swu52-1

Page 1

ไมวาทศวรรษหนาจะเปนอยางไร ขอยืนยันหลักการของ ปู ยา ตา ยาย เกา ๆ คือ สุ จิ ปุ ลิ ไดแก ปญญา ที่เกิดจากการฟง คิด ถาม และ ตอบ รวม ทั้ง พุทธศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และ พัฒนาศึกษา มาเปนหลักในการเรียนรู นอกจากนี้ตองปลูกฝงใหเด็กรักการอาน เพราะเปน รากฐานสําคัญ และสราง ทักษะการสังเกตใหมาก รวมทั้งรูจัก การคนควา อยูเสมอ บางคนเรียนมาก แตไมสามารถสื่อสารได บางคนทําแต ขอสอบปรนัยได แตคิดไมเปน ซึ่งเด็กใน ทศวรรษหนาตองคิดเอง ตั้งแตตน

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 23 กันยายน 2542


คํานํา วารสารวิชาการศึกษาศาสตรฉบับนี้มีบทความที่นาสนใจ และผลงานวิชาการจาก คณาจารย แ ละนิ สิ ต ระดั บ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต และระดั บ มหาบั ณ ฑิ ต ซึ่ ง เป น ประโยชน ต อ ผู อ า น บรรณาธิการ ใครขอกราบขอบพระคุณ คณะกรรมการกลั่นกลองผลงาน (Peer Review) ที่ได เสียสละเวลาอันมีคาในการพิจารณาและใหขอแนะนําแกผูเขียน ขอขอบคุณคณะกรรมการ เจาหนา ที่ผูเกี่ยวของทุกฝาย และผูท รงคุณวุฒิที่ไดให ความอนุเคราะหจนวารสารวิชาการฉบับนี้สําเร็จอยางดียิ่ง

(ผูชวยศาสตราจารยศิริพนั ธ ศรีวนั ยงค) รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร ฝายวิจยั และวิเทศสัมพันธ


ISBN 1513-3443

วารสารวิชาการ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ JOURNAL OF EDUCATION: FACULTY OF EDUCATION : SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY ปที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2552

เจาของ

:

พิมพที่ ที่ปรึกษา

:

บรรณาธิการ : หัวหนากองบรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ :

รูปเลม

:

กองจัดการ

:

:

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท 23 เขตวัฒนา กทม. 10110 โทร. 0-2649-5000 ตอ 5539, 5509 โทรสาร 0-2260-0124 สํานักงานคณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทวิโรฒ คณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หัวหนาภาควิชา หัวหนาสาขาวิชา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริพนั ธ ศรีวันยงค ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริพนั ธ ศรีวันยงค รองศาสตราจารย ดร.สนอง โลหิตวิเศษ ผูชวยศาสตราจารยบุญยฤทธิ์ คงคาเพ็ชร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ฤทธิชัย ออนมิง่ หัวหนาภาควิชพื้นฐานของการศึกษา หัวหนาภาควิชาการบริหารการศึกษา หัวหนาภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา หัวหนาภาควิชาการศึกษาพิเศษ หัวหนาภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา หัวหนาภาควิชาการศึกษาผูใ หญ หัวหนาภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา หัวหนาสาขาการศึกษาปฐมวัย หัวหนาสาขาวิชาการประถมศึกษา หัวหนาสาขาวิชาการมัธยมศึกษา หัวหนาสาขาวิชาการอุดมศึกษา หัวหนาสาขาวิชาอุตสาหกรรมศึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริพนั ธ ศรีวันยงค นายธนพล ติดสิลานนท นายพิสทิ ธิ์ แตมบรรจง นางสาวเมลดา พาทีเพราะ นางสาวพัชรินทร เต็กอวยพร นายสมชาย หาบานแทน


หลักเกณฑการเขียนตนฉบับวารสารวิชาการศึกษาศาสตร นโยบายวารสาร วารสารวิชาการศึกษาศาสตร เปนวารสารที่ พิมพเพื่อเผยแพรบทความ รายงานการวิจัย บทวิจารณ ขอคิดเห็น และขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการศึกษาทั้งความเคลื่อนไหว และการเปลี่ยนแปลงในแวดวงการศึกษาที่ เกิดขึ้น ทัศนะและความเห็น ในวารสารฉบับนี้เปนของผูเขียนแตละทาน และไมจําเปนที่จะตองสอดคลองกับ นโยบาย จุดยืน ทัศนะ ของคณะศึกษาศาสตร กองบรรณาธิการยินดีพิจารณาผลงานสาขามนุษยศาสตรและ สังคมศาสตรทุกสาขา ผลงานที่ไดรับการพิจารณาตีพิมพในวารสารอาจถูกดัดแปลงแกไขรูปแบบและสํานวน ตามที่เห็นสมควร ผูประสงคจะนําขอความใด ๆ ไปพิมพเผยแพรตอไป ตองไดรับอนุญาตจากผูเขียนตาม กฎหมายลิขสิทธิ์ การพิจารณาตนฉบับ บทความที่ ตี พิ ม พ จ ะต อ งได รั บ ความเห็ น ชอบจากกองบรรณาธิ ก าร และผ า นการกลั่ น กรองจาก ผูทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวของ กรณีที่ตองปรับปรุงแกไข จะสงกลับไปยังผูเขียนเพื่อดําเนินการตอไป การเสนอบทความเพื่อพิมพในวารสารวิชาการศึกษาศาสตร 1. บทความแตละบทความจะตองมีชื่อเรื่อง ชื่อผูเขียน (ครบทุกคน) วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด และ ตําแหนงทางวิชาการ (ถามี) ของผูเขียนครบทุกคน 2. ตนฉบับตองระบุชื่อ นามสกุลจริง สถานที่ทํางานหรือที่อยู และเบอรโทรศัพท ที่สามารถติดตอได 3. ผูเสนอผลงานตองสงตนฉบับพิมพหนาเดี่ยว ควรใชตัวอักษร Cordia New ขนาด 16 บนกระดาษ ขนาด 8.5 นิ้ว x 11 นิ้ว ความยาวของตนฉบับรวมทั้งตาราง แผนภูมิ และเอกสารอางอิงไมเกิน 20 หนา พรอ ม กับบันทึกบทความลงในแผนซีดี 4. ตนฉบับที่เปนงานแปลหรือเรียบเรียงจะตองบอกแหลงที่มาโดยละเอียด 5. ตองเปนบทความที่ไมเคยตีพิมพเผยแพรมากอน 6. กองบรรณาธิการขอใชสิทธิในการนําบทความที่ตีพิมพในวารสารวิชาการศึกษาศาสตรเผยแพรลง ในเว็บไซตวารสารวิชาการศึกษาศาสตรออนไลน Æ กรณีที่เปนบทความทางวิชาการ ควรมีสวนประกอบทั่วไปดังนี้ 1. บทคัดยอภาษาไทย 2. บทคัดยอภาษาอังกฤษ 3. บทนํา 4. เนื้อหา 5. บทสรุป 6. บรรณานุกรม


Æ กรณีที่เปนบทความวิจัย ควรมีสวนประกอบทั่วไป ดังนี้ 1. บทคัดยอภาษาไทย 2. บทคัดยอภาษาอังกฤษ 3. บทนํา / ความเปนมาของปญหาการวิจัย 4. วัตถุประสงคของการวิจัย 5. สมมุติฐาน (ถามี) 6. วิธีดําเนินการวิจัย 7. สรุปผลการวิจัย และการอภิปรายผล 8. ขอเสนอแนะ 9. บรรณานุกรม การเขียนเอกสารอางอิงและบรรณานุกรม การอางอิงในบทความใหผูเขียนระบุที่มาของขอมูล/เนื้อเรื่องที่อางอิง โดยบอกชื่อ นามสกุล (หรือ เฉพาะนามสกุล ถา เปน ภาษาอั ง กฤษ) และปที่พิ ม พ ข องเอกสาร (และหนา กรณีอ า งอิง ขอ ความเฉพาะ บางสวน) การอางอิงแบบเชิงอรรถ ใหใชไดในกรณีที่ตองการขยายความ สําหรับการเขียนเอกสารอางอิงทาย บทความ ใหใชดังตัวอยางตอไปนี้ 1. หนังสือใหเรียงลําดับ ดังนี้ ชื่อผูแตง. (ปที่ พิม พ) . ชื่ อเรื่อง. (ฉบั บพิ ม พ) . สถานที่พิ ม พ: ผูจัดพิมพ. อํานวย แสงสวาง. (2544). การจัดการทรัพยากรมนุษย. (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน. 2. วารสารภาษาไทย ใหเรียงลําดับดังนี้ ชื่อตัว ชื่อสกุล. (ป พ.ศ.ที่พิมพ). ชื่อเรื่อง. ชื่อหรือชื่อยอ วารสาร, ปที่ (ฉบับที่), หนาแรก-หนาสุดทาย. ตัวอยางเชน อรัญญา จิวาลักษณ. (2544). ความฉลาดทางอารมณ: ปจจัยแหงความสําเร็จในการทํางาน. วารสารสมาคมพยาบาลสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 23(1), 42-49. 3. วารสารตางประเทศ ใหเรียงลําดับดังนี้ ชื่อสกุล, ชื่อนํายอ ชื่อตามยอ. (ป ค.ศ.ที่พิมพ). ชื่อเรื่อง : ชื่อหรือชื่อยอวารสาร, ปที่ ( ฉบับที่), หนาแรก-หนาสุดทาย. ตัวอยางเชน Hartman, L. M. (1979). The preventive reduction of psychological risk in asymptomatic adolescents. American Journal of Orthopsychiatry, 49(1), 121 – 135. 4. แหลงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ระบบออนไลน (Online) ใหเรียงลําดับดังนี้ ชื่อผูเขียน. (ปที่เผยแพร). ชื่อเรื่อง. แหลงที่เขาถึง: [วัน เดือน ป ที่เขาถึงเอกสาร] ตัวอยางเชน Oconnor, R.M. (2003). Emotional intelligence and academic success: examining the transition from high school to university.(Online).Available: http://www.sciencedirect.com. Accessed [25/3/2003]. การตอบแทน กองบรรณาธิการจะอภินันทนาการวารสารฉบับที่บทความนั้นตีพิมพทานละ 3 ฉบับ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

เครื่องบําบัดน้ําเสียดวยโอโซนในสภาพความดันสูง สําหรับบอเลี้ยงกุงและชุมชน OZONE WASTEWATER TREATMENT UNDER HIGH PRESSURE CONDITION FOR WASTEWATER FROM SHRIMP POND AND SANITARY SEWAGE มงคล จงสุพรรณพงศ1 สันทัด ศิริอนันตไพบูลย1 บทคัดยอ เครื่องบําบัดน้ําเสียดวยโอโซนในสภาวะความดันสูงถูก นําไปทดลองบําบัดน้ําเสียจากชุมชนและบอเลี้ยงกุง ผลการ ทดลองพบวา เครื่องมือดังกลาวสามารถเพิ่มปริมาณออกซิเจน ของน้ําเสีย(dissolved oxygen: DO) จากชุมชนจาก 0.0±0.0 เปน 8.0±0.5 มล./ล. ภายใน เวลา1.6 ชั่วโมง และสามารถเพิ่ม ปริ ม าณออกซิ เ จนละลายน้ํ า ในน้ํ า เสี ย จากบ อ เลี้ ย งกุ ง จาก 2.5±0.1 ถึง 8.0±0.9 มล./ล. นอกจากนี้แลว เครื่องมือดังกลาว ยังมีความาสามารถในการลดคาความสกปรกในรูปของ ซีโอดี (COD) และ บีโอดี (BOD) ในน้ําเสียลงไดอีกดวยโดย สามารถ ลดค า ซี โ อดี และ บี โ อดี ในน้ํ า เสี ย จากชุ ม ชนได ถึ ง ร อ ยละ 21.19±2.10 และ 39.09±2.53 ตามลําดับ ในเวลาเพียง 1.6 ชั่ ว โมง ส ว นน้ํ า เสี ย จากบ อ เลี้ ย งกุ ง นั้ น เครื่ อ งมื อ ดั ง กล า ว สามารถลดค า ซีโ อดี และ บีโ อดี ไ ด ถึง รอยละ 52.17±2.31 และ 41.18±3.10 ตามลําดับ ในเวลาเพียง 1.6 ชั่วโมง คําสําคัญ: การทําโอโซน, การบําบัดน้ําเสีย, น้ําเสียบอเลี้ยงกุง, น้ําเสียชุมชน

1

สายวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม คณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 Ozone Wastewater Treatment under High Pressure Condition for Wastewater from Shrimp pond and Sanitary Sewage The designed ozone wastewater treatment under high pressure was applied to treat wastewater from sanitary sewage and shrimp pond. The results showed that the dissolved oxygen of the wastewater from sanitary sewage was increased from 0.0±0.0 to 8.0±0.5 mg/l within 1.6 hrs. On the other hand, the dissolved oxygen of the wastewater from shrimp pond was increased from 2.5±0.1 to 8.0±0.9 mg/l. Also, the designed equipment could reduce the impurities as COD and BOD of the wastewater during treatment. The COD and BOD of the wastewater from sanitary sewage were reduced within 1.6 hrs by 21.19±2.10% and 39.09±2.53%, respectively. While, the COD and BOD of the wastewater from shrimp pond were correspondingly reduced by 52.17±2.31 % 41.18±3.10 %, respectively. บทนํา ป ญ หาการจั ด การคุ ณ ภาพน้ํ า ในบ อ เลี้ ย งสั ต ว น้ํ า ต อ งมี ก าจั ด การที่ เ หมาะสม หมายถึ ง การจั ด การในด า น คุณภาพน้ํา แพลงกตอน การใหออกซิเจน และการจัดการพื้น บอ ควบคุมการใชยาและเคมีภัณฑอยางเหมาะสม เนื่องจาก ในป จ จุ บั น นี้ ก ารเลี้ ย งสั ต ว น้ํ า ในประเทศไทย ได มี ก าร พัฒนาการเลี้ยงที่แตกตางกันไปตามสภาพพื้นที่และความ ยากงายในการเลี้ยงแตกตางกันมาก ดังนั้นการจัดการภายใน ฟารมและในบอเลี้ยงจะแตกตางกันมาก เฉพาะในดานการใช สารเคมีและยาปฏิชีวนะในการปองกันโรคระหวางการเลี้ยง การใหอากาศเนื่องจากในปจจุบันนี้เกษตรกรผูเลี้ยงสัตวน้ําได ปล อ ยสั ต ว น้ํ า มี ค วามหนาแน น มาก เพื่ อ หวั ง ผลผลิ ต ที่ สู ง ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองพัฒนาระบบการใหอากาศ เชน ใชเครื่องตีน้ําหรือเครื่องเติมอากาศ (air jet) จํานวนมากจึงทํา ใหการลงทุนสูงขึ้น ดวยสาเหตุนี้จึงมีการศึกษาคนควาและ การวิจัยในการจัดการคุณภาพน้ําในบอสัตวน้ํามากขึ้น จึงได มี วิ ศ วกรและนั ก วิ ท ยาศาสตร สิ่ ง แวดล อ มทางน้ํ า ได ทําการคนควาเพื่อพัฒนาความรูในดานการจัดการคุณภาพ น้ําในบอเลี้ยงสัตวน้ําใหกาวไกลไปกวานี้ อันจะเปนผลทําให สามารถเพิ่มผลผลิตสัตวน้ําใหสูงขึ้นโดยไมมีปญหามลภาวะ เปน พิษ ตอสิ่ งแวดลอมทางน้ํา เชน จากการขยายตัวอยา ง รวดเร็ ว ของบรรดาฟาร ม เลี้ ย งกุ ง ในประเทศกํ า ลั ง พั ฒ นา โดยเฉพาะในหลายประเทศแถบเอเชีย กอใหเกิดปญหาตอ สภาพแวดลอมอยางนาตกใจ และปญหาในทํานองเดียวกันนี้

ยังพบในแถบลาติน อเมริกาและแอฟริกาดวย เนื่องจากการ เลี้ยงกุงยังมีการใชสารเคมีอันตรายจํานวนมาก ซึ่งเปนผลให เกิดการสะสมของสรพิษ ในสภาพแวดลอ ม ยกตัว อยา งใน กรณีประเทศไทย การสะสมของมลพิษ ทําใหตองทิ้งพื้นที่ไว ระยะหนึ่งและไมสามารถใชพื้นที่ทําสิ่งอื่นได อาจกอใหเกิด หายนะในระยะยาวตอไป การใชโอโซนในการบําบัดน้ําเสียเปนวิธีการหนึ่งที่ ไมทําใหเกิดสารเคมีตกคางในน้ําหลังผานการบําบัดแลว และ สามารถละลายน้ําไดดีกวากาซออกซิเจน 10 เทา [1] กาซ โอโซนเป น ตั ว ออกซิ ไ ดซ ที่ รุ น แรง ฆ า เชื้ อ โรคจุ ลิ น ทรี ย แ ละ แบคที เรี ยไดเ กือ บทุ ก ชนิด การกํ า จั ด สารเคมีแ ละอิน ทรี ย ที่ ปนเปอนมากับน้ําเสียตลอดจนชวยลดปริมาณซีโอดีไดดี [2, 3] จากเหตุ ผ ลดั ง กล า วผู วิ จั ย จึ ง ได คิ ด พั ฒ นาเครื่ อ ง ผลิตโอโซนที่มีประสิทธิภาพและราคาถูกรวมทั้งใชอุปกรณที่ ผลิตขึ้นภายในประเทศเกือบทั้งหมด โดย อาศัยหลักการใน การผสมของ โอโซนกับน้ําที่สภาวะความดันอากาศสูงและ พื้ น ที่ น้ํ า ที่ สั ม ผั ส กั บ ก า ซได ม ากที่ สุ ด ซึ่ ง จะทํ า ให ก าร แพรกระจายของกาซผสมกับน้ําเสียเปนไปอยางรวดเร็วใน เวลาอันสั้น โดยใชระบบฉีดน้ําเสียใหกระจาย เขาไปผสมกับ กาซโอโซนระบบความดันสูง ภายในระบบเครื่องเติมโอโซน แลวปลอยออกนอกระบบของเครื่องจึงไมไปรบกวนสัตวน้ํา และเปนเครื่องที่ทําหนาที่ไดหลายอยางในเวลาเดียวกัน เชน ลดคา ซีโอดี (COD), บีโอดี (BOD5), ทีเคเอ็น (TKN) และเพิ่ม คาออกซิเจนละลาย (DO) ไดมากกวาเครื่องบําบัดน้ําเสีย ดวยโอโซนและเครื่องเติมอากาศทั่วๆ ไปที่มีปญหาจากการ แพรกระจายของโอโซนและออกซิเจนในน้ําไมทั่วถึง [4] จุดมุงหมาย 1. ผลิตเครื่องบําบัดน้ําเสียดวยกาซโอโซน 2. ทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องบําบัดน้ําเสียดวย กาซโอโซน ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ โอโซนเปน Oxidizing agent ที่รุนแรง (สามารถทํา ปฏิกิริยาไดเร็วกวา คลอรีน ถึง 3,000 เทา) ซึ่ง O3 มีความ เสถียรต่ํากวา O2 มาก และจะสลายตัวกลายเปน O2 (ภายใน เวลา 30 นาที ที่ ค วามดั น บรรยากาศ) โดยปฏิ กิ ริ ย าการ สลายตัวของโอโซนจะเร็วขึ้น เมื่อเพิ่มอุณหภูมิและลดความ ดัน และการสัมผัสกับสารที่มีพลังงานต่ํากวาจะเกิดปฏิกิริยา ออกซิเดชัน (Oxidation) อยางรวดเร็ว ซึ่ง O3 มีปฏิกิริยาสูงถึง 2.07 โวลต (Oxidation Potential Voltage) ปฏิกิริยาการทําลายมลภาวะ O2 + Energy ===> O3 ===> ทําลายมลภาวะ (Disinfection) ===> คืนสภาพออกซิเจน (O2)


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 การทําปฏิกิริยาสลายกลิ่นแอมโมเนีย 3O3 + 2NH3 ===> N2 + 3H2 O + 3O2 การทําปฏิกิริยาสลายพิษคารบอนมอนอกไซด O3 + CO ===> CO2 + O2 เนื่องจากโอโซนเปน Oxidizing agent ที่รุนแรงและ สลายตัวเร็ว ทําใหสามารถนําโอโซนไปใชงาน ตัวอยางเชน • ฆาเชื้อโรค เชน ไวรัส (Virus), แบคทีเรีย (Becteria), รา (Fungus), Mold, Yeast • ทําปฏิกิริยากับโลหะหนักที่ละลายน้ํา • ทําปฏิกิริยากับสารอินทรียที่ละลายน้ํา • กําจัดกลิ่นในอากาศ • ลดสีในน้ําเสียโรงงาน • ลด COD, BOD ในน้ําเสียโรงงาน • ชวยลดเวลาสําหรับกระบวนการตกตะกอน • ใชฆาเชื้อโรคแทนคลอรีน ในกระบวนการผลิต อาหาร, สระวายน้ํา • กําจัดสารพิษ หรือยาฆาแมลงที่ตกคางในผักผลไม • ปองกันตะกรันและตะไครน้ําในระบบหอผึ่งเย็น • ฆาเชื้อโรคในบอเพาะเลี้ยงลูกกุง • กําจัดเชื้อโรคในน้ําดื่มกอนบรรจุขวด • กําจัดควันบุหรี่ สารพิษในอากาศ

อุปกรณการทดลอง เครื่องบําบัดน้ําเสียโดยอากาศ หรือ โอโซนใน สภาวะความดันสูง (Ozone or air injection appartus) สวนประกอบ : ลักษณะและองคประกอบของเครื่องบําบัด ดังกลาว ดังแสดงใน รูปที่ 1 และ รูปที่ 2 มีดังนี้ - โครงสรางเปนวัสดุ Stainless steel and PVC ดัง แสดงในรูปที่ 1 - Ozone production ขนาด 50 ถึง 200 มิลลิกรัมตอ ชั่วโมง - Air pump component (GAST Co.,Ltd, USA, model 0.25 pH) This air pump system was used to control both Oxygen and air flow at capac of up to 200 l/min - Pressure meter (Nuovafima Co,Ltd, Japan, Model MSI-DS 150) This pressure meter was used to determine the pressure of the gas in the rang of 1.0 × 105 – 1.5 × 105 N/m2 - Voltage meter (Tamadensoku Co,Ltd. Japan Model 20 ADS) - Current ampere meter (Yokogawa Hokushin Model 76AA 4318) This component was used for measuring the electric of the designed ozoniser. - Water pump (Guangdng Risheng Group Co.,Ltd, China Model Hx-4500) Water flow at capacity of up to 2800 l/hr - Water flow meter (Essom Inspection TA Co.,Ltd, Thailand Model HB 016) Water flow at capacity of up to 60 l/m

ขอไดเปรียบของโอโซน • มีปฏิกิริยาตอตานและกําจัด เชื้อแบคทีเรีย สปอรไวรัส สัตว เซลเดียวในไฟลัม ปรสิต และอื่นๆ • การเติมออกซิเจนลงในโลหะหนัก (เหล็ก, แมงกานีส, ไอโอ เนียน, กํามะถัน, ไซยาไนด, ไอโอเนียนไนเตรท), กรดซัลฟูริก และรวมไปถึงสารอินทรียทุกชนิดเปนการทําใหเกิดการเนา เสียเร็วยิ่งขึ้น • ใชในการกําจัดสารตั้งตนของธาตุโลหะจําพวกฟลูออรีน คลอรีน ซึ่งเปนตัวการที่ทําใหเกิดการปนเปอนจากจุลินทรีย อันเนื่องจากการใชสารอื่นมาทําใหน้ําบริสุทธิ์นั่นเอง • มีประสิทธิผลตอการบําบัดน้ําเสียที่ตองมีการทําลาย สารอินทรียในรูป BOD ซึ่งจะสงผลใหสารอินทรียในรูป COD ลดลงดวย • ถือไดวามีความปลอดภัยทางการแพทยเพราะไดรับการ รับรองวาเปนระบบการฆาเชื้อโรคในน้ําไดดีกวาระบบอื่นๆ และเปนการฆาเชื้อในน้ําไดอยางหมดจด

การควบคุมและเดินระบบ หลักการทํางานของเครื่องเติมโอโซนใหน้ําใน สภาวะความดันสูงและเติมอากาศในน้ําในสภาวะความดัน สูงทั้งสองระบบอยูในเครื่องเดียวกันโดยมีอุปกรณ สวนประกอบรวมกัน โดยใชตัวควบคุม 2 ตัวคือ - ตัวควบคุมการใชเติมโอโซน หรือจะใชอากาศใน การทดลอง - ตัวควบคุมปริมาณอัตราการไหล (flow rate) ของ น้ําในการทดลอง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เครื่องผลิตโอโซน ทอผสมโอโซนกับน้ํา

ทอนําโอโซน ทอนําน้ําเสียเขา ทอสงน้ําดี ทอปรับความดันกาซในระบบ

ทอปลอยน้ําดีออก

ทอปลอยน้นําสูดีงออก รูปที่ 1 เครื่องบําบัดน้ําเสียดวยโอโซนในสภาวะความดั

รูปที่ 2 แบบของเครื่องบําบัดน้ําเสียดวยโอโซนสภาวะความดันสูง วิธีการทดลอง การบําบัดน้ําเสียบอเลี้ยงกุงโดยเครื่องบําบัดน้ําเสียดวยอากาศสภาวะความดันสูงไดนําน้ําเสียจากบอเลี้ยงกุงจาก จังหวัดสมุทรสาครมา 200 ลิตร มาทําการบําบัดในหองทดสอบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีโดยใชอัตราการไหล (flow rate) ของน้ํา 10 l/min ปริมาณอัตราการไหล (flow rate) ของอากาศ 50 l/min ความดันอากาศในระบบ 1.3 × 105 N/m2 แล ว เก็ บ ตั ว อย า งน้ํ า เสี ย ที่ นํ า มาทดสอบทุ ก 20 นาที รวมระยะเวลาการทดลอง100 นาที จํ า นวนตั ว อย า งที่ เ ก็ บ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เทากับ 5 ตัวอยาง ที่ปลายทอของเครื่องและถังปฏิกิริยา แลว นํามาหาคาออกซิเจนละลาย โดยวิธีของ Moris [5] และ หาคา ซีโอดี และ บีโอดี โดยวิธีมาตรฐาน การวิเคราะหสมบัติน้ําเสีย แสดงดังตารางที่ 1 [6] การบําบัดน้ําเสียจากบอเลี้ยงกุงโดยเครื่องบําบัดน้ํา เสียดวยโอโซนในสภาวะความดันสูงโดยไดนําน้ําเสียจากบอ เลี้ยงกุงมา 200 ลิตร มาทําการบําบัดในหองทดสอบโดยใช อัตราการไหล (flow rate) ของน้ํา 10 l/min อัตราการไหล (flow rate) ของอากาศ 50 l/min ความดันกาซในระบบ 1.3 × 105 N/m2 ปริมาณโอโซนในระบบ 150 มิลลิกรัมตอชั่วโมง แลวเก็บ ตัวอยางน้ําเสียที่นํามาทดสอบทุก 20 นาที รวมระยะเวลาการ ทดลอง100 นาที จํานวนตัวอยางที่เก็บเทากับ 5 ตัวอยาง ที่ ปลายทอของเครื่องและถังปฏิกิริยา แลวนํามาหาคาออกซิเจน ละลายโดยวิธีของ Moris [5] และหาคาซีโอดี และ บีโอดี โดย วิธีมาตรฐาน การวิเคราะหสมบัติน้ําเสีย แสดงดังตารางที่ 1 [6] การบําบัดน้ําเสียชุมชนพระประแดงโดยเครื่องบําบัด น้ําเสียดวยอากาศสภาวะความดันสูงไดนําน้ําเสียจากชุมชน มา 200 ลิตร มาทําการบําบัดในหองทดสอบโดยใชอัตราการ ไหล (flow rate) ของน้ํา 10 l/min ปริมาณอัตราการไหล (flow

สภาวะควบคุม ปริมาตรน้ําเสีย (ลิตร) อัตราการไหลของน้ํา (l/min) อัตราการไหลของ อากาศ (l/min) ความดันในระบบ (N/m2) ปริมาณโอโซน (mg/hr) ระยะหางของชวงเวลา (min)

rate) ของอากาศ 50 l/min ความดันอากาศในระบบ 1.3 × 105 N/m2 แลวเก็บตัวอยางน้ําเสียที่นํามาทดสอบทุก 20 นาที รวมระยะเวลาการทดลอง 100 นาที จํา นวนตั ว อยา งที่เ ก็ บ เทากับ 5 ตัวอยาง ที่ปลายทอของเครื่องและถังปฏิกิริยา แลว นํามาหาคาออกซิเจนละลายโดยวิธีของ Moris [5] และหาคาซี โอดี และ บีโอดี โดยวิธีมาตรฐาน การวิเคราะหสมบัติน้ําเสีย [6] โดยไดผลการทดลองดังแสดงในตารางที่ 1 การบําบัดน้ําเสียชุมชนโดยเครื่องบําบัดน้ําเสียดวย โอโซนสภาวะความดันสูงไดนําน้ําเสียจากชุมชนมา 200 ลิตร มาทําการบําบัดในหองทดสอบโดยใชอัตราการไหล (flow rate) ของน้ํา 10 l/min ปริมาณอัตราการไหล (flow rate) ของอากาศ 50 l/min ความดันกาซในระบบ 1.3 × 105 N/m2 ปริมาณ โอโซนในระบบ 150 มิลลิกรัมตอชั่วโมง แลวเก็บตัวอยางน้ํา เสียที่นํามาทดสอบทุก 20 นาที รวมระยะเวลาการทดลอง 100 นาที จํานวนตัวอยางที่เก็บเทากับ 5 ตัวอยาง ที่ปลายทอของ เครื่องและถังปฏิกิริยา แลวนํามาหาคาออกซิเจนละลายโดยวิธี ของ Moris [5] และหาคาซีโอดี และ บีโอดี โดยวิธีมาตรฐาน การวิเคราะหสมบัติน้ําเสีย [6] โดยไดผลการทดลองดังแสดง ในตารางที่ 1

น้ําเสียจากบอเลี้ยงกุง น้ําเสียชุมชน การบําบัดดวยอากาศ การบําบัดดวยโอโซน การบําบัดดวยอากาศ การบําบัดดวยโอโซน 200 200 200 200 10

10

10

10

50

50

50

50

1.3 × 105

1.3 × 105

1.3 × 105

1.3 × 105

-

150

-

150

20

20

20

20

ผลการทดลองและวิจารณผล โดยการนําผลการทดลองมาสรางกราฟ แบบสมสนิท ดี (Fitting Curve) เพื่อแสดงความสัมพันธระหวาง คา ออกซิเจนละลายน้ํา (dissolved oxygen: DO) กับระยะเวลา (Time) แลวนํามาหาคาความชัน (slope) จากพารามิเตอร (parameter) ของ a และ b จากจุดตางๆ ของกราฟให y = ax + b เปนฟงชั่นที่ผานจุดเหลานี้ เมื่อ a = ความชัน (slope) ของ DO/Time และ R2 (สัมประสิทธิ์การตัดสินใจ) จาก R2 = 1 –

(SSE/SST) (SST: sum square of total; SSE: sum square of error) [7] ผลการทดลองในการบํา บัดน้ํ า เสี ยจากบ อ เลี้ย งกุ ง ดวยเครื่องบําบัดน้ําเสียดวยอากาศในสภาวะความดันสูงใน การเพิ่มออกซิเจนละลาย (DO) พบวา ปริมาณออกซิเจน ละลายน้ําจะเพิ่มขึ้นเมื่อระยะเวลาการบําบัดเพิ่มขึ้น ดังแสดง ในกราฟรูปที่ 3 เมื่อนําผลการทดลองระหวางปริมาณออกซิเจน ละลายน้ํากับเวลาที่ผานไปมาสรางกราฟแสดงความสัมพันธ และหาคาความชัน (slope) และ คา R2 [7]


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

Do of Oxygenation in tank y = 0.0414x + 2.5286 R2 = 0.9048

DO (mg/l)

10 8 6 4 2 0 0

20

40

60

80

100

120

Time (minute)

รูปที่ 3 ผลการทดลองการเพิ่มคาออกซิเจนละลาย (dissolved oxygen: DO) น้ําเสียของบอเลี้ยงกุงโดยใชอากาศ ไดคาความชัน (slope) เทากับ 0.0414 และ R2 เทากับ 0.9048 ค า R 2 เข า ใกล 1 แสดงว า ค า ออกซิ เ จนละลาย ที่ เพิ่มขึ้นมีความสัมพันธกับเวลาอยูในระดับสูง [3] ดังแสดงใน กราฟรูปที่ 4 แสดงวาการเพิ่มคาออกซิเจนละลายน้ํากับเวลา มีความสัมพันธเชิงเสน (linear correlation) [8] แตนอยกวา

โอโซน เพราะโอโซนละลายน้ํา ไดดีก วาออกซิเ จน 10 เทา [9,10] นอกจากนี้ยังไดนําผลการทดลองในการบําบัดน้ําเสีย จากบอเลี้ยงกุงดวยเครื่องบําบัดน้ําเสียดวยโอโซนในสภาวะ ความดัน สู ง ในการเพิ่ ม ออกซิ เ จนละลาย สร า งกราฟแสดง ความสําพันธและหาคาความชัน (slope) และ R2

DO (mg/l)

Do of Ozonation in tank y = 0.057x + 3.1667 R2 = 0.9109

10 8 6 4 2 0 0

20

40

60

80

100

120

Time (minute)

รูปที่ 4 ผลการทดลองการเพิ่มคาออกซิเจนละลาย (dissolved oxygen: DO) น้ําเสียของบอเลี้ยงกุงโดยใชโอโซน แลวนํามาวิเคราะหหาคาความชัน (slope) ได 0.0570 และ R2 ได 0.9109 คา R2 เขาใกล 1 แสดงวาคาออกซิเจนละลาย ที่เพิ่มขึ้นมีความสัมพันธกับเวลาอยูในระดับสูง [3] จากรูปที่ 4 วิเคราะหกราฟหาคาความชัน (slope) ได 0.0570 คา R2 ได 0.9109 จากรูปที่ 4 แสดงวาการเพิ่มคาออกซิเจนละลาย กับ เวลามีความสัมพันธเชิงเสน (linear correlation) [8] ตรงกับ คํากลาวที่วา กาซโอโซนสามารถละลายน้ําไดดีกวากาซ ออกซิเจนถึง 10 เทา [2,10] จึงทําใหการเพิ่มคาออกซิเจน ละลาย จากการใชโอโซนเปนไปอยางรวดเร็วกวาการใช

อากาศมาก จะเห็นไดจากผลในเวลา 80 นาที ออกซิเจน ละลาย เพิ่มขึ้นที่คาออกซิเจนละลาย เทากับ 8 มก/ล คงที่ทั้ง ระบบ แตการใชอากาศคาออกซิเจนละลาย ไดเทากับ 6.4 ซึ่ง นอยกวากรณีของการใชโอโซน ถึง 1.6 มก/ล ที่สภาวะการ ทดลองเดียวกัน ไดนําผลการทดลองการบําบัดน้ําเสียจากบอเลี้ยงกุง ดวยเครื่องบําบัดน้ําเสียดวยโอโซนในสภาวะความดันสูง มา วิเคราะหกราฟความสัมพันธระหวางการลดของคาบีโอดีกับ เวลา หาคาความชัน (slope) และ R2


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

รูปที่ 5 ผลการทดลองลดคาบีโอดีในน้ําเสียจากบอเลี้ยงกุง ในถังปฏิกิริยา y = -13.151x + 144.66 R2 = 0.9211 ปลายทอของเครื่อง y = 19.35x + 147.77 R2 = 0.9308 การคํานวณหาประสิทธิภาพในการบําบัดน้ําเสียของการทดลองการบําบัดน้ําเสียจากบอเลี้ยงกุงดวยเครื่องบําบัดน้ําเสียดวย โอโซนในสภาวะความดันสูงในการลดคาบีโอดี [9] ประสิทธิภาพในถังปฏิก ิริยา =

(ความเขมขนบีโอดีน้ํา เขา − ความเขมขนบีโอดีน้ํา ออก) × 100 ความเขมขนบีโอดีน้ํา เขา

⎛ 119 ± 9 − 70 ± 7 ⎞ =⎜ ⎟ × 100 119 ± 9 ⎝ ⎠ = 41.18 ± 3.10%

ประสิทธิภา พปลายทอขอ งเครื่อง =

(ความเขมข นบีโอดีน้ํา เขา − ความเขมข นบีโอดีน้ํา ออก) × 100 ความเขมข นบีโอดีน้ํา เขา

⎛ 119 ± 7 − 51 ± 4 ⎞ =⎜ ⎟ × 100 119 ± 7 ⎝ ⎠ = 57.14 ± 1.53%

ไดนําผลการทดลองการบําบัดน้ําเสียจากบอเลี้ยงกุงดวยเครื่องบําบัดน้ําเสียดวยโอโซนในสภาวะความดันสูง มา วิเคราะหกราฟความสัมพันธระหวางการลดของคาซีโอดี กับเวลา หาคาความชัน (slope) และ R2 รูปที่ 6 ผลการทดลองลดคาซีโอดีในน้ําเสียจากบอเลี้ยงกุง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

ในถังปฏิกิริยา

y = -8.9268x + 122.45 R2 = 0.9394 ปลายทอของเครื่อง y = 12.367x + 129.69 R2 = 0.9583 การคํานวณหาประสิทธิภาพในการบําบัดน้ําเสียของการทดลองการบําบัดน้ําเสียจากบอเลี้ยงกุงดวยเครื่องบําบัดน้ํา เสียดวยโอโซนในสภาวะความดันสูงในการลดคาซีโอดี [9] ประสิทธิภาพในถังปฏิกิริยา =

(ความเขมขนซีโอดีน้ําเขา − ความเขมขนซีโอดีน้ําออก) × 100 ความเขมซีโอดีน้ําเขา

⎛ 138 ± 8 − 66 ± 4 ⎞ =⎜ ⎟ × 100 138 ± 8 ⎝ ⎠ = 52.17 ± 2.31%

ประสิทธิภาพปลายทอของเครื่อง =

(ความเขมขนซีโอดีน้ํา เขา − ความเขมขนซีโอดีน้ํา ออก) × 100 ความเขมขนซีโอดีน้ํา เขา

⎛ 138 ± 7 − 26 ± 4 ⎞ =⎜ ⎟ × 100 138 ± 7 ⎝ ⎠ = 81.16 ± 1.20%

วิเคราะหกราฟหาความสัมพันธระหวางการลดคาบีโอดีและ ซี โอดี กับเวลา ผลการลดคาบีโอดีกับเวลาไดคา ความชัน (slope) ในถังปฏิกิริยาเทากับ –13.151 และ R2 เทากับ 0.9211 ที่ปลายทอของเครื่องไดคาความชัน (slope) เทากับ 19.35 และ R2 เทากับ 0.9308 จากรูปที่ 5 และผลการลดคา ซีโอดี กับเวลาไดคาความชัน (slope) ที่ ในถังปฏิกิริยา เทากับ –8.9268 และR2 เทากับ 0.9394 ที่ปลายทอของ เครื่อง คาความชัน (slope) เทากับ -12.3670 และ R2 เทากับ 0.9583 จากรูปที่ 6 แสดงใหเห็นวาความสัมพันธของการ ลดลงลดคาบีโอดี กับเวลามีความสัมพันธสูง โดยปริมาณบีโอ ดีในถังปฏิกิริยาจะลดลงสูงถึงรอยละ 41.18±3.10 และที่ปลาย ทอของเครื่องลดลงสูงถึงรอยละ 57.14±1.53 สวนการลดลง ของ ซีโอดี กับเวลาที่ในถังปฏิกิริยาและ ที่ปลายทอของเครื่อง ก็อยูในทิศทางเดี่ยวกันกับกรณีของ บีโอดี โดย ปริมาณซีโอดี ในถังปฏิกิริยาจะลดลงสูงถึงรอยละ 52.17±2.31 และที่ปลาย ทอของเครื่องลดลงสูงถึงรอยละ 81.16±1.20 [7] แสดงวาการ

ใชโอโซนบําบัดน้ําเสียทําใหคาบีโอดีและซีโอดี ลดลงไดอยาง เร็ว เพราะโอโซนจะทําหนาที่สองอยางพรอมกัน คือ ละลาย น้ําไดดีกวาการใชอากาศ 10 เทา ขณะเดียวกันก็จะกําจัด สารอินทรียที่ปนเปอนมากับน้ําเสียโดยขบวนการ ออกซิเดชัน (oxidation) [2,10] ในการทดลองบําบัดน้ําเสียจากชุมชนไดใชอัตราการ ไหล (flow rate) ของน้ําเสียที่ 10 l/min ซึ่งเปนอัตราการไหล (flow rate) ของน้ําที่เหมาะสมมากที่สุดในการทดลองการเพิ่ม คาออกซิเจนละลาย น้ําจากเครื่องบําบัดน้ําเสียดวยโอโซนใน สภาวะความดั น สู ง และอากาศ ที่ ผู วิ จั ย ได ศึ ก ษาจากการ ทดลองหาประสิทธิภาพในการถายเทออกซิเจนของเครื่องเติม อากาศ นําเครื่องบําบัดน้ําเสียดวยอากาศในสภาวะความดัน สูงไปบําบัดน้ําเสียชุมชน แลวบันทึกผลการทดลองสรางกราฟ หาคาความชัน (slope) และ R2 ดังแสดงในกราฟรูปที่ 7 ุ รวมทั้งหาประสิทธิภาพในการบําบัดน้ําเสีย

DO (mg/l)

Do of Oxygenation in tank 10 8 6 4 2 0

y = 0.0509x + 0.1238 R2 = 0.9717

0

20

40

60 Time (minute) Time (min)

80

100

120


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

รูปที่ 7 ผลการทดลองการเพิ่มคาออกซิเจนละลาย (dissolved oxygen: DO) น้ําเสียของชุมชนโดยใชอากาศ ในการบําบัดน้ําเสียจากชุมชนดวยโอโซนในสภาวะความดัน สู ง ในการเพิ่ ม ค า ออกซิ เ จนละลาย ไปสร า งกราฟเพื่ อ หา ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งปริ ม าณออกซิ เ จนละลายน้ํ า กั บ ระยะเวลาและหาคา ความชัน (slope) และ R 2 ดั ง แสดงใน กราฟรูปที่ 8

ผลการวิเคราะหพบวาคาความชัน (slope) เทากับ 0.0509 และ R2 เทากับ 0.9717 คา R2 เขาใกล 1 แสดงวาคา ออกซิเจนละลาย ที่เพิ่มขึ้นมีความสัมพันธกับเวลาสูงแตอัตรา การเพิ่มคาออกซิเจนละลาย เปนไปชากวาการใชโอโซนโดย เปรียบเทียบจากผลการทดลอง จากนั้นไดนําผลการทดลอง

DO (mg/l)

Do of Ozonation in tank y = 0.0783x + 0.9524 R2 = 0.9434

10 8 6 4 2 0 0

20

40

60

80

100

120

Time (minute) Time (min)

รูปที่ 8 ผลการทดลองการเพิ่มคาออกซิเจนละลาย (dissolved oxygen: DO) น้ําเสียของชุมชนโดยใชโอโซน พบวาคาความชัน (slope) เทากับ 0.0783 และ R2 เทากับ 0.9434 ค า R 2 เข า ใกล 1 แสดงว า ค า ออกซิ เ จนละลาย ที่ เพิ่มขึ้นมีความสัมพันธกับเวลาสูงอยูในระดับสูง เพราะโอโซน ละลายน้ําไดดีกวากรณีที่ใชออกซิเจนถึง 10 เทา แสดงใหเห็น วาการเพิ่มคาออกซิเจนละลาย กับเวลามีความสัมพันธ ในเชิง เสน [8] ตรงกับคํากลาวที่วา กาซโอโซนสามารถละลายน้ํา ไดดีกวากาซออกซิเจนถึง 10 เทา [2,10] จึงทําใหการเพิ่มคา ออกซิเจนละลาย จากการใชโอโซนเปนไปอยางรวดเร็วกวา

การใช อ ากาศมาก และเกิ ด ความสมดุ ล ในระบบบํ า บั ด ได รวดเร็วในเวลา 100 นาที คาออกซิเจนละลาย เทากับ 8 ทั้ง ในถังปฏิกิริยาและปลายทอของเครื่อง ได นํ า ผลการทดลองการบํ า บั ด น้ํ า เสี ย ชุ ม ชนด ว ย เครื่ อ งบํ า บั ด น้ํ า เสี ย ด ว ยโอโซนในสภาวะความดั น สู ง มา วิเคราะหกราฟความสัมพันธระหวางการลดของคาบีโอดีกับ เวลา หาคาความชัน (slope) และ R2 แสดงในกราฟรูปที่ 9

บีโอดีน้ําเสียชุมชน

รูปที่ 9 ผลการทดลองลดคาบีโอดีในน้ําเสียจากชุมชน ในถังปฏิกิริยา y = -6.0117x + 126.25 R2 = 0.9143


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ปลายทอของเครื่อง

y = -12.023x + 125.37 R2 = 0.9239 ที่ในถังปฏิกิริยาและปลายทอของเครื่อง มีคาเขาใกล 1 แสดงวาการลดของคาบีโอดีมี

ผลการวิเคราะหคา R2 ความสัมพันธกับเวลาสูง [8] การคํานวณหาประสิทธิภาพในการบําบัดน้ําเสียของการทดลองการบําบัดน้ําเสียจากชุมชนดวยเครื่องบําบัดน้ําเสีย ดวยโอโซนในสภาวะความดันสูงในการลดคาบีโอดี [9] ประสิทธิภาพในถังปฏิก ิริยา =

(ความเขมขนบีโอดีน้ํา เขา − ความเขมขนบีโอดีน้ํา ออก) × 100 ความเขมขนบีโอดีน้ํา เขา

⎛ 110 ± 5 − 67 ± 2 ⎞ =⎜ ⎟ × 100 110 ± 5 ⎝ ⎠ = 39 .09 ± 2.53%

ประสิทธิภา พปลายทอขอ งเครื่อง =

(ความเขมข นบีโอดีน้ํา เขา − ความเขมข นบีโอดีน้ํา ออก) × 100 ความเขมข นบีโอดีน้ํา เขา

⎛ 110 ± 7 − 54 ± 4 ⎞ =⎜ ⎟ × 100 110 ± 7 ⎝ ⎠ = 50.91 ± 2.53%

ได นํา ผลการทดลองการบํา บัด น้ํ า เสีย จากชุ ม ชนด ว ยเครื่ อ งบํา บั ดน้ํ า เสีย ดว ยโอโซนในสภาวะความดั น สู ง มา วิเคราะหกราฟความสัมพันธระหวางการลดของคาซีโอดี กับเวลาหาคาความชัน (slope) และ R2 แสดงในกราฟรูปที่ 10 ซีโอดีน้ําเสีย

รูปที่ 10 ผลการทดลองลดคาซีโอดีในน้ําเสียจากชุมชน ในถังปฏิกิริยา ปลายทอของเครื่อง

y R2 y R2

= = = =

-9.0405x + 116.55 0.9635 -11.343x + 118.47 0.9783

ผลการวิเคราะหคา R2 ที่ ในถังปฏิกิริยาและปลายทอของเครื่อง มีคาเขาใกล 1 แสดงวาการลดของคาซีโอดี มี ความสัมพันธกับเวลา [7] การคํานวณหาประสิทธิภาพในการบําบัดน้ําเสียของการทดลองการบําบัดน้ําเสียจากชุมชนดวยเครื่องบําบัดน้ําเสีย ดวยโอโซนในสภาวะความดันสูงในการลดคาซีโอดี [9] ประสิทธิภาพในถังปฏิกิริยา =

(ความเขมขนซีโอดีน้ําเขา − ความเขมขนซีโอดีน้ําออก) × 100 ความเขมซีโอดีน้ําเขา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ⎛ 118 ± 8 − 93 ± 6 ⎞ =⎜ ⎟ × 100 118 ± 8 ⎝ ⎠ = 21.19 ± 2.10%

ประสิทธิภาพปลายทอของเครื่อง =

(ความเขมขนซีโอดีน้ํา เขา − ความเขมขนซีโอดีน้ํา ออก) × 100 ความเขมขนซีโอดีน้ํา เขา

⎛ 119 ± 9 − 59 ± 5 ⎞ =⎜ ⎟ × 100 119 ± 9 ⎠ ⎝ = 50.42 ± 2.10%

–12.023 และ R2 เทากับ 0.9239 จากรูปที่ 9 สวนผลการ บําบัดคาซีโอดี ของน้ําเสียชุมชนในถังปฏิกิริยา (in tank) กับ เวลาที่ผานไป ไดคาความชัน (slope) เทากับ –9.0405 และ R2 เทากับ 0.9635 สวนที่ปลายทอของเครื่อง (end pipe) ได คาความชัน (slope) เทากับ –11.3430 และ R2 เทากับ 0.9783 จากรูปที่ 10 แสดงใหเห็นวาความสัมพันธระหวาง การลดลงของคา ซีโอดี และ บีโอดี กับเวลามีความสัมพันธ ในเชิงเสน ( linear correlation) โดย การลดลงของ บีโอดี ของน้ํ า เสี ย ชุ ม ชน ในถั ง ปฏิ กิ ริย า และปลายท อ ของเครื่ อ ง เทากับรอยละ 39.09±2.53 และ 50.91±2.53 ตามลําดับ สวนการลดลงของ ซีโ อดี ของน้ํา เสียชุ ม ชน ในถังปฏิกิริย า และปลายทอ ของเครื่องเท า กับรอ ยละ 21.19±2.10 และ 50.42±2.10 ตามลําดับ ทั้งนี้เพราะโอโซนจะทําหนาที่สอง อยางพรอมกัน คือ ละลายน้ําไดดีกวาการใชอากาศ 10 เทา ขณะเดียวกันจะกําจัดสารอินทรียที่ปนเปอนมากับน้ําเสียโดย ขบวนการออกซิเดชัน (oxidation) ดวย สวนประสิทธิภาพบําบัดน้ําเสียจากบอเลี้ยงกุงพบวา ความสัมพันธระหวางการลดลงของคา ซีโอดี และ บีโอดี กับ เวลามีความสัมพันธ ในเชิงเสน (linear correlation) เชนกัน โดย การลดลงของ บีโอดีของน้ําเสียจากบอกุงในถังปฏิกิริยา และปลายทอ ของเครื่องเท า กับรอ ยละ 41.18±3.10 และ 57.14±1.53 ตามลําดับ สวนการลดลงของ ซีโอดีของน้ําเสีย จากบอกุง ในถังปฏิกิริยา และปลายทอของเครื่องเทากับรอย ละ 52.17±2.31 และ 81.16±1.20 ตามลําดับ ทั้งนี้เพราะ โอโซนจะทําหนาที่สองอยางพรอมกัน คือ ละลายน้ําไดดีกวา การใชอากาศและขณะเดียวกันจะกําจัดสารอินทรียที่ปนเปอน มากับน้ําเสียโดยกระบวนการ ออกซิเดชัน (oxidation) ดวย

วิเคราะหกราฟหาความสัมพันธระหวางการลดคาบี โอดีและ ซีโอดี กับเวลา ผลการลดคาบีโอดีกับเวลาไดคา ความชัน (slope) ที่ ในถังปฏิกิริยา เทากับ –6.0117 และ R2 เทากับ 0.9143 ที่ ปลายทอของเครื่อง ไดคาความชัน (slope) เทากับ -12.023 และ R2 เทากับ 0.9239 จากรูปที่ 9 และผล การลดคาซีโอดี กับเวลาไดคาความชัน (slope) ที่ ในถัง ปฏิกิริยาเทากับ –9.0405 และR2 เทากับ 0.9635 ที่ปลายทอ ของเครื่อง คาความชัน (slope) เทากับ -11.343 และ R2 เทากับ 0.9783 จากรูปที่10 แสดงใหเห็นวาความสัมพันธของ การลดลงลดคาบีโอดี กับเวลามีความสัมพันธสูง โดยปริมาณ บีโอดีในถังปฏิกิริยาจะลดลงสูงถึงรอยละ 39.09±2.53 และที่ ปลายทอของเครื่องลดลงสูงถึงรอยละ 50.91±2.53 สวนการ ลดลงของ ซีโอดี กับเวลาที่ในถังปฏิกิริยาและ ที่ปลายทอของ เครื่อง ก็อยูในทิศทางเดี่ยวกันกับกรณีของ บีโอดี โดย ป ริ ม า ณ ซี โ อ ดี ใ น ถั ง ป ฏิ กิ ริ ย า จ ะ ล ด ล ง สู ง ถึ ง ร อ ย ล ะ 21.19±2.10 และที่ ป ลายท อ ของเครื่ อ งลดลงสู ง ถึ ง ร อ ยละ 50.42±2.10 [5] แสดงวาการใชโอโซนบําบัดน้ําเสียทําใหคาบี โอดีและซีโอดี ลดลงไดอยางเร็ว เพราะโอโซนจะทําหนาที่สอง อยางพรอมกัน คือ ละลายน้ําไดดีกวาการใชอากาศ 10 เทา ขณะเดียวกันก็จะกําจัดสารอินทรียที่ปนเปอนมากับน้ําเสีย โดยขบวนการ ออกซิเดชัน (oxidation) [2] สรุปผลการทดลอง ผลของความสัมพันธระหวางการลดลงของคา ซีโอ ดี และ บีโอดี กับเวลานั้นพบวาในการบําบัดคาบีโอดี ของน้ํา เสียชุมชน ในถังปฏิกิริยา (in tank) กับเวลาที่ผานไป ไดคา ความชัน (slope) เทากับ –6.0117 และ R2 เทากับ 0.9143 สวนที่ปลายทอของเครื่อง (end pipe) ไดคาความชัน (slope)


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

บรรณานุกรม Bollyky, L. J. 2002. Benefits of Ozone Treatment for Bottled Water. Ozone News. 31(2): 12-21. Evans, F. L. 1972. Ozone in Water and Wastewater Treatment. Ann arbor Science Pub, Inc. Michigan. p. 185. Zhou, H. and Daniel, W. 2000. Ozone Mass Transfer in Water and Wastewater Treatment: Experimental Observations Using a 2D Laser Particle Dynamics Analyzer. Water Res. 34: 909-9211. Ternes, T. A. 1998. Occurrence of Drugs in German Sewage Treatment Plants and Rivers. Water Res. 32: 3245-3260. Moris, K. 1977. Method of Sampling and Analysis, APHA Intersociety Committee. 2nd edition. American Public Health Association. Washington. APHA, AWWA, WPCF. 1995. Standard Methods for Examination of Water and Wastewater: 19th edition. American Public Health Association. Washington DC. Kutner, M. H., Christopher, J. and Buser, H. R. 2005. Applied Linear Statistical Models. 5th Edition (International Edition). McGraw-Hill Irwin.Boston. Guikford, J. P. and Benjamin, F. 1973. Fundamental Statics in Psychology and Education. McGraw-Hill Kagakusha. Tokyo. p. 215. George, T. and Franklin, B. 1991. Wastewater Engineering: Treatment, Disposal and Reuse. 3rd Edition. McGraw – Hill. New York. Frank, K. and William, B. 1980. Basic Heat Transfer. Harper & Row Publisher. New York.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

การศึ ก ษาความต อ งการคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงคของพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม ของโรงแรมชั้นนําในกรุงเทพมหานคร ซึ่งนําไปสู การพั ฒ นาชุ ด ฝ ก อบรมเพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพของ พนักงาน NEEDS ASSESSMENT OF DESIRABLE CHARACTERISTICS OF WAITSTAFF OF LEADING HOTELS IN BANGKOK : INPUTS TO THE DEVELOPMENT OF TRAINING PACKAGES TO ENHANCE CAPABILITIES OF THE WAITSTAFF พิสิษฐชา ศรีเนตร บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความตองการการฝกอบรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคของพนักงานบริการอาหารและ เครื่องดื่มในโรงแรมชั้นนําในกรุงเทพมหานคร จํานวน 236 แหง เพื่อนําขอคนพบไปเปนหัวขอในการพัฒนาชุดฝกอบรมพนักงาน บริการอาหารและเครื่องดื่ม 3 ตําแหนง คือ พนักงานเสิรฟ พนักงานผสมเครื่องดื่ม และพนักงานครัว การดําเนินการวิจัย ประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาความตองการการ ฝกอบรมพนักงานตามความคิดเห็นของผูบริหารแผนก ฝกอบรม หรือแผนกพัฒนาบุคลากร 2) การศึกษาความ ตองการคุณลักษณะอันพึงประสงคของพนักงานตามความ คิดเห็นของผูบริหารแผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม 3) การนําขอ คนพบจากการศึกษาใน 2 ขั้นตอนนี้ไปพัฒนาชุดฝกอบรม พนักงาน การนําชุดฝกอบรมที่พัฒนาขึ้นและทดลองใชเพื่อหา ประสิทธิภาพของชุดฝกอบรม และ 4) การศึกษาความคิดเห็น ของกลุมตัวอยางที่ทดลองใชชุดฝกอบรมและหาประสิทธิภาพ ของชุดฝกอบรมตามความคิดเห็นของผูบริหารแผนกบริการ อาหารและเครื่องดื่ม

ผูชวยศาสตราจารย ประจําสาขาวิชาการโรงแรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล ก ร ะ ทํ า โ ด ย ก า ร นํ า แบบสอบถามความตองการการฝกอบรมไปใหกลุมตัวอยาง ผูบริหารแผนกฝกอบรม จํานวน 20 คน ประเมินความตองการ 4 ดาน คือ ดานความรูและทักษะเฉพาะตําแหนง 3 ดาน ดาน บุคลิกภาพและการแตงกาย 1 ดาน นําขอคนพบที่ไดไปจัดทํา แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอคุณลักษณะอันพึงประสงค ของพนักงานและนําไปใหกลุมตัวอยางที่คัดเลือกจากผูบริหาร แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่มของโรงแรม 3 ขนาด (เล็ก กลาง ใหญ) กลุมละ 20 คน โดยวิธีสุมตัวอยางอยางงาย ตอไป นํ า ข อ ค น พบทั้ ง 2 ส ว นมาบู ร ณาการสร า งชุ ดฝ ก อบรมซึ่ ง มี ลั ก ษณะเป น สื่ อ ประสม 3 ชุ ด นํ า ชุ ดฝ ก อบรมไปใช กั บ กลุ ม ตั ว อย า งนั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช าการโรงแรม คณะศิ ล ปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ทดลองใชกลุมละ 10 คน โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง โดยการทดสอบคาเฉลี่ยของ คะแนนกอนการฝกอบรมและหลังการฝกอบรมดวย t-test และ ประเมินความคิดเห็นของผูเขาอบรมโดยใชแบบสอบถาม และ นําชุดฝกอบรมที่พัฒนาขึ้นไปใหกลุมตัวอยางผูบริหารแผนก บริการอาหารและเครื่องดื่มอีกกลุมหนึ่งประเมินประสิทธิภาพ โดยใชแบบสอบถาม ผลการวิ เ คราะห ข อ มู ล ด า นความต อ งการก อ น ฝกอบรมพบวา กลุมตัวอยางซึ่งเปนผูบริหารแผนกฝกอบรม 20 ทาน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมดานความรูและ ทั ก ษะในการปฏิ บั ติ ง านเฉพาะตํ า แหน ง ของพนั ก งานเสิ ร ฟ พนักงานผสมเครื่องดื่ม และพนักงานครัว อยูในระดับมากทั้ง 3 กลุม ดังนี้ พนักงานเสิรฟ พบวา ดานความรูและทักษะในการ เตรียมโตะอาหารในระดับมากทุกขอ ขอที่มีคาความคิดเห็น สูงสุด คือ การจัดวางเครื่องใชบนโตะอาหาร ( x = 4.45, S.D. = .51) สวนในดานความรูและทักษะในการรับคําสั่งอาหารมี คาเฉลี่ยความคิดเห็นระดับมากที่สุด 2 ขอ คือ การรับคําสั่ง อาหาร ( x = 4.80, S.D. = .41) และการตอนรับแขกและการ นําเสนอรายการอาหาร ( x = 4.60, S.D. = .60) ดานความรูและ ทักษะในการเสิรฟอาหารมีคาเฉลี่ยของความคิดเห็นในระดับมาก ที่สุด 1 ขอ คือ การเสิรฟอาหารและเครื่องดื่ม ( x = 4.75, S.D. = .44) ดานบุคลิกภาพและการแตงกายมีคาเฉลี่ยของความ คิดเห็นในระดับมากที่สุดทุกขอ ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ การ รักษาสุขภาพอนามัยและความสะอาด ( x = 4.90, S.D. = .31) ขอที่มีคาต่ําสุด คือ ความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน ( x = 4.60, S.D. = .50) พนั ก งานผสมเครื่ อ งดื่ ม พบว า ด า นความรู แ ละ ทั ก ษะการเตรี ย มพื้ น ที่ บ ริ ก ารในบาร มี ข อ ที่ มี ค าเฉลี่ ยสู งสุ ด (เหมาะสมมากที่ สุ ด) 3 ข อ คื อ การทํ าความสะอาดบาร และ เครื่องใช ( x = 4.90, S.D. = .31) ความรูเกี่ยวกับเครื่องดื่ม

ประเภทตาง ๆ ( x = 4.65, S.D. = .49) และการจัด โครงสรางและแผนผังบาร ( x = 4.50, S.D. = .91) ขอที่มี คาเฉลี่ยในระดับมาก คือ เครื่องมือและอุปกรณเครื่องใช ( x = 4.10, S.D. = .76) ดานความรูและทักษะการเตรียม อุป กรณแ ละผสมเครื่อ งดื่ม ขอ ที่มีคา เฉลี่ย มากที่สุด มี 2 ขอ คือ เทคนิคการผสมเครื่องดื่ม ( x = 4.55, S.D. = .51) และ การเลือกประเภทของแกวและการใชแกวอยางถูกตอง ( x = 4.50, S.D. = .81) ดานการเสิรฟเครื่องดื่มมีขอที่มีคาเฉลี่ยใน ระดับมากที่สุด 3 ขอ คือ การนําเสนอรายการเครื่องดื่ม ( x = 4.55, S.D. =.60) การเสิรฟเครื่อ งดื่ม ( x = 4.50, S.D. = .61) และความรับ ผิด ชอบในการเสิรฟ เครื่อ งดื่ม ที่มี แอลกอฮอล ( x = 4.50, S.D. = .61) ดานบุคลิกภาพและ การแต ง กาย ค า เฉลี่ ยของทุ กข อ อยู ใ นระดั บ มากที่ สุ ดโดยมี คาเฉลี่ยของขอการรักษาสุขภาพอนามัยและความสะอาดมีคาเฉลี่ย ในระดับมากที่สุด ( x = 4.90, S.D. =.31) ขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน ( x = 4.60, S.D. = .53) พนักงานครัว พบวาคาเฉลี่ยของความเหมาะสมใน ดานความรูและทักษะในการเตรียมอุปกรณงานครัว มีคาเฉลี่ย ในระดับมากที่สุด 3 ขอ คือ การเลือกและใชอุปกรณเครื่องใช ในการเตรียมอาหาร ( x = 4.75, S.D. = .72) การทําความสะอาด อุปกรณเครื่องใชในครัว ( x = 4.65, S.D. = .59) การดูแลรักษา และเก็บอุปกรณเครื่องใชในครัว ( x = 4.65, S.D. = .75) ด านความรู และทั กษะด านการเตรีย มวัต ถุด ิบ ในการปรุง อาหาร คา เฉลี่ย ของความตอ งการอยูใ นระดับ มากทุก ขอ ขอ ที ่ม ีค า เฉลี่ ย สู ง สุ ด คื อ การวางแผนและการจั ด รายการ อาหาร ( x = 4.35, S.D. = .59) ดานความรูและทักษะในการ ประกอบอาหารมี ค า เฉลี่ ย ระดั บ มากที่ สุ ด 3 ข อ คื อ หลั ก สุขอนามัยในการประกอบอาหาร ( x = 4.70, S.D. = .73) วิธี ประกอบอาหารแบบตาง ๆ ( x = 4.55, S.D. = .76) การ ปองกันอุบัติเหตุสําหรับพนักงานหรือลูกคา ( x = 4.50, S.D. = .76) ดานบุคลิกภาพและการแตงกายมีคาเฉลี่ยระดับ มากที่สุด 4 ดาน โดยมีคาเฉลี่ยดานการรักษาสุขภาพอนามัยและ ความสะอาดสูงสุด ( x = 4.90, S.D. = .31) ขอที่มีคาเฉลี่ย ต่ําสุดในกลุมนี้ คือ ความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน ( x = 4.30, S.D. = .47) โดยคาเฉลี่ยของดานบุคลิกภาพและการแตงกายสูงกวา ดานความรูและทักษะในการปฏิบัติงานตามตําแหนงในทุกกลุม ของพนักงาน สวนการวิเคราะหความตองการคุณลักษณะที่พึง ประสงคของพนักงานผูบริหารมีความตองการระดับมากและ มากที่ สุ ด โดยเฉพาะด า นบุ ค ลิ ก ภาพและการแต ง กายซึ่ ง สอดคล อ งกั บ ความต อ งการการฝ ก อบรมทุ ก กลุ ม ผลการ ทดสอบความแตกตา งของคา เฉลี่ย ระหวางคะแนนกอนการ ทดลองและคะแนนหลั ง การทดลองพบว า มี นั ย สํ า คั ญ ที่


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 hotels, each of which comprised 20 people. The findings from the study of training needs were newly grouped and provided the basis for the development of the second set of questionnaires. After these stages, the researcher developed three training packages which were multimedia ones. The packages were assigned to 30 students who enrolled in the Hotel Department, Faculty of Liberal Arts, Rajamangala University of Technology Krungthep. Ten of them were assigned randomly to receive each package. The one-grouppretest-post test experimental design was applied. After the experiment the subjects were asked to rate the efficiency of the training packages on a 5 point attitude scale. The packages were also given to another group of 15 food and beverages managers to rate their efficiency. The findings of data analysis on needs before training showed that the appropriateness of knowledge and skills in performing was viewed at more level by 20 administrators of training divisions in 3 groups: waitstaff, bartender and cooking staff as follows:Waitstaff: it was found that the knowledge and skills of setting meal tables were at more level in all topics and placing tools on the table had the highest value at x = 4.45, S.D. = .51. In knowledge and skills in taking guest’s order, two values were the order taking at x = 4.80, S.D. = .41 and welcoming and offering the menu at x = 4.60, S.D. = .60. Only one topic was at the most level (serving food and beverage, x = 4.75, S.D. = .44) in knowledge and skills of serving meal. In the average of personality and dressing, the highest value was hygiene and cleanness ( x = 4.90, S.D. = .31) and the lowest value was relation with colleagues ( x = 4.90, S.D. = .31) in knowledge and skills of serving meal. Bartender: it was found that the knowledge and skills of preparing service place in the bar were at most appropriate level in 3 topics: cleaning the bar and tools ( x = 4.90, S.D. = .31), beverage understanding ( x = 4.65, S.D. = .49) and structuring and planning the bar ( x = 4.50, S.D. = .91) and in more appropriate level in material and tools ( x = 4.10, S.D. = .76). In knowledge and skills of preparing tools and mixing

ระดับ .05 ทุกชุด การประเมินประสิทธิภาพของชุดฝกอบรม โดยใช ค ะแนน แบบฝ ก หั ด ระหว างการฝ กอบรมและคะแนน ทดสอบหลังการฝกอบรมเปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว 80/80 ทุก ชุด คือ มีคาประสิทธิภาพของชุดฝกอบรมพนักงานเสิรฟ 90/81 พนักงานผสมเครื่องดื่ม 88/80.2 และพนักงานครัว 84.80/80 สวนการประเมินประสิทธิผลของชุดฝกอบรมตามความคิดเห็นของ กลุมตัวอยางผูเขาอบรมมีความคิดเห็นตอชุดฝกอบรมพนักงาน เสิรฟ ระดับดี ( x = 4.40) ชุดฝกอบรมพนักงานผสมเครื่องดื่ม มี ความคิดเห็นระดับดีมาก ( x = 4.60) กลุมตัวอยางผูเขาอบรม ชุดฝกอบรมพนักงานครัวมีความคิดเห็นระดับดีมากเชนเดียวกัน ( x = 4.50) สวนความคิดเห็นของผูบริหารตอชุดฝกอบรมทุกชุด อยูในระดับดี ( x 1= 4.25, x 2= 4.16, x 3= 4.16 ตามลําดับ) สรุปไดว า ชุ ดฝ กอบรมเพื่ อเพิ่มศักยภาพของพนั กงานบริ การ อาหารและเครื่ อ งดื่ ม มี ค วามเหมาะสม สามารถนํ า ไปใช ฝกอบรมพนักงานไดตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว คําสําคัญ : คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค การ บริ ก ารอาหารและเครื่ อ งดื่ ม พนั ก งานบริ ก ารอาหารและ เครื่องดื่ม พนักงานเสิรฟ พนักงานผสมเครื่องดื่ม Abstract The purpose of this study were to investigate the needs for training waitstaff and desirable characteristics of them in food and beverages services of the leading hotels in Bangkok Metropolitan area. This was done to integrate the findings in developing the training packages for waiters, bartenders and cooks. The research methods followed four successive stages: 1) the needs assessment of training areas for the waitstaff according to the opinions of training or personnel managers, 2) the desirable characteristics of waitstaff according to the opinions of food and beverages managers, 3) the development of training packages to increase the capabilities of three groups of waitstaff – waiters, bartenders, and cooks and to test the effectiveness of the training packages, and 4) to find the efficiency of the packages according to the opinions of the trainees and the food and beverages managers. The collection of data was done by the administration of two sets of questionnaires to two groups of samples selected by purposive and simple random sampling techniques those who represented training or personnel managers (20), and those who represented three sizes (small, medium, and large) of


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 drink, 2 topics were at the most value i.e. technique of mixing drink ( x = 4.55, S.D. = .51) and choosing type of glasses and using the right glass ( x = 4.50, S.D. = .81). The most values in serving drinks consisted of 3 topics: presenting drink list ( x = 4.55, S.D. = .60), serving drink ( x = 4.50, S.D. = .61), and responsibility for serving alcoholic drink ( x = 4.50, S.D. = .61). All topics in personality and dressing were at the most level which the highest value was healthy and cleanness ( x = 4.90, S.D. = .31) and relation with colleagues ( x = 4.60, S.D. = .53). Cooking staff: it was found that the knowledge and skills in preparing kitchen tools were at the most level in 3 topics: choosing and using tools to prepare food ( x = 4.75, S.D. = .72), cleaning kitchen tools ( x = 4.65, S.D. = .59) and keeping kitchen tools ( x = 4.65, S.D. = .75). All topics in preparing ingredients for cooking were at more level which the highest value was planning and managing the menu ( x = 4.35, S.D. = .59). In knowledge and skills on cooking, there were 3 topics at the most level i.e. cooking hygiene ( x = 4.70, S.D. = .73), cooking styles ( x = 4.55, S.D. = .76) and safe for staff and customer’s life ( x = 4.50, S.D. = .76). There were 4 topics at the most level in personality and dressing which the highest was hygiene and cleanness ( x = 4.90, S.D. = .31) and the lowest was relation with colleagues ( x = 4.30, S.D. = .47). The most needed in all types of knowledge and 1. skills to perform the specific jobs, whereas the needs for the development of personality and dressing were the most needed. The findings on the desirable characteristics of waitstaff according to the opinions 2.of food and beverages managers were similar to those of the first group. The test of difference between the means of pretest and post test scores of each group 3. was statistically significant at .05 level. The efficiency of each training package met the creteria of 80/80. The efficiency of training package for the waiter was 90/81, the bartenders 88/80.2 and the cooks 84.80/80. For the analysis of the effectiveness, the subjects who received the package for waiters rated as highly effective ( x = 4.40); those who received the

package for bartenders rated as the most effective ( x = 4.60); and those who received the package for cooks also rated as the most effective ( x = 4.50). The food and beverages managers who were asked to rate the effectiveness of the packages rated them as highly effective, with x 1 = 4.25, x 2 = 4.16, x 3 = 4.16 respectively. In conclusion, it could be said that the newly developed training packages to enhance capabilities of waitstaff were appropriate to be applied in the food and beverages services as expected. Key words : desirable characteristics, food and beverages services, waitstaff, waiters/waitress, bartenders, cooks, ความนํา พนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่มเปนบุคลากรที่มี ความสํ า คั ญ ต อ ธุ ร กิ จ การบริ ก ารอาหารในโรงแรมและ ภัตตาคารอยางยิ่ง แตจํานวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานในดานนี้ ลดลงอยางตอเนื่อง แตละปโรงแรมและภัตตาคารมักประสบ ป ญ หาเรื่ อ งการลาออกของพนั ก งานหรื อ ถู ก ให อ อก การ แก ป ญ หาด า นความพร อ มของบุ ค ลากรวิ ธี ห นึ่ ง คื อ การ ฝ ก อบรมพนั ก งานที่ ทํ า งานอยู เ ดิ ม ให ป ฏิ บั ติ ง านได มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น หรือฝกอบรมพนักงานที่รับเขามาใหมให สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงคการวิจัย เพื่อศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงคของพนักงาน บริการอาหารและเครื่องดื่มตามความตองการของโรงแรมชั้น นําในกรุงเทพมหานคร เพื่ อ เปรี ย บเที ย บคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค ข อง พนั ก งานบริ ก ารอาหารและเครื่ อ งดื่ ม ที่ โ รงแรมขนาดต า ง ๆ ตองการ เพื่ อ ศึ ก ษาความเหมาะสมของหั ว ข อ การฝ ก อบรม สําหรับพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม 3 ตําแหนง คือ พนักงานเสิรฟ พนักงานผสมเครื่องดื่ม และพนักงานครัว ตาม ความคิดเห็นของผูบริหารแผนกฝกอบรมของโรงแรมชั้นนําใน กรุงเทพมหานคร


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 4. เพื ่อ พัฒ นาชุด ฝก อบรมเพื ่อ เพิ ่ม ศัก ยภาพของ พนัก งานบริก ารอาหารและเครื่อ งดื่ม ทั้ง 3 ตําแหนงโดยใช ขอมูลจากการวิจัยเปนฐาน 5. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเขา อบรมที่ใชชุดฝกอบรมที่พัฒนาขึ้นกอนและหลังการฝกอบรม 6. เพื่ อ ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลของ ชุดฝกอบรมที่ผูวจิ ัยพัฒนาขึ้น วิธีดําเนินการวิจัย 2.1 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรในการวิจัยประกอบดวย 3 กลุม คือ 1.1 ผู บ ริ ห า ร แ ผ น ก ฝ ก อ บ ร ม ข อ ง โ ร ง แ ร ม ใ น กรุ งเทพมหานครที่ มี ห องอาหารหรื อ ภั ต ตาคารสมบู ร ณ แ บบ ใหบริการ จํานวน 236 แหง 1.2 ผู บ ริ ห ารแผนกบริ ก ารอาหารและเครื่ อ งดื่ ม ของ โรงแรมในกรุงเทพมหานคร จํานวน 236 แหง 2.2 1.3 ประชากรที่ทดลองใชชุดฝกอบรม คือ นักศึกษาสาขาวิชาการ โรงแรม คณะศิ ลปศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล กรุงเทพ กลุมตัวอยาง ประกอบดวย 4 กลุม คือ 1.4 ผูบริหารแผนกฝกอบรมของโรงแรมใน กรุงเทพมหานคร จํานวน 20 คน ซึ่งประเมินความเหมาะสม ของหัวขอการฝกอบรมดานความรูและทักษะในการ 2.3 ปฏิบัติงานตามตําแหนงและดานบุคลิกภาพและการแตงกาย การเลือกกลุมตัวอยางใชเทคนิคการสุมตัวอยางแบบเจาะจง 1.5 ผูบริหารแผนกบริการอาหารและเครื่องดื่มของ 2.4 โรงแรมในกรุงเทพมหานคร จํานวน 60 คน สุมจากโรงแรมขนาด ใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก กลุมละ 20 คน ใชเทคนิคการสุม แบบแบงชั้น 1.6 ผูเขาอบรมทดลองใชชุดฝกอบรมเลือกจากนักศึกษา ชั้นปที่ 3 และ ชั้นปที่ 4 จํ านวน 30 คน รับการทดลองใชช2.5 ุดฝก อบรมชุ ดละ 10 คน ใช การสุ มแบบเจาะจง และสุ ม เข า รั บ การ ทดลองแบบงาย กลุมตัวอยางแตละกลุมเขารับการทดลองใช ชุ ด ฝ ก อบรมระยะเวลา 3 เดื อ น และเป น กลุ ม ที่ ป ระเมิ น ประสิทธิผลของชุดฝกอบรมหลังการทดลอง

1.7 กลุมตัวอยางที่ประเมินประสิทธิผลของชุดฝกอบรมที่ พั ฒนาขึ้ น คื อ ผู บริ หารแผนกบริ การอาหารและเครื่ องดื่ มของ โรงแรมในกรุงเทพมหานคร จํานวน 15 คน การเลือกกลุมตัวอยาง ใชเทคนิคแบบลูกโซ 2. เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ประกอบด ว ย แบบสอบถามความคิดเห็น 4 ชุด แบบทดสอบ 1 ชุด และชุดฝก อบรม 3 ชุด คือ แบบประเมินความเหมาะสมของหัวขอการฝกอบรม พนักงานบริการอาหารและเครื่อ งดื่ม 3 ตํา แหนง สํา หรับ ผูบ ริหารแผนกฝกอบรมใชประเมินความเหมาะสมของหัวขอ ที่จะนําไปพัฒนาแบบสอบถามความตองการคุณลักษณะอัน พึงประสงคข องพนักงาน และนําไปพัฒ นาชุดฝกอบรมดา น ความรู แ ละทั ก ษะในการปฏิ บั ติ ง านตามตํ า แหน ง และด า น บุคลิกภาพและการแตงกาย แบบสอบถามความต อ งการคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงคของพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม 3 ตําแหนง สํา หรับ ผูบ ริ ห ารแผนกบริ ก ารอาหารและเครื่อ งดื่ ม ประเมิ น ความต อ งการคุ ณ สมบั ติ ด า นความรู แ ละทั ก ษะในการ ปฏิบัติง านตามตํา แหนง และดา นบุค ลิก ภาพและการแตง กายเชนเดียวกับขอ 2.1 และเพิ่มเติมคุณสมบัติทั่วไปดานเพศ ระดับการศึกษา ความรู และทักษะการใชภาษา แบบประเมิน ประสิท ธิผลของชุดฝกอบรมสําหรับ ผู เขาอบรม ใชประเมินความคิดเห็นที่มีตอชุดฝกอบรม หลังการ ทดลองใชชุดฝกอบรม แบบประเมินประสิทธิผลของชุดฝกอบรมตามความ คิด เห็น ของผู บ ริห าร ใช ป ระเมิ น ความคิ ด เห็ น ของผู บ ริ ห าร แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่มที่มีตอชุดฝกอบรม หลังจาก ไดพิจ ารณาชุด ฝก อบรมแตล ะชุด แบบสอบถามทุกชุดเปน แบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ แบบของลิเคิรท ชุดฝกอบรมพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม 3 ชุด ประกอบดวย y ชุดฝกอบรมพนักงานเสิรฟ y ชุดฝกอบรมพนักงานผสมเครื่องดื่ม y ชุดฝกอบรมพนักงานครัว


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ลักษณะของชุดฝกอบรมเปนสื่อประสมประกอบดวยเอกสาร สิ่งพิมพ ใบงาน แบบฝกหัด/กิจกรรม สื่ออิเล็กทรอนิกส คูมือ การใชชุดฝกอบรม 2.6 แบบทดสอบผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น มี ลั ก ษณะ เปนขอสอบแบบเลือกตอบ (4 ตัวเลือก) 3 ชุด ชุดละ80 ขอ เปน ดานความรูและทักษะตามตําแหนง 60 ขอ ดานบุคลิกภาพและ การแตงกาย 20 ขอ ใชทดสอบผูเขาอบรมกอนและหลังการ ฝกอบรม 3. แบบแผนของการวิจัย การวิ จั ย นี้ มี รู ป แบบเป น การวิ จั ย และพั ฒ น า (Research and Development) โดยขั้นแรกเปนการสํารวจ ความคิ ด เห็ น นํ า ผลการสํ า รวจมาเป น ข อ มู ล พื้ น ฐานในการ พั ฒ นาชุ ด ฝ ก อบรม นํ า ชุ ด ฝ ก อบรมไปทดลองใช กั บ กลุ ม ตั ว อย า ง โดยใช แ บบแผนการทดลองแบบ One-grouppretest-posttest design และศึกษาความคิดเห็นของกลุม ตัวอยางผูเขารับการทดลอง (การฝกอบรม) และผูบริหารที่มีตอ ชุดฝกอบรม 4. สถิติที่ใชในการวิจัย 4.1 การวิเคราะหความคิดเห็นของกลุมตัวอยาง ทุกกลุมใชการหาคาเฉลี่ยและคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.2 การทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและ หลังการฝกอบรม ใช t-test (Dependent) 4.3 การหาประสิทธิภาพของชุดฝกอบรมตาม เกณฑ 80/80 หาคารอยละของกระบวนการจากการ เปรียบเทียบรอยละของคะแนนการทําแบบฝกหัดระหวางการ ฝกอบรมและคะแนนทดสอบหลังการฝกอบรม ผลการวิจัย 1. การศึ ก ษาความเหมาะสมของหั ว ข อ การ ฝกอบรม ซึ่งนําไปกําหนดเปนความตองการคุณลักษณะอันพึง ประสงคของพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม ตามความ คิดเห็นของผูบริหารแผนกฝกอบรมพบวา ผูบริหารมีความคิดเห็น ในระดับเหมาะสมมากและเหมาะสมมากที่สุดในแตละดาน โดยใน ดา นการพัฒ นาบุค ลิกภาพและการแตง กาย มีคา เฉลี่ย ของ ความคิด เห็น ในระดับ เหมาะสมมากที่ส ุด สํา หรับ พนัก งาน เสิร ฟ พนัก งานผสมเครื ่อ งดื ่ม และพนัก งานครัว และมี

คาเฉลี่ยสูงกวาความเหมาะสมดานความรูและทักษะในการ ปฏิบัติงานตามตําแหนง 2. คุณสมบัติอันพึงประสงคดานคุณสมบัติทั่วไป พบวาผูบริหารแผนกบริการอาหารและเครื่องดื่มตองการ พนักงานเสิรฟเพศหญิง พนักงานผสมเครื่องดื่มและพนักงาน ครัวเพศชาย ดานวุฒิการศึกษาตองการผูจบการศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สวนดานภาษาตองการพนักงาน เสิรฟและพนักงานผสมเครื่องดื่มที่มีความสามารถในการใช ภาษาอังกฤษ สวนพนักงานครัวตองการผูที่มีความสามารถใน การใชภาษาไทย โดยโรงแรมขนาดใหญมีคาเฉลี่ยความ ตองการพนักงานที่มีคุณสมบัติดานวุฒิการศึกษาและดาน ความสามารถในการใชภาษาสูงกวาโรงแรมขนาดกลางและขนาด เล็ก ดานความรูและทักษะในการปฏิบัติงานตาม ตําแหนง โดยภาพรวมโรงแรมทุกขนาดตองการพนักงานที่มี คุณสมบัติในการทํางานตามตําแหนงในระดับมากและระดับมาก ที่สุดทุกตําแหนง โดยมีคาเฉลี่ยความตองการคุณสมบัติดาน บุคลิกภาพและการแตงกายสูงกวาคาเฉลี่ยความตองการ คุณสมบัติดานความรูและทักษะเฉพาะตําแหนงทั้งที่โรงแรม ขนาดใหญมีคาเฉลี่ยของความตองการคุณสมบัติทุกดานสูง กวาโรงแรมขนาดกลางและขนาดเล็ก 3. ผลการทดสอบการทดลองใชชุดฝกอบรม 3 ชุด กับกลุมตัวอยาง 30 คน รับการทดลองชุดละ 10 คน ผลการ ทดสอบคาเฉลี่ยของคะแนนกอนและหลังการฝกอบรมแสดงใน ตารางที่ 1-3


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ตาราง 1 แสดงผลการวิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ยกอนและหลังการฝกอบรมใชชุดฝกอบรมพนักงานเสิรฟ การทดสอบ กอนใชชุดฝกอบรม หลังใชชุดฝกอบรม * p < 0.05, df = 9

N 10 10

คะแนนเต็ม 80 80

x 40.7 64.5

S.D. 4.49 4.22

t 24.404*

จากตาราง 1 พบวาคาเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมตัวอยางที่ใชชุดฝกอบรมพนักงานเสิรฟแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคาเฉลี่ยของคะแนนหลังการฝกอบรม ( x = 64.5) สูงกวาคาเฉลี่ย ของคะแนนกอน การฝกอบรม ( x = 40.7) อยางเห็นไดชัด ตาราง 2 แสดงผลการวิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ยกอนและหลังการฝกอบรมใชชุดฝกอบรมพนักงานผสมเครื่องดื่ม การทดสอบ กอนใชชุดฝกอบรม หลังใชชุดฝกอบรม

N 10 10

คะแนนเต็ม 80 80

x 38.80 64.20

S.D. 5.24 3.58

t 17.941*

* p < 0.05, df = 9 จากตาราง 2 พบวาคาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมตัวอยางที่ใชชุดฝกอบรมพนักงานผสม เครื่องดื่มกอนและหลังการใชชุดฝกอบรมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคาเฉลี่ยหลัง การใชชุดฝก อบรม ( x = 64.20) สูงกวากอนการใชชุดฝกอบรม ( x = 38.80) ตาราง 3 แสดงผลการวิเคราะหของคาเฉลี่ยกอนและหลังการฝกอบรมใชชุดฝกอบรมพนักงานครัว การทดสอบ กอนใชชุดฝกอบรม หลังใชชุดฝกอบรม * p < 0.05, df = 9

N 10 10

คะแนนเต็ม 80 80

x 38.20 64.00

S.D. 6.01 4.29

t 18.264*

จากตาราง 3 พบวา คา เฉลี่ย ของคะแนนผลสัม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของกลุม ตัว อยา งที่ใ ชชุดฝกอบรมพนักงานครัว กอนและหลังการฝกอบรมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคาเฉลี่ยหลังการใชชุดฝกอบรม ( x = 64.00) สูง กวาคาเฉลี่ยกอนการใชชุดฝกอบรม ( x = 38.20) 4. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของชุดฝกอบรมระหวางการฝกอบรมและหลังการฝกอบรมพบวามีคาประสิทธิภาพ ดัง แสดงในตาราง 4


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ตาราง 4 แสดงประสิทธิภาพของชุดฝกอบรมพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม 3 ตําแหนง ชุดฝกอบรม พนักงานเสิรฟ พนักงานผสมเครื่องดื่ม พนักงานครัว

N 10 10 10

E1 90.00 88.00 84.80

E2 81.00 80.20 80.00

E1/E2 90.00/81.00 88.00/80.20 84.80/80.00

ประเมินรายการตาง ๆ ในระดับดีมาก 8 ขอ จาก 16 ขอ โดย 5 ขอแรกที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดและรองลงไป คือ ผูเขาอบรมมีความ พึงพอใจที่ไดเรียนรูและฝกทักษะจากชุดฝกอบรม ชุดฝกอบรม มีความเหมาะสมที่จะนําไปเผยแพรแกผูที่สนใจ ชุดฝกอบรม เหมาะสมที่จะนําไปใชฝกอบรมผูที่ประกอบวิชาชีพอยูแลว การ เรียนรูจากชุดฝกอบรมชวยใหผูเขาอบรมนําไปประยุกตใชใน การปฏิบัติงานได และชุดฝกอบรมมีกิจกรรมการฝกทักษะที่ สอดคลองกับเนื้อหา 6. ผลการวิเคราะหประสิทธิผลของชุดฝกอบรมจาก การประเมิ น ของผู บ ริ ห ารแผนกบริก ารอาหารและเครื่ อ งดื่ ม พบวาผูบริหารมีความคิดเห็นในระดับดีตอชุดฝกอบรมทุกชุด โดยมีคาเฉลี่ยของความคิดเห็นตอชุดฝกอบรมพนักงานเสิรฟ x = 4.25 ความคิดเห็นตอชุดฝกอบรมพนักงานผสมเครื่องดื่ม x = 4.16 และความคิดเห็นตอชุดฝกอบรมพนักงานครัว x = 4.16 เชนเดียวกัน โดยมีขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดและรองลงไป 3 ขอแรกสําหรับชุดฝกอบรมพนักงานเสิรฟ คือ การฝกทักษะตาม ใบงานชวยใหผูเขาอบรมมีประสบการณตรง ชุดฝกอบรมเปด โอกาสใหผู เ ขา อบรมเรีย นรู ด ว ยตนเอง และผู เ ข า อบรม สามารถนําความรูและทักษะไปใชในการปฏิบัติงานได สําหรับ พนักงานผสมเครื่องดื่มผูบริหารเห็นวาชุดฝกอบรมสอดคลอง กับสภาพของงานที่ปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ คําชี้แจง ในคูมือการใชชุดฝกอบรมมีความชัดเจนสามารถศึกษาและ ปฏิ บั ติ ต ามชั้ น ตอนจนครบกระบวนการ และผู เ ข า อบรม สามารถนําความรูและทักษะที่ไดรับไปใชในการปฏิบัติงานได ส ว นชุ ด ฝ ก อบรมพนั ก งานครั ว ซึ่ ง มี ค า เฉลี่ ย สู ง สุ ด 3 ข อ แรก ตามลําดับ คือ เนื้อหามีความตอเนื่องเปนไปตามลําดับขั้นตอน เนื้อหา (หนวยเรียนและบทเรียน) มีความถูกตองตามหลักวิชา และเนื้อหามีความสมบูรณและครอบคลุมสาระสําคัญที่ผูเขา อบรมควรรู

จากตาราง 4 พบว า ประสิท ธิ ภ าพของชุ ดฝ ก อบรมซึ่ง เป น ค า เฉลี่ ย ร อ ยละในการทํ า แบบฝ ก หั ด /กิ จ กรรมระหว า งการ ฝกอบรม (E1) และคาเฉลี่ยรอยละของคะแนนทดสอบหลังการ ฝกอบรม (E2) ของชุดฝกอบรมทุกชุดเปนไปตามเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว 5. ผลการวิ เ คราะหป ระสิท ธิ ผ ลของการใชชุ ด ฝ ก อบรมตามความคิดเห็นของกลุมตัวอยางผูเขารับการฝกอบรม (ทดลอง) ใชชุดฝกอบรมพนักงานผสมเครื่องดื่มและพนักงาน ครัวอยูในระดับดีมาก ( x = 4.60, S.D. = 0.48 และ x = 4.50, S.D. = 0.40 ตามลําดับ) สวนความคิดเห็นของผูเขา อบรมทดลองใชชุดฝกอบรมพนักงานเสิรฟมีความคิดเห็นใน ระดับดี ( x = 4.40, S.D. = 0.60) โดยผูเขาอบรมทดลองใช ชุดฝกอบรมพนักงานครัวประเมินระดับดีมากในขอชุดฝกอบรมมี กิจกรรม การฝกทักษะที่สอดคล องกับเนื้อหา เนื้อหาสาระ ครอบคลุมความรูและทักษะที่จะนํ าไปใช ผูเขาอบรมมีค วาม กระตือรือรนเมื่อเรียนดวยชุดฝกอบรม ชุดฝกอบรมชวยใหผูเขา อบรมทบทวนได ต ลอดเวลา ชุ ดฝ กอบรมช วยให ผู เข าอบรม เรียนรูสิ่งใหม ๆ และทันสมัย และชุดฝกอบรมเปดโอกาสใหผูเขา อบรมมีสวนรวมในกิจกรรมอยางเต็มที่ (จากคาเฉลี่ยสูงสุดและ นอยกวาตามลําดับ) สํ า หรั บ ผู เ ข า อบรมชุ ดฝ ก อบรมพนั ก งานผสม เครื่องดื่มประเมินประสิทธิผลของชุดฝกอบรมในระดับดีมากเกือบ ทุกขอ (14 ขอ จาก 16 ขอ) ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดและรองลงไป ตามลํ า ดั บ 5 ข อ คือ ชุด ฝก อบรมมีเ ทคนิค การนํ า เสนอที่ นาสนใจ ผูเขาอบรมมีความพึงพอใจที่ไดเรียนรูและฝกอบรม ชุดฝกอบรมชวยใหผูเขาอบรมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับงาน วิชาชีพมากขึ้น ชุดฝกอบรมชวยใหผูเขาอบรมทบทวนบทเรียนได ตลอดเวลา และชุดฝกอบรมชวยใหผูเขาอบรมเรียนรูสิ่งใหม ๆ และทันสมัย สวนผูเขาอบรมใชชุดฝกอบรมพนักงานครัวซึ่ง ประเมิ น ประสิ ท ธิ ผ ลของชุ ด ฝ ก อบรมในระดั บ ดี ม าก และ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 1. ผลการสํารวจความคิดเห็นของผูบริหารแผนก ฝ ก อบรมที่ มี ต อ หั ว ข อ การฝ ก อบรมและการสํ า รวจความ ตองการคุณลักษณะที่พึงประสงคของพนักงานบริการอาหาร และเครื่ อ งดื่ ม ตามความคิ ด เห็ น ของผู บ ริ ห ารแผนกบริ ก าร อาหารและเครื่องดื่มมีความสอดคลองกัน คือ ผูบริหารทั้งสอง กลุมใหความสําคัญ กับคุณลักษณะดานบุคลิกภาพและการ แตง กายสูง กวา ความรู แ ละทัก ษะในการปฏิ บั ติ ง านตาม ตําแหนงสอดคลองกับความคาดหวังของลูกคาที่มาใชบริการ ซึ่งลูกคาใหความสําคัญกับคุณภาพของการบริการซึ่งหมายถึง คุณภาพของพนักงานมากกวาราคาและคุณภาพของอาหาร ผลการวิจัยชี้ใหเห็นวาการที่สถานประกอบการมีพนักงานที่มี คุ ณ สมบั ติ ด า นบุ ค ลิ ก ภาพเหมาะสมจะช ว ยสร า งความ ประทับใจแกลูกคาได ดังนั้น ในการพัฒนาพนักงานโดยการ ฝกอบรมควรบรรจุการพัฒนาดานบุคลิกภาพและการแตงกาย ไวดวย 2. ผลการทดสอบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของกลุ ม ตั ว อย า งหลั ง การอบรมเปรี ย บเที ย บกั บ คะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนการฝกอบรมพบความแตกตาง อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทุก กลุ ม ที ่เ ขา รับ การอบรมเปน ไปตาม สมมติฐ านโดยมีคา เฉลี่ย หลัง การฝก อบรมสูง กวา คา เฉลี่ย กอนการฝกอบรม แสดงวาชุดฝกอบรมทําใหผูเรียนมีผลการ เรียนรูจากการฝกอบรมสูงขึ้น และการวิเคราะหประสิทธิภาพ ของชุ ด ฝ ก อบรมโดยการเปรี ย บเที ย บคะแนนจากการทํ า แบบฝกหัดระหวางการฝกอบรมและคะแนนทดสอบหลังการ ฝกอบรมเปนไปตามเกณฑประสิทธิภาพที่ตั้งไว แสดงวาชุด ฝ ก อบรมที่ ผู วิ จั ย สร า งขึ้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพตามที่ ค าดหวั ง สามารถนําไปใชฝกอบรมพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม ในสถานประกอบการได

