swu50-3

Page 1

ไมวาทศวรรษหนาจะเปนอยางไร ขอยืนยันหลักการของ ปู ยา ตา ยาย เกา ๆ คือ สุ จิ ปุ ลิ ไดแก ปญญา ที่เกิดจากการฟง คิด ถาม และ ตอบ รวม ทั้ง พุทธศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และ พัฒนาศึกษา มาเปนหลักในการเรียนรู นอกจากนี้ตองปลูกฝงใหเด็กรักการอาน เพราะเปน รากฐานสําคัญ และสราง ทักษะการสังเกตใหมาก รวมทั้งรูจัก การคนควา อยูเสมอ บางคนเรียนมาก แตไมสามารถสื่อสารได บางคนทําแต ขอสอบปรนัยได แตคิดไมเปน ซึ่งเด็กใน ทศวรรษหนาตองคิดเอง ตั้งแตตน

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 23 กันยายน 2542


คํานํา วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ฉบับนี้นับเปนฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2550) ของการจัดพิมพเผยแพรอยางตอเนื่องมาเปนปที่ 8 คณะกรรมการจัดทําวารสารวิชาการ ที่มีรองคณบดี ฝายชุมชนและวิเทศสัมพันธ เปนประธานนั้นไดพยายามอยางเต็มกําลัง ที่จ ะใหว ารสารมีม าตรฐานคุณ ภาพทางวิช าการโดยไดรับ ความอนุเ คราะหจ าก ทา นผูทรงคุณวุฒิ ทั้งจากภายใน และภายนอก รับเปนกรรมการกลั่นกรองผลงาน (Peer Review) ใหอยางเสียสละยิ่ง บทความและบทความวิจัยทางการศึกษาที่นํามาเสนอ ใหฉบับนี้มีความหลากหลายที่ครอบคลุมทั้งเรื่องนโยบาย หลักสูตร การสอน การเรียนรู สภาพที่เอื้อตอการเรียนรู เทคโนโลยี และสภาพแวดลอมในสถานศึกษา ขอขอบคุณ คณะกรรมการ เจา หนา ที่ผูเ กี่ย วขอ งทุก ฝา ย และผูท รงคุณ วุฒิ ที่ไดใหความอนุเคราะหจนวารสารวิชาการฉบับนี้สําเร็จอยางดียิ่ง

รองศาสตราจารย ดร.สมชาย ชูชาติ รองอธิการบดีฝายวิเทศสัมพันธ รักษาราชการแทน คณบดีคณะศึกษาศาสตร


ISBN 1513-3443

วารสารวิชาการ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ JOURNAL OF EDUCATION: FACULTY OF EDUCATION : SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY ปที่ 8 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2550

เจาของ

:

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท 23 เขตวัฒนา กทม. 10110 โทร. 0-2664-1000 ตอ 5539, 5580โทรสาร 0-2260-0124

พิมพที่ ที่ปรึกษา

:

สํานักงานเลขานุการคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทวิโรฒ คณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หัวหนาภาควิชา หัวหนาสาขาวิชา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

บรรณาธิการ

:

:

ศาสตราจารย ดร.อารี สัณหฉวี

หัวหนากองบรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ :

ผูชวยศาสตราจารยอลิศรา เจริญวานิช ผูชวยศาสตราจารยบุญยฤทธิ์ คงคาเพ็ชร ผูชวยศาสตราจารย ดร.องอาจ นัยพัฒน ผูชวยศาสตราจารย ดร.ฤทธิชัย ออนมิง่

รูปเลม

:

ผูชวยศาสตราจารยอลิศรา เจริญวานิช นายธนพล ติดสิลานนท

กองจัดการ

:

นายพิสทิ ธิ์ แตมบรรจง นางสุรางค เบญจศรี นางสาวเมลดา พาทีเพราะ นายสุทธิศกั ดิ์ แซแต นางสาวพัชรินทร ธรรมสุวรรณ นางสาวคํานึง ทองคําสุข นายสมชาย หาบานแทน


หลักเกณฑการเขียนตนฉบับวารสารวิชาการศึกษาศาสตร นโยบายวารสาร วารสารวิชาการศึกษาศาสตร เปนวารสารที่ พิมพเพื่อเผยแพรบทความ รายงานการวิจัย บทวิจารณ ขอคิดเห็น และขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการศึกษาทั้งความเคลื่อนไหว และการเปลี่ยนแปลงในแวดวงการศึกษาที่เกิดขึ้น ทัศนะและ ความเห็น ในวารสารฉบับนี้เปนของผูเขียนแตละทาน และไมจําเปนที่จะตองสอดคลองกับนโยบาย จุดยืน ทัศนะ ของคณะ ศึกษาศาสตร กองบรรณาธิการยิ นดี พิจารณาผลงานสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรทุกสาขา ผลงานที่ไ ดรับการ พิจารณาตีพิมพในวารสารอาจถูกดัดแปลงแกไขรูปแบบและสํานวนตามที่เห็นสมควร ผูประสงคจะนําขอความใด ๆ ไปพิมพ เผยแพรตอไป ตองไดรับอนุญาตจากผูเขียนตามกฎหมายลิขสิทธิ์ การพิจารณาตนฉบับ บทความที่ตีพิมพจะตองไดรับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ และผานการกลั่นกรองจากผูทรงคุณวุฒิในสาขาที่ เกี่ยวของ กรณีที่ตองปรับปรุงแกไข จะสงกลับไปยังผูเขียนเพื่อดําเนินการตอไป การเสนอบทความเพื่อพิมพในวารสารวิชาการศึกษาศาสตร 1. บทความแตละบทความจะตองมีชื่อเรื่อง ชื่อผูเขียน (ครบทุกคน) วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด และตําแหนงทางวิชาการ (ถา มี) ของผูเขียนครบทุกคน 2. ตนฉบับตองระบุชื่อ นามสกุลจริง สถานที่ทํางานหรือที่อยู และเบอรโทรศัพท ที่สามารถติดตอได 3. ผูเสนอผลงานตองสงตนฉบับพิมพหนาเดี่ยว ควรใชตัวอักษร Cordia New ขนาด 16 บนกระดาษขนาด 8.5 นิ้ว x 11 นิ้ว ความยาวของตนฉบับรวมทั้งตาราง แผนภูมิ และเอกสารอางอิงไมเกิน 20 หนา พรอ มกับ บัน ทึก บทความลงในแผน ซี ดี 4. ตนฉบับที่เปนงานแปลหรือเรียบเรียงจะตองบอกแหลงที่มาโดยละเอียด 5. ตองเปนบทความที่ไมเคยตีพิมพเผยแพรมากอน 6. กองบรรณาธิการขอใชสิทธิในการนําบทความที่ตีพิมพในวารสารวิชาการศึกษาศาสตรเผยแพรลงในเว็บไซต วารสารวิชาการศึกษาศาสตรออนไลน Æ กรณีที่เปนบทความทางวิชาการ ควรมีสว นประกอบทั่วไปดังนี้ 1. บทคัดยอภาษาไทย 2. บทคัดยอภาษาอังกฤษ1 3. บทนํา 4. เนื้อหา 5. บทสรุป 6. บรรณานุกรม Æ กรณีที่เปนบทความวิจัย ควรมีสวนประกอบทั่วไป ดังนี้ 1. บทคัดยอภาษาไทย 2. บทคัดยอภาษาอังกฤษ 3. บทนํา / ความเปนมาของปญหาการวิจัย 4. วัตถุประสงคของการวิจัย 5. สมมุติฐาน (ถามี)


6. 7. 8. 9.

วิธีดําเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัย และการอภิปรายผล ขอเสนอแนะ บรรณานุกรม

การเขียนเอกสารอางอิงและบรรณานุกรม การอางอิงในบทความใหผูเขียนระบุที่มาของขอมูล/เนื้อเรื่องที่อางอิง โดยบอกชื่อ นามสกุล (หรือเฉพาะนามสกุล ถาเปนภาษาอังกฤษ) และปที่พิมพของเอกสาร (และหนา กรณีอางอิงขอความเฉพาะบางสวน) การอางอิงแบบเชิงอรรถ ให ใชไดในกรณีที่ตองการขยายความ สําหรับการเขียนเอกสารอางอิงทายบทความ ใหใชดังตัวอยางตอไปนี้ 1. หนังสือใหเรียงลําดับ ดังนี้ ชื่อผูแตง. (ปที่ พิ ม พ ) . ชื่ อ เรื่ อ ง. (ฉบั บ พิ ม พ ) . สถานที่ พิ ม พ : ผู จัดพิมพ. อํานวย แสงสวาง. (2544). การจัดการทรัพยากรมนุษย. (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน. 2. วารสารภาษาไทย ใหเรียงลําดับดังนี้ ชื่อตัว ชื่อสกุล. (ป พ.ศ.ที่พิมพ). ชื่อเรื่อง. ชื่อหรือชื่อยอวารสาร, ปที่ (ฉบับที่), หนาแรก-หนาสุดทาย. ตัวอยางเชน อรัญญา จิวาลักษณ. (2544). ความฉลาดทางอารมณ: ปจจัยแหงความสําเร็จในการทํางาน. วารสารสมาคม พยาบาลสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 23(1), 42-49. 3. วารสารตางประเทศ ใหเรียงลําดับดังนี้ ชื่อสกุล, ชื่อนํายอ ชื่อตามยอ. (ป ค.ศ.ที่พิมพ). ชื่อเรื่อง : ชื่อหรือชื่อ ยอวารสาร, ปที่ ( ฉบับที่), หนาแรก-หนาสุดทาย. ตัวอยางเชน Hartman, L. M. (1979). The preventive reduction of psychological risk in asymptomatic adolescents. American Journal of Orthopsychiatry, 49(1), 121 – 135. 4. แหลงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ระบบออนไลน (Online) ใหเรียงลําดับดังนี้ ชื่อผูเขียน. (ปที่เผยแพร). ชื่อเรื่อง. แหลงที่เขาถึง: [วัน เดือน ป ที่เขาถึงเอกสาร] ตัวอยางเชน Oconnor, R.M. (2003). Emotional intelligence and academic success: examining the transition from high school to university.(Online).Available: http://www.sciencedirect.com. Accessed [25/3/2003]. การตอบแทน กองบรรณาธิการจะอภินันทนาการวารสารฉบับที่บทความนั้นตีพิมพทานละ 1 ฉบับ


ISBN 1513-3443

วารสารวิชาการ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ JOURNAL OF EDUCATION: FACULTY OF EDUCATION : SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY ปที่ 8 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2550

สารบัญ Valuing and Developing Students’ Creativity

1

Assoc. Prof. Somchai Chuchat, Ph.D.

การบูรณาการรายวิชาในหลักสูตรการอุดมศึกษา

8

ดร.วินิดา เจียระนัย

ความแตกตางระหวางเทคโนโลยีการศึกษากับเทคโนโลยีสารสนเทศ

18

รองศาสตราจารย ดร.สาโรช โศภีรักข

บทบาทสมมติ บทบาทที่ไมควรมองขาม : กรณีศึกษาการเรียนการสอน กลุมวิชาสังคมศึกษา

28

โชตรัศมิ์ จันทนสุคนธ

ความพึงพอใจตอการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ประกอบการเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน

36

ผูชวยศาสตราจารย ดร. อังสนา จั่นแดง

ระบบบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสมในสถานศึกษา : แหลงเรียนรูดานสิ่งแวดลอมศึกษาสําหรับ โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดกรุงเทพมหานคร

44

ดร.สนอง ทองปาน

ปจจัยที่สง ผลตอสมาธิในการเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินทู ิศ สตรีวทิ ยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร

56

พระธีราภิสุทธิ์ สารธมฺโม

ปจจัยที่สง ผลตอปญหาในการเรียนของนักเรียนชวงชัน้ ที่ 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

66

พระมหาเดชจําลอง พุฒหอม

การวิเคราะหคุณภาพของนโยบายการใหบริการสาธารณะของกรมทีด่ ิน กรณีศึกษาสํานักงานทีด่ ิน จังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด

74

สนทรรศน แยมรุง

ผลลัพธการปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร : ศึกษาเปรียบเทียบการบริหารรัฐกิจแบบเดิม กับการบริหารรัฐกิจแนวใหม พงศธร ชั้นไพศาลศิลป

82


องคประกอบที่มีอิทธิพลตอสัมพันธภาพระหวางนัก เรี ย นกับเพื่ อ นของนั ก เรี ย นชว งชั้น ที่ 3 โรงเรี ย นอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

94

อาจารีย ชางประดับ

องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความสามารถในการเรียนรูวชิ าคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชัน้ ที่ 4 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

104

นพรัตน สําเภา

ปจจัยที่สง ผลตอพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี

112

สุพัตรา ผลรัตนไพบูลย

ปจจัยที่สง ผลตอการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชัน้ ที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

121

สุภา ซูกูล

ปจจัยที่สง ผลตอการประหยัด ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

129

เอริสา มโนธรรม

ปจจัยที่สงผลตอความสามารถในการรับรูวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนราชดําริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร

142

อารยา สนโต

องคประกอบทีม่ ีอิทธิพลตอ พฤติกรรมการทะเลาะวิวาท ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 148 พิชญา สมทรง

ปจจัยที่สง ผลตอแรงจูงใจในการมาเรียนของนักเรียนชวงชัน้ ที่ 1 โรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย

159

ปยะรัตน ดีกลาง

การพัฒนาโปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตรสําหรับเด็กทีม่ ีปญหาทางการเรียนรู

166

อาจารยสิริลักษณ โปรงสันเทียะ

หลักสูตรที่เปดสอนในคณะศึกษาศาสตร รายชื่อกรรมการกลั่นกรอง (Peer reviews)

176 177


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

1

Valuing and Developing Students’ Creativity Assoc. Prof. Somchai Chuchat, Ph.D. Creativity and creative teaching are becoming part of the educational psyche but let’s set the concept of creativity within some kind of context. The government is beginning to recognize that young people need to develop the creative skills that will be necessary in the workplace of the future. Fast-moving technology and the increasing demands for flexibility and imagination mean that all our students need to be able to pose questions such as ‘what if…?’, ‘why…?’ and ‘why not?’ It is also more than likely that, as young people start their careers, they will move jobs several times and will need ability to cope with change so that they can produce creative solutions to increasingly complex environments. Creative teaching practices will help prepare them for this-promoting the ability to solve problems, think independently and work flexibly. In Expecting the Unexpected: Developing Creativity in Primary and Secondary Schools (www.ofsted.gov.uk) the Office for Standards in Education (Ofsted) suggests that ‘being creative’ and ‘creative teaching’ are not radical or new concepts-all that they really involve is a willingness to observe, listen and work closely with students to help them develop their ideas in a purposeful way.

รองอธิการบดีฝายวิเทศสัมพันธ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


2

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

Ofsted goes on to suggest that it is vital that school leadership is committed to promote creativity because this support and encouragement will permit both students and teachers to work creatively and help to ensure that good practice is recognized, resourced properly and disseminated across the school. It identifies four characteristics of creativity in schools: • thinking and behaving imaginatively • imaginative activities take place in a purposeful way, i.e. related to a specific objective • the activity generates something original • There is value in the activity that is related to the original objective. I think this is an interesting definition when it is applied to teaching and learning because it immediately removes any vague ideas that all creativity is about is lying on summer lawns thinking ‘creative’ thoughts that are never realized. To be able to develop students’ creativity we need to begin with a review of our own attitudes and beliefs and then come up with ideas and specific activities inspiring creativity; these may be complemented with ideas of other people (e.g. exchange ideas, talk to other teachers, go to workshops, read books).

1. Make sure students believe that they can indeed be creative. • Tell students that everyone has the capacity to be creative, that creativity is a universal trait. Ask them to think about ways in which they have been showing their ability to be creative ever since they can remember. Have them talk about their drawings, poems, imagination, including the (lies)/stories they have been making up, the way they

play, the conversations they have with people in their heads, things they have built/constructed when playing, ideas they come up with. • Work on raising students’ self-esteem and their belief in themselves. • Introduce activities proving to students beyond any doubt that their minds are different than other people’s minds, that they are absolutely unique. Emphasis that there is nobody exactly like they are in the whole world that they are special and that everyone else is also special.

2. Create a relaxed environment in which students feel safe to take risks and get things ‘wrong’. Seriously review your own and students’ attitudes to mistakes. • Everybody, absolutely everybody, makes mistakes. • In order to learn something we must make some mistakes. • We need to anticipate making mistakes in whatever we do. • It is important to learn from the mistakes we make. We frequently get things wrong many times, not just once! • ‘Mistakes’ were sometimes responsible for unexpected scientific discoveries (e.g. penicillin).

Tell your students Thomas Edison’s story: When Thomas Edison was 7 years old, his teacher said he was too stupid to learn. And yet he became one of the most famous scientists and inventors! As Edison pursued inventing the light bulb, he tried more than 2,000 experiments before he got the electric bulb to work. A reporter asked him how it felt to fail so many times. Edison responded: ’I never failed


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 once. I invented the light bulb. It just happened to be a 2,000 step process.’ Adopt and consistently use constructive ways of responding to learners’ mistakes and replace some of the unhelpful responses with more encouraging ones. Remember that the tone of your voice may be even more important than the words! From time to time introduce in your class an error-free activity, i.e. an activity in which every answer is possible, every answer is ’correct’. Introduce a light-hearted attitude to mistakes by making them acquainted with their ‘Mistake Monsters’. This activity has proved many times to be very effective!

3. Make a habit of looking for ‘another right answer’. Change the way you ask questions and modify your expectations. • Ask more questions to which there is evidently more than one correct answer; expect students to give two or three possible answer, solutions, and sentence or story endings. • Once a question has been answered, say ‘and now let’s look for another possible answer. For example: 2+2 =? How many answers are possible? (4, 3+1, 10-6, etc). Even if nobody does find more answers, your question will stimulate their thinking and awaken an attitude of searching for more possibilities. As often as it is appropriate use Edward de Bono’s Plus Minus Interesting thinking exercise.

4. Encourage students to re-visit and reexamine the rules and, if appropriate, recommend changing them.

3

Discuss with students the reasons why they have rules as rules are everywhere; they govern every aspect of our lives. In your discussion talk about different kinds of rules: rules which protect people’s life, safety, health, values, rights, comfort, etc. Decide together which rules must stay, should stay, could stay and which may be changed or scrapped altogether. Discuss the school rules with the School Council. Evaluate the rules, their effectiveness and find out whether students want to change or introduce different rules. In art/music/dance lessons when talking about literature, encourage students to experiment with breaking rules, going against logic, contradicting accepted thinking and disregarding learnt skills.

5. Provoke creative breaking of accepted patterns. Ask, What would happen if…? Questions in any lesson: (history, physics, psychology) no matter how whacky they appear to be. This way you can take students away from their routine thinking and exercise their ‘creative muscle’. Tell students to read a text-book, starting from the last chapter, or to read a chapter starting from the summary. Break the pattern yourself and run a lesson differently from the way you normally do. The world’s truly creative people were not necessarily conforming students. They were rebels, often pronounced un-teachable with no hope for future success. Just think about people as Edison, Albert Einstein, Ernest Hemingway, Bill Gates, Richard Branson, not to mention most famous artists! You may say that this is different for geniuses. These people were by no means seen as brilliant, rather as


4

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

delinquent, dump students when they were at school. It is their non-conformism, breaking the rules matched with determination, perseverance and ambition, which made them who they are: creative and successful people.

6. Find the right balance between teaching skills and inspiring creative expression. Apart from teaching valuable skills, encourage students to express themselves through dance, music, art and language. a) When teaching art provoke a new way of looking at things from a distance (draw an object as if seen under the microscope and 500 meter away): - in an unrealistic colour; - through a distortion of shape; - by humanization things (furniture); - from a perspective (from birds-eye view, from under the object). b) When teaching music, make music their language: - have students improvising a song to a poem (of their own?); - encourage them to play improvised musical dialogues; - make improvisation ‘fun’, show students that it is OK to play with sound in a silly way; this will melt away the resistance and embarrassment many students may feel. c) When teaching dance: - have students create their own dance routines; - encourage students to improve on a regular basis and develop sensitivity to the music they are dancing to;

- inspire students to choose their own music and improvise a dance which becomes one with the music; - encourage students to tell a story through a dance. d) When teaching writing: - encourage students to express their imagination, their dreams, their feelings and their thoughts through poems, stories, plays.

7. Teach students how to suspend all judgment. • Introduce no-evaluative activities as often as you can – allow freedom of expression and appreciate students’ imagination. Have students thinking about solving a problem and tell them that all crazy ideas are welcome; the crazier the better! • Evaluating ideas comes as the step. Allow the slow thinking, dreamy, playful mind the time it needs to brew new ideas. • Mention a problem, a task or a need for action before the weekend, leaving the seeds to geminate in students’ minds. Remind them about it a few days later and once again leave it for a while. Some time tell students to put on their creative hats and come up with ideas as to what could be done. All ideas, including the most outrageous, are welcome! • Encourage students to find their best ‘creative spot’, be it physical or imaginary. Ask them to draw or describe in writing, a place they find really good for coming up with creative ideas. Tell them they can always go to this place, it not physically then in their minds, whenever they want to think creatively.

Purposeful creativity Obviously, this kind of daydreaming can be part of a creative process but- and this is a big butcreative people actually do something. They are purposeful. They have an objective-whether it is an


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 original recipe, a design for a bridge, a great painting or a beautiful poem. Sometimes-and this is possibly part of the generation gap-teachers and students’ views about what is creative, in terms of being worthwhile and valuable, may differ. Many students may well feel that lying about ‘thinking’ about writing a poem is ‘wickedly’ original and creative. But most teachers and all those principals who are supporting creativity would argue that it involves action. Thinking about an imaginative idea and not doing anything about it is not being creative.

Creative schools are better schools Creative needs to be a whole-school issue. The National Advisory Committee on Creative and Cultural Education (NACCCE) is amassing a considerable amount of data that suggests that the more engaged students are in creative activities, the better the behaviour and the higher their achievements. Ofsted notes that in the4 most effective schools: • head teachers placed the development of creativity high on their list of priorities • they were outward looking, welcoming and open to ideas from external agencies • There were no radical new teaching methods but students’ ideas were developed in a purposeful way. The future of all current students rests on the wisdom of the decisions that they will make. A school where creativity is valued will be able to: • provide an environment where students go beyond the expected and are rewarded for doing so • help students find a personal relevance in learning activities

5

• create a stable and structured ethos for a successful curriculum but at the same time create alternatives in the way information is taught and shared • encourage students to examine and explore alternative ways of doing things • give them time for this kind of exploration.

The Reggio Emilia approach The success of the Reggio Emilia approach to early year’s education has influenced theory and practice in the area of creativity in primary education. In schools in Reggio Emilia there is an innovative staffing structure with each early years centre having an ‘atelierista’ (a specially trained art teacher) who works closely with the classroom teachers. In Italy in the primary sector there is significant teacher autonomy with no national curriculum or associated achievement tests. In Reggio Emilia the teachers become skilled observers and they routinely divide responsibilities, so that one can teach the class. Teachers from several schools sometime work and learn together and this contributes to the culture of the teachers as learners. The learning environment is crucial in the Reggio Emilia approach and classrooms often have courtyards, wall-sized windows and easy access to stimulating outdoor areas. Each classroom has large spaces for group activities and specially design areas for students and staff to interact. Display areas are large and stimulating and reflect the creativity of the students. Teachers in early years settings in Reggio often refer to the learning environment as a ’third teacher’ as most centres are small with just two classroom teachers. The curriculum is project-based and there are numerous opportunities for creative thinking and


6

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

exploration. The teachers work on topics with small groups of students while the rest of the class work on self-selected activities. Projects are often open-ended and therefore curriculum planning is flexible and is sometimes teacher-directed and sometimes childinitiate.This philosophy is inspiring and can be partially transferred to the different framework of our primary and secondary school.

Whole-school approach to developing ‘creativity’ For school leaders the first step in developing a creative school is the fostering of a whole-school approach. Creativity is not an add-on and it cannot be imposed by the head teacher. There needs to be discussion, involvement and ownership. The debate should be based around some of the following points: • taking control of the curriculum by the school • the creation of a school with creativity at the heart of the learning process • enhancing the motivation for staff and students • fostering the professional development of all the staff, both teaching and non-teaching • involving government (education) sector, community and parents in a whole-school approach to creativity and showing how this philosophy supports school improvement and high standards of achievement • getting the students involved in school issues (regarding the curriculum and the learning, perhaps through the school council)

Teachers can promote creativity If creativity is part of staff development programme they are more likely to be enthusiastic about it. One of the most important points to make is that creativity doesn’t just arrive and settle in classrooms and become instantly successful. Teachers have to plan for it to happen. It might be possible for existing teaching styles, schemes of work and medium-and short term plans to be modified in some way so that there is more potential for creativity. It might also be the case that teachers will have to modify their approach and promote a range of teaching and learning styles that will be allow many more students to demonstrate their creativity. This will only work, however, if students know their way around the subject that they are being creative about.

Creativity is the future It is suggested that students who are encouraged to be creative and independent become more interested in discovering things, more open to new ideas, keener to explore them – even willing to work beyond lesson time to do so! Schools that promote creativity will ensure that all their students respond positively to opportunities and responsibilities and are better able to cope with new challenges as well as change and adversity. Creativity should be celebrated and the school should consider looking for outside accreditation. Creative successes should be carefully evaluated, highlighted and showcased to parents and the community. Staff should be empowered to design activities within the curriculum which are exciting, motivating and relevant to their school and students. Once these seeds are sown, creativity will flourish.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

7

References DeGraff, Jeff and Lawrence, Katherine. 2002. Creativity at Work: Developing the Right Practices to Make Innovation Happen. New York: John Wiley & Sons. Eysenck, Hans. 1993. Creativity and Personality: Suggestions for a Theory. Psychological Inquiry, 4 (3), 147-178. Gardner, Howard, Feldman, D.H., & Csikszentmihalyl, M. 1994. Changing the World: A Framework for the Study of Creativity. Westport, CT: Praeger. Starko, Alane. 2005. Creativity in the Classroom: Schools of Curious Delight. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates. Steptoe, Andrew. 1998. Genius and the Mind: Studies of Creativity and Temperament. Oxford: Oxford University Press.


8

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

การบูรณาการรายวิชาในหลักสูตรการอุดมศึกษา THE INTEGRATION OF COURSES OF HIGHER EDUCATION CURRICULUM ดร.วินิดา เจียระนัย บทคัดยอ ตลอดศตวรรษที่ 20 การบู ร ณาการรายวิ ช า ใน หลักสูตรการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาไดมีการพัฒนาบาง รายวิชาใหมีลักษณะของการบูรณาการ ในปจจุบัน จึงมีหลาย รายวิชาที่จัดการเรียนการสอนใหนิสิตเรียนรูห ลายสาขาวิชา เพิ่มขึ้น โดยพัฒนาอาจารยใหมีความรูกวางขวางในเนื้อหาวิชา อื่น หรืออาจารยบางทานพยายามติดตอกับอาจารยสาขาวิชา อื่นเพื่อใหความรูในบางหัวขอกับนิสิต และมีการวางแผนจัดการ สอนที่แบงปนความรูรวมกันและการเขารวมชั้นเรียนกับอาจารย ที่สอนวิช าอื่น ดัง นั้น คณาจารยจึง พบกัน ทุก สัป ดาหต ลอดป เพื่ อ วางแผนการสอนและปรั บ ปรุ ง รายวิ ช า ในที่ สุ ด เส น กั้ น พรมแดนระหว า งรายวิ ช าก็ ห ายไป และให ค วามสนใจกั บ โครงสรางความเขาใจในเรียนรูของนิสิตแบบใหม ผลสุดทาย นิ สิ ต ได ใ ช เ วลาเล็ ก น อ ยในการเรี ย นรู วิ ช าเฉพาะสาขาและ ขอบขายของสาขาวิชาความรูที่เกี่ยวของดวยการบูรณาการการ เรียนรูที่สูงขึ้น

อาจารย ระดับ 8 สังกัดภาควิชาสันทนาการ คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 Abstract Throughout the twentith century, the integration of courses in higher education curriculum develop to be the integrated courses.In the present time, there are several courses have been chaged from students undertook a course of study in the basic sciences to consisted the new areas of knowledges were added. Each instructor develop course with largely unaware of the content of the other courses. Some instructors come efforts to make connections between courses, followed by incorporation of common themes within separate courses. The others are made aware of what is being taught in other courses. The sharinginvolves involves joint planning and teaching in a deliberate way and attended each other's lectures. So, the faculty met nearly every weekend throughout the year to plan and refine the course. At last boundaries between disciplines disappear and the students focus entirely on a new construct of understanding that transcends the disciplines. The proportion of student time spent in specific subjects or disciplines recedes as the amount of time in tasks that involve an integrated approach to learning increases. ความหมายของการบูรณาการ คําวา “บูรณาการ” มีรากศัพทจากภาษาลาตินวา “Integrat” หมายถึง การทําใหรวมกันไดทั้งหมด ไมมีสวนใด ขาดหายไป และมาจากคําในภาษาอังกฤษวา “Integration” หมายถึง การทําสิ่งที่บกพรองใหสมบูรณโ ดยการเพิ่มเติม สวนที่ยังขาดอยูเขาไป (แปลมาจาก Oxford Dictionary) หรือการนําสวนประกอบยอยตั้งแตสองสิ่งขึ้นไปมารวมกัน เพื่อทําใหเปนสวนหนึ่งของสวนทั้งหมดที่ใหญกวา (แปลมา จาก World English Dictionary) องคการสหประชาชาติ (United National Europian Security Coperation : UNESCO) ได ศึ ก ษาจุ ด เริ่ ม ต น ของการบู ร ณาการว า เป น

9

แนวความคิ ด ในการบู ร ณาการหลั ก สู ต ร โดยวิ ธี ก ารเน น เนื้อหาสาระและแยกความรูออกเปนสวนๆ เพื่อการปรับปรุง คุณภาพการศึกษาใหมีความสอดคลองกับสภาพที่เปนจริง ในชุมชนและใหทันตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ต อ มาแนวความคิ ด เกี่ ย วกั บ การบู ร ณาการมี เ พิ่ ม ขึ้ น เนื่องจากมนุษยมีความจําเปนตองมีความรูใหเทาทันตอการ เพิ่มขึ้นของขอมูลและวิทยาการตางๆ ในยุคกระแสโลกาภิ วั ต น ที่ มี ค วามเจริ ญ ด า นเทคโนโลยี ข อ มู ล ข า วสารและมี วิทยาการใหมมากมาย (Jacobs. 1991: 4) ดังนี้ บีเน (Beane. 1991: 9) เสนอวาการบูรณาการ หมายถึง การสรางความรูและประสบการณใหมในลักษณะ ของการผสมผสานเขาดวยกันทั้งหมด เพื่อใหสอดคลองกับ ความตองการและสภาพชีวิตจริง โดยการรวมกันมากกวา การแบ ง แยกเป น ส ว นๆ สาโรช บั ว ศรี (2526: 7) เสนอว า หมายถึง การทําใหเต็ม หรือความเต็ม ความสมบูรณ ซึ่งเปน สิ่งจําเปนและพึงประสงคของมนุษยทุกคนที่จะชวยใหหลุด พนปญหาของความขาดแคลน ความกังวล หรือปญหาอื่นๆ หรืออีกนัยหนึ่ง สภาพที่เปนบูรณาการนั้นไดแก “การศึกษาที่ เปนความมุงหมายอันสูงสุดคือ การบูรณาการ” นั่นเอง สอ เศรษฐบุตร (So Sethaputra.2540: 299) ไดแปล คําศัพทของคํา “Integrate” ไวในปทานุกรมอังกฤษเปนไทย ฉบับใหม (New Model English–Thai) วา เปนคํากริยา (Verb) แปลวา ทําใหเปนหนวย เปนกอน เปนตัว เปนจํานวน เต็มหรือสมบูรณขึ้น คํา “Integration” เปนคํานาม (Noun) แปลว า การรวบรวม เช น การรวบรวมประเทศ และคํ า “Integrity” เปนคํานาม แปลวา ความซื่อสัตย ความมั่นคง ความสมบู ร ณ ความเป น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ความไม แบงแยกบูรณภาพ (Whole) ธนาธิป พรกุล (2543: 57-58) เสนอวาหมายถึง การ เชื่อมโยงหัวขอความรูหลายสาขาเขาดวยกันทั้ง 3 ดาน ไดแก พุทธพิสัย ทักษะพิสัยและจิตพิสัย วิชัย วงษใหญ (2545 : 62) เสนอวาหมายถึง การนํา นวัตกรรม (Innovation) มาชวยเสริม เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง วิธีการ กระบวนการ ที่ทําอยูเดิมใหไดผลคุมคา


10

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ (2546: 4-8) เสนอวา หมายถึง การนําสิ่งหนึ่งเขารวมกับอีกสิ่งหนึ่งเพื่อทําใหสิ่ง เดิมเพิ่มพูน สมบูรณยิ่งขึ้น เอื้อประโยชนตอกัน รวมทั้งการ เชื่อมโยงสิ่งหนึ่งหรือหลายสิ่งเขาเปนสวนประกอบของอีกสิ่ง หนึ่ง เพื่อใหสิ่งนั้นเกิดความสมบูรณขึ้น และไดรวบรวมคํา อื่ น ๆ ที่ มี ค วามหมายเช น เดี ย วกั บ การบู ร ณาการ ตาม พจนานุกรมในภาษาไทย ไดแก การเชื่อมโยง หมายถึงการ ทําใหเปนเนื้อเดียวกัน การผนวก หมายถึง การเพิ่มเขา การ ประสานหมายถึง การทําใหเขากันได การรวมกันหมายถึง การนําสิ่งสองสิ่งขึ้นไปมาบวกกัน หรือรวมกัน การเติมเต็ม หมายถึง การเพิ่มสิ่งที่ยังบกพรอง หรือยังขาดอยูใหสมบูรณ สําลี รักสุทธิ (2546: 26) เสนอวา หมายถึง การนําสิ่ง ที่เกี่ยวของ สัมพันธกันมาจัดรวมกันอยางประสมกลมกลืน สรุปวา การบูรณาการ หมายถึง การรวบรวม การเพิ่ม การ ตัด การเชื่อมโยง การประสาน ระหวางสิ่งหนึ่งหรือหลายสิ่ง เขามารวมกัน ใหเปนนวัตกรรมที่มีความสอดคลองกับความ ต อ งการและสภาพชี วิ ต จริ ง มี ค วามสมดุ ล สมบู ร ณ แ ละ ครบถวน ความสําคัญของการบูรณาการ ฮอพกินส (Hopkins. 1983: 1) เสนอวา การบูรณา การเปนพฤติกรรมที่ฉลาดหลักแหลมในการปรับตัวเองอยาง ตอเนื่อง ดวยการใชไหวพริบ ปฏิภาณ สติปญญาและมีปฏิ สัมพันธกับสิ่งอื่น พระธรรมปฎก (2539: 82) เสนอวา เปนการศึกษาที่ พัฒนามนุษยใหมีความสมบูรณ ความถูกตอง ความดีงาม รวมทั้งการสรางคนใหเปน “บัณฑิต” ซึ่งหมายถึง ผูที่มีชีวิต อยูดวยปญญา บุ ค คลที่ มี ค วามคิ ด แบบบู ร ณาการจะช ว ยให ล ด ความผิดพลาดจากการตัดสินใจที่ไมรอบคอบ มีความเขาใจ เรื่องที่มีความซับซอนไดอยางลึกซึ้งและกวางขวางยิ่งขึ้น ทํา ให ก ารตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งเล็ ก เกิ ด ผลดี ต อ เรื่ อ งใหญ โ ดยดู ภาพรวมทั้ ง หมดก อ นตั ด สิ น ใจและมองป ญ หาได ถู ก จุ ด รู จุ ด เชื่ อ มโยงและผลกระทบ ลดความซ้ํ า ซ อ นและการ สิ้น เปลือ งทรัพ ยากร ช ว ยให ส ามารถแก ไ ขปญ หาได อ ย า ง เบ็ดเสร็จ โดยใชความเกี่ยวของ เชื่อมโยงกับระบบหรือปจจัย

