ จ กรรมทั้ ง 4 ชุ ด และทํ า แบบทดสอบย อ ย ระหวา งเรีย นในชุด กิจ กรรมแตล ะชุด ผลการประเมิน ดัง ตาราง 5

ตารางที่ 5 แสดงรอยละของคะแนนเฉลี่ยจากแบบฝกหัดระหวางเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง น้ําเสียในชุมชน หลังใชชุดกิจกรรม การทดสอบ ระหวางเรียน หลังเรียน

ชุดกิจกรรมที่ ชุดกิจกรรมที่ ชุดกิจกรรมที่ ชุดกิจกรรมที่ 2 3 4 1 81.30 81.30 82.00 88.30 -

จากตารางที่ 5 สรุปไดวา การทําแบบฝกหัดทาย กิจกรรมในชุดกิจกรรมที่ 1 - 4 เรื่อง น้ําเสียในชุมชน ของผูเขา รับการทดลอง ไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 83.17 และจากการทํา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง น้ําเสียในชุมชน หลังทดลองไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 81.66 ดังนั้น จึงสรุปไดวา ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง น้ํ า เสี ย ในชุ ม ชน สํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 2 มีประสิทธิภาพเปนไปตามเกณฑ 80/80

คารอยละ (E1) 83.17 -

คารอยละ (E2) 81.66

2. การศึ ก ษาผลการทดลองใช ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง น้ํ า เสี ย ในชุ ม ชน โดยศึ ก ษาผลการทดลองใช ชุ ด กิจกรรมในประเด็น ดังตอไปนี้ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง น้ําเสียใน ชุมชนปรากฏผล ดังแสดงในตาราง 6


48

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ตาราง 6 แสดงคาเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง น้ําเสียในชุมชน กอนและหลังใชชุดกิจกรรม ดวยชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน การทดสอบ

n

X

SD

กอนใชชุดกิจกรรม

35

26.97

3.41

หลังใชชุดกิจกรรม

35

33.11

D

ΣD

ΣD

SD

SD/√n

t*

6.14

215

1553

2.575

.435

14.115

1.60 *t (.05, 34) = 1.691 เรียนของนักเรียนที่เปนกลุมตัวอยางหลังเรียน โดยใชชุด กิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน มีคาสูงขึ้นซึ่งเปนไปตาม สมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว 2.2 ผลการศึกษาทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร ปรากฏผลดังแสดงในตาราง 7

จากตาราง 6 พบวา คะแนนเฉลี่ย จากการทําแบบทดสอบ วัดความรูกอนเรียนและหลังเรียนมีความแตกตางกัน (อยางมี นั ย สํ า คั ญ ที่ ร ะดั บ .05) โดยคะแนนเฉลี่ ย ก อ นเรี ย นด ว ยชุ ด กิจกรรม เทากับ 26.97 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนดวยชุด กิจกรรม เทากับ 33.11 ดังนั้น จึงสรุปไดวาผลสัมฤทธิ์ทางการ

ตาราง 7 แสดงคาเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เรื่อง น้ําเสียในชุมชนกอน และหลังใชชุดกิจกรรมดวยชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน การทดสอบ

n

X

SD

กอนใชชุดกิจกรรม

35

12.23

1.114

หลังใชชุดกิจกรรม

35

17.37

D

ΣD

ΣD

SD

SD/√n

t*

5.14

172

940

1.646

.278

18.489

2.669 *t (.05, 34) = 1.691

จากตาราง 7 พบวาคะแนนเฉลี่ย จากการทําแบบทดสอบ วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรกอนเรียนและหลังเรียน มีความแตกตางกัน (อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05) โดยคะแนน กอนเรียนดวยชุดกิจกรรม เทากับ 12.23 และคะแนนเฉลี่ยหลัง เรียนดวยชุดกิจกรรม เทากับ17.37 ดังนั้น จึงสรุปไดวา ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง

หลังเรียนโดยใชชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน มีคา สูงขึ้นซึ่งเปนไปตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว 2.3 ผลการศึกษาความพึงพอใจตอชุด กิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน ปรากฏผลดังแสดงใน ตาราง 8


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

49

ตาราง 8 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจ ตอชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ เปนกลุมตัวอยาง S เกณฑ แปรผล t* n X 35 4.513 0.091 4.00 มาก 33.355 35 4.420 0.108 4.00 มาก 23.076 35 4.356 0.130 4.00 มาก 16.255 35 4.385 0.109 4.00 มาก 20.923 35 4.419 0.310 4.00 มาก 7.996 *t (.05, 34) = 1.691 จากตาราง 8 พบวา ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง น้ํามาจากไหนใคร 1.2 ดานประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม เรื่อง น้ํา ไดใครเสีย ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อ ง ความลับ สุด ขอบฟ า ที่ร อ เสี ย ในชุ ม ชนสํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 ที่ การพิสูจน ชุดกิจกรรมที่ 3 นักวิชาการแหงลุมน้ําบานปา และ พั ฒ นาขึ้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 83.17/81.66 ซึ่ ง เป น ไปตาม ชุดกิจ กรรมที่ 4 เรื่ อ ง คืนความสดใสใหสายน้ํา มีคา คะแนน เกณฑ 80/80 ที่กําหนด ซึ่งผลการวิจัยขางตนเปนคารอย เฉลี่ยเปน 4.513 , 4.420 ,4.356 และ 4.385 ตามลําดับ อยูใน ละของคะแนนเฉลี่ยของแบบฝกหัดระหวางเรียน คิดเปน ระดับพึงพอใจมาก สําหรับความพึงพอใจในภาพรวมทั้ง 4 รอยละ 83.17 และคารอยละของคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน ชุด กิจ กรรม มีค า คะแนนเฉลี่ย เปน 4.419 ซึ่ง อยูใ นระดั บ จากแบบทดสอบหลังเรียน คิดเปนรอยละ 81.66 ทั้งนี้อาจ พึง พอใจมากแ ละ สู ง กว า เกณฑ ที ่ กํ า หนดไว (อย า งมี เปนผลเนื่องมาจากสาเหตุตาง ๆ ดังนี้ ประการแรก การพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสีย นั ย สํ า คั ญ ทางส ถิ ต ิ ที ่ ร ะ ดั บ . 0 5 ) แ ล ะ เ ป น ไ ป ต า ม ในชุ ม ชน ได ดํ า เนิ น การตามหลั ก การสร า งชุ ด กิ จ กรรม สมมติ ฐ านการวิ จั ย ที่ ตั้ ง ไว อย า งมี ร ะบบ โดยมี ก ารศึ ก ษาหลั ก สู ต ร วิ เ คราะห การอภิปรายผล การอภิปรายผลการวิจัยในครั้งนี้ เสนอตามลําดับผล จุดมุงหมายและเนื้อหาของกิจกรรม ใหมีความเหมาะสม กับระดับของผูเรียน มีการกําหนดจุดประสงคการเรียนรู การศึกษาคนควา ดังนี้ รายวิ ช า มาตรฐานรายวิ ช า และคํ า อธิ บ ายรายวิ ช า 1. อภิปรายผลการพัฒนา 1.1 ดานคุณสมบัติ พบวา คุณสมบัติของชุด รวมทั้งมีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับน้ําเสียในชุมชน กิ จ กรรม เรื่อ ง น้ํ า เสี ย ในชุม ชนอยู ใ นระดั บ ดี มาก ซึ่ง สูง กว า ได ศึ ก ษาข อ มู ล จากแหล ง ต า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ ง เช น กรม เกณฑ ที่ กํ า หนดไว ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจาก การศึ ก ษาเอกสาร ควบคุ ม มลพิ ษ รวมทั้ ง สอบถามผู เ ชี่ ย วชาญซึ่ ง ทํ า ให ไ ด ประกอบการค น คว า และขั้ น ตอนรายละเอี ย ดที่ ใ ช ใ นชุ ด ขอมูล แนวความคิด และแนวในการเขียนชุดกิจกรรม ประการที่สอง การพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง น้ํา กิ จ กรรมเป น ส ว นที่ ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย นได เ กิ ด การเรี ย นรู อ ย า ง แทจริง ซึ่ งสอดคลองกับ วรรณทิพ า รอดแรงคา และพิมพัน ธ เสียในชุมชนมีความสอดคลองกับสภาพการจัดการเรียนรู เดชะคุปต (2532 II – III) ที่กลาววา องคประกอบของชุด ในป จ จุบั น ที่ ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ยนได ใ ช ป ระโยชน จ ากแหล ง กิจกรรมที่ชวยใหเด็กเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพตอง เรียนรูในทองถิ่น เพื่อนักเรียนจะไดถายโยงความรูที่ไดรับ ประกอบดวยกิจกรรมที่สงเสริมใหเด็กนักเรียนไดใชความคิด จากการใชชุดกิจกรรมในการปฏิบัติกับวิถีชีวิตประจําวัน และคนพบดวยตนเองและใบความรูตองสอดคลองกับเนื้อหา ของตนเอง ซึ่งสามารถทําใหเกิดประโยชนตอชุมชนและ สวนรวมในวงกว า ง และสอดคล อ งกับ พระราชบั ญ ญั ติ และกิจกรรมที่จัดใหกับผูเรียน การศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2544ที่มุงใหใชหลักสูตร ชุดกิจกรรมที่ 1.น้ํามาจากไหนใครไดใครเสีย 2.ความลับสุดขอบฟาที่รอการพิสูจน 3. นักวิชาการแหงลุมน้ําบานปา 4. คืนความสดใสใหสายน้ํา ภาพรวม


50

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ทองถิ่นในการจัดการเรียนการสอนในปจจุบันเพราะสภาพการ เรียนรูที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตประจําวันและชุมชนนักเรียนสามารถ ถายโยงความรูที่ไดรับยังผลใหเกิดประโยชนสูงสุดตอตนเอง สวนรวม และการใชปญหาในชุมชนที่ใกลตัวนักเรียนมาใชใน การจัดกิจกรรมยอมสรางความเขาใจใหเกิดขึ้นกับผูเรียนไดดี ยิ่งขึ้น เพราะคนในชุมชนยอมที่จะรูจักวิถีชีวิตและแนวทางใน การแกไขปญหาไดดีกวา ประการที่สาม ชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน แตละชุดกิจกรรมประกอบไปดวย ชื่อเรื่อง จุดประสงค คําชี้แจง เวลาที่ใช วัสดุอุปกรณ ใบความรู สถานการณ กิจกรรม และ แบบฝกหัดทายกิจกรรม ซึ่งมีองคประกอบโดยรวมเหมาะสม สําหรับนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน อีกทั้งชุดกิจกรรมที่ พัฒนาขึ้นเปนการสอนที่เนน การปฏิบัติจริง การทดลอง และ การสรางสถานการณที่ทาทายเพื่อกระตุนใหนักเรียนไดคิดคน หาคํ า ตอบด ว ยตนเองและคิ ด แก ส ถานการณ เ ฉพาะหน า ได สามารถจูงใจใหนักเรียนสนใจในกิจกรรมและชวยพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร เพราะการจัดการเรียนการสอนที่ มุงเนนใหนักเรียนเห็นปญหาแลวลงมือปฏิบัติจริงทําใหนักเรียนได มีโอกาสเห็นสภาพปญหา ฝกแกปญหาและมีการปฏิบัติจริง ประการสุดทาย ชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน เปนการศึกษานอกหองเรียนที่เปนกระบวนการเรียนการสอนวิธี หนึ่งที่ผูเรียนจะไดรับประสบการณตรงและไดรับการกระตุน ความสนใจ ความอยากรูอยากเห็นซึ่งตรงกับวิธีการเรียนการ สอนที่ ใ ห ผู เ รี ย นเรี ย นรู จ ากสิ่ ง ที่ เ ป น รู ป ธรรมโดยผ า น ประสบการณตรงที่ผูเรียนเจตนารับอันจะทําใหผูเรียนเรียนรูได ดีที่ สุ ด เป น ประสบการณ ที่ อ ยูร อบตั ว ที่ผู เ รี ย นกระหายที่ จ ะ ได รั บ การเรี ย นรู ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ แนวคิ ด ของ สมิ ท ธ (Smith.1976) กลาวถึงคุณคาของการศึกษานอกหองเรียนไววา เปนการเรียนการสอน ที่กอใหเกิดการเรียนรูที่ดี มีประสิทธิภาพ มาก ที่ สุ ด โดยผ า นประสบการณ ต รง การเรี ย นรู จ ะเริ่ ม ต น ที่ วัตถุประสงค ความสนใจ และความตองการของผูเรียน การ รับรูทางประสาทสัมผัสตาง ๆ สามารถจัดไดงาย และครบใน การศึกษานอกหองเรียนไมวาจะเปนการมอง สังเกต สัมผัส ไดกลิ่น ไดยิน เปนตน เปนการเรียนที่มีชีวิตชีวาและเต็มไปดวย ความกระตือรือรนของผูเรียนซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของเฮก (Haigh.1974) ที่กลาววา ผลของการใหผูเรียนมีสวนรวมใน

กิจกรรมนอกหองเรียนคือ ชวยใหผูเรียนไดเรียนรู ถึงแกน ความรูท่ีแทจริง ในสถานการณจริงของชีวิต ชวยใหผูเรียน ได ใ ช ทั ก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร ในการ แกปญหาอยางมีความหมาย ผูเรียนไดฝกวางแผน เก็บ รวบรวมข อ มู ล เพื่ อ ให บ รรลุ ถึ ง จุ ด หมายที่ ว างไว ประการสุดทา ย เมื่อ พิ จ ารณาคะแนนเฉลี่ย หลังเรียนดวยชุดกิจกรรมของกลุมตัวอยางพบวา คะแนน เฉลี่ยหลังเรียนดวยชุดกิจกรรมของกลุมตัวอยาง เทากับ 33.11 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเปนรอยละ 82.78 ซึ่งเปนหลักฐานยืนยันไดวาชุดปฏิบัติการที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว 2. อภิปรายผลการทดลองสอน 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง น้ําเสียใน ชุมชน ผลจากการวิจัยพบวา ผูเรียนที่ไดรับการสอนดวย ชุด กิ จ กรรม เรื่ อ ง น้ํ า เสีย ในชุ ม ชน มี คะแนนเฉลี่ย หลั ง เรี ย นสู ง กว า ก อ นเรี ย น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ท่ี ระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานการวิจัยขอที่ 1 ทั้งนี้ อาจเปนผลเนื่องมาจากสาเหตุ ตาง ๆ ดังนี้ ประการแรก ชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน สํ า หรั บ นั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 2 ที่ พั ฒ นาขึ้ น ได ผ า นการ ตรวจสอบคุณภาพ และประเมินคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญ ทั้ ง ด า นเนื้ อ หา ด า นการใช ภ าษา และด า นความ สอดคลองของจุดประสงค กิจกรรม ซึ่งมีการจัดกิจกรรมที่ หลากหลายมีการใชสื่อ ที่หาไดงายและหลายชนิด และ เหมาะสมกับสถานการณที่กําหนด ซึ่งสัมพันธสอดคลอง กับเนื้อหา ทําใหนักเรียนสามารถแสวงหาความรูไดดวย ตนเองจนบรรลุ จุ ด มุ ง หมายอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง สอดคลองกับแนวคิดของ นิพนธ สุขปรีดี (2525 : 74 -75) ที่ ว า ชุ ด กิ จ กรรมเป น การรวบรวมสื่ อ การเรี ย นสํ า เร็ จ รู ป เพื่ อ ให ผู เ รี ย นได เ รี ย นรู ไ ด ด ว ยตนเอง เพื่ อ ให บ รรลุ จุ ด มุ ง หมายอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ชุ ด กิ จ กรรม ก็ จ ะต อ ง ประกอบไปดวยสื่อหลายชนิดที่เหมาะสมกับประสบการณ ของผู เ รี ย น นอกจากนี้ ชุ ด กิ จ กรรม ยั ง ผ า นการหา ประสิทธิภาพ จนไดเกณฑ 80/80 กอนที่จะนํามาใชในการ ปฏิ บั ติ ส อนจริ ง จึ ง ส ง ให ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 นักเรียนหลังจากใชชุดกิจกรรม มีคาเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียน สูงกวากอนเรียน ประการที่สอง การเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรม เปน การเรียนรูที่สามารถกระตุนการเรียนรูของนักเรียนไดเปนอยาง ดีเนื่องจากนักเรียนไดเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริง ๆ เรียนรูจากชุมชนของตนเอง มีการทํางานทั้งงานเดี่ยวและงาน กลุม วางแผนการทํางานรวมกัน นั กเรียนทุกคนมีบ ทบาท สําคัญในการทํากิจกรรม โดยมีครูเปนผูคอยชี้แนะแนวทางและ ใหคําปรึกษาเมื่อมีปญหาในการปฏิบัติกิจกรรม ทําใหนักเรียน ไดเห็นสภาพจริง ๆ ที่เกิดขึ้น จึงทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกวากอนเรียน ประการสุดทาย บรรยากาศในการจัดกิจกรรม เปน การเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีประสบการณตรงจากการสัมผัส ดวยประสาทสัมผัสทั้งหา ในสภาพแวดลอมจริง ๆ ซึ่งสงผลให ผูเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู และไดรับการเสริมแรงจาก รอยยิ้มของครู การชมเชย และการปรบมือจากเพื่อน ๆ เมื่อมี การนําเสนองาน จึง สงผลใหนักเรียนกลา คิด กลาแสดงออก และลงมือปฏิบัติกิจกรรมดวยความมั่นใจ เกิดความภาคภูมิใจ ในผลงานของตนเอง มีการยอมรับฟงความคิดเห็นของเพื่อน ของครู มี ก ารวิ เ คราะห การอภิ ป ราย และกล า ที่ จ ะยอมรั บ ความจริง จึงสงผลใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2.2 ทั ก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร ของ นักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง ผลการวิจัยพบวา คะแนนทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังใชชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน สูงกว า กอ นเรี ยนอยา งมี นัยสํ า คัญ ทางสถิติที่ ร ะดั บ .05 ซึ่ ง เปนไปตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว ทั้งนี้อาจเปนผลเนื่องมาจาก ประการแรก ชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน มี การพัฒนาคุณสมบัติโดยผานการประเมินจากผูเชี่ยวชาญ ที่มี ความคิ ด เห็ น สอดคล อ งกั น ว า ชุ ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ที่ พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมทั้งในดานเนื้อหาที่สอดคลองกับวัย และมาตรฐานการเรียนรู กิจกรรมที่หลากหลาย แบบประเมิน ทายกิจกรรม และเวลา อยูในระดับที่เหมาะสม นอกจากนี้ผูวิจัยยังได ปรับปรุงแกไข ตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ ไดแก ปรับ เนื้อหาบางสวนและกิจกรรมใหมีความเหมาะสมกับนักเรียน มากยิ่งขึ้น และควรใชภาษาที่เขาใจงาย และชัดเจน จึงสงผลให คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียนสูงกวากอนเรียน

51

ประการที่ ส อง ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง น้ํ า เสี ย ใน ชุมชน ที่พัฒนาขึ้น เปนกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนให นักเรียนไดลงมือปฏิบัติการทดลองดวยตนเอง ตามขั้นตอน ที่กําหนดในชุดกิจกรรม ทําใหนักเรียนไดรับความรูทั้งดาน ความรูและดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรควบคู กั น เป น ผลให นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะกระบวนการทาง วิ ท ยาศาสตร สู ง ขึ้ น ซึ่ ง ตรงกั บ ที่ ค ณะกรรมการพั ฒ นา หลักสูตรการสอน และผลิตอุปกรณการสอนวิทยาศาสตร ทบวงมหาวิทยาลัย (2525: 116) ที่กลาววา การทดลอง เปนหัวใจของการเรียนวิทยาศาสตรแบบสืบเสาะหาความรู เพราะจะเป น แกนนํ า ไปสู ก ารฝ ก ผู เ รี ย นในแง ทั ก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร ซึ่ง สอดคลองกับงานวิจัย ของ เมธา โยธาฤทธิ์ (2549 : 85) ที่พบวา นักศึกษา ที่ เรียนดวยชุดปฏิบัติการวิทยาศาสตร เรื่อง ปาชายเลน มี ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังเรียนสูงกวากอน เรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ งานวิจัย ของ อิ ส ริ ย า หนู จ อ ย (2549: 78) ที่ ศึ ก ษาทั ก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียนจากการใชชุด กิจกรรม เรื่อง ระบบนิเวศในนาขาว สําหรับนักเรียนชวงชั้น ที่ 3 พบวา คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกวาคะแนนเฉลี่ยกอน เรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ประการที่ ส าม ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง น้ํ า เสี ย ใน ชุมชน ไดมี การจัดลําดับขั้นตอนการเรียนรูไวอยางชัดเจน เปนระบบ มีคําชี้แจง และสถานการณที่นักเรียนจะตอง ปฏิบัติ และสามารถศึกษาความรูไดจากใบความรู และ ตรวจสอบความกาวหนาทางการเรียนจากแบบฝกหัดทาย กิจกรรม หากเรื่องไหนไมเขาก็สามารถปรึกษาเพื่อน ๆ และ ครูได ทําใหนักเรียนสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได อยางเต็มที่ และตามศักยภาพของนักเรียนแตละคน ประการสุ ด ท า ย ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง น้ํ า เสี ย ใน ชุมชน เปนการศึกษากิจกรรมการเรียนรูจากแหลงเรียนรูใน ท อ งถิ่ น ของตนเอง ซึ่ ง เป น การเปลี่ ย นบรรยากาศใน หองเรียน ในการศึกษาคนควาสิ่งใหมๆ นักเรียนจึงมีความ สนใจมากกวาการเรียนอยูในหองเรียนเพียงอยางเดียว 2.3 ความพึงพอใจที่มีตอชุดกิจกรรม เรื่อง น้ํา เสี ย ในชุ ม ชน สํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ท่ี 2


52

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่ผานการเรียนดวยชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน มีความพึงพอใจอยูในระดับมากขึ้นไป ซึ่งเปนไปตาม สมมติฐานการวิจัยขอที่ 3 ทั้งนี้อาจเปนผลมาจากสาเหตุตาง ๆ ดังนี้ ประการแรกชุดกิจกรรม เรื่องน้ําเสียในชุมชนที่พัฒนาขึ้น มี การจัดกิจกรรมที่เนนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติกิจกรรมดวย ตนเอง และเป น กิ จ กรรมที่ ศึ ก ษาสภาพแวดล อ มจริ ง ๆ ที่ นักเรียนสัมผัสและคุนเคยจึงทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยาง มีชี วิ ตชี ว า ท า ทายความ สามารถ และสนุ กกั บ กิ จ กรรมการ เรี ย นรู และมี อิ ส ระในการคิ ด ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ เชิ ด ศั ก ดิ์ โฆ วาสินธ (2525 :136) ที่วา องคประกอบของความพอใจขึ้นอยู กับความรูสึกและลักษณะทางอารมณที่คลอยตามความคิด ถา บุคคลมีความคิดดีตอสิ่งใดก็จะมีความรูสึกบวกตอสิ่งนั้นและ จะแสดงออกมาในรูปของความชอบ ความสนใจ นอกจากนี้ยัง สอดคลองกับแนวคิดของ ภพ เลาหไพบูลย (2540: 193) ที่วา การสรางความพึงพอใจในการเรียนการสอนเปนการใหสิ่งเรา เพื่อใหนักเรียนแสดงพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งที่พึงประสงค ออกมาโดยการแลกเปลี่ยนเนื้อหาสาระประสบการณ ความ คิ ด เห็ น ความรู สึ ก ความพอใจ ระหว า งผู ส ง กั บ ผู รั บ ดั ง นั้ น กระบวนการเรี ย นที่ ดี ถ า มี สื่ อ ที่ ดี แ ละเหมาะสมแล ว การ ตอบสนองของผูเรียนตอสถานการณที่เกิดขึ้นก็จะออกมาดวย ความรูความเขาใจและความพึงพอใจ ประการที่สอง ชุดกิจกรรม เรื่องน้ําเสียในชุมชน ที่ พัฒนาขึ้น เปนการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนมีความคิด เปน ของตนเอง เกิ ด ความภาคภู มิ ใ จในผลงานของตนเอง มี ความรั บ ผิ ด ชอบต อ หน า ที่ ต ามที่ ไ ด รั บ มอบหมาย โดยใช สถานการณกระตุนใหเกิดความคิด มีการทํางานทั้งระบบงาน เดี่ยวและงานกลุม จนทําใหนักเรียนเห็นประโยชนและคุณคา ของน้ําที่มีอยูในชุมชน และสามารถนําความรูที่ไดรับไปใชให เกิดประโยชนตอชีวิตประจําวันได แลวยังสงผลใหนักเรียนเกิด ความตระหนัก รักและหวงแหนสิ่งแวดลอมในชุมชนของตนเอง ประการที่สุดทาย การสร างชุดกิจกรรม เรื่อ ง น้ํา เสี ย ในชุ ม ชน เป น กิ จ กรรมรู ป แบบใหม ข องนั ก เรี ย นเป น การ เรียนรูนอกสถานที่ โดยใชแหลงเรียนรูในทองถิ่นและใชวิทยากร ในการใหความรูทําใหนักเรียนเกิดความแปลกใหมนอกจากการ เรียนแตเพียงในหองเรียน ทําใหนักเรียนเกิดความกระตือรือรน ในการเรียนรู เกิดความสนุกสนาน ในการทํากิจกรรม เราความ

สนใจของนักเรียนทําใหนักเรียนไมเกิดความเบื่อหนาย ซึ่ง สงผลใหนักเรียนมีความพอใจตอชุดกิจกรรม แลวยังสงผลให นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นดวย ซึ่งสอดคลอง กับแนวคิดของ สุเทพ อุตสาหะ (2526:8) ที่วา ความพึง พอใจที่ไดรับจากการเรียนการสอนมีความสําคัญในการ ชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีชีวิตชีวามีความเจริญ งอกงามของความรู เพราะนั กเรี ยนมี ความกระตื อรื อร น เพื่อที่จะใหเกิดประโยชนแกตน ขอเสนอแนะที่เกี่ยวของกับการทําวิจัยในครั้งนี้ 1. การนําชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน ไป ใชสําหรับบุคลากรที่เกี่ยวของทางดาน สิ่งแวดลอมศึกษา หรื อ ไปใช สํ า หรั บ กลุ ม สาระการเรี ย นรู อื่ น ๆ ควรศึ ก ษา รายละเอียดของชุดกิจกรรมและศึกษาเพิ่มเติมจากคูมือครู ประกอบการเรี ย นการสอนเพื่ อ จะได ใ ห คํ า แนะนํ า กั บ นักเรียนไดอยางถูกตองและเกิดประสิทธิภาพในการเรียน การสอนมากยิ่งขึ้น 2. การนําชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชนไป ใชควรมีการปรับกิจกรรม ระยะเวลา สถานที่ และสถานการณ ใหเหมาะสมกับปจจุบันและระดับความสามารถของผูเรียน 3. สํ า หรั บ หน ว ยงานอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ทรัพยากรน้ํา การนําชุดกิจกรรมไปใชในการใหความรูและ สรางความเขาใจในเรื่อง การตรวจสอบคุณภาพน้ํา การ บํา บัดน้ํา เสีย และการอนุรักษทรัพ ยากรน้ํา ควรศึก ษา รายละเอี ย ดและขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ใ ห เ ข า ใจและควร ปรับแกไขรายละเอียดใหเหมาะสมกับระดับของบุคคล 4. ควรมีการศึกษาผลการใชชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน กั บตัวแปรอื่น ๆ อาทิ เจตคติที่มีตอ การ อนุรักษน้ําในชุมชน ความตระหนักเกี่ยวกับการอนุรักษน้ํา ในชุมชน ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร และจิตวิทยาศาสตร ฯลฯ 5. ในการนําชุดกิจกรรม เรื่อง น้ําเสียในชุมชน ไปใช กั บ ระดั บ ชั้ น ที่ สู ง ขึ้ น ควรเพิ่ ม ค า พารามิ เ ตอร ชี้ วั ด คุณภาพน้ําเพื่อเปนเครื่องมือที่ใชวัดคุณภาพของน้ําเสียใน ชุมชนไดอยางสมบูรณ 6. ควรเพิ่ ม การวั ด ทั ก ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรขั้นตนและทักษะขั้นบูรณาการเพิ่มเติม


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

บรรณานุกรม กรมควบคุมมลพิษ. (2548). คูมืออาสาสมัครเฝาระวังและติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ํา. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ. กรมวิชาการ. (2544). กระทรวงศึกษาธิการ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ. _________. (2546). กระทรวงศึกษาธิการ.การจัดสาระการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร. ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2544). การจัดการน้ําเสียและสิ่งปฏิกูลสําหรับประชาชน. โรงพิมพองคการคารับสงสินคาและพัสดุภัณฑ. เชิดศักดิ์ โฆวาสินธ. (2525). การวัดผลการศึกษา.สํานักทดสอบทางการศึกษาและ จิตวิทยามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. กรุงเทพฯ. ทบวงมหาวิทยาลัย. (2525). การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตร.กรุงเทพฯ. คณะอนุกรรมการ พัฒนาการสอนและผลิตวัสดุอุปกรณการสอนวิทยาศาสตร. ( เลม 2) ทบวงฯ. นิพนธ สุขปรีดี. (2525) . เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ. โรงพิมพพิฆเนศ. ภพ เลาหไพบูรณ. (2540). แนวการสอนวิทยาศาสตร.พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. เมธา โยธาฤทธิ์. (2549). การพัฒนาชุดปฏิบัติการเรื่อง ระบบนิเวศปาชายเลน สําหรับ นักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ. ปริญญานิพนธ.กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. วรณัน ขุนศรี. (2549). วารสารวิชาการ.2549.สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานปที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน- มิถุนายน2549 .กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. วรรณทิพา รอดแรงคาและพิมพันธ เดชะคุปต. (2532). กิจกรรมทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรสําหรับครู.สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. (พว). กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพทางวิชาการ. วินัย วีระวัฒนานนท. (2532). สิ่งแวดลอมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพโอเดียนสโตร. สุเทพ อุตสาหะ. (2526). การสอนวิทยาศาสตรระดับมัธยมศึกษา. มหาสารคาม : ภาควิชาเคมี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

53


54

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

55

การพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรกั ษทรัพยากรน้าํ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 The Development of learning Packages on water Resource conservation for Mathayom Suksa IV Ö สมศักดิ์ พาหะมาก 1 ดร.สนอง ทองปาน 2 อาจารยสมปอง ใจดีเฉย 2 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีความมุงหมาย 2 ประการ คือ 1. เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ใหมีคุณภาพในระดับดีและเปนไปตามเกณฑ 80/80 2. เพื่อนําชุดกิจกรรมเรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ไป ทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศรีอยุธยา ใน พระอุปถัมภฯ และศึกษาผลการเรียนรูดังนี้ 2.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลัง ปฏิบัติชุดกิจกรรม 2.2) พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียนระหวาง ปฏิบัติชุดกิจกรรม 2.3) ความตระหนักตอการอนุรักษทรัพยากรน้ําของ นักเรียนกอนและหลังปฏิบัติชุดกิจกรรม

คําสําคัญ : ชุดกิจกรรม , การอนุรักษทรัพยากรน้ํา , พฤติกรรมการทํางานกลุม , ความตระหนักตอการอนุรักษทรัพยากรน้ํา

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาการมัธยมศึกษา กลุมการสอนสิ่งแวดลอม คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2 อาจารยประจําสาขาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

1


56

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ในการทดลองชุ ด กิ จ กรรมใช นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนศรี อยุธยาในพระอุปถัมภฯ จํานวน 40 คน เปนกลุมตัวอยาง โดย ใชชุดกิจกรรมจํานวน 5 ชุด คือ 1) น้ําและธรรมชาติของน้ํา 2) แหลงน้ําและการใชประโยชนจากแหลงน้ํา 3) ปญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา 4) การจัดการแหลงน้ํา 5) การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ผลการวิ จั ย พบว า ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ งการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรน้ํา ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 83.30/82.50 ซึ่ง เปนไปตามเกณฑ 80/80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูง กวากอนเรียน พฤติกรรมการทํางานกลุมอยูในระดับดีมาก และความตระหนักตอการอนุรักษทรัพยากรน้ําของนักเรียนหลัง เรียนสูงกวากอนเรียน ABSTRACT The purposes of this research were: 1) to develop learning packages on water resource conservation for matthayomsuksa IV students to attain the index of 80/80 2) to try out the learning packages on water resource conservation for matthayomsuksa IV students on the following learning out come; 2.1 to study students’ achievement before and after using the learning packages. 2.2 to study students’ group working behaviors earned by using the learning packages, 2.3 to compare students’ awareness towards water resource conservation before and after using the learning packages. Sample of the study comprised 40 Matthayomsuksa IV students in the second semester of the 2006 academic year, Sriayudhya School Under the Royal Patronage of H.R.H. Princess Bejraratanarajasuda, Five units of the packages on water resource conservation were used in the experiment; 1) Water and

It’s Nature 2) Water Sources and Their Usages 3) Problems of Water Sources 4) Water Sources and 5) Water resource conservation. The results of this study that: the development of learning packages attained the efficiency index of 83.30/82.50. Post student’s achievement was higher than their entering achievement, group working behaviors after training was excellent and post students’ awareness towards water resource conservation was higher than before training their entering ones. Keywords : LEARNING PACKAGES , WATER RESOURCE CONSERVATION GROUP WORKING , AWARENESS TOWARDS WATER RESOURCE CONSERVATION ความเปนมา น้ําเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญ และมีคุณคาตอการดํารงชีวิตของมนุษยจากสถานการณ ปจจุบัน ประเทศไทยเกิดปญหาวิกฤตเกี่ยวกับทรัพยากร น้ํ า ทั้ ง ด า นปริ ม าณและคุ ณ ภาพ อั น เป น ผลมาจากการ จํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น เมืองและชุมชนขยายตัวอยาง รวดเร็ ว เกิ ด โรงงานอุ ต สาหกรรมจํ า นวนมาก ทํ า ให มี ความตองการน้ําในการอุปโภคบริโภค เพื่อการเกษตรและ ใชในโรงงานอุตสาหกรรมมีมากขึ้น ขณะที่ปริมาณและ คุณภาพของแหลงน้ําธรรมชาติมีสภาพนาวิตกโดยเฉพาะ ชวงดูแลง สืบเนื่องจากยังมีการตัดไมทําลายปากันอยาง รุ น แรงในเขตต น น้ํ า ทํ า ให ค วามสมบู ร ณ ข องแหล ง น้ํ า ธรรมชาตินอยลง พื้นที่หลายแหลงในทุกภาคของประเทศ ตองประสบกับภาวะแหงแลงมากผิดปกติ ทั้งฤดูฝน และ ฤดู แ ล ง เกิ ด การขาดแคลนน้ํ า จนทํ า ให ป ระชาชนได รั บ ความเดือนรอนอยางมาก สงผลกระทบตอเศรษฐกิจและ การพั ฒ นาประเทศอย า งต อ เนื่ อ ง จากการศึ ก ษาของ สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม พบวาในป พ.ศ. 2548 มีความตองการการใช น้ําเพิ่มขึ้นจากป พ.ศ.2539 ประมาณรอยละ 13 จะเห็นได วาการใชประโยชนทรัพยากรน้ําโดยปราศจากการคํานึงถึง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ความเหมาะสม และผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มส ง ผลให ทรั พ ยากรน้ํ า ที่ มี อ ยู เ สื่ อ มโทรมลง จึ ง จํ า เป น ต อ งได รั บ การ อนุรักษ และฟนฟูสภาพใหดีขึ้น ป ญ หาวิ ก ฤตเกี่ ย วกั บ ทรั พ ยากรน้ํ า ทั้ ง ด า นปริ ม าณ และคุณภาพและการขาดแคลนน้ําดังที่กลาวมาจะเห็นไดวา ปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นนั้นมีสาเหตุมาจากการขาดความสํานึก ในการดูแลรักษาทรัพยากรน้ําและขาดมาตรการควบคุมที่มี ประสิทธิภาพ ซึ่งถือเปนปญหาของสังคมที่ทุกคนตองชวยกัน แก ไ ข และธํ า รงรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มไว รวมทั้ ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ ซึ่ ง เป น ป จ จั ย พื้ น ฐานในการพั ฒ นา เศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศที่ มี ค วามสํ า คั ญ ต อ ความ เปนอยูของประชาชน การที่สมาชิกในชุนชนขาดความรูความ เขา ใจจึง เปนสาเหตุข องป ญ หาสิ่ ง แวดลอ มที่เสื่อ มโทรม จึ ง จําเปนตองแกปญหาโดยการใหการศึกษา ซึ่งสงผลระยะยาว ในการปลูกฝงความรู เรื่องราวและประสบการณใหเหมาะสม กับวัยของเด็ก จากสภาพป ญ หาดั ง กลา วผู วิจั ย ในฐานะที่ ศึก ษา และมี ค วามสนใจทางด า นสิ่ ง แวดล อ ม และเป น ครู ผู ส อน นักเรียนในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรจึงมีความสนใจที่ จะพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา เพื่อใชเปน นวั ต กรรม (Innovation) ในการพั ฒ นาผลการเรี ย นรู ด า น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พฤติกรรมการทํางานกลุม และ ความ ตระหนั ก ต อ การอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรน้ํ า ของนั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภฯ เพื่อ เป น แนวทางในการปรั บ ปรุ ง การเรี ย นการสอนนั ก เรี ย นและ การศึกษาสิ่งแวดลอมของชุมชน เพื่อใหนักเรียนและชุมชนได เห็นความสําคัญของทรัพยากรน้ําในชุมชน รูจักวิธีการอนุรักษ และการจัดการ ตลอดจนการฟนฟูและบําบัดทรัพยากรน้ํา ใหมี คุณภาพที่ดีเพื่อนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป ความมุงหมายของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีความมุงหมายดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากร น้ํ า ให มี คุ ณ ภาพในระดั บ ดี แ ละ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเป น ไปตาม เกณฑ 80/80

57

2. เพื่อนําชุดกิจกรรมเรื่อง การอนุรักษทรัพยากร น้ํา ไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียน ศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภฯ และศึกษาผลการเรียนรูดังนี้ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน กอนและหลังปฏิบัติชุดกิจกรรม 2.2 พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียน ระหวางปฏิบัติชุดกิจกรรม 2.3 ความตระหนั ก ต อ การอนุ รั ก ษ ทรัพยากรน้ําของนักเรียนกอนและหลังปฏิบัติชุดกิจกรรม ความสําคัญของการศึกษาคนควา การวิ จั ย ครั้ ง นี้จ ะได ชุ ดกิ จ กรรม การพั ฒ นาชุ ด กิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ซึ่งมีคุณภาพระดับ ดี ทีมีประสิทธิภาพเปนไปตามเกณฑ 80/80 สามารถ นํา ไปใชสอน เพื่อ ใหผูเรียนมีค วามรู ความเขา ใจ และ นํ า ไปประยุ ก ต ใ ช ใ ห เ กิ ด ประโยชน โดยนั ก เรี ย นมี ผ ล พัฒนาการเรียนรูดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พฤติกรรม การทํ า งานกลุ ม ของนั ก เรี ย น และ ความตระหนั ก ของ นักเรียนตอการอนุรักษทรัพยากรน้ําดีขึ้น ผลการวิจัยดังกลาวจะนําไปใชเปนแนวทางให ครู ผู ส อนในกลุ ม สาระการเรี ย นรู วิ ท ยาศาสตร แ ละกลุ ม สาระการเรี ย นรู อื่ น ๆที่ เ กี่ ย วข อ ง ตลอดจนหน ว ยงานที่ เกี่ยวของนําไปพิจารณาปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน ในด า นการอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรน้ํ า ให เ หมาะสมกั บ สภาพแวดลอมในชุมชนของตนเองในโอกาสตอไป สมมติฐานที่ใชในการวิจัย 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที 4 ที่ ไดรับการสอนโดยใชชุดกิจกรรม เรื่องการอนุรักษทรัพยากร น้ํา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที 4 ที่ ไดรับการสอนโดยใชชุดกิจกรรม เรื่องการอนุรักษทรัพยากร น้ํา มีพฤติกรรมการทํางานกลุม อยูในระดับดี 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที 4 ที่ ไดรับการสอนโดยใชชุดกิจกรรม เรื่องการอนุรักษทรัพยากร น้ํามีความตระหนักตอการอนุรักษทรัพยากรน้ํา หลังเรียน สูงกวากอนเรียน


58

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

กรอบแนวคิดในการวิจัย การพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4

ตอนที่ 1 การพัฒนา ชุดกิจกรรม

ชุดที่ 1 น้ําและธรรมชาติของน้ํา ชุดที่ 2 แหลงน้ําและการใชประโยชนจากแหลงน้ํา ชุดที่ 3 ปญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา ชุดที่ 4 การจัดการแหลงน้ํา

- ผานการประเมินคุณภาพ จากผูเชี่ยวชาญ 5 คน - ผานการหาประสิทธิภาพ ตามเกณฑ 80/ 80

ชุดที่ 5 การอนุรักษทรัพยากรน้ํา

ตอนที่ 2 การนําชุดกิจกรรมที่พัฒนาแลว ไปทดลองใชสอน

ตัวแปรอิสระ - การสอนโดยใชชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา

ตัวแปรตาม - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - พฤติกรรมการทํางานกลุม - ความตระหนักตอการ อนุรักษทรัพยากรน้ํา


59

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 วิธีดําเนินการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ มุงพัฒนาชุดกิจกรรมเรื่อง เรื่อง การ อนุรักษทรัพยากรน้ํา โดยใชชุดกิจกรรม จํานวน 5 ชุด ดังนี้ ชุด ที่ 1. เรื่อง น้ําและธรรมชาติของน้ํา ชุดที่ 2.เรื่อง แหลงน้ําและ การใชประโยชนจากแหลงน้ํา ชุดที่ 3. เรื่อง ปญหาเกี่ยวกับ ทรัพยากรน้ํา เรื่อง ชุดที่ 4. การจัดการแหลงน้ํา และชุดที่ 5. เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ ฯ ที่ศึกษาภายใตหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งในการพัฒนาชุด กิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ผูวิจัยไดดําเนินการ ตามขั้นตอนดังนี้ ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดดําเนินการศึกษาคนควา 2 ขั้นตอน และในแตละขั้นตอนไดดําเนินการ ดังนี้ ตอนที่ 1 การพั ฒ นาและหาคุ ณ ภาพของชุ ด กิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา 1. ศึ ก ษาเอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ ง กั บ หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา พุ ท ธศั ก ราช 2544 พระราชบั ญ ญั ติ การศึก ษาแหง ชาติ พุท ธศัก ราช 2542 สาระการเรียนรู และ มาตรฐานการเรี ย นรู ช ว งชั้ น ที่ 4 เพื่ อ ใช กํ า หนดเนื้ อ หา จุดประสงค การวัดผลและประเมินผล ในการจัดกิจกรรมของ ชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา 2. นําผลการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ มาพัฒนาเปนชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ใน สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม โดยผานการตรวจคุณภาพและ

ประเมินคุณภาพของชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากร น้ํ า จากผู เ ชี ่ย วชาญและทดลองใชก ับ นั ก เรี ย นกลุ ม ทดลอง จํ า นวน 3 ครั้ ง คื อ 3 คน 9 คน และ 30 คน ตามลําดับ พรอมกับหาประสิทธิภาพใหเปนไปตามเกณฑ 80/80 กับนักเรียนกลุมทดลอง ครั้งที่ 3 จํานวน 30 คน ตอนที่ 2 การนําชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษ ทรั พ ยากรน้ํ า ที่พั ฒ นาขึ้ นและผา นการหาประสิ ท ธิ ภ าพ ตามเกณฑ 80/80 ไปใชสอนจริงกับกลุมตัวอยาง 1. นําชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากร น้ําที่พัฒนาขึ้นไปทดลองสอนกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภฯ ที่เปนกลุมตัวอยาง 2. ศึกษาพฤติกรรมการทํางานกลุม เรื่อง การ อนุ รัก ษท รั พ ยากรน้ํา ของนั ก เรี ยนชั้น มั ธ ยมศึ ก ษาปที่ 4 โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภฯ ที่เปนกลุมตัวอยาง 3. ศึ ก ษาความตระหนั ก ต อ การอนุ รั ก ษ ทรัพยากรน้ํา เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภฯ ที่เปนกลุมตัวอยาง ผลการวิเคราะหขอมูล 1. การพัฒนา ชุดกิจกรรม เรื่องการอนุรักษ ทรัพยากรน้ํา 1.1 การพัฒนาดานคุณสมบัติข องชุด กิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ปรากฏผลดัง แสดงในตาราง 1

ตาราง 1 แสดงผลการประเมินคุณภาพของชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ที่พัฒนาขึ้น ชุดกิจกรรมที่ 1 2 3 4 5 ภาพรวม

คาเฉลี่ยแจกแจงรายการประเมิน จุดประสงค ใบความรู กิจกรรม แบบทดสอบ 4.85 4.70 4.87 4.70 4.85 4.93 4.87 4.50 4.60 4.90 4.87 4.75 4.80 4.80 4.90 4.60 4.85 4.70 4.87 4.65 4.79 4.81 4.88 4.64

คา X

4.78 4.79 4.78 4.78 4.77 4.78

ระดับ S 0.09 0.19 0.14 0.13 0.11 0.10

ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก


60

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

จากตาราง 1 สรุปผลการวิจัยไดดังนี้ การพัฒนาดานคุณสมบัติของชุดกิจกรรม เรื่อง การ อนุรักษทรัพยากรน้ํา ในดานจุดประสงค ใบความรู กิจกรรม และแบบทดสอบ อยูในระดับดีมากทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากได

ผานการศึกษาคนควา จากเอกสาร ผานการพิจารณาจาก ผูเชี่ยวชาญจนมีการปรับแกไขจนอยูในระดับดีมาก 1.2 การพัฒนาดานประสิทธิภาพ ชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ปรากฏผลดังแสดงในตาราง 2

ตาราง 2 แสดงรอยละของคะแนนเฉลี่ยจากแบบฝกหัดระหวางเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา หลังใชชุดกิจกรรม การทดสอบ ชุด ชุดกิจกรรม ชุดกิจกรรม ชุดกิจกรรม ชุดกิจกรรม คารอยละ คารอยละ กิจกรรมที่ ที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ที่ 5 (E1) (E2) 1 ระหวางเรียน 82.50 82.25 83.50 84.00 84.25 83.30 หลังเรียน 82.50 จากตาราง 2 สรุปผลการวิจัยไดดังนี้ การพั ฒ นา ด า นประสิ ท ธิ ภ าพ ชุ ดกิ จ กรรม เรื่ อ ง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ผลการวิจัยพบวา ชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 84.89/8เปนไปตามเกณฑ 80/80 โดยนํา ไปทดลองใช กั บ นั ก เรี ย นกลุ ม ทดลอง จํา นวน 30 คน

สรุ ป ได ว า ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง การอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรน้ํ า มี คุณภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว 2. การทดลองสอน 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอนุรักษ ทรัพยากรน้ํา ปรากฏผลดังแสดงในตาราง 3

ตาราง 3 แสดงคาเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอนุรักษ ทรัพยากรน้ํากอน และหลังใชชุดกิจกรรมดวยชุดกิจกรรมเรื่องการอนุรักษทรัพยากรน้ํา การทดสอบ กอนเรียน หลังเรียน

n 40 40

X

21.95 32.18

S 2.93

D

SD

T

10.23

2.47

26.12**

2.34

** ,มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (df = 39 , t .01 = 2.423) จากตาราง 3 สรุปผลการวิจัยไดดังนี้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอนุรักษทรัพยากร น้ํา ของนักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง ผลการวิจัยพบวา คะแนน เฉลี่ยกอนเรียนจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนกับหลังเรียนมีความแตกตางกัน (อยางมีนัยสําคัญที่สถิติ .05) โดยคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนเทากับ 26.97และคะแนนเฉลี่ยหลัง

เรียนเทากับ 33.11 ดังนั้นจึงสรุปไดวาชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา สงเสริมใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้ง ไว 2.2 พฤติกรรมการทํางานกลุม เรื่อง การ อนุรักษทรัพยากรน้ํา ปรากฏผลดังแสดงในตาราง 4


61

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ตาราง 4 แสดงคาเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการทํางานกลุม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 พฤติกรรมการทํางานกลุม 1.การวางแผนการทํางาน 2.ความรับผิดชอบงานและหนาที่ภายในกลุม 3.การใชความชวยเหลือสมาชิกในกลุม, 4. การแสดงความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุม 5. การยอมรับความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุม 6.การสรางบรรยากาศในการทํางานกลุม ภาพรวม

X

4.85 4.86 4.87 4.86 4.83 4.84 4.86

จากตาราง 4 สรุปผลการวิจัยไดดังนี้ พฤติ ก รรมการทํ า งานกลุ ม เรื่ อ ง การอนุ รั ก ษ ทรัพยากรน้ํา ของนักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง ผลการวิจัยพบวา คะแนนเฉลี่ยกอนเรียนจากการทําแบบสอบถามพฤติ ก รรม การทํา งานกลุ ม ระหว า งเรี ย น(อย า งมี นั ย สํา คั ญ ที่ ส ถิ ติ .05)

S 0.05 0.07 0.05 0.06 0.05 0.05 0.05

ระดับ ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก

โดยคะแนนเฉลี่ย 4.71 ดังนั้นจึงสรุปไดวาชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา สงเสริมใหนักเรียนมีพฤติกรรม การทํางานกลุม ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว 2.3 ความตระหนักตอการอนุรักษทรัพยากรน้ํา เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา ปรากฏผลดังแสดงในตาราง 5