3. การประเมิ น ประสิ ท ธิ ผ ลของชุ ด ฝ ก อบรมโดย กลุ ม ตั ว อย า งผู ใ ช ชุ ด ฝ ก อบรมทั้ ง 3 ชุ ด พบว า ผู เ ข า อบรมมี ความคิ ด เห็ น ในระดั บ ดี ม ากต อ ชุ ด ฝ ก อบรม 2 ชุ ด คื อ ชุ ด ฝกอบรมพนักงานผสมเครื่องดื่มและชุดฝกอบรมพนักงานครัว ในขณะที่ชุดฝกอบรมพนักงานเสิรฟมีคาเฉลี่ยในระดับดีเกือบ ถึงระดับดีมาก สวนการประเมินประสิทธิผลของชุดฝกอบรม จากความคิ ด เห็ น ของผู บ ริ ห ารแผนกบริ ก ารอาหารและ เครื่ อ งดื่ ม อยู ใ นระดั บ ดี ทุ ก ชุ ด อาจสรุ ป ได ว า ชุ ด ฝ ก อบรม สามารถนําไปใชฝกอบรมไดผลตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว 4. ข อ เสนอแนะสํ า หรั บ สถาบั น การศึ ก ษาที่ ผ ลิ ต กําลังคนสูตลาดแรงงานในอุตสาหกรรมการบริการอาหารและ เครื่ อ งดื่ ม คื อ ควรมี ก ารผลิ ต กํ า ลั ง คนที่ มี บุ ค ลิ ก ภาพตามที่ สถานประกอบการตองการควบคูไปกับการพัฒนาดานความรู แ ล ะ ทั กษ ะ ใ น กา ร ทํ า ง า น ร ว ม ทั้ ง ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม รู ความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ และควรมีการรวมมือกัน อยางใกลชิดระหวางสถาบันการศึกษาและสถานประกอบการใน การพัฒนาหลักสูตรและการฝกประสบการณการเรียนรู 5. ข อ เสนอแนะในการวิ จั ย คื อ ควรศึ ก ษาความ ตองการการฝกอบรมพนักงานบริการในอุตสาหกรรมบริการ อาหารและที่พักในตําแหนงอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และศึกษาความ ตองการคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูบริหารตลอดจนการ พัฒนาชุดฝกอบรมผูบริการ เชน การสรางภาวะผูนํา การใช เทคโนโลยีในการบริหาร และอื่น ๆ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

บรรณานุกรม นิคม ตังคะพิภพ. สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษา : มโนทัศนและการประยุกต การวิเคราะหความแปรปรวนรวม และ การออกแบบการวิจัยทางการศึกษา. โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543. พวงรัตน ทวีรัตน. วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 8. สํานักงานทดสอบทางการศึกษาและ จิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2543. วิชัย วงษใหญ. กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน. สุวิริยาสาสน, 2537. Babbie, Earl. The Practice & Social Research. 9th ed., Wadsworth Thomson Learning, 2001. Best, Johnson W. Research in Education. 4th ed. Englewood Cliffs : Prentice – Hall Inc., 1981. Lefever, Michael. M. Restaurant Reality : A Manager’s Guide. Van Nostrand Reinhold. 1989. Mill, Robert Christie. Restaurant Management : Customers, Operations and Employees.4th ed. Prentice Hall, 2001. Miller, Jack E. and Walk, Mary. Personnel Training Manual for Hospitality. Van Nostrand & Reinhold, 1991. Richard, M.D.; Sundaram, D.S., Allaway, A.W. “Service, Quality and Choice Behavior : An Empirical Investigation”. Journal of Restaurant and Foodservice Marketing (USA). Vol 1:2:93-109. Sherman, Jr., Arther and Bohlander, George W. Managing Human Resource. 9th ed., South-Western, 1992.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

การพัฒนาทักษะการคิดโดยใชชุดการเรียนรูเพื่อ พัฒนาทักษะการคิด ของนักเรียนระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานชวงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3) จังหวัดสงขลา THE DEVELOPMENT OF THINKING SKILL THROUGH LEARNING MODULE FOR THE STUDENT IN THE THIRD LEVEL EDUCATION (M1-M3) IN SONGKHLA PROVINCE. พัชรี จิ๋วพัฒนกุล บทคัดยอ การวิจัยการพัฒนาทักษะการคิดจากชุดการเรียนรู เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด ของนั ก เรี ย นมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ เปรียบเทียบผลการพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียนในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ชวงชั้นที่ 3 (ม.1 – ม.3) ที่ใชชุดการเรียนรู เพื่อพัฒนาทักษะการคิดกอนและหลังการทดลอง กลุมตัวอยาง ที่ใชในการศึกษา เปนนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานชวง ชั้นที่ 3 (ม.1 – ม.3) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 โรงเรียน หาดใหญว ิท ยาลัย 2 สัง กัด สํ า นัก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา สงขลา เขต 2 จํานวน 3 หองเรียน 144 คน เครื่องมือที่ใชใน การเก็บรวบรวมขอมูลคือ แบบทดสอบวัดทักษะการคิด 4 ทักษะ ไดแก ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดสังเคราะห ทักษะ การคิดสรางสรรค และทักษะการคิดปญหาและแบบสอบถาม ความพึงพอใจตอการใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด การวิเคราะห ขอมูลใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS และสถิติที่ใช วิเคราะหขอมูลไดแก คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบที (t-test)

อาจารย คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ผลการวิจัยพบวา 1. คะแนนทดสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะ การคิดสังเคราะห ทักษะการคิดสรางสรรค และทักษะการคิด แกปญหา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1- มัธยมศึกษาปที่3 โรงเรี ย นหาดใหญ วิ ท ยาลั ย 2 หลั ง การใช ชุ ด การเรี ย นรู เ พื่ อ พัฒนาทักษะการคิดสูงกวาคะแนนทดสอบกอนการใชชุดการ เรี ย นรู เ พื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ 0.05 ทั้ง 4 ทักษะ 2. คะแนนความพึงพอใจตอการใชชุดการเรียนรูเพื่อ พัฒนาทักษะการคิดของครูโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย 2 โดย ภาพรวมอยู ใ นระดั บ มาก โดยมี ค า เฉลี่ ย 4.45 และ ค า ส ว น เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.68 3. คะแนนความพึงพอใจตอการใชชุดการเรียนรูเพื่อ พัฒนาทักษะการคิดของนักเรียนโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย 2 โดยภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ย 4.44 และ คาสวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.62 Abstract The purpose of this study was to compare the development thinking skill from the Management Learning Module for Development Thinking Skill to the student in the third level education (m1-m3) of Hatyai Vittayalai School in three classes with 144 students The instruments used were the test of thinking skill such as the analytical thinking skill, the synthesistype thinking skill, the creative thinking skill and the problem-solving thinking skill, and the questionnaires to both teachers and students about the use of thinking skills in the classroom. The data was analyzed by using the SPSS statistically by mean, standard deviation and t-test. The results are: 1. Hatyai Vittayalai school students post-test was higher than the pre-test in the four thinking skills. 2. Hatyai Vittayalai school teachers found out that the use of the Management Learning Module for Development Thinking Skills is very effective to the learning of the students and easy for them to use. 3. Hatyai Vittayalai school students found out that the use of the Management Learning. Module for Development Thinking Skills is very effective to the learning of student and easy for them to use. บทนํา การปฏิ รู ป การเรี ย นรู เ ป น หั ว ใจของการปฏิ รู ป การศึกษา ครูจะตองปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนไดมี

กระบวนการเรียนรูที่เหมาะสม ใหสามารถพัฒนาผลการเรียนรู ไปตามมาตรฐานที่ ค าดหวั ง เป น ไปตามจุ ด ประสงค แ ละ เป า หมายแห ง การปฏิ รู ป การศึ ก ษาแห ง พระราชบั ญ ญั ติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (สํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาแห ง ชาติ . 2545) ไดกําหนดแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรูไวในหมวด 4 มาตราที่ 24 วา “...ครูควรจัดเนื้อหาสาระโดยบูรณาการสาระ ความรูดานตางๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน และจัดกิจกรรมให สอดคล อ งกับ ความสนใจและความถนัด ของผูเรียน โดยจั ด สภาพแวดลอมสรางบรรยากาศและอํานวยความสะดวกใหแก ผูเรียนในการใชกระบวนการตางๆ อาทิ กระบวนการเรียนรูจาก ประสบการณจริง กระบวนการคิด การฝกปฏิบัติ การนําความรู ไปประยุกตใช การเผชิญสถานการณ การแกปญหาและการ วิจัย ซึ่งกระบวนการเหลานี้จะสามารถชวยใหผูเรียนเกิดการ เรี ย นรู ไ ด ดี และผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นดี ขึ้ น รวมทั้ ง มี คุณลักษณะที่พึงประสงค เชน คิดเปน ทําเปน ใฝรู รักการอาน มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่ดีงาม...” ดังนั้นการปฏิรูป กระบวนการเรี ย นรู ข องนั ก เรี ย นให ส อดคล อ งกั บ การปฏิ รู ป การศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาไดนั้น จะตองปรับทั้ง ระบบเปลี่ยนทั้งกระบวนทัศน (Paradigm) และการปฏิรูปของ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข อ งทุ ก ฝ า ย ได แ ก ครู นั ก เรี ย น ผู บ ริ ห าร ผูปกครอง และชุมชน ซึ่งนับเปนเรื่องที่ทําไดยากมาก การที่จะ ดํ า เนิ น การให ป ระสบความสํ า เร็ จ และดํ า รงให ยั่ ง ยื น ไว ไ ด จะต อ งมี ก ลยุ ท ธ ใ นการดํ า เนิ น งานและมี ยุ ท ธศาสตร ที่ เหมาะสม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ไดกําหนดแนวทาง ในการจั ด การศึ ก ษาคื อ ให ยึ ด หลั ก การที่ ว า ผู เ รี ย นสามารถ เรียนรูและพัฒนาตนเองได โดยผูเรียนมีความสําคัญที่สุด เนน ความสํ า คั ญ ทั้ ง ความรู คุ ณ ธรรม การบู ร ณาการและจั ด กระบวนการเรี ย นรู โ ดยสถาบั น การศึ ก ษาและหน ว ยงานที่ เกี่ ย วข อ ง ดั ง นั้ น หลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานพุ ท ธศั ก ราช 2544 ไดกําหนดเปาหมายของหลักสูตรที่มุงเนนใหผูเรียนเกิด การเรี ย นรู ใ นทุ ก ด า น ทั้ ง รู จั ก คิ ด วิ เ คราะห สั ง เคราะห มี กระบวนการคิดอยางมีเหตุผล อันจะนําไปสูการศึกษาตอใน ระดั บ อุ ด มศึ ก ษาหรื อ นํ า ไปใช ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542: 2) แตผลการ ประเมินคุณภาพการศึกษาของสํานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ที่สรุปผลการดําเนินงานใน รอบ 5 ป (พ.ศ. 2544-2548) พบวาในมาตรฐานดานผูเรียน มาตรฐานที่ 4 ที่วาผูเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิ ด สั ง เคราะห มี วิ จ ารณญาณ มี ค วามคิ ด สร า งสรรค คิ ด ไตรตรอง และมีวิสัยทัศน ของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ในการที่จะนํามาใชเปนนวัตกรรมในการจัดการเรียนรูใหบรรลุ วัตถุประสงคของการศึกษาตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาทักษะการคิด โดยใชชุดการเรียนรูเพื่อ พัฒนาทักษะการคิดของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชวงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3) 2. เพื่อเปรียบเทียบผลการพัฒนาทักษะการคิดของ นักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานชวงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3) ที่ ใช ชุ ด การเรี ย นรู เ พื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด ก อ นและหลั ง การ ทดลอง 3. เพื่ อ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด ข อ ง นั ก เ รี ย น ใ ห มี คุณลักษณะตามตัวบงชี้ ในมาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพ ภายนอกของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา สมมติฐานการวิจัย ทักษะการคิดในดานการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิด สรางสรรค และคิดแกปญหา ของนักเรียนในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานชวงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3) หลังการทดลองสูงกวากอน การทดลองเมื่อไดรับการจัดการเรียนรูจากชุดการเรียนรูเพื่อ พัฒนาทักษะการคิด วิธีการดําเนินการวิจัย ประเภทของงานวิ จั ย เป น การวิ จั ย เชิ ง ทดลองเพื่ อ เปรี ย บเที ย บผลการพั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด ของนั ก เรี ย นระดั บ การศึกษาขั้นพื้นฐานชวงชั้นที่ 3 (ม1-ม.3) ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ เปนนักเรียนระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานชวงชั้นที่3 (ม.1-ม.3) ปการศึกษา 2550 โรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย 2 กลุมตัวอยาง เปนนักเรียนระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานชวงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 โรงเรี ย นหาดใหญ วิ ท ยาลั ย 2 สั ง กั ด สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษาสงขลา เขต 2 จํานวน 3 หองเรียน (ชั้นละ 1 หองเรียน) ซึ่งไดมาโดยวิธีการสุมอยางงาย ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน ไดแก ชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด ตัวแปรตาม ไดแก ทักษะการคิดของนักเรียน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 3.1 ชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด ซึ่งเปน เอกสารชุดการเรียนรู ที่สรางขึ้นโดยผูวิจัยเปนหัวหนาโครงการ จัดอบรมปฏิบัติการ “การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการ คิ ด ” ให กั บ ผู บ ริ ห ารและครู ผู ส อนของโรงเรี ย นกลุ ม ตั ว อย า ง

โดยภาพรวมทั้ ง ประเทศ มี ส ถานศึ ก ษาเพี ย งร อ ยละ 11.1 เทานั้น ที่สามารถจัดการศึกษาแลว ผูเรียนมีความสามารถใน การคิ ด วิ เ คราะห คิ ด สั ง เคราะห มี วิ จ ารณญาณ มี ค วาม สรางสรรค คิดไตรตรอง และมีวิสัยทัศน ที่มีผลการประเมินอยู ในระดั บ ดี (สํ า นั ก รั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึกษา, 2549: 6) จากความจําเปนและสภาพปญหา ดัง กลา ว จึง มี ค วามจํา เปน อย า งยิ่ง ที่ จะต อ งพัฒ นาคุณ ภาพ ผู เ รี ย นในระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานให ไ ด ม าตรฐานตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ซึ่ง เปน หนว ยงานทางการศึก ษาที่มีภ ารกิ จ บริการชุม ชนในการ ประสาน สนับสนุน สงเสริมการจัดการเรียนการสอนในระดับ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานให แ ก ชุ ม ชน มี ห น า ที่ ใ นการศึ ก ษา วิเคราะห วิจัย และรวบรวมขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาใน เขตพื้นที่การศึกษา ในเขตบริการ หรือดําเนินการสนับสนุนหรือ บริ ห ารการศึ ก ษาให บ รรลุ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษา แห ง ชาติ ดั ง นั้ น เพื่ อ ร ว มกั น พั ฒ นาคุ ณ ภาพของผู เ รี ย นให มี ความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดแกปญหา และคิดสรางสรรคใหไดคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนดจึงตอง หาแนวทางที่ จ ะพั ฒ นาคุ ณ ภาพผู เ รี ย นให ไ ด ต ามมาตรฐาน ดังกลาว โดยจะตองเริ่มจากการวางแผนการจัดการเรียนรู ซึ่ง ในการจัดการเรียนรูเพื่อมุงใหผูเรียนมีความสามารถในการคิด นั้น มี รูป แบบวิ ธีการที่หลากหลาย สามารถจัดการเรียนรูใ ห สํ า เร็ จ ได ห ลายระดั บ รู ป แบบการจั ด การเรี ย นรู ดั ง กล า วนั้ น สามารถคนหาไดหลายแนวทาง อาทิจากเอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวของ จากผูปฏิบัติจริงในสถานศึกษา เปนตน ดังนั้นการ หารู ป แบบและแนวทางในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพผู เ รี ย นให มี ความสามารถในการคิด จึงเปนแนวทางหนึ่งที่จะนําไปสูการหา รูป แบบวิธีการที่กอ ใหเกิ ดผลสํ า เร็จ ตามเปา หมายสูง สุด ซึ่ ง จะต อ งเป น วิ ธี ก ารที่ จ ะได ม าซึ่ ง การบู ร ณาการรู ป แบบและ แนวทางที่ดีในบริบทของทองถิ่น ก็คือการศึกษากรณีตัวอยาง เพื่อสังเคราะหหารูปแบบการจัดการเรียนรูจากวิธีปฏิบัติงานที่ เปนเลิศ (Best Practice) ที่สามารถนําไปใชในบริบทของ โรงเรียนแลวกอใหเกิดผลสําเร็จสูงสุด ดังนั้น ผูวิจัย ซึ่งทํางาน อยูในสังกัดคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จึงได ดําเนินงานวิจัยโดยใชกระบวนการการมีสวนรวมในการพัฒนา ทักษะการคิดของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใชวิธีการ วิจัยประเภทการวิจัยและพัฒนา โดยการหารูปแบบการจัดการ เรี ย นรู ที่ ส ามารถพั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด ของนั ก เรี ย นในระดั บ การศึกษาขั้นพื้นฐานใหไดตามมาตรฐานการศึกษา ตามเกณฑ ที่สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาได กําหนดไวมาเปนรูปแบบชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 โดยที่เนนกระบวนการมีสวนรวมของผูเขาอบรม เมื่อผูเขาอบรม ไดนําความรู ความเขาใจที่ไดจากวิทยากร และจากการศึกษา เพิ่มเติมจากเอกสาร แลวรวมกันสรางนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา ทักษะการคิด นวัตกรรมที่ไดเปนชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะ การคิด จํานวน 2 เลม เลมที่ 1 คูมือและสื่อการพัฒนาทักษะการ คิด เปนกิจกรรมและองคความรูเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการ คิด 4 ทักษะ จํานวน 32 กิจกรรม ไดแก ทักษะการคิด วิเคราะห จํานวน 8 กิจกรรม ทักษะการคิดสังเคราะห จํานวน 8 กิจกรรม ทักษะการคิดสรางสรรค จํานวน 8 กิจกรรม และ ทักษะการคิดแกปญหา จํานวน 8 กิจกรรม เลมที่ 2 แบบบันทึกขอมูล การพัฒนาทักษะ การคิด (สําหรับครู) มีแบบทดสอบการวัด กอนและหลัง การ ใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด แบบบันทึกคะแนน การพัฒนาทักษะการคิด 4 ทักษะ คือทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดสังเคราะห ทักษะการคิดสรางสรรค และทักษะ การคิดแกปญหา และแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช ชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด 3.2 แบบฝกทักษะการคิด 4 ทักษะ จํานวน 32 กิจกรรม 3.3 แบบทดสอบวัดทักษะการคิด 3.4 แบบสอบถามความพึงพอใจของครูตอการใชชุด การเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด 3.5 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนตอการ ใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด

4. วิธเี ก็บรวบรวมขอมูล 4.1 กอนดําเนินการจัดการเรียนรูโดยใชชุดการเรียนรู เพื่อพัฒนาทักษะการคิดผูชวยผูวิจัยโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย 2 ทั้ง 3 หองเรียน (ชั้นม.1- ชั้น ม.3 / ชั้นละ 1 หองเรียน) ให นักเรียนกลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดทักษะการคิด 4 ทักษะ คือ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดสังเคราะห ทักษะ การคิ ด สร า งสรรค และทั ก ษะการคิ ด แก ป ญ หา ก อ น ดําเนินการทดลองใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด 4.2 ในขั้นการทดลองผูชวยผูวิจัยไดแกอาจารยของ โรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย 2 จํานวน 3 หองเรียน ใชชุดการ จัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด หองเรียนละ 32 ครั้ง (32 กิจกรรม) ไดแก กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห จํานวน 8 กิจกรรม กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดสังเคราะห จํานวน 8 กิจกรรม กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดสรางสรรค จํานวน 8 กิจกรรม และกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิด แกปญหา จํานวน 8 กิจกรรม กิจกรรมละ 30 นาที โดยใช เวลาสัปดาหละ 3-5 กิจกรรม เปนเวลา 8 สัปดาห 4.3 เมื่อจัดการเรียนรูครบ 32 กิจกรรมตามชุด การเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิดแลว ผูชวยผูวิจัยใหนักเรียน หองกลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดทักษะการคิด 4 ทักษะ ซึ่ง เปนแบบทดสอบชุดเดียวกับที่ใชทดสอบนักเรียนกอนการใชชุด การเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด 4.4 หลัง จากนัก เรีย นไดทํา แบบทดสอบวั ด ทัก ษะการคิด หลัง การใชชุด การเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการ คิ ด แล ว ให ผู ช ว ยผู วิ จั ย และนั ก เรี ย นกลุ ม ตั ว อย า งทํ า แบบสอบถามความพึงพอใจตอการใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนา ทักษะการคิด

ผลการวิจัย สวนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลการพัฒนาทักษะการคิดจากชุดเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด 4 ทักษะดังนี้ ตาราง 1 แสดงผลการเปรียบเทียบการวัดทักษะการคิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ทักษะการคิด

N

Pretest

Posttest

t

Sig.

ทักษะการคิดวิเคราะห

48

10.9375

S.D. x 1.5899 15.8542

ทักษะการคิดสังเคราะห

48

10.4583

2.1434 15.5000

1.4732 20.849*

.000

ทักษะการคิดสรางสรรค

48

4.7500

0.6995 7.3125

0.7672 19.793*

.000

ทักษะการคิดแกปญหา P < 0.05*

48

4.9167

1.0749 7.5000

1.0915 22.528*

.000

x

S.D. 1.1848 20.199*

.000


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 จากตาราง 1 แสดงคะแนนทดสอบวัดทักษะการคิด ของ ทักษะ สูงกวากอนการใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 มีคะแนนทดสอบวัดทักษะการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คิ ด หลั ง การใช ชุ ด การเรี ย นรู เ พื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด ทั้ ง 4 ตาราง 2 แสดงผลการเปรียบเทียบการวัดทักษะการคิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ทักษะการคิด

N

Pretest x

ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดสังเคราะห ทักษะการคิดสรางสรรค ทักษะการคิดแกปญหา P < 0.05*

48 48 48 48

13.6250 12.5625 5.6250 5.7083

S.D. 1.4821 1.4862 0.8902 0.8981

Posttest S.D. x 17.0417 1.4725 16.5000 1.4439 8.3750 1.0236 8.2083 1.1290

t

Sig.

29.795* 24.812* 19.053* 19.263*

.000 .000 .000 .000

จากตาราง 2 แสดงคะแนนทดสอบวัดทักษะการคิด ของ ทักษะ สูงกวากอนการใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีคะแนนทดสอบวัดทักษะการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คิ ด หลั ง การใช ชุ ด การเรี ย นรู เ พื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด ทั้ ง 4 ตาราง 3 แสดงผลการเปรียบเทียบการวัดทักษะการคิด ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ทักษะการคิด

N

Pretest x

S.D. 1.1803 1.0382 0.7329 0.5048

Posttest S.D. x 19.3542 0.7852 19.5417 0.5053 9.6667 0.4763 9.7292 0.4490

t

Sig.

ทักษะการคิดวิเคราะห 48 15.2708 24.307* .000 ทักษะการคิดสังเคราะห 48 15.3333 28.876* .000 ทักษะการคิดสรางสรรค 48 6.8750 35.544* .000 ทักษะการคิดแกปญหา 48 6.4792 39.439* .000 P < 0.05* จากตาราง 3 แสดงวาคะแนนทดสอบวัดทักษะการคิด ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หลังการใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนา ทักษะการคิด ทั้ง 4 ทักษะสูงกวากอนการใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนที่ 2 การวิเคราะหขอมูลความพึงพอใจของครูตอการใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด โดยใชเกณฑ การวัดแตละรายการ ใชเกณฑการแปลความหมายดังนี้ (ชูศรี วงศรัตนะ : 2544) คาเฉลี่ย 4.51 - 5.00 หมายถึง มากที่สุด คาเฉลี่ย 3.51 - 4.50 หมายถึง มาก คาเฉลี่ย 2.51 - 3.50 หมายถึง ปานกลาง คาเฉลี่ย 1.51 - 2.50 หมายถึง นอย คาเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถึง นอยที่สุด


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ตาราง 4 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความพึงพอใจของครูโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย 2 ที่มีตอการใชชุด การเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด (N = 12) ระดับความพึงพอใจ รายการ S.D. DES x 1. เปนชุดการเรียนรูที่มีวิธีการและขั้นตอนที่เหมาะสม 4.29 มาก .77 2. การกําหนดวัตถุประสงคการเรียนรูมีความเหมาะสม 4.84 มากที่สุด .48 3. เวลาที่ใชมีความเหมาะสม 4.54 มากที่สุด .72 4. สื่ออุปกรณมีความเหมาะสม 4.564 มากที่สุด .64 5. มีวิธีดําเนินการที่เหมาะสม .86 มากที่สุด .68 6. การประเมินผลมีความเหมาะสม 4.65 มากที่สุด .60 7. เปดโอกาสใหผูเรียนลงมือปฏิบัติจริง 4.26 มาก .82 8. ผูเรียนไดเรียนรูรวมกัน 3.68 มาก .62 9. กระตุนใหผูเรียนไดกลาคิดกลาแสดงออก 4.39 มาก .70 .62 10. เปนชุดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 4.64 มากที่สุด 11. สงเสริมใหผูเรียนกลาพูดกลาแสดงความคิดเห็น .44 4.68 มากที่สุด 12. เปนกิจกรรมที่กระตุนความคิดของผูเรียน .74 4.46 มาก 13. สงเสริมการยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น .60 4.68 มากที่สุด 14. เปนกิจกรรมที่กระตุนใหผูเรียนอยากเรียนรูมากขึ้น .86 3.68 มาก 15. ความพึงพอใจในภาพรวมตอการใชชุดการเรียนรูเพื่อ พัฒนาทักษะ การคิดเพียงใด .76 4.49 มาก เฉลี่ยรวม 4.45 .68 มาก จากตาราง 4 แสดงให เ ห็ น ว า ครู โ รงเรี ย นหาดใหญ วิ ท ยาลั ย 2 มีความพึงพอใจตอการใชชุดการเรียนรูเพื่อ พัฒนาทักษะการคิดโดยรวมอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.45 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ .68


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

สวนที่ 3 การวิเคราะหขอมูลความพึงพอใจของนักเรียนตอการใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด ผลเปนดังนี้ ตาราง 5 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ระดับความพึงพอใจของนักเรียน โรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย 2 ที่มีตอ การใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด รายการ ระดับความพึงพอใจ S.D. DES x 1.เปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น 4.32 .64 มาก 2.เปดโอกาสใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง 4.68 .82 มากที่สุด 3.นักเรียนไดเรียนรูรวมกัน 4.47 .64 มาก 4.เนนความตองการของนักเรียนเปนสําคัญ 4.53 .59 มากที่สุด 5.เวลาที่ใชในกิจกรรมมีความเหมาะสม 4.55 .86 มากที่สุด 6.สื่อ/อุปกรณมีความเหมาะสม 4.29 .66 มาก 7.สงเสริมใหนักเรียนกลาคิดกลาแสดงออก 4.48 .73 มาก 8.สงเสริมความสามัคคีภายในกลุม 3.78 .82 มาก 9.เปนวิธีการเรียนรูที่มีประโยชนทั้งความรู พัฒนาความคิดและ สงเสริมการทํางานเปนกลุม 4.62 .83 มากที่สุด 10.ความพึ ง พอใจในภาพรวมต อ กิ จ กรรมการเรี ย นรู ใ นชุ ด การ เรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด 4.68 .60 มากที่สุด

เฉลี่ยรวม

4.44

จากตาราง 5 แสดงใหเห็นวาความพึงพอใจของนักเรียน โรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย 2 ที่มีตอการใช ชุดการเรียนรูเพื่อ พัฒนาทักษะการคิดโดยรวมอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.44 และ คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ .62 การอภิปรายผล 1. ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดสังเคราะห ทักษะการคิดสรางสรรค และทักษะการคิดแกปญหา ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1- มัธยมศึกษาปที่3 โรงเรียน หาดใหญวิทยาลัย 2 หลังการใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะ การคิดสูงกวากอนการใชชุดการเรียนรู เพื่อพัฒนาทักษะการ คิดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้ง 4 ทักษะ

.62

มาก

2. ความพึงพอใจตอการใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนา ทักษะการคิดของครูโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย 2 โดยภาพรวม อยูในระดับมาก โดยมีคา เฉลี่ยเทากับ 4.45 และ คาสวน เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.68 3. ความพึงพอใจตอการใชชุดการเรียนรูเพื่อพัฒนา ทักษะการคิดของนักเรียน โรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย 2 โดย ภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.44 และคา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.62 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่ไดจากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ แบงเปน ขอเสนอแนะสําหรับผูบ ริหาร ขอเสนอแนะสําหรับ ครูผูสอน และขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยดังนี้


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 1. ขอเสนอแนะสําหรับผูบริหาร 1.1 ผูบริหารตองใหความสําคัญตอการ พัฒนาการคิด ทั้งครู นักเรียนและผูปกครอง เปนพื้นฐานเพื่อ จะไดจัดกิจกรรมตามกระบวนการมีสวนรวมเพื่อเปนการ เปลี่ยนวิสัยทัศนในการจัดการศึกษาใหพัฒนาและกาวหนา ตอไป 1.2 ผูบริหารตองมีการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ในสถานศึกษาดานการพัฒนาการคิดอยางมีกิจกรรมตอเนื่อง ตลอดทั้งป เชน การนิเทศ การประชุม การสัมมนาทางวิชาการ เปนตน 1.3 จัดทําคลินิกการคิดแบบมีสวนรวมใน สถานศึกษา

2. ขอเสนอแนะสําหรับครูผูสอน 2.1 ครูตองใชกระบวนการคิด เปนแนวทาง พื้นฐานในการจัดการเรียนการสอนใน ชั้นเรียนทุกกลุมสาระ 2.2 ครูตองจัดการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปน สําคัญและมีกิจกรรมประกอบการเรียนรูทุกระดับ 2.3 ครูตองทําวิจัยในชั้นเรียนทุกองคความรู ตามเนื้อหารายวิชา 3. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัย 3.1 สถานศึกษาควรจัดใหมีการศึกษาวิจัย เฉพาะทักษะการคิดแตละดานเพื่อกอใหเกิดการปฏิบัติที่ดีเยี่ยม 3.2 ควรศึกษาวิจัยกิจกรรมสงเสริมการคิดตาม สาระวิชาในแตละระดับชั้น

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ, (2542). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่2. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช สําราญราษฎร. คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2542) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : พริกหวาน กราฟฟค จํากัด . เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์. (2544). การคิดเชิงประยุกต. กรุงเทพมหานคร : บริษัทซัคเซสมีเดีย จํากัด. __________ . (2545). การคิดเชิงสรางสรรค. กรุงเทพมหานคร : บริษัทซัคเซสมีเดีย จํากัด. __________ . (2545). การคิดเชิงสังเคราะห. กรุงเทพมหานคร : บริษัทซัคเซสมีเดีย จํากัด. ชูศรี วงศรัตนะ. (2544). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู. กรุงเทพฯ : ทิปส พับบลิเคชั่น. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, (2545). ทฤษฎีการเรียนรูเ พื่อพัฒนากระบวนการคิด : ตนแบบการเรียนรู ทางดานหลักทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน. สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคกรมหาชน). (2549). จุลสารประชาคมประกัน คุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ. Cresswell.J (1997). Crating worlds, construetiug Meaninog, postsniouth : Heinemann. De Bono, E. (1978). Teaching thinking. Middlesex, Penguin Books Ltd.Ruggiero, V.R. (1988). Teaching thinking across the curriculum. New York: Harper & Row Publishers.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย รูปแบบการตูนเคลื่อนไหว เรื่อง รามเกียรติ์ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โดยวิธีการ เรียนแบบรวมมือ∗ THE DEVELOPMENT OF COMPUTER MULTIMEDIA INSTRUCTION BY ANIMATION CARTOON ON RAMAYANA FOR MATHAYOMSUKSA 3 STUDENTS WITH COOPERATIVE LEARNING ปยธิดา หอประทุม บทคัดยอ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อพัฒนาและหา ประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย รู ป แบบ การตูนเคลื่อนไหว เรื่อง รามเกียรติ์ สําหรับนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 โดยวิธีการเรียนแบบรวมมือ 2) เพื่อ เปรี ย บเที ย บคะแนนก อ นและหลั ง เรี ย นด ว ยบทเรี ย น คอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย รู ป แบบการ ตู น เคลื่ อ นไหว เรื่ อ ง รามเกี ย รติ์ ตอน นารายณ ป ราบนนทก สํ า หรั บ นั ก เรี ย น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โดยวิธีการเรียนรูแบบรวมมือและ 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผูเรียนที่เรียนแบบรวมมือดวย บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหว เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก

นิสิตปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ คื อ นั ก เรี ย น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห ๑” ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 45 คน ซึ่งไดจาก วิ ธี ก ารสุ ม แบบแบ ง กลุ ม เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ได แ ก บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหว เรื่อง รามเกียรติ์ สําหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โดยวิธีการ เรียนแบบรวมมือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนดว ย บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหว โดย วิธีการเรียนแบบรวมมือ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการวิจัยพบวา 1) บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย รูปแบบการตูนเคลื่อนไหว เรื่อง รามเกียรติ์ สําหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 โดยวิธีการเรียนแบบรวมมือ มีประสิทธิภาพ เทากับ 87.78/83.11 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนดไวคือ 80/80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังเรียนบทเรียน คอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย รู ป แบบการ ตู น เคลื่ อ นไหว เรื่ อ ง รามเกี ยรติ์ สํ า หรับ นั ก เรีย นชั้น มัธ ยมศึก ษาป ที่ 3โดยวิธี การ เรียนแบบรวมมือ สูงกวาคะแนนทดสอบกอนเรียนอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความคิดเห็นของผูเรียน ที่ มี ต อ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย รู ป แบบการ ตู น เคลื่อนไหว เรื่อง รามเกียรติ์ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โดยวิ ธี ก ารเรี ย นแบบร ว มมื อ อยู ใ นระดั บ ดี ม ากและดี ตามลําดับ คําสําคัญ : บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย, การตูน เคลื่อนไหว, การเรียนแบบรวมมือ Abstract The purposes of this research were 1) to develop and find out the efficiency of computer multimedia instruction by animation cartoon on Ramayana for Mathayomsuksa 3 students with cooperative learning, 2) to compare learning achievement after learning from computer multimedia instruction by animation cartoon on Ramayana for Matthayomsuksa 3 students and pretest, and 3) to study the opinions among students on the computer multimedia instruction by Animation cartoon on Ramayana for Mathayomsuksa 3 students with cooperative learning. The sample were 45 Mathayomsuksa 3 students of Bang Pa-In “Rachanukhroah 1” school, in second semester of 2007 academic year. The following research instruments were used: 1) Computer

Multimedia Instruction by Animation Cartoon on Ramayana for Mathayomsuksa 3 Students with Cooperative Learning, 2) Learning achievement test, and 3) The questionnare gather viewpoints and perspective on the computer multimedia instruction by animation cartoon on Ramayana for Mathayomsuksa 3 students with cooperative learning. The data were analyzed by mean, percentage, standard diviation, variance and match-pair t-test. The results were 1) the efficiencies of the computer multimedia instruction by animation cartoon on Ramayana for Mathayomsuksa 3 students with cooperative learning was 87.78/83.11, which higher than the 80/80 criteria, 2) results achieved by student were significantly higher than the pretest at .05 level, and 3) the student opinions on the computer multimedia instruction by animation cartoon on Ramayana for Mathayomsuksa 3 students with cooperative learning were very good and good level respectively. Key Words : Computer Multimedia Instrucktion, Animation Cartoon, Cooperative Learning บทนํา สื่อประสม (Multimedia) เปนสื่อสมัยใหมที่สําคัญ อยางมากอยางหนึ่งในจํานวนเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งหลายซึ่ง ได นํ า เอาความก า วหน า ของเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล (Digital Technology) มาใช ใ นวงการศึ กษา สื่ อ มัล ติ มีเ ดี ยได ใ ช คอมพิวเตอรนําเอาขอความ ภาพ และเสียง ในรูปแบบตางๆ ซึ่งถูกบันทึกไวในรูปขอมูลมาแสดงผลกลับเปนขอความ ภาพ และเสียง ทางจอภาพและลําโพงผสมผสานกัน รวมทั้งควบคุม การแสดงผลของสื่อเหลานั้นดวยโปรแกรม (Program) สั่งงาน คอมพิวเตอรทําใหสื่อเหลานั้นมีลักษณะพิเศษขึ้น มีพลังในการ สื่อสารอยางมีชีวิตชีวา มากกวาที่เกิดจากการใชอุปกรณอื่นๆ (พรพิไล เลิศวิชา, 2546)ปจจุบันไดมีการนําบทเรียน คอมพิวเตอรมัลติมีเดียมาใชในวงการศึกษา ซึ่งไพโรจน ตีรณธนากุล และคณะ (2546) ได ก ล า วถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะของบทเรี ย น คอมพิวเตอรมัลติมีเดียไวดังนี้ บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย เป น บทเรี ย นที่ ทํ า การสอนเสมื อ นจริ ง ด ว ยคอมพิ ว เตอร โ ดย อาศัยศักยภาพของระบบคอมพิวเตอร ซอฟแวรมัลติมีเดีย และ การจัดการที่ไดวางระบบไวทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเสมือน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ไดรับการสอนจากครูอาจารย (Virtual Instruction) ซึ่งจะทําให ประสิทธิภาพการเรียนรูสูงขึ้น ป จ จุ บั น การ ตู น ได ถู ก นํ า มาใช เ ป น การ ตู น ทาง การศึกษา (Education Cartoon) เชน การตูนชุดโดราเอมอน เปนทั้งสื่อภาพยนตรการตูน หนังสือการตูน และสื่อการเรียนรู ดว ยการตูน เปนตน สังเขต นาคไพจิตร (2530) ไดกลาวถึง ประโยชนของการตูนในทางการเรียนการสอนไวสามประการ ดั ง นี้ ประการแรก กระตุ น ให เ รี ย น (Motivation) การ ตู น เป น เครื่องมืออยางหนึ่งที่ใชเปนเครื่องเราความสนใจในหองเรียนได เปนอยางดี เชน ใชเปนจุดเริ่มตนของการอภิปรายใหเหมาะสม กับจุ ดมุงหมายของการเรียน โดยครูอาจตั้งเปน คํา ถาม เชน การตูนใหความรูอะไรบาง,การตูนเรื่องนี้ควรจะใหชื่อเรื่องวา อะไร เป น ต น การ ตู น ใช ไ ด ทั้ ง โรงเรี ย นประถมและโรงเรี ย น มัธยม ประโยชนโดยตรง คือ ทําใหมีอารมณขัน เรียนไดสนุก ถาตัวนักเรียนมีสวนรวมในบทเรียนนั้น ทําใหการเรียนไดผล เพิ่มขึ้น ประการที่สอง ใชอธิบายใหเขาใจ (Illustrations) การ ใชภาพการตูนงายๆ อธิบายวิชาที่เรียน ทําใหนักเรียนเขาใจได ดียิ่งขึ้น เชน ในการสอนวิทยาศาสตรโดยเขียนภาพแมลงมี 2 ขาแล ว ให นั ก เรี ย นดู ว า ถู ก ต อ งหรื อ ไม ในการใช ก าร ตู น ประกอบการสอนนี้ครูตองเลือกใชการตูนที่เหมาะสมไมทําให นักเรียนเห็นเปนเรื่องตลกจนเกินไป ตองใหมีความเอาใจใสใน รายละเอียดของเนื้อหาวิชาตรงกับจุดมุงหมายที่วางไว ประการ ที่สาม ใชเปนกิจกรรมนักเรียน (Pupil Activity) การใหนักเรียน เขี ย นภาพการ ตู น ด ว ยตนเอง อธิ บ ายภาพด ว ยตนเอง หรื อ ประกอบกิจกรรมในการเรียนดานตางๆ เปนการสรางเสริมให นักเรียนเกิดความคิดสรางสรรค จึงนับไดวามีประโยชนมาก เช น การเขี ย นภาพการ ตู น เกี่ ย วกั บ การทํ า ความสะอาด, เกี่ยวกับการขับรถที่ปลอดภัย, เกี่ยวกับกิจกรรมของนักเรียน หรือสุขปฏิบัติในการรับประทานอาหาร เปนตน นักเรียนจะใช ภาพการตูนเปนเครื่องมือในการชวยใหเกิดความสนใจไดเปนอยางดี ดวยเหตุผลดังกลาวจะเห็นไดวา การตูนนั้นสามารถ นํามาใชในการเรียนการสอนเพื่อเปนการกระตุนใหผูเรียนเกิด ความสนใจในตัวบทเรียน สามารถใชภาพการตูนมาอธิบาย เนื้อหาที่ยากใหเขาใจไดงายขึ้น ทําเรื่องราวที่เปนนามธรรมให เปนรูปธรรม นอกจากนี้การนําการตูนยังมาใชประกอบในการ

เรียนการสอนยัง ชวยใหผูเรียนเกิดความคิดสรางสรรคไดอี ก ดวย ดังนั้นการตูนจึงสามารถนํามาใชเปนสื่อประกอบการเรียน การสอนไดอยางดี ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ รี ย น รู แ บ บ ร ว ม มื อ ( Cooperative Learning) ซึ่ ง เป น ทฤษฎี ที่ เ น น การให ผู เ รี ย นช ว ยกั น ในการ เรียนรูโดยมีการจัดกิจกรรมที่ใหผูเรียนมีการพึ่งพาอาศัยกันใน การเรียนรู มีการปรึกษาหารือกันอยางใกลชิด มีการสัมพันธกัน มีการทํางานรวมกันเปนกลุม มีการวิเคราะหขบวนการของกลุม และมีการแบงหนาที่รับผิดชอบงานรวมกัน การจัดการเรียนรู แบบรวมมือมีหลายรูปแบบผูสอนสามารถเลือกใชใหเหมาะกับ สถานการณและความตองการของตนได (ทิศนา แขมมณี, 2547) การเรียนแบบ STAD (Student Teams-Achievement Division) เปนรูปแบบการสอนที่สามารถดัดแปลงใชไดเกือบ ทุกวิชาและทุกระดับชั้น เพื่อเปนการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของการ เรี ย นและทั ก ษะทางสั ง คมเป น สํ า คั ญ (Slavin 1990) พัฒ นาการของบทเรี ย นคอมพิว เตอร มั ล ติมี เ ดี ยนั้ น สามารถ นํ า มาใช กั บ ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู แ บบร ว มมื อ (Cooperative Learning) ไดเปนอยางดีเนื่องจากสามารถนําเสนอไดทั้ง ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงไดในเวลาเดียวกัน อั น จะช ว ยให ผู เ รี ย นมี ค วามกระตื อ รื อ ร น และตื่ น ตั ว ในการ แก ป ญ หาได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล และคุ ณ ลั ก ษณะของ มัลติมีเดียยังชวยกระตุนใหผูเรียนที่ดอยทักษะบางอยาง เชน ทักษะการอาน สามารถดูภาพและฟงเสียงไดเพื่อการเรียนรูท่ีดี ขึ้น (กิดานันท มลิทอง, 2548) พัฒนาการของบทเรี ยนคอมพิว เตอรมัลติมีเดียนั้น ส า ม า ร ถ นํ า ม า ใ ช กั บ ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ รี ย น รู แ บ บ ร ว ม มื อ (Cooperative Learning) ไดเปนอยางดีเนื่องจากสามารถ นําเสนอไดทั้งขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงไดใน เวลาเดี ย วกั น อั น จะช ว ยให ผู เ รี ย นมี ค วามกระตื อ รื อ ร น และ ตื่นตัวในการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิผล และคุณลักษณะ ของมัลติมีเดียยังชวยกระตุนใหผูเรียนที่ดอยทักษะบางอยาง เช น ทั ก ษะการอ า น สามารถดู ภ าพและฟ ง เสี ย งได เ พื่ อ การ เรียนรูที่ดีขึ้น (กิดานันท มลิทอง, 2548)


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 สภาพการเรียนการสอนวรรณคดีใ นปจจุบัน พบวา ผูเรียนสวยใหญไมเห็นคุณคาของวรรณคดีเกิดความรูสึกเบื่อ หน า ยในการเรี ย นวรรณคดี ผู เ รี ย นบางคนอ า นหนั ง สื อ ไม แตกฉาน อานคําประพันธประเภทบทรอยกรองไมเปน ถอดคํา ประพั น ธ ไ ม ไ ด จึ ง ทํ า ให ส รุ ป ใจความสํ า คัญ จากเนื้ อ เรื่ อ งไม ถูกตอง ไมเขาใจแกนแทของวรรณคดี นอกจากนี้ผูเรียนยังไม เขาใจถึงการใช โวหารและถอ ยคํา ตา งๆ ที่กอใหเกิดอารมณ คลอยตามหรือโวหารในการอุปมาอุปมัยเปรียบเทียบไดตรง ตามที่ผูประพันธจะสื่อความหมาย เปนตน ซึ่งสอดคลองกับ นุชสรา กิจพิทักษ (2545) ไดกลาวถึงปญหาเกี่ยวกับผูเรียนใน การเรียนวรรณคดีไววา นักเรียนมีพื้นความรูทางภาษาไทยไมดี ไม เห็ น ความสํ า คั ญ ของวิ ช าภาษาไทย เห็น วา วรรณคดีไ ม มี ประโยชน นักเรียนจึงละเลยไมสนใจวรรณคดี ดั ง นั้ น ผู วิ จั ย จึ ง มี ค วามสนใจที่ จ ะพั ฒ นาบทเรี ย น คอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย รู ป แบบการ ตู น เคลื่ อ นไหว เรื่ อ ง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก เพื่อใชในการจัดการ เรียนการสอนวิชาภาษาไทยแกนักเรียนระดับชั้นมัธยมปที่ 3 โดยสามารถแสดงไดทั้งภาพเคลื่อนไหวและเสียงประกอบไป พรอมกัน การใชภาพประกอบประเภทการตูนสามารถเขาถึง ผูเรียนไดงายและสื่อความหมายไดดีแสดงสิ่งที่เปนนามธรรม ใหเปนรูปธรรม ทําใหผูเรียนเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่อง ที่เรียนไดดี การจัดการเรียนรูแบบรวมมือทําใหผูเรียนเกิดการ เรียนรูรวมกัน มีการปฏิสัมพันธรวมกัน กับผูอ่ืน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตรงตามวัตถุประสงคของเนื้อหาวิชา พรอมทั้ง สํา รวจความคิ ด เห็ น ของผู เ รี ยนที่ มี ต อ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร มัล ติมี เดี ย รูป แบบการตู น เคลื่ อ นไหว เรื่ อ ง รามเกีย รติ์ ตอน นารายณปราบนนทกโดยวิธีการเรียนรูแบบรวมมือ วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่ อ พั ฒ นาและหาประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย น คอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหวโดยวิธีการ เรียนรูแบบรวมมือ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก สําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 2. เพื่อเปรียบเทียบคะแนนกอนและหลังเรียนดวย บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหวโดย

วิ ธี ก ารเรี ย นรู แ บบร ว มมื อ เรื่ อ ง รามเกี ย รติ์ ตอน นารายณ ปราบนนทก สําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 3. เพื่ อ ศึ กษาความคิ ด เห็ น ของผู เ รี ยนที่ เ รี ย นแบบ ร ว มมื อ ด ว ยบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย รู ป แบบการ ตู น เคลื่อนไหว เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก วิธีดําเนินการวิจัย การศึกษาวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi enperimental research) กลุมตัวอยางใชในงานวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบางปะอิน “ราชานุ เคราะห ๑” จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ภาคเรี ย นที่ 2 ป การศึกษา 2550 ทั้งหมด10 หองเรียน จํานวน 456 คน ไดจาก การสุมตัวอยางดวยวิธีการแบบแบงกลุม (Cluster Sampling) โดยวิธีการจับสลากมา 1 หองเรียนจากทั้งหมด 10 หองเรียนได นักเรียนจํา นวน 45 คน แลว แบงกลุมตัว อย า งออกเปนกลุ ม กลุมละ 3 คนไดทั้งหมด 15 กลุม ดวยวิธีการนําคะแนนวัดผล สัมฤทธิ์มาเรียงคะแนนจากมากไปหานอยแลวแบงเปน กลุม เกง 15 คน กลุมปานกลาง 15 คน กลุมออน 15 คน แลวนํามา จัดเขากลุมกลุมละ 3 คนดวยวิธีการจับสลากจากกลุมเกง 1 คน กลุมปานกลาง 1 คน และกลุมออน 1 คน จนครบทั้งหมด 15 กลุม เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ประกอบดวย บทเรียน คอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหวโดยวิธีการ เรียนรูแบบรวมมือ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก ที่ ผู วิ จั ย สร า งขึ้ น เองด ว ยโปรแกรมคอมพิ ว เตอร โ ดยได ดําเนินการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพจํานวน 3 ครั้งคือการ ทดลองรายบุ ค คล การทดลองกลุ ม ย อ ยและการทดลอง ภาคสนามไดบทเรียนที่มีประสิทธิภาพเทากับ 87.78/83.11 , แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทกชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เปนแบบทดสอบ ปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ และแบบประเมินความ คิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือดวยบทเรียน คอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย รู ป แบบการ ตู น เคลื่ อ นไหวเรื่ อ ง รามเกี ย รติ์ ตอน นารายณ ป ราบนนทก มี ลั ก ษณะเป น แบบสอบถามประเมินคา (rating scale) 5 ระดับ คือ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช และควรปรับปรุง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 กอนการทดลอง 1 สัปดาหผูวิจัยนําแบบทดสอบกอน เรียน (Pretest) ไปทดสอบกับกลุมตัวอยาง ซึ่งมีจํานวน 30 ขอ 4 ตัวเลือก ใชเวลา 30 นาที สัปดาหถัดไปใหนักเรียนทําการ เรี ย นแบบร ว มมื อ โดยให นั ก เรี ย นเข า กลุ ม กลุ ม ละ 3 คน ใช คอมพิวเตอร 1 เครื่อง/ 1 กลุม แลวใหนักเรียนเรียนดว ย บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหว เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก ที่ผูวิจัยสรางขึ้นโดยใช เวลา 1 ชั่วโมง 20 นาที โดยในระหวางการเรียนนักเรียนมีการ ปรึกษาหารือและรวมมื อกันเรียนภายในกลุม แบงหนาที่กัน ทํา งาน รว มกัน แสดงความคิ ดเห็น และร ว มกัน หาขอ ยุติข อง ปญหา ชวยกันทําแบบฝกหัดและใบงานใหสําเร็จ ตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นเตรียม - ใหนักเรียนเขากลุมกลุมละ 3 คนตามที่ผูวิจัยแบง ใหแบบคละความสามารถประกอบดวยนักเรียนเกง ปานกลาง ออน อยางละ 1 คน ไดทั้งหมด 15 กลุม ใหใชคอมพิวเตอร 1 เครื่อง/ 1 กลุม - อธิ บ ายวิ ธี ก ารเรี ย นแบบร ว มมื อ ด ว ยบทเรี ย น คอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย รู ป แบบการ ตู น เคลื่ อ นไหวเรื่ อ ง รามเกี ย รติ์ ตอน นารายณ ป ราบบนนทก ซึ่ ง เนน ใหนั ก เรี ย น ชวยเหลือเกื้อกูลกันในการเรียนและการทํางาน ในการเรียน ควรเรียนเรียงตามลําดับเนื้อหาที่นําเสนอไมควรขามเนื้อหาใด เนื้อหาหนึ่ง และชวยกันทําแบบฝกหัดและใบงานใหครบถวน ขั้นกิจกรรมกลุม - ใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร มัล ติมี เดี ย รูป แบบการตู น เคลื่ อ นไหว เรื่ อ ง รามเกีย รติ์ ตอน นารายณ ป ราบนนทก สํ า หรับ นั กเรี ยนชั้ น มัธ ยมศึ ก ษาปที่ 3 โดยนักเรียนมีการปรึกษาหารือและรวมมือกันเรียนภายในกลุม แบงหนาที่กันทํางาน รวมกันแสดงความคิดเห็นและรวมกันหา ขอยุติของปญหา ชวยกันทําแบบฝกหัดและใบงานใหสําเร็จ ขั้นตรวจผลงานกลุม - ใหนักเรียนแตละกลุมสงแบบฝกทักษะและใบงาน ให เ รี ย บร อ ยครู ต รวจสอบความสมบรู ณ ข องผลงานและให คะแนนกลุม ขั้นสรุปบทเรียน

- ครู แ ละนั ก เรี ย นช ว ยกั น สรุ ป เนื้ อ หาบทเรี ย นและ แสดงความคิดเห็นตอวิธีการเรียนแบบรวมมือ ให นั ก เรี ย นทํ า แบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการ เรียนจํานวน 30 ขอ ใชเวลา 30 นาที และใหผูเรียนทําแบบ ประเมิ น ความคิ ด เห็ น ของนั ก เรี ย นที่ เ รี ย นแบบร ว มมื อ ด ว ย บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหว เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลไดแกคาเฉลี่ยและสวน เบี่ยงเบนมาตรฐานและ t-test ผลการวิจัยและขอวิจารณ ผลการวิจัย 1. บทเรียนคอมพิว เตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูน เคลื่อนไหวเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบบนนทก โดย วิธีการเรียนแบบรวมมือ มีประสิทธิภาพเทากับ 87.78/83.11ซึ่ง สูงกวาเกณฑที่กําหนดไวคือ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังเรียน บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหวเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบบนนทก โดยวิธีการเรียนแบบ รวมมือ สูงกวาคะแนนทดสอบกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 3. ความคิ ด เห็ น ของผู เ รี ย นที่ มี ต อ บทเรี ย น คอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย รู ป แบบการ ตู น เคลื่ อ นไหวเรื่ อ ง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบบนนทก โดยวิธีการเรียนแบบ รวมมืออยูในระดับดีมากและดีตามลําดับ ขอวิจารณ 1. ผลการทดลองหาประสิท ธิภาพของบทเรียน คอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย รู ป แบบการ ตู น เคลื่ อ นไหวเรื่ อ ง รามเกียรติ์ สําหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โดยวิธีการ เรียนแบบรวมมือมีประสิทธิภาพ 87.78/83.11 ซึ่งสูงกวาเกณฑ ที่กําหนดไวคือ 80/80 สามมารถนําไปใชจัดการเรียนการสอน ได เนื่องจาก 1.1 ไดผานการประเมินจากผูเชี่ยวชาญในดาน ตางๆทั้งในดานเนื้อหา ดานเทคนิคการออกแบบและดานการ วัดและประเมินผล นอกจากนี้ยังไดมีการไดมีการนําไปทดลอง รายบุ ค ลและกลุ ม ย อ ยและปรั บ ปรุ ง แก ไ ขให บ ทเรี ย นมี


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ประสิทธิภาพกอนนํามาใชงานจริง ซึ่งเปนไปตามขั้นตอนและ หลักการออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย อยางมีระบบถูกตองตามหลักทฤษฎีทําใหบทเรียนคอมพิวเตอร มั ล ติ มี เ ดี ย มี คุ ณ ภาพสามารถถ า ยทอดเนื้ อ หาได ต าม วัตถุประสงคที่กําหนดไว ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สกุณา ศุภาดารัตนาวงศ (2549) ที่ไดสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอน เรื่อง สิ่ง เสพติด ใหโทษ ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 โดยการ เรียนแบบรวมมือ กลาวไววา การดําเนินการตามขั้นตอนการ สรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ถูกตอง ลดความสับสน ยุงยากในการทํางาน ชวยใหบทเรียนสามารถถายทอดเนื้อหา ไดตามวัตถุประสงค การนําเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลาย มิติทําใหเกิดความสนใจเรียน เรียนไปสนุกไป 1.2 ดานการออกแบบใชการนําเสนอเนื้อหา บทเรียนในรูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียประกอบกับ การใชการตูนเคลื่อนไหวในการเลาเรื่องในสวนที่เปนวรรณคดี ซึ่งชวยอธิบายเนื้อเรื่องใหเห็นภาพชัดเจนและเราความสนใจ ผูเรียนไดดี ซึ่งเปนการนําเสนอที่แปลกใหมเขาถึงผูเรียนไดงาย สรางเสริมจินตนาการ สังเกตไดจากการที่ผูเรียนตั้งใจดูการตูน เคลื่อนไหวที่ผูวิจัยนําเสนอในบทเรียน และเกิดอารมณคลอย ตาม เช น การหั ว เราะ หรื อ รู สึ ก ผิ ด หวั ง เมื่ อ จบในแต ล ะตอน สอดคล อ งกั บ งานวิ จั ย ของ สุ พ รรณี สุ ว รรณศรี (2549) ที่ ศึกษาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการสอนบน เว็บที่มีการนําเสนอแบบหนาจอเดียวและแบบหลายหนาจอ เรื่ อ ง โรคไข เ ลื อ ดออกสํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 1 กล า วว า การใช สื่ อ หลายรู ป แบบได ข อ ความ ภาพนิ่ ง ภาพเคลื่อนไหว การใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียน ทําให ผูเรียนสนุกกับการเรียน ไมรูสึกเหมือนกับนั่งเปดอานหนังสือที ละหนา จึงทําใหผูเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนรูมากขึ้น การ ออกแบบบทเรียนแบงออกเปน 3 ตอน เพื่อสะดวกในการ ควบคุ ม บทเรี ย นและมี ค วามยื ด หยุ น ในการเข า ถึ ง เนื้ อ หา สามารถกลับมาทบทวนซ้ําได ในระหวางการศึกษาเนื้อหาจะมี แบบฝ ก หั ด เพื่ อ ให ผู เ รี ย นมี ป ฏิ สั ม พั น ธ กั บ บทเรี ย นอย า ง สม่ํ า เสมอและเป น การวั ด ความเข า ใจในเนื้ อ หาที่ ไ ด เ รี ย น มาแลวซึ่งใหผลปอนกลับในทันทีและมีการเสริมแรง เชนเมื่อ ตอบถูกจะมีเสียงปรบมือดังขึ้น

1.3 นอกจากนี้จะเห็นไดวาคะแนนเฉลี่ยระหวาง เรี ย นนั้ น มี ค า สู ง กว า คะแนนเฉลี่ ย หลั ง เรี ย นอาจเป น เพราะ คะแนนระหวางเรียนเปนคะแนนที่ไดมาจากการทําแบบฝกหัด ซึ่งผูเรียนสามารถทําแบบฝกหัดไดทันทีหลังจากที่เรียนจบใน แตละตอนใชเวลาในการศึกษาสั้นทําใหไดคะแนนเฉลี่ยที่สูง แตเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเปนคะแนนที่ไดจากการทํา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากเรียนเนื้อหา จบทุ ก ตอนซึ่ ง เนื้ อ หามี จํ า นวนหลายตอนและใช เ วลาใน การศึกษามากกวา จึงอาจทําใหผูเรียนมีความสับสนและลืม เนื้อหาบางสวนไป จึงเปนเหตุใหคะแนนเฉลี่ยระหวางเรียนมีคา สูงกวาคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 2. ผลการวิจัย พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวย บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหวเรื่อง รามเกียรติ์ สําหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โดยวิธีการ เรียนแบบรวมมือ มีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกวาคะแนน ทดสอบกอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่ง เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไวคือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบ การ ตู น เคลื่ อ นไหวตามทฤษฏี ก ารเรี ย นรู แ บบร ว มมื อ เรื่ อ ง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ ปราบนนทกสูงกวาคะแนนกอนเรียน เนื่องจากการใชวิธีการเรียนแบบรวมมือ เปนการชวยสงเสริม ทักษะทางสังคมของผูเรียน การใหสมาชิกที่มีความสามารถ แตกตางกันเขากลุมกันสามารถชวยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนได โดยผลงานของกลุมจะขึ้นอยูกับผลงานของสมาชิกแต ละคนในกลุ ม สมาชิ ก ต า งได รั บ ความสํ า เร็ จ ร ว มกั น ทํ า ให นักเรียนยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น รูจักการเปนผูนําผูตามที่ ดี สอดคลองกับงานวิจัยของ รวิพล อุนพลอย (2546) ที่ศึกษา ผลของการเรียนแบบรวมมือตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนหนองเรือวิทยา จังหวัด ขอนแกนกลาววา การเรียนแบบรวมมือทําใหพฤติกรรมของ ผู เ รี ย นเป น ไปในทางที่ ดี เกิ ด การทํ า งานร ว มกั น การให ก าร เสริมแรงโดยการใหรางวัลสําหรับกลุมที่ทําคะแนนไดดีเปนการ สงเสริมใหผูเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียน นักเรียนตั้งใจ ฟงยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น ไมรบกวนผูอื่นขณะทํางาน มี


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 การปรึกษาหารือกันภายในกลุม รวมกันตัดสินใจและแกปญหา ในกลุม 3. จากการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นและการ สังเกตพฤติกรรมของผูเรียน ผูวิจัยพบวาการเรียนแบบรวมมือ สามารถชวยพัฒนาทักษะการเรียนในเนื้อหาที่ผูวิจัยนําเสนอได โดยผูวิจัยจัดผูเรียนเปนกลุมกลุมละ 3 คน คละความสามารถ จะเห็นไดจากผูเรียนมีการปรึกษาหารือกันภายในกลุม มีทักษะ การเปนผูนําและผูตามที่ดีโดยผูเรียนแบงหนาที่กันภายในกลุม เอง ผูเรียนสนุกสนานกับการเรียนทําใหนักเรียนมีความสนใจ ในเนื้อหาบทเรียนมากยิ่งขึ้น ในระหวางเรียน ผูเรียนไดมีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันภายในกลุม ในชวงการทํา แบบฝกหัด ผูเรียนชวยกันคนหาคําตอบเมื่อมีการถกเถียงกันวา อะไรคือคําตอบที่ถูกก็จะชวยกันหาขอสรุป สอดคลองกับ งานวิจัยของ ภารดี ประพฤติกิจ (2544) ที่ศึกษา ผลของการ เรียนแบบรวมมือตอทักษะการอานภาษาอังกฤษของนักศึกษา สถาบันราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี กลาววา การเรียนแบบ รวมมือทําใหผูเรียนรูสึกสนุกสนานที่ไดทํากิจกรรมรวมกับเพื่อน ไดเรียนรูนิสัยใจคอเพื่อนมากขึ้น เกิดความสามัคคีและ ความสัมพันธที่ดีภายในกลุม สงเสริมการเรียนรูไดหลายๆดาน ฝกการทํางานเปนหมูคณะ รูขอดีขอดอยของกันและกัน มี โอกาสไดพบเพื่อนที่มีความสามารถแตกตางกันไป สมาชิกที่ เกงจะชวยอธิบายใหสมาชิกที่ไมเขาใจได สมาชิกที่ออนก็จะใช ความพยายามมากขึ้นในการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อที่จะไดแสดง ความคิดบาง ขอเสนอแนะ 1. จากผลการวิจัยพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง กวา คะแนนกอ นเรีย นแสดงใหเห็ น วา การเรีย นดว ยบทเรีย น คอมพิว เตอรมัลติมีเดีย โดยวิธีการเรียนแบบรวมมือ มีความ เหมาะสมที่จะนําไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย เนื่องจากสามารถชวยพัฒนาผลการเรียนใหสูงขึ้น ได การนํ า บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย รู ป แบบการ ตู น เคลื่อนไหวมาใชเปนการชวยสรางเสริมประสบการณ เพิ่มขีด ความสามารถในการเรียนรูใหแกผูเรียน เขาถึงผูเรียนไดงาย เราความสนใจของผูเรียนไดดี ชวยใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาไดดี ยิ่ ง ขึ้ น สามารถนํ า เสนอเนื้ อ หาที่ ซั บ ซ อ นให เ ข า ใจได ง า ย

นักเรียนสามารถที่จะทบทวนซ้ําไดตามตองการและชวยลด ระยะเวลาในการเรียนอีกดวย นอกจากนี้การใชวิธีการเรียน แบบร ว มมื อ เป น การช ว ยพั ฒ นาทั ก ษะทางสั ง คมแก ผู เ รี ย น ผู เ รี ย นเกิ ด ปฏิ สั ม พั น ธ ที่ ดี ต อ กั น ช ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล กั น มี ก าร แลกเปลี่ยนความรู ระหวางกัน การเรียนรูมีความสนุกสนาน นาสนใจ 2. การนํา บทเรี ยนคอมพิว เตอรมั ลติมี เดี ยรูป แบบ การตูนเคลื่อนไหวไปใชควรคํานึงถึงความพรอมสถานที่และ อุปกรณที่จะนําไปใชควรตรวจสอบความพรอมของอุปกรณ คอมพิ ว เตอร ก อ น เชน มี ลํ า โพงหรื อ ไม ความเข า กั น ได ข อง โปรแกรมที่ใช ความเร็วในการประมวลผลของเครื่อง เปนตน นอกจากนี้อ าจตอ งสํ า รวจเวลาวา งของหองคอมพิว เตอร ว า สะดวกใหไปใชงานไดหรือไม สถานศึกษาควรจัดสรรตารางใน การเขาไปใชหองคอมพิวเตอรใหเหมาะสมเอื้ออํานวยแกการนํา บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียไปใชในการจัดการเรียนการสอน 3. กอ นเรี ย นควรทํ า ความเข า ใจกับ ผู เรี ยนอธิบ าย วิธีการเรียน วัตถุประสงคของบทเรียนวิธีการการใชบทเรียน องคประกอบของบทเรียน เพื่อใหผูเรียนไมเกิดการสับสนใน ระหวางเรียนหรือขามเนื้อหาบางตอนไป 4. จากการสังเกตและการตอบแบบสอบถามความ คิ ด เห็ น ต อ บทเรี ย น แสดงให เ ห็ น ว า การเรี ย นบทเรี ย น คอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหว โดยการเรียน แบบรวมมือ มีความเหมาะสมที่โรงเรียนควรนําไปใชในการ จัดการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทยได การเรียนแบบรวมมือ มี ก าร ทํ า ให นั ก เรี ย นรู จั ก การแบ ง หน า ที่ ใ นการเรี ย นรู ปรึกษาหารือแลกเปลี่ยนความรู มีความรับผิดชอบรวมกัน ทํา ใหนักเรียนมีความกระตือรือรน สนุกสนานกับบทเรียน มีความ สนใจเรียนบทเรียนมากขึ้น และนักเรียนสามารถพัฒนาผลการ เรียนใหสูงขึ้นได 5. การจัดการเรียนการสอนดวยวิธีการเรียนแบบ รวมมือมีหลายรูปแบบจากการวิจัยพบวา การเรียนแบบรวมมือ รูปแบบ STAD สามารถนํามาใชในการจัดการเรียนการสอนได เนื่องจากเปนรูปแบบที่มุงพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ทักษะทางสังคมเปนสําคัญ และสามารถดัดแปลงใชไดในทุก วิ ช าและทุ ก ระดั บ ชั้ น โดยจั ด นั ก เรี ย นเข า กลุ ม ๆละ 3 คน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ประกอบดวยนักเรียน เกง ปานกลางและออนอยาง ละ 1 คน ใหใชคอมพิวเตอร 1 กลุม/ 1 เครื่อง ใหผูเรียนรวมมือ กันศึกษาเนื้อหาโดยมีการปรึกษาหารือ แบงหนาที่กันทํางาน ช ว ยกั น แก ป ญ หาภายในกลุ ม และทํ า ใบงานให สํ า เร็ จ การ จั ด การเรี ย นการสอนในลั ก ษณะนี้ ยั ง สามารถนํ า ไปใช กั บ โรงเรียนที่มีเครื่องคอมพิวเตอรในจํานวนจํากัดไมสามารถจัด ให นัก เรี ย นใชค อมพิ ว เตอร 1 คน/ 1 เครื่ อ ง ก็ส ามารถจัด ให นักเรียนเรียนแบบรวมมือในรูปแบบ STAD ได นอกจากนี้ควรมี การจัดทําใบสั่งงานเพื่อที่ผูเรียนจะไดทราบบทบาทหนาที่ของ ตนเอง ปฏิบัติไดตามขั้นตอนการเรียนไมสับสน 6. ควรมีการสนับสนุนใหโรงเรียนสามารถผลิต บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบ การตูนเคลื่อนไหวไวใช ในการจัดการเรียนการสอนเอง ซึ่งอาจเปนการประสานความ รวมมือกันระหวางบุคลลากรภายในโรงเรียนที่มีความสมารถ ในด า นต า งๆ ช ว ยกั น ผลิ ต บทเรี ย น ในการนํ า บทเรี ย น คอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย ไปใช ควรมี ก ารจั ด ทํ า คู มื อ การใช

บทเรี ยน คู มือ ครู ห รื อ แผนการสอนขึ้ น ด ว ยเพื่ อ ที่ จ ะได ท ราบ ขั้นตอนการใชงาน วิธีการใชงานที่ถูกตอง วิธีการจัดการเรียน การสอนและสามารถแกปญหาไดเมื่อเกิดปญหาระหวางการใช บทเรียน ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการสรางบทเรียน คอมพิวเตอรมัลติมีเดีย รูปแบบการตูน เคลื่อนไหวโดยวิธีการเรียนแบบรวมมือในเรื่องอื่นๆ ใน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย หรือในรายวิชาอื่นๆ ตอไป 2. ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการสรางบทเรียน คอมพิวเตอรมัลติมีเดีย รูปแบบการตูน เคลื่อนไหวโดยวิธีการเรียนแบบรวมมือในรูปแบบอื่นๆ ตอไป เชนแบบ jigsaw,TGT,LT เปนตน 3. ควรศึกษาถึงความคงทนในการจําในการเรียนจาก บทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียรูปแบบการตูนเคลื่อนไหวดวย

บรรณานุกรม กิดานันท มลิทอง. 2543. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ทิศนา แขมมณี. 2547. ศาสตรการสอน: องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูท ี่มี ประสิทธิภาพ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พรพิไล เลิศวิชา. 2544. แนวทางการพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ คอมพิวเตอรแหงชาติ. ไพโรจน ตีรณธนากุล และคณะ. 2546. การออกแบบและการผลิตบทเรียนคอมพิวเตอรการสอนสําหรับ e-Learning. กรุงเทพฯ: ศูนยสื่อเสริมกรุงเทพ. ภารดี ประพฤติกิจ. 2544. ผลของการเรียนแบบรวมมือตอทักษะการอานภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาสถาบันราชภัฏ เพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศึกศาสตร-การสอน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. รวิพล อุนลอย. 2546. ผลของการเรียนแบบรวมมือตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนหนองเรือวิทยา จังหวัดขอนแกน. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา ศึกษาศาสตร-การสอน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สกุณา ศุภาดารัตนาวงศ. 2549. การเรียนแบบรวมมือดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง สิ่งเสพติดใหโทษ ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สุพรรณี สุวรรณศรี. 2549. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มกี ารนําเสนอแบบหนาจอเดียวและแบบหลาย หนาจอ เรื่อง โรคไขเลือดออก สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สังเขต นาคไพจิตร. 2530. การตูน. มหาสารคาม: ปรีดาการพิมพ Slavin, R. E. 1990. Cooperative Learning: theory, research, and practice Boston : Allyn and Bacon


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน วิทยาศาสตร ตามแนววิถพ ี ุทธ สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนอนุบาล นครนายก THE DEVELOPMENT OF SCIENCE INSTRUCTION MODEL BASED ON BUDDHISM PRINCIPLES FOR GRADE 6 STUDENTS AT THE ANUBAL NAKHON NAYOK SCHOOL กิตติชัย สุธาสิโนบล ความสําคัญของปญหา วิทยาศาสตรชวยมนุษยเขาใจธรรมชาติและตนเอง ทําใหมนุษยสามารถพัฒนาวิธีคิด และนําความรูวิทยาศาสตร ไปใชผลิตเครื่องมือเครื่องใชที่เปนพื้นฐานในการดํารงชีวิต มากมาย ปจจุบันวิทยาศาสตรจึงมีบทบาทสําคัญยิ่งในการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และไดถูกบรรจุใหมีการเรียนการ สอนตั้งแตระดับประถมศึกษาจนถึง ระดับ อุดมศึกษา โดย มุ ง เน น ให ทุ ก คนได รั บ การศึ ก ษาอย า งเพี ย งพอที่ จ ะนํ า วิ ท ยาศาสตร ไ ปใช อ ย า งมี คุ ณ ภาพ สามารถวิ นิ จ ฉั ย และ แกปญหาที่เกิดขึ้น แต ใ นสภาพป จ จุ บั น พบว า การจั ด การเรี ย น การ สอนวิทยาศาสตร มีปญหาและอุปสรรคตางๆ มากมาย ซึ่ง ไดแก การมอง และคิดแบบแยกสวน เพราะวิทยาศาสตรเนน ที่การวัดไดแมนยํา และไปเกี่ยวของกับวัตถุหรือรูปธรรม โดย ทิ้งนามธรรมไปเลยประดุจวาไมมี แตในความเปนจริง

นิสิตปริญญาเอกสาขาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ธรรมชาติ มี ทั้ ง รู ป ธรรมและนามธรรมที่ เ ชื่ อ มโยงกั น อยู ซึ่ ง นามธรรม เปนเรื่องของจิตใจ คุณคาหรือจิตวิญญาณ มีอยูจริง แต วั ด ไม ไ ด แ ม น ยํ า เมื่ อ วั ด ไม ไ ด แ ม น ยํ า โลกทั ศ น ท าง วิทยาศาสตร จึงเปนโลกทัศนที่เอียงหรือบกพรอง คือ ขาดมิติ ทางนามธรรม ดั ง นั้ น อารยธรรมใหม ที่ มี ฐ านอยู ใ น วิทยาศาสตร จึงเปน อารยธรรมวัตถุนิยม ขาดความเขาใจใน มิติ ทางจิตวิญญาณ แตเนื่องจากมิติทางจิตวิญญาณ เปน เรื่องที่ขาดมิไดในความเปนมนุษยโลกทัศนแบบวิทยาศาสตรที่ แยกส ว นแม จ ะดลบั น ดาลความก า วหน า ทางวั ต ถุ ต า งๆ ก็ นําไปสูวิกฤตการณการมองไมครบ หรือทัศนะแบบแยกสวน จะ นําไปสูการเสียสมดุล และวิกฤตเสมอ (ประเวศ, 2546: 17) นอกจากนี้ ป ญ หาทางด า นสั ง คมซึ่ ง ในป จ จุ บั น จะเห็ น ได ว า ศีลธรรมไดเสื่อมถอยลง เห็นไดจากขาวอาชญากรรมตามหนา หนังสือพิมพที่มีใหพบเห็นกันอยูทุกวันเปนผล สืบเนื่องมาจาก การพัฒนาประเทศตามแบบอยางตะวันตก ทําใหผูคนละทิ้ง ความคิด และคุณธรรม จึงสงผลใหคุณธรรมทางดานจิตใจลด ต่ํ า ลงเกิ ด ป ญ หาความรุ น แรงในสั ง คมไทย (พระธรรมป ฎ ก, 2545: 124) นอกจากนี้ จากการศึ ก ษารายงานการวิ จั ย และ เอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับปญหาการจัดการเรียน การสอน วิทยาศาสตร (วิชัย, 2542: 2; รุง, 2543: 35-37) สรุปไดวา ครู ผู ส อนจํ า นวนมากยั ง ใช วิ ธี ก ารสอนแบบยึ ด ผู ส อนเป น ศูนยกลาง โดยใชวิธีการสอนแบบบรรยาย มุงเนนสอนเนื้อหา ส ง เสริ ม การท อ งจํ า มากกว า มุ ง ให ผู เ รี ย นคิ ด วิ เ คราะห หรื อ สืบเสาะแสวงหาความรูดวยตนเอง ทําใหผูเรียนคิดไมเปน ขาด ความเข า ใจในการเรี ย นรู โ ดยใช ทั ก ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร ไมไดลงมือปฏิบัติจริง สวนการประเมินผลการ เรียน พบวายังพิจารณาจากผลการสอบเทานั้นไมไดพิจารณา จากหลั ก ฐานผลการเรี ย นรู ทั้ ง หมดที่ ผู เ รี ย นเรี ย นรู โ ดยผ า น กระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ในขณะที่ความรูทางวิทยาศาสตรไดมี การขยายตัวเพิ่มขึ้นมากมาย และความรูที่แยกสวนเฉพาะดาน เกิด ใหม ตลอดเวลา อั น มีผลจากการวิจัย และทดลอง ทํา ให ผูเรียน สวนใหญมีความรูสึกวาการเรียนรูวิทยาศาสตร ไม สัมพันธกับชีวิตจริง

จากสภาพดั ง กล า ว วิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นการสอน รู ป แบบหนึ่ ง ที่ มุ ง ให ผู เ รี ย นเรี ย นรู อ ย า งเป น องค ร วม รู แ ละ เขาใจถึงความเปนจริงของธรรมชาติที่สัมพันธกับชีวิตจริง คือ การจัดการเรียนการสอนตามแนวพุทธ (พระพรหมคุณา ภรณ, 2548: 4) ซึ่งถือเปนการศึกษาเพื่อพัฒนาคนบนฐานของ ธรรมชาติ ยึดถือ “ทางสายกลาง” ไมใหสุดโตง เอียงสุด โดยมี จุดเนนที่สําคัญ คือ การพัฒนาใหนักเรียนสามารถ “กิน อยู ดู ฟง เปน” และ“ใชปญญา”ใหเกิดประโยชนแทจริงตอชีวิต ซึ่ง ในการจัดการเรียน การสอนจะตองจัดสภาพแวดลอมและ บรรยากาศ (ปรโตโฆสะ) ที่เปนกัลยาณมิตรเอื้อในการพัฒนา ผูเรียนอยางรอบดาน ดวย “วิถีวัฒนธรรมแสวงปญญา” โดย จัดผาน“ระบบไตรสิกขา” ที่นักเรียนไดศึกษาและปฏิบัติทั้ง ศีล สมาธิ และปญญา ที่มีความรูที่ถูกตอง มีศักยภาพ ในการ คิดที่แยบคาย (โยนิโสมนสิการ) ซึ่งผลที่เกิดจากการพัฒนานั้น ผูเรีย นจะสามารถพัฒ นาพฤติก รรมทางกาย (กายภาวนา) พัฒนาพฤติกรรมทางสังคม (ศีลภาวนา) พัฒนาพฤติกรรม ทางจิตใจ (จิตตภาวนา) และพัฒนาการทางปญญา (ปญญา ภาวนา) จากสภาพและแนวคิดดังกลาว ทําใหผูวิจัยสนใจ ที่จะพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรตาม แนววิถีพุทธ สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ซึ่งการวิจัย ครั้ ง นี้ จะเป น การพั ฒ นารู ป แบบการจั ด การเรี ย นการสอน วิ ท ยาศาสตร ตามแนววิ ถี พุ ท ธ เพื่ อ พั ฒ นากายภาวนา (Physical development)ศีลภาวนา(Social development) จิตตภาวนา (Emotional development)และปญญาภาวนา (Wisdom development) ของผูเรียน เพื่อจะนําไปสูความเปน มนุษยที่สมบูรณ และเปนแนวทาง ในการพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอนวิทยาศาสตรตามแนววิถีพุทธใหมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้นตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อ พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน วิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการ เรียนการสอนวิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธ สําหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 ในดานกายภาวนาของนักเรียน ศีลภาวนาของ นักเรียนจิตตภาวนาของนักเรียนและปญญาภาวนาของนักเรียน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. เป น แนวทางสํ า หรั บ ครู ผู ส อนวิ ท ยาศาสตร ใ น ระดับชั้น อื่น ๆ ในการจัดการเรียนการสอนวิท ยาศาสตรใ หมี คุณภาพ ตามแนววิถีพุทธ 2. เป น แนวทางให กั บ โรงเรี ย นอื่ น ในการพั ฒ นา รูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธ สําหรับนักเรียนตอไป ขอบเขตของการวิจัย การพั ฒ นารู ป แบบการจั ด การเรี ย นการสอน วิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนอนุบาลนครนายกในครั้งนี้มีขอบเขตการวิจัยดังนี้ 1. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ตามแนววิ ถี พุ ท ธ เป น รู ป แบบการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ประยุกตใชขั้นตอนการวิจัยเชิงพัฒนาโดยการนําความรูความ เขาใจในสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเขามาเชื่อมโยงกับหลัก พุทธธรรม ซึ่งประกอบดวย หลักกัลยาณมิตร หลักพรหม วิหาร4 หลักโยนิโสมนสิการ หลักไตรสิกขา หลักอริยสัจ4 และหลักอิทธิบาท4 มาเปนแนวทางเพื่อสงเสริมใหนักเรียน มุงศึกษา แกปญหา หรือแสวงหาความรูอยางเปนองครวม โดยผูสอนจัดการสภาพแวดลอมและบรรยากาศ (ปรโตโฆ สะ) ที่ เ ป น กั ล ยาณมิ ต ร เอื้ อ ในการพั ฒ นานั ก เรี ย นอย า ง รอบดาน ดวยวิถีวัฒนธรรมแสวงปญญา ทั้งนี้การพัฒนา นักเรียนดังกลาวจัดผานระบบไตรสิกขา ที่สงเสริมใหนักเรียน ไดศึกษาปฏิบัติอบรมทั้งศีล (Morality) หรือความประพฤติหรือ วิ นั ย ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ที่ ดี ง ามสํ า หรั บ ตนและสั ง คม สมาธิ (Concentration) หรื อ ด า นการพั ฒ นาจิ ต ใจที่ มี คุ ณ ภาพ มี สมรรถภาพ มี จิ ต ใจที่ ตั้ ง มั่ น เข ม แข็ ง สงบสุ ข ตลอดจนมี สุขภาพจิตที่ดี และปญญา (Wisdom) ที่มีความรูที่ถูกตอง มี ศั ก ยภาพในการคิ ด การแก ป ญ หา ที่ แ ยบคาย (โยนิ โ ส มนสิการ) โดยมีการสอบถามความคิดเห็นผูเชี่ยวชาญถึงความ เหมาะสม จากนั้นจึงกําหนดเปนรูปแบบการจัดการเรียนการ สอน เพื่อ นํ า ไปทดลองใชกั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ กษาป ที่ 6 โรงเรียนอนุบาลนครนายก

2. กลุมเปาหมายของการวิจัย เปนนักเรียน ชั้น ประถมศึก ษาป ที่ 6 โรงเรีย นอนุ บ าลนครนายก ป ก ารศึก ษา 2550 จํานวน 1 หองเรียน มีนักเรียน จํานวน 42 คน 3. ตัวแปรที่ศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ 3.1 ประสิท ธิภ าพการจัดการเรียนการสอน วิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 6 โรงเรียนอนุบาลนครนายก 3.2 พฤติกรรมการเรียนดานกาย (กายภาวนา) ของนักเรียน 3.3 พฤติกรรมการเรียนดานทักษะทางสังคม (ศีล ภาวนา) ของนักเรียน 3.3 พฤติ ก รรมการเรี ย นด า นจิ ต ใจ (จิตตภาวนา) ของนักเรียน 3.4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร (ปญญาภาวนา) ของนักเรียน วิธีการดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ใชวิธีการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ซึ่งผูวิจัยมีการดําเนินงานโดยใชขอเสนอ ของ Joyce & Weil (2004) ซึ่งประกอบดวยขั้นตอนสําคัญ 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาขอมูลพื้นฐาน ผูวิจัยศึกษา บริบท ปรัชญา เปาหมายของโรงเรียน หลักสูตรและสภาพการ จัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ในปจจุบัน และหลักพุทธ ธรรมที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนการสอน ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนานวัตกรรมการเรียนการ สอน ผู วิ จั ย ได ส ร า งรู ป แบบการจั ด การเรี ย นการสอน วิ ท ยาศาสตร ตามแนววิ ถี พุ ท ธ โดยการสั ง เคราะห ข อ มู ล พื้นฐาน จากขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช ผูวิจัยนํารูปแบบการ จัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธ ไปทดลอง ใชกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 เพื่อหาขอบกพรอ ง เกี่ยวกับเวลา สถานการณ ลักษณะกิจกรรม และเนื้อหาวามี ความเหมาะสมเพียงใดปรับปรุงแกไขใหเหมาะสม ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลและปรับปรุง ผูวิจัยนําผล ที่ไดจากการทดลองใช มาพิจารณาปรับปรุง เพื่อพัฒนาใหได


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธ เรียนที่ 3 สิ่ง มีชีวิตกับสิ่งแวดลอม หนวยการเรียนที่ 4 สารใน และคูมือการใชรูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรที่ ชีวิตประจําวัน หนวยการเรียนที่ 5 วงจรไฟฟา และหนวยการ เรียนที่ 6 ปรากฏการณของโลกและเทคโนโลยีอวกาศ” รวม มีประสิทธิภาพตอไป ทั้งสิ้น 75 แผนการสอน องค ป ระกอบแผนการเรี ย นรู  ขั้นที่ 1 การศึกษาขอมูลพื้นฐาน 3. เครื่องมือที่ใชในการประเมินผลการนํารูปแบบฯ ไป • ชื่อหนวยการเรียน/ชื่อแผน การศึกษาขอมูลพื้นฐานตางๆ ที่จําเปนในการ • ระยะเวลา พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ทดลองใช ไดแก แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนดานกาย (กาย วิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธไดแก • สาระสําคัญ ภาวนา); แบบสั ง เกตพฤติ ก รรมด า นทั ก ษะทางสั ง คม (ศี ล • ขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับหลักสูตร • ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และสภาพการจัดการเรียนการสอน • จุดประสงคการเรียนรู ภาวนา); แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนดานจิตใจ (จิตต • วิเคราะหแนวคิดเพื่อพัฒนารูปแบบ • สาระการเรียนรู การจัดการเรียนการสอน • กิจกรรมการเรียนรู ภาวนา); แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร • สื่อและแหลงเรียนรู • การวัดและประเมินผล (ปญญาภาวนา); แบบบันทึกการเรียนรูของผูเรียน; แบบบันทึก ขั้นที่ 2 การพัฒนานวัตกรรมการสอน • ใบความรู/ใบกิจกรรมตางๆ • สรางแผนการเรียนรู • บันทึกการสอนของครู การสอนของผูสอน; แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ขั้นที่ 3 การทดลองใชในชั้นเรียน เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน และคูมือการใชรูปแบบ การ ขั้นตอนการเรียนการสอน • การวางแผน (Plan) ไดแก 1. ขั้นสรางศรัทธา จัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรตามแนววิถพี ุทธ การทดลองใชนํารอง การศึกษาสภาพพื้นฐานของ 2. ขั้นปญญาวุฒิธรรม ผูเรียน 3. ขั้นพัฒนาปญญา การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ • การปฏิบัติ (Act) การปฏิบัติการสอน 4. ขั้นปรับปรุงและประยุกตใช • การสังเกต (Observe) การสังเกต 5. ขั้นสรุปและประเมินผล 1. การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใชในการ โดยการบันทึก สัมภาษณ • การสะทอนความคิด (Reflect) เก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยใชคาสถิติพื้นฐาน ไดแก คาเฉลี่ย คา สะทอนความคิด ปรับปรุง ความแปรปรวน ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของการวัด (Content • บันทึกการเรียนรูของผูเรียน • บันทึกการสอนของผูสอน Validity) ดัชนีความสอดคลองระหวางแบบวัดกับจุดประสงค ขั้นที่ 4 การประเมินผลและปรับปรุง • สอบถามความคิดเห็นของนักเรียน • การตรวจสอบประสิทธิภาพ เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน (Index of item-objective congruency : IOC) และความ เชื่อมั่นโดยใชสูตร KR-20 นํารูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ไมมีประสิทธิภาพ มีประสิทธิภาพ ตามแนววิถีพุทธ ไปเผยแพร 2. สถิติที่ใชในการตรวจสอบสมมติฐานการวิจัย 2.1 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร แผนภาพ ขั้ น ตอนการพั ฒ นารู ป แบบการจั ด การเรี ย นการสอน ตามแนววิถีพุทธ ประเมินโดยการวิเคราะหความคิดเห็นของ วิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปผูทเี่ 6ชี่ยวชาญตอรูปแบบฯ และความคิดเห็นของผูเรียนตอการ จัดการเรียนการสอนดวยคาเฉลี่ย ( X ) และคาเบี่ยงเบน ที่มา: กิตติชัย สุธาสิโนบล (2552) มาตรฐาน (S.D.) 2.2 เปรียบเทียบพฤติกรรมการเรียนดานกาย การพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการวิจัย (กายภาวนา) ; พฤติกรรมการเรียนดานทักษะทางสังคม (ศีล การวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการ ภาวนา) และพฤติกรรมการเรียนดานจิตใจ (จิตตภาวนา) ของ สอนวิ ท ยาศาสตร ตามแนววิ ถี พุ ท ธ สํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ผูเรียนที่พึงประสงคที่ประเมินครั้งแรกและครั้งหลัง และ ประถมศึกษาปที่ 6 จําแนกเครื่องมือไดตามลักษณะของการใช วิเคราะหขอ มูลจากการประเมินครั้ง แรกและครั้ง หลัง โดยใช ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย ( X ) และหาคารอยละ (%) และเปรียบเทียบการ 1. เครื่องมือที่ใชตรวจสอบความเหมาะสมของ พัฒนาจากคารอยละของการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธ 2.3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร เบื้ อ งต น โดยผู เ ชี่ ย วชาญได แ ก แบบประเมิ น รู ป แบบการ (ปญญาภาวนา) ของผูเรียนกอนเรียนและหลังเรียนในแตละ จัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธ ซึ่งใช หนวย และกอนและหลังการทดลองใชรูปแบบฯ ในภาพรวม เกณฑ ค า เฉลี่ ย คะแนนของความคิ ด เห็ น ผู เ ชี่ ย วชาญ ตั้ ง แต โดยทดสอบคาสถิติ t-test dependence 3.51 ขึ้นไป และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานไมเกิน 1.0 ไดคาเฉลี่ย 2.4 ขอมูลที่ไดจากการสังเกตการบันทึกและ ของความคิดเห็น เทากับ 4.71 แบบสอบถามความคิ ด เห็ น ต อ การจั ด การเรี ย นการสอน 2. เครื่องมือ ที่ใ ชใ นการจัดการเรียนการสอน ไดแ ก วิเคราะหโดยใชคาเฉลี่ย ( X ) คารอยละ (%) แผนการจั ด การเรี ย นรู วิ ท ยาศาสตร ตามแนววิ ถี พุ ท ธ จํานวน 6 หนวยการเรียนรู ดังนี้ หนวยการเรียนที่ 1 รางกาย มนุษยหนวยการเรียนที่ 2 การดํารงชีวิตของสัตว หนวยการ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 Action

Action

Action

Plan

Plan

Observe

Observe

Reflect

Reflect

ระยะที่ 1 หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนที่ 1-15

Action

Plan

Plan Observe

Observe

ระยะที่ 3 หนวยการเรียนรูที่ 3 แผนที่ 27-43

Action

Plan Observe

Reflect

Reflect

ระยะที่ 2 หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนที่ 16-26

Action

Reflect

ระยะที่ 4 หนวยการเรียนรูที่ 4 แผนที่ 44-54

Plan Observe

Reflect

ระยะที่ 5 หนวยการเรียนรูที่ 5 แผนที่ 55-63

Reflect ระยะที่ 6 หนวยการเรียนรูที่ 6 แผนที่ 64-75

แผนภาพ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรตามแนววิถีพุทธ ที่มา: กิตติชัย สุธาสิโนบล (2552) ที่ 3 ขั้นพัฒนาปญญา (Wisdom development) เปนขั้นที่ กระตือรือรนมีจิตใจจดจอและใชปญญาพิจารณาใครครวญสิ่งที่ ใชกระบวนการคิดโดย แยบคาย (โยนิโสมนสิการ) ในการ ไดเรียนรูอยางรอบคอบ และนําเสนอองคความรูในลักษณะ ที่ พัฒนาผูเรียนผานกิจกรรมการศึกษา คนควา ทดลอง สืบ สรางสรรค ในรูปของการจัดทําเปนแผนพับ Mind map หรือ เสาะหาความรู โดยใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร โครงงานเพื่อใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม ขั้นที่ 5 ขั้นสรุปและประเมินผล (Conclusion and กระบวนการกลุม การศึกษานอกสถานที่ การเก็บรวบรวม ขอมูล การจดบันทึกขอมูล การแกปญหาตามแนวทางอริยสัจ Evaluation) เปน ขั้ น ที่ส งเสริ ม ให ผูเรี ยนสรุ ป ความรู และ การเรียนรูอยางมีความสุข สงบเย็นพรอมทั้งสงเสริมกิจกรรม ประเมินผลงานของตนเองหรือกลุม โดยเปดโอกาสใหผูเรียนได อภิปรายกลุมเกี่ยวกับความรู และขอคิดเห็น ที่ไดจากการ แสดงผลงาน ในรูปของปายนิเทศ จัดนิทรรศการที่สงเสริมให ปฏิบัติกิจกรรมโดยสนับสนุนใหผูเรียนนําเสนอผลงานที่เกิด ผูเรียนไดปฏิสัมพันธแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันหรือใหผูเรียนรอง จากการทํากิจกรรมตอชั้นเรียน เพลงสรุ ป บทเรี ย น อภิ ป รายสรุ ป ประเมิ น ชิ้ น งาน ทํ า ขั้นที่ 4 ขั้นปรับปรุงและประยุกตใช (Improve and แบบทดสอบ หรือจัดเก็บผลงาน ในแฟมสะสมงานผูวิจัยเรียก Implementation) เปนขั้นที่ผูเรียนปรับปรุงพัฒนางาน เพื่อนํา รู ป แบบการเรี ย นการสอนนี้ ว า การจั ด การเรี ย นการสอน ความรู และประสบการณที่ได ไปใชแกปญหาในสถานการณ วิทยาศาสตรแบบพุทธะ(Science’ Buddhism Model) ดัง จําลองหรือชีวิตจริง สูความสําเร็จ ในการเรียนหรือการปฏิบัติ แสดงขั้นตอนการจัด การเรียนการสอนในแผนภาพ ดัง นี้ กิ จ กรรม มี ค วามพอใจ ความเพี ย รพยายาม มี ค วาม 1

ขั้นสรางศรัทธา (confidence)

ปญญา (ปญญาสิกขา) ขา)

5

ขั้นสรุปและประเมิ และประเมินผล (conclusion and evaluation)

2

ขั้นปญญาวุฒิธรรม (virtues conductive to growth)

Science’ Buddhism Model จิตใจ (สมาธิสิกขา) ขา) 4

ขั้นปรับปรุงและประยุกตใช (improvement and implementation)

ความประพฤติ (ศีลสิกขา) ขา) 3

ขั้นพัฒนาปญญา (wisdom development)

แผนภาพ ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรแบบพุทธะ (Science Buddhism Model) ที่มา: กิตติชัย สุธาสิโนบล (2552)