ตางๆ ใหมีมุมมองที่กวาง ครบถวน และลึกซึ้ง (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์. 2546: 36 - 46) สํา หรับ องคการที่นํา แผนการจั ดการเรี ยนรูแ บบ บูรณาการมาใช จะทําใหมีผลดีตอการพัฒนาชุมชนที่ทํางาน ตัวบงชี้ระดับของความรูในองคการ เครือขายของการเรียนรู และการสื่อ สารกับ ผู เกี่ ย วข อ งไดดี ขึ้น เอกสารขั้น ตอนการ ปฏิบัติงานและระเบียบการปฏิบัติมีมาตรฐานมากขึ้น พัฒนา และเพิ่มพู น ทัก ษะของผูป ฏิบั ติง านสูม าตรฐานของงานได ตลอดจนพัฒนาความสามารถของแรงงาน ชวยใหเปนคนใจ กว า ง ช ว ยจั ด การความขั ด แย ง ทํ า ให เ กิ ด การประสาน ประโยชนและลดหรือจัดการกับความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นกับ ผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย (Stakeholder) กลุ ม ผลประโยชน (Interest Group) และรองรับแนวความคิดหลังทันสมัย (Post Modernism) ที่ มี ค วามคิ ด เห็ น ที่ แ ตกต า งหลากหลายและ คํานึงถึงมุมมองของกลุมคนที่มีความหลากหลายมากขึ้น สรุป วา การบู ร ณาการชว ยใหเกิด การเปลี่ ย นแปลง วิธีการที่ทําอยูเดิมใหไดผลยิ่งขึ้น ชวยสรางภาวะความสมดุล ความสมบูรณ และความครบถวน ทําใหมนุษยหลุดพนจาก ป ญ หาของความขาดแคลน ความกั ง วล หรื อ ป ญ หาอื่ น ๆ นําไปสูการเปนผูมีความรู มีประสบการณใหม ที่กอใหเกิด การพั ฒ นาให มี ค วามสมบู ร ณ ความสมดุ ล ความถู ก ต อ ง ความดีงาม รวมทั้งการสรางคนใหเปน“บัณฑิต” ซึ่งหมายถึง ผูที่มีชีวิตอยูดวยปญญา หลักการในการบูรณาการ 1. หลักการบูรณาการแหงตน การบูรณาการแหงตน (Self integration) หมายถึง การรวบรวมความรู ความสามารถ ความเขาใจ ความถนัด ความสนใจ ศั ก ยภาพและความสามารถของตนเอง เพื่ อ พั ฒ นาหน ว ยงาน สั ง คมและประเทศชาติ ให มี ค วาม เหมาะสม สอดคลอง สมบูรณและสมดุล (พิสิทธิ์ สารวิจิตร. 2540: 83) การบู ร ณาการแห ง ตนเป น เรื่ อ งที่ เ กิ ด ขึ้ น โดย ธรรมชาติแ ละโดยปกติ ข องมนุษ ย โดยการใช สมองคิด ใน ลั ก ษณะของความเกี่ ย วเนื่ อ งเชื่ อ มโยง (Associative thinking) อยางอัตโนมัติ ดวยการที่สมองรับขอมูลเขามาใหม


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 แลวเชื่อมโยงกับมโนทัศนของเรื่องในลักษณะเดียวกัน และ อาจผสมผสานกับอารมณ ความรูสึก สัญชาติญาณการใช เหตุ ผ ล ความเคยชิ น เพื่ อ หาคํ า ตอบอย า งมี เ หตุ ผ ล (Reasonable) และมี ก ารประเมิ น ความน า จะเป น (Possibility) นอกจากนี้ การบูร ณาการเกิด จากความต อ งการ แก ไ ขป ญ หาต า งๆ ซึ่ ง เป น ผลมาจากการผสมผสานหรื อ บูรณาการสิ่งตางๆ เขาดวยกัน เพื่อใหไดสิ่งที่สมบูรณหรือ เหมาะสมที่ สุ ด ในการแก ไ ขป ญ หานั้ น ๆ ดั ง นั้ น บุ ค คลที่ มี สมรรถภาพดานบูรณาการ (Integrative competence) หมายถึงบุคคลที่มีความสามารถหลอหลอมมโนทัศน บริบท เทคนิคในการติดตอสื่อสาร ซึ่งสงผลตอการสรางวิธีการการ มีกลยุทธในวิชาชีพที่เหมาะสม และการนําไปใชสถานการณ ที่หลากหลายอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทําใหมี ปฏิสัมพันธกันทางแนวความคิดตอไป การบูร ณาการของกลุ มบุ คคล เปนการผสมผสาน คุณลักษณะของทรัพยากรบุคคลที่มีความคิดแตกตางกัน ให รวมอยูและควบคูกันไดอยางเหมาะสม เพื่อทําใหเกิดความ พอดีระหวางบุคคล ดังนี้ 1. การเปนผูนํากับผูตาม 2. ความสามารถทํางานเปนหมูคณะกับการทํางานที่ ดํารงตนในฐานะเปนปจเจกบุคคล 3. ความสามารถในการแขงขันกับความสมถะ รูจัก พอดีและรวมมือกัน 4. การใหความสําคัญของวิทยาการสมัยใหมกับภูมิ ปญญาดั้งเดิม 5. การเปดรับ การเลือกและการพัฒนาวัฒนธรรม ตางชาติกับการอนุรักษ เอกลักษณไทย 6. การเรียนรูเพื่อพัฒนางานและฐานะกับการเรียนรู เพื่อความปติแหงการเรียนรู 7. การเรียนรูเฉพาะทางกับการรอบรู 8. การเรียนรูเรื่องวัตถุกับสุนทรีย 9. การเรียนรูผานสื่อกับการเรียนรูแบบมนุษยสัมผัส มนุษยและสัมผัสธรรมชาติ

11

10. การเรียนรูเรื่องภายนอกกายกับการเรียนรูภายใน กาย โดยจิตที่มีสติตั้งมั่น หลักแมบทของระบบบูรณาการแหงตนของประเทศ ไทย ไดแก รัตนตรัย หมายถึง พุทธะ ธรรมะ สังฆะ ซึ่งหลัก พุทธะมีความเชื่อวา มนุษยสามารถใชปญญารูแจงเห็นจริง ในความสัมพัน ธระหว างมนุษยกับ หลักพุทธะ หลักธรรมะ เปนหลักความจริงที่เปนแกนแทหรือสาระของธรรมชาติ สวน หลักสังฆะเปนการอยูรวมกันของมนุษยมากๆ เปนสังคมที่มี การพัฒนาสูง สรุปวา หมายถึง การดํารงชีวิตอยูของมนุษย ซึ่ง มีอ งคป ระกอบ 3 ประการ ไดแ ก มนุษ ย ธรรมชาติแ ละ สังคม (เพ็ญสิริ จีระเดชากุล. 2541: 14-15) เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ (2546: 26 และ144-145) เสนอวา บุคคลที่มีความคิดแบบบูรณาการ เปนมิติหนึ่งของ บุคคลที่เรียนรูและพัฒนาใหสอดคลองกับความคิดที่อยูบน ฐานของสั จ จธรรมด ว ยความเข า ใจและสามารถเชื่ อ มโยง ขอมูลขาวสาร หรือแนวความคิดที่แยกสวนหรือสิ่งที่แตกตาง กัน หรือสิ่งที่ดูเหมือนขัดแยงกัน อยางเปนเหตุผลและสัมพันธ กัน ทั้งทางตรงและทางออม และมีการพัฒนาความตระหนักรู ถึงความสัมพันธในการเชื่อมโยงระหวางสิ่งตางๆ กับเรื่องที่ เปนแกนหลักไดอยางเหมาะสม สงผลใหมีความสมบูรณและ ความเปนเอกภาพอยางมีสัมพันธภาพ นําไปสูความสามารถ คิดหาวิธีแกปญหา การสรางสรรคสิ่งใหมและคนพบสิ่งใหมที่ ดีกวาเดิม วิชัย วงษใหญ ( 2545: 51) เสนอวา การบูรณาการ แหงตน ทําใหบุคคลมีวิสัยทัศนดีเพราะไดรับความรูแบบองค รวม สรางกิจกรรมที่หลากหลายเปนประโยชนตอมโนทัศน สามารถผสมผสานระหว า งทฤษฎี กั บ การปฏิ บั ติ ไ ด แ ละ ประยุกตเปนการฝกฝนพัฒนาจนเปนทักษะและความคิดที่ ติดตัว มีความเชื่อมโยงสัมพันธกับชีวิต สิ่งแวดลอม ชุมชน และสังคม สรางเปนองครวมของความรูซึ่งเสริมสรางคุณภาพ ชีวิตที่เปนประโยชนและสามารถใชไดจริงในชีวิตประจําวัน และสามารถออกแบบกิจกรรมไดหลากหลายและมีนวัตกรรม ที่เอื้อตอการทํางานรวมกัน สรุปวา มนุษยทุกคนมีการบูรณาการแหงตน โดยการ พั ฒ นาองค ค วามรู เ ป น องค ร วมย อ ยแต ล ะเรื่ อ ง นํ า มา


12

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ผสมผสาน เชื่อมโยงอยางมีปฏิสัมพันธ แลวพัฒนาเปนองค รวมใหญแบบบูรณาการ ทั้งระบบ (Wholeness integration) เพื่ อ ความสมดุ ล ขององค ค วามรู ใ นสั ง คมและธรรมชาติ แวดล อ ม ตามขี ด ความสามารถและกระบวนทั ศ น ใ หม (Paradigm integration) เพื่อสรางวิสัยทัศน พันธกิจคานิยม และมูลคาเพิ่ม ที่เนนความยืดหยุนในการปรับตัวที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงเปนหลักนําไปสูความเปนเลิศขององคกร 2. หลักการแหงการบูรณาการ วิชัย วงษใหญ (2545: 62) เสนอวา การบูรณาการมีองคประกอบ 5 ประการ ไดแก แนวความคิด ระเบียบและระบบ กระบวนการ หลัก ปฏิบัติและสิ่งประดิษฐ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ ไดเสนอ หลักการในการบูรณาการ (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์.2546: 10-13) ดังนี้ 1. การบูรณาการสิ่งที่มีอยูตามสภาพความเปน จริง (Factual integration) หรือการบูรณาการเชิงรูปธรรม โดยการนํา สิ่ง ที่มีอ ยูอ ยางแยกส ว นมาทํา ใหเปน ระบบที่ มี ความสมบูรณมากยิ่ง ขึ้น ดวยกระบวนการรวมตัวกัน ของ องค ป ระกอบตั้ ง แต 2 หน ว ยขึ้ น ไป เช น ระบบ องค ก าร บุ ค คล เป น ต น ทั้ ง นี้ การจั ด โครงสร า งใหม หรื อ ปรั บ กระบวนการทํางานใหมตามหนาที่ ตองมีการประสานงาน อยางเชื่อมโยงกัน เพื่อทําใหองคประกอบบรรลุถึงสภาพที่ ดีกวาสภาพกอนบูรณาการ การบู ร ณาการลั ก ษณะนี้ อาจเป น การผสาน ศักยภาพระหวางกันเพื่อชวยใหแตละฝายใชศักยภาพ หรือ ความถนั ด หรื อ จุ ด เด น แต ล ะด า นผสมผสานกั น ซึ่ ง ก อ น การบูร ณาการนั้ น ตา งฝ า ยต า งไดทํ า มาทั้ง หมดแล ว ทั้ง ที่ ถนัดและไมถนัด หรืออาจมีความขัดแยง เปนคูแขง หรือเปน ศัตรูกัน เมื่อมีการบูรณาการจัดสรรใหมใหตางฝายตางทําใน สิ่ ง ที่ ต นถนั ด และทํ า บางสิ่ ง ที่ ทํ า ร ว มกั น ได ทํ า ให ป ระหยั ด ทรัพ ยากรและเวลา ชวยใหเกิดผลผลิ ตที่เพิ่มขึ้น ลดความ ซ้ําซอนในสิ่งตางๆ ที่เหมือนกัน อาทิเชน ความซ้ําซอนดาน โครงสรางการบริหารที่ตางคนตางทํา เปนตน 2. การบูรณาการความคิดรวบยอด(Conceptual integration) หรือการบูรณาการเชิงนามธรรม โดยการบูรณา การแนวความคิด เชน กระบวนการสรางแผนงานสมมติฐาน

ทฤษฎี กระบวนทัศน โครงการ แผนงาน เปนตน หรือการใช สองแนวความคิ ดขึ้น ไป ซึ่ ง อาจมีขอ มูลบางสว น หรื อ บาง แนวความคิดที่ขดั แยงกันนํามาบูรณาการกอรูปใหม ดวยการ นํ า องค ป ระกอบย อ ยที่ ดู เ หมื อ นว า แตกต า งกั น มาผสม กลมกลืน ไดผลลัพธคือ มูลคาเพิ่มที่พึงพอใจมากขึ้น อาทิ เชน จิตแพทยบูรณาการกลยุทธการรักษาโรคจากสํานักวิชา ตางๆ เพื่อใหไดผลมากที่สุด ผูบริหารองคกรและพนักงาน ชวยกันวางแผนเพื่อใหการดําเนินการมีความสมบูรณและ เชื่อมโยงกัน เปนตน สรุปวา หลักการแหงการบูรณาการ เปนการที่บุคคลที่ มีสมรรถภาพดานการบูรณาการ ไดบูรณาการความคิดรวบ ยอด หรือสิ่งที่เปนนามธรรม และสิ่งที่มีอยูตามสภาพความ เป น จริ ง หรื อ ตามรู ป ธรรม ด ว ยการก อ รู ป ใหม ใ ห มี ค วาม สมดุลสมบูรณและครบถวนมากยิ่งขึ้น ดวยการพิจารณา องคประกอบ 5 ประการ ไดแก แนวความคิด ระเบียบและ ระบบ กระบวนการ หลักปฏิบัติและสิ่งประดิษฐ กระบวนการของการบูรณาการ การบู ร ณาการมี ก ระบวนการที่ สํ า คั ญ เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการบูรณาการของบุคลากร มีดังนี้ 1. การแยกแยะองคประกอบหลักของมาตรฐาน เพื่อ นําไปสูการบูรณาการ 2. การแยกแยะองคประกอบที่แตกตางออกมา โดย เฉพาะที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง 3. การทบทวนคูมือ นโยบายการบริหารในปจจุบัน โดยพวงองคประกอบที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง 4. การทบทวนและขยายผลการนํา มาตรฐาน ขั้ น ตอน การปฏิ บั ติ ง านที่ ค รอบคลุ ม องค ป ระกอบ ไปใช ภายในหนวยงาน พรอมทั้งฝกอบรมพนักงานและใหพนักงาน นํามาตรฐานไปปฏิบัติอยางจริงจัง 5. การจัดเตรียมระบบและขั้นตอนตางๆ ใหพรอม เพื่อการนําไปใชงานไดทันทีโดยเฉพาะการจัดทําเปนเอกสาร และกระจายไปตามจุดตางๆ ที่จําเปนในการใชงาน รวมทั้ง การฝกอบรมพนักงานใหสามารถนําไปใชงานไดทันที 6. การสอบทาน โดยการนําระบบการตรวจติดตาม ผลงานภายในเพื่อปฏิบัติและแกไขปญหาตางๆ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 รูปแบบการบูรณาการหลักสูตรการศึกษา การบู รณาการหลั กสูต รการศึก ษาไมค วรแบ ง แยก เนื้ อ หาวิ ช าออกจากกั น แต ค วรเชื่ อ มโยงส ว นต า งๆ ของ หลักสูตรเขาหากัน เพื่อความชัดเจนของเนื้อหาการเรียนการ สอนที่ มี ข อบเขตกว า งขวาง ซึ่ ง ทํ า ให ก ารเรี ย นการสอนมี ลักษณะเปนองครวม (Holistic way) และความเปนจริงของ โลกที่มีลักษณะปฏิสัมพันธกัน (Online, Shoemaker. 2006: 797) ซึ่งโฟการตี้ (Fogarty.1991: 61-65) ไดจัดรูปแบบของ การบูรณาการเปน 3 กลุม ดังตอไปนี้ กลุมที่ 1 การบูร ณาการภายใน(Within single discipline) มี 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. รู ป แ บ บ ก า ร ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย (The fragmented model) ไดแ ก การจัดหัว ข อ รายละเอีย ด ความคิ ด รวบยอด หรื อ ทั ก ษะภายในบริ บ ทของเนื้ อ หา เดียวกันใหสัมพันธกัน 2. รูปแบบการเชื่อมโยงกัน(Connected model) ไดแก การนําสิ่งที่ใกลเคียงกันใหอยูภายในเนื้อหาเดียวกัน โดยการเชื่อมโยงทักษะ ความคิดรวบยอดที่เหมือนกัน เขา หากันอยางมีสัมพันธกันภายใน 3. รูปแบบที่ซอนทับกัน (Nested model) ไดแก การบูรณาการ 3 มิติ ทับซอนกัน 3 ดาน เชน การฝกทักษะ การออกแบบและการแกไขปญหาสภาพแวดลอม กลุมที่ 2 การบูรณาการขามฝาย(Across several disciplines) มี 5 รูปแบบ ดังนี้ 1. รูปแบบการแบงสวนกัน (Shared model) ไดแก การนําสวนของการทับซอนกันบางสวนมารวมกันวางแผน งานและแนวทาง 2. รู ป แบบการลํ า ดั บ เหตุ ก ารณ (Sequenced model) ไดแก การนําสวนที่แยกกันมาจัดเรียงลําดับภายใน กรอบของแนวความคิดที่เหมือนกัน สัมพันธกัน ใหเขากันได สอดคลองกันและสัมพันธกับคูขนาน 3. รูปแบบเครือขายใยแมงมุม (Webbed model) ไดแ ก การนํ า ภาพรวมของสิ่ง ที่เกี่ ย วขอ งกัน เปนเครือ ขา ย โดยใชหัวเรื่อง (Theme) และเสนอแนวความคิดเกี่ยวกับ รูปแบบดวย

13

4. รูปแบบเสนดาย (Threaded model) ไดแก การ ขยายแนวความคิดหลักใหมาผสมผสานไวในเนื้อหาตางๆ การ ผูกความสัมพันธดานทักษะทางสังคม ทักษะความคิด ทักษะ การเรี ย นรู ทั ก ษะการประสานสั ม พั น ธ เ ทคโนโลยี ซึ่ ง เป น แนวคิดดานพหุปญญา 5. รู ป แบบการบู ร ณาการที่ เ ป น สหวิ ท ยาการ (Integrated model) โดยการนําสวนเดิมของวิทยาการที่ เกี่ยวของกัน ทับซอนกันทางความคิดรวบยอด ทักษะ ทัศนคติ มาแยกออกจากกัน แลวผสมผสานกับสวนของวิทยาการอื่นๆ ที่ เกี่ยวของสัมพันธกัน กลุ ม ที่ 3 การบู ร ณาการภายในและข า มสาขาผู เรียนรู (Within and across learners) มี 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. รูปแบบการชุบตัวเอง (Immersed model) เปนการทําใหเกิดขึ้นในตัวของผูเรียนรูเองเปนการสรางสิ่งที่ สัมพันธกับชีวิตจริง 2. รูปแบบการทํางานเปนเครือขาย (Network model) เปนการสร า งความสัมพัน ธหลายมิติ โดยผูเรียนรู เปนผูกระทําโดยตรง ทั้งนี้ หลักการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ (The Integrated instruction) ไดแกการสอนใหนักศึกษาหา ความรูอยางกวางขวางในวิชาการหลายแขนง ในลักษณะที่มี ค ว า ม สํ า คั ญ กั บ แ ง มุ ม ใ ด มุ ม ห นึ่ ง ข อ ง สิ่ ง แ ว ด ล อ ม (Humphreys; Post; and Eills.1981: 11) ซึ่งการจัดการ เรียนรูแบบบูรณาการเปนการเรียนรูในลักษณะองครวม ดวย รูปแบบหรือวิธีการที่หลากหลาย เนนสภาพจริง ไดแก การ เรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูรวมกัน การเรียนรูจากธรรมชาติ การเรี ย นรู จ ากการปฏิ บั ติ จ ริ ง มี ก ารวั ด และประเมิ น ผลที่ สอดคล อ งกั บ กิ จ กรรมการเรี ย นรู ที่ ไ ด จ ากการปฏิ บั ติ (Performance assessment) และตามสภาพจริ ง (Authentic assessment) การบูรณาการหลักสูตรการศึกษาในประเทศไทย ประเทศไทย ได มี ก ารบู ร ณาการการจั ด การศึ ก ษา ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ.2542 เพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงการจั ด การศึ ก ษาทั้ ง กระบวนการ เรี ย นรู แ ละกระบวนการบริ ห ารจั ด การเพื่ อ การเรี ย นที่ มี


14

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

คุณภาพ พัฒนาผูเรียนตามศักยภาพและความสนใจ ภายใต ระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและคุมคายิ่งขึ้น ซึ่ง เปนการสรางวิสัยทัศนในการจัดการศึกษาในภาพรวมของ ประเทศ เพื่อสรางสังคมแหงปญญา วลัย พาณิช (2544: 162) ไดเสนอ ลักษณะของ การบูรณาการไว 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. การบูรณาการเชิงเนื้อหา (Content integration) ไดแก การผสมผสานเนื้อหาของ สิ่งที่ตองการบูรณาการโดย การหล อ หลอมความสั ม พั น ธ ข องเนื้ อ หาของเรื่ อ งต า งๆ 2. การบูรณาการเชิงกระบวนการ (Process integration) ดวยการผสมผสาน กระบวนการของการจัดการ เพื่อการ พัฒนา เนื้อหา ทักษะและเจตคติ อนึ่ ง การบู ร ณาการแบบสหวิ ท ยาการ (Multidisciplinary) ไดแก การศึกษาศาสตร ในหลายสาขาวิชา อยางไมแยกสวน โดยมีกระบวนการที่ คนๆ หนึ่งไดรับขอมูล แลวตีความ พิสูจนคนหาความจริง ดวยการเปรียบเทียบกับ ขอมูลที่มีอยูในความทรงจําเดิม แลวนําไปสูการยอมรับหรือ ปฏิเสธความรูใหม ที่ถูกนํามาใชในการจัดการศึกษา (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์. 2546: 14,18) สํ า หรั บ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาได มี ก ารปรั บ กระบวน ทัศนใหมใหมีการบริหารจัดการที่ดี ดวยการทบทวนและปรับ บทบาทของภารกิจ 4 ประการ ไดแก การจัดการเรียนการ สอน การวิ จั ย การบริ ก ารวิ ช าการและการทํ า นุ บํ า รุ ง ศิลปวัฒนธรรม โดยการใชแนวความคิดในการบูรณาการ หลั ก สู ต ร ทั้ ง นี้ การบู ร ณาการการจั ด การศึ ก ษาตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดให สถาบันการศึกษารองรับการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษา ทั้งกระบวนการเรียนรูและกระบวนการบริหารจัดการ เพื่อ การเรียนที่มีคุณภาพและพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพและ ความสนใจ และเพื่ อ การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพการศึ ก ษาให มี ความสอดคลองกับสภาพที่เปนจริงในชุมชน ใหทันตอการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว และเพื่อให “อุดมศึกษา สรางคน สรางความรู สูความเปนเลิศ” (วิจิตร ศรีสอาน. 2547: 12) ดังนั้น ภาควิชาในสถาบันอุดมศึกษาจึงไดบูรณา การรายวิชาในหลักสูตรการศึกษา

ตัวอยางเชนการบูรณาการหลักสูตรในมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการจัดตั้งเปนวิทยาลัย วิชาการศึกษา (Colledge of Education) เมื่อ พ.ศ. 2496 ได จัดหลักสูตรและการสอนโดยศาสตราจารย ดร.สาโรช บัวศรี ผูนํ า การศึ ก ษาสมั ยใหม แ บบบู ร ณาการโดยนํา วิ ช าการครู สมั ย ใหม ได แ ก วิ ช าการศึ ก ษา (Education) มาสอนเป น การศึกษาแบบพิพัฒนาการ (Progressive education) เพื่อ สอดคล อ งประสานสั ม พั น ธ กั บ สั ง คมประชาธิ ป ไตย แนวความคิ ด การบู ร ณาการได สื บ ทอดมาจนกระทั่ ง ใน ปจจุบัน ไดมีการบูรณาการรายวิชาในหลายหลักสูตร ดังเชน ภาควิชาสันทนาการ คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินท รวิโรฒ ไดบูรณาการหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ในระดับ ปริญญาตรี สาขาวิชาเอกการจัดการนันทนาการ และสาขา วิชาเอกผูนํานันทนาการ ไดแก วิชาการจัดนันทนาการธุรกิจ วิชาสถิติและการใชคอมพิวเตอรในนันทนาการ วิชาชีววิทยา เพื่อนันทนาการและหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ใน ระดั บ ปริ ญ ญาโท สาขาวิ ช าการจั ด การนั น ทนาการ ได แ ก วิชาการบริหารธุรกิจนันทนาการ วิชาจิตวิทยาของการเปน ผูนํานันทนาการ วิชากฎหมายที่เกี่ยวของกับนันทนาการ วิชา ภาษาอังกฤษในวิชาชีพ เปนตน บทสรุป การบู ร ณาการรายวิ ช าในหลั ก สู ต รการศึ ก ษาให ประสบความสํ า เร็ จ และบรรลุ เ ป า หมายของหลั ก สู ต ร นอกจาก แต ละภาควิ ช าในสถาบั น อุ ด มศึ กษาจํ า เป น ต อ ง ศึ ก ษาความหมาย ความสํ า คั ญ หลั ก การกระบวนการ รูปแบบการบูรณาการหลักสูตรและการบูรณาการหลักสูตร การศึก ษาในประเทศไทยแลว บุค ลากรที ่เ กี ่ย วขอ งใน การบูร ณาการหลักสูตร มีความสําคัญยิ่ง ซึ่งผูเขียนขอเสนอ วา ควรนําแนวความคิดของการบริหารจัดการแบบกลุมงาน โดยใชเทคนิคการบริหารแบบมีสวนรวมเพื่อการลิขิตอนาคต (Future search) โดยความพยายามสรางแบบการแกปญหา ในองค ก รร ว มกั น อย า งเป น ระบบ โดยพิ จ ารณาจาก สถานการณ จ ริ ง ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู จ ริ ง และผู เ กี่ ย วข อ ง ณ ปจจุบัน ดวยการวิเคราะหสถานการณเพื่อหาแนวทางที่ดีกวา ในอนาคตการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 และบรรลุเปาหมายสูงสุด เพื่อสรางวิสัยทัศนรวมจากผูมีสวน ไดสวนเสีย (Stakeholder) เพื่อกําหนดเปาหมายยอยของตน ใหสอดคลองกับเปาหมายรวมขององคกรหรือสังคม และเพื่อ กําหนดแผนปฏิบัติการของหนวยงานยอยที่เปนรูปธรรมและ เข า ใจง า ยแก ส มาชิ ก ในกลุ ม แล ว นํ า มาผสมผสานกั บ แนวความคิดการบริหารจัดการอื่น ๆ นอกจากนี้ การสรางสภาพแวดลอมที่กระตุนสมาชิก ให นํ า เอาศั ก ยภาพสู ง สุ ด มาใช เพื่ อ การลิ ขิ ต อนาคต ได แ ก ความสามารถในการหาผูแทนกลุมที่เปนผูมีสวนไดสวนเสีย ไดครบทุกสวน ความสามารถสรา งความเขา ใจรว มกัน ใน การเชื่อ มความสัม พัน ธระหว า งกลุ ม การโน ม น า วผู ร ว ม ประชุมใหสนใจที่อนาคตที่ควรจะเปน การสรางระบบการ จั ด การที่ ชั ด เจน โดยสมาชิ ก ในกลุ ม สามารถแลกเปลี่ ย น ขอมูลไดอยางทั่วถึง การสรางเครือขายการจัดทําแผนการ ปฏิบัติการรวมกับกลุมอื่นได การดึงดูดคามสนใจของสมาชิก ใหอยูรวมกิจกรรมตลอดชวงเวลา การจัดชวงเวลาของการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดดานสถานที่ อาหาร หองประชุม หองพักและอาหารวาง และการกําหนดความรับผิดชอบเพื่อ การวางแผนการปฏิบัติงานและการติดตามประเมินผล

15

ทั้งนี้ ปจจัยแหงความสํา เร็จของการบริหารแบบมี สวนรวม นั้น ผูบริหารตองสมัครใจและยินยอมมอบอํานาจ ของตนใหแกสมาชิกในองคกร ทั้งในขั้นการตัดสินใจ การลง มือปฏิบัติและการติดตามประเมินผล โดยที่ยังตองมีความ รับผิดชอบในผลงานนั้นอยู การมีทักษะการบริหารงานของ หัวหนางานในการดําเนินการประชุมตามนโยบายที่ผูบริหาร จัดการมาแลว และการสรางบรรยากาศที่เอื้ออํานวยตอความ รวมมือกันทํางานของสมาชิกในองคการ สุดทาย บุคลากรใน สถาบันอุดมศึกษาควรขจัดอุปสรรคของการพัฒนาความคิดใน การแกปญหาหรือการสรางสิ่งใหม ไดแก ความไมกลาออก นอกกฎเกณฑ กติกา หรือระเบียบที่วางไว ซึ่งความไมกลา ปฏิบัติใ หผิ ด ไปจากแนวทางเดิม และการคิดวา ตนเองไม มี คุณสมบัติเพียงพอตอการบูรณาการความคิดใหม นั้น อาจมี สาเหตุมาจากองคประกอบของมนุษย ไดแก การกลัวความ ผิดพลาดหรือความลมเหลว ความรูสึกไมแนใจหรือไมมั่นคง การยึดติดอยูกับสิ่งเดิม/ตําแหนงเดิม การขาดขอมูลที่ทําให เกิดความรูใหมในการเปลี่ยนแปลง การขาดความมั่นใจใน หนาที่ที่รับผิดชอบที่จะเปลี่ยนแปลงไป การขาดทักษะความ ชํ า นาญในการตั ด สิ น ใจและการขาดแรงกระตุ น ทาง ประสบการณของการเปลี่ยนแปลง


16

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2544). การบูรณาการ. กรุงเทพฯ: กรมการศาสนา. หนา 2-3 กระทรวงอุตสาหกรรม. (2545ก, กันยายน - ตุลาคม). การวิเคราะหธุรกิจดวยหลักการ กระทรวงอุตสาหกรรม. SWOT. วารสารกรมสงเสริมอุตสาหกรรม 45. กรุงเทพฯ: บิ๊กเบิรธพับลิชชิ่ง จํากัด. ……… (2545ข, กันยายน - ตุลาคม). หลักการบริหารคนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากร, หนา 61-62 เกษม วัฒนชัย. (2538, ตุลาคม - พฤศจิกายน). ทิศทางการพัฒนาอุดมศึกษาไทยในทศวรรษหนา. วารสารการศึกษาแหงชาติ. 1(30). หนา 31-32 เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์. (2546). การคิดเชิงบูรณาการ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย. พระธรรมปฎก. (2539). พุทธธรรมกับปรัชญาการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. หนา 82 พิสิทธิ์ สารวิจิตร. (2540, กันยายน). การพัฒนาตนเองกับการปองกันปญหาสุขภาพของตนและ สังคม. วารสารบัณฑิตศึกษา. 1(1). หนา 83 เพ็ญสิริ จีระเดชากุล. (2541, กันยายน). ปรัชญาการศึกษาแบบองครวม บนรากฐานของพระพุทธ ศาสนา. ทัศนะทางพระธรรมปฎก. วารสารบัณฑิตศึกษา 2(2). พรินตโพร. หนา 14-15 ธนาธิป พรกุล. (2543). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ผูเรียนเปนศูนยกลาง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. หนา 57-58 วลัย พาณิช. (2544). การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการสําหรับผูเรียนระดับมัธยมศึกษา. แนวคิดและแนวปฏิบัติสําหรับครูมัธยม เพื่อการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. หนา 162 วิจิตร ศรีสอาน. (2547, ตุลาคม). ผลกระทบของการปฏิรูปอุดมศึกษาไทยตอสังคมฐานความรู. อนุสารอุดมศึกษา. 30(316). หนา 12 วิชัย วงษใหญ. (2545). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ. พิมพครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน. หนา 51, 62 .......... (2542). กระบวนทัศนใหม : การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคคล. พิมพครั้งที่ 5. นนทบุรี: SR PRINTING LIMITED PARTNERSHIP. หนา 1 วีระศักดิ์ กิตติวัฒน. (2546, กรกฏาคม - กันยายน). เทคนิคการบริหารแบบมีสวนรวมเพื่อการลิขิต อนาคต. จุลสารพัฒนาขาราชการพลเรือน. 22(3). ศุภวัฒนากร วงศธนวสุ. (2547). รูปแบบ ระบบเชิงพลวัตของความยั่งยืนในการพัฒนา : กรณีศึกษา โครงการวางแผนครอบครัวแหงชาติ. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการวิจัย แหงชาติ. อัดสําเนา. หนา 300 ส. เศรษฐบุตร (SO SETHAPUTRA. (2540). New Model English – Thai Dictionary. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. หนา 299