ตาราง 5 แสดงคาเฉลี่ยของคะแนนความตระหนักตอการอนุรักษทรัพยากรน้ํา กอนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 S SD การทดสอบ n X D กอนเรียน 40 63.05 8.76 20.30 7.38 หลังเรียน 40 83.35 7.12

t 17.37**

** ,มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (df = 39 , t .01 = 2.423 ) การอภิปรายผลการวิจัย จากตาราง 5 สรุปผลการวิจัยไดดังนี้ การอภิ ป รายผลการวิ จั ย ในครั้ ง นี้ เสนอ ความตระหนั ก ต อ การอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรน้ํ า เรื่ อ ง การอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรน้ํ า ของนั ก เรี ย นที่ เ ป น กลุ ม ตั ว อย า ง ตามลําดับ ดังนี้ 1. อภิปรายผลการพัฒนา ผลการวิจัยพบวา 1. เรื่อง น้ําและธรรมชาติของน้ํา ชุดที่ 2. 1.1 ดานคุณสมบัติ พบวา คุณสมบัติ เรื่อง แหลงน้ําและการใชประโยชนจากแหลงน้ํา ชุดที่ 3. เรื่อง ปญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา เรื่อง ชุดที่ 4. การจัดการแหลงน้ํา ของชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ําอยูในระดับ และชุดที่ 5. เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา มีคาคะแนนเฉลี่ย ดี ม าก ซึ่ ง สู ง กว า เกณฑ ที่ กํ า หนดไว ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจาก เทากับ 4.420 , 4.378 และ 4.389 ซึ่งอยูในระดับมาก สรุปได การศึ ก ษาเอกสารประกอบการค น คว า และขั้ น ตอน วา นักเรียนมีความตระหนักตอการอนุรักษทรัพยากร ในระดับ รายละเอียดที่ใชในชุดกิจกรรมเปนสวนที่สงเสริมใหผูเรียน ได เ กิ ด การเรี ย นรู อ ย า งแท จ ริ ง ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ มาก ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่วางไว


62

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ประพฤติ ศีลพิพัฒน (2540 : 29 ) ที่กลาววา ชุดการเรียนหรือ ชุดกิจกรรมเปนสื่อที่ชวยใหนักเรียนสามารถเรียนไดดวยตัวเอง มีการจัดสื่อไวอยางเปนระะบบชวยใหนักเรียนเกิดความสนใจ ตลอดเวลา ทําใหเกิดทักษะในการแสวงหาความรู นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับแนวคิดของ วาสนา ชาวหา (2525 :139) ที่ กลาววา เปนชุดการเรียนการสอนที่จัดโปรแกรมการเรียน สําหรับผูเรียน ใหเรียนดวยตนเองตามความสามารถและความ สนใจเปนรายบุคคล เพื่อสงเสริมความสามารถของแตบุคคลให พัฒนาการเรียนรูของตนไปใหถึงขีดสุดความสามารถ โดยไม ตองเสียเวลาคอยคนอื่น 1.2 ดานประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ําสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 4 ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 83.30/82.50 ซึ่งเปนไปตาม เกณฑที่ 80/80 ที่กําหนด ซึ่งผลการวิจัยขางตนเปนคารอยละ ของคะแนนเฉลี่ยของแบบฝกหัดระหวาง คิดเปนรอยละ 83.30 และคารอยละของคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนจากแบบทดสอบหลัง เรียน คิดเปนรอยละ 82.50 ทั้งนี้อาจเปนผลเนื่องมาจากสาเหตุ ตาง ๆ ดังนี้ ประการแรก การพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษ ทรัพยากรน้ํา ไดดําเนินการตามหลักการสรางชุดกิจกรรมอยาง มีระบบ โดยมีการศึกษาหลักสูตร วิเคราะหจุดมุงหมายและ เนื้อหาของกิจกรรม ใหมีความเหมาะสมกับระดับของผูเรียน มี การกําหนดจุดประสงคการเรียนรู รายวิชา มาตรฐานรายวิชา และคําอธิบายรายวิชา รวมทั้งมีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ กั บ การอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรน้ํ า ได ข อ มู ล จากแหล ง ต า ง ๆ ที่ เกี่ ย วข อ งรวมทั้ ง สอบถามผู เ ชี่ ย วชาญซึ่ ง ทํ า ให ไ ด ข อ มู ล แนวความคิด และแนวในการเขียนชุดกิจกรรม ประการที่ ส อง การพัฒ นาชุ ด กิจ กรรม เรื่ อ ง การ อนุรักษทรัพยากรน้ํามีการตรวจสอบแกไข ตามขอเสนอแนะ ของประธานและคณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ อีกทั้ง ได ผ า นการตรวจสอบคุ ณ ภาพและประเมิ น คุ ณ ภาพจาก ผู เ ชี่ ย วชาญ ทั้ ง ในด า นเนื้ อ หา ด า นการใช ภ าษา เพื่ อ หา ขอบกพรอ งของชุดกิจกรรม และนํา ขอ บกพรองมาปรับปรุง แกไขใหถูกตอง ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ เสาวณีย สิกขาบัณฑิต (2528 : 292 – 293) ที่กลาววาการพัฒนาชุดกิจกรรม ตองมี การตรวจเช็ ค ทุ ก ขั้ น ตอน และทุ ก อย า งในชุ ด ฝ ก อบรมต อ งมี

ความสอดคล อ งกั น เป น อย า งดี มี ก ารทดลองใช กั บ นักเรียนกลุมทดลอง จํานวน 30 คน และไดปรับปรุงจนมี ประสิทธิภาพอยูในเกณฑมาตรฐานเปนที่เชื่อถือไดกอน นําไปใชทดลองจริง จากเหตุผลดังกลาว ทํา ใหชุดกิจกรม เรื่องการ อนุรักษทรัพยากรน้ํา มีประสิทธิภาพ 83.30/82.50 ซึ่ง เปนไปตามเกณฑ 80/80 ที่กําหนด และมีความเหมาะสมที่ จะนําไปใชในการสอนได 2. อภิปรายผลการทดลองสอน 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการอนุรักษ ทรัพยากรน้ํา ผลจากการวิจัยพบวา ผูเรียนที่ไดรับการสอน ดวยชุดกิจกรรม เรื่องการอนุรักษทรัพยากรน้ํา มีคะแนน เฉลี่ ย หลั ง เรี ย นสู ง กว า คะแนนก อ นเรี ย น เป น ไปตาม สมมติฐานการวิจัยขอ 1 ทั้งนี้อาจเปนผลเนื่องมาจาก สาเหตุ ตางๆ ดังนี้ ประการแรก การเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรม เปน การเรี ย นรู ที่ สามารถกระตุน การเรีย นรูข องนั ก เรี ย นได ดี เนื่องจากผูเรียนไดเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริง มีการทํางานกันเปนกลุม ผูเรียนทุกคนมีบทบาทสําคัญใน การทํ า กิ จ กรรม โดยครู ค อยช ว ยชี้ แ นะแนวทางและให คํ า ปรึ ก ษาเมื่ อ มี ป ญ หาในการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม ทํ า ให นักเรียนเกิดการเรียนรูไดดีกวาการฟงคําบรรยายภายใน ห อ งเรี ย นเพี ย งอย า งเดี ย ว สอดคล อ งกั บ แนวคิ ด ของ ไพศาล หวังพานิช (2524 : 89) ที่กลาวไววา ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เปนความสามารถของบุคคลที่เกิดจากการ ฝกอบรม หรือ จากการสอน สงผลใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้นสอดคลองกับงานวิจัยของศศิธร มงคล ทอง (2548 : บทคัดยอ) ที่พบวานักเรียนที่เรียนโดยใชชุด กิจกรรมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สอนโดยใชชุดกิจกรรม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแตละดานสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสอดคลองกับ งานวิจัยของ จันทรจิรา รัตนไพบูลย (2549 : 109)ได ศึกษาพบวา นักเรียนที่เรียนดวยชุดกิจกรรม มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังการเรียนสูงกวากอนเรียน และสอดคลอง กับงานวิจัย ของอักษรศรี มรกต (2544 : 72) ไดศึกษา พบวา นักเรียนที่เรียนดวยชุดกิจกรรม ผลสัมฤทธิ์ทางการ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 เรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 ประการที่สอง การจัดกิจกรรมภายในชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นมัธมศึกษาป ที่ 4 ที่พัฒนาขึ้น มีความสอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงค เหมาะสมกับนักเรียน เนนการปฏิบัติจริง และสามารถปฏิบัติ ด ว ยตนเอง สอดคล อ งกั บ แนวคิ ด ของ อุ ษ า คํ า ประกอบ (2530 :30) ที่ไดกลาววาชุดกิจกรรม ทําใหนักเรียนสามารถ ทดสอบตนเองก อ นว า มี ค วามสามารถอยู ใ นระดั บ ใด แล ว เริ่ ม ต น เรี ย นรู ใ นสิ่ ง ที่ ต นเองไม ท ราบ ทํ า ให ไ ม ต อ งเสี ย เวลา กลับมาเรียนในสิ่งที่ผูเรียนรูแลวนักเรียนสามารถนําบทเรียนไป เรียนที่ ไ หนก็ไ ด ตามความพอใจไม จํา กัดเวลา และสถานที และสอดคลองกับงานวิจัยของ กระจางจิต แกวชล (2549 : 114) ที่ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอนุรักษน้ํา ของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูง กวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากเหตุ ผ ลดั ง กล า วข า งต น เป น การสนั บ สนุ น สมมติฐานขอที่ 1 ที่วา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ไดรับ การสอน เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 3. พฤติกรรมการทํางานกลุม ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ไดรับการสอน ดวย ชุดกิจกรรม เรื่อง การ อนุรักษทรัพยากรน้ํา ผลการวิจัยพบวา นักเรียน มีพฤติกรรม การทํางานกลุม ทุกชุดกิจกรรม มีคาเฉลี่ย 4.86 ซึ่งอยูในระดับ ดีมาก เปนไปตามสมมติฐานการวิจัยขอที่ 2 ทั้งนี้อาจเปนผล เนื่องมาจากสาเหตุตาง ๆ ดังนี้ ประการแรก ชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากร น้ํา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 มีการกําหนดให นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเปนระบบกลุม(Group study) มีการ กําหนดบทบาท และ หนาที่ของสมาชิกภายในกลุมไวชัดเจน สอดคลองกับแนวคิดของ ทิศนา แขมมณี (2522 : 343) และ คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2530) ที่กลาวถึงลักษณะของการทํางาน กลุมไววา การทํางานกลุมสมาชิกทุกคนภายในกลุม มีบทบาท และหน า ที่ ใ นการช ว ยดํ า เนิ น งานให บ รรลุ ผ ลสํ า เร็ จ ตาม เป า หมาย เพื่ อ ประโยชน ร ว มกั น ของกลุ ม ขณะที่ ร วมกลุ ม มี โอกาสแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ซึ่ ง กั น และกั น การพู ด คุ ย

63

ระหวางเพื่อนในระดับเดี่ยวกัน ทําใหนักเรียนสามารถสื่อ ความหมายและเขาใจกันมากขึ้น การอภิปรายรวมกันทั้ง หองเรียนเปนกลุมใหญเกินไป ทําใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธ ภายในกลุมกันนอย และไมสามารถแสดงความคิดเห็นได ทุกคนเพราะตองใชเวลามาก ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ประพนธ นอยเภา (2541 : บทคัดยอ) ไดศึกษาพบวา พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียนที่ไดรับการสอนแบบ ระบบการสอนสวนบุคคลโดยใชชุดการสอนแบบกลุมจะมี พฤติกรรรมกลุมดีขึ้นหลังการปฏิบัติกิจกรรม นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ ศิรพร ทิพยสิงห (2545 : บทคัด ยอ ) ไดศึ กษาพบวา นั ก เรีย นที่ เ รีย นโดยใชชุ ด การ เรียนการสอน เรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดลอม มีพฤติกรรมการ ทํางานกลุม อยูในระดับดี ประการที่ ส อง ครู ผู ส อนมี ก ารวางแผนในการ เรียนใหบรรลุเปาหมาย โดยครูมีการศึกษาวัตถุประสงค และเนื้ อ หา ตลอดจนเข า ใจเนื้ อ หาเป น อย า งดี มี ก าร เตรี ย มการสอนล ว งหน า พร อ มจั ด เตรี ย มอุ ป กรณ และ เอกสารในชุ ด กิ จ กรรมให พ ร อ มและมี ส ภาพใช ง านได ส ง เสริ ม และกระตุ น ให นั ก เรี ย นปฏิ บั ติ กิ จ กรรมให บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค คอยชี้ แ นะ และให ค วามช ว ยเหลื อ เมื่ อ นักเรียนเกิดปญหาหรือขอสงสัย สอดคลองกับแนวคิดของ ยังส (สามารถ สุขาวงษ 2537 ; อางอิงจาก Young 1972 : 634) ที่กลาววา การปฏิบัติกิจกรรมระบบกลุมมี ประโยชนชวยใหนักเรียนสามารถนําพลังกลุมออกมาใช ประโยชน ต อ การเรี ย นการสอน โดยครู มี เ วลาให ค วาม ชวยเหลือสําหรับกลุมนักเรียนี่มีปญหามากขึ้น เนนใหนัก เรียนรูจัดบทบาทและหนาที่ของตนเอง ประการที่ สาม การจัดกลุ มนัก เรียนเพื่อ ปฏิบั ติ กิจ กรรมมีค วามเหมาะสมในการทํา งาน คื อ จัด นักเรีย น กลุมละ 5 คน มีความสามารถแตกตางกัน 3 ระดับ คือ เก ง ปานกลาง อ อ น พร อ มกํ า หนดบทบาทหน า ที่ ข อง สมาชิกภายในกลุมตามความรูความสามารถ สอดคลอง กับแนวคิดของ ทิศนา แขมมณี (2522 : 8) ที่กลาวไววา การจัดกลุมในการปฏิบัติกิจกรรมที่พอเหมาะคือ 5 – 15 คน สมาชิกทุ กคนมีสว มรว มในกิจ กรรมของกลุ มเพื่ อ ให บรรลุจุดมุงหมายของกลุมที่วางไว ดังนั้นการทํางานกลุม


64

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ใหมีประสิทธิภาพนั้น กลุมตองกําหนดวัตถุประสงค กําหนด บทบาทและหน า ที่ ข องสมาชิ ก การมี ส ว นร ว มของสมาชิ ก ความรู สึ ก ของสมาชิ ก ขณะทํ า งาน วิ ธี ก ารดํ า เนิ น งานกลุ ม ภาวะผู นํ า ภายในกลุ ม การตั ด สิ น ใจภายในกลุ ม และการ ไว ว างใจซึ่ง กั น และกัน จึ ง จะทํ า ให การทํ า งานระบบกลุ ม มี ประสิทธิภาพมากขึ้น จกเหตุ ผ ลดั ง กล า วข า งต น เป น การสนั บ สนุ น สมมติฐานขอที่ 2 ที่วา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ไดรับ การสอน โดยใชชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรน้ํา มี พฤติกรรมการทํางานกลุมอยูในระดับดีขึ้นไป 4. ความตระหนักตอการอนุรักษทรัพยากรน้ํา ผล การศึกษาพบวา นักเรียนที่ไดรับการสอน โดยใชชุดกิจกรรม เรื่องการอนุรักษทรัพยากรน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 4 เกิดความตระหนักตอการอนุรักษทรัพยากรน้ํา หลังเรียนสูง กวากอนเรียน เปนไปตามสมมติฐานการวิจัย ขอที่ 3 ทั้งนี้อาจ เปนผลเนื่องมากจากสามเหตุตาง ๆ ดังนี้ ประการแรก ชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากร น้ํา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่พัฒนาขึ้นมีการจัด กิจกรรมที่หลากหลาย เนนใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมจริงเรียนรู จากสิ่ ง รอบตั ว ได สั ม ผั ส กั บ สิ่ ง แวดล อ มโดยตรงเรี ย นรู จ าก ความจริงและธรรมชาติที่มีอยูในชุมชน สอดคลองกับแนวคิด ของกนกพร อิศรานุวัฒน(2540 : 24)สมบุญ ศิลปรุงธรรม (2540 : 23) และสุขณภา สําเนียงสูง(2546 : 43) ที่ไดศึกษาไว สอดคล อ งกั น ว า ความตระหนั ก เป น การปลู ก ฝ ง หรื อ พั ฒ นา ความรู สึ ก ซาบซึ้ ง ต อ สิ่ ง แวดล อ ม การปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลง พฤติ ก รรมทางด า นความรู สึ ก อารมณ จํ า เป น ต อ งพยายาม สอดแทรก ในทุกเวลาและโอกาส เทาที่จะทําได แมพฤติกรรม นี้จ ะไมเกิดขึ้น ทัน ทีทันใดก็ตาม แตในกาลขางหน า ถา มีก าร เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใหเปนไปตามจุดมุงหวังในการสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมใหยั่งยืนตอไป ประการที่ ส อง ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง การอนุ รั ก ษ ทรั พ ยากรน้ํา สํา หรั บ นั ก เรี ย นชั้น มัธ ยมศึก ษาป ที่ 4 เปน การ เรี ย นการสอนที่ ใ ห นั ก เรี ย นเข า ใจสิ่ ง แวดล อ มรอบๆตั ว ของ นั ก เรี ย น ที่ เ ป น ชี วิ ต จริ ง และนั ก เรี ย นสามารถสั ม ผั ส ได ใ น ชีวิตประจําวัน ตลอดจนสามารถเขาใจปญหาและผลกระทบตอ มลภวะทางน้ํา ที่นักเรียนหรือคนในชุมชน พึงไดรับโดยตรง จึง

เป น ผลให นั ก เรี ย นเกิ ด ความตระหนั ก ในการดู แ ลรั ก ษา ทรั พ ยากรน้ํ า และสิ่ง แวดล อ มในชุ ม ชน เพื่อ ตนเองและ ชุมชน จากเหตุผลดังกลาวขางตน เปนการสนับสนุน สมมติฐานขอที่ 3 ที่วา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ ได รั บ การสอน โดยใช ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง การอนุ รั ก ษ ทรัพยากรน้ํา มีความตระหนักตอการอนุรักษทรัพยากรน้ํา สูงขึ้นกวากอนเรียน ขอเสนอแนะที่เกี่ยวของกับงานวิจัยครั้งนี้ 1. การนํ า ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง การอนุ รั ก ษ ทรัพ ยากรน้ํา ไปใชสํา หรั บ บุคลากรที่ เกี่ย วขอ งทางดา น สิ่งแวดลอมศึกษา ควรศึกษารายละเอียดของชุดกิจกรรม และศึกษาเพิ่มเติมจากคูมือครูประกอบการเรียนการสอน เพื่อจะไดใหคําแนะนํากับนักเรียนไดอยางถูกตองและเกิด ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น 2. การนํ า ชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง การอนุ รั ก ษ ทรัพยากรน้ําไปใชสําหรับกลุมสาระการเรียนรูอื่น ๆ ควรนํา ชุ ด กิ จ กรรม และเนื้ อ หารายละเอี ย ดของชุ ด กิ จ กรรมไป ปรับปรุงและบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให สอดคลองกับ 3. การนําชุดกิจกรรม เรื่อง การอนุรักษทรัพยากร น้ําไปใชควรมีการปรับกิจกรรม ระยะเวลา สถานที่ และ ส ถ า น ก า ร ณ ใ ห เ ห ม า ะ ส ม กั บ ป จ จุ บั น แ ล ะ ร ะ ดั บ ความสามารถของผูเรียน 4. สํ า หรั บ หน ว ยงานอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ทรัพยากรน้ํา การนําชุดกิจกรรมไปใชในการใหความรูและ สรางความเขาใจในเรื่อง น้ําและธรรมชาติของน้ํา แหลง น้ํ า และการใช ป ระโยชน จ ากแหล ง น้ํ า ป ญ หาเกี่ ย วกั บ ทรัพยากรน้ํา การจัดการแหลงน้ํา และ การอนุรักษ ทรัพยากรน้ํา ควรศึกษารายละเอียดและขั้นตอนการปฏิบัติ ให เ ข า ใจและควรปรั บ แก ไ ขให เ หมาะสมกั บ ระดั บ ของ บุคคลที่อยูในชุมชน 5 การจัดหาสื่อและอุปกรณในการจัดกิจกรรม ควรใหมีความเพียงพอกับผูเรียน เพื่อจะใหผูเรียนสามารถ ปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลได


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 6 ในขณะที่ ป ฏิ บั ติ กิ จ กรรม ครู ผู ส อนควรให คําปรึกษาและคําแนะนํากับผูเรียนคอยชวยเหลือเมื่อผูเรียนเกิด ปญหาพรอมทั้งคอยกระตุนใหกําลังใจเพื่อใหผูเรียนเกิดความ สนใจที่จะเรียนรู จึงจะทําใหชุดกิจกรรมมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ขอเสนอแนะเพื่อการทําวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการศึกษาผลการใชชุดกิจกรรม เรื่อง การ อนุรักษทรัพยากรน้ํา กับตัวแปรอื่น ๆ อาทิ เจตคติที่มีตอการ อนุ รั ก ษ น้ํ า ในชุ ม ชน ความสามารถในการแก ป ญ หาทาง วิทยาศาสตร และจิตวิทยาศาสตร ฯลฯ

65

2. ควรพั ฒ นาชุ ด กิ จ กรรม เรื่ อ ง การอนุ รั ก ษ ทรัพยากรน้ําในระดับชั้นอื่น ๆ เชน นักเรียนระดับประถม ศึกษา ระดับอุดมศึกษา และสําหรับประชาชนทั่วไป โดยเพิ่มทักษะทางวิทยาศาสตรขั้นบูรณาการเพิ่มเติมเขา ไปดวย พรอมทําใบความรู เรื่อง ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรเพิ่มเติม

บรรณานุกรม กนกพร อิสรานุวัฒน. (2540). ความรูและความตระหนักเกีย่ วกับปญหาสิ่งแวดลอมจากขยะมูลฝอย ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 3 สังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (สุขศึกษา) กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. กระจางจิต แกวชล. (2549). การพัฒนาชุดฝกอบรม เรื่อง การอนุรักษน้ํา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 . ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ถายเอกสาร. จันทรจิรา รัตนไพบูลย.( 2549).การพัฒนาชุดกิจกรรมคายอนุรักษสิ่งแวดลอม เรื่อง การอนุรักษสิ่งแวดลอม สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ที่เรียนโดยใชชุดกิจกรรมคายอนุรักษสิ่งแวดลอมแบบเปนกลุม. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒประสานมิตร. ถายเอกสาร. ทิศนา แขมมณี.( 2543 ).การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง โมเดลซิปปา. การเรียนรูส ําหรับครู ยุคปฏิรูปการศึกษา. หนา 1- 22 .กรุงเทพมหานคร: คณะ ครุศาสตร จุฬาลงการณมหาวิทยาลัย. ประพนธ นอยเภา. (2541). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรูวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่มีความรูพื้นฐานทางคณิตศาสตรแตกตางกันทีไ่ ดรบั การสอน ระบบการสอนรายบุคคล โดยใชชุดการสอนเปนรายบุคคลและโดยใชชุดการสอนเปนกลุม. ปริญญานิพนธ กศ.ม.(การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ประพฤติ ศีลพิพัฒน.(2540). การศึกษาผลของการใชชุดกิจกรรมสรางสื่อประดิษฐในคายวิทยาศาสตรที่มีตอความสามารถ ในการสรางสิ่งประดิษฐและความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. ปริญญานิพนธ. กศม.(การมัธยมศึกษ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ไพศาล หวังพานิช.(2526 ).การวัดผลการศึกษา.สํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.กรุงเทพฯ. วาสนา ชาวหา. (2525) เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ. อักษรสยามการพิมพ.


66

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ศิริพร ทิพยสิงห. (2545). พัฒนาชุดการเรียนการสอน เรื่อง “ชีวิตกับสิ่งแวดลอม” โดยใชประโยชนจากแหลง ประสบการณเรียนรูวิทยาศาสตร บริเวณชุมชนวัดประดิษฐราม กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (วิทยาศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สมบุญ ศิลปรุงธรรม. (2540). ความรูและความตระหนักของนักเรียนอาชีวศึกษาเกี่ยวกับมลพิษ สิ่งแวดลอม ในกรุงเทพมหานคร. ปริญญนิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. สามารถ สุขาวงษ. (2537). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพฤติกรรมการทํางานกลุมและความคงทน ในการเรียนรูของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่เรียนวิชาสังคมศึกษา ดวยการสอนแบบโครงงาน โดยใชการเรียนแบบรวมมือ. วิทยานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). มหาวิทยาลัยขอยแกน สุขณภา สํานียงสูง. (2546). การพัฒนาชุดฝกอบรมเรื่อง สิ่งแวดลอมชุมชน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เสาวนีย สิกขาบัณฑิต. (2528). เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาคุรุศาสตร เทคโนโลยีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. อักษรศรี มรกต. (2544). การพัฒนาชุดการเรียนการสอนประกอบการตูน เรื่องพลังงานในชีวิตประจําวัน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. ปริญญานิพนธ. กศ.ม. (วิทยาศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Bloom , Benjamin S. (1976). Taxonomy of Education Objectives Handbook 1. Cognitive Domain. New York : David Mc Kay Company Inc. Strickland,W.R. (1971). “A Comparison of a programmed Course a traditional Lecture Course in General Biology”. Dissertation Abstracts international. 3


67

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ปจจัยทีส่ งผลตอพฤติกรรมการเรียนของพระนิสติ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร FACTORS AFFECTING ON LEARNING BEHAVIOR OF MONK STUDENTS IN THE FACULTY OF HUMANITIES AT MAHACHULALONGKORNRAJAVIDLAYALAI UNIVERSITY IN BANGKOKNOI DISTRICT, BANGKOK Ö พระมหาสุชาติ ใหมออน 1 ผูชวยศาสตราจารย พรหมธิดา แสนคําเครือ รองศาสตราจายร เวธนี กรีทอง 2

2

บทคัดยอ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ พฤติกรรมการเรียนของพระนิสิต คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั ย เขตบางกอกนอ ย กรุงเทพมหานคร ปจจัยที่ศึก ษาแบงเปน 3 ปจจัย คือ ปจจัยดา นสว นตัว ไดแ ก สถานภาพ อายุ ชั้ น ป ที่ ศึ ก ษา บุ ค ลิ ก ภาพ นิ สั ย ทางการเรี ย น แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียน และลักษณะมุงอนาคตทางการเรียน ปจจัยดานครอบครัว ไดแก การสนับสนุนการเรียนของผูปกครอง และ ป จ จั ย ด า นสิ่ ง แวดล อ มทางการเรี ย น ได แ ก ลั ก ษณะทางกายภาพ ทางการเรี ย น สั ม พั น ธภาพระหว า งพระนิ สิ ต กั บ อาจารย และ สัมพันธภาพระหวางพระนิสิตกับเพื่อน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย เปนพระนิสิตคณะมนุษยศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย เขตบางกอกน อ ย กรุงเทพมหานคร ปการศึกษา 2549 จํานวน 342 รูป เครื่องมือที่ใชใน การศึกษาคนควา ไดแก แบบสอบถามปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการ เรียนของพระนิสิต สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ การวิเคราะหคา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2 อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

1


68

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ผลการศึกษา พบวา 1.ป จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ พฤติกรรมการเรียนของพระนิสิต คณะมนุษยศาสตร อยาง มี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 มี 7 ป จ จั ย ได แ ก บุคลิกภาพ(X8) นิสัยทางการเรียน(X9) แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน(X10 ) ลั ก ษณะมุง อนาคตทางการเรี ยน(X11 ) ลักษณะกายภาพทางการเรียน(X13) สัมพันธภาพระหวาง พระนิสิตกับอาจารย(X14) และสัมพันธภาพระหวางพระนิสิต กับเพื่อน (X15) 2. ป จ จั ย ที่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ ท า ง ล บ กั บ พฤติ ก รรมการเรี ย นของพระนิ สิ ต คณะมนุ ษ ยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปจจัย ไดแก การสนับสนุนทางเรียนของผูปกครอง(X12) 3. ป จ จั ย ที่ ไ ม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ พฤติ ก รรม การเรียนของพระนิสิต คณะมนุษยศาสตร มี 7 ปจจัย ไดแก สถานภาพ : พระภิกษุ(X1) สถานภาพ : สามเณร(X2) อายุ(X3) ชั้นปที่ศึกษา : ชั้นปที่ 1(X4) ชั้นปที่ศึกษา : ชั้นปที่ 2(X5) ชั้นปที่ศึกษา : ชั้นปที่ 3(X6) และชั้นปที่ศึกษา : ชั้นป ที่ 4(X7) 4. ปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการเรียนของ พระนิสิ ต คณะมนุษ ยศาสตร อยา งมีนัยสํ า คัญ ทางสถิติ ที่ ระดับ .01 มี 5 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมาก ที่สุดไปหาปจจัยที่สงผลนอยที่สุด ไดแก ลักษณะมุงอนาคต ทางการเรียน(X11) แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียน(X10) นิสัยทางการเรียน(X9) สัมพันธภาพระหวางพระนิสิตกับ อาจารย(X14) และการสนับสนุนการเรียนของผูปกครอง(X12) ซึ่ ง ป จ จั ย ทั้ ง 5 ป จ จั ย นี้ สามารถร ว มกั น อธิ บ ายความ แปรปรวนของพฤติ ก รรมการเรี ย นของพระนิ สิ ต คณะ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร ไดรอยละ 53.90 5. สมการพยากรณพฤติกรรมการเรียนของ พระนิสิต คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร มีดังนี้

5.1 สมการพยากรณพฤติกรรมการเรียนของพระ นิสิต คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร ในรูปคะแนน ดิบ ไดแก Ŷ = .644 + .635 X11 – .304 X10 + .284X9 + .201X14– .100 X12 Ŷ = .644(คาคงที่ของการพยากรณ) +.635 X11 (ลักษณะมุงอนาคตทางการเรียน) –.304 X10(แรงจูงใจ ใฝ สั ม ฤทธิ์ ) +.284X9 (นิ สั ย ทางการเรี ย น) +.201X1 4 ( สัมพันธภาพระหวางพระนิสิตกับอาจารย) – .100 X12(การ สนับสนุนการเรียนของผูปกครอง) 5.2 สมการพยากรณพฤติกรรมการเรียนของพระนิสิต คณะมนุ ษ ยศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราช วิทยาลัย เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร ในรูปคะแนน มาตรฐาน ไดแก Z = .590X11 – .292 X10 + .226X9 + .215X14– .149 X12 Z = .590X11(ลักษณะมุงอนาคตทางการ เรียน) – .292 X10 (แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์) +.226X9(นิสัย ทางการเรียน) +.215X14(สัมพันธภาพระหวางพระนิสิตกับ อาจารย) –.149X12 (การสนับสนุนการเรียนของผูปกครอง) Abstract The purposes of this research were to study the factors affecting on learning behavior of monk students in the Faculty of Humanities at Mahachulalongkornrajavidyalaya University in Bangkok Noi District, Bangkok. The factors were divided into 3 dimensions , first of them was personal factors : status, age, level of education, personality, learning habit, learning achievement motive and further learning orientation, second of them was family factor : guardian’s learning supportive and third of them was learning environmental factors : physical learning environment, interpersonal relationship between monk students and their teachers and interpersonal relationship between monk students and their peer groups.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 The samples of 342 were monk students in the Faculty of Humanities at Mahachulalongkornrajavidyalaya University in Bangkok Noi District, Bangkok in academic year 2006. The instrument was questionnaires of learning behavior of monk students. The data was analyzed by The Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1. There were significantly positive correlation among learning behavior of the monk students in the faculty of Humanities and 7 factors ; personality(X8), learning habit(X9), learning achievement motive(X10), further learning orientation (X11), physical learning environment(X13), interpersonal relationship between monk students and their teachers(X14), interpersonal relationship between monk students and their peer groups(X15) at. 05 level. 2. There was significantly negative correlation between learning behavior of the monk students in the faculty of Humanities and 1 factor ; guardian’s learning supportive (X12) at. 05 level. 3. There were no significantly correlation among learning behavior of the monk students in the Faculty of Humanities and 7 factors ; status : monk(X1), status : novice(X2), age(X3), level of education : undergraduated students first year (X4) , level of education : undergraduated students second year (X5), level of education : undergraduated students third year (X6) and level of education : undergraduated students fourth year (X7). 4. There were significantly 5 factors affecting on learning behavior of monk students in the Faculty of Humanities at Mahachulalongkornrajavidyalaya

69

University in Bangkok Noi District, Bangkok, at. 01 level ranking from the most to the least factors : were further learning orientation (X11), learning achievement motive(X10), learning habit(X9), interpersonal relationship between monk students and their teachers(X14) guardian’s learning supportive (X12). These 5 factors could predicted learning behavior of monk students in the Faculty of Humanities about percentage of 53.90. 5. The significantly predicted equation of learning behavior of monk students in the Faculty of Humanities at Mahachulalongkornrajavidyalaya University in Bangkok Noi District, Bangkok level were as follows : 5.1 In terms of raw scores were : Ŷ = .644 + .635 X11 – .304 X10 + .284X9 + .201X14– .100 X12 5.2 In terms of standard scores were : Z = .590X11 – .292 X10 + .226X9 + .215X14– .149 X12 ความสําคัญ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ฆ เ ป น ส ถ า น ที่ เ ป น ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ ห แ ก พ ร ะ ภิ ก ษุ ส า ม เ ณ ร ผู บ ว ช ใ น พระพุทธศาสนาไดศึ ก ษาหลักธรรมคํา สอนของพระสัมมา สัมมาพุทธเจาใหมีการเผยแผอ ยางถู กตอง ศึกษาวิชาการ ทางโลกที่เหมาะสมเพื่อประโยชนหลักธรรมใหประชาชนผูอยู นอกวัดหรือผูไมเขาใจในการใชภาษาทางพระพุทธศาสนา สามารถเขาใจหลักธรรม มหาวิท ยาลัยสงฆจึงมีเปาหมาย ชัดเจนที่จะพัฒนาคุณลักษณะของบัณ ฑิตที่พึงประสงค มี ปฏิปทานาเลื่อมใส ใฝรูใฝคิ ด เปนผูนําทางจิตวิญญาณ มี ความสามารถและอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนารูจักเสียสละ เพื่อสวนรวม รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม มีโลกทัศน กวางไกล มีประสิท ธิภาพในการพัฒ นาตนเองและผูอื่น ให เพียบพรอมดวยคุณธรรมและจริยธรรม


70

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย เป น มหาวิทยาลัยสงฆแหงหนึ่งที่ไดจัดการศึกษาเพื่อใหการศึกษา แกพระภิกษุ สามเณร และคฤหัสถทั่วไป เมื่อมีผูเขาศึกษาอยู เป น จํ า นวนมากความหลากหลายของพระนิสิ ต หลั กสู ต ร การจั ดการเรี ยนการสอนมี ป ญ หาในดา นตา ง ๆ เชน ดา น วิชาการ ความรวมมือของคณะสงฆ งบประมาณที่สนับสนุน ยังไมเพียงพอ รวมทั้งมีปญหาเกี่ยวกับคุณภาพของพระนิสิต ที่สําเร็จการศึกษา เชน การไมสามารถประยุกตใชหลักธรรม เพื่ อ พั ฒ นาตนเองและผู อื่ น (พระมหาสมคิ ด โครธรา. 2547 : 2) เนื่ อ งจากผู วิ จั ย เคยเป น พระนิ สิ ต อยู ที่ ค ณะ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมา เป นเวลา 4 ป ไดสังเกตพฤติกรรมการเรีย นของพระนิสิต พบวาพระนิสิตไมกลาแสดงออก ไมทบทวนบทเรียนที่เรียน ไปแลว ไมกระตือรือรนในการเรียน และสวนใหญไมกลา ถามคําถามเมื่ออาจารยเปดโอกาสใหถาม และไดผล สอดคลองกับที่ไดพูดคุยกับอาจารยผูสอนถึงพฤติกรรมการ เรียนของพระนิสิต ดวยเหตุนี้ ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาปจจัย ที่ ส ง ผลต อ พฤติ ก รรมการเรี ย นของพระนิ สิ ต คณะ มนุษยศาสตร ตั้งแตชั้นปที่ 1 ชั้นปที่ 2 ชั้นปที่ 3 และชั้นปที่ 4 ป ก ารศึ ก ษา 2549 มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราช วิทยาลัย เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร ความมุงหมายในการศึกษาคนควา 1. เพื่ อ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งป จ จั ย ด า น สวนตัว ปจจัยดานครอบครัว ปจจัยดานสิ่งแวดลอมทางการ เรียนกับพฤติกรรมการเรียนของพระนิสิต คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เขตบางกอก นอย กรุงเทพมหานคร 2. เพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ป จ จั ย ด า น ครอบครัว และปจจัยดานสิ่งแวดลอมทางการเรียน ที่สงผล ต อ พฤติ ก รรมการเรี ย นของพระนิ สิ ต คณะมนุ ษ ยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร 3. เพื่ อ สร า งสมการพยากรณ ข องพฤติ ก รรมการ เรี ย นของพระนิ สิ ต คณะมนุ ษ ยศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย

มหาจุฬาลงกรณราชวิ ท ยาลัย เขตบางกอกน อ ย กรุงเทพมหานคร วิธีการดําเนินการวิจัย ประชากรที่ ในการวิจัยครั้ง นี้ เปน พระนิ สิต คณะ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิท ยาลั ย เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร ปการศึกษา 2549 ตั้งแต ชั้นปที่ 1 ชั้นปที่ 2 ชั้นปที่ 3 และชั้นปที่ 4 รวมจํานวนทั้งหมด 342 รูป ซึ่งใชเปนกลุมตัวอยางทั้งหมด โดยการใช แ บบสอบถามป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ พฤติ ก รรมการเรี ย นของพระนิ สิ ต คณะมนุ ษ ยศาสตร เ ป น เครื่ อ งมื อ ในการวิ จั ย ซึ่ ง แบ ง ออกเป น 10 ตอน ได แ ก แบบสอบถามขอมูลสวนตัว แบบสอบถามบุคลิกภาพมีความ เชื่ อ มั่ น .6593 แบบสอบถามนิ สั ย ทางการเรี ย นมี ค วาม เชื่อมั่น .0840 แบบสอบแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียนมี ความเชื่ อ มั่ น .9081 แบบสอบถามลั ก ษณะมุ ง อนาคต ทางการเรี ย นมี ค วามเชื่ อ มั่ น .8744 แบบสอบถามการ สนั บ สนุ น การเรี ย นของผู ป กครองมี ค วามเชื่ อ มั่ น .9203 แบบสอบถามลั ก ษณะทางกายภาพทางการเรี ย นมี ค วาม เชื่อมั่น .7414 แบบสอบถามสัมพันธภาพระหวางพระนิสิต กับอาจารยมีความเชื่อมั่น .7460 แบบสอบถามสัมพันธภาพ ร ะ ห ว า ง พ ร ะ นิ สิ ต กั บ เ พื่ อ น มี ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น . 7 9 0 8 แบบสอบถามพฤติกรรมการเรียนของพระนิสิต .8440 สมมติฐานในการวิจัย 1. ปจจัยดานสวนตัว ปจจัยดานครอบครัว และ ป จ จั ย ด า นสิ่ ง แวดล อ มทางการเรี ย นมี ค วามสั ม พั น ธ กั บ พฤติ ก รรมการเรีย นของพระนิ สิ ต คณะมนุ ษ ยศาสตร เขต บางกอกนอ ย กรุง เทพมหานคร มหาวิท ยาลัยมหาจุฬ าลง กรณราชวิทยาลัย 2. ปจจัยดานสวนตัว ปจจัยดานครอบครัว และ ปจจัยดานสิ่งแวดลอมทางการเรียน สงผลตอพฤติกรรมการ เรียนของพระนิสิต คณะมนุษยศาสตร เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัย 1.ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการ เรียนของพระนิสิต คณะมนุษยศาสตรไดแก


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 บุ ค ลิ ก ภ า พ ( X8 ) พ ร ะ นิ สิ ต ค ณ ะ มนุ ษ ยศาสตร เป น ผูที่ มีบุ คลิ ก ภาพแบบเอ คือ เปน คนที่ มี ความรั ก ความก า วหน า มี ค วามกระตื อ รื อ ร น ชอบฟ น ฝ า อุปสรรคต า ง ๆ ชอบการแขง ขัน ทํา งานดวยความรวดเร็ว สอดคล อ งกั บ ผลการวิ จั ย ของ ไคว เ วอร และไวนด เ นอร (Kleiwer and Weidner. 1987 : 204) พบวา เด็กที่มี บุ ค ลิ ก ภาพแบบเอ จะทํ า งานสํ า เร็ จ มากกว า เด็ ก ที่ มี บุ ค ลิ ก ภาพแบบบี และมี ค วามพยายามเพื่ อ ให ป ระสบ ความสําเร็จมากกวา นิสัยทางการเรียน (X9) พระนิสิตคณะ มนุษยศาสตรมีนิสัยทางการเรียนดี มีพฤติกรรมการตั้งใจ เรียน มีความสนใจในการเรียน มีการแบงเวลาในเวลาเรียน มีการวางแผนในการเรียน สอดคลองกับผลการวิจัยของคอย โว (Koivo.1983 : 252 – 254) พบวาไดผลสอดคลองกันคือ นักเรียนที่มีนิสัยทางการเรียนดี จะเปนผูที่มีพฤติกรรมทางการเรียน สม่ําเสมอ มีการวางแผนและจัดระบบการเรียนและพัฒนา ผลการเรียนใหดีขึ้นเรื่อย ๆ โดยไมยอทอตออุปสรรค แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียน (X10 ) พระนิสิตคณะมนุษยศาสตรมีแ รงจูง ใจใฝสัมฤทธิ์ท างการ เรียนมาก ปรารถนาที่จะกระทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งใหสําเร็จลุลวงไป ดวยดี แมจะยุงยากลําบากก็ไมยอทอตออุปสรรคที่ขัดขวาง ไมกลัวตอความลมเหลว เพื่อนําตนเองไปสูความสําเร็จ ดังที่ ถวิล ธาราโภชน (2532 : 70) ไดกลาววา แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เปนแรงจูงใจที่เกิดขึ้นจากการคาดหวังของบุคคล ซึ่งอาจจะ ได พ บหรื อ มี ป ระสบการณ จ ากสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง จนเป น รอย ประทับใจมาตั้งแตยังเล็ก ๆ แลวเขาพยายามที่จะกาวไปสู ความสําเร็จอันนั้น ลั ก ษณะมุ ง อนาคตทางการเรี ย น (X11 ) พระนิ สิต คณะมนุ ษ ยศาสตร มีลั ก ษณะมุง อนาคตทางการ เรียนมาก เปนพระนิสิตที่มีความสามารถในการคาดการณ ไกลถึงผลที่อาจเกิดขึ้นจากการกระทําเกี่ยวกับการศึกษา มี การศึ ก ษาแนวทางแก ป ญ หาและวางแผนดํา เนิ น การเพื่ อ เป า หมายเกี่ ย วกั บ การศึ ก ษาและการประกอบอาชี พ ใน อนาคต เห็ น ความสํ า คั ญ ของผลดี ผลเสี ย ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ใน อนาคต มี ค วามเพี ย รพยายามในป จ จุ บั น เพื่ อ ประสบ ความสําเร็จในชีวิต ดังที่ ดวงเดือน พันธุมนาวิน และคนอื่น ๆ

71

(2529 : 100) กลาวถึง ลักษณะของผูที่มุงอนาคตและ สามารถควบคุ ม ตนเองได สามารถคาดการณ ไ กลเห็ น ความสํ า คั ญ ของอนาคตและตั ด สิ น ใจเลื อ กกระทํ า อย า ง เหมาะสม หาแนวทางแกปญหาและวางแผนดําเนินการเพื่อ เปาหมายในอนาคต ลักษณะกายภาพทางการเรียน (X13) พระนิสิต คณะมนุษยศาสตรไดรับลักษณะทางกายภาพทางการเรียนดี ไดแก ความเปนระเบียบเรียบรอยภายในหองเรียน ขนาดของ ห อ งเรี ย น การถ า ยเทอากาศภายในห อ งเรี ย น การใช สื่ อ อุปกรณการสอนที่ทันสมัย ซึ่งทําใหบรรยากาศในการเรียน ของพระนิสิตเปนไปอยางราบรื่น นาเรียน ซึ่งสอดคลองกับ แนวคิดของ ลอเรนซ (Lawrence. 1976 : 148) ที่กลาววา บรรยากาศในการเรี ย นการสอนเป น สภาพแวดล อ มทาง จิตวิทยาที่มีผลตอจิตใจ อารมณ ความรูสึกที่จะชวยใหเกิด การรูที่ดีขึ้น สัมพันธภาพระหวางพระนิสิตกับอาจารย(X14) พระนิสิตคณะมนุษยศาสตรมีสัมพันธภาพกับอาจารยดี ซึ่ง ไดแก การปฏิบัติตนของพระนิสิตตออาจารย ไดแก การตั้งใจ เรียน ขอคําแนะนํา ซักถามเมื่อมีขอสงสัยเกี่ยวกับการเรียน และการปฏิ บั ติ ต นของอาจารย ต อ พระนิ สิ ต ได แ ก การให ความรัก การเอาใจใสตอพระนิสิต ยอมรับความคิดเห็น ให ความเปน กั น เอง และดูแ ลใหคํ า ปรึก ษากับ พระนิสิต อยา ง ใกลชิด สัมพันธภาพระหวางพระนิสิตกับเพื่อน(X15) พระนิสิตคณะมนุษยศาสตรมีสัมพันธภาพกับเพื่อนดี มีการ ชวยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและกันดานการเรียน การแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันทางการเรียน ความหวงใยใกลชิดสนิทสนม ซึ่ง กั น และกั น การทํ า กิจ กรรมต า ง ๆ ร ว มกัน ในกลุม เพื่ อ น เพื่อใหเกิดความสําเร็จดานการเรียน ก็ยอมสงผลใหพระนิสิต มีความสุข ความสามัคคี 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับพฤติกรรมการ เรี ย นของพระนิ สิ ต คณะมนุ ษ ยศาสตร ได แ ก การ สนับสนุนทางการเรียนของผูปกครอง(X12) คือพระนิสิต คณะมนุ ษ ยศาสตร ไ ด รั บ การสนั บ สนุ น ทางการเรี ย นจาก ผูปกครองมาก ไมวาจะเปนการดูแลเอาใจใส ดูแลดานการ เรียน ซึ่งแสดงออกโดยการใหคําปรึกษาทางการเรียน การ


72

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

สนั บ สนุ น ค า เล า เรี ย น เป น ต น แต พ ระนิ สิ ต กลั บ แสดง พฤติกรรมทางการเรียนที่ไมเหมาะสม เชน ไมตั้งใจฟงขณะ อาจารย ส อน ไม ก ล า ถามอาจารย เ มื่ อ มี ข อ สงสั ย ไม ก ล า แสดงออก เขาชั้นเรียนไมตรงเวลา ไมมีการวางแผนในการ เรียนที่ดี เปนตน ซึ่งตางจากพระนิสิตที่ไดรับการสนับสนุน จากผูปกครองนอย กลับเปนผูที่ตั้งใจฟงขณะอาจารยสอน มี การถามอาจารยเมื่อมีขอสงสัย เขาชั้นเรียนกอนเวลาหรือตรง เวลา มีการวางแผนในการเรียนเปนอยางดี เปนตน 3.ป จ จั ย 7 ป จ จั ย ได แ ก สถานภาพ : พระภิ ก ษุ (X1) สถานภาพ : สามเณร(X2) อายุ(X3) ชั้นปที่ศึกษา : ชั้นปที่ 1(X4) ชั้นปที่ 2(X5) ชั้นปที่ 3(X6) และ ชั้นปที่ 4(X7) ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการเรียนของพระนิสิต คณะ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 4.ปจ จัย ที่ส งผลต อ พฤติ ก รรมการเรีย นของพระ นิสิต คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิ ท ยาลั ย เขตบางกอกน อ ย กรุ ง เทพมหานคร อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัย โดยเรียงลําดับ จากป จ จั ย ที่ ส ง ผลมากที่ สุ ด ไปหาป จ จั ย ที่ ส ง ผลน อ ยที่ สุ ด ไดแก ลักษณะมุงอนาคตทางการเรียน (X11)สงผลตอ พฤติกรรมการเรียนของพระนิสิต คณะมนุษยศาสตร แสดงวา พระนิสิตที่มีลักษณะมุงอนาคตทางการเรียนมาก ทําใหมี พฤติ ก รรมการเรี ย นเหมาะสม ทั้ ง นี้ เ พราะพระนิ สิ ต ที่ มี ลั ก ษณะมุ ง อนาคตทางการเรี ย นมาก ได แ ก การสามารถ มองเห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ ของผลดี ผ ลเสี ย ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ได ใ น อนาคต เห็นประโยชนของการศึกษาตอในระดับสูงเพื่อที่จะ ไดนําความรูที่ไดไปประกอบอาชีพที่ดีเหมาะสมเกี่ยวกับการ เรียน คือใหความสําคัญตอการเรียน มีความตั้งใจศึกษาเลา เรียน จึงทําใหพระนิสิตมีพฤติกรรมการเรียนเหมาะสม แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ท างการเรียน(X10 )สงผล ทางลบต อ พฤติ ก รรมการเรี ย นของพระนิ สิ ต คณะ มนุษยศาสตร แสดงวาพระนิสิตที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการ เรียนมากเกินไป ทําใหมีพฤติกรรมการเรียน ไมเหมาะสม ทั้งนี้เพราะพระนิสิตที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาก ก็จะมีความพยายามในการเรียนมากเกินไป วางแผนและ