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 2. ประสิ ท ธิ ภ าพของรู ป แบบการเรี ย นการสอนดังนั้น ผูสอนจึงตองมีการจัดการเรื่องเวลาใหเหมาะสม และให วิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธที่พัฒนาขึ้น มีลักษณะที่สงเสริมนักเรียนไดมีสวนรวมในการวางแผนการเรียนการสอนจะชวย พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งไดรับลดชองวางระหวางนักเรียนกับผูสอนที่จะพัฒนานักเรียนให การประเมินจากผูเชี่ยวชาญวามีประสิทธิภาพตามเกณฑ คือมีเปนมนุษยที่สมบูรณและเห็นคุณคาของตนเอง คะแนนเฉลี่ย 4.71 ซึ่งถือวาเหมาะสมมาก สวนนักเรียนมีความ 1.3 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนนี้ ผูสอนจะตอง คิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวา กิจกรรมการเรียนการสรางศรัทธากับนักเรียน โดยจะตองจัดสภาพแวดลอมและ บรรยากาศ (ปรโตโฆสะ) ที่ดี ดวยการเปน กัลยาณมิต ร สอนและขั้นตอนการเรียนการสอนมีความเหมาะสม 3. ผลการพั ฒ นาพฤติ ก รรมการเรี ย นด า นกาย (กายด ว ยการกํ า หนดป จ จั ย ภายนอกที่ เ หมาะสมเพื่ อ ให เ กิ ด การ ภาวนา); ดานทักษะทางสังคม (ศีลภาวนา) และดานจิตใจ (จิตตเรียนรู และใชน้ําเสียงในการสั่งสอน แนะนํา บอกเลาขาวสาร ภาวนา) ของผู เ รี ย นที่ พึ ง ประสงค จากการประเมิ น ครั้ ง แรกการเรียนรูที่เหมาะสม ถูกตองดีงาม พรอมทั้งดูแลบุคลิกภาพ นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ย รอยละ 33.33 และการประเมินครั้งหลังและความเปนกัลยาณมิตรของครูใหสามารถสรางแรงจูงใจที่ดี นัก เรียนมีค ะแนนเฉลี่ย รอ ยละ100 และเพิ่มขึ้ น ร อ ยละ 66.67ประกอบกับเลือกเนื้อหาสาระความรูที่เหมาะสม นาสนใจโดย ใช กิ จ กรรมการสอนที่ ห ลากหลาย และใช สื่ อ การเรี ย นรู ที่ ของการประเมินครั้งแรกเทากันทั้ง 3 ดาน 4. ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรเหมาะสมกั บ นั ก เรี ย น โดยสร า งเสริ ม วิ ถี วั ฒ นธรรมแสวง (ปญญาภาวนา) ของผูเรียน กอ นเรียนและหลัง เรียนในแตละป ญ ญา (โยนิ โ สมนสิ ก าร) กํ า หนดแนวทางในการศึ ก ษา หนวย และกอนและหลังการทดลองใชรูปแบบการจัดการเรียนเกี่ยวกับความรู ความคิด การปฏิบัติ ที่อยูบนพื้นฐานของความ การสอนวิ ท ยาศาสตร ตามแนววิ ถี พุ ท ธ พบว า คะแนนเฉลี่ ยจริง ตามธรรมชาติ ตามหลักไตรสิกขา เพื่อใหเกิดพัฒนาการ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธทุกหนวยทางกาย สังคม จิตใจ และปญญา (ภาวนา 4) ซึ่งนําไปสูความ การเรี ย นรู หลั ง การทดลอง สู ง กว า คะแนนเฉลี่ ย ผลสั ม ฤทธิ์เปนผูมีปญญา ทางการเรี ย นก อ น การทดลอง อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ 1.4 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนนี้ ผูสอนเปนผูที่ ระดับ .01 แสดงวา รูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรมีความสําคัญในการที่จะนํารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตามแนววิถีพุทธ ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น วิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธไปใช ดังนั้น ผูสอนจําเปนตอง ศึก ษาวิธีการจัดการเรียนการสอนในแตล ะขั้นตอนใหเขา ใจ ขอเสนอแนะ ผูวิจัยมีข อเสนอแนะสํา หรับการนํา รูปแบบการจั ด การตลอดจนตองฝกปฏิบัติตนเองในการเชื่อมโยงหลักไตรสิกขา เรียนการสอนไปใช และขอเสนอแนะ เพื่อการวิจัยในครั้งตอไปไดแก ดานความประพฤติ (ศีล) ดานจิตใจ (สมาธิ)โดยฝก ตามลําดับดังนี้ ในเรื่องของคุณภาพจิต ไดแก มีน้ําใจ เอื้อเฟอ เผื่อแผ แบงปน 1. ขอเสนอแนะเพื่อการนําไปใช สิ่งของใหกับ ผูอื่น สมรรถภาพจิต ไดแก มีความเพียร 1.1 รู ป แบบการจั ด การเรี ย นการสอนนี้ สามารถ พยายาม มีเหตุมีผล และกระตือรือรนในการปฏิบัติกิจกรรม พัฒนาพฤติกรรมการเรียนดานกาย (กายภาวนา) พฤติกรรมการ และสุขภาพจิต ไดแก ราเริงแจมใส อารมณดี และสงบสุข เรียนดานทักษะทางสังคม (ศีลภาวนา) พฤติกรรมทางการเรียน เสมอ ดานความรูความคิด (ปญญา) ใหสมบูรณพรอม 2. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป ด า นจิ ต ใจ (จิ ต ตภาวนา) และผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น 2.1 รูป แบบการจั ด การเรีย นการสอน วิทยาศาสตร (ปญญาภาวนา) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ไดเปนอยางดี ผูสอนที่จะนํารูปแบบการจัดการเรียนการสอน วิท ยาศาสตร ตามแนววิ ถีพุ ท ธที่พั ฒ นาขึ้น เปน รู ป แบบการ นี้ไ ปใช ควรมีการศึ ก ษาวิธีการจัดการเรียนการสอนกอ นที่จะ จัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาป นํ า ไปใช อ ย า งลึ ก ซึ้ ง และปรั บ กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนให ที่ 6 ดังนั้น ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่นเพิ่มเติม เชน เจตคติตอ การเรี ย นในวิ ช าอื่ น ๆ ความรั บ ผิ ด ชอบต อ การเรี ย น ทั ก ษะ เหมาะสมกับนักเรียน 1.2 รู ป แบบการจั ด การเรี ย นการสอน ที่ ผู วิ จั ย กระบวนการทางวิทยาศาสตร และทักษะการแกปญหา เปนตน 2.2 รู ป แ บ บ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น พั ฒ นาขึ้ น นี้ สามารถใช ไ ด อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ต อ ง ประกอบดวย ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน 5 ขั้นตอน คือ วิท ยาศาสตร ตามแนววิ ถีพุ ท ธที่ พัฒ นาขึ้ น จุ ด สํา คั ญ อยู ที่ ขั้นที่ 1 ขั้นสรางศรัทธา ขั้นที่ 2 ขั้นปญญาวุฒิธรรม ขั้นที่ 3 ขั้น กระบวนการเรียนรูตามหลักไตรสิกขา (ศีลสิกขา สมาธิสิกขา พัฒนาปญญา ขั้นที่ 4 ขั้นปรับปรุงและประยุกตใช ขั้นที่ 5 ขั้น ปญญาสิกขา) ควรมีการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน สรุปและประเมินผล ซึ่งเปนกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ ตามแนววิถีพุทธ ในวิชาอื่นๆ และระดับชั้นอื่นตอไป ตอ งใช เ วลาในการจั ด กิจ กรรมที่ เ หมาะสมในแต ล ะขั้ น ตอน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

บรรณานุกรม กิตติชัย สุธาสิโนบล, 2552.การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ตามแนววิถีพุทธสําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนอนุบาลนครนายก. ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) สาขาหลักสูตรและการสอน ภาควิชาการศึกษา. ประเวศ วะสี, 2546. การพัฒนากระบวนการเรียนรูแบบพุทธ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ. พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต). 2545. รุงอรุณของการศึกษาเบิกฟาแหงการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ สหธรรมิก จํากัด. รุง แกวแดง. 2543. “การปฏิรูปการศึกษาไทยตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ,” ในปฏิรูปการศึกษา : แนวคิดและหลักการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. หนา 35-57 กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพวิญูชน จํากัด. วิชัย วงษใหญ. 2542. พลังการเรียนรูในกระบวนทัศนใหม. กรุงเทพมหานคร: เอส อาร ปริ้นติ้ง. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต). 2548. พิมพครั้งที่ 6. สูการศึกษาแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม. Joyce, B & Weil, M. and Calhoun. 2004. Models of Teaching. 7th ed. Boston: Allyn & Bacon.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต DEVELOPMENT OF THE GUIDELINES OF INFORMAL EDUCATION PROVISION FOR LIFELONG LEARNING PROMOTION คมกฤช จันทรขจร บทคัดยอ

การวิจัยเรื่องการพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัยเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต มีจุดมุงหมาย เพื่อ สราง และประเมินแนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย วิธีดําเนินการวิจัยประกอบดวย 2 ขั้นตอน ไดแก 1) การสราง แนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย โดยการศึกษาเอกสาร และงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ทั้ ง ของ ประเทศไทย และตางประเทศ นํามารางเปนกรอบแนวทางการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัย แลวนําไปใหผูเชี่ยวชาญ จํานวน 18 คน ประเมินความเหมาะสมขององคประกอบ และเนื้อหา 2) ประเมินแนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย โดยการศึกษา ความคิดเห็นของผูบริหารสถานศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน จํานวน 274 คน เกี่ยวกับความเปนไปไดในการนําแนวทางไป ปฏิบัติ ผลการวิจัย พบวาแนวทางการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัยเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ที่ผูเชี่ยวชาญเห็นวา สอดคลองและผูบริหารเห็นวานําไปปฏิบัติได ประกอบไปดวย 4 องค ป ระกอบ คื อ 1) หลั ก การจั ด การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ประกอบดวย ปรัชญา นิยาม ความหมาย การเรียนรู ลักษณะ การจั ด และผู จั ด 2) การจั ด กิ จ กรรมส ง เสริ ม การเรี ย นรู ประกอบดวย โปรแกรมสงเสริมการเรียนรู และกิจกรรมสงเสริม การเรียนรู 3) การจัดปจจัยสงเสริมการเรียนรู ประกอบดว ย การพั ฒ นาแหล ง การเรี ย นรู การจั ด การความรู สื่ อ และ เทคโนโลยีการศึกษา และการพัฒนาเครือขายการเรียนรู 4) การเรี ย นรู จ ากประสบการณ ประกอบด ว ย ประเภทของ ประสบการณ วิ ธี ก าร หลั ก การ และจุ ด มุ ง หมายของการ ประเมินความรูจากประสบการณ

นิสิตระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการศึกษาผูใหญ ภาควิชาการศึกษาผูใหญ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ และผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา พบว า องค ป ระกอบย อ ยที่ ผูเชี่ยวชาญและผูบริหารสถานศึกษามีความคิดเห็นสอดคลอง กัน ไดแก นิยาม และความหมายที่เกี่ยวของกับการศึกษาตาม อั ธ ยาศั ย การเรี ย นรู ต ามอั ธ ยาศั ย การจั ด การศึ ก ษาตาม อั ธ ยาศั ย เพื่ อ ส ง เสริ ม การเรี ย นรู ต ลอดชี วิ ต หลั ก การ และ จุ ด มุ ง หมายของการประเมิ น ความรู จ ากประสบการณ องคประกอบยอยที่ผูเชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคลองกันมาก ที่สุด และผูบริหารสถานศึกษามีความเห็นดวยในการปฏิบัติใน ระดั บ มาก แต ร ะดั บ ของความคิ ด เห็ น แตกต า งกั น อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติ ไดแก ปรัชญาของการศึกษาตามอัธยาศัย ผูจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ความหมาย องคประกอบ และ ประเภทของโปรแกรมสงเสริมการเรียนรูตามอัธยาศัย ประเภท ของกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู การพัฒนาแหลงการเรียนรู การ จั ด การความรู หลั ก การใช เ ทคโนโลยี เ พื่ อ การศึ ก ษาตาม อัธยาศัย และประเภทของการเรียนรูจากประสบการณ คําสําคัญ : แนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย จากประสบการณ องคประกอบยอยที่ผูเชี่ยวชาญมี ความเห็นสอดคลองกันมากที่สุด และผูบริหารสถานศึกษามี ความเห็นดวยในการปฏิบัติในระดับมาก แตระดับของความ คิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ไดแก ปรัชญา ของการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ผู จั ด การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ความหมาย องคประกอบ และประเภทของโปรแกรมสงเสริม การเรียนรูตามอัธยาศัย ประเภทของกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู การพั ฒ นาแหล ง การเรี ย นรู การจั ด การความรู หลั ก การใช เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามอัธยาศัย และประเภทของการ เรียนรูจากประสบการณ คําสําคัญ : แนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย Abstract The purpose of this study was to develop the guidelines for providing informal education in order to promote lifelong learning. The study was conducted in 2 consecutive stages. First, the construction of the guidelines derived through the analysis and synthesis on related literature and research at national and international level. A panel of 18 experts verified the proposed guidelines by using the Delphi Technique. Second, 274 administrators of nonformal education centers in Thailand evaluated the guidelines in order to find out the feasibility and suitability of their application. The findings of the appropriate guidelines for providing informal education in Thailand which the experts judged and the administrators considered

applicable consisted of 4 components as follows: 1) Principle of Informal Education consisted of Philosophy, Definition, Meaning, Learning, Characteristics, Method of Providing, and Provider; 2) Organizing Activities for Learning Promotion consisted of Program for Learning Promotion, and Activities for Learning Promotion, 3) Providing Learning Factors consisted of Developing Learning Resource, Learning Management, Media and Educational Technology, and Developing Learning Network, and 4) Learning from Experience consisted of Categories of Experience, Method, Principle and Objective of Learning Assessment from Experience. The opinions of the expert and the administrator were compared and it was found that their opinions were high consistent in the following sub components: Definition, Meaning of Informal Education, Informal Learning, Providing Informal Education for Lifelong Learning Promotion, Principle, and the Objectives of Learning Assessment from Experience. The sub components which the experts had high consistency and the administrators agreed in high level of practice, the different level of theory and practice was existed with a statistical significance. They were Philosophy, Provider, Meaning, Components and Types of Program to Promote Informal Learning, Types of Activities to Promote Learning, Developing Learning Resources, Knowledge Management, Principle of Technology Use in Informal Education, and Categories of Learning from Experience. Keywords : GUIDELINES OF INFORMAL EDUCATION PROVISION ความเปนมาของปญหาการวิจัย การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย มี ม าตั้ ง แต อ ดี ต ใน ความหมายของการเรียนรูเพื่อการดํารงชีวิตเพื่อเพิ่มพูน และ สั่งสมประสบการณ การเรียกขานขึ้นอยูกับความเขาใจและการ จัดการศึกษา เชน การศึกษาอรูปนัย การศึกษาธรรมชาติวิสัย การเรียนรูแบบที่อุบัติขึ้น และการเรียนรูโดยบังเอิญ เปนตน (กรมการศึกษานอกโรงเรียน. 2544 : 5) การศึกษาตาม อัธยาศัยมีพัฒนาการทางแนวคิดในบริบทตางๆ คือ การศึกษา ที่เกี่ยวของกับกระบวนการเรียนรู การศึกษาที่เกี่ยวของกับการ ไดรับความรูจากการดําเนินชีวิต และประสบการณ การศึกษา ในบริบทของวิถีชีวิตของกลุมเปาหมาย การศึกษาในบริบทของ การจัดสภาพการเรียนรู และในบริบทของการศึกษาตลอดชีวิต


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จึงมีความสนใจที่จะศึกษา แนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสงเสริมการเรียนรู ตลอดชีวิตที่สามารถนําไปปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม อันจะ เปนพื้นฐานนําไปสูสังคมแหงความรู และสังคมแหงภูมิปญญา ตอไป ความมุงหมายของการวิจัย การศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ สร า ง และ ประเมินแนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริม การเรียนรูตลอดชีวิต วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยกําหนดวิธีดําเนินการวิจัย ออกเปน 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสรางแนวทางการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ กั บ การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ทั้ ง ของประเทศไทย และ ต า งประเทศในบริ บ ทต า งๆ ได แ ก พั ฒ นาการ แนวคิ ด ความหมาย ความสําคัญ ลักษณะ ประเภท รูปแบบ ตลอดจน การศึกษาแนวทาง และยุทธศาสตรการจัดของประเทศไทย และการจั ด ในต า งประเทศ นํ า มาร า งเป น แนวทางการจั ด การศึกษาตามอัธยาศัย แลวนําไปใหผูเชี่ยวชาญ จํานวน 21 คน ประเมินองคประกอบ และเนื้อหา จํานวน 2 รอบ รอบที่ 1 ไดรับแบบสอบถามกลับคืน จํานวน 19 ฉบับ รอบที่ 2 ไดรับ แบบสอบถามกลับคืน จํานวน 18 ฉบับ ขั้น ตอนที่ 2 ประเมินแนวทางการจัดการศึก ษา ตามอั ธ ยาศั ย โดยการศึ ก ษาความคิ ด เห็ น ของผู บ ริ ห าร สถานศึ ก ษาการศึ ก ษานอกโรงเรี ย น จํ า นวน 274 คน เพื่ อ ประเมินความเปนไปไดในการนําแนวทางไปปฏิบัติ แลวนํามา เปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของผู เ ชี่ ย วชาญ และผู บ ริ ห าร สถานศึกษา การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอ มูลในขั้น ตอนการสรา งแนวทาง ทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย นําคาคะแนนการประเมิน ความเหมาะสมของผูเชี่ยวชาญ มาคํานวณหา คา มัธยฐาน (Median) และคาพิสัยระหวางควอไทล (Interquartile range) การวิเคราะหขอมูลในขั้นตอนประเมินแนวทางการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อศึกษาความเปนไปไดในการนํา แนวทางไปปฏิบัติ โดยนําคาคะแนนความคิดเห็นของผูบริหาร สถานศึกษามาคํานวณหาคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย (Mean) และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) แลว นํามาวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ย ของ ผูเชี่ยวชาญ และผูบริหารสถานศึกษา ดวยสถิติ Independent samples test (t-test) โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS (Statistical package for the social sciences)

ที่ตั้งอยูบนความเชื่อที่วามนุษยสามารถเรียนรูไดอยางตอเนื่อง (กรมการศึกษานอกโรงเรียน. 2544 : 12-13) กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2538 : 230) กลาววา การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย เป น การศึ ก ษาที่ สํ า คั ญ แต นั ก การศึกษาในอดีตมักจะไมคอยสนใจ ซึ่งสอดคลองกับที่ สุมาลี สังขศรี (2544 : 14) กลาวไววา การศึกษาตามอัธยาศัยปจจุบัน ยังไมไดรับความสนใจเทาที่ควร ทั้งที่เปนการศึกษาที่สัมพันธ กับชีวิตของบุคคลมากที่สุด และจากการที่กรมการศึกษานอก โรงเรี ย นให ค วามสํ า คั ญ กั บ กลุ ม เป า หมายการศึ ก ษาตาม อัธยาศัย วา คือ ประชากรทั้งประเทศจึงมีความจําเปนที่ตอง จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต แกประชากรทุกระดับชั้น ใหมีโ อกาสไดรับการศึ ก ษาอยา งทั่ ว ถึง (กรมการศึก ษานอก โรงเรียน. 2543 : 17-18) แตการศึกษาตามอัธยาศัยกลับถูก มองวาเปนการศึกษาที่ดูเหมือนจะดอยกวาการศึกษาในระบบ และการศึกษานอกระบบ เนื่องจากไมมีกระบวนการที่แนชัด ไม สามารถจับตอง มองเห็นได ไมเปนระบบ และไมมีแบบแผน (กรมการศึกษานอกโรงเรียน. 2544 : 25) ทั้งนี้อาจเปนเพราะ ความเขาใจที่หลากหลายเกี่ยวกับการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่ง นักการศึกษาไดอธิบายไวหลายลักษณะ เชน พนม พงษ ไพบูลย (2544 : 7) ใหความหมายวา การศึกษาตามอัธยาศัย เป น การศึก ษาที่ ไ มมี รู ป แบบพอที่ จ ะอธิ บ ายไดชั ด เจน (Non form) ซึ่งสอดคลองกับ สุมาลี สังขศรี (2544 : 27 - 9) ที่กลาว วาการศึกษาตามอัธยาศัย ไมจําเปนตองมีหลักสูตร ไมมีเวลา เรียนที่แนนอน ไมจํากัดอายุ ไมมีการลงทะเบียน และไมมีการ สอน ไม มีการรับประกาศนี ยบัตร มีห รือไมมีสถานที่แ นน อน เรียนที่ไหนก็ได ลักษณะการเรียนสวนใหญเปนการเรียนเพื่อ ความรู และนันทนาการ ขณะที่ วิศนี ศิลตระกูล และอมรา ปฐ ภิญโญบูรณ (2544 : 7) ไดกลาวถึงการศึกษาตามอัธยาศัยวา เป น ส ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาระบบอื่น ๆ อย า งแยกไมอ อกให ชัดเจนได นอกจากนั้นความเขาใจที่วาการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal education) เกิดขึ้นอยางไมเปนทางการเปนเพียง กระบวนการเรียนรูตามอัธยาศัย (Informal learning process) จึงนําไปสูขอถกเถียงที่วาการศึกษาตามอัธยาศัยนาจะไมมี แต เปนเพียงการเรียนรูตามอัธยาศัย ที่คนเราสามารถปฏิบัติได เทานั้น (กรมการศึกษานอกโรงเรียน. 2544 : 30) จากการปฏิ รู ป การศึ ก ษาโดยพระราชบั ญ ญั ติ การศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ.2542 แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ.2545 ถึงปจจุบันแนวคิดในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ก็ยังคงเปนที่เขาใจอยูในวงจํากัด ทั้งนี้คงเปนเพราะความเขาใจ ที่วาการศึกษาตามอัธยาศัย เกิดขึ้นอยางไมเปนทางการเปน เพียงกระบวนการเรียนรูตามอัธยาศัยของบุคคลที่ไมมีรูปแบบที่ ชั ด เจน ไม ส ามารถนํ า ไปสู ก ารปฏิ บั ติ ไ ด อ ย า งเป น รู ป ธรรม ดังนั้นผูวิจัยในฐานะผูปฏิบัติงานเกี่ยวของกับการศึกษานอก


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 สรุปผลการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ มีขอคนพบ ดังตอไปนี้ 1. ขั้นตอนสรางแนวทางการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย ผูวิจัยนํารางแนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยที่ ได จ ากการศึ ก ษาเอกสาร ไปให ผู เ ชี่ ย วชาญประเมิ น องคประกอบ และเนื้อหา จํานวน 2 รอบ รอบที่ 1 พบวา ผูเชี่ยวชาญเห็นวาองคประกอบหลักมีความเหมาะสมอยูใน ระดั บ มาก ถึ ง มากที่ สุ ด (Mdn.4.00-5.00) และมี ค วามเห็ น สอดคลองกันปานกลาง ถึงมาก เมื่อพิจารณาองคประกอบ ย อ ย ผู เ ชี่ ย วชาญเห็ น ว า ควรเพิ่ ม เติ ม องค ป ระกอบย อ ย คื อ ปรัชญาของการศึกษาตามอัธยาศัย ความหมายของโปรแกรม สงเสริมการเรียนรู และควรการจําแนกประเภทของโปรแกรม ส ง เสริ ม การเรี ย นรู ใ ห ค รอบคลุ ม มากยิ่ ง ขึ้ น ผลการประเมิ น เนื้อหารายขอ พบวา ผูเชี่ยวชาญมีความเห็นไมสอดคลองกัน จํานวน 30 ขอ ผูวิจัยไดปรับปรุง องคประกอบยอย และเนื้อหา รายข อ ตามข อ เสนอแนะของผู เ ชี่ ย วชาญ โดยเพิ่ ม เติ ม ข อ คําถาม จํานวน 24 ขอ และปรับปรุงขอคําถาม จํานวน 27 ขอ แลวนําไปใหผูเชี่ยวชาญประเมินรอบที่ 2 พบวา ผูเชี่ยวชาญ เห็นวาองคประกอบหลักมีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด (Mdn.4.50-5.00) และมีความเห็นสอดคลองกันปานกลาง ถึง

มาก ผลการประเมินองคประกอบยอย ผูเชี่ยวชาญเห็นวามี ความเหมาะสมอยูในระดับมาก ถึงมากที่สุด (Mdn.4.00-5.00) และมีความเห็นสอดคลองกันปานกลาง ถึงมาก ผลการ ประเมิ น เนื้ อ หารายข อ พบว า ผู เ ชี่ ย วชาญมี ค วามเห็ น ไม สอดคลองกัน จํานวน 1 ขอ 2.ขั้น ตอนการประเมิ น แนวทางการจัด การศึกษา ตามอั ธ ยาศั ย ผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาเห็ น ว า โดยรวมมี ค วาม เป น ไปได ใ นการนํ า แนวทางไปปฏิ บั ติ ในระดั บ มาก โดยมี คาเฉลี่ย ( Χ =3.97) และเมื่อ พิจารณารายองคป ระกอบ ผูบริหารสถานศึกษาเห็นวามีความเปนไปไดในการนําแนวทาง ไปปฏิบัติ ในระดับมากทุกองคประกอบ ผลการเปรียบเทียบ ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ และผูบริหารสถานศึกษา พบวา ผูเชี่ยวชาญ และผูบริหารสถานศึกษา มีความคิดเห็นแตกตาง กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ทุกองคประกอบ ผูวิจัยไดคัดเลือก เฉพาะขอคําถามที่ผูเชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคลองกัน และขอ คําถามที่ผูเชี่ยวชาญ และผูบริหารสถานศึกษามีความคิดเห็น ระดับมาก(คาเฉลี่ย 3.50 ขึ้นไป) นํามาพัฒนาเปนแนวทางการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ซึ่ง สรุปได 4 องคประกอบ ดังนี้

ปรัชญา

การพัฒนาแหลงการเรียนรู

นิยาม ความหมาย การเรียนรูตามอัธยาศัย ลักษณะ การจัด

การจัดการความรู

1. หลักการจัด การศึกษาตามอัธยาศัย

3. การจัดปจจัย สงเสริมการเรียนรู

แนวทางการจัด การศึกษาตามอัธยาศัย

ลักษณะของโปรแกรม องคประกอบของโปรแกรม ประเภทของโปรแกรม

หลักการใชเทคโนโลยี การพัฒนาเครือขาย

ผูจัด

ความหมายของโปรแกรม

การจัดบริการสื่อ

2. การจัดกิจกรรม สงเสริมการเรียนรู

4. การเรียนรู จากประสบการณ

ประเภทของการเรียนรู วิธีการประเมินความรู หลักการประเมินความรู จุดมุง หมายของการประเมินความรู

ประเภทของกิจกรรม

แนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต องคประกอบที่ 1 หลักการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เปน การผสมผสานกับความเชื่อ และปรัชญาตางๆ ที่นําไปสูการ กําหนดขอบเขต นิยาม และความหมายที่เกี่ยวของ เพื่อนําไปสู การอธิบายถึงบริบทตางๆ ไดแก การเรียนรูตามอัธยาศัยของ

ป จ เจกบุ ค คล ลั ก ษณะ ขอบข า ย และผู จั ด การศึ ก ษาตาม อัธยาศัย ทั้ง นี้เพื่อเปนกรอบ และแนวทางในการกําหนดทิศ ทางการสนับสนุน สงเสริม และจัดการศึกษาตามอัธยาศัยตาม เจตนารมณ ข องพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 modernism) ที่ใหความสําคัญกับคุณคาของความแตกตาง และ ความหลากหลายของผูเรียนเปนรายบุคคล 2. นิยาม และความหมายที่เกี่ยวของกับ การศึกษาตามอัธยาศัย พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ มาตรา15 (3) ไดใหความหมายของการศึกษาตามอัธยาศัย วา เปนการศึกษาที่ใหผูเรียน ไดเรียนรูดวยตนเอง ตามความสนใจ ศั ก ยภาพ ความพร อ ม และโอกาส โดยศึ ก ษาจากบุ ค คล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม สื่อ หรือแหลงความรูอื่นๆ และพระราชบั ญ ญั ติ ส ง เสริ ม การศึ ก ษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย อธิบายความหมายของการศึกษาตาม อัธยาศัยวา หมายถึง กิจกรรมการเรียนรูในวิถีชีวิตประจําวัน ของบุคคล ซึ่งบุคคลสามารถเลือกที่จะเรียนรูไดอยางตอเนื่อง ตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความตองการ โอกาส ความพรอม และศักยภาพในการเรียนรูของแตละบุคคล ซึ่งเปนการนิยาม ความหมายอย า งกว า งๆ มิ ไ ด ก ล า วถึ ง ขอบข า ยของการจั ด การศึกษาตามอัธยาศัย ดังนั้นจึงเปนเหตุผลใหกลุมผูเชี่ยวชาญ และผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษามี ค วามเห็ น สอดคล อ งกั น ว า การ นิยามความหมายที่เกี่ยวของกับการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ได จากการวิ จั ย จะเป น แนวทางไปสู ก ารจั ด การศึ ก ษาตาม อัธยาศัยไดอยางเปนรูปธรรม ตอไป 3. การเรียนรูตามอัธยาศัย ถูกมองวาเปน กระบวนการเรียนรูตลอดชีวิตที่เกิดจากการดํารงชีวิตประจําวัน ซึ่ง กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2538 : 83) อธิบายวา การศึกษาตามอัธยาศัยเกิดขึ้นตามวิถีชีวิตเปนการเรียนรูจาก ประสบการณ จากการทํางาน จากบุคคล จากชุมชน จากแหลง ความรูตางๆ สอดคลองกับ คูมส (Coombs. 1985 : 24) อธิบายวา การศึกษาตามอัธยาศัยเปนกระบวนการตลอดชีวิต ที่ทุกคนไดรับ และสะสมความรู ทักษะ เจตคติ การรูแจงจาก ประสบการณประจําวัน การสัมผัสกับสิ่งแวดลอมทั้งที่บาน ที่ ทํางาน ที่เลน จากตัวอยาง และเจตคติของสมาชิกครอบครัว เพื่อนจากการเดินทาง การอานหนังสือพิมพ และหนังสืออื่นๆ หรือโดยการฟงวิทยุ ดูภาพยนตร หรือโทรทัศน ตามปกติแลว การศึกษาตามอัธยาศัย ไมมีการจัด ไมมีระบบ และบางครั้ง ไมไดตั้งใจ แตมีสวนเกี่ยวของกับการเรียนรูไปตลอดชีวิตของ แตละบุคคลอยางมาก แมแตผูที่มีการศึกษาในโรงเรียนมาแลว ก็ตาม ซึ่งการอธิบายความหมายของการเรียนรูตามอัธยาศัย ถูกอธิบายอยางกวางขวางในบริบทของการเรียนรูตลอดชีวิต ดั ง นั้ น การที่ ง านวิ จั ย ได อ ธิ บ ายถึ ง กระบวนการเรี ย นรู ต าม อัธยาศัย จึงเปนเหตุผลสําคัญที่ทําใหผูเชี่ยวชาญ และผูบริหาร สถานศึกษามีความเห็นสอดคลองกันในระดับมาก 4. โปรแกรมสงเสริมการเรียนรูตามอัธยาศัย ซึ่ง สมิธ (Smith. 2005 : Online ) อธิบายวา การศึกษาตาม อั ธ ยาศั ย เกี่ ย วข อ งกั บ กิ จ กรรมที่ ถู ก จั ด ขึ้ น ในโรงเรี ย น และ

องค ป ระกอบที่ 2 การจั ด กิ จ กรรมส ง เสริ ม การ เรียนรู เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ในลักษณะของโปรแกรม สงเสริมการเรียนรู หรือโครงการจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ที่ผูจัดกําหนดขึ้นอยางเปนระบบ และมีวัตถุประสงคชัดเจนใน การจัดกระบวนการใหความรู และประสบการณ สําหรับการ เรียนรูของผูเรียน เกิดขึ้นจากแรงจูงใจของปจเจกบุคคล บุคคล เปนผูกําหนดเปาหมายในการเรียนรูดวยตนเอง องคประกอบที่ 3 การจัดปจจัยสงเสริมการเรียนรู เปนการพัฒนาสภาพแวดลอม ปจจัยเกื้อหนุน สื่อ และแหลง การเรียนรูตางๆ ที่มีอยูตามธรรมชาติใหเปนแหลงวิทยาการ โดยการจัดการความรู การจัดบริการสื่อ การใชเทคโนโลยีเพื่อ สงเสริมใหบุคคลเกิดการเรียนรู และการพัฒนาเครือขายการ เรียนรูเพื่อการศึกษา องคประกอบที่ 4 การเรียนรูจากประสบการณ เปนการใหความสําคัญกับประสบการณการเรียนรูของบุคคลที่ เกิดขึ้นอยางไมเปนทางการ สําหรับการประเมินความรูจาก ประสบการณเปนการใชประโยชนจากประสบการณตามความ ตองการของบุคคล ผานกระบวนการประเมินผลการเรียนรู ซึ่ง นับวาเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามอัธยาศัย ทั้งนี้ก็เพื่อสราง ความเชื่อมโยงระหวางการศึกษา การอภิปรายผล 1. ปรัชญาของการศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษาตามอัธยาศัยมีพัฒนาการมาจากปรัชญาการศึกษา ตลอดชี วิ ต กล า วคื อ ในป พ.ศ.2522 กรมการศึ ก ษานอก โรงเรียนไดถูกจัดตั้งขึ้น ตามปรัชญาการศึกษาตลอดชีวิต โดยถือ วากระบวนการการศึกษาตลอดชีวิตเปนสิ่งจําเปนสําหรับทุก คน ในการดํา เนิ นงานใหบรรลุเป าหมายไดมีการผสมผสาน ความเชื่อ และปรัชญาตางๆ ไดแก ปรัชญาคิดเปน ปรัชญา พิพัฒนาการนิยม ปรัชญาอัตถิภาวนิยม (อุดม เชยกีวงค.2544 : 147) ในป พ.ศ.2542 ไดมีการกลาวถึง การศึกษาตามอัธยาศัย ไวในมาตรา 15 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ครั้นเมื่อ กระแสโลกาภิวัตน เขามามีบทบาทตอบุคคลในสังคม ปรัชญาหลังนว สมั ยนิ ยม/ หลั งสมั ยใหม จึ งเข ามามี บทบาทมากขึ้ น โดยเชื่ อ ว า การศึ ก ษาในยุ ค ใหม นี้ จะพิ จ ารณาได จ ากคุ ณ ค า ทางการ ปฏิ บั ติ ผู เ รี ย นเป น ศู น ย ก ลางเป น รายบุ ค คล เน น ถึ ง ความ แตกตาง และความหลากหลายในการจัดการศึกษา ตอมาในป พ.ศ.2551 ได มี ก ารประกาศใช พ ระราชบั ญ ญั ติ ส ง เสริ ม การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยขึ้น ดังนั้นจึง กล า วได ว า การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย เกิ ด จากการผสมผสาน ความเชื่อ ของปรัชญาการศึกษาตางๆ ไดแก ปรัชญาการศึกษา ตลอดชีวิต (Lifelong education) ปรัชญาคิดเปน (Khit pen) ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) ปรัชญาอัตถิภาวนิยม (Existentialism) และปรั ชญาหลั งนวสมั ยนิ ยม/หลั งสมั ยใหม (Post


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ตลอดจนหลักเกณฑ และเงื่อนไขที่แตกตางจากการศึกษาตาม อั ธ ยาศั ย ดั ง นั้ น ผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาจึ ง มี ค วามคิ ด เห็ น ที่ แตกตางจากผูเชี่ยวชาญ 6. การจัดการความรู ผูเชี่ยวชาญ อาจเห็นวา ในสั ง คมแห ง ความรู ถื อ ว า ความรู เ ป น ทรั พ ยากรสํ า คั ญ ที่ สามารถสร า งขึ้ น ได และจํ า เป น ต อ งเปลี่ ย นแปลงอยู เ สมอ ความรู ส ามารถจํ า แนกได เป น ความรู ที่ ป รากฏ (Explicit knowledge) เปนความรูที่ไดรับการถายทอดในรูปของการ บั น ทึ ก แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ ต า ง ๆ ค ว า ม รู โ ด ย นั ย (Tacit knowledge) เป น ความรู เ ฉพาะปจ เจกบุค คลที่ เกิ ด จาก ประสบการณ การศึกษา การสนทนา การฝกอบรม ความเชื่อ เจตคติ ข องแต ล ะบุ ค คล และความรู ที่ เ กิ ด จากวั ฒ นธรรม (Culture knowledge) เปนความรูที่เกิดจากความเชื่อ ความ ศรั ท ธาในสภาพแวดล อ มนั้ น ๆ สํ า หรั บ การจั ด การความรู (Knowledge management) คือ การนําความรูที่มีไปใช ประโยชน โดยการรวบรวม เลือกสรร การจัดเก็บความรู เพื่อ เผยแพรสูกลุมเปาหมายผูรับบริการ ตลอดจนการใชเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่ อ สร า งความเชื่ อ มโยงความรู ภ ายใน และ ภายนอกแหลงการเรียนรู ขณะที่ผูบริหารสถานศึกษา อาจเห็น ว า การจั ด การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย คื อ การนํ า ความรู จ าก ภายนอกมาเพื่อเผยแพรสูกลุมเปาหมายผูรับบริการ ทั้งที่องค ความรูตางๆ ที่มีคุณคาอาจเปนความรูที่เกิดขึ้นจากวัฒนธรรม วิ ถี ชี วิ ต และภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น ที่ ค วรเผยแพร สื บ สาน และ อนุรักษไวใหคงอยูกับชุมชน และสังคมตอไป 7. หลักการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตาม อัธยาศัย ผูเชี่ยวชาญ อาจเห็นวา การใชเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการพัฒนาองคความรู เว็บไซด และโปรแกรมสํ า เร็ จ รู ป ต า งๆ มาใช ใ ห เ ป น ประโยชน เ พื่ อ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหบุคคลสามารถเรียน จากที่ไหน (Anywhere) เวลาใด (Anytime) ก็ไดตามความตองการ โดย ปราศจากขอจํากัดในเรื่องของเวลา และสถานที่ เปนการเรียนรู ในลักษณะที่ป ฏิสัมพันธ (Interactive learning) การ แลกเปลี่ ย นความรู และประสบการณร ะหว า งกั น การสรา ง สังคมการเรียนรูผานระบบเครือขาย เชน เว็บไซดไฮไฟว (Hi5) เป น ต น ขณะที่ ผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา อาจเห็ น ว า การใช เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามอัธยาศัยยังมีปญหาในทางปฏิบัติ ซึ่งสอดคลองกับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2545 : 124) กลาววา การพัฒนาเครือขายเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อ การศึก ษายัง มีขอ จํา กัด เนื่องจากโครงสรา ง พื้นฐานรวมทั้ง วัสดุ อุปกรณยังมีการกระจายตัวนอย ทําให ผูเรียนอีกจํานวนมากไมสามารถใชบริการเครือขายเทคโนโลยี สารสนเทศไดอยางทั่วถึง และเทาเทียมกัน สอดคลองกับ ธัธ ชนก เถาบัว (2543 : 84) กลาวถึงปญหาดานบุคลากรทาง เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาวา บุคลากรยังขาดความรู ความสามารถ ขาดทักษะดานเทคโนโลยี

วิทยาลัย กิจกรรมพัฒนาชุมชน กิจกรรมทางสังคม กิจกรรม ตามทองถนน สโมสร และงานโครงการ กิจกรรมการแสดง ทางดานศิลปะ และกิจกรรมกลางแจง เปนตน สําหรับแนวคิด ในการจัดโปรแกรมสงเสริมการเรียนรู สอดคลองกับ แนวคิด ขององคการ NASA ในการจัดโปรแกรมการศึกษาตามอัธยาศัย เกี่ยวกับโลกวิทยาศาสตร ที่ไดกําหนดหลักการสําคัญไว 6 ประการคือ การศึกษาตามอัธยาศัยตองใหความสําคัญระหวาง ผูเรียน กับสิ่งที่นําเสนอ การศึกษาตามอัธยาศัยมิใชเพียงการ ใหความรูอยางงายๆ หรือเพียงแคความบันเทิง หากแตแสดง ใหเห็นถึงขอมูลตางๆ ที่ชวยใหผูเรียนสามารถเขาใจไดอยาง ลึกซึ้ง การศึกษาตามอัธยาศัยเปนการผสมผสานศิลปะในดาน ตางๆ เพื่อที่จะนําเสนอความรูนั้นๆ จุดมุงหมายที่สําคัญของ การศึกษาตามอัธ ยาศัย ก็คือการกระตุนผูเรียนใหเกิดความ ตองการที่จะเรียนรูตอไปอีก การศึกษาตามอัธยาศัยควร นําเสนอเรื่องราวที่มีความสมบูรณในตัวเอง และการศึกษาตาม อัธยาศัยตองออกแบบโดยคํานึงถึงความสามารถ และรูปแบบ ในการเรียนรูข องผูเรียน (Earth Science Enterprise Education…2003 : Online) สอดคลองกับ วิไล แยมสาขา (2542 : 62) อธิบายวา มีผูคนเปนจํานวนมากยังเขาใจผิดวา การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการจัดการศึกษาที่ไมมีหลักสูตร แทจริงแลวการศึกษาตามอัธยาศัยเปนการศึกษาประเภทหนึ่ง ที่ จ ะต อ งมี ห ลั ก สู ต ร อย า งน อ ยก็ ต อ งกํ า หนดหั ว ข อ เรื่ อ ง วัตถุประสงค และระยะเวลาในการใหความรูในเรื่องนั้นๆ โดย ใช วิ ธี ก ารต า งๆ การกํ า หนดหลั ก สู ต รของการศึ ก ษาตาม อัธยาศัย โดยการรวบรวมขอมูล การศึกษาวิเคราะห แลวนํามา เรียงลําดับความสําคัญ หลักสูตรมีลักษณะที่ไมตายตัวเหมือน การจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน 5. การจัดกิ จกรรมสงเสริมการเรียนรู ผู เ ชี่ ย วชาญ อาจเห็ น ว า ในการสร า งสั ง คมแห ง ความรู กระบวนการถ า ยทอดความรู เพื่ อ การพั ฒ นาบุ ค คลนั้ น การศึกษาจําเปนตองตอบสนองความตองการ ความสมัครใจ ความพึ ง พอใจ ด ว ยวิ ธี ก ารที่ ห ลากหลายยื ด หยุ น และ สอดคลองเหมาะสมกับวิถีชีวิต ซึ่งการจัดกิจกรรมสงเสริมการ เรียนรูนั้น ควรพัฒนาจากกิจกรรมตามธรรมชาติในวิถีชีวิต ให เปนกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ที่สามารถจัดขึ้นไดในลักษณะ โปรแกรมสงเสริมการเรียนรูตามอัธยาศัย หรือโครงการจัด กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ที่ผูจัดๆกระบวนการใหความรู และ ประสบการณ สํ า หรั บ การเรี ย นรู ข องผู เ รี ย น เกิ ด ขึ้ น จาก แรงจูงใจของปจเจกบุคคล บุคคลเปนผูกําหนดเปาหมายใน การเรียนรูดวยตนเอง ดังนั้นกิจกรรมการศึกษาจึงตองมีความ หลากหลาย และตองคํานึงถึงการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ขณะที่ ผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา อาจมี ป ระสบการณ ใ นการจั ด การศึกษานอกระบบ ซึ่งมีหลักสูตร การประเมินผล วิธีการจัด


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 สภาพแวดลอมในชุมชน จากประสบการณ และสถานการณ จริง โดยใชขอมูลสภาพชุมชนเปนพื้นฐาน 2. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 2.1 รั ฐ บาลควรกํ า หนดนโยบายในการจั ด การศึกษาตามอัธยาศัย เปนวาระแหงชาติ เพื่อเปนการระดม สรรพกํ า ลั ง ของหน ว ยงานภาครั ฐ ตลอดจนการส ง เสริ ม สนับสนุน และสรางแรงจูงใจใหองคกรภาคเอกชน องคกรทาง สังคมเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2 กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ควรกํ า หนดแผน ยุทธศาสตรที่ชัดเจน ในการใชทรัพยากรทางการศึกษา การ กําหนดโครงสราง และขอบขายการปฏิบัติของหนวยงานใน สังกัด การปรับปรุงระเบียบกฎเกณฑ และวิธีปฏิบัติตางๆ ที่เอื้อ ตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน ควรนําผลที่ไดจากการวิจัยนี้ ไปกําหนดขอบขายภารกิจ ของ หน ว ยงาน และสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด ให มี ค วามชั ด เจนมาก ยิ่งขึ้น ตลอดจนกําหนดแผนยุทธศาสตร ที่สามารถนําไปสูการ ปฏิบัติไดอยางมีเอกภาพชัดเจนตอไป 3. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 3.1 ควรมี ก ารวิ จั ย เพื่ อ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ แรงจูงใจในการเรียนรู กระบวนการเรียนรู และการแสวงหา ความรูของปจเจกบุคคล โดยการศึกษาจากบุคคลที่ประสบ ความสํ า เร็ จ ในชี วิ ต หรื อ บุ ค คลมี ชื่ อ เสี ย ง เพื่ อ นํ า ไปสู ก าร อธิบายถึง รายละเอียดของกระบวนการเรียนรูตามอัธยาศัย 3.2 ควรมีการวิจัย เพื่อหารูปแบบ ตัวชี้วัด และเกณฑในการประเมินความรูจากประสบการณการทํางาน และการประกอบอาชีพ สําหรับการเรียนรูที่เกิดขึ้นอยางไมเปน ทางการ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพ และการประกอบอาชีพ 3.3 ควรมี ก ารศึ ก ษาวิจั ย เพื่ อ หารู ป แบบ การใช ป ระโยชน จ ากระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ และการ สื่อสารที่สอดคลองเหมาะสมกับสภาพของสังคม และวิถีชีวิต ในปจจุบัน 3.4 ควรมีการวิจัย เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัยขององคกรภาคเอกชน ไดแก มูลนิธิ สมาคม และชมรมตางๆ 3.5 ควรมีการศึก ษาวิจั ย เพื่อ การพัฒ นา โปรแกรมสงเสริมการเรียนรูตามอัธ ยาศัย หรือ โครงการจั ด กิ จ กรรมส ง เสริ ม การเรี ย นรู ซึ่ ง นํ า ไปสู ก ารทดลองจั ด มวล ประสบการณ และกระบวนการเรียนรู ที่สามารถตอบสนองตอ ความต อ งการในการแสวงหาความรู ความต อ งการ ความ สนใจ และความจําเปนของบุคคล

8. หลักการ และจุด มุง หมายของการ ประเมินความรูจากประสบการณ แนวคิดของการประเมิน ความรู จ ากประสบการณ ได ถู ก นํ า ไปสู ก ารปฏิ บั ติ ใ น สถานศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ตั้งแตหลักสูตรการศึกษา นอกโรงเรียน พุทธศักราช 2530 ในการเทียบโอนหมวดวิชา อาชี พ และการจั ด การศึ ก ษานอกโรงเรี ย นตามหลั ก สู ต ร การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศัก ราช 2544 เช น การเที ย บโอน ความรูจากประสบการณ และการเทียบระดับการศึกษา เปน ตน อยางไรก็ตามทั้งกลุมผูเชี่ยวชาญ และผูบริหารสถานศึกษา อาจมีความเห็นที่สอดคลองกันเกี่ยวกับปญหาในการประเมิน ความรูจากประสบการณ คือ ดานมาตรฐานและแนวปฏิบัติ ซึ่ง สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2547 : 56) กลาววา การ เทียบโอนผลจากการศึกษาตามอัธยาศัย ยังขาดการกําหนด เกณฑมาตรฐาน และแนวปฏิบัติที่ชัดเจน สอดคลองกับ ธัธ ชนก เถาบัว (2543 : 88–89) อธิบายวา การประเมินความรู จากประสบการณ ยั ง ไม ส อดคล อ งกั บ ปรั ช ญา และการ ตอบสนองตอบุคคล วิธีการประเมินความรูจากประสบการณ ยังอิงอยูบนพื้นฐานของหลักสูตรเปนหลัก จึงไมสอดคลองกับ ปรัชญา และไมกอใหเกิดประโยชนแกบุคคลที่ควรจะไดรับรูถึง ศักยภาพที่แทจริงของตน ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําไปปฏิบัติ 1.1 สถาบั น ครอบครั ว ควรนํ า ผลที่ ไ ด จ าก การวิจัยไปประยุกต ใ ชใ นการจัดการทรั พยากรในครอบครั ว เพื่อสรางสภาพแวดลอม บรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู และ การถายทอดความรู การปฏิบัติตนในสังคม และแบบแผนใน การดํ า รงชี วิตที่ ดี ตลอดจนการถ า ยทอดคุณ ธรรม และ จริยธรรมอันดีงามใหแกสมาชิกในครอบครัว 1.2 องค ก รการทํ า งาน บริ ษั ท ห า งร า น โรงงานอุตสาหกรรม สถานประกอบการตางๆ ควรนําผลที่ได จากการวิจัยไปประยุกตใ ชเพื่ อ การจั ดปจจัยสนับสนุน การ สรางบรรยากาศ และสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ที่เอื้อตอ การเรียนรู เพื่อการพัฒนาไปสูองคกรแหงการเรียนรู 1.3 องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรนําผลที่ ไดจากการวิจัยไปประยุกตใชในการจัดการศึกษาเพื่อ สงเสริม สนับสนุน และจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู การพัฒนาแหลง การเรี ยนรู ตา งๆ ที่ส ามารถตอบสนองตอ ความสนใจ ความ ตองการ และความจําเปนของกลุมเปาหมายตางๆ ในชุมชน 1.4 สถานศึกษาในระบบโรงเรียน ควรนําผล ที่ ไ ด จ ากการวิ จั ย ไปใช ใ นการจั ด การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย สําหรับเด็ก และเยาวชนในวัยเรียนเพื่อสรางเสริมประสบการณใน การเรียนรู และกระตุนใหผูเรียนเกิดความตองการในการเรียนรู ตอไปอีก 1.5 สถานศึ ก ษาการศึ ก ษานอกโรงเรี ย น ควรนํ า ผลที่ ไ ด จ ากการวิ จั ย ไปใช ใ นการจั ด การศึ ก ษาตาม อัธยาศัยของสถานศึกษา เพื่อเปดโอกาสใหเกิดการเรียนรูจาก


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

บรรณานุกรม กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (2544). การศึกษาตามอัธยาศัย แนวความคิดและประสบการณ. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย กรมฯ. กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (2538). ศูนยสงเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย กรมฯ. กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (2538). การศึกษาตลอดชีวิต : การศึกษาของคนไทยในยุคโลกาภิวัฒน. พิมพครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : กรมฯ. ธัชชนก เถาบัว. (2543). การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยในโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เขตการศึกษา 1. วิทยานิพนธ ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ถายเอกสาร. พนม พงษไพบูลย. (2544,มกราคม) “เขาใจคําวาการศึกษาตามอัธยาศัย จากคนทํางานที่ไมไดงายอยางที่คิด”. วารสารการศึกษานอกโรงเรียน 4(4) : 7. วิไล แยมสาขา. (2542,มกราคม). การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยในอนาคต. วารสารการศึกษานอกโรงเรียน 2(2) : 62. วิศนี ศีลตระกูล และอมรา ปฐภิญโญบูรณ. (2544). การศึกษาตามอัธยาศัย : จากแนวคิดการเรียนรูตลอดชีวิตสูแนวปฏิบัติ. กรุงเทพ ฯ : ศูนยสงเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย กรมการศึกษานอกโรงเรียน. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2545ข). รายงานฉบับสังเคราะห จากวิกฤตสูโอกาสสิ่งที่ยังทาทาย การปฏิรูปการศึกษาของไทย. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2547). รายงานการวิจัยสภาพการณ และฐานขอมูลการจัดการศึกษาโดยครอบครัว ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สํานักงานฯ. สุมาลี สังขศรี. (2544). รายงานการวิจัยการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อสังคมไทยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. อุดม เชยกีวงค. (2544). แนวทางการบริหารและการจัดการ : การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. กรุงเทพฯ : กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ. Coombs Philip H. (1985). The World Crisis in Education : The View from the Eighties. Oxford : Oxford University Press. Earth Science Enterprise Education General Guidelines for Informal Education Product Developers. (2003). Retrieved September 20, 2006, from http://www. strategies.org/2003ESE Review/GuidelinesInformal.htm Smith,M.K. (2005). coffee houses and informal education. Retrieved October 20,2005, from http://www.infed.org/walking/wa-coff.htm Smith,M.K. (2005).walking informal education. Retrieved October 20,2005, from http://www.infed.org/walking/default.htm Smith,M.K. (2005). practicing informal education. Retrieved October 20,2005, from http://www.infed.org/practic/default.htm


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

การพัฒนารูปแบบการเสริมสรางทักษะ การอานคําศัพทภาษาอังกฤษ สําหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง THE DEVELOPMENT OF A MODEL FOR PROMOTING ENGLISH WORD READING SKILL FOR DYSLEXIC STUDENTS IN GRADE 2-3 ศิริพันธ ศรีวันยงค1 ศาสตราจารย ดร.ผดุง อารยะวิญู2 ศาสตราจารย ศรียา นิยมธรรม2 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพฑูรย โพธิสาร2 บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนารูปแบบการ เสริมสรางทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียน ชั้ นประถมศึ กษาป ที่ 2 - 3 ที่ มี ภาวะการอ านบกพร องด ว ย ดําเนินการวิจัยพัฒนาเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 สรา ง แบบวินิจฉัยการอานคําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง ขั้นตอนที่ 2 สรางแบบประเมินทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษและ ขั้ น ตอนที่ 3 สร า งชุ ด เสริ ม สร า งทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอั ง กฤษ กลุ ม ตัว อยา งที ่ใ ชใ นการสรา งเครื ่อ งมือ วินิจ ฉัย การอา นคํา ศัพ ทภ าษาอัง กฤษสํา หรับ นัก เรีย นชั้น ประถมศึ ก ษาป ที่ 2 - 3 ที่ มี ภ าวะการอ า นบกพร อ งเป น นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 2 และ 3 กํ า ลั ง ศึ ก ษาอยู ใ น โรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550

1 2,

นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เลื อกมาโดยวิ ธี การสุ มแบบแบ ง ชั้ น โดยแบ ง โรงเรี ย นเป น 3 ขนาด ตามจํานวนนักเรียนคือโรงเรียนขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก สุมมา 15% ของโรงเรียนแตละขนาดได 6 โรงเรียนจากทั้งหมด 38 โรงเรียน ไดจํานวนนักเรียนรวมทั้งหมด 853 คน กลุมตัว อย า งที่ใ ชใ นการเสริม สรา งทัก ษะการอา น คํา ศัพ ทภาษาอังกฤษและการเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 ที่มีภาวะการอานบกพรองในวิชาภาษาอังกฤษ กําลัง ศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551 เปนจํานวน 12 คนของโรงเรียนวัดเวตวันธรรมาวาส เลือกมาโดยใชวิธีเจาะจง เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้มี 3 ชนิด คือ แบบวินิจ ฉัย การ อา นคํา ศั พ ทภ าษาอัง กฤษสํา หรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาป ที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง แบบประเมินทักษะการอาน คํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษ และชุด เสริม สรา งทัก ษะการอา น คําศัพทภาษาอังกฤษ วิเคราะหขอมูลโดยคามัธยฐานพิสัยควอ ไทล The Sign Test for Median : One Sample และ The Wilcoxon Matched-Pairs Signed - Rank Test ผลการศึกษา 1. รูปแบบการเสริมสรางทักษะการอานคําศัพท ภาษาอั งกฤษสํ าหรั บนั กเรี ยนชั้ นประถมศึ กษาป ที่ 2 - 3 ที่ มี ภาวะการอานบกพรอง ประกอบดวย (1) แบบวินิจฉัยการอาน คําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนชั้นประถม- ศึกษาปที่ 2 3 ที่มีภาวะการอานบกพรองมีคาความเชื่อมั่นของแบบวินิจฉัย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 2 ทั้งฉบับอยูที่ .92 และแบบ วินิจฉัยสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ทั้งฉบับอยูที่ .90 และเมื่อนําคะแนนจุดตัดโดยวิธีแองกอฟ มีคาคะแนนจุดตัด ใกลเคียง ณ ตํา แหนง เปอรเ ซ็น ตไ ทลที่ 10 ทุก ชุด ของแบบ ว ิน ิจ ฉ ัย ( 2 ) แ บ บ ป ร ะ เ ม ิน ท ัก ษ ะ ก า ร อ า น คํ า ศ ัพ ท ภาษาอังกฤษมีคาความเชื่อมั่นอยูที่ 0.70 ถึง 0.86 มีคาความ ยากง า ยอยู ร ะหว า ง 0.33 ถึ ง 0.82 มี ค า อํ า นาจจํ า แนกอยู ระหวาง 0.22 ถึง 0.80 (3) ความสามารถทางการเรียนรูการ อา นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษ พบว า ความสามารถในการอ า น คํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษสู ง ขึ้ น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .50 2. ประสิทธิผลของรูปแบบการพัฒนาการเสริมสราง ทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษสํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรองหลังการเรียน รูอยูในระดับดีมาก Abstract The main purpose of this research was to develop a model for promoting English word reading skill for dyslexic students in grade 2 and 3. The research was conducted into three phases. The first phase was to develop an construction instrument for identifying to

identify dyslexic students who demonstrated difficulty in reading English in grade 2 and 3. The second phase was to develop an instrument for to assessing English word reading skill. The final phase was the development of intervention packages for promoting English word reading skill. Eight hundred and fifty-three students in grade 2 and 3 from the schools of Bangkok Education Service Area 1 served as the subjects in the first phase and enrolled in the second semester of 2006 academic year. The schools of the subjects were obtained from multistage sampling method resulting in a classification of big, middle and small sized schools. Fifteen percent of the schools were randomly sampled from each school size resulting in 6 schools from 38 schools. Twelve dyslexic students in grade 2 and 3 of Wat Weitawanthamawad School served as the subjects in the final phase and were enrolled in the second semester of 2007 academic year. They were selected by purposive sampling. The data were analyzed by using Wilcoxon Matched-Pairs Signed-Ranks Test, The Sign Test for Median : One Sample, Median and Quartile range. The result of research revealed that : 1. The reliability of the screening device for grade 2 was .92 and for grade 3 was .90. The cut off points for the screening device obtained by Angoff method agreed with the 10th percentile ranks for each subtest. 2. The reliability of the assessment instrumentation ranged from 0.70 to 0.86. The item difficulty was between 0.33 to 0.80. The test discrimination was between 0.22 to 0.80. 3. The students achieved higher scores in English wording word reading skill at the 0.05 statistical significance. 4. The effectiveness of the model revealed that the students showed excellent performance level after the completion of learning sessions. ภูมิหลัง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ ม สาระการเรี ยนรู ภาษาต างประเทศ เป นกลุ มสาระการเรี ยนรู พื้ นฐาน ซึ่ งกํ าหนดให เรี ยนภาษาอั งกฤษ ทุ กช วงชั้ น ลักษณะเฉพาะของการเรียนรูภาษาตางประเทศ คือ ผูเรียนเรียน ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ ให ส ามารถใช ภ าษาเป น เครื่ องมื อในการ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 และหลากหลาย ดว ยเหตุนี้ การอา นจึง เปน ทักษะเปาหมายที่ สําคัญและจําเปนในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มุงฝกฝน ใหผูเรียนมีทักษะในการอานที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใหผูเรียนไดใช การอานเปนเครื่องมือสําคัญอันนําไปสูความรูทั้งปวง นั ก เรี ย นที่ มี ป ญ หาในการเรี ย นรู ซึ่ ง เป น นั ก เรี ย นที่ มี สติ ป ญ ญา ในระดั บ ปกติ ห รื อ สู ง กว า ปกติ แต มี ป ญ หาการ เรี ยนรู ในเรื่ องการจั ดกระทํ ากั บข อมู ลอั นเกิ ดจากป ญหาของ สมองหรือระบบประสาทสวนกลางในลักษณะที่เปนอุปสรรค ขัดขวางความสามารถในการที่จะจัดการกับขอมูล เก็บขอมูลไว ในความทรงจําหรือดึงขอมูลออกมาใชหรือ นําออกมาผลิตเปน ผลงานใหม สาเหตุดัง กลา วทําใหนักเรียนมีความบกพรอง ทางการอาน การเขียน การคิด คํานวณ การพูด การฟง ทักษะ ตา งๆในสัง คม ซึ่งทํ าใหนักเรียนไม สามารถที่จะมีผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ย นได ดี และในป ญ หาต า งๆ เหล า นี้ พ บว า ป ญ หา ทางดานการอานเปนประเภทของความบกพรองทางการเรียนรู ที่พบบอยที่สุดประมาณรอยละ 80 รองลงมาคือปญหาดานการ เขี ย น และป ญ หาด า นคณิ ต ศาสตร (ศั น สนี ย ฉั ต รคุ ป ต . 2544 : 4) รายงานวามีนักเรียนจํานวนรอยละ 90 ที่มีปญหาความ บกพรองทางการเรียนรู โดยเฉพาะทางดานการอาน ในประเทศ ไทยมีการวิจัยเกี่ยวกับจํานวนนักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรู ได แ ก การศึก ษาของ ผดุง อารยะวิญ ู (2544 : 7) พบว า นักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรูมีจํานวนสูงสุดคือ รอ ยละ 5 ของจํานวนประชากรในวัยเรียนโดยในปการศึกษา 2542 มี นักเรียนที่อ ยูใ นระดับ ประถมศึกษาราว 7,000,000 คน เปน นักเรียนที่ตองการบริการทางการศึกษาพิเศษราว 700,000 เปนนักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรูราว 350,000 คน การ ศึกษาวิจัย ของกวี สุวรรณกิจ และคณะ (2542 : 44) ไดสํารวจ นักเรียนประถมศึกษา จํานวน 1,057 คน จากโรงเรียน 6 แหงใน กรุงเทพมหานคร พบนักเรียนที่มีปญหาทางการศึกษาโดยรวม สูงถึงรอยละ 21.76 โดยมีนักเรียนที่มีปญหาทาง การเรียนรู ประมาณรอยละ 6 และในปคริสตศักราช 1987 คณะกรรมการ รวมระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของกับความบกพรองในการเรียนรู (The interagency committee on learning disabilities) ของ ประเทศสหรัฐ อเมริ กา ได สรุ ป คา ประมาณของนั ก เรี ยนที่ มี ความบกพร อ งทางการเรี ยนรู ว ามี ประมาณถึ งร อยละ 5 - 10 (ศันสนีย ฉัตรคุปต. 2544 : 7) U.S. Department of Education, 2002 กลาววาในระหวางปการศึกษา 2000 - 2001 มีเด็กอายุ 6 - 21 ป เกื อบ 2.9 ล านคน เป น เด็ ก ที่ ต อ งได รั บ บริ ก ารศึ ก ษา พิเศษประเภทมีปญหาทางการเรียนรู (Learning Disabilities) ซึ่งนักเรียนที่มีปญหาในการเรียนรูเหลานี้หากไมไดรับบริการ ทางการศึ ก ษาพิ เ ศษที่ ส อดคล อ งกั บ สภาพป ญหาและความ ตองการของนักเรียนแตละคนแลว นักเรียนเหลานี้ก็ยอมไมสามารถ ที่จะพัฒนาตนเองไดตามศักยภาพ

ติด ต อ สื่อ สารกับ ผู อื่น ไดต ามความตอ งการในสถานการณ ตางๆ แสวงหาความรูประกอบอาชีพหรือศึกษา ในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมีความรูความเขาใจในเรื่องราววัฒนธรรมหลากหลาย ของสังคมโลก สามารถถายทอดความคิดและวัฒนธรรมไปยัง สังคมโลกไดอยางสรางสรรค (คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. 2544) การเรียนรูทางภาษามุงเนนใหผูเรียนไดเรียนรู ดวยการพัฒนา ทักษะการฟง พูด อานและเขียน ซึ่งกําหนดไว ในหลักสูตรภาษาอังกฤษ พ.ศ.2539 (กรมวิชาการ. 2539) ทัก ษะการอา นเปน อีก ทัก ษะหนึ่ง ที่จํา เปนและสําคัญ มากที่ สุ ด โดยเฉพาะสํ า หรั บ ผู เ รี ย นในประเทศไทยที่ เ รี ย น ภาษาอังกฤษเปนภาษาตางประเทศ ทั้งนี้เพราะผูเรียนมีโอกาสใช ทักษะการฟง การพูดและการเขียนนอยกวาการอาน (สุภัทรา อักษรานุ เคราะห. 2532 : 83) อีกทั้งยังเปนทักษะที่คงอยูกับผูเรียนนาน ที่สุดและมีโอกาสไดใชมากที่สุดหลังจบการศึกษาแลว (Allen; & Vallette. 1979 : 249) หรือ อาจถือวาเปนทักษะเดียวที่อยูกับ ผูเรียนไปตลอดชีวิต ใน ขณะที่ทัก ษะอื่นมีโ อกาสใชนอ ยและ อาจลืม ไปในที่สุด (Finocchiaro; & Brumfit. 1983 : 143) ความสําเร็จในชีวิตการเรียนการศึกษาและการประกอบอาชีพ หลายอยางขึ้น อยูกับการอานเปนองคประกอบสําคัญยิ่ง ถาคิด ให ละเอี ย ด ลึก ซึ ้ง แลว จะเห็น ไดว า ชีว ิต คนเรานั ้น แทบทุก อาชีพ และระดับชั้น ไมอาจหลีกเลี่ยงการอานไดเลย โดยเฉพาะ อยางยิ่งนักเรียน นิสิต นักศึกษาจะใชชีวิตสวนใหญเพื่อการอาน ทั้งนี้เพื่อผลสัมฤทธิ์ในชีวิตการเรียนการศึกษาของเขาเหลานั้น การอานที่ดีจึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับความสําเร็จในชีวิต ในยุค ขอมูลขาวสารของโลกปจจุบันซึ่งเปนที่ยอมรับกันแลววาไมมี ทัก ษะใดที่จะสํา คัญ มากไปกวา ทัก ษะทางการอา น บางคน ถึงกับปกใจเชื่อเอาเลยวา คนที่มีขีดความสามารถในการอาน ต่ํา อาจจะตอ งพบกั บ ความลม เหลวในชีวิ ตการทํางานหรื อ การศึ ก ษาเล า เรี ย นอย า งไม อ าจหลี ก เสี่ ย งได ส ว นคนที่ มี ความสามารถในการอ านสู งเท านั้ นที่ จะพบกั บความสํ าเร็ จ กาวหนาเหมื อนคนอื่นๆ นักจิตวิทยาอเมริกันทานหนึ่งไดสรุป รายงานและเปดเผยขอเท็จจริงบางอยาง ซึ่งเกี่ยวกับผลการศึกษา ค นคว า ไว ว า นั กธุ รกิ จชาวอเมริ กั นที่ ประสบความสํ าเร็ จนั้ น สวนมากมักจะเปนนักอานที่มีประสิทธิภาพสูง ในขณะที่กลุม คนบางคนบางประเภท เชน พวกเรรอน จับจดไมชอบทําการ ทํา งาน มัก จะเป น พวกที่มี ค วามสามารถในการอา นต่ํา มาก หรือไมมีเลย แตความจริงปรากฏวาเมื่อไดนําบุคคลเหลานี้มา ทําการทดสอบบางอยางแลว กลับพบวา มิใชคนไรสติปญญา หรือฉลาดนอยไปหวาคนอื่นเลย (ขจร สุขรังสรรค. 2532 : 249) การอานจึงเปนเครื่องมือสําคัญอยางหนึ่งของมนุษยที่จะชวยให เกิ ด ความรู ความคิ ด เห็ น เท า ทั น ความเป น ไปในสั ง คม และ ความสามารถเลือกรับขาวสารที่เปนประโยชนมากที่สุดในยุค ปจจุบันที่ประกอบ ดวยขอมูลขาวสารที่ผานสื่อตางๆ มากมาย


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 การศึกษา พยายามหาวิธีการตางๆ เพื่อใชเปนแนวทางในการ จัดการศึกษาเพื่อชวยเหลือนักเรียนที่มีปญหาในการเรียนรู ซึ่ง ไม มี วิ ธี ก ารสอนเพี ย งวิ ธี เดี ยวที่ สามารถนํ า มาใช ไ ด อย า งมี ประสิทธิผลกับนักเรียนทุกคน (ศรียา นิยมธรรม. 2541 : 54) ดังนั้นการสอนนักเรียนที่มีปญหาในการเรียนรูจําเปนตองมีวิธีการ สอนหลายรูปแบบเพื่อใหเหมาะสมกับความสามารถและความ แตกตางของแตละคน การสอนโดยการใชชุดการสอนเปนวิธีหนึ่ง ที่มีการใชสื่อในรูปแบบตางๆ ตามวิธีการสรางของผูสอน ซึ่ง สรางใหสอดคลองกับจุดมุงหมายของการเรียนการสอนในเรื่อง ต า งๆ ซึ่ ง ชุ ด การสอนนี้ เ ป น สื่ อ ที่ ช ว ยเสริ ม สร า งการรั บ รู ข อง ผูเรียนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น จากป ญ หาความยุ ง ยากในการเรี ย นภาษาอั ง กฤษที่ สงผลกระทบตอการเรียนรูดานการอาน ทําใหนักการศึกษาตางให ความสนใจศึกษาพัฒนารูปแบบการสอนอาน เพื่อตอบสนอง ความตองการในการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนแตละคน ดวย การคิ ด ค น ทดลองวิ ธี ก ารสอนอ า นที่ ห ลากหลายไว เ ป น แนว ทางเลือกใหกับผูสอน ซึ่งสามารถนํามาปรับใชใหเหมาะสมกับ สภาพป ญ หาของผู เ รี ย นได อาทิ วิ ธี ก ารสอนอ า นเป น คํ า (Sight Word Approach) วิธีสอนแบบโฟนิกส (Phonics Approach) วิ ธี ส อนอ า นเบื้ อ งต น (Basal Reading Approach) วิธีสอนของเฟอรนาลด (The Fernald Method) หรือวิธีสอนแบบ กิลลิงแฮม (The Gillingham Method) เปนตน การสอน อ า นเพี ย งวิ ธี เ ดี ย วไม ส ามารถทํ า ให ผู เ รี ย นทุ ก คน ประสบความสําเร็จในการอานได บางครั้งตองสับเปลี่ยน ผสม ผสานหรือเลือกใชวิธีที่แตกตางกันเพื่อใหเหมาะสมกับความ ตองการของแตละคน ผูเรียนจะประสบผลสําเร็จในการอาน ความสําคัญจึงขึ้นอยูกับผูสอนที่ตัดสินใจเลือกวิธีสอนและนําวิธี ที่เลือกใชในปฏิบัติ ประเทศสหรัฐอเมริการัฐบาลไดตระหนักถึงความสําคัญ ของการอานโดยประธานาธิปดี จอรจ ดับเบิลยู บุช ไดเสนอแผน ปฏิรูปการศึกษาเรียกวา No Child Left Behind Act ในป คริ ส ต ศั ก ราช 2001 โดยการปรั บปรุ ง การรู หนั งสื อด วยการ กําหนดใหการอานเปนความสําคัญอันดับแรก สาระสําคัญคือ มุงเนนการอานในชั้นปแรกๆ ของการศึกษาโดยมลรัฐที่จัดทํา โครงการอานจากระดับ ชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ที่ มีเนื้อหาครอบคลุมทุกดาน โดยยึดผลการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร มีสิทธิไดรับเงินโครงการอุดหนุนภายใตโครงการที่ชื่อวา การอาน เปนความสําคัญอันดับแรกและคณะกรรมการการอานแหงชาติ ของประเทศหรัฐอเมริกา (The National Reading Panel, NRP) ไดเสนอรายงานในปคริตศักราช 2002 จากการศึกษาเชิงอภิมาณ เพื่อ ตอบสนองตอ ความตอ งการเรง ดว นของผูปกครอง ครู และผูวางแผนนโยบายการศึกษาเพื่อศึกษาทักษะที่สําคัญและ วิธีในการสอนอาน โดยเนนการอานในชวงอนุบาลจนถึงชั้น

บุ ค คลในหลากหลายอาชี พ และองค ก รต า งให ความสําคัญกับการอาน สนใจที่จะพัฒนาคนในสังคมของตน ให มี ความสามารถอ านออกเขี ยนได เพื่ อมุ งให เขาเหล านั้ นมี ความสามารถมากพอที่ จะเลือ กเรีย นรูสิ่ง ตา งๆ ดว ยตนเอง จากการอาน แตในขณะเดียวกัน ยังมีบุคคลอีกกลุมหนึ่งที่มี ความบกพร อ งทางการเรี ย นรู ด า นการอ า น ซึ่ ง จะแสดง พฤติกรรมในขณะอานใหเราสังเกตเห็นไดดังนี้ ขมวดคิ้ว นิ่ว หนาเวลาอาน อานหลงบรรทัด อานสลับคํา อานสลับตัวอักษร อานซ้ํา อานถอยหลัง จับใจความเรื่องที่อานหรือลําดับเรื่องที่ อานไมได เลาเรื่องที่อานไมได (ศรียา นิยมธรรม. 2541 : 42) อานชา อานตะกุกตะกัก อานคําไมถูกตอง อานขามคํา อาน เพิ่ม อานคําอื่นแทนหรืออานกลับหลัง ทําใหขาดความเขาใจ ในเนื้อหาที่อาน ซึ่งเปนสาเหตุใหประสบกับปญหายุงยากใน การเรียน ถึงแมผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูเหลานี้จะ มีส ติปญ ญาเหมือ นผูเ รีย นปกติอื่น ๆ ก็ต าม แตผูเรียนก็ไ ม สามารถที่จะเรียนวิชาบางวิชาได หรืออาจเรียนชากวาเพื่อน หลายปหรือทําคะแนนได ต่ํากวาระดับที่เราคาดหวังไวเปนอัน มาก เนื่องจากจากขาดความสามารถในการอาน (เพ็ญพิไล ฤทธา คณานนท. 2536 : 90) ดวยเหตุนี้ การอานจึงเปนปญหาสําคัญ ที่สุดของผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูและเปนปญหา และสาเหตุ หลักของความลมเหลวในโรงเรียน ซึ่งจะนําไปสูการ ประพฤติผิด ความกังวล ขาดแรงจูงใจ ขาดความเคารพและความ เชื่อมั่นในตนเอง (Mercer. 1992 : 495) แตถาผูเรียนที่มีความ บกพรองทางการเรียนรูดานการอานเหลานี้ ไดรับการชวยเหลือ ให เ กิ ด การเรี ย นรู ด ว ยวิ ธี ที่ เหมาะสม จะทํ าให เขาสามารถ ดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุขหรือประสบความสําเร็จ สูงสุดในชีวิต เฉกเชนเดียวกับบุคคลที่มีชื่อเสียงของโลกหลาย ท า น เช น เนลสั น รอกกี้ เ ฟลเลอร รองประธานาธิ บ ดี ข อง สหรัฐอเมริกาที่มีปญหาการอานอยางรุนแรงหรือวูดโรว วิลสัน ประธานาธิ บ ดี ข องสหรั ฐ อเมริ ก า เขาอ า นหนั ง สื อ ไม อ อก จนกระทั่งอายุ 11 ขวบจึงเริ่มเรียนอานได (ศรียา นิยมธรรม. 2542 : 41) ลักษณะการเรียนรูของนักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรู ซึ่งมีขอบกพรองในการรับรูและประมวลขอมูลดังกลาวแลวขาง ตั น ยั งรวมถึ งการใช ประสาทสั มผั สเพื่ อจํ าแนก จํ าและแปล ความหมาย ซึ่งผดุง อารยะวิญู (2542 : 128) ไดกลาวไววา การสอนนักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรูนั้นควรเนนการสอน ดานการรับรูโดยใชประสาทสัมผัสที่สําคัญไดแก การมองเห็น การฟง และการสัมผัส การรับรูจึงเปนสิ่งสําคัญและจําเปนตอ การเรียนรูเปนอยางมาก หากปราศจาการรับรูแลวมนุษยไม สามารถเรียนรูไดเนื่องจากการรับรูทั้ง 3 ดานมีความสําคัญตอการ เรียนรูนั่นเอง จากลักษณะของนักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรู ทํ าให มี ความจํ าเป นอย างยิ่ งที่ ครู และผู ที่ เกี่ ยวข องในการจั ด


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เด็กจะไมสามารถบงบอกและแยกความแตกตางของเสียงตางๆ ในภาษาพูดซึ่งเปนความสามารถ ที่จําเปนลําดับแรกของการ อานที่เรียนโดยวิธีโฟนิกส ความสามารถในการตระหนักและรับรู หนวยเสียงเปนตัวพยากรณความสําเร็จในการอานที่ดีกวาการ วัดสติปญญาจํานวนคําศัพทหรือความสามารถในการฟงเพื่อ ความเขาใจและการที่นักเรียนไมมีความสามารถในการตระหนัก และรับรูหนวยเสียง เปนสาเหตุสําคัญสาเหตุหนึ่งที่กอใหเกิด ภาวะการอานบกพรอง ความสามารถในการตระหนักและรับรู หนวยเสียงนั้น พัฒนาไดจากการที่เด็กมีปฏิสัมพันธทางภาษา และการฟงที่เกิดขึ้นในครอบครัวในโรงเรียนอนุบาล เด็กเหลานี้ ไมจําเปนตองมีการสอนการเรียนรูความสามารถนี้ ถาผูปกครอง อานหนังสือ ทองกลอนหรือรองเพลงใหเด็กฟง หรือสอนการ สะกดคําหรือการเขียนให แกเด็ก แตในขณะเดียวกันมีเด็กบางคน ที่ไมมีโอกาสที่จะเรียนรูและพัฒนาความสามารถในการตระหนัก และรั บ รู ห น ว ยเสี ย งในสภาพแวดล อ มต า งๆ และจึ ง มี ค วาม จํ า เป น ต อ ง ไ ด รั บ ก า รส อ น ค ว า มส า มา รถ นี้ โ ด ย ต ร ง (Nicholson. 1999; Pressley. 1998) จากความสามารถที่ กล า วมาข างต นนี้ ความสามารถในการแยกหน วยเสี ยงและ ความสามารถในการนํ า หนว ยเสีย งเขา มารวมกัน เปน ตัว พยากรณที ่สํ า คัญ ในการการทํ า นายความกา วหนา ใน ความสามารถของการอ า น และมี ค วามสั ม พั น ธ กั บ กระบวนการถอด รหัสของคํา (McGuiness. 1998) และมี การศึกษาอีกมากมายที่แสดงใหเห็นวาการสอนนักเรียนใหมี ความ สามารถในการตระหนั ก และรั บ รู ห น ว ยเสี ย ง มี ผลกระทบต อ ทั ก ษะการอ า น โดยการสอนความสามารถนี้ จําเปน ตองสอนควบคูกับการสอนนักเรียนใหเรียนรูความสัมพันธ ระหวางเสียงและตัวอักษร ซึ่งเรียกวาการสอนอานแบบวิธีโฟนิกส การสอนอานโดยวิธี โฟนิกส (Phonics) เปนการสอนให นักเรียนรูจักความสัมพันธระหวางตัวอักษรในภาษาเขียนและ หนวยเสียงในภาษาพูด ซึ่งจะชวยใหนักเรียนสามารถเขาใจวา การอานเกิดจากความสัมพันธอยางเปนระบบระหวางตัวอักษร และเสียงพูด จนทําใหนักเรียนอานคําตางๆ ไดอยางถูกตอง การสอนอานโดยวิธีโฟนิกสเปนเครื่องมือสําคัญที่สุด ที่จะชวย นักเรียนใหเปนนั กอา น ที่มีป ระสิท ธิภ าพ (Ruvin. 2000; Strikland. 1998) และเปนขั้นตอนแรกที่สําคัญในการเรียนการ อานและการเขียน กลวิธีนี้ยังสามารถนําไปใชในการอานคํา ยากหรื อ คํ า ที่ ไ ม คุ น เคย ความสามารถในการอ า นคํ า นั้ น นักเรียนตองมีความสามารถ 4 ประการไดแก (1) ความสามารถ ในการอานวิเคราะหคําเปนหนวยเสียง (2) ความสามารถใน การเขา ใจวา หนว ยเสีย งสามารถเกิด ในตําแหนงตางๆ ของ คํา (3) ความสามารถในการรูวาตัวอักษรใดแทนหนวยเสียงใด และ (4) ความสามารถในการรับรูวาตัวอักษร และหนวยเสียงมี ความสัมพันธอยางสม่ําเสมอไมทุกกรณี (Carnine;et al. 2006)

ประถมศึกษาปที่ 3 การวิจัยพบวาการอานนั้นตองประกอบดวย ทั กษะที่ สํ าคั ญ 5 ประการคื อ ความตระหนั กและรั บรู หน วยเสี ยง (Phonemic Awareness) การสอนโดยวิธีโฟนิกส (Phonics) การ อานคลอง (Fluent Reading) การรูจักคําศัพท (Vocabulary) และการอานเพื่อการเขาใจ (Reading Comprehension) โดย เนนวาการสอนทักษะการอานที่เปนระบบจะใหผลสัมฤทธิ์ใน การอานไดมากกวาการสอนอานที่ไมเปนระบบ นักการศึกษาไดศึกษาวิธีการสอนอานแกนักเรียนที่เรียน ภาษาอัง กฤษไวห ลายวิธี เชน คารไนน และคณะ ไดเ สนอ วิธีการสอนอานโดยวิธีตรง (Direct Instruction Approach) ใน ปคริสตศักราช 2006 ซึ่งวิธีดังกลาวพัฒนาจากมหาวิทยาลัย แห ง รั ฐ โอเรกอน เป น วิ ธี ที่ ใ ช ใ นการสอนอ า นแก นั ก เรี ย นที่ มี ภาวะการอานบกพรอง (Carnine; et. al. 2006) สวนฟต เจอรั ล ด ได ก ล า วถึ ง วิ ธี ก ารสอนอ า นแก นั ก เรี ย นที่ พู ด ภาษาอังกฤษเปนภาษาแม ซึ่งเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพสําหรับ นักเรียนที่เรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาตางประเทศ โดยยึด ผลการวิจัยที่ทํากับนักเรียน ที่พูดภาษาอังกฤษเปนภาษาแม ซึ่งอาจจะตองมีการดัดแปลงใหเหมาะสม (Fitzgerald. 1995) นอกจากนี้ คลิงเนอร และคณะ ไดสรุปถึงวิธีการสอนอานแก นั ก เรี ย นที่ เรี ยนภาษาอั งกฤษเป นภาษาต า งประเทศว า สอน นั กเรี ยนใหม ีค วามสามารถในการตระหนัก และรับ รู ห นว ย เสีย งรวมกับกิจกรรมการพัฒนาการอานภาษาอังกฤษรวมดวย การสอนอา นคํา ศัพ ทเพื่อ ชวยเสริมการอา นเพื่อ ความเขา ใจ การสอน กลยุท ธใ นการอา นจับ ใจความการสง เสริม ความสามารถในการอานออกเขียนได ทั้งนี้โดยสอนเปนภาษา แมของนักเรียนหรือสอนเปนภาษาอังกฤษก็ได (Klinger; et.al. 2006) จากการศึกษาของกันนและคณะ (Gunn; et al. 2000) ได ศึกษาการสอนอ านแก นักเรียนตางชาติที่มีภาวะ การอา น บกพร อ ง การศึ ก ษาเหล า นี้ไ ด แ สดงให เห็น วา นักเรียนที่เรียน ภาษาอั งกฤษเป นภาษาต างประเทศ สามา ร ถ พั ฒ น า ความสามารถในการอานคํา มีความคลองในการอานเพิ่มขึ้น และมีความเขาใจในการอานนั้น เมื่อไดรับการสอนอานโดย เนนที่การสอนความตระหนักและรับรูหนวยเสียงการสอนโดย อานโดยวิธี โฟนิกส การสอน การสะกดคํา การสอนอานให คลองและการสอนอานเพื่อความเขาใจ โดยสอนอยางเปนระบบ และแจมแจง การประสบความสําเร็จในดานนี้มีความสัมพันธ อย า งสู ง กั บ ความ สามารถในการตระหนั ก และรั บ รู เ สี ย ง (Phonological Awareness) ซึ่งหมายถึง การที่นักเรียนรับ รู วา คํ า พูด ประกอบการเรี ย งตั ว ของหน ว ยเสี ย งต า งๆ ซึ่ ง เป น ความ สามารถที่ไ มเกี่ยวของกับการอานตัวอักษร เด็กจําเปน ตองได รั บการฝ กหั ดเพื่ อให ตระหนั กและรับรู ถึ งหน วยเสี ยงใน คําพูดเนื่องจากความสามารถนี้ชวยสงเสริมการอานใหงายขึ้น ถาเด็กไมมีความสามารถในการตระหนักและรับรูหนวยเสียงแลว


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 1 . 2 ส ร า ง ชุ ด เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ ก า ร อ า น คํ า ศั พ ท ภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง 1.3 สร า งแบบประเมิ น ทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอังกฤษชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 2. เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการเสริม สราง ทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษสํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง 2.1 ประเมินทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง 2.2 ประเมิ น ความเหมาะสมของรู ป แบบการ เสริมสรางทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง ความสําคัญของการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้จ ะได รู ป แบบการเสริม สรา งทัก ษะการ อานคําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง ซึ่งประกอบ ดวยแบบวินิจฉัย การอ า น คํ าศั พท ภาษาอั งกฤษ แบบประเมิ นทั กษะการอ าน คํ า ศั พท ภาษาอั งกฤษและชุ ดทั กษะการอ านคํ าศั พ ท ภาษาอั งกฤษ เพื่ อ ใช เป น แนวทางสํ า หรั บครู ผู ส อนและผู ที่ เกี่ ย วข อ งในการนํ า ไปใช พั ฒ นาทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอั งกฤษ สํ าหรั บนั กเรี ยนชั้ นประถมศึ กษาป ที่ 2 - 3 ที่ มี ภาวะการอานบกพรองตอไป ขอบเขตของการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. การสรางรูปแบบการเสริมสรางทักษะการอาน คําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง 1.1 การสร า งแบบวิ นิ จ ฉั ย การอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอังกฤษบกพรองสําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ประชากรเปนนักเรียนที่มีระดับเชาวปญญาปกติและ ไมมีความพิการซ้ําซอนที่กําลังศึกษาอยูในชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ในโรงเรี ยนสั งกั ดสํ านั กงานคณะ กรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้นฐานกรุงเทพมหานคร กลุ ม ตั ว อย า งเป น นั ก เรี ย นที่ มี ร ะดั บ เชาว ป ญ ญา ปกติ แ ละไม มี ค วามพิ ก ารซ้ํ า ซ อ นที่ กํ า ลั ง ศึ ก ษาอยู ใ นชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 2 - 3 กํ า ลั ง ศึ ก ษาอยู ใ นโรงเรี ย นสั ง กั ด สํ า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น กรุงเทพมหานคร เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 เลือก มาโดยวิธีการสุมแบบผสมผสาน (multistage sampling) โดย แบงโรงเรียนเปน 3 ขนาดตามจํานวนนักเรียน (จุมพล สวัสดิยา กร. 2520 : 66) คือ โรงเรียนขนาดใหญ (1,200 คนขึ้นไป) โรงเรียน

การที่ นั กเรี ยนจะเป น ผู อ า นที่ ดี ไ ด นั้ น นั ก เรี ย นต อ งเรี ย นรู ระหวางเสียงและตัวอักษรหรือกลุมของตัว อัก ษรและตอ งใช ความรูใ นการอานคํา ดังนั้ นนักเรียนจึงจําเปนตองใชความรู ทางโฟนิกสแปลงเปนทักษะในการอานใหมีประสิทธิภาพ คือ การมี ทั ก ษะการอ า นโดยวิ ธี โ ฟนิ ก ส มี นั ก เรี ย นหลายคนที่ มี ปญหาทางการเรียนรูและมีความรูความสัมพันธของเสียงและ ตั ว อั ก ษร แต ไ ม ส ามารถใช ค วามรู นี้ อ ย า งเป น ระบบในการ ถอดรหัสคําที่ไมคุนเคย ความรูในการอานโดยวิธี โฟนิกส มิใช เพี ย งแค ก ารรู ว า ตัว อัก ษรใชแ ทนหนว ยเสีย งตา งๆ แตย ัง รวมถึงความ สามารถในการเขาใจวาเสียงบางเสียงตองใชกลุม ของตัวอักษรแทนเสียงเหลานั้น เชน sh, ch, tion, squ เปนตน เมื่ อ นั ก เรี ย นเขา ใจหลัก เกณฑในการอานโดยวิธีโฟนิ กสแล ว นั ก เรี ย นจะมี ค วามสามารถเพิ ่ม ขึ ้น ในการถอดรหัส คํ า ใน ภาษาอังกฤษ (Dombeg. 1999) ทักษะในการอานโดยวิธีโฟนิกสเปนองคประกอบสําคัญ ในการเพิ่ ม ทั ก ษะในการอ า น และจํ า เป น ต อ งสอนอย า ง ละเอียด ในบริบทที่มีความหมายและบูรณาการในวิชาการอาน และการเขียน ซึ่งสตาล (Stahl. 1998) ไดเสนอหลักการสอน ไว 7 ประการ ไดแก (1) ควรสอนในวัยเด็กใหเร็วที่สุด (2) เมื่อ สรางความตระหนักในการอานตัวอักษรใหแกเด็ก (3) ตองสอน จากพื้นฐานของความตระหนัก และรับรูหนวยเสียง (4) สอน ตรงและแจมแจง (5) บูรณาการเขากับวิชาการอาน (6) เนน การสอนเพื่อใชในการอานคําไมใชทองจํากฎเกณฑตางๆ และ (7) มุงสอนเพื่อใหเกิดความคลองในการอานและการอานเพื่อ ความเขาใจ โดยนักเรียนสามารถรูจักคําทันทีที่มองเห็น เมื่ อ พิ จ ารณาจากสภาพป ญ หาและวิ ธี ก ารสอน ภาษาอังกฤษแกนักเรียนที่มีภาวะการอานบกพรองจึงควรได ศึก ษาและทดลองสอนอา นภาษาอัง กฤษใหแ กนักเรียนที่มี ภาวะการอานบกพรองในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 โดยการ ประยุกตใชเทคนิคการสอนอานโดยใชประสาทสัมผัส 3 ดาน ร ว มกั บ การสอนแบบวิ ธี โ ฟนิ ก ส ม าพั ฒ นาเป น รู ป แบบการ เสริมสร างทักษะการอ านคําศัพทภาษาอังกฤษขึ้น แลว นํา ไป ทดลองใชกับนักเรียนกลุม เปาหมายชั้นประถมศึกษาปที่ 2 3 ที่มีภาวะการอานบกพรองเพื่อพัฒนาศักยภาพของผูเรียนใหมี ความสามารถใ น ก า ร อ า น ภ า ษ า อ ัง ก ฤ ษ ไ ดอ ย า ง มี ประสิทธิภาพ และเพื่อเปนแนวทางในการสอนอานภาษอังกฤษ สําหรับผูสอนที่สอนผูเรียนที่มีภาวะ การอานบกพรองตอไป ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่ อ สร า งรู ป แบบการเสริ ม สร า งทั ก ษะการอ า น คําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มี ภาวะการอานบกพรอง ดังนี้ 1.1 สร า งแบบวิ นิ จ ฉั ย ภาวะการอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอังกฤษบกพรองสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 2.1 ประเมินทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง ประชากรเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 3 ที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานมีระดับเชาวปญญาปกติ และไม มี ค วามพิ ก ารซ้ํ า ซ อ น ซึ่ ง วั ด ได จ ากเครื่ อ งมื อ คั ด แยก นักเรียนที่มีปญหาการเรียนรูดานการอานของ ผดุง อารยะ วิญู (2544) โดยไดคะแนนต่ํากวาเกณฑปกติ กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 2 - 3 ที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานที่มีระดับเชาวปญญา ปกติและไมมีความพิการซ้ําซอน ที่ไดคะแนนต่ํากวาเกณฑปกติ จากการทดสอบดวยแบบวินิจฉัยการอานคําศัพทภาษาอังกฤษ บกพรองที่สรางขึ้น กําลังศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551 ของโรงเรียน เวตวันธรรมวาส เลือกโดยใชวิธีเจาะจง (Purposive Sampling) มาเปนจํานวน 20 คน 2.2 ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเสริมสราง ทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษสํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง รู ป แ บ บ โ ด ย ผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 คน ประกอบดว ย ผูเชี่ยวชาญดา น การศึกษาพิเศษ ดานการวัดประเมินผล และดานการสอน ภาษาอังกฤษ สมมติฐานของการศึกษาคนควา 1. แบบวินิจฉัยการอานคําศัพทภาษาอังกฤษ สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรองที่ สรางขึ้นมีคาความเชื่อมั่นไมต่ํากวา 0.80 2. ประสิทธิภาพชุดเสริมสรางทักษะการอานคําศัพ ท ภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 2 - 3 ที่เปนไปตามเกณฑ 80 / 80 3. แบบประเมิ นทั กษะการอ านคํ าศั พท ภาษาอั งกฤษ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอาน บกพรอง มีคาความเชื่อมั่นไมต่ํากวา 0.80 4. ทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะ การอานบกพรองอยูในระดับดี 4.1 ความสามารถในการรู จั ก ชื่ อ ตั ว อั ก ษร ภาษาอังกฤษตัวพิมพเล็กอยูในระดับดี 4.2 ความสามารถในการวิเคราะหเสียงหนา คําศัพทภาษาอังกฤษอยูในระดับดี 4.3 ความสามารถในการเขาใจความหมายของ คําศัพทภาษาอังกฤษอยูในระดับดี 4.4 ความสามารถในการอานออกเสียงคําศัพท ภาษาอังกฤษอยูในระดับดี 5. ทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอาน บกพรอง หลังการ