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

สาโรช บัวศรี. (2526). จริยธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ: คุรุสภา. ถายเอกสาร. หนา 7 สิปปนนท เกตุทัต. (2539, กุมภาพันธ - มีนาคม). ปฏิรูปการศึกษา : และโลกาภิวัตน. วารสาร ขาราชการครู. 16(3). หนา 7 สิทธิศักดิ์ พฤกษปติกุล. (2546). การพัฒนาคุณภาพแบบกาวกระโดดดวยวิธี Six Sigma. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พิมพดีดการพิมพ. สําลี รักสุทธิ. (2546). คูมือการเขียนแผนการจัดการเรียนรูตามเกณฑใหมของ ก.ค. บูรณาการ เนนผูเ รียนเปนสําคัญ ผลที่เกิดกับผูเรียน. กรุงเทพฯ: เพิ่มทรัพยการพิมพ. หนา 26 อมรวิชช นาครทรรพ. (2545). รายงานสภาวะการศึกษาไทยตอประชาชน ป 2545 ปมปฏิรูป. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. พิมพดี. หนา 4-5 Beane, James A. (1991). Curriculum Planning and Development. Boston: Allyn and Bacon. p. 9 Fogarty, Robin. (1991, October). Ten Ways to Integrate Curriculum. Educational Leadership. 49(2) : pp.61-65 Hopkins, Thomas L. (1983). Integration : Its Meaning and Application. New York: Apleton-Century-Crofts. P.1 Humphreys, A.; Post, T.; & Ellis, A. (1981). Interdisciplinary Methods : A Thematic Approach. California: Goodyear. Iving, Janis L. (2004). Psychological Stress. New York: John Wiley & Sons. Jacobs, Heidi Hayes. (1991, October). Interdisciplinary Curriculum : A conversation with Heidi Hayes Jacobs. Educational Leadership. 49(2) : 61-65 Shoemaker, B. (2006). Integrated Curriculum.(Online). Available: www.nwrel.org/scpd/sirs/8/c 016.html [Accessed 2/9/2006]

17


18

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ความแตกตางระหวางเทคโนโลยีการศึกษากับ เทคโนโลยีสารสนเทศ THE DIFFERENCE BETWEEN EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND INFORMATION TECHNOLOGY รองศาสตราจารย ดร.สาโรช โศภีรักข บทคัดยอ บทความนี้ตองการชี้ใหเห็นวามีสวนใดที่แตกตางระหวาง เทคโนโลยีการศึกษากับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพราะปจจุบันคน สวนใหญมักจะเขาใจวาเทคโนโลยีการศึกษาเปนสวนหนึ่งของ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ แต โ ดยแท จ ริ ง แล ว นั ก เทคโนโลยี การศึกษา ถือวาเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นเปนเพียงสวนหนึ่งของ เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาเท า นั้ น และยั ง มี ค วามขั ด แย ง อี ก ว า ระหวางนักเทคโนโลยีการศึกษากับนักเทคโนโลยีสารสนเทศ ใครควรที่ จ ะรั บ หน า ที่ ใ นการผลิ ต สื่ อ เพื่ อ การเรี ย นการสอน โดยตรง โดยเฉพาะสื่ อ ที่ เกี่ ย วข อ งกับ คอมพิว เตอร บางคนก็ กล า วว า นั ก เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาไม เ ชี่ ย วชาญคอมพิ ว เตอร บางคนก็กลาววาสื่อที่นักคอมพิวเตอรผลิตออกมาจะเนนความ หวือหวาเพราะเขียนโปรแกรมดวยตนเอง แตถาพิจารณาให ถองแทแลวเทคโนโลยีการศึกษาหมายถึงการนําแนวคิด ผลผลิต และกระบวนการทางวิทยาศาสตร มาผสมผสานแนวคิดทาง พฤติ ก รรมศาสตร เ พื่ อ แก ป ญ หาทางการศึ ก ษา เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลของการเรี ย นการสอน โดยมี ขอบข า ยที่ ร วมเอาเทคโนโลยี ด า นสื่ อ เทคโนโลยี ก ารสื่ อ สาร เทคโนโลยี ร ะบบและเทคโนโลยี ก ารสอนเข า ด ว ยกั น การนํ า เทคโนโลยีก ารศึก ษามาใชจึง เนน ผลที่เกิ ด กับ ผูเ รีย นโดยตรง บทบาทของเทคโนโลยีการศึกษาจึงตอบสนองความแตกตาง ของผูเรียน ความพรอ มของผูเ รียน ขยายแหล งการเรียนรูใ ห กว า งขวาง ทั น สมั ย ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย นคิ ด เป น ทํ า เป น และ แกปญหาได นักเทคโนโลยีการศึกษาตอง รองศาสตราจารย ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 เปนทั้งนักออกแบบ นักคิดและนักประยุกต ผลผลิตของนัก เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาจึ ง เน น ครอบคลุ ม ทั้ ง ด า นคุ ณ ภาพ ประสิ ท ธิ ภ าพ ประสิ ท ธิ ผ ลประหยั ด และเหมาะสมกั บ สภาพการณทุกๆดาน สวนเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นเปน การนําเอาระบบคอมพิวเตอรผนวกเขากับขอมูลขาวสารและ ระบบโทรคมนาคมมาใช เพื่ อ ให เ กิ ด ความรวดเร็ ว ในการ ติดตอสื่อสารเปนการเผยแพรขอมูลขาวสารในรูปแบบตางๆ ไมว า จะเปน เสี ย ง ภาพ และภาพเคลื่อ นไหว ขอ ความหรื อ ตั ว อั ก ษร และตั ว เลข เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ความถู ก ต อ ง ความแม น ยํ า และความรวดเร็ ว ให ทั น ต อ การนํ า ไปใช ประโยชน เปาหมายของการใชเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมุงที่ จะอํานวยความสะดวกในการเรียนการสอน โดยเนนการใช วัสดุอุปกรณและระบบคอมพิวเตอรเพื่อตอบสนองการทํางาน ที่รวดเร็วและแมนยํา เทคโนโลยีสารสนเทศจึงแกปญหาเรื่อง ระยะทาง เวลา เทคโนโลยีสารสนเทศ จึงมีบทบาทในการ สนับสนุนการเรียนการสอน นักเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมี หนาที่ในการสรางชองทางการถายทอดเนื้อหาในรูปแบบของ สื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆที่อํานวยความสะดวกในการเรียนการ สอน ดังนั้นจุดยุติจึงอยูที่วาหากนักเทคโนโลยีการศึกษาและ นั ก เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ได ร ว มมื อ กั น ทํ า งานโดยไม แบงแยกก็จะนําไปสูผลดีของการจัดการเรียนการสอนแนนอน Abstract The purpose of this article is to clarify the differences between educational technology and information technology, at the present; the majority of people understand that educational technology is a part of information technology. In fact, the educational technologist considers that information technology is only one part of educational technology. In addition, there is an argument between the educational technologist and information technologist concerning the one who should be responsible directly in producing the instructional media, particularly, computer media. Some people states that the educational technologist is not proficient in computer skills, while others state that computer media that was

19

designed by information technologist, will emphasize solely on the edge of excitement. However, if one carefully examines the term of educational technology thoroughly, one will discover that educational technology means use of science concepts, productions, and scientific procedure together with behavior concepts to increase problem solving skills, improve efficiency and good outcome of instruction. Educational technology also integrates the framework of media technology, communication technology, systematic technology, and instructional technology. Using educational technology will accentuate the good outcome to the learner specifically. Therefore, the role of educational technology is to response to individual differences, readiness of learner, broaden and recent the learning resource in order to encourage the learner to be a thinker, an applier, and a good problem solving person. Hence, a successful educational technologist must contain a designer quality, a thinker quality, and an applier quality so that they can produce an outcome that assign the quality, the efficiency, the effectiveness, the thriftiness, and the suitability depend upon a variety of situation. On the other hand, information technology combines the use of computer systems with information, news, and telecommunication systems in order to enhance the rapidity when publicizing various kind of news or information regardless of which terms they are in such as sound, image, motion picture, text, character, or numeric to increase the efficiency, the accuracy, the exactness, and the readiness when there is a need to use. Therefore, the goal of using information technology is to increase the convenient in instruction by emphasizing the use of audio-visual and computer system for the benefit of response immediately and trustworthy. Information technology can also solve the


20

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

obstacles regarding the distance, the timing, and have a prominent role in supporting the instruction. Thus, the information technologist is responsible for designing the media and the software programs that can instruct the content in different forms of electronics media that will provide the convenient for the instructional. In conclusion, if the educational technologist and the information technologist cooperate together without the separation, the end result will definitely be the good outcome of instructional that will benefit to the learner. “บางคนมองวาเทคโนโลยีสารสนเทศเปนสิ่งที่ทันสมัย ทันยุคทันเหตุการณกวาเทคโนโลยีการศึกษา แตแทจริง แลวเทคโนโลยีสารสนเทศเปนสวนหนึ่งของเทคโนโลยี การศึกษาที่สนับสนุนซึ่งกันและกันตางหาก” นักวิชาการ ดานเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งรุน เกา และรุนใหมตางก็ใหทัศนะที่แตกตางกันออกไป และ ตางก็ตั้งคําถามวาเทคโนโลยีการศึกษาแตกตางกับ เทคโนโลยีสารสนเทศอยางไร ซึ่งหลายคนอาจจะมอง ประเด็นที่แตกตางกัน หลายคนมองประเด็นที่เหมือนกัน และหลายคนยังเถียงกันไมรูจบวาใครจะดีกวาใคร” ความเจริ ญ ในด า นต า งๆ ที่ ป รากฏให เ ห็ น อยู ใ น ปจจุบั น เปนผลมาจากการศึ กษาคน คว าทดลองประดิษ ฐ คิดคนสิ่งตางๆที่เรียกวา “นวัตกรรม” ขึ้นมา โดยอาศัยความรู ทางวิทยาศาสตร เมื่อศึกษาคนพบและทดลองใชไดผลแลว ก็ นําออกเผยแพรใชในกิจการตางๆ สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลง พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพในกิจการ เหลานั้น หลังจาก นวัตกรรมนั้นๆไดรับการยอมรับ และใชกันอยางแพรหลาย เราก็ไมเรียกสิ่งนั้นวานวัตกรรมอีกตอไป โดยจะเรียกสิ่งนั้นวา เปน “เทคโนโลยี” เทคโนโลยี จึงหมายถึง การนําเครื่องมือ หรือวิธีการมาใชใหเหมาะสมกับสถานการณหรือปญหาตางๆ หรือ การนําความรูทางดานวิทยาศาสตรหรือความรูดานอื่นๆ ที่ได จัดระเบียบดีแลวมาประยุกตใชงานในดานใดดานหนึ่งเพื่อให งานนั้นมีความสามารถและประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น (พนิดา, 2548) ป จ จุ บั น เทคโนโลยี ถู ก นํ า มาใช ใ นทุ ก วงการ เช น นํ า มาใช ใ นวงการแพทย เรี ย กว า เทคโนโลยี ก ารแพทย

(Medical Technology) นํามาใชทางการเกษตร เรียกวา เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology) นํามาใช ทางการอุตสาหกรรม เรียกวา เทคโนโลยีการอุตสาหกรรม (Industrial Technology) นํามาใชทางการสื่อสาร เรียกวา เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) และ นํ า มาใช ใ นวงการอื่ น ๆ อี ก มากมาย รวมทั้ ง นํ า มาใช ใ นวง การศึ ก ษา ที่ เ รี ย กว า เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา (Educational Technology) เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพทเทคโน (วิธีการ) + โลยี (วิทยา) หมายถึง ศาสตร ที่วาดวยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนําวิธีการ มาปรับปรุงประสิทธิภาพของการศึกษาใหสูงขึ้น เทคโนโลยี ทางการศึกษาครอบคลุมองคประกอบ 3 ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ และวิธีการ สภาเทคโนโลยีการศึกษานานาชาติได ใหคําจํากัดความของเทคโนโลยีการศึกษาวา เปนการพัฒนา และประยุกตระบบเทคนิคและอุปกรณใหสามารถนํามาใช อยางเหมาะสม เพื่อสรางเสริมกระบวนการเรียนรูของคนใหดี ยิ่ ง ขึ้ น สอดคล อ งกั บ ที่ เ ปรื่ อ ง กุ มุ ท (2526)ได ก ล า วถึ ง ความหมายของเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาว า เป น การขยาย ขอบขา ยของการใชการสื่อการสอนใหกวา งขวางขึ้น ทั้ง ใน ดา นบุ คคล วัสดุ เครื่ อ งมื อ สถานที่ และกิจ กรรมตา งๆ ใน กระบวนการเรียนการสอน เปนกระบวนการที่ซับซอนและ ประสานสั ม พั น ธ อ ย า งมี บู ร ณาการระหว า งบุ ค คล วิ ธี ก าร แนวคิด เครื่องมือ และการจัดระบบองคการ สําหรับวิเคราะห ปญหา หาวิธีแกปญหา ดําเนินการ ประเมินผล และจัดการ แกปญหาเหลานั้น ซึ่งเปนปญหาที่เกี่ยวของกับทุกลักษณะ ของการเรียนรู แก น แท ข องเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาก็ คื อ วิ ธี ก าร แกปญหาทางการศึกษาดวยการคิดไตรตรองหาทางปรับปรุง เกี่ ยวกับ การเรียนการสอน ดวยการตั้ง ขอ สงสัย และทํา ไป อย า งเป น ระบบ ก อ นหน า ที่ จ ะมี ก ารกล า วถึ ง เทคโนโลยี การศึกษา เราคุนเคยอยูกับโสตทัศนศึกษากันแลว แมกระทั่ง เดี๋ยวนี้คนก็ยังคิดวาโสตทัศนศึกษาก็คือ เทคโนโลยีการศึกษา และเทคโนโลยีการศึกษาก็คือ โสตทัศนศึกษา ที่คิดอยางนั้น ก็มีสวนถูกอยูบาง โดยเฉพาะความคิดแรก แตมีความถูกตอง ไมมากนักหรือเกือบผิด ก็วาได ความคิดหลังนั้นถูกตรงที่โสต


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ทัศนศึกษาเปนเพียงสวนหนึ่งของเทคโนโลยีการศึกษาเทานั้น ในยุคที่ผานมาเรามองผูที่ทํางานดานโสตทัศนศึกษาหรือนัก โสตทัศนศึกษา วาเปน “ผูบริการ” โดยเฉพาะการบริการ ทางดานการจัดหา การใชเครื่องมือโสตทัศนูปกรณ และการ ผลิตสื่อการสอนใหแกครูผูสอน ดังนั้น บทบาทของเขาโดย สรุปก็คือ เปนนักบริการที่ทําหนาที่จัดหา ผลิตสื่อการสอน และควบคุ ม เครื่ อ งโสตทั ศ นู ป กรณ ต า งๆ แต แ นวคิ ด นี้ เปลี่ยนไป ปจจุบันแนวคิดที่ถูกตอง นักเทคโนโลยีนั้นตอง เปนนักประยุกต นักคิด และหาแนวทางที่นําความรู วิธีการ หรือเทคนิคอะไร หรือเครื่องมืออะไรมาชวยใหงานที่กําลังทํา อยูมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ ไดผลดี และประหยัด หรือนัก เทคโนโลยีการศึกษาคือนักออกแบบ (Designer) ออกแบบ วิธีการ หรือที่เรียกวา “ระบบ” ออกแบบเครื่องมือ ออกแบบ ระบบการเรียนการสอน(Instructional Systems Design) นอกจากนี้ เ ทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา เป น การขยาย แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ โสตทั ศ นศึ ก ษาให ก ว า งขวางยิ่ ง ขึ้ น ทั้ ง นี้ เนื่องจากโสตทัศนศึกษาหมายถึง การเรียนรูผานประสาททั้ง หาคือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส ดังนั้น อุปกรณในสมัยกอน มักเนนการใชประสาทสัมผัสดานการฟงและการดูเปนหลัก จึ ง ใช คํ า ว า โสตทั ศ นู ป กรณ ส ว นเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษามี ความหมายที่ ก วา งกวา โดยพิจ ารณาจากความคิ ด 2 ประการ คือ 1. แนวคิดดานวิทยาศาสตรกายภาพ หมายถึง การประยุกตวิทยาศาสตรในรูปของสิ่งประดิษฐ เชน เครื่อง ฉาย เครื่ อ งเสี ย ง วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น เครื่ อ ง คอมพิวเตอร ฯลฯ มาใชสําหรับการเรียนรูของนักเรียนเปน ส ว นใหญ การใช เ ครื่ อ งมื อ เหล า นี้ มั ก คํ า นึ ง ถึ ง เฉพาะการ ควบคุมใหเครื่องทํางาน มักไมคํานึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู ที่ เกี่ยวของ ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาตามความคิด รวบยอดนี้ ทําใหบทบาทของเทคโนโลยีการศึกษาแคบลงไป คื อ มี เ พี ย งวั ส ดุ แ ละอุ ป กรณ เ ท า นั้ น ไม ร วมวิ ธี ก ารหรื อ ปฏิกิริยาสัมพันธอื่นๆ เขาไปดวย ซึ่งตามความหมายนี้ก็คือ “โสตทัศนศึกษา” นั่นเอง 2. แนวคิดดานพฤติกรรมศาสตร เปนการนํา แนวคิดและวิธีการทางจิตวิทยา มานุษยวิทยา กระบวนการ กลุม ภาษา การสื่อความหมาย การบริหาร กลไกการรับรูมา

21

ใชควบคูกับผลิตผลทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรม เพื่อให ผูเรียนเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มิ ใ ช เ พี ย งการใช เ ครื่ อ งมื อ หรื อ อุ ป กรณ เ ท า นั้ น แต ร วมถึ ง วิธีการทางวิทยาศาสตรและวิธีการทางพฤติกรรมศาสตรเขาไป ดวย มิใชวัสดุหรืออุปกรณแตเพียงอยางเดียวการนําเทคโนโลยี การศึกษามาใชจะมีเปาหมายดังนี้ 1. เพื่อขยายพิสัยทรัพยากรการเรียนรู กลาวคือ แหลงทรัพยากรการเรียนรูไมไดเปนแคเพียงตํารา ครู และ อุปกรณการสอนที่โรงเรียนมีอยูเทานั้น แนวคิดทางเทคโนโลยี การศึกษาตองการใหผูเรียนมีโอกาสเรียนจากแหลงความรูที่ กวางขวางออกไปอีก แหลงทรัพยากรการเรียนรูครอบคลุมถึง เรื่องตางๆ เชน 1.1 คน คนเป น แหล ง ทรั พ ยากรการ เรียนรูที่สําคัญ ซึ่งไดแก ผูสอน ผูเรียน ซึ่งอยูในโรงเรียนและ นอกโรงเรียน เชน เกษตรกร ตํารวจ บุรุษไปรษณีย เปนตน 1.2 วั ส ดุ แ ล ะ เ ค รื่ อ ง มื อ ไ ด แ ก โสตทัศนูปกรณตางๆ เชน เครื่องฉายภาพยนตร เครื่อง คอมพิวเตอร เครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน แถบวีดิทัศน แผ น ดิ ส ก ของจริ ง ของจํ า ลอง สิ่ ง พิ ม พ รวมไปถึ ง การใช สื่อมวลชนตางๆ 1.3 เทคนิคและวิธีการเรียนการสอนซึ่ง แตเดิมนั้นสวนมากใชแนวคิดครูเปนศูนยกลาง ครูเปนคน บอกเนื้อหาแกผูเรียน ปจจุบันใชแนวคิดผูเรียนเปนศูนยกลาง เปดโอกาสใหผูเรียนไดศึกษาคนควาดวยตนเองใหมากที่สุด ครูเปนเพียงผูวางแผนแนะแนวทางเทานั้น 1.4 สถานที่ ไดแก โรงเรียน หองปฏิบัติการ ทดลอง โรงฝ กงาน ไร นา ฟาร ม ที่ ทําการ ภู เขา แม น้ํ า ทะเล หรื อ สถานที่ใดๆ ที่ชวยเพิ่มประสบการณที่ดีแกผูเรียนได 2. เพื่อเนนการเรียนรูแบบเอกัตบุคคล กรณีที่ นั ก เรี ย นมี จํ า นวนมากและกระจั ด กระจาย ยากแก ก ารจั ด การศึกษาตามความแตกตางระหวางบุคคลได นักการศึกษา และนั ก จิ ต วิ ท ยาได นํ า เอาระบบและวิ ธี ก ารเรี ย นแบบ รายบุคคลมาใช เชนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หรือการ เรียนผานเว็บ ซึ่งทําหนาที่สอนเหมือนกับครูมาสอน เอง 3. การใชวิธีระบบมาแกปญหา หรือชวยใหงาน บรรลุเปาหมาย การใชวิธีระบบ (System Approach) ในการ


22

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ปฏิบัติหรือแกปญหาเปนวิธีการที่เปนวิทยาศาสตรที่ที่จะชวย ให ก ารทํ า งานบรรลุ เ ป า หมายได เ ป น อย า งดี เนื่ อ งจาก กระบวนการของวิธีระบบเปนการทํางานอยางเปนขั้นเปน ตอนแต ล ะขั้ น สามารถตรวจสอบได การวิ เ คราะห ร ะบบ (Systems Analysis)ก็เปนการวิเคราะหองคประกอบของ งานหรือของระบบอยางมีเหตุผล หาทางแกไขใหสวนตางๆ ของระบบทํางานประสานสัมพันธกันอยางมีประสิทธิภาพ 4. เทคโนโลยีการศึกษาชวยในการพัฒนา เครื่องมือและวัสดุอุปกรณทางการศึกษาใหมีศักยภาพหรือ ขีดความสามารถในการใชงานใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอมูลที่เก็บ รวบรวมและเรียบเรียงเพื่อใชเปนแหลงขอมูลที่เปนประโยชน ตอผูใช เชน การนําเสนอยอดขายรายเดือนตอผูบริหาร ซึ่ง ยอดขายรายเดือ นนั้ น ไดม าจากการรวบรวมยอดขายของ ตัวแทนในแตละวันนั่นเอง ระบบสารสนเทศ (Information System) เปนกลไกชนิดหนึ่งดวยการนําเอาเทคโนโลยี คอมพิ ว เตอร เ ข า มาประยุ ก ต ใ ช กั บ การจั ด การข อ มู ล ใน องคการ (โอภาส, 2547) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) คือ เทคโนโลยีสองดานหลักๆ ที่ประกอบดวยเทคโนโลยี ระบบคอมพิ ว เตอร และเทคโนโลยี สื่ อ สารโทรคมนาคมที่ ผนวกเขาดวยกันเพื่อใชในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สราง และเผยแพรขอมูลขาวสารในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปนเสียง ภาพ และภาพเคลื่อนไหว ขอความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกตอง ความแมนยํา และความ รวดเร็ ว ให ทั น ต อ การนํ า ไปใช ป ระโยชน ความหมายนี้ สอดคล อ งกั บ แนวคิ ด ของ พนิ ด า (2548) ที่ ก ล า วว า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) จึง หมายถึ ง การนํ า เทคโนโลยี ม าใช ง านที่ เ กี่ ย วกั บ การ ประมวลผลขอมูลเพื่อใหไดเปนสารสนเทศ ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช นั้นตองสนับสนุนการทํางานตั้งแตการนําเขา การจัดเก็บ การ จัดการ การปองกัน การสื่อสาร และการสืบคนสารสนเทศ โดยจะตองผสมผสานเทคโนโลยีตางๆ เขาดวยกันอยางลงตัว จึงจะชวยใหเกิดการทํางานที่มีประสิทธิภาพได

เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีเปาหมายดังนี้ 1. ชวยเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพในการทํางาน ชวยลดตนทุนในการผลิต เนื่องจากการนําระบบคอมพิวเตอร และระบบเครื อ ข า ยเข า มาใช ทํ า ให บุ ค ลากรในองค ก ารใช ทรัพยากรรวมกันได เชน เครื่องพิมพ เครื่องถายเอกสาร เครื่องสแกนภาพ 2. ชวยจัดระบบสารสนเทศที่มีอยูอยางมากมายให เปนระเบียบ ทําใหสะดวกรวดเร็ว งายแกการจัดเก็บและคนหา 3. ชวยใหการสื่อสารระหวางกันมีความรวดเร็ว มากขึ้น ขจัดปญหาเรื่องระยะเวลา ระยะทาง 4. ทําใหเขาถึงขอมูลขาวสารจากแหลงอื่นเมื่อใดก็ ได ได แ ก เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบอั ต โนมั ติ หรื อ แบบ ปญญาประดิษฐ ผูใชงานสามารถทําธุรกรรมไดเองเชนการ ฝากหรือถอนเงินจากตูเอทีเอ็ม 5. ทําใหมีการกระจายโอกาสทางการเรียนรูมากขึ้น 6. ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ 7. ชวยลดขั้นตอนการทํางานในสวนของบุคลากร น อยลง ความผิ ดพลาดที่ เกิ ดจากมนุ ษย น อ ยลง บุ ค ลากร สามารถไปดําเนินการดานอื่นๆ ไดมากขึ้น 8. ช ว ยประหยั ด ค า ใช จ า ยในระยะยาว เริ่ ม ต น อาจลงทุนสูงแตจะเริ่มคุมทุนมากขึ้นเพราะไดกําลังคนนอยลง บทบาทของเทคโนโลยีการศึกษากับการเรียนการ สอน เทคโนโลยีการศึกษามีบทบาทสําคัญตอการเรียนการ สอนมาก เนื่องจาก 1. เทคโนโลยีการศึกษา สงเสริมการเรียนรูดวย ตนเอง โดยตอบสนองแนวคิดดานจิตวิทยาหลากหลายดาน เชน ความพรอม ความแตกตางระหวางบุคคล การสราง แรงจูงใจในการเรียนรู 2. เทคโนโลยีการศึกษาจะตอบสนองประสิทธิภาพ ของการเรียน มากกวาการสอนที่ยึดครูเปนสําคัญ เชน การให ผูเรียนจากบทเรียนผานเครือขาย ผูเรียนสามารถที่จะเขาถึง ขอมูลที่ลึกซึ้งและไดปริมาณมากกวาครูสอนในชั้นเรียน 3. เทคโนโลยีการศึกษาชวยแกขอจํากัดในกระบวนการ เรียนรูไดหลากหลายเรื่องเชนขอจํากัดดานเวลา ระยะทาง เนื้อหา การเรียนรู หรือขอจํากัดของผูเรียน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 4. เทคโนโลยีการศึกษาทําใหเกิดการแลกเปลี่ยน ทัศนะระหวางครูกับนักเรียนใหเปนไปโดยรวดเร็วและดีกวา ชั้นเรียนที่ไมมีการใชเทคโนโลยีการศึกษาเลย 5. การนําเอาเทคโนโลยีการศึกษามาใชในการ เรี ย นการสอนจะทํ า ให ผู เ รี ย นเกิ ด พั ฒ นาการ ทั้ ง ทางด า น สติปญญา อารมณ สังคม รูจักคิดเปน ทําเปนและแกปญหา ได ตามแนวคิดของการเรียนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ส ว นใหญ จ ะมี บ ทบาทใน ดานสนับสนุนดานการจัดการขอมูล การเก็บขอมูล และการ สืบคนขอมูล มากกวาจะมีบทบาทโดยตรงตอการเรียนการ สอน อยางไรก็ตาม มีการนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเขามา มีสวนรวมกับการจัดการเรียนการสอน ไดแก 1. การเรียนรูแบบออนไลน (Online learning) เปน กระบวนการเรียนรูดวยการนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและ เครือขายมาใชเปนเครื่องมือชวยในกระบวนการจัดการเรียน การสอนซึ่งเปนบทเรียนออนไลน โดยผูเรียนสามารถเขาถึง และเรี ย นรู บ ทเรี ย นต า งๆ ได ด ว ยตนเองผ า นระบบ อินเทอรเน็ต หรืออินทราเน็ต เปนวิธีการเรียนรูดวยตนเอง ผูเรียนจะเรียนตามความสามารถและความสนใจของตนเอง โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบดว ย ขอความ รูปภาพ เสียง วิดีทัศน และสื่อประสมอื่นๆ จะถูกสงไปยังผูเรียนผาน เว็บบราวเซอร (Web Browser) โดยผูเรียน ผูสอน และเพื่อน รวมชั้นเรียนทุกคนสามารถติดตอ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความ คิดเห็นระหวางกันไดเชนเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการติดตอสื่อสารที่ทันสมัย สําหรับทุกคน ที่สามารถเรียนรูไดทุกเวลาและทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and anytime) ซึ่งการใหบริการการ เรียนแบบออนไลนมีองคประกอบที่สําคัญ 4 สวน โดยแตละ สวนจะตองไดรับการออกแบบเปนอยางดี เพราะเมื่อนํามา ประกอบเข า ด ว ยกั น แล ว ระบบทั้ ง หมดจะต อ งทํ า งาน ประสานกันไดอยางลงตัว ดังนี้ 1.1 เนื้อหาของบทเรียน 1.2 ระบบบริหารการเรียน ทําหนาที่เปน ศูนยกลาง กําหนดลําดับของเนื้อหาในบทเรียน เรียกระบบนี้

23

วาระบบการจัดการการเรียน (Learning Management System : LMS) 1.3 การติด ต อ สื่ อ สาร การเรี ยนแบบ elearning นํารูปแบบการติดตอสื่อสาร แบบ 2 ทาง มาใช ประกอบในการเรียน โดยเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสาร อาจแบงไดเปน 2 ประเภท คือ ประเภท Real-time ไดแก Chat (message, voice), White board/Text slide, Realtime Annotations, Interactive poll, Conferencing และ อื่นๆ สวนอีกแบบคือ ประเภท Non real-time ไดแก Webboard, E-mail 2. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction – CAI) บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จะเสนอสารสนเทศที่ไดผานกระบวนการสรางและพิจารณา มาเปนอยางดี โดยมีเนื้อหาวิชาหรือสารสนเทศ แบบฝกหัด การทดสอบ และการให ข อ มู ล ป อ นกลั บ ให ผู เ รี ย นได ตอบสนองตอบทเรียนไดตามระดับความสามารถของตนเอง เนื้อหาวิชาที่นําเสนอจะอยูในรูปมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบดวย อักษร รูปภาพ เสียง และ/หรือ ทั้งภาพและเสียง ซึ่งมีพื้นฐาน มาจากการนําหลักการเบื้องตนทางจิตวิทยาการเรียนรูมาใช ในการออกแบบ โดยอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู (Learning Behavior) ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theory) ทฤษฎีการวางเงื่ อ นไขปฏิ บัติ (Operant Conditioning Theory) ซึ่ ง ถื อ ว า ความสั ม พั น ธ ระหว า งสิ่ ง เร า กั บ การ ตอบสนองและการเสริมแรงเปนสิ่งสําคัญ โดยมีจุดมุงหมาย นําผูเรียนไปสูการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาศัยการ สอนที่มีการกําหนดโปรแกรมไวลวงหนา เปนการใหผูเรียนมี โอกาสเรียนรูไดดวยตนเองและมีผลยอนกลับทันทีและเรียนรู ไปที ล ะขั้ น ตอนอย า งเหมาะสมตามความต อ งการและ ความสามารถของตน 3. วีดิทัศนตามอัธยาศัย (Video on Demand :VoD) การจัดการฐานขอมูลตองอาศัยโปรแกรมที่ทําหนาที่ในการ กําหนดลักษณะขอมูลที่จะเก็บไวในฐานขอมูล อํานวยความ สะดวกในการบันทึกขอมูลลงในฐานขอมูล กําหนดผูที่ไดรับ อนุญาตใหใชฐานขอมูลได พรอมกับกําหนดดวยวาใหใชได แบบใด เชน ใหอานขอมูลไดอยางเดียวหรือใหแกไขขอมูลได ดวย นอกจากนั้นยังอํานวยความสะดวกในการคนหาขอมูล


24

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

การแกไ ขปรับ ปรุ ง ข อ มูล ตลอดจนการจัดทํา ขอ มูลสํา รอง ด ว ย โดยอาศั ย โปรแกรมที่ เ รี ย กว า ระบบการจั ด การ ฐานขอมูล (Database Management System : DBMS) ซึ่ง โปรแกรมที่ไดรับความนิยมในการจัดการฐานขอมูล ไดแก Microsoft Access, Oracle, Informix, dBase, FoxPro, และ Paradox เปนตน 4. หนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-books) หนังสือ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ที่ ส ามารถอ า นได ท างอิ น เทอร เ น็ ต สํ า หรั บ เครื่อ งมือ ที่จําเปน ตอ งมีในการอา นหนัง สือประเภทนี้ก็คือ ฮาร ด แวร ป ระเภทเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ห รื อ อุ ป กรณ อิเล็กทรอนิกส พกพาอื่น ๆ พรอมทั้ง ติดตั้งระบบปฏิบัติการ หรือซอฟตแวรที่ใชอานขอความตางๆ ตัวอยางเชน ออแกไน เซอรแบบพกพา พีดีเอ เปนตน สวนการดึงขอมูล e-books ซึ่ ง จะอยู บ นเว็ บ ไซต ที่ ใ ห บ ริ ก ารทางด า นนี้ ม าอ า นก็ จ ะใช วิ ธี ก ารดาวน โ หลดผ า นทางอิ น เทอร เ น็ ต เป น ส ว นใหญ ลักษณะไฟลของ e-books หากนักเขียนหรือสํานักพิมพ ตองการสราง e-books จะสามารถเลือกไดสี่รูปแบบ คือ Hyper Text Markup Language (HTML), Portable Document Format (PDF), Peanut Markup Language (PML) และ Extensive Markup Language (XML)ปจจุบัน การสร า งหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ทํ า ได ง า ยมากเพราะมี โปรแกรมสําเร็จรูปที่ผลิตออกมามากมาย 5. หองสมุดอิเล็กทรอนิกส (e-library) ในปจจุบัน สังคมไทยเราอยูในยุคขาวสาร ทําใหมีการกระจายขอมูลขาวสารได อยาง อยางนั้นหองสมุดจึงตองเปลี่ยนแปลงระบบการทํางาน ดานตางๆ โดยเฉพาะงานดานบริการจะมีบทบาทที่เดนชัด ความ ตองการของผูใชบริการจึงเปนแรงผลักดันใหหองสมุดเปลี่ยน การใหบริการงานหองสมุดมาเปนระบบอัตโนมัติ เชน 5.1 ระบบที่สามารถใหบริการและตรวจสอบได 5.2 ระบบบริการยืม-คืนทรัพยากรดวยแถบรหัส บารโคด 5.3 ระบบบริการสืบคนขอมูลทรัพยากร 5.4 ระบบตรวจเช็คสถิติการใชบริการหองสมุด 5.5 ระบบตรวจเช็คสถิติการยืม-คืนทรัพยากร 5.6 การสํารวจทรัพยากรประจําป 5.7 การพิมพบารโคดทรัพยากรและสมาชิก