ปฏิ บั ติ ต นเองให เ ป น ผู มี วิ นั ย ในด า นการเรี ย นมากเกิ น ไป เนื่องจากเห็นความสําคัญของการเรียนมากเกินไป เพื่อที่จะ นําตนเองไปใหประสบความสําเร็จมากถึงมากที่สุด โดยไมยอ ท อ ต อ อุ ป สรรค และความล ม เหลว กํ า หนดเป า หมายสู ง เกิ น ไป อาจเกิ น ความสามารถของตน และให เ วลา ส ว นมากแก ก ารเรี ย นมากเกิ น ไป เมื่ อ ไม ป ระสบ ความสํ า เร็ จ ในการเรี ย นมากเท า ที่ ต อ งการอาจทํ า ให มี พฤติกรรมการเรียนไมเหมาะสม นิสัยทางการเรียน (X9) สงผลตอพฤติกรรมการ เรียนของพระนิสิตคณะมนุษยศาสตร แสดงวาพระนิสิตมี นิสัยทางการเรียนดี ทําใหมีพฤติกรรมการเรียนเหมาะสม ทั้งนี้เพราะพระนิสิตที่มีนิสัยทางการเรียนดี มีพฤติกรรมที่ ประพฤติอยางสม่ําเสมอ ไดแก การแบงเวลาในการเรียน รูจักแบงเวลาวาควรทําเรื่องใดกอนหลัง ไมผัดผอนหลีกเลี่ยง รอเวลาหรือทําในเวลากระชั้นชิด ไมเสียเวลากับเรื่องที่ไม เปนสาระจนเกินควร ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายทันตอเวลา การรูจักใชวิธีการเรียนอยางถูกตอง มีการวางแผนตระเตรียม งานกอนลงมือทํา รูจักแหลงขอมูลที่ตองการทราบ ทํางาน เปนระเบียบรอบคอบ ทํางานใหสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ มุงมั่นที่จะแสวงหาความรู พัฒนาการเรียนใหดีขึ้นเรื่อย ๆ ไมยอทอตออุปสรรค มีความริเริ่ม ขยัน สั ม พั น ธภาพระหว า งพระนิ สิ ต กั บ อาจารย (X14) สงผลตอพฤติกรรมการเรียนของพระนิสิต คณะ มนุษยศาสตร แสดงวาพระนิสิตที่มีสัมพันธภาพดีกับอาจารย ทําใหพระนิสิตมีพฤติกรรมการเรียนเหมาะสม ทั้งนี้เพราะใน ด า นการเรี ย นการสอน ความสั ม พั น ธ ที่ ดี ร ะหว า งอาจารย ผู ส อนกั บ พระนิ สิ ต จะเป น สิ่ ง ที่ ช ว ยส ง เสริ ม การเรี ย นรู ใ ห มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ าพ ที่ ดี ขึ้ น กา รที่ อ า จ า ร ย กั บ พ ร ะ นิ สิ ต มี สัม พัน ธภาพที่ดี ตอ กั น โดยที่ พระนิ สิ ต ปฏิ บัติ ต อ อาจารย ไดแก ความเคารพนับถือ เชื่อฟงอาจารยผูสอนเปนตน และ การที่อาจารยปฏิบัติตอพระนิสิต ไดแก ความสนใจตอพระนิสิต การสรางความสัมพันธที่ดีที่ทําใหพระนิสิตเกิดความรูสึกเปน กันเอง และใหความรักความเอาใจใส ก็ยอมสงผลใหการ จัดการเรียนการสอนเปนไปไดดี การสนับสนุน การเรีย นของผูป กครอง(X12 ) ส ง ผลทางลบต อ พฤติ ก รรมการเรี ย นของพระนิ สิ ต คณะ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 มนุ ษ ยศาสตร การสนับ สนุน การเรีย นของผู ป กครอง สง ผลทางลบต อ พฤติ ก รรมการเรี ย นของพระนิ สิ ต คณะ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รองลงมาเปนลําดับที่หา ซึ่งเปนลําดับสุดทาย แสดงวาการที่ พระนิสิตไดรับการสนับสนุนทางการเรียนของผูปกครองมาก ทําใหพระนิสิตมีพฤติกรรมการเรียนไมเหมาะสม ทั้งนี้เพราะ ผู ป กครองมี บ ทบาทที่ สํ า คั ญ ที่ ต อ งส ง เสริ ม สนั บ สนุ น การศึกษาของพระนิสิต โดยการเอาใจใสในการเรียน ให คํา ปรึ กษาทางการเรี ยน การสนับ สนุน ดา นเศรษฐกิ จซื้ อ อุปกรณการเรียน และเปนแบบอยางที่ดีใหกับพระนิสิต ซึ่ง สิ่งเหลานี้จะแรงกระตุนใหพระนิสิตมีความตั้งใจเรียน เอา ใจใส ต อ การเรี ย น และขยั น หมั่ น เพี ย รในการเรี ย น ปรารถนาที่ จ ะประสบความสํ า เร็ จ ในการเรี ย น และมี พฤติกรรมทางการเรียนที่เหมาะสม

73

ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1 ควรมีการศึกษาปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการ เรี ย นของพระนิ สิ ต ในคณะอื่ น ๆ ภายในมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุฬ าลงกรณราชวิท ยาลัย เชน คณะพุท ธศาสตร คณะสังคมศาสตร เปนตน เพื่อจะทําใหไดขอมูลเพิ่มมากขึ้น เพื่อนํามาพัฒนาพฤติกรรมการเรียนของพระนิสิตใหดียิ่งขึ้น 2 ควรศึกษาปจจัยดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับ พฤติ ก รรมการเรี ย น เช น ความรั บ ผิ ด ชอบด า นการเรี ย น ปญหาดานการเรียน เปนตน 3 ควรใชเทคนิคทางจิตวิทยา เพื่อพัฒนาปจจัยที่ สงผลตอพฤติกรรมการเรียนเหมาะสม ไดแก ลักษณะมุง อนาคตทางการเรียน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียน นิสัย ทางการเรียน สัมพันธภาพระหวางพระนิสิตกับอาจารย เชน การใช กิ จ กรรมกลุ ม การฝ ก พฤติ ก รรมการแสดงออกที่ เหมาะสม การวิเคราะหความสัมพันธระหวางบุคคล เปนตน


74

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

บรรณานุกรม กันตฤทัย คลังพหล.การศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยบางประการกับอัตมโนทัศนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรี ย นสั ง กั ด กรมสามั ญ ศึ ก ษา จั ง หวั ด นนทบุ รี . ปริ ญ ญานิ พ นธ . กศ.ม. (การวิ จั ย และสถิ ติ ทางการศึกษา) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,(2546). ดวงเดือน พันธุมนาวิน, อรพินธ ชูชม และสภาพร ลอยด. (2529). รายงานการควบคุมอิทธิพลสื่อมวลชน ของครอบครัว กับจิตลักษณะที่สําคัญของเยาวชนไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ถวิล ธาราโภชน. (2532). จิตวิทยาสังคม. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอเอสพริ้นติ้ง เฮาส. นาตยา ปลันธนานนท. อนาคตศาสตร. กรุงเทพฯ : พีระพันธนา. (2526). ผองพรรณ เกิดพิทักษ. สุขภาพจิตเบื้องตน. กรุงเทพฯ บัณฑิตการพิมพ, (2530). พระมหาสมคิด โครธรา. (2547). การใชอิทธิบาท 4 ในการเรียนของพระนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปริญญานิพนธ กศ.ม.(การอุดมศึกษา) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิชัย วงษใหญ. เอกสารตัวอยางเรื่องการสรางหนวยการเรียนตัวอยางเรื่อง การสรางบรรยากาศในหองเรียน. กรุงเทพฯ:ศูนยพัฒนาศึกษาแหงชาติของประเทศไทย, (2538). สิริพร ดาวัน. ตัวแปรที่เกี่ยวของกับความขยันหมั่นเพียรในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, (2540). Hildreth, Gertude H. Introducation to the Gifted. New York : Mc Graw – Hill Book Co, (1969). Kliewer, Wendy ;& Weidner, Gerdi. (1987) Type A Behavior and Aspirtion : A Study of Parents and Children’s Goal Setting. Developmental Psychology. 23(2) : 204-209 Koivo,Anne Diblak. (1983, February). The Relationship of Student Perception of Study Habits and Altitudes Based on Differences in Sex and Academic Achievement. Lawence, Frances. (1976,March). Student perception of the classroom learning Environment in Biology, chemistry and Physics, Journal of Research in Science Teaching. 13 (5) : 315 – 323.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

75

องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความรับผิดชอบในการ ทํางานกลุม ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร FACTORS AFFECTING GROUP WORK RESPONSIBILITY OF CERTIFICATE STUDENTS AT SIAM COMMERCIAL SCHOOL IN BANG PHLAT DISTRICT, BANGKOK Ö พระมหาสมควร ขุนภิบาล 1 รองศาสตราจารย เวธนี กรีทอง 2 อาจารย นันทวิทย เผามหานาคะ 2

บทคัดยอ ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง ห ม า ย เ พื่ อ ศึ ก ษ า องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความรับผิดชอบในการทํางานกลุมของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร องคประกอบที่ศึกษาแบงเปน 3 องค ป ระกอบ คื อ องค ป ระกอบด า นส ว นตั ว ได แ ก เพศ อายุ บุคลิกภาพ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียน การตระหนักรูแหงตน และนิ สั ย ทางการเรี ย น องค ป ระกอบด า นครอบครั ว ได แ ก การ เลียนแบบตัวแบบความรับผิดชอบภายในครอบครัว และภาระงาน ที่ไดรับมอบหมายภายในบาน และองคประกอบดานสิ่งแวดลอม ทางการเรียน ไดแก สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน และ ภาระงานที่ไดรับมอบหมายภายในโรงเรียน

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2 อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

1


76

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย เปนนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียน พณิชยการสยาม เขตบาง พลัด กรุงเทพมหานคร ประจําปการศึกษา 2549 จํานวน 350 คน เปนนักเรียนชาย 114 คน และนักเรียนหญิง 236 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาค น คว า ได แ ก แบบสอบถาม องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความรับผิดชอบในการทํางานกลุม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธของเพียรสัน และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบวา 1. องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวกกับความ รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก า ร ทํ า ง า น ก ลุ ม ข อ ง นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บ ชั้ น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร มีดังนี้ 1.1 องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวกกับ ความรับผิดชอบในการทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 3 ดาน 6 องคประกอบ ดังนี้ 1.1.1 องคประกอบดานสวนตัว มี 2 องคประกอบ ไดแก แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการเรียน (X5) และ นิสัยทางการเรียน (X7) 1.1.2 องคประกอบดานครอบครัว มี 2 องคประกอบ ไดแก การเลียนแบบตัวแบบความรับผิดชอบ ภายในครอบครัว (X8) และภาระงานที่ไดรับมอบหมายภายใน บาน (X9) และ 1.1.3 องคประกอบดานสิ่งแวดลอมทางการ เรียนมี 2 องคประกอบ ไดแก สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน (X10) และภาระงานที่ไดรับมอบหมายภายในโรงเรียน (X11) 1.2 องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวก กับความรับผิดชอบในการทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานครอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ดาน 2 องคประกอบ คือ องคประกอบดานสวนตัว ไดแก อายุ (X3) และ บุคลิกภาพ (X4)

2. องคประกอบที่มีความสัมพันธทางลบกับ ความรับผิดชอบในการทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบาง พลัด กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 มี 1 ดาน 1 องคประกอบ คือ องคประกอบ ดานสวนตัว ไดแก เพศ :ชาย (X1) 3. องคประกอบที่ไมมีความสัมพันธกับความ รับผิดชอบในการทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบาง พลัด กรุงเทพมหานคร มี 1 ดาน 2 องคประกอบ คือ ดานสวนตัว ไดแก เพศ : หญิง (X2) และการตระหนักรู แหงตน (X6) 4. องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความรับผิดชอบ ในการทํางานกลุม ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 องคประกอบ โดยเรียงลําดับจากองคประกอบที่มีอิทธิพลมากที่สุดไปหา องคประกอบที่มีอิทธิพลนอยที่สุด ไดแก ภาระงานที่ไดรับ มอบหมายภายในโรงเรียน (X11) การเลียนแบบตัวแบบ ความรับผิดชอบภายในครอบครัว (X8) สัมพันธภาพ ระหวางนักเรียนกับเพื่อน (X10) นิสัยทางการเรียน (X7) และ ภาระงานทีไดรับมอบหมายภายในบาน (X9) องคประกอบ ทั้งหานี้ สามารถรวมกันพยากรณความรับผิดชอบในการ ทํางานกลุม ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ได รอยละ 58.50 5. สมการพยากรณ ที่สามารถพยากรณ ความรับผิดชอบในการทํางานกลุม ของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยนําคาสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวพยากรณมาเขียน สมการ ไดดังนี้ 5.1 สมการพยากรณความรับผิดในการ ทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ในรูป คะแนนดิบ Ŷ = .098 + .286 X11 +.205 X8 + .167 X10 + .162 X7 +.124 X9 5.2 สมการพยากรณความรับผิดชอบในการ ทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียน พณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ในรูปคะแนน มาตรฐาน ไดแก Z = .333 X11 + .242 X8 + .215 X10 +.206X7 +.146 X9 ABSTRACT The purposes of this research were to study the factors affecting group work responsibility of certificate students at Siam Commercial School in Bangphlat District, Bangkok . The factors were divided into 3 aspects; the aspect first was personal factor : gender, age, personality, learning achievement motive , learning habit and self awareness , the second aspect was family factor : role-model of responsible family member ,assigned duty at home and the third aspect was learning environment factor: interpersonal relationship between students and their peer group and assigned duty in the school. The 350 samples : 114 males and 286 females were the certificate students at Siam Commercial School in Bangphlat District ,Bangkok in the academic year of 2006. The instrument used was a set of questionnaires on factors affecting group work responsibility. The data was analyzed by The Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1. There were significantly positive correlation among group work responsibility of certificate students at Siam Commercial School in Bangphlat District, Bangkok and various factors :

77

1.1 Significantly positive correlation was found between group work responsibility of certificate students at Siam commercial school in Bangphlat District, Bangkok and 3 aspects and 6 factors at .01 level . 1.1.1 Aspect I was personal factor : 3 sub-factors:- Learning achievement motive (X5) and Learning Habit (X7) . 1.1.2 Aspect II was family factor : 2 sub-factors:- Imitation of responsibility of family member (X8) and Assigned duty at home (X9) . 1.1.3 Aspect III was learning environment factors : 2 sub- factors:- Interpersonal relationship between students (X10) and assigned duty in the school (X11). 1.2 Significantly positive correlation was found between group work responsibility of certificate students at Siam commercial school in Bangphlat District, Bangkok and 1 aspect and 2 factors at .05 level . It was personal factor : age (X3) and personality (X4). 2. Significantly negative correlation was found between group work responsibility of certificate students at Siam Commercial School in Bangphlat District, Bangkok and 1 aspect : 1 factor was as follow : personal factor gender : male (X1) at .05 level . 3. Significantly statistical correlation was found between group work responsibility of certificate students at Siam Commercial School in Banaphlat District, Bangkok and 1 aspects and 2 factors : personal factor gender : female (X2) and self awareness (X6). 4. Five factors were found significantly affecting group work responsibility of certificate


78

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

students at Siam Commercial School in Bangphlat District, Bangkok, ranking from the most affecting to the least affecting factors were assigned duty in the school (X11), modeling of responsible family member (X8), interpersonal relationship between students and their peer group (X10) , learning habit (X7) and assigned duty in the house. These 5 factors could predict group work responsibility of certificate students at Siam Commercial School in Bangphlat District, Bangkok approximately about 58.50 percent. 5. The predicted equation of group work responsibility of certificate students at Siam Commercial School in Bangphlat District, Bangkok at .01 level were as follows : 5.1 In terms of raw scores were : Ŷ = .098 + .286 X11 +.205 X8 + .167 X10 + .162 X7 +.124 X9 5.2 In terms of standard scores were : Z = .333 X11 + .242 X8 + .215 X10 +.206X7 +.146 X9 ภูมิหลัง ทรัพยากรมนุษย เปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุดในการ พัฒนาประเทศ เพราะหากมนุษยไรศักยภาพเสียแลวยอมทําให สังคมและประเทศตองเผชิญกับปญหาในดานตาง ๆ และเปน การยากที่จะพัฒนาประเทศใหบรรลุตามจุดมุงหมายได ดังนั้น จุดเริ่มตนในการพัฒนาตองเริ่มตนที่ตัวทรัพยากรมนุษยเปนจุด แรก เพราะมนุษยเปนทั้งผูสรางและผูทําลาย ควรที่จะสงเสริม พฤติ ก รรมที่ เ อื้ อ ต อ การพั ฒ นาประเทศ อั น ได แ ก ความมี ระเบียบวินัย การเห็นประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตัว และ พฤติก รรมที ่จํ า เปน อยา งยิ ่ง ในการพัฒ นาประเทศก็ค ือ พฤติ ก รรมความรับ ผิด ชอบ ดัง ที ่ จรรจา สุว รรณทัต และ คณะ (วัน ทนี อุบลแยม . 2545 : 1 อางอิงจากจรรยา สุวรรณทัต และคณะ 2521 ) กลาววา ความรับผิดชอบเปน คุณธรรมที่สํา คัญ ในการพัฒ นาประเทศ เมื่อ บุ ค คลมีค วาม รั บ ผิ ด ชอบ ยอ มแสดงใหเห็นถึงวุฒิภาวะดานอุปนิสัย และเปน สวนประกอบที่สําคัญยิ่งตอการดํารงชีวิตในสังคม ซึ่งหากทุก

คนในสังคมรูจักรับผิดชอบตอหนาที่ตาง ๆ อยางดีแลว ก็ ยอมจะทําใหเกิดสันติ ตลอดจนความเจริญงอกงามขึ้นใน สังคม (วารี ศิริเจริญ.2536 :3) กิจกรรมที่สําคัญยอม ต อ งการผู ที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบสู ง เพราะหากขาดความ รับผิดชอบแมเพียงเล็กนอย ความเสียหายอันใหญหลวง ยอมเกิดขึ้นได (ป.มหาขันธ .2536:3) ซึ่งสอดคลองกับสุโท เจริญสุข (2528:190) ที่กลาววา สังคมใดที่มีบุคคลมีความ รับ ผิ ด ชอบสู ง เคารพในกฎเกณฑก ติกา ตรงตอเวลา มี ความรับผิดชอบอยางเครงครัดตอหนาที่กันจริง ๆ สังคม นั้นก็จะมีความเจริญกาวหนา พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ที่ทรงพระราชทาน ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกนิสิตจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เมื่อวัน ศุกรท่ี 9 กรกฎาคม 2519 ความวา… ……. การเรียนรูวิชาไดดี ยอมเปนผลมาจากการมีที่เรียนดี มีครูดี มีโอกาสเหมาะสม และตัวเองตั้งอกตั้งใจเลาเรียน หรืออาจมีเหตุอื่น ๆ มากกวานี้ออกไป อีกก็ได เหตุทั้งหลาย นี้ จําแนกไดเปนสองประเภท คือเหตุตาง ๆ ที่อยูนอกตัว เชน ที่เรียนดี ครูดี จัดเปนเหตุภายนอก ประเภทหนึ่ง กับ เหตุที่อยูในตัวที่เปน การกระทําของตัวอันไดแกการตั้งใจ เล า เรี ย นจริ ง ๆ นั้ น จั ด เป น เหตุ ภ ายใน อี ก ประการหนึ่ ง ขอให พิ จ ารณาทบทวนดู ใ ห ดี จ ะเห็ น ว า เหตุ ภ ายนอก ทั้งหมด นั้นเปนเพียงสวนประกอบ เหตุแทจริงที่จะทําใหรู วิชาดีนั้นอยูที่เหตุภายใน คือการกระทําของตัวเอง……… (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.2540:9) จากกระแสพระราชดํารัสนี้ จะเห็นไดวา การ เรียนรูวิชาไดดีนั้น เหตุอื่น ๆ ที่จัดเปนเหตุภายนอกทั้งหมด นั้นเปนเพียงสวนประกอบ เหตุแทจริงที่จะทําใหรูวิชาดีนั้น อยูที่เหตุภายใน คือ การกระทําของตัวเองซึ่งจะเห็นวา ความรับผิดชอบเปนสิ่งที่จะตองมีและพัฒนาปลูกฝงในตัว นักเรียน (อังคณา ถิรศิลาเวทย.2548:2) สํ า หรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประกาศนี ย บั ต ร วิชาชีพ ซึ่งมีอายุระหวาง 15-20 ป ซึ่งเปนวัยที่อยูในชวง หัวเลี้ยวหัวตอระหวางความเปนวัยรุนกับความเปนผูใหญ เด็ ก วั ย นี้ จ ะสั บ สนในตนเอง อยากรู ว า ตนคื อ ใคร เพรา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ฉะนั้นเด็กวัยนี้ตองมีความเขาใจบทบาทของตนในสังคม และ ความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม หากเด็กวัยนี้ไมสามารถคนพบ ตัวเองไดก็จะเกิดปญหาในการปรับตัวกับเพื่อนรวมวัย ทั้งเพศ ชายและเพศหญิง เพราะมีทัศนคติตอตนในทางลบ ไมมีความ เชื่อมั่นในตนเอง และทําใหเด็กวัยนี้มีปญหาในการเรียน ดังที่ ยุวดี เฑียรประสิทธิ์ ( อังคณา ถิรศิลาเวทย. 2548 : 3 อางอิงจากยุวดี เฑียรฆประสิทธิ์. 2536) กลาวไววา ปญหา ด า นการเรี ย นเป น ป ญ หาหนั ก อย า งหนึ่ ง สํ า หรั บ วั ย รุ น ทั้ ง นี้ เพราะการเรียน จะมีความยากและลึกซึ้งเพิ่มขึ้น เด็กวัยรุนจะมี ความวิ ต กกั ง วลเกี่ ย วกั บ การเรี ย น กลั ว การสอบ กลั ว ความ ลมเหลวทางการเรียน เพราะการเรียนในระดับนี้มีเนื้อหาวิชา ระเบียบวินัย หลักสูตร สภาพภายในหองเรียนและภายนอก หองเรียน การคบเพื่อน ๆ และจากครู ฯลฯ แตกตางไปจากเดิม มาก จึงจําเปนที่จะตองไดรับการสงเสริมและสนับสนุนใหเด็ก เจริญเติบโตไปในทางที่ดี ทั้งทางดานรางกายและจิตใจ หาก เด็กมีพฤติกรรมรับผิดชอบจะทําใหเด็กกาวไปสูความสําเร็จใน การเรียน และการทํางานในสังคมไดดี ตลอดจนเมื่อเติบโตเขา สูวัยผูใหญก็จะเปนพลเมืองที่ดีของประเทศชาติในภายภาค หนา ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1. เ พื่ อ ศึ ก ษ า ค ว า ม สั ม พั น ธ ร ะ ห ว า ง องคประกอบดานสวนตัว ดานครอบครัว และดานสิ่งแวดลอม กับความรับ ผิดชอบในการทํางานกลุมของนักเรียนระดับ ชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อศึกษาองคประกอบดานสวนตัว ดานครอบครัว และด า นสิ่ ง แวดล อ มที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ ความรั บ ผิ ด ชอบในการ ทํ า งานกลุ ม ของนั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อสรางสมการพยากรณความรับผิดชอบในการ ทํ า งานกลุ ม ของนั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร วิธีการวิจัย กลุ ม ตั ว อย า งใช ใ นการศึ ก ษาครั้ ง นี้ เป น นั ก เรี ย น ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขต

79

บางพลัด กรุงเทพมหานคร จํานวน 350 คน เปนนักเรียน ชาย 114 คน และนักเรียนหญิง 236 คน ที่มีความ เชื่อมั่นรอยละ 95 (Yamane.1967 ; 886 – 887) ซึ่งไดมา ด ว ยวิ ธี ก ารสุ ม แบบแบ ง ชั้ น จากประชากร (Stratified Random Sampling) โดยใชเพศเปนชั้น (Strata) วิเคราะห ขอมูลพื้นฐาน โดยการหาคารอยละ คาเฉลี่ย ( × ) และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) วิเคราะหความสัมพันธ ระหว า งองค ป ระกอบด า นส ว นตั ว องค ป ระกอบด า น ครอบครั ว และองค ป ระกอบด า นสิ่ ง แวดล อ ม กั บ ความ รั บ ผิ ด ชอบในการทํ า งานกลุ ม โดยหาค า สั ม ประสิ ท ธิ์ สหสัมพันธของเพียรสัน (The Pearson Product Moment Correlation Coefficient) วิเคราะหองประกอบดานสวนตัว องค ป ระกอบด า นครอบครั ว และองค ป ระกอบด า น สิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอความรับผิดชอบในการทํางาน กลุม โดยใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Stepwise Multiple Regression Analysis) สมมติฐานในการศึกษาคนควา 1. องคประกอบดานสวนตัว ดานครอบครัว และ ดานสิ่งแวดลอม มีความสัมพันธกับความรับผิดชอบในการ ทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 2. องคประกอบดานสวนตัว ดานครอบครัว และ ด า นสิ่ ง แวดล อ ม มี อิ ท ธิ พ ลต อ ความรั บ ผิ ด ชอบในการ ทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัย 1.ค า เฉลี่ ย องค ป ระกอบด า นแรงจู ง ใจใฝ สัมฤทธิ์ในการเรียน การเลียนแบบตัวแบบความรับผิดชอบ ภายในครอบครัว ภาระงานที่ไดรับมอบหมายภายในบาน ภาระงานที่ ไ ด รั บ มอบหมายภายในโรงเรี ย น และ ความรับผิดชอบในการทํางานกลุมอยูในระดับปานกลาง แ ล ะ มี ค า เ ฉ ลี่ ย เ ท า กั บ 3.34,3.29,3.29,3.22,3.33 ตามลําดับ คาเฉลี่ยองคประกอบดา นการตระหนักรูแห ง ตน นิสัยทางการเรียน และสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ


80

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

เพื่อนอยูในระดับดีพอใช และมีคาเฉลี่ยเทากับ3.07 3.023.36 ตามลําดับ คาเฉลี่ยองคประกอบดานอายุของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ โรงเรี ย นพณิ ช ยการสยามอยู ใ นช ว ง วัยรุน และมีคาเลี่ยนเทากับ 17.08 และนักเรียนมีบุคลิกภาพ แบบเอ 2. องค ป ระกอบดา นสว นตัว ไดแ ก แรงจูง ใจใฝ สั ม ฤทธิ์ ใ นการเรี ย น และนิ สั ย ทางการเรี ย นมี ค วามสั ม พั น ธ ทางบวกกับ ความรับ ผิ ด ชอบในการทํา งานกลุม ของนักเรียน ระดั บ ชั้ น ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ โรงเรี ย นพณิ ช ยการสยาม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อายุ และบุคลิกภาพ มี ความสัมพันธทางบวกกับความรับผิดชอบในการทํางานกลุม ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพโรงเรียนพณิชย การสยามอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เพศหญิง และ การตระหนักรูแหงตน ไมมีความสัมพันธกับความรับผิดชอบใน การทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เพศชาย มีความสัมพันธทางลบกับ ความรั บ ผิ ด ชอบในการทํ า งานกลุ ม ของนั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประกาศนียบัตรวิชาชีพโรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ด า น ค ร อ บ คั ว ไ ด แ ก ก า ร เลียนแบบตัวแบบความรับผิดชอบภายในบาน และภาระงานที่ ได รับ มอบหมายภายในบา น มีค วามสัม พัน ธท างบวกกับ ความรั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก า ร ทํา ง า น ก ลุ ม ข อ ง นั ก เ รี ย น

ร ะ ดั บ ชั ้ น ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ โรงเรี ย นพณิ ช ยการ สยาม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 องคประกอบดานสภาพแวดลอมทางการ เรี ย นได แ ก สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ น และ ภ า ร ะ ง า น ที่ ไ ด รั บ ม อ บ ห ม า ย ภ า ย ใ น โ ร ง เ รี ย น มี ความสัมพันธทางบวกกับความรับผิดชอบในการทํางาน กลุมของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพโรงเรียน พณิชยการสยาม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3 องค ป ระกอบที่ ส ามารถพยากรณ ค วาม รั บ ผิ ด ชอบในการทํ า งานกลุ ม ของนั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบาง พลั ด กรุ ง เทพมหานคร อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 มี 5 องคประกอบ โดยเลียงลําดับจาก องคประกอบที่มีอิทธิพลมากที่สุดไปหาองคประกอบที่มี อิทธิพลนอยที่สุด ไดแก ภาระงานที่ไดรับมอบหมายภายใน โรงเรียน เลียนแบบตัวแบบความรับ ผิดชอบภายใน ครอบครัว สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน นิสัย ทางการเรียน และภาระงานทีไดรับมอบหมายภายในบาน องค ป ระกอบทั้ ง ห า นี้ สามารถร ว มกั น พยากรณ ค วาม รั บ ผิ ด ชอบในการทํ า งานกลุ ม ของนั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประกาศนียบัตรวิชาชีพโรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ไดรอยละ 58.50 ดังปรากฏในตาราง 1


81

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ตาราง 1 องคประกอบที่สามารถพยากรณความรับผิดชอบในการทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานครโดยใชการวิเคราะหแบบ Stepwise องคประกอบ X11 X11, X8 X11, X8, X10 X11, X8, X10, X7 X11, X8, X10, X7, X9

b

SEb

.286 .044 .205 .038 .167 .036 .162 .035 .124 .035 a = .098 R = .765 R2 = .585 SEest = .319

β .333 .242 .215 .206 .146

R .563 .668 .739 .756 .765

R2 .317 .446 .546 .572 .585

F 154.581** 133.532** 132.822** 110.193** 92.771**

** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. สมการพยากรณที่สามารถพยากรณความรับผิดชอบ ในการทํางานกลุม ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร อยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยนําคาสัมประสิทธิ์การ ถดถอยมาเขียนสมการไดดังนี้ 4.1 สมการณพยากรณความรับผิดชอบในการ ทํางานกลุม โดยใชคะแนนดิบ คะแนนดิบ = .098 + .286 (ภาระงานที่ไดรับ มอบหมายภายในโรงเรียน) +.205 (การเลียนแบบตัวแบบ ความรับผิดชอบภายในครอบครัว)+ .167 (สัมพันธภาพ ระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ น)+.162(นิ สั ย ทางการเรี ย น)+.124 (ภาระงานที่ไดรับมอบหมายภายในบาน) 4.2 สมการณพยากรณความรับผิดชอบในการ ทํางานกลุม โดยใชคะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน = .286 (ภาระงานที่ไดรับมอบหมาย ภายในโรงเรียน) +.205 (การเลียนแบบตัวแบบความรับ ผิด ชอบภายใน ครอบครัว)+ .167 (สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน)+.162(นิสัย ทางการเรียน)+.124 (ภาระงานที่ไดรับมอบหมายภายในบาน)

อภิปรายผลการวิจัย 1. องคประกอบดานสวนตัว ผลการศึกษาครั้งนี้พบวา แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ทางการเรียน มีความสัมพันธทางบวกกับความรับผิดชอบ ในการทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร วิ ช าชี พ โรงเรี ย นพณิ ช ยการสยาม เขตบางพลั ด กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี แ รงจู ง ใจใฝ สั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น แตกตา งกั น มีความรั บ ผิด ชอบแตกตา งกัน ทั้ง นี้เพราะ นั ก เรี ย นที่ มี แ รงจู ง ใจใฝ สั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นมาก จะมี ความพยายามในการเรียนเพื่อตองการที่จะประสบ ความสําเร็จในดานการเรียน โดยที่นักเรียนผูมีแรงจูงใจใฝ สัมฤทธิ์ในการเรียนมักจะไมยอทอตออุปสรรค และไมกลัว ตอความลมเหลว เพราะรูจักกําหนดเปาหมายที่เหมาะสม กั บ ความสามารถของตน สามารถคิ ด แก ป ญ หา และ อุปสรรคตาง ๆ ในการทํางานไดดี และใหเวลาสวนมากแก การเรียน จึงมีความรับผิดชอบในการทํางานกลุม


82

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ผลการศึกษาครั้งนี้พบวา นิสัยทางการเรียน มี ความสัมพันธทางบวกกับความรับผิดชอบในการทํางานกลุม ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชย การสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่มีระดับนิสัยทางการเรียน แตกต า งกั น ส ง ผลให มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในการทํ า งานกลุ ม แตกตางกัน ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่มีนิสัยทางการเรียนดีจะเปนผู ทีมีความขยัน พยายามตั้งใจเรียน เห็นคุณคาของการเรียน มี ความมุ ม านะ ไม ย อ ท อ ต อ การเรี ย น มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบสู ง ดังที่ ผองพรรณ เกิดพิทักษ (2538:1) กลาววานักเรียนที่มี นิสัยทางการเรียนดี จะมีความมุงมั่นที่จะแสวงหาความรูและ พัฒนาการเรียนใหดีขึ้นเรื่อย ๆ โดยไมยอทอตออุปสรรคตางๆ ซึ่งลักษณะของผูที่มีนิสัยทางการเรียนดี เหลานั้นเปนผลทําให นักเรียนมีความรับผิดชอบในการทํางานกลุม ผลการศึกษาครั้งนี้พบวา อายุ มีความสัมพันธ ทางบวกกับ ความรับ ผิ ด ชอบในการทํา งานกลุ ม ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขต บางพลั ด กรุ ง เทพมหานคร อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดั บ .05 แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี อ ายุ แ ตกต า งกั น มี ค วาม รับผิดชอบในการทํางานกลุมแตกตางกัน ทั้งนี้เพราะนักเรียน ใ น ช ว ง วั ย นี้ เ ป น ช ว ง ข อ ง วั ย รุ น ซึ่ ง ไ ด ผ า น ขั้ น ข อ ง ก า ร ขยั น หมั่น เพี ยร-กั บ รูสึก ดอ ยมาแล ว และเขา สูชว งการคน หา เอกลักษณแหงตน ซึ่งนักเรียนในชวงนี้จะคนหาเปาหมายชีวิต ของตนเอง เมื่อพบแลวก็จะแสดงบทบาทตามที่ตัวเองเปนอยู จากประสบการณ และการเรี ย นรู ใ นช ว งที่ ผ า นมาจึ ง ทํ า ให นักเรียนมีประสบการณเพิ่มมากขึ้น ผลการศึ ก ษาครั้ ง นี้ พ บว า บุ ค ลิ ก ภาพ มี ความสัมพันธทางบวกกับความรับผิดชอบในการทํางานกลุม ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชย การสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 แสดงวานักเรียนที่มีบุคลิกภาพแตกตางกัน มี ความรับผิดชอบในการทํางานแตกตางกัน ทั้งนี้เพราะลักษณะ ของผูมีบุคลิกภาพแบบเอนั้นมีลักษณะบุคลิกภาพรีบรอน ชอบ แข ง ขั น ชอบทํ า งานใหไ ดม ากในเวลานอ ย ๆ มี ค วามรูสึกว า เวลาผานไปอยางรวดเร็ว มีความมานะพยายามในการทํางาน

ชอบฝาฟนอุปสรรคตาง ๆ เพื่อประสบความสําเร็จ ชอบ ทํางานดวยความรวดเร็ว ทนไมไดกับงานที่ลาชา มีความ ตองการพักผอนนอยกวาคนอื่น ดังนั้น นักเรียนระดับชั้น ประกาศนี ย บั ต ร โรงเรี ย นพณิ ช ยการสยาม จึ ง มี ค วาม รับผิดชอบในการทํางานกลุมมาก ผลการศึกษาครั้งนี้พบวานักเรียนชาย มี ความสัม พั น ธ ท างลบกับ ความรั บ ผิ ด ชอบในการทํ า งาน กลุ ม ของนั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ โรงเรี ย นพณิ ช ยการสยาม อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .05 แสดงวา นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยามที่เปนเพศชายมีความ รับผิดชอบในการทํางานกลุมนอย ทั้งนี้เพราะ พัฒนาการ ในช ว งนี้ เ ป น ช ว งของวั ย รุ น ซึ่ ง นั ก เรี ย นชายจะให ค วาม สนใจดานการเรียนนอยกวามีความตั้งใจความสนใจกับ เพื่อน และทนอยูในกฎในระเบียบไดนอยกวาเพศหญิง ซึ่ง การทํางานเปนกลุมนั้นตองมีกฎมีระเบียบมีขอตกลงซึ่งกัน และกันของสมาชิกภายในกลุม ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนขอที่เพศ ชายอดทนไดนอยกวาเพศหญิง จึงทําใหเพศชายมีความ รับผิดชอบในการทํางานกลุมนอย 2 องคประกอบดานครอบครัว ผลการศึ ก ษาครั้ ง นี้ พ บว า การเลี ย นแบบ ตั ว แบบความรับผิดชอบภายในครอบครัว มีความสัมพันธ ทางบวกกั บ ความรั บ ผิ ด ชอบในการทํ า งานกลุ ม ของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชย การสยาม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นั ก เรี ย นที่ ร ะดั บ การเลี ย นแบบตั ว แบบความรั บ ผิ ด ชอบ ภายในครอบครั ว แตกต า งกัน มี ความรั บ ผิ ด ชอบในการ ทํ า งานแตกต า งกั น ทั้ ง นี้ เ พราะนั ก เรี ย นที่ มี ผู ป กครองมี ความรั บ ผิ ด ชอบจะเลี ย บแบบตั ว แบบในด า นความ รั บ ผิ ด ชอบของผู ป กครอง ดั ง นั้ น ผู ป กครองที่ มี ค วาม รับผิดชอบจะสงผลตอพฤติกรรมความรับผิดชอบของบุตร หรื อ สมาชิ ก ภายในครอบครั ว ดั ง ที่ ป ระดิ นั น ท อุ ป รมั ย (2530 :181,203-209) ไดกลาวไววา การปฏิบัติตนเปน แบบอยางของพอแม ทําใหเกิดการเรียนรูของเด็ก ทั้งจาก ก า ร ส อ น แ ล ะ จ า ก ก า ร เ ลีย น แ บ บ เ มื ่อ เ กิด ก า ร


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 เลี ย นแบบตัว แบบความรั บ ผิ ด ชอบขึ้ น พฤติ ก รรมความ รั บ ผิ ด ชอบก็ จ ะ ติ ด ตั ว เด็ ก จึ ง ทํ า ให นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร มีความรับผิดชอบในการทํางานกลุม ผลการศึ ก ษาครั้ ง นี้ พ บว า ภาระงานที่ ไ ด รั บ มอบหมายภายในบ า น มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ ความ รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก า ร ทํ า ง า น ก ลุ ม ข อ ง นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บ ชั้ น ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ โรงเรี ย นพณิ ช ยการสยาม อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่มีระดับภาระ งานที่ ไ ด รั บ มอบหมายภายในบ า นแตกต า งกั น จะมี ค วาม รับผิดชอบในการทํางานกลุมแตกตางกัน ทั้งนี้เพราะผูที่มีภาระ งานที่ ไ ด รั บ มอบหมายภายในบ า นมากจะได รั บ การปลู ก ฝ ง ความรับผิดชอบมาแลวจากการที่ไดรับมอบหมายงานใหทํา ภายในบานรูจักหนาที่ของตน ซึ่งนักเรียนจะฝกความรับผิดชอบ จากการทํางานบาน และจะทําใหนักเรียนเกิดความรับผิดชอบ ต อ งานที่ ไ ด รั บ มอบหมาย จึ ง ทํ า ให นั ก เรี ย นมี พ ฤติ ก รรมไป ในทางที่ ดี ใ นเรื่ อ งของความรั บ ผิ ด ชอบ ผลการวิ จั ย ครั้ ง นี้ สอดคลองกับผลการวิจัยของวันทนี อุบลแยม (2545:109) ที่ ไดศึกษาปจจัยลักษณะพื้นฐานและสภาพแวดลอมที่มีผลตอ พฤติกรรมความรับผิดชอบตอตนเอง ของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ นนทบุรี ผลการวิจัยพบวา การมอบหมายงานใหปฏิบัติจากบิดามารดามีความสัมพันธกับ พฤติ ก รรมความรั บ ผิ ด ชอบต อ ตนเองของนั ก เรี ย นด า นการ ประพฤติตนที่เหมาะสม ดานการศึกษาเลาเรียน และดานการ ดู แ ลรั ก ษาสุ ข ภาพ ดั ง นั้ น นั ก เรี ย นที่ มี ภ าระงานที่ ไ ด รั บ มอบหมายภายในบานจึงมีความรับผิดชอบในการทํางานกลุม

83

3 องคประกอบดานสภาพแวดลอมทางการ

อย า งมาก เพราะการมี สั มพั น ธภาพกั บ เพื่ อ นที่ ดี เ ป น สิ่ ง เกื้อ กู ลใหบุ ค คลมีค วามสุ ข มี ความสามั คคีกั น ในกลุมใน คณะ เมื่อบุคคลเกิดความสุขมีความสามัคคีกันในกลุมใน คณะ ก็จะเกิดความรักใครซึ่งกันและกัน ดังนั้นจึงทํางาน รวมกันดวยความสามัคคีดวยความเขาอกเขาใจตอกันและ กัน เมื่อ รวมกลุ มทํ า งานกัน ก็ยอ มกอ ใหเ กิ ดความสํา เร็ จ ผลงานที่ ไ ด ย อ มมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ การให ค วามช ว ยเหลื อ เกื้อกูล ความเห็นอกเห็นใจ ความรักความสามัคคี และการ เข า ใจซึ่ ง กั น และกั น เป น สิ่ ง ที่ เ กื้ อ หนุ น หรื อ สนั บ สนุ น ให นั ก เรี ย นแก ไ ขป ญ หาหรื อ อุ ป สรรคที่ เ กิ ด ขึ้ น ระหว า งการ รวมกลุมกันทํางานจึงทําใหสามารถระดมความคิดแกไข ปญ หาหรือ อุปสรรคที่เกิดขึ้นรว มกัน และรวมกัน ทํา งาน กลุมไดเปนอยางดี ผลการศึ ก ษาครั้ ง นี้ พ บว า ภาระงานที่ ไ ด รั บ มอบหมายภายในโรงเรีย น มีค วามสัม พัน ธ ท างบวกกั บ ความรับผิดชอบในการทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา ระดับภาระงานที่ ได รั บ มอบหมายภายในโรงเรี ย นแตกต า งกั น มี ค วาม รั บ ผิ ด ชอบในการทํ า งานกลุ ม แตกต า งกั น ทั้ ง นี้ เ พราะ นักเรียนที่ไดรับมอบหมายงานใหทํานั้นจะมีความรูสึกมี สวนรวมกับทางโรงเรียน มีการเรียนรู และรูจักหนาที่ของ ตน ความรับ ผิดชอบในหนาที่ข องตนไมวา จะเปนหนา ที่ ดานการเรียนหรือ กิจกรรม ซึ่งกิจกรรมเหลานี้จะปลูกฝง ความรับผิดชอบใหเกิดขึ้นแกนักเรียน จึงทําใหนักเรียนที่ ไดรับภาระงานที่ไดรับมอบหมายภายในโรงเรียนมีความ รับผิดชอบในการทํางานกลุมมาก

ผลการศึ ก ษาครั้ ง นี้ พ บว า สั ม พั น ธภาพระหว า ง นักเรียนกับเพื่อน มีความสัมพันธทางบวกกับความรับผิดชอบ ในการทํางานกลุมของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรี ย นพณิ ช ยการสยาม อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 แสดงวา ระดับความสัมพันธกับเพื่อนแตกตางกัน สงผลใหความรับผิดชอบในการทํางานกลุมแตกตางกัน ทั้งนี้ เพราะการปฏิ บั ติ ต นกั บ เพื่ อ นนั้ น นั บ ได ว า เป น สิ่ ง สํ า คั ญ เป น

4. อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ที่ มี อิ ท ธิ พ ล ต อ ค ว า ม รั บ ผิ ด ชอบในการทํ า งานกลุ ม ของนั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประกาศนียบัตรวิชาชีพโรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบาง พลั ด กรุ ง เทพมหานคร อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดั บ .01 มี 5 องค ป ระกอบซึ่ ง องค ป ระกอบทั้ ง 5 องคประกอบนี้มีอิทธิพลทําใหเกิดความรับผิดชอบในการ ทํางานกลุมแกนักเรียน โดยเรียงลําดับจากองคประกอบที่ มีอิทธิพลมากที่สุดไปหาองคประกอบที่มีอิทธิพลนอยที่สุด

เรียน


84

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ไ ด แ ก ภ า ร ะ ง า น ที่ ไ ด รั บ ม อ บ ห ม า ย ภ า ย ใ น โ ร ง เ รี ย น ก า ร เลี ย นแบบตั ว แบบความรั บ ผิ ด ชอบภายในครอบครั ว สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน นิสัยทางการเรียน และ ภาระงานที่ไดรับมอบหมายภายในบาน ขอเสนอแนะ 1 ขอเสนอแนะทั่วไป ผลจากการวิจัยครั้งนี้ สามารถใชเปนแนวทางให ผู บ ริ ห าร ครู ผู ส อน อาจารย ท่ีป รึ ก ษา อาจารย แ นะแนว และผูปกครองไดทราบขอมูลเพื่อพิจารณา สามารถนําไปเปน ขอมูลประกอบวางแผนพัฒนา หรือหาวิธีการในการสงเสริมให นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร มีความรับผิดชอบในการทํางาน กลุ ม โดยพิ จ ารณาจากองค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ ความ รั บ ผิ ด ชอบในการทํ า งานกลุ ม ซึ่ ง ได แ ก ภ าระงานที่ ไ ด รั บ มอบหมายภายในโรงเรียน การเลียนแบบตัว แบบความ รับผิดชอบภายในครอบครัว สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ เพื่อน นิสัยทางการเรียน และภาระงานทีไดรับมอบหมาย ภายในบาน เพื่อนําไปเปนขอมูลในการสงเสริม ปลูกฝง และ พัฒนาใหเด็กนักเรียนมีความรับผิดชอบในการทํางาน หรือหา วิธีการในการสงเสริมใหนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพณิชยการสยาม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.1 ภาระงานที่ ไ ด รั บ มอบหมายภายในโรงเรี ย น เปนองคประกอบที่มีอิทธิพลเปนอันดับหนึ่ง ซึ่งแสดงใหเห็นวา ภาระงานที่นักเรียนไดรับมอบหมายจากโรงเรียนทําใหนักเรียน มีความรับผิดชอบในการทํางานกลุมเปนอยางมาก ในประเด็น นี้ควรสรางจิตสํานึก และปลูกฝงการมีสวนรวมในการกระทํา กิจกรรมตาง ๆ แกนักเรียน เพื่อใหนักเรียนไดตระหนักถึงหนาที่ ของตั ว เอง และภาระที่ ตั ว เองต อ งกระทํ า ควรบู ร ณาการ กิจ กรรมการเรี ย นการสอนเข า กั บ กิ จ กรรมของโรงเรี ยน ควร มอบหมายงานใหนักเรียนไดทํา ตามความสามารถ และความ เหมาะสมของนักเรียน เพื่อเปนการสรางและปลูกฝงใหนักเรียน ได เ กิ ด การเรี ย นรู จ ริ ง จากการปฏิ บั ติ และเพื่ อ ปลู ก ฝ ง ความ รับผิดชอบตอหนาที่ที่นักเรียนไดรับมอบหมาย 1.2 การเลียนแบบตัวแบบความรับผิดชอบภายใน ครอบครัว เปนองคประกอบที่มีอิทธิพลอันดับสอง ที่ทําให

นักเรียนมีความรับผิดชอบในการทํางานกลุม ซึ่งแสดงให เห็นวาตัวแบบความรับผิดชอบสงผลตอพฤติกรรมความ รั บ ผิ ด ชอบของนั ก เรี ย น ในประเด็ น นี้ ค วรให นั ก เรี ย นได เลี ย นแบบความรั บ ผิ ด ชอบจากตั ว แบบ จะเป น ตั ว แบบ ภายในบานกลาวคือพฤติกรรมความรับผิดชอบของพอแม หรือผูปกครอง หรือจะเปนตัวแบบความรับผิดชอบภายใน โรงเรียน หรือควรสงเสริมใหนักเรียนไดเรียนรูจากตัวแบบ สัญลักษณที่ทางโรงเรียนจัดให เพื่อเปนการสงเสริม และ ปลูกฝงความรับผิดชอบใหเกิดขึ้นแกตัวนักเรียนจากการได เลียนแบบจากตัวแบบ หรือทางโรงเรียนควรรวมมือ กับ ผูป กครองในเรื่ อ งของการปลู ก ฝ ง ความรั บ ผิ ด ชอบ ควร ชี้แนะใหผูปกครองไดทราบวาพฤติกรรมของผูปกครองที่ แสดงออกมีผลตอพฤติกรรมของนักเรียนดวย 1.3 สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ น เปนองคประกอบที่สงผลตอพฤติกรรมความรับผิดชอบใน การทํางานกลุมของนักเรียนเปนอันดับสาม ทางโรงเรียน ควรใหความรูแกนักเรียนในการคบเพื่อน เพราะกลุมเพื่อน มี อิ ท ธิ พ ลมาก จะเห็ น ได ว า เด็ ก ในช ว งนี้ เ ป น วั ย รุ น ซึ่ ง ลักษณะของวัยรุนตองการใหเพื่อนยอมรับตนเขากลุม กลัว ไม มี เ พื่ อ น จนทํ า ให ใ นบางครั้ ง เด็ ก วั ย รุ น ไม เ ป น ตั ว ของ ตัวเอง ในประเด็นนี้ควรสอนใหเด็กรูจักและเคารพตนเอง เปนตัวของตัวเอง ใหเด็กรูจักแยกแยะวิเคราะหสิ่งที่ถูกและ ผิ ด ออกจากกั น ได เมื่ อ เป น เช น นี้ ก็ ส ามารถทํ า ให เ ด็ ก สามารถเลือกคบเพื่อนได 1.4 นิ สั ย ทางการเรี ย น เป น องค ป ระกอบที่ สงผลตอความรับผิดชอบในการทํางานกลุมเปนอันดับสี่ ในประเด็ น นี้ ท างโรงเรี ย นควรส ง เสริ ม และปลู ก ฝ ง ให นักเรียนมีนิสัยทางการเรียน และรูจักหนาที่ของตน ตาม ความเหมาะสม และตามความสามารถของนักเรียน ให นักเรียนไดตระหนักถึงคําวาหนาที่ และภาระที่ตัวเองตอง รั บ ผิ ด ชอบ เพราะนั ก เรี ย นในโรงเรี ย นพณิ ช ยการเป น โรงเรียนดานสายอาชีพ การที่นักเรียนมีนิสัยในการเรียนที่ ดี และรูจักหนาที่ของตน จะทําใหนักเรียนประสบผลสําเร็จ และเปนผูมีความรับผิดชอบตอหนาที่ที่ตนไดรับมอบหมาย


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 เมื่อสําเร็จการศึกษาออกไปประกอบอาชีพจะไดทํางานรวมกับ ผูอื่นไดอยางมีความสุข 1.5 ภาระงานที่ไดรับมอบหมายภายในบาน เปน องคประกอบที่ทําใหมีความรับผิดชอบของนักเรียนเปนอันดับ หา ซึ่งเปนอันดับสุดทาย ถึงแมวาภาระงานภายในบานจะทําให เกิ ด ความรั บ ผิ ด ชอบเป น อั น ดั บ สุ ด ท า ยก็ จ ริ ง แต ก็ ต อ งควร ตระหนักไว วา การปลูกฝงความรับ ผิดชอบนั้น ก็ตองเริ่ มจาก บาน และหนาที่ที่ไดมอบหมายใหนักเรียนไดทําภายในบาน ซึ่ง ฉะนั้นในประเด็นนี้ควรมีการมอบหมายงานบานใหนักเรียนไดทํา บางตามความสามารถและตามความเหมาะสมของนักเรียน