ขนาดกลาง (600 - 1,199 คน) และโรงเรียนขนาดเล็ก (ไมเกิน 600 คน) สุมโรงเรียนตัวอยางมา 15 เปอรเซ็นต ของจํานวนโรงเรียน แตละขนาด ไดโรงเรียนขนาดใหญ 3 โรงเรียน จากทั้งหมด 21 โรงเรียน โรงเรียนขนาดกลาง 1 โรงเรียนจากทั้งหมด 7 โรงเรียน และโรงเรียนขนาดเล็ก 2 โรงเรียน จากทั้งหมด 10 โรงเรียน รวม ทั้งหมด 6 โรงเรียน ไดแก โรงเรียน ทุงมหาเมฆ โรงเรียนอนุบาล พิ บู ลเวศม โรงเรี ยนสายน้ํ าทิ พย โรงเรีย นมหาวีร านุว ัต ร โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ และโรงเรียนวัดนาคปรก กําหนดขนาด กลุมตัวอยางโดยใชตารางกําหนดขนาดตัวอยางของ Krejcie และ Morgan (ยุทธพงษ กัยวรรณ. 2543 : 75) ไดจํานวน นักเรียนรวมทั้งหมด 853 คน แลวสุมนักเรียนมาเปนตัวอยาง จากชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ของแตละโรงเรียน มาเปนสัดสวน ไดเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 จํานวน 418 คน และ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จํานวน 435 คน 1.2 การสร า งชุ ด เสริ ม ทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอังกฤษสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึ กษาป ที่ 2 - 3 ที่ มี ภาวะการอานบกพรอง ประชากรเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 2 3 ที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานมีระดับเชาวปญญาปกติ และไม มี ค วามพิ ก ารซ้ํ า ซ อ น ซึ่ ง วั ด ได จ ากเครื่ องมื อคั ดแยก นักเรียนที่มีปญหาการเรียนรูดานการอานของผดุง อารยะวิญู (2544) โดยไดคะแนนต่ํากวาเกณฑปกติ กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 3 กําลังศึกษาอยูในภาคเรี ยนที่ 2 ปการศึกษา 2551 ของ โรงเรียนเวตวันธรรมวาสที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานที่ มี ระดั บเชาว ปญ ญาปกติแ ละไมม ีค วามพิก ารซ้ํ า ซอ นที ่ไ ด คะแนนต่ํากวาเกณฑปกติ จากแบบคัดแยกของ ผดุง อารยะ วิญู (2544) และมีภาวะการอานบกพรองจากการทดสอบ ดวยแบบวินิจฉัยการอานคําศัพทภาษาอังกฤษบกพรองที่สราง ขึ้น เลือกมาโดยใชวิธีเจาะจง (Purposive Sampling) มาเปน จํานวน 20 คน 1.3 การสรางแบบประเมินทักษะการอานคําศัพท ภาษาอังกฤษชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ประชากร เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 2 3 ที่กําลังศึกษาอยูในโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยาง เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่ กํ า ลั ง ศึ ก ษาอยู ใ นโรงเรี ย นพญาไท ภาคเรีย นที ่ 2 ป การศึก ษา 2551 จํา นวน 86 คน เลือ กมาโดยวิธีการสุม อยางงาย (purposive sampling) 2. การประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการเสริมสราง ทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษสํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ของแต ล ะโรงเรี ย น มาเป น สั ด ส ว นได เ ป น นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 2 จํ า นวน 418 คน และนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปที่ 3 จํานวน 435 คน 1.2 การสร า งชุ ด เสริ ม ทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอั งกฤษสํ าหรั บนั กเรี ยนชั้ นประถมศึ กษาป ที่ 2 - 3 ที่ มี ภาวะการอานบกพรอง ประชากรเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 2 - 3 ที่ มีป ญหาทางการเรียนรูด านการอานมีระดั บเชาวป ญ ญา ปกติแ ละไมมีค วามพิก ารซ้ํา ซอ น ซึ่ง วัด ไดจ ากเครื่องมือคัด แยกนักเรียนที่มีปญหาการเรียนรูดานการอานของผดุง อารยะ วิญู (2544) โดยไดคะแนนต่ํากวาเกณฑปกติ กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 3 กํ าลั งศึ กษาอยู ในภาคเรี ยนที่ 2 ป การศึ กษา 2551 ของ โรงเรียนเวตวันธรรมวาส ที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานที่ มีระดับเชาวปญญาปกติและไมมีความพิการซ้ําซอนที่ไดคะแนน ต่ํากวาเกณฑปกติ จากแบบคัดแยกของ ผดุง อารยะวิญู และ มีภาวะการอานบกพรองจากการทดสอบดวยแบบวินิจฉัยการ อานคําศัพทภาษาอังกฤษบกพรองที่สรางขึ้น เลือกมาโดยใชวิธี เจาะจง (Purposive Sampling) มาเปนจํานวน 20 คน 1.3 การสรางแบบประเมินทักษะการอานคําศัพท ภาษาอังกฤษชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ประชากร เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 3 ที่กําลังศึกษาอยูในโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยาง เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่ กํ า ลั ง ศึ ก ษาอยู ใ นโรงเรี ย นพญาไท ภาคเรี ย นที่ 2 ป การศึก ษา 2551 จํา นวน 86 คน เลือกมาโดยวิธีการสุ ม อยางงาย (purposive sampling) 2. การประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการเสริม สราง ทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษสํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง 2.1 ประเมินทักษะการอานคําศัพทภาษา อังกฤษ ของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 2 - 3 ที่ มี ภ าวะการอ า น บกพรอง ประชากรเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 2 3 ที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานมีระดับเชาวปญญาปกติ และไม มี ค วามพิ การซ้ํ า ซ อ น ซึ่ ง วั ดได จากเครื่ อ งมื อ คั ด แยก นัก เรี ยนที่มี ปญ หาการเรี ยนรูด า นการอ า นของผดุ ง อารยะ วิญู (2544) โดยไดคะแนนต่ํากวาเกณฑปกติ กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถม ศึกษาป ที่ 2 - 3 ที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานที่มีระดับเชาว ปญญาปกติและไมมีความพิการซ้ําซอน ที่ไดคะแนนต่ํากวา เกณฑป กติ จากการทดสอบดวยแบบวินิจฉัยการอานคําศัพท

ทดลองใชชุดเสริมสรางทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษอยู ในระดับสูงขึ้น 5.1 ความสามารถในการรู จั ก ชื่ อ ตั ว อั ก ษ ร ภาษาอังกฤษตัวพิมพเล็กอยูในระดับสูงขึ้น 5.2 ความสามารถในการวิเคราะหเสียงหนาคําอยู ในระดับสูงขึ้น 5.3 ความสามารถในการเขาใจความหมายของคํา อยูในระดับสูงขึ้น 5.4 ความสามารถในการอ า นออกเสี ย งคํ า ศั พ ท ภาษาอังกฤษอยูในระดับสูงขึ้น 6. ความเหมาะสมของรูปแบบการเสริมสรางทักษะการ อานคําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรองอยูในระดับดี วิธีการดําเนินการวิจัย 1. การสรางรูปแบบการเสริมสรางทักษะการอานคําศัพท ภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง 1.1 การสร า งแบบวิ นิ จ ฉั ย การอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอังกฤษบกพรองสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 2 - 3 ประชากรเปนนักเรียนที่มีระดับเชาวปญญาปกติและ ไมมีความพิการซ้ําซอนที่กําลังศึกษาอยูในชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ในโรงเรี ยนสั งกั ดสํ านั กงานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้นฐานกรุงเทพมหานคร กลุ ม ตั ว อย า งเป น นั ก เรี ย นที่ มี ร ะดั บ เชาว ป ญ ญา ปกติ แ ละไม มี ค วามพิ ก ารซ้ํ า ซ อ นที่ กํ า ลั ง ศึ ก ษาอยู ใ นชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 2 - 3 กํ า ลั ง ศึ ก ษาอยู ใ นโรงเรี ย นสั ง กั ด สํ า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น กรุงเทพมหานคร เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 เลือก มาโดยวิธีการสุมแบบผสมผสาน (multistage sampling) โดย แบงโรงเรียนเปน 3 ขนาดตามจํานวนนักเรียน (จุมพล สวัสดิ ยากร. 2520 : 66) คือโรงเรียนขนาดใหญ (1,200 คนขึ้นไป) โรงเรียนขนาดกลาง (600 - 1,199 คน) และโรงเรียนขนาดเล็ก (ไมเกิน 600 คน) สุมโรงเรียนตัวอยางมา 15 เปอรเซ็นต ของ จํานวนโรงเรียนแตละขนาด ไดโรงเรียนขนาดใหญ 3 โรงเรียน จากทั้งหมด 21 โรงเรียน โรงเรียนขนาดกลาง 1 โรงเรียน จาก ทั้งหมด 7 โรงเรียน และโรงเรียนขนาดเล็ก 2 โรงเรียน จากทั้งหมด 10 โรงเรี ย น รวมทั้ ง หมด 6 โรงเรี ย น ได แ ก โรงเรี ย นทุ ง มหาเมฆ โรงเรี ย นอนุ บ าลพิ บู ล เวศม โรงเรี ย นสายน้ํ า ทิ พ ย โรงเรียนมหาวีรานุวัตร โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ และโรงเรียนวัด นาคปรก กํ า หนดขนาดกลุ ม ตัว อยา งโดยใชต ารางกํ า หนด ขนาดตัว อยา งของ Krejcie และ Morgan (ยุทธพงษ กัยวรรณ. 2543 : 75) ไดจํานวนนักเรียนรวมทั้งหมด 853 คน แลวสุมนักเรียนมาเปนตัวอยางจากชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 การศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเสริมสรางทักษะ การอานคําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรองโดยทําการทดสอบนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 2-3 ที่โรงเรี ยนวั ดเวตวันธรรมาวาส ใน วันที่ 31 พฤษภาคม 2551 เพื่อใชเปนกลุมตัวอยางโดยใชแบบ วินิจฉัยการอานคําศัพทภาษาอังกฤษบกพรอง สําหรับนักเรียน ชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 2 - 3 ที่ ส ร า งขึ้ น คั ด เลื อ กนั ก เรี ย นที่ มี ภาวะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษบกพรอง ไดจํานวน 12 คน ดานความสามารถในการรูจักตัวอักษรและคําดานความสามารถ ในการรูจักชื่อตัวอักษรตัวพิมพใหญ ดานความสามารถในการ รูจั ก ชื่ อ ตัว อั ก ษรตัว พิ ม พ เ ล็ก ด า นความสามารถในการรู จั ก คําศัพทจาก การฟง ดานความสามารถในการวิเคราะหเสียงหนา คําและดานความสามารถในการเขาใจความหมายของคํานาม แลวใชแบบประเมินทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษ เพื่อ ประเมิ นความสามารถในการรู จัก ชื่ อ ตั ว อั ก ษรภาษาอั ง กฤษ ความสามารถในการวิเคราะหเสียงหนาคํา ความสามารถในการ เขาใจความหมายคําและความสามารถในการอานออกเสียงคําเพื่อ ประเมินทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 2-3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง ที่ใชเปนกลุม ตั ว อย า งก อ นทดลอง เมื่ อ วั น ที่ 2 มิ ถุ น ายน 2551 แล ว ดําเนินการทดลองตั้งแตวันที่ 9 มิถุนายน ถึงวันที่ 30 กันยายน 2551 เริ่ ม ทํ า การทดลองโดยใช ชุ ด การสอนอ า นตั ว อั ก ษร ภาษาอังกฤษ โดยวิธีโฟนิกสและพหุสัมผัสและชุดการสอนการ อ านคํ าศั พท ภาษาอั งกฤษโดยวิ ธี โฟนิ กส และพหุ สั มผั ส ให แ ก ครูผูสอน 4 คนในการเก็บขอมูลครั้งนี้ ไดทําการฝกครั้งละ 40 นาที โดยใชชุดการสอนอานคําภาษาอังกฤษ ใชเวลาจํานวน 28 ครั้ง ชุดการสอนอานคําภาษาอังกฤษ ใชเวลาจํานวน 24 ครั้ง ชุดการสอนอานคํ าภาษาอังกฤษใชเวลาจํานวน 24 ครั้ง การวิ เ คราะห ข อ มู ล ของแบบวิ นิ จ ฉั ย การอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอังกฤษบกพรองสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ทําการหาคาสถิติ ไดแก ดัชนีความสอดคลองคาสัมประสิท ธิ์ สหสัมพันธ และคะแนนเปอรเซ็นตไทล สวนแบบประเมินทักษะ การเรียนรู ทําการวิเคราะหขอมูลโดยหาคาสถิติ ไดแก คาดัชนี ความสอดคลอง คาความยากงาย คาอํานาจจําแนกและคาความ เชื่อมั่น สําหรับความสามารถทาง การเรียนรูการอานคําศัพท ภาษาอังกฤษ ทําการวิเคราะหขอมูลโดยวิธีทดสอบแบบ The Wilcoxon Matched - Pairs Signed-Rank Test สรุปผลการวิจัย 1. รู ป แบบการเสริ ม สร า งทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอั งกฤษสํ าหรั บนั กเรี ยนชั้ นประถมศึ กษาป ที่ 2 - 3 ที่ มี ภาวะการอานบกพรองประกอบดวยขั้นตอนที่ 1 การวินิจฉัย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง โดยใชแบบวินิจฉัยที่สรางขึ้น ขั้นตอนที่ 2 การเสริมสรางทักษะ

ภาษาอังกฤษบกพรองที่สรางขึ้น กําลังศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551 ของโรงเรียนเวตวันธรรมวาสเลือกโดยใชวิธี เจาะจง (Purposive Sampling) มาเปนจํานวน 20 คน 2.2 ประเมิ น ความเหมาะสมของรู ป แบบการ เสริมสรางทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง เครื่องมือที่ใชในการวิจัยมี 3 ชนิด คือ แบบวินิจฉัยการ อ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษบกพร อ ง สํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ประกอบดวยแบบวินิจฉัย จํานวน 6 ชุด ดังนี้ คือแบบวินิจฉัยความ สามารถในการรูจักตัวอักษรและคํา ความสามารถในการรู จั ก ชื่ อ ตั ว อั ก ษร ตั ว พิ ม พ ใ หญ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร รู จ ัก ชื ่อ ตัว อัก ษ ร ตัว พิม พเ ล็ก ความสามารถในการรูจักคํา ศัพ ทจากการฟง ความสามารถ ในการวิเคราะหเสียงหนาคํา และความสามารถในการเขาใจ ความหมายของคํา นาม แบบวินิจฉัยนี้จะมีแบบทดสอบและ แบบบั นทึ กคะแนนจากการทดสอบ โดยทํ าการทดสอบเป น รายบุคคล แตละชุดมีรายละเอียดดังนี้ ชุดที่ 1 ความสามารถ ในการรูจัก ตัว อัก ษรและคํา จํ า นวน 4 ขอ คะแนนเต็ม 4 คะแนน ชุดที่ 2.1 ความสามารถในการรูจักชื่อตัวอักษรตัวพิมพ ใหญ จํ า นวน 7 ข อ คะแนนเต็ม 7 คะแนน ชุด ที ่ 2.2 ความสามารถในการรูจักตัวอักษรตัวพิมพเล็ก จํานวน 7 ขอ คะแนนเต็ม 7 คะแนน ชุด ที่ 3 ความสามารถในการรูจ ัก คํา ศัพ ทจ ากการฟง จํา นวน 20 ขอ คะแนนเต็ม 20 คะแนน ชุดที่ 4 ความสามารถในการวิเคราะหเสียงหนาคํา จํานวน 8 ขอ คะแนนเต็ม 8 คะแนน และความสามารถในการเขา ใจ ความหมายของคํานาม จํานวน 8 ขอ คะแนนเต็ม 8 คะแนน แบบประเมินทักษะการอานคําศัพ ทภาษาอังกฤษชั้น ประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ประกอบดวยแบบประเมินจํานวน 4 ชุด คือชุดที่ 1 ประเมินความสามารถในการรูจักชื่อตัวอักษร ภาษาอังกฤษ จํานวน 25 ขอ คะแนนเต็ม 25 คะแนน ชุดที่ 2 ประเมินความสามารถในการวิเคราะหเสียงหนาคํา จํานวน 8 ขอ คะแนนเต็ม 8 คะแนน ชุดที่ 3 ประเมินความสามารถในการ เขาใจความหมายของคําจํานวน 10 ขอ คะแนนเต็ม 10 คะแนน และชุ ด ที่ 4 ประเมิ น ความสามารถในการอ า นออกเสี ย งคํ า จํ า นวน 12 ข อ คะแนนเต็ ม 12 คะแนน ลั ก ษณะของแบบ ประเมินทั้ง 4 ชุด เปนแบบปรนัย สําหรับแบบประเมินชุดที่ 1 - 3 ใหนักเรียนกากบาททับคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงหนึ่งคําตอบ สอบ แบบประเมินชุดที่ 4 ใหนักเรียนอานออกเสียงคําที่นักเรียนเห็น และชุดเสริมสรางทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษ มีทั้งหมด 2 ชุด คือ ชุดการสอนอานตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ใชวิธีโฟนิกส และพหุ สั ม ผั ส แ ล ะ ชุ ด ที่ 2 คื อ การสอนอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอั ง กฤษโดยใช วิ ธี โ ฟนิ ก ส และพหุ สั มผั ส โดยชุ ดที่ 1 มี บทเรียนทั้งหมด 28 บทเรียนและชุดที่ 2 มีบทเรียนทั้งหมด 24 บทเรียน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ประถมศึกษาปที่ 3 โดยใชวิธีแองกอฟ มีดังนี้ ชุดที่ 1 คะแนน จุดตัดอยูที่ 2 ชุดที่ 2.1 คะแนนจุดตัดอยูที่ 6 ชุดที่ 2.2 คะแนน จุด ตั ดอยู ที่ 6 ชุ ดที่ 3 คะแนนจุ ด ตั ด อยูที่ 4 ชุ ดที่ 4 คะแนน จุ ด ตั ด อยู ที่ 5 และชุ ด ที่ 5 คะแนนจุ ด ตั ด อยู ที่ 3 และเมื่ อ นํ า เกณฑป กติและเกณฑการตั ดสินภาวะ การอานบกพรอง ณ ตําแหนงเปอรเซ็นตไทลที่ 10 มาเปรียบเทียบแลว จะไดคะแนน จุดตัดที่ใกลเคียงกับการใชวิธีแองกอฟสําหรับทั้งแบบวินิจฉัย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 และชั้นประถมศึกษาปที่ 3 2.2 แบบประเมินทักษะการอานคําศัพท ภาษาอังกฤษทั้ง 4 ฉบับ มีคาความเชื่อมั่นอยูที่ 0.70 ถึง 0.86 มี ค า ความยากง า ยอยู ร ะหว า ง 0.33 ถึ ง 0.82 มี ค า อํ า นาจ จําแนกอยูระหวาง 0.22 ถึง 0.80 2.3 ความสามารถทางการเรี ยนรู การอ านคํ าศั พท ภาษาอั ง กฤษของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 2-3 ที่ มี ภาวะการอานบกพรอง จากการไดรับการฝกดวยชุดเสริมสราง ทักษะการเรียนรูดีขึ้นโดย ความสามารถในการรูจักชื่อตัวอักษร อยู ใ นระดั บ ดี ความสามารถในการวิ เคราะห เสี ยงหน าคํ า ความสามารถในการเขาใจความหมายของคํา และความสามารถ ในการอานออกเสียงคําอยูในระดับ ดีม าก เมื่อ เปรีย บเทีย บ ความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่ มี ภ าวะ การอ า นบกพร อ งก อ นและหลั ง การใช ชุ ด เสริ ม สร า งทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษ พบว า ความสามารถ ในการอานคําศัพทภาษาอังกฤษสูงขึ้นอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อภิปรายผล จากการวิ จั ย พบว า แบบวิ นิ จ ฉั ย การอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 2-3 ที่มี ภาวะการอานบกพรองมีคาความเชื่อมั่นของแบบวินิจฉัยสําหรับ นั กเรี ยนชั้ นประถมศึ กษา ป ที่ 2 ทั้ ง ฉบั บ อยู ที่ .92 และแบบ วินิจฉัยสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ทั้งฉบับอยูที่ .90 ซึ่งอยูในระดับที่เชื่อถือได นอกจากนี้แบบวินิจฉัยทั้ง 2 ชุดนี้มี เกณฑ ตั ดสิ นภาวะการอ านบกพร องโดยใช วิ ธี แ องกอฟ มี ค า ใกล เ คี ย งกั บ เกณฑ ก ารตั ด สิ น ภาวะการอ า นบกพร อ ง ณ เปอรเซ็นตไทลที่ 10 ทั้งนี้เนื่องจากวิธีพิจารณาเกณฑตัดสินโดย วิ ธี แ องกอฟเป น วิ ธี นํ าผู เชี่ ยวชาญเนื้ อหาวิ ชาหรื อครู ผู สอน พิจารณาวานักเรียนที่มีสมรรถภาพขั้นต่ําสุดตามเนื้อหาขอสอบ จะตอบขอสอบแตละชุดถูกตองเปนเทาใด จึงไดแบบวินิจฉัยที่มี คุณภาพในการชวยวินิจฉัยนักเรียนที่มีภาวะการอานบกพรอง ในวิชาภาษาอังกฤษ จากการวิจัยจึงทําใหไดเครื่องมือที่มีคุณภาพสามารถ นําไปใชในการคัดแยกและวินิจฉัย นักเรียนที่มีภ าวะการอา น บกพรอ งในวิช าภาษาอัง กฤษ เนื่อ งดว ยความสามารถใน การรูจักชื่อ ตัวอักษร มีความสัมพันธอยางมากตอความสําเร็จ

การอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษที่ ส ร า งขึ้ น ขั้ น ตอนที่ 3 การ ประเมิ น ทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษ โดยใช แ บบ ประเมินทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษที่สรางขึ้น ซึ่งมี รายละเอียดดังนี้ 1.1 แบบวิ นิ จ ฉั ย การอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษ บกพรอง สําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 2 - 3 มีลักษณะ เปนแบบทดสอบ ใชทดสอบนักเรียนเปนรายบุคคล ประกอบดวย แบบวินิจฉัยจํานวน 6 ชุด คือ ชุดที่ 1 ความสามารถในการรูจัก ตัวอักษรและคํา มีจํานวน 4 ขอ ชุดที่ 2.1 ความสามารถในการ รู จั ก ชื่ อ ตั ว อั ก ษรตั ว พิ ม พ ใ หญ มี จํ า นวน 7 ข อ ชุ ด ที่ 2.2 ความสามารถ ในการรูจักชื่อตัวอักษรตัวพิมพเล็ก มีจํานวน 7 ชุด ชุดที่ 3 ความสามารถในการรูจักคําศัพทจาก การฟง มี จํานวน 20 ขอ ชุดที่ 4 ความสามารถในการวิเคราะหเสียงหนา คํ า มี จํ า นวน 8 ข อ ชุ ด ที่ 5 ความสามารถในการเข า ใจ ความหมายของคํานาม มีจํานวน 8 ขอ 1.2 ชุดเสริมสรางทักษะการเรียนรูคําศัพท ภาษาอังกฤษ มีลักษณะเปนกิจกรรมการเรียนรูและ แบบฝกหัดประกอบดวยชุดการเรียนรู 2 ฉบับ คือ ชุดการสอน อานตัวอักษรภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีโฟนิกสและพหุสัมผัส มี จํานวน 28 บท และชุดการสอนอานคําศัพทภาษาอังกฤษ โดย ใชวิธีโฟนิกสและพหุสัมผัส มีจํานวน 24 บท 1.3 แบบประเมินทักษะการอานคําศัพท ภาษาอั ง กฤษ มี ลั ก ษณะเป น ปรนั ย ประกอบด ว ยความ สามารถในการรู จั ก ชื่ อ ตั ว อั ก ษร มี จํ า นวน 25 ข อ ฉบั บ ที่ 2 ประเมิ น ด า นความสามารถในการวิ เ คราะห เ สี ย งหน า คํ า มี จํา นวน 8 ขอ ฉบับ ที่ 3 ประเมินความสามารถในการเขา ใจ ความหมายของคํ า มีจํา นวน 10 ขอ และฉบั บ ที่ 4 ประเมิ น ความสามารถในการอานออกเสียงคํา มีจํานวน 12 ขอ โดย ในฉบับที่ 1-3 นั้น ใหนักเรียนกากบาททับบนขอที่ถูกตอง สวน ฉบับที่ 3 ใหนักเรียนอานออกเสียงคําที่ครูชี้ 2. ประสิทธิภาพของรูปแบบการเสริมสรางทักษะการอาน คําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 2 3 ที่มีภาวะการอานบกพรอง จากการ ศึกษาพบวารูปแบบมี ความ เหมาะสมอยูในระดับดีมาก โดย 2.1 แบบวิ นิ จ ฉั ย การอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษ สําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาป ที่ 2 - 3 ที่ มีภ าวะการอา น บกพรอง มีคาความเชื่อมั่นของแบบวินิจฉัยสําหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 2 ทั้งฉบับอยูที่ .92 และแบบวินิจฉัยสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ทั้งฉบับอยูที่ .90 โดยคะแนน จุดตัดสําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 2 โดยใชวิธีโฟนิกส ดังนี้ ชุดที่ 1 คะแนนจุดตัด อยูที่ 2 ชุดที่ 2.1 คะแนนจุดตัดอยูที่ 6 ชุดที่ 2.2 คะแนนจุดตัดอยูที่ 5 ชุดที่ 3 คะแนนจุดตัดอยูที่ 3 ชุดที่ 5 คะแนนจุดตัดอยูที่ 2 คะแนนจุดตัดสําหรับนักเรียนชั้น


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ปญหาในการวิเคราะหเสียง ปญหาในการอานคํา และ การ เขาใจความหมายของคําที่อาน แบบประเมินทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษ มีคา ความเที่ยงตรงเชิงพินิจ คาความยากงายอยูระหวาง 0.33 ถึง 0.82 คา อํา นาจจํ า แนกอยู ระหวา ง 0.22 ถึ ง 0.80 ค า ความ เชื่อมั่นอยูระหวาง 0.70 ถึง 0.86 แสดงวาแบบประเมินที่สราง ขึ้นเปนแบบประเมินที่มีคุณภาพ ซึ่งเหมาะสมในการนําไปใชใน การประชุมทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษ ซึ่งสอดคลองกับ แนวคิดของ ยุทธพงษ กัยวรรณ (2543 : 126) ที่วาเครื่องมือใน การวิ จั ย ที่ มี ค า ความยากง า ย และค า อํ า นาจจํ า แนกในช ว ง ดังกลาว เปนขอสอบที่มีคุณภาพรายขอดี และเหมาะสมทําให ผูวิจัยสามารถรวบรวมขอมูลไดตรงในสิ่ง ที่จะตองวัด ดังนั้น เครื่องมือที่นํามาใชในงานวิจัยตองเปนเครื่องมือที่ดี มีความ เที่ ย งตรง มี ค วามน า เชื่ อ ถื อ มี อํ า นาจจํ า แนก ดั ง นั้ น แบบ ประเมิ น ทั ก ษะภาษาอัง กฤษที่ สร า งขึ้ น นี้มี คุ ณ ภาพตรงตาม เกณฑที่กําหนด ทั้งนี้เนื่องจากขอมูลพื้นฐานจากการสรางแบบ วิ นิ จ ฉั ย การอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษ สํ า หรับ นัก เรีย นชั ้น ประถมศึ ก ษาปที่ 2 - 3 ที่มีภ าวะ การอา นบกพรอ งและ จากการที่ไ ดกํา หนดจุดมุงหมายในการสรางศึกษาคน คว า เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนกําหนดโครงสรางใน การประเมินในดานตางๆ ที่ชัดเจนและครอบคลุมการประเมินที่ มี คุ ณ ภาพ สามารถนํ า ไปใช ใ นการประเมิ น ทั ก ษะการอ า น คําศัพทภาษาอังกฤษในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 - 3 ที่มี ภาวะการอานบกพรองได จึงเหมาะสมเปนแบบประเมินทักษะ การอา นคํา ศัพทภ าษาอังกฤษกอนที่จะทําการสอนการอาน คํ าศั พท ภาษาอั งกฤษ เพื่ อ ครู ผู สอนจะได ทราบว านั กเรี ยนมี ความสามารถในการอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษระดั บ ใด มี ข อ บกพร อ งที่ ใ ดบ า ง (และหลั ง จากที่ นั ก เรี ย นได รั บ การ เสริมสรางทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษแลว ครูสามารถ นําแบบคําศัพทภาษาอังกฤษนี้ประเมินความ กาวหนาในการ เรียนรู จึงเปนสวนหนึ่งของเครื่องมือที่นํามาใชในการชวยเหลือ การอานคําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนที่มีภาวะการอาน บกพร อ ง สํ า หรั บ ชุ ด เสริ ม สร า งทั ก ษะการอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอังกฤษนั้นประกอบดวยแบบฝกหัดและกิจกรรมที่ใชการ สอนอ า นโดยวิ ธี โ ฟนิ ก ส แ ละพหุ สั ม ผั ส ได แ ก การฟ ง การ มองเห็ น การสั ม ผั ส และการเคลื่ อ นไหวเพื่ อ เสริ ม สร า ง ความสามารถในการเรียนรูตัวอักษรและคําภาษาอังกฤษจาก การศึกษาพบวาความสามารถในการเรียนรูคําภาษาอังกฤษ หลังจากไดรับการฝกดวยชุดเสริมสรางทักษะการอานคําศัพท ภาษาอั ง กฤษ โดยความสามารถในการรู จั ก ชื่ อ ตั ว อั ก ษร ภาษาอังกฤษตัวพิมพเล็ก อยูในระดับดี สวนความสามารถใน การวิเคราะหเสี่ยงหนาคํา ความสามารถ ในการอานออกเสียง คํ า อยู ใ นระดับ ดีม าก และเมื ่อ เปรีย บเทีย บความสามารถ

ในการอานของนักเรียนและการ เขาใจเนื้อหาในเรื่องนี้อานนั้น ตองอาศัยการรูจักอักษรแตละตัวอยางชํานาญ ความสามารถ ในการวิ เ คราะห เ สี ย งเป น ทั ก ษะในการสร า งความสั ม พั น ธ ระหวางเสี ยงและตัวอักษร ซึ่งเปนทักษะในการอานออกเสียง สะกดคํา เพื่อนํามาใชในการถอดรหัสคําที่นักเรียนไมเคยพบมา ก อน ทั กษะนี้ รวมถึ งความสามารถในการจํ าแนกแยกความ แตกตางของตัวอักษร ซึ่งเปน ทักษะในการตระหนักและรับ รู ระบบหนวยเสียงซึ่งสอดคลองกับมารเซลล (Marcel. 1980) ที่ กลาววาความสามารถในการวิเคราะหเสียงมีความสัมพัน ธ โดยตรงกั บ ความสามารถในการสะกดคํ า และนั ก เรี ย นที่ มี ความบกพรองในการสะกดคําจะไดรับคะแนนต่ําในกิจกรรม การวิเคราะหเสียงและยังสอดคลองกับสแปฟฟอรด และโกร เซอร (Spafford and Grosser. 2005) ที่กลาววานักเรียนที่มี ปญหาในการวิเคราะหเสียง ควรไดรับการวิเคราะหท ดสอบ เกี่ย วกับ ความสามารถในการวิเ คราะหเ สีย งเพื่อ วินิจ ฉัย วา นักเรียนผูนั้น มีภาวะการอานบกพรองหรือไม ซึ่งปญหาของการ วิเคราะหเสียงอาจเกิดจากการที่นักเรียนไมมีระบบของหนวย เสียงในภาษานั้นเพียงพอที่จะเก็บไวในความจําระยะยาว เพื่อ สามารถนําออกมาใชในการอานภาษานั้น และยังสอดคลอง กับ คี โรกา และคณะ (Quiroga. et,al. 2002) ที่กลาววานักเรียนที่เรียน ภาษาอั ง กฤษเป น ภาษาที่ ส องนั ้น จํ า เปน อย า งยิ่ ง ที่ ต อ งมี ความสามารถในการวิ เ คราะห เ สี ย งและรู จ ัก ตัว อัก ษร เช น เดี ย วกั บ นั ก เรี ย นที่ ใ ช ภ าษาอั ง กฤษเป น ภาษาแม นอกจากนั้นการวินิจฉัยความสามารถในการอานคําศัพทเปน การทดสอบที่สําคัญอีกหนึ่งองคประกอบ เนื่องจากถานักเรียน อานพบคําที่พวกเขาไมสามารถเขาใจความหมายเปนจํานวน มาก นั กเรียนจะไมสามารถเขา ใจเนื้อ เรื่อ งที่อาน ดัง นั้นการ เขาใจความหมายของคําที่อาน จึงเปนสวนสําคัญในการอาน เพื่อ ความเขาใจ ซึ่ง เปน จุดประสงคห ลักในการสอนอาน ซึ่ง สอดคลองกับ นิโคลสัน (Nicholson. 1998) ที่กลาววาการอาน ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพคื อ การรู จั ก คํ า ได อ ย า งรวดเร็ ว และถู ก ต อ ง ความเร็ ว และความถู ก ต อ งในการรู จั ก คํ า มาจากจํ า นวน คําศัพทที่พอเพียงที่อยูในความจําและความสามารถในการ รับรูการเรียงตัวอักษรเปนรูปรางของคําที่คุนเคยมากมายใน หนัง สือ เรี ยน และถา นักเรียนไมคุนเคยกับ ตัว อักษรและการ วิเคราะหเสียงแลว นักเรียนจะเกิดความยากลําบากในการอาน ออกเสียง ดังนั้นนักเรียนตองเรียนรูจักความสัมพันธที่เปนระบบ ระหวางเสียงในภาษาพูดและตัวอักษรในหนังสือ ถานักเรียน ขาดความสามารถดัง กลา ว นักเรีย นจะไมสามารถอา นออก เสีย งคํ า ไดถู ก ต อ ง ดั ง นั้ น แบบวิ นิ จ ฉั ย การอ า นคํ า ศั พ ท ภาษาอังกฤษที่สรางขึ้นนี้จึงเหมาะสมสําหรับครูในการนํามา วินิจฉัยปญหาในระดับตางๆ ที่กอใหเกิดภาวะการอานบกพรอง ในภาษาอั งกฤษ ไม ว า จะเป น ป ญ หาของการรู จั ก ตั ว อั ก ษร


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ความสัมพันธระหวางตัวอักษรและเสียง นักเรียนยังจะตองมี ความเขาใจวาคําในภาษาพูดสามารถถูกแยกออกเปนหนวย เสี ย งเล็ ก ๆ ได และสามารถเข า ใจว า หน ว ยเสี ย งเล็ ก ๆ นั้ น สามารถนํามารวมกันเปนคําที่มีความหมายได ดัง นั้น การที่ น ัก เ ร ีย น ม ีค ว า ม รู ใ น ก า ร อ า น โ ด ย ใ ช ว ิธ ีโ ฟ น ิก ส มี ความสัมพันธในการพัฒนาทักษะเบื้องตนในการอาน ความรูนี้ มีผลกระทบตอความสามารถในการถอดรหัสคํา ซึ่งสอดคลอง กั บ สตาร โ นวิ ก ส ที่ ก ล า วว า ความรู ท างโฟนิ ก ส มี ผ ลต อ การ พัฒนาการรูจักคํา การรูจักคํานําไปสูการอานเพื่อความเขาใจ ถานักเรียนไมสามารถเขาใจและไมรูจักตัวอักษรที่ปรากฏอยูใน หนั ง สื อ นั ก เรี ย นจะไม เ ข า ใจความหมายของคํ า ที่ อ า น นอกจากนั้นแลวนักเรียนยังตองอานใหคลองดวย ถานักเรียน อานชาเกินไป มีผลทําใหการเขาใจเนื้อหามีความไมสมบูรณ เนื่องจากนักเรียนไมสามารถรูจักคํา จึงตองใชเวลาและความ พยายามในการสะกดคํา จึงไมสามารถใหความสนใจตอเนื้อหา เทาที่ควร (Starnovich. 1989 : 203 - 205) นอกจากการสอนการอ า นโดยวิ ธี โ ฟนิ ก ส แ ล ว ชุ ด เสริมสรางทักษะการอานคําศัพทภาษา อังกฤษจะนําวิธีการ สอนการอานโดยใหพหุสัมผัสเขามาบูรณาการกับการสอนอาน โดยวิธีโฟนิกส ซึ่งเหมาะกับนักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรู โดยเฉพาะมักเรียนที่มีภาวะการอานบกพรอง เนื่องจากในชุดฝก นี้ นั ก เรี ย นต อ งเรี ย นรู ก ารอ า นโดยใช ก ารเรี ย นรู ท างสายตา (Visual) การรับรูทางการฟง (Auditory) การรับรูทางการ เคลื่อ นไหว (Kinesthestics) และการรับ รู ทางการสัมผั ส (Tactile) ซึ่งเปนชวงการสรางความจําสําหรับขอมูลของสิ่งเรา เทคนิคเหลานี้ยังเปนการชวยใหนักเรียนสนใจรายละเอียด ของ ตัว อั ก ษรและคํา และชว ยใหนั กเรี ย นสนใจรายละเอีย ดของ ตัว อักษรและ คํา และชว ยใหสามารถระลึกคําจากความจํา ระยะยาว ซึ่งสอดคลองกับสมิธ และแคริแกน ที่กลาววาเทคนิค การเคลื่อนไหวมือ มีความจําเปนตอการสอนการอาน และการ ชวยเสริมสรางการอานโดยการใหดู ใหฟง และการสัมผัสตางชวย เพิ่มทักษะและความจําเพื่อบันทึกในความจําระยะยาว เพื่อใช ในการอา น โดยความ รู สึกเหลา นี้จ ะสง นําสิ่งเร าไปยังสมอง กลามเนื้อเล็กๆ ทุกสวนของผิวสัมผัสจะสงความรูสึกที่เกิดจาก การเรี ย นรู ไ ปยั ง สมอง และเป น การประสานความสั ม พั น ธ ระหวางรางกายและสมองดวยการมองเห็น ตัวอักษรที่นักเรียน อ า นขณะใช นิ้ ว ชี้ ห รื อ สั ม ผั ส ไปด ว ย และเปล ง เสี ย งการอ า น ออกมา (Smith and Carrigan. 1959 : 45 - 49) และยัง สอดคล อ งกั บ ฮั ล ม ที่ ก ล า วว า การใช เ ทคนิ ค การสอนโดยใช ประสาท สัมผัสทั้งหาสรางความสนใจตอสิ่งเราเพื่อใหนักเรียน จดจํา และชวยในการเพิ่มขอมูลเกี่ยวกับสิ่งเราเพื่อนําไปเก็บไว ในหนวยความจํา การใชนิ้ววาดตัวอักษร ชวยใหขอมูลเพิ่มขึ้น สําหรับการจดจําเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวในระหวางที่นักเรียนใช

ทางการเรีย นรู ข องนั กเรี ยนชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 2 - 3 ที่ มี ภาวะการอานบกพรองกอนและหลังการใชชุดเสริมสรางทักษะ การอานคํา ศัพ ทภาษาอังกฤษ พบวาความสามารถทั้ง 4 ดาน สูง ขึ้ น อยา งมีนัยสํา คัญทางสถิติที่ร ะดับ .05 ทั้งนี้เ พราะการ ส อ น อ า น โ ด ย วิ ธี โ ฟ นิ ก ส เ ป น ก า ร ส อ น ใ ห นั ก เ รี ย น มี ความสามารถในการบอกความ สั ม พั น ธ ร ะหว า งเสี ย งและ ตัว อั กษรที่ ใ ชสํา หรับ การสะกดและอา นคํา ซึ่งเปน เครื่ อ งมือ สํา คั ญ ที่สุดที่ จะชว ยใหนักเรียนใหอานอยางมี ป ระสิท ธิ ภ าพ และยังเปนขั้นตอนแรกที่สําคัญในการเรียนการอานและการเขียน กลวิ ธี นี้ ยั ง สามารถนํ า ไปใช ใ นการอ า นคํ า ยากและคํ า ที่ ไ ม คุนเคย ซึ่งสอดคลองกับรูวิน ที่กลาววาความสามารถในการ อ า นคํ า ศั พ ท นั้ น นั ก เรี ย นต อ งมี ค วามสามารถในการอ า น วิเคราะหคําที่เปนหนวยเสียง มีความสามารถในการเขาใจวา หน ว ยเสี ย งสามารถเกิ ด ในตํ า แหน ง ต า งๆ ของคํ า มี ความสามารถในการรู ว า ตั ว อั ก ษรใดแทนหน ว ยเสี ย งใด (Ruvin. 2000 : 25 - 26) นอกจากนั้น แลว นักเรียน ยังได เรียนจากบทเรียนที่สรางขึ้นจากความเหมือนและความตางของ ลั ก ษณะทางภาษา ระหวา งภาษาแมแ ละภาษาอัง กฤษ กลา วคือ นัก เรีย นจะเรีย นรูเ สีย งในภาษาอังกฤษที่มีลักษณะ คลายคลึงกับเสียงในภาษาไทย ซึ่งเปนเสียงที่นักเรียนคุนเคย และเรียนรูงาย และจึงคอยสอนเสียงภาษาอังกฤษที่ไมปรากฏ ในเสียงภาษาไทย ซึ่งเปนทักษะที่ยากขึ้น ซึ่งตางกับการเรียนรู ตัวอักษร ภาษา อังกฤษแบบระบบเดิมที่ไมไดมีการจําแนกความ คลายคลึงของเสียงตัวอักษรระหวางภาษาแม กับภาษาอังกฤษ ซึ่ ง อาจก อ ให เ กิ ด ป ญ หาในการอ า นตั ว อั ก ษรแก นั ก เรี ย นที่ มี ภาวะการอานบกพรอง ซึ่งสอดคลองกับเบนเดอรและ ลารคิน ที่กลาววาแมวานักเรียนที่มีภาวะการอานบกพรองจะไมมีปญหา ทางสติปญญาก็ตาม แตนักเรียนเหลา นี้อาจไมสามารถรับ รู ความแตกต า งและความเหมื อ นระหว า งเสี ย ง ตั ว อั ก ษร ความหมายและโครงสรางไวยากรณ ระหว า งภาษาแมแ ละ ภาษาตางประเทศ เพราะฉะนั้นครู จึงตองสร างบทเรียนการ สอนอานโดยคํานึงถึงความเหมือนและความตางของลักษณะ ทางภาษาระหวางภาษาแมและภาษาอังกฤษ (Bender & Larkin. 2003 : 127 - 136) และยังสอดคลองกับสแปฟฟอรด และโกรเซอรที่กลาววาถานักเรียนที่เรียนภาษาตางประเทศมี ความ คุนเคย กับเสียงในภาษาแมของตนแลว นักเรียนควรจะ สามารถถายโอนเสียงในภาษาแมเพื่อสรางความ สามารถในการ ถายโอนกันในระหวางภาษาได (Spafford and Grosser. 2006 : 76 - 93) ดังนั้นการที่นักเรียนที่มีภาวการณอาน บกพรองเรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาตาง ประเทศนั้น จําเปน อยางยิ่งที่ตองมีความรูเกี่ยวกับความตระหนักและรับรูหนวย เสียงและรูจักตัวอักษร เชนเดียว กับนักเรียนที่ใชภาษาอังกฤษ เปนภาษาแม และนักเรียนจะตองมีความสามารถในการเรียนรู


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 นิ้ ววาดตัวอั กษรและระบบความจํ าการเคลื่อนไหวของร างกาย ทํางานควบคูไปกับการจํารูปรางของตัวอักษรที่ผานการรับรูทาง สายตา (Hulme. 1981 : 89 - 92) จากการศึ ก ษาครั้ ง นี้ พบว า ความเหมาะสมของชุ ด เสริมสรางทักษะการอานคําศัพทภาษา อังกฤษสําหรับนักเรียน ชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 2 - 3 ที่ มี ภ าวะการอ า นบกพร อ ง มี คุ ณ ภาพเหมาะสมอยู ใ นระดั บ ดี ม าก ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งมาจาก เครื่องมือแตละชุดผานการตรวจสอบหาคาเที่ยงตรงเชิงพินิจ จากผูเชี่ยวชาญและหาคาความเชื่อมั่นโดยวิธีทางสถิติและการ ดําเนิ นตามขั้ นตอนของชุ ดเสริ ม สร างทั กษะการอ านคํ าศั พท ภาษาอังกฤษตั้งแตการวินิจฉัยนักเรียนที่มีภาวะการอานบกพรอง การประเมินทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษและการใชชุด เสริมสรางทักษะการอานคําศัพทภาษาอังกฤษ สามารถพัฒนา นักเรียนใหมีความสามารถในการอานคําศัพทภาษาอังกฤษ สูงขึ้น พรอมทั้งมีการปรับปรุงตามคําแนะนํ าของผูเชี่ยวชาญ เพื่อใหเหมาะสมกับการดําเนินตอไป เพื่อเปนรูปแบบหนึ่งของการ ชวยเหลือนักเรียนที่มีภาวะการอานบกพรองในภาษาอังกฤษ ในดานความสนใจและความตั้งใจของนักเรียนในชั้นเรียน นั้ น ปรากฏว า นั ก เรี ย นมี ค วามสนใจในการอ า นออกเสี ย ง ภาษาอั งกฤษมากขึ้ น มีความสนุกสนานกั บกิ จกรรมซึ่งไดแก กิ จ กรรมเสริ ม ทั ก ษะในการฟ ง แยกเสี ย งโดยในกิ จ กรรม ประกอบด ว ยการให นั ก เรี ย นได ใ ช นิ้ ว มื อ วาดรู ป ตั ว อั ก ษรใน อากาศ วาดรูปตัวอักษรภาษาอังกฤษที่บนหลังของครู ตบมือ เพื่อฟงแยกเสียง การเลนเกมบิงโก ลวนแตเปนกิจกรรมที่สราง ความสนุกสนานและเปนการเสริมแรงเพื่อสรางความสนใจใน การเรียนรูการอานตัวอักษรและการอานคํา นักเรียนมีความ ตั้งใจมาเขาเรียนคอนขางสม่ําเสมอ และมีนักเรียนบางคนที่เขา มาในชั้นเรียนกอนการเรียนเริ่มขึ้นเพื่อทําการซักซอมการอาน ออกเสียงและการอานเขาใจคําศัพทจึงเปนการแสดงใหเห็นวา กิจกรรมการสอนในชั้นเรียนไดสรางแรงจูงใจใหนักเรียนมีความ ตองการที่จะทําการเรียนรูเพิ่มขึ้นกอนที่เริ่มมีการสอนจริงในชั้น เรียน และเปนการสอนแบบเพื่อนชวยเพื่อน และตางพยายาม ชวยแกไขการอานออกเสียงตัวอักษรและคํา กิจกรรมการสอน จึงเปนการเสริมความมั่นใจในการอานออกเสียงตัวอักษรและ อานคําใหมากขึ้น เมื่อสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนใน การเรียน นักเรียนรายงานวาพวกเขามีความสนุกสนานในการ เรียน มีความมั่นใจในการอานออกเสียงตัวอักษรและคําศัพท และมีความตองการใหมีการเรียนการสอนโดยใชวิธีโฟนิกสและ พหุสัมผัสในโอกาสตอไป สําหรับความพึงพอใจของครูที่รวบรวมนั้น ครูที่รวมการ วิจัยครั้งนี้มีทั้งหมด 2 ทาน โดยมีประสบการณในการสอนเด็ก ที่ มี ค วามต อ งการพิ เ ศษในชั้ น เรี ย นร ว ม ครู ทั้ ง 2 ท า นต า ง รายงานวา มีค วามพึง พอใจตอ แผน การสอนและกิจ กรรม

การสอน ทั้งนี้อาจเนื่องจากผูวิจัยไปสาธิตการสอนสัปดาหละ 2 วั น และร ว มสั ง เกตการณ ก ารสอนอี ก 2 วั น จึ ง ทํ า ให ค รู มี ความมั่ น ใจในการออกเสี ย งและเข า ใจแผนการสอนและ กิจกรรมการสอน ครูยังรายงานวานอกจากนักเรียนสามารถอาน ออกเสี ย งตั ว อั ก ษรและคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษได ดี ขึ้ น แล ว นักเรียนเหลานั้นยังอานภาษาไทยไดดีขึ้นดวย อาจเปนเพราะ นักเรียนเริ่มมีความตระหนักเกี่ยวกับหนวยเสียงภาษาอังกฤษ ซึ่งอาจจะมีบางหนวยเสียงที่เหมือนกับหนวยเสียงในภาษาไทย จึง ทําใหมีการถายโอนการตระหนักหนวยเสียงในภาษาไทยมีมากขึ้น จึงสงผลตอความสามารถในการอานออกเสียงคําในภาษาไทย ทําใหนักเรียนเริ่มมีความรักในอานมากขึ้น นอกจากนั้นครูยังมี ความพึงพอใจในกิจกรรมและบทเรียนในการวิจัยครั้งนี้ เนื่อง ดวยครูมีทักษะและความรูเพิ่มขึ้นในการสอนอานภาษาอังกฤษ โดยวิ ธี โ ฟนิ ก ส ซึ่ ง เป น การสอนการอ า นออกเสี ย งตั ว อั ก ษร ภาษาอังกฤษอยางเปนระบบ โดยใชหลักสัทศาสตร ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย เนื่องจากงานวิจัยนี้ผูวิจัยเปนผูจัดกิจกรรมการเรียนรู ให กั บ นั ก เรี ย นโดยตรง ประกอบกั บ การสอนอ า นตั ว อั ก ษร ภาษาอังกฤษและการสอนอานคําภาษาอังกฤษ เปนทักษะที่ ต อ ง อ า ศั ย ก า ร ฝ ก ฝ น เ กิ ด ค ว า ม ชํ า น า ญ ใ น ก า ร ส อ น ภาษาตางประเทศ จึงควรมีการพัฒนาแนวทางการดําเนินการ ฝ ก อบรมครู ผู ส อนมี ค วามมั่ น ใจในการสอนอ า นออกเสี ย ง ตัวอักษรภาษาอังกฤษและคําภาษาอังกฤษรวมถึงการฝกอบรม ครู ผู ส อน สามารถค น หาและช ว ยเหลื อ อย า งถู ก วิ ธี แ ละมี ประสิทธิภาพ รวมถึงการบริหารเวลาในการนําวิธีสอนบูรณา การเขากับการสอนภาษาอังกฤษในชั้นเรียนปกติ และการดึง นักเรียนออกมาจากหองเรียน เพื่อใหนักเรียนไดรับประโยชน เต็มที่ในการเรียนรูภาษอังกฤษทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ขอเสนอแนะของการนําไปใช ผู ที่ จ ะนํ า แบบวิ นิ จ ฉั ย แบบประเมิ น ทั ก ษะการอ า น คําศัพทภาษาอังกฤษและชุดเสริมสรางทักษะการอานคําศัพท ภาษาอังกฤษ ควรไดรับการอบรมกอนนําไปใชจริงกับนักเรียน รวมถึ ง การที่ ค รู ต อ งได รั บ การอบรมทาง ด า นสั ท ศาสตร ภาษาอังกฤษ และควรศึกษาและปฏิบัติตามคําสั่งในคูมืออยาง เคร งครั ด และต องดํ าเนิ นการรู ปแบบทุ กขั้ นตอนเพื่ อ ให เ กิ ด ประโยชนสูงสุดในการชวยเหลือนักเรียน ขอเสนอแนะในการทําวิจัยขั้นตอไป 1. ควรทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการสอนคํา ภาษาอังกฤษที่มีโครงสราง 2 พยางคขึ้นไป เพื่อเปนการเพิ่ม ส ว นขยายต อ ของการอ า นคํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษที่ มี พ ยางค มากกวาหนึ่งพยางค 2. ควรทําการศึกษาวิจัยการสอนใชชุดเสริมสรางทักษะ ภาษาอังกฤษเมื่อนําไปใชสอนในหองเรียนโดยบูรณาการเขา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 กั บ เ นื้ อ ห า ใ น วิ ช า ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ห ลั ก สู ต ร ป ก ติ ใ น ชั้ น และกลุมตัวอยางที่ใหญขึ้น เพื่อทําใหชุดการเสริมสรางทักษะ ประถมศึกษาปที่ 2-3 การสอนอานคําศัพทภาษาอังกฤษสามารถนําไปใชไดอยาง 3. ควรทําการศึกษาวิจัยประสิทธิผลของชุด กวางขวางยิง่ ขึ้น การเสริมสรางทักษะการสอนอานคําศัพทภาษาอังกฤษสําหรับ นักเรียนที่มีภาวะการอานบกพรอง เมื่อนําไปใชกับประชากร

บรรณานุกรม ผดุง อารยะวิญู. (2542). รายงานการวิจัยการสรางแบบคัดแยกเด็กที่มีปญหาในการเรียนรู. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. . (2544). เด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แวนแกว.ยุทธพงษ กัยวรรณ. (2543). พื้นฐานการวิจัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. ศรียา นิยมธรรม. (2540). ปญหายุงยากการเรียนรู. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. . (2541). รายงานการวิจัยการสรางแบบคัดแยกเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. . (2542). การวัดและประเมินผลทางการศึกษาพิเศษ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : P.A. ART & PRINTING. Adams, E. (1990). The sociopsychometrics of learning disabilities. Journal of Learning Disabilities. 32 : 350 - 361. Badian, N.A. (2000). Reading disability defined as a discrepancy form listening comprehension. Journal of Learning Disabilities. 32 : 138 - 148. Carroll, S. (1981). Age versus schooling effects on intelligence development. Child Development. 60 : 1239 - 1249. Defries, M., Gillis, P., & Wadsworthy, J., (1999). Individual differences in working memory and reading. Journal of Verbal Learning and Verbal Behavior. 19 : 450 - 466. Fields, R.H., Sprangler, P. (2000). Effects of instruction on the decoding skills of children with phonological processing problems. Journal of Learning Disabilities. 26 : 583 - 589. Gajer, A. (1979). The processes underlying segmental analysis. European Bulletin of Cognitive Psychology. 7 : 646. Harris, B. & Hodges, W. (1981). Learning disabilities, in J. Kauffman & D. Hallahan (Eds.).Handbook of special education. (pp.141 – 164). Englewood Cliffs, NJ : Prentice-Hall. Kavelle, H. (2002). Tests of the automaticity of reading : Dilution of Stroop effects by color-irrelevant stimuli. Journal of Experimental Psychology : Human Perception and Performance. 9 : 497 - 509. Lewis, M. & Thomson, P. (1992). Toward a theory of automatic information processing in reading. Cognitive Psychology. 16 : 400 - 410. March, R. (1980). On the bases of two subtypes of developmental dyslexia. Cognitive. 58 : 157 – 195. National Institute of Health. (2000, November). Diagnosis and Treatment of attention deficit hyperactivity disorder. NIH Consensus Statement. 16 : 27.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 National Reading Panel. (2000a). Report of the National Reading Panel : Teaching children to read. Bethesda, MD : National Institute of Child Health and Human Development. Punnet, J. (1984). Comprehension monitoring, memory, and study strategies of good and poor readers. Journal of Reading Behavior. 13 : 5 - 22. Rayner, K. & Pollatsek, D. (1987). On differences between spoken and written language. Discourse Processes. 7 : 43 - 55. Shaguita, E. (2004). Some predictive antecedents of specific reading disability. Journal of Learning Disabilities. 7 : 437 - 444. Shaywitz, S.E. (2003). Discrepancy compared to low achievement definitions or reading disability : results from the Connecticut Longitudinal study. Journal of Learning Disabilities. 25 : 639 - 648. Spafford, K. & Grosser, S. (2005). Effects of context on the classification of words and nonwords. Journal of Experimental Psychology : Human Perspective and Performance. 3 : 27 - 36. Swanson, S.J. & Atkinson, U.T. (2000). Effect of hypothesis/test training on reading skill. Journal of Educational Psychology. 66 : 835 - 844. U.S. Department of Education. (2002). Current population scurvy. Washington, DC. : Bureau of the Census.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

ปจจัยที่สงผลตอเจตคติตอการเรียนในหลักสูตร ธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วั ด พระธรรมกาย อํ า เภอคลองหลวง จั ง หวั ด ปทุมธานี FACTORS AFFECTING ATTITUDE TOWARDS BUDDHIST LEARNING IN THE BUDDHIST CURRICULUM OF STUDENTS AT PALIYATTITHUM SCHOOL OF WAT PHRA DHAMMAKAYA IN KHLONG LUANG DISTRICT, PATHUM THANI PROVINCE วาที่รอยตรี ประพนน ชูจําปา1 รองศาสตราจารยเวธนี กรีทอง2 ผูชวยศาสตราจารย ดร.พาสนา จุลรัตน2 บทคัดยอ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง หมาย เพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ เจตคติ ต อ การเรี ย นในหลั ก สู ต รธรรมศึ ก ษาของ นักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี โดยจําแนกปจจัยที่ศึกษาเปน 3 ดาน คือ ปจจัยดานสวนตัว ไดแก อายุ ระดับชั้น แรงจูงใจใน การสมัครเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา นิสัยทางการเรียน และ ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ปจจัยดานครอบครัว ไดแก สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครอง และการสงเสริม นักเรียนในความเปนพุทธมามกะของผูปกครอง และปจจัย ดานสภาพแวดลอมทางการเรียน ไดแก ลักษณะทางกายภาพ ภายในวัด ลั ก ษณะทางกายภาพภายในโรงเรียน และการ เลียนแบบพระสงฆที่ศรัทธา

1 2

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เป น นั ก เรี ย นที่ กําลังเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัด พระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ปการศึกษา 2551 จํานวน 297 คน ประกอบดวย นักเรียนธรรมศึกษาชั้น ตรี จํานวน 190 คน นักเรียนธรรมศึกษาชั้นโท จํานวน 55 คน และนักเรียนธรรมศึกษาชั้นเอก จํานวน 52 คน ซึ่งไดมาโดย วิธีการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใช ระดั บ ชั้ น เป น ชั้ น (Strata) เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย เป น แบบสอบถามปจจัยที่สงผลตอเจตคติตอการเรียนในหลักสูตร ธรรมศึ ก ษาของนั ก เรี ย น โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมวั ด พระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (มีคาความ เชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ .9328)สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน และ การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบวา 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับเจตคติตอ การเรียนในหลักสูตรธรรมศึ กษาของนักเรี ยน โรงเรียนพระ ปริ ยั ติ ธ รรม วั ด พระธรรมกาย อํ า เภอคลองหลวง จั ง หวั ด ปทุมธานี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 3 ดาน 8 ปจจัย ดังนี้ 1.1 ปจจัยดานสวนตัว มี 3 ปจจัย ไดแก แรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา (X5) นิสัย ทางการเรียน (X6) และความศรัทธาในพระพุทธศาสนา (X7) 1.2 ปจจัยดานครอบครัว มี 2 ปจจัย ไดแก สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครอง (X8) และการ สงเสริมนักเรียนในความเปนพุทธมามกะของผูปกครอง (X9) 1.3 ปจจัยดานสิ่งแวดลอม มี 3 ปจจัย ไดแก ลักษณะทางกายภาพภายในวัด (X10) ลักษณะทางกายภาพ ภายในโรงเรียน ( X11) และการเลียนแบบพระสงฆที่ศรัทธา (X12) 2. ปจจัยที่ไมมีความสัมพันธกับเจตคติตอการ เรียนในหลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติ ธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี มี 1 ดาน 4 ปจจัย ไดแก อายุ (X1) ระดับชั้น : ธรรมศึกษาชั้นตรี (X2) ระดับชั้น : ธรรมศึกษาชั้นโท (X3) และระดับชั้น : ธรรมศึกษาชั้นเอก (X4) 3. ปจจัยที่สงผลตอเจตคติตอการเรียนในหลักสูตร ธรรมศึ ก ษาของนั ก เรี ย น โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม วั ด พระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัย โดยเรียงลําดับจาก ปจจัยที่สง ผลมากที่สุดไปหาปจจัยที่สงผลนอยที่สุด ไดแก การ

เลียนแบบพระสงฆที่ศรัทธา (X12) ลักษณะทางกายภาพภายใน วัด (X10) แรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา (X5) การส ง เสริ ม นั ก เรี ย นในความเป น พุ ท ธมามกะของ ผูปกครอง (X9) และลักษณะทางกายภาพภายในโรงเรียน ( X11) ซึ่งปจจัยทั้ง 5 ปจจัยนี้ สามารถรวมกันอธิบายความ แปรปรวนของเจตคติตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษาของ นักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ไดรอยละ 55.70 4. สมการพยากรณเจตคติตอการเรียนในหลักสูตร ธรรมศึ ก ษาของนั ก เรี ย น โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม วั ด พระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี มีดังนี้ 4.1 สมการพยากรณเจตคติตอการเรียนใน หลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระ ปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = 1.179+.284X12+.162X10+.131X5+.085X9+.054X11 4.2 สมการพยากรณเจตคติตอการเรียนใน หลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัด พระธรรมกาย อํา เภอคลองหลวง จัง หวั ดปทุม ธานี ในรู ป คะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .344X12+.287X10+.249X5+.110X9+.105X11 คําสําคัญ: เจตคติ --- การเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา --หลักสูตรธรรมศึกษา ABSTRACT The purposes of this research were to study the factors affecting students attitude towards Buddhist learning in the Buddhist curriculum at Paliyattithum School of Wat Phra Dhammakaya in Khlong Luang District, Pathum Thani Province. The factors were divided into 3 dimensions. The first dimension covered personal factors: age , educational level , motive to apply for learning in the Buddhist curriculum , learning habit and faith in Buddhism; the second dimension covered family factors: interpersonal relationship between students and their guardians and guardian’s religious zeal influencing students interest to apply Buddhist teachings in daily life; and the third dimension covered learning environmental factors: physical environment in the temple , physical environment in the school and emulation of religious learning behavior monks.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 Buddhist curriculum at Paliyattithum School of Wat Phra Dhammakaya in Khlong Luang District, Pathum Thani Province, at .01 level ranking from the most affected to the least affected. They were emulation of religious learning behavior monks (X12) , physical environment in the temple (X10) , motive to apply for learning in the Buddhist curriculum (X5) , guardian’s religious zeal influencing students interest to apply Buddhist teachings in daily life (X9) and physical environment in the school ( X11). These 5 factors could predict the goal of life at a percentage of 55.70. 4. The significant predicted equation of students attitude towards Buddhist learning in the Buddhist curriculum at Paliyattithum School of Wat Phra Dhammakaya in Khlong Luang District, Pathum Thani Province level which were as follows:4.1 In terms of raw scores: Ŷ= 1.179+.284X12+.162X10+.131X5+.085X9+.054X11 4.2 In terms of standard scores: Z = .344X12+.287X10+.249X5+.110X9+.105X11

The 297 samples covered: 190 primary level students , 55 middle level students and 52 higher level students who were learning in the Buddhist curriculum at Paliyattithum School of Wat Phra Dhammakaya in Khlong Luang District, Pathum Thani province during the academic year 2008. The questionnaires were the instrument used to obtain information about the students’ attitude towards Buddhist learning in the Buddhist curriculum of students at Paliyattithum School of Wat Phra Dhammakaya in Khlong Luang District, Pathum Thani Province all result has the realiability of .9328. The data was analyzed by the Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The Results were as follows:1. There was a significant positive correlation of students attitude towards Buddhist learning in the Buddhist curriculum at Paliyattithum School of Wat Phra Dhammakaya in Khlong Luang District, Pathum Thani Province with the 3 dimensions of 8 factors at .01 level which were as follows:1.1 The personal factors revealed 3 factors: motive to apply for learning in the Buddhist curriculum (X5) , learning habit (X6) and faith in Buddhism (X7). 1.2 The family factors revealed 2 factors: interpersonal relationship between students and their guardians (X8) and guardian’s religious zeal influencing students interest to apply Buddhist teachings in daily life (X9). 1.3 The learning environmental factors revealed 3 factors: physical environment in the temple (X10) , physical environment in the school (X11) and emulation of religious learning behavior monks (X12). 2. There was no significant correlation for students attitude towards Buddhist learning in the Buddhist curriculum at Paliyattithum School of Wat Phra Dhammakaya in Khlong Luang District, Pathum Thani Province for 4 factors: age (X1) , educational level: primary level (X2) , educational level: middle level (X3) and educational level: higher level (X4). 3. There were 5 significant factors affecting students attitude towards Buddhist learning in the

KEYWORDS : ATTITUDE --- BUDDHIST LEARNING --BUDDHIST CURRICULUM บทนํา สภาพสัง คมไทยในปจจุบัน กําลังประสบกับป ญหา วิกฤตทางดานศีลธรรม ดวยสภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ํา จึงทําให ประชาชนมุงเนนเฉพาะการดํารงชีวิต และการแสวงหารายได ด ว ยวิ ธี ก ารที่ ไ ม เ หมาะสม จนละเลยการพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ทางดานจิตใจ และการกระทําที่ถูกตอง ดังที่ปรากฏตามสื่อ ตางๆ เชน มีขาวอาชญากรรม การปลนจี้ชิงทรัพย กระทํา อนาจาร ลอลวงขมขืน รวมทั้งเด็กและเยาวชนของชาติตาง หลงใหลในกระแสบริโภคนิยม เสพสิ่งเสพติด มีพฤติกรรม ทางเพศที่ไมเหมาะสม เปนตน จากปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมไทย และจาก การเปลี่ยนแปลงบริบทแหงการพัฒนาของ ประเทศที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วในปจจุบัน ในขณะที่ทุกภาคสวน ยั ง คงมุ ง เน น แข ง ขั น ทางด า นเศรษฐกิ จ และด า นวั ต ถุ จ น กลายเป น วั ต ถุ นิ ย ม ส ว นด า นคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมถู ก ละเลย เปนผลใหคนในสังคมไทยหางไกลศาสนา ปญหาดานการขาด คุณ ธรรม จริย ธรรมในตัว ของเด็ ก และเยาวชนในสั ง คมไทย ปจ จุบั น จึ ง เป น ปญ หาระดับ ชาติ ที่น า เป น ห ว งอย า งยิ่ ง เป น สัญญาณบอกเหตุอยางชัดเจนวาการพัฒนาสังคมไทยตอจาก


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ไทยเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถ อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ดังบัญญัติไวในมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (สํานักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา. 2551: ออนไลน) การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรมหรือที่เรียกกัน วา “นักธรรม” เกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2435 ตามพระดําริของ สมเด็จ พระมหาสมณเจ า กรมพระยาวชิ ร ญาณวโรรส ซึ่ ง เป น การศึ ก ษาพระธรรมวิ นั ย ในภาษาไทย สํ า หรั บ สอนภิ ก ษุ สามเณรวัดบวรนิเวศวิหารเปนครั้งแรก ตอมา พระเจาวรวงศ เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน สมเด็จพระสังฆราชเจา วัดราช บพิ ธ สถิ ต มหาสี ม าราม ทรงพิ จ ารณาเห็ น ว า การศึ ก ษา นักธรรมมิไดเปนประโยชนตอภิกษุสามเณรเทานั้น แมผูที่ยัง ครองฆราวาสวิสัยก็จะไดรับประโยชนจากการศึกษานักธรรม ดวย โดยเฉพาะสําหรับเหลาขาราชการครู จึงทรงตั้งหลักสูตร นักธรรมสําหรับฆราวาสขึ้น เรียกวา “ธรรมศึกษา” มีครบทั้ง 3 ชั้น คือ ธรรมศึกษาชั้นตรี โท และเอก ซึ่งมีเนื้อหาเชนเดียวกับ หลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร เวนแตวินัยบัญญัติที่ทรง กําหนดใชเบญจศีลเบญจธรรม และอุโบสถศีลแทน ไดเปดสอบ ธรรมศึกษาชั้นตรีเปนครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 และเปดสอบ ครบทุกชั้นในเวลาตอมา มีฆราวาสทั้งหญิง และชายเขาสอบ เปนจํานวนมาก นับเปนการสงเสริมการศึกษาพระพุทธศาสนา ให ก ว า งขวางยิ่ ง ขึ้ น (สํ า นั ก งานแม ก องธรรมสนามหลวง. 2550: 269-271) ปจจุบันมีผูใหความสนใจในการเรียนธรรมศึกษามาก ขึ้ น ไม ว า จะเป น เด็ ก เยาวชน นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ข า ราชการ พนักงานของรัฐ และเอกชน ทั้งใน และตางประเทศ ซึ่ง เปนนิมิตหมายที่ดีของการเผยแผพุทธธรรมผานธรรมศึกษา การเรียนจะบังเกิดผลตอเมื่อมีการนําหลักธรรม และความรูไป ปรับใชในชีวิตประจําวันใหได ซึ่งเปนเปาหมายสูงสุด รวมทั้ง นักเรียนธรรมศึกษายังไดชื่อวาเปนบุคคลที่เปนผูรับ และสืบ สานมรดกแห ง หลั ก ธรรมทางพุ ท ธศาสนา จึ ง ควรพิ จ ารณา ตนเองวามีความรูในเรื่องราวที่เกี่ยวกับพุทธศาสนามากนอย เพียงใด การเรียนธรรมศึกษาจะทําใหเรามีความเปนชาวพุทธที่ สมบูรณขึ้นทั้งกาย และใจ ซึ่งจะเปนสวนหนึ่งในการชวยขัด เกลาผู ค นให เ ห็ น ความสํ า คั ญ ในการทํ า ความดี เพื่ อ สร า ง บานเมืองของเราใหเปนสังคมสันติตอไป เมื่อชาวพุทธทุกคนมี โอกาสไดศึกษาจะทําใหความสับสนวุนวายของสังคม และโหย หาคุ ณ ธรรมอย า งเช น ป จ จุ บั น นี้ ล ดน อ ยลง (พระพรหมมุ นี . 2550: ออนไลน) จากการที่ผูวิจัยเปนนักเรียนธรรมศึกษาชั้นเอก ไดไป สัมภาษณ หัวหนางานขอมูล ฝายสถิติ สํานักงานแมกองธรรม สนามหลวงพบว า จํ า นวนนัก เรีย นผูส มั ค รเรี ย นในหลัก สู ต ร

นี้ไป จะตองพัฒนาในเชิงรุกในทุกดาน โดยเฉพาะการนํามิติ ทางศาสนาไปสู ก ารปฏิ บั ติ ใ นวิ ถี ชี วิ ต ของประชาชนอย า ง เรงดวน และเปนรูปธรรมที่ชัดเจน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติฉบับที่ 10 ไดใหความสําคัญในเรื่องยุทธศาสตร การเสริมสรางทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาประเทศในการเพิ่ม คุณภาพ และศักยภาพคน มุงเนนการพัฒนาจิตใจ คุณธรรม จริยธรรมของคนในสังคม (กรมการศาสนา. 2550: คํานํา) และปรากฏในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 หมวด 5 วาดวย แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ มาตรา 73 รัฐตองใหความอุปถัมภและคุมครองพระพุทธศาสนาและ ศาสนาอื่ น ส ง เสริ ม ความเข า ใจอั น ดี แ ละความสมานฉั น ท ระหว า งศาสนิ ก ชนของทุ ก ศาสนา รวมทั้ ง สนั บ สนุ น การนํ า หลักธรรมของศาสนามาใชเพื่อเสริมสรางคุณธรรมและพัฒนา คุณภาพชีวิต (สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา. 2545: 49) ใ น อ ดี ต บ ท บ า ท ข อ ง ศ า ส น า กั บ ก า ร ศึ ก ษ า มี ความสัม พัน ธ ใ กลชิ ดกั น มาโดยตลอด แตเ ดิ ม นั้ น การศึก ษา และพุทธศาสนาเปนเรื่องเดียวกันที่มีความสัมพันธใกลชิดกัน วัดก็คือ โรงเรียน และโรงเรียนก็คือ วัด พระภิกษุสามเณรก็คือ ครู และครูก็คือ พระ ปจจุบัน สถาบันศาสนา และการศึกษา เริ่ ม แยกออกจากกั น ความสั ม พั น ธ ซึ่ ง เคยมี อ ยู เ ดิ ม กลั บ ลด นอยลงอยางนาเปนหวง สงผลถึงคุณธรรม จริยธรรมซึ่งควรจะ มี ใ นเยาวชนของชาติ ล ดลงเช น กั น รั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมาตรา 81 ได กํา หนดเปา หมายและวัต ถุป ระสงค ชัด เจนว า การจั ด การ ศึกษาอบรมตองใหเกิดความรูคู คุณธรรม ดังนั้น พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 จึงไดบัญญัติไวชัดเจนเชนเดียวกันวาการจัดการศึกษาเปนไป เพื่ อ พั ฒ นาคนไทยให เ ป น คนที่ ส มบู ร ณ ทั้ ง ร า งกาย จิ ต ใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม ในอนาคต วัด คือ หนวย ปฏิบัติที่สําคัญที่สุดของพระพุทธศาสนา ดังนั้น โดยนัยของ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ กษาแห ง ชาติ วั ด จะมี ลั กษณะเป น 3 สวน คือ 1. วัดกลับมาทําหนาที่เปนโรงเรียน เพราะวัด คือ โรงเรียนจัดการเรียนการสอนโดย ระบบโรงเรียน 2. วัด คือ ศูนยการเรียนที่สามารถใหความรูวิชาศีลธรรม จริยธรรมทั้ง ภาคปริยัติ และปฏิบัติ ครูคือพระ หรือ พระอาจเปนครูพระที่ ไปสอนวิชาศีลธรรมในโรงเรียนได 3. วัด คือ แหลงเรียนรูที่ให ความรู แ ก ผู เ รี ย นทุ ก เพศ ทุ ก วั ย ซึ่ ง เรี ย กว า เป น การจั ด การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย เพราะฉะนั้ น จึ ง กล า วได ว า ในการ พั ฒ นาคนให มี ค วามรู คู คุ ณ ธรรมตามเจตนารมณ แ ห ง รั ฐ ธรรมนู ญ และพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ. 2542 นั้น วัด และคณะสงฆจะมีบทบาทมากที่สุด หากได รวมมือกันเพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนตาม เจตนารมณดังกลาวขางตนแลว การศึกษาของชาติจะทําใหคน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 จากผลการสํารวจขอมูลเบื้องตน สรุปไดวา นักเรียน ธรรมศึกษาชั้นตรี โทและเอก ปการศึกษา 2551 โรงเรียนพระ ปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย มีศรัทธาในพระรัตนตรัย เห็น คุณ ประโยชนข องการเรียนในหลักสูตรธรรมศึ กษา มีความ ตั้งใจ และขยันหมั่นเพียรในการเรียน จะนําหลักธรรมไปใชใน ชีวิต ประจําวัน และเผยแผความรูทางพระพุทธศาสนาใหผูอื่น ซึ่ง นา จะเป น ผลมาจากการที่นั ก เรี ยนมีเ จตคติ ท างบวกต อ การ เรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา ดังที่ ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ (2543: 54) กลาววา เจตคติหรือทัศนคติ ถือวาเปน ความรูสึกเชื่อ ศรัทธา ตอสิ่งหนึ่งสิ่งใด จนเกิดความพรอมที่ จะแสดงการกระทําออกมา ซึ่งอาจจะไปในทางดีหรือไมดีก็ได เจตคติ ยั ง ไม เ ป น พฤติ ก รรมแต เ ป น ตั ว การที่ จ ะทํ า ให เ กิ ด พฤติกรรม ดังนั้น เจตคติจึงเปนคุณลักษณะของความรูสึกที่ ซ อ นเร น อยู ภ ายในใจ ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ สุ ร างค โค ว ตระกู ล (2550: 366) ที่กลาววา ทัศนคติเปนอัชฌาสัย (Disposition) หรือแนวโนมที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมสนองตอบตอสิ่งแวดลอม หรือสิ่งเราซึ่งอาจจะเปนไดทั้งคน วัตถุ สิ่งของ หรือความคิด (Ideas) เจตคติอาจจะเปนบวกหรือลบ ถาบุคคลมีเจตคติบวก ตอสิ่งใดก็จะมีพฤติกรรมที่จะเผชิญกับสิ่งนั้น และถามีเจตคติ บวกตอการเรียน ก็นาจะทําใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพดวย ดวยเหตุนี้ ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาปจจัยที่สงผลตอเจต คติตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียน พระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี

ธรรมศึ ก ษาทั่ ว ประเทศ มี จํ า นวนเพิ่ ม มากขึ้ น ทุ ก ป โดยในป การศึ ก ษา 2550 ซึ่ ง เป น ป ม หามงคลที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระ เจาอยูหัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 สํ า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห ง ชาติ ได จั ด โครงการ “สรางความดี ดวยธรรมศึกษา เฉลิมพระเกียรติ” โครงการนี้สืบ เ นื่ อ ง ม า จ า ก ท า ง ม ห า เ ถ ร ส ม า ค ม มี ม ติ ใ ห สํ า นั ก ง า น พระพุทธศาสนาดําเนินงานสงเสริมใหปพ.ศ. 2550 เปนปแหง การนําหลักธรรมศึกษาไปทําความดี โดยมีนักเรียนสมัครสอบ ธรรมสนามหลวง ธรรมศึกษาชั้นตรี โท และเอก ทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้น 1,618,252 คน เขาสอบจํานวน 1,290,062 คน สอบไดจํานวน 724,308 คน คิดเปนรอยละ 56.15 (พระครู ปลัดเมธาวัฒน. 2551: สัมภาษณ) โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ดําเนินการจัดการเรียนการสอน ในหลักสูตรธรรมศึกษา ของสํานักงานแมกองธรรมสนามหลวง มาตั้งแตปการศึกษา 2528 และในปการศึกษา 2551 ผูวิจัยได สมัครเขาเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษาชั้นเอก ไดสังเกตเพื่อน นักเรียนรวมชั้นเรียน พบวา นักเรียนตั้งใจเรียน เขาชั้นเรียน อยางสม่ําเสมอ และหมั่นซักถามความรูจากพระอาจารย ซึ่ง สอดคลองกับขอมูลที่ผูวิจัยไดจากการสัมภาษณพระอาจารย ผูสอน พบวา มีจํานวนนักเรียนผูสมัครเรียนในหลักสูตรธรรม ศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลอง หลวง จังหวัดปทุมธานี เพิ่มมากขึ้นในรอบ 3 ป นักเรียน สวนใหญมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ตั้งใจเรียน เอาใจ ใสในการเรียน ขยันทําการบาน และคอยติดตามการเรียนอยู เสมอ โดยในปการศึกษา 2549 มีนักเรียนสมัครเรียนใน หลักสูตรธรรมศึกษา รวมทั้งสิ้น 426 คน เขาสอบจํานวน 222 คน สอบไดจํานวน 221 คน คิดเปนรอยละ 99.5 ปการศึกษา 2550 มีนักเรียนสมัครเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา รวมทั้งสิ้น 475 คน เขาสอบจํานวน 249 คน สอบไดจํานวน 246 คน คิดเปนรอยละ 98.78 และปการศึกษา 2551 มีนักเรียนสมัคร เรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา จํานวนทั้งสิ้น 594 คน (พระมหา สุรสิทธ วรสิทฺโธ. 2551: สัมภาษณ) จึงทําใหผูวิจัยสนใจที่จะ ศึกษาวาปจจัยใดที่เปนสาเหตุใหนักเรียนมีความตั้งใจเรียนใน หลักสูตรธรรมศึกษา ผูวิ จัยจึงไดสํา รวจขอ มู ลเบื้ องตน กับ นักเรียนธรรม ศึ ก ษาชั้ น ตรี โท และเอก โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมวั ด พระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี จํานวน 77 คน จากจํานวนนักเรียนทั้งสิ้น 594 คน คิดเปนรอยละ 13 จําแนกเปนนักเรียนธรรมศึกษาชั้นตรี จํานวน 44 คน นักเรียน ธรรมศึกษาชั้นโท จํานวน 21 คน และนักเรียนธรรมศึกษาชั้น เอก จํานวน 12 คน โดยใชคําถามปลายเปดเกี่ยวกับเจตคติ ตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา

ความมุงหมายของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดตั้งความมุงหมายของการ วิจัย ดังนี้ 1.เพื่ อ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งป จ จั ย ด า น สวนตัว ดานครอบครัว และดานสภาพแวดลอมทางการเรียน กั บ เจตคติ ต อ การเรี ย นในหลั ก สู ต รธรรมศึ ก ษาของนั ก เรี ย น โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 2. เพื่อศึกษาปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และดานสภาพแวดลอมทางการเรียนที่สงผลตอเจตคติตอการ เรียนในหลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติ ธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 3.เพื่อสรางสมการพยากรณเจตคติตอการเรียน ในหลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียนโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ความสําคัญของการวิจัย ผลการวิจัยนี้จะเปนประโยชนตอผูบริหาร และคณะพระ อาจารย โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี เพื่ อ ใช เ ป น ข อ มู ล ประกอบในการกํ า หนด นโยบายเกี่ยวกับการวางแผน และการสงเสริมการจัดการเรียน การสอนในหลักสูตรธรรมศึกษา เพื่อใหเหมาะสมกับนักเรียน วิธีดําเนินการวิจัย การกําหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง ประชากร ประชากรที่ใ ชในการวิจั ยครั้ง นี้ เปน นักเรียนที่ เรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา ชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก โรงเรียน พระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุ ม ธานี ป ก ารศึ ก ษา 2551 มี จํ า นวนรวมทั้ ง สิ้ น 594 คน ประกอบด ว ย นั ก เรี ย นธรรมศึ ก ษาชั้ น ตรี จํ า นวน 380 คน นักเรียนธรรมศึกษาชั้นโท จํานวน 110 คน และนักเรียนธรรม ศึกษาชั้นเอก จํานวน 104 คน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนนักเรียน ที่เรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา ชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรอิสระ

โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลอง หลวง จังหวัดปทุมธานี ปการศึกษา 2551 จํานวน 297 คน ประกอบดวย นักเรียนที่เรียนธรรมศึกษาชันตรี จํานวน 190 คน นักเรียนที่เรียนธรรมศึกษาชั้นโท จํานวน 55 คน และ นักเรียนที่เรียนธรรมศึกษาชั้นเอก จํานวน 52 คน ซึ่งไดมา โดยวิธีการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) จาก ประชากรที่ระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95 (Yamane. 1967: 886887) โดยใชระดับชั้นเปนชั้น (Strata) สมมติฐานในการวิจัย 1. ป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และด า น สภาพแวดลอมทางการเรียน มีความสัมพันธกับเจตคติตอการ เรียนในหลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติ ธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 2. ป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และด า น สภาพแวดลอมทางการเรียนส งผลตอ เจตคติตอการเรียนใน หลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัด พระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

ตัวแปรตาม

1. ปจจัยดานสวนตัว ไดแก 1.1 อายุ 1.2 ระดับชั้น 1.3 แรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา 1.4 นิสัยทางการเรียน 1.5 ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา 2. ปจจัยดานครอบครัว ไดแก 2.1 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครอง 2.2 การสงเสริมนักเรียนในความเปนพุทธมามกะของ ผูปกครอง 3. ปจจัยดานสภาพแวดลอมทางการเรียน ไดแก 3.1 ลักษณะทางกายภาพภายในวัด 3.2 ลักษณะทางกายภาพภายในโรงเรียน 3.3 การเลียนแบบพระสงฆที่ศรัทธา

เจตคติตอการเรียน ในหลักสูตรธรรมศึกษา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เป น แบบสอบถาม ปจจัยที่สงผลตอเจตคติตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษาของ นักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ซึ่งแบงออกเปน 10 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลสวนตัว ไดแก อายุ และระดับชั้น ตอนที่ 2 แบบสอบถามแรงจู ง ใจในการสมั ค รเรี ย นใน หลักสูตรธรรมศึกษา ตอนที่ 3 แบบสอบถามนิสัยทางการเรียน ตอนที่ 4 แบบสอบถามความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ตอนที่ 5 แบบสอบถามสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ ผูปกครอง ตอนที่ 6 แบบสอบถามการสงเสริมนักเรียนในความเปน พุทธมามกะของผูปกครอง ตอนที่ 7 แบบสอบถามลักษณะทางกายภาพภายในวัด ตอนที่ 8 แบบสอบถามลักษณะทางกายภาพภายในโรงเรียน ตอนที่ 9 แบบสอบถามการเลียนแบบพระสงฆที่ศรัทธา ตอนที่ 10 แบบสอบถามเจตคติตอการเรียนในหลักสูตร ธรรมศึกษา การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลตามลําดับ ดังนี้ 1. ผูวิจัยนําหนังสือขอความอนุเคราะหเพื่อการวิจัย จากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ ไปยื่ น ต อ พระอาจารย ใ หญ โรงเรี ย นพระ ปริยัติธรรม วัด พระธรรมกาย อํ า เภอคลองหลวง จัง หวัด ปทุมธานี เพื่อขออนุญาตเก็บรวบรวมขอมูล 2. ผูวิจัยนําแบบสอบถามปจจัยที่สงผลตอเจตคติตอ การเรี ย นในหลั ก สู ต รธรรมศึ ก ษา ไปเก็ บ รวบรวมข อ มู ล กั บ นักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ซึ่งเปนกลุมตัวอยาง ในระหวาง วันที่ 9 – 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 จํานวน 297 ฉบับ ไดรับ คืนมาจํานวน 238 ฉบับ คิดเปนรอยละ 80.13 3. ผูวิจัยนําแบบสอบถาม จํานวน 238 ฉบับ ที่ นัก เรี ย นตอบมาตรวจความสมบู ร ณ ข องแบบสอบถาม ผล ปรากฏวาสมบูรณทุกฉบับ จากนั้น จึงนํามาตรวจใหคะแนน ตามเกณฑที่กําหนดไว และนําขอมูลมาวิเคราะหทางสถิติตอไป สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยพบวา :ปจจัยที่สงผลตอเจตคติตอการเรียนในหลักสูตรธรรม ศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมาก ที่ สุ ด ไปหาป จ จั ย ที่ ส ง ผลน อ ยที่ สุ ด ได แ ก การเลี ย นแบบ

พระสงฆที่ศรัทธา (X12) ลักษณะทางกายภาพภายในวัด (X10) แรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา (X5) การ สงเสริมนักเรียนในความเปนพุทธมามกะของผูปกครอง (X9) และลักษณะทางกายภาพภายในโรงเรียน (X11) ซึ่งปจจัยทั้ง 5 ปจจัยนี้ สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวนของเจตคติตอ การเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระ ปริ ยั ติ ธ รรม วั ด พระธรรมกาย อํ า เภอคลองหลวง จั ง หวั ด ปทุมธานี ไดรอยละ 55.70 อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิจัย ผูวิจัยอภิปรายผลไดดังนี้ 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับเจตคติตอการ เรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา ของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติ ธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 8 ปจจัย ไดแก แรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา (X5) นิสัย ทางการเรี ย น (X6) ความศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนา (X7) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครอง (X8) การสงเสริม นักเรียนในความเปนพุทธมามกะของผูปกครอง (X9) ลักษณะ ทางกายภาพภายในวัด (X10) ลักษณะทางกายภาพภายใน โรงเรียน ( X11) และการเลียนแบบพระสงฆที่ศรัทธา (X12) อภิปรายผลไดดังนี้ 1.1 แรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรม ศึ ก ษา มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ เจตคติ ต อ การเรี ย นใน หลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัด พระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จัง หวัดปทุมธานี อยา งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่มีแรงจูงใจ ในการสมั ค รเรี ย นในหลั ก สู ต รธรรมศึ ก ษามาก มี เ จตคติ ทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา ทั้งนี้เพราะ การที่ นักเรียนมีความตั้งใจ กระตือรือรน และมีความปรารถนาที่จะ เรี ย นในหลั ก สู ต รธรรมศึ ก ษา เพื่ อ เพิ่ ม พู น ความรู ท างด า น พระพุทธศาสนา และสั่งสมบุญบารมี ประกอบกับการไดรับ ข อ มู ล ข า วประชาสั ม พั น ธ การชั ก ชวนจากเพื่ อ น ความ เลื่อมใสศรัทธาในพระอาจารยผูสอน การรับ รูเกี่ยวกับสถิติ นั ก เรี ย นที่ ส อบผ า นหลั ก สู ต รธรรมศึ ก ษาแล ว จะได รั บ ใบ ประกาศนี ย บัต รไว เ ปน หลัก ฐาน จึ ง ทํา ใหนั ก เรี ย นมี เ จตคติ ทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา ดังที่ ชูชีพ ออน โคกสูง (2550: 90) กลาววา บุคคลที่มีแรงจูงใจในการทําสิ่ง ตาง ๆ สูงจะมีความสนใจ เอาใจใส กระตือรือรน ขยันขันแข็ง มานะพยายาม จึงสามารถทําสิ่งนั้นไดสําเร็จ ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ พระมหา สุข สุวีโร (2539: 87) ที่ไดศึกษาความสนใจตอการศึกษาพระ ปริยัติธรรมของพระสงฆ: ศึกษากรณีพระนิสิต มหาจุฬาลง กรณราชวิ ท ยาลั ย ผลการวิ จั ย พบว า แรงจู ง ใจใฝ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 สถิ ติ เ บื้ อ งต น ของนั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย กรุ ง เทพ ดั ง นั้ น นักเรียนที่มีนิสัยทางการเรียนดี จึงมีเจตคติทางบวกตอการ เรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา 1.3 ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา มีความสัมพันธ ทางบวกกับ เจตคติ ตอ การเรี ยนในหลั กสู ต รธรรมศึ ก ษาของ นักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี อยา งมีนัยสํา คัญ ทางสถิติที่ ระดั บ .01 แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี ค วามศรั ท ธาใน พระพุทธศาสนามาก มีเจตคติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตร ธรรมศึ ก ษา ทั้ ง นี้ เ พราะ นั ก เรี ย นที่ มี ค วามศรั ท ธาใน พระพุทธศาสนา มีความเชื่อมั่นในพระรัตนตรัย ไดแก พระ พุทธ พระธรรม และพระสงฆ กลาวคือ ประการแรก มี ความศรัทธาในคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจาที่ทรงเปยมดวย พระปญญาธิคุณ พระ วิสุทธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ ทรงตรัสรูธรรม มีความ บริ สุ ท ธิ์ ห ลุ ด พ น จากกิ เ ลสเครื่ อ งเศร า หมอง บรรลุ ม รรคผล นิพ พาน และทรงเป นบรมครูผูสั่งสอนสรรพสัตวทั้งหลายให ขามพนจากวัฏทุกข ประการที่สอง มีความศรัทธาในพระธรรม คําสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา ซึ่งเปนหลักความเปนจริง ของธรรมชาติ และชีวิต เช น เรื่องกฎแหงกรรม เปน ตน ที่ กลาวถึง กฎแหงการกระทําที่เปนหลักเหตุและผล บุคคลทํา กรรมเชนไรยอมไดรับผลเชนนั้น ถาทํากรรมดียอมไดรับผลดี และถาทํากรรมชั่วยอมไดรับผลชั่ว ซึ่งไมมีผูใดสามารถหลีกหนี ใหพนจากเรื่องกฎแหงกรรมไปได และประการที่สาม มีความ ศรัทธาในพระสงฆผูปฏิบัติตนตามพระธรรมวินัย โดยสละชีวิต จากผูครองเรือน ตั้งใจบําเพ็ญสมณธรรมเพื่อมุงไปสูหนทาง พระนิพพาน และสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาดวยการศึกษา ทั้ ง ด า นปริ ยั ติ ปฏิ บั ติ ปฏิ เ วธ และเทศนาอบรมศี ล ธรรมแก พุทธศาสนิกชน ดวยความศรัทธาในพระพุทธศาสนาดังกลาว มานี้ จึงทําใหนักเรียนมีเจตคติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตร ธรรมศึ ก ษา แต ถ า หากว า นั ก เรี ย นไม มี ค วามศรั ท ธาใน พระพุทธศาสนา ไมไดพิจารณาถึงคุณประโยชนที่จะไดรับจาก การเรียน นักเรียนก็จะเบื่อหนายตอการเรียน และไมสนใจที่จะ ปฏิบัติต ามหลัก ธรรมที่ไ ดเรีย นมา ดัง ที่ พระภาวนาวิริยคุ ณ (2551ก: 3-4) กลาววา ตามธรรมดากอนที่บุคคลจะศรัทธาใน สิ่งใด เขายอมจะใชปญญาพิจารณาเหตุผลวาสิ่งนั้นถูกตอง จริง ดีจริง เปนประโยชนจริง หรือไมอยางไร จนกระทั่งมั่นใจ วา ตนไดพิจารณาอยางรอบคอบแลว ตอจากนั้นศรัทธา ก็จะมี บทบาทสําคัญนําไปสูการกระทําตามมาตรฐานที่ตนยึดมั่นไว ในใจนั้น ดวยเหตุนี้ หากบุคคลใดมีศรัทธาในเรื่องอะไร อยา งไร ระดับ ไหนก็ต าม ศรัท ธานั้น จะทํา หนา ที่เปน แมบ ท หรือมาตรฐานในการตัดสินถูกผิดสําหรับเรื่องนั้น ๆ ของบุคคล ตอไป นั่นคือหากใครมีศรัทธาในสิ่งที่ผิดทํานองคลองธรรม เขา