เทคโนโลยีทางการศึกษาถูกนํามาชวยในรูปแบบของ วิธีระบบ (System Approach) แตเทคโนโลยีสารสนเทศถูก นํ า มาใช ใ นการจั ด การระบบสารสนเทศ (information management)ซึ่งประกอบดวยสวนตางๆ 5 สวน ดังนี้ ฮารดแวร (Hardware) ไดแก เครื่อง 1. คอมพิวเตอร อุปกรณจัดเก็บ และตอพวงตางๆ 2. ซอฟตแวร (Software) ไดแก การผสมผสาน ระหว า งโปรแกรมการใช ง านบนเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ทุ ก ประเภทอันจะนําไปสูโปรแกรมการประมวลผลสารสนเทศ ตั้งแตการเขาขอมูลไปถึงการแสดงผลลัพธตามสื่อชนิดตางๆ หมายรวมถึง โปรแกรมที่ ช ว ยใหส ามารถติ ดต อ สื่ อ สารเพื่ อ แลกเปลี่ยนสารสนเทศระหวางกันได 3. ขอมูล (Data) การสื่อสารขอมูลและเครือขาย คอมพิวเตอร (Data Communication and Network Computer) ไดแก ขอมูลที่สามารถติดตอสื่อสาร การเชื่อมตอ เครื อ ข า ยชนิ ด ต า งๆ เพื่ อ ให เ ครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ใ นสถานที่ ตางกันติดตอแลกเปลี่ยนขอมูลและสารสนเทศระหวางกันได 4. บุคลากรทางคอมพิวเตอร (People ware) ไดแก ผูที่มีความรูความสามารถในการใชงานระบบสารสนเทศได 5. กระบวนการทํางาน (Procedures) ไดแก วิธีการจัดเก็บ ขอ มูลลงไฟลแ ละฐานขอมูลอยา งเปน ระบบ สามารถสืบคนและนํามาใชงานไดงาย ถูกตอง และรวดเร็ว จึงพอสรุปไดวา เทคโนโลยีการศึกษากับเทคโนโลยี สารสนเทศจะแตกตางกันตรงที่เทคโนโลยีการศึกษากลาวถึง ฮารดแวร (Hardware) และซอฟตแวร (Software) และ เทคนิค(Technique)เปนเรื่องของสื่อหลายชนิดหลายประเภท แต ท างเทคโนโลยี ส ารสนเทศจะหมายถึ ง อุ ป กรณ ด า น คอมพิวเตอรและสวนประกอบที่เกี่ยวของเทานั้น เนื่องจากศาสตรทั้ง 2 แขนงนี้มีความเกี่ยวพันกัน อยางมาก ผลงานที่ถูกผลิตขึ้นจากนักเทคโนโลยีการศึกษา และนักเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื้อหาสาระและวิธีการแทบจะ แยกแยะไมออกเลยทีเดียววางานชิ้นไหนดีกวาชิ้นไหน แลว อะไรคือสิ่งจะแยกออกวาชิ้นไหนมีคุณคาทางดานการเรียน การสอนมากกวากัน หากมองดานการออกแบบทางเทคนิค วิธีการนําเสนอ นักเทคโนโลยีสารสนเทศอาจไดเปรียบตรงที่มี ความรูความชํานาญในการใชเครื่องมือมากกวา แตถาหาก


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 มองลึกลงไปที่การนําเสนอเนื้อหาใหสอดคลองกับผูเรียนแลว นักเทคโนโลยีการศึกษาเขาใจในเรื่องการออกแบบบทเรียน ไดสอดคลองกวา ดังนั้นสื่อการเรียนการสอนที่สรางโดยนัก เทคโนโลยีการศึกษาและนักเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความ แตกตางกัน คือ 1. นักเทคโนโลยีการศึกษาใหความสําคัญตอ และ ช อ งทางเพื่ อ ให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectively) 2. นักเทคโนโลยีสารสนเทศใหความสําคัญตอ ชองทางเพื่อเกิดใหคุณภาพ (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และประสิทธิผล (Effectively) กับคุณภาพ (Quality) ทั้ง 3 คํานี้มีความแตกตางกัน คําเหลานี้มักใชกับ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ง า น ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ป 2548 ไดใหความหมายไววา ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง ความสัมพันธระหวาง ปริ ม าณทรั พ ยากรที่ ใ ช ไ ปกั บ ปริ ม าณผลผลิ ต ที่ เ กิ ด จาก กระบวนการ กลาวคือ ประสิทธิภาพแสดงถึงความสามารถ ในการผลิตและความคุมค าในการลงทุน สวนประสิทธิผล (Effectively) หมายถึง ความสัมพันธระหวางผลลัพธของการ ทํ า งานกั บ เป า หมายหรื อ วั ต ถุ ป ระสงค ที่ ตั้ ง ไว กล า วคื อ ประสิทธิผลจะแสดงถึงความสามารถในการตอบสนองอยาง รวดเร็วและทันเวลาเพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพ ท า ง ด า น ธุ ร กิ จ ป ระ สิ ท ธิ ภ า พ (Efficiency) หมายถึ ง ข อ มู ล ที่ ใ ช เ กี่ ย วข อ งกั บ กระบวนการทางธุ ร กิ จ รวมทั้ ง มี ก ารส ง มอบข อ มู ล แก ผู ใ ช อ ย า งถู ก ต อ ง ตรงเวลา สม่ําเสมอ (Consistent) และใชประโยชนได (Usable) อีกนัย หนึ่งคือ ความสัมพันธระหวางปจจัยนําเขา (Input) และ ผลลัพธที่ออกมา (Output) เพื่อสรางใหเกิดตนทุนสําหรับ ทรัพยากรต่ําสุด สวนประสิทธิผล (Effectively) หมายถึง การ ใชประโยชนจากทรัพยากรอยางเต็มที่เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูล สารสนเทศหรือความสามารถขององคการในการดําเนินการ ใหบรรลุวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายที่กําหนดเอาไว สรุ ป ประสิ ท ธิ ภ าพ (Efficiency) หมายถึ ง ความสัมพันธระหวางปริมาณทรัพยากรที่นําเขาไปใชในการ ผลิ ต กั บ ปริ ม าณผลผลิ ต ที่ ไ ด อ อกมานั้ น แสดงให เ ห็ น ถึ ง

25

ความสามารถในการผลิต และแสดงถึง ความคุมคา ในการ ลงทุน ประสิทธิผล (Effectively) หมายถึง ความสัมพันธ ระหว า งผลลั พ ธ ข องการทํ า งานกั บ วั ต ถุ ป ระสงค ได แ ก ความสั ม พั น ธ ข องต น ทุ น หรื อ ทรั พ ยากรที่ ใ ช กั บ ผลลั พ ธ ที่ เกิดขึ้น หรือความสัมพันธของผลลัพ ธกับเปาหมายที่ไดตั้ง เอาไวนั่นเอง คุณภาพ (Quality) หมายถึง การวัดผลสัมฤทธิ์ ของงานที่ ไ ด กั บ เกณฑ ม าตรฐานที่ ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ให ผ ลลั พ ธ ที่ ออกมามีประสิทธิผลสูงในระดับที่ตองการโดยไมแตกตางกัน หากพิจารณาหลักการตรวจสอบการดําเนินงานเชิง ระบบ ในทางการศึกษาจะมีการตรวจอยู 4 อยาง ดังนี้ 1. ประสิทธิผล (Effectively) ไดแก ปริมาณ (Quantity) : อัตราการเขาเรียน อัตราการเลื่อนชั้น คุณภาพ (Quality) : ผลการสอบ ผลการเรียน เวลา (Time) : อัตราการออกกลางคัน ตนทุน (Cost) : ตนทุนกิจกรรมตางๆ 2. ประสิทธิภาพ (Efficiency) ไดแก คาใชจายใน โครงการเพื่อสงเสริม พัฒนา และการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน 3. ประหยัด (Economy) ไดแก คาใชจายนั้นมี ความเหมาะสม ไมสิ้นเปลือง 4. ประสิทธิผลตอคาใชจาย ไดแก ความเพียงพอ ในคาใชจาย หากวิเคราะหผลงานที่เกิดจากนักเทคโนโลยีทาง ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ นั ก เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ โ ด ย นํ า สภาพแวดลอมมาพิจารณาตามหลักการของ SWOT ไดดังนี้ 1. จุดแข็ง (Strengths) เทคโนโลยีการศึกษา : เปนการระดมสรรพ ความรูที่มีเหตุผล (พิสูจนได) มาประยุกตใหเปนระบบที่ดี สามารถนําไปใชในสถานการณจริง เพื่อแกไขปญหาใหบรรลุ จุ ด มุ ง หมายหรื อ เป า ประสงค ข องการศึ ก ษาอย า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพที่ สุ ด โดยการใช ท รั พ ยากรอย า งประหยั ด สามารถเลือกใชสื่อและเครื่องมือตางๆ ไดหลายชนิดเพื่อให เหมาะสมกับงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ : เปนการนําเทคโนโลยี คอมพิวเตอรมาใชงานที่เกี่ยวกับการประมวลผลขอมูลเพื่อให ไดเปนสารสนเทศ มีผสมผสานเทคโนโลยีตางๆ เขาดวยกัน


26

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

อยางลงตัว ได แก การนํา เขา การจัดเก็บ การจัด การ การ ปองกัน การสื่อสาร และการคนคืนสารสนเทศ ชวยใหเกิด การทํางานที่มีประสิทธิภาพได 2. จุดออน (Weaknesses) เทคโนโลยีการศึกษา : บทบาทของเทคโนโลยี การศึกษาที่คนสวนใหญเขาใจ จะเนนดาน เทคโนโลยีดาน สื่อ แตจริง ๆแลว เทคโนโลยีการศึกษา นั้นครอบคลุมไปถึง เทคโนโลยีการสอนเทคโนโลยีการสื่อสารและเทคโนโลยีดาน ระบบดวย เทคโนโลยีสารสนเทศ : เทคโนโลยีที่นํามาใช สวนใหญเปนอุปกรณดานคอมพิวเตอร และตองสนับสนุน การทํ า งานตั้ ง แต ก ารนํ า เข า การจั ด เก็ บ การจั ด การ การ ปองกัน การสื่อสาร และการคนคืนสารสนเทศ โดยจะตอง ผสมผสานเทคโนโลยีตางๆ เขาดวยกันอยางลงตัวจึงจะชวย ใหเกิดการทํางานที่มีประสิทธิภาพได 3. โอกาส (Opportunities) เทคโนโลยีการศึกษา : อุปกรณทุกชนิดสามารถ ดัดแปลงนํามาใชงานอยางเหมาะสมกับทุกสถานการณ โดยที่ ผูใชมีความคุนเคยอยูแลวสวนใหญ เทคโนโลยีสารสนเทศ : ผูใชจะตองมีความรู พื้ น ฐานด า นคอมพิ ว เตอร ม าก อ นจึ ง ใช ง านได ดี แ ละเต็ ม ประสิท ธิภ าพ รวมทั้ง อุปกรณจะต องมีการจัดซื้อ เขามาไม สามารถดัดแปลงหรือผลิตเองได 4. ภัยคุกคาม (Threats) เทคโนโลยีการศึกษา : การปลูกฝงคานิยมและ ความคิดใหม เนนใหคิดถึงแตเทคโนโลยีดานเครื่องมือ ทําใหละ ทิ้งบทบาทของเทคโนโลยีดานอื่นไป เทคโนโลยีสารสนเทศ : ความรูความสามารถของ ผูใชงานที่ยังขาดโอกาสและประสบการณในการเรียนรูและนํามาใช งานอยางจริงจัง รวมทั้งแรงสนับสนุน จูงใจ จากผูนําความคิด จะเห็ น ได ว า ไม ว า ประเทศที่ กํ า ลั ง พั ฒ นาหรื อ ประเทศที่เจริญแลว มักจะมีโครงสรางทางด านพฤติกรรม ใกล เคี ยงกัน ตามทฤษฎี ที่ว า ดว ยการยอมรับ สิ่ง ใหมห รือ ที่ เรียกวา นวัตกรรม Everett M. Rogers (Roger,2003)กลาว

วา Good ideas do not sell themselves ความคิดที่ดีไมได หมายความวาจะสามารถขายหรือแพรกระจายตัวมันเองได เช น เดี ย วกั น กั บ เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาหรื อ เทคโนโลยี สารสนเทศ ถึงแมจะทันสมัยแคไหนแตตัวของเทคโนโลยีเอง ก็ไมสามารถที่จะเผยแพรตัวเองออกไปได เพราะระยะเวลาใน การยอมรับนวัตกรรมการศึกษาจะอยูในลักษณะโคงรูปตัว เอส (S Curve) ระยะแรกการแพร ก ระจายนั้ น มี ผู ยอมรั บ น อ ย เมื่ อ ผานไประยะหนึ่งจํานวนจะเพิ่มมากขึ้น และเมื่อถึงขีดสุดแลวจะไมขึ้นสูงอีก ซึ่งอาจจะมีนวัตกรรมอื่น เขามาแทนที่ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยขางตนที่ผูใชงานมักไม ค อ ยยอมรั บ ในช ว งแรก เป น ที่ ท่ี เ กี่ ย วกั บ ระยะเวลาใน กระบวนการยอมรั บ นวั ต กรรม อั น ได แ ก ก า ร ร ับ รู (Knowledge) การจู ง ใจ (Persuasion) การตัดสินใจ (Decision) การใชงาน (Implementation) และการยอมรับ (Confirmation) ในที่สุด การนํ า นวั ต กรรมและเทคโนโลยี ไม ว า จะเป น เทคโนโลยีทางการศึกษา หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชใน การเรียนการสอนจึงตองคํานึงถึงความสําคัญ 3 ประการ คือ 1. ประสิทธิภาพ (Efficiency) ในการเรียนการสอน ตองใหผูเรียนผูสอนไดเรียนและไดสอนเต็มความสามารถ เต็ม หลั กสู ตร เต็ มเวลาด วยความพึ งพอใจเกิด การเรีย นรู ต าม จุด ประสงคเ ต็ม ความสามารถ(Full Energy) และเกิด ความพอใจ (Satisfaction) ในการเรียนรู 2. ประสิทธิผล (Effectively หรือ Productivity) ใน การจัดการเรียนการสอนใหบรรลุจุดประสงคตามที่กําหนด จุดประสงคไวซึ่งนักเรียนเกิดการเรียนรูบรรลุจุดประสงคได ดีกวา สูงกวา ไมใชเทคโนโลยีนั้น 3. ประหยัด (Economy) การใชนวัตกรรมและ เทคโนโลยีเขามาชวยในการจัดการเรียนการสอนตองคํานึงถึง สภาพความเหมาะสมตามฐานะแลว จะตองประหยัด นั่นคือ ประหยัดทั้งเงิน ประหยัดเวลา และประหยัดแรงงาน การที่นักเทคโนโลยีสารสนเทศใหความสําคัญตอ การผลิตสื่อเพื่อการศึกษาโดยเนนทางดานคุณภาพ (Quality) อยา งเดีย วนั้น อาจจะดูไ มเพี ย งพอ ควรใหค วามสํา คัญ กั บ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ประสิทธิภาพ (Efficiency) และประสิทธิผล (Effectively) ซึ่ง เปนองครวมใหญ นอกจากนี้ตองประหยัด (Economy) ไม ลงทุ น สู ง เกิ น ไป หากนั ก เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาและนั ก เทคโนโลยี ส ารสนเทศได ร ว มมื อ กั น ทํ า งาน อาศั ย ความ

27

เชี่ยวชาญแตละดานมาสรางสรรคงานเพื่อพัฒนาการศึกษา ของชาติแ ลว ย อ มดี กวาที่ จะบอกว าใครเกง กวาใคร ทํา ให ยากที่จะตัดสินใจเพราะเกงในการสรางสรรคสิ่งที่ดีงามทั้งคู

บรรณานุกรม เปรื่อง กุมุท.2526. เทคโนโลยีการศึกษา. คํานิยามและความหมาย.เอกสารประกอบการสอน. ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา.มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. พนิดา พานิชกุล. 2548. เทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: เคพีพี คอมพ แอนด คอนซัลท. สาโรช โศภีรักข.2548. เทคโนโลยีการศึกษารวมสมัย. กรุงเทพฯ.ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. 2546. แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549. กรุงเทพฯ: จิรรัชการพิมพ. โอภาส เอี่ยมสิริวงศ. 2547. วิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.. Biagi, Shirley. 2005. Media Impact: An Introduction to Mass Media. 7th, Instructor’s edition. USA: Thomson Wadsworth. Rogers, Everett M. 2003. Diffusion of Innovations. 5rd ed. New York USA: The Free Press. Thomas A. Cover and Joy A.Thomas.1991.Elements of Information Theory. John Wiley & Sons. http://www.riudon.ac.th/~boonpan/1032101/edt01.html. http://www.bcnlp.ac.th/~sophon/techno/edtech-conceptnol.html. http://dusithost.dusit.ac.th/~librarian/itl07/Cl.html. http://www.dai.ed.ac.uk/homes/cam/informatics.shtml. http://www.inf.ed.ac.uk/about/vision.html. http://th.wikipedia.org/. http://www.obec.go.th/news49/05_may/31a/3.pdf. http://www.isaca-bangkok.org/cobit.html. http://edtechno.com/index.php?option=com_content&task=view&id=30&Itemid=3l


28

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

บทบาทสมมติ บทบาททีไ่ มควรมองขาม : กรณีศึกษาการเรียนการสอนกลุมวิชาสังคมศึกษา ROLE PLAY THE ROLE THAT SHOULD NOT BE OVERLOOKED ; A CASE STUDEY IN SOCIAL STUDIES โชตรัศมิ์ จันทนสุคนธ บทคัดยอ บทบาทสมมติ เปนรูปแบบการเรียนการสอนอยางหนึ่ง ที่ชว ยสะทอ นความรู สึกนึกคิดต า ง ๆ ที่อ ยูภ ายในของผูเรีย น ออกมา ทําใหสิ่ง ที่ซอนเรนอยูเปดเผยออกมา และนํามาซึ่ง การศึกษาทําความเขาใจกันได ชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู เกี่ยวกับตนเอง เกิดการเขาใจในตนเอง ในขณะเดียวกัน การ ที่ ผู เ รี ย นสวมบทบาทของผู อื่ น ก็ ส ามารถช ว ยให ผู เ รี ย นเกิ ด ความเขาใจในความคิด คานิยม และพฤติกรรมของผูอื่นได เชนเดียวกัน นํามาซึ่งการปรับเปลี่ยนเจตคติ คานิยม และ พฤติกรรมของตน ใหเปนไปในทางที่เหมาะสม ซึ่งคุณสมบัติ เหลานี้ของบทบาทสมมติสอดคลองกับเนื้อหาวิชาการเรียนการ สอนในกลุ ม วิ ช าสั ง คมศึ ก ษาอยู อ ย า งมากในหลายหั ว ข อ ข อ เนื้อหาวิชา ไมวาจะเปน เนื้อหาการเรียนการสอนที่เกี่ยวกับ คุณธรรม จริยธรรม หนาที่พลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย กฎหมายที่ควรรูในชีวิตประจําวัน บุคคลสําคัญและเหตุการณ สํา คัญ ในประวั ติศาสตร ซึ่งสามารถใชกิจกรรมการเรียนการ สอนแบบแสดงบทบาทสมมติมาชวยสะทอนความรู ความคิด พฤติกรรมการแสดงออกในตัวผูเรียนผานเนื้อหาบทเรียนที่นํามา จั ด แสดงเป น บทบาทสมติ ไ ด เ ป น อย า งดี ยิ่ ง เราจึ ง ไม ค วร มองขามคุณสมบัติและความสําคัญของการสอนดวยวิธีการนี้

อาจารยประจํากลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ไปไดเลยแมวาปจจุบันเราจะมีเทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง การศึกษาที่กาวไกลไปเพียงใดก็ตาม เพราะเรายังเชื่อมั่นวา การเรียนการสอนดวยรูปแบบที่มีมาแลวแตดั้งเดิมอยางเชน บทบาทสมมติ นี้ ก็ ยั ง คงนํ า พาให ผู ส อนให ส ามารถบรรลุ วัตถุประสงคในการสอนที่ดีมีประสิทธิผลได Abstract Role Play is one of the teaching and learning activities that can reflect the learners , thoughts and feelings that may help in syllabus planning. Teaching by role play leads to self learning and understanding. However, while the learners play other people ,s part , they can learn and understand other people ,s thoughts, feelings and behavior as well. In this way, the learners will be able to adapt themselves to an ideal behavior that includes in social studies in several branches like ethics, democratic civic, public law, famous people ,s biography and world events. The learners can learn and analyse the thoughts, attitude and behavior of each character whose role they play during the lesson. Therefore, it is certain that role play must be the part thatcannot be overlooked despite all innovation and technology that are overwhaming the teaching and learning activities because the learners , academic achievement is always satisfactory when learning by role play. บทนํา ทามกลางกระแสโลกาภิวัฒนอันเปนยุคของขาวสาร ขอมูลทําใหโลกถูกยอใหเล็กลงทั้งระยะทางและเวลาดวยการ เชื่ อ มต อ กั น ทางเครื อ ข า ยอิ น เตอร เ น็ ต และมื อ ถื อ รวมไปถึ ง ระบบสารสนเทศตางที่กําลังกาวล้ําทัน สมัยไมเวนแมแตใ น ระบบการศึกษาโดยเกิดเปนนวัตกรรมและการใชเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึ ก ษาที่ ทั น สมั ย มากขึ้ น อย า งการใช โปรแกรมทางคอมพิวเตอรชวยในการผลิตสื่อการสอนหรือใช คนควาศึกษาเพิ่มเติมทั้ง ผูสอนและผูเรีย นและอีกมากมาย ความกาวหนาทางวิทยาการดังกลาวทําใหครูผูสอนตองปรับ

29

กลยุทธทางการสอนและเรียนรูการและการชเครื่องมือที่ เปนสื่ออุปกรณเทคโนโลยีสมัยใหมกันมากขึ้นเพื่อใหทัน ยุคทันเหตุการณซึ่งถือเปนสิ่งที่ดีและควรสงเสริม แตใน ขณะเดียวกันทามกลางกระแสเทคโนโลยีทางการศึกษา ใหมนี้ก็ไมควรละเลยวิธีสอนและรูปแบบการจัดกิจกรรม การเรี ย นการสอนอั น หลากหลายที่ มี ม าแต ดั้ ง เดิ ม ด ว ย เพราะหลายอยางยังคงมีความสําคัญและใชไดผลดีตอ การสรา งใหผูเรียนเกิ ดการเรียนรูไ ดเชน เดีย วกัน กับ สื่อ เทคโนโลยี ส มั ย ใหม ใ นป จ จุ บั โ ดยที่ ผู ส อนสามารถใช เทคโนโลยี ท างการศึ ก ษาสมั ย ใหม ม าช ว ยในการ ผสมผสานปรับปรุงพัฒนาเทคนิคการสอนที่มีมาอยูเดิม ใหดูทันสมัยใชงายและสะดวกรวดเร็วขึ้นไดอีกดวยดังคํา กลาวที่วา ...ไมมีวิธีสอนใดที่ดีที่สุด ครูควรเลือกใชวิธี สอนหลาย ๆ วิธีเพื่อชวยใหผูเรียนบรรลุวัตถุประสงค... ในบรรดารู ป แบบ วิ ธี ส อน และกิ จ กรรมการ เรียนการสอนที่หลากหลายมากมาย ในที่นี้จะขอกลาวถึง เฉพาะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแสดงบทบาท สมมติ (Role Play) ซึ่งแมไมใชรูปแบบวิธีการเรียนการ สอนที่เปน ของใหมใ นยุคนี้ แตก็ไ มอ าจปฏิเ สธไดวาไม สําคัญ ลาสมัยหรือไมเปนที่นิยมในการนํามาใชจัดกิจกรรม การเรียนการสอนแตอยางใด และยังเปนรูปแบบการสอน หนึ่ ง ที่ อ าจจั ด ได ว า เป น ศาสตร ก ารสอนได ศ าสตร ห นึ่ ง เนื่องจากมีวัตถุประสงค องคประกอบ และขั้นตอนของ วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เปนระบบชัดเจน บทความนี้จึงมุงเนนใหผูอานตระหนักถึงความสําคัญของ รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีอยูเดิมอยาง ที่ไมควรมองขามโดยใชรูปแบบกิจกรรมการแสดงบทบาท สมมติ เ ป น กรณี ตั ว อย า งด ว ยการสะท อ นผ า นการนํ า บทบาทสมมติ ไ ปใช ใ นการเรี ย นการสอนของกลุ ม วิ ช า สังคมศึกษา และเพื่อกระตุนใหผูอานโดยเฉพาะผูที่เปน ครูผูสอนไดเกิดความกระตือรือลนความมั่นใจในวิธีสอน แบบนี้หรือแมแตกับวิธีสอนแบบอื่น ๆ ที่จะนํามาปรับใช เพื่อการบรรลุจุดมุงหมายทางการเรียนการสอนตอไป บทบาทสมมติกับความเปนศาสตรการสอน รูป แบบการเรีย นการสอนแบบแสดงบทบาท สมมติมีความเปนมาของหลักการและแนวคิดที่พัฒนาขึ้น


30

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

โดย แซฟเทล และแซฟเทล (Shafftel and Shafftel,1967:6771)โดยเนนไปที่ปฏิสัมพันธทางของบุคคล กลาวคือ บุคคล สามารถเรียนรูเกี่ยวกับตนเองไดจากการปฏิสัมพันธกับผูอื่น ความรูสึกนึกคิดและคานิยมตาง ๆ ของบุคคลลวนเปนผลมา จากการที่บุคคลปะทะสัมพันธกับสิ่งแวดลอมรอบขางและได สั่งสมไวภายในลึก ๆ โดยที่อาจไมรูตัว การสวมบทบาทสมมติ เปนวิธีหนึ่งที่จะชวยใหแตละบุคคลไดแสดงความรูสึกนึกคิด ตาง ๆ ที่อยูภายในออกมา ซึ่งอาจเปนสิ่งที่เก็บซอนอยูภายใน มานานได เ ป ด เผยออกมาช ว ยให เ กิ ด การเรี ย นรู ต นเองเกิ ด ความเขาใจในตนเองในขณะเดียวกันเมื่อไดสวมบทบาทเปน ผู อื่ น ก็ ส ามารถทํ า ให ผู เ รี ย นเกิ ด ความเข า ใจในค า นิ ย ม ความคิด และพฤติกรรมของผูอื่นดวยเชนกัน จากหลักการ และแนวคิ ด ดั ง กล า วข า งต น นํ า มาสู มุ ม มองในแง ค วาม ความหมาย บทบาทสมมติ จึงหมายถึง วิธีการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนที่ผูเรียนสวมบทบาทสมมติในสถานการณ ซึ่ ง มี ค วามใกล เ คี ย งกั บ ความเป น จริ ง หรื อ เลี ย นแบบ สถานการณที่เคยเกิดขึ้นจริงโดยใหผูเรียนไดแสดงออกตาม ความรูสึกนึกคิดของตนเองตามที่ผูเรียนคิดวาควรจะเปน โดย นํ า เอาการแสดงออกของผู แ สดงทั้ ง พฤติ ก รรมการแสดง ความรูสึกนึกคิด มาสรางความเขาใจแกผูเรียน ใชเปนขอมูล ในการอภิปราย เพื่อใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาสาระของบทเรียน อย า งลึ ก ซึ้ ง นํ า มาซึ่ ง การปรั บ หรื อ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมให เหมาะสมขึ้น และในที่สุดเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตาม วัตถุประสงค จุ ด เด น ที่ สํ า คั ญ อย า งหนึ่ ง ของกิ จ กรรมการแสดง บทบาทสมมติ ที่ ไ ม พ บในการแสดงละครหรื อ ในการแสดง รูปแบบอื่น ๆ ก็คือ นอกจากมีผูแสดงที่สวมบทบาทสมมติตาง ๆ แลว มีผูชมที่ไมไดเปนผูชม เพียงอยางเดียว แตผูชมคือผู สังเกตการณสําหรับการอภิปรายผลหลังการแสดงดวยผูชมจึง ไมไดชมเพื่อความสนุกเพลิดเพลินเทานั้น แตมุงใหเกิดการ เรียนรูเปนสําคัญ ผูชมในกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติจึง ตองเปนผูชมที่ชมดวยความสังเกตที่สามารถวิเคระห วิพากษ วิ จ ารณ และให ข อ เสนอแนะได ดั ง นั้ น ผู ส อนควรให คําแนะนําแกนักเรียนที่เปนผูชมวาควรสังเกตอะไรและควร บันทึกขอมูลหรื อสิ่งที่สังเกตไดอยางไร หรือ ถาผูสอนไดทํา แบบสังเกตการณใหนักเรียนที่เปนผูชมไดใชบันทึกการสังเกต

ดวยก็จะดีมาก จึงกลาวไดวากิจกรรมบทบาทสมมติจึง นั บ เป น ศาสตร ก ารสอนได ศ าสตร ห นึ่ ง ที เ ดี ย วบทบาท สมมติตอการกําหนดพฤติกรรมและเจตคติ นอกจากหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับบทบาท สมมติที่มุงเนนทําความเขาใจพฤติกรรมและความรูสึกนึก คิดของบุคคลดังกลาวแลวขางตน การศึกษาพฤติกรรม และคานิยมความรูสึกนึกคิดของผูเรียนนี้ยังถูกสะทอนถึง จากการที่ ค ณะกรรมการการปฏิ รู ป การเรี ย นรู ใ น คณะกรรมการการปฏิรูปการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (คณะกรรมการปฏิรูปการเรียนรู. 2544: 9) ไดจําแนกการ จัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญออกเปน 3 กลุม คือ กลุ ม ที่ เ น น กระบวนการคิ ด กลุ ม ที่ เ น น การมี ส ว มร ว ม และกลุมที่เนนการพัฒนาพฤติกรรมและคานิยม จึงไดมี นั ก การศึ ก ษาบางส ว นจั ด ให ก ารเรี ย นการสอนด ว ย บทบาทสมมติชวยสะทอนขอมูลเกี่ยวกับตัวผูเรียนในดาน การแสดงออกของพฤติกรรม ความรูสึกนึกคิด เจตคติ คานิยม ในงานเขียนอยูบอยครั้ง อาทิ ทัศนะของ ทิศ นา แขมมณี (2546: 34) ในหนังสือที่นําเสนอเกี่ยวกับ รูปแบบการเรียนการสอน ที่กลาววา ผูเรียนจะเกิดความ เข า ใจที่ ลึ ก ซึ้ ง เกี่ ย วกั บ ความรู สึ ก นึ ก คิ ด ความคิ ด เห็ น ค า นิ ย ม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมของผู อื่ น รวมทั้ ง มี ค วาม เขาใจตนเองมากขึ้น และในหนังสือที่วาดวยวิธีสอนถึง 14 วิ ธี (ทิ ศ นา แขมมณี . 2546: 70) โดยกล า วถึ ง บทบาทสมมติไววา การสวมบทบาทเปนผูอื่น ทําใหเขา ในพฤติกรรมและความรูสึกนึกคิดของผูอื่น เปนการเอา ใจเขามาใสใจเรา เกิดการเรียนรูที่ลึกซึ้งเปนวิธีสอนที่ชวย ใหผูเรียนมีความเขาใจและเกิดการเปลี่ยนแปลงเจตคติ และพฤติกรรมของตน ช ว ยพัฒ นาทัก ษะในการเผชิ ญ สถานการณ ตัดสินใจและแกปญหาผูเรียนมีสวนรวมใน การเรียนมาก ผูเรียนไดเรียนรูอยางสนุกสนาน และการ เรียนรูมีค วามหมายสํา หรับ ผูเรี ย นเพราะขอ มูลมาจาก ผูเรียนโดยตรง หรือ ความเห็น ของ บุญ ชม ศรีส ะอาด (2546: 100) ที่จัดใหการแสดงบทบาทสมมติเปนวิธีหนึ่ง ของการจั ด การเรี ย นรู ใ นกลุ ม ผู เ รี ย นที่ เ น น การพั ฒ นา พฤติ ก รรมและค า นิ ย มซึ่ ง เป น หนึ่ ง ในสามกลุ ม ผู เ รี ย น ตามที่คณะกรรมการปฏิรูปการศึกษาไดแบงไวดังกลาว


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 แลวขางตน ยังมีความเห็นของ อาภรณ ใจเที่ยง (2546:136) ที่กลาววา บทบาทสมมติสงเสริมใหบทเรียนนาสนใจ ผอน คลายความเครียด สะทอนใหเห็นถึงความรูสึก อารมณ และ เจตคติของผูเรียนไดดี สรางเสริมความสามัคคี ชวยใหเขาใจ ความรู สึ ก ของผู อื่ น ได ดี ขึ้ น ฝ ก ฝนการแก ป ญ หาและการ ตัดสินใจ เขาใจในสื่งที่เรียนไดลึกซึ้ง ชวยใหผูเรียนเกิดการ ปรั บ หรื อ เปลี่ ย นเจตคติ ห รื อ พฤติ ก รรมรวมทั้ ง ปฏิ บั ติ ต นใน สังคมไดเหมาะสม ในสวนของนักวิชาการและนักการศึกษาตะวันตก ก็ ไ ด ใ ห แ นวคิ ด เกี่ ย วกั บ บทบาทสมมติ ใ นด า นการสะท อ น พฤติกรรม ความรูสึกนึกคิด และคานิยมของบุคคลไวอยาง หลากหลายเชน กัน อาทิ เทเลอร และวอลฟอรด (Tayler and Walford. 1974:19) ใหทัศนะไววา การแสดงบทบาท สมมติเปนการเปดโอกาสใหไ ดสวมบทบาทในสภาพการณ ตาง ๆ เพื่อฝกวาตนควรมีพฤติกรรมแบบใดจึงจะแกปญหาได ดีที่สุดหรือแนวคิดของ ชารัน (Sharan. 1976 ใน พรรณทิพย พื้น ทอง.2534:8) ที่กลา ววา การแสดงบทบาทสมมติเปน กิจกรรมที่มุงสํารวจปญหาสังคม เปนประสบการณการเรียนรู ที่จะชวยพัฒนาความเขาใจ ความรูสึก ความคิด และพฤติกรรมของ บุคคลตาง ๆ ในสภาพการณหนึ่ง ๆ อันจะเปนประโยชนตอ ผู เรี ย นเพราะผูเรี ย นสามารถปฏิบัติต นใหถูกตอ งเหมาะสม ยิ่ง ขึ้ น ในขณะที่ รูบิ น และคนอื่ น ๆ (Rubin and Others.1983:753.) กล า ว า บทบาทสมมติ สํ า คั ญ ต อ พัฒนาการทางความคิดและทางสังคมของเด็ก ใหโอกาสเด็ก เปลี่ยนวัตถุและสถานการณ และเนนทักษะดานกระบวนการ คิด พิจารณาสิ่งของ และสถานการณตาง ๆ หลาย ๆ ดานใน เวลาเดียวกัน และในความเห็นของ โคลัมบัส (Kolumbus.1979 ใน เยาวพา เตชะคุปต. 2528:09-20) ที่วา การเลนสมมติ จะทํา ใหเกิดการเรียนรูสิ่ง ต า ง ๆ คือ โครงสรางสังคม ได มี โอกาสระบายอารมณ ปรับตัวใหเปนที่ยอมรับของกลุม เปดโอกาส ใหเด็กไดคิดและจิตนาการบทบาทสมมติกับเนื้อหาการเรียนรู ในกลุมวิชาสังคมศึกษา กลุมวิชาสังคมศึกษาซึ่งในหลักสูตรปจจุบันเรียกวา กลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีเนื้อหาสาระ ครอบคลุมในทุก ๆ ดาน ไดแก ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร ศาสนา วัฒนธรรม ภูมิปญ  ญา หนาที่พลเมือง