85

เพื่อ ปลู กฝ ง ใหนักเรีย นไดเรียนรูงานและหนา ที่จ ากการ ปฏิบัติจริง แตการมอบหมายงานใหนักเรียนปฏิบัตินั้นไม ควรใหนักเรียนทํามากจนเกินไป ครอบครัวควรมีการตกลง แบงหนาที่กันทําภายในบาน จัดแบงหนาที่ใหเปนสัดสวน ใหเหมาะสมกับวัยของนักเรียนดวย 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมีการศึกษาองคประกอบที่มีอิทธิพล ตอความรับผิดชอบในการทํางานกลุมกับนักเรียนระดับชั้น อื่น ๆ เชน นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง นักเรียนชวงชั้นที่ 3-4 และระดับอุดมศึกษา เปนตน


86

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

บรรณานุกรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ(2540).ประทีปแหงการศึกษา พระบรมราโชวาท และพระราชดํารัสดานการศึกษา. กรุงเทพ ฯ โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. ป. มหาขันธ .(2536). สอนเด็กใหเด็กมีความรับผิดชอบ.กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร. ประดินันท อุปรมัย.(2530).“การพัฒนาความรับผิดชอบของเด็ก” .เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาพฤติกรรมเด็ก หนวยที่ 6-10 (พิมพครั้งที่ 2) .นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ผองพรรณ เกิดพิทักษ.(2530). เอกสารการสอนวิชาทดสอบทางจิตวิทยา.ม.ป.ท.. ยุวดี เฑียรประสิทธิ์.(2536). การพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน.กรุงเทพ ฯ : ภาควิชาแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารี ศิริเจริญ.(2536). “การทดลองใชชุดการสอนเพื่อเสริมสรางคุณลักษณะดานความรับผิดชอบของนักศึกษา ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 1.”วารสารวิจัยสนเทศ. 13(15) : 3; เมษายน. วันทนี อุบลแยม. (2545). ปจจัยและพื้นฐานสภาพแวดลอมที่มีผลตอพฤติกรรมความรับผิดชอบตอตนเอง ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.อัดสําเนา. สุโท เจริญสุข.(2528).“ขอคิดพัฒนาคนใหมีความรับผิดชอบ”. วารสารแนะแนว. 96 (ธันวาคม-มกราคม) : 190. อังคณา ถิรศิลาเวทย.(2548). จิตลักษณะและปจจัยทางสังคมที่สัมพันธกับความรับผิดชอบตอการเรียนของนักเรียน มัธยมศึกษาปที่ 3 สังกัดสํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามหาสารคาม เขต 1. วิทยานิพนธ.มหาสารคาม. บัณฑิตวิทยาลัย มหาสารคาม.ถายเอกสาร Yamane,Taro,(1970). Statidtics-An Introductory Analysis 2nd ed.Tokyo : John Weatherhill,Inc.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

87

ป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ การปรั บ ตั ว ในการทํ า งานของ ขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่ การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย Factors Affecting on Task Adjustment of Teachers in Satuk District, Under Buriram Educational Service Area Office 4 , Buriram Province. Ö มนัสวี วัชรวิศิษฏ 1 รองศาสตราจารยเวธนี กรีทอง 2 ดร. พาสนา จุลรัตน. 2 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอ การปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ปจจัยที่ศึกษา แบ ง ออกเป น 3 ป จ จั ย คื อ ป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ได แ ก เพศ อายุ บุ ค ลิ ก ภาพ สุ ข ภาพจิ ต ลั ก ษณะมุ ง อนาคตและความศรั ท ธาต อ วิ ช าชี พ ครู ป จ จั ย ด า นครอบครั ว ได แ ก ฐานะทางเศรษฐกิ จ ของ ครอบครั ว และสั ม พั น ธภาพระหว า งข า ราชการครู กั บ สมาชิ ก ใน ครอบครัว และปจจัยดานสิ่งแวดลอมในการทํางาน ไดแก ลักษณะ ทางกายภาพในที่ ทํ า งาน สั ม พั น ธภาพระหว า งข า ราชการครู กั บ ผูบังคับบัญชา สัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับเพื่อนรวมงาน และสัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับนักเรียน

1 2

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


88

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนขาราชการครู สายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ปการศึกษา 2549 จํานวน 298 คน เปนขาราชการ ครูชาย 128 คน และขาราชการครูหญิง 170 คน เครื่องมือที่ใชใน การศึกษาคนควา ไดแก แบบสอบถามปจจัยที่สงผลตอการ ปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย สถิติที่ใชใน การวิเคราะหขอมูล คือ การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ของเพียรสัน และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบวา 1.ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการปรับตัวในการ ทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่ การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 มี 11 ปจจัย ไดแก เพศ : หญิง (X2) อายุ (X3) ฐานะ ทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X4)บุคลิกภาพ (X5) ลักษณะมุง อนาคต (X7) ความศรัทธาตอวิชาชีพครู (X8) สัมพันธภาพระหวาง ขาราชการครูกับสมาชิกในครอบครัว (X9) ลักษณะทางกายภาพ ในที่ทํางาน (X10) สัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับผูบังคับบัญชา (X11) สัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับเพื่อนรวมงาน (X12) และ สัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับนักเรียน (X13) 2.ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับการปรับตัวในการ ทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่ การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 มี 2 ปจจัย ไดแก เพศ : ชาย (X1) และสุขภาพจิต (X6) 3. ปจจัยที่สงผลตอการปรับตัวในการทํางานของ ขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา บุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 มี 6 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่สุด ไปยังปจจัยที่สงผลนอยที่สุด ไดแก สัมพันธภาพระหวาง ขาราชการครูกับนักเรียน (X13) ความศรัทธาตอวิชาชีพครู (X8) สุขภาพจิต (X6) อายุ (X3) สัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับ เพื่อนรวมงาน (X12) และลักษณะมุงอนาคต (X7) และปจจัยทั้ง 6 ปจจัย รวมกันพยากรณการปรับตัวในการทํางานของขาราชการ ครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ไดรอยละ 58.10

4. สมการพยากรณการปรับตัวในการทํางาน ของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่ การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย มีดังนี้ 4.1 สมการพยากรณการปรับตัวในการ ทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = -.002 + .404 X13 + .187 X8 - . 168 X6+ . 113 X3 + . 007 X 12 +.005 X7 4.2 สมการพยากรณการปรับตัวในการ ทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ในรูปคะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .388 X13+ . 176 X8 - . 169 X6 + . 131 X3 + . 128 X 12 + . 112 X7 ABSTRACT The purposes of this research were to study the factors affecting on task adjustment of teachers in Satuk district, Under Buriram Educational Service Area Office 4 ,Buriram Province. The factors were divided into 3 dimensions , first of them was personal factor : gender, age, personality, mental health, furture oriented and faith of professional teacher, second of them was family factor : economic level and interpersonal relationship between teachers and their family membership and third of them was task environment factor : physical task environment, interpersonal relationship between teachers and their supervisor, interpersonal relationship between teachers and their colleague and interpersonal relationship between teachers and their students. The 298 samples : 128 males and 170 females were the teachers in Satuk District , Buriram Province. in academic year 2006. The


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 instrument was questionnaires of factors affecting on task adjustment of teachers. The data was analyzed by The Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1. There were significantly positive correlation among task adjustment of teachers in Satuk District , Buriram Province and 11 factors : gender : female (X2) , age (X3) , economic level (X4) ,personality (X5), furture oriented (X7) , faith of professional teacher ( X8), interpersonal relationship between teachers and their family membership (X9), physical task environment (X10), interpersonal relationship between teachers and their supervisor (X11), interpersonal relationship between teachers and their colleague (X12) and interpersonal relationship between teachers and their students (X13) at .01 level . 2. There were significantly negative correlation among task adjustment of teachers in Satuk District , Buriram Province and 2 factors : gender : male (X1) and mental health (X6) at .01 level . 3. There were 6 factors got significantly affected on task adjustment of teachers in Satuk District , Buriram Province at .01 level, ranking from the most affecters to the least affecters were as follows : interpersonal relationship between teachers and their students (X13), faith of professional teacher ( X8), mental health (X6) ,age (X3) , interpersonal relationship between teachers and their colleague (X12) and furture oriented (X7).These 6 factors could predicted task adjustment of teachers about percentage of 58.10. 4. The predicted equation of task adjustment of teachers in Stuk District , Buriram Province at .01 level were as follows : 4.1 In terms of raw scores were :

89

Ŷ = -.002 + .404 X13 + .187 X8 - . 168 X6+ . 113 X3 + . 007 X 12 +.005 X7 4.2 In terms of standard scores were : Z = .388 X13+ . 176 X8 - . 169 X6 + . 131 X3 + . 128 X 12 + . 112 X7 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา นับตั้งแตพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่ ง เป น กฎหมายแม บ ททางการศึ ก ษา ได ประกาศใช เ มื่ อ วั น ที่ 19 สิ ง หาคม 2542 (สํ า นั ก งาน ปฏิรูปการศึกษา. 2544 : 3) ทําใหวงการศึกษาของไทย เกิ ด การตื่ น ตั ว เป น อย า งมาก เพราะการศึ ก ษานั้ น มี ความสํ า คัญ ตอ ความเจริ ญ กา วหน า ของประเทศเป น อยางมาก ดังที่ แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2535 ได ใหนิยามของ ”การศึกษา” วา การศึกษาเปนกระบวนการ ที่ทําใหมนุษยสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตตน สามารถ ดําเนินชีวิตในสังคมไดอยางมีสันติสุข และสามารถเกื้อหนุน การพัฒนาประเทศไดอยางเหมาะสม และสอดคลองกับ ความเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ดานของประเทศ (วิไล ตั้งจิตสมคิด. 2544 : 6) ครู เ ป น บุ ค ลากรที่ เ ป น ตั ว จั ก รสํ า คั ญ ในการ ขับเคลื่อนการศึกษาของชาติ เปนผูมีหนาที่ใหการศึกษา อบรมกั บ เยาวชนและพลเมื อ งทั่ ว ไป เป น ผู ชี้ แ นวทาง การศึกษาเลาเรียน เพื่อใหเยาวชนของชาติไดเติบโตเปน พลเมืองดีของประเทศ (อังคณา สายยศ. 2540 : 1) ดัง พระราโชวาทของสมเด็จ พระเทพรัต นราชสุด าฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก ผูสํา เร็จ การศึก ษาจากวิท ยาลัย ครู ณ อาคารใหม สวนอัม พร วั น พุ ธ ที่ 18 พฤษภาคม 2526 ความตอน หนึ่งวา........ “... อาชีพครูถือวาสําคัญอยางยิ่ง เพราะครูมี บทบาทสําคัญในการพัฒนาประเทศใหเจริญมั่นคง และ กอนที่จะพัฒนาบานเมืองใหเจริญไดนั้น จะตองพัฒนา คนซึ่ ง ได แ ก เ ยาวชนของชาติ เ สี ย ก อ นเพื่ อ ให เ ยาวชน เติบโตเปนผูใหญที่มีคุณคาสมบูรณทุกดาน จึงสามารถ


90

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ชวยกันสรางความเจริญใหแกชาติตอไปได ...” (ยนต ชุมจิต. 2534 : 47) ในอดีตมีคํากลาวที่แสดงถึงการใหความเคารพยกยอง ครูมากมาย เชน ครูคือปูชนียบุคคล ครูคือผูสรางโลก ครูคือ แมพิมพของชาติ ลวนแลวแตเปนคําที่แสดงถึงความศรัทธาที่มีตอ ครูไดเปนอยางดี หรือคํากลาวที่วา ครูคือผูแจวเรือจาง นั่นก็เปน คําที่บอกใหทราบวา อาชีพครูนั้นเปนอาชีพที่ไมกอใหเกิดความ ร่ํารวย ฉะนั้นครูตองมีความพอใจในความเปนอยูอยางสมถะ อยา หวั่นไหวตอลาภยศ ความสะดวกสบาย พึงรักและศรัทธาตออาชีพ ที่ต อ งชว ยผูอื่ นใหประสบความสํา เร็จ ความเจริญ กาวหนาไป เรื่อ ย ๆ (ลัดดา เสนาวงษ. 2532 : 33 ) แต ส ภาวะเศรษฐกิ จ และสั ง คมในป จ จุ บั น ทํ า ให ภาระหนาที่ของครูเปลี่ยนไปจากอดีต ครูมีภาระงานตามที่กําหนด ของสํานักงานคณะกรรมการขาราชการครู รวม 5 ประการดังนี้ 1) งานเกี่ ย วกั บ การเรี ย นการสอน ได แ ก การให การศึกษา การอบรม การปกครองดูแล การใหคําปรึกษาและการ แนะแนวการศึ ก ษา การแนะแนวอาชี พ และป ญ หาต า ง ๆ แก นักเรียน นักศึกษา 2) งานบริการแกสังคม ในดานวิชาการและดานอื่น ๆ การทํานุบํารุงเสริมสรางศิลปวัฒนธรรม 3) งานเกี่ยวกับการศึกษา คนควา วิจัย วิเคราะห 4) งานดานการสนเทศ วัดผล ประเมินผล เสนอแนะการปรับปรุง หลักสูตร เปรียบเทียบเอกสารทางวิชาการ การใชสื่อการเรียนการ สอน การใชเทคนิคและวิธีการใหม ๆ ทางการศึกษา และ 5) งาน ดานการปฏิบัติหนาที่อื่นที่เกี่ยวของ จะเห็นไดวา ภาระงานของครู นั้น อาจกลาวไดวาครอบจักรวาล (วิไล ตั้งจิตสมคิด. 2544 : 83) ในฐานะที่ผูวิจัยเปนขาราชการครูคนหนึ่งในอําเภอส ตึก จังหวัดบุรีรัมย และไดปฏิบัติงานในวิชาชีพครูมาเปนเวลา 7 ป ทําใหทราบวาครูในยุคปฏิรูปการศึกษามีปญหาและภาระหนาที่ การงานเพิ่มขึ้นจากในอดีตอยางมาก ดังนั้น ผูวิจัยจึงไดทําการ สํารวจปญหาเบื้องตน เพื่อศึกษาวา ครูมีปญหาหรือไม ถามีคือ ปญหาใดบางที่สงผลตอการทํางานของครู โดยใหขาราชการครู สายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จํานวน 50 คน ตอบแบบสอบถามปลายเปดจํานวน 2 ขอ ดังรายละเอียดตอไปนี้ คําถามขอที่ 1 ถามวา ขณะที่ทานปฏิบัติงาน ทานมี ปญหาหรือไม ถามีคือปญหาใด

คํา ตอบที่ขาราชการครูตอบมากที่สุด คือ ปญ หาด า น สัมพันธภาพกับเพื่อนรวมงาน จํานวน 16 คน คิดเปน รอยละ32 ไดแก บุคลากรขาดความสามัคคี มีการเกี่ยง กั น เรื่ อ งการทํ า งาน แบ ง พรรคแบ ง พวก และความ คิดเห็นขัดแยงกัน ปญหาดานการเงิน จํานวน 13 คน คิด เป น ร อ ยละ 26 ได แ ก เงิ น เดื อ นเหลื อ น อ ย รายจ า ย มากกว า รายได และค า ครองชี พ สู ง ป ญ หาด า นการ ปฏิ บั ติ ง าน จํ า นวน 11 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 22 ได แ ก ทํางานหลายอยางหลายตําแหนง งานที่มอบหมายใหทํา มีมากเกินไป ตองรับผิดชอบงานประจําที่มากอยูแลว การแบ ง งานและหน า ที่รั บ ผิ ด ชอบไมชั ด เจน และการ บริหารงานไมเปนไปตามระบบ มีการเปลี่ยนแปลงบอย ปญหาดานความประพฤติของนักเรียน จํานวน 10 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 20 ได แ ก นั ก เรี ย นไม ตั้ ง ใจเรี ย น ขาด ความกระตือรือรนในการเรียน เรียนออน อานหนังสือไม ออก และขาดวินัย ปญหาดานงบประมาณ จํานวน 9 คน คิ ด เปน รอ ยละ 18 ไดแ ก งบประมาณไม เพี ยงพอ ขาดสื่อและอุปกรณการเรียนการสอนที่ทันสมัย ปญหา ด า นสุ ข ภาพ จํ า นวน 2 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 4 ได แ ก รางกายไมแข็งแรง และสุขภาพไมดี คําถามขอที่ 2 ถามวา ป ญหาในขอ 1 ทา น คิดวาเกิดจากสาเหตุใดบาง คําตอบของขาราชการครูมี ดั ง ต อ ไปนี้ ป ญ หาด า นสั ม พั น ธภาพกั บ เพื่ อ นร ว มงาน เกิดจากวัยที่แตกตางกันของเพื่อนรวมงานประสบการณ ต า งกั น และความคิ ด เห็ น แตกต า งกั น ป ญ หาด า น การเงิน เกิ ด จากเงิน เดื อ นน อ ย น้ํ า มั น แพง สิ น คา ขึ้ น ราคา ใชจายไมระมัดระวัง ไมวางแผนการใชเงิน ตอง อุปการะเลี้ยงดูบุพการี และญาติพี่นอง ปญหาดานการ ปฏิ บัติ ง าน เกิด จากการแบ ง งานพิ เ ศษใหบุ ค ลากรใน โรงเรี ย นรั บ ผิ ด ชอบไม เ ท า กั น ขาดการวางแผนและ ประสานงานที่ดี และขาดความรวมมือในการพัฒนางาน ปญหาดานความประพฤติของนักเรียน เกิดจากปญหา ความพร อ มของนั ก เรี ย นไม เ หมื อ นกั น พื้ น ฐานทาง ครอบครัวไมเหมือนกัน เด็กมีอคติกับวิชาที่สอน นักเรียน ขาดความรับผิดชอบ และขาดความพยายามที่จะใฝรู ใฝ เ รี ย น ป ญ หาด า นงบประมาณ เกิ ด จากขาดการ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 สนั บ สนุ น จากทางโรงเรี ย น ป ญ หาด า นสุ ข ภาพ เกิ ด จากมี โ รค ประจําตัว และอายุมากขึ้น จากผลการสํ า รวจป ญ หาดั ง กล า วข า งต น พบว า ขาราชการครู อําเภอสตึก นาจะมีปญหาการปรับตัวในการทํางาน เพราะจากข อ มู ล ที่ ต อบแบบสอบถามนั้ น แสดงให เ ห็ น ว า ขา ราชการครูมี ปญ หาต า ง ๆ มากมายที่ จ ะต อ งปรั บ ตั ว ไดแ ก ปญหาสัมพันธภาพกับเพื่อนรวมงาน ปญหาการเงิน ปญหาดาน การปฏิ บั ติ ง าน ป ญ หาความประพฤติ ข องนั ก เรี ย น ป ญ หา งบประมาณและปญหาสุขภาพ ซึ่งปญหาตาง ๆ เหลานี้ลวนเปน สาเหตุที่ทําใหเกิดการปรับตัวในการทํางานทั้งสิ้น ดวยเหตุน้ี ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาปจจัยที่สงผลตอการ ปรั บ ตัวในการทํา งานของขาราชการครูสายผูสอน อํา เภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และดานสิ่งแวดลอมในการทํางานกับการปรับตัว ในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขต พื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย 2. เพื่อ ศึกษาปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และ ดานสิ่งแวดลอมในการทํางานที่สงผลตอการปรับตัวในการทํางาน ของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา บุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย 3. เพื่อสรางสมการพยากรณการปรับตัวในการทํางาน ของข า ราชการครู ส ายผู ส อน อํ า เภอสตึ ก สั ง กั ด เขตพื้ น ที่ การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย สมมติฐานในการศึกษาคนควา 1. ป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และด า น สิ่งแวดลอมในการทํางาน มีความสัมพันธกับการปรับตัวในการ ทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่ การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย 2. ป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และด า น สิ่งแวดลอมในการทํางาน สงผลตอการปรับตัวในการทํางานของ ขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สัง กัดเขตพื้น ที่การศึก ษา บุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย

91

วิธีการดําเนินการศึกษาคนควา ประชากร ประชากรที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาครั้ ง นี้ เป น ข า ราชการครู ส ายผู ส อน อํ า เภอสตึ ก สั ง กั ด เขตพื้ น ที่ การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ปการศึกษา 2549 จํานวน 896 คน เปนขาราชการครูชาย 385 คน และขาราชการครูหญิง 511 คน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปน ข า ราชการครู ส ายผู ส อน อํ า เภอสตึ ก สั ง กั ด เขตพื้ น ที่ การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ปการศึกษา 2549 จํานวน 298 คน เปนขาราชการครูชาย 128 คน และขาราชการครูหญิง 170 คน ซึ่งไดมาจากการสุม แบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) จาก ป ร ะ ช า ก ร ที่ ร ะ ดั บ ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ร อ ย ล ะ 9 5 (Yamane.1967 : 886-887) โดยใชข นาดโรงเรียน ระดับชั้นและเพศเปนชั้น (Strata) เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ เปน แบบสอบถามปจจัยที่สงผลตอการปรับตัวในการทํางาน ของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่ การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ซึ่งแบงออกเปน 11 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามข อ มู ล ส ว นตั ว ไดแก เพศ อายุ และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว ตอนที่ 2 แบบสอบถามบุคลิกภาพ เปน แบบสอบถามชนิ ด มาตราส ว นประมาณค า (Rating Scale) ตามแบบของลิเคอรท (Likert Scale) มี 5 ระดับ จํานวน 20 ขอ มีคา t อยูระหวาง 2.121 – 6.417 มีคา ความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ .8361 ตอนที่ 3 แบบคัดกรองสุขภาพจิต (Thai GHQ 60) ตอนที่ 4 แบบสอบถามลักษณะมุงอนาคต เปนแบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ตามแบบของลิเคอรท (Likert Scale) มี 5 ระดับ จํานวน 14 ขอ มีคา t อยูระหวาง 3.091 – 10.590 มีคา ความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ .8952


92

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ตอนที่ 5 แบบสอบถามความศรัทธาตอวิชาชีพครู เปน แบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ตาม แบบของลิเคอรท (Likert Scale) มี 5 ระดับ จํานวน 30 ขอ มีคา t อยูระหวาง 2.428 – 8.714 มีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เทากับ .9469 ตอนที่ 6 แบบสอบถามสั ม พั น ธภาพระหว า ง ขาราชการครูกับสมาชิกในครอบครัว เปนแบบสอบถามชนิด มาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ตามแบบของลิเคอรท (Likert Scale) มี 5 ระดับ จํานวน จํานวน 18 ขอ มีคา t อยู ระหวาง 3.412 – 12.06 มีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ .9320 ตอนที่ 7 แบบสอบถามลั ก ษณะทางกายภาพในที่ ทํางาน เปนแบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ตามแบบของลิเคอรท (Likert Scale) มี 5 ระดับ จํานวน 12 ขอ มีคา t อยูระหวาง 2.448 – 7.370 มีคาความเชื่อมั่นทั้ง ฉบับเทากับ .8253 ตอนที่ 8 แบบสอบถามสั ม พั น ธภาพระหว า ง ขาราชการครูกับผูบังคับบัญชา เปนแบบสอบถามชนิดมาตรา สวนประมาณคา (Rating Scale) ตามแบบของลิเคอรท (Likert Scale) มี 5 ระดับ จํานวน19 ขอ มีคา t อยูระหวาง 2.468 – 12.320 มีคา ความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ .9560 ตอนที่ 9 แบบสอบถามสั ม พั น ธภาพระหว า ง ขาราชการครูกับเพื่อนรวมงาน เปนแบบสอบถามชนิดมาตราสวน ประมาณคา (Rating Scale) ตามแบบของลิเคอรท (Likert Scale) มี 5 ระดับ จํานวน14 ขอ มีคา t อยูระหวาง 4.461 – 8.839 มีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ .9350 ตอนที่ 10 แบบสอบถามสั ม พั น ธภาพระหว า ง ข า ราชการครู กั บ นั ก เรี ย น เป น แบบสอบถามชนิ ด มาตราส ว น ประมาณคา (Rating Scale) ตามแบบของลิเคอรท (Likert Scale) มี 5 ระดับ จํานวน 15 ขอ มีคา t อยูระหวาง 3.167 – 13.780 มี คาความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ .9569 ตอนที่ 11 แบบสอบถามการปรับตัวในการทํางาน เปนแบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ตามแบบของลิเคอรท (Likert Scale) มี 5 ระดับ จํานวน16 ขอ มีคา t อยูระหวาง 2.866 – 7.716 มีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เทากับ .9045

ผลการวิจัย 1. ป จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ การ ปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอส ตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัด บุรีรัมย อยา งมีนัยสํา คัญทางสถิติที่ร ะดับ .01 มี 11 ปจจัย ไดแก เพศ : หญิง (X2) อายุ (X3) ฐานะทาง เศรษฐกิจของครอบครัว (X4)บุคลิกภาพ (X5) ลักษณะมุงอนาคต (X7) ความศรัทธาตอวิชาชีพครู (X8) สัมพันธภาพระหวาง ขาราชการครู กั บสมาชิ กในครอบครั ว (X9) ลั ก ษณะทาง กายภาพในที่ ทํ า งาน (X10) สั ม พั น ธภาพระหว า ง ข า ราชการครู กั บ ผู บั ง คั บ บั ญ ชา (X11) สั ม พั น ธภาพ ระหว า งข า ราชการครู กั บ เพื่ อ นร ว มงาน (X12) และ สัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับนักเรียน (X13) 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับการ ปรั บ ตั ว ในการทํ า งานของข า ราชการครู ส ายผู ส อน อํ า เภอสตึ ก สั ง กั ด เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาบุ รี รั ม ย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 2 ปจจัย ไดแก เพศ : ชาย (X1) และสุขภาพจิต (X6) 3. ปจจัยที่สงผลตอการปรับตัวในการ ทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัด เขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 มี 6 ป จ จั ย โดย เรี ย งลํ า ดั บ จากป จ จั ย ที่ ส ง ผลมากที่ สุ ด ไปยั ง ป จ จั ย ที่ สงผลนอยที่สุด ไดแก สัมพันธภาพระหวางขาราชการครู กั บ นั ก เรี ย น (X13) ความศรั ท ธาต อ วิ ช าชี พ ครู (X8) สุ ข ภาพจิ ต (X6) อายุ (X3) สั ม พั น ธภาพระหว า ง ขาราชการครูกั บ เพื่ อ นรว มงาน (X12) และลัก ษณะมุ ง อนาคต (X7) และปจจัยทั้ง 6 ปจจัย รว มกันพยากรณ การปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อํ า เภอสตึ ก สั ง กั ด เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาบุ รี รั ม ย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ไดรอยละ 58.10 4. สมการพยากรณการปรับตัวในการทํางาน ของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่ การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย มีดังนี้


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 4.1 สมการพยากรณการปรับตัวในการทํางานของ ขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา บุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = -.002 + .404 X13 + .187 X8 - . 168 X6+ . 113 X3 + . 007 X 12 +.005 X7 Ŷ = -.002(คาคงที่ของการพยากรณ) + .404 X13( สัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับนักเรียน) + .187 X8(ความ ศรัทธาตอวิชาชีพครู) - . 168 X6(สุขภาพจิต) + . 113 X3(อายุ) + . 007 X 12(สัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับเพื่อนรวมงาน) +.005 X7(ลักษณะมุงอนาคต) 4.2 สมการพยากรณการปรับตัวในการทํางานของ ขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา บุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ในรูปคะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .388 X13+ . 176 X8 - . 169 X6 + . 131 X3 + . 128 X 12 + . 112 X7 Z = .388 X13(สัมพันธภาพระหวางขาราชการครู กับนักเรียน) + . 176 X8(ความศรัทธาตอวิชาชีพครู) - . 169 X6 (สุขภาพจิต) + . 131 X3(อายุ) + . 128 X 12(สัมพันธภาพระหวางขาราชการครู กับเพื่อนรวมงาน) + . 112 X7(ลักษณะมุงอนาคต) อภิปรายผลการวิจัย 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการปรับตัวใน การทํางานของ ขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขต พื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 มี 11 ปจจัย ไดแก เพศ : ขาราชการครูหญิง (X2) อายุ (X3) ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X4) บุคลิกภาพ (X5) ลั ก ษณะมุ ง อนาคต (X7) ความศรั ท ธาต อ วิ ช าชี พ ครู (X8) สัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับสมาชิกในครอบครัว (X9) ลั ก ษณะทางกายภาพในที่ ทํ า งาน (X10) สั ม พั น ธภาพระหว า ง ข า ราชการครู กั บ ผู บั ง คั บ บั ญ ชา (X11) สั ม พั น ธภาพระหว า ง ขาราชการครูกับเพื่อนรวมงาน (X12) และ สัมพันธภาพระหวาง ขาราชการครูกับนักเรียน (X13) อภิปรายผลไดดังนี้ 1.1 เพศ : ขาราชการครูหญิง (X2) มีความสัมพันธ ทางบวกกับการปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยา งมีนัย สํา คัญ ทางสถิติที่ร ะดับ .01 แสดงวา ขา ราชการครู เพศหญิง มีการปรับตัวในการทํางานดีทั้งนี้เพราะขาราชการครู

93

เพศหญิง มีพฤติกรรมในการทํางานที่สงเสริมการปรับตัว ในการทํางาน มีความตั้งใจในการปฏิบัติงานดี มีความ ละเอียดออนในการทํางาน มีความกระตือรือรนในการ ทํางาน มีความสุขุมเยือกเย็น มีความมั่นใจในตนเองสูง มีความยืดหยุนในการทํางาน และสามารถจัดสรรเวลา ในการทํ า งานได อ ย า งเหมาะสม ซึ่ ง สิ่ ง เหล า นี้ ทํ า ให ขาราชการครูเพศหญิงมีการปรับตัวในการทํางานที่ดี ซึ่ง สอดคลองกับแคสเนอร และอุลลแมน (ศักดิ์ชัย นิรัญทวี. 2532 : 59 ; อางอิงจาก Krasner ; & Ullman. 1974) ที่ กลาววา เพศเปนปจจัยที่สําคัญประการหนึ่งที่จะทําให บุคคลแสดงพฤติกรรมตาง ๆ แตกตางกันออกไป เชน ใน ดานการปฏิบัติงาน แมวาในปจจุบัน ความแตกตางใน แงความสามารถในการทํางานระหวางเพศจะลดนอยลง ทุกที แตความแตกตางระหวางเพศก็ยังคงเปนตัวแปรที่ สงผลตอจิตลักษณะและพฤติกรรม ทั้งนี้เพราะตั้งแตเกิด ผูหญิงกับผูชายตางก็มีโลกทางสังคมที่แตกตางกัน เชน การเรี ย นรู บ ทบาท ความคาดหวั ง ทางสั ง คม ค า นิ ย ม เป น ต น โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง รู ป แบบหรื อ ลั ก ษณะของ พฤติกรรมที่ถูกอบรมสั่งสอน อันมีผลไปถึงบทบาททาง สั ง คม งานอดิ เ รก การกี ฬ า การพั ก ผ อ น และความ คาดหวังในอาชีพ 1.2 อายุ (X3) มีความสัมพันธทางบวก กับการปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อํ า เภอสตึ ก สั ง กั ด เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาบุ รี รั ม ย เขต 4 จัง หวัดบุ รีรัมย อยา งมีนั ย สํา คัญ ทางสถิติที่ร ะดั บ .01 แสดงวา ขาราชการครูที่มีอายุมากมีการปรับตัวในการ ทํางานดี ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของจินตนา บิลมาศ และคนอื่ น ๆ (2529 : 163) ได ทํ า การวิ จั ย เรื่ อ ง คุณลักษณะของขาราชการพลเรือน พบวา ตัวแปรดาน อายุ มีความสัมพันธทางบวกกับทัศนคติตอการทํางาน ราชการ 3 กลุ ม โดยผลสอดคล อ งกั น ทั้ ง 3 กลุ ม ว า ขาราชการที่อายุมาก มีทัศนคติทางบวกในการทํางาน ราชการมากกวาขาราชการที่มีอายุปานกลางและอายุนอย 1.3 ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X4 ) มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ การปรั บ ตั ว ในการ ทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัด


94

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

เขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงว า ข า ราชการครู ที่ มี ฐ านะทาง เศรษฐกิ จ ของครอบครั ว สู ง มี ก ารปรั บ ตั ว ในการทํ า งานดี ซึ่ ง สอดคลองกับงานวิจัยของจินตนา บิลมาศ และคนอื่น ๆ (2529 : 193) ที่ศึกษาคุณลักษณะของขาราชการพลเรือน พบวา เงินเดือน มีความสําคัญกับการทํางานของขาราชการพลเรือน กลาวคือ ถา ขาราชการพลเรือนตอบวาเงินเดือนมีความสําคัญมากเทาใด จะ มีผลทําใหจิตลักษณะ 4 ประเภทในการทํางาน ไดแก ทัศนคติใน การทํางาน ความเชื่ออํานาจในตน สุขภาพจิต และลักษณะมุง อนาคตดีขึ้นตามไปดวย 1.4 บุคลิกภาพ (X5) มีความสัมพันธทางบวกกับ การปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงว า ข า ราชการครู ที่ มี บุ ค ลิ ก ภาพแบบเอ มี ก ารปรั บ ตั ว ในการทํ า งานดี ทั้ ง นี้ เ พราะ ข า ราชการครู ที่ มี บุ ค ลิ ก ภาพแบบเอ จะเป น คนที่ มี ค วาม ทะเยอทะยาน ชอบแขงขัน ชอบฟนฝาอุปสรรค ชอบทํางานดวย ความรวดเร็ว มีความมานะพยายามสูงและรักความกาวหนา ซึ่ง สอดคลองกับงานวิจัยของ โอชาชินและคนอื่น ๆ (Jerry. 1986 : 247 ; citing Ovchachyn.; et al. 1981) ที่พบวา นักเรียนที่มี พฤติกรรมแบบเอ เห็นความสําคัญของเกรดในการเรียน ใหเวลา กับ ชั่ว โมงในหองเรียน คาดหวังในเกรด และไดรับเกรดสู งกวา นักเรียนที่มีพฤติกรรมแบบบี ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความรับผิดชอบ ตอ ตนเอง และหนา ที่ ที่ต นไดรับ มอบหมายของผูที่มีพฤติก รรม แบบเอ และสงผลใหประสบความสําเร็จในงานที่ไดรับมอบหมาย ไดในที่สุด 1.5 ลั ก ษณะมุ ง อนาคต (X7) มี ค วามสั ม พั น ธ ทางบวกกับการปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา ขาราชการครูที่มี ลักษณะมุงอนาคตมาก มีการปรับตัวในการทํางานดี ทั้งนี้เพราะ ขาราชการที่มีลักษณะมุงอนาคตมาก จะมีความสามารถในการ คาดการณไกล เห็นความสําคัญของผลดีผลเสียที่จะเกิ ดขึ้นใน อนาคต หาแนวทางในการแกปญหา และสามารถวางแผนเพื่อ ไปสูเปาหมายในอนาคตที่ตนเองตองการ ทําใหสามารถทํางานได อยางมีประสิทธิภาพมากกวาขาราชการครูที่มีลักษณะมุงอนาคต

นอย ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของแพนดี้ และอการ วัล (Pandy ; & Agarwal. 1990 : 24 - 32) ซึ่ง ทําการศึกษาลักษณะมุงอนาคตในผูใหญ อายุ 19 – 23 ป จํานวน 50 คน พบวา วัยผูใหญมีการตัดสินใจดีกวา วั ย รุ น และพบว า ผู ใ หญ ที่ มี ก ารมุ ง อนาคตน อ ยไม สามารถพินิจพิเคราะหภาระงานไดมีประสิทธิภาพเชน ผูใหญที่มีการมุงอนาคตมาก 1.6 ความศรัทธาตอวิชาชีพครู (X8) มี ความสัมพันธทางบวกกับการปรับตัวในการทํางานของ ข า ราชการครู ส ายผู ส อน อํ า เภอสตึ ก สั ง กั ด เขตพื้ น ที่ การศึ ก ษาบุ รี รั ม ย เขต 4 จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา ขาราชการครูที่ มีความศรัทธาตอ วิช าชีพ ครูม าก มีการปรับ ตัว ในการ ทํ า งานดี ทั้ ง นี้ เ พราะข า ราชการที่ มี ค วามศรั ท ธาต อ วิชาชีพครูมาก จะมีความตั้งใจในการทํางาน ใหความ เอาใจใสในหนาที่การเรียนการสอน มีความรับผิดชอบ และมีวินัยในการทํางานสูง สงผลใหการทํางานของครูมี ประสิ ท ธิ ภ าพ มี ค วามเจริ ญ ก า วหน า และประสบ ความสําเร็จในหนาที่การงาน ซึ่งสอดคลองกับประไพศรี ตยานันท (กระทรวงศึกษาธิการ (1). 2540 :13 – 14 ; อางอิงจาก ประไพศรี ตยานันท.2533) ที่ไดทําการ ประเมินผลโครงการคุรุทายาทของวิทยาลัยครู พบวา ผูบังคับบัญชาของขาราชการครูมีความพึงพอใจในการ ปฏิ บั ติ ง านของข า ราชการครู ที่ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาจาก โครงการคุรุทายาท ในดานทัศนคติตออาชีพครู มีความ รั ก และศรั ท ธาในอาชี พ ครู ม ากที่ สุ ด รองลงมา คื อ อุ ด มการณ ต อ การเป น ครู และในด า นความพึ ง พอใจ โดยรวม พบวา ผูบังคับบัญชามีความพอใจมากที่สุด คือ ดานคุณธรรมและความประพฤติ รองลงมา คือ เจตคติ ตอวิชาชีพครู 1.7 สัมพันธภาพระหวางขาราชการครู กับสมาชิกในครอบครัว (X9) มีความสัมพันธทางบวกกับ การปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อํ า เภอสตึ ก สั ง กั ด เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาบุ รี รั ม ย เขต 4 จัง หวัดบุ รีรัมย อยา งมีนัย สํา คัญ ทางสถิติที่ร ะดับ .01 แสดงวา ขาราชการครูที่มีสัมพันธภาพกับสมาชิกใน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ครอบครัวดี มีการปรับตัวในการทํางานดี ทั้งนี้เพราะสัมพันธภาพ ระหวางสมาชิกในครอบครัว คือการสนับสนุนดานอารมณและ สิ่งแวดลอมในครอบครัว การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและ กัน มีการรักใครผูกพันซึ่งกันและกัน มีความเห็นอกเห็นใจกัน และ มีความกลมเกลียวสามัคคีปรองดองระหวางสมาชิกในครอบครัว ซึ่ ง เป น สิ่ ง ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ต อ คนเราทุ ก คน ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ งานวิจัยของกุลวรรณ วิทยาวงศรุจิ (2526 : 58 -59) ที่ไดศึกษาหา ความสัมพันธของสัมพันธภาพภายในครอบครัว และการปรับตัว ของวัยรุน ที่กําลังศึกษาอยูในโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนตนและตอนปลาย ในกรุงเทพมหานคร จํานวน 499 คน ผล ปรากฏวา สัมพันธภาพในครอบครัว มีความสัมพันธทางบวกกับ การปรั บ ตั ว โดยมี ค า สหสั ม พั น ธ .4534 นั่ น คื อ เด็ ก วั ย รุ น ที่ มี สัมพันธภาพในครอบครัวดี จะมีการปรับตัวดี แตถาเด็กวัยรุนมี สัมพันธภาพในครอบครัวไมดี ก็จะปรับตัวไมดีไปดวย 1.8 ลักษณะทางกายภาพในที่ทํางาน (X10) มี ความสัมพันธทางบวกกับการปรับตัวในการทํางานของขาราชการ ครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสํา คัญ ทางสถิติที่ร ะดับ .01 แสดงวา ขาราชการครู ที่ไดรับลักษณะทางกายภาพในที่ทํางานดี มีการ ปรั บ ตั ว ในการทํ า งานดี ทั้ ง นี้ เ พราะลั ก ษณะทางกายภาพใน โรงเรียนที่ขาราชการครูทํางานอยู ไดแก หองเรียนมีอากาศถายเท สะดวก บรรยากาศในหองเรียนปราศจากเสียงรบกวน หองเรียนมี ความสะอาดเปนระเบียบเรี ยบรอ ย หองน้ําหองสุข าสะอาดถูก หลักสุขอนามัย อุปกรณและเครื่องใชในการทํางานมีสภาพที่ดี เหมาะสมกับการใชงาน และวัสดุที่ใชการเรียนการสอนมีความ ทันสมัย ทําใหครูสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ สบายใจ และมีความสุข ดังที่ วิจิตร วรุตบางกูร (2535 : 145) กลาววา สภาพแวดลอมที่ดีและสวยงาม มีผลตอจิตใจของผูปฏิบัติงาน ทํา ใหมีทัศนคติที่ดีตอการทํางาน องคการจึงควรจัดสถานที่ที่ทํางาน และบริเวณที่ทํางานใหสะอาด สวยงาม ติดตั้งอุปกรณ เครื่องใช สํานักงานที่ไดมาตรฐาน และถูกตองตามหลักวิชาการ 1.9 สั ม พั น ธภาพระหว า งข า ราชการครู กั บ ผูบังคับบัญชา (X11) มีความสัมพันธทางบวกกับการปรับตัวใน การทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อํา เภอสตึก สัง กัดเขต พื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสําคัญทาง สถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงว า ข า ราชการครู ที่ มี สั ม พั น ธภาพกั บ

95

ผู บั ง คั บ บั ญ ชาดี มี ก ารปรั บ ตั ว ในการทํ า งานดี ทั้ ง นี้ เพราะสั ม พั น ธภาพที่ ดี ร ะหว า งข า ราชการครู กั บ ผู บั ง คั บ บั ญ ชา ได แ ก ผู บั ง คั บ บั ญ ชาสนั บ สนุ น การ ทํางาน ใหความสําคัญ ใหความไววางใจ แสดงทาทีที่ ทํารูสึกเปนกันเอง เมื่อทํางานผิดพลาดผูบังคับบัญชา ก็ยังใหโอกาส และเปดโอกาสใหขาราชการครูรวมแสดง ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ง าน ย อ มทํ า ให ขาราชการครูเกิดความพึงพอใจ และสงผลใหการทํางาน มีประสิทธิภาพดี ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ ฟด เลอร เชมเมอร และมาฮาร (Fiedler , Chemers ; & Marhar. 1976 : 36) ที่ไดทําการวิจัยเรื่องผลการ ปรั บ ปรุ ง ภาวะผู นํ า ของผู บ ริ ห าร พบว า ผู บ ริ ห ารและ ผูรวมงานที่มีความสัมพันธอันดีตอกัน ยอมทําใหสภาพ การบั ง คั บ บั ญ ชาของผู บ ริ ห ารราบรื่ น และช ว ยให ผูรวมงานพึงพอใจตอสภาพการทํางานอีกดวย 1.10 สัมพันธภาพระหวางขาราชการครู กับเพื่อนรวมงาน (X12) มีความสัมพันธทางบวกกับการ ปรั บ ตั ว ในการทํ า งานของข า ราชการครู ส ายผู ส อน อํ า เภอสตึ ก สั ง กั ด เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาบุ รี รั ม ย เขต 4 จัง หวัดบุ รีรัมย อยา งมีนัย สํา คัญ ทางสถิติ ที่ร ะดับ .01 แสดงวา ขาราชการครูที่มีสัมพันธภาพกับเพื่อนรวมงาน ดี มีการปรับตัวในการทํางานดี ทั้งนี้เพราะสัมพันธภาพที่ ดีระหวางขาราชการครูกับเพื่อนรวมงาน จะทําใหการ ทํางานในโรงเรียนเกิดความราบรื่น มีความสนิทสนม เปนกันเอง มีความไววางใจ พึงพอใจในการปฏิบัติงาน รวมกัน และยอมรับฟงความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ทําให ครูมีความสุขและเกิดความสบายใจในการทํางาน ดังที่ นิเวศ จันทขันฑ (2525 : 55) กลาววา ความสัมพันธ ระหวางครูกับเพื่อนครูที่ทํางานรวมกันในโรงเรียน ถา ความสัมพันธเปนไปดวยดี บรรยากาศในการทํางานไม เคร ง เครี ย ด ก็ จ ะทํ า งานได ผ ลดี และในการทํ า งาน รวมกันของคณะครู โดยเฉพาะในโรงเรียนที่มีบุคลากร มาก ๆ ความสัมพันธระหวางกันถือเปนสิ่งสําคัญที่สุด 1.11 สัมพันธภาพระหวางขาราชการครู กับนักเรียน (X13) มีความสัมพันธทางบวกกับการปรับตัว ในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก


96

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงว า ข า ราชการครู ที่ มี สั ม พั น ธภาพกั บ นั ก เรี ย นดี มี ก ารปรั บ ตั ว ในการทํ า งานดี ทั้ ง นี้ เพราะสัมพันธภาพที่ดีระหวางขาราชการครูกับนักเรียนไดแก ครู รับฟงเหตุผลของนักเรียน เปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถามในสิ่งที่ ไมเขาใจหลังจากการเรียนการสอนทั้งในและนอกหองเรียน ให กําลังใจนักเรียนเมื่อมีปญหาโดยไมเลือกที่รักมักที่ชัง การสราง บรรยากาศทางการเรียนที่ทําใหนักเรียนรูสึกเปนกันเอง อบอุน และผอนคลาย จะทําใหครูกับนักเรียนมีความสัมพันธที่ดีตอกัน สงผลใหเกิดการเรียนรูที่ดีตามมา และครูจะรูสึกมีความสุขในการ ทํางานดวยเชนกัน ดังที่ นพพงษ บุญจิตราดุลย (2527 : 48 - 67) ไดกลาวถึง ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนและผูสอนวา ผูสอนไมควร สรางบรรยากาศแหงความกลัวใหเกิดขึ้น การเรียนรูมิใชเกิดในชั้น เรี ย นเสมอไป ดั ง นั้ น การพบปะ ซั ก ถามนอกชั้ น เรี ย น จะสร า ง บรรยากาศแหงความเปนมิตรไดงายขึ้น อยาทําใหเกิดการเสีย หนา และควรฟงความคิดเห็นของนักเรียน 2.ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับการปรับตัวในการ ทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่ การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย มี 2 ปจจัย ไดแก เพศ : ขาราชการครูชาย (X1) และสุขภาพจิต (X6) อภิปรายผลไดดังนี้ 2.1 เพศ : ขาราชการครูชาย (X1) มีความสัมพันธ ทางลบกับการปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา ขาราชการครูเพศ ชาย มีการปรับตัวในการทํางานไมดี ทั้งนี้เพราะขาราชการครูชาย ขาดความกระตือรือรนในการทํางาน ขาดแรงจูงใจในการทํางาน มีความเชื่อมั่นในตนเองสูงเชื่อในความคิดของตนเอง ไมยอมรับ ฟงเหตุผลของคนอื่น ไมพรอมที่จะเปลี่ยนแปลงตนเอง ขัดแยงกับ ผูอื่นบอย ๆ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของคลารก (บุญเลี้ยง ทุมทอง. 2544 : 66 ; อางอิงจาก Clark. 1981) ซึ่งไดวิเคราะหองคประกอบ แหงความกดดันจากอาชีพครู ของครูในโรงเรียนรัฐบาล ในรัฐอลา บามา จํานวน 400 คน ผลการวิจัยพบวา องคประกอบที่ทําใหครู อึดอัดใจมี 5 ประการ คือ ความรูสึกไมพอใจในอาชีพ ความสัมพันธกับครูใหญ ความสัมพันธระหวางครูในโรงเรียน ปญหาในการสอน และงานสอนหนักเกินไป สรุปผลการวิจัย พบวา ไมมีความแตกตางกันระหวางครูชายและครูหญิงตอปญหา