ความสํ า เร็ จ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ ความสนใจต อ การศึกษาพระปริยัติธรรม และสอดคลองกับงานวิจัยของ เติม ศักดิ์ คทวณิช (2549: 57) ที่ไดศึกษาปจจัยบางประการที่ เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ผลการวิจัยพบวา ปจจัย ดา นแรงจูง ใจใฝ สัม ฤทธิ์ท างการเรียนมีความสั มพัน ธ ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาชั้นปที่ 1 ดังนั้น นักเรียนที่มีแรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรม ศึกษามาก จึงมีเจตคติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรม ศึกษา 1.2 นิสัยทางการเรี ยน มีความสัมพัน ธทางบวกกับ เจตคติ ต อ การเรี ย นในหลั ก สู ต รธรรมศึ ก ษาของนั ก เรี ย น โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดง วา นักเรียนที่มีนิสัยทางการเรียนดี มีเจตคติทางบวกตอการ เรี ย นในหลั ก สู ต รธรรมศึ ก ษา ทั้ ง นี้ เ พราะ นั ก เรี ยนที่ มี นิ สั ย ทางการเรียนดี จะมีความเอาใจใสในการเรียน เตรียมหนังสือ และอุปกรณการเรียนใหพรอมกอนเขาชั้นเรียน อานหนังสือใน เรื่องที่จะเรียนมาลวงหนา เขา ชั้นเรียนอยางสม่ําเสมอ จด บันทึกความรูจากการเรียน ทําการบานสงทุกครั้ง แบงเวลา ทบทวนบทเรียน และซักถามขอสงสัยตอพระอาจารยผูสอนทั้ง ภายใน และภายนอกหองเรียน ซึ่งพฤติกรรมดังกลาวแสดงถึง ความเป น ผู มี นิ สั ย ทางการเรี ย นที่ ดี อ ยู เ ป น ปกติ ดั ง ที่ พระ ภาวนาวิริยคุณ (2546: 188; 2551ข: 24) กลาววา นิสัยเกิด จากการคิด พูด ทํา เรื่องใดเรื่ องหนึ่ง ซ้ํา ๆ บอ ย ๆ อยูเปน ประจํา ในที่สุดก็กลายเปนนิสัยประจําใจของบุคคลนั้น บุคคล ที่ศึกษา และปฏิบัติธรรมเปนกิจวัตรประจําวัน สักระยะเวลา หนึ่ง ก็จะประจักษในคุณคาของกิจวัตรไดดวยตนเองเปนอยาง ดี จึงเกิดกําลังใจที่จะทํากิจวัตรเชนนั้นเรื่อยไป ในไมชาก็จะเกิด เปนความคุนเคย และจะพัฒนาขึ้นเปนนิสัยรักการศึกษาและ การปฏิบัติธรรมในที่สุด ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ พระมหา ภักดี เกตุเรน (2547: 108-110) ที่ไดศึกษาเรื่อง ตัวแปรที่ เกี่ ย วข อ งกั บ แรงจู ง ใจในการเรี ย นวิ ช าพระพุ ท ธศาสนาของ นั ก เรี ย นศู น ย ศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนาวั น อาทิ ต ย วั ด ช า งให อํ า เภอโคกโพธิ์ จั ง หวั ด ป ต ตานี ผลการวิ จั ย พบว า นิ สั ย ทางการเรียน มีความสัมพันธทางบวกกับแรงจูงใจในการเรียน วิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียน ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนา วันอาทิตย และสอดคลองกับงานวิจัยของ อภิญญา อิงอาจ (2548: 55) ที่ไดศึกษาความสัมพันธเชิงสาเหตุของตัวแปรที่มี อิ ท ธิ ผ ลต อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าสถิ ติ เ บื้ อ งต น ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผลการวิจัยพบวา นิสัยในการ เรียนมีความสัมพันธทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 สังคมไทยที่ประสบความสําเร็จของชีวิต ไมไดมาจากการเปน นั ก เรี ย นที่ ไ ด ค ะแนนเยี่ ย มยอด แต ม าจากการเป น คนดี ที่ มี มานะ มีค วามขยัน มีป ฏิภ าณ มีค วามทะเยอทะยาน รัก ดี ใฝ ฝ น สู ที่ สู ง ฉะนั้ น พ อ แม จึ ง ควรใส ใ จ ให ค วามสุ ข ความ อบอุ น ต อ ลู ก ทํ า ครอบครัว ใหมี ค วามสุข มีค วามผู กพั น กั น ระหว า งพ อ แม ลู ก ซึ่ ง ถื อ เป น การเริ่ ม สร า งรากฐานแห ง ชี วิ ต และความสําเร็จใหกับลูก ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ ภัทธิรา รอดสการ (2548: 132) ที่ไดศึกษาองคประกอบที่มีอิทธิพลตอ เจตคติ ต อ การแสดงเผยแพร น าฏศิ ล ป ดนตรี ของนั ก เรี ย น ระดับชั้นกลาง และชั้นสูง วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย จังหวัด สุโ ขทัย ผลการวิจั ย พบวา สัมพัน ธภาพระหวา งนักเรียนกับ ผู ป กครองมี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ เจตคติ ต อ การแสดง เผยแพรนาฏศิลป ดนตรี ของนักเรียนระดับชั้นกลาง และชั้นสูง วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ดังนั้น นักเรียนที่มี สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ผู ป กครองดี จึ ง มี เ จตคติ ทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา 1.5 การสงเสริมนักเรียนในความเปนพุทธมามกะของ ผูปกครอง มีความสัมพันธทางบวกกับเจตคติตอการเรียนใน หลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัด พระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา การที่นักเรียนไดรับ การสงเสริมในความเปนพุทธมามกะของผูปกครองมาก มีเจต คติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา ทั้งนี้เพราะ พอแมสามารถถายทอดความรู ความสามารถ และความดีที่ ตนเองมีใหแกลูก จนกระทั่งมากพอที่จะเปนตนทุนทางความ เกง และความดีที่ลูกสามารถยืนหยัดอยูในโลกกวางนี้ไดอยาง ภาคภูมิใจ สิ่งสําคัญที่ตองทําใหดีที่สุดของการเปนพอแม คือ ตองหมั่นศึกษาคนควาความรูที่จะใชในการอบรมสั่งสอนลูกให เปนคนเกง และดีอยูเสมอ จึงจะทันกับพัฒนาการ และทันกับ ปญหาของลูก และตองไมเปดโอกาสใหลูกทําเรื่องผิดศีลธรรม คือ อยูบานก็ตองแบงเวลาใหการอบรมสั่งสอนลูกผานการใช สอยปจจัยสี่ ผานการทํางาน ผานกิจวัตรประจําวัน เชน การ นอน การตื่น เปนตน ลับหลังก็ฝากฝงครูบาอาจารย ญาติพี่ นอง มิตรสหาย ชวยเปนหูเปนตา คอยตักเตือนบอกกลาวลูก ไดโดยไมตองเกรงใจ อยาปลอยใหเขามีโอกาสเดินผิดทาง ถา พอแมทําสองสิ่งนี้ไดดี ลูกก็จะมีโอกาสใกลชิดกับสิ่งที่ถูกตอง มากกวาจะทําตัวเหลวไหลไปในเรื่องผิดศีลธรรม ลูกยอมคลุก คลีคุนเคยกับความคิด คําพูด การกระทําที่ดีจากพอแม และ บุคคลรอบขางอยูเปนปกตินิสัย และหลอมละลายกลายเปน ความเกง และความดีที่จ ะทํา ใหเ ขายื น หยัดในโลกนี้ไ ดดว ย ตัวเองในที่สุด (ส. ผองสวัสดิ์. 2549: 89)

ก็จะประพฤติตนผิดหรือชั่วรายเลวทราม ซึ่งจะกอใหเกิดโทษ ภั ย อย า งมหั น ต ทั้ ง แก ต นเองและสั ง คมอย า งไม มี ท างแก ไ ข ในทางกลับ กัน หากใครมีศ รัท ธาในสิ่ ง ที่ถูก ตอ งตามทํ า นอง คลองธรรม เขาก็จะประพฤติตนอยูในกรอบแหงศีลธรรมอยู เสมอ ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ หรรษา เลาหเสรีกุล (2537: 200) ที่ไดศึกษาการเรียนในโรงเรียนพุทธ ศาสนาวั น อาทิ ต ย กั บ ลั ก ษณะทางพุ ท ธศาสนา และทาง พฤติกรรมศาสตรของนักเรียนวัยรุน ผลการวิจัยพบวา ความ เชื่อทางพุทธศาสนา มีความสัมพันธทางบวกกับการปฏิบัติ ทางพุทธศาสนา และสอดคลองกับงานวิจัยของ สมคิด เหลา ฉลาด (2542: 160) ที่ไดศึกษาความเชื่อเรื่องบุญ และบาปกับ พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา ความเชื่อ เรื่องบุญ และบาป มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมเชิง จริยธรรม ดังนั้น นักเรียนที่มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา มาก จึงมีเจตคติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา 1.4 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครอง มี ความสัมพันธทางบวกกับเจตคติตอการเรียนในหลักสูตรธรรม ศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่มีสัมพันธภาพกับผูปกครองดี มี เจตคติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา ทั้งนี้เพราะ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครองเปนการปฏิบัติตน ของนักเรียนตอผูปกครอง และการปฏิบัติตนของผูปกครองตอ นักเรียน เพื่อใหเกิดความสัมพันธที่ดีตอกัน ดังมีรายละเอียด ตอไปนี้ การปฏิบัติตนของนักเรียนตอผูปกครอง ไดแก การ เคารพ เชื่อฟง การปฏิบัติตามคําสั่งสอนทั้งดานการดําเนิน ชีวิตสวนตัว การเรียน และการชวยเหลืองานภายในบาน และ การปฏิบัติตนของผูปกครองตอนักเรียน ไดแก การใหความรัก ใหกําลังใจ ดูแลเอาใจใสสุขภาพ อบรมสั่งสอน เปนที่ปรึกษา ทั้ง ดานการเรียน และดานส วนตัวให กับนักเรียน จากการที่ นักเรียนไดรับการดูแลเอาใจใสทั้งทางรางกาย และไดรับความ รัก ความอบอุน ทางจิตใจจากผูปกครอง ที่คอยเปนกําลังใจ ในดานการเรียนใหแกนักเรียนดว ยการแสดงออกทางคําพูด และการกระทํา โดยการหมั่นพูดคุย ซักถาม รับฟงความคิดเห็น และคอยติดตามถามไถเกี่ยวกับเรื่องการเรียนของนักเรียน จึง เปนการชวยกระตุนใหนักเรียนตื่นตัว มีความสนใจและเอาใจ ใสในการเรียนอยางสม่ําเสมอ ทําใหนักเรียนมีกําลังใจในการ เรียน เพราะ รูสึกวาตนเองเปนคนที่มีคุณคา เปนความหวังของ ผูปกครอง นักเรียนจึงมีความมุงมั่นตั้งใจที่จะศึกษาเลาเรียน มีความเอาใจใสในการเรียน เพื่อมุงไปสูความสําเร็จในชีวิต ดังที่ นิดดา หงษวิวัฒน (2542: 5) กลาววา ผูคนมากมายใน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เรี ย บร อ ยภายในวั ด และเพื่ อ ความปลอดภั ย ของพระภิ ก ษุ ตลอดจนสาธุชนที่ไปศึกษา และปฏิบัติธรรมที่วัด ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ พระมหา นพพร อริยาโณ (2551: 102) ที่ไดศึกษาปจจัยที่สงผลตอ ฉั น ท ะ ใ น ก า ร เ รี ย น ข อ ง นิ สิ ต ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี ค ณ ะ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัด ศรีสุดาราม เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัย พบว า ลั ก ษณะทางกายภาพภายในมหาวิ ท ยาลั ย มี ความสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ ฉั น ทะในการเรี ย นของนิ สิ ต ระดั บ ปริ ญ ญาตรี คณะมนุษ ยศาสตร มหาวิท ยาลัย มหาจุฬ าลง กรณราชวิ ท ยาลั ย วั ด ศรี สุ ด าราม เขตบางกอกน อ ย กรุงเทพมหานคร ดังนั้น การมีลักษณะทางกายภาพภายใน วั ด ที่ ดี จึ ง ทํ า ให นั ก เรี ย นมี เ จตคติ ท างบวกต อ การเรี ย นใน หลักสูตรธรรมศึกษา 1.7 ลั ก ษณะทางกายภาพภายในโรงเรี ย น มี ความสัมพันธทางบวกกับเจตคติตอการเรียนในหลักสูตรธรรม ศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี อยา งมีนัยสํา คัญ ทาง สถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่เรียนในโรงเรียนที่มี ลักษณะทางกายภาพภายในโรงเรียนดี มีเจตคติทางบวกตอ การเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา ทั้งนี้เพราะ สภาพแวดลอม การเรียนรูสนับสนุนการเรียนรูหลายดาน เชน ทําใหผูเรียน เกิดความประทับใจ เปนตัวกระตุนผูเรียนใหมีความสนใจ และ เกิดแรงจูงใจในการเรียน เปลี่ยนเจตคติไปในทางที่ดี มีความ พึ ง พอใจในการเรี ย น ช ว ยให เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ปจจัยสําคัญในกระบวนการเรียนการสอนก็คือ ความรูสึกที่เกิด จากตัวผูเรียน ความรูสึกพึงพอใจ สนใจ อยากเรียน อยากรู ซึ่งจะเปนตัวการนําไปสูการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพในที่สุด ดังนั้น ถาผูเรียนอยูในสภาพแวดลอมการเรียนรูที่สมบูรณ ทั้ง ทางดานกายภาพ จิตภาพ และทางดานสังคมภาพแลว จะ ช ว ยกระตุ น ให ผู เ รี ย นเกิ ด ความรู สึ ก ดั ง กล า วได และ สภาพแวดลอมทางการเรียนรูเสริมสรางบรรยากาศในการเรียน สภาพแวดลอมการเรียนรูที่ดีจะทําใหบรรยากาศในการเรียน เอื้อตอการเรียนการสอนใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิผลมาก ที่สุ ด ในสภาพแวดล อ มทางกายภาพที่มี ค วามสะดวกสบาย สงบ ปราศจากสิ่งรบกวน ชวยสรางบรรยากาศทางวิชาการให เกิดขึ้น ทําใหผูเรียนมีความกระตือรือรนที่จะศึกษาหาความรู หรือทํากิจกรรมการเรียนตาง ๆ อยางตั้งใจ และมีสมาธิ ยิ่งถา ผูสอน และผูเรียนรวมชั้นซึ่งจัดวาเปนสภาพแวดลอมการเรียนรู ดานจิตภาพมีบุคลิกลักษณะที่อบอุน เปนมิตร ก็จะยิ่งทําให บรรยากาศในการเรียนการสอนเปนไปในทิศทางที่พึงประสงค มากยิ่งขึ้น (อรพันธุ ประสิทธิรัตน. 2546: 268)

ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ นฤมล จอมพลาพล (2546: 62-63) ที่ไดศึกษาปจจัยที่สัมพันธกับ แรงจูงใจเยาวชนที่เขารับการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน : ศึกษากรณีวัด พระธรรมกาย จัง หวัดปทุม ธานี ผลการวิจั ย พบว า ป จ จั ย ด า นการส ง เสริ ม ความเป น พุ ท ธมามกะมี ความสัมพันธกับแรงจูงใจเยาวชนที่เขารับการบรรพชาสามเณร ภาคฤดูรอน โดยเยาวชนที่ศึกษา รอยละ 53.4 มีบิดามารดาที่ สงเสริมความเปนพุทธมามกะ โดยรวมอยูในระดับมาก ดังนั้น การสงเสริมนักเรียนในความเปนพุทธมามกะของผูปกครอง มาก จึงทําใหนักเรียนมีเจตคติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตร ธรรมศึกษา 1.6 ลักษณะทางกายภาพภายในวัด มีความสัมพันธ ทางบวกกับ เจตคติ ตอ การเรี ยนในหลั กสู ต รธรรมศึ ก ษาของ นักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอ คลองหลวง จั ง หวั ด ปทุ มธานี อย า งมี นัย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่เรียนในวัดที่มีลักษณะทาง กายภาพภายในวัดดี มีเจตคติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตร ธรรมศึกษา ทั้งนี้เพราะ สภาพแวดลอมของวัดจะชวยอํานวย ความสะดวก และสรางบรรยากาศการเรียนที่ดีใหแกนักเรียน ไดแก การมีสาธารณูปโภคที่สะดวกครบครัน มีบรรยากาศ ภายในวั ด ที่ ส งบ ร ม รื่ น สะอาด และมี ค วามเป น ระเบี ย บ เรียบรอย ดังที่ พระภาวนาวิริยคุณ (2545: 303-304) กลาววา การที่วัดจะสามารถดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายเพื่อฝกอบรม ประชาชนในชุมชนไดนั้น วัดจะตองมีความพรอมในดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับลักษณะทางกายภาพในวัด ไดแก บริเวณวัด ไดรับการพัฒนาใหสะอาดรมรื่น อาคารหรือศาลาที่จะใหญาติ โยมเขาประชุมพรอมกัน เพื่อฟงธรรมหรือเจริญภาวนา ตองอยู ในสภาพสะอาดเรียบรอยเสมอ จะมีโตะเกาอี้หรือไม ไมจําเปน ขอแตเพียงมีเสื่อที่สะอาดปูบนพื้นคอนกรีตใหญ าติโยมนั่ง ก็ ใชไดแลว สําหรับหองน้ํา ตองรักษาใหสะอาดเสมอ ถาชํารุด เสียหายตองซอมใหอยูในสภาพที่ใชการไดดี ทั้งตองมีจํานวน มากพอสมควร หอ งน้ํ า ที่ สกปรก มีจํ า นวนไม เพี ยงพอ เป น สาเหตุหนึ่งที่ญาติโยมไมอยากไปวัด ถาไมจําเปน บริเวณวัด โดยทั่วไปตองสะอาด ถนนหรือทางเดินเทาทุกสายในวัดตอง จัดทําใหสะอาด ปราศจากมูลสุนัข เปด ไก เลอะเทอะ สง กลิ่นเหม็นหรือมีหญาขึ้นรกรุงรังสองขางทาง ซึ่งนอกจากจะไม นาดูแลว ยังอาจไมปลอดภัยจากอสรพิษอีกดวย นอกจากนี้ ภายในบริเวณวัด ควรปลูกตนไมใหญเพื่อใหรมรื่น ปลูกไม ดอกไมประดับ ปลูกหญาในสนาม เพื่อใหดูสวยงาม และดูด มลพิษ อาณาบริเวณวัดที่สะอาด เรียบรอย รมรื่น สวยงาม ยอมเปนเสนหอยางหนึ่งที่ดึงดูดผูคนใหเขามาเยี่ยมชม และ ศึกษาปฏิบัติธ รรมที่วั ด ควรมีรั้วรอบขอบชิด กําหนดอาณา บริ เ วณของวั ด อย า งชั ด เจน ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ความเป น ระเบี ย บ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ที่ 2 โ ร ง เ รี ย น ส า ร ส า ส น เ อ ก ต ร า เ ข ต ย า น น า ว า กรุงเทพมหานคร ดังนั้น นักเรียนที่มีการเลียนแบบพระสงฆที่ ศรัทธามาก จึงทําใหนักเรียนมีเจตคติทางบวกตอการเรียนใน หลักสูตรธรรมศึกษา 2. ปจจัยที่สงผลตอ เจตคติตอการเรียนในหลักสูตร ธรรมศึ ก ษาของนั ก เรี ย น โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม วั ด พระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัย โดยเรียงลําดับจาก ปจจัยที่สงผลมากที่สุดไปหาปจจัยที่สงผลนอยที่สุด ไดแก การ เลี ย นแบบพระสงฆ ที่ ศ รั ท ธา (X12) ลั ก ษณะทางกายภาพ ภายในวัด (X10) แรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรม ศึกษา (X5) การสงเสริมนักเรียนในความเปนพุทธมามกะของ ผูปกครอง (X9) และลักษณะทางกายภาพภายในโรงเรียน ( X11) อภิปรายผลไดดังนี้ 2.1 การเลียนแบบพระสงฆที่ศรัทธา เปนปจจัย อั น ดั บ แรกที่ ส ง ผลต อ เจตคติ ต อ การเรี ย นในหลั ก สู ต รธรรม ศึ ก ษา อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงว า นักเรียนมีการเลียนแบบพระสงฆที่ศรัทธามาก ทําใหนักเรียนมี เจตคติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา เปน อันดับแรก ทั้งนี้เพราะ พระสงฆเปนผูทรงไวซึ่งพระธรรมวินัย ของพระสัมมาสัมพุทธเจา จึงอยูในฐานะครูผูประเสริฐอันเปนที่ เคารพสักการะของทั้งมนุษย และเทวดาทั้งหลาย พรอมทั้งเปน ตนแบบทางศีลธรรมที่ดีงามของเหลาพุทธศาสนิกชนทั้งปวง ดังที่ พระภาวนาวิริยคุณ (2545: 160) กลาววา สิ่งที่คฤหัสถ ทั้ ง หลายจะต อ งตระหนั ก ก็ คื อ คนเราทุ ก คนจํ า เป น ต อ งมี ความรูทั้งทางโลก และทางธรรม จึงจะสามารถดําเนินชีวิตอยู รวมกันในสังคมไดอยางสงบสุข ไมเบียดเบียนกัน และมีความ เจริญกาวหนาความรูทางโลก จําเปนตองมีครูบาอาจารยเปน ผู อ บรมสั่ ง สอนชี้ แ นะฉั น ใด ความรู ท างธรรมก็ ฉั น นั้ น จําเปนตองมีครูบาอาจารยอบรมสั่งสอนชี้แนะเชนเดียวกันซึ่ง ครูบาอาจารยที่ทรงภูมิรูทางธรรมสวนใหญก็คือ พระภิกษุสงฆ และสุรางค โควตระกูล (2550: 243) กลาววา คุณลักษณะ ของตัวแบบมีอิทธิพ ลตอการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ ของผูเรียน พฤติกรรมเสริมสรางสังคม และทําลายสังคม ก็ เรียนรูจากการสังเกตเปนสวนมาก รวมทั้งสิ่งที่เปนนามธรรม ตาง ๆ และทัศนคติ จึงตองระลึกเสมอวาการเรียนรูดวยการ เลียนแบบเกิดขึ้นเสมอ ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ ณพรัตน ไกรษรวงศ (2545: 60-61) ที่ไดศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการ เข า มาบรรพชาอุ ป สมบท : ศึ ก ษาเฉพาะกรณี พระนิ สิ ต นักศึกษาชั้นปที่ 1-4 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ผลการวิจัยพบวา ขอวัตรปฏิบัติที่นาเลื่อมใสของพระในวัด มี อิทธิพลตอการเขามาบรรพชาอุปสมบทของพระนิสิตนักศึกษา

ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับงานวิจัยของเบ็ญจว รรณ เหมือนสุวรรณ (2547: 104) ที่ไดศึกษาปจจัยที่สงผลตอ แรงจู ง ใจในการเล น เป ย โนให ไ ด เ กณฑ ม าตรฐานชั้ น สู ง ของ นั ก เรี ย นเป ย โนในสถาบั น ดนตรี เ อกชน กรุ ง เทพมหานคร ผลการวิจัยพบว า ลักษณะทางกายภาพ มีความสัมพัน ธ ทางบวกกับแรงจูงใจในการเลนเปยโนใหไดเกณฑมาตรฐาน ชั้นสูง และสอดคลองกับงานวิจัยของ พระมหาสิทธิชัย ชาว เพชร (2549: 95) ที่ไดศึกษาความพึงพอใจของผูบริหารและ พนักงาน ในกลุมเครือเจริญโภคภัณฑ ที่มีตอการบริหารการ จั ด การเรี ย นการสอนธรรมศึ ก ษาของวั ด สุ ทั ศ นเทพวราราม ผลการวิจัยพบวา ผูบริหารและพนักงานผูเรียนธรรมศึกษา มี ความพึง พอใจในระดับมากตอ บรรยากาศของหอ งเรียนที่ มี ความเหมาะสม ไดแก แสงสวาง ความทันสมัยของอุปกรณ การเรียนการสอน ความสมบูรณของเอกสาร และตําราเรียน ดังนั้น การมีลักษณะทางกายภาพภายในโรงเรียนที่ดี จึงทําให นักเรียนมีเจตคติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา 1.8 การเลียนแบบพระสงฆที่ศรัทธา มีความสัมพันธ ทางบวกกั บ เจตคติ ตอ การเรี ยนในหลั กสู ต รธรรมศึ ก ษาของ นักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอ คลองหลวง จั ง หวั ด ปทุ มธานี อย า งมี นัย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่เลียนแบบพระสงฆที่ศรัทธามาก มีเ จตคติท างบวกต อ การเรี ย นในหลั ก สูต รธรรมศึก ษา ทั้ง นี้ เพราะ พระสงฆเปนผูทรงไวซึ่งพระธรรมวินัย เปนผูปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ถึงพรอมดว ยปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ เปน ผูที่ บุคคลทั่วไปควรแสดงความเคารพกราบไหว และอยูในฐานะ ของครูผูเปนตนแบบในการปลูกฝงศีลธรรมแกพุทธศาสนิกชน ทั้งหลาย ดังที่ พระภาวนาวิริยคุณ (2551ข: 10) กลาววา เรา ตองมีบุคคลตนแบบหรือมีครูตนแบบในโลกนี้ เพราะ เราเกิดมา พรอมกับความไมรูจริงอะไรเลย คือ เราเกิดมาพรอมกับอวิชชา หรือเกิดมาพรอมกับความโงนั่นเอง คือ ไมไดรูอะไรเลย แลว คอยมาศึกษาเอาภายหลังทั้งนั้น ศึกษาจากคุณพอคุณแมบาง คุณ ครูบา ง พระสงฆบาง ลุง ปา นา อาบา ง คอยสะสม ความรูกันมาตามลําดับ ๆ และสอดคลองกับ พระธรรมปฎก (2544: 87) ที่กลาววา คนเราจะเดินหนาในการพัฒนาก็ตอง รูจักเลือกหาแหลงความรู เริ่มตั้งแตรูจักเลือกคบคน ซึ่งไมใช เปนแหลงความรูเทานั้น แตเปนแหลงของความดีงามดวย โดยเฉพาะเด็ก ๆ นั้น มักจะคอยทําตามแบบอยาง ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ อรรณอ ลันช เพชรทองคํา (2551: 68) ที่ไดศึกษาปจจัยที่สงผลตอการ วางแผนในการใชเวลาวางของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 โรงเรียนสาร สาสนเอกตรา เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัย พบวา การเลีย นแบบครูใ นการใชเวลาวางมีค วามสัมพัน ธ ทางบวกกับการวางแผนในการใชเวลาวางของนักเรียนชวงชั้น


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ประการหนึ่ง คือ ความพร อ มในด า นต า ง ๆ วัด พระเชตุพ น วิ ม ลมั ง คลาราม ราชวรมหาวิ ห าร มี ค วามพร อ มในด า น ลั ก ษณะทางกายภาพ มี ก ารแบ ง แยกสั ด ส ว นของเขต พุ ท ธาวาส และสั ง ฆาวาสอย า งชั ด เจน และสอดคล อ งกั บ งานวิจัยของ พระมหาชัยนาท อรรคบุตร (2542: 43-44) ที่ได ศึกษาแรงจูงใจในการเขาวัดของคนไทยที่นับถือศาสนาพุทธ: ศึ ก ษากรณี วั ด กั ล ยาณมิ ต รวรมหาวิ ห าร กรุ ง เทพมหานคร ผลการวิ จั ย พบว า ป จ จั ย ด า นความสงบ ร ม รื่ น สวยงามใน บริ เ วณวั ด ส ง ผลต อ แรงจู ง ใจในการเข า วั ด กั ล ยาณมิ ต ร วรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร ดังนั้น การมีลักษณะทาง กายภาพภายในวัดที่ดี จึงทําใหนักเรียนมีเจตคติทางบวกตอ การเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา 2.3 แรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรม ศึกษา เปนปจจัยอันดับที่สามที่สงผลตอเจตคติตอการเรียนใน หลั กสู ต รธรรมศึก ษา อย า งมี นัย สํา คั ญ ทางสถิ ติ ที่ร ะดั บ .01 แสดงวา การที่นักเรียนมีแรงจูงใจในการสมัครเรียนใน หลักสูตรธรรมศึกษามาก ทําใหนักเรียนมีเจตคติทางบวกตอ การเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา เปนอันดับที่สาม ทั้งนี้เพราะ แรงจูงใจเปนพลัง ผลักดันที่ทําใหนักเรียนมีความสนใจ และ ตั้งใจที่จะศึกษาเลาเรียนใหประสบผลสําเร็จ ดังที่ สมเด็จพระ มหารัชมังคลาจารย (2550: ออนไลน) กลาววา การใหเด็ก และเยาวชนได เ รี ย นธรรมศึ ก ษาตรี โท และเอก เป น สิ่ ง ที่ ดี เพราะเมื่อ บุคคลเขาใจในพระพุทธศาสนาแลวก็จะสามารถ นํามาปรับใชกับการดําเนินชีวิตไดเปนอยางดี รวมทั้งจะสราง ประโยชนสุขตามความเหมาะสมกับการปฏิบัติ ขณะเดียวกัน ก็เปนเรื่องที่นายินดีที่กระทรวงศึกษาธิการจะมีการบันทึกผล การสอบธรรมศึกษาของนักเรียนลงในหลักฐานการศึกษาดวย ซึ่ง จะทํา ใหเด็ก และเยาวชนมี ค วามอุต สาหะที่จ ะศึก ษาพระ ธรรมคําสั่งสอนมากขึ้น ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ เบ็ญจว รรณ เหมือนสุวรรณ (2547: 109) ที่ไดศึกษาปจจัยที่สงผลตอ แรงจู ง ใจในการเล น เป ย โนให ไ ด เ กณฑ ม าตรฐานชั้ น สู ง ของ ผู เ รี ย นเป ย โนในสถาบั น ดนตรี เ อกชน กรุ ง เทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา ทัศนคติตอการเลนเปยโนสงผลตอแรงจูงใจ ในการเลนเปยโนใหไดเกณฑมาตรฐานชั้นสูง และสอดคลอง กับงานวิจัยของ ทิพาพร สุจารี (2551: 133) ที่ไดศึกษาปจจัยที่ ส ง ผลต อ ประสิ ท ธิ ภ าพการฝ ก ประสบการณ วิ ช าชี พ ของ นักศึกษา โปรแกรมวิชาภาษาอัง กฤษ คณะมนุษยศาสตร และสั ง คมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ มหาสารคาม ผลการวิ จัย พบวา แรงจู ง ใจในการฝก ประสบการณวิช าชี พ ส ง ผลต อ ประสิ ท ธิ ภ าพการฝ ก ประสบการณ วิ ช าชี พ ของ นักศึกษา โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ดังนั้น

ชั้นปที่ 1-4 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ดังนั้น นักเรียน ที่มีการเลียนแบบพระสงฆที่ศรัทธามาก จึงทําใหนักเรียนมีเจต คติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา 2.2 ลักษณะทางกายภาพภายในวัด เปนปจจัย อัน ดับ ที่สองที่สงผลตอเจตคติตอ การเรียนในหลักสูตรธรรม ศึกษา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา การมี ลั ก ษณะทางกายภาพภายในวั ด ดี ทํ า ให นั ก เรี ย นมี เ จตคติ ทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา เปนอันดับที่สอง ทั้งนี้เพราะ สภาพแวดลอมภายในวัดไดรับการเอาใจใส และ ดู แ ลรั ก ษาเป น อย า งดี ทํ า ให มี บ รรยากาศการเรี ย นรู ที่ ดี มี ประสิทธิภาพ และชวยสรางแรงจูงใจในการเรียนแกนักเรียน ทําใหนักเรียนมีความสุขที่ไดมาเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา ดังที่ พระภาวนาวิริยคุณ (2545: 77) กลาววา พระสัมมาสัม พุทธเจาทรงมีพระปญญาตระหนักในคุณคาของสิ่งแวดลอม เปนอยางยิ่ง จึงทรงหามพระภิกษุมิใหทําลายสิ่งแวดลอมดวย ประการตาง ๆ ดังจะเห็นจากตัวอยางสิกขาบทที่ทรงบัญญัติไว ดังนี้ ทรงบัญญัติสิกขาบท ปรับอาบัติปาจิตตียแกภิกษุที่ทําให ตนไมตาย ปรับอาบัติทุกกฎแกภิกษุที่เผาปา และถายอุจจาระ ปสสาวะหรือบวนน้ําลายลงบนของเขียว (ตนไม) ลงในน้ํา และ จากพุทธประวัติ เรายอมทราบวา พระสัมมาสัมพุทธเจานั้นทรง ประทั บ อยู อ ย า งใกล ชิ ด กั บ สิ่ ง แวดล อ มตามธรรมชาติ อ ย า ง แทจริง นับตั้งแต การประสูติ การเสด็จออกบรรพชา การ ตรั ส รูพ ระสั ม มาสั ม โพธิ ญ าณ การเผยแผ พ ระพุท ธศาสนา และการเสด็จดับขันธปรินิพพาน ทั้งหมดนี้ยอมมีนัยแสดงวา สิ่ ง แวดล อ มตามธรรมชาติ ที่ ดี พ ร อ มนั้ น สามารถอํ า นวย ความสุขทั้งทางกาย และใจใหแกมนุษย และสอดคลองกับ พระสุธีวรญาณ (2541: 242) ที่กลาววา กิจกรรมในดานการ บํารุงรักษาวัด เปนสิ่งจําเปน เพราะ ถาวัดมีแบบแปลนแผนผัง ดี สะอาด ปลอดโปรง มีตนไมรมรื่น บรรยากาศสงบเย็น สิ่ง เหล า นี้ล ว นเปน เสนาสนสั ป ปายะ คือ สถานที่ ส ะดวกสบาย เหมาะสมแกการศึกษา และปฏิบัติของพระภิกษุสามเณร และ ประชาชนทั่วไป เปนการจัดสิ่งแวดลอมใหดี เปนที่เลื่อมใสแกผู ไดเขาไปในวัดทุกคน ซึ่งการรักษาความสะอาดนี้นอกจากเปน หนาที่ตามพระวินัยแลว ยังเปนระเบียบของหมูคณะที่จะตอง ชวยกันทํา จะละเลยมิได ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ วรสิกา อังกูร (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2548: 153; อางอิงจาก วรสิกา อังกูร. 2548) ที่ไดศึกษารูปแบบการจัด การศึกษา และเผยแผศาสนธรรมของวัดในพระพุทธศาสนา: ศึกษากรณีแหลงการเรียนรูของวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิ ห าร กรุ ง เทพมหานคร ผลการวิ จั ย พบว า องคป ระกอบของความสํา เร็ จ ในการจัดวัด ใหเปน แหลง การ เรี ยนรู ข องวัด พระเชตุพ นวิ มลมัง คลาราม ราชวรมหาวิห าร


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เรียนการสอนให มีป ระสิท ธิภ าพได อาคารเรีย นเป น อาคาร คอนกรีตสีขาว 2 ชั้น จํานวน 6 หลังเรียงแถวเปนแนวเดียวกัน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ อาคาร 1 ชั้นลางเปนสํานักงานของ โรงเรียนพระปริยัติธรรม และหองพักพระอาจารย เปนที่ติดตอ ขอรับตําราเรียน เอกสารประกอบการเรียน ติดตอสอบถามและ สงการบาน ชั้นบน เปนหองอบรมคอมพิวเตอร หองถายทํา รายการออกทางโทรทัศนชองดีเอ็มซี และสํานักงานของแผนก ตาง ๆ อาคาร 2 เปนอาคารเอนกประสงค ชั้นลางเปนโถง กวาง ชั้นบนเปนหองขนาดใหญติดเครื่องปรับอากาศ ใชเปน หองปฏิบัติธรรม ประชุม อบรม หรือประกอบพิธีกรรม เชน พิธี ไหวครู เปนตน อาคาร 3–5 เปนอาคารเรียน มีหองเรียนขนาด เหมาะสมกับจํานวนนักเรียน ภายในหองเรียนมีอากาศถายเท ไดส ะดวก อุณ หภู มิพ อเหมาะ แสงสวา งเพียงพอ มีค วาม สะอาด และจั ด วางโต ะ เก า อี้ อ ย า งเป น ระเบี ย บเรี ย บร อ ย ปราศจากเสียงรบกวน และกลิ่น ที่ไ มพึง ประสงค มีการจัด ตกแต ง และแสดงป า ยนิ เ ทศที่ แ จ ง ข อ มู ล ประชาสั ม พั น ธ ใ ห ความรูเรื่องราวที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ดานสื่อการเรียนการ สอน มีตํารา และเอกสารประกอบการเรียนในหลักสูตรธรรม ศึกษาอยางเพียงพอ และเอื้อตอการเรียนรูของนักเรียนเปน อย า งดี กล า วคื อ มี อุ ป กรณ ก ารเรี ย นการสอนที่ ทั น สมั ย มี คุ ณ ภาพ พร อ มใช ง าน และมี ป ริ ม าณเพี ย งพอกั บ จํ า นวน นักเรียน และอาคาร 6 เปนศูนยวิทยบริการ (หองสมุด) มีการ ให บ ริ ก ารห อ งสมุ ด ที่ มี ห นั ง สื อ และสื่ อ การเรี ย นรู ต า ง ๆ ที่ เกี่ยวของกับหลักสูตรธรรมศึกษา เพื่อการคนควาอยาง เพียงพอ โดยพื้นที่รอบอาคารทั้ง 6 หลัง แวดลอมดวยตนไม และสวนหยอม สวนบริเวณระหวางอาคาร มีการจัดวางที่นั่งใต ตนไม ซึ่งเหมาะสําหรับการอานหนังสือ ดังที่ สมศักดิ์ บุญปู (2547: 348-349) ไดกลาวถึงการจัดสภาพของสถานศึกษาที่ สนับสนุนใหผูเรียนพัฒนาตามหลักพุทธธรรม และสงเสริมให ผู เ รี ย นพั ฒ นาชี วิ ต ไว ว า สถานศึ ก ษาควรจั ด อาคารสถานที่ สภาพแวดล อ ม ห อ งเรี ย น และแหล ง เรี ย นรู ที่ ส ง เสริ ม การ พัฒนาศีล สมาธิ และปญญา เชน มีศาลาพระพุทธรูปเดน เหมาะสมที่จะชวนใหระลึกถึงพระรัตนตรัยอยูเสมอ มีมุมหรือ ห อ งให ศึ ก ษาพุ ท ธธรรม บริ ห ารจิ ต เจริ ญ ภาวนาอย า ง เหมาะสม หรือมากพอที่จะบริการผูเรียน มีการตกแตงบริเวณ ใหเปนธรรมชาติหรือใกลชิดธรรมชาติ ชวนใหมีใจสงบ และ สงเสริมปญญา เชน รมรื่น มีปายนิเทศ ปายคุณธรรม ดูแล เสียงตาง ๆ มิใหอึกทึก ถาเปดเพลงกระจายเสียงก็พิถีพิถัน เลือกเพลงที่สงเสริมสมาธิ ประเทืองปญญา เปนตน ดังนั้น การ มีลักษณะทางกายภาพภายในโรงเรียนที่ดี จึงทําใหนักเรียนมี เจตคติทางบวกตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา

นักเรียนที่มีแรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา มาก จึ ง ทํ า ให นั ก เรี ย นมี เ จตคติ ท างบวกต อ การเรี ย นใน หลักสูตรธรรมศึกษา 2.4 การสงเสริมนักเรียนในความเปนพุทธมามกะของ ผูปกครอง เปนปจจัยอันดับที่สี่ที่สงผลตอเจตคติตอการเรียน ในหลักสูตรธรรมศึกษา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา การสงเสริมนักเรียนในความเปนพุทธมามกะของ ผูปกครองมาก ทําใหนักเรียนมีเจตคติทางบวกตอการเรียนใน หลักสูตรธรรมศึกษา เปนอันดับที่สี่ ทั้งนี้เพราะ ผูปกครอง เปนผูที่ใกลชิดกับนักเรียนมากที่สุด จึงเปนผูที่มีบทบาทหนาที่ สํ า คั ญ ในการปลู ก ฝ ง ศี ล ธรรมขั้ น พื้ น ฐานให แ ก นั ก เรี ย นได โดยตรง เพื่อใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ และสามารถ ปฏิบัติตนไดถูกตองในการทําหนาที่ของชาวพุทธที่ดี โดยให ศีลธรรมไดเขาไปอยูในใจนักเรียน เปนเสมือนภูมิคุมกันที่คอย ปกปองใหปลอดจากโรครายตาง ๆ ที่มารบกวน กลาวคือ สามารถตัดใจจากการประพฤติชั่วทางกาย วาจา และใจได เด็ดขาด และมีกําลังใจที่อาจหาญ ราเริง และมุงมั่นที่จะทํา ความดีใ หเต็มที่ทุกครั้งเมื่อมีโอกาส จนเกิดเปนนิสัยที่ดี ประจําตัว ดังที่ พระภาวนาวิริยคุณ (2546: 188-189) กลาว วา การปลูกฝงสัมมาทิฐิใหแกลูก ๆ นั้น เปนหนาที่รับผิดชอบ สําคัญยิ่งของพอแมทุกคน มิใชปลอยใหเปนภาระหนาที่ของ ผูอื่น หรือพี่เลี้ยง แมครูอาจารยที่โรงเรียนของลูก ผูเปนพอแม พึ ง ตระหนั ก เสมอว า ตนมี ลู ก เพี ย งสองสามคน ถ า ยั ง ไม สามารถจะอบรมบมนิสัยลูกใหเปนคนดีมีสัมมาทิฐิไดแลว จะ หวังใหครูอาจารยที่โรงเรียนของลูก ซึ่งตองดูแลรับผิดชอบเด็ก นักเรียนเปนจํานวนมาก สามารถทําหนาที่อบรมนิสัยเด็ก ๆ ได ดี ก ว า ผู เ ป น พ อ แม ข องเด็ ก ได อ ย า งไร ดั ง นั้ น ผู เ ป น พ อ แม จะตองไดรับการปลูกฝงอบรมใหเขาใจวาตนมีบทบาทสําคัญ อยางยิ่งตอการสงเสริมผูคนใหไปสวรรค หรือผลักดันใหไปลง นรก นั่นคือ ลูกจะเปนสัมมาทิฐิ หรือมิจฉาทิฐิ ลวนขึ้นอยูกับ การทําหนาที่ และการทําตัวเปนตัวอยางของผูเปนพอแมเปน สําคัญ ดังนั้น การสงเสริมนักเรียนในความเปนพุทธมามกะ ของผูปกครองมาก จึงทําใหนักเรียนมีเจตคติทางบวกตอการ เรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา 2.5 ลักษณะทางกายภาพภายในโรงเรียน เปนปจจัย อั น ดั บ ที่ ห า ที่ ส ง ผลต อ เจตคติ ต อ การเรี ย นในหลั ก สู ต รธรรม ศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จั งหวัดปทุมธานี อย า งมีนัยสํา คัญ ทาง สถิติที่ระดับ .01 แสดงวา การมีลักษณะทางกายภาพภายใน โรงเรี ย นดี ทํ า ให นั ก เรี ย นมี เ จตคติ ท างบวกต อ การเรี ย นใน หลักสูตรธรรมศึกษา เปนอันดับที่หาซึ่งเปนอันดับสุดทาย ทั้ ง นี้ เ พราะ โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม วั ด พระธรรมกาย มี สภาพแวดลอมการเรียนรูที่ดี จึงชวยเสริมสรางบรรยากาศการ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะทั่วไป ผลการวิ จั ย ครั้ ง นี้ คณะผู บ ริ ห าร คณะพระ อาจารยผูสอน เจาหนาที่ฝายตาง ๆ รวมทั้งผูที่มีสวนเกี่ยวของ กับโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลอง หลวง จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี สามารถนํ า ไปใช เ ป น ข อ มู ล ประกอบการพิจารณาในการกําหนดนโยบายดานการจัดการ เรียนการสอนในโรงเรีย นพระปริยัติธ รรม วัด พระธรรมกาย อํ า เภอคลองหลวง จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี เพื่ อ ให ส ามารถ ดําเนินการจัดการเรียนการสอนไดสอดคลองกับเจตคติตอการ เรียนในหลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน ดังนั้น คณะผูบริหาร คณะพระอาจารยผูสอน เจาหนาที่ฝายตาง ๆ รวมทั้งผูที่มีสวน เกี่ยวของจึงควรพิจารณา และสงเสริมปจจัยที่สงผลตอเจตคติ ตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษาของนักเรียน โรงเรียนพระ ปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย อําเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี ทั้ง 5 ปจจัย โดยเรียงลําดับจาก ปจจัยที่สงผลมาก ที่ สุ ด ไปหาป จ จั ย ที่ ส ง ผลน อ ยที่ สุ ด ได แ ก การเลี ย นแบบ พระสงฆที่ศรัทธา ลักษณะทางกายภาพภายในวัด แรงจูงใจ ในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา การสงเสริมนักเรียน ในความเป น พุ ท ธมามกะของผู ป กครอง และลั ก ษณะทาง กายภาพภายในโรงเรียน ผูวิจัยมีขอเสนอแนะทั่วไป ดังตอไปนี้ 1.1 คณะผูบริหารควรสงเสริมสนับสนุนพระสงฆ ในความปกครองใหสามารถศึกษาเลาเรียนทั้งภาคปริยัติ และ ปฏิบัติ เพื่อพัฒนาความรูควบคูศีลาจารวัตรของพระสงฆใหถึง พรอมบริบูรณดวยศีล สมาธิ ปญญา ซึ่งจะเปนที่ตั้งแหงศรัทธา และเปนแบบอยางในการปฏิบตั ิตนที่ดีงามของสาธุชนทั้งมวล 1.2 ควรมีการจัดสภาพแวดลอมภายในวัด ให สะอาด รมรื่น สงบ มีการบริหารจัดการระบบสาธารณูปโภค ตลอดจนระบบสุขาภิบาล ใหเพียงพอกับสาธุชนผูมาวัด 1.3 ควรมีการประชาสัมพันธหลักสูตรธรรมศึกษา ผานทางวิทยุ โทรทัศน และเทคโนโลยีสารสนเทศในรูปแบบ

ตาง ๆ เพื่อสรางแรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรม ศึกษา 1.4 พอแม หรือผูปกครองที่ใกลชิดกับนักเรียน ควร เป น แบบอย า งชาวพุ ท ธที่ ดี และสนั บ สนุ น ให นั ก เรี ย นได ประพฤติตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ดวยการให ทาน รักษาศีล และเจริญสมาธิ 1.5 มีการจัดสภาพแวดลอมภายในโรงเรียนให เหมาะสมกับบรรยากาศการเรียนการสอนทางพระพุทธศาสนา ดวยการจัดตกแตงภายในหองเรียน และบริเวณรอบโรงเรียน ดวยปายนิเทศที่ใหความรูทางดานพระพุทธศาสนาซึ่งจะชวย สงเสริมนิสัยรักการอาน และการศึกษาคนควาดวยตนเอง อัน เป น พื้ น ฐานที่สํ า คั ญ ของการเรี ย นรู รวมทั้ ง มี ก ารให บ ริ ก าร หองสมุดที่ มีหนังสือ และสื่อการเรียนรูตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ หลักสูตรธรรมศึกษา เพื่อการศึกษาคนควาอยางเพียงพอ 2. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยในครั้งตอไป 2.1 ควรมีการวิจัยปจจัยที่สงผลตอเจตคติตอการ เรี ย นในหลั ก สู ต รอื่ น ๆ เช น หลั ก สู ต รพระไตรป ฎ กศึ ก ษา หลักสูตรอภิธรรมศึกษา เปนตน 2.2 ควรศึกษาปจจัยที่สงผลตอเจตคติตอการเรียน ในหลักสูตรธรรมศึกษาของผูเรียนในกลุมอื่น ๆ เชน ผูตองขัง ในทัณฑสถาน พนักงานบริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) เปนตน 2.3 ควรนําปจจัยที่สงผลตอเจตคติตอการเรียนใน หลักสูตรธรรมศึกษาทั้ง 3 ปจจัย ไดแก การเลียนแบบพระสงฆ ที่ศรัทธา แรงจูงใจในการสมัครเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา และการส ง เสริ ม นั ก เรี ย นในความเป น พุ ท ธมามกะของ ผูปกครอง ไปพัฒนาเปนการวิจัยเชิงทดลอง โดยใชเทคนิคทาง จิตวิทยาเพื่อพัฒนาเจตคติตอการเรียนในหลักสูตรธรรมศึกษา เชน กิจ กรรมกลุม สัมพัน ธ เทคนิค แม แ บบ บทบาทสมมติ การศึกษาบุคคลเปนรายกรณี เปนตน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

บรรณานุกรม กรมการศาสนา. (2550). ธรรมศึกษาชั้นตรีฉบับปรับปรุงใหมที่ประกาศใชปจจุบัน. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สํานักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กรมฯ. ชูชีพ ออนโคกสูง. (2550). จิตวิทยศัพท. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เติ มศักดิ์ คทวณิช. (2549, มกราคม-ธัน วาคม). ปจจัยบางประการที่เกี่ย วขอ งกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึก ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. วิชาการศึกษาศาสตร. 7(1-3) : 56. นฤพล จอมพลาพล. (2546). ปจจัยที่สัมพันธกับแรงจูงใจเยาวชนที่เขารับการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน : ศึกษา กรณีวัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี. ภาคนิพนธ ศป.ม. (พัฒนาสังคม). กรุงเทพฯ: คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ถายเอกสาร. นิดดา หงสวิวัฒน. (2542). สอนลูกใหกตัญู. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: แสงแดด. ณพรัตน ไกรษรวงศ. (2545). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเขามาบรรพชาอุปสมบท: ศึกษาเฉพาะกรณี พระนิสิตนักศึกษา ชั้นปที่ 1-4 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. สารนิพนธ ศศ.ม. (การบริหารองคการ). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก. ถายเอกสาร. ณุ กู ล ยิ้ ม ศิ ริ . (2546). ตั ว แปรที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ แรงจู ง ใจในการเรี ย นภาษาญี่ ปุ น ในสถาบั น การศึ ก ษาเอกชน กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ทิพาพร สุจารี. (2551, พฤษภาคม-สิงหาคม). ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพการฝกประสบการณวิชาชีพของนักศึกษา โปรแกรมวิ ช าภาษาอั ง กฤษ คณะมนุ ษ ยศาสตร และรั ฐ ศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 2(2): 133. เบ็ญจวรรณ เหมือนสุวรรณ. (2547). ปจจัยที่สงผลตอแรงจูงใจในการเลนเปยโนใหไดเกณฑมาตรฐาน ชั้นสูงของ ผูเ รี ย นเป ย โนในสถาบั น ดนตรี เ อกชน กรุ ง เทพมหานคร. ปริ ญ ญานิ พ นธ กศ.ม.(จิ ต วิ ท ยาการศึ ก ษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ปยาภรณ ครองจันทร. (2546). ปจจัยสวนบุคคลและบรรยากาศองคการที่มีอิทธิพลตอการเรียนรูดวยตนเอง. สืบคน เมื่อ 5 กุมภาพันธ 2552, จากhttp://www.thaihrhub.com/index.php/archives/research-view/ research-515/ ผกามาศ กมลพรวิจิตร; วิภาดา ทาวประยูร; และมนู วาทิสุนทร. (2552). การศึกษาเรื่องบทบาทและความสัมพันธของวัด และพระสงฆกับผูสูงอายุไทย. สืบคนเมื่อ 20 กุมภาพันธ 2552, จากhttp://www.hp.anamai.moph.go.th/brain/temp1.docพระครูปลัดเมธาวัฒน (พงษ ธนิโย). (2551, 15 กรกฎาคม). สัมภาษณโดย วาที่รอยตรี ประพนน ชูจําปา ที่สํานักงานแมกอง ธรรมสนามหลวง. พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2544). ธรรมกับการศึกษาพัฒนาชีวิต. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : พระพุทธศาสนาของธรรมสภา. พระพรหมมุนี (จุนท พฺรหฺมคุตฺโต). (2550, 16 ธันวาคม). เด็กวัยรุนเรียนธรรมศึกษายอดเขาสอบพุง 1.6 ลานคน. ขาว สด. สืบคนเมื่อ 22 กรกฎาคม 2551, จาก http://www.matichon.co.th/khaosod/vi...MHhNaTB4Tmc9PQ== พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว). (2545). คัมภีรปฏิรูปมนุษย. พิมพครั้งที่ 1. ปทุมธานี: มูลนิธิธรรมกาย. --------------. (2546). เขาไปอยูในใจ. พิมพครั้งที่ 1. ปทุมธานี: ชมรมพุทธศาสตรสากล ในอุปถัมภสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย. --------------. (2551ก). ศรัทธา : รุงอรุณแหงสันติภาพโลก. พิมพครั้งที่ 1. ปทุมธานี: กองวิชากาอาศรมบัณฑิต. --------------. (2551ข). บาน วัด โรงเรียน : ตนแบบฟนฟูศีลธรรมโลก. พิมพครั้งที่ 1. ปทุมธานี: กองวิชาการ อาศรมบัณฑิต. พระมหาชั ยนาท อรรคบุตร. (2542). แรงจูงใจในการเขา วัดของคนไทยที่นับถือศาสนาพุทธ: กรณีศึกษา วั ด กัลยาณมิตรวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ ศศ.ม. (การบริหารองคการ). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก. ถายเอกสาร.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย). (2551). ปจจัยที่สงผลตอฉันทะในการเรียนของพระนิสิตระดับปริญญาตรี คณะ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีสุดารามเขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ. ถายเอกสาร. พระมหาภักดี เกตุเรน. (2547). ตัวแปรที่เกี่ยวของกับแรงจูงใจในการเรียนวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียนศูนย ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย วัดชางให อําเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปตตานี. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยา การศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. พระมหาสิทธิชัย ชาวเพชร. (2549). ความพึงพอใจของผูบริหารและพนักงานในกลุมเครือเจริญโภคภัณฑที่มีตอการ บริหารการจัดการเรียนการสอนธรรมศึกษาของวัดสุทัศนเทพวราราม. วิทยานิพนธ ศษ.ม. (ศึกษาศาสตร). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ถายเอกสาร. พระมหาสุข สุวีโร (มีนุช). (2539). ความสนใจตอการศึกษาพระปริยัติธรรมของพระสงฆ: ศึกษากรณีพระนิสิต มหา จุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย . วิ ท ยานิ พ นธ สม.ม. (สั ง คมวิ ท ยา). กรุ ง เทพฯ : บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ถายเอกสาร. พระมหาสุ ช าติ ใหมอ อ น. (2550). ป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ พฤติ ก รรมการเรี ย นของพระนิ สิ ต คณะมนุ ษ ยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. พระมหาสุรสิทธิ์ วรสิทฺโธ. (2551, 28 สิงหาคม). สัมภาษณโดย วาที่รอยตรี ประพนน ชูจําปา ที่โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัด พระธรรมกาย. พระสุธีวรญาณ (ณรงค จิตฺตโสภโณ). (2541). พุทธศาสตรปริทรรศน : รวมผลงานทางวิชาการเกี่ยวกัพระพุทธศาสนา. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ภัทธิรา รอดสการ. (2548). องคประกอบที่มีอิทธิพลตอเจตคติตอการแสดงเผยแพรนาฏศิลป ดนตรีของนักเรียน ระดั บ ชั้ น กลาง และชั้ น สู ง วิ ท ยาลั ย นาฏศิ ล ป สุ โ ขทั ย จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย . ปริ ญ ญานิ พ นธ กศ.ม. (จิ ต วิ ท ยา การศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ลวน สายยศ; และอังคณา สายยศ. (2543). การวัดดานจิตพิสัย. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. ส. ผองสวัสดิ์. (2549). คัมภีรปฏิรูปมนุษย ภาคครอบครัวอบอุน. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ชมรมพุทธศาสตรสากล ใน อุปถัมภสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย. สมคิด เหลาฉลาด. (2542). ความเชื่อเรื่องบุญ และบาปกับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ พช.ม. (พัฒนาชุมชน). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ถายเอกสาร. สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย (ชวง วรปุฺโ). (2550, 10 เมษายน). หนุนเรียนธรรมศึกษาขัดเกลาจิตใจ. เดลินิวส. สืบคนเมื่อ 22 กรกฎาคม 2551, จาก http://www.dmc.tv/pages/news/2007-04-1.html สมศักดิ์ บุญปู. (2547). พระสงฆกับการศึกษาไทย. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สํานักงานแมกองธรรมสนามหลวง. (2550). เรื่องสอบธรรมของสนามหลวง แผนกธรรม พ.ศ. 2550. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สํานักงานฯ. สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2545). รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ : สํานัก ประชาสัมพันธ สํานักงานฯ. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2548). การประชุมทางวิชาการการวิจัยทางการศึกษา ครั้งที่ 11=The 11 th national symposium on education research 26-27 สิงหาคม 2548.กรุงเทพฯ: สํานักวิจัยและพัฒนาการศึกษา สํานักงานฯ. ------------. (2551). บทบาทศาสนากับการปฏิรูปการศึกษา. สืบคนเมื่อ 28 กรกฎาคม 2551, จาก http://www.thaiwisdom.org/p_religion/article_ re/norm/article_rea2.htm สุรางค โควตระกูล. (2550). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 หรรษา เลาหเสรีกุล. (2537). การเรียนในโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตยกับลักษณะทางพุทธศาสนาและทาง พฤติกรรมศาสตรของนักเรียนวัยรุน. ปริญญานิพนธ วท.ม. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตรประยุกต). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. อภิญญา อิงอาจ. (2548, กรกฎาคม-ธันวาคม). “ความสัมพันธเชิงสาเหตุของตัวแปรที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาสถิติเบื้องตน ของนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ” BU ACADEMIC REVIEW. 4(2): 55. อรพันธุ ประสิทธิรัตน. (2546, เมษายน). สภาพแวดลอมการเรียนรู. ใน สารานุกรมศึกษาศาสตรฉบับเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสพระชนมายุ 4 รอบ วันที่ 2 เมษายน 2546. คณะกรรมการโครงการสารานุกรมศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 267-270. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อรรณอลันช เพชรทองคํา. (2551). ปจจัยที่สงผลตอการวางแผนในการใชเวลาวางของนักเรียนชวงชั้นที่ 2 โรงเรียน สารสาสนเอกตรา เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา).กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. Yamane Taro. (1967). Statistic and Introductory Analysis. New York: Harper and Row.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

การศึกษาและพัฒนาวุฒิภาวะทางอาชีพดวยคูมือ การคนพบอาชีพของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนจันทรหุนบําเพ็ญ เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร THE STUDY AND DEVELOPMENT OF CAREER MATURITY BY USING CAREER DISCOVERY MANUAL OF THE FOURTH LEVEL-SECONDARY EDUCATION GRADES 4-6 STUDENTS, CHUANHONBOMPENT SCHOOL. HUAI KHWANG DISTRICT, BANGKOK. วิกานดา ชัยรัตน1 รองศาสตราจารย ดร. นันทา สูรักษา2 อาจารย ดร. เสกสรรค ทองคําบรรจง3 บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมาย 3 ประการ คือประการ แรกเพื่ อ ศึ ก ษาวุ ฒิ ภ าวะทางอาชี พ ของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 จํ า แนกตามเพศ ระดั บ ชั้ น และผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ประการที่สองเพื่อเปรียบเทียบวุฒิภาวะดานอาชีพของนักเรียน กอนและหลังการใชคูมือการคนพบอาชีพ และประการ ที่สาม เพื่อเปรียบเทียบวุฒิภาวะดานอาชีพของกลุมทดลองที่ไดรับ การใชคูมือการคนพบอาชีพและกลุมควบคุมที่ไมไดใชคูมือการ ค น พบอาชี พ กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาวุ ฒิ ภ าวะด า น อาชีพเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนจันทร หุนบําเพ็ญ กรุงเทพ ฯ จํานวน 318 คน สวนกลุมตัวอยางที่ใช ในการพัฒนาวุฒิภาวะทางอาชีพ คือนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ที่มี คะแนนวุฒิภาวะทางดานอาชีพตั้งแตเปอรเซนไทลที่ 25 ลงมา และสมัครใจเขารวมกลุมจํานวน 24 คน โดยแบงเปน 2 กลุม คือ กลุมทดลอง และกลุมควบคุม กลุมละ 12 คน เครื่องมือที่ ใชในการวิจัย ไดแก แบบสํารวจวุฒิภาวะทางดานอาชีพ และ คูมือการคนพบอาชีพ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ t-test และ F – test 1

นิสิตระดับปริญญาโท คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3 อาจารยประจําภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ผลการศึกษาวุฒิภาวะทางอาชีพ พบวานักเรียน หญิงมีวุฒิภาวะทางอาชีพสูงกวานักเรียนชายอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นสู ง มี วุ ฒิ ภ าวะทางอาชี พ สู ง กว า นั ก เรี ย นที่ มี ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นระดั บ ปานกลาง และระดั บ ต่ํ า ตามลําดับอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สวนการ พัฒนาวุฒิภาวะทางอาชีพ พบวานักเรียนกลุมทดลองหลังจาก ไดรับการใชคูมือการคนพบอาชีพ มีวุฒิภาวะทางอาชีพมีสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.01 และนักเรียนกลุมทดลอง ที่ไดรับการใชคูมือการคนพบอาชีพมีวุฒิภาวะทางอาชีพอาชีพ สู ง กว า นั ก เรี ย นกลุ ม ควบคุ ม อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 คําสําคัญ : วุฒิภาวะทางอาชีพ, การคนพบอาชีพ, อาชีพ Abstract The purposes of this research had two folds ; (1) to determine the differences of career maturity by gender, grade level and G.P.A ( Grade Point Adverage ), and (2) to compare the student’s career maturity before and after using career discovery manual. And (3) to compare the career maturity of the experimental group and the control group before and after the experiment. The subjects were 318 students in the Fourth level – secondary education grades 4 - 6 of Chuanhonbompent School, Huai Khwang , Bangkok in 2008. The subjects were 24 students whose scores on career maturity were lower than the pencentile ranks of 25. They were randomly devided into two groups which were a control group and an experimental group and each group consisted of 12 students. The results were as follows ; (1) The career maturity of female students were significantly higher than male students at .01 level. The career maturity of the students with high G.P.A score as revealed higher than the students whose G.P.A score were average and low respectively. (2)The career maturity of the students significantly increased before and after using the career discovery manual at .01 level, (3) The career maturity of the students participanted in the career discovery manual were significantly higher than those students in the control group at .01 level. Key Words : Career maturity, Career discovery Manual, Career

ความเปนมาของปญหาวิจัย การแนะแนวอาชีพ เปนกระบวนการที่ชวยใหเด็กและ เยาวชนรูจักตนเองมีประสบการณ มีทักษะในการศึกษาตนเอง ทางดานความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และบุคลิกภาพ รูจักโลกของอาชีพ สามารถนําขอมูลของตนเองและอาชีพมาใช เปนแนวทางในการวางแผนการเรียน ชีวิต และอาชีพ ( กรม วิชาการ. 1 : 2546 ) ดังนั้น การเตรียมความพรอมในการเลือก อาชีพซึ่ง ซูเปอร (Super. 1975 : 186) เรียกวาวุฒิภาวะทาง อาชี พ ของบุ ค คล คื อ การที่ บุ ค คลมี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต อ การเลื อ ก อาชีพ มีขอมูลทางอาชีพอยางเพียงพอ มีความพึงพอใจในการ เลือกเปาหมาย ประเมินตนเอง ตลอดจนสามารถแกปญหา เกี่ยวกับอาชีพได และซูเปอร (Super. 1960 : 8 – 9) ไดแบง ลั ก ษณะของวุ ฒิ ภ าวะด า นอาชี พ ของวุ ฒิ ภ าวะทางอาชี พ 1 (Vocational Muturity I หรือ VM.I) หมายถึง ระยะของชีวิต ซึ่ง แต ล ะบุ ค คลเป น อยู จ ริ ง ๆ ในช ว งนั้ น ซึ่ ง จะดู ไ ด จ ากงาน พัฒนาการ ซึ่งบุคคลผูนั้นกําลังปฏิบัติ นํามาสัมพันธกับสิ่งที่ เขาคาดหวั ง ไว ว า เขาจะทํ า และวุ ฒิ ภ าวะทางอาชี พ 2 (Vocational Maturity II หรือ VM.II) หมายถึง พฤติกรรมทาง อาชีพ ในลักษณะที่เปนผูใหญแลว กลาวคือ เกิดขึ้นจริงๆ (โดย ไมคํานึงถึงชวงชีวิตที่คาดหวังไว) ซึ่งเปนพฤติกรรมที่แสดงให เห็นจากงานพัฒนาการในชวงชีวิตขณะนั้น ซึ่งองคประกอบ เหลานี้รวมเรียกวาวุฒิภาวะทางอาชีพอันเปนสิ่งที่สําคัญและ จํ า เป น อย า งมากสํ า หรั บ นั ก เรี ย นในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอน ปลาย ( ม. 4 – ม. 6 ) หรือนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ที่จะตองใชเวลา ในการเตรียมตัวเพื่องานอาชีพ จากการศึกษาคนควาเอกสาร และงานวิจัยทางอาชีพ ทํ า ให ผู วิ จั ย พบโปรแกรมการค น พบอาชี พ ของแอลวู ด ชาร ปแมน (Elwood N. Chapman) ซึ่งเปนหนังสือที่มีแบบฝกหัด ใหนักเรียนไดฝกการวางแผนอาชีพ และเปนหนังสือที่นักเรียน สามารถศึ ก ษาได ด ว ยตนเอง โดยไม จํ า กั ด วั น เวลา และ สถานที่ จากขอมูลดังกลาวทําใหผูวิจัยมีความสนใจสรางคูมือ การคนพบอาชีพใหนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 – ม.6) หรือนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โดยมีจุดมุงหมายเพื่อให นักเรียนมีความเขาใจตนเองในการพิจารณาวางแผนการศึกษา ตอในระดับสูงตอไปเพื่อเลือกอาชีพใหเหมาะสมกับตนเองให ตรงกับความสนใจ ความสามารถ ความถนัดของตนเอง และ เปน แนวทางในการชว ยเหลือ ครูแ นะแนวใหดูแ ลนักเรียนได อยางเต็มที่ คูมือการคนพบอาชีพจะชวยใหนักเรียนไดกําหนด เป า หมายทางอาชี พ ของตนเอง โดยวิ ธี ก ารทดลองจะเป น วิธีการเรียนรูดวยตนเอง ซึ่งจะมีแบบฝกหัดเพื่อใหนักเรียนได ทดลองวางแผนทางอาชี พ ตามแต ล ะขั้ น ตอน และจะให นั ก เรี ย นได ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ ต ามคู มื อ ด ว ยตนเองตาม จุดมุงหมายของคูมือ นักเรียนจะตองสังเกต ปฏิบัติตามคูมือ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 และบันทึกหลังจากนั้น นักเรียนจะไดประเมินตนเองในแตละ ครั้ง รวมทั้งหมด 12 ครั้ง เพื่อชวยใหนักเรียนมองเห็นวิธีการ คนหา และเลือกอาชีพใหเหมาะสมกับตนเอง จุดมุงหมายการวิจัย การศึ ก ษาค น คว า ครั้ ง นี้ เ ป น การวิ จั ย และพั ฒ นา (Research and Development) วุฒิภาวะทางดานอาชีพของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 ( ม. 4 – ม. 6 ) โดยมีจุดมุงหมายดังนี้ 1. เพื่อศึกษาวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนชวง ชั้นที่ 4 (ม.4 – ม.6) โรงเรียนจันทรหุนบําเพ็ญ จําแนกตาม เพศ ระดับชั้น และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.เพื่อเปรียบเทียบวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียน กลุมทดลองกอนและหลังการใชคูมือ การคนพบอาชีพ 3. เพื่อเปรียบเทียบวุฒิภาวะทางดานอาชีพของ นักเรียนกลุมทดลองและกลุมควบคุม สมมติฐานการวิจัย 1.วุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนแตกตางกัน เมื่อ จําแนกตามตัวแปรเพศ ระดับชั้น และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.วุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนกลุมทดลองสูงขึ้น หลังจากการใชคูมือการคนพบอาชีพ 3.นักเรียนกลุมทดลองที่ใชคูมือการคนพบอาชีพมี คะแนนวุฒิภาวะทางอาชีพสูงกวานักเรียนกลุมควบคุม วิธีดําเนินการและผลการวิจัย ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ไ ด แ บ ง วิ ธี ดํ า เนิ น การศึ ก ษา ออกเปน 2 ตอน ดังนี้ กลุมตัวอยาง ตอนที่ 1 การศึกษาวุฒิภาวะทางดานอาชีพ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชวงชั้นที่ 4 (ม.4 – ม.6) โรงเรียนจันทร หุนบําเพ็ญ เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร จํานวนทั้งหมด 318 คน เปนเพศชาย 170 คน และเปนเพศหญิง148 คน เครื่องมื อที่ใช ทดลองไดแกแ บบสอบถามขอ มูลสวนตัว และ แบบสํารวจวุฒภิ าวะทางอาชีพแบงออกเปน 2 สวนดังนี้ แบบสํารวจวุฒิภาวะทางอาชีพ มี 5 ดานคือ ดานที่ 1 การประเมินบุคคล จํานวน 12 ขอ ดานที่ 2 การรูจักขอมูล ทางอาชีพ จํานวน 11 ขอ ดานที่ 3 การรูจักลักษณะงาน จํานวน 14 ขอ ดานที่ 4 การวางแผนทางอาชีพ จํานวน 15 ขอ ดานที่ 5 การแกปญหาทางอาชีพ จํานวน 13 ขอ และแบบ สํารวจแตละขอมี 5 ตัวเลือก มีคะแนนคาความยากงาย ( Item

difference ) อยูระหวาง 0.00-0.78 คาอํานาจจําแนก (Item Discrimination ) มีคาระหวาง -0.30 -0.806 และคาความ เชื่อมั่นดวยสูตร KR-20 ของคูเดอร-ริชารดสัน ทั้งฉบับมีคา 0.885 ตอนที่ 2 การพั ฒ นาวุ ฒิ ภ าวะทางอาชี พ ของ นักเรียน กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนที่มีคะแนนวุฒิภาวะทาง อาชีพตั้งแตเปอรเซนไทลที่ 25 ลงมา และสมัครใจเขารวมการ พัฒนาจํานวน 24 คน และสุมเปนกลุมทดลอง และกลุม ควบคุม จํานวนกลุมละ 12 คน ซึ่งนักเรียนกลุมทดลองไดใช คูมือ การคนพบอาชีพจํานวน12 ครั้ง และกลุมควบคุมจะไมได รั บ การใช คู มื อ การค น พบอาชี พ โดยคู มื อ การค น พบอาชี พ ประกอบดวย 5 สวน โดยแบงตามลําดับ ดังนี้ สว นที่ 1 การประเมิ น ตนเอง ใหนั ก เรี ยนได วางเปาหมายชีวิต เปาหมายอาชีพ และสํา รวจตนเอง เรื่อ ง ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ ความชอบของตนเอง สวนที่ 2 การรูขอมูลทางอาชีพ ใหนักเรียนรูจัก ลักษณะการทํางานของอาชีพซึ่งจะแบงอยูในแตละประเภท เพื่อชวยใหนักเรียนคนพบอาชีพที่ตนสนใจ สวนที่ 3 ความรูเกี่ยวกับการเลือกงาน ใหนักเรียน รูจักรูปแบบการทํางาน ขอบเขตของการทํางาน เพื่อ ชว ยให นักเรียนไดตัดสินใจในการเลือกอาชีพ สวนที่ 4 การวางแผนทางดานอาชีพ ใหนักเรียนได วางแผน โดยพิจารณาองคประกอบของตนเองแตละดานวามี ความสอดคลองกับอาชีพที่ตนเองเลือกไวหรือไม สวนที่ 5 การแกปญหาทางอาชีพ ใหนักเรียนได ลองแก ป ญ หาทางอาชี พ ด ว ยตนเองโดยพิ จ ารณาจากกรณี ตัวอยาง ผลการวิจัย การวิเคราะหขอมูล ใชสถิติรอยละ คาเฉลี่ย และสวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ t-test และความแปรปรวน ทางเดียว ( One – Way ANOVA ) ตอนที่ 1 การศึกษาวุฒิภาวะทางอาชีพ 1.1 เมื่อเปรียบเทียบวุฒิภาวะโดยจําแนกตามเพศ พบว า นั ก เรี ย นหญิ ง มี ค ะแนนวุ ฒิ ภ าวะทางอาชี พ สู ง กว า นักเรียนชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01 ดังแสดงใน ตารางที่ 1


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ตาราง 1 ตารางเปรียบเทียบวุฒิภาวะทางอาชีพ จําแนกตามเพศ วุฒิภาวะ เพศชาย เพศหญิง

วุฒิภาวะทางอาชีพ X

33.47 39.79

SD 14.01 12.41

t-ratio

p-value

4.26

.001

1.1 เมื่อเปรียบเทียบวุฒิภาวะทางอาชีพจําแนกตาม และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ตามลําดับ อยางมี ระดับชั้นพบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ย นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ดังแสดงในตาราง 2 วุฒิภาวะทางอาชีพสูงสุด รองลงมานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 1.2 ตาราง 2 ตารางเปรียบเทียบวุฒิภาวะทางอาชีพ จําแนกตามระดับชั้น วุฒิภาวะ ระดับชั้น นักเรียนชั้น ม.4 นักเรียนชั้น ม.5 นักเรียนชั้น ม. 6

วุฒิภาวะทางอาชีพ

t-ratio

X

SD

31.12 35.35 41.58

12.28 13.37 13.33

12.70

p-value

.000

1.3 เมื่อเปรียบเทียบรายคูดวยวิธีการของเชฟเฟ ( นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีวุฒิภาวะทางอาชีพไมแตกตาง Scheffe’s )โดยจําแนกตามระดับชั้น พบวา นักเรียนชั้น จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่5 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป มัธยมศึกษาปที่ 6 มีวุฒิภาวะทางอาชีพสูงกวานักเรียนชั้น ที่ 5 มี วุ ฒิ ภ าวะทางอาชี พ ไม แ ตกต า งจากนั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปที่4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ มัธยมศึกษาปที่4 ดังแสดงในตาราง 3 ตาราง 3 ตารางเปรียบเทียบวุฒิภาวะทางอาชีพ จําแนกตามระดับชั้นดวยวิธีการของเชฟเฟ ( Scheffe’s ) ขอมูลสวนตัว MD S.E p-value นักเรียนชั้นม. 4 นักเรียนชั้น ม. 5 -423 1.98 .105 นักเรียนชั้น ม. 6 -10.46 2.17 .000 นักเรียนชั้น ม. 5 นักเรียนชั้น ม. 4 -4.23 1.98 .105 นักเรียนชั้น ม. 6 -6.22 1.60 .001 นักเรียนชั้น ม. 6 นักเรียนชั้น ม. 4 10.46 2.17 .000 นักเรียนชั้น ม. 5 6.22 1.69 .001 1.4 การเปรี ย บเที ย บรายคู ด า นวุ ฒิ ภ าวะทางอาชี พ ในกลุ ม นักเรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนแตกตา งกัน พบวา กลุ ม นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมากกวา 3.00 มีวุฒิภาวะ ทางอาชีพสูงกวา กลุมนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา กวา 2.00 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และกลุม นักเรียนที่มีผลฤทธิ์ทางการเรียนมากกวา 3.00 มีวุฒิภาวะทาง

อาชีพสูงกวากลุมนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวาง 2.00 – 2.99 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สําหรับ กลุมนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํากวา 2.00 มีวุฒิ ภาวะทางอาชี พ ไม แ ตกต า งจากกลุ มนั ก เรีย นที่มี ผ ลสัม ฤทธิ์ ทางการเรียนระหวาง 2.01 – 2.99 ดังแสดงในตาราง 4


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

ตาราง 4 ตารางเปรียบเทียบวุฒิภาวะทางอาชีพจําแนกตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยวิธีการของเชฟเฟ ( Scheffe’) ขอมูลสวนตัว ต่ํากวา 2.00 ( N1 = 22 ) ระหวาง 2.00 – 2.99 ( N2 = 195 ) มากกวา 3.00 ( N3 = 101 )

MD -8.88 -22.92 8.88 -14.03 22.92 14.03

ระหวาง 2.00 -2.99 มากกวา 3.00 ต่ํากวา 2.00 มากกวา 3.00 ต่ํากวา 2.00 ระหวาง 2.00 – 2.99

S.E 2.59 2.71 2.59 1.41 2.71 1.41

p-value .003 .000 .003 .000 .000 .000

ตอนที่ 2 การพัฒนาวุฒิภาวะดานอาชีพโดยใชคูมือการคนพบอาชีพ ผลการทดลองปรากฏวานักเรียนกลุมทดลองหลังจากที่ไดรับ การจั ด การเรี ย นการสอนด ว ยคู มื อ การค น พบอาชี พ แล ว มี คะแนนวุฒิภาวะทางอาชีพสูงกวากอนไดรับการจัดการเรียน การสอนดวยคูมือการคนพบอาชีพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ.01 และพบวานักเรียนกลุมควบคุมหลังจากที่ไดรับการ จัดการเรียนการสอนคาบแนะแนวตามปกติแลวมีวุฒิภาวะทาง

อาชี พ สู ง กว า ก อ นการจั ด การเรี ย นการสอนคาบแนะแนว ตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อยางไรก็ตาม ระดับคะแนนเฉลี่ยวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนกลุมทดลอง ที่ไดรับการใชคูมือการคนพบอาชีพเพิ่มสูงกวาคะแนนเฉลี่ยของ นักเรียนกลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ดัง แสดงในตาราง 5

ตาราง 5 ผลการเปรียบเทียบวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนกลุมทดลอง ( n1 = 12 ) และนักเรียนกลุมควบคุม ( n2 = 12 ) กอน และหลังการใชคูมือการคนพบอาชีพ

กลุมทดลอง กลุมควบคุม Mean Difference t-test p-value

Mean ( SD ) Pre-test 13.33 ( 2.05 ) 13.41 ( 1.83 ) 13.37 ( 1.94 ) 0.105 0.918

Mean Difference 34.00 ( 3.67 ) 13.33 ( 6.29 )

Post-test 47.33 ( 4.27 ) 26.75 ( 6.56 ) 34.08 ( 5.41 ) 9.10 .000

t-value

p-value

34.11

.000

7.34

.000

n = 24 n1 = 12 n2 = 12 แสดงบทบาทจากการทํางานจริงในชีวิต เด็กหญิงจึงเขาใจการ ทํางานในอนาคตไดดีและเร็วกวาเด็กชาย สอดคลองกับ ผลงานวิจัยของลุซโซ( Luzzo. 1995 : 319 - 322) ที่ศึกษาวิจัย เรื่ อ งวุ ฒิ ภ าวะทางอาชี พ ของนั ก เรี ย นและอุ ป สรรคด า นการ พัฒนาอาชีพพบวาเพศจะมีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกอาชีพ ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า โ ด ย นั ก เ รี ย น ห ญิ ง จ ะ มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร

อภิปรายผล ตอนที่ 1 การศึกษาวุฒิภาวะทางอาชีพ 1.1 ผลการวิจัยพบวานักเรียนหญิงมีวุฒิภาวะทาง อาชีพ สูงกวานั กเรียนชาย ซึ่งสอดคลองกับทฤษฎีอาชีพของ กินซเบิรก( Ginzberg. 1951 : 1790 ) ที่พบวาเด็กหญิง สามารถเลือ กอาชี พ ได เป น จริ ง กวา เด็ ก ชาย เพราะมีโ อกาส


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เกี่ยวกับประสบการณตาง ๆ เพื่อชวยใหรูจักเกี่ยวกับขอมูล ของแตละอาชีพ โดยสอดคลองคูมือการคนพบอาชีพที่จะชวย ใหนักเรียนสํารวจเกี่ยวกับอาชีพตาง ๆ และใหนักเรียนไดทํา แบบฝกหัดเพื่อคนหาขอมูลทางอาชีพทางการสํารวจเกี่ยวกับ อาชีพตาง ๆอยางละเอียด และมีการวางแผนทางอาชีพ ซึ่งมี ความสอดคลองกับทฤษฎีพัฒนาการอาชีพของซูเปอร (นัน ทา สูรักษา. 2548 : 12 – 15 ; อางอิงจาก Super. 1990) ที่ ไดอธิบายวา ระยะการสํารวจ ( Exploration stage ) จะอยู ในชวงอายุประมาณ 15 – 24 ป ซึ่งเปนระยะที่เริ่มมีการ สํ า รวจตนเอง และอาชี พ โดยมี ก ารแสวงหาข อ มู ล จาก กิ จ กรรมต า ง ๆ ภายในโรงเรี ย น มี ก ารทํ า งานพิ เ ศษ นอกเหนือจากเวลาเรียน การไดทํางานอดิเรก และการไดเลน บทบาทสมมติ เ กี่ย วกั บ อาชี พ และสอดคลอ งกั บ ระยะการ พิจารณาเลือกอาชีพ (Tentative substage ) ที่อยูในอายุ ระหวาง 15 – 17 ป โดยบุคคลที่อยูในชวงนี้จะมีการพิจารณา และได ล องเลื อ กอาชี พ ตามความต อ งการ ความสนใจ ความสามารถ และความถนัด ทําใหมีโอกาสไดเลือกอาชีพ เพิ่ ม มากขึ้ น ซึ่ ง ในระยะนี้ เ กิ ด จากความพยายามใช จินตนาการเกี่ยวกับอาชีพของตนเองที่ใกลเคียงกับความเปน จริง และการไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องการทํางาน ล ว นมี ส ว นนํ า มาพิ จ ารณาเลื อ กอาชี พ นอกจากนี้ ไ ด สอดคลองกับขั้นการเปลี่ยนแปลง (Transition substage) ที่ อยูในชวงอายุ 18 – 21 ป ซึ่งเปนขั้นที่บุคคลไดพิจารณาการ เลื อ กอาชี พ ตามสภาพความเป น จริ ง มากขึ้ น เช น การ พิจารณาตนเอง การพิจารณาโอกาสทางการศึกษา และการ พิจารณาโอกาสที่จะไดงานทํา โดยในขั้นนี้บุคคลจะไดเริ่ม ฝ ก หั ด ทั ก ษะการศึ ก ษาเฉพาะด า น จึ ง อาจจะส ง ผลทํ า ให นักเรียนชวงชั้นที่ 4 ที่อยูในชวงอายุระหวาง 16 – 18 ป ที่ได ทดลองใชคูมือการคนพบอาชีพมีวุฒิภาวะทางอาชีพสูงขึ้น ขอเสนอแนะ ผลจากการวิจัยครั้งนี้ ทําใหทราบวาการใชคูมือการ คนพบอาชีพ สามารถทําใหกลุมตัวอยางมีวุฒิภาวะเพิ่มขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ คูมือการคนพบอาชีพในครั้งนี้ชวย ใหนักเรียนรูจักสํารวจตนเอง เพื่อพิจารณาวาตนเองมีความ เหมาะสมกับอาชีพที่สนใจหรือไมอยางไร และสงเสริมให นักเรียนคนพบอาชีพที่เหมาะสมกับตนเองมากยิ่งขึ้น มีดังนี้ 1. ขอเสนอแนะทั่วไป 1.1. การใชคูมือการคนพบอาชีพ พบวาเพศหญิง มี วุ ฒิ ภ าวะทางอาชี พ สู ง กว า เพศชาย อาจมี ก ารพั ฒ นา รูปแบบใหมีความสอดคลองกับเพศชายเพิ่มมากขึ้น 1.2 การใช คู มื อ การค น พบอาชี พ ควรปรั บ รู ป แบบวั ต ถุ ป ระสงค ขั้ น ตอน วิ ธี ก าร ให นั ก เรี ย นที่ มี ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นต่ํ า เพื่ อ เป น แนวทางการตั ด สิ น ใจ

ตั ด สิ น ใจเลื อ กอาชี พ ได เ หมาะสมกว า นั ก เรี ย นชายอย า งมี นัยสําคัญทางสถิติ 1.2 เมื่ อ จํ า แนกตามระดั บ ชั้ น พบว า นั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 6 จะมีคะแนนวุฒิภาวะทางอาชีพ สูงกวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 และปที่ 6 ตามลําดับ ซึ่ง สอดคล องกับทฤษฎีพัฒนาการทางอาชีพของ กินซเบอรก (Ginzberg) ( นันทา สูรักษา. 2548 ; อางอิงจาก Ginzberg. ) เนื่องจากวาระยะการเลือกอาชีพตามความเปน จริงจะอยูในชวงอายุ 17 – 21 ป ซึ่งจะมีการพิจารณาการ เลื อ กอาชี พ ตามสภาพของความเป น จริ ง และพิ จ ารณา องค ป ระกอบของตนเองทั้ ง ความสนใจ ความสามารถ คานิยม และองคประกอบดานอาชีพ เพื่อใชในการตัดสินใจ เลือกอาชีพตามสภาพความเปนจริง และทําใหอาจสงผลให นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีคะแนนวุฒิภาวะทางอาชีพสูง กวา 1.3 การจําแนกตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบวา นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต างกันจะมีระดับ คะแนนวุ ฒิ ภ าวะทางอาชี พ แตกต า งกั น นั้ น โดยอาจเป น เพราะว า นั ก เรี ย นที่ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นสู ง จะมี พฤติ ก รรมของนั ก เรี ยนที่ แ สดงออกอย า งสม่ํา เสมอในการ เรียนและเลือกใช เลือกปฏิบัติตามความชอบ ความเหมาะสม กับตนเอง เพื่อใหพฤติกรรมที่ตนเองเลือกนั้นชวยสงเสริมการ เรียนของตนใหดีขึ้น โดยพฤติกรรมการเรียนนี้อาจไดมาจาก การคนพบดวยตนเอง หรือการปรับประยุกตใชของผูอื่นให เหมาะสมกับตนเอง ( กัมปนาท ศรีเชื้อ. 2551 : Online ) 2. การพัฒนาวุฒิภาวะทางอาชีพ พบวานักเรียนที่ ใชคูมือการคนพบอาชีพจะมีวุฒิภาวะทางอาชีพที่สูงขึ้น โดย สอดคลองกับกระบวนการแนะแนวอาชีพที่ชวยใหเด็กและ เยาวชนรู จั ก ตนเอง มี ป ระสบการณ มี ทั ก ษะในการศึ ก ษา ตนเองในด า นความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และ บุคลิกภาพ มีการรูจักโลกของอาชีพ ทําใหนักเรียนสามารถ นํ า ข อ มู ล ตนเองและอาชี พ มาใช เ ป น แนวทางในการวาง แผนการเรียน ชีวิต และอาชีพ ตัดสินใจเลือกอาชีพ เตรียมตัว พัฒนาตน เพื่อพัฒนางานใหสรางฐานะทางเศรษฐกิจใหกับ ตนเอง ครอบครั ว และประเทศชาติ ต อ ไป ( กรมวิ ช าการ. 2546 : 1 ) และสอดคลองกับ ผองพรรณ เกิดพิทักษ ( ปญญาทิพย ทิมวงศ. 2542 ; อางอิงจากผองพรรณ เกิด พิทักษ. 2529 : 62 – 63 ) ไดกลาวถึงขั้นตอนในการสอน เกี่ยวกับอาชีพ โดยขั้นตอนแรกจะเปนดานการรูจักและเขาใจ ตนเอง เพื่อทําใหนักเรียนรูจักและเขาใจเกี่ยวกับความสนใจ ความถนัด ความตองการ ความสามารถ และบุคลิกภาพของ ตนเอง สวนขั้ นตอนที่2 จะเปน ดา นการรู จักและเขา ใจ เกี่ ย วกั บ อาชี พ โดยการเป ด โอกาสให ผู เ รี ย นได มี ส ว นร ว ม


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เลื อ กอาชี พ ให เ หมาะสมกั บ ตนเอง เพื่ อ ให คู มือ การค น พบ นักเรียน โดยอาจปรับหนังสือเปนแบบมัลติมีเดีย หรือรูปแบบ การตูน เพื่อใหคูมือมีนาความสนใจมากขึ้น อาชีพเกิดประสิทธิผลสูงสุด 1.3 คูมือการคนพบอาชีพพบประสิทธิผลในการ พัฒนาวุฒิภาวะทางอาชีพ จึงอาจสรางแรงจูงใจ และกระตุน

บรรณานุกรม กัมปนาท ศรีเชื้อ. ( 2551). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. สืบคนเมื่อ 21 กันยายน2551 จาก http: // www.lei2.obec.or.th. กรมวิชาการ. ( 2546 ). คูมือวางแผนการเรียน ชีวิต และอาชีพ สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. นันทา สูรักษา. (2548 ). รูปแบบชีวิตและการใหคําปรึกษาอาชีพ. กรุงเทพ ฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปญญาทิพย ทิมวงศ. ( 2542 ). การเปรียบเทียบการแนะแนวเปนกลุมดานอาชีพและกิจกรรมกลุมที่มีตอการรับรู อาชีพอิสระในทองถิ่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนดานเกวียนวิทยา อําเภอโชคชัย จังหวัด นครราชสีมา. ปริญญานิพนธ กศ.ม. ( จิตวิทยาการแนะแนว ) กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ. ถายเอกสาร. พัชรภา วรแสง. ( 2546 ). การศึกษาวุฒิภาวะดานอาชีพและการพัฒนาวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนโดยการให คําปรึกษาดานอาชีพแบบกลุมตามแบบของจอหน โอ ไครทในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนนวมินทราชู ทิศ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. ( จิตวิทยาการแนะแนว ) กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถาย เอกสาร. พวงรัตน ทวีรัตน. ( 2540 ). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. กรุงเทพ ฯ :สํานักทดสอบทางการศึกษา และจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วีระยา สุนธยาคม. ( 2541 ). การศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยบางประการกับวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. ( วัดผลการศึกษา ) กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ลวน สายยศ ;และอังคณา สายยศ. ( 2542 ).การวัดดานจิตพิสัย. กรุงเทพ ฯ : สุวีริยาสาสน. วรรณา พรหมบุรมย. ( 2540 ). การใหคําปรึกษาในการพัฒนาตนเพื่อพัฒนาการทํางานการพัฒนามนุษยที่ยั่งยืน. กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพสหธรรมิก จํากัด. สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. ( 2549 ). ทฤษฎีและการปรับพฤติกรรม. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Anastasidis Atallah, Vycki. ( 2004 ). By the book : Women and Self – help book reading. Dissertation Abstract. Retrieve Febuary 28, 2005. from www.lib.umi.com/dissertation./fullcit Elwood N. Chapman. ( 1988 ). The Fifty-Minute Career Discovery Program. United State of America : Crisp Publications, Inc. Gerken, L Dumont. ( 1993 ). A Study of The Relationship of level of Vocational dentity and Degree of Congruence between Expressed and Measured Vocational Interest of Engineering Students Aspiring to Managerial or Technical Careers. Doctor’s Thesis. Florida : State University, 1993. Keith Humphyreys. ( 1999 ) Professional Interventions that facilitate 12 step Self – Help Group Involvement. Alcohol Research and Health. V.23 : Washington Retrived 16 September 2005. from http://www.proquest.umi.com. K Teschke ; AF Olshan ; J L Daniels ; A J De Roos ;& et al. ( 2002, Sep ) Occupational exposureAssessment / Commentary. Occupational and Environmental Medicine, V. 59. :London. Luzzo, Darrel Anthony.(1995,January-February) Gender Difference in College Students’s Career Maturity and Perceive Barriers in Career Development. Journal of Counseling & Development. 73 : 391 – 399.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

องคประกอบที่มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนั ก การโรงแรมตามความคิ ด เห็ น ของ นั ก ศึ ก ษาแผนกวิ ช าการโรงแรม คณะศิ ล ป ศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล กรุงเทพ FACTORS AFFECTING DESIRABLE HOTEL ATTENDANT PERSONALITY OF STUDENTS IN THE FACULTY OF ARTS (HOTEL STUDIES), RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY KRUNGTHEP ณัฐธีมา เติมชัยอนันต1 รองศาสตราจารยเวธนี กรีทอง2 ผูชวยศาสตราจารย ดร.พาสนา จุลรัตน2 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาองคประกอบที่ มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตาม ความคิดเห็นของนักศึกษาแผนกการโรงแรม คณะศิลป ศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ โดย จําแนกปจจัยที่ศึกษาเปน 3 ดาน คือ ปจจัยดานสวนบุคคล ไดแก ชั้นปที่ศึกษา รายไดของนักศึกษาที่ไดรับจากผูปกครอง อาชีพของผูปกครอง ความมีวินัยในตนเอง ความภาคภูมิใจ ในตนเอง ปจ จั ย ด า นครอบครั ว ไดแ ก ความคาดหวั ง ของ ผูปกครองตออาชีพของนักศึกษา และสัมพันธภาพระหวาง นั ก ศึ ก ษากั บ ครอบครั ว และป จ จั ย ด า นสภาพแวดล อ ม ทางการเรี ย น ได แ ก ลั ก ษณะทางกายภาพภายใน มหาวิ ท ยาลั ย สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก ศึ ก ษากั บ อาจารย ผูสอน และสัมพันธภาพระหวางนักศึกษาและเพื่อน

1 2

นิสิตปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย เปนนักศึกษาหญิงระดับปริญญา ตรี คณะศิ ล ปศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล กรุงเทพ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร ชั้นปที่ 1 ถึงชั้นปที่ 4 ป การศึกษา 2550 จํานวน 255 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถามบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรม ตามความคิดเห็นของนักศึกษาแผนกการโรงแรม คณะศิลป ศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เขตสาทร กรุ ง เทพมหานคร สถิ ติ ที่ ใ ช ใ นการวิ เ คราะห ข อ มู ล คื อ การ วิ เ คราะห ค า สั ม ประสิ ท ธิ์ ส หสั ม พั น ธ ข องเพี ย ร สั น และการ วิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบวา 1. องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า แ ผ น ก ก า ร โ ร ง แ ร ม ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีดังนี้ 1.1 องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวกกับ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า แ ผ น ก ก า ร โ ร ง แ ร ม ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ.01 มี 6 องคประกอบ ไดแก การมีวินัยใน ตนเอง (x8) ความภาคภูมิใจในตนเอง (x9) ความคาดหวังของ ผู ป กครองต อ อาชี พ นั ก ศึ ก ษา (x10) สั ม พั น ธภาพระหว า ง นักศึกษากับครอบครัว (x11) สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับ อาจารย ผู ส อน (x13) และสั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก ศึ ก ษากั บ เพื่อน (x14) 1.2 องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า แ ผ น ก ก า ร โ ร ง แ ร ม ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 มี1 องคประกอบ ไดแก รายไดของนักศึกษา ที่ไดรับจากผูปกครอง (X5) 2. องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ของนักศึกษาแผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลกรุ ง เทพอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดั บ .05 มี 1 องค ป ระกอบ ได แ ก ลั ก ษณะทางกายภาพ ภายในมหาวิทยาลัยที่สงเสริมวิชาชีพการโรงแรม (X12) 3. องคประกอบที่ไมมีความสัมพันธกับบุคลิกภาพ ที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยราชมงคล กรุ ง เทพอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 มี 6 องคประกอบ ไดแก ระดับชั้น : ปที่ 1 (x1) ระดับชั้น : ปที่ 2 (x2) ระดั บ ชั้ น : ป ที่ 3 (x3 ) ระดั บ ชั้ น : ป ที่ 4 (x4) อาชี พ ของ

ผูปกครอง : ทํางานเกี่ยวกับอาชีพการโรงแรม (X6) และ อาชีพ ของผูปกครอง : ไมไดทํางานเกี่ยวกับอาชีพการโรงแรม (X7) 4. องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมตามความคิด เห็ น ของนัก ศึก ษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 องคประกอบ โดยเรียงลําดับจากองคประกอบที่มีอิทธิพลมาก ที่ สุ ด ไ ป ห า อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ที่ มี อิ ท ธิ พ ล น อ ย ที่ สุ ด ไ ด แ ก สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับครอบครัว (x11) สัมพันธภาพ ระหวางนักศึกษากับอาจารยผูสอน (x13) ลักษณะทางกายภาพ ภายในมหาวิทยาลัยที่สงเสริมวิชาชีพการโรงแรม (X12) และ สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับเพื่อน (x14) โดยองคประกอบ ทั้ง 4 องคประกอบนี้ สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวน บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า แ ผ น ก ก า ร โ ร ง แ ร ม ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไดรอยละ 34.40 ABSTRACT The purposes of this research were to study the factors affecting on hotel attendant personality of student of the faculty of arts (hotel studies), Rajamangala University of Technology Krungthep. The factors were divided into 3 dimensions: (1) personal factors : educational level, student income, occupation of parents, self-disclipline, self-esteem; (2) family factors: the family expectation towards the occupation of the student and interpersonal relationship between students and their family; and (3) learning environmental factors : physical learning environment, interpersonal relationship between students and their lecturers and interpersonal relationship between student and their peer groups. The samples of 255 were female undergraduate students of the faculty of arts at Rajamangala University of Technology Krungthep, Bangkok in academic year 2007. The instrument was questionnaire of desirable attendant personality of students. in the faculty of arts (hotel studies), Rajamangala University of Technology Krungthep. The planed were analyzed by the Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The research results were as follows :1. There were significantly positive relationship between desirable attendant personality of students in the faculty of arts (hotel studies), Rajamangala University of