31

และกฎหมาย ซึ่งเนื้อหาเหลานี้มีหลาย ๆ สวนที่เกี่ยวของ ทั้งโดยตรงและโดยออมที่ชวยสะทอนพฤติกรรม คานิยม และความรูสึกนึกคิดในตัวผูเรียน โดยเฉพาะเนื้อหาการ เรีย นในสว นของหลักธรรมทางศาสนา ประวัติศ าสตร ประเพณีวัฒนธรรม หนาที่พลเมือง และกฎหมาย การ สะทอนพฤติกรรมและความรูสึกนึกคิดในตัวผูเรียนผาน การใชกิจกรรมการสอนแบบแสดงบทบาทสมมติในการ สอนกลุมวิชาสังคมศึกษามีปรากฎในผลงานทางวิชาการ ในรู ป ของการศึ ก ษาวิ จั ย ในช ว งสองทศวรรษที่ ผ า นมา โดยประมาณก็ มี อ ยู ไ ม น อ ย ดั ง ได ย กมาเป น ตั ว อย า ง บางสวน ดังนี้ งานคนควาทางวิชาการและงานวิจัยการใชบทบาท สมมติกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุมวิชาสังคมศึกษา ป 2525 สุจิตรา บัวคําภา ไดทําการศึกษา วิจัยการใชและไมใชบทบาทสมมติในการสอนจริยศึกษา ในชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวาการสอนดวยการใชการ แสดงบทบาทสมมติทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรูไดดีกวา การสอนโดยไมใชการแสดงบทบาทสมมติ ป 2528 พรรณสว า ง สุ ว รรณรงค ได ทํา การศึก ษาเปรียบเทียบผลการเรียนรูดา นจริยศึก ษา ของนักเรียนในระดับประถมศึกษาโดยใชสไลดเทปกับ การแสดงบทบาทสมมติ พบวา การเรียนรูดาน จริยศึกษาของนักเรียนที่เรียนโดยแสดงบทบาทสมมติสูง กวาการเรียนโดยวิธีดูสไลด ป 2539 ธนะวรรณ สั ง ข ท อง ได ศึ ก ษา ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าพระพุ ท ธศาสนา เรื่ อ ง อริยสัจ 4 และฆารวาสธรรม 4 ของนักเรียนชั้นประถมปที่ 5 ที่ สอนโดยใช บทบาทสมมติ พบวา นักเรียนที่เรียนดว ย บทบาทสมมติมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวานักเรียนที่ เรียนดวยวีสอนแบบปกติ ป 2541 ศรัทธา เที่ยงเจริญ ไดทําการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนวิช าจริยศึกษาของนักเรี ยนชั้น ประถมศึกษาปที่ 4 โดยวิธีสอนแบบแสดงบทบาทสมมติ พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาจริยศึกษาโดยวิธีสอนแบบ แสดงบทบาทสมมติกอนและหลังเรียนมีความแตกตางกัน


32

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

งานคนควาทางวิชาการและงานวิจัยการใชบทบาท สมมติกับพฤติกรรมและ เจตคติตอการเรียน ป 2529 ดุษฎี ทรัพยปรุง ไดศึกษาผลของการใช บทบาทสมมติเพื่อพัฒนาความรับผิดชอบตอหนาที่การงาน ของนัก เรี ยนชั้ น มัธ ยมศึ ก ษาป ที่ 1 พบว า การสอนโดยใช บทบาทสมมติทําใหนักเรียนมีการพัฒนาความรับผิดชอบตอ หนาที่การงานมากกกวาการสอนแบบปกติ ป 2530 สุวรรณ ตรีขัน ไดศึก ษาผลการใช บ ทบาทสมมติ ที่มี ต อ แรงจูง ใจใฝ สัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 พบวา นักเรียนที่ ไดรับการสอนโดยใชบทบาทสมมติมีความเชื่อมั่นในตนเองสูง กวานักเรียนที่ไดรับการสอนแบบปกติ ป 3531 อัจฉรา เนตรลอมวงศ ไดศึกษาผลของ การใชบทบาทสมมติที่มีตอความเชื่อมั่นตนเอง ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 พบวา นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใช บทบาทสมมติมีความเชื่อมั่นในตนเองสูงกวานักเรียนที่ไดรับ การสอนแบบปกติ ป 2532 ธิดารัตน ศรีสวัสดิ์ ไดศึกษาผลการใช บทบาทสมมติที่มีตอเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความสามัคคี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 พบวา นักเรียนที่เรียนโดย วิ ธี แ สดงบทบาทสมมติ มี เ หตุ ผ ลเชิ ง จริ ย ธรรมด า นความ สามัคคีสูงกวานักเรียนที่เรียนตามปกติ ป 2536 บุ ญ ตา ยิ้ ม นอ ย ได ศึ ก ษาผลการใช บทบาทสมมติ ที่ มี ต อ ความนิ ย มไทยของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6 พบว า นั ก เรี ย นที่ ไ ด รั บ การใช บ ทบาท สมมติมีความนิยมไทยสูงขึ้นกวานักเรียนที่ไดรับการสอนแบบ ปกติ ป 2537 รุ ง รั ต น ไกรทอง ได ศึ ก ษาผลการใช บทบาทสมมติ ที่ มีต อ การใช เ หตุ ผ ลเชิง จริ ย ธรรมด า นความ เอื้อเฟอของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวา บทบาท สมมติทําใหนักเรียนมีการใชเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความ เอื้อเฟอสูงขึ้น ป 2541 พจนันท ไวทยานนท ไดศึกษาผลการใช บทบาทสมมติ ที่ มี ต อ ความคิ ด สร า งสรรค ข องนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปที่ 6 พบวานักเรียนที่ไดรับการใชบทบาทสมมติ มี ค วามคิ ด สร า งสรรค ม ากกว า นั ก เรี ย นที่ ไ มไม ไ ด รั บ การใช บทบาทสมมติ

ป 2542 วิไล พังสะอาด ไดทําการศึกษา เปรี ย บเที ย บผลของการใช แ ม แ บบกั บ การใช บ ทบาท สมมติที่มีตอพฤติกรรมการกลาแสดงออกของนักเรียนชั้น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 พบว า นั ก เรี ย นมี พ ฤติ ก รรมกล า แสดงออกมากขึ้นหลังจากไดรับการใชบทบาทสมมติ สํ า หรั บ การนํ า บทบาทสมมติ ม าใช ใ นการ เรี ย นการสอนในต า งประเทศ ส ว นใหญ มุ ง ไปเพื่ อ การศึกษาพฤติกรรมและทัศนคติในตัวผูเรียน ดังตัวอยาง บางสวน ดังนี้ ป 1976 ชูดท (Shoudt) ไดใชบทบาทสมมติ ในการฝกทักษะปฏิสัมพันธทางสังคมเพื่อเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของนักเรียนอนุบาล พบวานักเรียนที่ไดรับการ ฝกโดยใชบทบาทสมมติมีนิสัยเอื้อเฟอมากขึ้นกวากลุมที่ ไมไดรับการฝก และในปเดียวกันนี้ เลเซอร (Layser) ได ศึกษาโดยใชการแสดงบทบาทสมมติกับนักเรียนที่สังคม มิติตํ่าในโรงเรียนประถมศึกษา 2 แหง พบวาการแสดง บทบาทสมมติในการเรียนการสอนสามารถชวยเด็กที่มี สังคมมิติต่ํา ป 1977 โคโนเลย (Coloney) ไดศึกษาผล ของการใช บ ทบาทสมมติ ใ นการเรี ย นการสอนระดั บ ประถมศึ ก ษา พบว า การนํ า บทบาทสมมติ ม าเป น องค ป ระกอบในการเรี ย นการสอน มี ผ ลต อ การ เปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมของนั ก เรี ย น ทํ า ให นั ก เรี ย นมี สังคมมิติที่ดีขึ้น และเปลี่ยนแปลงจากการยึดตนเองเปน ศูนยกลางมากขึ้น ป 1978 วากเนอร (Wanger) ไดทดลองใช การแสดงบทบาทสมมติ โดยให นั ก เรี ย นอายุ 8-9 ป แสดงบทบาทสมมติเปนชาวอินเดียแดงที่ถูกรุกรานแยงที่ อยูอาศัย พบวานักเรียนเกิดความรูสึกสงสารและเห็นใจ ชาวอินเดียนแดงมากขึ้น จะเห็น ไดว า จากงานศึ กษาวิจั ย ดว ยการใช บทบาทสมมติในการเรียนการสอนที่ผานมาแลวบางสวน ทั้งหมดขางตน แสดงใหเห็นถึงศักยภาพหรือคุณสมบัติ ดานดีของกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแสดงบทบาท สมมติที่สามารถนํามาใชใหเปนประโยชนตอการเรียนการ สอน เพื่อการบรรลุวัตถุประสงคของการสอนที่คาดหวัง


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ได ต อ ไป ทั้ ง ยั ง ช ว ยสร า งบรรยากาศการเรี ย นการสอนที่ น า สนใจ น า ติ ด ตามได อี ก ด ว ยโดยเฉพาะการปรั บ เปลี่ ย น พฤติ ก รรมและสรรสร า งเจตคติ ใ นตั ว ผู เ รี ย นไปในทิ ศ ทางที่ เหมาะสมหรืออยางที่ควรจะเปน ซึ่งใชไดกับการเรียนการสอน ในอี ก หลายสาขาวิ ช าไม เ ฉพาะแตใ นกลุม วิ ช าสั ง คมศึ ก ษา เทานั้น อยางไรก็ตาม การนําวิธีการแสดงบทบาทสมมติมา ใชในการเรียนการสอน ครูผูสอนควรมีขอควรคํานึงถึง อาทิ ครูผูสอนควรใหคําแนะนํา ดูแลการจัดเตรียมสถานที่ การ จัด สรรเวลาในการทํ า กิจ กรรมบทบาทสมมติข องผู เรีย นให เหมาะสม อย า ใช เ วลาเกิ น กํ า หนด หากจั ด กิ จ กรรมนี้ ใ น หองเรียนครูควรดูแลความเปนระเบียบเรียบรอยภายหลังเสร็จ สิ้นกิจกรรม เพื่อมิใหสงผลกระทบตอวิชาอื่น ๆ ในคาบเรียน ตอไป ครูควรสังเกตพฤติกรรมบทบาทสมมติของผูเรียนแตละ คนในระหวางปฏิ บัติกิจกรรมไมวาจะเปนพฤติกรรมการแสดง พฤติ ก รรมการเป น ผู สั ง เกตการณ การแสดงความคิ ด เห็ น และการทํ า ใบงาน เพื่ อ ใชเ ปน แนวทางในการสง เสริมหรื อ แก ไขพฤติกรรมที่ควรปรับปรุงในตัว ผูเรี ยน หรือใหผูเรียนมี พฤติกรรมตามจุดประสงคที่ตองการปลูกฝง ซึ่งครูอาจกระตุน ดว ยการใหก ารเสริม แรงในลัก ษณะตา ง ๆ และควรให ผูเรียนทุกคนไดมีสวนรวมในกิจกรรมนี้อยางทั่วถึงใหมากที่สุด

33

บทสรุป ยังมีวิธีสอนหรือวิธีการจัดการเรียนการสอนที่ มีมาแตเดิมและเปนที่รูจักกันดีมากมายที่ควรไดรับการใส ใจโดยไมถูกละเลยหรือมองขาม โดยควรตองเล็งเห็นถึง ความสํ า คั ญ และถู ก นํ า มาใช ใ นการเรี ย นการสอนกั บ เนื้อหาวิชาในกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ ใหมากขึ้นโดย ผสมผสานกั บ เทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ ทั น สมั ย ใหม ใ น ป จ จุ บั น เพื่ อ ให ทั้ ง ผู ส อนและผู เ รี ย นบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค ทางการเรี ย นการสอนที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพได ต อ ไป กรณีศึกษาการใชบทบาทสมมติในกลุมวิชาสังคมศึกษานี้ จะเปนตัวอยางที่ชวยสะทอนตัวผูเรียน และชวยใหผูสอน ตลอดจนผูอานที่สนใจมีความเชื่อมั่นในคุณคาของการ จัดการเรียนการสอนแบบนี้ห รือ กับ รูปแบบการสอนอื่น มากยิ่งขึ้นโดยที่ไมคิดวาตัวเราลาสมัยหรือไมมีวิธีแปลก ใหมแตอยางไรในทามกลางกระแสความนิยมเทคโนโลยี ทางการศึกษาแบบใหม ๆ ในปจจุบัน


34

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 บรรณานุกรม

คณะกรรมการปฏิรูปการเรียนรู. (2544). การสังเคราะหงานวิจยั เกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนรูที่ เนนผูเ รียนเปนสําคัญ. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ดุษฎี ทรัพยปรุง. (2529). ผลการใชบทบาทสมมติเพื่อพัฒนาความรับผิดชอบตอหนาที่การงานของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1โรงเรียนวัดรางบัว กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. ทิศนา แขมมณี. (2546). รูปแบบการเรียนการสอน ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: ดานสุทธาการพิมพ. ____________. (2546). 14 วิธีสอน สําหรับครูมืออาชีพ กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ธนะวรรณ สังขทอง. (2539). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพระพุทธศาสนาเรื่องอริยสัจ 4 และ ฆารวาสธรรม 4 ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 5 ที่สอนโดยใชบทบาทสมมติ. ปริญญานิพนธ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ธิดารัตน ศรีสวัสดิ์. (2532). ผลของบทบาทสมมติที่มีตอเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความสามัคคีของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนนารีนุกูล จังหวัดอุบลราชธานี. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. บุญตา ยิ้มนอย. (2536). ผลของการใชบทบาทสมมติที่มีตอความนิยมไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 6 โรงเรียนคายธนะรัชต อําเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การวิจัยสําหรับครู. กรุงเทพฯ : สุวิริยสาสน. พจนันท ไวทยานนท. (2541). ผลของการใชบทบาทสมมติที่มีตอความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดสุวรรณารัญญิกาวาส จังหวัดชลบุรี. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. พรรณทิพย พื้นทอง. (2534). การเปรียบเทียบการใชบทบาทสมมติแบบมีบทและไมมีบทที่มีตอวินัย ในตนเองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี 2534. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. พรรณสวาง สุวรรณรงค. (2528). การศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรูด านจริยศึกษาของนักเรียน ในระดับประถมศึกษาโดยใชสไลดเทปกับการแสดงบทบาทสมมติ. ปริญญานิพนธ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. เยาวพา เตชะคุปต. (2528). กิจกรรมสําหรับเด็กกอนวัยเรียน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. รุงรัตน ไกรทอง. (2537). ผลของการใชบทบาทสมมติที่มีตอการใหเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความเอื้อเฟอของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดชองนนทรี กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ศรัทธา เที่ยงเจริญ. (2541). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาจริยศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 โดยวิธีสอนแบบแสดงบทบาทสมมติ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 วิไล พังสะอาด. (2542). การเปรียบเทียบผลของการใชบทบาทสมมติและการใชแมแบบที่มีตอพฤติกรรม กลาแสดงออกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนวัดตะเคียนวิทยาคม อําเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี. ปริญญานิพนธ กศ. ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ ประสานมิตร. สุจิตรา บัวคําภา. (2525). การศึกษาผลการสอนจริยศึกษาดวยการใชและไมใชการแสดงบทบาทสมมติ ในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. สุวรรณ ตรีขัน. (2530). ผลของการใชบทบาทสมมติที่มีตอแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนมุกดาหาร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อัดสําเนา. อัจฉรา เนตรลอมวงศ. (2531). ผลของการใชบทบาทสมมติที่มีตอความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนนนทรีวิทยา กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร อัดสําเนา. อาภรณ ใจเที่ยง. (2546). หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: โอ เอส. พริ้นติ้ง เฮาส. Conoley. (1977, February). “ The Effects of Interdependent Learning Task and Role Play on Sociometric Patterns, Work Norn Measures and Behavior in the Elementary Classroom”, Dissertation Internation. 37 : 4977 – A. Rubin , K.H. , Fein, G.G. and Vandenberg, B. (1983). Hand book of Child Psychology (Volume IV). New York : John Wiley. Shaftel , F & Shaftel G. (1967). Role playing for social values : Decision making in the social studies. Englewood Cliffs , N. J. : Prentice – Hall. Soudt John Thomas. (1976, November). “The Effect of Role – Taking Skills on The Effcacy of Role Playing Training With Kindergarten Children”, Dissertation Abstracts International. 37 : 2754 – A. Tayler , John L. and Rex Walford. (1974). Simulation in the Classroom. Middlesex, Marmonsworth : Pengnin. Wagner, Betty Jone. (1978, March). “ The Use of Role”, Resources in Education. (REIC). 13 : 56.

35


36

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ความพึง พอใจตอ การใชบ ทเรีย นคอมพิว เตอร ชวยสอน ประกอบการเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน THE SATISFACTION IN USING CAI FOR STUDYING BASIC MATHEMATICS SUBJECT ผูชวยศาสตราจารย ดร. อังสนา จั่นแดง 1 ผูชวยศาสตราจารย คเณศวร วรรณโชติ 2 บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนและความพึงพอใจตอการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน(แคลคูลัส 2) เรื่อง ฟงกชันหลายตัว แปร อนุพันธยอย และการประยุกต กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษา ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาแคลคูลัส 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2547 ของมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ รี จํานวน 159 คน ไดจากการสุมอยางงาย จากการประเมิ น วั ด ผลสั ม ฤทธิ ์ ท างการเรี ย นและการตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจตอการใชบทเรียน พบวา นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นก อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย นแตกต า งกั น อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักศึกษามีความพึงพอใจตอ การใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประกอบการเรียนอยูใน ระดับดี แตระดับความพึงพอใจตอการใชบทเรียนมี สหสัมพันธทางลบกับผลสัมฤทธิ์หลังเรียน อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05

คําสําคัญ คอมพิวเตอรชวยสอน , คณิตศาสตรพื้นฐาน , ความพึงพอใจ

อาจารยประจําภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 2 อาจารยประจําภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

1


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 Abstract The objective of this research is to study the learning achievement and the satisfaction of the Computer-Aid –Instruction (CAI) in basic-mathematics lessons (Calculus-II) about functions of several variables, partial derivatives and its applications. Sample group used is the students who registered the Calculus-II in the second semester of the academic year 2004 at King Mongkut’s University of Technology Thonburi. One hundred and fifty-nine students were collected by simple random sampling. From evaluating the learning achievement and the questionnaire answering about the satisfaction of the lessons, it was found that the learning achievement of the students in studying from doing pre-test and post-test are different with the statistical significant .05. The satisfaction to the lessons was in good rank. But there was significantly negative correlation between the satisfaction in using CAI for studying and the afterclass learning achievement with the statistical significant .05. ความเปนมาของปญหาการวิจัย ในปจจุบันความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ มีสวนชวยทําใหเกิดการพัฒนาการเรียนรูวิทยาการตางๆ คือ ใชเปนแหลงสะสม รวบรวมและเผยแพรความรูทางวิชาการ ใหกับผูที่สนใจแสวงหาความรู สามารถเรียนรูเพิ่มเติมดวย ตนเองได อ ย า งต อ เนื่ อ งและเต็ ม ตามศั ก ยภาพแห ง ตน คณิตศาสตรเปนศาสตรสาขาหนึ่งที่มีความสําคัญและจําเปน อย า งยิ่ ง ในการศึ ก ษาทุ ก ระดั บ ชั้ น แต ก ารเรี ย นการสอน คณิตศาสตรในปจจุบันยังประสพปญหาอยูหลายประการ ตั ว อย า งเช น การจั ด กลุ ม เรี ย นเป น กลุ ม ขนาดใหญ ทํ า ให นักศึกษาตองประสพปญหาจากสภาพแวดลอมของการเรียน ผูเรียนขาดการสื่อสารโตตอบกับผูสอน ผูเรียนไมอาจติดตาม การเรียนไดอยางตอเนื่อง ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการพัฒนา ระบบการเรี ย นการสอนให ดี ขึ้ น มี ง านวิ จั ย จํ า นวนมากที่ ศึก ษาหาแนวทางเพื่ อ นํ า ไปใช ช ว ยให ก ารเรี ย นการสอนมี

37

ประสิทธิภาพมากขึ้นกลาววาการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอนเปนแนวทางหนึ่งที่ชวยแกปญหานี้ได เพราะบทเรียน คอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนทํ า ให นั ก ศึ ก ษามี โ อกาสได ท บทวน เพิ่มเติมนอกเวลาเรียนปกติดวยตัวเอง นอกจากนี้บทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนมีทั้งขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงและยังมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนได จึงเปนสิ่งที่สามารถ พัฒนากระบวนการคิดของผูเรียนควบคูไปไดดวย ปจจุบันทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี ไดมีการสนับสนุนใหหลายหนวยงานจัดทําสื่อการเรียน การสอนขึ้น มา ดังเชน ศูนยวิท ยบริการ สถาบัน การเรียนรู แห ง มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ รี ไ ด ดําเนินการผลิตสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนรูปแบบตางออกมา เป น จํ า นวนมากดั ง นั้ น เพื่ อ ให มี ก ารพั ฒ นาการผลิ ต สื่ อ คอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนดํ า เนิ น ไปในแนวทางที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น คณะผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะจัดทําการวิจัยวิเคราะหขอมูล เพื่ อ ทราบถึ ง ความพึ ง พอใจของนั ก ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ รี ที่ มี ต อ การใช บ ทเรี ย น คอมพิวเตอรชวยสอนดังกลาววามีประโยชนตอผูเรียนหรือไม อยางไร วัตถุประสงคของการวิจัย 1. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาแคลคูลัส 2 เรื่อง ฟงกชันหลายตัวแปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน 2. ศึ ก ษาความพึ ง พอใจต อ การใช บ ทเรี ย น คอมพิวเตอรชวยสอนวิชาแคลคูลัส 2 เรื่อง ฟงกชันหลายตัว แปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน ขอบเขตของการวิจัย -ประชากร คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชา แคลคูลัส 2 ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2547 ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี -กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษา จํานวน 159 คน ที่ไดมาจากการสุมอยางงาย จากนักศึกษาประมาณ 500 คน ที่เรียนในหองเรียนใหญ โดยมีผูวิจัยเปนผูสอน -ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน ( ตัวแปรอิสระ ) ไดแก - เพศ


38

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

- สื่อบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชา แคลคูลัส 2 เรื่อง ฟงกชันหลายตัวแปร อนุพันธยอย และ การประยุกตเบื้องตน แบงเปน 2 ประเภท ไดแก บทเรียน และเฉลยขอสอบ ตัวแปรตาม ไดแก - ระดับความพึงพอใจตอการใชบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน วิชาแคลคูลัส 2 เรื่อง ฟงกชันหลาย ตัวแปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาแคลคูลัส 2 เรื่อง ฟ ง ก ชั น ห ล า ย ตั ว แ ป ร อ นุ พั น ธ ย อ ย แ ล ะ ก า ร ประยุกตเบื้องตน สมมติฐาน 1. นั ก ศึ ก ษามี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น วิ ช า แคลคูลัส 2 เรื่อง ฟงกชันหลายตัวแปร อนุพันธยอยและ การประยุก ตเบื้อ งตน หลั ง เรีย นสูง กวา ก อ นเรี ยน อยา งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. นั ก ศึ ก ษาเพศชายและเพศหญิ ง มี ผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิ ชาแคลคู ลั ส 2 เรื่ อง ฟ ง ก ชั น หลายตั ว แปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน หลังเรียนอยูในระดับ เดียวกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. นักศึกษามีความพึงพอใจตอการใชบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนวิชาแคลคูลัส 2 เรื่อง ฟงกชันหลายตัว แปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน อยูในระดับดี การเก็บรวบรวมขอมูล ในการเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อใหการเก็บรวบรวม ขอ มู ล เป น ไปอย า งถูก ต อ ง ผูวิ จั ย ไดทํ า การเก็ บ รวบรวม ขอมูลดวยตนเอง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอ มูลดว ยแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาแคลคูลัส 2 เรื่อง ฟงกชันหลาย ตัวแปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน มีลักษณะ

เปนแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 33 ขอ ผูวิจัยใหกลุม ตัวอยางทําแบบทดสอบกอนเรียน แลวมอบหมายงานใหไป ศึ ก ษ า เ นื้ อ ห า จ า ก บ ท เ รี ย น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ช ว ย ส อ น ประกอบดวย บทเรียนและเฉลยขอสอบ ซึ่งนักศึกษาสามารถ เลื อ กใช ศึ ก ษาเองได โดยมี ศู น ย วิ ท ยบริ ก ารเป น เครื อ ข า ย กําหนดระยะเวลา 1 สัปดาห แลวใหทําแบบทดสอบหลังเรียน จากนั้นผูวิจัยนํากระดาษคําตอบจากการทดสอบดังกลาวมา ตรวจใหคะแนนแลวทําการบันทึกผล เพื่อนําผลคะแนนไป วิเคราะหตอไป 2. ขอมูลจากการทําแบบสอบถามความพึงพอใจ ตอการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประกอบการเรียน วิชาแคลคูลัส 2 เรื่อง ฟง กชันหลายตัวแปร อนุ พันธยอ ย และการประยุกตเบื้องตน ประกอบดวย ดานรูปแบบการ นําเสนอและดานเทคนิคทางโปรแกรม มีลักษณะเปนแบบ มาตรวัดประเมินคา 5 ระดับ จํานวน 19 ขอ โดยทําการ เก็บรวบรวมขอมูลหลังจากที่มีการทําแบบทดสอบหลังเรียน เสร็จสิ้น จากนั้นผูวิจัยนําชุดแบบสอบถามมาบันทึกผล เพื่อ นํามาวิเคราะหตอไป สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คาสถิติพื้นฐาน ประกอบดวย คาเฉลี่ย คาสวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน คาเฉลี่ยรอยละ การวิเคราะหหาคา ความเชื่ อ มั่ น ของแบบทดสอบใช สู ต รคู เ ดอร ริ ช าร ด สั น 20 (KR-20) การวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่น(Reliability) โดยใช สั ม ประสิ ท ธิ์ อั ล ฟาของครอนบาค(Cronbrach’s Alpha coefficient) แบบสอบถามที่ ดี ค วรมี ค า ความเชื่ อ มั่ น อยู ใ น เกณฑระหวาง 0.80-1.00 การวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียร สัน (Pearson product-moment correlation) ควรมีคาอยู ระหวาง -1.00-1.00


39

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ขอมูลทั่วไปที่ใชในการวิจัย รายการ

จํานวน(คน)

รอยละ

ชาย

97

61.00

หญิง

62

39.00

รวม

159

100

17

3

1.89

18

68

42.76

19

83

52.20

20

3

1.89

22

2

1.26

รวม

159

100

เฉลยขอสอบ

48

30.19

บทเรียน

71

44.65

เฉลยขอสอบและบทเรียน

40

25.16

รวม

159

100

ตัวแปร เพศ

อายุ

สื่อการเรียนที่ตองการดู

นักศึกษาที่เปนกลุมตัวอยางโดยสวนมากเปนเพศชาย จํานวน 97 คน คิดเปนรอยละ 61.00 และอายุ 19 ป และสื่อการเรียนที่ตองการดูมากที่สุด คือ บทเรียน คิดเปนรอยละ 44.65 ผลการวิจัย 1. แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาทีของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

X

S.D.

กอนการเรียน

6.52

3.30

หลังการเรียน

22.39

2.42

นั ก ศึ ก ษามี ค ะแนนเฉลี่ ย ของผลสั ม ฤทธิ์ ท างการ เรียนกอนเรียน วิชาแคลคูลัส 2 เรื่อง ฟงกชันหลายตัวแปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน อยูในระดับต่ํามาก คือ มีความรูไมผานเกณฑ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน อยูในระดับปานกลาง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

t -44.192

หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานขอ 1 ที่ไดตั้งไว แสดงให เห็ น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนที่ ผูวิจัยสรางขึ้น หมายเหตุ คะแนนเต็ ม ของแบบทดสอบวั ด ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนเทากับ 33 คะแนน


40

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

2. แสดงจํ า นวน(คน) ค า เฉลี่ย ส ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน คา ทีข องผลสั ม ฤทธิ์ห ลั ง เรี ยนวิช าแคลคู ลั ส 2 เรื่ อ ง ฟงกชันหลายตัวแปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน ระหวางเพศ เพศ

N

X

S.D.