ของอาชีพทั้ง 5 ประการ แตครูหญิงมีปญหากับครูใหญ นอยกวาครูชาย 2.2 สุขภาพจิต (X6) มีความสัมพันธทาง ลบกับการปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสาย ผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา ขาราชการครูที่มีสุขภาพจิตดี มีการปรับตัวใน การทํางานดี ทั้งนี้เพราะขาราชการครูมีสุขภาพจิตดี จะ เปนผูที่เต็มใจทํางานหรือรับผิดชอบอยางเหมาะสมกับ บทบาทของตนเองได เปนผูที่มีวุฒิภาวะทางอารมณ มี มนุษยสัมพันธดี ใจกวาง สามารถยอมรับและเผชิญ ความเปนจริง สามารถที่จะเอาชนะอุปสรรคและปญหา ที่เกิดขึ้นกับตนเองได มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความ รับผิดชอบ และมีความยืดหยุน เขากับผูอื่นไดงาย ซึ่ง สอดคลองกับงานวิจัยของ ศักดิ์ชัย นิรัญทวี (2532 : 168 ) ที่ไดศึกษาความแปลกแยกกับพฤติกรรมการ ทํางานของครูสังกัดกรุงเทพมหานคร พบวา ครูที่มีความ เชื่ออํานาจในตนเองสูง จะมีปญหาดานสุขภาพจิตนอย และมีความสัมพันธทางบวกกับทัศนคติที่ดีตอสภาพการ ทํางานในระดับสูง 3. ปจจัยที่สงผลตอการปรับตัวในการทํางาน ของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัดเขตพื้นที่ การศึ ก ษาบุ รี รั ม ย เขต 4 จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 มี 6 ป จ จั ย โดย เรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่สุดไปยังปจจัยที่สงผล นอยที่สุด ไดแก สัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับ นักเรียน (X13) ความศรัทธาตอวิชาชีพครู (X8) สุขภาพจิต (X6) อายุ (X3) สั ม พั น ธภาพระหว า งข า ราชการครู กั บ เพื่อนรวมงาน (X12) และลักษณะมุงอนาคต (X7) และ ปจจัยทั้ง 6 ประการ รวมกันพยากรณการปรับตัวในการ ทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อําเภอสตึก สังกัด เขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย ไดรอย ละ 58.10 อภิปรายผลไดดังนี้ 3.1 สัมพันธภาพระหวางขาราชการครู กับนักเรียน (X13) สงผลตอการปรับตัวในการทํางานของ ขาราชการครูสายผูสอน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ระดับ .01 เปนอันดับแรก แสดงวา ขาราชการครูที่มีสัมพันธภาพดี กับนักเรียน ทําใหมีการปรับตัวในการทํางานดี ทั้งนี้เพราะในการ ทํางานของขาราชการครู งานดานการสอนมีความสําคัญที่สุด และมีจุดประสงคเพื่อถายทอดความรูใหกับนักเรียนอยางเต็มที่ ดังนั้น หากสัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับนักเรียนมี ความสัมพันธที่ดีตอกัน ไดแก นักเรียนใหความเคารพ เชื่อฟง มี ความตั้งใจเรียนตลอดเวลาที่ครูสอน นักเรียนกลาซักถามและ ปรึกษาครูทั้งในดานการเรียนและดานสวนตัว ครูใหความรัก ความสนใจ ความเอาใจใส เปนกันเองกับนักเรียน เมื่อขาราชการ ครูและนักเรียนมีสัมพันธภาพที่ดีตอกัน สงผลใหขาราชการครูมี การปรับตัวในการทํางานที่ดีไปดวย 3.2 ความศรัทธาตอวิชาชีพครู (X8) สงผลตอการ ปรับตัวในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่สอง แสดงวา ขาราชการครูที่มี ความศรัทธาตอวิชาชีพครูมาก ทําใหมีการปรับตัวในการทํางานดี ทั้งนี้เพราะขาราชการครูที่มีความศรัทธาตอวิชาชีพครูมาก จะเปน คนที่มีความกระตือรือรนในการทํางาน มีความเสียสละ อดทน มี ความรับผิดชอบ ถายทอดความรูใหกับนักเรียนอยางเต็มที่ ขัด เกลานักเรียนใหเปนคนดี มีระเบียบวินัยในตนเอง มีความรักและ เปนแบบอยางที่ดีแกนักเรียน ดังที่ ธีรศักดิ์ อัครบวร (2544: 82) กลาววา คุณภาพของความเปนครูนั้น ขึ้นอยูกับปจจัย องคประกอบ ที่สําคัญหลายประการดวยกัน ปจจัยสําคัญเบื้องตนประการหนึ่ง ก็คือ ความศรัทธาในอาชีพครู ความศรัทธานี้เปนรากฐานที่จะ ชวยใหการประกอบอาชีพครูเปนไปไดดวยดี มีความสุขและกอ ประโยชนใหกับผูเกี่ยวของทั้งหลาย คือ ทําใหประสบความสําเร็จ ในการประกอบอาชีพและการดําเนินชีวิตนั่นเอง 3.3 สุขภาพจิต (X6) สงผลทางลบตอการปรับตัว ในการทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่สาม แสดงวา ขาราชการครูที่มี สุขภาพจิตดี ทําใหมีการปรับตัวในการทํางานดี ทั้งนี้เพราะ ขาราชการครูที่มีสุขภาพจิตดี ยอมมีความสุขกับงานของตนเอง มี ประสิทธิภาพในการทํางานอยางเต็มความสามารถ สามารถสอน นักเรียนไดดี ดวยความเอาใจใส รักและเขาใจเด็กนักเรียน การ เรียนการสอนก็จะไดผลดังความมุงหมายที่ตั้งไว นอกจากนี้ยังทํา ใหการทํางานรวมกับผูอื่นเปนไปดวยความราบรื่น คบหาสมาคม และทํา งานร ว มกั บ ผู อื่ น ได รู สึ ก ว า ตนเป น ส ว นหนึ่ ง ของคณะ

97

มี ความรับผิดชอบตอบุคคลทั่วไป ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ของรัสเซลและคนอื่น ๆ (Russell.; et al. 1987 : 269 – 274) ไดศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสภาวะตึงเครียดในการทํางาน การสนับสนุนจากสังคมและอาการผิดปกติทางจิตและ กายของครูประถมและครูมัธยม ในรัฐไอโอวา สหรัฐอเมริกา จํานวน 316 คน พบวา การสนับสนุนจากผูบังคับบัญชา และเพื่อนรวมงาน ทํานายสภาวะตึงเครียดได 5.0 – 6.3 % 3.4 อายุ (X3) สงผลตอการปรับตัวในการ ทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่สี่ แสดงวา ขาราชการ ครูที่มีอายุมาก ทําใหมีการปรับตัวในการทํางานดี ทั้งนี้ เพราะขาราชการครูที่มีอายุมาก จะเปนบุคคลที่มีวุฒิ ภาวะทางอารมณ มีความสุขุมเยือกเย็น รูจักและเขาใจ ชีวิตมากกวา มีมุมมองชีวิตที่กวางไกลและลึกซึ้ง สามารถ ปรับตัวใหสอดคลองกับสถานการณไดดีกวาขาราชการ ครูที่มีอายุนอย สงผลใหขาราชการครูที่มีอายุมาก มีการ ปรับตัวในการทํางานไดดี 3.5 สัมพันธภาพระหวางขาราชการครูกับ เพื่อนรวมงาน (X12) สงผลตอการปรับตัวในการทํางาน ของขาราชการครูสายผูสอน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เปนอันดับที่หา แสดงวาขาราชการครูที่มี สัมพันธภาพดีกับเพื่อนรวมงาน ทําใหมีการปรับตัวใน การทํางานดีทั้งนี้เพราะขาราชการครูที่มีสัมพันธภาพดี กับเพื่อนรวมงาน จะสามารถทํางานดวยความสุขและ ความราบรื่น รูสึกมีไมตรีจิตกับเพื่อนรวมงาน ยอมรับฟง ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เห็นอกเห็นใจ เกื้อกูลกัน ให ความรวมมือในการทํางานรวมกันเปนอยางดี ดังที่ เสถียร เหลืองอราม (2527 : 206) ไดกลาววา เพื่อน รวมงานควรจะสรางบรรยากาศในการทํางานใหเปรียบเสมือน ฉันทพี่นอง มีความรักใครกลมเกลียวกัน คอยชวย กระตุนการปฏิบัติงานของกลุม และแนะนําชวยเหลือ การงานซึ่งกันและกัน ปฏิบัติงานตรงตอเวลา ไตถาม ทุกขสุขซึ่งกันและกัน พูดจากันดวยความสนุกสนาน และเขากับเพื่อนรวมงานไดเสมอ จะทําใหการทํางานใน องคการประสบความสําเร็จดวยดี


98

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

3.6 ลักษณะมุงอนาคต (X7) สงผลตอการปรับตัวใน การทํางานของขาราชการครูสายผูสอน อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่หก ซึ่งเปนอันดับสุดทายแสดงวา ขาราชการครูที่มีลักษณะมุงอนาคตมาก ทําใหมีการปรับตัวใน การทํางานดี ทั้งนี้เพราะขาราชการครูที่มีลักษณะมุงอนาคตมาก จะมีการวางแผนในการทํางาน มีความอดทนในการทํางานให สําเร็จ แมวาจะมีอุปสรรคและความยากลําบาก รูจักการอดและ รอคอย หักหามใจตนเองได ปฏิบัติตนไดเหมาะสมกับกาลเทศะ รูจักปรับปรุงแกไขขอผิดพลาดในการทํางาน เพื่อไมใหเกิดขึ้นอีก และทํางานดวยความกระตือรือรน ลักษณะ มุงอนาคตดังกลาวนี้

เปนคุณสมบัติของผูที่ตองการประสบความสําเร็จ ดังที่ ดวงเดือน พันธุมนาวิน และเพ็ญแข ประจนปจจนึก (2520 : 37) กลาวถึงความสําคัญของลักษณะมุง อนาคตวา เปนลักษณะหนึ่งของความเปนพลเมืองดี และเปนลักษณะหนึ่งซึ่งจะทําใหบุคคลมีความเพียร พยายามตอสูอุปสรรค เพื่อความเจริญของตนเองและ ประเทศชาติ ดังนั้นเมื่อขาราชการครูมีลักษณะมุง อนาคตแลว จึงสงผลตอการปรับตัวในการารทํางานที่ดี


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

บรรณานุกรม กมลรัตน หลาสุวงษ. (2524). สุขภาพจิตในโรงเรียน.กรุงเทพฯ: ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กระทรวงศึกษาธิการ(1). (2540). การประเมินผลการดําเนินงานตามโครงการคุรุทายาท (พ.ศ. 2535 – 2539). กรุงเทพฯ: กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงฯ. กุลวรรณ วิทยาวงศรุจิ. (2526). ความสัมพันธระหวางสัมพันธภาพในครอบครัวกับการปรับตัว. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการแนะแนว). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ถายเอกสาร. จินตนา บิลมาศ; และคนอื่น ๆ. (2529). รายงานการวิจัยเรื่องคุณลักษณะของขาราชการพลเรือน. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน. ถายเอกสาร. ดวงเดือน พันธุมนาวิน และเพ็ญแข ประจนปจจนึก. (2520). จริยธรรมของเยาวชนไทย.รายงานวิจัย ฉบับที่ 21. กรุงเทพฯ: กรมการศาสนา. ธีรศักดิ์ อัครบวร. (2544). ความเปนครูไทย. กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. นพพงษ บุญจิตราดุลย. (2527). นักบริหาร: ผูสรางบรรยากาศการเรียนรู. กาวเขาสูผูบริหาร. กรุงเทพฯ: อนงคศิลปการพิมพ. นิเวศ จันทขันฑ. (2525). เพื่อนรวมงาน .วิทยานิพนธ ศศ.ม. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ถายเอกสาร. บุญเลี้ยง ทุมทอง. (2544). ปจจัยที่สัมพันธตอการปรับตัวในการดําเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา ของขาราชการครูโรงเรียนมัธยม สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสุรินทร . วิทยานิพนธ กศ.ม. (การวิจัยการศึกษา). มหาสารคาม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ถายเอกสาร. ยนต ชุมจิต. (2534). ความเปนครู. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. ลักขณา สริวัฒน. (2545). สุขวิทยาจิตและการปรับตัว. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. ลัดดา เสนาวงษ. (2532). ความเปนครู. กรุงเทพฯ: พิศิษฐการพิมพ. วิจิตร วรุตบางกูร. (2521). การวางแผนและพัฒนาสถานศึกษา. สมุทรปราการ : ขนิษฐาการพิมพ และโฆษณา. วิไล ตั้งจิตสมคิด. (2544). การศึกษาและความเปนครูไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. ศักดิ์ชัย นิรัญทวี. (2532). ความแปลกแยกกับพฤติกรรมการทํางานของครูสังกัดกรุงเทพมหานคร ปริญญานิพนธ กศ.ด. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. เสถียร เหลืองอราม.(2527). มนุษยสัมพันธคือหัวใจของนักบริหาร. กรุงเทพฯ: แสงจันทรการพิมพ. สํานักงานปฏิรูปการศึกษา. (2544). สังคมไดอะไรจากการปฏิรปู การศึกษา. กรุงเทพฯ:สํานักงานฯ. อังคณา สายยศ. (2540). การศึกษาเจตคติที่มตี ออาชีพครู. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

99


100

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

Fiedler , Fred E.; Martin M. Chemers.; & Linda Marhar. (1976). Improving Leadership Effectiveness : The Leader Match Concept. New York : John Wiley & Sons , Inc. Jerry M. Burger. (1986). Personality Theory and Research. California : Division of Wodsworth Inc., Maslach, Christina Burnout. (1986). The cost of Caring. 2nd ed : Englewood Cliffs, N.J.: Prentice – Hall Inc. Pandy, Sushma. ; & Agarwal,Adesh. (1990). Indian Journal of Current Psychological Research. 5 (1) : 24 - 32. Russel, Daniel W.; Elizabeth Altmaier.; & Dawn Van Velzen. (1987, April). Job – Relation Stress,Social Support and Burnout Among Classroom Teacher. Journal of Applied Psychology. 72(2) : 269 – 274. Yamane,Taro.1967. Statistic;An Introductory analysis. New York : Harper & Row.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

101

รูปแบบการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับ ขาราชการพลเรือนไทย A Model for Postretirement Education for Thai Civil Officers Ö วาที่ รอยโท นภเกตุ สุขสมเพียร 1 รองศาสตราจารย ดร. ธาดา วิมลวัตรเวที 2 รองศาสตราจารย ดร. เพ็ญแข ประจนปจจนึก 3 ดร. ละเอียด รักษเผา 3 บทคัดยอ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มุ ง ศึ ก ษาความต อ งการการศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ ข องข า ราชการพลเรื อ นไทย และสร า งรู ป แบบ การจัด การศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับขาราชการพลเรือนไทย ตลอดถึงเพื่อประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการศึกษา หลังเกษียณอายุดังกลาว ขั้นตอนการวิจัย ประกอบดวย 6 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาทฤษฎีแนวคิด ผลงานการวิจัยทั้งใน ประเทศและตางประเทศเกี่ยวกับการเกษียณอายุการทํางาน ความ ตองการการศึกษาหลังเกษียณอายุ ตลอดจนรูปแบบแนวทางการ จัด การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ ทั้ ง ในแง ข องแนวคิ ด ทฤษฎี และ รูปแบบการดําเนินงานจัดการศึกษาในทางปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 นําขอมูลจากการศึกษาคนความาวิเคราะห และสั ง เคราะห เพื่ อ สร า งร า งรู ป แบบการจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ สํ า หรั บ ข า ราชการพลเรื อ นไทย และจั ด ทํ า เป น แบบสอบถามเพื่อตรวจสอบความเปนไปไดของรางรูปแบบที่สรางขึ้น

นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชาการศึกษาผูใหญ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยประจําคณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3 ขาราชการบํานาญ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

1

2


102

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ขั้นตอนที่ 3 นําแบบสอบถามที่ไดปรับปรุงแลวไป เสนอตอผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน เพื่อพิจารณาตรวจสอบ ความเที่ยงตรง ถูกตอง ชัดเจน ของเนื้อหาและนําไปทดลองใช กับขาราชการเกษียณอายุกลุมอื่น ๆ ที่ไมไดเปนกลุมตัวอยาง ขั้นตอนที่ 4 ประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบ โดย สอบถามความคิดเห็นกลุมตัวอยาง คือ ขาราชการพลเรือน สามัญ สังกัด 3 กระทรวงหลัก คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงสาธารณสุข ที่เกษียณอายุ ราชการในปงบประมาณ 2547 จํานวนทั้งสิ้น 192 คน ที่มีตอ ความเปนไปไดของรางรูปแบบที่สรางขึ้น ขั้นตอนที่ 5 ดําเนินการตรวจสอบรางรูปแบบที่ 2 โดยดําเนินการจัดการสนทนาแบบกลุม (Focus Group) กับ ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 15 คน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสม และความเปนไปไดของรางรูปแบบที่นําเสนอ คือ รางรูปแบบ การจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับขาราชการพลเรือนไทย ขั้ น ตอนที่ 6 การวิ เ คราะห ข อ มู ล ที่ ไ ด จ าก ขอเสนอแนะและความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิจากการสนทนา กลุมนํามาปรับปรุงรูปแบบการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุ สําหรับขาราชการพลเรือนไทย ฉบับสมบูรณสําหรับผลการวิจัย ดังกลาว สามารถสรุปสาระสําคัญไดดังนี้ 1. ข า ราชการพลเรื อ นไทยมี ค วามต อ งการ การศึกษาหลังเกษียณอายุโดยรวมอยูในระดับมาก 2. รู ป แบบการจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ สําหรับขาราชการพลเรือนไทย มีองคประกอบสําคัญดวยกัน 5 สวน คือ องคประกอบที่ 1 หลักการ/แนวคิด องคประกอบที่ 2 เปาหมายการจัดการศึกษา องคประกอบที่ 3 เนื้อหา สาระสําคัญ องคประกอบที่ 4 แนวทางและวิธีการจัด การศึกษา และองคประกอบที่ 5 การติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา 3. องคประกอบที่ 1 หลักการ/แนวคิดของ รูปแบบการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับขาราชการ พลเรือนไทย โดยหลักก็คือ การศึกษามีความจําเปน เปนสิทธิ พื้นฐานของมนุษย และชวยเพิ่มพูนศักยภาพและพัฒนาการ ตามวัย 4. องคประกอบที่ 2 เปาหมายในการจัด การศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับขาราชการพลเรือนไทย โดย

หลักก็คือ เพื่อชวยใหมีการพัฒนาตนอยางตอเนื่อง เปน การพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย และเพื่ อ ให ส ามารถพึ่ ง พา ตนเองได ขณะเดีย วกัน จะช ว ยให ผู สูง อายุ สามารถเป น ทรัพยากรมนุษยที่มีคุณคา สามารถชวยเหลือสังคมและใช เวลาหลังเกษียณไดอยางมีความสุข 5. องคประกอบที่ 3 เนื้อหาสาระสําคัญใน การจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ สํ า หรั บ ข า ราชการ พลเรื อ นไทย ควรเป น องค ป ระกอบเพื่ อ ส ง เสริ ม ด า น รางกาย จิตใจ ชวยในการปรับตัว เชิงเศรษฐกิจและสังคม และตามทันการเปลี่ยนแปลงได 6. องคประกอบที่ 4 แนวทางและวิธีการจัด การศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับขาราชการพลเรือนไทย ควรเปนการศึกษาในรูปแบบของการศึกษานอกระบบและ ตามอั ธ ยาศั ย โดยมี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนใน หลากหลายรูปแบบ โดยรวมกันระหวางองคกร หนวยงาน ตาง ๆ 7. องคประกอบที่ 5 การติดตามและ ประเมิ น ผลการจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ สํ า หรั บ ขาราชการพลเรือ นไทย ควรมี ก ารติดตามผลอยา งเป น รูปธรรม เขาใจงาย มีความครอบคลุมเนื้อหาที่สําคัญ มี การประเมินกอน-หลังเรียน และควรมีความตอเนื่องในการ ติดตามผลดวย ABSTRACT The main purposes of this study was to find out the needs for postretirement education of Thai civil officers, to develop a model for postretirement education for Thai civil officers and to evaluate the efficiency of a model. The processes of model development covered 6 steps as follows: First step. Literature research for related theories, concepts and research results in Thailand and foreign countries were made concerning retirement, the needs for postretirement education and the model for postretirement education.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 Second Step. Data from the first step were analized to develop a first draft of a model for postretirement education for Thai civil officers. Using than a questionnaire was made the model of the fist draft. Third Step. The questionnaire was then evaluated by a group of experts in terms of the content validity. Then the try-out was made. Fourth Step. At this step, the first draft of the model was evaluated by the samples of this study (192 persons) in terms of the suitability and feasibility in using. The second draft of the model was made. Fifth Step. At this step, the second draft of the model was evaluated by a group of experts (15 persons) in terms of the suitability and feasibility in using. Sixth step. Data analysis from the evaluation of a group of experts was made. The final draft of the model for postretirement education for thai civil officers was developed. Research results were as follows: 1. The Thai civil officers had high level of needs for postretirement education. 2. A model for postretirement education for Thai civil officers was comprised of 5 parts as follows. 3. The first part was philosophies and concepts of the model: Education is need for changes postretirement for supporting full opewth development for life. 4. The second part was objectiver of the model: The objective is to help self development of the eldely as well as to help the eldely live more happly ofter reterement. 5. The third part was the contents of the model: Should be help cope with life in terms of psychological economical and environmental changes.

103

6. The fourth part was the process of the model: Should be concentrate on nonformal and informal education. 7. The fifth part was the evaluated of the model: Evaluation should be made before and after the program. Follow-up study should also be made. หลักการและเหตุผล ในโลกยุคปจจุบันความเจริญกาวหนาทางดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสาธารณสุข ตลอดจน วิทยาการทางการแพทยสมัยใหมลวนสงผลใหประชาชน โดยทั่วไปมีความรูความเขาใจในการดูแลรักษาสุขภาพ และปองกันตนเองจากโรคภัยไขเจ็บตาง ๆ ไดมากขึ้น อีก ทั้งการรักษาพยาบาล และการใหบริการดานสุขภาพจาก หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนก็เปนไปในลักษณะทั่วถึง กวางขวาง มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากกวาใน อดีต ดวยเหตุและปจจัยหลากหลายประการนี้ สงผล ให อ ายุ ขั ย โดยเฉลี่ ย ของประชากรโลกยื น ยาวมากขึ้ น กวาเดิม ซึ่งนั่นก็ยอมหมายถึงวา จํานวนประชากรในวัย สูงอายุ (60 ปขึ้นไป) ไดทวีจํานวนเพิ่มมากขึ้น ในอนาคต อัน ใกลนี้ สามารถประมาณการไดวา อัตราสว นที่ พึ่ง พิ ง (Dependency Ratio) ระหวางบุคคลที่อยูในวัยแรงงาน กับกลุมที่พึ่งพิง (เด็กและผูสูงอายุ) จะเปลี่ยนแปลงไป อยางมาก โดยจะมีจํานวนบุคคลที่อยูในวัยแรงงานลดลง และ มีกลุมผูสูงอายุมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง กลุม ผูสูงอายุในวัยกลางอายุ 75-84 ป และวัยปลายอายุ 85 ป ขึ้นไป และอายุเฉลี่ย (Median Age) ของประชากรก็จะ สูงขึ้นเรื่อย ๆ สวนอัตราการตายก็จะลดลงเรื่อย ๆ ในป ค.ศ. 2045 เชื่อวา คนจะมีอายุยืนยาวไดจนถึง 85 ป (เพ็ญแข ประจนปจจนึก. 2544: 49) จากขอมูลทาง ประชากร และการฉายภาพของโครงสรา งประชากรใน อนาคต สามารถทํานาย ไดวา โลกในอนาคตจะเปน โลกของคนชรา หรือโลกที่ประชากรสวนใหญเปนผูสูงอายุ ซึ่งมีผลมาจากสาเหตุสําคัญ 2 ประการ คือ ประการ แรก การเพิ่มจํานวนของผูสูงอายุจากการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต การพัฒนาสภาพแวดลอม และการพัฒนารูปแบบ การรั ก ษาพยาบาล ที่ จั ด ให แ ก ป ระชากรสู ง อายุ อ ย า งมี


104

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ประสิ ท ธิ ภ าพ นอกเหนื อ จากการควบคุ ม อั ต ราการเกิ ด ประการที่สอง ความรูความเขาใจของผูสูงอายุเองเกี่ยวกับการ ดําเนินชีวิตที่ถูกตอง เปนผลใหอายุของคนยืนยาว ซึ่งอาจอยู ไดถึง 15 ป เปนอยางต่ํา ภายหลังอายุ 60 หรือ 65 ปไปแลว (เพ็ญแข ประจนปจจนึก. 2544: 52) ปจจุบันในยุโรป มี จํานวนผูสูงอายุ (60 ปขึ้นไป) มากกวารอยละ 20 ของ จํานวนประชากรทั้งหมด และในอีก 50 ปขางหนา หรือในป พ.ศ. 2593 จะเพิ่มเปนรอยละ 35 และประเทศที่มีประชากร สูงอายุจํานวนมาก อยูแลว เชน จีน และญี่ปุน เปนตน จะมี ประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้นเปน 2 ถึง 3 เทาของปจจุบัน (เพ็ญแข ประจนปจจนึก. 2544: 50) จากขอมูลดังกลาว ข า งต น สอดคล อ งกั บ ความคิ ด เห็ น ของ นั ก วิ ช าการที่ มี ชื่อเสียงของไทย ดังเชน ศาสตราจารย นายแพทย ประสพ รัตนากร (2545) ไดกลาวไววา ในอนาคต มีแนวโนมวา ผูสูงอายุทั่วโลกจะมีมากขึ้นเฉลี่ยถึงรอยละ 15 ของประชากร ทั้งหมด และในอีก 50 ปขางหนา ก็จะเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 22 สําหรับประเทศไทยนั้น ในปจจุบันมีประชากรสูงอายุอยูรอย ละ 10 หรือประมาณ 9 ลานคน จะเห็นไดวา ไมวาจะเปน ขอมูลมาจากแหลงใดก็ตาม ในปจจุบัน จะพบแนวโนมตรงกัน วา จํานวนผูสูงอายุ หรือบุคคลที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป ทั้งของ ประเทศตาง ๆ และของโลก จะเพิ่มจํานวนสูงขึ้นเรื่อย ๆ และ โลกในอนาคตจะเปนโลกของผูสูงอายุ (เพ็ญแข ประจนปจจ นึก. 2544: 53) สําหรับในประเทศไทย จากการสํารวจของสถาบัน ประชากรศาสตร จุ ฬาลงกรณม หาวิ ท ยาลัย คาดไดว า ประชากรสูงอายุ หรือผูที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป ที่มีประมาณ 5.7 ลานคน หรือรอยละ 9.19 ของประชากรทั้งหมดในป 2543 จะเพิ่มเปน 7.6 ลานคน หรือรอยละ 11.4 ในป 2553 แนว ทางการรับมือกับปญหาดังกลาว คือ การศึกษาบทเรียนจาก ประเทศอื่ น ๆ เพื่อ จะไดนํามาปรับใชในการแกไขปญหาใน บานเรา ไมเชน นั้นปญหาจะรุนแรงมากขึ้ นในอนาคต หาก รัฐ บาลไม มี น โยบายเพื่อ รองรับ คนกลุ มวัยทํ า งานที่กํา ลัง จะ กลายเปนผูสูงอายุในชวง 20 ป ตอจากนี้ (มัทนา พนานิรามัย. 2547) ซึ่งขอมูลดังกลาวสอดคลองกับ เพ็ญแข ประจนปจจ นึก (2545: 2) ไดกลาวถึงประเทศไทยวา มีประชากรในวัย สูงอายุที่อายุ 60 ปขึ้นไป เพิ่มมากขึ้นเปนลําดับ จัดไดวา เปน

ประเทศที่ มี ก ารเพิ่ ม ของผู สู ง อายุ ม ากที่ สุ ด ในโลกด ว ย ประเทศหนึ่ง ดัง นั้ น ผู สู ง อายุ จึ ง เป น กลุ ม บุค คลที่ สั ง คม จะตอง หันมาใหความสนใจ และเอาใจใสมากขึ้นกวาที่ เปนอยู มิใชเฉพาะแตเพียงเหตุผลจากขอมูลดานจํานวน ตั ว เลขประชากรสู ง อายุ ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น เท า นั้ น แต ก ลุ ม บุ ค คลในวั ย สู ง อายุ ยั ง นั บ ได ว า เป น กลุ ม บุ ค คลในวั ย ที่ จะตอ งเกษียณการทํ า งาน และพน จากสถานภาพ หรือ บทบาทที่เคยดํารงอยู โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมผูสูงอายุ ซึ่ ง เป น ข า ราชการที่ จ ะต อ งเกษี ย ณอายุ ต ามกฎหมาย การเกษี ย ณอายุ จึ ง ถื อ ได ว า เป น การเปลี่ ย นแปลงครั้ ง สําคัญในชีวิตของขาราชการ ผูมีอาชีพทํางานประจํามา ตลอดช ว งชี วิ ต จากการเปลี่ ย นแปลงสถานภาพและ บทบาทครั้งสําคัญ เนื่องมาจากการเกษียณอายุราชการนี้ เอง อัมพล สูอัมพัน (2531: 75) ไดกลาววา การออก จากงานเนื่องจากการเกษียณอายุ อาจกอใหเกิดความ ยุงยากอยางมาก เพราะสวนใหญบุคคลที่ปลดเกษียณงาน มักมีตําแหนงหนาที่มั่นคงถาวร อยูในระดับคอนขางสูง เมื่อตองหยุดจากงาน จะรูสึกวาศักดิ์ศรีลดลง รูสึกอาย เสียหนา ไรสมรรถภาพ วาเหว ซึมเศรา เพราะงานเปน ภารกิจหนึ่งในชีวิตประจําวัน และเปนองคประกอบของ บุคลิกภาพของบุคคลนั้น เมื่อออกจากงานจึงเทากับได สูญเสียบุคลิกภาพของตนเองไป นอกจากนี้ผูเกษียณอายุ ยังตองปรับตัวหรือเตรียมรับกับสภาพอื่น ๆ อีก เชน การ จากไปตั้งครอบครัวใหมของลูก การเปลี่ยนแปลงในฐานะ การเงิน รายไดลดลงเมื่อเกษียณ การปรับตัวกับการจาก ไปของคู ส มรส และเตรี ย มรั บ กั บ ความตายของตนเอง นอกจากที่ ก ล า วแล ว งานวิ จั ย ที่ ไ ด ทํ า ในต า งประเทศ เกี่ยวกับการเกษียณอายุ ยังพบวา การปรับตัวของบุคคล ตอ การเกษียณอายุ จะไมเหมือนกัน และปจจัยที่มีสว น สั ม พั น ธ กั บ การปรั บ ตั ว ต อ การเกษี ย ณอายุ ได แ ก ความรู สึก เชิ ง บวกตอ การเกษีย ณอายุ ซึ่ ง ก็คื อ ความ มุ ง หวั ง ที่ มี ต อ การเกษี ย ณอายุ เช น รายได เพื่ อ น กิจกรรมที่จะทํา และการเตรียมพรอมตอสิ่งเหลานี้ (ศศิดา นรินธนชาติ. 2540 : 2; อางอิงจาก Glammer. 1976) บุคคลที่มีการเตรียมพรอมที่ดี มักจะมีความรูสึกเชิงบวก ตอการเกษียณอายุ จากการศึกษาคนควาเอกสาร ขอมูล


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 และงานวิจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ อาจกลาวไดวา การจัดการ ศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ สํ า หรั บ ข า ราชการพลเรื อ นไทยนั้ น นั บ ว า เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ที่ จ ะช ว ยให บุ ค ลากรที่ เ กษี ย ณอายุ สามารถปรับตัวในการดําเนินชีวิตหลังการเกษียณอายุไดอยาง มี ค วามสุ ข มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี รวมทั้ ง เป น การลดภาระของ ครอบครั ว ดั ง นั้ น ผู วิ จั ย จึ ง เห็ น ว า มี ค วามจํ า เป น ที่ จ ะต อ งมี รูปแบบของการปรับตัวใหแกบุคคลในวัยหลังเกษียณ ที่สําคัญ ก็คือ การจัดกิจกรรมและการเรียนรูใหม ๆ ใหแกผูเกษียณอายุ เพื่อเปนการสงเสริมและสนับสนุนในการดํารงชีวิตที่ดีหลังการ เกษี ย ณอายุ ข องบุ ค คล ซึ่ ง ก็ คื อ การจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษียณอายุใหนั่นเอง สําหรับการจัดการศึกษาใหแกบุคคล หลังวัย 60 ป นั้น ถือเปนสิ่งที่ จําเปนอยางยิ่ง เพราะจะชวย ใหผูสูงอายุปรับตัวไดเปนอยางดี และสามารถเพิ่มพูนทักษะ ตาง ๆ ที่จะเปนประโยชนตอการดํารงชีวิตของตนเอง และเพื่อ การบํ า เพ็ ญ ประโยชน ใ ห แ ก สั ง คมด ว ย ดั ง ที่ แมคคลั ส กี้ (McClusky) นักปราชญและนักวิชาการทางดานการศึกษา สําหรับผูสูงอายุ ไดใหความเห็นไววา ในชวงปลายของชีวิต มนุษยนั้น มีสิ่งที่ดีกวาความเสื่อมถอยและความสิ้นหวัง นั่น ก็คือ การศึกษาจะเปนเครื่องชวยใหผูสูงอายุ สามารถที่จะ ปรับตัวได และดํารงชีวิตที่ดีในสังคม ขณะเดียวกัน แมคคลัส กี้ (McClusky) ไดเสนอทฤษฎีวาดวยความตองการการศึกษา ของผูสูงอายุ ซึ่งประกอบไปดวย ความตองการการศึกษาของ ผูสูงอายุที่สําคัญ 5 ดานหลัก ดังนี้ 1. ความตองการความรูพื้นฐานในการปรับตัว 2. ความตองการการแสดงออก 3. ความตองการที่จะให และถายทอดแกผูอื่น 4. ความตองการควบคุมสถานการณ 5. ความตองการมีชีวิตที่ดีขึ้น และไมมี จุดมุงหมายแตเพียงอยางเดียว อย า งไรก็ ต าม สํ า หรั บ การจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษียณอายุราชการนั้น นับไดวาเปนเรื่องที่จะตองมีการจัด วางแผนที่ ดี แ ละมี ก ารเตรี ย มการพอสมควร ทั้ ง ยั ง จะต อ งมี ข อ มู ล ป จ จั ย พื้ น ฐานหรื อ ลั ก ษณะทางชี ว สั ง คมที่ สํ า คั ญ ของ ขาราชการเกษียณอายุที่หลากหลายและรอบดาน อันจะนําไป ป ร ะ ก อ บ ใ น ก า ร ค น ค ว า เ กี ่ ย ว กั บ ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ ง บุ ค คลผู เกษียณอายุ โดยเฉพาะอยางยิ่งความตองการดาน

105

การศึกษาหลังเกษียณอายุ เพื่อเปนการสนองตอบความ ตองการของขาราชการหลังเกษียณอายุใหไดมากที่สุดโดย คํานึงถึงปจจัยพื้นฐานหลักหรือลักษณะทางชีวสังคมของ กลุมขาราชการเกษียณอายุเปน สําคัญ ในปจจุบัน นี้ ประเทศไทยยังไมมีการคิดคํานึงถึงเรื่องนี้มากอน และยัง ไมมีการเตรี ยมการรองรับตอปรากฎการณใหมที่เกิดขึ้น นั่นก็คือ การมีอายุที่ยืนยาวหลังการเกษียณอายุราชการ ของขาราชการไทย ซึ่งในระยะเวลาอันไมนานนักจากนี้ก็ จะมีการเพิ่มจํานวนมากขึ้นอยางรวดเร็ว จึงเปนการสมควร อย า งยิ่ ง ที่ จ ะหาแนวทางในการจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษียณอายุที่เหมาะสมสําหรับขาราชการผูเกษียณอายุของไทย จากเหตุผลและความสําคัญดังที่กลาวมานี้ ผู ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะคนควาเกี่ยวกับกลุมขาราชการ พลเรือนไทยผูเกษียณอายุ ซึ่งถือไดวา เปนกลุมบุคคลที่มี ความรูความสามารถ ตลอดจนประสบการณ และทักษะ ความชํ า นาญในหน า ที่ ก ารงาน ซึ่ ง มี ความหลากหลาย และเปนผูที่เพียบพรอมดวยคุณวุฒิ วัยวุฒิ จากการผาน งานในระบบราชการมาเปนระยะเวลายาวนาน จนกระทั่ง ถึ ง ห ว งเวลาแห ง การเกษี ย ณอายุ จ ากชี วิ ต ราชการ ซึ่ ง ก ลุ  ม บุ ค ค ล วั ย สู ง อ า ยุ ที ่ ผู  ว ิ จ ั ย ไ ด ค ั ด เ ลื อ ก นี ้ ก็ เ พื่ อ ที่ จ ะ ทําการศึกษาเกี่ยวกับความตองการการศึกษา หลังเกษียณอายุ ซึ่งจะนําไปสูการนําเสนอรูปแบบแนวทาง ในการจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ ที่ ชั ด เจน และ เหมาะสมสําหรับกลุมขาราชการพลเรือนไทย โดยจะได วิจัยคนควาถึงลักษณะทางชีวสังคมหรือปจจัยพื้นฐานหลัก ความตองการการศึกษาหลังเกษียณอายุ และจากความ ต อ ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ข า ร า ช ก า ร เ ก ษี ย ณ อ า ยุ ดั ง กล า ว จะไดนํามาสูขอเสนอเกี่ยวกับรูปแบบการจัด การศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับขาราชการพลเรือนไทย ใน รูปแบบใด และอยางไร ทั้งนี้ผูวิจัยไดดําเนินการตาม กระบวนการวิจัย และยกรางรูปแบบการจัดการศึกษาหลัง เกษียณอายุของขาราชการพลเรือนไทยแลวเสร็จ จากนั้น ไดดําเนินการวิจัยในขั้นตอนตอไปคือ การตรวจสอบความ เหมาะสมและความเป น ไปได ข องรู ป แบบที่ ผู วิ จั ย สร า งและพัฒ นาขึ้น โดยผูเชี่ ย วชาญและผู ท รงคุณ วุ ฒิ ด า นผู สู ง อายุ โดยที่ ผู วิ จั ย ได จั ด ให มี ก ารประชุ ม


106

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

เชิ ง ปฏิบัติการของผูทรงคุณวุฒิดังกลาว เพื่อใหผูทรงคุณวุฒิได รว มกัน พิจ ารณา อภิป รายใหขอ คิดเห็น และขอ เสนอแนะตอ รู ป แบบการจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ ข องข า ราชการ พลเรือนไทย ซึ่ง ทํ าใหงานวิจัยมีคุณ ภาพและความสมบูรณ สูงสุด

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เ พื่ อ ศึ ก ษ า ค ว า ม ต อ ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ห ลั ง เกษียณอายุของขาราชการพลเรือนไทย 2. เ พื่ อ ส ร า ง รู ป แ บ บ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ห ลั ง เกษียณอายุสําหรับขาราชการพลเรือนไทย 3. เพื่ อ ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของรู ป แบบการจั ด การศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับขาราชการพลเรือนไทย

รูปแบบการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับขาราชการพลเรือนไทย (ฉบับสมบูรณ) องคประกอบที่ 1

หลักการ/แนวคิด

สิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย

องคประกอบที่ 2

ศักยภาพและพัฒนาการตามวัย

เปาหมายการจัดการศึกษา

ตอตนเอง

องคประกอบที่ 3 ดานสุขภาพกายและจิตใจ

องคประกอบที่ 4

ตอสังคม

เนื้อหาสาระสําคัญ ดานเศรษฐกิจ

ดานสังคม

แนวทางและวิธีการจัด

การจัดการศึกษาแบบนอก

การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

องคประกอบที่ 5 การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา เปนรูปธรรมชัดเจน

มีความครอบคลุม

มีความตอเนื่อง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 สรุปผลการวิจัยในประเด็นสําคัญ จากผลการศึกษาวิเคราะหขอมูลทั้งหมด สามารถ สรุปผลการวิจัยที่สําคัญจําแนกออกเปน 4 ตอน ดังตอไปนี้ ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลสวนตัวของผูตอบ แบบสอบถาม ปรากฏผลที่นาสนใจดังตอไปนี้ 1. จําแนกตามเพศ พบวา ขาราชการพลเรือน ไทยหลังเกษียณอายุเปนชาย 105 คน คิดเปนรอยละ 54.70 เปนหญิง 87 คน คิดเปนรอยละ 45.30 2. จํา แนกตามระดับ ตํา แหนง กอ นเกษี ย ณอายุ พบว า ข า ราชการพลเรื อ นไทยหลั ง เกษี ย ณอายุ ที่ มี ร ะดั บ ตําแหนงต่ํากวาระดับ 5 มี 61 คน คิดเปนรอยละ 31.80 มี ระดับ 5 – 8 มี 88 คน คิดเปนรอยละ 45.80 มีระดับสูงกวา ระดับ 8 มี 43 คน คิดเปนรอยละ20.40 3. จํ า แนกตามระดั บ การศึ ก ษาสู ง สุ ด พบว า ขาราชการพลเรือนไทยหลังเกษียณอายุที่มีระดับการศึกษาต่ํา กวาปริญญาตรี มี 34 คน คิดเปนรอยละ 17.70 ระดับ ปริญญาตรีหรือเทียบเทา มี 87 คน คิดเปนรอยละ 45.30 สูง กวาระดับปริญญาตรี มี 71 คน คิดเปนรอยละ 37.00 4. จําแนกตามการเปนสมาชิกของกลุมหรือชมรม พบวา ขาราชการพลเรือนไทยหลังเกษียณที่ไมเปนสมาชิกของ กลุมหรือชมรม มี 56 คน คิดเปนรอยละ 29.20 ที่เปน 1-2 กลุม มี 96 คน คิดเปนรอยละ 50.00 ที่เปนมากกวา 2 กลุม มี 40 คน คิดเปนรอยละ 20.80 5. จําแนกตามการเตรียมตัวกอนเกษียณอายุ พบว า ข า ราชการพลเรื อ นไทยที่ มี ก ารเตรี ย มตั ว ก อ น เกษียณอายุราชการ มี 70 คน คิดเปนรอยละ 36.50 ที่ไมมีการ เตรียมตัวกอนการเกษียณอายุราชการ มี 122 คน คิดเปนรอย ละ 63.50 6. จําแนกตามการใชเวลาวางทํากิจกรรม อะไรบาง พบวา ขาราชการพลเรือนไทยหลังเกษียณที่ใชเวลา วางทํากิจกรรมเลี้ยงสัตว ปลูกตนไมมี 78 คน คิดเปนรอยละ 40.60 ดูหนัง ฟงเพลง มี 63 คน คิดเปนรอยละ 32.80 และ อานหนังสือ เขียนหนังสือ มี 51 คน คิดเปนรอยละ 26.60 7. จําแนกตามภาวะสุขภาพ พบวา ขาราชการ พลเรือนไทยหลังเกษียณที่มีสุขภาพแข็งแรง มี 143 คน คิดเปน

107

รอยละ 74.50 ที่สุขภาพไมแข็งแรง มี 49 คน คิดเปน รอยละ 25.50 ตอนที่ 2 การวิเคราะหความตองการทางการ ศึกษาหลังเกษียณอายุของขาราชการพลเรือนไทย ในการศึ ก ษาความต อ งการการศึ ก ษาหลั ง เกษียณอายุของขาราชการพลเรือนไทย ผูวิจัยไดคํานวณ คา สถิ ติ พื้น ฐานความต อ งการแยกเป น โดยรวมและราย ดาน ปรากฏผลที่นาสนใจดังตอไปนี้ ข า ราชการพลเรื อ นไทย มี ค วามต อ งการ การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ ใ นด า นความต อ งการด า น เนื้อหา โดยรวมอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเปนราย ขอ พบวา ขอที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ ขอที่วา ความรู เกี่ย วกับ กฎหมายที่ใ ชใ นชีวิ ต ประจํา วัน ที่ มีค วามจํา เป น สําหรับวัยหลังเกษียณอายุ ข า ราชการพลเรื อ นไทย มี ค วามต อ งการ การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ ใ นด า นความต อ งการด า น วิ ธี ก ารจั ด การศึ ก ษาโดยรวมอยู ใ นระดั บ มาก และเมื่ อ พิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ ขอที่วา การจัดใหมีการทัศนศึกษาหรือดูงานเพื่อเสริมสราง ใหมีป ระสบการณโ ดยตรงและกอ ใหเ กิด การเรีย นรูสิ่ง ใหม ๆ ข า ราชการพลเรื อ นไทยมี ค วามต อ งการ การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ ใ นด า นความต อ งการด า น สถานที่ จั ด การศึ ก ษาโดยรวมอยู ใ นระดั บ มาก และเมื่ อ พิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ ขอที่วา การจัดใหมีการเรียนรูดวยสื่อประเภทตาง ๆ เชน สื่อความรูจากวิทยุ โทรทัศน วารสาร หนังสือพิมพ หรือ คอมพิวเตอร อินเตอรเน็ต เปนตน และขอที่วา การจัดใหมี การทองเที่ยว ทัศนศึกษาในสถานที่ตาง ๆ ตามความสนใจ และเปนประโยชนสําหรับผูเกษียณอายุ ตอนที่ 3 การวิเคราะหความคิดเห็นเกี่ยวกับ แนวคิ ด เป า หมาย การติ ด ตามประเมิ น ผลการจั ด การศึกษาหลังเกษียณอายุของขาราชการพลเรือนไทย ในการศึ ก ษาความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ แนวคิ ด เป า หมาย การติ ด ตามประเมิ น ผลการศึ ก ษาหลั ง เกษียณอายุของขาราชการพลเรือนไทย ผูวิจัยไดคํานวณ


108

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

คาสถิติพื้นฐานความคิดเห็นแยกเปน โดยรวมและรายดาน ปรากฏผลที่นาสนใจดังตอไปนี้ ขาราชการพลเรือนไทย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการ จัดการศึกษาหลังเกษียณอายุโดยรวมอยูในระดับมาก และเมื่อ พิ จ ารณาเปนรายดา น พบว า ดา นที่มีค ะแนนเฉลี่ยสูง สุดคื อ ด า นการติ ด ตามและประเมิ น ผลการจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษียณอายุ ขาราชการพลเรือนไทย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการ จั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ ด า น แนวคิ ด ในการจั ด การศึกษาหลังเกษียณอายุ โดยรวมอยูในระดับมาก และเมื่อ พิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ ขอ ที่วา ผูที่อยูในวัยสูงอายุหรือวัยหลังเกษียณอายุ ถาไดรับการ เพิ่มพูนความรูยอมสามารถที่จะดํารงตนในสังคมและใชชีวิตได อยางมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ขาราชการพลเรือนไทย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการ จั ดการศึก ษาหลั งเกษีย ณอายุ ด า น เปา หมายในการจัด การศึกษาหลังเกษียณอายุ โดยรวมอยูในระดับมาก และเมื่อ พิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ ขอ ที่วา การศึกษาสําหรับวัยหลังเกษียณอายุเปนการกระตุนให กลุมบุคคลในวัยนี้มีความกระตือรือรนที่จะพัฒนาตนเองอยาง ตอเนื่องและไมหยุดนิ่ง ขาราชการพลเรือนไทย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการ จัดการศึกษาหลังเกษียณอายุ ดานการติดตามและประเมินผล การจั ด การศึก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ โดยรวมอยู ใ นระดับ มาก และเมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คื อ ข อ ที่ ว า การประเมิ น ผลการจั ด การศึ ก ษาควรมี ก าร ประเมินผลการเรียนรูใหบังเกิดผลเปนรูปธรรมชัดเจนและเขาใจ งาย ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะเรื่อง รูปแบบการจัด การศึกษาหลังเกษียณอายุของขาราชการพลเรือนไทย ในการศึ ก ษาข อ เสนอแนะเรื่ อ งรู ป แบบการจั ด การศึกษาหลังเกษียณอายุของขาราชการ พลเรือนไทย ผูวิจัย ไดขอเสนอแนะจากผูตอบแบบสอบถามในตอนนี้ ปรากฏผลที่ นาสนใจดังตอไปนี้

ข า ราชการพลเรื อ นไทย มี ข อ เสนอแนะเรื่ อ ง รูปแบบการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุเกี่ยวกับแนวคิด และเปาหมายอยูในระดับมากที่สุด จํานวน 121 คน คิด เปนรอยละ 63.02 วาเปาหมายเพื่อใหวัยหลังเกษียณมี ความสุข ดูแลตนเองไดโดยไมเปนภาระกับผูอื่น รองลงมา คือ จํานวน 105 คน คิดเปนรอยละ 54.68 ใหขอเสนอแนะ ว า หากมี ก ารศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณควรมี ห ลั ก สู ต รสั้ น ๆ ประมาณ 2-3 วัน ก็พอ เพราะแตละคนคงมีประสบการณ ในการทํางานมาแลว หากเนนใหทําอะไรก็ฝกเฉพาะกิจ จะทําใหลดการสิ้นเปลืองโดยไมจําเปน ข า ราชการพลเรื อ นไทย มี ข อ เสนอแนะเรื่ อ ง รูปแบบการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุเกี่ยวกับเนื้อหา สาระสําคัญอยูในระดับมากที่สุด จํานวน 112 คน คิดเปน รอยละ 58.33 วาควรเปนการ ดูแลสุขภาพเกี่ยวกับ อาหาร และการออกกําลังกาย รองลงมาคือ จํานวน 104 คน คิดเปนรอยละ 54.16 เสนอแนะเรื่อง การปรับตัว เกี่ยวกับ การวางงาน การประกอบอาชีพหลังวัยเกษียณ และงานอดิเรก ข า ราชการพลเรื อ นไทย มี ข อ เสนอแนะเรื่ อ ง รูปแบบการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุเกี่ยวกับแนวทาง และวิธีการอยูในระดับมากที่สุด จํานวน 152 คน คิดเปน รอยละ 79.16 วารูปแบบควรเปนการจัดประชุม สัมมนา หรือการสงขอมูลขาวสารใหถึงกัน รองลงมาคือ จํานวน 123 คน คิดเปนรอยละ 64.06 เสนอแนะวาควรจัดใน ลั ก ษณะของการจั ด ศู น ย ฝ ก อบรม กลุ ม ชมรม กลุ ม อาสาสมัครตามความเหมาะสม ข า ราชการพลเรื อ นไทย มี ข อ เสนอแนะเรื่ อ ง รู ป แบบการจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ เ กี่ ย วกั บ การ ติดตามและประเมินผลอยูในระดับมากที่สุด จํานวน 162 คน คิดเปนรอยละ 84.37 วารูปแบบการประเมินควรใช แบบสอบถามในการประเมินกอน ระหวาง หลัง เปนวิธีการ ที่ดี สามารถนําไปวิเคราะหสูการปฏิบัติได รองลงมาคือ จํานวน 140 คน คิดเปนรอยละ 72.91 ใหขอเสนอแนะวา ควรมีการวัดผลและติดตามประเมินผลอยางจริงจังและตอเนื่อง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ประเด็นสําคัญในการอภิปรายผลการวิจัย จากการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการศึกษา หลังเกษียณอายุสําหรับขาราชการ พลเรือนไทย สามารถนํา ผลการวิจัยมาอภิปรายไดดังนี้ 1. การนํ า เสนองานวิ จั ย ในครั้ ง นี้ สามารถ ตอบสนองตอวัตถุประสงคของการวิจัยที่วา เพื่อศึกษาความ ตองการการศึกษาหลังเกษียณอายุของขาราชการพลเรือนไทย เพื่อสร า งรูปแบบการจัดการศึก ษาหลังเกษีย ณอายุดังกลา ว และเพื่อประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการศึกษาหลัง เกษียณอายุสําหรับขาราชการกลุมนี้ ซึ่งเปนไปตามแนวคิดของ แมคคลัสกี้ (McClusky. 1975) ที่วา ผูสูงอายุจําเปนตองมี การศึกษาเพื่อการพัฒนาสําหรับการดําเนินชีวิตของตนเอง จึง มีความสอดคลองกับผลของการวิจัยครั้งนี้ และจากผลการวิจัย ทําใหสามารถสรางรูปแบบการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุ สําหรับขาราชการพลเรือนไทยฉบับสมบูรณ และนําเสนอตอ หนวยงานที่เกี่ยวของ เชน สํานักงานคณะกรรมการขาราชการ พลเรื อ น กระทรวงพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงศึกษาธิการ เปนตน 2. ผลการวิ จั ย ในภาพรวมครั้ ง นี้ สามารถนํ า รูปแบบการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุ สําหรับขาราชการ พลเรื อ นไทยไปใช เ ป น แนวทางในการจั ด การศึ ก ษาสํ า หรั บ ขาราชการเกษียณอายุกลุมอื่น ๆ ซึ่งมิไดเปนขาราชการพลเรือน เชน ขาราชการทหาร ขาราชการตํารวจ ขาราชการครู ตลอดจน ขาราชการผูเกษียณอายุอื่น ๆ หรือบุคคลผูเกษียณอายุ ซึ่งมิใช เปนกลุมขาราชการได เพราะหลักการ แนวคิดของรูปแบบการ จัดการศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับขาราชการพลเรือนไทยนี้ นับไดวาสอดคลองกับพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. 2546 ใน สวนที่วา การจัดการศึกษาสําหรับ ผูสูงอายุดังกลาวนี้ถือเปน สิ ท ธิ ที่ ม นุ ษ ย ทุ ก คน ทุ ก เพศ และทุ ก ช ว งวั ย ควรจะได รั บ การ พัฒนา ศักยภาพแหงตนดวยการศึกษาและการเรียนรู และ สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2545 ที่ เนนวา การศึกษามีความจําเปนสําหรับมนุษยทุกเพศและทุก ชวงวัย โดยเฉพาะอยางยิ่งการที่มนุษยจะไดรับการพัฒนาใหมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยการศึกษาหรือการเรียนรูตลอดชีวิต 3. ในส ว นที่ เ กี่ ย วกั บ แนวทางและวิ ธี ก ารจั ด การศึกษาหลังเกษียณอายุนั้น ผลการวิจัยมีความสอดคลอง