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 studies), Rajamangala University of Technology Krungthep with the percentage of 34.40. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในป จ จุ บั น ธุ ร กิ จ โรงแรมและอุ ต สาหกรรมการ ทองเที่ยวของไทย ไดเติบโตอยางรวดเร็ว โรงแรมใหม ๆ เกิดขึ้น อย า งมากมายทั้ ง ในเมื อ งหลวงและต า งจั ง หวั ด สถานที่ ทองเที่ยวในแตละจังหวัดตื่นตัวเพื่อพัฒนาดานการทองเที่ยว มากขึ้นเปนลําดับ อุตสาหกรรมการโรงแรมในประเทศไทยมิใช การลงทุนธรรมดา แตเปนการลงทุนที่ใชเม็ดเงินมากเปนหมื่น ๆ ลานบาท โรงแรมชั้นหนึ่งหรือระดับหาดาวขยายเขามาใน ประเทศไทยพรอม ๆ กับอุตสาหกรรมการทองเที่ยว การลงทุน ในธุรกิจโรงแรมจึงเปนการลงทุนอยางมหาศาลและมีการใช เทคโนโลยีชั้นสูง บุคลากรตองมีความรูความสามารถสูงหลาย สาขา ที่สําคัญเปนอาชีพที่มีเกียรติ มีรายไดคาตอบแทนสูงมาก จึง เป น อาชีพ ที่ ใ ฝ ฝน ของหนุ ม สาวอยากจะเขา มาทํ า งานใน โรงแรมชั้นหนึ่ง (ศิริเพิ่ม เชาวนศิลป.2541 : 19-27) การโรงแรมจึงเปนธุรกิจที่ตองดําเนินการใหบริการ ตลอดเวลา ไมมีวันหยุด ดังนั้นจึงตองมีผูบริหารและพนักงาน ปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ ซึ่งบุคคลเหลานี้จะตองไดรับการ ฝกฝนอบรม เอาใจใสและใหมีมาตรฐานการบริการ จึงตองมี การร ว มมื อ กั น ระหว า งพนั ก งานในแผนกต า ง ๆ เพื่ อ ให ก าร ปฏิบัติงานของโรงแรมเปนไปโดยมีประสิทธิภาพสูงสุด (ปรีชา แดงโรจน. 2529 : 21) จากการวิ จั ย เรื่ อ งความต อ งการสรรหาและการ พัฒนาบุคลากรในสาขาอุตสาหรรมทองเที่ยวของภาคเอกชน ในเขตกรุงเทพมหานครและภาคตะวันออกของธัญญา แซหุน (2539 : 60-68) ไดเสนอแนะขอมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติของการ เลือกสรรพนักงานโรงแรม บริษัทนําเที่ยวและภัตตาคารตาง ๆ ใหความสําคัญในเรื่องของการใชภาษา ความซื่อสัตย ความ อดทนและสุขภาพในระดับตน ๆ นอกจากคุณสมบัติดังกลาว แลว สิ่งที่เปนขอกําหนดของการรับพนักงานเขาทํางานก็คือ ตองมีสวนสูงระหวาง 155-170 เซนติเมตร สายตาปกติ ไมสวม แวน ไมมีสิวมาก ไมเปนโรคผิวหนัง ไมติดยาเสพติด-บุหรี่ จาก การศึกษาขั้นต่ําระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่6 ควรเปนสายศิลปภาษา คณิ ต ศาสตร -ภาษา หรื อ ปวช.คหกรรม ภาษาคอมพิ ว เตอร เพื่ อ เป น คุ ณ สมบั ติ พื้ น ฐาน รวมทั้ ง การสอบ สัมภาษณเพื่อตรวจวัดทัศนคติและบุคลิกภาพที่สอดคลองตอ อาชีพบริการดวย และนอกจากนี้ไดเสนอการเรียนการสอนใน สถาบันราชภัฎทั่วประเทศ ที่เปดสอนวิชาการโรงแรมวา ธุรกิจ โรงแรมต อ งการผู มี จิ ต สํ า นึ ก ในการให บ ริ ก ารผู อื่ น มี ม นุ ษ ย สัมพันธ และทัศนคติในทางบวกตอผูอื่นเปนสําคัญ ดังนั้นควร นําไปตั้งเปนจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรมในการสอน หลักสูตร จะตองสงเสริมคุณลักษณะนี้ใหแกนักศึกษาเพื่อใหบุคลิกภาพ

Technology Krungthep and the 3 dimensions of 6 factors at .01 level: 1.1 The personal factors were 2 factors : self-disclipline (x8), and self-esteem (x9). 1.2 The family factors were 2 factors : the family expectation towards the occupation of the students (x10) and the relationship between students and their parents or guardians (x11) 1.3 The learning environmental factors were 2 factors : interpersonal relationship between students and their lecturers (x13) and interpersonal relationship between students and their peer groups. (x14) at .01 level. 1.4 There was significantly positive relationship between desirable attendant personality of students in the faculty of arts (hotel studies), Rajamangala University of Technology Krungthep and the student income (x5) at .05 level. 2. There was significantly negative relationship between desirable attendant personality of students in the faculty of arts (hotel studies), Rajamangala University of Technology Krungthep was only one; physical learning environment (x12). 3. There were no significantly relationship between desirable attendant personality of students in the faculty of arts (hotel studies), Rajamangala University of Technology Krungthep and the 6 factors; educational level : year’s 1 (x1) , year’s 2 (x2) , year’s 3 (x3), year’s 4 (x4). occupation of parents : parents work in a hotel (x6) , parents do not work in a hotel (x7) 4. There were significantly 4 factors affecting on relationship between desirable attendant personality of student in the faculty of arts (hotel studies), Rajamangala University of Technology Krungthep at .01 level ranking from the most affecter to the least affecter: the relationship between students and their parents or guardians (x11), interpersonal relationship between student and their lecturers (x13) , interpersonal relationship between students and their peer groups. (x14) and physical learning environment (x12). These factors could predict desirable hotel attendant personality of students in the faculty of arts (hotel


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 คน นักศึกษาระดับปริญญาตรีปที่ 3 จํานวน 201 คน และ นักศึกษาระดับปริญญาตรีปที่ 4 จํานวน 251 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนนักศึกษา เพศหญิ ง แผนกการโรงแรม คณะศิ ล ปศาสตร ป ก ารศึ ก ษา 2550 ซึ่งกําลังศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ จํานวนทั้งสิ้น 255 คน ไดแก นักศึกษาระดับปริญญา ตรีปที่ 1 จํานวน 47 คน นักศึกษาระดับปริญญาตรีปที่ 2 จํานวน 39 คน นักศึกษาระดับปริญญาตรีปที่ 3 จํานวน 75 คน และ นักศึกษาระดับปริญญาตรีปที่ 4 จํานวน 94 คน ซึ่งไดมา โดยวิธีการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) จากประชากรที่ ร ะดั บ ความเชื่ อ มั่ น ร อ ยละ 95 (Yamane. 1967 : 886-887) โดยใชระดับชั้นเปนชั้น (Strata) ตารางแสดงจํานวนประชากรและกลุมตัวอยาง จําแนก ตามระดับชั้น

เป น ผู รั ก งานบริ ก ารมี ทั ศ นคติ ท างบวกต อ การให บ ริ ก าร กิ จ กรรมการเรี ย นควรเป ด ให มี ลั ก ษณะการเรี ย นรู จ าก ประสบการณตรง (On the Job Training) มากกวาเรียนใน ทฤษฎี เ พี ย งอย า งเดี ย ว อาจารย มี บ ทบาทเป น ผู ค วบคุ ม หลักสูตรบริการโดยความรวมมือจากบุคคลที่ทํางานในบริการ นํ า เที่ ย วหรื อ โรงแรมมาเป น ผู ส อนให แ ก นั ก ศึ ก ษาในสาขา วิชาชีพโดยตรง พิศมัย ปโชติการ (2539 : 43-51) ไดกลาวถึง บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมจะตองมีบุคลิกภาพ ที่พึง ประสงค เพื่ อ ดึงดูดนักทอ งเที่ย วให เขา มาใชบ ริก ารของ โรงแรมใหไดมากที่สุด เพราะถานักการโรงแรมมีบุคลิกภาพที่ ไมพึงประสงคมากเทาใด ยอมสงผลตอธุรกิจการโรงแรมมาก เทานั้น เชน ทําใหนักทองเที่ยวเลือกใชบริการที่โรงแรมนอยลง ดวยเหตุนี้ ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาองคประกอบที่ มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมของ นักศึกษาแผนกวิชาการโรงแรม คณะศิลปศาสตรมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1. เพื่อ ศึกษาความสัมพัน ธระหวางองคประกอบ ด า นส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และด า นสิ่ ง แวดล อ มใน มหาวิทยาลัยกับบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรม ตามความคิดเห็นของนักศึกษาหญิง แผนกการโรงแรม 2. เพื่อ ศึกษาองคประกอบดานสวนตัว ดา น ครอบครัวและดานสิ่งแวดลอมในมหาวิทยาลัยที่มีอิทธิพลตอ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมนักศึกษา แผนก การโรงแรม 3. เพื่ อ สร า งสมการพยากรณ บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงคข องนัก การโรงแรมตามความคิดเห็ น ของนักศึกษา แผนกการโรงแรม ความสําคัญของการวิจัย ผลการศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ จ ะใช เ ป น ข อ มู ล สํ า หรั บ ผูเกี่ย วขอ งดา นการวางนโยบายหลักสูตรการเรียนการสอน วิชาชีพการโรงแรมในดานบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการ โรงแรม ผูบริหารของโรงแรม,พนักงานโรงแรมทุกระดับชั้น,และ ผูปฏิบัติการที่เกี่ยวของ นําขอมูลไปประกอบการวางนโยบาย เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตอไป ขอบเขตของการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนนักศึกษาเพศ หญิง แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร ปการศึกษา 2550 ซึ่งกําลังศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จํานวนทั้งสิ้น 683 คน ไดแก นักศึกษาระดับปริญญาตรีปที่ 1 จํานวน 126 คน นักศึกษาระดับปริญญาตรีปที่ 2 จํานวน 105

ระดับชั้น ประชากร กลุมตัวอยาง รวม ปริญญาตรีปที่ 1 126 47 47 ปริญญาตรีปที่ 2 105 39 39 ปริญญาตรีปที่ 3 201 75 75 ปริญญาตรีปที่ 4 251 94 94 รวม 683 255 255 สมมุติฐานในการศึกษาคนควา 1. ปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และดาน สิ่งแวดลอมในมหาวิทยาลัยมีความสัมพันธกับบุคลิกภาพที่ พึ ง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมตามความคิ ด เห็ น ของ นัก ศึก ษา แผนกการโรงแรม มหาวิท ยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลกรุงเทพ 2. ปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และดาน สิ่ ง แวดล อ มในมหาวิ ท ยาลั ย มี อิ ท ธิ พ ลต อ บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาค น คว า ครั้ ง นี้ เ ป น แบบสอบถามแบบสอบถามศึกษาองคประกอบที่มีอิทธิพลตอ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ของนั ก ศึ ก ษา แผนกวิ ช าการโรงแรม คณะศิ ล ปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ แบงออกเปน 9 ตอน ดังนี้ แบบสอบถามขอมูลสวนตัว แบบสอบถามความมี วิ นั ย ในตนเอง แบบสอบถามความภาคภู มิ ใ จในตนเอง แบบสอบถามความคาดหวั ง ของผู ป กครองต อ อาชี พ ของ นักศึกษา แบบสอบถามสัมพันธภาพระหวางนักศึกษาและ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ผลการวิเคราะหขอมูล 1. องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ของนั ก ศึ ก ษา แผนกการโรงแรม คณะศิ ล ปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีดังนี้ 1.1 องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวกกับ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ของนั ก ศึ ก ษา แผนกการโรงแรม คณะศิ ล ปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01มี 6 องคประกอบ ไดแก การมีวินัยใน ตนเอง (x8) ความภาคภูมิใจในตนเอง (x9) ความคาดหวัง ของผูปกครองตออาชีพนักศึกษา (x10) สัมพันธภาพระหวาง นักศึกษากับครอบครัว (x11) สัมพันธภาพระหวางนักศึกษา กับอาจารยผูสอน (x13) และสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับ เพื่อน (x14) 1.2 องคป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ของนั ก ศึ ก ษา แผนกการโรงแรม คณะศิ ล ปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05มี 1 องคประกอบ ไดแก รายไดของ นักศึกษาที่ไดรับจากผูปกครอง (X5) 2. องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ของนั ก ศึ ก ษา แผนกการโรงแรม คณะ ศิ ล ปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 องคประกอบ ไดแก ลักษณะทาง กายภาพที่สงเสริมวิชาชีพการโรงแรม (X12) 3. องคประกอบที่ไมมีความสัมพันธกับบุคลิกภาพ ที่ พึ ง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมตามความคิ ด เห็ น ของ นั ก ศึ ก ษา แผนกการโรงแรม คณะ ศิ ล ปศาสตร มหาวิทยาลัยราชมงคลกรุงเทพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 มี 6 องคประกอบ ไดแก ระดับชั้น : ปที่ 1 (x1) ระดับชั้น : ปที่ 2 (x2) ระดับชั้น : ปที่ 3 (x3) ระดับชั้น : ปที่ 4 (x4) อาชี พ ของผู ป กครอง : ทํ า งานเกี่ ย วกั บ อาชี พ การ โรงแรม (X6) และ อาชีพของผูปกครอง : ไมไดทํางาน เกี่ยวกับอาชีพการโรงแรม (X7) 4. องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4

ครอบครัว แบบสอบถามลักษณะทางกายภาพที่สงเสริมการ เรียนวิชาชีพการโรงแรม แบบสอบถามสัมพันธภาพระหวาง นั ก ศึ ก ษากั บ อาจารย ผู ส อน แบบสอบถามสั ม พั น ธภาพ ระหวางนัก ศึกษาและเพื่อน แบบสอบถามบุค ลิกภาพที่พึง ประสงคของนักการโรงแรม การเก็บรวบรวมขอมูล 1. ผูวิจัยนําหนังสือขอความอนุเคราะหเพื่อการ วิจัยจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไปยื่นตอ คณบดีคณะศิลปศาสตร และอธิการบดี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เพื่อขออนุญาตเก็บรวบรวมขอมูล 2. ผูวิจัยนําแบบสอบถามองคประกอบที่มี อิทธิพลตอบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมของ นั ก ศึ ก ษาหญิ ง แผนกวิ ช าการโรงแรม คณะศิ ล ปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพไปเก็บรวบรวม ขอมูลกับนักศึกษาหญิง แผนกวิชาการโรงแรม จํานวน 255 ฉบับดวยตนเอง 3. ผูวิจัยนําแบบสอบถามที่นักศึกษาหญิงแผนก วิ ช า ก า ร โ ร ง แ ร ม ต อ บ ม า ต ร ว จ ค ว า ม ส ม บู ร ณ ข อ ง แบบสอบถาม แล วตรวจใหคะแนนตามเกณฑที่กํา หนดไว และนําขอมูลมาวิเคราะหทางสถิติตอไป การวิเคราะหขอมูล 1. วิ เ คราะห ข อ มู ลพื้ น ฐาน โดยการหาค า ร อ ยละ คาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางองคประกอบดาน ส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และด า นสิ่ ง แวดล อ มภายใน มหาวิทยาลัยกับบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรม ตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลป ศาสตร มหาวิท ยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลกรุงเทพโดยหา คาสัมประสิทธสหสัมพันธของเพียรสัน (The Pearson Product Moment Correlation Coefficient) 3. วิ เ คราะห อ งค ป ระกอบด า นส ว นตั ว ด า น ครอบครัว และดานสิ่งแวดลอมในมหาวิทยาลัยที่มีอิทธิพลตอ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรม ตามความ คิดเห็นของนั ก ศึก ษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ โดยการวิเคราะห การถดถอยพหุคูณ (Stepwise Multiple Regression Analysis)


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 องคประกอบ โดยเรียงลําดับจากองคประกอบที่มีอิทธิพลมาก สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับเพื่อน (x14) ลักษณะทาง ที่ สุ ด ไปหาองค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลน อ ยที่ สุ ด ได แ ก กายภาพที่สงเสริมวิชาชีพการโรงแรม(X12) สั ม พั น ธ ภ า พ ร ะ ห ว า ง นั ก ศึ ก ษ า กั บ ค ร อ บ ค รั ว ( x11) สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก ศึ ก ษากั บ อาจารย ผู ส อน (x13) ตารางแสดงผล การวิเคราะหองคประกอบที่มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพของนักการโรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ โดยใชวิธีการวิเคราะหถดถอยพหุคูณ (Stepwise Multiple Regression Analysis) องคประกอบ x11 x11, x13 x11 , x13, x12 x11 , x13, x12, x14

b

SEb

β

R

R2

F

0.172 0.223 -0.147 0.156

0.037 0.042 0.038 0.043

0.260 0.306 -0.201 0.205 a = 2.083 R = .587 R2 = .344 SEest= .203

0.429 0.526 0.557 0.587

0.184 0.277 0.310 0.344

57.089** 48.176** 37.623** 32.825**

** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากตารางพบว า องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า แ ผ น ก ก า ร โ ร ง แ ร ม ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ.01 มี 4 องคประกอบ โดยเรียงลําดับจาก องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลมากที่ สุ ด ไปหาองค ป ระกอบที่ มี อิทธิพลนอยที่สุดไดแก สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับ ครอบครั ว (x11) สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก ศึ ก ษากั บ อาจารย ผูสอน(x13) ลักษณะทางกายภาพที่สงเสริมวิชาชีพการโรงแรม (X12)และสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับเพื่อน(x14) โดยองคประกอบทั้ง 4 องคประกอบนี้ สามารถ รว มกัน อธิบายความแปรปรวนบุคลิก ภาพที่พึงประสงคข อง นั ก การโรงแรมตามความคิ ด เห็ น ของนั ก ศึ ก ษา แผนกการ โรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ ไดรอยละ 34.40 จึงไดนําคาสัมประสิทธิ์ของตัว พยากรณมาเขียนเปนสมการได ดังนี้ สมการพยากรณ บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข อง นั ก การโรงแรมตามความคิ ด เห็ น ของนั ก ศึ ก ษา แผนกการ โรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ ในรูปของคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = 2.083 + .172X11 + .223 X13 -.147X12 +.156X14 สมการพยากรณ บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข อง นั ก การโรงแรมตามความคิ ด เห็ น ของนั ก ศึ ก ษา แผนกการ

โรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ ในรูปคะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .260X11 + .306X13-.201X12 +.205X14 อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิจัย ผูวิจัยอภิปรายผลไดดังนี้ 1. องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น นั ก ศึ ก ษ าหญิ ง แผนกการโรงแรม คณ ะ ศิ ล ปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ.01 มี 6 องคประกอบ ไดแก การมีวินัยใน ตนเอง (x8) ความภาคภูมิใจในตนเอง (x9) ความคาดหวังของ ผู ป กครองต อ อาชี พ นั ก ศึ ก ษา (x10) สั ม พั น ธภาพระหว า ง นักศึกษากับครอบครัว (x11) สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับ อาจารย ผู ส อน (x13) และสั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก ศึ ก ษากั บ เพื่อน (x14) อภิปรายผลไดดังนี้ 1.1การมี วิ นั ย ในตนเอง มี ค วามสั ม พั น ธ ทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตาม ความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ.01 แสดงวานักศึกษาหญิง แผนกการโรงแรมที่ มีวินัยในตนเองมาก สงผลใหมีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของ นักการโรงแรม ทั้งนี้เพราะนักศึกษาที่มีวินัยในตนเองจะมีความ รับ ผิ ด ชอบในการเรี ยน มี ค วามตรงต อ เวลาในการมาเรี ย น สามารถปฏิบัติตามกฏและขอบังคับของทางมหาวิทยาลัยได


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 อยางถูกตองและเหมาะสม ซึ่งดวงเดือน พันธุมนาวิน (2526 : 59 ) กล า วถึ ง ลั ก ษณะของผู มี วิ นั ย ในตนเองว า เป น คนที่ มี ลักษณะคือ มีความสามารถควบคุมอารมณ มีความเชื่อมั่น ในตนเอง มีความรับผิดชอบสูง ซึ่งสิ่งเหลานี้จะทําใหมีอิทธิพล ตอบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรม ดังนั้นสรุปไดวาการมีวินัยในตนเองมีความสัมพันธ ทางบวกกับ บุคลิกภาพที่พึงประสงคข องนักการโรงแรมของ นักศึกษา แผนกการโรงแรม 1.2 ความภาคภูมิใจในตนเองมีความสัมพันธ ทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตาม ความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ.01 แสดงวานักศึกษา แผนกการโรงแรมที่มี ความภาคภูมิใจในตนเองปานกลาง สงผลใหมีบุคลิกภาพที่พึง ประสงค ข องนั ก การโรงแรม ทั้ ง นี้ เ พราะนั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วาม ภาคภูมิใจในตนเองสูง จะรูสึกวาตนเองเปนคนมีคุณคา มีคน รัก ไดรับการยกยองจากผูอื่น เปนการชื่นชมหรือใหคุณคาแก ตนเอง ซึ่ ง เปน สว นที่บุค คลรั บ รูว า เป น ตัว เขา เป น ผูมี ค วาม เชื่อมั่นในตนเอง ซึ่งจะทําใหมีบุคลิกภาพที่เหมาะสมในการ ดําเนินชีวิต ซึ่งสอดคลองกับแนวความคิดของ สุนารี เตชะโชค วิวัฒน ( 2527 : 14-15 ) ที่กลาววาความภาคภูมิใจในตนเอง ยังมีความสัมพันธกับบุคลิกภาพของบุคคล มีความสําคัญตอ การดํ า รงชี วิ ต และเป น พลั ง ทางด า นจิ ต ใจที่ ช ว ยให บุ ค คล สามารถมีชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ ดั ง นั้ น สรุ ป ได ว า การมี ค วามภาคภู มิ ใ จใน ตนเองมีความสัมพันธทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึงประสงคของ นักการโรงแรมของนักศึกษา แผนกการโรงแรม 1.3 ความคาดหวังของผูปกครองตออาชีพ นักศึกษา มีความสัมพันธทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการ โรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวาความ คาดหวังของผูปกครองตออาชีพนักศึกษา แผนกการโรงแรมมี ปานกลาง สงผลทําใหนักศึกษามีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของ นักการโรงแรม ทั้งนี้เพราะวาเมื่อผูปกครองมีความคาดหวังตอ อาชีพของนักศึกษามาก ทําใหผูปกครองอบรม เลี้ยงดูบุตร หลานของตนใหเปนอยางที่ตนเองตองการ จึงทําใหนักศึกษามี ความกระตือรือรน มีความตั้งใจ รับผิดชอบในการเรียนสูง ซึ่ง สอดคลองกับแนวความคิดของเฮอรลอค ( Herlock. 1973 : 187 – 191 ) ที่กลาววา ความคาดหวังของบุคคลเกิดไดจาก ความทะเยอทะยานของบิดามารดา บิดามารดามักจะใฝฝน หรื อ หวั ง ให ลู ก เป น อะไร ตั้ ง แต เ ด็ ก ยั ง ไม ค ลอด สิ่ ง ที่ บิ ด า มารดาหวังใหลูกเปนอยางไรจะเปนแบบที่หลอหลอมความหวัง

ของบิดามารดาที่มีตอเด็กตลอดชีวิต เชน บิดามารดามักจะ ตัดสินใจไวเลยวาลูกควรจะจบการศึกษาระดับใด เรียนไดดี เพียงใด ประกอบอาชีพอะไร เปนตน ดัง นั้ น สรุ ป ไดว า ความคาดหวั ง ของผูป กครองต อ อาชีพนักศึกษา มีความสัมพันธทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมตามความคิด เห็ น ของนัก ศึก ษา แผนกการโรงแรม 1.4 สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับ ครอบครัว มีความสัมพันธทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการ โรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักศึกษา แผนกการโรงแรมที่มีสัมพันธภาพระหวางนักศึกษา กั บ ครอบครั ว ที่ ดี ส ง ผลให มี บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข อง นั ก การโรงแรม ทั้ ง นี้ เ พราะนั ก ศึ ก ษาที่ มี สั ม พั น ธภาพกั บ ครอบครัวที่เหมาะสม ยอมไดรับการยอมรับ ความสนใจ และ ความอบอุนจากครอบครัว ยอมมีอิทธิพลตอพัฒนาการของ บุคลิกภาพที่พึงประสงคในครอบครัวที่มีความเคารพเชื่อฟง มี ความรับผิดชอบในหนาที่แหงตน ซึ่งสอดคลองกับ เฮอรลอค ( Hurlock. 1967 : 661 ) ที่วา บิดามารดาที่ยอมรับเด็ก คือ ใหค วามรัก ความสนใจ สรา งความอบอุ น ใหเกิดขึ้ น ในบา น และเห็นความสําคัญของเด็ก ผลที่ตามมาคือ ทําใหเด็กเปน คนใหความรวมมือ เปนมิตร มีอารมณมั่นคง ราเริง มีความ รับผิดชอบ ดังนั้นสรุปไดวาสัมพันธภาพระหวางนักศึกษา กับครอบครัว มีความสัมพันธทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมตามความคิด เห็ น ของนัก ศึก ษา แผนกการโรงแรม 1.5 สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับอาจารย ผูสอน มีความสัมพันธทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการ โรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักศึกษา แผนกการโรงแรมที่มีสัมพันธภาพระหวางนักศึกษา กับอาจารยผูสอนดีพอใช สงผลใหมีบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรม ทั้งนี้เพราะเมื่อนักศึกษา แผนกการโรงแรม มีสัมพันธภาพกับอาจารยผูสอนดี จะทําใหเกิดการเลียนแบบ และแสดงออกทางทาทางและบุคลิกภาพเหมือนกับอาจารย ผูสอน อาจารยผูสอนจึงเปนตนแบบของการแสดงออกทาง บุ ค ลิ ก ภาพที่ เ หมาะสมของการปฏิ บั ติ ง านด า นการโรงแรม ดังเชนที่ ผองพรรณ เกิดพิทักษ ( 2530 : 44 ) กลาววา สิ่งแวดลอมมีอิทธิพลตอบุคลิกภาพ คือบุคคลอื่นๆรอบตัวเรา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ฐานะทางเศรษฐกิ จ ของครอบครั ว โดยเห็ น ว า ฐานะทาง เศรษฐกิจของครอบครัว จะเปนตัวเพิ่มหรือตัวลดความเร็วของ พัฒนาการทางบุคลิกภาพทางจริยธรรมของบุคคลได และนัก สังคมวิทยาพบวา บุคคลที่มีฐานะทางเศรษฐกิจต่ําและปาน กลางมีคานิยมเกี่ยวกับความซื่อสัตยแตกตางกัน เชน การเก็บ ของตกไดแลวไปคืนเจาของนั้น เปนความดีควรสรรเสริญใน สังคมของบุคคลฐานะปานกลางและสูง แตเปนสิ่งโงเขลาและ ไมควรทําอยางยิ่งในสังคมของคนที่มีฐานะต่ํา ซึ่งความซื่อสัตย นั้นเปนบุคลิกลักษณะที่พึงประสงคของนักการโรงแรมที่ดี ดั ง นั้ น สรุ ป ได ว า รายได ข องนั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด รั บ จากผูปกครอง มีความสัมพันธทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมตามความคิด เห็ น ของนัก ศึ ก ษา แผนกการโรงแรม 3. องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า แ ผ น ก ก า ร โ ร ง แ ร ม ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 มี 1 องคป ระกอบ ไดแ ก ลัก ษณะทาง กายภาพที่สงเสริมวิชาชีพการโรงแรม (X12) อภิปรายผลไดดังนี้ 3.1 ลักษณะทางกายภาพที่สงเสริมวิชาชีพ การโรงแรม มีความสัมพันธทางลบกับบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการ โรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวา ลักษณะทางกายภาพที่สงเสริมวิชาชีพการโรงแรมดีพอใช ทํา ใหมีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมมีนอย ทั้งนี้ เพราะสถานที่เรียน ไดแก หองเรียนมีอากาศถายเทดี ทําให นักศึกษาอาจจะงวงนอนไดเมื่อถึงเวลาเรียนในตอนบาย สื่อ อุ ป กรณ ก ารเรี ย นการสอนมี ค วามทั น สมั ย เช น ใช คอมพิวเตอรในการเรียนการสอน ในเวลาเรียนทําใหนักศึกษา ไมตั้งใจ ไมมีความมุงมั่นในการเรียน คิดวาที่อาจารยสอนไป เดี๋ยวคอยบันทึกจากคอมพิวเตอรลงซีดี เพื่อนํากลับไปอาน แตก็ไมไดอาน จึงทําใหนักศึกษามีทักษะในการเรียนวิชาชีพ เกี่ยวกับการโรงแรมนอย จึงทําใหมีบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมดานทักษะวิชาชีพการโรงแรมมีนอย ดั ง นั้ น สรุ ป ได ว า ลั ก ษณะทางกายภาพที่ สงเสริมวิชาชีพการโรงแรม มีความสัมพันธทางลบกับ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ของนักศึกษา แผนกการโรงแรม 4. องคประกอบที่ไมมีความสัมพันธกับบุคลิกภาพ ที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ มี 6 องคประกอบ ไดแก ระดับชั้น:ปที่1 (x1)

สิ่งแวดลอมที่เปนมนุษยคนอื่นๆนี้มีอิทธิพลอยางมากตอการ พัฒนาบุคลิกภาพ ทัศนคติและพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย ดังนั้นสรุปไดวาสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับ อาจารยผูสอน มีความสัมพันธทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมตามความคิด เห็ น ของนัก ศึก ษา แผนกการโรงแรม 1.6 สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับเพื่อน มีความสัมพันธทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการ โรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะ ศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวานั กศึกษา แผนกการ โรงแรมที่มีสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับเพื่อนดี สงผลใหมี บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรม ทั้งนี้เพราะในการ เรียนแผนกการโรงแรมจะตองมีการทํางาน และการฝกงาน ของนักศึกษา ทําใหนักศึกษาไดอยูใกลชิดกัน มีความสนิท สนมกัน จึงทําใหนักศึกษาแผนกการโรงแรมมีความสัมพันธซึ่ง กันและกัน นักศึกษาจึงมีความตั้งใจในการเรียน มีการแสดง บุคลิกภาพที่ดี ตามแนวคิดของเฟลดแมนและนิวคอมบ ( Feldman and Newcomb. 1976 : 325 – 330 ) กลุมเพื่อนมี อิทธิพลใหนักศึกษามีบุคลิกภาพที่ดี ดังนั้นสรุปไดวาสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับ เพื่อน มีความสัมพันธทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึงประสงคของ นั ก การโรงแรมตามความคิ ด เห็ น ของนั ก ศึ ก ษา แผนกการ โรงแรม 2. องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า แ ผ น ก ก า ร โ ร ง แ ร ม ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ.05 มี 1 องคประกอบ ไดแก รายไดของนักศึกษา ที่ไดรับจากผูปกครอง (X5) อภิปรายผลไดดังนี้ 2.1 รายไดของนักศึกษาที่ไดรับจากผูปกครอง มีความสัมพันธทางบวกกับบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการ โรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะ ศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวานักศึกษา แผนกการ โรงแรมที่ผูปกครองมีรายไดตอเดือนเหมาะสมมีผลใหนักศึกษา มีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรม ทั้งนี้เพราะเมื่อ ผูปกครองมีรายไดที่เหมาะสมแลว ผูปกครองมีความสามารถ ในการสงเสียบุตรหลาน ดังนั้นนักศึกษาก็ไมมีความกังวลวา เงินจะไมพอใชในการเรียน จึงมีอิทธิพลใหนักศึกษามีอารมณ ที่แจมใส หนาตายิ้มแยมแสดงบุคลิกภาพที่ดี ซึ่งสอดคลองกับ แนวความคิดของเคย (ดวงเดือน พันธุมนาวิน. 2520 : 19 ; อางอิงมาจาก Kay. 1975 ) ที่ใหความสําคัญอยางยิ่งเกี่ยวกับ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 นัก ศึ กษาชั้ น ป ที่ 3 แผนกการโรงแรมบางคน มี บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมนอย ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาที่ฝกงานบางคนไมมีความตั้งใจในการฝกงานจึงทํา ให มี ทั ก ษะทางการโรงแรมน อ ย จึ ง ทํ า ให นั ก ศึ ก ษาชั้ น ป ที่ 3 แผนกการโรงแรมบางคน มี บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข อง นักการโรงแรมนอย 4.4 ระดับชั้น: ปที่ 4ไมมีความสัมพันธกับ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ของนักศึก ษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ แสดงวานักศึกษา ชั้นปที่ 4 แผนกการโรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมมาก ทั้งนี้เพราะนักศึกษาไดมีการศึกษาเลา เรียนทั้ง ภาคทฤษฎี และปฏิบั ติม าอยา งเต็ม ที่แ ลว ทํา ให มี ความรูความเขาใจในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตองเหมาะสม จึ ง ทํ า ให นั ก ศึ ก ษาชั้ น ป ที่ 4 แผนกการโรงแรมบางคน มี บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมมาก นักศึกษาชั้นปที่ 4 แผนกการโรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมนอย ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาไมตั้งใจศึกษาเลาเรียนอยางเต็มที่จึงทําใหมีความรู ความเข า ใจเกี่ ย วกั บ วิ ช าชี พ การโรงแรมน อ ย จึ ง ทํ า ให มี จิตสํานึกในการใหการบริการ มีมนุษยสัมพันธ และมีความ มั่นคงทางอารมณนอย จึงทําใหนักศึกษาชั้นปที่ 4 แผนกการ โรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรม นอย 4.5 อาชีพของผูปกครอง : ทํางานเกี่ยวกับ อาชีพการโรงแรม ไมมีความสัมพันธกับบุคลิกภาพที่พึง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมตามความคิ ด เห็ น ของนัก ศึก ษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ แสดงวานักศึกษา แผนกการโรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่พึ่งประสงคของนักการโรงแรมมาก ทั้งนี้เพราะ เมื่อผูปกครองทํางานเกี่ยวกับอาชีพการโรงแรม ยอมมีความ ตั้ ง ใจให บุ ต รหลานของตนเป น ผู ที่ มี ค วามรู ทั ก ษะวิ ช าชี พ เกี่ ย วกั บ การโรงแรม มี ม นุ ษ ยสั ม พั น ธ มี ค วามมั่ น คงทาง อารมณ และมีจิตสํานึกในการใหบริการที่เหมาะสม ดังนั้นใน การอบรมบุตรหลานจึงมีความเขาใจในอาชีพการโรงแรม จึง ทําใหนักศึกษา แผนกการโรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่พึง ประสงคของนักการโรงแรมมาก นักศึกษา แผนกการโรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่ พึงประสงคของนักการโรงแรมนอย ทั้งนี้เพราะเมื่อผูปกครอง ทํางานเกี่ยวกับอาชีพการโรงแรม ไมมีเวลาอบรมเลี้ยงดูบุตร หลานมากนัก เพราะตองเอาเวลาไปทํางาน ดังนั้นจึงทําให นักศึกษา แผนกการโรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมนอย

ระดับชั้น:ปที่ 2 (x2) ระดับชั้น: ปที่3 (x3) ระดับชั้น: ปที่ 4 (x4) อาชีพของผูปกครอง : ทํางานเกี่ยวกับอาชีพการโรงแรม (X6) และอาชี พ ของผู ป กครอง : ไม ไ ด ทํ า งานเกี่ ย วกั บ อาชี พ การ โรงแรม(X7) ซึ่งอภิปรายผลไดดังนี้ 4.1 ระดั บ ชั้ น :ป ที่ 1 ไม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ของนักศึ ก ษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ แสดงวานักศึกษา ชั้นปที่ 1 แผนกการโรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมมาก ทั้งนี้เพราะนักศึกษาเพิ่งจะเขามาเรียน จึงมีความตั้งใจที่จะศึกษาวิชาชีพการโรงแรมเปนอยางมาก จึง ทํ า ให นั ก ศึ ก ษาชั้ น ป ที่ 1 แผนกการโรงแรมบางคน มี บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมมาก นักศึกษานักศึกษาชั้นปที่ 1 แผนกการโรงแรมบาง คน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงคข องนักการโรงแรมนอย ทั้ง นี้ เพราะนั ก ศึ ก ษาเพิ่ ง จะเข า มาเรี ย นยั ง ปรั บ ตั ว ให เ ข า กั บ สภาพแวดลอมในการเรียนไมได จึงทําใหนักศึกษานักศึกษา ชั้นปที่ 1 แผนกการโรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมนอย 4.2 ระดับชั้น: ปที่ 2ไมมีความสัมพันธกับ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ของนักศึก ษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ แสดงวานักศึกษา ชั้นปที่ 2 แผนกการโรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมมาก ทั้งนี้เพราะนักศึกษาเมื่อไดเขามาเรียน แลวมีความชอบในวิชาการโรงแรม จึงทําใหนักศึกษาชั้นปที่ 2 มีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมมาก นัก ศึ กษาชั้ น ป ที่ 2 แผนกการโรงแรมบางคน มี บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมนอย ทั้งนี้เพราะ นักศึกษาเขา เรียนมาได สักระยะหนึ่งแลว เกิดความไมชอบ หรืออาจจะไมมีความถนัดในวิชาการโรงแรม จึงทําใหนักศึกษา ชั้นปที่ 2 มีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมนอย 4.3 ระดับชั้น: ปที่ 3ไมมีความสัมพันธกับ บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็น ของนักศึก ษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ แสดงวานักศึกษา ชั้นปที่ 3 แผนกการโรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมมาก ทั้งนี้เพราะนักศึกษาในชั้นปที่ 3 ตองมี การฝก งาน ดั ง นั้น นักศึก ษาจึง ต อ งเพิ่ม ความรับ ผิ ด ชอบต อ ตนเองมากขึ้ น และการฝ ก งานได มี ก ารพั ฒ นาด า นมนุ ษ ย สัมพันธกับผูอื่น จึงทําใหนักศึกษาชั้นปที่ 3 แผนกการโรงแรม บางคน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมมาก


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่หนึ่ง แสดงวา นักศึกษา แผนกการโรงแรมที่ มี สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก ศึ ก ษากั บ ครอบครัวที่ดี มีบุคลิกภาพที่พึงประสงคตามความคิดเห็นของ นั ก การโรงแรม ทั้ ง นี้ เ พราะนั ก ศึ ก ษาที่ มี สั ม พั น ธภาพกั บ ครอบครัวที่ดี ยอมไดรับการยอมรับ ความสนใจ และความ อบอุ น จากครอบครั ว ย อ มมี อิ ท ธิ พ ลต อ พั ฒ นาการของ บุคลิกภาพที่พึงประสงคในครอบครัวที่มีความเคารพเชื่อฟง มี ความรับผิดชอบในหนาที่แหงตน ซึ่งสอดคลองกับ เฮอรลอค( Hurlock. 1967 : 661 ) ที่วา บิดามารดาที่ยอมรับเด็ก คือให ความรักความสนใจ สรางความอบอุนใหเกิดขึ้นในบาน และ เห็นความสําคัญของเด็ก ผลที่ตามมาคือ ทําใหเด็กเปนคนให ความร ว มมื อ เป น มิ ต ร มี อ ารมณ ม่ั น คง ร า เริ ง มี ค วาม รับผิดชอบ ดังนั้นสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับครอบครัว มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพที่พึ่งประสงคของนักการโรงแรมตาม ความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม 5.2 สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับอาจารย ผูสอน มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรม ตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลป ศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่สอง แสดงวา นักศึกษา แผนกการโรงแรมที่มีสัมพันธภาพระหวางนักศึกษา กับอาจารยผูสอนดีพอใช ทําใหมีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของ นักการโรงแรมมาก ทั้งนี้เพราะเมื่อนักศึกษา แผนกการโรงแรม มีสัมพันธภาพกับอาจารยผูสอนดี จะทําใหเกิดการเลียนแบบ และแสดงออกทางทาทางและบุคลิกภาพเหมือนกับอาจารย ผูสอน อาจารยผูสอนจึงเปนตนแบบของการแสดงออกทาง บุ ค ลิ ก ภาพที่ เ หมาะสมของการปฏิ บั ติ ง านด า นการโรงแรม ดังเชนที่ ผองพรรณ เกิดพิทักษ ( 2530 : 44 ) กลาววา สิ่งแวดลอมมีอิทธิพลตอบุคลิกภาพ คือบุคคลอื่นๆรอบตัวเรา สิ่งแวดลอมที่เปนมนุษยคนอื่นๆนี้มีอิทธิพลอยางมากตอการ พัฒนาบุคลิกภาพ ทัศนคติและพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย ดังนั้นสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับอาจารยผูสอน มี อิ ท ธิ พ ลต อ บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมของ นักศึกษาแผนกการโรงแรม 5.3 สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับเพื่อน มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตาม ความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่สาม แสดงวานักศึกษา แผนกการโรงแรมที่มีสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับเพื่อนดี ทํ า ให มี บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมดี ทั้ ง นี้ เพราะเมื่อนักศึกษามีสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับเพื่อน นอยจึงกลัววาเวลาเรียนจะเรียนไดคะแนนนอย นักศึกษาจึงมี

4.6 อาชีพของผูปกครอง : ไมไดทํางาน เกี่ยวกับอาชีพการโรงแรม ไมมีความสัมพันธกับบุคลิกภาพที่ พึงประสงคของนักการโรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ แสดงวานักศึกษาหญิง แผนกการโรงแรม บางคน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมมาก ทั้งนี้ เพราะผู ป กครองที่ ไ ม ไ ด ทํ า งานเกี่ ย วกั บ อาชี พ การโรงแรม อาจจะมีเวลาในการอบรมเลี้ยงดูบุตรหลานของตนเองมาก ซึ่ง สอดคลองกับแนวคิดของ ผองพรรณ เกิดพิทักษ (ผองพรรณ เกิดพิทักษ. 2530 : 176 ; อางอิงมาจาก Colemen and Hammen. 1974 : 312 ) กลาววา องคประกอบของ บรรยากาศความสัมพันธในครอบครัวมีความสัมพันธอยางยิ่ง ตอ พั ฒ นาการของเด็ก ซึ่ ง ได แ ก ความรัก ความอบอุ น ซึ่ ง มี ความสําคัญตอพัฒนาการและความสมบูรณแหงบุคลิกภาพ จึ ง ทํ า ให นั ก ศึ ก ษาบางคนจึ ง มี บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข อง นักการโรงแรม นั ก ศึ ก ษา แผนกการโรงแรมบางคน มี บุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมนอย ทั้งนี้เพราะ เมื่อผูปกครองไมไดทํางานเกี่ยวกับอาชีพการโรงแรม จึงไมมี ความรูค วามเข า ใจในงานอาชี พ การโรงแรม จึ ง ไม ไ ดมี การ อบรมสั่งสอนเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในอาชีพการโรงแรม โดย สั่งสอนเพียงแคใหบุตรเปนคนดีของสังคม มีความรับผิดชอบ ในหน า ที่ ข องตนเองเท า นั้ น จึ ง ทํ า ให นั ก ศึ ก ษา แผนกการ โรงแรมบางคน มีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรม นอย 5. องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมตามความคิด เห็ น ของนัก ศึก ษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 องคประกอบ โดยเรียงลําดับจากองคประกอบที่มีอิทธิพลมาก ที่ สุ ด ไ ป ห า อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ที่ มี อิ ท ธิ พ ล น อ ย ที่ สุ ด ไ ด แ ก สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับครอบครัว (x11) สัมพันธภาพ ระหวางนักศึกษากับอาจารยผูสอน (x13) สัมพันธภาพระหวาง นักศึกษากับเพื่อน (x14) ลักษณะทางกายภาพที่สงเสริมวิชาชีพ การโรงแรม (X12) โดยองคประกอบทั้ง 4 องคประกอบนี้ สามารถร ว มกั น อธิ บ ายความแปรปรวนบุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงคของนักการโรงแรม ของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ได รอยละ 34.40 ซึ่งอภิปรายผลไดดังนี้ 5.1 สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับครอบครัว มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมตาม ความคิดเห็นของนักศึกษา แผนกการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมีนัยสําคัญ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 นักศึกษากับครอบครัว เพราะสัมพันธภาพระหวางนักศึกษา กับครอบครัว เปนสวนที่สําคัญเปนอยางยิ่งตอการแสดงออก ทางบุ ค ลิ ก ภาพที่ เ หมาะสม เมื่ อ นั ก ศึ ก ษากั บ ครอบครั ว มี ความสั ม พั น ธ ที่ ดี ต อ กั น แล ว จะก อ ให เ กิ ด บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงคของนักการโรงแรม 1.2 สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับอาจารยผูสอน ผูบริหาร คณาจารย นักศึกษา และผูที่เกี่ยวของกับคณะศิลป ศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลกรุ ง เทพ ควร สงเสริมสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับอาจารยผูสอน โดย ผูบริหารควรมีนโยบายใหอาจารยกับนักศึกษา ไดมีโอกาสทํา กิจกรรมนอกเหนือจากการเรียนการสอนรวมกัน เพื่อเปนการ เสริมเพิ่มสัมพันธภาพที่ดีระหวางนักศึกษากับอาจารย สวน อาจารยกับนักศึกษาก็ควรมีหลักปฏิบัติตอกันและกัน นักศึกษา ควรแสดงความเคารพอาจารยอยูเสมอ ปรึกษาอาจารยเมื่อมี ปญหาการเรียนและปญหาสวนตัว รับฟงคําสอนจากอาจารย ทั้ง ในและนอกห อ งเรีย น ตั้ ง ใจเรี ย นขณะอาจารย ส อน ส ว น อาจารยควรมีความเปนกันเองกับนักศึกษา แนะนําสิ่งที่เปน ประโยชน ถามไถถึงความเปนอยูของนักศึกษา เปนที่ปรึกษา ให กั บ นั ก ศึ ก ษาที่ มี ป ญ หาการเรี ย นและป ญ หาส ว นตั ว สงเคราะหเกื้อกูลดวยความเมตตาปรารถนาดี ซึ่งเมื่อปฏิบัติ ดังนี้แลวจะมีผลใหสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับอาจารย ผูสอนดีขึ้นและหวังไดวาจะทําใหเกิดบุคลิกภาพที่พึงประสงค ของนักการโรงแรมของนักศึกษาวิชาการโรงแรม คณะศิลป ศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1.3 สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับเพื่อน ผูบริหาร คณาจารย นั กศึก ษา และผูที่ เกี่ย วขอ งกั บคณะศิล ปศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลกรุ ง เทพ ควรส ง เสริ ม สัม พั น ธภาพระหว า งนั ก ศึ กษากั บ เพื่ อ น โดยจัด ให นิสิ ต ได มี โอกาสทํากิจกรรมรวมกัน ใหรูจักแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน และกัน ชวยเหลือกัน เปนที่ปรึกษาปญหาการเรียนและปญหา สวนตัว เมื่อเพื่อนทํางานผิดพลาดเพื่อนชวยปลอบใจและให กําลังใจ เมื่อมีสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับเพื่อนดีเชน นี้ แล ว ก็ พ ยากรณ ไ ด ว า บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข องนั ก การ โรงแรมของนักศึ ก ษาวิช าการโรงแรมจะเกิดขึ้ น ดว ย ฉะนั้ น ผูบริหาร คณาจารย ผูที่เกี่ยวของและนักศึกษาวิชาการโรงแรม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จึง ควรสงเสริมสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับเพื่อนใหดีหรือดี ขึ้น 1.4 ลักษณะทางกายภาพที่สงเสริมวิชาชีพการ โรงแรม ผูบริหาร คณาจารย นักศึกษา และผูที่เกี่ยวของกับ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ควรจัดลักษณะทางกายภาพที่สงเสริมวิชาชีพการโรงแรมภายใน มหาวิทยาลัยใหรมรื่น เหมาะสมแกการเรียนการสอน จัดใหมี

ความตั้ ง ใจในการเรี ย น พยายามแสดงบุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงคของนักการโรงแรมที่ดี เพื่อใหเพื่อนๆใหการยอมรับ และจะไดมีความสัมพันธที่ดีมากขึ้นในเวลาตอไป ดังนั้น สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก ศึ ก ษากั บ เพื่ อ นจึ ง มี อิ ท ธิ พ ลต อ บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมของนั ก ศึ ก ษา แผนกการโรงแรม 5.4 ลักษณะทางกายภาพที่สงเสริมวิชาชีพ การโรงแรม มีอิทธิพลตอบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการ โรงแรมตามความคิดเห็นของนักศึกษาแผนกการโรงแรม คณะ ศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่สี่ แสดงวา นั ก ศึ ก ษา แผนกการโรงแรม ที่ มี ลั ก ษณะทางกายภาพที่ สงเสริมวิชาชีพการโรงแรมดีพอใช ไดแก วิธีการสอนที่จูงใจ มี อุ ป กรณ ก ารสอนที่ พ ร อ มใช ง าน บรรยากาศในห อ งเรี ย น เอื้ออํานวยตอการเรียนรู เหมาะสมแกการเรียนการสอน มี อาคารเรียนที่เหมาะสม คือ มีทําเลที่ตั้งปลอดภัยจากมลพิษ มี ขนาดห อ งไม คั บ แคบ มี อ ากาศถ า ยเท ไม ร อ นหรื อ หนาว จนเกินไปการมอบหมายงานที่เหมาะสมไมมากไมนอยเกินไป การประเมินผลที่ยุติธรรม และที่สําคัญพฤติกรรมของครูใน การสอนมีความจริงใจและตั้งใจ มีน้ําใจและเสียสละกับผูอื่น ( วิชัย วงษใหญ. 2528 : 83 – 87 ) ดังนั้นลักษณะทาง กายภาพที่ ส ง เสริ ม วิ ช าชี พ การโรงแรมจึ ง มี อิ ท ธิ พ ลต อ บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมของนั ก ศึ ก ษา แผนกการโรงแรม ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป 1.-ขอเสนอแนะทั่วไป ผลการศึกษาครั้งนี้ ผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ นิ สิ ต และผู ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ คณะศิ ล ปศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลกรุ ง เทพ สามารถนํ า ไปใช เ ป น ข อ มู ล ประกอบการพิจารณาในการวางนโยบายเกี่ยวกับการเรียนการ สอนในคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุง เทพ โดยนํา องค ป ระกอบที่มีอิ ท ธิพลตอ บุคลิกภาพที่พึ ง ประสงค ข องนั ก การโรงแรมตามความคิด เห็ น ของนัก ศึก ษา แผนกการโรงแรมนํ า ไปประกอบวางแผนพั ฒ นาหรื อ หาวิ ธี เพื่อใหการเรียนการสอนนั้นมีผลทําใหนักศึกษามีบุคลิกภาพที่ พึงประสงคในการเรียนแผนกการโรงแรม ดังนี้ 1.1 สัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับครอบครัว ผูบริหาร คณาจารย นักศึกษา และผูที่เกี่ยวของกับคณะศิลป ศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลกรุ ง เทพ ควร สงเสริมสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับครอบครัวใหมีเพิ่ม มากขึ้น โดยจัดโครงการสานสัมพันธภาพระหวางนักศึกษากับ ครอบครั ว ให มี ก ารทํ า กิ จ กรรมร ว มกั น ในวั น หยุ ด หรื อ วั น สํา คัญ ตางๆ เพื่อเปนการเสริมเพิ่ มสัมพันธภาพที่ดีระหวา ง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 อาคารเรียนที่เหมาะสม คือ มีทําเลที่ตั้งปลอดภัยจากมลพิษ มี ขนาดห อ งไม คั บ แคบ มี อ ากาศถ า ยเท ไม ร อ นหรื อ หนาว จนเกินไป เมื่อมีการจัดลักษณะทางกายภาพที่สงเสริมวิชาชีพ การโรงแรมภายในมหาวิท ยาลั ยใหมี เพิ่ ม มากขึ้น จะมีผ ลให นักศึกษามีบุคลิกภาพที่พึงประสงคของนักการโรงแรมเพิ่มมาก ขึ้นตามไปดวย 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมีการศึกษาองคประกอบที่มีอิทธิพลตอ บุ ค ลิ ก ภาพที่ พึ ง ประสงค ข องนั ก การโรงแรม ของทาง มหาวิทยาลัยตางๆที่มีการเปดการเรียนการสอนแผนกวิชาการ

โรงแรม โดยใชตัวแปรที่แตกตางจากงานวิจัยนี้ เชน เพศ เจต คติตอวิชาชีพโรงแรม การเลียนแบบบุคลิกภาพของอาจารย ผูสอน 2.2 ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบบุคลิกภาพที่ ประสบความสําเร็จในชีวิตการทํางานของนักการโรงแรม เพื่อ ใชเปรียบเทียบกับ บุคลิกภาพที่พึงประสงคในความตองการ ของประชาชนผูมาใชบริการในโรงแรม เพื่อเปนขอมูลใหกับ ทางมหาวิทยาลัยตางๆที่เปดการเรียนการสอนแผนกวิชาการ โรงแรม ซึ่ ง จะทํ า ให มี ก ารผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ ดี มี คุ ณ ภาพต อ ไป

บรรณานุกรม ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2526).จิตวิทยาเบื้องตน.กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ธัญญา แซหุน (2539). ความตองการ การสรรหาและการพัฒนาบุคลากรในสาขาอุตสาหกรรมทองเที่ยวของภาคธุรกิจ เอกชนในกรุงเทพมหานครและภาคตะวันตก. กรุงเทพฯ : การวิจัยเพื่อการพัฒนา ปที่ 25, ฉบับที่ 89 ปรีชา แดงโรจน (2534). การโรงแรม = Hotel management and operations.(พิมพครั้งที่ 4).กรุงเทพฯ.ถายเอกสาร ผองพรรณ เกิดพิทักษ.(2530).การปรับพฤติกรรมเบื้องตน = Introduction to behavior modification.กรุงเทพฯ : โครงการ สงเสริมการแตงตํารา ทบวงมหาวิทยาลัย พิสมัย ปโชติการ(2538).การบริการสวนหนาของโรงแรม.กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น วิชัย วงษใหญ.(2528).พัฒนาหลักสูตรและการสอน – มิติใหม.กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร ศิริเพิ่ม เชาวนศิลป (2541). ความพึงพอใจในงานของพนักงานในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ โรงแรม และโรงงาน ในเขตภาคเหนือ.กรุงเทพฯ : กรมสุขภาพจิต สุนารี เตชะโชควิวัฒน (2527). ความสัมพันธระหวางการอบรมเลี้ยงดูวินัยในตนเองและความภาคภูมิใจในตนเอง. ปริญญานิพนธ (กศ.ม.) -- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.ถายเอกสาร Hurlock, Elizabeth Bergner (1956). Child development. New York : McGraw-Hill Hurlock, Elizabeth Bergner (1973). Adolescent development.Tokyo : McGraw-Hill Kogakusha


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

ผลของการจั ด กิ จ กรรมโครงงานวิ ท ยาศาสตร ประกอบการประเมิ น ตามสภาพจริ ง ที่ มี ต อ ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 THE EFFECT OF USING SCIENCE PROJECT WITH AUTHENTIC ASSESSMENT ON ABILITY TO SOLVE SCIENTIFIC PROBLEM OF PRATHOMSUKSA IV STUDENTS ศศิมา อินทนะ1 รองศาสตราจารยชูศรี วงศรัตนะ2 อาจารยชวลิต รวยอาจิณ2 บทคัดยอ การวิ จัยครั้ ง นี้เ ปน การวิจั ยกึ่ง การทดลองโดยมี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ ศึ ก ษาผลของการจั ด กิ จ กรรมโครงงาน วิทยาศาสตร โดยทําการศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถ ในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนที่ไดรับการจัด กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรประกอบการประเมินตามสภาพ จริง ระหวางกอนและหลังการทดลอง ซึ่งแบงออกเปน 2 ระยะ ระยะที่ 1 การจัดกิจกรรมตามสาระการเรียนรูและ ระยะที่ 2 การจัดกิจกรรมตามความสนใจ ซึ่งประกอบดวย 7 ขั้นตอน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษา ป ที่ 4 ของโรงเรี ย นวั ด เปาโรหิ ต ย เขตบางพลั ด กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 30 คน ซึ่งไดมาจากการสุมอยางงาย แบบแผนการวิจัยเปนแบบ One-Group Time Series Design โดยดําเนินการทดลองสอง ระยะ แตละระยะ ใชเวลา 5 ชั่วโมง

1

นิสิตระดับปริญญาโท สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยประจําภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการเก็ บ รวบรวมข อ มู ล คื อ แบบทดสอบวั ด ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร ที่มีคาความ เชื่อมั่นเทากับ 0.789 และแบบประเมินความสามารถในการ แก ป ญ หาทางวิ ท ยาศาสตร ที่ ทํ า การสั ง เกตและบั น ทึ ก พฤติกรรมโดยแบงออกเปน 4 ดานตามทฤษฎีของเวียร แบบ สะทอนตนเองของนักเรียนเกี่ยวกับโครงงาน แบบสะทอนความ คิดเห็นของเพื่อนนักเรียนเกี่ยวกับการทําโครงงานวิทยาศาสตร และแบบประเมินแฟมสะสมงาน วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ พื้นฐาน คือ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบ วิธีวิเคราะหความแปรปรวนแบบมีหนึ่งตัวประกอบแบบวัดซ้ํา (One-way Analysis of Variance: Repeated measures) ผลการวิจัยพบวา 1. การใช กิ จ กรรมการเรี ย นโดยการจั ด กิ จ กรรม โครงงานวิทยาศาสตรประกอบการประเมินตามสภาพจริง ทั้ง ในระยะที่ 1 และระยะที่ 2 สงผลใหนักเรียนมีพัฒนาการดาน ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตรสูงขึ้น โดย พิจารณาจากแบบประเมินความสามารถในการแกปญหาทาง วิทยาศาสตรและแบบประเมินแฟมสะสมงาน 2. ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร ของนั กเรียน หลังการจัดกิ จกรรมโครงงานวิ ทยาศาสตร ประกอบการประเมิ น ตามสภาพจริ ง สู ง ขึ้ น กว า ก อ นการจั ด กิจกรรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยนักเรียนที่ ได รั บ การจั ด กิ จ กรรมโครงงานวิ ท ยาศาสตร ป ระกอบการ ประเมิ น ตามสภาพจริ ง มี พั ฒ นาการความสามารถในการ แกปญ หาทางวิทยาศาสตรสูง ขึ้นตามระยะเวลาจากการจั ด กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรในระยะที่ 1 สูการจัดกิจกรรม โครงงานวิทยาศาสตรในระยะที่ 2 ตามลําดับ คําสําคัญ : ความสามารถในการแกปญหาทาง วิทยาศาสตร Abstract The purposes of this quasi experimental research were to study the effect of science projects with authentic assessment student’s knowledge an ability to solve scientific problem between before and after experiment which the experimental group was taught two stages: The first stage using science project learning student’s science and attention. The sample consisted of 30 students during the 2nd semester in academic year 2007 of Prathomsuksa 4 of Phorohit School, Bangpang, Bangkok. The one – group pretestposttest design was used for this study. The instruments used in the experiment included the testing the ability to solve scientific problem. The Reliability, of

the test was .789. Estimation the ability to solve scientific problem by observation and record has 4 aspects. The student’s reflection about project the reflection about opinions of the student’s friends in science project and estimation from portfolio. The data were analyzed by using mean, standard deviation, One-way analysis of Variance: repeated measures. The results revealed that: The students who learn by using science project with authentic assessment in first and second stage make the students higher an ability to solve scientific problem consider from Estimation the ability to solve scientific problem and portfolio. An ability to solve scientific problem of the students after science project with the authentic assessment higher before science project at the .01 level significance by the students who were science project with authentic assessment tended to have increasing an ability to solve scientific problem as they progressed though the first stage science project and second stage science project. Key : An ability to solve scientific problem ความเปนมาของปญหาการวิจัย แนวคิดและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ เรื่อ งการประเมิน ตามสภาพจริ ง ขยายผลเข า สู ร ะบบการศึ ก ษาของไทย จนกระทั่ ง มี ก ารประกาศใช ห ลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุท ธศั ก ราช 2544 ได มี ก ารกํ า หนดให ใ ช วิ ธี ก ารวั ด และ ประเมินผลผูเรียนตามสภาพจริง เพื่อตัดสินผลพัฒนาการ ทางการเรี ย นของผู เ รี ย นแต ล ะคนตามพระราชบั ญ ญั ติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 หมวด 4 มาตรา 26 ที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ และ มาตรา 22 วาดวยการจัดการศึกษาที่ ยึ ด หลั ก ว า ผู เ รี ย นทุ ก คนมี ค วามสามารถเรี ย นรู แ ละพั ฒ นา ตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด โดยกระบวนการ จั ด การศึ ก ษาต อ งส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย นสามารถพั ฒ นาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ สามารถจัดลักษณะกิจกรรม โครงงาน คือใหนักเรียนตั้งปญหาแลวหาคําตอบดวยตนเอง ตามความถนัดและความสนใจของนักเรียนแตละคน หรือแต ละกลุม วาจะทําโครงงานเรื่องอะไร และจะคนหาคําตอบของ โครงงานนั้นดวยวิธีการใด โดยครูเปนเพียงที่ปรึกษา ไมใชบอก ความรู (คําตอบ) ใหแกผูเรียน การเรียนรูที่ผูเรียนแสวงหาและ คนพบความรูดวยตนเอง เปนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งยึดหลักการจัดการเรียนรูตามแนวทฤษฏีการสรางความรู ดวยตนเอง (Constructivism) ทฤษฏีการสรางความรูดวย


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 จั ด กิ จ กรรมโครงงานวิ ท ยาศาสตร ต ามสาระการเรี ย นรู ประกอบการประเมินตามสภาพจริงและหลังการจัดกิจกรรม โครงงานวิทยาศาสตรตามความสนใจ สมมติฐานของการวิจัย 1. ห ลั ง ไ ด รั บ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ง า น วิทยาศาสตรตามสาระการเรียนรูประกอบการประเมิน ตาม สภาพจริ ง นั ก เรี ย นมี ค วามสามารถในการแก ป ญ หาทาง วิทยาศาสตรสูงกวา กอ นไดรับการจัดกิจกรรมโครงงาน วิทยาศาสตรตามสาระการเรียนรู ประกอบการประเมินตาม สภาพจริง 2. ห ลั ง ไ ด รั บ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ง า น วิทยาศาสตรตามความสนใจประกอบการประเมินตามสภาพ จริง นักเรียนมีความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร สูงกวา กอนไดรับการจัดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรตาม ความสนใจ ประกอบการประเมินตามสภาพจริง วิธีดําเนินการศึกษาวิจัย ประชากร ประชากรที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เป น นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนวัดเปาโรหิตย สํานักงานเขตบาง พลัด สังกัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 ซึ่งมีจํานวนหองเรียน 3 หองเรียน และมีจํานวนประชากรทั้งสิ้น 90 คน โดยมีการจัดหองเรียนแบบคละความสามารถของ นักเรียน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนวัดเปาโรหิตย สํานักงานเขตบาง พลัด สังกัดกรุงเทพมหานคร มาจํานวน 3 หองเรียน ไดมาโดย การสุมอยางงาย มา 1 หองเรียน ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรอิสระคือการจัดกิจกรรมโครงงาน วิทยาศาสตรประกอบการประเมินตามสภาพจริง 2. ตัวแปรตาม คือ ความสามารถในการแกปญหา ทางวิทยาศาสตร ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมขอมูล การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป น การวิ จั ย กึ่ ง การทดลอง เพื่ อ เปรียบเทียบความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ผูวิจัยไดดําเนินการทดลอง จัดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรประกอบการประเมินตาม สภาพจริง โดยเก็บรวบรวมขอมูลเปนชวงระยะเวลา ดังนี้ ระยะเริ่มตน ทําการปฐมนิเทศนักเรียน และทดสอบ ก อ นการทดลองด ว ยแบบทดสอบวั ด ความสามารถในการ แกปญหาทางวิทยาศาสตร วางแผนแบงนักเรียนเปนกลุมๆ ซึ่ง นั ก เรี ย นเป น ผู จั บ ฉลากเลื อ กกลุ ม ด ว ยตนเอง แต ล ะกลุ ม มี

ตนเองโดยการสร า งสรรค ชิ้ น งาน (Constructionism) และ ทฤษฏีพหุปญญา (Theory of Multiple Intelligence) กิจกรรมโครงงานเปนกิจกรรมที่เนนเกี่ยวกับการ สรางความรูดวยตนเองของผูเรียน โดยบูรณาการสาระความรู ตางๆ ที่อยากรูใ หเอื้อตอ กัน หรือ รวมกันสรางเสริมความคิ ด ความเข า ใจ ความตระหนั ก ทั้ ง ด า นสาระและคุ ณ ค า ต า งๆ ใหกับผูเรียนโดยอาศัยทักษะทางปญญาหลายๆ ดาน ทั้งที่เปน ทั ก ษะขั้ น พื้ น ฐานในการแสวงหาความรู แ ละทั ก ษะขั้ น สู ง ที่ จําเปนอยางยิ่งในการคิดอยางสรางสรรคและมีวิจารณญาณ เปนตน จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ผูจะเปนครูตอไปในอนาคต จะต อ งมี ค วามรู ความเข า ใจเกี่ ย วกั บ การทํ า โครงงาน ประสบการณตรงโดยการทําโครงงานดวยตนเอง จะทําใหเกิด การเรียนรูอยางแทจริง (ลัดดา ภูเกียรติ.2544: 19) ดังนั้นการ ใหนักเรียนทําโครงงานจึงเปนวิธีการหนึ่งที่นักเรียนไดมีสวน รวมในการเรียนรูดวยตนเองและปฏิบัติเอง ชวยใหนักเรียนได พัฒนาความคิดอยางอิสระ ไดฝกการทํางานกลุม ไดฝกทักษะ กระบวนการในการคนควา เชน การสังเกต การวัด การสํารวจ การตั้งสมมติฐาน การทดสอบ การทดลอง การรวบรวมขอมูล การหาขอสรุป การอภิปรายของสมาชิกในกลุม การวางแผน การทํางาน การวิเคราะหขอมูล การนําเสนอขอมูลในรูปแบบ ตา งๆ เชน การแสดงรูปแบบจําลอง การจัดนิทรรศการ การ เขียนในรูปของแผนภูมิ แผนผัง การเขียนรายงาน หนังสือเลม เล็ก แผนพับ โปสเตอร การจัดทําแผนโครงงาน การแสดงละคร การแสดงบทบาทสมมติ เปนตน เริ่มตั้งแตปญหาที่เขาสนใจ และอยากรูคําตอบจึงไดทําการศึกษาคนควาขอมูล รวบรวม ขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของโดยอาศัยความรูความเขาใจจากเรื่อง ต า งๆ ที่ ไ ด เ รี ย นมา ใช ก ระบวนการและทั ก ษะต า งๆ ที่ เ ป น พื้นฐานภายใตการใหคําแนะนําปรึกษาและการดูแ ลของครู หรือผูเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ จากเหตุผลดังกลาวขางตน ผูวิจัยจึงไดสนใจศึกษา ผลของการจั ด กิ จ กรรมโครงงานวิ ท ยาศาสตร ป ระกอบการ ประเมินตามสภาพจริงที่มีตอการพัฒนาความสามารถในการ แกปญหาทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ซึ่ ง ผลการวิ จั ย นี้ จ ะเป น แนวทางแก ค รู แ ละผู ป กครองในการ นํามาปฏิบัติกับนักเรียนเพื่อเปนประโยชนตอการทําโครงงาน วิทยาศาสตรตอไป ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาผลของการจั ด กิ จ กรรมโครงงาน วิ ท ยาศาสตร ต ามสาระการเรี ย นรู แ ละตามความสนใจ ประกอบการประเมินตามสภาพจริงที่มีตอความสามารถในการ แกปญหาทางวิทยาศาสตร 2. เพื่ อ เปรี ย บเที ย บความสามารถในการ แกปญหาทางวิทยาศาสตร ระหวางกอนจัดกิจกรรม หลังการ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ตอนที่ 1 วิ เ คราะห ข อ มู ล ก อ นการทดลองและ ระหวางการทดลอง การวิ เ คราะห ห าค า คะแนนเฉลี่ ย ค า เบี่ ย งเบน มาตรฐาน ก อ นการจั ด กิ จ กรรมโครงงานวิ ท ยาศาสตร ประกอบการประเมินตามสภาพจริง ซึ่งไดจากแบบทดสอบวัด ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร แบบเลือกตอบ จํานวน 40 ขอ การวิเคราะหเนื้อหา สรุปผลการประเมินตามสภาพ จริงของความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร ตั้งแต ระยะที่ 1 จนถึงระยะที่ 2 วิเคราะหแนวโนมของการพัฒนา จากแบบประเมิ น ความสามารถในการแก ป ญ หาทาง วิทยาศาสตร แบบสะทอนตนเองของนักเรียนเกี่ยวกับการทํา โครงงาน แบบสะทอนความคิดเห็นของเพื่อนนักเรียนเกี่ยวกับ การทําโครงงาน แบบประเมินผลของโครงงาน และแบบ ประเมินแฟมสะสมงาน ตอนที่ 2 วิเคราะหขอมูลหลังการทดลอง 1. ศึ ก ษาความสามารถในการแก ป ญ หาทาง วิทยาศาสตร ในแตละชวงระยะของนักเรียน โดยหาคาคาสถิติ พื้นฐานและแสดงกราฟ 2. เปรี ย บเที ย บคะแนนความสามารถในการ แก ป ญ หาทางวิ ท ยาศาสตร ก อ นที่ ไ ด รั บ การจั ด กิ จ กรรม โครงงานวิทยาศาสตร และคะแนนหลังไดรับการจัดกิจกรรม โครงงานวิทยาศาสตรตามสาระการเรียนรู และตามความสนใจ โดยใช ส ถิ ติ แ บบวิ ธี วิ เ คราะห ค วามแปรปรวนแบบมี ห นึ่ ง ตั ว ประกอบแบบวัดซ้ํา (One-way analysis of Variance: repeated measures) สรุปผลการวิจัย 1. หลั ง การจั ด กิ จ กรรมโครงงานวิ ท ยาศาสตร ประกอบการประเมินตามสภาพจริง ทําใหนักเรียนมีการพัฒนา ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร 2. ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ภายหลังการจัดกิจกรรม โครงงานวิทยาศาสตรประกอบการประเมินตามสภาพจริง มี คะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อภิปรายผล 1. ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ง า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร ประกอบการประเมิ น ตามสภาพจริง ทํา ใหนั ก เรี ย นเกิ ด การ พั ฒ นาความสามารถในการแก ป ญ หาทางวิ ท ยาศาตร ดี ขึ้ น ทั้งนี้เพราะการเรียนรูแบบโครงงานเปนการปฏิรูปกระบวนการ เรี ย นรู โดยเน น ผู เ รี ย นเป น สํ า คั ญ ที่ ผู เ รี ย นต อ งเป น ผู ป ฏิ บั ติ กิจกรรมตางๆ ดวยตนเอง (สํานักงานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแหงชาติ:2542) สวนการประเมินตามสภาพจริง นั้น เปนกระบวนการที่สังเกตได บันทึก และรวบรวมขอมูลจาก

สมาชิกประมาณ 5-6 คน ชี้แจงทําความเขาใจและสราง ขอตกลงรวมกันกับนักเรียนกลุมตัวอยาง ในการรวมกิจกรรม การเรียน ระยะที่ 1 เปนการจัดกิจกรรมโครงงานตามสาระ การเรียนรู ครอบคลุมในสัปดาหที่ 1-2 ชั่วโมงที่ 2-6 แผนการ จัดการเรียนรูที่ 1-4 ขณะดําเนินการทดลองผูวิจัยและผูชวย ผูวิจัยจํานวน 2 คนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะรวม กิ จ กรรม แล ว จดบั น ทึ ก พฤติ ก รรมนั ก เรี ย นในแบบประเมิ น ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตรในแตละดาน เมื่อสิ้นสุดระยะที่ 1 ทดสอบหลังไดรับการจัดกิจกรรมโครงงาน ตามสาระการเรียนรูประกอบการประเมินตามสภาพจริง ดวย แบบทดสอบความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร ชุดเดียวกั บ กอนการทดลอง และใหนั กเรียนทําแบบสะท อ น ตนเองในการทํางานโครงงานและแบบสะทอนความคิดเห็น ของเพื่อนในการทําโครงงาน นําขอมูลการประเมินตามสภาพ จริ ง แบบประเมิ น ความสามารถในการแก ป ญ หาทาง วิทยาศาสตรที่ไดจากการสังเกตพฤติกรรม การตรวจประเมิน ในกิจกรรม และการตรวจแฟมสะสมงาน มาวิเคราะหเนื้อหา สรุ ป ผลการประเมิ น เชิ ง พรรณนา และสะท อ นผลการจั ด กิจกรรมและการประเมินในระยะที่ 1 ใหนักเรียนทราบ ระยะที่ 2 เปนการจัดกิจกรรมโครงงานตามความ สนใจ ครอบคลุมในสัปดาหที่ 3-4 ชั่วโมงที่ 8-12 แผนการ จัดการเรียนรูที่ 5-8 ขณะดําเนินการทดลองผูวิจัยและผูชวย ผูวิจัยจํานวน 2 ทานสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะรวม กิ จ กรรม แล ว จดบั น ทึ ก พฤติ ก รรมนั ก เรี ย นในแบบประเมิ น ความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตรในแตละดาน เมื่อสิ้นสุดระยะที่ 2 ทดสอบหลังไดรับการจัดกิจกรรมโครงงาน ตามความสนใจประกอบการประเมิ น ตามสภาพจริ ง ด ว ย แบบทดสอบความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร ชุดเดียวกับ กอนการทดลอง และใหนักเรียนทําแบบสะทอ น ตนเองในการทํางานโครงงานและแบบสะทอนความคิดเห็น ของเพื่อนในการทําโครงงาน นําขอมูลการประเมินตามสภาพ จริ ง แบบประเมิ น ความสามารถในการแก ป ญ หาทาง วิทยาศาสตรที่ไดจากการสังเกตพฤติกรรม การตรวจประเมิน ในกิจกรรม และการตรวจแฟมสะสมงาน มาวิเคราะหเนื้อหา สรุ ป ผลการประเมิ น เชิ ง พรรณนา และสะท อ นผลการจั ด กิจกรรมและการประเมินในระยะที่ 2 ใหนักเรียนทราบ สรุปผล การวัดความสามารถในการแกปญหาทางวิทยาศาสตรของ นัก เรี ย นและการประเมิ น ตามสภาพจริ ง ในแต ล ะชว งระยะ สะทอนผลการเรียนใหนักเรียนทราบและเปรียบเทียบ การจัดกระทําและการวิเคราะหขอมูล การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ตามลําดับ ขั้นตอนดังนี้


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 สอนที่สงเสริมใหนักเรียนไดคนหาคําตอบดวยตนเอง และทํา ความเขาใจโดยนําความรูเดิมที่มีอยูมาเชื่อมโยง ตรวจสอบกับ สิ่งที่พบใหมและสรางเปนความรูดวยตนเอง ซึ่งสอดคลองกับ บูร ชัย ศิ ริม หาสาคร (2545:17) ที่ไ ดใ หค วามหมายของ โครงงานวา โครงงานคือ ผลงานการวิจัยชิ้นเล็กๆ ของผูเรียน ที่ ใช ก ระบวนการวิ จั ย ในการแสวงหาความรู หรื อ ความจริ ง เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง ตามสาระการเรี ย นรู อ ยา งแท จ ริ ง ตั้งแตเปนผูกําหนดปญหาซึ่งเปนหัวขอโครงงาน และวิธีการ ไดมาซึ่งคําตอบนั้นดวยตนเอง ครูเปนเพียงที่ปรึกษา คอยให คําแนะนําตามความจําเปน 4. สภาพป ญ หาและอุ ป สรรคในการประเมิ น ตาม สภาพจริง จากการศึกษาวิจัยในระยะเริ่มตนนั้นพบปญหาใน การประเมิน กลาวคือ นักเรียนขาดความเขาใจในการประเมิน เคยชินกับการประเมินแบบเดิมที่ครูเปนผูประเมินคนเดียว ซึ่ง ผูวิจัยไดอธิบาย ชี้แจง เพิ่มเติม ทําใหนักเรียนเขาใจมากขึ้น สามารถประเมินผลงานและพฤติกรรมของตนเองและเพื่อนได นั ก เรี ย นมี ค วามกระตื อ รื อ ร น มากขึ้ น ทั้ ง นี้ ผู วิ จั ย ได ป รั บ ปรุ ง กิจกรรมการทํางานกลุมใหเหมาะสมกับเวลาในแตละชวงระยะ เนื่องจากในชวงระยะที่ 1 นั้น นักเรียนยังใชเวลาในการทําใบ กิจกรรมมาก เนื่องจากนักเรียนยังคิดวาถาทําไมเสร็จครูจะให ไปทํ า เป น การบ า น ทํ า ให นั ก เรี ย นทํ า ไม ต รงตามเวลาที่ ค รู กําหนด นอกจากนี้ผูวิจัยยังไดขอความรวมมือจากคณะครูให เขามามีสวนรวมในการประเมินตามสภาพจริงในบางชิ้นงาน ดวย ซึ่งพบวา ครูที่ไดรวมประเมินสามารถประเมินใหคะแนน นักเรียนตามเกณฑไดสอดคลองกับสภาพจริงของนักเรียน ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลวิจัยไปใชในชั้นเรียน ในการนํ า ผลการวิ จั ย ไปใช ใ นชั้ น เรี ย น หรื อ ใช ใ น กิจกรรมการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ควร ปฏิบัติดังนี้ 1.1 การพั ฒ นาความสามารถในแก ป ญ หาทาง วิทยาศาสตรควรใชลักษณะการฝก โดยใหนักเรียนไดฝกทักษะ การคิดแกปญหาดวยตนเอง และครูเปนเพียงที่ปรึกษาเทานั้น เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูอยางเต็มตามความสามารถ 1.2 ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ง า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร ประกอบการประเมิ น ตามสภาพจริ ง ควรใช วิ ธี ก ารวั ด ที่ หลากหลายวิ ธี จ ะทํ า ให ไ ด ข อ มู ล สารสนเทศที่ ช ว ยให ท ราบ พฤติ ก รรมของผู เ รี ย นได อ ย า งแท จ ริ ง เพื่ อ นํ า ไปปรั บ ปรุ ง กิจกรรมการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1.3 ก า ร กํ า ห น ด เ ก ณ ฑ ที่ ใ ช ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ความสามารถในการแกปญ  หาทางวิทยาศาสตร ควรกําหนดให สอดคล อ งกั บ ระดั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ข องผู เ รี ย น เพื่ อ ให ก าร

งานและวิธีการที่นักเรียนทํา เพื่อเปนพื้นฐานของการตัดสินใจ ในการศึกษาถึงผลกระทบตอเด็ก ไมเนนการประเมินเฉพาะ ทักษะพื้นฐาน แตเนนการประเมินทักษะการคิดที่ซับซอนใน การทํางาน ความสามารถในการแกปญหา และการแสดงออก ที่เกิดจากการปฏิบัติในสภาพจริง ที่นักเรียนเปนผูคนพบและ ผลิตความรู (กรมวิชาการ: 2545) 2. การประเมินความสามารถในการแกปญหาทาง วิ ท ยาศาสตร โดยใช แ บบประเมิ น ความสามารถในการ แกปญหาทางวิทยาศาสตร ประกอบดวยดานตางๆ 4 ดาน ไดแก 1) ดานความสามารถในการบอกปญหา 2) ดาน ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร บ อ ก ส า เ ห ตุ ที่ แ ท จ ริ ง 3 ) ด า น ความสามารถในการหาวิธีการแกปญหา 4) ดานความสามารถ ในการอภิปรายผลที่เกิ ดขึ้น เปนการประเมิ นโดยการสังเกต พฤติ ก รรมของนั ก เรี ย นระหว า งทํ า กิ จ กรรมโครงงาน วิท ยาศาสตร ตั้ง แต เริ่ มต น จนจบ ทํ า ใหท ราบถึ ง พัฒ นาของ นั ก เรียนว า เกิด การเรียนรูมากนอ ยเพี ยงใด และเปน ไปตาม สภาพจริงของนักเรียนหรือไม การประเมินตามสภาพจริงเปน การประเมินที่เปดโอกาสใหนักเรียนและครูสะทอนเปาหมาย และแนวทางในการประสบความสํา เร็จ ไดเปน อยา งดี (กรม วิชาการ. 2542 : 10) ดัง นั้นผูวิจัยจึงนําผลการประเมิน ตาม สภาพจริ ง ในครั้ ง แรกมาเป น ข อ มู ล พื้ น ฐานในการพั ฒ นา ความสามารถในการแก ป ญ หาทางวิ ท ยาศาสตร ข องกลุ ม ตัว อยา ง จึ ง ส ง ผลทํ า ให ค วามสามารถในการแกป ญ หาทาง วิทยาศาสตรในระยะที่ 2 สูงกวาในระยะที่ 1 ซึ่งกิติภูมิ เลิศกิตติ กุลโยธิน (2550) ไดศึกษาความสามารถในการแกปญหาและ ความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตร โดยใชแบบฝกโครงงาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ผลการวิ จั ย พบว า นั ก เรี ย นที่ ไ ด รั บ การสอนโดยใช แ บบฝ ก โครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีความสามารถในการ แกปญหาทางวิทยาศาสตรสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ.01 3. การจัดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตรเปนการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ที่ เ น น ผู เ รี ย นเป น สํ า คั ญ นั ก เรี ย นศึ ก ษา คนควาและคนพบองคความรูดวยตนเอง สอดคลองกับ การ จัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ดังที่ วัฒนาพร ระงับทุกข (2541:11) ที่กลาววา หลักการถายทอดความรูและ ประสบการณการเรียนรูแ กผู เรียนคื อ การยึดการคน พบดว ย ตนเองเป น วิ ธี ก ารสํ า คั ญ การเรี ย นรู โ ดยครู ผู ส อนพยายาม จัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนไดคนหาคําตอบดวย ตนเอง ทั้ ง นี้ เ พราะการค น พบความจริ ง ใดๆ ด ว ยตนเองนั้ น ผูเรียนมักจะจดจําไดดี และมีความหมายโดยตรงตอผูเรียนและ เกิ ด ความคงทนของความรู และการจั ด กิ จ กรรมโครงงาน วิทยาศาสตรก็เปนกิจกรรมหนึ่งที่ครูผูสอนไดจัดการเรียนการ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 1.4 ประเมิ น ผลเป น ไปตามสภาพจริ ง ของผู เ รี ย น และคํานึงถึงผูเรียนเปนสําคัญ 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรนําแบบทดสอบวัดความสามารถในการ แกปญหาทางวิทยาศาสตรตามทฤษฎีของเวียร ไปใชในการ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดดานตางๆ

2.2 ควรพัฒนาแบบทดสอบวัดความสามารถในการ แกปญหาทางวิทยาศาสตร ในหนวยการเรียนรูอื่นๆ เพื่อ สงเสริมใหนักเรียนมีความสามารถในการแกปญหามากขึ้น 2.3 ควรพัฒนาทักษะการบอกปญหา การหาสาเหตุ ของปญหา วิธีการแกปญหา และการอภิปรายผล ใหมากขึ้น เพื่อใหนักเรียนไดรูจักการวิเคราะหปญหาตางๆ จาก สถานการณตางๆ และสามารถแกปญหาไดถูกตอง

บรรณานุกรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2545. กรุงเทพ: โรงพิมพองคการ รับสงสินคาและพัสดุภัณฑ(ร.ส.พ.). กิติภูมิ เลิศกิตติกุลโยธิน (2550).การศึกษาความสามารถในการแกปญหาและความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตร โดย ใชแบบฝกโครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.ถายเอกสาร คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2542). โครงงาน: การเรียนรูที่ลุมลึก.กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน.(2540). ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด ไอเดีย สแควร. ชูศรี วงศรัตนะ. (2550). เทคนิคการใชสถิติเพื่อการวิจัย. พิมพครั้งที่ 10. นนทบุรี: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร โปรเกรสซิฟ จํากัด. ธีระชัย ปูรณโชติ(2531). การสอนกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร คูมือสําหรับครู. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ (2544). การประเมินการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ:แนวคิดและวิธีการ. สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง. บูรชัย ศิริมหาสาคร (2547). การออกแบบหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน.กรุงเทพฯ: บุค พอยท. วัฒนาพร ระงับทุกข (2541). การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง. กรุงเทพฯ: ตนออ ๑๙๙๙ จํากัด. ลัดดา ภูเกียรติ(2544). โครงงานเพื่อการเรียนรู หลักการและแนวทางการจัดกิจกรรม. กรุงเทพฯ: เอส แอนด จี กราฟฟค. สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.). (2545). โครงงานกลุมทักษะคณิตศาสตร ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. Bloom, Benjamin S. (1972). Taxonomy to Education Objective Hand Book 1 : Cognitive Domain. 17th ed New York: David Mackay. Gaier, E.L.(1953). “The Role of Knowledge in Problem – Solving” Progressive Education. New York: Holy. Rinehart and Winstin. Weir, John Joseph. (1974, April). “Problem Solving is Everybody’s Problem”. Science Teacher. 41(2): 16-18


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

ก า ร ศึ ก ษ า ป จ จั ย บ า ง ป ร ะ ก า ร ที่ ส ง ผ ล ต อ ยุทธศาสตรการเรียนรูของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 4 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ชัยภูมิ เขต 2 A STUDY ON SOME FACTORS RELATED TO LEARNING STRATEGIES OF MATHAYOM SUKSA IV STUDENTS IN THE OFFICE OF EDUCATIONAL AREA II, CHAIYAPHUM PROVINCE. ณัฐวรรณ กาบคํา1 อาจารย ดร.สุวพร เซ็มเฮง2 อาจารย ดร.เสกสรรค ทองคําบรรจง2 บทคัดยอ

การวิ จั ย ในครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ศึ ก ษา ความสัมพันธระหวางปจจัยบางประการ ไดแก เจตคติตอการ เรียน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ การรับรูความสามารถของตนเองใน การเรียน การสนับสนุนทางการเรียนของผูปกครอง และการ เรียนรูแบบมีสวนรวม กับยุทธศาสตรการเรียนรูโดยรวมและ จําแนกตามขั้น ไดแก ขั้นระบุปญหาและวางแผนการเรียน ขั้น กํ า กั บการปฏิ บั ติ กิ จกรรมการเรี ยน และขั้ นประเมิ นผลและ ปรับปรุงแกไข และเพื่อศึกษาคาน้ําหนักความสําคัญของปจจัย ที่ ส ง ผลต อ ยุ ท ธศาสตร ก ารเรี ย นรู ใ นขั้ น ระบุ ป ญ หาและวาง แผนการเรียน ขั้นกํากับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียน และขั้น ประเมิ นผลและปรั บปรุ งแก ไข กลุ มตั วอย างเป นนั กเรี ยนชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 457 คน ซึ่ ง ได ม าด ว ยวิ ธี สุ ม แบบ 2 ขั้ น ตอน (Two-Stage Sampling) เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาค น คว า ในครั้ ง นี้ ประกอบด ว ย แบบสอบถามวั ด ยุ ท ธศาสตร ก ารเรี ย นรู แบบสอบถามวัดเจตคติตอการเรียน แบบสอบถามวัดแรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์ แบบสอบถามวัดการรับรูความสามารถของตนเอง

1

นิสิตระดับปริญญาโท สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยประจําภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ในการเรียน แบบสอบถามวัดการสนับสนุนทางการเรียนของ ผูปกครอง และแบบสอบถามวัดการเรียนรูแบบมีสวนรวม มีคา ความเชื่อมั่นเทากับ 0.946, 0.837, 0.871, 0.897, 0.918 และ 0.890 ตามลําดับ การวิเคราะหขอมูลใชการวิเคราะหการ ถดถอยพหุคูณแบบตัวแปรพหุนาม (Multivariate Multiple Regression: MMR) และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณแบบ ตัวแปรเอกนาม (Univariate Multiple Regression: MR) ผลการศึกษาพบวา 1. สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางกลุมตัวแปรปจจัย ได แ ก เจตคติ ต อ การเรี ย น แรงจู ง ใจใฝ สั ม ฤทธิ์ การรั บ รู ความสามารถของตนเองในการเรียน การสนับสนุนทางการ เรี ย นของผู ป กครอง และการเรี ย นรู แ บบมี ส ว นร ว ม กั บ ยุท ธศาสตร การเรี ยนรู ทั้ง 3 ขั้น มีคา เทา กับ .353 (MMR= .353) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และคา สหสัมพันธพหุคูณระหวางตัวแปรปจจัยดังกลาวกับยุทธศาสตร การเรียนรูในขั้นระบุปญหาและวางแผนการเรียน ขั้นกํากับการ ปฏิบัติกิจกรรมการเรียน และขั้นประเมินผลและปรับปรุงแกไข มีคาเทากับ .656, .674 และ .710 ตามลําดับ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. คาน้ําหนักความสําคัญของกลุมตัวแปรปจจัยที่ สงผลตอยุทธศาสตรการเรียนรู พบวา ขั้นระบุปญ  หาและวาง แผนการเรียน กลุมตัวแปรปจจัยที่สงผลอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 ไดแก การสนับสนุนทางการเรียนของ ผูปกครอง เจตคติตอการเรียน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ และการรับรู ความสามารถของตนเองในการเรียน ขั้นกํากับการปฏิบัติ กิจกรรมการเรียน กลุมตัวแปรปจจัยที่สงผลอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 ไดแก การรับรูความสามารถของตนเองใน การเรียน การสนับสนุนทางการเรียนของผูปกครอง แรงจูงใจใฝ สัมฤทธิ์ และเจตคติตอการเรียน และขัน้ ประเมินผลและ ปรับปรุงแกไข กลุมตัวแปรปจจัยที่สงผลอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 ไดแก การรับรูความสามารถของตนเองในการ เรียน การเรียนรูแบบมีสวนรวม แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เจตคติตอ การเรียน และการสนับสนุนทางการเรียนของผูปกครอง คําสําคัญ: ยุทธศาสตรการเรียนรู Abstract The purpose of this study were to investigate the relationships among some factors on attitude towards learning, achievement motivation, learning selfefficacy, parent’s learning support and participation learning and the whole of cognitive learning strategies and another by classify the step that consisted of asking question and planning, monitoring, and evaluating and revising; and to study the beta weights of the factors

contributed to the steps at three cognitive learning strategies. The samples were 457 Mathayomsuksa IV students in the second semester of 2007 in the school belong to the office of educational area II. They were selected by using two-stage sampling. The instruments were the questionnaires concerned cognitive learning strategies, attitude towards learning, achievement motivation, learning self-efficacy, parent’s learning support and participation learning. The reliabilities of the questionnaires were 0.946, 0.837, 0.871, 0.897, 0.918 and 0.890 respectively. The data were analyzed by using Multivariate Multiple Regression (MMR) and Univariate Multiple Regression (MR). The results of the study were: 1. The correlation coefficients between factors referent to attitude towards learning, achievement motivation, learning self-efficacy, parent’s learning support, and participation learning related with the three steps of cognitive learning strategies on statistical signification at .01 level (MMR= .353). The Multiple correlations many these factors and three step at learning strategies that consisted of asking question and planning, monitoring, and evaluating and revising were .656, .674 and .710 with statistical signification at .01 level respectively. 2. The beta weights of factors contributed to each factors in learning strategies were as follows: Asking question and planning had a statistical signification at .01 level from parent’s learning support, attitude towards learning, achievement motivation, and learning self-efficacy. Monitoring had a statistical signification at .01 level from learning self-efficacy, parent’s learning support, achievement motivation, and attitude towards learning. Evaluating and revising had a statistical signification at .01 level from learning self-efficacy, participation learning, achievement motivation, attitude towards learning, and parent’s learning support. Key Words : learning strategies ความเปนมาของปญหาการวิจัย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) เปนแผนยุทธศาสตรที่ชี้กรอบทิศทางการ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 หนึ่ง ซึ่งเปนกิจกรรมที่ผูเรียนกําหนดขึ้นเองอยางตั้งใจ เพื่อใช อํานวยประโยชนตอการเรียนรูของตนเอง โดยเชื่อวาธรรมชาติ ของยุ ท ธศาสตร ก ารเรี ย นรู ข องนั ก เรี ย น จะมี ลั ก ษณะเป น กิจกรรมที่ดําเนินไปอยางเปนลําดับขั้น นิสเบ็ท และชุคสมิท จึง รวบรวมแนวคิดของนักการศึกษาหลายทานแลวนําเสนอเปน 6 ขั้นตอน ไดแก 1) การระบุปญหา 2) การวางแผน 3) การกํากับ การปฏิบัติงาน 4) การตรวจสอบ 5) การปรับปรุงแกไข และ 6) การทดสอบตนเอง ซึ่ ง แนวคิ ด ของนิ ส เบ็ ท และชุ ค สมิ ท สอดคลองกับแนวคิดของแอปส (พิทักษ นิลนพคุณ 2539 หนา 53 อางอิงจาก Apps, 1987, p. 17-18) ที่มองวิธีการเรียนวา เป นเรื่องของการเรี ยนที่ จะตองกํ าหนดเปาหมายและกิจกรรม ตางๆ ของตนเอง เพื่อใหการเรียนประสบความสําเร็จ แอปสได จําแนกองคประกอบของยุทธศาสตรการเรียนรูไว 3 ประการ ใหญๆ ไดแก 1) การวางแผน (Planning) เปนการคิดแนว ปฏิบัติลวงหนาอยางเปนระบบ 2) การดําเนินการ (Carrying Out) เป นขั้นตอนที่ผูเรียนลงมือปฏิบัติเพื่อใหการเรียนบรรลุ เปาหมาย และ 3) การประเมินผล (Evaluating) เปนการ พิจารณาและวิเคราะหผลของการปฏิบัติวาประสบความ สําเร็จ เพียงใด และจะตองปรับปรุงแกไขอยางไร เห็น ไดวา ยุทธศาสตรการเรี ยนรูมีค วามสํา คัญ ตอ ความสําเร็จของนักเรียน ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษา ความสัมพันธของตัวแปรปจจัยตางๆ ที่สงผลตอยุทธศาสตร การเรี ย นรู โ ดยรวมและจํ า แนกตามขั้ น ของยุ ท ธศาสตร ก าร เรียนรู เพื่อเปนประโยชนตอครู อาจารย ผูปกครอง และผูที่ เกี่ ย วข อ งในการที่ จ ะช ว ยส ง เสริ ม ฝ ก ฝน และพั ฒ นา ยุทธศาสตรการเรียนรูของนักเรียนใหดีและเหมาะสมยิ่งขึ้น อีก ทั้งยังเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับครูหรือผูที่มีสวนเกี่ยวของกับ การศึกษานําไปใชในการกําหนดยุทธศาสตรการเรียนการสอน ให ส อดคล อ งและสนั บ สนุ น ต อ ยุ ท ธศาสตร ก ารเรี ย นรู ข อง นักเรียน อันจะนําไปสูความสําเร็จในการเรียนของนักเรียนได เปนอยางดี ซึ่งในงานวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดบูรณาการยุทธศาสตร การเรี ย นรู ข องนิ สเบ็ ทและชุ คสมิ ท และแอปส โดยจํ าแนก ยุ ท ธศาสตร ก ารเรี ย นรู อ อกเป น 3 ขั้ น ตอน ได แ ก ขั้ น ระบุ ปญหาและวางแผนการเรียน ขั้นกํากับการปฏิบัติกิจกรรมการ เรียน และขั้นประเมินผลและปรับปรุงแกไข โดยการวิเคราะห ถดถอยพหุคูณแบบตัวแปรตามหลายตัว วัตถุประสงคของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคของการวิจัย ดังนี้ 1. เพื่ อ ศึกษาความสัมพันธระหวา งปจจัยบาง ประการกับยุทธศาสตรการเรียนรูโดยรวมและจําแนกตามขั้น ได แ ก ขั้ น ระบุ ป ญ หาและวางแผนการเรี ย น ขั้ น กํ า กั บ การ ปฏิบัติกิจกรรมการเรียน และขั้นประเมินผลและปรับปรุงแกไข