ชาย

97

22.14

2.50

หญิง

62

22.79

2.27

นักศึกษาเพศชาย จํานวน 97 คน และนักศึกษา เพศหญิง จํานวน 62 คน มีคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียน อยูในระดับปานกลาง คือ มีความรู ปานกลาง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของเพศชาย และเพศหญิ ง ไม แ ตกต า งกั น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานขอ 1

t -1.646

หมายเหตุ ผูวิจัยกําหนดระดับคะแนนความรูของ นักศึกษา ดังนี้ แนน ระดับความรู 26.00 - 33 ดีมาก 23.00 - 25.99 ดี 20.00 - 22.99 ปานกลาง 17.00 - 19.99 ผานเกณฑ 0 - 16.99 ไมผานเกณฑ

3. แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความพึงพอใจของแบบสอบถามความพึงพอใจตอการใชบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนวิชาแคลคูลัส 2 เรื่อง ฟงกชันหลายตัวแปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน เปนรายขอ

X

ระดับความพึง พอใจ

ทานคิดวาสื่อการเรียนการสอนมีความจําเปนตอผูเรียน

4.12

ดี

กอนใชสื่อทานมีความรู ความเขาใจในบทเรียน

3.47

ดี

การจัดลําดับความสัมพันธของเนื้อหาของสื่อมีความเหมาะสม

3.43

ดี

เนื้อหาสาระของสื่อมีความชัดเจนและเหมาะสม

3.39

ปานกลาง

ทานคิดวาสื่อแสดงความยากงายของเนื้อหาเหมาะสม

3.29

ปานกลาง

สื่อไดกระตุนใหทานมีความเขาใจในการเรียนรู

3.26

ปานกลาง

สื่อเสริมสรางความเขาใจใหกับทาน

3.36

ปานกลาง

ความรูที่ทานไดรับจากการใชสื่อสามารถนําไปใชประโยชนในการศึกษา

3.40

ปานกลาง

ทานสามารถเรียนรูจากสื่อไดดวยตนเอง

3.34

ปานกลาง

สื่อกระตุนใหทานตองการศึกษาคนควาเพิ่มเติม

3.43

ดี

หลังใชสื่อทานมีความรู ความเขาใจในบทเรียนเพิ่มขึ้น

3.52

ดี

ขอคําถาม ดานรูปแบบการนําเสนอ

ดานเทคนิคทางโปรแกรม


41

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 รูปแบบการจัดวางรูปและขอความมีความเหมาะสม

3.50

ดี

รูปภาพที่ใชประกอบมีความเหมาะสม

3.53

ดี

การโตตอบแบบเติมคํา(Text Entry) ของการใชสื่อมีความเหมาะสม

3.41

ดี

การโตตอบแบบการนําเมาสไปวาง(Cursor in Area)ของการใชสื่อมีความเหมาะสม การโตตอบแบบการลากขอความมาเติมในชอง(Drag Drop) ของ การใชสื่อมีความเหมาะสม การโตตอบแบบคลิกขอความ (Hotspot) ของการใชสื่อมีความเหมาะสม

3.42

ดี

3.44

ดี

3.54

ดี

3.50

ดี

3.32

ปานกลาง

3.46

ดี

รูปแบบของสีที่ใชรวมกับสื่อมีความเหมาะสม เสียงที่ใชประกอบสื่อมีความเหมาะสมกับบทเรียนนั้น ๆ รวม นั กศึ กษามี ระดั บความพึ งพอใจต อการใช บทเรี ยน คอมพิ วเตอรชวยสอนประกอบการเรียนวิ ชาแคลคูลั ส 2 เรื่อง ฟงกชันหลายตัวแปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน โดยเฉลี่ยอยูในระดับ “ดี” ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานขอ 3 ที่ไดตั้งไว เมื่อพิจารณาดานรูปแบบการนําเสนอ พบวาสื่อ การเรียนการสอนมีความจําเปนตอผูเรียนและหลังการใชสื่อ ทําใหนักศึกษามีความเขาใจในบทเรียนมากขึ้นอยูในระดับ “ดี” เพราะมีสวนชวยกระตุนใหเกิดการเรียนรูและแสดงให เห็นถึงความยากงายของเนื้อหาไดอยางเหมาะสม สําหรับ ดานเทคนิคทางโปรแกรม นักศึกษามีความพึงพอใจตอการ โตตอบแบบคลิกขอความ (Hotspot) และรูปภาพที่ใช ประกอบอยูในระดับ “ดี”

หมายเหตุ เกณฑตัดสินคาระดับความพึงพอใจ ไดใชเกณฑ ที่ ศิริชัย (2544) กําหนดไว ดังนี้ พิจารณาจากคาคะแนน ซึ่งมีผลตางของคะแนน เทากับ 4 และ แบงผลตางของคะแนนนี้ออกเปน 5 ชวงเทา ๆ กัน แตละชวงมีความกวางเทากับ 0.8 1.00-1.80 หมายถึง ควรปรับปรุง, ระดับความพึง พอใจนอยมาก 1.81-2.60 หมายถึง นอย, ระดับความพึงพอใจนอย 2.61-3.40 หมายถึง พอใช, ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง 3.41-4.20 หมายถึง ดี, ระดับความพึงพอใจดี 4.21 - 5.00 หมายถึง ดีมาก, ระดับความพึงพอใจดีมาก

4. แสดงจํานวน(คน) คาเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจของแบบสอบถามความพึงพอใจตอการใชบทเรียน คอมพิวเตอร ชวยสอนวิชาแคลคูลัส 2 เรื่อง ฟงกชันหลายตัวแปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน โดยจําแนกตามเพศ ระดับความพึง S.D. t เพศ N X พอใจ

ชาย หญิง

97 62

3.51 3.37

0.51 0.49

ดี

1.816

ปานกลาง

นักศึกษาเพศชาย จํานวน 97 คน มีระดับความพึงพอใจตอการใชบทเรียน อยูในระดับ “ดี” แตนักศึกษาหญิง จํานวน 62 คน มีระดับความพึงพอใจตอการใชบทเรียน อยูในระดับ “ปานกลาง”


42

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

5. แสดงความสัมพันธระหวางระดับความพึงพอใจและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน ดวยคาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ (correlation coefficient) ของ Pearson

ตัวแปร ระดับความพึงพอใจ ผลสัมฤทธิ์หลังเรียน

ระดับความพึงพอใจ 1.00

นักศึกษามีระดับความพึงพอใจตอการใชบทเรียน คอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนประกอบการเรี ย นวิ ช าแคลคู ลั ส 2 เรื่อง ฟง กชันหลายตัวแปร อนุพั น ธย อยและการประยุกต เบื้องตน มีสหสัมพันธทางลบกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน และมีขนาดความสัมพันธ -0.183 ซึ่งเปน ความสัมพันธในระดับต่ํา สรุปผลการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทํา แบบทดสอบก อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย นแตกต า งกั น อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักศึกษามีความพึงพอใจตอการใชบทเรียน คอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนประกอบการเรี ย นวิ ช าแคลคู ลั ส 2 เรื่อง ฟง กชันหลายตัวแปร อนุพัน ธยอยและการประยุกต เบื้องตน โดยเฉลี่ยอยูในระดับดี 3. ระดับความพึงพอใจตอการใชบทเรียน คอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนประกอบการเรี ย นวิ ช าแคลคู ลั ส 2 เรื่อง ฟง กชันหลายตั วแปร อนุพัน ธยอยและการประยุกต เบื้องตน มีสหสัมพันธทางลบกับผลสัมฤทธิ์หลังเรียน อภิปรายผล 1. จากผลการวิจัยพบวา นักศึกษาที่เปนกลุม ตั ว อย า งโดยส ว นมากเป น เพศชาย และสื่ อ การเรี ย นรู ที่ ตองการดูมากที่สุด คือ สื่อประเภท ”บทเรียน” นักศึกษามี ความพึ ง พอใจต อ การใช บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน ประกอบการเรียนวิชาแคลคูลัส 2 เรื่อง ฟงกชันหลายตัว แปร อนุพันธยอยและการประยุกตเบื้องตน โดยเฉลี่ยอยูใน ระดับ “ดี” ผลสัม ฤทธิ์ข องการเรีย นจากการทํา

ผลสัมฤทธิ์หลังเรียน -.183* 1.00

แบบทดสอบหลังเรียนสูงกวาการทําการทดสอบกอนเรียน แสดงใหเห็นวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีสวนชวยสอน และมีสวนชวยพัฒนาการเรียนรูทําใหผูเรียนไดรับองคความรู จริง ถึงแมวาจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน อยูใน ระดับปานกลาง ทั้งนี้อาจเปนเพราะ นักศึกษามีเวลาจํากัด และขอสอบที่ใชสวนใหญมีคาความยากงายอยูในระดับปาน กลางถึงคอนขางยาก ประกอบกับ เนื้อหาที่นักศึกษาไดรับ มอบหมายครั้งนี้ยังไมมีการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ชวงครึ่งแรกของเทอม นักศึกษาตองใชเวลานอกเหนือจาก เวลาในชั้นเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติม เมื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนของนักศึกษาระหวางเพศ พบวา นักศึกษาชายและนักศึกษาหญิงมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียนไมแตกตางกัน แสดงวา ความสามารถทาง วิชาการของนักศึกษาชายและหญิงใกลเคียงกัน และเปนที่ นา สัง เกตวา สื่ อ การเรีย นไมม ีผ ลกระทบตอ ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรียน 2. ในด า นรู ป แบบการนํ า เสนอ นั ก ศึ ก ษาให ความเห็นวา สื่อการเรียนการสอนมีความจําเปนตอนักศึกษา มากที่สุด ทั้งนี้อาจเปนเพราะ มีสวนชวยกระตุนใหเกิดการ เรียนรู สามารถเรียนรูจากสื่อไดดวยตนเอง ทําใหมีความรู ความเข า ใจในบทเรีย นเพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจาก การจั ด ลํ า ดั บ ความสัมพันธของเนื้อหา มีความชัดเจนและสามารถแสดง ความยากงายของเนื้อหาได อีกทั้งยังมีสวนชวยกระตุนให ตอ งการศึก ษาค นควา เพิ่ม เติม และความรู ที่ไ ด รับ สามารถ นําไปใชประโยชนในการศึกษา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ระดับสูงตอไปได ดานเทคนิคทางโปรแกรม พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดวางของขอความ การใช สี รู ป ภาพและเสี ย งที่ ใ ช ป ระกอบ อยู ใ นระดั บ “ดี ” การโตตอบแบบเติมคํา(Text Entry) แบบการนําเมาสไป วาง(Cursor in Area) แบบการลากขอความมาเติมในชอง (Drag Drop) แบบคลิกขอความ (Hotspot) เปนการสราง ปฏิสัมพันธระหวางบทเรียนกับผูเรียนไดเปนอยางดี 3. จากผลการวิจัยพบวา ระดับความพึงพอใจตอ การใช บทเรี ยนมี สหสัมพันธทางลบกับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียน ซึ่งเปนความสัมพันธในระดับต่ํา แสดงให เห็นวา นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนอยูใน ระดับ “ดี” อาจจะมีความพึงพอใจตอการใชบทเรียน อยูใน ระดับ “ปานกลาง” ทั้งนี้อาจเปนเพราะ มีสภาพแวดลอมที่

43

ไมสะดวกตอการใชสื่อ กลาวคือ การศึกษาบทเรียนครั้งนี้ จะ มี ศู น ย วิ ท ยาบริ ก ารเป น เครื อ ข า ยเพื่ อ เก็ บ ข อ มู ล และให นักศึกษาเขาไปใชบริการ ศูนยวิทยาบริการมีขอจํากัดในดาน เวลาเปด-ปด ซึ่งไมสอดคลองกับเวลาที่นักศึกษาสามารถเขา ไปใชบริการได อีกทั้งการเปดดูบทเรียนจากทางอินเตอรเนตก็ ไมสะดวก เนื่อ งจากการถา ยโอนข อ มูลทางเว็บ ไซตลา ช า อาจสงผลตอระดับความพึงพอใจของนักศึกษา อยางไรก็ตาม นั ก ศึ ก ษายั ง ได รั บ ความรู แ ละเกิ ด การเรี ย นรู จ ากบทเรี ย น คอมพิวเตอรชวยสอนดังกลาว เพราะนักศึกษาไมเคยเรียน เนื้อหาที่ไดรับมอบหมายในชั้นเรียน จากความไมสะดวกใน การใชบทเรียนของนักศึกษาถือ เปนปญหาหนึ่งที่ศูนยวิท ย บริการจะสามารถปรับปรุง แกไขและพัฒนาใหดีขึ้นตอไป

บรรณานุกรม ศีริชัย กาญจนวาสี . 2544. ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม. กรุงเทพฯ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อังสนา จั่นแดง , วิภาวรรณ สิงหพริ้ง. 2547. แคลคูลัส2. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี


44

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ระบบบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสมในสถานศึกษา : แหลงเรียนรูดานสิ่งแวดลอมศึกษาสําหรับโรงเรียน ขยายโอกาส สังกัดกรุงเทพมหานคร THE APPROPRIATE WASTE WATER TREATMENT SYSTEM FOR SCHOOLS : AN ENVIRONMENTAL LEARNING RESOURCE FOR EXTENSION SECONDARY SCHOOLS IN BANGKOK ดร.สนอง ทองปาน บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้ มีความมุงหมายเพื่อศึกษาประสิทธิภาพ ของระบบบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสมสําหรับโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดกรุงเทพมหานครตามคาพารามิเตอร 5 คา และเพื่อ ศึกษาประสิทธิภาพของบทปฏิบัติการเรื่องการบําบัดน้ําเสีย ในการศึกษาตามความมุงหมายดังกลาว ผูวิจัยไดสราง ระบบบํ า บั ด น้ํ า เสี ย ขึ้ น ในพื้ น ที่ ข องโรงอาหารในโรงเรี ย นวั ด ปุรณาวาส กรุงเทพมหานคร ระบบบําบัดฯ.ที่สรางขึ้นสามารถ บําบัดน้ําเสียไดวันละประมาณ 23.8 ลบ.ม. ผูวิจัยไดใชระบบ บําบัดฯ. ดังกลาวทดลองบําบัดน้ําเสียจากโรงอาหารโรงเรียนวัด ปุรณาวาส ในระหวาง วันที่ 5 กุมภาพันธุ 2550 ถึง วันที่ 3 มีนาคม 2550 ผลการศึกษาพบวา คุณภาพของน้ําที่ผานการบําบัดมี คาเฉลี่ยตามคาพารามิเตอรที่ศึกษาคือ คาพีเอช คาบีโอดี คาซี โอดี ปริมาณสารแขวนลอย และน้ํามันและไขมัน เทากับ 7.40, 12.45 mg/l, 72.63 mg/l, 25.75 mg/l และ 7.64 mg/l ตามลํ า ดั บ ค า ดั ง กล า วเป น ไปตามมาตรฐานที่ กํ า หนดโดย กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 2537

อาจารย ดร. สาขาวิชาการมัธยมศึกษา กลุมการสอนสิ่งแวดลอม คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ประสิทธิภาพของบทปฏิบัติการเรื่องการบําบัดน้ํา เสียมีคา IC เทากับ 0.70 ซึ่งมีคาสูงกวาเกณฑมาตรฐานที่ กําหนดไวที่ 0.50 คําสําคัญ : ระบบบําบัดน้ําเสียสําหรับสถานศึกษา ; ระบบบําบัดน้ําเสียสําหรับโรงอาหาร ; แหลงเรียนรูเรื่องการ บําบัดน้ําเสีย ABSTRACT This research was attempted to study wastewater treatment efficiency of a researcher Appropriate Wastewater Treatment System for Extension Secondary Schools in Bangkok(AWTS) on eight parameters, and to study efficiency of laboratory directions on wastewater treatment . To achieve the attests, the AWTS was earlier developed and installed of canteen’s Puranavat School Bangkok. The AWTS, capable of treating 23.8 m3 of wastewater per day, was operated from February 5 to March 3, 2007. The wastewater treated by the AWTS was found Acceptable by the Ministry of Science Technology and Environment of Thailand 1994. on the eight parameters. The figures were 7.40 mg/l, 12.45 mg/l, 72.63 mg/l and 7.64 mg/l for pH, , BOD, COD, Suspended Solids and Oil and Grease respectively. The laboratory directions on wastewater treatment efficiency of IC 0.7 at the level higher than the 0.5 criteria Keyword : wastewater treatment for school; wastewater treatment for canteen; environmental learning resource ภูมิหลัง ในป จ จุ บั น การขยายตั ว ของชุ ม ชนในเขต กรุงเทพมหานครไดกอใหเกิดปญหาการเสื่อมคุณภาพของ น้ําในแหลงน้ําตางๆ เนื่องจากการเพิ่มจํานวนของประชากร อยางรวดเร็วทําใหปริมาณการใชน้ําในการประกอบกิจกรรม ตางๆ เพิ่มมากขึ้น ปริมาณของเสียที่ปนมากับน้ําซึ่งจะตอง

45

กํ า จั ด มี จํ า นวนเพิ่ ม มากขึ้ น ส ง ผลให คุ ณ ภาพน้ํ า ในแม น้ํ า รวมถึงคูคลองตางๆ ในเขตกรุง เทพมหานครเสื่อมโทรมลง ตามลําดับ สาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดมลภาวะทางน้ํา (Water Pollution) มีหลายประการ เชน น้ําเสียจากโรงงาน อุตสาหกรรม น้ําเสียจากเกษตรกรรม น้ําเสียจากกองขยะ และน้ําเสียจากแหลงชุมชนตางๆ น้ําเสียเหลานี้จะถูกระบาย ลงสู ลํ า คลองต า งๆ โดยตรงซึ่ ง สั ด ส ว นของปริ ม าณความ สกปรกในรู ป สารอิ น ทรี ย ข องน้ํ า เสี ย จากแหล ง ชุ ม ชนส ง ผลกระทบตอความเสื่อมโทรมของแหลงน้ําเปนสัดสวนรอย ละ 70 เมื่อเทียบกับน้ําเสียที่ปลอยจากโรงงานอุตสาหกรรม (สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ. 2543 : 28) และสาเหตุ สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให เ กิ ด ความสกปรกในรู ป ของ สารอินทรียมากที่สุดคือ การระบายน้ําทิ้งจากกิจกรรมตางๆ ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร อันไดแก กิจกรรมภัตตาคาร รานอาหาร ตลาดสด โรงพยาบาล โรงแรม หอพัก และ ความสกปรกจากบานพักอาศัยอีกประมาณ 78,182 กก.บีโอ ดี/วัน หรือรอยละ 54.10 ของปริมาณความสกปรกทั้งหมดที่ ระบายลงสูคูคลองตางๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร โรงเรียนและสถานศึกษาทั่วไป นับวาเปนแหลง สําคัญที่กอใหเกิดความสกปรกในรูปของสารอินทรียไดอยาง มาก โดยเฉพาะบริ เ วณโรงอาหารจั ด ว า เป น สถานที่ ที่ ทํ า กิจกรรมเกี่ยวกับการใชน้ําในการชําระลางคอนขางมาก จาก การสํารวจของกรมควบคุมมลพิษพบวา น้ําทิ้งจากโรงอาหาร จะมีคาบีโอดีเฉลี่ย ประมาณ 110 - 400 มิลลิกรัม/ลิตร และ ในน้ําทิ้งดังกลาวมีไขมันสะสมอยูโดยเฉลี่ยประมาณ 50 -150 มิลลิกรัม/ลิตร (กรมควบคุมมลพิษ.2545.23) ซึ่งจัดวามีคา คอนขางสูงและเมื่อปลอยลงสูแหลงน้ําธรรมชาติแลวจะสงผล กระทบตอแหลงน้ํามาก เนื่องจากคราบไขมันจะลอยเคลือบ อยูบริเวณหนาผิวน้ํา สงผลใหแสงแดดสองลงไปในน้ําไดใน ระดับต่ําทําใหสิ่งมีชีวิตประเภทสาหรายเซลลเดียว ซึ่งเปน ผูผลิตในหวงโซอาหารไมสามารถสังเคราะหแสงได ทําให จํานวนสาหรายเหลานั้นมีปริมาณลดลงและสงผลใหระบบ นิเวศเสียสมดุลอีกดวย นอกจากนั้นคราบน้ํามันที่ลอยเคลือบ อยูบริเวณผิวน้ํายังสงผลใหออกซิเจนในอากาศไมสามารถ ละลายลงไปในน้ําได ทําใหคาดีโอ (Dissolved oxygen) ของน้ํ า มี ป ริ ม าณลดลง สิ่ ง มี ชี วิ ต ประเภทสั ต ว น้ํ า จะเกิ ด


46

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

สภาวะขาดออกซิเจนและตองเสียชีวิตลงในที่สุด สงผลให แหลงน้ําเกิดการเนาเสียตอไป ดั ง นั้ น การศึ ก ษาวิ จั ย ในครั้ ง นี้ ผู วิ จั ย จึ ง เลื อ ก ออกแบบระบบบําบัดน้ําเสียดวยวิธีการทางชีวภาพแบบไมใช ออกซิเจน ชนิดถังหมักแบบใชตัวกลาง (Anaerobic Filter) ซึ่ ง จั ด ว า เป น ระบบบํ า บั ด ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ประหยั ด พลังงาน ประหยัดพื้นที่การกอสราง โดยผูวิจัยจะออกแบบ เพื่อพัฒนาใหระบบบําบัดน้ําเสียดังกลาวใหมีประสิทธิภาพ สูง ตนทุนการกอสรางต่ําและพัฒนาระบบบําบัดดังกลาวให เหมาะสมกับการใชเปนแหลงเรียนรูและปฏิบัติการเรื่องการ บําบัดน้ําเสียสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 สังกัด กรุงเทพมหานคร ใหไดรับความรูความเขาใจในกระบวนการ บําบัดน้ําเสียอินทรีย และสรางความตระหนักในการอนุรักษ แหลงน้ําใหมีคุณภาพดีในโอกาสตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาคุณภาพของน้ําทิ้งจากโรงอาหารกอน การบําบัดเพื่อนําขอมูลมาใชในการพัฒนาระบบบําบัดน้ํา เสี ย ที่ เ หมาะสมกั บ โรงเรี ย นในสั ง กั ด กรุ ง เทพมหานครที่ มี จํานวนนักเรียนประมาณ 800-1000 คน 2. เพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย สํ า คั ญ ที่ มี ผ ลต อ การออกแบบ ระบบบํ า บั ด น้ํ า เสี ย จากโรงอาหารของโรงเรี ย นสั ง กั ด กรุงเทพมหานครที่มีจํานวนนักเรียนประมาณ 800-1000 คน 3. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในเชิงการบําบัดโดย ภาพรวมของระบบบําบัดน้ําเสียที่พัฒนาขึ้นสําหรับโรงเรียน ในสั ง กั ด กรุ ง เทพมหานครที่ พั ฒ นาขึ้ น ในรู ป แบบการลด ปริมาณสารอินทรีย 4. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของบทปฏิบัติการเรื่อง การบําบัดน้ําเสียสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 วัสดุอุปกรณที่ใชในการทดลอง 1. วัสดุที่ใชในการเก็บตัวอยางน้ํา 1.1 ขวดพลาสติกใสตัวอยางน้ําขนาด 1,000 มิลลิลิตร จํานวน 4 ใบ 1.2 บิกเกอร ขนาด 1,000 มิลลิลิตร 1.3 แบบฟอรมการเก็บตัวอยางน้ํา 2 .อุปกรณสําหรับผสมตัวอยางน้ํา 2.1 ขวดแกวทรงกระบอก ขนาด 2.5 ลิตร จํานวน 1 ใบ

2.2 กระบอกตวงขนาด 10 มิลลิลิตร จํานวน 1 ใบ 2.3 กระบอกตวงขนาด 100 มิลลิลิตร จํานวน 1 ใบ 2.4 กระบอกตวงขนาด 1,000 มิลลิลิตร จํานวน 1 ใบ 3. อุปกรณสําหรับวิเคราะหน้ําในหองปฏิบัติการ 3.1 เครื่ อ งชั่ ง ไฟฟ า อย า งละเอี ย ด ( PRECICA ,Model :Zerotic II ) 3.2 พีเอชมิเตอร ( METTLER ,Model : Delta 320) 3.3 ตูอบ ( SHEL,Model : U 30) 3.4 ตูควบคุมอุณหภูมิที่ 20 องศาเซลเซียส ( SHEL,Model : Delta 320) 3.5 ขวดบีโอดี ขนาด 300 มิลลิลิตร 3.6 ชุดสกัดซอกฮเลต (Soxhlet Apparatus) 3.7 กระดาษกรองใยแกวมาตรฐาน (Glass Fiber Filter Dise) 3.8 เครื่องแกวตาง ๆ 3.9 สารเคมีตาง ๆ ที่ใชในการตรวจสอบคุณภาพ น้ําตามคาพารามิเตอรที่กําหนด วิธีดําเนินการศึกษาคนควา ก า ร วิ จั ย ใ น ค รั้ ง นี้ เ ป น ง า น วิ จั ย เ ชิ ง ท ด ล อ ง (Experimental Research) เพื่อพัฒนาระบบบําบัดน้ําเสียที่ เ ห ม า ะ ส ม สํ า ห รั บ โ ร ง เ รี ย น ข ย า ย โ อ ก า ส สั ง กั ด กรุงเทพมหานครและใชระบบบําบัดน้ําเสียที่สราง ขึ้นเปนแหลงเรียนรู เรื่อง การบําบัดน้ําเสียสําหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โดยแบงการศึกษาออกเปน 2 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 การศึกษาประสิทธิภาพของระบบบําบัด น้ําเสียที่พัฒนาขึ้นดําเนินการดังนี้ 1 สํารวจขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ โรงเรียนที่ไดรับ ผลกระทบจากมลพิ ษ ทางน้ํ า โดยโรงเรี ย นดั ง กล า วต อ งมี จํานวนนักเรียนประมาณ 800-1000 คน ศึกษาคุณภาพของ น้ําทิ้งจากโรงอาหารกอนการบําบัด ตามพารามิเตอรตอไปนี้ อุณหภูมิ, พีเอช (pH ) , ดีโอ (Dissolved oxygen) บีโอดี (Biochemical oxygen Demand) , ซีโอดี (Chemical oxygen Demand) ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) และน้ํามันและไขมัน (Oil and Crease) 2 นําน้ําเสียกอนการบําบัดมาทําการทดลอง บํ า บั ด โดยระบบบํ า บั ด น้ํ า เสี ย จํ า ลองเพื่ อ ศึ ก ษาหาป จ จั ย


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 สํ า คั ญ ที่ มี ผ ลต อ การออกแบบระบบบํ า บั ด น้ํ า เสี ย จากโรง อาหารของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ไดแก ระยะเวลา การบําบัดน้ําเสียเพื่อนํามาใชคํานวณขนาดและปริมาตรของ ระบบบํ า บั ด น้ํ า เสี ย และหาประสิ ท ธิ ภ าพการบํ า บั ด ตาม พารามิเตอรดังนี้ ปริมาณน้ําเสียที่ไหลเขาสูระบบในแตละวัน, บีโอ ดี, ซีโอดี, ปริมาณสารแขวนลอย และน้ํามัน และไขมัน สูตรคํานวณปริมาตรของบอบําบัด (m3) = V T V แทนปริมาตรน้ําที่ไหลเขาบอบําบัด (m3 /hr ) T แทนระยะเวลาการบําบัด ( hr) สูตรคํานวณขนาดของบอบําบัดที่จะสราง (m ) = กวาง X ยาว x สูง = ปริมาตรของบอบําบัด(m3) 3 นําขอมูลผลการทดลองตามขอที่ 2 มาสราง ระบบบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสม สําหรับโรงเรียนที่มีจํานวน นักเรียนประมาณ 800-1000 คน ทําการ set up ระบบ บําบัดใหประสิทธิภาพการบําบัดสูงสุด 4. ศึกษาประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสีย โดยทํ า การเก็ บ ตั ว อย า งน้ํ า เสี ย เพื่ อ นํ า มาทํ า การตรวจ วิเคราะหคุณภาพโดยจะกระทํา 2 จุด คือ จุดน้ําเขาระบบ (Influent) และจุดน้ําออกจากระบบ (Effluent) การเก็บตัวอยาง ทั้งหมดเก็บดวยวิธีการเก็บแบบจวง (grab sampling) 5. ระยะเวลาในการเก็บตัวอยางจะกระทําสัปดาห ละ 3 ครั้ง คือในวันจันทร วันพุธ และวันศุกร เริ่มตั้งแตเวลา 14.00 น- 15.00 น เปนเวลาทั้งหมด 4 สัปดาห รวมทั้งสิ้น 12 ตัวอยาง ตัวอยางละ 3 ซ้ํา เพื่อหาคาเฉลี่ย 6. การวิเคราะหตัวอยางน้ํา วิเคราะหโดยวิธี วิเคราะหน้ําสากล ( Standard Method) โดยพารามิเตอรที่ ทํ า การตรวจวั ด ทั น ที ที่ เ ก็ บ ตั ว อย า ง คื อ ค า พี เ อช ส ว น พารามิ เ ตอร ตั ว อื่ น จะนํ า มาทํ า การตรวจวิ เ คราะห ที่ หองปฏิบัติการวิเคราะหน้ําของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 7. คาพารามิเตอรที่วิเคราะหไดแก พีเอช, บีโอ ดี, ซีโอดี ปริมาณสารแขวนลอย และน้ํามัน และไขมัน ตอนที่ 2 การพัฒนาบทปฏิบัติการ เรื่อง การ บําบัดน้ําเสียดําเนินการดังนี้ 1. พัฒนาบทปฏิบัติการ เรื่องการบําบัดน้ําเสีย โดยใชระบบบําบัดน้ําเสียที่พัฒนาขึ้น เปนแหลงเรียนรู

47

โดยบทปฏิบัติการเรื่องการบําบัดน้ําเสียประกอบดวยชุด กิจกรรมทั้งหมด 4 กิจกรรม คือ (1) กิจกรรม เรื่อง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการ บําบัดน้ําเสีย (2) กิจกรรม เรื่อง การตรวจสอบคุณภาพน้ํา เบื้องตน (3) กิจกรรม เรื่อง การบําบัดน้ําเสียโดยวิธี ชีวภาพแบบไมใชออกซิเจน (4) กิจกรรม เรื่อง การควบคุมระบบบําบัดน้ํา เสียชนิดถังหมักแบบใชตัวกลาง 2. นําบทปฏิบัติการไปหาประสิทธิภาพการเรียนรู โดยผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 ทานเปนผูประเมินคา IC เพื่อหา คาดัชนีความสอดคลองระหวางวัตถุประสงคของกิจกรรม และเนื้อหาของกิจกรรม ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรตน ไดแก 1.1 ตัวอยางน้ํากอนเขาระบบบําบัดน้ําเสีย ไดแก ตําแหนงที่ 1 (Influent) และตําแหนงที่ 2 น้ําที่ผานการ บําบัดแลว (Effluent) 1.2 บทปฏิบัติการ เรื่องการบําบัดน้ําเสีย 2. ตัวแปรตาม ไดแก 2.1 ประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสียตาม เกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคารบานเรือนประเภท ข. ตาม ประกาศของกระทรวงวิ ท ยาศาสตร เ ทคโนโลยี แ ละ สิ่งแวดลอม พ.ศ. 2537 ตามคาพารามิเตอร ดังตอไปนี้ พีเอช (pH ) , บีโอดี (Biochemical oxygen Demand) ,ซีโอดี (Chemical oxygen Demand) , ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) และ น้ํามันและไขมัน (Oil and Crease) 2.2 คุณภาพของบทปฏิบัติการ เรื่องการบําบัด น้ําเสีย ผลการศึกษา การศึกษาคุณภาพของน้ําทิ้งจากโรงอาหาร ของโรงเรียนวัดปุรณาวาสกอนการบําบัด ผลการศึกษาคุณ ภาพของน้ํา ทิ้งจากโรงอาหารกอ น การบําบัดแสดงไดดังตาราง 2


48

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ตาราง 1 แสดงคุณภาพของน้ําทิ้งจากโรงอาหารโรงเรียนวัดปุรณาวาสกอนการบําบัด พารามิเตอร น้ําที่เขาสูระบบ ( m3 /day) อุณหภูมิ ( C0) พีเอช ดีโอ (mg/l) บีโอดี( mg/l) ซีโอดี(mg/l) สารแขวนลอย(mg/l) น้ํามันและไขมัน (mg/l)

คาเฉลี่ย (X) 23.8 28.3 7.2 4.2 168.25 387.54 68.60 49.23

จากตาราง 1 แสดงวาน้ําทิ้งจากโรงอาหาร กอนการบําบัดมีคา ปริมาณน้ําที่เขาสูระบบ, อุณหภูมิ, พี เอช, ดีโอ,บีโอดี , ซีโอดี , ปริมาณสารแขวนลอย และ น้ํามันและไขมัน เทากับ 23.8 m3 /day, 28.3 C0 ,7.2 mg/l, 4.2 mg/l, 168.25 mg/l,387.54 mg/l,68.60 mg/l และ 49.23 mg/l ตามลําดับ และผลการเปรียบเทียบคุณภาพน้ําที่ ผานการบําบัดกับคามาตรฐานน้ําทิ้งฯ.ผลปรากฏวา คาบีโอ ดี ซีโอดี ปริมาณสารแขวนลอย น้ํามันและไขมันมีคาเกิน เกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งฯ.ที่กําหนด จากตาราง 1 แสดงวาน้ําทิ้งจากโรงอาหาร กอนการบําบัดมีคา ปริมาณน้ําที่เขาสูระบบ, อุณหภูมิ, พี เอช, ดีโอ,บีโอดี , ซีโอดี , ปริมาณสารแขวนลอย และ น้ํามันและไขมัน เทากับ 23.8 m3 /day, 28.3 C0 ,7.2 mg/l, 4.2 mg/l, 168.25 mg/l,387.54 mg/l,68.60 mg/l และ 49.23 mg/l ตามลําดับ และผลการเปรียบเทียบคุณภาพน้ําที่ ผานการบําบัดกับคามาตรฐานน้ําทิ้งฯ.ผลปรากฏวา คาบีโอ ดี ซีโอดี ปริมาณสารแขวนลอย น้ํามันและไขมันมีคาเกิน เกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งฯ.ที่กําหนด

คามาตรฐานน้ําทิ้ง ไมมี ไมมี 5.0- 9.0 ไมมี ไมเกิน 30 ไมเกิน 120 ไมเกิน 40 ไมเกิน 20

ภาพประกอบ 1 แสดงลักษณะทั่วไปน้ําทิ้งจากโรงอาหาร โรงเรียนวัดปุรณาวาสกอนการบําบัด การศึกษาปจจัยสําคัญที่มีผลตอการออกแบบ ระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงอาหาร ผลการศึกษาปจจัยสําคัญที่มีผลตอการออกแบบ ระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงอาหารโดยใชระบบบําบัดน้ําเสีย จําลองแสดงไดดังตาราง 3


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

49

ตาราง 2 ผลการศึกษาปจจัยสําคัญที่มีผลตอการออกแบบระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงอาหารโดยใชระบบบําบัดน้ําเสียจําลอง ระยะเวลาการบําบัด (ชั่วโมง) 0 24 36 48 60 คามาตรฐานน้ําทิ้งฯ.