109

อยางยิ่งกับความคิดเห็นของ Atchley (1994) ซึ่งอธิบาย วา ระยะหลังเกษียณอายุเปนระยะของความสุขและเปน ระยะเวลาของการพักผอน ซึ่งผูสูงอายุเองตองการสิ่ง ที่ ผูสูงอายุไมเคยมีเวลาที่จะทํามากอนหรือใชชีวิตอยางไม เร ง รี บ เช น การท อ งเที่ ย ว งานอดิ เ รก และการแสวงหา ความรู เป น ต น ซึ่ ง แนวทางในการจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษียณอายุของงานวิจัยที่เสนอใหมีการจัดการศึกษาแบบ นอกระบบ และการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย นับไดวา เปนแนวทางและวิธีการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุที่ เหมาะสมอยางยิ่ง เพราะเนนความเปนอิสระของผูเรียน ตามความสนใจของผูเรียน มีความยืดหยุนในวิธีการเรียน และเปนการจัดการศึกษาโดยการเรียนรูอยางผอนคลาย โดยคํานึงถึงผูเรียนซึ่งอยูในวัยผูสูงอายุเปนสําคัญ 4. จากพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. 2546 มาตรา 11 ที่วา ผูสูงอายุมีสิทธิไดรับการคุมครอง การ สงเสริม และการสนับสนุนในดานตาง ๆ โดยเฉพาะใน (2) การศึกษา การศาสนา และขอมูลขาวสารที่เปนประโยชน ตอการดําเนินชีวิต จากหลักการที่บัญญัติไวในกฎหมาย ดังกลาว นับไดวาเปนไปตามผลการวิจัยครั้งนี้ ซึ่งพบวา ข า ราชการเกษี ย ณอายุ จ ะสามารถนํ า ผลสั ม ฤทธิ์ ห รื อ ความก า วหน า ที่เ กิ ดขึ้ น กั บ ผู เ รีย นตามองค ป ระกอบที่ 5 เรื่อง การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาไปใช ประโยชนไดจริงสําหรับการดําเนินชีวิตของขาราชการหลัง เกษี ย ณอายุ นั่ น คื อ กลุ ม ข า ราชการเกษี ย ณอายุ สามารถที่จะนําความรูที่ไดจากการศึกษาหลังเกษียณอายุ ไปปรับใชในการดํารงชีวิตในวัยเกษียณไดอยางมีคุณภาพ และการติดตามผลความกาวหนาหรือการประเมินผลการ เรียนรูดังกลาวนี้ ควรจะไดรับการสงเสริมและสนับสนุน อยางจริงจังดวย ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนภาค ประชาชนจะต อ งเข า มามี ส ว นร ว มในการดํ า เนิ น การ ดังกลาวนี้ แนวทางที่เหมาะสม ก็คือ ภาครัฐเปนสวน สนั บ สนุน ในดา นงบประมาณการดํา เนิ น การ ความรู ใ น ดานวิชาการและเปนองคกรหลักที่กระตุนใหภาคเอกชน และภาคประชาชนเขามามีสวนรวม สวนภาคเอกชนและ ภาคประชาชน จะสามารถมีสวนสงเสริมและสนับสนุนได อยางสําคัญยิ่งในสวนของการปฏิบัติ การใหความรวมมือ


110

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

การรณรงคหรือการเขามารวมกลุมเปนอาสาสมัครในการจัด การศึ ก ษาสํ า หรั บ บุ ค คลในวั ย เกษี ย ณนี้ อาจอยู ใ นรู ป ของ สมาคมผูเกษียณอายุ ชมรมผูสูงอายุ คลังสมอง ภูมิปญญา ทองถิ่นมูลนิธิหรืออาสาสมัครอื่น ๆ ก็ยอมที่จะกระทําไดทั้งสิ้น ขอเสนอแนะเพื่อการปฏิบัติ 1. จากผลการวิจัยพบวา ผูสูงอายุกลุมตัวอยาง ซึ่ ง ก็ คื อ ข า ราชการพลเรื อ นผู เ กษี ย ณอายุ มี ค วามต อ งการ การศึก ษาหลั ง เกษีย ณอายุ ใ นระดั บ มากนั้น แสดงให เห็ น ว า การศึกษาสําหรับผูสูงอายุมีความสําคัญและเปนความตองการ หลั ก ในการดํ า รงชี วิ ต ของผู เ กษี ย ณอายุ ห รื อ ผู สู ง อายุ โดยเฉพาะในส ว นที่ เ กี่ ย วกั บ ความต อ งการการศึ ก ษาด า น เนื้อหานั้น ขาราชการเกษียณอายุกลุมนี้มีความตองการความรู เกี่ยวกับกฎหมายที่ใชในชีวิตประจําวันสูงสุด นั่นยอมแสดงวา หนวยงานที่เกี่ยวขอ ง โดยเฉพาะหนวยงานที่สงเสริมความรู ดานกฎหมายจะตองตระหนักและถือเปนนโยบายสําคัญที่จะ สงเสริมสนับสนุนใหความรูดานกฎหมายสําหรับผูสูงอายุใ ห เพิ่มมากขึ้นและอยางทั่วถึง โดยการจัดการสื่อสารขอมูลความรู นี้ ผ า นองค ก รที่ มี อ ยู ใ นท อ งถิ่ น หรื อ ชุ ม ชนก็ ไ ด เช น องค ก ร ปกครองสวนทองถิ่น (เทศบาลหรือองคการบริหารสวนตําบล) ชมรมผู สู ง อายุ สมาคมข า ราชการเกษีย ณอายุ ห รื อ วิ ท ยากร อาสาสมัครแนะนําความรูดานกฎหมาย เปนตน 2. ควรเนนการจัดการศึกษาใน 2 รูปแบบที่พบ คือ การจัดการศึกษานอกระบบ และ การจัดการศึกษาตาม อัธยาศัยสําหรับผูสูงอายุใหเพิ่มมากขึ้นและอยางทั่วถึง ภาครัฐ ควรทุมงบประมาณลงไปกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในดาน นี้อยางจริงจัง เพื่อที่จะเปนการแกไขปญหาประชากรซึ่งอยูใน ภาวะพึ่ ง พิ ง เหล า นี้ ไ ด อ ย า งถู ก จุ ด และตรงประเด็ น อย า งยิ่ ง เพราะผลการศึกษาวิจัยนี้พบวา ขาราชการเกษียณอายุเองมี ความมุงหวังในเปาหมายจากการศึกษาหลังเกษียณอายุนี้ทั้ง ตอ ตนเองและตอ สัง คม ซึ่ง เมื่ อ เขาสามารถดู แ ลตนเองไดใ น ระดั บ หนึ่ ง แล ว จะเป น การลดภาระการพึ่ ง พิ ง สั ง คมสํ า หรั บ ผูสูงอายุเหลานี้ไดอยางมาก และผูสูงอายุซึ่งมีความรูจะไดเขา มามีสวนรวมในการ ชวยเหลือสังคมไดอีกทางหนึ่ง ทั้งในแง ของการถา ยทอดความรู ประสบการณ การอบรมจริย ธรรม ตลอดจนการเปนแบบอยางแหงคุณความดีใหอนุชนรุนหลังได ประพฤติปฏิบัติตามไดอยางดียิ่ง

3. รัฐควรตระหนักถึงการใหความสนใจเขา มามี ส ว นส ง เสริ ม สนั บ สนุ น การจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษียณอายุมากกวาที่เปนอยูในปจจุบัน เพราะเหตุวาการ จัดการศึกษาหลังเกษียณอายุนับเปนหนทางออกที่สําคัญ วิธีการหนึ่งในการพัฒนากําลังคนของประเทศชาติ ตาม ปรั ช ญาแห ง การศึ ก ษาตลอดชี พ ซึ่ ง บุ ค คลในวั ย นี้ ยั ง มี ศักยภาพที่จะสามารถพัฒนาตนเองไดตอเมื่อไดรับการจัด การศึ ก ษาหรื อ วิ ธี ก ารให ก ารเรี ย นรู ที่ เ หมาะสมและมี คุณภาพ ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัย 1. ควรมี ก ารศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ รู ป แบบการจั ด การศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับกลุมเปาหมายอื่น ๆ ที่ มิ ใ ช ก ลุ ม ข า ร า ช ก า ร ซึ่ ง มี ค ว า ม รู ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ความสามารถ และความพรอม แตอาจเปนกลุมเปาหมาย อื่นคือ กลุมผูสูงอายุทั่วไปหรือกลุมผูสูงอายุซึ่งดอยโอกาส เปรี ย บเที ย บกั บ งานวิ จั ย นี้ ซึ่ ง จะสามารถทํ า การ เพื่ อ ที่ จ ะพั ฒ นารู ป แบบการจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณ สําหรับผูสูงอายุไดมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไป 2. ควรมี ก ารศึ ก ษาต อ ยอดจากงานวิ จั ย นี้ เชน มีการทดลองจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุสําหรับ กลุมขาราชการผูเกษียณอายุจริง และมีหลักสูตรทดลอง สํ า หรั บ ดํ า เนิ น การในการจั ด การศึ ก ษา เพื่ อ สามารถ ดํ า เนิ น การ ติ ด ตาม และประเมิ น ผลการจั ด การศึ ก ษา ดังกลาวไดอยางเปนรูปธรรม และนําไปใชในทางปฏิบัติได ตลอดจนการดํ า เนิ น การทดลองนี้ จ ะทํ า ให ไ ด ท ราบถึ ง ป ญ หา อุ ป สรรค และสามารถดํ า เนิ น การเพื่ อ หาแนว ทางแกไขขอบกพรองตอไป 3. ควรมี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย อย า งต อ เนื่ อ ง เกี่ยวกับการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุนี้ ในแงมุมอื่น ๆ เช น กลุ ม เป า หมายมี ข นาดใหญ ขึ้ น กลุ ม เป า หมายมี คุ ณ สมบั ติ ที่ แ ตกต า งออกไป และควรจั ด ทํ า เป น วาระ แห ง ชาติ ด า นการศึ ก ษาสํ า หรั บ ผู สู ง อายุ โดยรวบรวม แนวคิ ด ผลงาน และการวิ จัยเกี่ย วกับ การศึก ษาสํา หรั บ ผูสูงอายุไวเปนองคความรูหลักดานการศึกษาผูใหญ เชน วิทยาลัยผูสูงอายุ การจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุ เปน ตน ซึ่งองคความรูดังกลาวนี้จะมีคุณคาอยางยิ่งสําหรับ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 งานวิจัยดาน ผูสูงอายุ ซึ่งจะเปนแขนงวิชาการหลักตอไปใน อนาคตอันใกลนี้ 4. ควรศึกษาเกี่ยวกับปจจัยของความสําเร็จใน การนํารูปแบบการจัดการศึกษาหลังเกษียณอายุไปใช โดยอาจ เปนการนํารองในการจัดการศึกษาดังกลาว และผลการวิจัยที่

111

จะพบต อ ไปจะได ท ราบว า สิ่ ง ใดเป น ป จ จั ย สํ า คั ญ แห ง ความสําเร็จบาง และนําผลที่ไดจากการศึกษาวิจัยนั้นมา เป น แนวทางแห ง การจั ด การศึ ก ษาหลั ง เกษี ย ณอายุ ที่ มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งจะเปนการขยายผลตอ ยอดในเชิงวิจัยองคความรูใหม ๆ ตอไป

บรรณานุกรม คณะกรรมการสงเสริมและประสานงานผูสูงอายุแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. (2545). แผนผูสูงอายุแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564). กรุงเทพฯ:คณะกรรมการฯ. จารุวรรณ ศรีสวาง. (2532). กิจกรรมและความคาดหวังของขาราชการเกษียณอายุในประเทศไทย. วิทยานิพนธ รศ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. จิระ เจริญเลิศ. (2529). “ชีวิตหลังเกษียณอายุ,” จุลสารสราญรมย. 1: 98. ฉัตรตรียา นาคเกษม. (2538). ความคิดเห็นของขาราชการกอนเกษียณ สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สวนกลาง เกี่ยวกับการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนสําหรับ ขาราชการผูสูงอายุกอน และหลังเกษียณอายุ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาผูใหญ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. เพ็ญแข ประจนปจจนึก. (2544, มกราคม-ธันวาคม). “จิตวิทยาผูสูงอายุ,” วารสารวิชาการ ศึกษาศาสตร. 2(1-3): 48-53. ------------. (2545). รายงานการวิจัยเรื่อง ความตองการการศึกษาหลังเกษียณอายุของขาราชการไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษาผูใหญ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ------------. (2545). สูงอายุวิทยาศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษาผูใหญ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เพ็ญแข ประจนปจจนึก; และคณะ. (2542). รายงานการวิจัยในพระราชดําริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “ตวมเตีย้ มเลี้ยงเตาะแตะ กระบวนการถายทอด ทางสังคมในครอบครัวไทย,” กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. ภมริน เชาวนจินดา. (2542). ลักษณะทางพุทธศาสนาที่เกี่ยวของกับคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ. วิรัชช แผวสกุล. (2527). ความตองการทางการศึกษานอกโรงเรียนของผูส ูงอายุที่สังกัดสํานักงาน ปลัดกระทรวงของกระทรวงศึกษาธิการ. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (การศึกษาผูใหญ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ถายเอกสาร.


112

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ศศิดา นิรินธนชาติ. (2540). การศึกษาความตองการการเตรียมตัวกอนการเกษียณของขาราชการกอนเกษียณ ในหนวยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในสวนกลาง. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาผูใหญ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. สุรกุล เจนอบรม. (2541). การจัดการศึกษานอกโรงเรียนสําหรับผูสูงอายุ. กรุงเทพฯ: กองนโยบายและแผน กรมการศึกษานอกโรงเรียน. Chatfield, W.F. (1977). “Economic and Sociological Factors in Fluencing Life Satisfaction of the Aged,” Journal of Gerontology. 32: 593-599. Florio, C. (1978). College Programs for Older Adults : A Summary Report on a 1976 Survey. New York: Academy for Education Development. Grandall, Richard C. (1980). Gerontology : A Behavioral Science Approach. Massachusette: Adelisor Wesly. Knowles M.S. (1972). The Modern Practice of Adult Education Andragogy Versus Padagogy. New Yorkซ Association Press. McClusky, H.Y. (1975). Education for Aging : The Scope of the Field and Perspection for the Future. Washington D.C.: Adult Education Association of the U.S.A.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

113

องคประกอบที่มีอิทธิพลตอการวางแผนดานการเงิน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค Factors Affecting Financial Matrix of The First Year Undergraduate Students at Ratjabhat Nakhonsawana University in Nakhonsawan Province. Ö สุดฤทัย จันทรแชมชอย 1 รองศาสตราจารย เวธนี กรีทอง 2 ผูชวยศาสตราจารยพรหมธิดา แสนคําเครือ 2 บทคัดยอ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ ศึ ก ษาองค ป ระกอบที่ มี อิทธิพลตอการวางแผนดานการเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครสวรรค จั ง หวั ด นครสวรรค . องคประกอบที่ศึกษาแบงเปน 3 องคประกอบ คือ องคประกอบดาน สวนตัว ไดแก เพศ คณะ รายไดของนักศึกษา บุคลิกภาพ ลักษณะ มุงอนาคต และการใชเวลาวาง องคประกอบดานครอบครัว ไดแก อาชีพ ของผูป กครอง ฐานะทางเศรษฐกิ จ ของผูป กครอง และ การ สนับสนุนของผูปกครองดานการเรียนของนักศึกษา และองคประกอบ ดานสิ่งแวดลอมในมหาวิทยาลัย ไดแก การเลียนแบบอาจารย และ การเลียนแบบเพื่อน

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2 อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

1


114

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย เป น นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จํานวน 472 คน เปน นั กศึกษาชาย จํานวน 174 คน และ นักศึกษาหญิง จํานวน 298 คน เครื่องมือที่ใชใน การศึ ก ษาค น คว า ได แ ก แบบสอบถามองค ป ระกอบที่ มี อิทธิพลตอการวางแผนดานการเงินของนักศึกษาระดับปริญญา ตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค สถิติที่ใชในการ วิเคราะหขอมูล คือ การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของ เพียรสัน และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบวา 1. องคประกอบที่มีความสัมพัน ธทางบวกกับ การ วางแผนดานการเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 องคประกอบ ไดแก เพศ หญิง และองคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวกกับการ วางแผนดานการเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 องคประกอบ ไดแก คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อาชีพ:ผูปกครองพนักงาน บริษัทเอกชน บุคลิกภาพ และลักษณะมุงอนาคต 2. องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ การ วางแผนดานการเงิน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 องคประกอบ ไดแก เพศ ชาย และองคประกอบที่มีความสัมพันธทางลบกับการวางแผน ด า นการเงิ น ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 6 องคประกอบ ไดแก คณะ เทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม รายไดของ นักศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจของผูปกครอง การใชเวลาวาง การเลียนแบบอาจารย และการเลียนแบบเพื่อน 3. องค ป ระกอบที่ ไ ม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การ วางแผนดานการเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครสวรรค จั ง หวั ด นครสวรรค มี 6 องคประกอบ ไดแก คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ อาชีพ: ผูปกครองรับ

ราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ อาชีพ:ผูปกครองคาขาย/ ธุรกิจสวนตัว และการสนับสนุนของผูปกครองดานการ เรียนของนักศึกษา 4. องคประกอบที่มีอิทธิพลตอการวางแผนดาน การเงิ น ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 องคประกอบโดย เรี ย งลํ า ดั บ จากองค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลมากที่ สุ ด ไปหา องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลน อ ยที่ สุ ด ได แ ก ลั ก ษณะมุ ง อนาคต การเลียนแบบอาจารย ฐานะทางเศรษฐกิจของ ผูปกครอง และการสนับสนุนของผูปกครองดานการเรียน ซึ่ง องคป ระกอบทั้ง 4 องค ป ระกอบ ของนักศึ ก ษา สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวนการวางแผนดาน การเงิ น ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ได รอยละ 41.80 5. สมการพยากรณการวางแผนดานการเงิน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ไดแก 5.1 สมการพยากรณการวางแผนดาน การเงิ น ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ใน รูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = 2.488 + .374 X14 - .072 X17 - 5.514X12- .071X16 5.2 สมการพยากรณ ก ารวางแผน ด า นการเงิ น ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ในรูป คะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .514 X14 - .178 X17 - .133X12 - .093X16 Abstract The purposes of this research were to study the factors affecting financial Matrix of the first year undergraduate students at Ratjabhat Nakhonsawan University in Nakhonsawan Province. The factors were devided into 3 dimensions , first of them was personal factor : gender, faculty level,


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 students’ income , personality, further oriented and leisure time using , second of them was family factor : guardian’s career, guardian’s economic level and guardian’s learning supportive and third of them was learning environment factor: students’ imitation to their teachers and students’ imitation to their peer groups. The samples were 472 students : 174 males and 298 females of The First Year Undergraduate Students at Ratjabhat Nakhonsawan University in Nakhonsawan Province . The instruments were the questionnaires on factors affecting Financial Matrix of The First Year Undergraduate Students at Ratjabhat Nakhonsawan University in Nakhonsawan Province . The data was analysed by The Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1. There was significantly positive correlation between Financial Matrix of The First Year Undergraduate Students at Ratjabhat Nakhonsawan University in Nakhonsawan Province and 1 factor : females at the .05 level and there were significantly positive correlation among Financial Matrix of The First Year Undergraduate Students at Ratjabhat Nakhonsawan University in Nakhonsawan Province and 4 factors : Faculty of science and technology , guardian’s career : private enterprise employee , personality and future orientation , at the .01 level . 2. There was significantly negative correlation between Financial Matrix of The First Year Undergraduate Students at Ratjabhat Nakhonsawan University in Nakhonsawan Province and 1 factor : male at the .05 level and there were significantly negative correlations among Financial Matrix of The First Year Undergraduate Students at Ratjabhat Nakhonsawan University in Nakhonsawan Province

115

and 6 factors : Faculty of agricultural and industry technology , students’ income , guardian’s economic level , period of freedom , students’ imitating to their teachers and students’ imitating to their peer groups at the .01 level . 3. There was no significant correlation among Financial Matrix of The First Year Undergraduate Students at Ratjabhat Nakhonsawan University in Nakhonsawan Province and 6 factors : Faculty of Education (X3), Faculty of Humanity and Social science, Faculty of academic management, guardian’s career : officer , guardian’s career : private business , and guardian’s learning support . 4. There were 4 factors significantly affecting Financial Matrix of The First Year Undergraduate Students at Ratjabhat Nakhonsawan University in Nakhonsawan Province ranking from the most to the least future orientation , students’ imitating to their teachers , guardian’s economic level and guardian’s learning support at the .01 level . These 4 factors could predict Financial Matrix of The First Year Undergraduate Students at Ratjabhat Nakhonsawan University in Nakhonsawan Province about percent of 41.80 5. The prediction equation of Financial Matrix of The First Year Undergraduate Students at Ratjabhat Nakhonsawan University in Nakhonsawan Province was found to be as follows : 5.1 In terms of raw scores : Ŷ = 2.488 + .374 X14 - .072 X17 - 5.514X12 - .071X16 5.2 In terms of standard scores :

Z = .514 X14 - .178 X17 - .133X12 - .093X16


116

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ความเปนมาและความสําคัญของการวิจัย สภาพสั ง คมไทยในป จ จุ บั น เกิ ด การเปลี่ ย นแปลง ตลอดเวลาอยางรวดเร็ว ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม โดยเฉพาะดานเศรษฐกิจ หลังจากที่ประเทศ ไทยไดเขาสูการเปน สมาชิกประชาคมโลกเมื่อปพุทธศักราช 2530 เปนตนมา ประเทศไทยไดรับผลกระทบจาก ความกาวหนา ทางเทคโนโลยี ซึ ่ ง มาตามกระแสข องยุ ค โ ลกาภิ ว ั ต น การเปลี่ยนแปลงในทุกดานดังกลาวขางตนซึ่งเปนผลจากการ พัฒนาประเทศไดกอใหเกิดลัทธิอาณานิคมยุคใหม เปนอาณา นิ ค มทางเศรษฐกิ จ ที่ ค นเราได ต กเป น ทาสของลั ท ธิ ทุ น นิ ย ม บริ โ ภคนิ ย ม ซึ่ ง เป น การมอมเมาครอบงํ า คนในชาติ จ นเกิ ด วิกฤตการณทางเศรษฐกิจอยางรุนแรง การเปลี่ย นแปลงในยุ ค โลกาภิ วัตนที่เกิดขึ้น อยา ง รวดเร็วในระยะเวลาที่ผานมาสงผลกระทบตอทุกกลุมคน แต กลุมที่ไดรับผลกระทบมากที่สุดคือ กลุมวัยรุน โดยเฉพาะกลุม วัยนักศึกษาที่กําลังเติบโตเปนอนาคตของประเทศชาติ กลุม วัยรุนไดเรียนรูเกี่ยวกับโลกภายนอกมากขึ้นเนื่องจากมีโอกาส ไดรับการศึกษาสูงขึ้นและไดเรียนรูจากสื่อมวลชนแขนงตางๆ และจากภาพของการที่พอแมไปทํางานนอกบาน จึงตองเรียนรู ที่จะดูแลตนเองมากขึ้น เรารูจักการวางแผนที่ดี มีวินัยควบคุม ตนเองใหสามารถดําเนินตามแผนชีวิต และแผนงบประมาณ ชีวิตก็จะฝกฝนตนเองใหมีประสิทธิภาพการใชจายไดเหมาะสม กับอัตภาพ การวางแผนดานการเงินจึงเปนเรื่องที่ควรศึกษา เนื่องจากการวางแผนดานการเงินที่ดีจะชวยใหมนุษยเรารูจัก การใชเงินอยางรอบคอบและมีประสิทธิภาพ ในฐานะผูวิจัยจบการศึกษาระดับปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค ทําใหทราบวานักศึกษาใน ชั้น ป ที่ 1 นั้ น มีป ญ หาการวางแผนด า นการเงิน เช น ไมมี เงิ น พอใช จ า ยในเรื่ อ งอุ ป กรณ ก ารเรี ย นและกิ จ กรรมต า งๆใน มหาวิ ท ยาลั ย ด ว ยเหตุ นี้ ผู วิ จั ย จึ ง มี ค วามสนใจศึ ก ษา องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ การวางแผนด า นการเงิ น ของ นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ชั้น ปที่ 1 มหาวิท ยาลัยราชภัฏ นครสวรรค ความสําคัญของการศึกษาคนควา ผลจากการวิจัย ครั้ง นี้ เพื่อ ใหผู ที่ เ กี่ย วข อ งกั บ การจัดการศึกษา ไดแก ผูบริหาร อาจารยผูสอน อาจารยที่

ปรึกษา ตลอดจนผูปกครอง สามารถนําขอมูลที่ไดไป ประกอบการวางแผนนโยบายการจัดการเรียนการสอนที่ สงเสริมและพัฒนาใหนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครสวรรค มี ก ารวางแผนด า น การเงินไดเหมาะสม วัตถุประสงคในการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางองคประกอบ ด า นส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และด า นสิ่ ง แวดล อ มใน มหาวิทยาลัย กับการวางแผนดานการเงินของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค 2. เพื่อศึกษาองคประกอบดานสวนตัว ดาน ครอบครั ว และด า นสิ่ ง แวดล อ มในมหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี อิท ธิพ ลตอ การวางแผนดา นการเงิน ของนัก ศึก ษาระดั บ ปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค 3. เพื่อสรางสมการพยากรณการวางแผนดาน การเงิ น ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค วิธีวิจัย ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค จํานวนทั้งสิน 1,889 คน เปน นักศึกษาชายจํานวน 696 คน และเปนนักศึกษาหญิง จํานวน 1,193 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนนักศึกษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครสวรรค จํ า นวน 472 คน เป น นั ก ศึ ก ษาชาย จํานวน 174 คน เปนนักศึกษาหญิง จํานวน 298 คน ที่มีระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95 (Yamane.1976:886-887) ซึ่งไดมาจากการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใชคณะและเพศเปนชั้น (Strata) สมมติฐานในการวิจัย 1. องค ป ระกอบด า นส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และดานสิ่งแวดลอมในมหาวิทยาลัย มีความสัมพันธกับ การวางแผนดานการเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 2. องคป ระกอบดา นสว นตัว ด า นครอบครัว และ ดานสิ่งแวดลอมในมหาวิทยาลัย มีอิทธิพลตอการวางแผนดาน ก า ร เ งิ น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ผลการวิจัย 1. องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวกกับการ วางแผนดานการเงิน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 องคประกอบ ไดแก เพศ หญิง และ องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวกกับการ วางแผนดานการเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 องคประกอบ ไดแก คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อาชีพ:ผูปกครองพนักงาน บริษัทเอกชน บุคลิกภาพ ลักษณะมุงอนาคต 2. องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ การ วางแผนดานการเงิน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 องคประกอบ ไดแก เพศ ชาย และ องคประกอบที่มีความสัมพันธทางลบกับการวางแผน ด า นการเงิ น ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 6 องคประกอบ ไดแก คณะ เทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม รายไดของ นักศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจของผูปกครอง การใชเวลาวาง การเลียนแบบอาจารย การเลียนแบบเพื่อน 3. องค ป ระกอบที่ ไ ม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การ วางแผนดานการเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครสวรรค จั ง หวั ด นครสวรรค มี 6 องคประกอบ ไดแก คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ อาชีพ:ผูปกครองรับ ราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ อาชีพ:ผูปกครองคาขาย/ธุรกิจ สวนตัว และการสนับสนุนของผูปกครองดานการเรียนของ นักศึกษา 4. องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ การวางแผนด า น การเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัย

117

ราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 องคประกอบโดยเรียงลําดับ จากองคประกอบที่มีอิทธิพลมากที่สุดไปหาองคประกอบที่ มีอิท ธิ พ ลน อ ยที่สุด ไดแ ก ลัก ษณะมุง อนาคต การ เลียนแบบอาจารย ฐานะทางเศรษฐกิจของผูปกครอง และการสนั บ สนุ น ของผู ป กครองด า นการเรี ย นของ นักศึกษา ซึ่งองคประกอบทั้ง 4 องคประกอบ สามารถ รวมกันอธิบายความแปรปรวนการวางแผนดานการเงิน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ไดรอยละ 41.80 5. สมการพยากรณการวางแผนดานการเงิน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ไดแก 5.1 สมการพยากรณการวางแผนดาน การเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ใน รูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = 2.488 + .374 X14 - .072 X17 - 5.514X12 - .071X16 5.2 สมการพยากรณการวางแผนดาน การเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ในรูป คะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .514 X14 - .178 X17 - .133X12 - .093X16 อภิปรายผล 1. องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวกกับ การวางแผนดานการเงิน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครสวรรค จั ง หวั ด นครสวรรค อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 องคประกอบ ไดแก เพศหญิง แสดงวานักศึกษาหญิงมี การวางแผนดานการเงินดี ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาหญิงเปนผู ที่มีความรับผิดชอบตอตนเอง มีความคิดละเอียดรอบคอบ สามารถปฏิบัติตามแผนการดานการเงินที่วางไว มีการคิด ก อ นใช เ งิ น และมี ก ารใช เ งิ น เท า ที่ จํ า เป น สามารถยั บ ยั้ ง ความต อ งการของตนเองได และองค ป ระกอบที่ มี ความสั ม พัน ธ ท างบวกกั บ การวางแผนด า นการเงิ น ของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏ


118

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

นครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ ระดับ .01 มี 4 องคป ระกอบ ไดแ ก องคป ระกอบที่1 คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แสดงวา นักศึกษาที่ศึกษาคณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีการวางแผนดานการเงินดี ทั้งนี้ เพราะ นักศึกษาที่สังกัดคณะวิทยาศาสตร อุปกรณการเรียน ของคณะวิทยาศาสตรที่นักศึกษาจําเปนตองมีนั้น มีราคาแพง และทันสมัย นักศึกษาจึงตองวางแผนดานการเงินเปนอยางดี เพื่ อ จะได มี เ งิ น เก็ บ ออมไว ใ ช จ า ยซื้ อ อุ ป กรณ ก ารเรี ย น องค ป ระกอบที่ 2 นั ก ศึ ก ษาที่ มี ผู ป กครองประกอบอาชี พ พนั ก งานบริ ษั ท เอกชน แสดงว า นั ก ศึ ก ษาที่ มี ผู ป กครอง ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนมีการวางแผนดานการเงิน ดี ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน ตองมีความรับผิดชอบสูง ทํางานเปนเวลา ผูปกครองจึงสอน และเปนแบบอยางที่ดีใหนักศึกษามีความรับผิดชอบตอตนเอง องคประกอบที่ 3 บุคลิกภาพ แสดงวา นักศึกษาที่มีบุคลิกภาพ แบบเอมีการวางแผนดานการเงินดี ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาที่มี บุคลิกภาพแบบเอ รักความกาวหนา มองการณไกล ไมชอบ การรอคอย ชอบฝาฟนอุปสรรคเพื่อประสบความสําเร็จ จึงมี การวางแผนดานการเงินไวเพื่อควบคุมการใชจายใหเหมาะสม และองคประกอบที่ 4 ลักษณะมุงอนาคต แสดงวา นักศึกษาที่มี ลักษณะมุงอนาคตมากมีการวางแผนดานการเงินดี ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาที่มีลักษณะมุงอนาคตมาก สามารถคาดการณและ เตรียมความพรอมตางๆ สําหรับอนาคตของตนเองได 2.องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ การ วางแผนดานการเงิน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 องคประกอบ ไดแก เพศ ชาย แสดงวานักศึกษาชาย มีการวางแผนดานการเงินไมดี ทั้งนี้ เพราะ นักศึกษาชาย ขาดความรับผิดชอบตอตนเอง ไมปฏิบัติ ตามที่มีการวางแผนดานการเงินไว ไมรูจักการบริหารการเงินให ดี และองคประกอบที่มีความสัมพันธทางลบกับการวางแผน ด า นการเงิ น ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยางมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 มี 6 องค ป ระกอบ ได แ ก องคประกอบที่ 1 นักศึกษาที่ศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตร และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แสดงวา นักศึกษาที่ศึกษาคณะ

เทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีการ วางแผนดา นการเงิน ไม ดี ทั้ ง นี้เ พราะ นักศึ ก ษาที่ สัง กั ด คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ไม สามารถทําตามแผนดานการเงินที่กําหนดไวได ใชจายเงิน เกินความจําเปน องคประกอบที่ 2 รายไดของนักศึกษา แสดงวา นักศึก ษาที่ไ ดรับ เงิ น เดือ นจากบิด ามารดาหรือ ผูปกครองมาก มีการวางแผนดานการเงินไมดี ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาที่ไดรับเงินเดือนจากบิดามารดาหรือผูปกครอง มาก ไมรูจักการใชเงิน ไมปฏิบัติตามแผนการดานการเงิน ที่วางไว ใชจายเงินโดยไมจําเปน ฟุมเฟอย ถาใชจายเงิน หมดแล ว ก็ ส ามา รถข อเงิ น เ พิ่ ม จ า ก ผู ป ก ค รอ ง ไ ด องคประกอบที่ 3 ฐานะทางเศรษฐกิจของผูปกครอง แสดง ว า นั ก ศึ ก ษาที่ มี ผู ป กครองรายได สู ง มี ก ารวางแผนด า น การเงิ น ไม ดี ทั้ ง นี้ เ พราะในครอบครั ว ที่ ร ายได สู ง ย อ ม สามารถตอบสนองความตองการในดานตางๆ ของสมาชิก ในครอบครั ว ได อ ย า งสมบู ร ณ นั ก ศึ ก ษาที่ มี ผู ป กครอง รายไดสูง จึ ง ใช จ า ยเงิน ฟุมเฟ อ ย ใช จา ยเงิน เกิน ความ จํ า เป น องค ป ระกอบที่ 4 การใช เ วลาว า ง แสดงว า นั ก ศึ ก ษาที่ มี ก ารใช เ วลาว า งมาก มี ก ารวางแผนด า น การเงินไมดี ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาที่มีการใชเวลาวางมาก จะมีเวลาในการทํากิจกรรมตางๆมากที่อาจไมเหมาะสม เชน เดินเที่ยวตามหางสรรพสินคา ใชจายเงินเกินความ จําเปน ซึ่งการใชเวลาว างเหลานี้ไมสงเสริมใหนักศึกษา พัฒนาตนเอง องคประกอบที่ 5 การเลียนแบบอาจารย แสดงวา นักศึกษาที่เลียนแบบอาจารยมาก มีการวางแผน ดานการเงินไมดี ทั้ง นี้เพราะ นักศึกษามีรายไดนอ ยกวา อาจารย ไมดูถึงความเหมาะสมของราคาสินคากับ จํานวนเงินที่ตนเองมี ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับอาจารย ทาน ยอมมีเงินใชจายมากกวานักศึกษาอยางแนนอน แตดวย ความใกลชิดกับอาจารย นักศึกษายอมมีการสังเกตและ เลียนแบบอาจารย องคประกอบที่ 6 การเลียนแบบเพื่อน แสดงวา นักศึกษาที่เลียนแบบเพื่อนมาก มีการวางแผน ดานเงินไมดี ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาที่เลียนแบบเพื่อนมาก ไมรูจักการวางแผนดานการเงินในการซื้อของใชสวนตัว อาหาร เสื้อผา เครื่องประดับ และอุปกรณการเรียนซึ่ง มี


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ราคาแพง ดวยความใกลชิดของนักศึกษากับเพื่อน ทําใหเกิด การสังเกตและเลียนแบบเพื่อน 3. องค ป ระกอบที่ ไ ม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การ วางแผนดานการเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครสวรรค จั ง หวั ด นครสวรรค มี 6 องคประกอบ ไดแก องคประกอบที่ 1 นักศึกษาที่ศึกษาคณะครุ ศาสตร องคประกอบที่ 2 นักศึกษาที่ศึกษาคณะมนุษยศาสตร และสั งคมศาสตร องคป ระกอบที่ 3 นัก ศึก ษาที่ศึ ก ษาคณะ วิทยาการจัดการ แสดงวา นักศึกษาที่ศึกษาคณะครุศาสตร บางคนมีการวางแผนดานการเงินดี ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาบาง คนสามารถทํ า ตามแผนด า นการเงิ น ที่ กํ า หนดไว ไ ด และ นักศึกษาบางคนมีการวางแผนดานการเงินไมดี ทั้งนี้เพราะบาง คนไมสามารถทําตามแผนดานการเงินที่กําหนดไวได ไมรูจัก คุ ณ ค า ของเงิ น มี ก ารใช จ า ยตามเพื่ อ น องค ป ระกอบที่ 4 นักศึกษาที่มีผูปกครองประกอบอาชีพ รับราชการ/ พนักงานรัฐวิสาหกิจ แสดงวา นักศึกษาที่มีผูปกครองประกอบ อาชี พ รั บ ราชการหรื อ พนั ก งานรั ฐ วิ ส าหกิ จ บางคน มี ก าร วางแผนดานการเงินดี ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองที่ประกอบอาชีพ รับราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจมีตําแหนงงานสูงและมีการ งานที่มั่นคง จึงใหคําแนะนําและเปนแบบอยางใหนักศึกษาใน การวางแผนดานการเงิน นักศึกษาบางคน มีการวางแผนดาน การเงินไมดี ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองที่ประกอบอาชีพรับราชการ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ ทํางานหนัก จึงไมมีเวลาใหคําแนะนํา และเป น แบบอย า งให นั ก ศึ ก ษาในการวางแผนด า นการเงิ น องคประกอบที่ 5 นักศึกษาที่มีผูปกครองประกอบอาชีพคาขาย หรือธุ รกิ จสวนตั ว แสดงวา นักศึกษาที่มีผูปกครองประกอบ อาชี พ ค า ขายหรื อ ธุ ร กิ จ ส ว นตั ว บางคน มี ก ารวางแผนด า น การเงินดี ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองที่ประกอบอาชีพคาขายหรือ ธุรกิจสวนตัว มีเวลาดูแลเอาใจใสและเปนที่ปรึกษาได นักศึกษา บางคน มีการวางแผนดานการเงินไมดี ทั้งนี้เพราะ ผูปกครอง ที่ประกอบอาชีพคาขายหรือธุรกิจสวนตัวบางคน ตองมีภาระ งานหนัก มีการทํางานไมเปนเวลา ทําใหไมมีเวลาดูแลเอาใจ ใส องคประกอบที่ 6 การสนับสนุนของผูปกครองดานการเรียน ของนักศึกษา แสดงวา การที่นักศึกษาไดรับการสนับสนุนของ ผูปกครองดานการเรียนของนักศึกษามาก มีการวางแผนดาน การเงิน ดี ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาบางคนที่ผูปกครองสนับสนุน

119

ด า นการเรี ย น สามารถปฏิ บั ติ ต ามแผนด า นการเงิ น ที่ กําหนดไวได และนักศึกษาบางคน มีการวางแผนดาน การเงิ น ไม ดี ทั้ ง นี้ เ พราะ นั ก ศึ ก ษาบางคน ไม ส ามารถ ปฏิบัติตามแผนดานการเงินที่กําหนดไวได นักศึกษาบาง คนใชเงินจนหมดยังไมถึงปลายเดือน จึงตองขอเพิ่มจาก ผูปกครอง 4. องคประกอบที่มีอิทธิพลตอการวางแผนดาน การเงิ น ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ชั้ น ป ที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค อยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 องคประกอบโดย เรี ย งลํ า ดั บ จากองค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลมากที่ สุ ด ไปหา องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลน อ ยที่ สุ ด ได แ ก ลั ก ษณะมุ ง อนาคต การเลียนแบบอาจารย ฐานะทางเศรษฐกิจของ ผูปกครอง และการสนับสนุนของผูปกครองดานการเรียน ของนักศึกษา ซึ่งองคประกอบทั้ง 4 องคประกอบ สามารถ รวมกันอธิบายความแปรปรวนการวางแผนดานการเงิน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ไดรอยละ 41.80 องคประกอบที่ 1 ลักษณะมุงอนาคตนักศึกษาที่มีลักษณะ มุงอนาคตมาก ทําใหนักศึกษามีการวางแผนดานการเงิน ดี ทั้ ง นี้ เ พราะ นั ก ศึ ก ษาเล็ ง เห็ น ความสํ า คั ญ ของผลดี ผลเสียที่จะเกิดขึ้นในอนาคตนักศึกษามีจุดมุงหมายในชีวิต และวางแผนด า นการเงิ น ไว เ ป น อย า งดี ดั ง นั้ น เมื่ อ พบ ปญหาหรืออุปสรรคก็มีความพยายามแกไขปญหาใหผาน พนไปไดดวยดี ลักษณะมุงอนาคตจึงมีความสําคัญในการ พยากรณการวางแผนดานการเงินของนักศึกษาเปนอันดับ แรก องคประกอบที่ 2 การเลียนแบบอาจารย 2 แสดงวา นักศึกษาที่เลียนแบบอาจารยมาก ทําใหมีการวางแผน ดานการเงินไมดี ทั้งนี้เพราะ นักศึกษามีรายไดนอยกวา อาจารย การใชจายเงินซื้อสินคาอุปโภค บริโภคที่มีราคา แพงตามอย า งอาจารย นั้ น จึ ง ไม มี เ งิ น เพี ย งพอเพราะ จํ า นวนเงิ น ของนั ก ศึ ก ษามี จํ า นวนน อ ยกว า ดั ง นั้ น การ เลียนแบบอาจารยจึงองคประกอบ ที่มีอิทธิพลทางลบตอ การวางแผนดานการเงินของนักศึกษา องคประกอบที่ 3 ฐานะทางเศรษฐกิจของผูปกครอง แสดงวา นักศึกษาที่มี ผูปกครองรายไดสูง ทําใหมีการวางแผนดานการเงินไมดี


120

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ทั้ ง นี้ เ พราะ นั ก ศึ ก ษาที่ มี ผู ป กครองรายได สู ง ใช จ า ยเงิ น ฟุมเฟอย ใชจายเงินเกินความจําเปน องคประกอบที่ 4 การ สนับสนุนของผูปกครองดานการเรียนของนักศึกษา แสดงวา การสนับสนุนของผูปกครองดานการเรียนของนักศึกษามาก ทําใหมีการวางแผนดานการเงินไมดี ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาที่

ผูปกครองสนับสนุนดานการเรียนมาก กลับนําเงินที่ควร จะใชจายเกี่ยวกับการเรียน ไปใชจายดานสวนตัวและการ เขาสังคมเพื่อใหเปนที่ยอมรับจากเพื่อนทั้งเพศเดียวกันและ ตา งเพศมากขึ ้น ซึ ่ง เ ปน ธ รรมชา ติข องวัย รุ น ที ่มี พัฒนาการทางกาย

บรรณานุกรม จรรจา สุวรรณทัต .(2520) จิตวิทยาเบื้องตน.กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร . มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. จําเรียง เฮงเจริญ.(2531) การวิเคาระหคาใชจายในการศึกษาระดับบัณฑิตวิทยาลัย ของนักศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.วิทยานิพนธ .ปริญญามหาบัณฑิต.ภาควิชาอุดมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เทียนทิพย บรรจงทัศน.(2547). ตัวแปรที่เกี่ยวของกับการวางแผนการใชเงินของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร สาขาวิชาวิทยุภาพยนตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. สารนิพนธ กศ.ม.(จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ถายเอกสาร บริภัณฑ สุคนธหงส. (2546) การวิเคราะหและเปรียบเทียบคาใชจายสวนตัวของนิสิตและปญหาทางการเงิน ของนิสิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สารนิพนธ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุรางค โควตระกูล. (2544) จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ : ดานสุทธาการพิมพ. Koontz , O’Donnell.(1976) Principles of management : an analysis of managerial function. New York : McGrawo – Hill. Marjoriban,Kavin.(1972,February) .”Environment Social Class and Mental Ability”. Journal of Education Psychology.63 : 203-209. Raymore , Leslie ann .(1995) The Tradition from Adolescence to Young Adulthood : Predictors of Leisure Behavior, Dissertation Abstracts International . Dai-a 56/02 :p.702;Aug,1995.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

121

การพัฒนาชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง เรื่องแนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวธิ ีการที่ดี THE DEVELOPMENT OF SELF–TRAINING MODULES BY SELF-DIRECTED LEARNING ON “GOOD MANUFACTURING PRACTICE” Öสมชาย เรืองมณีชัชวาล 1 รองศาสตราจารย ดร.สุวัฒน วัฒนวงศ 2 รองศาสตราจารย ดร.อรพรรณ พรสีมา 3 รองศาสตราจารย ดร.อรพินทร ชูชม 4 บทคัดยอ การวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนํา ตนเองเรื่อง การผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี มีจุดมุงหมาย 4 การคือ 1) เพื่อสรางและหาประสิทธิภาพ ชุดฝกอบรมการเรียนรู ดวยการนําตนเอง 2) ศึกษาผลการเรียนรูเรื่องแนวทางการผลิต อาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี 3) ศึกษาผลการเรียนรูเรื่องแนว ทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี ของกลุมที่มี คุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองสูงและต่ํา 4) ศึกษา คุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองระหวางกอนและหลังการใช ชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง คําสําคัญ : การเรียนรูดวยการนําตนเอง / แนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี

นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชาการศึกษาผูใหญ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยประจําภาควิชาการศึกษาผูใหญ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3 อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4 อาจารยประจําสถาบันวิจัยและพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

1

2


122

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

การสร า งชุ ด ฝก อบรมการเรีย นรูด ว ยการนํ า ตนเอง เรื่อง การผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี ผูวิจัยได ทดลองใชกับผูเขารับการฝกอบรม 1 คนและ 6 คน พบวา ชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเองมีประสิทธิภาพเทากับ 80.95 / 84.17 และ 82.20 / 83.47 ซึ่งสูงกวาเกณฑ 80/80 ที่ตั้งไว การหาประสิทธิภาพชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการ นําตนเองเรื่อง การผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี กับ พนั ก งานในฝ า ยผลิ ต ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การผลิ ต อาหารและ ผูเกี่ยวของกับระบบคุณภาพดานอาหาร ของบริษัท ไดโดมอน กรุป จํากัด (มหาชน) จํานวน 48 คน ผูวิจัยไดใหผูเขารับการ ฝกอบรมเรียนดวยตนเองจากชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนํา ตนเองเรื่อง การผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี โดยจัด ใหมีการพบกลุมและวิทยากรเปนผูอํานวยความสะดวก คอยให คําแนะนํา จากนั้นผูเรียนไดทําแบบฝกหัดหลังการฝกอบรมและ แบบทดสอบกอนและหลังการฝกอบรม นําขอมูลที่ไดมาทําการ วิเคราะห สรุปผล ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ 1. ชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเองเรื่อง การ ผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี มีประสิทธิภาพ 88.39 / 83.18 2. ผลสัมฤทธิ์การฝกอบรมจากชุดฝกอบรมการเรียนรู ดวยการนําตนเอง หลังการฝกอบรมสูงกวากอนฝกอบรมอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผลสัมฤทธิ์การฝกอบรมจากชุดฝกอบรมการเรียนรู ด ว ยการนํ า ตนเอง กลุ ม ที่ มี ลั ก ษณะการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเองมาก สูงกวากลุมที่มีคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนํา ตนเองปานกลาง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. คุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองของผูรับ การฝกอบรมหลังการฝกอบรมจากชุดฝกอบรมการเรียนรูดวย การนําตนเองสูงกวากอนฝกอบรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 ABSTRACT The purpose of this research were to : 1) Construct and find the efficiency of the Self Training Modules by Self-Directed Learning on Good

Manufacturing Practice. 2) Study the learning outcome on Good Manufacturing Practice. 3) Compare the learning achievement on Good Manufacturing Practice between low and high SelfDirected Learning 4) The Self-Directed Learning characteristic level of the trainees. The researcher used the Self-Training Modules by Self-Directed Learning on Good Manufacturing Practice with 3 experimental groups of 1 subject, 6 subjects and 48 staff in both food production line and food quality system in Daidomon Public Company Ltd. . The result indicated that by using the Self-Training Modules by Self-Directed Learning on Good Manufacturing Practice, the learning efficiency is equivalent to 80.95/84.17, 82.20/ 83.47 and 88.93/83.18 which is higher than 80/80 efficiency criteria. The process of the study consists of guidance given by the lecturer, exercise, pre-test and post-test done by experimental groups, analysis of data and summary of the study. The results of the study are as follow : 1. The training modules efficiency based on 80/80 efficiency criteria were 80.95/84.17,82.20/83.47 and 88.93/83.18 respectively. 2. The learning achievement post-test score was higher than that of the pre-test, statistical significantly at the level .01. 3. The learning achievement of higher SelfDirected Learning score was higher than that of the lower Self-Directed Learning, statistical significantly at the level .01. 4. The Self-Directed Learning characteristic level post-test score was higher than that of pre-test, statistical significantly at the level .01.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