พัฒนาประเทศระยะกลาง เปนการดําเนินการตอเนื่องจาก แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ ฉบั บ ที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) ในดานแนวคิดที่ยึด “คน” เปนศูนยกลางของ การพัฒนาในทุกมิติอยางเปนองครวม และใหความสําคัญกับ การพั ฒ นาที่ ส มดุ ล ทั้ ง ในตั ว บุ ค คล สั ง คม เศรษฐกิ จ และ สิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการสรางระบบบริหารจัดการภายในที่ ดีใหเกิดขึ้นในทุกระดับ อันทําใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมี “ค น ” เ ป น ศู น ย ก ล า ง ข อ ง ก า ร พั ฒ น า อ ย า ง แ ท จ ริ ง (คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2545 หนา 2) ประกอบกับเจตนารมณ ความมุงหมาย และหลักการของการ จัดการศึกษา ดังในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 1 มาตรา 6 ที่ บั ญ ญั ติ ว า “การศึ ก ษาต อ ง เปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม” มีจริยธรรม และ วัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมี ความสุข โดยการศึกษาตองสรางคนใหรูจักคิดเปน ทําเปน และแกปญหาเปน ที่สํา คัญตองสรางกระบวนการเรียนรูไ ด ด ว ยตนเอง เพื่ อ ให ผู เ รี ย นสามารถปรั บ เปลี่ ย นตนเองให ดํา รงชี วิ ต อยู ใ นสั ง คมที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอยู ต ลอดเวลาได อยางเหมาะสม (คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2545 หนา 1) นับแตมีการตื่นตัวเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาที่เนน ผู เ รี ย นเป น ส ว นที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด ในกระบวนการเรี ย นรู นั ก การศึ กษาไทยก็ ใหความสนใจกั บยุ ทธศาสตรการเรียนรูของ นั ก เรี ย นมากยิ่ ง ขึ้ น โดยครู ต อ งมี ก ระบวนการและวิ ธี ก ารที่ หลากหลายและเหมาะสมกั บการพั ฒนาการด านต างๆ ของ ผูเรียนในแตละชวงชั้น ซึ่งจุดมุงเนนของการเรียนการสอนตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ที่ตองการให เกิดขึ้นกับนักเรียนทุกระดับชวงชั้น คือ ใหผูเรียนเปนคนรอบรู มีทักษะในการคิด การปฏิบัติ การแสวงหาความรู และการ สรางความรูดวยตนเองได ซึ่งนักการศึกษาไทยมองวา การ สงเสริมยุทธศาสตรการเรียนรูของนักเรียนเปนปจจัยสําคัญที่ทํา ใหนักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรูจากการเปน ผู รั บ มาเป น ผู ส ร า งองค ค วามรู ด ว ยตนเองได อ ย า งมี ประสิ ท ธิ ภาพ และตรงตามความมุ งหวั งของการปฏิ รู ป การ เรียนรู อันเปนหัวใจหลักของการปฏิรูปการศึกษาไทยได ซึ่ง วีนสไตน และรอดเจอร (สุขุม ตังประพฤติกุล 2544 หนา 29 อางอิงจาก Weinstein; & Rodger, 1985) ไดกลาวไววา ผูเรียนที่ประสบความสําเร็จในการเรียน จะตองมีการพัฒนา และปรับปรุงยุทธศาสตรการเรียนรูใหเหมาะสมกับตนเอง นิสเบ็ท และชุคสมิท (Nisbet; & Shucksmith, 1986 p. 27-28) ไดคนพบวายุทธศาสตรการเรียนรูของนักเรียนจะมี ลักษณะเปนกิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) อยาง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 2. เพื่อศึกษาคาน้ําหนักของความสําคัญของปจจัย บางประการที่สงผลตอยุทธศาสตรการเรียนรูในขั้นระบุปญหา และวางแผนการเรียน ขั้นกํากับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียน และขั้นประเมินผลและปรับปรุงแกไข สมมติฐานการวิจัย 1. ปจจัยดานเจตคติตอการเรียน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ การรับรูความสามารถของตนเองในการเรียน การสนับสนุน ทางการเรียนของผูปกครอง และการเรียนรูแบบมีสวนรวม มี ความสั มพั น ธ กับ ยุ ท ธศาสตร ก ารเรี ยนรูโ ดยรวมและรายขั้ น ได แ ก ขั้ น ระบุ ป ญ หาและวางแผนการเรี ย น ขั้ น กํ า กั บ การ ปฏิบัติกิจกรรมการเรียน และขั้นประเมินผลและปรับปรุงแกไข 2. ตั ว แปรป จ จั ย อย า งน อ ยหนึ่ ง ด า นที่ ส ง ผลต อ ยุทธศาสตรการเรียนรูในขั้นระบุปญหาและวางแผนการเรียน ขั้นกํากับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียน และขั้นประเมินผลและ ปรับปรุงแกไข วิธีดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ชัยภูมิ เขต 2 ซึ่งมีจํานวนโรงเรียนทั้งหมด 23 โรงเรียน และ มีจํานวนประชากรทั้งสิ้น 3,164 คน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 สั ง กั ด สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาจั ง หวั ด ชั ย ภู มิ เขต 2 จํานวน 457 คน ซึ่งไดมาจากการสุมตัวอยางแบบสองขั้นตอน (Two-Stage Sampling) ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ไดแก 1.1 เจตคติตอการเรียน 1.2 แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ 1.3 การรับรูความสามารถของตนเองในการเรียน 1.4 การสนับสนุนทางการเรียนของผูปกครอง 1.5 การเรียนรูแบบมีสวนรวม 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ไดแก ยุทธศาสตรการเรียนรู 2.1 ขั้นระบุปญหาและวางแผนการเรียน 2.2 ขั้นกํากับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียน 2.3 ขั้นประเมินผลและปรับปรุงแกไข เครื่องมือที่ใชในการวิจัย มีจํานวน 6 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 แบบสอบถามวัดยุทธศาสตรการเรียนรู ฉบับที่ 2 แบบสอบถามวัดเจตคติตอการเรียน ฉบับที่ 3 แบบสอบถามวัดแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์

ฉบับที่ 4 แบบสอบถามวัดการรับรูความสามารถ ของตนเองในการเรียน ฉบับที่ 5 แบบสอบถามวัดการสนับสนุนทางการ เรียนของผูปกครอง ฉบับที่ 6 แบบสอบถามวัดการเรียนรูแบบมีสวนรวม การเก็บรวบรวมขอมูลและการวิเคราะหขอมูล ทํ าการเก็ บรวบรวมข อมู ลด วยตนเองทุ กฉบั บตาม กําหนดเวลาที่นัดหมายไว ซึ่งกอนหนาที่นักเรียนจะทําการตอบ แบบสอบถามผูวิจัยจะทําการชี้แจงวัตถุประสงค เพื่อใหนักเรียน วางใจวาในการตอบแบบสอบถามในครั้งนี้ไมมีผลกระทบใดๆ ตอ นักเรียน และขอความรวมมือในการตอบแบบสอบถามเพื่อใหได ขอมูลที่ถูกตองและเปนจริงมากที่สุด พรอมทั้งรับแบบสอบถาม คืนภายในวันนั้น แลวนําแบบสอบถามทั้ง 6 ฉบับที่ไดจากกลุม ตัวอยางมาตรวจสอบ และคัดแยกแบบสอบถามที่ไดรับการตอบ ที่ไมสมบูรณ หรือมีรองรอยระบุถึงการไมตั้งใจทํา โดยพิจารณา เลือกแบบสอบถามที่มีความสมบูรณของการตอบตามขอบเขต ของกลุมตัวอยางที่ผูวิจัยกําหนดไว หลังจากคัดเลือกแบบวัดที่ สมบูรณทําใหไดกลุมตัวอยางที่ใชในการวิเคราะหขอมูลในการ ทํา วิจัย จํา นวน 457 คน จากนั้นทําการวิเคราะหหาคาทาง สถิ ติ เพื่ อประมาณค าประชากร และทดสอบสมมติ ฐานของ งานวิจัย ทํ า การวิ เ คราะห ข อ มู ล สํ า หรั บ การวิ จั ย โดยใช โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows ในการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยดําเนินการ ไดแก วิเ คราะหห าคา สถิติพื้น ฐานโดย คํานวณหาคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของปจจัยบาง ประการกับยุทธศาสตรการเรียนรู, วิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธอยางงาย (Simple Correlation Coefficient) ระหวาง ปจจัยบางประการกับยุทธศาสตรการเรียนรู และวิเคราะหหาคา สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารถดถอยพหุ คู ณ แบบตั ว แปรตามหลายตั ว (MMR) และค า น้ํ า หนั ก ความสํ า คั ญ ระหว า งป จ จั ย บาง ประการกับองคประกอบของยุทธศาสตรการเรียนรูในแตละขั้น ได แ ก ขั้ นระบุ ป ญ หาและวางแผนการเรี ย น ขั้ น กํ า กั บ การ ปฏิบัติกิจกรรมการเรียน และขั้นประเมินผลและปรับปรุงแกไข สรุปผลการวิจัย 1. คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณระหวางตัวแปร ปจจัยกับยุทธศาสตรการเรียนรูในภาพรวม มีคาเทากับ .353 (Approx F=37.914, p < .000) มีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณระหวางตัว แปรปจจัยกับยุทธศาสตรการเรียนรูในขั้นระบุปญหาและวาง แผนการเรียน ขั้นกํากับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียน และขั้น .656, .674 ประเมินผลและปรับปรุงแกไขมีคาเทากับ และ .710 ตามลําดับ ซึ่งกลุมตัวแปรปจจัยทั้ง 5 ปจจัย รวมกันอธิบายความแปรปรวนของยุทธศาสตรการเรียนรูในแตละ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ขั้นไดรอยละ 42.50, 44.80 และ 49.90 ตามลําดับ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. คาน้ําหนักความสัมพันธระหวางปจจัยที่สงผล ตอยุทธศาสตรการเรียนรูในขั้นตางๆ พบวา ขั้นระบุปญหาและวางแผนการเรียน กลุมตัวแปร ปจจัยสงผลอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ไดแก การ สนั บ สนุ น ทางการเรี ย นของผู ป กครอง เจตคติ ต อ การเรี ย น แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ และการรับรูความสามารถของตนเองในการ เรียน ขั้นกํากับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียน กลุมตัวแปร ปจจัยสงผลอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ไดแก การ รั บ รู ค วามสามารถของตนเองในการเรี ย น การสนั บ สนุ น ทางการเรียนของผูปกครอง แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ และเจตคติ ตอการเรียน ขั้นประเมินผลและปรับปรุงแกไข กลุมตัวแปรปจจัย ที่สงผลอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ไดแก การรับรู ความสามารถของตนเองในการเรียน การเรียนรูแบบมีสวน ร ว ม แรงจู ง ใจใฝ สั ม ฤทธิ์ เจตคติ ต อ การเรี ย น และการ สนับสนุนทางการเรียนของผูปกครอง อภิปรายผล 1. จากการศึกษาพบวา ตัวแปรเจตคติตอการเรียน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ การรับรูความ สามารถของตนเองในการ เรี ย น การสนั บ สนุ น ทางการเรี ย นของผู ป กครอง และการ เรียนรูแบบมีสวนรวม มีความสัมพันธทางบวกกับยุทธศาสตร การเรียนรูอ ยา งมีนัย สํา คัญ ที่ร ะดับ .01 และจากการ วิเคราะหความสัมพันธพบวาเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว ดัง นี้ 1.1.เจตคติ เปน แนวโนมที่มี อิท ธิพลตอ พฤติก รรม สนองตอบตอสิ่งแวดลอมหรือสิ่งเราในทางใดทางหนึ่ง ซึ่งอาจ เปนไปในทางที่ดีหรือไมดีก็ได (สุรางค โควตระกูล 2545 หนา 366) การที่นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียน ก็จะเปน ตั ว กํ า หนดแนวทางพฤติ ก รรมของตนเอง เพื่ อ นํ า ไปสู จุดมุงหมายปลายทางของการเรียนการสอนไดเปนอยางดี 1.2 แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) ถือวาเปนสิ่งจูงใจที่สําคัญที่สุดของมนุษย กลาวคือถาบุคคล ปรารถนาที่จะทําสิ่งใดใหสําเร็จนั่นคือมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ทํา ใหบุคคลมีความพยายามที่จะเอาชนะอุปสรรคตางๆ มากขึ้น (McClelland, 1961, p. 207-256) สอดคลองกับแนวคิดของ เพราพรรณ เปลี่ยนภู (2542 หนา 326) ที่ไดกลาวถึง ความสําคัญของแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์วามีความเกี่ยวของกับการ เรี ยนรู เพราะเป นสิ่ งที่ คอยกระตุ นให ผู เรี ยนเกิ ดพลั งในการ เรียนรู และมีความตั้งใจอยางแรงกลาที่จะกระทํากิจกรรมให ไดรับความสําเร็จ เห็นไดวาแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์เปนสิ่งสําคัญที่ มนุษยพึงมี เพื่อจะไดมีจุดมุงหมายในชีวิตมีความหวัง มีความ มานะพากเพียร เพื่อไปใหถึงจุดหมายที่ตั้งไว 1.3 การรับรูความสามารถของตนเองในการเรียน จากทฤษฎี ก ารรั บ รู ค วามสามารถของตนเอง (Self-Efficacy

Theory) มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรูปญญาสังคมของ แบนดูรา (Bandura’s Social Cognitive Theory) ซึ่งแบนดูรา เชื่ อ ว า การรั บ รู ค วามสามารถของตนเอง เป น การตั ด สิ น ความสามารถของตนเองวาจะสามารถทํางานไดในระดับใด ถ า บุ ค คลประเมิ น ความสามารถของตนเองได อย างถู กต อง เหมาะสม จะส งผลต อการเลื อกกระทํ าพฤติ กรรมของบุ คคล (Bandura, 1986, p. 391) 1.4 ครอบครัวเปนจุดเริ่มตนของชีวิตเด็ก และถือ เป น สถาบั น ขั้ น พื้ น ฐานที่ มี สว นสํ า คั ญ ในการเสริม สรา งและ ฝ ก ฝนพฤติ ก รรม ทั ก ษะ และค า นิ ย มต า งๆ โดยมี พ อ แม ผูปกครองเปนตัวจักรสําคัญของการสนับสนุน ซึ่งปนิตา นิตยาพร (2542 หนา 32-33) กลาววา การสงเสริมการเรียนของ ผูปกครองมีสวนในการสรางความสําเร็จในการเรียนของนักเรียน 1.5 การเรียนรูแบบมีสวนรวม ตามรูปแบบยุทธวิธี 4 ดาว (สุมณฑา พรหมบุญ; และ คนอื่นๆ 2541 หนา 3839) สรุ ป ได ว า การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนภายใน หองเรียนนั้นถือวามีความสําคัญอยางยิ่ง โดยเฉพาะการเรียนรู แบบมีสวนรวม ถือเปนกระบวนการเรียนรูที่ชวยเตรียมผูเรียน ใหพรอมที่จะเผชิญกับชีวิตจริง เพราะลักษณะการเรียนรูแบบ มีสวนรวมเปดโอกาสใหผูเรียนไดรับผิดชอบตอการเรียนรูของ ตนเอง และที่สําคัญเปนการเรียนรูที่มีความสัมพันธสอดคลอง กับชีวิตจริงของผูเรียนมากที่สุด 2. จากผลการศึกษาคาน้ําหนักความสําคัญ (Beta Weight) ของกลุ ม ตั ว แปรป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ ยุ ท ธศาสตร ก าร เรียนรูในแตละขั้น พบวา 2.1 ขั้นระบุปญหาและวางแผนการเรียน คา น้ําหนักความสําคัญของปจจัยที่สงผลตอยุทธศาสตรการเรียนรู ในขั้นระบุปญหาและวางแผนการเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 พบวา การสนับสนุนทางการเรียนของ ผูปกครองมีคาน้ําหนักความสําคัญสูงสุด รองลงมา คือ เจต คติตอการเรียน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ และการรับรูความสามารถ ของตนเองในการเรียน ตามลําดับ สวนการเรียนรูแบบมีสวน รวม สงผลตอยุทธศาสตรการเรียนรูในขั้นระบุปญหาและวาง แผนการเรียนอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ทั้งนี้อาจเนื่องจาก การเรี ยนรู แ บบมี ส ว นร ว ม เป น กระบวนการเรี ยนรู ที่ เกิ ดขึ้ น ภายในหองเรียน ที่ครูใหผูเรียนไดฝกคิด ฝกปฏิบัติ และทํา กิจกรรมแลกเปลี่ยนความรูกับเพื่อนนักเรียน โดยครูมีบทบาท ในการกระตุนใหนักเรียนเกิดการเรียนรู สวนยุทธศาสตรการ เรียนรูในขั้นระบุปญหาและวางแผนการเรียนนั้น เปนแนวทาง ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนของผูเรียน ซึ่งผูเรียนแตละคนก็ จะมีแนวทางและวิธีการเรียนที่แตกตางกัน จึงอาจเปนไปไดที่ การเรียนรูแบบมีสวนรวมจะไมสงผลตอยุทธศาสตรการเรียนรู ในขั้นระบุปญหาและวางแผนการเรียน 2.2 ขั้นกํากับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียน คา น้ําหนักความสําคัญของปจจัยที่สงผลตอยุทธศาสตรการเรียนรู ในขั้นกํากับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 สถิติที่ระดับ .01 พบวา การรับรูความสามารถของตนเองใน การเรียนมีคาน้ําหนักความ สําคัญสูงสุด รองลงมา คือ การ สนั บ สนุ น ทางการเรี ย นของผู ป กครอง แรงจู ง ใจใฝ สั ม ฤทธิ์ และเจตคติตอการเรียน ตามลําดับ สวนการเรียนรูแบบมีสวน รว ม ส งผลตอ ยุ ทธศาสตรการเรี ยนรู ในขั้น กํา กับ การปฏิบัติ กิ จ กรรมการเรี ย นอย า งไม มี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ทั้ ง นี้ อ าจ เนื่องจากการเรียนรูแบบมีสวนรวม เปนกระบวนการเรียนรูที่ ผูเรียนไดมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน มีบทบาทตอ การเรี ย นรู ข องตนเอง ผู เ รี ย นได ฝ ก คิ ด ฝ ก ปฏิ บั ติ และทํ า กิจกรรมแลกเปลี่ยนความรูกับเพื่อนนักเรียน โดยครูมีบทบาท ในการกระตุนใหนักเรียนเกิดการเรียนรู เห็นไดวาการเรียนรู แบบมี ส ว นร ว มนั้ น เป น กระบวนการเรี ย นรู ที่ เ น น การมี ปฏิสัมพันธรวมกันระหวางครูผูสอนกับนักเรียน นักเรียนกับ นักเรียน เปนสวนใหญ สวนยุทธศาสตรการเรียนรูในขั้นกํากับ การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนนั้น เปนขั้นตอนที่ผูเรียนมีบทบาท ตอกิจกรรมการเรียนของตนเองมากที่สุด จึงอาจเปนไปไดที่ การเรียนรูแบบมีสวนรวมจะไมสงผลตอยุทธศาสตรการเรียนรู ในขั้นกํากับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียน 2.3 ขั้นประเมินผลและปรับปรุงแกไข คาน้ําหนัก ความสําคัญของปจจัยที่สงผลตอยุทธศาสตรการเรียนรูในขั้น ประเมิ น ผลและปรั บ ปรุ ง แก ไ ขอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 พบวา การรับรูความสามารถของตนเองในการเรียน มีคาน้ําหนักความสําคัญสูงสุด รองลงมา คือ การเรียนรูแบบ มีสวนรวม แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เจตคติตอการเรียน และการ สนับสนุนทางการเรียนของผูปกครอง ตามลําดับ ทั้งนี้เพราะ ขั้นประเมินผลและปรับปรุงแกไขนั้น เปนขั้นตอนที่ผูเรียนมีการ ประเมิน พิจารณา และตรวจสอบผลของกิจกรรมและวิธีการ ตางๆ ที่ไดปฏิบัติในการเรียน โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่ ตนเองกําหนดหรือมาตรฐานของสังคมหรือเปาหมายที่ตั้งไว รวมทั้งมีการปรับปรุงแกไข ปรับเปลี่ยนวิธีการดําเนินกิจกรรม เพื่ อ ให กิ จ กรรมการเรี ย นบรรลุ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค และมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เห็นไดวาการที่ผูเรียนจะเกิดยุทธศาสตร การเรียนรูในขั้นนี้ไดนั้น ตองอาศัยปจจัยภายในและภายนอก มากระตุ น ให เ กิ ด ขึ้ น ด ว ยเหตุ นี้ ก ารรั บ รู ค วามสามารถของ ตนเองในการเรี ยน การเรี ย นรู แ บบมี ส ว นร ว ม แรงจู ง ใจใฝ สัมฤทธิ์ เจตคติตอการเรียน และการสนับสนุนทางการเรียน ของผู ป กครอง จึ ง เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ที่ ส ง ผลให นั ก เรี ย นมี ยุทธศาสตรการเรียนรูในขั้นประเมินผลและปรับปรุงแกไข ขอเสนอแนะ จากผลการวิเคราะหขอมูล พบวา ปจจัยที่สงผลตอ ขั้น คือ เจตคติตอการเรียน ยุทธศาสตรการเรียนรูทั้ง 3 แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ การรับรูความสามารถของตนเองในการเรียน และการสนับสนุนทางการเรียนของผูปกครอง สวนการเรียนรูแบบ มีสวนรวมสงผลตอยุทธศาสตรการเรียนรูเฉพาะในขั้นประเมินผล และปรับปรุ งแกไข ซึ่งผูที่เกี่ยวของกับนักเรียนสามารถใชเปน

แนวทางในการสนับสนุนและสงเสริมใหนักเรียนมียุทธศาสตรการ เรียนรูที่ดีขึ้น ดังนี้ 1.1 ในสวนของผูปกครอง ควรสงเสริมใหนักเรียนมี การรับรูความสามรถของตนเองในการเรียน ดวยการดูแลเอาใจใส ชี้แนะใหผูเรียนไดพิจารณาตนเองในกิจกรรมตางๆ วากระทําไดดี เพียงใด อันมีผลตอการเลือกกระทํา ความพยายาม และความ อดทนตอความยากลําบากเพื่อใหการกระทํานั้นประสบผลสําเร็จ นอกจากนี้ยังควรปลูกฝงใหนักเรียนมีความเชื่อวาการจะประสบ ความสําเร็จในสิ่งใดไดนั้น เกิดขึ้นเนื่องจากผลของการกระทําและ ความพยายามมากที่สุด ไมใชเกิดจากโชคชะตา ซึ่งผูปกครองควร มีการใหรางวัลหรือพูดชมเชย เมื่อนักเรียนสามารถทําสิ่งใดได สําเร็จดวยตนเอง เพื่อเปนการกระตุนใหนักเรียนมีแรงจูงใจใฝ สัมฤทธิ์เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งควรมีการชี้แนะใหนักเรียนเห็นคุณคา และประโยชนของการศึกษา เพื่อปลูกฝงใหนักเรียนมีเจตคติที่ดี ตอการเรียน ทั้งนี้เพราะเจตคตินั้นเปนปจจัยสําคัญที่สงผลตอ การกระทําพฤติกรรมของบุคคล 1.2 ในสวนของครูผูสอน ควรสนับสนุนใหนักเรียนมี การรับรูความสามรถของตนเองในการเรียน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เจตคติตอการเรียน เชนเดียวกับผูปกครอง นอกจากนี้ครูควรจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย เพื่อกระตุนใหนักเรียน เกิ ด ความสนใจใคร รู โดยเฉพาะกิ จกรรมการเรียนที่ เน นการ เรี ยนรู แบบมี ส วนร วม เพราะเป นการเรี ยนรู ที่ เป ดโอกาสให นั กเรี ยนได เลื อกกิ จกรรมหรื องานตามความสนใจ และความ มุงหวังของนักเรียน เนนใหนักเรียนสามารถทํางานรวมกับผูอื่นได ในชีวิตจริง และสามารถนําความรู ทักษะและประสบการณอื่นๆ ที่ไดจากการเรียนรูไปใชในการดํารงชีวิตได นอกจากนี้แลวยังควร สรางบรรยากาศในการเรียนใหเหมาะสม ทั้งดานกายภาพและ จิตวิทยา เชน การจัดหองเรียนใหสะอาด เปนระเบียบเรียบรอย มี การเรี ยนการสอนที่ สนุ กสนาน มี ความเป นกั นเองระหว าง ครู ผู ส อนกั บ นั ก เรี ย น และนั ก เรี ย นกั บ นั ก เรี ย น ครู ค วรให คําปรึกษาแกนักเรียนเมื่อประสบปญหา มีความยุติธรรม ใช คําพูดที่สุภาพ รับฟงความคิดเห็นของนักเรียน ใหรางวัลหรือพูด ชมเชยนักเรียนตามโอกาส และใหอภัยเมื่อนักเรียนทําผิด ซึ่งวิธีนี้ นอกจากจะทํ าให มี บรรยากาศทางการเรี ยนที่ ดี แล วยั งทํ าให นักเรียนเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียนดวย


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

บรรณานุกรม ปนีตา นิตยาพร (2542, พฤษภาคม) “การบาน : วิธีการเรียนรูที่สําคัญ,” วารสารวิชาการ 2(5) หนา 31-36. พิทักษ นิลนพคุณ (2539) รูปแบบความสัมพันธเชิงสาเหตุของตัวแปรกลวิธีการเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 5 กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ ค.ม. (หลักสูตรและการสอน) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพราพรรณ เปลี่ยนภู (2542) จิตวิทยาการศึกษา พิมพครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ: งานเอกสารและการพิมพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2545) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2545) สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่เกา พ.ศ. 2545-2549 กรุงเทพฯ: สํานักนายกรัฐมนตรี สุขุม ตังประพฤติกุล (2544) การศึกษาความสัมพันธระหวางกลวิธีทางอภิปญญาและความสามารถในการฟง ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร และ ภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม วิทยานิพนธ ศศ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษใน ฐานะภาษาตางประเทศ) นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร สุรางค โควตระกูล. (2545). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: ดานสุทธาการพิมพ. สุมณฑา พรหมบุญ; และคนอื่นๆ (2541) โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน: การปฏิรูปการเรียนรูตาม แนวคิด 5 ทฤษฎี กรุงเทพฯ: ไอเดีย สแควร Bandura, Albert. (1986). Social Foundation of Thought and Action. New Jerse: Prentice-Hall. McClelland, David C. (1961). The Achievement Society. New York: Prentice-Hall. Nisbet, John; & Shucksmith, Janet. (1986). Learning Strategies. New York: Chapman and Hall.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

การศึ ก ษาพั ฒ นาการของความสามารถในการ จั ดการความรู ในการเรี ยนวิ ชาคณิ ตศาสตร ของ นัก เรี ย นช ว งชั้น ที่ 3 สั ง กัดสํา นัก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1ที่มีลักษณะความเปน ผูนําแตกตางกัน A DEVELOPMENTAL STUDY ON KNOWLEDGE MANAGEMENT ABILITY ON LEARNING IN MATHEMATICS OF JUNIOR HIGH SCHOOL STUDENTS WITH DIFFERENT LEVELS AND LEADERSHIPS IN SUPHANBURI EDUCATIONAL SERVICE AREA I สราญจิตร วงษทองดี1

รองศาสตราจารยนิภา ศรีไพโรจน2 ผูช วยศาสตราจารยระวีวรรณ พันธพานิช2 บทคัดยอ

การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ ศึ ก ษาและ เปรี ย บเที ย บความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการ เรีย นวิ ช าคณิตศาสตร ใ นแตล ะขั้น และโดยภาพรวมของ นั ก เรี ย น ที่ มี ลั ก ษณะความเป น ผู นํ า แตกต า งกั น กลุ ม ตัว อยางเปน นักเรีย นชว งชั้น ที่ 3 ในสัง กัดสํ านัก งานเขต พื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จํานวน 688 คน ซึ่งไดมา โดยการสุมแบบแบงชั้นสองขั้นตอน เครื่องมือที่ใชในการ วิ จั ย ประกอบด ว ยแบบวั ด ความสามารถในการจั ด การ ความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตร และแบบวัดลักษณะ ความเปนผูนํา ซึ่งมีคาความเชื่อมั่นเทากัน คือ 0.93 ทํา การวิ เ คราะห ข อ มู ล โดยการวิ เ คราะห ค วามแปรปรวน พหุคูณแบบสองทาง (Two – Way MANOVA)

1 2

นิสิตระดับปริญญาโท สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

ผลการศึกษาพบวา 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1,ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 2 และชั้นมัธ ยมศึกษาป ที่ 3 มีความสามารถในการ จัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรในแตละขั้นและ โดยภาพรวมอยูในระดับ คอนขางต่ํา นักเรียนที่มีลักษณะ ความเปนผูนําสูงและนักเรียนที่มีลักษณะความเปนผูนํา ปานกลาง มี ค วามสามารถในการจั ด การความรู ใ นการ เรียนวิชาคณิตศาสตรในแตละขั้นและโดยภาพรวมอยูใน ระดับคอ นขางสูง ยกเวนนักเรียนที่มีลักษณะความเปน ผูนําปานกลาง มีความสามารถในการจัดการความรูในการ เรียนวิชาคณิตศาสตรในขั้นแพรกระจายความรูอยูในระดับ ค อ นข า งต่ํ า นั ก เรี ย นที่ มี ลั ก ษณะความเป น ผู นํ า ต่ํ า มี ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิ ต ศาสตร ใ นแต ล ะขั้ น และโดยภาพรวมอยู ใ นระดั บ คอนขางต่ํา 2. นักเรียนที่อยูระดับชั้นตางกัน มีความสามารถ ในการจัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรโดยรวม แตกต างกั นอย างมี นั ยสํ าคั ญทางสถิ ติ ที่ ระดั บ .01 เมื่ อ พิจารณาในแตละขั้นตอน พบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 1 มีความสามารถในการจัดการความรูในการเรียนวิชา คณิตศาสตรในแตละขั้นและโดยภาพรวมนอยกวานักเรียน ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 และชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 ส ว น นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 มี ค วามสามารถในการ จัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรในทุกขั้นและโดย ภาพรวมไม แ ตกต า งกั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 นักเรียนที่มีลักษณะความเปนผูนําตางกัน มีความสามารถ ในการจัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรโดยรวม แตกต างกั นอย างมี นั ยสํ าคั ญทางสถิ ติ ที่ ระดั บ .01 เมื่ อ พิ จ ารณาในแต ล ะขั้ น ตอน พบว า นั กเรี ยนที่ มี ลั ก ษณะ ความเปนผูนําต่ํา มีความสามารถในการจัดการความรูใน การเรี ยนวิ ชาคณิ ตศาสตร ในทุ กขั้ นน อ ยกว านั กเรี ยนที่ มี ลักษณะความเปนผูนําปานกลาง นอกจากนี้ยังไมพบผล ปฏิสัมพันธของระดับชั้นกับลักษณะความเปนผูนํา ที่มีตอ ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตร 3. ผลการศึ ก ษาลั ก ษณะพั ฒ นาการของ ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรในแตละขั้นและโดยภาพรวมของนักเรียนชวง ชั้นที่ 3 พบวา พัฒนาการของความสามารถในการจัดการ ความรู ใ นการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ กษาป ที่ 1 ไปมั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 และชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 1 ไปมั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 มี แ นวโน ม เพิ่ ม

สู ง ขึ้ น ส ว นมั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 ไปมั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 พัฒนาการมีแนวโนมไมแตกตางกัน

คํา สํา คัญ : การจัดการความรูในการเรียนวิชา คณิตศาสตร , ลักษณะความเปนผูนํา Abstract

The purposes of this research were to study and compare the knowledge management (KM) abilities in learning Mathematics, both in individual stages and in general, of students with different levels of leadership. The samples were 688 third class range students under Suphanburi Office of Educational Service Area I selected by stratified two-stage random sampling. The instruments used in research were the test of KM abilities in learning Mathematics and the test of leadership with the equal reliability of 0.93. The data were analyzed by using two-way MANOVA. The research findings were as follows: 1. The KM abilities in learning Mathematics of Matthayomsuksa I, II and III students, both in each stage and in general, were at the low level. The KM abilities of students with high and middle levels of leadership, both in each stage and in general, were at the high level. However, the KM abilities of students with middle level of leadership in the stage of knowledge distribution was at the low level. The KM abilities of students with low level of leadership, both in each stage and in general, was at the low level. 2. The KM abilities in learning Mathematics of students in different class levels in general were different statistical significance at the level of .01. When considering in individual stages, it was found that the KM abilities of Matthayomsuksa I students, both in each stage and in general, was less than the abilities of Matthayomsuksa II and III students. The KM abilities of Matthayomsuksa II students, both in all stages and in general, were not different from the abilities of Matthayomsuksa III students. The KM abilities of students with different levels of leadership in general were different with statistical significance at the level of .01. When considering in individual stages, it was found that the KM abilities


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

of students with lower level of leadership in all stages were less than the abilities of students with middle level of leadership. There was no any relationship found between class levels and leadership levels which affected the KM abilities in learning Mathematics of students. 3. Regarding the study of KM ability development in learning Mathematics of third class range students, it was found that the development of students from Matthayomsuksa I to Matthayomsuksa II and students from Matthayomsuksa I through Matthayomsuksa III were generally increased while the development of students from Matthayomsuksa II to Matthayomsuksa III was not different.

ความสํ า คั ญ วิ ช าหนึ่ ง ที่ จ ะทํ า ให ผู เ รี ย นมี ค วามคิ ด ที่ สรางสรรค คิดอยางมีระบบ สามารถวิเคราะหปญหาและ ส ถ า น ก า ร ณ ไ ด อ ย า ง ถี่ ถ ว น แ ล ะ ร อ บ ค อ บ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2544: 1) จากที่กลาวมาขางตนทําใหผูวิจัยสนใจที่จะศึกษา ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย น ที่ มี ลั ก ษณะความเป น ผู นํ า แตกตางกัน เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาคุณลักษณะ ของผูเรียนตอไป จุดมุงหมายการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาความสามารถในการจั ด การ ความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรในแตละขั้นและโดย ภาพรวม ของนักเรียนที่มีระดับชั้นกับลักษณะความเปน ผูนําตางกัน 2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดการ ความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรในแตละขั้นและโดย ภาพรวม ของนักเรียนที่มีระดับชั้นกับลักษณะความเปน ผูนําตางกัน 3. เพื่อศึกษาผลปฏิสัมพันธของความสามารถ ในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ข อง นักเรียน ในแตละขั้นและโดยภาพรวม ที่เกิดจากการสงผล รวมกันของตัวแปรระดับชั้นและลักษณะความเปนผูนํา 4. เพื่อแสดงพัฒนาการของความสามารถใน การจัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตร ในแตละขั้น ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 สมมติฐานในการวิจัย จากแนวคิดและทฤษฎีที่ศึกษาคนควา ผูวิจัยจึง กําหนดสมมติฐานการวิจัย ดังนี้ 1. นักเรียนที่มีระดับชั้นตางกัน มีความสามารถ ในการจัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรในแตละ ขั้นและโดยภาพรวมตางกัน 2. นักเรียนที่มีลักษณะความเปนผูนําตางกัน มี ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรในแตละขั้นและโดยภาพรวมตางกัน 3. มี ผ ลปฏิ สั ม พั น ธ ข องความสามารถในการ จัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน ใน แตละขั้นและโดยภาพรวม ที่เกิดจากการสงผลรวมกันของ ตัวแปรระดับชั้นและตัวแปรลักษณะความเปนผูนํา วิธีดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนนักเรียนใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาชวงชั้นที่ 3 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่

Keywords: Knowledge Management Ability on Learning in Mathematics , Leaderships บทนํา

สังคมปจจุบันเปนสังคมแหงการเรียนรู (Learning Society) ทําใหมีการคิดคนสิ่งตางๆ ทั้งทางดาน วิทยาศาสตรและธรรมชาติ หลายๆองคกรจึงมีการนําการ จั ด การความรู ม าใช เ ป น กลยุ ท ธ ห ลั ก เพื่ อ สร า งให เ กิ ด ศักยภาพในการแขงขัน (ปฐมพงศ ศุภเลิศ. 2550: 1-7) สําหรับในสถานศึกษาการจัดการความรู ถือเปนเครื่องมือ สําคัญอยางหนึ่ง ที่จะชวยใหสถานศึกษาสามารถนําเอา ขอมูลสารสนเทศที่มีอยูในโรงเรียน ชุมชน และสังคม มา จัดระบบและพัฒนาเปนองคความรูเพื่อพัฒนาปญญาของ ผูเรียน (วิจารณ พานิช. 2547: 3-7) คุณลักษณะที่ชวย สงเสริมการจัดการความรูใหมีประสิทธิภาพ คือ ลักษณะ ความเปนผูนํา ซึ่งบุคคลที่มีลักษณะความเปนผูนํา ยอมมี ความสามารถในการทํ า งานได อ ย า งมี ป ระสิ ทธิ ภ าพ มี ความเชื่อมั่นในทักษะของตนเอง มีความเฉลียวฉลาด รูจักแยกแยะและใชขอมูล เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงค (วิเชียร วิทยอุดม. 2548: 46-70) ในหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้ น ฐาน ได กํ า หนดจุ ด มุ ง หมายของการจั ด การศึ ก ษา มุ ง เน น ให ผู เ รี ย นมี ค วามรู อั น เป น สากล รู เ ท า ทั น การ เปลี่ย นแปลงและความเจริ ญ กา วหน า ทางวิ ทยาการ มี ทักษะและศักยภาพในการจัดการ ปรับวิธีการคิด วิธีการ ทํ า ง า น ไ ด เ ห ม า ะ ส ม กั บ ส ถ า น ก า ร ณ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2544: 4) และในวัยเรียนสิ่งที่สําคัญ ที่สุด ก็คือ ความสามารถในการจัดการความรู นักเรียน จะต อ งมี ค วามสามารถในการจั ด การความรู ที่ เ กี่ ย วกั บ เนื้อหาวิชาตามหลักสูตรที่โรงเรียนเปดสอนอยู (ปฐมพงศ ศุภ เลิ ศ . 2550: 17) ซึ่ ง วิ ช าคณิ ต ศาสตร ถื อ เปน วิ ช าที่ มี


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

การศึ ก ษาสุ พ รรณบุ รี เขต 1 จํ า นวน 11 โรงเรี ย น มี จํานวนนักเรียนทั้งสิ้น 8,899 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนนักเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาชวงชั้นที่ 3 สังกัดสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ซึ่งมีจํานวน 688 คน จําแนกเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 230 คน นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 จํ า นวน 227 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จํานวน 231 คน ที่

ฉบับที่ 2 แบบวัดคุณลักษณะความเปนผูนํา มี ลักษณะเปนมาตราสวนประมาณคา 3 ระดับ จํานวน 30 ขอ การเก็บรวบรวมขอมูล 1. ติ ด ต อ ขอหนั ง สื อ จากบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อขอความอนุเคราะหใน การเก็บรวบรวมขอมูลจากโรงเรียนในสังกัดที่ใชเปนกลุม ตัวอยางในการวิจัย 2. นําหนังสือขอความอนุเคราะหในการเก็บ รวบรวมขอมูลมอบตอผูบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนที่ เป น กลุ ม ตั ว อย า ง พร อ มทั้ ง นั ด หมาย วั น เวลา และ สถานที่ ที่จะดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล 3. นําแบบวัดที่จัดเตรียมไวทั้ง 2 ฉบับ ให นั ก เรี ย นที่ เ ป น กลุ ม ตั ว อย า งทํ า การตอบ โดยผู วิ จั ย เป น ผูดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง ในวันที่ 21 มกราคม ถึง 8 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551 4. นําแบบวัดที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูล มาตรวจสอบความสมบูรณของการตอบ และคัดเลือกฉบับ ที่ ส มบู ร ณ ไ ว แล ว นํ า มาตรวจให ค ะแนนตามเกณฑ ที่ กําหนดไว และวิเคราะหหาคาทางสถิติเพื่อทําการทดสอบ สมมติฐานและรายงานผลการวิจัยตอไป ผลการวิจัย 1. นักเรียนชวงชั้นที่ 3 มีความสามารถในการ จัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรในทุกขั้นอยูใน ระดับคอนขางต่ํา นักเรียนที่มีลักษณะความเปนผูนําสูง กั บ นั ก เรี ย นที่ มี ลั ก ษณะความเป น ผู นํ า ปานกลาง มี ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิ ต ศาสตร ใ นทุ ก ขั้ น อยู ใ นระดั บ ค อ นข า งสู ง ยกเว น นักเรี ยนที่ มีลัก ษ ณ ะ คว า ม เป นผู นํ า ป า น ก ล า ง มี ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรในขั้นแพรกระจายความรูอยูในระดับคอนขาง ต่ํ า นั ก เ รี ย น น ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ค ว า ม เ ป น ผู นํ า ต่ํ า มี ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรในทุกขั้นอยูในระดับคอนขางต่ํา 2 . นั กเรี ยนที่ อยู ระดั บชั้ นต างกั น มี ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดั บ .01 เมื่ อ พิ จ ารณาในแต ล ะขั้ น พบว า นั กเรี ยนชั้ น มัธยมศึกษา ปที่ 1 มีความสามารถในการจัดการความรูใน การเรี ยนวิ ชาคณิ ตศาสตร ในทุ กขั้ นน อ ยกว า นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา ป ที่ 2 และชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 ส ว น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีความสามารถในการจัดการ ความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรในทุกขั้นไมแตกตางกับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 นักเรียนที่มีลักษณะความ

ไดมาจากการสุมแบบแบงชั้นสองขั้นตอน (Two – Stage Stratified Random Sampling) เมื่อ ตรวจสอบความเหมาะสมของกลุมตัวอยาง พบวา คา ความแปรปรวนของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 1 มี ค า เท า กั บ 155.747 นั ก เรี ย นในระดั บ ชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 2 มีคาเทากับ 193.731 และนักเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 มีคาเทากับ 246.648 เมื่อพิจารณาถึ งความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการ ประมาณคา ( SX ) ดวยระดับความเชื่อมั่น (Level of confidence : 1 - α ) ของการประมาณคาเฉลี่ยที่ .95 ในภาพรวมเทากับ .457 และไดคาความคลาดเคลื่อน ( e = Z0.5/2SX ) เทากับ 0.896 และเมื่อนํามาเทียบกับ ขั้นตอนของการกําหนดคาความคลาดเคลื่อน ที่ผูวิจัย ไดประมาณคาความคลาดเคลื่อนไวเทากับ 1 พบวามี คาที่ลดลง จึงสรุปไดวากลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้ มี ข นาดที่ เ พี ย งพอที่ จ ะสามารถนํ า ข อ มู ล อ า งอิ ง ไปสู ประชากรไดดียิ่งขึ้น

ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ไดแก 1.1 ระดับชั้นเรียน จําแนกเปน 3 ระดับ คือ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 และชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 1.2 ลักษณะความเปนผูนํา จําแนกเปน 3 ระดับ คือ ลักษณะความเปนผูนําสูง ลักษณะความเปน ผูนําปานกลาง และลักษณะความเปนผูนําต่ํา 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ไดแก ความสามารถในการจัดการความรูใน การเรียน วิช าคณิต ศาสตร จํา แนกเปน 3 ขั้ นตอน คื อ ขั้น กํา หนด ความรู ขั้ น เก็ บ รวบรวมความรู และขั้ น แพร ก ระจาย ความรู เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ฉบับที่ 1 แบบวัดความสามารถในการจัดการ ความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตร มีลักษณะเปนมาตรา สวนประมาณคา 4 ระดับ จํานวน 33 ขอ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

พูด มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี ความมุงมั่นในการทํางานและไมยอทอตออุปสรรค 2. ผลการเปรีย บเที ยบความสามารถในการ จัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน ระดับชั้นกับลักษณะความเปนผูนําแตกตางกัน และศึกษา ผลปฏิสัมพันธระหวางระดับชั้นกับลักษณะความเปนผูนํา ที่มีผลตอความสามารถในการจัดการความรูในการเรียน วิชาคณิตศาสตรของนักเรียน พบวา 2.1 นั กเรี ยนที่ อยู ระดั บชั้ นต างกั น มี ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 เมื่อพิจารณาในแตละขั้น พบวา นักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 มีความสามารถในการจัดการความรูใน การเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ขั้ น กํ า หนดความรู , ขั้ น เก็ บ รวบรวมความรู แ ละโดยภาพรวมน อ ยกว า นั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 2 และโดยภาพรวมนอยกวานักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรขั้นแพรกระจายความรู นอยกวานักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 และมีความสามารถในการจัดการความรู ในการเรียนวิชาคณิตศาสตรในทุกขั้นนอยกวานักเรียนชั้น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดั บ .01 ส ว นนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 มี ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตร ในทุกขั้น ไมแตกตางกับนักเรียนชั้น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 จากข อ ค น พบดั ง กล า วจะเห็ น ได ว า ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตร จะเพิ่มขึ้นตามระดับอายุ ดังที่ศรีเรือน แกว กังวาน (2540: 347) ไดกลาวเกี่ยวกับคุณภาพสติปญญา ของเด็ก วาจะขึ้นอยูกับคุณภาพของสมอง การเรียนรูในวัย ที่ผานมา และบทเรียนทางวิชาการตางๆที่เด็กไดเรียนรู 2.2 นั ก เรี ย นที่ มี ลั ก ษณะความเป น ผู นํ า ตางกัน มีความสามารถในการจัดการความรูในการเรียน วิชาคณิตศาสตรโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาในแตละขั้น พบวา นักเรียน ที่มีลักษณะความเปนผูนําต่ํา มีความสามารถในการจัดการ ความรู ใ นการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ใ นทุ ก ขั้ น น อ ยกว า นั ก เรี ย นที่ มี ลั ก ษณะความเป น ผู นํ า ปานกลาง อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากขอคนพบดังกลาวจะ เห็นไดวา ผูที่มีลักษณะความเปนผูนําตางกัน จะสงผลตอ ความสามารถในการจั ด การความรู แ ตกต า งกั น ซึ่ ง สอดคลองกับการศึกษาเอกสารของบุญดี บุญญากิจ และ คณะ (2548: 59-62) ที่ ก ล า วถึ ง ป จ จั ย เอื้ อ ที่ ทํ า ให การ

เปนผูนําตางกัน มีความสามารถในการจัดการความรูใน การเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร โ ดยรวมแตกต างกั นอย างมี นัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาในแตละขั้น พ บ ว า นั กเรี ยนที่ มี ลั กษณะความเป นผู นํ าต่ํ า มี ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรในทุกขั้นนอยกวานักเรียนที่มีลักษณะความเปน ผูนําปานกลาง นอกจากนี้ ยังไมพบผลปฏิสัมพันธของ ระดับชั้นกับลักษณะความเปนผูนํา ที่มีตอความสามารถ ในการจัดการความรู ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร 3. ผลการศึกษาลักษณะพัฒนาการของ ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรในแตละขั้นของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 พบวา พัฒนาการของความสามารถในการจัดการความรู ในการ เรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ไป มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 และชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 1 ไป มัธยมศึกษาปที่ 3 มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น สวนมัธยมศึกษา ป ที่ 2 ไปมั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 พั ฒ นาการมี แ นวโน ม ไม แตกตางกัน อภิปรายผล 1. จากผลการศึกษาความสามารถใน การจัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน ชวงชั้นที่ 3 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 พบวา นักเรียนชวงชั้นที่ 3 มีความสามารถในการ จัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรในทุกขั้นอยูใน ระดั บ ค อ นข า งต่ํ า ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ ผลการศึ ก ษาของ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (2545: 34) ที่ พบวา โดยภาพรวมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนใน โรงเรียนเอกชนสวนมากมีระดับคะแนนวิชาคณิตศาสตร อยูในระดับ 1 ซึ่งจะเห็นไดวานักเรียนมัธยมศึกษาชวงชั้นที่ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาคณิตศาสตรอยูในระดับ คอนขางต่ําเชนเดียวกัน และจากผลการศึ ก ษาที่ พ บว า นั ก เรี ย นที่ มี ลักษณะความเปนผูนําต่ํา มี ความสามารถในการจัดการ ความรู ใ นการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ใ นทุ ก ขั้ น น อ ยกว า นั ก เรี ย นที่ มี ลั ก ษณะความเป น ผู นํ า ปานกลาง ทั้ ง นี้ อ าจ เนื่องจาก ผูที่มีลักษณะความเปนผูนําสูง มักจะเปนผู ที่มีความมั่นใจในตนเอง เชื่อมั่นในความสามารถของตน มี การจัดระบบความคิดของตนเอง สามารถเลือกใชวิธีการ หรือความรูที่เหมาะสมกับปญหาตางๆ ซึ่งสอดคลองกับ แนวคิดของมารแชล (Marshall. 1995: 484-492) ที่ กลาวถึงลักษณะของผูนําวา จะตองเปนผูที่มีสติปญญาสูง มีการตัดสินใจที่ดี มีทักษะในการสื่อความหมายและการ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

จัดการความรูประสบความสําเร็จวามีอยู 5 ประการ ซึ่ง ป จ จั ย ที่ สํ า คั ญ ประการหนึ่ ง คื อ ภาวะผู นํ า และกลยุ ท ธ (Leadership and strategy) เชนกัน 2.3 จากผลการศึ ก ษาไม พ บปฏิ สั ม พั น ธ ระหว า งระดั บ ชั้ น และลั ก ษณะความเป น ผู นํ า ที่ มี ต อ ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรของนักเรียน เนื่องจากในแตละกลุมของตัว แปร มีแ นวโน ม ของการเปลี่ ยนแปลงเป นไปในทิ ศทาง เดี ย วกั น ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ แนวทางการจั ด การศึ ก ษาใน หลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน (กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. 2544: 3) ที่มุงเนนใหผูเรียนมีความรูอันเปนสากล รูเทาทัน การเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ มี ทักษะและศักยภาพในการจัดการ ปรับวิธีการคิด วิธีการ ทํางาน ไดเหมาะสมกับสถานการณ ที่สอดคลองกับชวง วัย ทําใหนักเรียนที่ศึกษาอยูในระดับชั้นที่สูงขึ้น มี พั ฒ น า ก า ร เ กี่ ย ว กั บ ลั ก ษ ณ ะ ค ว า ม เ ป น ผู นํ า แ ล ะ ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิ ต ศาสตร ที่ มี แ นวโน ม ที่ สู ง ขึ้ น และเป น ไปในทิ ศ ทาง เดียวกัน 3 . ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ลั ก ษ ณ ะ พั ฒ น า ก า ร ความสามารถในการจั ด การความรู ใ นการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรในแตละขั้นของนักเรียนมัธยมศึกษาชวงชั้นที่ 3 พบวา พัฒนาการความสามารถในการจัดการความรูใน การเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ใ นทุ ก ขั้ น ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 1 ไปมั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 และชั้ น มัธ ยมศึ ก ษาป ที่ 1 ไปมั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 มี แ นวโน ม เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ส ว นมั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 ไปมั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 พั ฒ นาการมี แ นวโน ม ไม แ ตกต า งกั น จากข อ ค น พบ ดั ง กล า วจะเห็ น ได ว า เป น ไปตามทฤษฎี พั ฒ นาการทาง เชาวนปญญาของพีอาเจย (สุรางค โควตระกูล. 2550: 49-50) ที่กลาวถึง ความสามารถทางสติปญญาของแตละ

บุ ค คล ว า จะเพิ่ ม ขึ้ น ตามระดั บ อายุ ทั้ ง นี้ อ าจเนื่ อ งจาก นั ก เรี ย นที่ ศึ ก ษาอยู ใ นระดั บ ชั้ น ที่ สู ง กว า ย อ มจะมี ประสบการณทางการเรียน และประสบการณทางสังคม ตางๆ มากกวานักเรียนที่ศึกษาอยูในระดับชั้นที่ต่ํากวา ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะสําหรับนําผลการวิจัยไปใช 1.1 สถานศึ ก ษา ครู ผู ส อน รวมทั้ ง ผู ที่ เกี่ยวของทุ กฝายควรพิ จารณาจัดกระบวนการเรียนการ สอน ที่กระตุนใหนักเรียนรูจักการวางแผน การแกปญหา การจัดระบบการคิดของตนเอง เพื่อสงเสริมใหนักเรียนเกิด การพัฒ นา และมีความสามารถในการจั ดการความรูในการ เรียนวิชาคณิตศาสตรในระดับที่สูงขึ้น 1.2 สถานศึ ก ษา ครู ผู ส อน รวมทั้ ง ผู ที่ เกี่ยวของทุกฝายควรจัดกิจกรรมที่สงเสริมใหนักเรียนกลา คิด กลาทํา คิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน ฝกฝนทักษะใน การสื่อความหมาย อีกทั้งผูปกครองควรชวยกันสงเสริมให นักเรียนมีความกลาแสดงออกในสิ่งที่ถูกตอง มีทักษะทาง สังคมที่ดี เพื่อสงเสริมใหนักเรียนมีความสามารถในการจัดการ ความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตรในขั้นแพรกระจายความรู สูงขึ้น 2. ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมีการศึกษาตัวแปรปจจัยอื่นๆที่มี ผลตอความสามารถในการจัดการความรูของนักเรียน ทั้ง ปจจัยที่เปนองคประกอบภายในหรือองคประกอบภายนอก อื่ น ๆ เพื่ อ การได ส ารสนเทศที่ ห ลากหลาย จะช ว ยให สามารถนําไปประกอบการตัดสินใจสําหรับผูที่ตองการนํา ผลการวิจัยไปใชตอไป 2.2 ควรสรางเครื่องมือวัดความสามารถใน การจัดการความรูในการเรียนวิชาคณิตศาสตร ในลักษณะ ที่เปนแบบสังเกต แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ เพื่อใหได ขอมูลที่ตรงกับความเปนจริงมากที่สุด


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช สําราญราษฎ. บุญดี บุญญากิจ และคณะ. (2548). การจัดการความรูจากทฤษฎีสูการปฏิบัติ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัทจิรวัฒน เอ็กซเพรส จํากัด. ปฐมพงศ ศุภเลิศ. (2550). การจัดการความรู. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพเทียนวัฒนา. ภัทราพร เกษสังข. (2546). การศึกษาพัฒนาการความสามารถทางคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน โดยการเทียบคะแนนในแนวตั้งที่ใชวิธีการที่เหมาะสม. ปริญญานิพนธ การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (การทดสอบและวัดผลการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. วิจารณ พานิช. (2547). สถานศึกษากับการจัดการความรูเพื่อสังคม. กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพดี จํากัด. วิเชียร วิทยอุดม. (2548). ภาวะผูนํา Leadership ฉบับกาวล้ํายุค. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ธีระฟลม และ ไซเท็กซ. ศรีเรือน แกวกังวาน. (2540). จิตวิทยาพัฒนาการทุกชวงวัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สุรางค โควตระกูล. (2550). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. (2545). งานการศึกษาสภาพการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตรในระดับ มัธยมศึกษาตอนตนของโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานฯ. Marshall , Catherine. (1995, August). “Educational Administration Quarterly” Imaging Leadership.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

การศึกษาประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสีย แบบไมใชออกซิเจน เพื่อพัฒนาบทปฏิบัติการ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 A STUDY ON EFFCIENCY OF ANAEROBIC WASTEWATER TREATMENT SYSTEM FOR CONSECUTIVE DEVELOPMENT OF CORRESPONDENT LABORATORY DIRECTIONS FOR MATHAYOMSUKSA II STUDENTS วรวัฒน ทิพจอย1 อาจารย ดร.สนอง ทองปาน2 อาจารย สมปอง ใจดีเฉย2 บทคัดยอ การวิจัย ครั้ง นี้มีค วามมุง หมาย 3 ประการ คื อ 1) เพื่ อ ศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของระบบบํา บั ด น้ํา เสีย แบบไมใ ช ออกซิเ จนของมหาวิท ยาลัย ศรีน คริน ทรวิโ รฒ ในการลด ปริม าณสารอิน ทรีย ที่อ ยูใ นรูป ของสารละลาย และอนุภ าค แขวนลอย 2) เพื่อ พัฒนาบทปฏิบัติการเรื่อ ง การบําบัดน้ํา เสีย ใหม ีค ุณ ภาพในระดับ ดี และมีป ระสิท ธิภ าพตาม เกณฑ 80/80 และ 3) เพื่อ ศึก ษาผลการเรีย นรูข องนักเรียน จากการเรียนดวยบทปฏิบัติการ เรื่อง การบําบัดน้ําเสีย ไดแก ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น และ ทั ก ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร

1 2

นิสิตระดับปริญญาโท คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยประจําสาขาวิชาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 การศึก ษาประสิท ธิภ าพของระบบบํา บัด น้ําเสียใชโรงบําบัด น้ํ า เสี ย ของมหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ เป น สถานที่ ทํ า ก า ร ศึ ก ษ า โ ด ย วิ เ ค ร า ะ ห ค ุณ ภ า พ น้ํ า เ ส ีย ต า ม ค า พารามิเ ตอร คื อ ความเปน กรด-ดาง บีโอดี ซีโอดี น้ํามัน และไขมัน และของแข็งแขวนลอย เปรีย บเทีย บกับ เกณฑ ม า ต ร ฐ า น น้ํ า ทิ ้ง จ า ก อ า ค า ร กระทรวงวิท ยาศาสตร เ ทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2537 ผลการวิจัยพบวา คุณภาพของน้ําที่ผานการบํา บัด มี คา เฉลี่ย ตามคา พารามิ เ ตอรที่ศึก ษา คื อ ความเปนกรด-ดาง บีโอดี ซีโอดี น้ํามันและไขมัน และของแข็งแขวนลอย เทากับ 7.34, 330.04 มก./ล., 575.00 มก./ล., 18.46 มก./ล., และ 97.09 มก./ล. ตามลําดับ โดยคาความเปนกรด-ดาง และคา น้ํามันและไขมัน เปนไปตามเกณฑมาตรฐาน สวนคาบีโอดี คา ซีโ อดี และคา ของแข็ง แขวนลอย ไมเ ปน ไปตามเกณฑ มาตรฐานกําหนด การทดลองสอน ใช บ ทปฏิ บั ติก ารกั บ นั ก เรี ย น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 โรงเรียนเซนตดอมินิก จํานวน 40 คน เปนกลุมตัวอยาง ซึ่ง ไดมาจากการสุมแบบจัดกลุม เรียนดวยบทปฏิบัติการ 5 บท คือ 1) การตรวจสอบคุณภาพน้ําเบื้องตน 2) การบําบัดน้ําเสีย ดวยวิธีการทางกายภาพ 3) การบําบัดน้ําเสียดวยวิธีการทาง เคมี 4) การบําบัดน้ําเสียดวยวิธีการทางชีวภาพ และ 5) การ ปรับปรุงคุณภาพน้ํา ผลการวิจัยพบวา บทปฏิบัติการเรื่อง การบําบัดน้ําเสีย ที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพอยูในระดับดีมากและมีป ระสิท ธิ ภ าพ 80.26/80.71 ซึ่ง เปน ไปตามเกณฑ 80/80 ผลการทดลองใช บทปฏิบัติการดานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนหลัง เรียน สู ง กว า ก อ นเรี ย น และมี ทั ก ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร รอยละ 83.88 มากกวาเกณฑรอยละ 70 ABSTRACT The purposes of this research were: 1) to investigate efficiency of Srinakharinwirot University’s anaerobic waste water treatment system to reduce the organic substances from the solution and suspension. 2) to develop laboratory directions on “Wastewater Treatment” to attain high quality and efficiency index of 80/80. 3) to try out the laboratory directions on the following outcomes; students’ achievement, and students’ science process skills.

For the investigation of the wastewater treatment system efficiency, the wastewater treatment system in Srinakharinwirot University, was utilized analyze pH, BOD, COD, oil and grease, suspended solids from wastewater by comparing with the standardization of polluted water from buildings, as defined by the Ministry of Science and Technology (1994) The results from the study appeared that the average parameters of pH, BOD, COD, oil and grease, suspended solids were 7.34, 330.04 mg/l, 575.00 mg/l, 18.46 mg/l, and 97.09 mg/l, respectively. The pH and oil and grease were standard values, whilst those of BOD, COD, and suspended solids were not. For the development of laboratory directions, students sample comprised 40 Mathayomsuksa II students in the 2008 first semester of Saint Dominic School. The laboratory directions covered 5 topics; 1) Basic Qualitative Analysis of Water Quality 2) Physical Treatment of Wastewater 3) Chemical Treatment of Wastewater 4) Biological Treatment of Wastewater and 5) Improvement of Water Quality. The results revealed that the develop ment of laboratory directions were at high level and attained the efficiency index as 80.26/80.71. The students’ average post-test score on achievement was higher than the pre-test. The students’ percentage score on science process skills was 83.88. บทนํา น้ํ า เป น ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ต ามธรรมชาติ ซึ่ ง มี ค ุณ ค า อยา งยิ่ง ตอ กระบวนการดํา รงชีวิต ในอดีต แหลงน้ําไมเนา เสียเนื่องจากสามารถปรับความสมดุลและฟนฟูตัวเองได แต เมื่อมีการเจริญเติบโตของสังคมจนเกิดชุมชนมีการพัฒนาใน ดานตางๆ สงผลใหธรรมชาติไมสามารถฟนฟูตัวเองไดทัน (อโนทัย อุเทนสุต. 2538: 5) ปญหาน้ําเสียในแหลงน้ํา จึง เกิด ขึ้น แนวทางหนึ่ง ที่จ ะชว ยแกไ ขปญ หา น้ําเสีย คือการ สรางระบบบําบัดน้ําเสียเพื่อบําบัดสารปนเปอนที่เจือปนใหอยู ในเกณฑมาตรฐานกอนระบายสูแหลงน้ําซึ่งการบําบัดน้ําเสีย ดวยวิธีการทางชีวภาพนั้นนับวาเปนวิธีที่ยอมรับมากที่สุดใน การกําจัดสารอินทรียในน้ํา เสียด วยปฏิกิริยาทางชีวเคมีของ จุลินทรีย ระบบบําบัดน้ําเสียแบบไมใชออกซิเจน ชนิดใช ตั ว กลางจากขวดพลาสติ ก เหมาะสํ า หรั บ ใช ย อ ยสลาย สารประกอบอินทรีย โดยตัวกลางทําหนาที่เพิ่มพื้นที่ยึดเกาะ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ของการอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มรวมทั้ ง เพื่ อ เป น แนวทางในการ ปรับปรุงการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตรตอไป ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสีย แบบไมใชออกซิเจนของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒในการลดปริมาณสารอินทรียที่อยูในรูปของ สารละลายและอนุภาคแขวนลอย 2. เพื่อพัฒนาบทปฏิบัติการเรื่อง การบําบัดน้ํา เสี ย ใหมีคุณ ภาพในระดับ ดี และมีป ระสิท ธิภ าพตามเกณฑ 80/80 3. เพื่อศึกษาผลการเรียนรูของนักเรียนจากการใช บทปฏิบัติการเรื่อง การบําบัดน้ําเสีย ดังนี้ 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ความสําคัญของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ทําใหทราบขอมูลในดานประสิท ธิภ าพ ของระบบบํา บัด น้ํา เสีย แบบไมใ ชออกซิเจน ชนิดใชตัวกลาง จากขวดพลาสติกเหลือใชในรูปของการลดปริมาณสารอินทรีย รวมทั้งได บทปฏิบัติการเรื่อง การบําบัดน้ําเสีย ซึ่งมี คุณภาพในระดับดี และมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 และ มีศักยภาพในการพัฒนาผลการเรียนรูดานผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ของนัก เรีย นชั้น มัธยมศึก ษาปที่ 2 ซึ่งผลการวิจัยดังกลาวจะเปนประโยชนแก ครูผูสอนในการพัฒนา และสงเสริมใหนักเรียนมีความรู ความ เขาใจ และ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรมากขึ้นอีก ทั้งไดแนวทางในการพัฒนาบทปฏิบัติการเพื่อนําไปสรางบท ปฏิบัติการอื่นๆ ตอไป ขอบเขตของการวิจัย การวิจั ย ในครั้ ง นี้ผู วิจัยไดดํา เนิ น การศึก ษาคนคว า แบงออกเปน 3 ขั้นตอน ตอนที่ 1 การศึกษาประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ํา เสียแบบไมใชออกซิเจน 1. ระบบบํ า บัด น้ํ า เสีย ที ่ใ ชใ นการศึก ษา ประสิทธิภาพครั้งนี้เปนแบบไมใชออกซิเจนชนิดใชตัวกลางจาก ขวดพลาสติกเหลือใชซึ่งติดตั้งอยูที่ โรงบําบัดน้ําเสีย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2. การเก็บตัวอยางน้ําเสียเพื่อนํามาทําการตรวจ วิเคราะหคุณภาพจะกระทํา 2 จุด คือ จุดน้ําเขาระบบ (Influent) และจุดน้ําออกจากระบบ (Effluent) การเก็บ ตัวอยางทั้งหมดเก็บดวยวิธีการเก็บแบบจวง 3. ตัวแปรที่ศึกษา 3.1 ตัวแปรตน ไดแก ระบบบําบัดน้ําเสียแบบไม ใชออกซิเจน ชนิดใชตัวกลางจากขวดพลาสติกเหลือใช

สําหรับแบคทีเรียทําใหไมถูกลางออกจากระบบสงผลการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบําบัด ในปจจุบันการเรียนการสอนวิทยาศาสตรแมวาไดมี การปรับปรุงแกไขมาโดยตลอดแตก็ยังคงพบปญ หาอุป สรรค อีก มากมาย ผูเ รีย นสว นใหญมีความเห็นตรงกันวาเปนวิชาที่ ยากทําใหมีปญหาในการเรียนรูวิทยาศาสตรและ มีนักเรียน จํ า นวนไม น อ ยไม ป ระสบความสํ า เร็ จ เท า ที่ ค วรเพราะ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรอยูในระดับที่ไมนาพอใจ มากนัก ดังที่กรอบวิสัยทัศนและทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พุทธศักราช 2545-2549) ได สรุป คุณ ภาพของเด็ก ไทยในชว งที ่ผ า นมาวา ยัง ไมดี เท า ที่ค วร ระบบการศึ ก ษา และกระบวนการเรียนรูยังปรับไม ทันการเปลี่ยนแปลงทําใหคุณภาพไมไดมาตรฐาน (สํานักงาน คณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ. 2543: 10) จากสภาพปญหาการเรียนการสอนวิทยาศาสตรดังกลาว จํ า เป น ต อ งได รั บ การแก ไ ขและพั ฒ นาอย า งเร ง ด ว นเพื่ อ ให ผูเรียนบรรลุตามจุดมุงหมายของการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู ตามที่บัญญัติไว แนวคิดของนักการศึกษาในปรัชญาพิพัฒนนิยม มอง วาการศึกษาตองจัดใหผูเรียนไดเรียนตามความสนใจ ความ ถนัด และลั ก ษณะของผูเ รีย น การสรางความรูเกี่ยวของ กับสภาพสังคม และชีวิต ประจํา วัน ของผูเ รีย นใหม ากที่สุด ผูเ รีย นจะเกิด การเรียนรูไดดีเมื่อไดรับประสบการณตรงจาก การลงมือปฏิบัติดวยตนเอง และจากการทํางานรวมกัน ระหวางผูเรียน (ระพินทร ครามมี. 2544: 12) ใ น ก า ร พั ฒ น า ผู เ รี ย น เ พื่ อ ใ ห ส อ ด ค ล อ ง กั บ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และ แนวคิดของนั กการศึกษาปรั ชญาพิพัฒ นนิ ยมอาจกระทํา ได หลายวิธีรวมทั้งวิธีการเรียนการสอนดวยบทปฏิบัติการซึ่งทําให ผูเรียนไดรับประสบการณตรงทางดานทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร ทักษะการใชเครื่องมือ ฝกการแกปญหาตาม วิธีการทางวิทยาศาสตร เสริมสรางเจตคติทางวิทยาศาสตร มี ความสนุ ก สนานและสนใจในการศึ ก ษาค น คว า ความรู ท าง วิทยาศาสตร (สุรพล วิหคไพบูลย. 2543: 27) จากสภาพการณที่กลาวมาทําให ผูวิจัยตระหนักถึง การมีสวนรวมในการปรับปรุงคุณภาพน้ํา ตลอดจนปญหาที่ เกิดขึ้นจากการเรียนการสอนจึงไดนําหลักการทางวิทยาศาสตร มาผสมผสานกับทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการบําบัดน้ําเสียในการ พั ฒ นาบทปฏิ บั ติ การเรื่ อ ง การบํ าบั ดน้ํ าเสี ยเพื่ อใช เป น นวั ต กรรมในการพั ฒ นาผลการเรี ย นรู ด า นผลสั ม ฤทธิ์ ท าง การเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และยังเปน การเสริมสรางใหนักเรียนเกิดความตระหนักถึงความสําคัญ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 3.2 ตัวแปรตาม ไดแก ประสิทธิภาพของระบบ บําบัดน้ําเสียตามเกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคาร ซึ่ง กระทรวงวิ ท ยาศาสตรเ ทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม (พ.ศ. 2537) กําหนดตามคาพารามิเตอร ดังตอไปนี้ คือ ความเปน กรด-ดาง บีโอดี ซีโอดี น้ํามันและไขมัน และของแข็งแขวนลอย ตอนที่ 2 การพัฒนาบทปฏิบัติการ เรื่อง การ บําบัดน้ําเสีย 1. เนื้อหาบทปฏิบัติการ เรื่องการบําบัดน้ําเสีย มี ขอบเขตดังนี้ 1.1 บทปฏิบัติการ มี 5 บท คือ 1) การตรวจสอบ คุณ ภาพน้ํา เบื้อ งตน 2) การบํา บัดน้ํา เสียดว ยวิธีก ารทาง กายภาพ 3) การบํา บัด น้ํา เสีย ด ว ยวิธีการทางเคมี 4) การ บํา บัดน้ําเสียดว ยวิธีการทางชีวภาพ และ 5) การปรับปรุง คุณภาพน้ํา 1.2 บทของบทปฏิบั ติก ารแต ล ะบทมี อ งคป ระกอบ ดังนี้ 1) ชื่อบทปฏิบัติการ 2) ใบความรู 3) หลักการ 4) จุดประสงค 5) เวลาที่ใช 6) อุปกรณและสารเคมี 7) วิธีการทดลอง 8) แบบรายงาน ผลการทดลอง และ 9) คําถามทายบทปฏิบัติการ ตอนที่ 3 การนําบทปฏิบัติการที่พัฒนาขึ้นไปทดลองสอน 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ไดแก นักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเซนตดอมินิก เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ภาคเรียนที่ 1 ป การศึกษา 2551 จํานวน 250 คน จํานวน 5 หองเรียน สวน กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนดังกลาว 1 หองเรียน จํานวน 40 คน ซึ่งไดมาจากการสุมแบบจัดกลุม 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัว แปรต น ไดแ ก การสอนโดยใช บท ปฏิบัติการ เรื่องการบําบัดน้ําเสีย 2.2 ตัว แปรตาม ไดแ ก ผลสัม ฤทธิ์ท าง การ เรียน และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 3. ระยะเวลาที่ในการทดลองสอน การทดลองสอนกระทํา ในภาคเรีย นที่ 1 ป การศึก ษา 2551 ในคาบวิชาวิทยาศาสตร จํานวน 5 สัปดาห สัปดาหละ 2 คาบ คาบละ 50 นาที รวม 10 คาบ วิธีดําเนินการวิจัย ตอนที่ 1 การศึกษาประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ํา เสียแบบไมใชออกซิเจน 1. เตรียมความพรอมของระบบบําบัดน้ําเสียแบบไม ใชออกซิเจน (Start up) ใหอยูในสภาวะคงที่ (Steady state) 2. ศึกษาประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสียแบบไมใช ออกซิเจน โดยมีขั้นตอนดําเนินการดัง รายละเอียดตอไปนี้ 2.1 สูบน้ําจากบอรวมน้ําทิ้งมหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ นําไปเก็บไวในถังหมักแบบใชตัวกลางจากขวด พลาสติกเหลือใชเพื่อทําการบําบัด สูบน้ําที่ผานการบําบัด เรียบรอยแลวเขาสูระบบบําบัดน้ําเสียระบบอื่นๆ เพื่อทําการ บําบัดในขั้นตอนตอไป

2.2 เก็บ ตัว อยา งน้ํา เพื่อ ทํา การตรวจวิเคราะห คุณภาพน้ําซึ่งเก็บหลังจากเตรียมความพรอมของระบบใหอยู ในสภาวะคงที่แลวดวยวิธีการเก็บ แบบจว ง สัป ดาห ล ะ 1 ครั้ ง คือ วั น พฤหัส บดี ตั้งแตเวลา 15.00 น. ถึง 16.00 น. เปนเวลา ทั้งหมด 24 สัปดาห รวมทั้งสิ้น 24 ตัวอยาง เพื่อนํามาวิเคราะห หาคาความเปนกรด-ดาง คาบีโอดี คาซีโอดี คาน้ํามันและไขมัน และคาของแข็งแขวนลอย โดยเก็บตัวอยางน้ํา รวมทั้ง หมด 2 จุ ด คือ จุ ดน้ํา เขา ระบบ และจุด น้ําออกจากระบบ จุดที่ 1 น้ําเขาระบบ คือ น้ําทิ้งของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒกอนสูบเขาสูระบบบําบัด จุดที่ 2 น้ําออกจากระบบ คือ น้ํา ที่ผา นการ บําบัดดวยถังหมักโดยใชตัวกลาง การตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําในหอง ปฏิบัติการ จะกระทําภายในเวลา 1 ชั่วโมง หลังจากเก็บน้ําตัวอยาง เรียบรอยแลว 2.3 วิ เ คราะห ตั ว อย า งน้ํา เสี ย โดยวิ ธี วิเคราะห น้ําเสียสากล (Standard Methods for Examination of Water and Wastewater) ตอนที่ 2 การพัฒ นาบทปฏิบัติก าร เรื่อ ง การ บําบัดน้ําเสีย 1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับบทปฏิบัติการ 2. ศึ ก ษาเอกสารที่เกี่ ย วขอ งกับ การพั ฒ นาบท ปฏิบัติการใหเปนนวัตกรรม 3. ยกรางโดยผานการตรวจพิจารณาทั้งเชิงปริม าณ และคุณ ภาพจากผูเ ชี่ย วชาญ แลว นํา ไปทดลองใชกับ นักเรียนกลุมทดลองจํานวน 3 ครั้ง คือ 3 คน 9 คน และ 30 คน พรอมกับหาประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 ตอนที่ 3 การนําบทปฏิบัติการที่พัฒนาขึ้นไปทดลอง สอน นําบทปฏิบัติการเรื่อง การบําบัดน้ําเสีย ที่พัฒนาขึ้น ไปทดลองสอนกับนักเรียนกลุมตัวอยางโดยศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร สมมติฐานของการวิจัย 1. คุณ ภาพน้ํา เสีย ที่ผา นระบบการบํา บัด น้ําเสีย แบบไมใชออกซิเจน ชนิดใชตัวกลางจากขวดพลาสติกเหลือใช เปนไปตามเกณฑมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากอาคาร 2. นักเรียนที่เรียนดวยบทปฏิบัติการ เรื่อง การบําบัด น้ําเสีย มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 3. นักเรียนที่เรียนดวยบทปฏิบัติการ เรื่อง การบําบัด น้ํา เสีย มีทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร มากกวา เกณฑรอยละ 70


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 1 การศึกษาประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ํา เสียแบบไมใชออกซิเจน 1. ความเปน กรด-ดา ง จุด ที่ 1 มีคา เฉลี่ย 6.25 จุด ที่ 2 มีคาเฉลี่ย 7.34 ประสิทธิภาพการบําบัดมีคา รอ ยละ 17.44 เมื่อ เปรี ย บเที ย บกับ เกณฑ มาตรฐานน้ําทิ้งจาก อาคาร ที่กําหนดวามาตรฐานน้ําทิ้งความเปนกรด-ดาง มีคา ระหวาง 5.5-9 พบวา คุณภาพน้ําที่ผานการบําบัดมีคาอยู ระหวางเกณฑมาตรฐานที่กําหนด 2. บีโอดี จุดที่ 1 มีคาเฉลี่ย 458.21 มก./ล.จุดที่ 2 มี คาเฉลี่ย 330.04 มก./ล. ประสิทธิภาพการบําบัดมีคารอยละ 27.97 เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคาร ที่ กําหนดวามาตรฐานน้ําทิ้งบีโอดีมีคา ไมเกิน 20 มก./ล. พบวา คุณ ภาพน้ํา ที่ ผา นการบํา บัดมีคา เกิ นกวา เกณฑ ม าตรฐานที่ กําหนด 3. ซีโอดี จุดที่ 1 มีคาเฉลี่ย 681.20 มก./ล.จุดที่ 2 มี คาเฉลี่ย 575.00 มก./ล. ประสิทธิภาพการบําบัดมีคารอยละ 15.59 เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคาร ที่ กําหนดวามาตรฐาน น้ําทิ้งซีโอดี มีคาไมเกิน 120 มก./ล. พบวา คุณ ภาพน้ํา ที่ ผา นการบํ า บัด มี คา เกิ น กว า เกณฑ มาตรฐานที่กําหนด 4. น้ํามันและไขมัน จุดที่ 1 มีคาเฉลี่ย 22.37 มก./ล. จุดที่ 2 มีคาเฉลี่ยเทากับ 18.46 มก./ล.ประสิ ท ธิ ภ าพการ บํา บัด มี ค า รอ ยละ 17.47 เมื่อ เปรียบเทียบกับเกณฑ มาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคาร ที่กําหนดวามาตรฐานน้ําทิ้ง น้ํามันและไขมัน มีคาไมเกิน 20 มก./ล. พบวา คุณภาพน้ําที่ ผานการบําบัดมีคาไมเกินเกณฑมาตรฐานที่กําหนด 5. ของแข็ง แขวนลอย จุด ที่ 1 มีคา เฉลี่ ย 129.24 มก./ล. จุดที่ 2 มีคาเฉลี่ยเทากับ 97.09 มก./ล.ประสิทธิภาพการ บําบัดมีคารอยละ 24.94 เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐาน น้ําทิ้งจากอาคาร ที่กําหนดวามาตรฐานน้ําทิ้งของแข็ง

แขวนลอย มีคาไมเกิน 30 มก./ล. พบวา คุณภาพน้ําที่ผานการ บําบัดมีคาเกินกวาเกณฑมาตรฐานที่กําหนด

ภาพประกอบ 1 ตัวกลางขวดพลาสติกเหลือใชที่นําออกจาก ระบบบําบัดน้ําเสียแบบไมใชออกซิเจน

ภาพประกอบ 2 การยึดเกาะของจุลินทรียบริเวณ พื้นที่ผิว ตัวกลางขวดพลาสติกเหลือใช ตอนที่ 2 การพัฒนาบทปฏิบัติการ บทปฏิบัติการมีคุณภาพอยูในระดับดีมาก และมี ประสิทธิภาพ 80.26/80.71 (เปนไปตามเกณฑ 80/80)

ตาราง 1 แสดงประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสียแบบไมใชออกซิเจน ชนิดใชตัวกลางจากขวดพลาสติกเหลือใชโดยภาพรวม คุณภาพน้ําจุดตางๆ ของระบบบําบัด จุดที่ 1 น้ําเขาระบบ จุดที่ 2 น้ําออกจากระบบ เกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคาร ประสิทธิภาพในการบําบัด (รอย ละ) ผลการเปรียบเทียบคุณภาพน้ําทิ้ง หลัง การบําบัดกับเกณฑ มาตรฐาน

คาพารามิเตอร

681.21 575.00 ไมเกิน 120

น้ํามันและไขมัน (มก./ล.) 22.37 18.46 ไมเกิน 20

ของแข็งแขวนลอย (มก./ล.) 129.24 97.09 ไมเกิน 30

27.97

15.59

17.47

24.94

ไมผาน

ไมผาน

ผาน

ไมผาน

ความเปนกรด-ดาง

บีโอดี (มก./ล.)

ซีโอดี (มก./ล.)

6.25 7.34 5.5-9

458.21 330.04 ไมเกิน 20

17.44 ผาน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 จากตาราง 1 แสดงวาประสิทธิภาพในการบําบัดน้ํา เสียโดยภาพรวมของระบบบําบัดน้ําเสียแบบไมใชออกซิเจน ชนิดใชตัวกลางจากขวดพลาสติกเหลือใชตามคาพารามิเตอร ดังตอไปนี้ ไดแก คาความเปนกรด-ดาง คาบีโอดี คาซีโอดี คา น้ํามันและไขมัน และคาของแข็งแขวนลอย มีคารอยละ 17.44, 27.97, 15.59, 17.47 และ 24.94 และผลการเปรียบเทียบ คุณภาพน้ําที่ผานการบําบัดกับเกณฑมาตรฐาน น้ําทิ้งจาก อาคาร กระทรวงวิทยาศาสตร พ.ศ. 2537 ผลปรากฏวาคา ความเปนกรด-ดาง และคาน้ํามันและไขมันมีคาไมเกินคา มาตรฐานที่กําหนด ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่กําหนด สวนคา บีโอดี ซีโอดี และ คาของแข็งแขวนลอยมีคาเกินกวาเกณฑ มาตรฐานที่กําหนด ซึ่งไมเปนไปตามสมมติฐานกําหนด ตอนที่ 3 การทดลองสอน ผลจากการทดลองสอน พบวา คะแนนเฉลี่ยจากการ ทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน และหลัง เรียนมีความแตกตางกัน (มีนั ย สํา คัญ ทางสถิ ติที่ร ะดับ .05) และทัก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร ห ลั ง เรี ย นสู ง กว า เกณฑที่กําหนด (มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05)

ภาพประกอบ 2 การปฏิบัติกิจกรรมการทดลองของนักเรียนที่ เรียนดวยบทปฏิบัติการเรื่อง การบําบัดน้ําเสีย อภิปรายผล 1. การประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสียแบบไมใช ออกซิเจน 1.1 การบําบัดความเปนกรด-ดางของน้ําเสียมี ประสิทธิภาพรอยละ 17.44 สามารถปรับปรุงคุณภาพน้ําซึ่ง กอนเขาสูระบบบําบัดมีสภาพเปนกรดใหมีส ภาพเปน กลางได

ซึ ่ง ถือ ว า สภาพดัง กลา วมีค วามเหมาะสมในการดํ า เนิ น กิจกรรมของแบคทีเรียเพื่อยอยสลายสารอินทรียในน้ําเสีย โดย กระบวนการบํา บั ดแบบไมใ ชอ อกซิเ จน แบคทีเ รีย จะเปลี่ย น ไ ฮ โ ด ร เ จ น ไ อ อ อ น ใ น น้ํ า เ สี ย ใ ห ก ล า ย เ ป น ก า ซ มี เ ท น คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจนซัลไฟต และเซลลแบคทีเรียใหม สงผลใหปริมาณไฮโดรเจนไอออนลดลง สอดคลองกับเกรียง ศักดิ์ อุดมสินโรจน (2539: 227) กลาววา การลดลงของ ไฮโดรเจนไอออนในน้ําเสียโดยเปลี่ยนไปอยูในรูปกาซทําใหคา ความเป น กรด-ด า งมากขึ้ น เนื่ อ งจากค า ดั ง กล า วขึ้ น อยู กั บ ปริมาณความเขมขนของไฮโดรเจนไอออนในน้ําเสีย 1.2 การบํ า บั ดน้ํ า มั น และไขมั นของน้ํ า เสี ย มี ประสิทธิภาพรอยละ 17.47 เนื่องจากกระบวนการบําบัดแบบ ไมใชออกซิเจนจุลินทรียใชสารอินทรียซึ่งประกอบดวยโปรตีน ไขมัน และคารโบไฮเดรตเปนแหลง อาหาร และพลัง งาน ภายในถัง หมัก เพื่ อกระบวนการเจริ ญ เติ บ โตทํา ให ป ริม าณ น้ํามันและไขมันที่เปนองคประกอบของน้ําเสียมีปริมาณลดลง นอกจากนี้การติดตั้งบอดักไขมันบริเวณโรงอาหารเพื่อกําจัด ไขมันบางสวนที่ลอยอยูบริเวณผิวน้ํา ออกจากน้ําเสียทําให ระบบรั บ ภาระในการบรรทุ ก สารอิ น ทรี ย ป ระเภทไขมั น ใน ปริมาณนอย 1.3 การบําบัดบีโอดีของน้ําเสียมีประสิทธิ ภาพรอยละ 27.97 เนื่องจากแบคทีเรียสามารถยึดเกาะพื้นที่ผิวของตัวกลาง ขวดพลาสติกเหลือใชโดยไมหลุดออกนอกระบบ สารอินทรียที่ ปนเปอนอยูในน้ําเสียจึงถูกยอยสลายโดยปฏิกิริยาแบบไมใช ออกซิเจนไดผลผลิตเปนกาซตางๆ โดย เฉพาะมีเทนซึ่งจะแยก ออกจากระบบอย า งรวดเร็ ว เนื่ อ งจากความสามารถในการ ละลายน้ําต่ําสอดคลองกับงานวิจัยของสนอง ทองปาน (2540: 95) ที่ศึกษาการบําบัดน้ําเสียโดยวิธีการทางชีวภาพแบบไมใช ออกซิเจน โดยภายในถังหมักบรรจุตัวกลางที่ทําจากทอพีวีซี เพื่อเปนที่ยึดเกาะของแบคทีเรีย ปองกันไมใหแบคทีเรียไหล ปะปนมากับน้ําที่ผานการบําบัดซึ่งแบคทีเรียเหลานี้จะทําหนาที่ ยอยสลายสารอินทรียที่มีโมเลกุลใหญใหกลายเปนสารอินทรีย ที่มีโมเลกุลเล็กทําใหน้ํามีคุณภาพดีขึ้น 1.4 การบํา บัด ซีโ อดีข องน้ํา เสีย มีประสิทธิภาพรอย ละ 15.59 เนื่องจากสารอินทรียประเภทที่ยอยสลายไดถูก จุ ลิ น ท รี ย ย อ ย ส ล า ย ซึ่ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ด จ ะ เ ป น ก า ซ คารบอนไดออกไซด และน้ําสามารถออกจากระบบไดสงผลให น้ําเสียที่ผานการบํา บัด มีคุณ ภาพดีขึ้น สอดคลอ งกับ มั่น สิน ตัณฑุลเวศม (2525: 45) กลาววา ผลิตภัณฑที่ไดจากการยอย สลายสิ่ ง สกปรกในน้ํ า เสี ย ซึ่ ง อยู ใ นรู ป ของซี โ อดี จ ะเป น สารประกอบคารบอนไดออกไซดและน้ํา 1.5 การบํา บัด ของแข็ง แขวนลอยของ น้ํา เสีย มี ประสิท ธิภ าพรอ ยละ 24.94 เนื่อ งจากสารอินทรียที่เปน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 (2542: 100) พบวา บทปฏิบัติการเสริมความรูชีววิทยา เรื่อง การ จําแนกอันดับปลาทะเล มีประสิทธิภาพ 86.40/82.67 3. การทดลองสอน 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนดวย บทปฏิบัติการ มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูง กวากอนเรียน เนื่ อ งจากบทปฏิ บัติ ก ารที่ผู วิ จั ย พั ฒ นา ขึ้ น ผ า นการประเมิ น คุณภาพจากผูเชี่ยวชาญซึ่งผลการประเมินอยูในระดับดีมาก อีกทั้ ง ได ผา นการหาประสิ ท ธิภ าพของบทปฏิ บัติก ารซึ่ ง มีค า 80.26/80.71 เปนไปตามเกณฑ 80/80 ที่กําหนด มีการ ปรับปรุงแกไขขอบกพรองตางๆ ใหเหมาะสมกับระดับของ ผูเ รีย น สอดคลอ งกับ แนวคิด ของประเทือ งทิพ ย สุกุ มลจัน ทร (2545: 71) กลา วว า บทปฏิบัติการวิทยาศาสตรที่ ผานการประเมินจากผูเชี่ยวชาญ และคะแนนความคิดเห็นจาก ผูเชี่ยวชาญอยูในระดับดีประกอบกับมีการพัฒนา และปรับปรุง บทปฏิ บั ติ ก ารก อ นนํ า ไปสอนจริ ง ส ง ผลให บ ทปฏิ บั ติ ก าร ดั ง กล า วมี ค วามเหมาะสมในการนํ า ไปใช ใ นการสอนได ประกอบกับนักเรียนปฏิบัติการทดลองเปนกลุมซึ่งเปนไปตาม ลักษณะและคุณสมบัติของผูเรียนโดยคละกันระหวางนักเรียน ที่มีความสามารถแตกตางกันในดานของผลการเรียนแตละวิชา (เกง ปานกลาง และออน) ทําใหนักเรียนไดมีโอกาสวาง แผนการทํางานรวมกัน ปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และชว ยเหลือ ซึ่ง กัน และกั น ภายใตก รอบการทํา งานอยา งมี ระบบสงผลใหนักเรียนที่เรียนดวยบทปฏิบัติการ เรื่อง การ บําบัดน้ําเสีย มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวา กอ น เรีย น สอดคลอ งกั บ งานวิจั ย ของอรทัย ศรีสมชัย (2547: 73) พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนดวยบท ปฏิบัติก ารสิ่ง แวดลอ มศึก ษาในโรงเรีย นมีค ะแนนเฉลี่ยหลั ง เรียนสูงกวากอนเรียน 3.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียน ที่เรียนดวยบทปฏิบัติการมีคะแนนเฉลี่ย 33.55 คิดเปนรอยละ 83.88 เนื่องจากบทปฏิบัติการที่พัฒนาขึ้นเปนกิจกรรมการ เรียนการสอนที่เนื้อหาในแตละบทปฏิบัติการมุงใหนักเรียนได ลงมือปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเองทําการทดลองจริงอยางเปน ระบบ มีกระบวนการอยางตอเนื่อง การปฏิบัติการทดลองเปน กลุมทําใหนักเรียนไดรวมมือกัน รูจักแบงงานทั้งในดานการวาง แผนการทดลอง และการปฏิบัติการทดลองตลอดจนการ นําเสนอผลการทดลองหนา ชั้นเรียนการมีสวนรวมดังกลาว สงผลใหเกิดความ สัมพันธภายในกลุม ใหเกียรติซึ่งกันและกัน มีอิสระในการแสดงความคิด กลาแสดงออกในการปฏิบัติ กิจกรรม สรางความเชื่อมั่น และความมั่นใจใหเกิดกับบุคคล สงเสริมความรับผิดชอบในหนาที่ซึ่งไดรับมอบหมายใหประสบ ผลสําเร็จอันนํามาซึ่งประโยชนรวมกันภายในกลุม สอดคลองกับ แนวคิดของ ณัฐวรรณ เอี่ยมขํา (2549: 90) กลาววา การที่

องค ป ระกอบของของแข็ ง แขวนลอยแม ส ว นใหญ จ ะเป น ประเภทที่ยอยสลายยากแตบางสวนก็สามารถนําไปใชในการ เจริญ เติบโตของจุลินทรียได สงผลใหปริมาณของแข็ง แขวนลอยในน้ําเสียลดลงเมื่อผานการบําบัด สอดคลองกับ งานวิจัยของเกรียงศักดิ์ คูหิรัญญรัตน (2535: 85) ที่ไดศึกษา ระบบบํ า บั ด น้ํ า เสี ย ชนิ ด ใช ตั ว กลางติ ด กั บ ที่ แ บบถั ง กรองไร ออกซิเจนสําหรับภัตตาคาร พบวา น้ําเสียที่ผา นถัง กรองไร ออกซิเ จน มีคา ของแข็ง แขวนลอยเฉลี่ยเทากับ 151.81 มี ประสิทธิภาพในการบําบัดรอยละ 41.66 จากผลการทดลอง ระบบบําบัดน้ําเสียแบบไม ใ ช ออกซิเ จน ชนิด ใชตัว กลางจากขวดพลาสติก เหลือใช สามารถบําบัดความเปนกรด-ดาง และน้ํามันและไขมัน ให ผ า นเกณฑม าตรฐานได สว นบีโ อดี ซีโ อดี และของแข็ง แขวนลอยไมสามารถบํา บัด ใหผานเกณฑมาตรฐานที่กําหนด ได ตองผานกระบวน การบําบัดในระบบอื่นโดยมหาวิทยาลัย ศรีนครินทร- วิโรฒใชระบบจานหมุนชีวภาพ 2. การพัฒนาบทปฏิบัติการ 2.1 จากการประเมิน คุณ ภาพของบท ปฏิบัติการโดยผูเชี่ยวชาญปรากฏวาโดยภาพรวมคุณภาพของ บทปฏิบัติการอยูในระดับดีเนื่องจาก มีความสอดคลองกับ สภาพการจัดการเรียนการสอนในปจจุบันตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ตลอดจนคํานึงถึงความสอดคลองเกี่ยวกับเนื้อหาในสาระการ เรีย นรูวิท ยาศาสตร สาระที่ 2 ชีวิต กับ สิ่ง แวดลอ ม ความ เหมาะสมของการทดลอง อุปกรณและสารเคมีที่ห างา ยใน ทอ งถิ่น ระยะเวลาที่ใ ชใ นการทดลอง รวมถึงองคประกอบ ตางๆ มีความเหมาะสม ชัดเจนตอเนื่องสัมพันธกันชวยให นักเรียนมีสวนรวมในการคิดแลวนําไปปฏิบัติทีละขั้นตอนได อยางถูกตอง สามารถจูงใจใหนักเรียนสนใจในกิจกรรม และ ชวยพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของผูเรียน 2.2 ประสิท ธิ ภ าพของบทปฏิบัติก ารเท า กับ 80.26/80.71 เนื่ อ งจากมีขอ มู ล พื้น ฐานมาจากการทดลอง ในหองปฏิบัติการสิ่งแวดลอมและการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ โดยเล็งเห็นคุณคา ความสําคัญของการนํา วัสดุอุปกรณ สารเคมีที่มีอยูในทองถิ่นมาประยุกตใชใหเกิดประโยชนรวมถึง สภาพและปญหาน้ําเสียที่เกิดขึ้นในปจจุบัน นักเรียนไดสัมผัส และมีสวนรวมในการเรียนรูเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพน้ํา โดยใชประสาทสัมผัส สามารถเลือ กใชวัส ดุ อุป กรณไ ด ถู ก ตอ งเหมาะสมกับ สิ่ง ที่ ตองการวัด เสริมสรางทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร ใหเกิดกับผูเรียน สงผลใหบท ปฏิบัติการ เรื่อ งการบํา บัด น้ํา เสีย มีป ระสิท ธิภ าพตาม เกณฑ 80/80 สอดคลองกับงานวิจัยของฐาปนีย เมธีพลกุล