123

บทนํา

ความมุงหมายของการศึกษาคนควา

การเรียนรูดวยการนําตนเองเปนคุณลักษณะที่สําคัญ ของกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต เปน การเรียนรูที่สนองตอ ความต อ งการและความสนใจของผู เ รี ย นโดยตรง เป น การ ยอมรับในศักยภาพของผูเรียนวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถ ที่ จ ะเรี ย นรู สิ่ ง ต า ง ๆ ได ด ว ยตนเอง เพื่ อ ที่ ต นเองสามารถ แสวงหาความรู ที่ จํ า เป น ต อ การดํ า รงชี วิ ต ในสั ง คมที่ มี ก าร เปลี่ย นแปลงตลอดเวลาไดอ ยา งมีค วามสุข การตระหนักถึ ง ความสํ า คั ญ ของการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเอง ทํ า ให สถาบันการศึกษาหลายแหงไดพัฒนากระบวนการศึกษาเพื่อ สงเสริมใหผูเรียนหรือนักศึกษามีความสนใจ และมีทักษะการ เรียนรูดวยการนําตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดการเรียนรู ในสถานที่ ทํ า งาน ซึ่ ง จั ด ในลั ก ษณะของการฝ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาบุ ค ลากรในองค ก ร บุ ค ลากรหรื อ ผู ที่ จ ะเข า รั บ การ ฝกอบรมจําเปนที่จะตองรูจักศึกษาคนควาดวยตนเองจากสื่อ และแหลงวิทยาการตาง ๆ ทั้งนี้เพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ ของตนเอง เนื่องจากผูที่ทํางานอยูในสถานประกอบการ จะตอง ใชเวลาสวนใหญไปกับภารกิจการทํางานประจํา จึงไมสามารถที่จะ หยุดงานไปเพื่อการฝกอบรมเรียนรูไดอยางเต็มที่ การจัดการฝกอบรมในสถานประกอบการจึงจําเปนที่ จะตองจัดทําใหเหมาะสมกับลักษณะของบุคลากรในชวงวัย ของคนทํางาน และตองอาศัยคุณลักษณะที่จะเรียนรูดวยการ นําตนเองที่มีอยูในบุคคลมาใชพิจารณาในการออกแบบระบบ การเรี ย นการสอน เพื่ อ ให ก ารพั ฒ นาบุ ค คลเป น ไปอย า งมี ประสิทธิภาพสูงสุด ในการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาชุดฝกอบรม การเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเอง เรื่ อ งการผลิ ต อาหารตาม หลั ก เกณฑ วิ ธี ก ารที่ ดี ใ นครั้ ง นี้ จึ ง เป น เรื่ อ งสํ า คั ญ และเป น ประโยชน ใ นด า นการฝ ก อบรมในองค ก ร หน ว ยงานที่ มี ก าร จัดการฝกอบรมใหแกบุคลากร ทั้งนี้เพื่อใชเปนแนวทางในการ วางแผนพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรการฝกอบรมใหมีประสิทธิภาพ และเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หรือการ ฝกอบรมใหสอดคลองกับคุณลักษณะการเรียนรูของบุคลากร รวมทั้งสงเสริมใหผูเข ารับการอบรมมีคุณลักษณะการเรียนรู ด ว ยการนํ า ตนเอง อั น จะนํ า ไปสู ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพของ บุคลากร และสอดคลองกับการดําเนินธุรกิจและแนวนโยบาย การพัฒนาประเทศ

จุดมุงหมายของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อพัฒนาและ ศึกษาประสิทธิภาพของชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนํา ตนเองเรื่อง การผลิตอาหาร ตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี โดย มีวัตถุประสงคดังนี้ 1. เพื่ อสร า งชุ ดฝ ก อบรมการเรียนรูด ว ยการนํ า ตนเอง เรื่ อ งแนวทางการผลิ ต อาหาร ตามหลั ก เกณฑ วิธีการที่ดี 2. เพื่อเปรียบเทียบผลการเรี ยนรูเรื่อ งแนว ทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี ระหวางกอน และหลังการใชชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง 3. เพื่ อ เปรี ย บเที ย บผลการเรี ย นรู เ รื่ อ งแนว ทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี ระหวางกลุม ที่มีคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองสูงและต่ํา 4. เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะการเรียนรูดวย การนําตนเองระหวางกอนและหลังการใชชุดฝกอบรม ความสําคัญของการศึกษาคนควา ผลจากการวิ จั ย ครั้ ง นี้ จะช ว ยให มีชุ ด ฝ กอบรม การเรีย นรู ดว ยการนํา ตนเองเรื่อ ง การผลิต อาหาร ตาม หลั ก เกณฑ วิ ธี ก ารที่ ดี ที่ ไ ด จ ากการพั ฒ นาและใช เ ป น ประโยชน ตอบริษัทฯ ที่จะนําไปจัดประสบการณ ในการ เตรียมบุคคลใหมีความพรอมในการปฏิบัติงาน เพื่อรองรับ การทํ า ระบบประกั น คุ ณ ภาพด า นอาหาร GMP หรื อ สามารถนํ า ไปใช ใ นหน ว ยงานที่ เ กี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ ด า น ภัตตาคารและอาหารที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูและ การปฏิบัติงาน โดยที่บุคคลไมตองมาเขารับการฝกอบรม ในสถานที่ฝกอบรมซึ่งเปนการสิ้นเปลืองทรัพยากร ไมวาจะ เปนทั้งทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรดานสถานที่ และเวลา เนื่องจากทรัพยากรบุคคลซึ่งเปนพนักงานผูปฏิบัติงาน มี ภารกิจงานประจําที่จะตองปฏิบัติงานอยูตลอดเวลา ขอบเขตของการศึกษาคนควา ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ เปนพนักงาน ในฝายผลิต ที่เกี่ยวของกับการผลิตอาหาร และผูเกี่ยวของ


124

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

กับระบบคุณภาพดานอาหาร ของบริษัท ไดโดมอน กรุป จํากัด (มหาชน) จํานวน 150 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ เปน พนักงาน,หัวหนางานในฝายผลิต ,ฝายงานอื่นที่เกี่ยวของกับ การผลิตอาหาร และผูที่เกี่ยวของกับระบบคุณภาพดานอาหาร ของ บริษัท ไดโดมอน กรุป จํากัด (มหาชน) ที่ทํางานอยูใ น ป จ จุ บั น (พ.ศ. 2549) ด ว ยวิ ธี สุ ม แบบแบ ง ชั้ น (Stratified random sampling) เปนจํานวน 48 คน จากประชากร 150 คน สมมติฐานในการศึกษาคนควา 1. ชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเองเรื่องแนว ทางการผลิ ต อาหารตามหลั ก เกณฑ วิ ธี ก ารที่ ดี ที่ ส ร า งขึ้ น มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. ผลการเรียนรูเรื่องแนวทางการผลิตอาหารตาม หลักเกณฑวิธีการที่ดีหลังการใชสูงกวากอนใชชุดฝกอบรม 3. กลุมที่มีคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเอง สูง มีผลการเรียนรูเรื่องแนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑ วิธีการที่ดี สูง กวากลุมที่ มีคุณ ลักษณะการเรียนรูดวยการนํา ตนเองต่ํา 4. คุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองหลังการ ใชชุดฝกอบรมสูงกวากอนการใชชุดฝกอบรม

การออกแบบและพัฒนาชุดฝกอบรมการเรียนรูดวย การนําตนเอง ลักษณะของชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนํา ตนเองที่ใชในการวิจัยนี้ ประกอบดวยชุดฝกอบรม ที่สราง จากเนื้อหาสาระที่มีการวิเคราะหอยางเปนระบบตามความ จํ า เป น และความต อ งการฝ ก อบรมของการทํ า ระบบ คุณภาพดานอาหาร จัดเรียงและลําดับความตอเนื่องของ เนื้อหา มีองคประกอบเหมาะสมตามหลักการเรียนรูของ ผู ใ หญ ในด า นการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเอง โดยแบ ง ขั้นตอนการดําเนินการออกเปนขั้นตอนยอยคือ การสราง โครงร า งชุ ด ฝก อบรม การประเมิ น โครงรา งชุ ด ฝ ก อบรม และการพัฒนาชุดฝกอบรม ขั้นที่ 1 การสรางโครงรางชุดฝกอบรมการ เรียนรูดวยการนําตนเอง ผู วิ จั ย ได ศึ ก ษาหลั ก การของแนวทางการผลิ ต อาหารตามหลั ก เกณฑ วิ ธี ก ารที่ ดี หรื อ จี เ อ็ ม พี โดยใช ขอบข า ยตามข อ บั ง คั บ และการควบคุ ม ในประกาศ กระทรวงสาธารณสุ ข และกรอบเนื้ อ หาของ เอกสาร เผยแพร คูมือ “แนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑ วิธีการที่ดี (จี.เอ็ม.พี.)” (สํานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา. 2544.) มาสรางเปนชุดฝกอบรมการเรียนรูดวย การนํ า ตนเอง โดยผู วิ จั ย ได จั ด แบ ง เนื้ อ หาชุ ด ฝ ก อบรม ออกเปน 7 ชุด

ชุดที่ 1 คูมือวิธีการเรียนรู ดวยการนําตนเอง

ชุดที่ 2 ความรูทั่วไป เกี่ยวกับระบบ จีเอ็มพี

ชุดที่ 3 หลักเกณฑทวั่ ไป เกี่ยวกับสุข ลักษณะอาหาร

ชุดที่ 4 สุขลักษณะสถานที่ ตั้งและอาคาร เครื่องมือเครื่องจักร และอุปกรณทใี่ ชใน การผลิต


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ชุดที่ 5 การควบคุม กระบวนการผลิต

125

ชุดที่ 6 การบํารุงรักษา และการทําความ สะอาด / การ สุขาภิบาล

ชุดที่ 7 บุคลากร (สุขลักษณะสวน บุคคล)

การสรางในแตละองคประกอบมีสาระดังนี้ ชื่อชุดฝกอบรม กําหนดชื่อชุดฝกอบรมตาม หั ว ข อ ประเด็ น เรื่ อ งที่ มี ก ารควบคุ ม ในจี เ อ็ ม พี ตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุ ข และยั ง นํ า มากํ า หนดขอบเขตของชุ ด ฝกอบรมใหชัดเจน สาระสําคัญ เปนสวนอธิบายประเด็นเนื้อหา สํ า คั ญ ในชุ ด ฝ ก อบรมนั้ น ๆ เพื่ อ ให ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรม สามารถใชเปนขอมูลในการทําแผนการเรียนรูและเปนแนวทาง ในการกําหนดวัตถุประสงคของชุดฝกอบรม กําหนดวัตถุประสงคของชุดฝกอบรม โดย พิ จ ารณาให ส อดคล อ งกั บ ความจํ า เป น โดยคาดหวั ง ว า เมื่ อ ดําเนินการตามวัตถุประสงคของชุดฝกอบรมแลว สามารถทํา ใหผูเขารับการอบรมเขาใจแนวทางการปฏิบัติได กําหนดแผนการเรียนรู เพื่อใหผูเขารับการ อบรมใชเปนเครื่องมือกําหนดแนวทางการเรียนรูของตนเองไดดี ยิ่งขึ้นโดยใชวางแผนเพื่อใหรูปแบบกิจกรรม กําหนดแผนการพบกลุม เปนแผนที่กําหนด ขึ้น ใหเปนไปตามหลักการเรียนรูดวยการนําตนเอง โดยใหผูเขา รับการฝกอบรม มีโอกาสพูดคุยกับผูเขารับการฝกอบรมคนอื่น ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู ซึ่งจัดวาเปนแหลงการเรียนรูบุคคล รวมถึงไดทํากิจกรรมการเรียนตามที่กําหนดในชุดฝกอบรม

เนื้ อ หาวิ ช า กํ า หนดให ส อดคล อ งกั บ วัตถุประสงคของชุดฝกอบรม แบบฝกหัดและการวัดผลประเมินผล กําหนดใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของชุดฝกอบรม เพื่อ เปนแนวทางใหผูวิจัยตรวจสอบวา ชุดฝกอบรมการเรียนรู ด ว ยการนํ า ตนเองในแต ล ะชุ ด บรรลุ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค หรือไมแบงเปนการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ใชทดสอบ แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก และแบบฝกหัดทายชุดฝกอบรม ซึ่งมีทั้ง แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก แบบทําเครื่องหมาย ถูกผิด และแบบเติมคํา ขั้นที่ 2 การประเมินโครงรางชุดฝกอบรม การประเมินโครงรางชุดฝกอบรมการเรียนรูดวย การนําตนเอง เปนการประเมินกอนนําไปใช เปนการศึกษา เพื่ อ หาข อ บกพร อ งที่ ค วรปรั บ ปรุ ง แก ไ ขในด า นความ เหมาะสมและความสอดคลองกันภายในองคประกอบตาง ๆ ของชุ ด ฝ ก อบรมโดยอาศั ย ผู เ ชี่ ย วชาญ โดยมี ก าร ประเมิ น วั ต ถุ ป ระสงค ข องชุ ด ฝ กอบรม ความสอดคล อ ง ภายใน ความชัดเจนและความเหมาะสมขององคประกอบ เนื้อหา


126

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

สรุปผลการวิจัย 1. ผลการสรางชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง ผลการวิเคราะหขอมูลในสวนที่ทดลองใชชุดฝกอบรม การเรียนรูดวยการนําตนเองเรื่องแนวทางการผลิตอาหารตาม หลักเกณฑวิธีการที่ดีกับผูเขารับการฝกอบรม 1 คน พบวา ชุด ฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง มีประสิทธิภาพเทากับ 80.95/84.17 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนด 80/80 เปนไปตาม สมมติฐานที่ตั้งไว โดยมีประสิทธิภาพของกระบวนการวัดผล คะแนนแบบฝกหัดหลังชุดฝกอบรมระหวางการฝกอบรมดวย ชุดฝกอบรมทั้ง 7 ชุด เฉลี่ยไดเทากับ 80.95 และประสิทธิภาพ ของการวัด ผลคะแนนแบบทดสอบหลังการฝ กอบรมจากชุ ด ฝกอบรม เฉลี่ยไดเทากับ 84.17 ผลการวิเคราะหขอมูลในสวนที่ทดลองใชชุดฝกอบรม การเรียนรูดวยการนําตนเองเรื่องแนวทางการผลิตอาหารตาม หลักเกณฑวิธีการที่ดีกับผูเขารับการฝกอบรม 6 คน พบวา ชุด ฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง มีประสิทธิภาพเทากับ 82.20/83.47 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนด 80/80 เปนไปตาม สมมติฐานที่ตั้งไว โดยมีประสิทธิภาพของกระบวนการวัดผล คะแนนแบบฝกหัดหลังชุดฝกอบรมระหวางการฝกอบรมดวย ชุดฝกอบรมทั้ง 7 ชุด เฉลี่ยไดเทากับ 82.20 และประสิทธิภาพ ของการวั ด ผลคะแนนแบบทดสอบหลังการฝ กอบรมจากชุ ด ฝกอบรม เฉลี่ยไดเทากับ 83.47 2. ผลการหาประสิทธิภาพชุดฝกอบรมการเรียนรูดวย การนําตนเอง ผลของการวิ เ คราะห ข อ มู ล พบว า ชุ ด ฝ ก อบรมการ เรียนรูดวยการนําตนเอง เรื่องแนวทางในการผลิตอาหารตาม หลักเกณฑวิธีการที่ดี ที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิท ธิภาพเทากับ 88.39/83.18 ซึ่งสูงกวาเกณฑมาตรฐานที่กําหนด 80/80 และ เป น ไปตามสมมติ ฐ านที่ ตั้ ง ไว โดยมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของ กระบวนการวัดผลคะแนนแบบฝกหัดหลังชุดฝกอบรมระหวาง การฝกอบรมดวยชุดฝกอบรมทั้ง 7 ชุด เฉลี่ยไดเทากับ 88.39 และประสิทธิภาพของการวัดผลคะแนนแบบทดสอบหลังการ ฝกอบรมจากชุดฝกอบรม เฉลี่ยไดเทากับ 83.18 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูโดยชุดฝกอบรมการเรียนรู ดวยการนําตนเอง ผลการวิเคราะหขอมูลพบวา ผลการเรียนรูหลังจาก การฝกอบรมจากชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง เรื่อง

แนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดีสูงกวา กอนการฝกอบรมจากชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนํา ตนเอง และผูเขารับการฝกอบรมที่มีระดับคุณลักษณะการ เรียนรูดวยการนําตนเองในระดับมาก มีผลการเรียนรูสูง กวา ผูเขารับการฝกอบรมที่มีระดับคุณลักษณะการเรียนรู ดวยการนําตนเองในระดับปานกลาง อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 4. เปรียบเทียบระดับคุณลักษณะการเรียนรูดวยการ นําตนเอง ผลการวิเคราะหขอมูลพบวา ระดับคุณลักษณะ การเรียนรูดวยการนําตนเอง หลังจากการฝกอบรมจากชุด ฝ ก อบรมการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเอง สู ง กว า ก อ นการ ฝ ก อบรมจากชุ ด ฝ ก อบรมการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อภิปรายการวิจัย ผลการสรางชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนํา ตนเองเรื่องแนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการ ที่ดี พบวาในขณะที่ไดทดลองใชชุดฝกอบรมการเรียนรูดวย การนําตนเองเรื่องแนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑ วิธีการที่ดีกับผูเขารับการอบรม 1 คน นั้นไดประสิทธิภาพ สูงกวาเกณฑ 80/80 ที่กําหนด ทั้งนี้เปนเพราะวาการสราง ชุดฝกอบรม จัดทําใหเปนระบบการเรียนรูแบบไมยึดติดกับ เวลา สถานที่ และบุคคล เปนการเรียนรูตามอัธยาศัยและ ตอเนื่อง เอื้ออํานวยการเรียนรูที่ยึดความแตกตางระหวาง บุคคล (ยืน ภูวรวรรณ. 2543: 32-36) ในการทดลองครั้ง นี้พบขอบกพรองในเรื่องของถอยคําสํานวนภาษาที่ยังขาด ความชัดเจน และดานกิจกรรมการพบกลุมซึ่งมีบางชุดฝก อบรม จะตองมีการแบงกลุมอภิปรายเพื่อศึกษาจากแหลง การเรียนรูบุคคล ผูวิจัยจึง ตอ งทําหนา ที่เปน ผูแ นะนํา ใน กิจกรรมดังกลาว ผูวิจัยจึงไดปรับปรุงแกไขปญหาดังกลาว และไดทดลองใชชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง เรื่องแนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี กับ ผูเขารับการฝกอบรม 6 คน พบวามีประสิทธิภาพ เทากับ 80.95/84.17 ซึ่งสูงกวาเกณฑ 80/80 ที่กําหนด แตในการ ทดลองครั้งนี้ใชเวลามากกวาที่กําหนดไว ดังนั้นจะเห็นวา การนําชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง เรื่องแนวทาง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 การผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดีไปทดลองใชกอนนั้น ทํ าให ทราบป ญหาและอุ ปสรรคต าง ๆ และเมื่ อปรั บ ปรุ ง แล ว นําไปใชจริง ผลของการวิจัยชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนํา ตนเอง มีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑมาตรฐาน 80/80 ที่กําหนด และเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว โดยผลการวิจัย ตามความมุง หมายของการศึกษาคนควาเปนไปดังตอไปนี้ การฝกอบรมโดยใชชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนํา ตนเอง เปนการที่ใหผูเขารับการฝกอบรม ไดเรียนรูโดยอาศัย คุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองของแตละบุคคล เปน การเป ด โอกาสให ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรม ได เ รี ยนรู ต ามความ สะดวกของตนเองในเรื่องของเวลาที่เหมาะสม โดยชุดฝกอบรม มีการจัดรูปแบบที่ชัดเจน และมีความนาสนใจประกอบดว ย รูปภาพทั้งภาพจากการปฏิบัติงานในสภาพแวดลอมจริงของผู เขารับการอบรม และภาพการตูนที่มีความสอดคลองกับเนื้อหา อี ก ทั้ ง ประกอบไปด ว ยคํ า ถามที่ ก ระตุ น ให ผู รั บ การฝ ก อบรม ค น หาคํ า ตอบจากเนื้ อ หาที่ มี อ ยู ใ นชุ ด ฝ ก อบรม อย า ง พร อ มสรรพ เป น การดึ ง ดู ด ให อ ยากที่จ ะเรี ยนรู เมื่ อ ผู รั บ การ ฝก อบรมเรียนเนื้ อ หาสว นใดแลว ยั ง ไมเขา ใจก็สามารถเรีย น เนื้ อ หาเหล า นั้ น ซ้ํ า ๆ ได โ ดยไม มี ขี ด จํ า กั ด และการทํ า แบบฝกหัดในชุดฝกอบรม จะทําใหผูเขารับการฝกอบรมเขาใจ ในเนื้อหามากขึ้น โดยชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง นี้ สอดคลองกับแนวคิด ของฮุสตันและคนอื่น ๆ (Houston and Others. 1972: 10-15 ) นอกจากการเรียนรูจากชุดฝกอบรม การเรียนรูดวยการนําตนเองแลว ในแผนการวิจัยยังจัดใหผูเขา รั บ การฝ ก อบรมได มี โ อกาสมาพบกลุ ม โดยมี วิ ท ยากรเป น ผู อํานวยความสะดวกและใหคําแนะนําเปนแหลงความรู รวม ถึง การรวมอภิปรายและซักถามกับกลุมเพื่อนผูเขารับการอบรม ดวยกันที่มีความรูและประสบการณ จากการทํางานที่เกี่ยวของ กั บ เนื้ อ หาในชุ ด ฝ ก อบรม เป น การแลกเปลี่ ย นความรู แ ละ ประสบการณซึ่งกันและกัน เปนการจัดประสบการณเรียนรูดวย การนําตนเองใหแกผูเขารับการฝกอบรม 1. ชุ ด ฝ ก อบรมการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเอง เรื่ อ ง แนวทางในการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดี เปนชุด ฝกอบรมที่ไดออกแบบและพัฒนาอยางเปนระบบ ตามแนวทาง และหลักการเรียน รูดวยการนําตนเอง โดยมีประสิทธิภาพตาม เกณฑ 80/80 ซึ่งเปนความสามารถของชุดฝกอบรมการเรียนรู

127

ดวยการนําตนเอง ในการสรางผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรม ใหผูเขารับการฝกอบรม เกิดการเรียนรูตามจุดประสงคถึง ระดับเกณฑที่คาดหวัง ทั้งนี้เนื่องมาจาก ชุดฝกอบรมการ เรียนรูดวยการนําตนเองที่ผูวิจัยสรางขึ้น โดยเริ่มจากการ วิ เ คราะห ห ลั ก สู ต รเนื้ อ หาและระยะเวลาที่ ใ ช ใ นการ ฝกอบรม กอนที่จะมาสรางเปนชุดฝกอบรม ซึ่งดําเนินตาม ขั้นตอนการสรางชุดการเรียนของคารดาเรลลี่ (Cardarelli. 1973: 150 ) ชั ย ยงค พรหมวงศ . (2523: 120) และกิ ดานั น ท มลิ ท อง (2531: 18) โดยยผู วิ จั ย แบ ง เนื้ อ หา ออกเปนชุด ๆ จํานวน 6 ชุด ใหผูเขารับการฝกอบรม ได เรียนรูเปนตอนซึ่งจะทําใหผูเรียนสามารถรับรูไดดีกวาการ ใหความรูแกผูเรียนครั้งละมาก ๆ (นิพนธ ศุขปรีดี. 2531: 24) 2. จากผลการทดลองพบวา ผลสัมฤทธิ์หลังการ ฝกอบรมสูงกวากอนการฝกอบรม อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาผูเขารับการฝกอบรมมีความ พอใจ มีความพรอมในการที่จะเรียนดวยชุดฝกอบรมการ เรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเอง ซึ่ ง จากการวิ เ คราะห ร ะดั บ คุ ณ ลั ก ษณะการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเองโดยรวมทุ ก องคประกอบอยูในระดับมาก ซึ่งผูเขารับการฝกอบรมเปน ผูใหญที่ทํางานแลว จึงมีความพรอมในดานวุฒิภาวะ มี ความรั บ ผิ ด ชอบต อ ตนเองสามารถที่ จ ะควบคุ ม และนํ า ตนเองไดโดยไมตองพึ่งคนอื่น ซึ่งเปนไปตามทฤษฎีแอนด รากอจี้ ที่โนลส (Knowles. 1976: 48) กอรปกับชุด ฝกอบรมการเรียนรูดว ยการนําตนเองมีการเตรียมสาระ อยางตอเนื่อง เชื่อมโยง มีภาพประกอบ ตลอดจนกิจกรรม ที่ใหผูเขารับการฝกอบรมไดปฏิบัติ ลักษณะดังกลาวเปน จุดเดนของชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง ที่ทํา ใหผูเขารับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูและเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไดตามแนวคิดของนักการศึกษาหลายคน อาทิ เวอรเธอรและเดวิส (Werther and Davis. 1981: 185) เดสสเลอร (Dessler. 1982: 272) ฮอลโลแรน (Holloran. 1983: 337) สเตียรส (Steers. 1984: 287) แวนเดอรซอล (Van Dersal. 1971: 114) โนลส (Knowles. 1978: 123) ฮุสตัน (Houston. 1972: 10-15) เปนตน แสดงใหเห็นวา ชุ ด ฝ ก อบรมการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเองที่ ผู วิ จั ย ได พัฒนาขึ้นสามารถที่จะใชเปนสื่อสําหรับการฝกอบรมได


128

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

เป น อย า งดี เพราะหลั ง จากที่ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมได ศึ ก ษา เนื้อหาสาระและทํากิจกรรมรวมถึงไดรวมพบกลุมเพื่อเรียนรู จากแหลงความรูบุคคลแลวระยะหนึ่งและไดทําแบบทดสอบ เพื่อวัดผลหลังการฝกอบรม ปรากฏวาผลการทดสอบหลังการ ฝกอบรมจากชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเองสูงกวา กอนการฝกอบรมซึ่งเทากับวา ผูเขารับ การฝกอบรมเกิดการ เรียนรูขึ้นจากการฝกอบรมผานชุดฝกอบรมดังกลาว ดังนั้น ชุด ฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเองเรื่องแนวทางในการผลิต อาหารตามหลั ก เกณฑ วิ ธี ก ารที่ ดี เ ป น สื่ อ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สามารถนําไปใชกับบุคลากรที่ตองการใหเกิดการเรียนรู ในเรื่อง แนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดีได 3. จากการเปรียบเทียบผลการเรียนรูเรื่องแนวทางการ ผลิ ต อาหารตามหลั ก เกณฑ วิ ธี ก ารที่ ดี พ บว า ผู เ ข า รั บ การ ฝกอบรมที่มีระดับคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองใน ระดั บ ต า งกั น จะมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการฝ ก อบรมที่ ตา งกั น ด ว ย จากผลการวิเคราะหขอมูลทําใหพบวา ผูเขารับการฝกอบรมที่มี ระดับคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองในระดับมาก มี ผลสัม ฤทธิ์ท างการฝ ก อบรมสูงกว า ผูเข า รับ การฝกอบรมที่ มี ระดับคุณ ลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองในระดับปาน กลาง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงใหเห็นวาผูที่มีระดับการ เรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเองสู ง จะเรี ย นรู ชุ ด ฝ ก อบรมการเรี ย นรู ชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเองเรื่องแนวทางการผลิต อาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ดีไดดีกวาผูเขารับการฝกอบรมที่ มีลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองต่ํา จากงานวิจัยที่ผาน มา ผูวิจัยสวนใหญจะทําการศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะ การเรียนรูดวยการนําตนเองตามผลการศึกษาเพื่อทดสอบวา ผู เ รี ย นที่ มี ผ ลการศึ ก ษาต า งกั น มี คุ ณ ลั ก ษณะการเรี ย นรู แตกตางกันหรือไม ซึ่งผลการวิจัยพบวาผูเรียนที่มีผลการเรียน ต า งกั น มี ลั ก ษณะการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเองโดยรวมมี ท้ั ง แตกตางและไมแตกตางกัน เชน นรินทร บุญชู พบวา นักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหงที่มีผลการเรียนตางกัน มีลักษณะการ เรียนรูดวยการนําตนเองตางกัน และบอกซ (Box) คะแนนเฉลี่ย สะสมมีความสัมพันธกับคะแนนลักษณะการเรียนรูดวยการนํา ตนเอง สวนเสงี่ ยมจิตร เรือ งมณีชัช วาล (2543: 87) พบว า นั ก ศึ ก ษาผู ใ หญ สายสามั ญ วิ ธี เ รี ย นทางไกลมี ผ ลการเรี ย น ตางกัน มีลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองทั้งโดยรวมและ

ในรายองคประกอบไมแตกตางกัน และสิริรัตน สัมพันธ ยุ ท ธ (2540: 100)พบว า นั ก ศึ ก ษาในระบบการศึ ก ษา ทางไกลมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่มีผลการศึกษา ตา งกัน มี ลัก ษณะการเรีย นรูด ว ยการนํ า ตนเองโดยรวม แตกต า งกั น เช น กั น ส ว นการวิ จั ย ในครั้ ง นี้ เ ป น การ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรม ของผูเขารับการ ฝกอบรมที่มีระดับคุณลักษณะการเรียนรูดวยกานําตนเอง ต า งกั น พบว า ผู ที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเองสู ง จะมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นสู ง ด ว ยเช น กั น ดังนั้นเราควรจะพัฒนาคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนํา ตนเองของผูที่จะเขารับการฝกอบรมโดยใชชุดฝกอบรมการ เรียนรูดวยการนําตนเองของผูที่จะเขารับการฝกอบรมโดย ใชชุดฝกอบรมการเรียนรู ดวยการนําตนเอง ชุดดังกลา ว เพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมสูงขึ้น 4. จากการศึ ก ษาวิ จั ย โดยให ผู เ ข า รั บ การ ฝ ก อบรมจากชุ ด ฝ ก อบรมการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเอง ดังกลา ว พบวา ระดับคุณ ลักษณะการเรียนรูดวยการนํา ตนเอง หลังจากการฝกอบรมจากชุดฝกอบรมการเรียนรู ด ว ยการนํ า ตนเอง สู ง กว า ก อ นการฝ ก อบรมจากชุ ด ฝกอบรมการเรียนรูดว ยการนําตนเอง อยางมีนัยสํา คัญ ทางสถิติ ทั้งนี้การฝกอบรมจากชุดฝกอบรมการเรียนรูดวย การนําตนเองซึ่งเปนสื่อการสอนแบบผสม ทําใหผูเขารับ การฝกอบรม จะตองคิดคนวิธีเรียนแบใหม ๆ ที่ไมใชวิธีเดิม ๆ ที่เคยปฏิบัติมา คุณลักษณะดานความคิดริเริ่มและมี อิสระในการเรียน และการเชื่อมั่นวาตนเองเปนผูเรียนที่ดี ได ซึ่งเปนองคประกอบสําคัญของคุณลักษณะการเรียนรู ด ว ยการนํ า ตนเองของผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรม (Knowles. 1976: 48) และเมื่อผูเขารับการฝกอบรมไดเรียนจากชุด ฝ ก อบรมการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเองนี้ แ ล ว เกิ ด ความคุนเคยกับวิธีการในลักษณะนี้ จึงอาจเปนสาเหตุที่ทํา ใหคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองของผูเขารับ การฝกอบรมสูงขึ้นกวากอนรับการฝกอบรมซึ่งสอดคลอง กับทัศนะของ สิริรัตน สัมพันธยุทธ (2540: 101) ที่ไดระบุ วาผูที่มีทักษะในดานการฟง การอาน การเขียน และการจํา มากกวาจะเปนสาเหตุที่ทําใหลักษณะการเรียนรูดวยการ นําตนเองตางกัน แสดงใหเห็น วา ชุดฝกอบรมการเรียนรู


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ด ว ยการนํ า ตนเองเรื่ อ งแนวทางในการผลิ ต อาหารตาม หลักเกณฑวิธีการทีดี ที่ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้นเปนสื่อที่ทําใหผูเขา รับการฝกอบรมดวยชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเองดังกลาว มี การเปลี่ ย นแปลงระดั บ คุ ณ ลั ก ษณะการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเองเพิ่มขึ้น ดังนั้นหากผูเขารับการอบรมหรือบุคลากรทั่วไป ไดรับการฝกอบรมจากชุดฝกอบรมในรูปแบบการเรียนรูดวย การนํ า ตนเอง จะทํ า ให มี ค วามเข า ใจและมี ก ารปรั บ เปลี่ ย น คุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองใหสูงขึ้นได สรุป จากการศึกษาพัฒนาชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการ นําตนเองเรื่องแนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑวิธีการที่ ดี โดยในการวิจัยมีการวัดคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนํา ตนเองกอนมีการจัดฝกอบรมใหความรูใดๆ แกกลุมตัวอยางผู เขา รับ การอบรมซึ่ง เป น พนั ก งานที่อ ยูใ นชว งทํ า งานหรือ เป น จัดเปนผูใหญในวัยทํางาน พบขอสังเกตวา ผูเขารับการอบรมมี คาเฉลี่ยลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองอยูใน ระดับมาก ซึ่งผลจากการวัดชี้ใ หเห็น วา ผูใ หญใ นช ว งวัยทํา งานมีค วาม พรอมในลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเอง อีกทั้งเมื่อทําการ ทดลองใชชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเองกับกลุมผูเขา รับการอบรมนี้แลวปรากฏผลวา คาเฉลี่ยลักษณะการเรียนรู ดวยการนําตนเอง ของผูเขารับการฝกอบรมสูงขึ้น จากขอมูล สถิติที่คนพบดังกลาว ในการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนที่ เปนวัยผูใหญ อาจจัดในรูปแบบ ดังนี้ 1. การจัดการเรียนรูหรือการฝกอบรมใหกับบุคคลใน องคกรซึ่งถือวาเปนผูใหญในวัยทํางาน สามารถที่จะปรับวิธีการ พัฒนาการเรียนรูของผูใหญจากวิธีการที่กําหนดใหมาเขารับ การฝกอบรมในหองเรียนมาเปนวิธีการใชชุดฝกอบรมที่สรางขึ้น ใหเหมาะสมสอดคลองกับเปาหมายของการฝกอบรมและให ผูใหญนําไปใชในการเรียนรูดวยตนเอง ทั้งนี้เนื่องจากผูใหญมี ความพรอมในดานการที่จะเรียนรูดวยตนเองและยังเปนการ ชวยใหบุคลากรสามารถที่จะใชเวลาวางที่เหมาะสมของแตละ คนมาพั ฒ นาการเรี ย นรู ข องตนเองโดยไม เ สี ย เวลาจากการ ทํางานปกติ 2. หนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียน การสอนหรื อ การศึ ก ษา ไม ว า จะเป น หน ว ยงานของรั ฐ หรื อ เอกชน หรือแมแตสถานประกอบการเอง ควรจะมีการสงเสริม

129

และพั ฒ นาใหบุ ค ลากรมี ลัก ษณะการเรี ย นรู ด ว ยการนํ า ตนเองมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้จะชวยใหบุคลากร มีความพรอมที่ จะศึ ก ษาเรี ย นรู ได ใ นทั น ที แ ละมี ก ารพั ฒ นาตนเองอยู ตลอดเวลา 3. จากการวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยพบวา ผูเขารับการ อบรมซึ่งเปนกลุมตัวอยางใหความสนใจในการแลกเปลี่ยน ความรูเปนอยางดีในชวงของการพบกลุม ซึ่งเปนกิจกรรมที่ กําหนดไวชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเอง ดังนั้น การจัดการเรียนรูในรูปแบบของการใชชุดฝกอบรมจึงนาจะ มีการใหความสําคัญกิจกรรมตาง ๆ ที่จะกระตุนใหผูเรียน ไดมีสวนรวมในกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกัน ซึ่งถือไดวาเปนแหลงการเรียนรูบุคคลที่สําคัญแหลงหนึ่ง 4. การจัดการเรียนการสอนอาจจะทําการวัด คุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองของผูที่จะเขารับ การฝกอบรม ทั้งนี้เพื่อใหผูที่ทําหนาที่เปนวิทยากร ผูสอน หรือผูอํานวยความสะดวกไดทราบถึงระดับคุณลักษณะ การเรียนรูดวยการนําตนเองของผูรับการฝกอบรมแตละ บุคคลและนํามาเปนขอมูลในการเอื้ออํานวยการเรียนรูได อยางเหมาะสมกับบุคคลโดยเฉพาะกระตุนและสงเสริมให บุคคลเกิดคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองสูงขึ้นตอไป กลาวโดยสรุปคือ ชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการ นํา ตนเองเรื่อ ง แนวทางการผลิต อาหารตามหลั กเกณฑ วิธีการที่ดี ที่ผูวิจัยสรางขึ้นเปนสื่อที่มีประสิทธิภาพ ที่จะ ก อ ให เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการฝ ก อบรม เมื่ อ ได รั บ การ ฝ ก อบรมจากชุ ด ฝ ก อบรมจากชุ ด ฝ ก อบรมดั ง กล า ว โดยเฉพาะผูที่มีคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองใน ระดับสูง จะสงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมสูงไปดวย นอกจากนี้ชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการนําตนเองนี้ ยัง เปนสื่อที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีคุณลักษณะการเรียนรู ดวยการนําตนเองสูงขึ้นหลังจากผานการฝกอบรม ผูวิจัยจึงคาดวา ชุดฝกอบรมการเรียนรูดวยการ นําตนเอง เรื่องแนวทางในการผลิตอาหารตามหลักเกณฑ วิธีการที่ดี จะเปนสื่อที่ไดรับความนิยมเพื่อใชจัดฝกอบรม ใหแกบุคลากรที่เกี่ยวของกับงานผลิตอาหารของหนวยงาน ตาง ๆ ทั้งในปจจุบันและอนาคตตอไป


130

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

บรรณานุกรม ชัยยงค พรหมวงศ. (2525). การประเมินผลสื่อการสอน. เอกสารการสอนชุดวิชาสื่อการสอนระดับ มัธยมศึกษา หนวยที่1115. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพสามเจริญพานิช. -------------. (2523). นวัตกรรมการศึกษา. ในเอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีและสื่อ การศึกษา. หนวยที่ 11-15, หนา 12-13. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. ชาญชัย อาจินสมาจาร. การฝกอบรมและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล. กรุงเทพมหานคร: มปป. สํานักพิมพสายใจ. นรินทร บุญชู. (2532). ลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง. วิทยานิพนธ ศศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. ถายเอกสาร. สมคิด อิสระวัฒน. (2532, สิงหาคม). “การเรียนรูดวยตนเอง,”วารสารการศึกษานอกโรงเรียน. -------------. (2538). ลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองของคนไทย. รายงานการวิจัย กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล. ถายเอกสาร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ. (2524). แบบเรียนดวยตนเอง. สงขลา: โรงพิมพศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคใต. -------------. (2543). เทคนิคการสอนแนวใหม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. สิริรัตน สัมพันธยุทธ. (2540). ลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองของนักศึกษาในระบบการศึกษาทางไกล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาผูใหญ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. สุวัฒน วัฒนวงศ. (2538). จิตวิทยาการเรียนรูวัยผูใหญ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพโอเดียน สโตร. -------------. (2546). การเรียนรูดวยการนําตนเองของผูเรียนการศึกษาตอเนื่องสายอาชีพ. วิทยานิพนธ ศศ.ด. (อาชีวศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร . ถายเอกสาร. เสงี่ยมจิตร เรืองมณีชัชวาล. (2543). ลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองของนักศึกษาผูใหญสายสามัญวิธีการเรียน ทางไกลระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาผูใหญ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. เสาวนีย เลวัลย. (2536). การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาผูใหญและการศึกษานอกระบบโรงเรียน. กรุงเทพฯ: คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อรพรรณ พรสีมา. (2530). บทเรียนดวยตนเอง. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. อุนตา นพคุณ. (2527). การเรียนการสอนผูใหญเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ. Box, Barbara. Jean. “Self-Directed Learning Readiness of Students And Graduates of an Associate Degree Nursing,” Dissertation Abstracts International. 43(03): 1886 - A ; September, 1983. Brookfiel, Steven. (1984). “Self-Directed Adult Learning A Critical Program.” P.59-71. Adult Education Quarterly. Browley, Oletha Daniels. (1975, January). A Study to Evaluation the Effect of Using Multimedia Instructional Modules to Teach Time-Telling to Retarded Learners. Dissertation Abstracts International. 35(7): .4280-A.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

131

Burge, E.J. and C.C. Frewin. (1985). “self- directed Learning in Distance Learning,” In The International Encyclopedia of Education. Great Britain: Aweaton & Co.,Ltd. Calabreace, Paula Ann. (1982, May). The Design, Development and Validation of Two Audio-Visual in Service Training Modules for Broads of Schools Directions: Cognitive Appraisal. Dissertation Abstracts International. 43(1): 27-A. Cardarelli, Sally M. (1973). Individualized Instruction Programed and Material. New York : Englewood Cliffs. Dodds, Harold W. (1962). The Acadimic President : Educator or Caretaker. New York: McGraw Hill Book company. Espich , James E. and Bill Williams. (1967). Developing Programmed Instructional Materials. New York: Siegler Inc., Guglielmino, Lucy Medsen. (1977). Development of the Self-Directed Learning Readiness Scale. Publish Ed.d. Dissertation: University of Georgia. Houston, Robert W. and Others. (1972). Developing Instructional Modules A Modular System for Writing Modules. Houston: Texas College. Of Education, University of Houston, Knowles, Malcolm S. (1979). The Adult Learner : A Neglected species. 2 nd ed.: Houston Gulf Publishing Company. -------------. (1976). The Modern Practice of Education Andragogy Versus Pedagogy. New York: Association Press. -------------. (1978). Self-Directed Learning. A Guide for Learners and Teachers. Chicago: Association Press. Tough, Allen (1979). The Adult ‘ s Learning Projects. Toronto, Ontario: The Ontario Institute for Studies in Education.


132

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

133

การแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงของโครงสราง องคประกอบอันดับหนึ่งและอันดับสูงของแบบ ประเมินการสอนโดยผูเรียนของมารชฉบับภาษาไทย The Validity Evidence of First order and Higher Order Factor Structure of Thai Version of Marsh’s Students’ Evaluation of Educational Quality Ö อนุ เจริญวงศระยับ 1 รองศาสตราจารยนิภา ศรีไพโรจน 2 ผูชว ยศาสตราจารย ดร.องอาจ นัยพัฒน 2

บทคัดยอ แบบประเมินการสอนโดยผูเรียนของมารชเปนเครื่องมือที่ ใชประเมินการสอนของอาจารยระดับ อุดมศึกษาอยางแพรห ลาย เพราะเนื้อหาของแบบประเมินแสดงใหเห็นถึงกระบวนการจัดการ เรียนการสอนไดอยางครอบคลุม จากขอคนพบที่ผานมาแสดงให เห็ น ว า สารสนเทศการประเมิ น ที่ ไ ด จ ากผู เ รี ย นสามารถช ว ยให คณาจารยในสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนใหดี ขึ้น อยางไรก็ตามการนําแบบประเมินการสอนโดยผูเรียนของมาร ชมาใชในแตละบริบทของสังคมควรตองมีการแสดงหลักฐานกอนวา แบบประเมิ น นั้ น มี ค วามเที่ ย งตรงหรื อ ไม เ มื่ อ นํ า มาใช ใ นบริ บ ทที่ เปลี่ยนไป การแสดงคุณลักษณะที่ดีของแบบประเมินการสอนโดย ผู เ รี ย นของมาร ช ได มี ก ารศึ ก ษามาเป น อย า งดี ใ นหลายประเทศ อยางไรก็ตามในวัฒนธรรมไทยยัง ไมมีศึกษาเชิงประจักษวา แบบ ประเมิน การสอนโดยผูเรีย นของมารชสามารถนํา มาใชไ ดอ ยา งมี ความเที่ยงตรง วัตถุประสงคในการวิจัยครั้งนี้เปนการแสดงหลักฐาน ความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางองคประกอบของแบบประเมินการสอน

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2 อาจารยประจําภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

1


134

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

โดยผู เ รี ย นของมาร ช ทั้ ง องค ป ระกอบอั น ดั บ หนึ่ ง จํ า นวน 9 องคประกอบ องคประกอบอันดับสองจํานวน 2 โมเดลคือ โมเดล 2 องคประกอบ และโมเดล 4 องคประกอบ และ องคประกอบอันดับสามโมเดล 1 องคประกอบ ผูใหขอมูลในการศึกษาเปนผูเรียนระดับอุดมศึกษา จํานวน 6,432 คน จาก 2 มหาวิทยาลัย เปนผูเรียนใน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒรอยละ 59.81 และผูเรียนใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรรอยละ 40.19 ผลการวิจัยพบวา องคประกอบอันดับหนึ่งโมเดล 9 องคประกอบ องคประกอบอันดับสองโมเดล 2 องคประกอบ และโมเดล 4 องคประกอบ และองคประกอบอันดับสามโมเดล ภาพรวมการประเมินการสอน มีความกลมกลืนกับขอมูลเชิง ประจักษในระดับดี นอกจากนี้พบวาสัมประสิทธิ์องคประกอบ และค า R 2 ของแต ล ะตั ว บ ง ชี้ มี ค วามเที่ ย งตรงเชิ ง ลู เ ข า ใน องคประกอบแตละองคประกอบ ยกเวนตัวบงชี้จํานวนชั่วโมง ตอสัปดาหที่ศึกษานอกชั้นเรียนเทานั้นที่มีความเที่ยงตรงเชิงลู เขาในระดับต่ํา The Validity Evidence of First order and Higher Order Factor Structure of Thai Version of Marsh’s Students’ Evaluation of Educational Quality ABSTRACT Marsh’s Students’ Evaluation of Educational Quality (SEEQ) is well known objective instrument to teacher evaluation practice in higher education institutions because of its multi-factor that represent the whole process of class room matters. Past findings showed that the student evaluation feedback information can help the faculty improve their teaching behaviors. Before using SEEQ in each culture, the researcher should show its validity evidence. SEEQ psychometric properties were well done in western countries and some parts of eastern countries. Anyway, in Thai culture, there is still no evidence to show that SEEQ can be used in Thai society. The purpose of this research was to show evidence of factorial validity of the Thai version of SEEQ, a tradition 9 first order factors model, two second order

2-factors and 4-factors models, and two third order 1-factor models of teacher evaluation in higher education model were proposed to test their construct validity. The participants was 6,432 undergraduate students from two universities (59.81% Srinakharinwirot University, 40.19% Kasetsart University) The results revealed that the first order factors model, the second order 2-factors model and4-factors models, and the third order 1-factor models based on second order 2-factors and 4factors models were fitted well with the empirical data. Factor loadings and R 2 of each indicator in each factor showed the convergent validity of each indicator with its factor but only hours per week studied outside class was not. ความสําคัญและความเปนมาของปญหา ภ า ร กิ จ ห ลั ก ข อ ง ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ไ ท ย ประกอบดวย การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการ วิชาการแกสังคมและการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ภารกิจ ด า นการจั ด การเรี ย นการสอน เป นภารกิ จหลั กที่ สํ าคั ญ ประการหนึ่ ง และมี ผ ลกระทบต อ สั ง คมไทยในวงกว า ง เนื่ องจากการสอนในระดั บ อุ ด มศึ ก ษามี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ สรางคนดี อยูในสังคมไดอยางปกติสุข และเตรียมความ พรอมในการประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อ ผลิต บุค ลากรเพื ่อ รับ ใช สั ง คมจึ ง ต อ งกระทํ า อย า งเป น กระบวนการ มี ก ารวางแผนที่ ดี มี ก ารดํ า เนิ น การที่ มี ประสิทธิภาพ และมีการประเมินเพื่อปรับปรุงแกไขจุดที่ บกพรองเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอน การประเมิ นเป นกระบวนการตัดสิ นคุ ณค าจาก ขอมูลที่รวบรวมมาอยางเปนระบบ โดยขอมูลที่ใชในการ ตัดสินคุณคาสามารถเปนไดทั้งขอมูลที่ไดจากการวัดและ ขอมูลที่ไมใชการวัด (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2543: 6) แหลงขอมูลในการประเมินการสอนควรมาจากหลายแหลง และมีวิธีการเก็บรวบรวมที่หลากหลาย เพื่อเปนการยืนยัน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ความเที่ยงตรงของการประเมิน (Stake, 1989:14) แหลงขอมูล หนึ่งที่ไดรับความนิยมในการประเมินการสอนของอาจารย คือ การประเมิ น การสอนโดยผู เ รี ย นเนื่ อ งจากผู เ รี ย นเป น ลู ก ค า โดยตรงของการสอนไดรับประสบการณการเรียนรูโดยตรงจาก อาจารย (Hativa, 2000: 336-337) นอกจากนี้การประเมินโดย ผูเรียนยังเปนวิธีการที่สะดวกและจําเปนตอการพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอนอีกดวย (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2543: 11) วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการประเมินการสอน ของอาจารย โ ดยผู เ รี ย นที่ นิ ย มใช กั น มากคื อ ผู เ รี ย นให ร ะดั บ คุณภาพการสอนของอาจารย วิธีการดังกลาวคุณภาพของการ วั ด อยู ที่ เนื้ อ หาที่ ใ ช วั ด ว า ครอบคลุ ม พฤติ ก รรมการสอนที่ พึ ง ประสงคของอาจารยมากนอยเพียงใด (Marsh, 1987) ในทัศนะ ของมารชเห็นวาเนื้อหาการประเมินการสอนควรมีหลายมิติ เชน อาจารยที่มีการเตรียมการสอนที่ดีอาจจะไมใชอาจารยที่สามารถ กระตุ น ผู เ รี ย นให มี ค วามสนใจในการเรี ย นก็ ไ ด การมี องคประกอบหลายมิติ จะใหสารสนเทศที่ตอบสนองวัตถุประสงค การประเมินการสอนกับผูที่เกี่ยวของไดหลากหลายมากกวา เชน ผลการประเมินมิติตาง ๆ ดานกระบวนการจัดการเรียนการสอน สามารถนําผลการประเมินมาปรับปรุงพฤติ กรรมการสอนของ อาจารย ผลการประเมินสิ่งที่ผูเรียนไดเรียนรูจากรายวิชาสามารถ นําผลการประเมินมาใชในการตัดสินใจเลือกเรียนรายวิชาของ ผูเรียน ใชขอมูลในการพิจารณาเลื่อนขั้นแกอาจารยไดอยางมี ประสิทธิผล และจากผลการวิจัยเกี่ยวกับความเที่ยงตรงของ แบบประเมินการสอนโดยผูเรียนที่คูลิค (Kulik, 2001) ได สั งเคราะห ความสั มพั นธ ระหว างวิ ธี การประเมิ นการสอนโดย ผูเรียนกับวิธีการสอนโดยแหลงขอมูลอื่นๆ จากงานวิจัยที่ผานมา พบวา ผลการประเมินการสอนโดยผูเรียนมีความสัมพันธเชิงบวก กับเกณฑหลายๆ เกณฑ ไดแก ผลการเรียนและขอสังเกตของ ผูเรียน การประเมินจากผูสังเกตที่ไดรับการฝกมาอยางดี การ ประเมินโดยศิษยเกา เปนตน ดังนั้นกลาวไดวาสารสนเทศจาก การประเมินการสอนโดยผูเรียนที่มีคุณภาพและมีหลากหลายมิติ เปนตัวแทนที่ดีในการประเมินการสอน ในป ค.ศ. 1982 มารช (Marsh, 1982) ไดทําการ พั ฒ น า แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ก า ร ส อ น โ ด ย ผู เ รี ย น ( Students’ Evaluations of Educational Quality (SEEQ)) ลักษณะของ แบบวัด เปนมาตรประเมิน (Rating scale ) 9 ระดับ ตั้งแต ไม

135

เห็นดวยมากที่สุด (ให 1 คะแนน) ถึง เห็นดวยมากที่สุด (ให 9 คะแนน) การทําแบบประเมินเปนการใหนักศึกษาแต ละคนเปนผูใหคะแนนระดับคุณภาพการจัดการเรียนการ สอนผูสอนเปนรายบุคคล ตามขอคําถามที่กําหนดขึ้นซึ่งมี 35 ขอ แบงเปน 9 องคประกอบ มารชไดศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพแบบประเมิน SEEQ โดยไดแสดงหลักฐานความ เที่ยงตรงของแบบประเมิน SEEQ ไวอยางหลากหลาย ไดแ กก ารศึก ษาความเที่ยงตรงขา มกลุม (Marsh, & Hocevar, 1984) ความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางโดยการใช การวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจ (Marsh, 1982) การ วิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน (Marsh, & Hocevar, 1984) การวิเคราะหคุณลักษณะหลากวิ ธี ห ลาย (Marsh, 1982) และการศึกษาความเที่ยงตรงเชิง โครงสรางกับผูเรียนที่ใชภาษาอื่นที่ไมใชภาษาอังกฤษ เชน ภาษาสเปน (Marsh, Touron, & Wheeler, 1985; citing Marsh, 1986) และภาษาจีน (Marsh, Hau, Chung, & Siu, 1998) เปนตน โดยผลการวิจัยทุกชิ้นยืนยันความ เที่ยงตรงขององคประกอบของแบบประเมินการสอนทั้ง 9 องคประกอบเปนอยางดี แบบประเมินการสอน SEEQ จึงมี ความนาเชื่อถือในการใหสารสนเทศการประเมินการสอนแก ผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการประเมินการสอนไดเปนอยางดี ซึ่ ง ชี้ ใ ห เ ห็ น ถึ ง คุ ณ ภาพและความเป น สากลของแบบ ประเมิน SEEQ จากการตรวจสอบเอกสารซึ่งพบวาแบบประเมิน SEEQ มีเนื้อหาในการประเมินการสอนที่หลากหลายและมี การศึกษาถึงคุณภาพของแบบประเมินที่หลากหลายในหลาย ประเทศ ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจศึกษาคุณภาพแบบ ประเมิน SEEQ ฉบับภาษาไทย โดยมีคําถามการวิจัยวา เมื่อนําแบบประเมิน SEEQ มาใชในบริบทของสังคมไทย แ ล ว อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ก า ร ส อ น ทั ้ง 9 องคประกอบยังคงมีโครงสรางองคประกอบเดิมอยูในเกณฑ ที่ยอมรับไดหรือไม อยางไรก็ตามการใชประโยชนจากผล การประเมินการสอนควรใหสารสนเทศในหลาย ๆ มุมมอง และเหมาะสมกับผูตองการใชขอมูล สําหรับผูใชขอมูลการ ประเมินการสอนเพื่อการตัดสินใจ เชนฝายบุคลากรของ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา การใช ข อ มู ล สํ า หรั บ การประกั น


136

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

คุ ณ ภาพการศึ ก ษา สารสนเทศที่ ต อ งการไม จํ า เป น ต อ งมี หลากหลายมิติเหมือนกับความตองการใชขอมูลของอาจารย ผู ส อน ดั ง นั้ น ในงานวิ จั ย ครั้ ง นี้ จึ ง เสนอทางเลื อ กของการ นําเสนอผลการประเมินการสอนที่มีจํานวนสารสนเทศที่นอย กวาจากฐานขอมูลองคประกอบ 9 องคประกอบจํานวน เปน โมเดลองคประกอบอันดับสองจํานวน 2 โมเดล ไดแก (1) โมเดลตามแนวคิดการประเมินการสอนของอุทุมพร จามรมาน (2530) ที่เสนอวาสารสนเทศในการประเมินการสอนควร ครอบคลุมเนื้อหาใน 2 มิติ คือ พฤติกรรมการสอน (process) และผลลัพธที่ผูเรียนไดจากการสอน (product) และ (2) โมเดล ที่ปรับปรุงจากผลการวิจัยของมารช (Marsh, 1991) ซึ่งมารช พบวาแบบประเมินการสอน SEEQ สามารถนํามาอธิบายใหม เปนโมเดล 4 องคประกอบ ไดแก ผูนําเสนอ (presenter) ความสัมพันธ (rapport) เนื้อหางาน (material) และภาระงาน (workload) อยางไรก็ตาม อนุ เจริญวงศระยับ (2549) พบวา การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะโมเดล 4 องคประกอบของมารช ถึงแมวาจะมีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษกับบริบท สังคมไทย แตผลการประมาณคาพารามิเตอรมีคาไมเหมาะสม เนื่องมาจากโมเดลของมารชใหองคประกอบอันดับหนึ่งดาน การมอบหมายงาน เปนตัวบงชี้ในองคประกอบอันดับสองถึง 2 องคประกอบ คือ เนื้อหางานและภาระงาน ดังนั้นในการวิจัย ค รั้ ง นี้ ผู วิ จั ย จึ ง กํ า ห น ด คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ใ ห ม ( Respecification) โดยใหองคประกอบอันดับหนึ่งการมอบหมาย งาน (Assignments: AS) เปนตัวบงชี้ขององคประกอบอันดับ สอง ภาระงาน (Workload) เพียงองคประกอบเดียว และให องคประกอบอันดับสองเนื้อหางานมีตัวบงชี้เพียงตัวเดียวคือ การทดสอบ/การให เ กรด (Examination/Grading: EG) หลังจากนั้นจะทําการตรวจสอบวาโมเดลใดในสองโมเดลจะมี ความสอดคลองกับ

ขอมูลเชิงประจักษมากกวากัน เมื่อไดโมเดลองคประกอบ อันดับสองที่กลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษแลวจะทําการ ทดสอบวาองคประกอบอันดับสองสามารถนํามารวมกัน เปน แนวคิ ด การประเมิน การสอนในภาพรวมเปน โมเดล องคประกอบอันดับสามโมเดล 1 องคประกอบไดหรือไม วัตถุประสงคของการวิจัย วัตถุประสงคห ลักของการวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึก ษา ความเที่ ย งตรงของโครงสร า งองค ป ระกอบของแบบ ประเมิ น การสอน SEEQ ฉบั บ ภาษาไทยจํ า นวน 9 องคป ระกอบ และเสนอองคประกอบทางเลือ กที่ไ ดจ าก พื้นฐานวาโครงสรางองคประกอบ9 องคประกอบเปน องคประกอบอันดับสอง และองคประกอบอันดับสาม โดย มีวัตถุประสงคยอยดังนี้ 1. เพื่ อ แสดงหลั ก ฐานความเที่ ย งตรงเชิ ง โครงสรางองคประกอบอันดับหนึ่ง โมเดล 9 องคประกอบ 2. เพื่ อ แสดงหลั ก ฐานความเที่ ย งตรงเชิ ง โครงสรางองคประกอบอันดับสอง โมเดล 2 องคประกอบ ไ ด แ ก ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ผ ล ลั พ ธ แ ล ะ โ ม เ ด ล 4 องคประกอบ ไดแก ผูนําเสนอ ความสัมพันธ เนื้อหางาน และภาระงาน 3. เพื่ อ แสดงหลั ก ฐานความเที่ ย งตรงเชิ ง โครงสรางองคประกอบอันดับสาม โมเดล 1 องคประกอบ ภาพรวมของการประเมินการสอน 4. เพื่อแสดงเปรียบเทียบความสอดคลองกับ ข อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ ข องโมเดลองค ป ระกอบอั น ดั บ สอง ระหวางโมเดล 2 องคประกอบ ไดแก กระบวนการ และ ผลลัพธ และโมเดล 4 องคประกอบ ไดแก ผูนําเสนอ ความสัมพันธ เนื้อหางาน และภาระงาน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 โมเดลสมมติฐานการวิจัย

โมเดลองคประกอบอันดับหนึ่ง

โมเดลองคประกอบอันดับสอง: 2 องคประกอบ

โมเดลองคประกอบอันดับสาม: ฐาน 2 องคประกอบ

137


138

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

โมเดลองคประกอบอันดับสอง: 4 องคประกอบ

โมเดลองคประกอบอันดับสาม: ฐาน 4 องคประกอบ

ภาพประกอบ 1 แสดงโมเดลสมมติฐานของการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย (Individual Rapport: IR) (6) ความลุมลึกในเนื้อหาการ ประชากรในการวิจัย เปนผูเรียนระดับปริญญาตรี สอน (Breadth of Coverage: BC) (7) การทดสอบ/การให ภาคการศึก ษาที่ 1 และ 2 ป ก ารศึ ก ษา 2547 เกรด (Examination/Grading: EG) (8) การมอบหมาย มหาวิท ยาลัย เกษตรศาสตร และมหาวิท ยาลัย ศรีน ครินทรวิ งาน (Assignments: AS) และ (9) ปริมาณงาน/ความยาก โรฒ (Workload/Difficulty: WD) กลุ ม ตัว อยา งที่ใชในการวิ จั ย เปน ผูเรีย นระดับ ขั้นตอนการพัฒนาเครื่องมือ ผูวิจัยทําการ ปริญญาตรี ภาคการศึก ษาที่ 1และ 2 ปการศึกษา 2547 แปลแบบประเมิน SEEQ ฉบับภาษาอังกฤษเปนภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และมหาวิ ทยาลั ยศรี นคริ นทรวิ โรฒ และทํ า การตรวจสอบความถู ก ต อ งของการแปลโดยให จํานวน 6,432 คน (59.81% มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ผูเชี่ยวชาญดานภาษาอังกฤษจํานวน 2 ทาน ตอจากนั้น 40.19% มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร) ใหผูเชี่ยวชาญอีก 2 ทานแปลแบบประเมินการสอน SEEQ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เปนแบบประเมินระดับ ที่ผานการปรับปรุงแลวเปนภาษาอังกฤษอีกครั้ง แลวนํา คุณภาพการจัดการเรียนการสอน 9 ระดับ ตั้งแต ไมเห็นดวย ข อ ความภาษาอั ง กฤษฉบั บ ดั้ ง เดิ ม และฉบั บ แปลมา ที่สุด (1) ถึง เห็นดวยมากที่สุด (9) หากขอความใดผูเรียนไมมี เปรียบเทียบกัน ซึ่งพบวาใจความของทั้งสองฉบับมีความ ขอมูล ใหใส (0) จํานวนขอความทั้งหมด 35 ขอความ แบงเปน ใกลเคียงกัน และยังคงความหมายเดิมไวอยางครบถวน 9 องคประกอบไดแก (1) การเรียนรู/คุณคา (Learning/Value: ตอจากนั้นผูวิจัยนําแบบประเมินการสอน SEEQ มา LV) (2) ความกระตือรือรน (Enthusiasm: EN) (3) การ ทดลองใชกับนิสิตจํานวน 10 คน เพื่อตรวจสอบความ เตรียมการสอน (Organization: OR) (4) ปฏิสัมพันธภายใน เขาใจของขอความ ผลการทดลองพบวานิสิตทุกคนมีความ กลุม (Group Interaction: GI) (5) ความเอาใจใสตอผูเรียน เขาใจขอคําถามและสามารถประเมินการสอนของอาจารย


139

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ไดอยางถูกตองแตมีการปรับภาษาที่คอนขางยืดเยื้อเล็กนอย และนําแบบประเมินการสอน SEEQ ที่ผานการปรับปรุงมาใช ในการตอบสมมติฐานการวิจัย การเก็ บ รวบรวมข อ มู ล ผู วิ จั ย ทํ า การติ ด ต อ กั บ คณะ/ภาควิชาที่เปนกลุมตัวอยาง โดยใหเจาหนาที่ของคณะ/ ภาควิชา เปนผูเก็บรวบรวมขอมูล โดยที่เจาหนาที่ทําการแจก แบบประเมิ น ให กั บ นั ก ศึ ก ษาตอนท า ยภาคการศึ ก ษาเป น รายบุ ค คล นั ก ศึ ก ษาแต ล ะคนทํ า การประเมิ น คุ ณ ภาพการ จัดการเรียนการสอนของอาจารยแตละทานในแตละรายวิชา ตามขอคําถามที่กําหนดไวจํานวน 35 ขอ การวิ เ คราะห ข อ มู ล ผลการวิ เ คราะห ข อ มู ล ที่ หลักฐานแสดงความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางองคประกอบของ โมเดลสมมติฐานในการวิจัยครั้งนี้ประกอบดวยหลักฐาน 3 กลุม คือ (1) การแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงเชิงโครงสราง ในภาพรวม ใช ก ารประเมิ น ความความสอดคล อ งกลมกลื น ระหวางโมเดลสมมติฐานกับขอมูลเชิงประจักษใชการวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยัน ใชวิธีการประมาณคาแบบ Weighted Least Square ขอมูลนําเขาใช Polychoric Correlation และ Asymtotic Covariance Matrix ดัชนีและเกณฑที่ใชในการ ประเมินความสอดคลองกลมกลืนระหวางโมเดลสมมติฐานกับ ขอมูลเชิงประจักษใชคา Chi-square ที่ไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05, GFI สูงกวา .95, AGFI สูงกวา .95, RMSEA พรอมกับ ชวงความเชื่อมั่น ต่ํากวา .06, CFI สูงกวา .95, NNFI สูงกวา .95

(2) การแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงเชิงลูเขา ใช ก ารประเมิ น ค า พารามิ เ ตอร คื อ พิ จ ารณาจากค า สัมประสิทธิ์องคประกอบในรูปคะแนนดิบมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ขนาดสัมประสิทธิ์องคประกอบในรูป คะแนนมาตรฐาน ของตัวตัวบงชี้ในแตละองคประกอบมี คามากกวา .40 แตไมเกิน 1.0 และความคงที่ของคา องคประกอบรวม พิจารณาจากคา R 2 เขาใกล 1 (3) เปรียบเทียบความสอดคลองกับขอมูลเชิง ประจักษระหวางโมเดลคูแขง ไดแก โมเดลองคประกอบ อันดับสอง 2 องคประกอบ กับโมเดลองคประกอบอันดับ สอง 4 องคประกอบ โดยการทดสอบความแตกตางของ ความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษระหวางโมเดล ใชคา ความแตกตางไคสแควร ( Δχ 2 ) และความแตกตางของ คาองศาอิสระ ( Δdf ) ในการทดสอบความแตกตาง โดย คาความแตกตางไคสแควรมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 หมายถึง โมเดลที่เปนคูแขงขันมีการสอดคลองกับขอมูล เชิงประจักษไมเทาเทียมกัน สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยสามารถสรุปไดดังนี้ 1. ผลการแสดงหลั ก ฐานความเที่ ย งตรงเชิ ง โครงสรางในภาพรวม เปนการตรวจสอบโมเดลสมมติฐาน ว า มี ค วามสอดคล อ งกั บ ข อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ ห รื อ ไม ผลการวิจัยมีดังนี้

ตาราง 1 ผลการประเมินความสอดคลองของโมเดลสมมติฐานกับขอมูลเชิงประจักษ โมเดลสมมติฐาน

Chi-square

องคประกอบอันดับหนึ่ง 5,188.42 (df=524) องคประกอบอันดับสอง: 2 6,457.87 (df=560) องคประกอบ องคประกอบอันดับสอง : 4 5,597.46 (df=544) องคประกอบ องคประกอบอันดับสาม: 6,457,87 (df=560) ฐาน 2 องคประกอบ องคประกอบอันดับสาม: 5,872.66 df=554) ฐาน 4 องคประกอบ

RMSEA (ชวงความเชื่อมั่น) .037 (.036 ถึง .038)

GFI

AGFI

CFI

NNFI

.99

.98

.97

.97

.040 (.040 ถึง .041)

.98

.98

.97

.96

.038 (.037 ถึง .039)

.99

.98

.97

.97

.040 (.040 ถึง .041)

.98

.98

.97

.96

.039 (.038 ถึง .040)

.99

.98

.97

.97


140

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ผลการประเมินโมเดลสมมติฐานกับขอมูลเชิงประจักษพบวา โมเดลสมมติฐานที่เสนอทั้ง 5 โมเดลนอกจากคาไคสแควรที่มี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แลว ดัชนีความกลมกลืนอื่นๆ บงชี้วาโมเดลมีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษทั้งหมด กลาวคือ คา GFI, AGFI, CFI, และ NNFI ในทุกโมเดลมีคา มากกวา .95 และ คา RMSEA รวมทั้งชวงความเชื่อมั่นต่ํา กวา .06 ทุกโมเดล และพบวาองคประกอบอันดับสองโมเดล 4 องค ป ระกอบที่ ป รั บ จากแนวคิ ด ของมาร ช ผลการประมาณ คาพารามิเตอรมีความเหมาะสมทุกคา แสดงถึงหลักฐานความ เที่ยงตรงเชิงโครงสรางของแบบประเมิน ทั้งใน (1) โมเดลอันดับ หนึ่ง 9 องคประกอบของแบบประเมินการสอนของมารชมีความ กลมกลืนกับกลุมตัวอยางผูเรียนไทย สามารถนําแบบประเมิน การสอนซึ่งมีสารสนเทศเกี่ยวกับการสอน 9 มิติ มาใชในการ ประเมินการสอนในบริบทของสังคมไทยไดอยางนาเชื่อถือ (2) องคประกอบทั้ง 9 องคประกอบสามารถนํามารวมกันเปน องค ป ระกอบใหม ต ามแนวทางการประเมิ น การสอนได 2 องคประกอบ คือ องคประกอบดานกระบวนการจัดการเรียน การสอน และผลลั พ ธ ที่ ผู เ รี ย นได รั บ จากการสอนได อ ย า ง นาเชื่อถือ (3) องคประกอบทั้ง 9 องคประกอบสามารถรวมกัน เปนองคประกอบใหมเปน 4 องคประกอบซึ่งปรับปรุงจาก แนวคิ ด ของมาร ช ได อ ย า งน า เชื่ อ ถื อ เช น กั น และ (4) องคประกอบการประเมินการสอนทั้งโมเดลสององคประกอบ และโมเดลสี่ อ งค ป ระกอบสามารถนํ า มารวมกั น เป น องค ป ระกอบรวมคื อ การประเมิ น การสอน (Performance Appraisals) ไดอยางนาเชื่อถือ ผลการทดสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางในระดับ ภาพรวมทั้งโมเดล พบวาทุกโมเดลมีความสอดคลองกับขอมูล เชิ ง ประจั ก ษ ใ นระดั บ ดี แสดงว า โมเดลที่ กํ า หนดขึ้ น มี ค วาม เที่ ย งตรงเชิ ง โครงสร า งในภาพรวม ในลํ า ดั บ ต อ ไป เป น การ พิจารณาความเที่ยงตรงเชิงโครงสราง ของขอคําถามรายขอ โดยพิจารณาถึงความเที่ยงตรงเชิงลูเขาของขอคําถามเปนราย ขอวามีความแปรปรวนรวมกันในการอธิบายความแปรปรวน ขององค ป ระกอบมากน อ ยเพี ย งใด ซึ่ ง พิ จ ารณาจาก คาพารามิเตอรตางๆ ดังนี้ 2. ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค า พ า ร า มิ เ ต อ ร พ บ ว า คาพารามิเตอรทุกดัชนีอยูในเกณฑที่แสดงวาขอคําถามเกือบ

ทุกขอมีความเที่ยงตรงเชิงลูเขากับองคประกอบของตนเอง ไดแก คาสัมประสิทธิ์องคประกอบในรูปคะแนนดิบทุกตัวมี นัยสํ า คั ญทางสถิติที่ร ะดับ .05 คา สัม ประสิท ธิ์ องค ป ระกอบในรู ป คะแนนมาตรฐานเกื อ บทุ ก ค า สู ง กวา .40 และคา R 2 เขาใกล 1 โดยรายละเอี ยดคา สัมประสิทธิ์องคประกอบในรูปคะแนนมาตรฐานและคา R 2 ในแตละโมเดลมีดังนี้ 2.1 โมเดลองคป ระกอบอัน ดับ หนึ่ง มี จํ า นวน 9 องค ป ระกอบ มี ค า พารามิ เ ตอร ดั ง นี้ (1) องค ป ระกอบการเรี ย นรู / คุ ณ ค า มี ค า สั ม ประ สิ ท ธิ์ องคประกอบในรูปคะแนนมาตรฐานระหวาง .84 ถึง .94 คา R 2 ระหวาง .71 ถึง .88 (2) ความกระตือรือรน .88 ถึง .97 คา R 2 .77 ถึง .95 (3) การเตรียมการสอน .92 ถึง .96 คา R 2 .84 ถึง .91 (4) ปฏิสัมพันธภายใน กลุม .94 ถึง .96 คา R 2 .89 ถึง .93 (5) ความเอาใจใส ตอผูเรียน .89 ถึง .97 คา R 2 .80 ถึง .93 (6) ความลุมลึก ในเนื้อหาการสอน .94 ถึง .95 คา R 2 .89 ถึง .90 (7) การทดสอบ/การใหเกรด .95 ถึง .95 คา R 2 .90 ถึง .91 (8) การมอบหมายงาน .94 ถึง .95 คา R 2 .89 ถึง .90 และ (9) ปริมาณงาน/ความยาก .19 ถึง .76 คา R 2 .04 ถึง .58 2.2 โมเดลองค ป ระกอบอัน ดั บ สอง: 2 องคประกอบ คือ (1)กระบวนการ ซึ่งประกอบดวยตัวบงชี้ องคประกอบอันดับหนึ่งจํานวน 8 องคประกอบ คือ ความ กระตือรือรน การเตรียมการสอน ปฏิสัมพันธภายในกลุม ความเอาใจใสตอ ผูเรียน ความลุมลึกในเนื้อหาการสอน การทดสอบ/การใหเกรด การมอบหมายงาน และปริมาณ งาน/ความยาก พบวาคาสัมประสิทธิ์องคประกอบอันดับ สองในรูปคะแนนมาตรฐานอยูระหวาง .43 ถึง 1.0 คา R 2 ระหวาง .18 ถึง .99 และ (2) ผลลัพธประกอบดวย ตัวบงชี้องคประกอบอันดับหนึ่งจํานวน 1 องคประกอบ คือ การเรียนรู/คุณคา เนื่องจากองคประกอบผลลัพธมีตัวบงชี้ เพียง 1 ตัว จึงกําหนดคาสัมประสิทธิ์องคประกอบอันดับ หนึ่ง เปน 1 คา สั มประสิท ธิ์ อ งคป ระกอบเฉพาะของ ขอความเปน 0 และคา R 2 เปน 1 เชนกัน.3 โมเดล องคประกอบอันดับสอง: 4 องคประกอบที่ปรับจากแนวคิด


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 ของมาร ช คื อ (1) ผู นํ า เสนอ ซึ่ ง ประกอบด ว ยตั ว บ ง ชี้ องคประกอบอันดับหนึ่งจํานวน 3 องคประกอบ คือ การเรียนรู/ คุณคา ความกระตือรือรน การเตรียมการสอน และ ความลุม ลึกในเนื้อหาการสอน พบวาคาสัมประสิทธิ์องคประกอบอันดับ สองในรูปคะแนนมาตรฐานอยูระหวาง .98 ถึง .99 คา R 2 ระหวาง .96 ถึง .99 (2) ความสัมพันธ ซึ่งประกอบดวยตัวบงชี้ องคประกอบอันดับหนึ่งจํานวน 2 องคประกอบ คือ ปฏิสัมพันธ ภายในกลุ ม และ ความเอาใจใส พบว า ค า สั ม ประสิ ท ธิ์ องค ป ระกอบอั น ดั บ สองในรู ป คะแนนมาตรฐานเท า กั บ .96 และ .98 ตามลําดับ คา R 2 เทากับ .92 และ .97 ตามลําดับ (3) เนื้อหางาน ซึ่งประกอบดวยตัวบงชี้องคประกอบอันดับหนึ่ง เพี ย งองค ป ระกอบเดี ย วคื อ การทดสอบ/การให เ กรด จึ ง กําหนดคาสัมประสิทธิ์องคประกอบอันดับหนึ่งและสัมประสิทธิ์ องคประกอบอันดับสองเปน 1 คาสัมประสิทธิ์องคประกอบ เฉพาะของขอความเปน 0 และคา R 2 เปน 1 เชนกัน และ (4) ภาระงาน ซึ่ ง ประกอบด ว ยตั ว บ ง ชี้ อ งค ป ระกอบอั น ดั บ หนึ่ ง จํานวน 2 องคประกอบ คือ การมอบหมายงาน และปริมาณ งาน/ความยาก พบวาคาสัมประสิทธิ์องคประกอบอันดับสองใน รูปคะแนนมาตรฐานเทากับ .99 และ .39 ตามลําดับ คา R 2 เทากับ .98 และ .15 ตามลําดับ 2.4 โมเดลองคประกอบอันดับสามองคประกอบ รวมการประเมินการสอน มีจํานวน 2 โมเดล ไดแก (1) โมเดล องคประกอบอันดับสาม ซึ่งมาจากฐานองคประกอบอันดับสอง จํานวน 2 องคประกอบ คือ กระบวนการ และผลลัพธ พบวา กระบวนการค า สั ม ประสิ ท ธิ์ อ งค ป ระกอบอั น ดั บ สามในรู ป คะแนนมาตรฐานเทากับ .97 คา R 2 เทากับ .94 และผลลัพธ กําหนดใหคาสัมประสิทธิ์องคประกอบเปน 1 และคา R 2 เปน 1 และ (2) โมเดลองคประกอบอันดับสาม ซึ่งมาจาหฐาน องคประกอบอันดับสองจํานวน 4 องคประกอบ คือ ผูนําเสนอ ความสัมพันธ เนื้อหางาน และ ภาระงาน พบวา ผูนําเสนอ ความสัมพันธ และภาระงาน คาสัมประสิทธิ์องคประกอบอันดับ สามในรูปคะแนนมาตรฐานเทากับ 1.0, .99, และ .99 ตามลําดับ คา R 2 เทากับ 1.0, .98, และ .99 ตามลําดับ สําหรับเนื้อหางานคาสัมประสิทธิ์องคประกอบอันดับสามในรูป คะแนนมาตรฐานกําหนดใหเปน 1 และคา R 2 เปน 1

141

3. การเปรียบเทียบความสอดคลองกับขอมูล เชิงประจักษระหวางโมเดลอันดับสอง: / องคประกอบ และ โมเดลอันดับสอง: 4 องคประกอบ เพื่อใชเปนเกณฑในการ ตั ด สิ น ใจว า โมเดลทางเลื อ กที่ ผู วิ จั ย เสนอขึ้ น (โมเดล 2 องคประกอบ) เมื่อเปรียบเทียบกับโมเดลที่มารช (Marsh, 1991) โมเดลใดมีความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางในภาพรวม ในบริบทของสังคมไทยมากกวากัน ผลการวิจัยพบวา คา ไคสแควร ใ นโมเดลองค ป ระกอบอั น ดั บ สอง: 4 องคประกอบมีคานอยกวา โดยความแตกตางตางของคา ไคสแควรเทากับ 860.41 และความแตกตางของคาองศา อิสระเทากับ 16 ความแตกตางดังกลาวมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 แสดงวาองคประกอบอันดับสองโมเดล 4 องคประกอบที่ปรับจากโมเดลของมารชมีความกลมกลืน กับขอมูลเชิงประจักษดีกวาองคประกอบอันดับสองโมเดล 2 องคประกอบในบริบทของสังคมไทย อยางไรก็ตามทั้ง สองโมเดลตางก็มีความกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษใน ระดับดีเชนเดียวกัน อภิปรายผลการวิจัย 1. จากผลการวิจัยที่โมเดลองคประกอบอันดับ หนึ่ง 9 องคประกอบมีความสอดคลองกลมกลืนกับขอมูล เชิง ประจักษ แสดงวา ลั ก ษณะความสัมพัน ธ ร ะหวา งตั ว บงชี้สามารถรวมกันอธิบายในมิติใหมได 9 มิติ ไดอยาง นาเชื่อถือ ผลการวิจัยดังกลาวเปนการยืนยันถึงความเปน สากลของแบบประเมินการสอน SEEQ ของมารช ที่ สามารถนํามาใชในบริบทตางๆ ไดอยางกวางขวางรวมทั้ง ในประเทศไทยด ว ย อย า งไรก็ ต ามเพื่ อ เป น การแสดง คุณภาพของแบบประเมินการสอน SEEQ ในรายละเอียด วาตัวบงชี้แตละตัวมีคุณภาพในการอธิบายองคประกอบ แต ล ะตั ว หรื อ ไม ผู วิ จั ย จึ ง ทํ า การแสดงหลั ก ฐานความ เที่ยงตรงเชิงลูเขา โดยดัชนีที่บงบอกถึงคุณภาพของตัว บงชี้ที่ใชอธิบายองคประกอบ พบวาเปนตัวบงชี้ที่ดีในเกือบ ทุ ก องค ป ระกอบยกเว น ตั ว บ ง ชี้ ใ นองค ป ระกอบปริ ม าณ งาน/ความยากพบว า สั ม ประสิ ท ธิ์ อ งค ป ระกอบคะแนน มาตรฐานค อ นข า งต่ํ า กว า สั ม ประสิ ท ธิ์ ข องตั ว บ ง ชี้ ใ น องคประกอบอื่นๆ แตยังผานเกณฑขั้นต่ําที่คาสัมประสิทธิ์ องคประกอบควรสูงกวา .40 ยกเวนขอคําถามสุดทายที่


142

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

ถามถึงจํานวนชั่วโมงตอสัปดาหนอกชั้นเรียน แสดงวาตัวบงชี้นี้ มีความเที่ยงตรงเชิงลูเขาต่ํามากสมควรมีการศึกษาเพิ่มเติมใน อนาคตวาในบริบทสังคมไทยตัวบงชี้นี้เหมาะสมในการใชวัดใน องคประกอบปริมาณงาน/ความยากหรือไม หรือสมควรมีการ ปรั บ ปรุ ง มาตราในการวั ด หรื อ ไม เนื่ อ งจากตามต น ฉบั บ ภาษาอังกฤษ ขอคําถามนี้เปนขอคําถามเดียวที่ไมไดกําหนด มาตราวัดไว เหมือนกับขอคําถามอื่นๆ แตเปนการถามโดยตรง ถึ ง จํ า นวนชั่ ว โมงที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษานอกชั้ น เรี ย น วิ ธี ก ารวั ด ดั ง กล า วอาจจะเป น สาเหตุ ห นึ่ ง ที่ ทํ า ให เ กิ ด ความแปรปรวน ปลอม (spurious variance) ที่ทําใหสัมประสิทธิ์องคประกอบ ของตัวบงชี้นี้มีคาต่ํามากกับกลุมตัวอยางผูเรียนในประเทศไทย ซึ่งอาจเกิดมากจากความคุนเคยในการตอบแบบสอบถามที่ ตางวัฒนธรรม 2. จากการเปรี ย บเที ย บความกลมกลื น ระหว า ง โมเดลองคประกอบอันดับสองระหวางโมเดล 2 องคประกอบ ตามแนวคิ ด ของอุ ทุ ม พร จามรมาน (2530) และ โมเดล 4 องคประกอบ ที่ปรับมาจากแนวคิดของมารช (Marsh, 1991) พบวาโมเดล 4 องคประกอบมีความกลมกลืนกับขอมูลเชิง ประจักษมากกวา ความแตกตางดังกลาวอาจเกิดขึ้นมากจาก การกํา หนดคุณ ลั ก ษณะเฉพาะของโมเดลของทั้ง สองโมเดล กลาวคือในองคประกอบอันดับสองในทั้งสองโมเดล มีตัวบงชี้ที่ เปนองคป ระกอบอันดับ หนึ่งเพียงองคประกอบเดียว โดยใน โมเดล 2 องคประกอบองคประกอบผลลั พ ธมีตัว บงชี้คือ องคประกอบอันดับหนึ่งการเรียนรู/คุณคา ซึ่งมีขอความจํานวน 4 ขอ แตในโมเดล 4 องคประกอบ องคประกอบเนื้อหางานมีตัว บงชี้คือองคประกอบอันดับหนึ่งการทดสอบ/การใหเกรด ซึ่งมี ขอ ความจํานวน 3 ขอความ การกําหนดคา พารามิ เตอร (Constrained) ที่ไมตรงกับลักษณะความแปรปรวนแปรปรวน รวมของขอมูลจะสงผลใหคาไคสแควรเพิ่มขึ้น ในที่นี้จํานวนการ กําหนดพารามิเตอรของโมเดล 2 องคประกอบมีมากกวาโมเดล 4 องคประกอบ ทําใหคาไคสแควรสูงกวา 3. ถึ ง แม จ ากผลการประเมิ น โมเดลจะพบว า องคประกอบอันดับสองจํานวน 2 องคประกอบจะมีความ สอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษนอยกวาโมเดล 4 องคประกอบ แตทั้งสองโมเดลก็มีความกลมกลืน กับ ข อมูลเชิงประจักษใ น ระดับดีเชนเดียวกัน แสดงวาลักษณะความสัมพันธระหวางตัว

แปรแฝงอันดับหนึ่งสามารถรวมกันอธิบายในมิติใหมได 2 มิติ และ 4 มิติไดอยางมีความนาเชื่อถือ ผลการวิจัย ดังกลา วเปน การยืน ยั นเกี่ ยวกับแนวคิดการประเมิน การ สอนของอุทุมพร จามรมาน (2530) และแนวคิดของมารช (1991) นอกจากนี้พบวาโมเดลองคประกอบอันดับสองทั้ง สองโมเดลมีความเที่ยงตรงเชิงลูเขา โดยพบวาคาสัมประ สิทธองคประกอบสวนใหญมีขนาดสัมประสิทธิ์สูงกวา .40 แสดงวาองคประกอบอันดับหนึ่งที่กําหนดใหเปนตัวบงชี้ ขององคประกอบอันดับสองสามารถนํามารวมคะแนนเปน องคประกอบไดอยางมีความหมายและนาเชื่อถือ อยางไรก็ ตามองค ป ระกอบอั น ดั บ หนึ่ ง ปริ ม าณงาน/ความยากมี ขนาดสัมประสิทธิ์คะแนนมาตรฐานที่ต่ํากวาองคประกอบ อั น ดั บ หนึ่ ง อื่ น ๆ ในการอธิ บ ายความแปรปรวนของ องค ป ระกอบในทั้ ง สองโมเดล ซึ่ ง เมื่ อ พิ จ ารณาแล ว สามารถอธิบายไดวา องคประกอบปริมาณ/ความยากเปน องคประกอบที่วัดพฤติกรรมเกี่ยวกับรายวิชาโดยตรง เปน การวัดการรับรูของผูเรียนเกี่ยวกับเนื้อหา ปริมาณงานของ รายวิ ช า ระดั บ การเรี ย นรู ข องผู เ รี ย นในรายวิ ช า ส ว น องคประกอบอื่นๆ จะเปนการรับรูถึงบรรยากาศตางๆ ใน ชั้นเรียน เชน ความเอาใจใสผูเรียน ความสัมพันธระหวาง ครู กั บ ผู เ รี ย น เป น ต น ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ ข อง องคประกอบปริมาณงาน/ความยาก กับองคประกอบอื่นๆ จึงไมเปนเชิงเสนตรง (ซึ่งสงผลใหคาองคประกอบรวมกับ ตั ว บ ง ชี้ อื่ นๆ ใ น ก า ร อ ธิ บ า ย คว า ม แ ป รป ร ว น ข อ ง องค ป ระกอบอั น ดั บ สองด า นกระบวนการมี ค า ต่ํ า ) เนื่องจากเมื่อผูเรียนรับรูวามีภาระงานยิ่งมากจะมีความ สนใจที่จะเรียนมากขึ้น และเมื่อรับรูวารายวิชามีภาระงาน นอยผูเรียนจะไมคอยกระตือรือรนที่จะเรียน อยางไรก็ตาม เมื่อผูเรียนรับรูวาภาระงานมีมากจนเกินไปความผูเรียนจะ รูสึกเบื่อหนายในการเรียนเพิ่มขึ้นดวย (Marsh, & Roche, 2000) 4. สําหรับองคประกอบอันดับสามซึ่งเปนการ รวมองคประกอบอันดับสองเปนองคประกอบการประเมิน การสอนในภาพรวมก็พบวามีความสอดคลองกับขอมูลเชิง ประจักษเชนกัน และคาสัมประสิทธิ์องคประกอบของทั้ง สององคประกอบมีคาสูงมากในทั้งสองโมเดล (.97 ถึง 1.0)


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550 แสดงวาลักษณะความสัมพันธระหวางตัวแปรแฝงอันดับสองทั้ง สองโมเดลสามารถรวมกันอธิบายในภาพรวมเปนการประเมิน การสอนไดอยางมีความนาเชื่อถือ ขอเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ 2 สวน คือ ขอเสนอแนะเพื่อนําผลการวิจัยไปใช และขอเสนอแนะสําหรับ งานวิจัยครั้งตอไปดังนี้ ขอเสนอแนะเพื่อนําผลการวิจัยไปใช 1. จากผลการวิจัยที่พบวา แบบประเมิน SEEQ จํานวน 35 ขอ เมื่อนํามารวมกันเปนองคประกอบจํานวน 9 องคประกอบ มีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษในบริบท ของสั ง คมไทยเช น เดี ย วกั บ ผลการวิ จั ย ที่ ผ า นมา หลั ก ฐาน ดังกลาวแสดงวาสารสนเทศการประเมินผลการสอนโดยผูเรียน สามารถวัดพฤติกรรมการสอนของอาจารยไดเปน 9 ดาน สารสนเทศดังกลาว อาจารยสามารถนําคะแนนมารวมกันเปน 9 ดาน และเพื่อใหทราบถึงระดับคุณภาพของการจัดการเรียน การสอนของตนเองตามการรับรูของผูเรียน ความหลากหลาย ของมิติการประเมินพฤติกรรมการสอนทําใหทราบวา ผูสอนมี จุดแข็งและ/หรือจุดออนในมิติใดบาง ขอมูลดังกลาวสามารถ นําไปใชในการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของ ผูสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. จากการแสดงหลั ก ฐานความเที่ ย งตรงเชิ ง โครงสรางองคประกอบที่ผูวิจัยเสนอไว นอกจากเสนอโมเดล อันดับหนึ่งจํานวน 9 องคประกอบแลว ยังทําการเสนอโมเดล ทางเลือ กอื่ น ๆ ได แ ก โมเดลองค ป ระกอบอั น ดั บ สอง: 2 องคประกอบ และ 4 องคประกอบ ซึ่งพบวาโมเดลดังกลาวมี ความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษในบริบทของสังคมไทย ทั้ง 2 โมเดล ดังนั้นสารสนเทศในภาพรวมที่มีขอมูลนอยกวา 9 องคประกอบ สามารถนําไปใชประโยชนในหนวยงานอื่นๆ ที่ ตองการขอมูลเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของ อาจารย เชน การบริหารบุคคล สามารถนําผลการประเมินไป ใชเพื่อการประเมินผลการทํางานของอาจารย (Performance Appraisal) ความหลากหลายของขอมูลที่มีหลายมิติ สามารถ เปนขอมูลในการตัดสินใจที่หลากหลาย ผูบริหารสามารถใช ขอมูลทุกมิติหรือเลือกใชผลการประเมินบางมิติ ขึ้นอยูกับการ ใหความสําคัญในเชิงบริหารวาใหความสําคัญกับการจัดการ

143

เรียนการสอนในมิติใด ผลการวิจัยครั้งนี้ไดเสนอทางเลือก ในการนําเสนอขอมูลเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน การบริหารงานบุคคล และการประกันคุณภาพการศึกษา ที่หนวยงานภายในมหาวิทยาลัยสามารถนําไปประยุกตใช ในการนําเสนอผลการประเมินไดอยางหลากหลาย ทั้งมิติ 9 องคประกอบ มิติ 2 องคประกอบ มิติ 4 องคประกอบ และมิติในภาพรวมของการประเมินการสอน ขอเสนอแนะสําหรับงานวิจัยครั้งตอไป 1. เนื่ อ งจากงานวิ จั ย ครั้ ง นี้ ใ ช ห น ว ยการ วิเคราะหเปนผูเรียนซึ่งพบวาใหผลการวิเคราะหที่ดี อยางไรก็ ตามธรรมชาติของการประเมินการสอนมีความแปรปรวน อยางเปนระบบที่แตกตางกันระหวางชั้นเรียน ทําใหการใช ข อ มู ล ระดั บ ผู เ รี ย นทํ า ให ผ ลการประเมิ น โมเดลและ พารามิเตอรมีคาสูงเกินความเปนจริง (Muthen, 1994) การ วิ จั ย ที่ ผ า นมาจึ ง นิ ย มใช ค า เฉลี่ ย ชั้ น เรี ย นในการวิ จั ย ใน ประเด็นเกี่ยวกับแบบประเมินการสอน อยางไรก็ตามการใช คาเฉลี่ยชั้นเรียนมีขอจํากัดอยูใน 3 ประเด็นไดแก (1) การใช คาเฉลี่ยชั้นเรียนเปนการลดสารสนเทศที่ไดจากขอมูลระดับ ผูเรียน (2) คาเฉลี่ยที่ไดตองเปนตัวแทนที่ดีของชั้นเรียน ซึ่ง หมายความวาจํานวนผูเรียนในชั้นเรียนตองใหญพอ และ ความแตกตางระหวางจํานวนผูเรียนในแตละชั้นเรียนตองมี ไมมากนัก ซึ่งในทางปฏิบัติทําใหชั้นเรียนบางชั้นเรียนตองถูก ตัดออกจากการวิเคราะห ซึ่งชั้นเรียนนั้นอาจจะมีลักษณะที่ ผูวิจัยตองการศึกษาก็เปนได และ (3) การใชคาเฉลี่ยชั้น เรียนในการวิเคราะหขอมูลตองใชกลุมตัวอยางขนาดใหญ มาก จําเปนตองใชทุนในการวิจัยสูง ดังนั้นการศึกษาตอไป จึงควรมีวิธีการศึกษาที่สามารถใชสารสนเทศของขอมูลทั้ง สองระดับในการศึกษาไปพรอมๆ กัน สามารถชวยลดขนาด ของขอมูลระดับชั้นเรียนลงมาได ซึ่งพัฒนาการลาสุดของ การวิ เคราะห องค ประกอบเชิ งยื นยั นที่ สามารถวิ เคราะห ข อ มู ล ได ทั้ ง สองระดั บ คื อ การวิ เ คราะห อ งค ป ระกอบเชิ ง ลดหลั่น (Hierarchical Factor Analysis) ดังนั้นการวิจัยครั้ง ตอ ๆ ไปจึงควรนําวิ ธีการวิเคราะหดังกล าวมาใช เพื่อลด ขอจํากัดในการวิเคราะหที่กลาวมาขางตน 2. ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับปจจัยที่ สงผลตอการประเมินการสอนของนักศึกษา เพื่อใหทราบถึง


144

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

สาเหตุที่ทําใหนักศึกษาใหผลการประเมินที่แตกตางกัน เพื่อใหได ทราบวานอกเหนือจากผลที่เกิดจากการสอนแลวมีปจจัยอะไรบาง ทั้งปจจัยระดับชั้นเรียนและปจจัยระดับผูเรียน ที่ทําใหนักศึกษา เกิดการรับรูถึงคุณภาพของการสอนที่แตกตางกัน 3. ควรมีการศึกษาความเที่ยงตรงแบบประเมินการ สอน SEEQ โดยการใชแหลงขอมูลอื่นๆ ในการประเมินคุณภาพ

การจัดการเรียนการสอน เชน ผลการประเมินตนเอง ผลการ ประเมิ น จากเพื่ อ นร ว มงาน และ ผลการประเมิ น จาก ผู บั งคั บบั ญชา เพื่ อให ได ผลการประเมิ นที่ รอบด าน และ ทําการศึกษาความเที่ยงตรงเชิงลูเขาและความเที่ยงตรงเชิง จําแนกโดยนําผลการประเมินจากแหลงขอมูลหลายแหลงมา ศึกษารวมกัน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

145

บรรณานุกรม ศิริชัย กาญจนวาสี. (2543). การประเมินการสอนระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: ทบวงมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร อนุ เจริญวงศระยับ. (2549). การแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางของแบบประเมินการสอนโดยผูเรียน ของมารช ดวยการประยุกตใชวิธีการวิเคราะหกลุมพหุ. ปริญญานิพนธ กศ.ม.(การวัดผลการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร อุทุมพร จามรมาน. (2530). การวัดและประเมินการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: โครงการตํารา วิทยาศาสตรอุตสาหกรรม. Hativa, N. (2000). Teaching for Effective Learning in Higher Education. Dordrecht: Kluwer. Kulik, J. A. (2001). Student Rating: Validity, Utility, and Controversy. In The student Ratings Debate: Are They Valid? How Can W Best Use Them? Theall, M. , P.C. Abrami, and L.A. Mets. (editors). pp. 9-26. San Francisco: Jossey-Bass. Marsh, H. W.; Hau, K. T. Chung, C.M.; & Siu, T. L. P. (1998). Confirmatory Factor Analyses of Chinese Students’ Evaluations of University Teaching. Structural Equation Modeling. 5(2): pp.143-164. Marsh, H.W.; & Hocevar, D. (1985). The Factorial Invariance of Student Evaluations of College Teaching. American Educational Research Journal. 21(2): pp.341-366. Marsh, H. W.; Roche. L. A. (2000). Effects of Grading Leniency and Low Workload on Students’ Evaluations of Teaching: Popular Myth, Bias, Validity, or Innocent Bystanders?. Journal of Educational Psychology. 92(1): pp.202-228. Marsh, H. W. (1982). Validity of Students’ Evaluations of College Teaching: A Multitrait-Multimethod Analysis. Journal of Educational Psychology. 74(2): pp.264-279. Marsh, H. W. (1986). Applicability Paradigm: Students’ Evaluations of Teaching Effectiveness in Different Countries. Journal of Educational Psychology. 78(6): pp.465-473. Marsh, H. W. (1987). Students’ Evaluations of University Teaching: Research Findings, Methodological Issues, and Directions of Future Research. International Journal Educational Research. 11: pp.253-388. ------------. (1991). Multidimensional Students’ Evaluations of Teaching Effectiveness: A Test of Alternative Higher-Order Structures. Journal of Educational Psychology. 83(2): 285-296. Muthen, Bengt O. (1994). Multilevel Covariance Structure Analysis. Sociological Methods & Research. 22(3): 376-398. Stake, R. E. 1989. The Evaluation of Teaching. In Rethinking Appraisal and Assessment. Simons, H. , J. Elliott. (editors). Bristol: Open University.


146

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2550

หลักสูตรที่เปดสอนในคณะศึกษาศาสตร หลักสูตรปริญญาตรี ปริญญาการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) Bachelor Degree Program of Education หลักสูตรระดับปริญญาตรี มี 3 หลักสูตร ดังนี้ 1. การประถมศึกษา 2. การแนะแนว 3. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู เปน โครงการรวมมือระหวาง คณะศึกษาศาสตร กับ สสวท. หลักสูตรปริญญาโท ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) Master Degree Program of Education หลักสูตรระดับปริญญาโท มี 13 หลักสูตร ดังนี้ 1. การศึกษาปฐมวัย 7. จิตวิทยาการแนะแนว 2. การประถมศึกษา 8. อุตสาหกรรมศึกษา 3. การมัธยมศึกษา 9. การวัดผลการศึกษา 4. การอุดมศึกษา 10. การวิจัยและสถิติทางการศึกษา 5. การบริหารการศึกษา 11. เทคโนโลยีการศึกษา 6. จิตวิทยาการศึกษา 12. การศึกษาพิเศษ 13. การศึกษาผูใหญ นอกจากนี้คณะศึกษาศาสตรไดเปดโปรแกรมปริญญาโท ภาคพิเศษ ในสาขาวิชาเอก ดังนี้ 1. การศึกษาพิเศษ 2. การศึกษาผูใหญ 3. จิตวิทยาการศึกษา 4. จิตวิทยาการแนะแนว 5. การบริหารการศึกษา 6. การวัดผลการศึกษา 7. การวิจัยและสถิติทางการศึกษา 8. เทคโนโลยีการศึกษา 9. การศึกษาปฐมวัย 10. การประถมศึกษา 11. การมัธยมศึกษา

- การสอนคณิตศาสตร - การสอนวิทยาศาสตร - การสอนสิ่งแวดลอมศึกษา 12. การอุดมศึกษา 13. อุตสาหกรรมศึกษา หลักสูตรปริญญาเอก ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) Doctor Degree Program of Education หลักสูตร ระดับปริญญาเอก มี 8 หลักสูตร ดังนี้ 1. จิตวิทยาการใหคําปรึกษา 2. การบริหารการศึกษา 3. การทดสอบและวัดผลการศึกษา 4. เทคโนโลยีการศึกษา 5. การศึกษาปฐมวัย 6. การอุดมศึกษา 7. การศึกษาพิเศษ 8. การศึกษาผูใหญ การคัดเลือกผูเขาศึกษา 1. คัดเลือกผานสํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 2. คัดเลือกโดยวิธีการสอบตรงผานฝายรับนิสิต ใหมของมหาวิทยาลัยโดยมีกําหนดการรับสมัคร ดังนี้ ตุลาคม – พฤศจิกายน ระดับปริญญาตรี เปด สอบตรง (ชั้นปที่ 1) พฤศจิ ก ายน – ธั น วาคม ระดั บ ประกาศนี ย บั ต ร ปริ ญ ญาโท และ ปริญญาเอก

ติดตอสอบถาม สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับการสมัครไดที่ งานรับนิสิตใหม โทร. 0-2664-1000 ตอ 5716 หรือ 0-2261-0531 เว็บไซต http://admission.swu.ac.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.