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 นั ก เรี ย นได ล งมื อ ปฏิ บั ติ ก ารทดลองด ว ยตนเองตามขั้ น ตอน ตางๆ ที่กําหนดไว รวมทั้งมีการแกไขปญหา และลงมือปฏิบัติ หลายครั้ ง จนเกิ ด ความชํ า นาญส ง ผลต อ การพั ฒ นาทั ก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร และความรูอยางแทจริงใหอยูคู กับนักเรียนดวยความยั่งยืนสงผลใหนักเรียนที่ใชบทปฏิบัติการ เรื่อง การบําบัดน้ําเสีย มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร สูงขึ้นมากกวาเกณฑรอยละ 70 สอดคลองกับงานวิจัยของ ธนวรรณ โสมนอย (2548: 79) พบวา นักเรียนที่เรียนดวยบท ปฏิบัติการวิทยาศาสตรเรื่อง จุลินทรียที่ใชในการยอยสลายสี ยอมผาสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษามีทักษะกระบวน การ ทางวิทยาศาสตรหลังเรียนสูงกวากอนเรียน ขอเสนอแนะ ข อ เสนอแนะเกี่ ย วกั บ การศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของ ระบบบําบัดน้ําเสีย 1. ขอเสนอแนะทั่วไป 1.1 ในการนําระบบบําบัดน้ําเสียแบบไมใช ออกซิเจน โดยใชตัวกลางจากขวดพลาสติกเหลือใช ไปใชควรมี การคํ า นวณปริ ม าตรน้ํ า ที่ เ ข า สู ร ะบบบํ า บั ด ให มี ค า พอดี กั บ ปริมาตรของขวดพลาสติกรวมทั้งระยะเวลาที่ใชในการกักเก็บ น้ําเสียเพื่อให จุลินทรียทําการยอยสลายสารอินทรียในน้ําจน เสร็จสิ้นกระบวนการ 1.2 น้ําทิ้งที่ผานระบบควรทําการบําบัดตอเนื่อง ในระบบต อ ไปเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการลดปริ ม าณ สารอินทรียที่ปนเปอนอยูในน้ําเสียใหมากยิ่งขึ้นกอนปลอยลงสู แหลงน้ําสาธารณะ 1.3 ถัง หมัก ที่ใ ชบ รรจุ ตัว กลางตอ งมี พื้น ที่ เพี ย งพอสํ า หรั บ บรรจุ ตั ว กลางและควรรองรั บ น้ํ า ทิ้ ง จาก แหลงกําเนิดตางๆ สัมพันธกับระยะเวลาในการกักเก็บน้ําเสีย 2. ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรศึก ษาประสิท ธิ ภ าพของระบบบําบัด น้ําเสียชนิดใชตัวกลางพลาสติกที่ระดับตางๆ ภายในถังหมัก แบบไมใชออกซิเจน

2.2 ควรศึก ษาประสิท ธิภ าพของระบบบําบัด น้ําเสียชนิดใชตัวกลางจากวัสดุชนิดตางๆ เชน ขวดน้ําโพลา ลิตร ซังขาวโพด และอิฐมอญ เปนตน 2.3 ควรศึก ษาประสิท ธิภ าพของระบบบําบัด น้ําเสียชนิดใชตัวกลางจากขวดพลาสติกโดยเปลี่ยนชนิดของ น้ําเสียที่ใชในการทดลอง เชน น้ําเสียจากโรงงาน น้ําเสียจาก คลองแสนแสบ เปนตน ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการนําบทปฏิบัติการไปทดลองสอน 1. ขอเสนอแนะทั่วไป 1.1 ครูผูส อนควรศึก ษา และทํา การทดลอง เบื้ อ งต น ด ว ยตนเองเพื่ อ ให ก ารทดลองของนั ก เรีย นเปน ไป ดว ยดี และครูค วรชี้แ จง แนะนํา ใหนักเรียนเกิดความเขาใจ ในขั้นตอนตางๆ ที่ตองปฏิบัติเพื่อใหการทดลองมีประสิทธิภาพ 1.2 ครู ผู ส อนควรศึ ก ษารายละเอี ย ดของบท ปฏิบัติการ และศึกษาคูมือประกอบการสอนบทปฏิบัติการ เพิ่มเติมเพื่อจะไดใหคําแนะนํานักเรียนไดอยางถูกตองและเกิด ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น 1.3 ควรมีการปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมหรือแกไข ดั ดแปลงให มี ความสอดคล องกั บสภาพการณ ของทอ งถิ ่น เพื ่อ ใหน ัก เรีย นสามารถนํ า ความรู ไ ปประยุ ก ต ใ ช ใ ห เ กิ ด ประโยชนมากที่สุด 2. ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรศึกษาผลการใชบทปฏิบัติการ เรื่ อ ง การบํา บั ด น้ํา เสี ย กั บ ตั ว แปรอื่ น ๆ ที่ มี ค วามเกี่ยวของ เชน จิตสํานึกทางสิ่งแวดลอม เจตคติทางสิ่งแวดลอม และจิต วิทยาศาสตร เปนตน 2.2 ควรนําบทปฏิบัติการ เรื่องการบําบัดน้ําเสีย ไปประยุกตใชใหเหมาะสมกับวุฒิภาวะของนักเรียนระดับชั้น ตางๆ 2.3 ควรนําบทปฏิบัติการ เรื่องการบําบัดน้ําเสีย ไปทดลองใชเปนแนวทางในการทําโครงงานสิ่งแวดลอมสําหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย

บรรณานุกรม กรมควบคุมมลพิษ. (2547). คามาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคาร. สืบคนเมื่อ 26 กุมภาพันธ 2550 จาก http://wwwpcd.go.th เกรียงศักดิ์ คูหิรัญญรัตน. (2535). การศึกษาระบบบําบัดน้ําเสียชนิดติดกับที่แบบถังกรองไร ออกซิเจนสําหรับภัตตาคาร. วิทยานิพนธ วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ถายเอกสาร. ฐาปนีย เมธีพลกุล. (2542). การสํารวจปลาทะเลที่ทาเทียบเรือประมงชุมพรเพื่อพัฒนาบท ปฏิบัติการเสริมสรางความรู ชีววิทยาเรื่อง การจําแนกอันดับปลาทะเล. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (วิทยาศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ณัฐวรรณ เอี่ยมขํา. (2549). การพัฒนาคูมือการตรวจสอบคุณภาพน้ําทางชีวภาพเบื้องตนโดยใชสาหรายเปนตัวบงชี้ สําหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 2. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ประเทืองทิพย สุกุมลจันทร. (2545). การพัฒนาบทปฏิบัติการวิทยาศาสตรเรื่อง การแปรรูป และทดสอบเรื่อง สารอาหารในพืชสมุนไพร สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (วิทยาศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. มั่นสิน ตัณฑุลเวศม. (2525). การออกแบบขั้นตอนกระบวนการของระบบกําจัดน้ําเสียที่อาศัยหลักชีวภาพ เลมที่ 2 โมเดลทางจลศาสตร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ระพินทร ครามมี. (2544). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดอยางมีเหตุผลเชิงวิเคราะห ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 1 ที่เรียนวิชาสังคมศึกษาโดยการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิซึมกับการ สอนแบบแกปญหา. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินท รวิโรฒ. ถายเอกสาร. สนอง ทองปาน. (2540). การศึกษาประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสียแบบใชพลังงานในตัวเองบําบัดตัวเอง: กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาบทปฏิบัติการวิทยาศาสตรใหสัมพันธกับสิ่งแวดลอมศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ด. (วิทยาศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ. (2543). กรอบวิสัยทัศน และทิศทางแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม แหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. สุรพล วิหคไพบูลย. (2543). การพัฒนาบทปฏิบัติการเรื่อง การบําบัดน้ําเสีย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (วิทยาศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. อรทัย ศรีสมชัย. (2547). การพัฒนาบทปฏิบัติการสิ่งแวดลอมศึกษาในโรงเรียนมัธยม. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การ มัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. อโนทัย อุเทนสุต. (2538). องคการจัดการน้ําเสีย. กรุงเทพฯ: กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม. APHA;AWWA WPCF. (1989). Standard Methods for Examination of Water and Wastewater. New York: American Pubic Health Association.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

ผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจในการเรียน โดยใช บทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต ของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ THE ACHIEVEMRNT AND SATISFACTION OF UNDERGRADUATE STUDENTS OF SISAKET RAJABHAT UNIVERSITY THROUGH WEB-BASED LEARNING ON INFORMATION TECHNOLOGY FOR LIFE เอกเทศ แสงลับ1 รองศาสตราจารย ดร.อรพรรณ พรสีมา2 รองศาสตราจารย นิภา ศรีไพโรจน3 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุงหมายเพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนผาน เครือขายอินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต ใหมี คุณภาพตามเกณฑ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนโดยใชบทเรียนผาน เครือขายอินเทอรเน็ต กลุมตัวอยางเปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย ราชภัฏศรีสะเกษ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 จํานวน 40 คน โดยการสุมแบบกลุม (Cluster Random Sampling) เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ได แ ก บทเรี ย นผ า นเครื อ ข า ย อิ น เทอร เ น็ ต วิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ ชี วิ ต แบบวั ด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบวัดความพึงพอใจในการเรียน วิเคราะหหาขอมูลโดยใชคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ ทดสอบสมมติฐานโดยใชสถิติ t-test for Dependent Sample

1

นิสิตระดับปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3 ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ผลการวิจัยพบวา 1. บทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อชีวิต ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มีคุณภาพ ระดับดีมากตามความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ ทั้งดานเนื้อหา และดานเทคโนโลยีการศึกษา 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อชีวิต ของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี หลังเรียน โดยใชบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ตสูงกวากอนเรียนอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เรียนโดยใชบทเรียน ผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยีสารเทศเพื่อชีวิต มี ความพึงพอใจในการเรียนอยูในระดับมาก Abstract The purposes of this research were to 1) develop quality web-based learning on “Information Technology for Life”, 2) compare students learning achievement before and after study through web-based learning, and 3) study students satisfaction with webbased learning. Forty of undergraduate students from Sisaket Rajabhat University were sample through Cluster Random Sampling technique. The research instruments were the web-based learning lesson satisfaction with the web-based learning questionnaire, and learning achievement tests. The data were analyzed by means and standard deviations Also, t-test for dependent samples was used for hypothesis testing. The results of this study were as follows: 1. Web-Based Learning on “Information Technology for Life” for undergraduate students was ranked at an excellent level by both content experts and media expert. 2. The average post-test score of the students who learned “Information Technology for Life” via the web-based learning was higher than the average pretest score at.05 statistical significance. 3. The students were satisfied at the high level with the web-based learning “Information Technology for Life”. Keyword : Web-Based Learning ความเปนมาของปญหาการวิจัย ความกาวหนาทางวิท ยาการและระบบการสื่อ สาร ข อ มู ล ที่ ร วดเร็ ว ส ง ผลให ส ถานการณ ของประเทศไทย เปลี่ยนแปลงไปดว ยอัตราเรง ที่สูง รัฐบาลจํา เปน ตองเตรียม

เด็ ก ไทยให เ ข า สู สั ง คมฐานความรู (Knowledge-based Society) จึงตองมีการปฏิรูปการเรียนรูเกิดขึ้นเพื่อการพัฒนา ปญญาของเด็กไทยใหเต็มตามศักยภาพ ใหมีแนวคิดที่สามารถ เชื่อมโยงบูรณาการสิ่งตาง ๆ ไดอยางมีเหตุผล พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พุ ท ธศั ก ราช 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษาไดบัญญัติใหมีการเรียนรู โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งเริ่มตนจากการปฏิรูปหลักสูตรอัน เปนกรอบทิศทางในการจัดการศึกษา นอกจากนั้นมีการปรับ กระบวนการเรี ย นการสอนโดยคํ า นึ ง ถึ ง ความแตกต า งของ ผูเรียนดวย และหมวด 9 วาดวยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มี เจตนารมณที่จ ะชวยใหผูเรียนสามารถเขาถึง ขอมูลขาวสาร ความรู ดวยตนเอง และสามารถมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนและ ผู ส อ น ไ ด โ ด ย ไ ม จํ า กั ด เ ว ล า แ ล ะ ส ถ า น ที่ (สํ า นั ก ง า น คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.2545:47) ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและ การสื่อสารเปนไปอยางรวดเร็ว สงผลใหมีการใชงานระบบ เครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต ได รั บ ความนิ ย มอย า งแพร ห ลาย มี ผูใชงานทั่วโลกและเพิ่มมากขึ้นทุกวันอยางรวดเร็ว ทําใหเกิด การเปลี่ ย นแปลงกั บ ระบบการศึ ก ษา จากการสอนที่ ต อ งมี อาจารยมาสอนหนาชั้นเรียนอยูเปนประจําการเปลี่ยนมาใช เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร ช ว ยในการเรี ย นการสอนเพื่ อ ให ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยไดมีการสรางบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน (Computer-Assisted Instruction) และบทเรียน คอมพิวเตอรในการฝกอบรม (Computer-Based Training) ซึ่ง บทเรียนที่กลาวมาเปนระบบที่สรางขึ้นเพื่อใชงานโดยลําพัง (Standalone-Based System) ตอมาไดมีการเปลี่ยนแปลงไป เปน บทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งเปนบทเรียนที่ใชงาน ผ า นระบบเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ การ เปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร ที่ มี ก ารพั ฒ นาอยู ตลอดเวลาในปจจุบันนี้ (ประทีป วิจิตรศรีไพบูลย.2549:1) การเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษามีความแตกตาง กั บ ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาอยู พ อสมควร อาจารย ใ น ระดับอุดมศึกษาบางคนเชื่อวา หนาที่ของอาจารยคือการนํา ขอมูลที่แจมแจงและชัดเจนมาบรรยายใหนักศึกษาฟง เปน หนาที่ของนักศึกษาที่จะตองเรียนรูจากตําราและขอมูลที่ไดรับ ฟงจากการบรรยายอาจารยจะตอบคําถามใหแกนักศึกษาที่ไม เขาใจ แตมักจะไมคอยเตรียมสื่อการเรียนรู ที่หลากหลายและ เพียงพอใหแกนักศึกษา รูปแบบการสอนไมเหมาะสม ขาดสื่อ การสอน และวิธีการใชไมเหมาะสม รวมทั้งไมไดเตรียมวิธีการ ที่เหมาะสมดวย การเรียนการสอนจึงเปนไปอยางมีระเบียบ และรวดเร็ว ไมมีโอกาสไดคิด ทั้ง ๆ ที่การเรียนใน ระดั บ อุ ด มศึ ก ษาต อ งฝ ก ให นั ก ศึ ก ษาได รู จั ก คิ ด วิ เ คราะห สังเคราะห และวิพากษวิจารณ นักศึกษาที่เขาเรียนใน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ระดับอุดมศึกษา จึงมักประสบปญหาในการเรียนคอนขางมาก นักศึกษาชั้นปที่ 1 จะขาดทักษะที่จําเปนในการเรียนแบบใฝรู มักจะใชกลวิธีการเรียนรูของตนเองตามความสามารถที่มีอยู จึงทําใหการเรียนรูไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร (ศักดา ไช กิจภิญโญ. 2548) วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต เปนวิชาหนึ่งที่มี การเรียนการสอนภาคทฤษฎีที่มุงใหความรูในเนื้อหาหลักและ วิธีปฏิบัติตาง ๆ เพื่อใชเปนพื้นฐานของการศึกษาขั้นสูงตอไป เป น การเตรี ย มผู เ รีย นให มี ค วามรอบรู ความสามารถและมี ความพรอมที่จะนําความรูที่ไดเรียนมาไปประยุกตใชตอไปใน อนาคต แตการสอนจะเปนการใชวิธีบรรยายเปนสวนใหญ ทั้งนี้ เนื้อหาวิชานี้มีขอบเขตการศึกษารายละเอียดคอนขางซับซอน ใหมีความรูความสามารถและทําความเขาใจไดในชวงเวลา สั้นๆ โดยวิธีการเรียนการสอนแบบบรรยาย (ทองอินทร ไหวดี. 2546:3) จากกรณีศึกษากลุมนักศึกษาระดับชั้นปที่ 1 ยังมี ปญหาเกี่ยวกับการปรับสภาพ ในการเรียนระดับ อุดมศึกษา เพราะแตกตางจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษา นักศึกษาจึง ไมคุนกับการเรียนที่ใชระยะเวลานาน และรายวิชาที่มีเนื้อหา ซั บ ซ อ น วิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ ชี วิ ต เป น วิ ช าหนึ่ ง ที่ นักศึกษามีปญหาการเรียนคอนขางมาก นักศึกษาสวนใหญ ขาดความกระตื อ รื อ ร น ในการเรี ย น จึ ง เห็ น ด ว ยกั บ การนํ า เครือขายอินเทอรเน็ตมาใชในการเรียนการสอนเพราะการใชสื่อ เพื่อการเรียนดวยตนเอง นักศึกษาสามารถมีสวนรวมในการทํา กิจกรรมการเรียนการสอน มีการเสริมแรงตอการตอบสนองที่ ถู ก ต อ ง ทํ า ให ผู เ รี ย นเกิ ด ความกระตื อ รื อ ร น สนใจที่ จ ะเรี ย น ต อ ไป ผู เ รี ย นใช เ รี ย นซ้ํ า กี่ ค รั้ ง ก็ ไ ด ต ามความสนใจและ ความสามารถโดยอาศัยศักยภาพเครือขายอินเทอรเน็ต ดวย สภาพการณ ดั ง กล า วข า งต น ผู วิ จั ย จึ ง สนใจที่ จ ะศึ ก ษา ผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนจากบทเรียน ผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต ใหมีคุณภาพตามเกณฑที่ กําหนด คือ ผลการประเมินจากผูเชี่ยวชาญ ตองมีคาตั้งแต 3.50 ขึ้นไป ซึ่งถือวาบทเรียน ผานเครือขายอินเทอรเน็ต คุณภาพอยูในระดับดีถึงดีมาก 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและ หลั ง เรี ย นของนั ก ศึ ก ษาที่ เ รี ย นจากบทเรี ย นผ า นเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต 3. เพื่ อ ศึ ก ษาความพึ ง พอใจในการเรี ย นของ นักศึกษาที่เรียนจากบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต

สมมติฐานการวิจัย 1. บทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชาเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อชีวิตมีคุณภาพ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียน ผานเครือขายอินเทอรเน็ตสูงกวา กอนเรียน 3. นั ก ศึ กษามี ค วามพึ ง พอใจในการเรีย นผ า น เครือขายอินเทอรเน็ต การกําหนดประชากรและเลือกกลุมตัวอยาง ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนนักศึกษาระดับ ปริ ญ ญาตรี ภาคปกติ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ศรี ส ะเกษ ที่ ลงทะเบียนเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 จํานวน 12 สาขาวิชา จํานวนนักศึกษา 429 คน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการทดลอง เปนนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ที่ลงทะเบียนเรียน วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551ได ม าจากการสุ ม แบบกลุ ม (Cluster Random Sampling) จํ า นวน 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิช าวิท ยาการ คอมพิวเตอร จํานวนนักศึกษา 40 คน การสร า งเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย และการพั ฒ นา คุณภาพ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก 1. บทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต 2. แบบประเมินคุณภาพบทเรียนผานเครือขาย อินเทอรเน็ต 3. แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. แบบวัดความพึงพอใจในการเรียน วิธีดําเนินการทดลอง 1. กํ า ห น ด ต า ร า ง เ รี ย น ใ น ห อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร คอมพิวเตอร ที่สามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตไดตลอดทั้งภาค เรียน 2. ปฐมนิเทศนักศึกษากลุมทดลองที่จะเรียนผาน เครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต แนะนํ า การเรี ย นการสอนโดยใช อิ น เทอร เ น็ ต และการปฏิ สั ม พั น ธ กั บ ผู ส อน และนั ก ศึ ก ษา สามารถสอบถามไดทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ตามคูมือการ เรียนการสอนที่แจกให 3. ใหนักศึกษาทําแบบทดสอบกอนเรียน (Pretest) โดยใชแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผูวจิ ัยสรางขึ้น 4. ทํ า การทดลองโดยใช บ ทเรี ย นผ า นเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต โดยใชเครือขายคอมพิวเตอรระบบ LAN ของ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ความนาสนใจ เชน มีกระดานขาว หองสนทนา หรือการศึกษา จาก วีดิทัศน ซึ่งสามารถจูงใจให ผูเรียนไมเบื่อหนายตอการ เรียน ตัวบทเรียนมีความสะดวกตอการใชงาน ซึ่งสอดคลองกับ กิดานันท มลิทอง (2536) ที่กลาววา การนําเสนอบทเรียนใน รูปแบบที่หลากหลายในลักษณะสื่อหลายมิติ จึงทําใหการใช บทเรียนเปนไปไดอยางสะดวกสบายไดรับความนิยม อีกทั้ง บทเรียนยังผานการประเมินคุณภาพตรวจสอบและปรับปรุง แกไขตามขอเสนอแนะจากอาจารยที่ปรึกษา และผูเชี่ยวชาญ ดานเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งเปนประโยชนกับผูเรียนในโอกาส ตอไป 1.2 ในการสรางบทเรียนผานเครือขาย อินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต ประกอบดวย เนื้อหา เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและอุปกรณประกอบรวม การประมวลผลขอมูลและขอสนเทศในการใชงานเบื้องตน และ โปรแกรมคอมพิวเตอรและการใชงาน มาสรางเปนบทเรียนผาน เครือขายอินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ ในรูปแบบของแรงจูงใจ เพื่อใหผูเรียนมีความพอใจในการเรียน และไมเกิดความกดดันขณะเรียน เมื่อผูเรียนไมทันผูอื่นทําให ผูเรียนไมเครียดในระหวางเรียนซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ วิชชุดา รัตนเพียร (2542) ที่กลาววาการจัดการเรียนการสอน ผานเครือขายอินเทอรเน็ตสนับสนุนใหผูเรียนใฝหาความรูดวย ตนเองทั้งยังสงเสริมใหผูเรียนไดมีโอกาสเขามารวมกิจกรรม ตาง ๆ กับกลุมผูเรียน และระหวางผูเรียนกับผูสอน 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา เทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ ชี วิ ต ที่ เ รี ย นผ า นบทเรี ย นผ า น เครือ ขายอิ นเทอรเน็ต จากการศึกษาพบวา เรื่อ ง เทคโนโลยี สารสนเทศและอุปกรณประกอบรวม การประมวลผลขอมูล และข อ สนเทศในการใช ง านเบื้ อ งต น และโปรแกรม คอมพิวเตอรและการใชงานมีผลสัมฤทธิ์แ ตกตางกันอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สรวงสุดา สายสีสด (2544) เรื่อง พบวาบทเรียนคอมพิวเตอรที่ ผ า นระบบเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต วิ ช าระบบเครื อ ข า ย คอมพิวเตอร ที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามความคิดเห็นของ ผูเชี่ยวชาญในระดับดีมาก และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .01 2.1 จากการสังเกตพฤติกรรมของผูเรียน พบวา ผูเรียนมีความสนใจในการเรียนเปนอยางมาก ซึ่งผูเรียน สามารถควบคุมบทเรียนดวยตนเอง และบทเรียนมีกิจกรรมที่ ใหผูเรียนผอนคลาย เชน การดูวีดิทัศน การสนทนาของผูเรียน (Chat Room) จึงทําใหบทเรียนมีความนาสนใจ และยังชวย กระตุนใหผูเรียนมีความสนใจในบทเรียนมากขึ้น เพราะผูเรียน มีอิสระในการเลือกเรียนดวยตัวเอง โดยสามารถศึกษาคนควา

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ซึ่งสามารถเชื่อมตอกับเครือขาย อิ น เทอร เ น็ ต ได โดยทํ า การทดลองสอน รายวิ ช าเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อชีวิต จํานวน 3 เนื้อหา ไดแก เรื่องเทคโนโลยี สารสนเทศและอุปกรณประกอบรวม, การประมวลผลขอมูล และข อ สนเทศในการใช ง านเบื้ อ งต น และโปรแกรม คอมพิวเตอรและการใชงาน ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 เรียนสัปดาหละ 1 เนื้อหา จํานวน 4 คาบ เวลา 3 ชั่วโมง รวม 3 สัปดาห รวมทั้งหมดเปนเวลา 9 ชั่วโมง 5. เมื่ อ นั กศึ ก ษาเรี ย นจากบทเรีย นผ า นเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตแลว ใหทําแบบทดสอบหลังเรียนจากแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทําแบบวัดความพึงพอใจใน การเรี ย นของนั ก ศึ ก ษาที่ เ รี ย นจากบทเรี ย นผ า นเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต สรุปผลการวิจัย 1. บทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ศรี ส ะเกษ จากการประเมิ น โดย ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และดานเทคโนโลยีการศึกษา พบวามี คุณภาพในระดับดีมาก 2. นักศึกษาที่เรียนโดยใชบทเรียนผานเครือขาย อินเทอรเน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจในการเรียนของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ที่ เรียนจากบทเรียนผานเครือ ขายอินเทอรเน็ต วิชาเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อชีวิต มีความพึงพอใจในระดับมาก อภิปรายผล 1. การพัฒนาบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต ของนักศึกษาระดับปริญญา ตรี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ศรี ส ะเกษ พบว า บทเรี ย นผ า น เครือขายอินเทอรเน็ตที่ผูวิจัยสรางขึ้น และไดผานการประเมิน จากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา จํานวน 5 คน ประเมินใหอยูใน ระดับดีมาก และผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีทางการศึกษา จํานวน 7 คน ประเมินใหอยูในระดับดีมาก ซึ่งเปนไปตาม เกณฑที่กําหนดไว และสามารถอภิปรายผลไดดังนี้ 1.1 การหาคุณภาพของบทเรียนผา น เครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต จะเห็ น ได ว า บทเรี ย นมี คุ ณ ภาพตาม เกณฑที่กําหนด เนื่องจากผูวิจัยไดศึกษาหลักและทฤษฎีการ ออกแบบบทเรียน ตามหลักการออกแบบและพัฒนาบทเรียน ผานเครือขายอินเทอรเน็ต ทําใหการวางรูปแบบหนาจอและ การนําเสนอมีความเหมาะสมมีความชัดเจน นาสนใจ และมี ความสอดคลอ งกั บ เนื้ อ หา ตลอดจนการสร า งบทเรีย นให มี


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 การศึกษาเปนอยางมาก โดยสื่อนี้มีขอจํากัดในการใชนอยและ ประหยัดคาใชจายในการผลิต ตลอดจนการผลิตไมยุงยากและ สิ้นเปลือง ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะทั่วไป 1. ในดานของสภาพปญหาในการใชบทเรียนผาน เครือขายอินเทอรเน็ต เปนปญหาทางดานความเร็วของระบบ อินเทอรเน็ตไมพอเพียงกับความตองการของนักศึกษาเมื่อเขาสู บทเรียนในเวลาเดียวกัน นักศึกษาใชเวลาในการศึกษาที่จํากัด และไมมีเวลาที่จะศึกษาเนื้อหาสาระของบทเรียนผานเครือขาย อิน เทอรเ น็ต ได ม าก ดัง นั้ น ควรจัดใหมีเ วลาในการใชบ ริการ ศึ ก ษาบทเรี ย นผ า นเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต ที่ น อกเหนื อ จาก การศึ ก ษาในชั้ น เรี ย น เช น ศึ ก ษานอกเวลาเรี ย นและควรมี บุคลากรที่คอยชวยเหลือใหคําแนะนําในการใชบทเรียนดวย 2. บทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ตวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อชีวิต ที่ผูวิจัยไดสรางขึ้นเปนสื่อเรียนรูดวยตนเอง ที่จะชวยในการเรียนการสอนในชั้นเรียนดําเนินไปดวยความ สะดวกขึ้น ดังนั้น จึงควรใชสื่อนี้เสริมกับการเรียนในชั้นเรียน และเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด ควรใหนักศึกษาไดเห็นภาพรวม ทั้งหมดแลว จากนั้นจึงใชบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต เปนสื่อเสริมในการสอนประกอบกับสื่ออื่น ๆ 3. ในการเรียนบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ตวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต ในเรื่องที่มีการฝกปฏิบัติ เรื่อง โปรแกรมคอมพิวเตอรและการใชงาน ควรใหมีการฝกปฏิบัติ ระหวางเนื้อหา เพื่อใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติใกลชิดเนื้อหาที่เปน ทฤษฎี ซึ่งชวยกระตุนการเรียนรูและ ชวยสงเสริมใหเกิด ความเขาใจในเรื่องที่ศึกษาไดดีขึ้น ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัย 1. ควรมีการพัฒนาบทเรียน ที่มีการตรวจสอบ พฤติกรรมการใชบทเรียนหรือดานจิตวิทยามาใชในการเรียน บทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต 2. ควรมีการศึกษาผลการเรียนรูดานทักษะปฏิบัติ ของผู เ รี ย นจากการเรี ย นโดยใช บ ทเรี ย นผ า นเครื อ ข า ย คอมพิวเตอรอินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต 3. ควรมีการศึกษาปญหาและผลกระทบ จากการ เรียนดวยบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต ของนักศึกษาใน ระดับอุดมศึกษา 4. ควรมีการสรางเครื่องมือวัดความสามารถในการ เรียน ที่มีลักษณะแตกตางออกไปจากงานวิจัยนี้ เพื่อเปนการ พัฒนาเครื่องมือใหมีคุณภาพในการวัดความสามารถทางการ เรียนของนักศึกษาใหดียิ่งขึ้น

ขอมูล กําหนดเวลาในการศึกษา เลือกที่จะติดตอสื่อสารหรือ แสดงความคิดเห็นดวยตนเอง ซึ่งสอดคลองกับที่ระวิวรรณ ศรี ครามครัน (2542) ไดนําเสนอไว “การสอนแบบยึดผูเรียนเปน สําคัญ” เปนรูปแบบการสอนในลักษณะที่ชวยใหผูเรียนรูจัก การคนคิดและแสวงหาความรูดวยตนเอง โดยผูสอนจะเปนผู กําหนดสถานการณหรือสภาพแวดลอม รวมทั้งกําหนดปญหา ที่เกี่ยวของกับสถานการณปจจุบัน แลวนําไปบูรณาการกับ ความรูในเนื้ อหาวิ ชาที่กํา หนดไวในหลักสูตร ซึ่ง การกําหนด สถานการณหรือสภาพแวดลอมดังกลาวจะชวยกระตุน หรือ ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย นได ศึ ก ษาค น คว า หาความรู มี ส ว นร ว มใน กิจกรรม ตางๆ เพื่อเปนการเพิ่มพูนทักษะแกผูเรียนในดาน ความคิดการแสวงหา ความรู การปรึกษาหารือ และรวมกัน ตัดสินใจ 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียน ผานบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต หลังเรียน พบวามีความ พึงพอใจในระดับมาก ซึ่ง ผลการประเมินและจากการศึกษา สั ง เกตจึ ง ทราบว า คุ ณ สมบั ติ ข องเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร แ ละ ความเร็ว ของระบบอิน เทอร เน็ต เปน ปจจัยสํ า คั ญ ที่จ ะดึง ดู ด ความสนใจของผูเรียนซึ่งนิโคลและคณะ (Nichols and others,1995) ไดกลาวเกี่ยวกับการใชกราฟกบนเว็บวา การใช กราฟกบนเว็บ อาจจะชวยใหเว็บดูดีขึ้น แตอาจจะมีผลทําให การเขาถึงหนานั้นใชเวลามากขึ้น ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขีดจํากัดของ เครื่องคอมพิวเตอรและโปรแกรมที่ใช ดังนั้นการเลือกใชกราฟก จะตองมีการวางแผน และเลือกใชอยางเหมาะสม ควรใช กราฟกเทาที่จําเปนและควรมีขอจํากัดของจํานวนกราฟก ใน แตละเว็บเพจ อาจจะ ใช 1 หรือ 2 ภาพตอเว็บเพจก็เพียงพอ แลว การมีภาพหรือกราฟกมาก อาจทําใหการเขาถึงขอมูลชา เกิน ความจํา เปน สอดคลอ งกั บ งานเขีย นของเกีย รติศั ก ดิ์ อนุ ธรรม (2546) ในเรื่องการออกแบบเว็บไซต ที่ไดกลาวไววา การออกแบบเว็บดวยรูปแบบที่มีสีสันพรอมกับเนื้อหา ไมวาจะ เปนกราฟกหรือรูปภาพ จะทําใหเว็บของเรานั้นมีจุดเดน นาสนใจ ไดรับความรูสึกที่ดีจากผูใชบริการที่เขามา เยี่ยมชม เว็บไซตที่ไดรับการออกแบบอยางสวยงาม มีการใชงานที่ สะดวก ยอมไดรับความสนใจจากผูใชมากกวาเว็บไซตที่ดู สับสนวุนวายมีขอมูลมากมาย แตหาอะไรไมเจอ หรือเว็บไซต แบบรูปภาพที่ตองใชเวลาในการแสดงผลแตละหนานานเกินไป จากการศึกษาทําใหทราบผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน วิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ ชี วิ ต โดยใช บ ทเรี ย นผ า น เครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต หลั ง เรี ย นสู ง กว า ก อ นเรี ย นอย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความพึงพอใจในการ เรียนโดยใชบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ตมีความ พึง พอใจในระดับมาก เปนสื่อที่มีคุณภาพ เหมาะกับสภาพของ สังคม และเทคโนโลยียุคปจจุบัน ที่นาจะนําไปใชพัฒนา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

บรรณานุกรม กิดานันท มลิทอง. (2536). เทคโนโลยีการศึกษารวมสมัย (พิมพครั้งที่ 3) กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพบริษัทเอดิสันเพรสโพรดักส จํากัด. เกียรติศักดิ์ อนุธรรม.(2546). ทฤษฏีสําหรับการออกแบบเว็บ.อินเทอรเน็ตแมกกาซีน ปที่ 8 ฉบับที่ 89 (ธันวาคม 2546) ทองอินทร ไหวดี. (2546) การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง ระบบเครือขายคอมพิวเตอรและการ สื่อขอมูลพื้นฐานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต. วิทยานิพนธ.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย.สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.ถายเอกสาร ประทีป วิจิตรศรีไพบูลย (2549). การสรางและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต และเปรี ย บเที ย บหาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น วิ ช าสถาป ต ยกรรมคอมพิ ว เตอร 1 หลั ก สู ต รปริ ญ ญาตรี สาขาวิชาระบบสารสนเทศ สถาบัยเทคโนโลยีราชมงคล. วิทยานิพนธ มหาบัณฑิต กรุงเทพฯ. บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. ถายเอกสาร ระวิวรรณ ศรีครามครัน. (2542). ทฤษฎีการจัดการเรียนการสอน. สืบคนเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน2551. จาก http://www.nectec.or.th วิชชุดา รัตนเพียร, (2542) การเรียนการสอนผานเว็บ: ทางเลือกใหมของเทคโนโลยีการศึกษาไทย. วารสาร ครุศาสตร. ป ที่ 27 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2542) ศักดา ไชกิจภิญโญ. (2548) สอนอยางไรให Active Learning. ในวารสารนวัตกรรมการเรียนการสอนปที่2 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2548. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2545) รายงานการสัมมนาแนวทางการจัดการศึกษาเฉพาะทาง ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 .กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. สรวงสุดา สายสีสด. (2544) บทเรียนคอมพิวเตอรผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต วิชาระบบเครือขายคอมพิวเตอร. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. ถายเอกสาร.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552

ปจจัยดานโฆษณาและประชาสัมพันธที่มีอิทธิพล ตอ พฤติก รรมการชมภาพยนตรตา งประเทศใน โรงภาพยนตรของผูชมในเขตกรุงเทพมหานคร ADVERTISING AND PUBLIC RELATION FACTORS AFFECTING AUDIENCES VIEWING BEHAVIOR ON INTERNATIONAL FILM IN BANGKOK AREA นวัชรนันท สุวรรณธรรมา บทคัดยอ ผลวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ด า น โฆษณาและประชาสัมพันธที่มีอิทธิพลตอการชมภาพยนตร ตางประเทศในโรงภาพยนตรของผูชมในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบดวย 4 องคประกอบ คือ 1 ปจจัยดานผูชม ไดแก เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได 2 ปจจัยดานความถี่ในการรับ สื่อโฆษณาและประชาสัมพันพันธ 3 ปจจัยดานโฆษณาและ ประชาสัมพันธ 4 ปจจัยดานแรงจูงใจ กลุมตัวอยางที่ใชในการ วิจัยครั้งนี้ คือ ผูชมภาพยนตรตางประเทศในโรงภาพยนตรใน เขตกรุงเทพมหานครจํานวนทั้งสิ้น 385 คน เครื่องมือที่ใชใน การรวบรวมข อ มู ล คื อ แบบสอบถาม โดยนํ า ข อ มู ล มา ประมวลผลและวิเคราะหดวยโปรแกรม SPSS for window เพื่ อ หาค า เฉลี่ ย ค า ร อ ยละ ค า ความเบี่ ย งเบนมาตรฐาน วิเคราะหคาที วิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว วิเคราะหคา สหสั ม พั น ธ อ ย า งง า ยของเพี ย ร สั น และวิ เ คราะห ส ถิ ติ ค วาม ถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบวา 1. ผูชมสวนใหญเปนเพศหญิง มีชวงอายุต่ํากวาหรือ เทากับ 21 ป ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพนักเรียน / นักศึกษา มีรายได 5,000-15,000 ตอเดือน เครือโรงภาพยนตร ที่ผูชมนิยมมากที่สุด คือ เมเจอร ซินีเพล็ก คายผูสรางที่ผูชมชื่น ชอบมากที่สุด คือ ทเวนตี้ เซ็นจูลี่ ฟอกส แหลงที่รับขอมูลมาก ที่สุด คือ โทรทัศนและบริเวณโรงภาพยนตร ซึ่งผูชมจะตัดสินใจ เลือกชมภาพยนตรจํานวน 2 เรื่องกอนไปถึงโรงภาพยนตร หาก ไมสามารถชมภาพยนตรเรื่องที่ตองการมากที่สุดไดก็จะชม


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ภาพยนตรเรื่องที่สนใจอันดับรองลงมา โดยระยะเวลาในการ ตัดสินใจเลือกชมภาพยนตรเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผูชมใชเวลาใน การตัดสินใจไมนาน บางครั้งเห็นโฆษณาก็สามารถตัดสินใจได เลย ซึ่ ง ส ว นใหญ ผู ช มจะตั ด สิ น ใจชมภาพยนตร ตลกขบขั น รองลงมาได แ ก ผจญภั ย ตื่ น เต น บู แ อ็ ค ชั่ น รั ก โรแมนติ ค ตามลําดับ โดยหลักในการตัดสินใจชมภาพยนตร คือ ตองการ ความบัน เทิง มากที่ สุด ผูชมมีแ นวโนม ในการชมภาพยนตร ต า งประเทศมากขึ้ น รวมถึ ง จะแนะนํ า ให บุ ค คลที่ รู จั ก ชม ภาพยนตรตางประเทศที่มีคุณภาพ อีกทั้งรูสึกคุมคาในการชม ภาพยนตร ต า งประเทศและเมื่ อ เปรี ย บเที ย บภาพยนตร ต า งประเทศและภาพยนตร ไ ทย ภาพยนตร ต า งประเทศมี คุณภาพที่ดีกวา 2. ดานความถี่ในการโฆษณาและประชาสัมพันธ พบวาจํานวนที่ผูชมภาพยนตรพบเห็นมากที่สุด คือ 6 ครั้งตอ ภาพยนตรหนึ่งเรื่อง 3. ปจจัยดานโฆษณาและประชาสัมพันธ พบวา ประเภทสื่อที่ทําใหเกิดการตัดสินใจชมภาพยนตรตางประเทศ มากที่สุด คือ ประเภทสื่อ อิเล็กทรอนิกส โดยเฉพาะอยางยิ่ง ภาพยนตรตัวอยางในโรงภาพยนตรและโฆษณาในโทรทัศน เนื่ อ งจากภาพยนตร ตัว อยา งเปรีย บเสมือ นตัว อยา งสิน คา ที่ แสดงใหเห็นถึงบางสวนของเนื้อหาภาพยนตรทั้งหมด ซึ่งผูชมที่ ได เ ห็ น ภาพยนตร ตั ว อย า งโฆษณาจะเกิ ด ความสนใจและ คาดหวังในดานความบันเทิงตามประเภทของภาพยนตร โดย ผู ช มจะมี ป ฏิ ก ริ ย าตอบรั บ ภาพยนตร ตั ว อย า งโฆษณาต า ง ออกไปจากภาพยนตร โ ฆษณาสิ น ค า ทั่ ว ไป รู ป แบบในการ นําเสนอที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการชมภาพยนตรตางประเทศ มากที่สุด คือ การเปดตัวมิวสิควีดีโอเพลงประกอบพรอมฉาก โปรโมทหนั ง บ อ ยๆ การสั ม ภาษณ ด ารานั ก แสดง ผู กํ า กั บ ภาพยนตร รายการพิ เ ศษที่ ที ม งานเหมาเวลาโทรทั ศ น เ พื่ อ นํ าเสนอเกี่ ย วกับ ภาพยนตร สํา หรับ ประเด็น ในการนําเสนอ ผูชมตองการทราบขอมูลเกี่ยวกับแนวภาพยนตร ดารานักแสดง ผู กํ า กั บ ในเนื้ อ หาที่ เ กี่ ย วกั บ ภาพยนตร ในขณะที่ ผู ช มให ความสําคัญกับความสําเร็จของภาพยนตรในรูปรางวัลนอย มาก ชวงระยะเวลาที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการชมภาพยนตร ตางประเทศมากที่สุดจัดอยูในชวงขณะภาพยนตรเขาฉายใน โรงภาพยนตรและกอนภาพยนตรเขาฉายตามโรงภาพยนตร ประมาณ 1 สัปดาห 4. ป จ จั ย ด า นแรงจู ง ใจในการชมภาพยนตร ตางประเทศ พบวา ผูชมมีแรงจูงใจดานเหตุผลเพราะการชม ภาพยนตรสะดวกตอการพักผอนหยอนใจมากที่สุด รองลงมา คือ การชมภาพยนตรตางประเทศมีราคาที่คุมคาและแรงจูงใจ ด า นอารมณ เพื่ อ ความสนุ ก สนานบั น เทิ ง คื อ สิ่ ง ที่ ผู ช มให ความสําคัญมากที่สุด

ผลการทดสอบสมมติฐานพบวา 1. ลักษณะประชากรศาสตรของผูชมที่มีอายุแตกตาง กันมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการชมภาพยนตรตางประเทศ ดาน แนวโนม ในการชมภาพยนตรแ ละการแนะนํ า ภาพยนตรที่ มี คุณภาพแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ลักษณะประชากรศาสตรของผูชมที่มีอาชีพ แตกต า งกั น มี อิ ท ธิ พ ลต อ พฤติ ก รรมการชมภาพยนตร ตางประเทศ ดานเมื่อเปรียบเทียบภาพยนตรตางประเทศและ ภาพยนตร ไ ทยแตกต า งกั น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .05 3. ลักษณะประชากรศาสตรของผูชมที่มีรายได แตกต า งกั น มี อิ ท ธิ พ ลต อ พฤติ ก รรมการชมภาพยนตร ต า งประเทศด า นแนวโน ม ในการชมภาพยนตร แ ตกต า งกั น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ปจจัย ดา นโฆษณาและประชาสัม พัน ธดา น ประเภทปจจัยสื่อ รูปแบบการนําเสนอและประเด็นการนําเสนอ สามารถทํานายพฤติกรรมการชมภาพยนตรตางประเทศในโรง ภาพยนตร ข องผู ช มในเขตกรุ ง เทพมหานคร ด า นการชม ภาพยนตร ต า งประเทศจํ า นวนครั้ ง ในแต ล ะเดื อ น อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5. ปจจัย ดา นโฆษณาและประชาสัม พัน ธดา น ประเภทปจจัยสื่อ สามารถทํานายพฤติกรรมการชมภาพยนตร ตางประเทศในโรงภาพยนตรของผูชมในเขตกรุงเทพมหานคร ดานแนวโนมในการชมภาพยนตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 6. ปจจัยดานโฆษณาและประชาสัมพันธดานรูปแบบ การนําเสนอและชวงเวลานําเสนอ สามารถทํานายพฤติกรรม การชมภาพยนตรตางประเทศในโรงภาพยนตรของผูชมในเขต กรุงเทพมหานคร ดานการแนะนําภาพยนตรที่มีคุณภาพ อยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 7. ปจจัย ดา นโฆษณาและประชาสัม พัน ธดา น ประเภทปจจัยสื่อและประเด็น การนําเสนอ สามารถทํานาย พฤติกรรมการชมภาพยนตรตางประเทศในโรงภาพยนตรของ ผู ช มในเขตกรุ ง เทพมหานคร ด า นความคุ ม ค า ในการชม ภาพยนตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 8. ปจจัย ดา นโฆษณาและประชาสัม พัน ธดา น ประเภทปจจัยสื่อ สามารถทํานายพฤติกรรมการชมภาพยนตร ตางประเทศในโรงภาพยนตรของผูชมในเขตกรุงเทพมหานคร ดานเมื่อเปรียบเทียบภาพยนตรตางประเทศและภาพยนตรไทย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 9. ปจจัยจูงใจดานอารมณ ความชื่นชอบการชม ภาพยนตร ต า งประเทศ มี ค วามสั ม พั น ธ ใ นระดั บ ต่ํ า กั บ พฤติกรรมการชมภาพยนตรตางประเทศในโรงภาพยนตรของ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 2. The frequency of the advertising and public relation showed that the audiences’ viewing saw mostly was 6 times/film. 3. The Advertising and public relation factors indicated that electronic media was made the audiences’ viewing decision to watch the international film mostly especially the trailers at the cinema and on the television because the trailers were samples which showed some parts of the whole film. In addition, the audiences’ viewing could interest and expect the entertainment in each film. The audiences’ viewing responded to the trailers different from other advertisements. Music video of the film, times to show the music video, actors interview and director interview, special program shows on television which presented the film information were affected audiences’ viewing behavior. The audiences’ viewing were interested in presentation of film idea, actors and director more than film’s success or prize of the film which were very less important. The presentation periods of the advertising which were presented during the films on the cinema programs and before the programs for a week were affected the audiences’ viewing. 4. The motivation factors of the international film indicated that important reasons of the audiences’ viewing motivation were to be relaxed firstly, to concern with worth secondly and to be entertained finally. The results of the study were as follows: 1. Different gender has affected the audiences’ viewing behavior on the international film on the aspect of tendency to watch and quality to present the international film at statistically significant different level of 0.05. 2. Different career has affected the audiences’ viewing behavior on the international film on the aspect of comparison between the international film and Thai film at statistically significant different level of 0.05. 3. Different income has affected the audiences’ viewing behavior on the international film on the aspect of tendency to watch the international film at statistically significant different level of 0.01. 4. The advertising and public relation factors on media type, feature presentation and issue of

ผูช มในเขตกรุ ง เทพมหานคร โดยเป น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 Abstract The purpose of this research was to study the advertising and public relation factors affecting audiences’ viewing behavior on international film in Bangkok Area. The advertising and public relation factors were divided into 4 components which were audiences’ viewing such as gender, age, education, career and income, frequency exposed to the prospective audiences, advertising and public relation factors and motivation factors. The samples of this research were 385 audiences’ viewing on international film in Bangkok Area. Data collection was conducted by using questionnaires as an instrument. The statistics employed in data analysis were mean, percentage, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Multiple Regression which were statistical methods administrated to analyze data by SPSS for window program. The research revealed that: 1. The majority of audiences’ viewing were female, under or equal to 21 years old and held bachelor degree. Most of audiences’ viewing were students and earned income 5,000-15,000 baht/ month. Major Cineplex was the most popular cinema and Twentieth Century Fox was the most popular film production. The audiences’ viewing obtained film information on television and at the cinema area mainly. They would have two films in their mind before going to the cinema. If they were unable to watch the most interesting film, they could choose the second for a short time to decide on a film. Sometime, they made the decision at the moment they first saw film trailers at the cinema. Generally, the audiences’ viewing decided to watch comedy film, adventure film, action film and romantic film respectively because of entertainment mostly. There was a tendency to watch the international film and presented to acquaintances for the reason that the international film was worth and higher quality than Thai film.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 presentation could forecast the audiences’ viewing อินเตอรเน็ต ซึ่งความตอเนื่องทางธุรกิจเหลานี้กอใหเกิดการจางงาน behavior on the international film in Bangkok Area on the ในหลายสาขาอาชี พ สร า งรายได แ ละเงิ น หมุ น เวี ย นทั้ ง aspect of frequency of watching the international film at ภายในประเทศและต า งประเทศจํ า นวนมหาศาล นอกจากนี้ statistically significant level of 0.01. ภาพยนตรยังเปนสื่อแขนงหนึ่งที่มีอิทธิพลตอวัฒนธรรมและสังคม 5. The advertising and public relation factors on ทั้ ง ทางตรงและทางอ อ ม ก อ ให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงทั ศ นคติ media type could forecast the audiences’ viewing พฤติ ก รรม และรู ป แบบการดํ า เนิ น ชี วิ ต ของมนุ ษ ย ใ นระดั บ หนึ่ ง behavior on the international film in Bangkok Area on the เนื่องจากภาพยนตรเปนสื่อที่สามารถเขาถึงคนกลุมใหญไดโดยไมมี aspect of tendency to watch the international film at ขอจํากัดในเรื่องเพศ อายุหรือระดับการศึกษา statistically significant level of .01. จากการศึ ก ษางานวิ จั ย หลายชิ้ น ที่ เ กี่ ย วข อ งธุ ร กิ จ 6. The advertising and public relation factors on ภาพยนตร ผู วิ จั ย พบว า ยั ง มีป ระเด็ น ในรายละเอี ย ดที่ค วรนํ า มา feature presentation and period of presentation could ศึกษาเฉพาะดานเพิ่มเติม โดยเฉพาะอยางยิ่ง ปจจัยดานโฆษณา forecast the audiences’ viewing behavior on the และประชาสั ม พั น ธ ข องภาพยนตร ต า งประเทศที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ international film in Bangkok Area on the aspect of พฤติ ก รรมการชมภาพยนตร ต า งประเทศของประชาชนในเขต quality to present the international film at statistically กรุงเทพมหานคร ซึ่งเปนกลุมผูชมหลักในธุรกิจภาพยนตร(ศูนยวิจัย significant level of 0.01. ไทยพาณิชย จํากัด, บริษัท 2542 : 10) ทั้งนี้เนื่องจากการโฆษณา 7. The advertising and public relation factors on และประชาสัมพันธเปนสวนสําคัญในการทําใหประชาชนไดรูจัก media type and issue of presentation could forecast the และสนใจภาพยนตรมากขึ้น จนเกิดการตัดสินใจชมภาพยนตรเรื่อง audiences’ viewing behavior on the international film in นั้นๆ ดังนั้นนักการตลาดจําเปนตองศึกษาปจจัยตางๆที่สามารถ Bangkok Area on the aspect of worthy to watch the เข า ถึ ง และโน ม น า วผู ช มให เ กิ ด พฤติ ก รรมการชมภาพยนตร international film at statistically significant level of 0.01. ตางประเทศ เชน ศึกษาประเภทของปจจัย รูปแบบและจุดเดนของ 8. The advertising and public relation factors on การโฆษณาประชาสัมพันธของธุรกิจภาพยนตร เนื่องจากวงจรชีวิต media type, feature presentation, issue of presentation ของภาพยนตรเรื่องหนึ่งๆนั้นสั้นกวาผลิตภัณฑหรือสินคาประเภท and period of presentation could forecast the audiences’ อื่นๆ หากวางแผนผิดพลาดโอกาสในการแกไขมีนอยมาก ในทาง viewing behavior on the international film in Bangkok กลับกัน หากสามารถวางแผนโฆษณาและประชาสัมพันธไดชัดเจน Area on the aspect of comparison between the และดําเนินกิจกรรมไดตรงกลุมเปาหมาย ก็อาจทําใหการดําเนิน international film and Thai film at statistically significant ธุรกิจประสบผลสําเร็จในที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่งดานรายได ซึ่ง level of 0.05. ความสํ า เร็ จดั ง กล า วจะสง ผลดี ก ลั บ สูสั ง คมในด า นการจ า งงาน 9. The motivation factors on the aspect of กระจายรายได และสร า งความมั่น คงใหกับระบบเศรษฐกิจ ของ emotion: Satisfaction of watching the international film ประเทศ related to the audiences’ viewing behavior on the ความมุงหมายของการวิจัย international film in Bangkok Area with low level ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดตั้งความมุงหมายไวดังนี้ positively at statistically significant level of 0.01. 1. เพื่อศึกษาลักษณะของประชากรศาสตรที่มีอิทธิพลตอ บทนํา พฤติกรรมการชมภาพยนตรตางประเทศในโรงภาพยนตรของผูชม ในปจจุบัน ภาพยนตรถูกจัดเปนสินคาประเภทหนึ่ง ผลิในเขตกรุ ต งเทพมหานคร ขึ้นมาเพื่อใหสาระความบั นเทิง แกผูชมตามแตวัตถุประสงคข อง 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางความถี่ในการโฆษณา ผูสราง เชน ภาพยนตรบันเทิง ภาพยนตรการศึกษา ภาพยนตรสาร ประชาสัมพันธกับพฤติกรรมการชมภาพยนตรตางประเทศในโรง ของผูชมในเขตกรุงเทพมหานคร คดี ภาพยนตรขาว และภาพยนตรโฆษณาสินคา ขอบเขตของธุรกิภาพยนตร จ ภาพยนตรครอบคลุมตั้งแตกระบวนการสราง การจัดจําหนาย การ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยดานโฆษณาและ ประชาสัมพันธกับพฤติกรรมการชมภาพยนตรตางประเทศในโรง เผยแพร และการโฆษณาประชาสัมพันธซึ่งในแตละกระบวนการ ภาพยนตรของผูชมในเขตกรุงเทพมหานคร ลวนแตสงผลใหเกิดการลงทุน และการกระจายตัวของธุรกิจแขนง อื่นๆที่เกี่ยวของมากมาย อาทิ การโฆษณาและประชาสัมพันธที่มี 4. เพื่ อ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งป จ จั ย ด า น ความสัมพันธเชิงธุรกิจอยางตอเนื่องและแนบแนนกับธุรกิจสื่อไมวแรงจู า งใจประกอบดวย แรงจูงใจดานเหตุผล และแรงจูงใจดาน จะเปนโทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพ โรงภาพยนตร หรือแมกระทั่ง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 กรุงเทพมหานคร การเลือกกลุมตัวอยาง ใชวิธีการสุมตัวอยาง ตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้น ที่ 1 ใชวิธีสุมตัว อยา งงา ย (Simple random sampling) จับฉลากเลือกเขตใดเขตหนึ่งจากกลุมเขตการปกครอง ดัง นั้ นจะไดเ ขตตัวอยา งหนึ่ง เขตจากหนึ่งกลุมการปกครอง ซึ่ง มี จํานวนทั้งหมด 6 เขต จาก 6 กลุมการปกครอง เพื่อใหตัวแทน ครอบคลุมจํานวนประชากรในแตละพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ขั้นที่ 2 เลือกกลุมตัวอยางแบบวิจารณญาณ หรือเจาะจง (Judgemental sampling / Purposive Sampling) โดยการเลือก สถานที่จัดเก็บแบบสอบถามตามพื้นที่โรงภาพยนตรจากจํานวนเขต ตัวอยาง 6 เขต จาก 6 กลุมการปกครอง เพื่อใหครอบคลุม กรุงเทพมหานคร ขั้นที่ 3 เลือกจํานวนกลุมตัวอยางในแตละพื้นที่สําหรับ การเก็บแบบสอบถาม โดยใชวิธีโควตา (Quota sampling) จาก จํานวนกลุมตัวอยางทั้งสิ้น 385 คน เพื่อใหจํานวนกลุมตัวอยางใน แตละพื้นที่เทากัน ขั้นที่ 4 เลือกกลุมตัวอยางแบบสอบถามโดยอาศัยความ สะดวก (Convenience sampling) โดยใชแบบสอบถามกับผูเคย ชมภาพยนตรตางประเทศตามโรงภาพยนตรที่ไดกําหนดไวแลว 2. การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชใน การวิจัยครั้งนี้เปนแบบสอบถามชนิดเลือกตอบและปลายเปด ผูวิจัย สรางขึ้นเองจากการรวบรวมขอมูลที่ไดจากทฤษฎี และงานวิจัยที่ เกี่ ย วข อ งแล ว นํ า มาประยุ ก ต เ ป น ลั ก ษณะและข อ คํ า ถามใน แบบสอบถาม โดยแบงออกเปน 6 สวน คือ สวนที่ 1 เปนแบบสอบถามขอมูลทั่วไปดานลักษณะ ประชากรศาสตร ข องผู ต อบแบบสอบถามเป น คํ า ถามปลายป ด (Close ended) จํานวน 5 ขอ สวนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการชม ภาพยนตร ข องผู เ คยชมภาพยนตร ต า งประเทศลั ก ษณะคํ า ถาม ปลายปดจํานวน 18 ขอ และคําถามปลายเปดจํานวน 2 ขอ สวนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับความถี่ในการรับสื่อ โฆษณาและประชาสัมพันธเปนคําถามปลายเปดจํานวน 1 ขอ สวนที่ 4 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยดานโฆษณา และประชาสั ม พั น ธ ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ พฤติ ก รรมการชมภาพยนตร ตางประเทศ มีลักษณะคําถามปลายปด จํานวน 44 ขอประยุกต ตามแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับแบบสเกลวัดทัศนคติตาม แนวคิดของลิเคิรต (Likert.1970 : 175) สวนที่ 5 เปนแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัย ด า นแรงจู ง ใจที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ พฤติ ก รรมการเข า ชมภาพยนตร ตางประเทศ ซึ่งแบบสอบถามมีลักษณะเปนแบบ Likert Scale มี จํานวน 5 ขอ โดยมีระดับการวัดขอมูลประเภทอันตรภาค (Interval scale)

อารมณกับพฤติกรรมการเขาชมภาพยนตรตางประเทศในโรง ภาพยนตรของผูชมในกรุงเทพมหานคร ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ พิจารณาจากการสุม ตัวอยางสอบถามผูชมที่เคยชมภาพยนตรตางประเทศตามโรง ภาพยนตรในเขตกรุงเทพมหานครทั้งหมด 50 เขต โดยแบง ออกเปนกลุมเขตการปกครองตามระบบการบริหารและการ ปกครองของกรุงเทพมหานคร กลาวคือ กลุมรัตนโกสินทร กลุม บูรพา กลุมศรีนครินทร กลุมเจาพระยา กลุมกรุงธนใต กลุมกรุง ธนเหนือ ซึ่งไมทราบจํานวนประชากรที่แนนอน ผูวิจัยใชวิธีสุม ตัวอยางแบบ Non Probability Sampling ขนาดกลุมตัวอยาง ที่จะเก็บขอมูลใชวิธีการคํานวณจากสูตร Taro Yamane ที่ ระดับความเชื่อมั่น 95% ไดขนาดตัวอยางจํานวน 385 คน สมมติฐานในการวิจัย สมมติฐานในการวิจัย แบงออกเปน 1. ลั ก ษณะของประชากรศาสตร ที่ แ ตกต า งกั น มี อิทธิพลตอพฤติกรรมการเขาชมภาพยนตรตางประเทศในโรง ภาพยนตรของผูชมในเขตกรุงเทพมหานครแตกตางกัน 2. ความถี่ในการรับสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการเขาชมภาพยนตรตางประเทศ ในโรงภาพยนตรของผูชมในเขตกรุงเทพมหานคร 3. ปจจัยดานโฆษณาและประชาสัมพันธสามารถ ทํ า นายพฤติ ก รรมการเข า ชมภาพยนตร ต า งประเทศในโรง ภาพยนตรของผูชมในเขตกรุงเทพมหานคร 4. ปจจัยดานแรงจูงใจประกอบดวย แรงจูงใจดาน เหตุผลและแรงจูงใจดานอารมณ มีความสัมพันธกับพฤติกรรม การเขาชมภาพยนตรตางประเทศในโรงภาพยนตรของผูชมใน กรุงเทพมหานคร วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยเรื่องปจจัยดานโฆษณาและประชาสัมพันธที่ มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการเขาชมภาพยนตรตางประเทศของ ผู ช มในเขตกรุ ง เทพมหานคร โดยมี ส าระสํ า คั ญ ในการ ดําเนินการตามลําดับสาระดังนี้ 1. การกําหนดประชากรและการเลือกกลุม ตัวอยาง 2. การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. การวิเคราะหขอมูล 5. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 1. การกําหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง ประชากรที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ได แ ก ผู ช มภาพยนตร ตางประเทศ ในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งหมด 50 เขต แบง ออกเปน 6 กลุมตามระบบการบริ ห ารและปกครองของ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ดังนั้นการกําหนดกลยุทธธุรกิจจึงควรศึกษาพฤติกรรมของคน กลุมนี้ที่มีตอภาพยนตรตางประเทศ แนวภาพยนตรที่ชื่นชอบ ดารานักแสดงที่ไดรับการยอมรับ รวมถึงการกําหนดกลยุท ธ การโฆษณาและประชาสัมพันธดวย เชน พฤติกรรมหรือรูปแบบ การดํ า เนิ น ชีวิ ต ที่ เ อื้ อ อํ า นวยต อ การเป ด รั บ สื่ อ ใจความและ โครงสรางของการนําเสนอสื่อที่ตรงใจกับกลุมเปาหมาย เปนตน สมมติฐานขอที่ 2 ผลการวิ จั ย พบว า ความถี่ ใ นการรั บ สื่ อ โฆษณาและ ประชาสั ม พั น ธ ไ ม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ พฤติ ก รรมการเข า ชม ภาพยนตร ต า งประเทศในโรงภาพยนตร ข องผู ช มในเขต กรุงเทพมหานคร เนื่องจากความสามารถในการรับสื่อของผูชมใน แตละบุคคลคนแตกตางกัน อีกทั้งสื่อแตละประเภท รูปแบบการ นําเสนอ ประเด็นการนําเสนอและชวงเวลานําเสนอก็แตกตางกัน โดยสื่อแตละประเภทจะสามารถถายทอดเพื่อใหเขาถึงผูชมไดยาก หรืองายแตกตางกัน ดังนั้นจํานวนครั้งของความถี่ในการโฆษณา และประชาสัมพันธกับผูชมเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงแตกตางกัน ดัง นั้นผูบ ริหารสื่อตอ งสรา งความรูจักใหเกิดขึ้น โดยเร็ ว และเข า ถึ ง ผู ช มจํ า นวนมากให ไ ด ในขณะที่ ส ว นแบ ง ของตลาด ภาพยนตร ต า งประเทศแต ล ะเรื่ อ งไม แ น น อน ขึ้ น อยู กั บ แนว ภาพยนตรตรงกับกระแสความตองการในชวงนั้นหรือไม จํานวน ภาพยนตรตางประเทศที่เขาฉายในขณะนั้น ความโดดเดนของเนื้อ เรื่ อ งหรื อ นั ก แสดงที่ ช ว ยสร างความน า สนใจให กั บ ผู ช ม กลุมเปาหมาย สวนองคประกอบดานเนื้อหาสื่อ ผูพิจารณาวางแผน สื่อจําเปนตองเขาใจเสมอวา เนื้อหาสื่อเปนการขายจินตนาการที่ ตางไปจากโลกความจริงของผูชมภาพยนตร ดังนั้นผูบริหารสื่อตอง พิจารณาวาเนื้อหาสื่อสามารถทําใหผูชมเขาใจงายและตีความได หรื อ ไม เนื้ อ หาสื่ อ ซั บ ซ อ นเกิ น ไปหรื อ ไม มี ค วามเป น เอกลั ก ษณ แตกต า งคู แ ข ง หรื อ ไม มี ป ระเด็ น ในการนํ า เสนอหรื อ ไม สุ ด ท า ย ผูบ ริห ารสื่ อ ภาพยนตรจํ า เป น ต อ งทราบองค ป ระกอบดา นแหล ง กระจายสื่อ เชน ประเภทของสื่อที่สามารถเขาถึงกลุมผูชมเปาหมาย การเกาะกลุมกันของจํานวนสื่อในพื้นที่หนึ่ง การสรางความสนใจ การรณรงคโ ฆษณาและประชาสัมพัน ธ โอกาสในการทําซ้ําและ ความตอเนื่องในการนําเสนอสื่อ เปนตน ซึ่งจากขอมูลทั้งหมดจะ ช ว ยให ผู บ ริ ห ารสื่ อ สามารถวางแผนความถี่ ใ นการนํ า เสนอสื่ อ โฆษณาและประชาสัมพันธไดเปนอยางดี สมมติฐานขอที่ 3 ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว า ป จ จั ย ด า น โ ฆ ษ ณ า แ ล ะ ประชาสัมพันธ พฤติกรรมการเขาชมภาพยนตรตางประเทศใน โรงภาพยนตรของผูชมในเขตกรุงเทพมหานคร สวนหนึ่งไดรับ อิทธิพลมาจากสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ ซึ่งเผยแพรผาน สื่อ ประเภทตางๆ ในรูปแบบและเนื้อหาตา งๆกัน ตามแตกล ยุทธและวิธีการของผูบริหารสื่อโฆษณาภาพยนตร อิทธิพลของ

สวนที่ 6 เปนแบบสอบถามความคิดเห็นแบบทั่วไป มี ลักษณะคําถามปลายเปด 1 ขอ 3. การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการจัดสง แบบสอบถามใหกับผูตอบแบบสอบถาม พรอมทั้งชี้แจงขอมูล และรอเก็ บ แบบสอบถามด ว ยตนเองตามพื้ น ที่ ใ นการวิ จั ย ในชวงวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 มีนาคม พ.ศ. 2551 4. วิ ธี วิ เ คราะห ข อ มู ล ใช ส ถิ ติ เ ชิ ง พรรณนา (Descriptive statistic) และสถิติเชิงอนุมาน (Inferential statistic) 5. สถิ ติ ที่ ใ ช ใ นการวิ เ คราะห วิ จั ย ข อ มู ล มา ประมวลผลและวิเคราะหดวยโปรแกรม SPSS for window เพื่อ หาค า เฉลี่ ย ค า ร อ ยละ (Percentage) ค า ความเบี่ ย งเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) วิเคราะหคาที (t-test) วิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) วิเคราะห คาสหสัมพันธ อยางงายของเพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) และวิเคราะหสถิติ ความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression) อภิปรายผล การศึกษาดานปจจัยการโฆษณาและประชาสัมพันธ ที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการชมภาพยนตรตางประเทศของผูชม ในโรงภาพยนตรใ นเขตกรุง เทพมหานคร สามารถอภิป ลาย ผลไดดังนี้ สมมติฐานขอที่ 1 ผลการวิจัย ลักษณะทางประชากรศาสตรพบวา ผูชม ภาพยนตรตางประเทศที่มี อายุ อาชีพและรายไดที่แตกตางกัน มีอิทธิพลตอการชมภาพยนตรตางประเทศในโรงภาพยนตรของ ผูชมในเขตกรุงเทพมหานครแตกตางกัน ความกาวหนาทางเทคโนโลยีเปนสวนกระตุนใหเกิด ความตองการในการชมภาพยนตรตางประเทศ เนื่องจากเทค โนโลยี่ที่กาวหนาอยางไมหยุดยั้งสามารถสรางสรรคภาพยนต ตางประเทศใหเกิดความสมจริง ตื่นตา นาสนใจเพิ่มมากขึ้น ความพร อ มทางด า นสถานที่ ใ นการชมภาพยนตร ก็ มี ส ว น กระตุนใหเกิดความตองการในการชมภาพยนตรตางประเทศใน โรงภาพยนตร เนื่องจากการรับรู บรรยากาศ ความสดวกสบาย ระบบแสง สี เสียง ที่สมจริงทําใหผูชมสามารถตัดสินใจเพื่อชม ภาพยนตรตางประเทศ รวมถึงการเขาชมการจัดโปรโมชั่นเพื่อ ดึงดูดใหเกิดความสนใจ หากนั ก การตลาดธุ ร กิ จ ภาพยนตร ต า งประเทศ ต อ ง ก า ร แ บ ง ก ลุ ม ผู ช ม เ ป า ห ม า ย ต า ม ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ประชากรศาสตร อาจสามารถกํ า หนดกลุ ม เป า หมายหลั ก สํ า หรั บ ตลาดภาพยนตร ต า งประเทศได ซึ่ ง การกํ า หนด กลุ ม เป า หมายให ก ว า งขึ้ น จะสอดคล อ งกั บ ธุ ร กิ จ ภาพยนตร ตางประเทศ เนื่องจากเปนสินคาสําหรับผูบริโภคแบบมวลชน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 ไดรับการกระตุนจนถึงระดับที่ทําใหบุคคลตองแสดงพฤติกรรม บางสิ่งบางอยางเพื่อนํามาสนองความตองการที่เกิดขึ้นใหไดรับ ความพึงพอใจ ในกรณีการชมภาพยนตรตางประเทศ แรงจูงใจ ดานเหตุผล ผูชมภาพยนตรชื่นชอบการชมภาพยนตรเนื่องจาก มีความสะดวกตอการพักผอนหยอนใจ เปนสิ่งที่ผูชมภาพยนตร ต า งประเทศให ค วามสํ า คั ญ มากที่ สุ ด และ แรงจู ง ใจด า น อารมณ ผู ช มเข า ชมภาพยนตร ใ นโรงภาพยนตร เ พื่ อ ความ สนุกสนานบันเทิง ขอสังเกตุที่สําคัญ ประการหนึ่ง ความ ตองการ หรือความจําเปน (need) จะตองไดรับการเราหรือการ กระตุนกอนจึงทําใหเกิดแรงจูงใจขึ้นได ในสภาพปกติธรรมดา แลวความจําเปนหรือความตองการของแตละบุคคลจะซอนเรน จะไมแสดงพฤติกรรมอะไรออกมาจนกวาจะไดรับการกระตุน เราอยางเพียงพอ ซึ่งจะทําใหเกิดการแสดงพฤติกรรมมุงไปสู เปาหมาย ดังนั้นปจจัยดานสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธเปน สิ่ ง หนึ่ ง เพื่ อ สร า งแรงจู ง ใจ จนเกิ ด เป น พฤติ ก รรมในการชม ภาพยนตรตางประเทศ การใชสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธเปนสิ่งหนึ่งที่สรางให เกิ ด แรงจู ง ใจทั้ ง สองด า น ผู บ ริ ห ารการวางแผนโฆษณาและ ประชาสัมพันธ ควรใหความสําคัญในการสรางแรงจูงใจ เพื่อสราง แรงจูงใจดานอารมณที่จะเกิดจากความรูสึกของผูชมและผูชมจะไม เสียเวลาในการพิจารณาไตรตรองวาสมควรหรือใหผลคุมคาหรือไม ซึ่งตรงกันขามกับแรงจูงใจที่มีเหตุผล ผูชมจะตัดสินใจชมไดเมื่อผาน การไตรตรองถึงผลดีผลเสียอยางรอบคอบแลว ดังนั้นผูวางแผนสื่อ โฆษณาและประชาสัมพันธตองนําเสนอตอผูชมเปาหมาย โดยใช แรงจูงใจดานอารมณหรือเหตุผล หรืออาจทั้ง 2 อยางรวมกัน เพื่อ ผลั ก ดั น และช ว ยกระตุ น ให เ กิ ด พฤติ ก รรมการชมภาพยนตร ตางประเทศในโรงภาพยนตร ขอเสนอแนะการวิจัยครั้งนี้ ผลการศึกษาดานปจจัยการโฆษณาและประชาสัมพันธที่ มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการชมภาพยนตรตางประเทศของผูชมในโรง ภาพยนตรในเขตกรุงเทพมหานคร ผูวิจัยไดมีขอเสนอแนะดังนี้ 1. ผูบริหารสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธภาพยนตร ต า งประเทศควรพิ จารณาการออกแบบสื่ อ และการใชสื่ อ ให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลมากยิ่ ง ขึ้ น กล า วคื อ ในป จ จุ บั น ผูบริหารสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธผานทางสื่อหลายๆประเภท เพื่อใหเขาถึงผูชมใหมากที่สุด โดยสื่อบางประเภทไมไดมีอิทธิพลตอ พฤติกรรมการเขาชมภาพยนตรตางประเทศในโรงภาพยนตรอยาง แท จ ริ ง เช น ภาพนิ่ ง หลั ง ผู ดํ า เนิ น รายการโทรทั ศ น หรื อ การจั ด กิจกรรมแจกของที่ระลึก เปนตน ดังนั้นงบประมาณจึงอาจถูกใชไป อย า งไม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและไม เ กิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลหลั ก เกณฑ บ าง ประการที่ ผู บ ริ ห ารสื่ อ โฆษณาและประชาสั ม พั น ธ ภ าพยนตร ตางประเทศควรคํานึงถึงมี มีดังตอไปนี้

สื่ อ โฆษณาและประชาสั ม พั น ธ ยั ง ไม อ าจโน ม น า วให เ กิ ด พฤติกรรมการเขาชมภาพยนตรตางประเทศเรื่องหนึ่งเรื่องใด ในทันที เนื่องจากยังมีปจจัยสวนประสมทางการตลาดดานอื่นๆ ที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการเขาชมภาพยนตรตางประเทศใน โรงภาพยนตร อาทิ เ ช น ป จ จั ย ด า นคุ ณ ภาพและแนวของ ภาพยนตร (Product) ปจจัยดานราคาคาตั๋วภาพยนตรรวมทั้ง คาใชจายที่เกี่ยวของกับการเขาชมภาพยนตรตางประเทศในโรง ภาพยนตร (Price) และปจจัยดานสถานที่และรอบเวลาเขาฉาย ของภาพยนตรตางประเทศ (Distribution) เปนองคประกอบอีก ส ว นหนึ่ ง ที่ ก อ ให เ กิ ด พฤติ ก รรมการเข า ชมภาพยนตร ตางประเทศในโรงภาพยนตร กระบวนการติ ด ต อ สื่ อ สารในธุ ร กิ จ ภาพยนตร (Communication process) ซึ่งประกอบไปดวย ผูสงสาร การ ใสระหัส ขาวสาร ชองทางขาวสาร ผูรับขาวสาร การถอดระหัส การตอบสนองจะเกิ ด ขึ้ น และสิ้ น สุ ด ลงรวดเร็ ว กว า ธุ ร กิ จ อื่ น ดั ง นั้ น นั ก วางแผนการใช สื่ อ โฆษณาและประชาสั ม พั น ธ จํ า เป น ต อ งกํ า หนดประเภทของสื่ อ รู ป แบบการนํ า เสนอ ประเด็ น หลั ก ในการนํ า เสนอ ช ว งเวลาและความถี่ ใ นการ นําเสนอใหรัดกุมและชัดเจน เพื่อใชสื่อใหครอบคลุมและเขาถึง จํานวนคนหมูมากและกระจัดกระจายไปในเขตพื้นที่ตางๆได อยา งมีประสิท ธิภ าพและประสิท ธิผล การนํ ากลยุท ธข องสื่อ โฆษณาและประชาสั ม พั น ธ ม าใช กั บ ธุ ร กิ จ ภาพยนตร ซึ่ ง นั ก วางแผนต อ งพิ จ ารณาอย า งรอบคอบ คื อ ตลาดเป น ตลาด ผูบริโภคที่มีจํานวนมากและกระจัดกระจายในเขตภูมิศาสตร ตางๆ สื่อ ที่ใ ชตองสามารถเขาถึงตลาดผูบ ริโภคเหลานี้ใหไ ด รูปแบบการนําเสนอจะตองสรางความสนใจ ความพอใจและ สรางความคาดหวังใหเกิดภายในระยะเวลาอันสั้น ดังจะเห็นได วาผูชมภาพยนตรตางประเทศ รอยละ 53.2 สามารถตัดสินใจ เลือกชมภาพยนตรไดเลยทันทีที่เห็นโฆษณาครั้งแรก และผูชม ภาพยนตรรอยละ 38.2 ใชเวลาไมนานในการตัดสินใจชม ภาพยนตรภายหลังจากไดรับ สื่อโฆษณาและประชาสัมพัน ธ ครั้งแรก สมมติฐานขอที่ 4 ผลการวิจัยพบวา ปจจัยดานแรงจูงใจประกอบดวย แรงจูงใจดานเหตุผลและแรงจูงใจดานอารมณ มีความสัมพันธ กั บ พฤติ ก รรมการเข า ชมภาพยนตร ต า งประเทศในโรง ภาพยนตรของผูชมในกรุงเทพมหานคร พฤติกรรมการเขาชม ภาพยนตรตางประเทศในโรงภาพยนตร สวนหนึ่งไดรับอิทธิพล มาจากแรงจูงใจ โดยสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธเปนสิ่งหนึ่ง ที่ ช ว ยกระตุ น ให เ กิ ด แรงจู ง ใจ หรื อ แรงขั บ ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ Stanton. (1994 : 178) ไดกลาวไววา “พฤติกรรม เริ่มตนจาก แรงจูงใจ” (all behavior starts with motivation) แรงจูงใจ (motives) หรือ แรงขับ (drives) เกิดขึ้นจากความตองการที่


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เปรียบเทียบคาใชจายในการบริโภคสื่อในแตละครั้ง สามารถ อนุ ม านได ว า ผูบ ริ โ ภคจะไม รูสึ ก ว า มีค า ใช จา ยในการรั บ สื่ อ โฆษณาผ า นทางโทรทั ศ น เ พราะไม ต อ งซื้ อ หาพิ เ ศษเฉพาะ ภาพยนตรโฆษณาที่แพรภาพขั้นรายการขาวหรือละครนั้นเปน ของแถมในสายตาผู บ ริ โ ภค ในช ว งผู บ ริ โ ภคเป ด เครื่ อ งรั บ โทรทัศนเพื่อชมรายการประจําตางๆในระหวางวัน แตกตางจาก การบริโภคสื่อผานทางหนังสือพิมพ จะพบวา ผูบริโภครูสึกถึง คาใชจายในการบริโภคสื่อแตละครั้ง โดยเฉพาะอยางยิ่งถาตอง ซื้อหนังสือพิมพเพียงเพื่อทราบขาวโฆษณาและประชาสัมพันธ เกี่ ย วกั บ ภาพยนตร ต า งประเทศเรื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง เท า นั้ น เชนเดียวกัน เมื่อเปรียบเทียบความครอบคลุมของสื่อ จะพบวา สื่ อ โฆษณาและประชาสั ม พั น ธ ผ า นทางโทรทั ศ น จ ะมี ค วาม ครอบคลุมในพื้นที่กวางกวาสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธผาน ทางหนังสื่อพิมพในชวงเวลาเดียวกัน 1.4 งบประมาณการซื้อสื่อ เนื่องจากสื่อโฆษณาทุก ประเภทมีคาใชจาย ดังนั้นผูบริหารสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ ตองพิจารณางบประมาณในการซื้อสื่อแตละประเภทเพื่อใหเกิด ความคุมคาสูงสุด เชน เปรียบเทียบการโฆษณาและประชาสัมพันธ ภาพยนตรตางประเทศระหวางรูปแบบการนําเสนอ เบื้องหลังการ ถายทํากับรูปแบบการจัดแถลงขาว ดวยจุดประสงคเพื่อกระจาย ขาวผานทางสื่อตางๆไปสูผูบริโภคจะพบวา การนําเบื้องหลังการ ถ า ยทํ า มาเผยแพร จ ะช ว ยประหยั ด งบประมาณโฆษณาและ ประชาสั ม พั น ธ ม ากกว า การจั ด แถลงข า วอย า งเป น ทางการ เนื่องจากการนําเบื้องหลังการถายทํามานําเสนอนั้นไมจําเปนตอง เสียคาใชจายเพิ่มเติมเพราะเปนชวงเวลาเดียวกันกับการถายทํา ภาพยนตร ไมตองเสียคาสถานที่หรือคาตัวนักแสดงเพิ่มเติม หาก นําเนื้อหามานําเสนอในรูปแบบโฆษณาแฝงขาวผานรายการขาว บันเทิงโทรทัศน อาจชวยใหผูบริหารไมตองเสียคาใชจายใดๆเลยก็ เปนได เพราะสถานีโทรทัศนแตละชองมีการแขงขันกันในการเสนอ ขาวบันเทิงอยูแลวเพื่อดึงกลุมผูชมที่ตองการทราบความเคลื่อนไหว ในแวดวงบันเทิง ดังนั้นการนําเสนอสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ แฝงรายการขาวจึงเปนการพึ่งพากันระหวางผูผลิตภาพยนตรและ เจาของสถานีโทรทัศน ทําใหเกิดการประหยัดคาใชจายทั้งสองฝาย เปนตน 1.5 การพิจารณาเลือกเนื้อที่ เวลาและเนื้อหาให เหมาะสมกั บ สื่ อ รวมทั้ ง การเลื อ กสื่ อ ซึ่ ง เป น ที่ ย อมรั บ และ เชื่อถือเปนหลักเกณฑอีกประการหนึ่งในการพิจารณากลยุทธ การโฆษณาและประชาสั ม พั น ธ เช น การพิ จ ารณาเลื อ กสื่ อ โฆษณาและประชาสัมพันธผานสื่อตางๆในชวงภาพยนตรกอน เขาฉายประมาณ 1 สัปดาหโดยใชสื่อบุคคล เชน ดารานักแสดง หรือ นักวิจารณภาพยนตร ในการโฆษณาและประชาสัมพันธ จะไดประสิทธิผลมากกวาการใชเนื้อที่และเวลาในการโฆษณา ในชวงเริ่มถายทําภาพยนตร การเลือกรายการโทรทัศนเพื่อให

1.1 กลุมเปาหมาย ผูบริหารสามารถวางกลยุทธ เพื่ อ ให ต รงกั บ กลุ ม เป า หมายในการชมภาพยนตร ม ากที่ สุ ด เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยผูชมสวนใหญเปน เพศหญิง มีชวงอายุต่ํากวาหรือเทากับ 21 ป ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สวนใหญอาชีพนักเรียน / นักศึกษา มีรายได 5,000-15,000 บาทตอเดือน 1.2 ความถี่ใ นการสง สารที่ตองการใหเกิด ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล ผู บ ริ ห ารโฆษณาและ ประชาสั ม พั น ธ ภ าพยนตร ต า งประเทศอาจเข า ใจว า เนื้ อ หา สามารถสงไปถึงผูบริโภคจํานวนบอยครั้งเทาใด นอกจากทําให ผูรับสารนอกจากจะจดจําไดแลว ยังสามารถทําใหผูรับสารเกิด พฤติกรรมได แตโดยทั่วไปสื่อมวลชนทุกประเภทมีคุณสมบัติไม แตกตางกันในเรื่องความถี่ในการสงสารเพราะ โทรทัศน วิทยุ และหนังสือพิมพ ผูบริหารสามารถซื้อเนื้อที่และเวลาไดทุกๆวัน แตสิ่งสําคัญที่ผูบริหารสื่อโฆษณาภาพยนตรตางประเทศควร พิจารณา คือ ความถี่ระดับใดที่ทําใหผูบ ริโภคเกิดความรูสึก สนใจ ในขณะเดียวกันเปนความถี่ที่ใชคาใชจายต่ําที่สุดดวย จากผลการวิจัยพบวา ชวงความถี่ระดับ 6 ครั้งตอภาพยนตร หนึ่งเรื่องเปนระดับที่ผูชมสวนมากเกิดพฤติกรรม จึงไมมีความ จําเปนที่ผูบริหารโฆษณาและประชาสัมพันธจะทําการโฆษณา และประชาสัมพันธดวยงบประมาณมากๆเพื่อใหเกิดความถี่ มากๆ เนื่องจากผูบริโภคจะมีระดับของการรับรูในชวงหนึ่ง หาก ผูบริหารสงสารถี่มากเกินไปอาจเปนผลลบตอภาพยนตรเอง ในขณะที่เสียคาใชจายมากขึ้นดวย 1.3 สื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ ผูบริหาร สามารถวางกลยุท ธ เพื่อ ใหตรงกับกลุม เป า หมายในการชม ภาพยนตรมากที่สุด เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โ ด ย ผู บ ริ ห า ร สื่ อ โ ฆ ษ ณ า แ ล ะ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ ค ว ร ใ ช ความสามารถของสื่อในการเขาถึงผูรับสาร กลาวคือ การนํา คุณสมบัติของสื่อมาใชในการพิจารณาเลือกสื่อในการสื่อสาร คุณสมบัติเหลานี้ประกอบดวยความสามารถของสื่อในการทํา ใหผูรับเกิดความเขาใจไดอยางรวดเร็ว ความสามารถของผูรับ สาร ในการรับเนื้อหาสาระของสื่อและความครอบคลุมของสื่อ (Coverage) โดยสื่อแตละประเภทจะสามารถเขาถึงผูรับสารได แตกต า งกั น หากสื่ อ สามารถเข า ถึ ง ผู รั บ สารได อ ย า งเกิ ด ประสิทธิภาพก็จะสามารถทําใหผูชมมีความตองการในการชม ภาพยนตรตางประเทศในโรงภาพยนตร ยกตัวอยา กรณี เปรียบเทียบระหวาง การโฆษณาภาพยนตรตางประเทศผาน ทางโทรทัศนกับการโฆษณาผานทางหนังสือพิมพ ขอไดเปรียบ ของโทรทัศน คือ สามารถสงสารไดทั้งภาพและเสียง ภาพจะ ปรากฎขึ้นมาบนจอเอง ผูบริโภคสามารถทราบและรูจักไดโดย ไมตองนึกเอาเอง แตกตางจากสื่อสิ่งพิมพที่เสียเปรียบในดานนี้ เพราะผูส ง สารตอ งมีค วามสามารถในการอา น เป น ตน เมื่ อ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2552 เปนสิ่งที่ผูชมภาพยนตรตางประเทศใหความสําคัญมากที่สุด และ แรงจู ง ใจด า นอารมณ ผู ช มเข า ชมภาพยนตร ใ นโรง ภาพยนตรเพื่อความสนุกสนานบันเทิง การใชสื่อโฆษณาและ ประชาสัมพันธเปนสิ่งหนึ่งที่สรางใหเกิดแรงจูงใจทั้งสองดาน ดังนั้นผูวางแผนสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธตองนําเสนอตอ ผูชมเปาหมาย โดยใชแ รงจูงใจดานอารมณหรือเหตุผล หรือ อาจทั้ ง 2 อย า งร ว มกั น เพื่ อ ผลั ก ดั น และช ว ยกระตุ น ให เ กิ ด พฤติกรรมการชมภาพยนตรตางประเทศในโรงภาพยนตร 2. ผูบริหารสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธภาพยนตร ตางประเทศ ควรพิจารณากลยุทธการออกแบบสื่อใหมีศิลปะจูง ใจมากกวาการโฆษณาชวนเชื่อเกินจริง เนื่องจากในปจจุบัน ผู ช มภาพยนตร ต า งประเทศส ว นใหญ ใ ห ค วามคิ ด เห็ น ว า ภาพยนตร ต า งประเทศหลายเรื่ อ งไม ไ ด อ ยู ใ นกระแสสั ง คม ผูบริหารสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธของภาพยนตรเรื่องนั้น พยายามใชวิธีการโฆษณาเกินจริงมากกวาการนําจุดเดนของ เรื่ อ งมานํ า เสนอ เมื่ อ ผู ช มภาพยนตร ต า งประเทศเกิ ด การ คาดหวังในสื่อและไดชมภาพยนตรจริงๆในโรงภาพยนตรจะเกิด ความรู สึ ก ที่ ไ ม ดี ต อ ภาพยนตร ต า งประเทศเรื่ อ งนั้ น และ ภาพยนตร ต า งประเทศโดยรวมด ว ย เนื่ อ งจากคุ ณ ภาพของ ภาพยนตรไมเปนไปตามความคาดหวังไวตั้งแตแรก โดยศิลปะ ที่ผูบริหารสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธภาพยนตรตางประเทศ ควรพิจารณา คือ การใชกลยุทธสื่อใหผูบริโภค เกิดการตีความ ไปตามมิติของแตละบุคคล การใชวิธีการบอกเลาที่เรียบงาย เกินไปอาจไมทําใหผูบริโภคเกิดความสนใจได อยางไรก็ดี ทุก สื่อทุกสื่อที่นําเสนอออกมานั้นควรยืนพื้นความจริงที่สมเหตุผล (Verisimilitude) หากทําเกินจริงก็ควรทําใหอยูในระดับที่คนดู เชื่อถือได

ดารานักแสดงสามารถเปนสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธได เป น อี ก ตั ว อย า งหนึ่ ง ที่ เ ด น ชั ด หากผู บ ริ ห ารโฆษณาเลื อ ก รายการที่ ต อ งให ด ารานั ก แสดงต อ งแสดงความรู ม ากๆและ นักแสดงไมมีความถนัดดวยนั้น อาจเปนผลตอความเชื่อถือใน ตัวนักแสดงเองและภาพยนตรเองในทายที่สุด เพราะผูบริโภค จะเกิ ด มโนภาพและทั ศ นคติ ที่ ไ ม ดี ต อ ดารานั ก แสดงและ ภาพยนตร เมื่อดารานักแสดงไมสามารถสรางความประทับใจ ผานทางรายการโทรทัศนเหลานั้นได รวมถึงการเลือกเวลาและ สถานที่ในการโฆษณาและประชาสัมพันธ เปนสิ่งที่ผูบริหารควร ใหความสําคัญ จากผลการวิจัยพบวา ผูบริโภคจะไดรับขาวสาร ทางชอง 7 และหนังสือพิมพไทยรัฐมากที่สุด ถึงแมวาสื่อสอง ประเภทนี้จะมีคาใชจายสูง แตอาจสรางความคุมคามากกวา การโฆษณาผานทางสถานีโทรทัศนและหนังสือพิมพฉบับอื่นที่ เขาถึงผูบริโภคนอยกวา สําหรับเนื้อหาหรือประเด็นสําคัญใน การนําเสนอผานสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ อาจกลาวไดวา ผูสราง ผูกํากับและผูบริหารสื่อไดเปลี่ยนกลยุทธการนําเสนอ แตกตางจากอดีต ชี้ใหเห็นวา การนําเสนอประเด็นดาราคูขวัญ ในการจูงใจผูชมนั้นไดเสื่อมสลายไปแลว การจูงใจผูชมตองใช ประเด็นในการนําเสนอใหมใชเทคนิคใหมในการเลาเรื่องราวให ผูชมสนใจ เชน ใชเทคนิคลําดับถาพแบบปะติดปะตอ ตามแบบ มิวสิควีดีโอที่คนในสังคมยุคใหมคุนเคย แตยังคงแกนสําคัญคือ ตัวเอกของเรื่องและเหตุการณที่เชื่อมโยงกัน 1.6 ผูบริหารสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ ภาพยนตรตางประเทศ ควรนําแรงจูงใจมาใชเพื่อเปนกลยุทธ การออกแบบสื่อ แรงจูงใจประกอบดวย แรงจูงใจดานเหตุผล และแรงจู ง ใจด า นอารมณ ในกรณี ก ารชมภาพยนตร ตางประเทศ แรงจูงใจดานเหตุผล ผูชมภาพยนตรชื่นชอบการ ชมภาพยนตรเนื่องจากมีความสะดวกตอการพักผอนหยอนใจ

บรรณานุกรม กิตติกานต ภูมิสวัสดิ์. (2528). การศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยปดในเขตกรุงเทพมหานครที่มีตอ ภาพยนตรไทย. ปริญญานิพนธ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ). กรุงเทพ บัญฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร ปริญดา จิตติรัตนากร. (2539). ปจจัยดานการตัดสินใจเลือกชมภาพยนตรอเมริกัน (ฮอลลิวูด) ของนิสิตนักศึกษา ระดับอุดมศึกษาของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธนิเทศศาสตรธุรกิจมหาบัญฑิต. กรุงเทพฯ : บัญฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัญฑิต. ถายเอกสาร ไพบูรณ คะเชนทรพรรค. (2531). ปจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกชมภาพยนตของเยาวชนไทย. ปริญญานิพนธ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต(สื่อสารมวลชน). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ถายเอกสาร


149

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - มิถุนายน 2551

หลักสูตรที่เปดสอนในคณะศึกษาศาสตร หลักสูตรปริญญาตรี ปริญ ญาการศึ ก ษาบัณ ฑิต (กศ.บ.) Bachelor Degree Program of Education หลักสูตรระดับปริญญาตรี มี 3 หลักสูตร ดังนี้ 1. การประถมศึกษา 2. การแนะแนว 3. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู เปน โครงการรวมมือระหวาง คณะศึกษาศาสตร กับ สสวท. หลักสูตรปริญญาโท ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) Master Degree Program of Education หลักสูตรระดับปริญญาโท มี 13 หลักสูตร ดังนี้ 1. การศึกษาปฐมวัย 8. อุตสาหกรรมศึกษา 2. การประถมศึกษา 9. การวัดผลการศึกษา 3. การมัธยมศึกษา 10. การวิจัยและสถิติทางการศึกษา 4. การอุดมศึกษา 11. เทคโนโลยีการศึกษา 5. การบริหารการศึกษา 12. การศึกษาพิเศษ 6. จิตวิทยาการศึกษา 13. การศึกษาผูใหญ 7. จิตวิทยาการแนะแนว นอกจากนี้คณะศึกษาศาสตรไดเปดโปรแกรมปริญญาโท ภาคพิเศษ ในสาขาวิชาเอก ดังนี้ 1. การศึกษาพิเศษ 2. การศึกษาผูใหญ 3. จิตวิทยาการศึกษา 4. จิตวิทยาการแนะแนว 5. การบริหารการศึกษา 6. การวัดผลการศึกษา 7. การวิจัยและสถิติทางการศึกษา 8. เทคโนโลยีการศึกษา 9. การศึกษาปฐมวัย 10. การประถมศึกษา

11. การมัธยมศึกษา - การสอนคณิตศาสตร - การสอนวิทยาศาสตร - การสอนสิ่งแวดลอมศึกษา - การสอนภาษาไทย - การสอนภาษาอังกฤษ - การสอนสังคมศึกษา 12. การอุดมศึกษา 13. อุตสาหกรรมศึกษา หลักสูตรปริญญาเอก ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) Doctor Degree Program of Education หลักสูตรระดับ ปริญญาเอก มี 8 หลักสูตร ดังนี้ 1. จิตวิทยาการใหคําปรึกษา 2. การบริหารการศึกษา 3. การทดสอบและวัดผลการศึกษา 4. เทคโนโลยีการศึกษา 5. การศึกษาปฐมวัย 6. การอุดมศึกษา 7. การศึกษาพิเศษ 8. การศึกษาผูใหญ การคัดเลือกผูเขาศึกษา 1. คัดเลือกผานสํ า นักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 2. คัดเลือกโดยวิธีการสอบตรงผานฝายรับนิสิตใหม ของมหาวิทยาลัยโดยมีกําหนดการรับสมัคร ดังนี้ ตุล าคม – พฤศจิ ก ายน ระดับ ปริญ ญาตรี เปด สอบตรง (ชั้นปที่ 1) พฤศจิกายน – ธันวาคม ระดับประกาศนี ย บั ต ร ปริ ญ ญาโท และ ปริญญาเอก ติดตอสอบถาม สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับการสมัครไดที่ งานรับนิสิตใหม โทร. 0-2649-5000 ตอ 5716 หรือ 0-2261-0531 เว็บไซต http://admission.swu.ac.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.