บีโอดี (mg/l) 164.80 65.26 24.85 12.87 7.26 ไมเกิน 30

จากตาราง 2 แสดงวาน้ําทิ้งจากโรงอาหารที่ ผานการบําบัด ที่ระยะเวลาการบําบัด 0, 24. 36,48,และ 60 ชั่วโมง มีคาบีโอดี เทากับ 164.80, 65.26, 24.85, 12.87 และ 7.26 ตามลําดับ คาสารแขวนลอยเทากับ 65.35, 43.25, 28.47, 22.70 และ 15.64 ตามลําดับ คาน้ํามันและไขมัน เทากับ 53.24, 10.48, 7.17, 4.32 และ 3.54 ตามลําดับ และผลการเปรียบเทียบคุณภาพน้ําที่ผานการบําบัดกับคา มาตรฐานน้ําทิ้งฯ.ผลปรากฏวา ระยะเวลาการบําบัดที่ควร นํามาใชออกแบบการบําบัดไดแก 48 ชั่วโมง

น้ําที่ผานการบําบัด ระบบบําบัดจําลอง

ถังใสน้ําเสีย

ภาพประกอบ 2 แสดงการทดลองเพื่ อ หา ระยะเวลาการบําบัดที่เหมาะสมโดยระบบบําบัดน้ําเสียจําลอง

สารแขวนลอย (mg/l) 65.35 43.25 28.47 22.70 15.64 ไมเกิน 40

น้ํามันและไขมัน (mg/l) 53.24 10.48 7.17 4.32 3.54 ไมเกิน 20

0 ชั่วโมง 24 ชั่วโมง 36 ชั่วโมง 48ชั่วโมง 60 ชั่วโมง ภาพประกอบ 3 แสดงลักษณะน้ําทิ้งจากโรงอาหารที่ผาน การบําบัดในชวงเวลาตาง ๆ สรุปผลการศึกษาคุณภาพของน้ําทิ้งจากโรงอาหาร และผลการศึกษาปจจัยสําคัญที่มีผลตอการออกแบบระบบ บําบัดน้ําเสียจากโรงอาหารโดยใชระบบบําบัดน้ําเสียจําลอง พบวา น้ํา เสียที่เข าสูระบบบําบัดน้ําเสียมีคาเทากับ 23.8 (m3/day)หรือ 0.99 (m3/hr) ตอนักเรียน 1,000 คน หรือ 23.8 ลิตร/คน/วัน ระยะเวลาการบําบัดที่เหมาะสมกับการนํามาใช ในการออกแบบระบบบําบัดมีคาเทากับ 48 ชั่วโมง นํามา ทําการคํานวณดังรายละเอียดตอไปนี้ สูตรคํานวณปริมาตรของบอบําบัด (m3) = V T V แทนปริมาตรน้ําเสียที่ไหลเขาระบบบําบัด (m3 /hr ) T แทนระยะเวลาการบําบัด ( hr) = 0.99 x 48 แทนคา ปริมาตรของบอบําบัด (m3) ปริมาตรของบอบําบัดไมควรนอยกวา = 47.52 m3 สูตรคํานวณขนาดของบอบําบัดที่จะสราง (m ) = กวาง X ยาว x สูง = ปริมาตรของบอบําบัด(m3) แทนคา = 2.6 x 8 x 2.3 m = 47.84 m3 (คาใกลเคียง) การคํ า นวณปริ ม าตรของตั ว กลาง(Media)ที่ ทํ า จากขวด พลาสติ ก ตั ด หั ว ท า ยเพื่ อ ให จุ ลิ น ทรี ย ที่ ทํ า หน า ที่ ย อ ยสลาย สารอิ น ทรี ย ใ นน้ํ า ยึ ด เกาะจะใส ใ นอั ต ราปริ ม าตรขวด พลาสติก : ปริมาตรบอบําบัด มีคาเทากับ 1 : 4 คํานวณ ไดจากสูตร


50

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ปริมาตรของตัวกลาง (m3 ) = ปริมาตรของบอบําบัดทั้งหมด (m3 ) /4 = 47.84 / 4 = 11.96 m3 หรือประมาณ 12 m3 โดยผู วิ จั ย ใช ข วดพลาสติ ก บรรจุ น้ํ า ดื่ ม ชนิ ด ขุ น ชนิดขวดขุนขนาดบรรจุ 1 ลิตรตัดหัวทายทิ้งจนเหลือความ ยาวประมาณ 15 เซนติเมตร โดยขวดน้ําดื่มที่ตัดแลวจํานวน 124 ขวดจะมีปริมาตรเทากับ 1 m3 ดังนั้นตองใชขวด ทั้งหมด 1488 ขวด ซึ่งผูวิจัยไดรับความรวมมือจากนักเรียน โรงเรียนวัดปุรณาวาส เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานครเปนผู จัดหาขวดเหลือใชและนํามาตัดใหตามขนาด

ภาพประกอบ 4 แสดงขวดที่นักเรียนโรงเรียนวัดปุรณาวาสตัด เพื่อใชทําตัวกลาง ที่มา: อัตราปริมาตรขวดพลาสติก : ปริมาตรบอ บําบัด มีคาเทากับ 1 : 4 ไดจากการวิจัยของผูวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสมสําหรับโรงชําแหละ สุ ก รของสหกรณ ผู ค า สุ ก รชํ า แหละกรุ ง เทพมหานคร เขต คลองเตย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547 (สนอง ทองปาน 2547 : 78 ) ในการออกแบบระบบบําบัดน้ําเสียผูวิจัยไดทําการ ออกแบบมุงเนนใหมีราคาถูกงายตอการกอสราง และแข็งแรง เชนบอดักไขมันจะออกแบบใหอยูติดกับบอบําบัดและใชผนัง รวมกันทําใหประหยัดราคาคากอสราง นอกจากนี้ถังดักไขมัน ยั ง ออกแบบให มี ฝ าป ด ทํ า ให ถั ง ดั ก ไขมั น ทํ า หน า ที่ เ ป น ถั ง บํ า บั ด ไปในตั ว อี ก ด ว ยจึ ง ทํ า ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพการบํ า บั ด สูงขึ้น นอกจากนี้ผูวิจัยยังใชขวดบรรจุน้ําดื่มพลาสติกชนิด ขวดสี ขุ น ซึ่ ง มี เ นื้ อ ผิ ว หยาบมาประยุ ก ต ใ ช เ ป น ตั ว กลาง

( Media )ใหจุลินทรียยึดเกาะ ทําใหประหยัดคาใชจายได ตามสูตรการคํานวณตอไปนี้ ราคาตัวกลาง = ปริมาตรตัวกลางที่ใช (m3) X ราคาตอ1 m3 = 12 X 2180 = 26160 บาท สํ า หรั บ จุ ลิ น ทรี ย ที่ ใ ช ใ นการบํ า บั ด ผู วิ จั ย ได ใ ช เชื้อ จุ ลิน ทรียที่ พัฒ นาขึ้น จากการวิจัย ของผูวิจั ยเรื่ อ ง การ พัฒนาระบบบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสมสําหรับโรงชําแหละสุกร ของสหกรณผูคาสุกรชําแหละกรุงเทพมหานคร เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547 (สนอง ทองปาน 2547 : 85 ) ซึ่งเปนจุลินทรียสายพันธุไทยเหมาะกับภูมิอากาศเขตรอนทน ต อ สภาวะแวดล อ ม สามารถยึ ด เกาะตั ว กลางได แ น น ประสิทธิภาพการบําบัดบีโอดีของน้ําเสียชุมชนไดประมาณ 85-90 % ที่ระยะเวลาการบําบัด 45- 48 ชั่วโมง คาวัสดุที่ใชในการกอสรางทั้งหมด 46,580 บาท คาแรงงานในการกอสรางทั้งหมด 32,000 บาท ดังนั้นราคาโดยรวมที่ใชในการกอสรางนาจะมีราคา ประมาณ 78,580 บาท จากการสํารวจพื้นที่จริงสามารถสรางบอบําบัดได ขนาด 2.6 x 10 x 2.3 m. ผูวิจัยจึงออกแบบเปนบอบําบัด ขนาด 2.6 x 8 x 2.3 m.โดยแบงบอบําบัดออกเปน 4 สวน ความยาวสวนละ 2 m. และออกแบบบอดักไขมันเชื่อมติด กับบอบําบัดโดยใชผนังรวมกันขนาด 2.6 x 2 x 2.3 m. ดังนั้น ระบบบําบัดและบอดักไขมันจึงมีขนาด 2.6 x 10 x 2.3 m. รายละเอียดดังภาพประกอบ 5 ภาพประกอบ 5 แสดงแผนภาพของระบบบําบัดน้ํา เสียที่พัฒนาขึ้น

ภาพแสดงการเทพื้น


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ภาพแสดงการกอฉาบผนัง

51

ภาพประกอบ 7 แสดงระบบบําบัดน้ําเสียที่สรางเสร็จปดฝา ระบบดวยแผนคอนกรีตสําเร็จ

ภาพแสดงการเทคานบน ภาพประกอบ 6 แสดงขั้นตอนการกอสรางระบบบําบัดน้ําเสีย

ภาพประกอบ 8 แสดงตัวกลางจากขวดพลาสติกที่นํามาใส ในระบบบํ า บั ด น้ํ า เสี ย พร อ มทั้ ง ใส หั ว เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ที่ ผูวิจัยพัฒนาขึ้นเพื่อทําการ Start up ระบบบําบัดใหมี ประสิทธิภาพสูงสุด

การศึกษาประสิทธิภาพในเชิงการบําบัดโดยภาพรวมของระบบบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสมสําหรับโรงเรียนในสังกัด กรุงเทพมหานครที่พัฒนาขึ้นในรูปแบบการลดปริมาณสารอินทรีย ผลการศึกษาประสิทธิภาพในเชิงการบําบัดโดยภาพรวมของระบบบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสมสําหรับโรงเรียนในสังกัด กรุงเทพมหานครที่พัฒนาขึ้นในรูปแบบการลดปริมาณสารอินทรียแสดงไดดังตาราง 3 ตาราง 3 แสดงประสิทธิภาพในเชิงการบําบัดโดยภาพรวมของระบบบําบัดน้ําเสีย พารามิเตอร น้ํากอนการบําบัด pH 6.9 BOD (mg/l) 154.82 COD (mg/l) 359.35 สารแขวนลอย(mg/l) 70.38 น้ํามันและไขมัน 47.62 (mg/l)

น้ําหลังการบําบัด 7.4 12.45 72.63 25.75 7.64

คามาตรฐาน 5-9 ไมเกิน 30 ไมเกิน 120 ไมเกิน 40 ไมเกิน 20

ประสิทธิภาพการบําบัด(%) 91.95 79.78 63.41 83.95


52

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 การศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของบทปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ งการ บําบัดน้ําเสีย คาดัชนีความสอดคลองระหวางจุดประสงคของกิจกรรมและ เนื้อหาของกิจกรรมจากบทปฏิบัติการ เรื่องการบําบัดน้ําเสีย แสดงผลดังตาราง 4

(1) (2) ภาพประกอบ 14 แสดงลักษณะน้ํากอนการบําบัด (1)และ หลังการบําบัด(2) ตาราง 4 แสดงคาดัชนีความสอดคลองระหวางจุดประสงคของกิจกรรมและเนื้อหาของกิจกรรมจากบทปฏิบัติการ เรื่องการบําบัดน้ําเสีย ลําดับ

1 2 3

4

ชื่อกิจกรรม

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ การบําบัดน้ําเสีย การตรวจสอบคุณภาพ น้ําเบื้องตน การบําบัดน้ําเสียโดย วิธีชีวภาพแบบไมใช ออกซิเจน การควบคุมระบบ บําบัดน้ําเสียชนิดถัง หมักแบบใชตัวกลาง

ความเห็นของผูเชียวชาญคนที่

คา IC ราย กิจกรรม

1

2

3

4

5

+1

0

+1

+1

+1

คา IC เฉลี่ย

เกณฑ IC มาตรฐาน

0.7

0.5

0.8 +1

+1

0

0

+1

0.6

+1

+1

+1

+1

0

0.8

0.6 0

+1

+1

หมายเหตุ +1 หมายถึง แนใจวาจุดประสงคของกิจกรรมมี ความสอดคลองกับเนื้อหาของกิจกรรม 0 หมายถึง ไมแนใจวาจุดประสงคของกิจกรรม มีความสอดคลองกับเนื้อหาของกิจกรรม -1 หมายถึง แนใจวาจุดประสงคของกิจกรรมไม มีความสอดคลองกับเนื้อหาของกิจกรรม

0

+1

จากตาราง 4 คา ดัชนีความสอดคลอ ง (IC) ระหวางจุดประสงคของกิจกรรมและเนื้อหาของกิจกรรม จาก บทปฏิบัติการ เรื่อง การบําบัดน้ําเสีย ของกิจกรรมที่ 1 , กิจกรรมที่ 2, กิจกรรมที่ 3 และกิจกรรมที่ 4 มีคาเทากับ 08, 0.6, 0.8 และ 0.6 ตามลําดับ สําหรับคา IC โดยภาพรวมทั้ง ฉบับมีคาเทากับ 0.7 ซึ่งมีคาสูงกวาคาเกณฑมาตรฐานที่ กําหนดไวเทากับ 0.5 จึงเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 สรุปผลการวิจัย 1. น้ําเสียจากโรงอาหารที่ผานการบําบัดจากระบบ บําบัดน้ําเสียที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพไดตามเกณฑมาตรฐาน น้ํ า ทิ้ ง จากอาคารบ า นเรื อ นประเภท ข. ตามประกาศของ กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2537 ที่กําหนดทุกพารามิเตอร 2. บทปฏิบัติการเรื่องการบําบัดน้ําเสียมีคาดัชนี ความสอดคลอง(IC)จุดประสงคของกิจกรรมและเนื้อหาของ ชุดกิจกรรมโดยภาพรวมทั้งฉบับเทากับ 0.7 ซึ่งมีคาเกินคา เกณฑมาตรฐาน IC ที่กําหนดไวเทากับ 0.5 สรุปคุณสมบัติของระบบบําบัดน้ําเสียที่พัฒนาขึ้น คุ ณ สมบั ติ ข องระบบบํ า บั ด น้ํ า เสี ย ที่ พั ฒ นาขึ้ น มี รายละเอียดดังนี้ 1. สามารถบําบัดน้ําเสียจากโรงอาหารสําหรับคน ที่เขามาใชบริการได 1,000 -1,200 คน/วัน 2. ประสิทธิภาพการบําบัดสารอินทรียในรูปบีโอดี และซีโอดี ได 91.95 และ 79.78 % ตามลําดับ 3. ใชระยะเวลาการบําบัด 48 ชั่วโมง 4. ใชเปนแหลงเรียนรูรวมกับบทปฏิบัติการ เรื่อง การบําบัดน้ําเสียได 5. ราคาที่สามารถนําไปใชในการกอสรางตอไป ประมาณ 78,580 บาท วิจารณผลการศึกษาวิจัย 1. การบําบัดคาพีเอช (pH) ของน้ําทิ้งจากโรง อาหารมีประสิทธิภาพการบําบัดอยูในเกณฑต่ําเนื่องจากคา พี เ อช มี ค า ค อ นข า งเป น กลางไม เ กิ น เกณฑ ม าตรฐานที่ กําหนดไว โดยน้ํากอนการบําบัดมีคาเทากับ 6.9 หลังผาน การบําบัดมีคา 7.4 โดยเกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคาร บา นเรือ นประเภท ข. กระทรวงวิท ยาศาสตรเ ทคโนโลยี แ ล ะ สิ่ งแวดล อม พ.ศ . 2537 กํ าหนดค าไว 5-9 (กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม, 2539 : 3 ) l ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ คุ ณ ลั ก ษณะของน้ํ า เสี ย ชุ ม ชนของกรม ควบคุมมลพิษ ซึ่งพบวา คาพีเอช ของน้ําเสียมักจะมีคาไม เกินคามาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคารบานเรือน (กรมควบคุม มลพิษ .2545 : 6 ) ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ เสริมพล รัตสุข และไชยยุทธ กลิ่นสุคนธ (2524 : 68) ทีศึกษา

53

ประสิทธิภาพของถังหมักแบบใชตัวกลาง ผลปรากฏวา คาพี เอชของน้ําเสียชุมชนกอนทําการบําบัดจะมีคาไมเกินเกณฑ มาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคารบานเรือนที่กําหนด 2. การบําบัดสารอินทรียในรูปบีโอดีและซีโอดี โดย ภาพรวมทั้งระบบมีคาโดยเฉลี่ย รอยละ 91.95 และ 79.78 ตามลํ า ดั บ จั ด ว า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของการบํ า บั ด อยู ใ นใน ระดับสูง โดยน้ําที่ผานการบําบัดแลวมีคาเปนไปตามเกณฑ ม า ต ร ฐ า น น้ํ า ทิ้ ง จ า ก อ า ค า ร บ า น เ รื อ น ป ร ะ เ ภ ท ข . กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2537 กําหนดคาไว ไมเกิน 30 mg/l และไมเกิน 120 mg/l ตามลํ า ดั บ (กระทรวงวิ ท ยาศาสตร เ ทคโ นโลยี แ ละ สิ่งแวดลอม, 2539 : 3 ) l ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ สุเมธ ชวเดช และเสริมพล รัตนสุข. (2522:50) ที่ได ทําการศึกษา การผลิตแกสชีวภาพจากมูลสัตวโดยใชถังหมัก แบบบรรจุตัวกลาง พบวาถังหมักแบบบรรจุตัวกลางจะมี ประสิทธิภาพในการยอยสลายสารอินทรียในรูปบีโอดีและซีโอ ดีใ หลดลงในอัตราโดยเฉลี่ยรอยละ 90.25 และ 82.38 นอกจากนี้ ยั ง สอดคล อ งกั บ งานวิ จั ย ของพรี ท อเรี ย ส. (Pretorius. 1971: 681-687) ไดศึกษากระบวนการถังกรองไร อากาศชนิดสัมผัส (Anaerobic Contact Process) โดยใช กอนหินเปนตัวกลางสําหรับการบําบัดน้ําเสีย พบวา สามารถ บําบัดคาบีโอดีเฉลี่ย และซีโอดีเฉลี่ยไดมากกวารอยละ 90 ที่ ระยะเวลาการเก็บกัก 48 ชั่วโมง 3. การบําบัดสารแขวนลอยโดยภาพรวมทั้งระบบมี ค า โดยเฉลี่ ย ร อ ยละ 63.41 จั ด ว า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของการ บําบัดอยูในระดับสูง เนื่องจากระบบบําบัดแบบถังกรองไร อากาศที่พัฒนาขึ้นมีการใสตัวกลางที่ทําดวยขวดพลาสติก บรรจุน้ําดื่มขนาด 0.5 ลิตร ที่นํามาตัดหัวและทายขวดออก ในอัตราสวน ระหวางปริมาตรของตัวกลาง ตอ ปริมาตรของ บอบําบัด เทากับ 1: 4 ซึ่งถือวาปริมาณตัวกลางที่ใชสงผลให ประสิทธิภาพการบําบัดสารอินทรียและสารแขวนลอยสูงสุด ดังนั้นปริมาณสารแขวนลอยเฉลี่ยของน้ําหลังการบําบัดจึงมี คาเทากับ 25.75 mg/l โดยน้ําที่ผานการบําบัดแลวมีคา เป น ไปตามเกณฑ ม าตรฐานน้ํ า ทิ้ ง จากอาคารบ า นเรื อ น ประเภท ข. กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2537 กําหนดคาไว ไมเกิน 40 mg/l


54

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

4. การบําบัดน้ํามันและไขมันโดยภาพรวมทั้งระบบมี ค า โดยเฉลี่ ย ร อ ยละ 83.95 จั ด ว า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของการ บําบัดอยูในระดับสูง เนื่องจากผูวิจัยไดออกแบบบอดักไขมัน เพื่อทําการดักไขมันไวกอนแลวจึงจะปลอยใหน้ําไหลเขาสู ระบบบํ า บั ด แบบถั ง กรองไร อ ากาศที่ พั ฒ นาขึ้ น ดั ง นั้ น ปริมาณน้ํามันและไขมันเฉลี่ยของน้ําหลังการบําบัดจึงมีคา เทากับ 7.64 mg/l โดยน้ําที่ผานการบําบัดแลวมีคาเปนไป ตามเกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคารบานเรือนประเภท ข. กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2537 กําหนดคาไว ไมเกิน 20 mg/l 5. คาดัชนีความสอดคลอง (IC) ระหวางจุดประสงค ของกิจกรรรมและเนื้อหาของกิจกรรมจากบทปฏิบัติการ เรื่อง การบําบัดน้ําเสียมีคาโดยภาพรวมทั้งฉบับเทากับ 0.7 ซึ่งมี คาเกินคาเกณฑมาตรฐาน IC กําหนดไวเทากับ 0.5 (พวง รัตน ทวีรัตน. 2540 : 124) แสดงวาเนื้อหาของกิจกรรมที่ สร า งขึ้ น มี ค วามสอดคล อ งกั บ จุ ด ประสงค ข องกิ จ กรรมใน ระดั บ สู ง ซึ่ ง จะส ง ผลให ผู เ รี ย นได รั บ ความรู ต รงตาม จุดประสงคของกิจกรรมที่กําหนดไวในระดับสูง ขอเสนอแนะที่เกี่ยวของกับงานวิจัยในครั้งนี้ 1. ในการนําระบบบําบัดน้ําเสียที่พัฒนาขึ้นไปใชใน การบําบัดน้ําเสียจากโรงอาหารอื่นตอไป ควรนําน้ําที่จะทํา การบําบัดมาศึกษาเพื่อหาปริมาณน้ําทิ้งและระยะเวลาการ บําบัดที่เหมาะสมกอนทุกครั้งเพื่อนํามาคํานวณหาปริมาตร ของบอบําบัดตามสูตรการคํานวณในบทที่ 3 2. ควรทําการศึกษาเพื่อพัฒนาเชื้อจุลินทรียที่มี ประสิทธิภาพในการบําบัดสูงสุดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ บําบัดและลดระยะเวลาการบําบัด

3. ควรทําการศึกษาและพัฒนาระบบบําบัดน้ําเสีย ที่ เ หมาะสมกั บ โรงเรี ย นสั ง กั ด หน ว ยงานอื่ น ๆ ที่ มี จํ า นวน นักเรียนแตกตางจากที่เคยทําการทดลอง 4. ควรทําการศึกษาและพัฒนาระบบบําบัดน้ําเสีย ที่เหมาะสมแบบชีวภาพแบบใชออกซิเจน (Aerobic Process) เพราะจะทํ า ให ป ระหยั ด พื้ น ที่ ใ นการบํ า บั ด เหมาะสํ า หรั บ โรงเรียนที่มีพื้นที่จํากัดและสามารถพัฒนาเปนแหลงเรียนรูได อีกรูปแบบหนึ่ง 5. กอนนําบทปฏิบัติการ เรื่องการบําบัดน้ําเสียไป ใช ครู ค วรทํ า การทดลองตามกิ จ กรรมที่ พั ฒ นาขึ้ น ก อ น เพื่อใหเกิดความเขาใจในขั้นตอนการใชใหมากขึ้น และเมื่อ พบป ญ หาและอุ ป สรรคต า ง ๆ จะได แ ก ไ ขป ญ หาได อ ย า ง ถูกตอง และควรนําไปใชทดลองสอนกับนักเรียนกลุมเล็ก ๆ กอนเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับผูสอนตอไป 6. กอนนําบทปฏิบัติการ เรื่องการบําบัดน้ําเสียไป ใชครูควรทําการศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวของกับทฤษฎีการบําบัด น้ําเสียดวยวิธีชีวภาพแบบใชออกซิเจน (Aerobic Process) การบํ า บั ด น้ํ า เสี ย ด ว ยวิ ธี ชี ว ภาพแบบไม ใ ช อ อกซิ เ จน (Anaerobic Process) และการสรางถังดักไขมันในรูปแบบ ตาง ๆ ใหเขาใจเสียกอน 7. ควรสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ขึ้นเพื่อใชในการวัดผลการเรียนการสอนกอนเรียนและหลังเรียน 8. ควรสร า งแบบวั ด เจตคติ ด า นการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรน้ําเพื่อใชวัดเจตคติของนักเรียนกอนเรียนและหลัง เรียนเพื่อประเมินระดับเจตคติดานการอนุรักษทรัพยากรน้ํา ของผูเรียน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

55

บรรณานุกรม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม. (2537.1 กุมภาพันธ). ราชกิจจานุเบกษาฉบับประกาศทั่วไป เลม 11 ตอนพิเศษ 9. เรื่องกําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้ง จาก อาคารบางประเภทและขนาด. กรมควบคุมมลพิษ. (2545). น้ําเสียชุมชนและระบบบําบัดน้ําเสีย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภา. กองจัดการคุณภาพน้ํา กรมควบคุมมลพิษ. (2545). น้ําเสียชุมชนและระบบบําบัดน้ําเสีย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภา. คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ, สํานักงาน (2543). แนวทางการบริหารและการจัดการน้ําเสียชุมชน. กรุงเทพฯ : กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม สนอง ทองปาน ( 2547) การพัฒนาระบบบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสมของโรงชําแหละสุกร สหกรณผูคาสุกรชําแหละ กรุงเทพมหานคร รายงานการวิจัย สาขาการมัธยมศึกษากลุมการสอนสิ่งแวดลอม คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ฉบับอัดสําเนา. สุเมธ ชวเดช และ เสริมพล รัตสุข. ถังผลิตแกสชีวภาพแบบใชตัวกลางไมรวก. กรุงเทพฯ : กองวิศวกรรมสิ่งแวดลอม สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, 2522. อัดสําเนา เสริมพล รัตนสุข และไชยยุทธ กลิ่นสุคนธ. (2525). การกําจัดน้าํ ทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมแหลงชุมชน. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรประยุกตและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. พวงรัตน ทวีรัตน. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สํานักทดสอบ ทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. APHA; AWWA; & WPCF. (1989). Standard method of the examination of water and wastewater. New York : American Pubic Health Association Pretorius, W.A. (1971). Anaerobic Disestion of Raw Sewage. Water Res. 5: 681-687


56

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ปจจัยทีส่ งผลตอสมาธิในการเรียนของนักเรียน ระดับชวงชัน้ ที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินทู ิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร FACTORS AFFECTING ON LEARNING CONCENTRATION OF THE THIRD LEVEL, SECONDARY GRADES 1-3 STUDENTS AT NAWAMINTHRACHINUTHIT SATRIWITTHAYA PHUTTAMONTHON SCHOOL IN THAWEEWATTANA DISTRICT, BANGKOK. พระธีราภิสุทธิ์ สารธมฺโม 1 ผศ.พรรณรัตน พลอยเลื่อมแสง 2 รศ.เวธนี กรีทอง 2 บทคัดยอ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ที่ สงผลตอสมาธิในการเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรง เรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ปจจัยที่ศึกษาแบงเปน 3 ปจจัย ไดแก ปจจัย ด า นส ว นตั ว ได แ ก เพศ ระดั บ ชั้ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น บุ ค ลิ ก ภาพ นิ สั ย ทางการเรี ย น และ แรงจู ง ใจใฝ สั ม ฤทธิ์ ทางการเรียน ปจจัยดา นครอบครัว ไดแก สภาพครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว และสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับผูปกครองดานการเรียน และปจจัยดานสิ่งแวดลอม ทางการเรี ย น ได แ ก ลั ก ษณะทางกายภาพทางการเรี ย น สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู และสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับเพื่อน

1

นิสิตปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยเปนนักเรียนระดับชวง ชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ปการศึกษา 2549 จํานวน 337 คน เปนนักเรียนชาย 157 คน และนักเรียนหญิง 180 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา ไดแก แบบสอบถาม ปจจัยที่สงผลตอสมาธิในการเรียน สถิติที่ใชในการวิเคราะห ขอมูล คือ การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียร สัน และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบวา 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับสมาธิใน การเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินท ราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร มีดังนี้ 1.1 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับสมาธิใน การเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 มี 2 ปจจัย ไดแก เพศ : นักเรียนหญิง (X2) และระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 1 (X3) 1.2 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับสมาธิใน การเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 มี 8 ปจจัย ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (X6) บุคลิกภาพ (X11) นิสัยทางการเรียน (X12) แรงจูงใจใฝ สัมฤทธิ์ทางการเรียน (X13) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ ผูปกครองดานการเรียน(X14) ลักษณะทางกายภาพทางการ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู และ เรียน (X15) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน( X17) 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับสมาธิในการ เรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร มี ดังนี้ 2.1 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับสมาธิ ในการเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินท ราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปจจัย ไดแก เพศ : นักเรียนชาย ( X1) 2.2 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับสมาธิ ในการเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 อยางมี

57

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 1 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 3. ปจจัยที่มีไมมีความสัมพันธกับสมาธิในการเรียน ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 5 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 3 (X5) ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X7) สภาพครอบครัว : บิดามารดาอยูดวยกัน (X8)สภาพ ครอบครัว : บิดามารดาหยารางกัน (X9) และสภาพ ครอบครัว : บิดามารดาถึงแกกรรม (X10) 4. ปจจัยที่สงผลตอสมาธิในการเรียนของนักเรียน ในระดับชวงชั้นที่ 3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัยโดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่สุด ไปหา ปจจัยที่สงผลนอยที่สุด ไดแก แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการ เรียน(X13) นิสัยทางการเรียน (X12) สัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับครู (X16) บุคลิกภาพ (X11) และสัมพันธภาพ โดยทั้ง 5 ปจจัยนี้ ระหวางนักเรียนกับผูปกครอง(X14) สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวนสมาธิในการเรียนของ นักเรียนชวงชั้นที่ 3 ไดรอยละ 60.50 ABSTRACT The purposes of this research were to study the factors affecting on learning concentration of the third level, secondary grades 1-3 students at Nawaminthrachinuthit Satriwitthaya Phuttamonthon School in Thaweewattana District, Bangkok . The factors were divided into 3 dimensions , first of them was personal factor : gender, class level,learning achievement, personality, studying habits and learning achievement motive, second of them was family factor : guardians’ status, guardians’ economic level and interpersonal relationship between students and their family memberships in learning aspect and third of them was learning environment factor : physical learning environment, interpersonal relationship between students and their teachers and interpersonal relationship between students and their peer groups.


58

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

The 337 samples : 157 males and 180 females were the learning concentration of the therd level, secondary grades 1-3 students at Nawaminthrachinuthit Satriwitthaya Phuttamonthon School in Thaweewattana District, Bangkok in academic year 2006. . The instrument was a questionnaires of factors affecting on learning concentration. The data was analyzed by The Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1. There were significantly positive correlation among learning concentration of the third level, secondary grades 1-3 students at Nawaminthrachinuthit Satriwitthaya Phuttamonthon School in Thaweewattana District, Bangkok and various factors : 1.1 There were significantly positive correlation among learning concentration of the third level, secondary grades 1-3 students at Nawaminthrachinuthit Satriwitthaya Phuttamonthon School in Thaweewattana District, Bangkok and 2 factors : gender : females (X2) and class level : matthayom suksa I (X3) at .05 level. 1.2 There were significantly positive correlation among learning concentration of the thire level, secondary grades 1-3 students and 8 factors : learning achievement (X6), personality (X11) , studying habits (X12) , learning achievement motive (X13), interpersonal relationship between students and their family memberships in learning aspect (X14), physical learning environment (X15), interpersonal relationship between students and their teachers (X16), interpersonal relationship between students and their peer groups (X17) at .01 level .

2. There were significantly negative correlation among learning concentration of the third level, secondary grades 1-3 students at Nawaminthrachinuthit Satriwitthaya Phuttamonthon School in Thaweewattana District, Bangkok and various factors : 2.1 There were significantly negative correlation between learning concentration of the third level, secondary grades 1-3 students at Nawaminthrachinuthit Satriwitthaya Phuttamonthon School in Thaweewattana District, Bangkok and 1 factor : gender : male (X1) at .05 level. 2.2 There were significantly negative correlation between learning concentration of the third level, secondary grades 1-3 students and 1 factor : class level : matthayom suksa II(X4) at .01 level . 3. There were no significantly correlation among learning concentration of the third level, secondary grades 1-3 students at Nawaminthrachinuthit Satriwitthaya Phuttamonthon School in Thaweewattana District, Bangkok and 5 factors : class level : matthayom suksa III (X5), guardians’ economic level (X7), guardians’ status : couple (X8), guardians’ status : separation of their guardians (X9) and guardians’ status : father/mother pass away (X10). 4. There were 5 factors got significantly affecting on learning concentration of the third level, secondary grades 1-3 students at Nawaminthrachinuthit Satriwitthaya Phuttamonthon School in Thaweewattana District, Bangkok ranking from the most affecters to the least affecters were learning achievement motive (X13), studying habits (X12), interpersonal relationship between students and and their teachers (X16) ,personality (X11)


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 interpersonal relationship between students and their family memberships in learning aspect (X14) at .01 level . These 5 factors could predicted learning concentration of the third level, secondary grades 1-3 students about percentage of 60.50. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การศึกษาเปนกระบวนการอยางหนึ่งที่ชวยพัฒนา บุคคลใหเจริญกาวหนา มีความรูและความสามารถในการ เขาใจปญหาตาง ๆ ในชีวิตไดอยางถูกตอง และสามารถนํา ความรูความเขาใจเหลานั้นในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นได อยางมีระบบและอยางมีประสิทธิภาพ พุทธศาสนายอมรับ ว า ก า รศึ ก ษ า มี ส ว น สํ าคั ญ อ ย า ง ยิ่ ง ใ น ก า ร ส ง เ ส ริ ม ความกาวหนาของบุคคลและเชื่อวาการมีความรู (ปญญา) เปนขุมทรัพยอันประเสริฐอยางหนึ่ง ผูที่ไดรับการอบรมใหมี ความรูความสามารถที่จะพัฒนาตนเองใหเจริญกาวหนาทาง อาชี พ การงานและทางจิ ต ใจ สมควรได รั บ การยกย อ ง (จํานง อดิวัฒนสิทธิ์.2545 : 119) กระบวนการศึกษาสวน หนึ่ ง ได ม าจากความรู ค วามเข า ใจในพระพุ ท ธศาสนา นอกจากทําใหรูเขาใจตนเองและพื้นฐานของสังคมไทยแลว ยังเชื่อมโยงออกไปใหเขาใจสังคมและชีวิตพรอมทั้งมองเห็น สายสัมพันธทั้งดานบวกและดานลบที่เปนเหตุปจจัยซึ่งกัน และกันอยู ซึ่งจะตองมองไกลไปใหครอบคลุมถึงจุดหมาย ของการศึกษาในระดับของการสรางสรรคคนใหเปนสมาชิกที่ ดีมีคุณภาพ ดังเชนการศึกษาพระพุทธศาสนา ซึ่งสนอง จุดมุงหมายเชนนี้สําหรับสังคมไทย (พระธรรมปฎก.2542 : 45-46) ภารกิ จ สํ า คั ญ สํ า คั ญ ของการศึ ก ษา คื อ การ ฝกอบรมบุคคลใหพฒ ั นาปญญาใหเกิดความรูความเขาใจใน ขอเท็จจริงและสภาวะของสิ่งทั้งหลาย (พุทธวิธีในการสอน. 2542 : 6) การศึกษาในปจจุบันนี้ ตองเปนไปเพื่อพัฒนาคน ให เ ป น คนเก ง ดี และมี ค วามสุ ข ดั ง ที่ พระธรรมป ฎ ก (2536 : 13) กลาวไววา ชีวิตมนุษยเปนชีวิตอยูไดดวย การศึกษา และจะอยูดียิ่งขึ้นไปก็ดวยการศึกษายิ่งขึ้นไป ชีวิตที่ดีคือชีวิตแหงการศึกษา ถาชีวิตไมมีการศึกษาก็ไมมี ความหมาย การศึกษาเปนสิ่งสําคัญ พระพุทธศาสนาจึง

59

มองว า ชี วิ ต มนุ ษ ย จึ ง เป น ชี วิ ต แห ง การศึ ก ษา ยกระดั บ คุณภาพชีวิตตนเองดวยการศึกษา พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ.2542 (สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแหงชาติ.2544:คํานํา) ไดให ความสําคัญกับการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปน มนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและ คุ ณ ธรรม มี จ ริ ย ธรรมและวั ฒ นธรรมในการดํ า รงชี วิ ต สามารถอยูรวมกับคนอื่นไดอยางมีความสุข ซึ่งหมายถึงการ พั ฒ นาคนให เ ป น “คนเก ง ดี และมี ค วามสุ ข ” ด ว ย กระบวนการเรี ย นรู ต ลอดชี วิ ต โดยการนํ า เอาวิ ธี ก ารทาง ศาสนาเปนเครื่องมือในการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงทุก อยางเปนไปไมไดที่จะเกิดขึ้นทั้งหมดได ผูเรียนบางคนอาจ บรรลุจุดมุงหมายบางอยางตาง ๆ กันไป และในเวลาไม เทากัน อายุ ระดับชั้น ความสามารถ ประสบการณที่มี มากอน เจตคติที่มีตอการเรียน ความสนใจ แหลงความรูที่ ยั ง ประโยชน ไ ด เ หล า นี้ ล ว นเป น องค ประกอบที่ เกี่ ยวข องต อ ความสําเร็จของการเรียนการสอน ด ว ยเหตุ นี้ ผู วิ จั ย จึ ง มี ค วามสนใจที่ จ ะศึ ก ษา ปจจัยที่สงผลตอสมาธิในการเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขต ทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยดาน สวนตัว ดานครอบครัว และดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียน กับสมาธิดานการเรียน ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรง เรี ย นนวมิ น ทราชิ นู ทิ ศ สตรี วิ ท ยา พุ ท ธมณฑล เขตทวี วัฒนา กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อศึกษาปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ที่สงผลตอสมาธิดานการ เรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินู ทิ ศ ส ต รี วิ ท ย า พุ ท ธ ม ณ ฑ ล เ ข ต ท วี วั ฒ น า กรุงเทพมหานคร


60

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

3. เพื่อสรางสมการพยากรณปจจัยที่สงผลตอสมาธิ ในการเรียนนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 ความสําคัญของการวิจัย ผลของการศึ ก ษาค น คว า ครั้ ง นี้ เ พื่ อ ที่ จ ะทํ า ให ผูเกี่ยวของกับนักเรียน ไดแก ผูบริหาร ฝายวิชาการ ครู อาจารย ผู ส อนและอาจารย ที่ ป รึ ก ษาของโรงเรี ย นได นํ า ขอมูลไปใชประกอบการวางนโยบายในการจัดการศึกษาให นักเรียนมีสมาธิในการเรียนดียิ่งขึ้น ขอบเขตของการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากร ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนนักเรียน ระดับชวงชั้นที่ 3 ปการศึกษา 2549 ซึ่งกําลังศึกษาอยู ในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวี

วัฒนา กรุงเทพมหานคร จํานวนทั้งสิ้น 1,353 คน เปน นักเรียนชาย 631 คน และเปนนักเรียนหญิง 722 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนนักเรียน ระดับชวงชั้นที่ 3 ปการศึกษา 2549 ซึ่งกําลังศึกษาอยูใน โรงเรี ยนนวมิ น ทราชิ นู ทิศ สตรีวิ ท ยา พุ ท ธมณฑล เขตทวี วัฒนา กรุงเทพมหานคร จํานวนทั้งสิ้น 337 คน แบงเปนนักเรียนชาย 157 คน และเปนนักเรียนหญิง 180 คน ซึ่งไดมาจากการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling ) จากประชากรที่ระดับความเชื่อมั่น รอยละ 95 ของยามาเน (Yamane.1967) โดยใช ระดับชั้นและเพศเปนชั้น (Strata)

ตารางแสดงจํานวนประชากรและกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับเพศและชั้น

เพศ ระดับชั้น ชั้น ม.1 ชั้น ม.2 ชั้น ม.3 รวม

ชาย ประชากร กลุมตัวอยาง 215 54 212 53 204 51 631 158

รวม หญิง ประชากร กลุมตัวอยาง ประชากร กลุมตัวอยาง 238 59 453 113 255 63 467 116 229 57 433 108 722 179 1353 337

สมมุติฐานในการศึกษาคนควา 1. ปจจัยดานสวนตัว ปจจัยดานครอบครัว และ ปจจัยดานสภาพแวดลอมในการเรียน มีความสัมพันธกับ การมีสมาธิในการเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรง เรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวี วัฒนา กรุงเทพมหานคร 2. ปจจัยดานสวนตัว ปจจัยดานครอบครัว และ ปจจัยดานสภาพแวดลอมในการเรียน สงผลตอการมีสมาธิ ในการเรียนของนักเรียนระดับชวงชัน้ ที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาค น คว า ครั้ ง นี้ เป น แบบสอบถามปจจัยที่สงผลตอสมาธิในการเรียนของนักเรียน ระดั บ ช ว งชั้ น ที่ 3 โรงเรี ยนนวมิ น ทราชิ นู ทิ ศ สตรีวิ ท ยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานครงแบงออกเปน 10 ตอน ดังนี้ แบบสอบถามขอมูลสวนตัว แบบสอบถาม บุคลิกภาพ แบบสอบถามนิสัยทางการเรียน แบบสอบถาม แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสอบถามการ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครอง แบบสอบถาม ลั ก ษณะทางกายภาพด า นการเรี ย น แบบสอบถาม สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู แบบสอบถามสัมพันธภาพ ระหวางนักเรียนกับเพื่อน แบบสอบถามสมาธิในการเรียน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 การเก็บรวบรวมขอมูล 1. ผู วิ จั ย นํ า หนั ง สื อ จากบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไปขออนุญาตผูอํานวยการ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวี วัฒนา กรุงเทพมหานคร เพื่อขออนุญาตและขอความ อนุเคราะห ในการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยาง 2. ผูวิจัยนําแบบสอบถามปจจัยที่สงผลตอสมาธิ ในการเรียนไปเก็บรวบรวมขอมูลของนักเรียนในระดับชวงชั้น ที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขต ทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ดวยตนเอง 3. ผู วิ จั ย นํ า แบบสอบถามที่ นั ก เรี ย นตอบมา คัดเลือกเฉพาะแบบสอบถามที่สมบูรณ คือ ตอบคําถามครบ ทุกขอ ปรากฏวาสมบูรณทุกฉบับ จากนั้นจึงนํามาตรวจให คะแนนตามเกณฑที่กําหนด และนําขอมูลมาวิเคราะหทาง สถิติตอไป การวิเคราะหขอมูล 1. วิ เ คราะห ข อ มู ล ทั่ ว ไปโดยหาค า ร อ ยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. วิ เ คราะห ค วามสั ม พั น ธ ร ะหว า งป จ จั ย ด า น สวนตัว ดานครอบครัว และดานสิ่งแวดลอมทางการเรียน โดยหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน (The Pearson Product Moment Correlation Coefficient) 3. วิ เ คราะห ป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และดานสิ่งแวดล อมดานการเรียนที่สง ผลตอสมาธิในการ เรียนโดยใชวิธีการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการวิเคราะหขอมูลพบวา 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับสมาธิใน การเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินท ราชิ นู ทิ ศ สตรี วิ ท ยา พุ ท ธมณฑล เขตทวี วั ฒ นา กรุงเทพมหานคร มีดังนี้ 1.1 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับสมาธิใน การเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินท ราชิ นู ทิ ศ สตรี วิ ท ย า พุ ท ธมณฑล เข ตทวี วั ฒ น า กรุ ง เทพมหานครอย า งมีนั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติที่ ร ะดับ .05 มี นักเรียนเพศหญิง (X2) และระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 (X3)

61

1.2 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับสมาธิใน การเรีย นของนักเรีย นระดับ ชว งชั้น ที่ 3 โรงเรีย นนวมิน ท ราชิ นู ทิ ศ สตรี วิ ท ยา พุ ท ธมณฑล เขตทวี วั ฒ นา กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 8 องค ป ระกอบ ได แ ก ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น (X6 ) บุคลิกภาพ (X11) นิสัยทางการเรียน (X12) แรงจูงใจใฝ สัมฤทธิ์ทางการเรียน (X13) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ ผูปกครองดานการเรียน (X14) ลักษณะทางกายภาพทางการ เรียน (X15) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู (X16) และ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน( X17) 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับสมาธิในการ เรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร มีดังนี้ 2.1 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับสมาธิ ในการเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 องคประกอบ ไดแก เพศชาย ( X1) 2.2 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับสมาธิ ในการเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินท ราชิ นู ทิ ศ สตรี วิ ท ยา พุ ท ธมณฑล เขตทวี วั ฒ นา กรุงเทพมหานครอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 1 ปจจัย ไดแก ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ( X4) 3. ปจจัยที่มีไมมีความสัมพันธกับสมาธิในการเรียน ของนั ก เรีย นระดับ ชว งชั้ น ที่ 3 โรงเรี ยนนวมิ น ทราชินู ทิ ศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานครมี 5 ปจจัย ไดแก ไดแก ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 (X5) รายไดของผูปกครองรวมกัน (X7) บิดามารดาอยูดวยกัน (X8) บิดามารดาหยารางกัน (X9) และบิดามารดาถึงแกกรรม (X10) 4. ปจจัยที่สงผลตอสมาธิในการเรียนของนักเรียน ในระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัยโดยเรียงลําดับ จากปจ จัยที่ สง ผลมากที่สุ ด ไปหาปจจั ยที่ สง ผลน อ ยที่สุ ด ไดแก แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียน(X13) นิสัยทางการ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู (X16) เรียน (X12) บุคลิกภาพ (X11) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครอง(X14)


62

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ตารางแสดงผล การวิเคราะหปจจัยที่สงผลตอสมาธิในการเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร b

SEb

β

R

R2

F

.313 .271 .202 .184 .121

.654 .723 .748 .771 .778

.428 .522 .560 .594 .605

250.359** 182.407** 141.146** 121.512** 101.516**

องคประกอบ X13 X13 X12 X13 X12 X16 X13 X12 X16 X11 X13 X12 X16 X11 X14

.274 .043 .231 .041 .214 .037 .171 .036 .112 .035 a = .032 R = .778 R2 = .605 SEest = .3195

** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สมการพยากรณ ส มาธิใ นการเรีย นของนั กเรี ย น จากตารางพบวาปจจัยที่สงผลผลตอสมาธิในการเรียนของ นักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี ระดั บ ช ว งชั้ น ที่ 3 โรงเรี ย นนวมิ น ทราชิ นู ทิ ศ สตรี วิ ท ยา วิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยางมี พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ในรูปคะแนน นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัยโดยเรียงลําดับ มาตรฐาน ไดแก จากปจจัยที่สงผลมากที่สุดไปหาปจจัยที่มีสงผลนอ ยที่สุด Z = .313 X13 + .271 X12 + .202 X16 + .184 ไดแก แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียน (X13) นิสัยทางการ X11 + .121 X14 เรียน (X12) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู (X16) อภิปรายผลการวิจัย ผลการศึกษาครั้งนี้ อภิปรายผลไดดังนี้ และสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ บุคลิกภาพ (X11) 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับสมาธิใน ผูปกครอง(X14) โดยทั้ง 5 ปจจัยสามารถรวมกันอธิบายความ แปรปรวนสมาธิในการเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 การเรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 1.1 เพศหญิง มีความสัมพันธทางบวกกับ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวี วั ฒ นา ได ร อ ยละ 60.50 จึ ง นํ า ค า สั ม ประสิ ท ธิ์ ข องตั ว สมาธิในการเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 1.2 ระดับ ชั้น มัธ ยมศึ ก ษาป ที่ 1 มี พยากรณมาเขียนสมการไดดังนี้ สมการพยากรณสมาธิในการเรียนของนักเรียนใน ความสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ สมาธิ ใ นการเรี ย น อย า งมี ระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธ นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้เพราะนักเรียนมีความ มณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ในรูปคะแนนดิบ พรอมและตั้งใจในการเรียนอยูเปนพื้นฐาน จึงมีสมาธิดาน การเรี ย นมี ค วามตั้ ง อก ตั้ ง ใจและเอาใจใส ใ นการเรี ย น ไดแก Ŷ = .032 + .274 X13 + .231 X12 + .214 เพื่ อ ที่ จ ะทํ า ให ต นเองมี ค วามก า วหน า และพั ฒ นาไปสู ก าร เรียนรูที่ดีขึ้น X16 + .171 X11 + .112 X14


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 1.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีความสัมพันธ ทางบวกกับสมาธิในการเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 แสดงวานักเรียนที่มีสมาธิในการเรียนสูง จะมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูง ทั้งนี้เพราะนักเรียนตองการ พัฒนาตนเองใหดีขึ้น 1.4 บุคลิกภาพ มีความสัมพันธทางบวกกับ สมาธิในการเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว า นั กเรี ยนนักเรีย นบางคนที่มีบุคลิ ก ภาพแบบเอ มี สมาธิในการเรียน ทั้งนี้เพราะ นักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบเอ จะมีลักษณะ คือ ความมานะพยายามในการทํางาน ชอบฝา ฟนอุปสรรคตางๆ เพื่อประสบความสําเร็จ 1.5 นิสัยทางการเรียน มีความสัมพันธทางบวก กับสมาธิในการเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่มีนิสัยทางการเรี ยนดี มีสมาธิในการ เรี ย นและตั้ ง ใจมุ ง มั่ น ที่ จ ะศึ ก ษาหาความรู เ พื่ อ ให บ รรลุ ความสําเร็จในดานการศึกษา 1.6 แรงจูงใจใฝ สัมฤทธิ์ทางการเรียนมีความสัมพันธทางบวกกับสมาธิในการ เรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาก มีสมาธิใน การเรียนมาก 1.7 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครอง มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ สมาธิ ใ นการเรี ย นอย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 1.8 ลักษณะทางกายภาพดานการเรียน มี ความสัมพันธทางบวกกับสมาธิในการเรียนของนักเรียนใน ระดั บ ช ว งชั้ น ที่ 3 อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงวานักเรียนที่ไดรับลักษณะทางกายภาพดานการเรียนที่ ดี มีสมาธิในการเรียนมาก 1.9 สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ครู มี ความสัมพันธทางบวกกับสมาธิในการเรียนของนักเรียนใน ระดับชวงชั้นที่ 3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 1.10 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนมี ความสัมพันธทางบวกกับสมาธิในการเรียนของนักเรียนใน ระดั บ ช ว งชั้ น ที่ 3 อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงวานักเรียนที่มีสัมพันธภาพดีกับเพื่อน มีสมาธิในการ เรียนมาก ทั้งนี้เพราะการปฏิบัติตนของนักเรียนและเพื่อนที่

63

มีตอกันทั้งในและนอกหองเรียนเพื่อใหเกิดความสัมพันธที่ดี ตอกัน 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับสมาธิในการ เรียนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 คือ 2.1 เพศชาย มีความสัมพันธทางลบกับสมาธิ ในการเรียนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 แสดงวานักเรียนเพศชายบางคนมีสมาธิใน การเรี ย นน อ ยเพราะขาดความรั บ ผิ ด ชอบต อ งานที่ ไ ด รั บ มอบหมาย ไมคอยสนใจในการเรียนและการประกอบอาชีพ ในอนาคต พูดคุยในเวลาเรียน นั่งเหมอลอย ปลอยจิตใจ ฟุงซาน ไมมีสมาธิในการเรียนซึ่งเปนสาเหตุทําใหไมเขาใจ บทเรียนและเบื่อหนายการเรียน 2.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีความสัมพันธ ทางลบกับสมาธิในการเรียนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3.ปจจัยที่ไมมีความสัมพันธกับสมาธิในการเรียนของ นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี วิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานครมี 5 ปจจัย ไดแก ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 (X5) รายไดของ ผูปกครองรวมกัน (X7) บิดามารดาอยูดวยกัน (X8) บิดา มารดาหยารางกัน (X9) และบิดามารดาถึงแกกรรม (X10) ซึ่งอภิปรายผลไดดังนี้ 4. ป จจั ยที่ ส งผลต อ สมาธิ ใ นการเรี ย นของนั ก เรี ย น ชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธ มณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัย คือ 4.1 แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปน ปจจัยที่สงผลตอสมาธิในการเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เปนลําดับแรก แสดงวา นักเรียนที่มีแรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียนมากทําใหมีสมาธิใ นการเรียนมาก ทั้ ง นี้ เ พราะนั ก เรี ย นมี ค วามต อ งการของบุ ค คลที่ จ ะฝ า ฟ น อุปสรรคโดยไมยนยอและไมทอแท และทํางานใหบรรลุตาม จุดมุงหมายที่วางไวอยางมีระสิทธิภาพ 4.2 นิสัยทางการเรียน เปนปจจัยที่สงผลตอ สมาธิในการเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เปน อันดับที่สอง แสดงวา นักเรียนที่มีนิสัยทางการเรียนดี ทําให


64

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

มีสมาธิในการเรียนมาก ทั้งนี้เพราะนิสัยทางการเรียนเปน องคประกอบที่สําคัญในการเรียนรู 4.3 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู เปนปจจัยที่สงผลตอสมาธิในการเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่สาม แสดงวา นักเรียนที่มี สั ม พั น ธภาพกั บ ครู ดี ทํ า ให มี ส มาธิ ใ นการเรี ย นมาก ทั้ ง นี้ เพราะครูใหความรัก ความเอาใจใสตอนักเรียน และให คํ า ปรึ ก ษาหารื อ เมื่ อ นั ก เรี ย นมี ป ญ หา ทํ า ให นั ก เรี ย นมี ทัศนคติที่ดีตอครู ตั้งใจและเอาใจใสตอการเรียน 4.4 บุคลิกภาพ เปนปจจัยที่สงผลตอสมาธิ ในการเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เปน อันดับที่สี่ แสดงวา นักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบเอ มีสมาธิ ในการเรียนมาก เพราะนักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบเอ เปน ผูรักความกาวหนา จึงทําใหไมยอทอตออุปสรรค 4.5 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ ผูป กครอง เปน ปจจัยที่สงผลต อสมาธิในการเรี ยนอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่หา แสดงวา นัก เรีย นที่มีสัม พัน ธภาพระหวา งนัก เรีย นกับ ผูป กครองดี มีสมาธิในการเรียนมาก ทั้งนี้เพราะ สัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับผูปกครองเปนความสัมพันธที่ใกลชิดกัน การมี ปฏิสัมพันธที่ดีตอกัน เขาใจเห็นอกเห็นใจกันจะเปนปจจัยที่ เกื้อหนุนใหนักเรียนตั้งใจเรียนและมีสมาธิในการเรียนมาก ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะทั่วไป ผลจากการวิจัยครั้งนี้ สามารถใชเปนแนวทางให ผูบริหาร ครูผูสอน อาจารยที่ปรึกษา อาจารยแนะแนว และ ผูปกครองไดท ราบขอ มูลเพื่ อ พิจารณา สามารถนํา ไปเปน ขอมูลประกอบวางแผนพัฒนา หรือหาวิธีการในการสงเสริม ใหนักเรี ยนในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิท ยา พุท ธ มณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานครมีสมาธิในการเรียน โดยนํ า ปจจัยที่ สงผลตอสมาธิในการเรียนนําไปเปน ขอ มูล ประกอบวางแผนพั ฒ นา หรื อ หาวิ ธี ก ารในการส ง เสริ ม ให นักเรียนมีสมาธิในการเรียน ดังนี้คือ

1.1 แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทั้ง ผู ป กครอง ผู บ ริ ห าร ครู ผู ส อนตลอดจนผู ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ นักเรียน ควรมีการสงเสริมใหนักเรียนมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ทางการเรียน โดยการฝกใหนักเรียน มีความพยายามตอการ เรียนใหประสบความสําเร็จโดยไมยอทอตออุปสรรค รูจัก กําหนดเปาหมายที่เหมาะสมกับความสามารถของตน รูจักวา ตนเองเดน หรือดอยในดานไหน สามารถคิดแกปญหา และ อุปสรรคตาง ๆ ในการทํางานไดดวยตนเอง 1.2 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู ครู ควรมีการพัฒนาสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู โดยจัด กิจกรรมการเรียนทั้งใน และนอกหองเรียนใหนักเรียนกับครูได มีกิจกรรมรวมกันเพื่อใหเกิดความทัศนคติที่ดีตอกัน 1.3 บุคลิกภาพ ควรสงเสริมกิจกรรมที่ พัฒนาบุคลิกภาพของนักเรียนใหมีความกระตือรือรน ใฝรู ใฝเรียน คิดแกปญหาและฟนฝาอุปสรรคไดดวยตนเอง 1.4 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ ผูปกครอง ควรสงเสริมใหผูปกครองและนักเรียนมีโอกาสทํา กิจกรรมรว มกันเพื่อสรางสายสัมพัน ธที่ดีในครอบครัว ทั้ง ที่ บานและที่โรงเรียน 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมี ก ารศึ ก ษาป จ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ สมาธิในการเรียนของนักเรียนในระดับชวงชั้นอื่นๆ เชน ชวง ชั้นที่ 1 ชวงชั้นที่ 2 และระดับอุดมศึกษา เปนตน 2.2 ควรพัฒนาปจจัยที่สงผลตอสมาธิในการ เ รี ย น ไ ด แ ก แ ร ง จู ง ใ จ ใ ฝ สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน และสัมพันธภาพ ระหวางครูและนักเรียน โดยนําไปทําการวิจัยเชิงทดลองเพื่อ พัฒ นาองค ป ระกอบดั ง กล า วซึ่ ง จะช ว ยแก ป ญ หาด า นการ เรียน โดยใชเทคนิคทางจิตวิทยา เชน การปรับพฤติกรรม กลุมสัมพันธ เปนตน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

บรรณานุกรม เกียรติวรรณ อมาตยกุล (2530) วิถีแหงพุทธะ.กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัดภาพพิมพ. คณะอนุกรรมการการปฏิรูปการเรียนรู. (2543) ปฏิรูปการเรียนรูผูเรียนเปนสําคัญที่สุด.กรุงเทพฯ : คณะอนุกรรมการศึกษาแหงชาติ. จรรจา สุวรรณทัตและคณะ (2523).จิตวิทยาทั่วไป เลม 1 กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. จํานง อดิวัฒนสิทธิ์.(2545) สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร.กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ธรรมปฎก,พระ.สัมมาสมาธิและสมาธิแบบพุทธ.กรุงเทพฯ.โรงพิมพธรรมสภา. ธรรมปฎก,พระ.(2542) พุทธวิธีในการสอน.กรุงเทพฯ.บริษัทสหธรรมมิก จํากัด. ธรรมปฎก พระ, (2544).พุทธธรรม.กรุงเทพฯ.ดวงแกว. ธเนศ ขําเกิด.(2533) “การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่ดีในโรงเรียน”วารสารมิตรครู.9(30):4 นาตยา ภัทรแสงไทย.(2525) ยุทธวิธีการสอนสังคมศึกษา.กรุงเทพฯ.โรงพิมพพีระพัธนา. พรจิรา วงศชนะภัย.(2545) ปจจัยที่สงผลตอสุขภาพจิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน. ปริญญานิพนธ (จิตวิทยาการศึกษา) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ถายเอกสาร. พรรณี ชูทัย เจนจิต (2532) จิตวิทยาการเรียนการสอนตอจิตวิทยาการศึกษาสําหรับครูในชั้นเรียน.กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 (สํานักงานคณะกรรมการศึกษา แหงชาติ.2544) กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟค จํากัด. Frew,D.T. (1972).”Trancendental Medetation and Productivety”,Graduate School of Business Administration,Gannon College: 162.

65


66

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ปจจัยทีส่ งผลตอปญหาในการเรียนของนักเรียน ชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร FACTORS AFFECTING ON LEARNING PROBLEMS OF THE FOURTH LEVEL, SECONDARY GRADES 4-6 STUDENTS OF WATNUANNORADIT SCHOOL IN PHASICHAROEN DISTRICT, BANGKOK. พระมหาเดชจําลอง พุฒหอม 1 รองศาสตราจารยเวธนี กรีทอง 2 อาจารยนันทวิทย เผามหานาคะ 2 บทคัดยอ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ที่ สงผลตอปญหาในการเรียนของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนวัด นวลนรดิศ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ปจจัยที่ศึกษา แบงเปน 3 ปจจัย คือ ปจจัยดานสวนตัว ปจจัยดานครอบครัว และปจจัยดานสิ่งแวดลอมในการเรียน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย เปนนักเรียนชวงชั้น ที่ 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ป การศึกษา 2549 จํานวน 327 คน เปนนักเรียนชาย 188 คน และนักเรียนหญิง 139 คน ซึ่งไดมาโดยการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใชระดับชั้นและเพศเปน ชั้ น (Strata) เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ได แ ก แบบสอบถาม ปจจัยที่สงผลตอปญหาในการเรียน สถิติที่ใชในการวิเคราะห ขอมูล คือ การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ

1

นิสิตปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ผลการวิจัยพบวา 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับปญหาใน การเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปจจัย ไดแก เพศ : ชาย 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับปญหาในการ เรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 2 ปจจัย ไดแก เพศ : หญิง และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และปจจัย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ ป ญ หาในการเรี ย น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 มี 4 ป จ จั ย ได แ ก นิ สั ย ทางการเรี ย น การสนั บ สนุ น ด า นการเรี ย นของผู ป กครอง สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ครู และสั ม พั น ธภาพ ระหวาง นักเรียนกับเพื่อน 3. ปจจัยที่ไมมีความสัมพันธกับปญหาในการเรียน มี 6 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 4 ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 5 ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 6 ฐานะทาง เศรษฐกิ จ ของผู ป กครอง บุ ค ลิ ก ภาพ และลั ก ษณะทาง กายภาพของการเรียน 4. ปจจัยที่สงผลตอปญหาในการเรียน อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 ปจจัย โดยเรียงลําดับ จากป จ จั ย ที่ ส ง ผลมากที่ สุ ด ไปหาป จ จั ย ที่ ส ง ผลน อ ยที่ สุ ด ไดแก นิสัยทางการเรียน สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ เพื่อน การสนับสนุนดานการเรียนของผูปกครอง และฐานะ ทางเศรษฐกิ จ ของผู ป กครอง ซึ่ ง ป จ จั ย ทั้ ง 4 ป จ จั ย นี้ สามารถรว มกัน อธิบ ายความแปรปรวนของป ญ หาในการ เรียนของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เขต ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ไดรอยละ 42.70 5. สมการพยากรณปญหาในการเรียนของนักเรียน ช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นวั ด นวลนรดิ ศ เขตภาษี เ จริ ญ กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี ดังนี้ 5.1 สมการพยากรณปญหาในการเรียน ในรูป คะแนนดิบ ไดแก Ŷ = 4.894 - .406X9 - .257X13 + .089X10 - .016X7 5.2 สมการพยากรณปญหาในการเรียน ในรูป คะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = -.499X9 - .403X13 + .158X10 - .115X7

67

ABSTRACT The purposes of this research were to study the factors affecting on learning problems of the fourth level, secondary grades 4-6 students of Watnuannoradit School in Phasicharoen District, Bangkok. The factors were divided into 3 dimensions : personal factor, family factor and learning environment factor. The 327 samples : 188 males and 139 females were the fourth level, secondary grades 4-6 students of Watnuannoradit School in Phasicharoen District, Bangkok in academic year 2006. These students were stratified randomly from population with strata of class and gender. The instrument was a questionnaires of the factors affecting on learning problems. The data was analyzed by The Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1. There were significantly positive correlation among learnig problems and 1 factor : gender : male at .05 level. 2. There were significantly negative correlation among learning problems and 2 factors : gender : female and learning achievement at .05 level, there were significantly negative correlation among learning problems and 4 factors : learning habits, guardians’ learning support, interpersonal relationship between students and their teachers and interpersonal relationship between students and their peer groups at .01 level. 3. There were no significantly correlation among learning problems and 6 factors : class level : matthayom suksa IV, class level : matthayom suksa V, class level : matthayom suksa VI, guardians’ economic level, personality and physical learning environment.


68

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

4. There were 4 factors got significantly affecting on learning problems raking from the most affecter to the least affecter were learning habits, interpersonal relationship between students and their peer groups, guardians’ learning support and guardians’ economic level at .01 level. These 4 factors could predicted learning problems of the fourth level, secondary grades 4-6 students of Watnuannoradit School in Phasicharoen District, Bangkok about percentage of 42.70. 5. The predicted equation of learning problems of the fourth level, secondary grades 4-6 students of Watnuannoradit School in Phasicharoen District, Bangkok at .01 level were as follows : 5.1 In terms of raw scores were : Ŷ = 4.894 - .406X9 - .257X13 + .089X10 - .016X7 5.2 In terms of standard scores were : Z = -.499X9 - .403X13 + .158X10 - .115X7 ความเปนมาและความสําคัญของการวิจัย การปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห ง ชาติ พ.ศ. 2542 ทํ า ให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงการจั ด การศึกษาในรูปแบบใหม รวมทั้งวิธีคิด และกระบวนการ เรียนรู ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อพัฒนาคุณลักษณะของ ผูเรียนใหเปนคนดี คนเกง และมีความสุข (วิชัย วงษใหญ. 2543:69) แตการเปลี่ยนแปลงนั้นก็ทําใหเกิดผลกระทบตอ ผู เ รี ย นเป น อย า งมาก จนกลายเป น ป ญ หาที่ นั ก เรี ย นต อ ง เผชิญในชวงชีวิตของการเรียน เชน ปญหาการปรับตัวให เขากับการเรียน ปญหาการทํางานเกี่ยวกับการเรียน ปญหา ดานหลักสูตรและการสอนของครู และปญหาการเตรียมตัว เพื่อศึกษาตอ เปนตน ดังนั้น ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาวิจัยปญหาในการเรียน ของนักเรียน เนื่องจากเห็นวา ผลของการศึกษาวิจัยครั้งนี้ จะสามารถใช เ ป น ข อ มู ล ในการวางนโยบายป อ งกั น และ ชวยเหลือนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ที่มีปญหาในการเรียน เพื่อ สงเสริมใหนักเรียนสามารถเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพและ มีความสุข

ความมุงหมายในการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งป จ จั ย ด า น สวนตัว ปจจัยดานครอบครัว และปจจัยดานสภาพแวดลอม ในการเรีย นกั บ ป ญ หาในการเรี ย นของนั ก เรีย นช ว งชั้น ที่ 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 2. เพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ป จ จั ย ด า น ครอบครัว และปจจัยดานสภาพแวดลอมในการเรียนที่สงผล ตอ ปญ หาในการเรี ย นของนัก เรียนช ว งชั้น ที่ 4 โรงเรียนวั ด นวลนรดิศ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อสรางสมการพยากรณของปญหาในการเรียน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร วิธีวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชวงชั้น ที่ 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ประจํา ปก ารศึก ษา 2549 จํ า นวน 1,311 คน ได สุม กลุ ม ตั ว อย า งแบบแบ ง ชั้ น โดยใช ชั้ น และเพศเป น ชั้ น ได ก ลุ ม ตัวอยางจํานวน 327 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามปญหา ในการเรียนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ ที่ผูวิจัยสรางขึ้น โดยสถิติที่ใชในการวิจัยคือ คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย ( x ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบความสัมพันธดวยวิธีการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธของเพียรสัน (The Pearson Product Moment Correlation Coefficient) และคนหาตัวพยากรณปญหาใน การเรี ย นโดยใช วิ ธี ก ารวิ เ คราะห ก ารถดถอยพหุ คู ณ (Stepwise Multiple Regression Analysis) สมมติฐานในการวิจัย 1. ปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และดาน สิ่ง แวดลอ มในการเรียน มีค วามสัมพัน ธกับ ปญ หาในการ เรียนของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เขตภาษี เจริญ กรุงเทพมหานคร 2. ปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และดาน สิ่ ง แวดล อ มในการเรี ย น ส ง ผลต อ ป ญ หาในการเรีย นของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ผลการวิจัยและอภิปรายผล 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับปญหาใน การเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปจจัย ไดแก เพศ : ชาย แสดงวานักเรียนเพศชายมีปญหาในการ เรียนมาก ทั้งนี้อาจเปนเพราะนักเรียนชายซึ่งอยูในชวงวัยรุน มี ค วามขยั น ความตั้ ง ใจ เอาใจใส ต อ การเรี ย นน อ ย สอดคล อ งกั บ ผลการวิ จั ย ของ วิ ร ชาม กุ ล เพิ่ ม ทวี รั ช ต (2547:78) ที่ไดศึกษาปจจัยที่สงผลตอแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นวิ ช าภาษาอั ง กฤษของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นวั ด ราชโอรส เขตจอมทอง กรุ ง เทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา นักเรียนชายมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการ เรียนภาษาอังกฤษนอย 2. ป จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ ป ญ หาใน การเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 2 ปจจัย ไดแก เพศ : หญิง และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และปจจัย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ ป ญ หาในการเรี ย น อย า งมี นัยสํา คัญทางสถิติ ที่ ระดั บ .01 มี 4 ป จจั ย ไดแ ก นิสัย ทางการเรียน การสนับสนุนดานการเรียนของผูปกครอง สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ครู และสั ม พั น ธภาพ ระหวาง นักเรียนกับเพื่อน ซึ่งอภิปรายผลไดดังนี้ 2.1 เพศ : หญิง มีความสัมพันธทางลบกับ ปญหาในการเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวานักเรียนหญิงมีปญหาในการเรียนนอย ทั้งนี้อาจเปน เพราะนักเรียนหญิงมีความตั้งใจ สนใจ และเอาใจใสตอการ เรียนมาก เพราะวัยรุนหญิงจะมีวุฒิภาวะดานสังคมมากกวา วั ย รุ น ชาย จึ ง มี ค วามตั้ ง ใจเรี ย น ตั้ ง ใจทํ า งานที่ ไ ด รั บ มอบหมาย ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ พระมหาภักดี เกตุ เ รน (2547:108) ที่ ไ ด ศึ ก ษาตั ว แปรที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ แรงจูงใจในการเรียนวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียนศูนย ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตยวัดชางไห อําเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปตตานี ผลการวิจัยพบวา นักเรียนหญิงมีแรงจูงใจ ในการเรียนวิชาพระพุทธศาสนามาก 2 . 2 ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น มี ความสั ม พั น ธ ท างลบกั บ ป ญ หาในการเรี ย น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงมีปญหาในการเรียนนอย ทั้งนี้

69

อาจเปน เพราะนักเรียนที่ มีผ ลสัมฤทธิ์ท างการเรียนสูง เป น นั ก เรี ย นที่ ตั้ ง ใจเรี ย น และเอาใจใส ใ นการเรี ย น มี ค วาม กระตือรือรน ขยันอานหนังสือและทบทวนบทเรียน จึงทําให มี ป ญ ห า ใ น ก า ร เ รี ย น น อ ย ดั ง ที่ ลิ น ด เ ก ร น (Lindgren.1980:48-51) กลาววา เหตุผลที่นักเรียนประสบ ความสํา เร็จ ในการเรียนนั้น ขึ้น อยูกับ วิธีป ฏิบัติต นทางการ เรียนรอยละ 33 ความสนใจในการเรียนรอยละ 25 เชาวน ปญญารอยละ 15 นอกนั้นขึ้นอยูกับองคประกอบอื่น ๆ 2.3 นิสัยทางการเรียน มีความสัมพันธทาง ลบกั บ ป ญ หาในการเรี ย น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่มีนิสัยทางการเรียนดีมีปญหา ในการเรียนนอย ทั้งนี้อาจเปนเพราะ นักเรียนที่มีนิสัย ทางการเรียนดี มีความตั้งใจ เอาใจใสตอการเรียน มีการ วางแผนการเรียนของตนเอง รูจัก แบงเวลา รูจัก แสวงหา ขอมูลเกี่ยวกับการเรียนอยูเสมอ ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัย ของ อัจฉรา วงศโสธร และคนอื่น ๆ (2525:95-98) ที่ได ศึกษาความสัมพันธระหวางวิธีการเรียนรูและความสําเร็จใน การเรี ย นภาษาอั ง กฤษของผู เ ริ่ ม เรี ย น โดยศึ ก ษา องคประกอบตาง ๆ ไดแก ความถนัดทางการเรียน ทัศนคติ แรงจู ง ใจ และนิ สั ย ในการเรี ย น กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช เ ป น นั ก เรี ย นที่ เ ริ่ ม เรี ย นภาษาอั ง กฤษจากโรงเรี ย นสามเสน วิ ท ยาลั ย จํ า นวน 97 คน ผลการวิ จั ย พบว า ทั ศ นคติ แรงจูงใจ นิสัยในการเรียน มีความสัมพันธกับความสําเร็จ ในการเรียนภาษาอังกฤษตามความสามารถของแตละคน 2.4 การสนับสนุนดานการเรียนของ ผู ป กครอง มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ ป ญ หาในการเรี ย น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวานักเรียนที่ ไดรั บ การสนับ สนุ น ด า นการเรี ย นจากผู ปกครองมาก มี ปญหาในการเรียนนอย ทั้งนี้อาจเปนเพราะผูปกครองที่ให การสนับสนุนดานการเรียนแกนักเรียน ทั้งทางดานวัตถุและ ทางดานวาจาอยางมากนั้น ทําใหนักเรียนมีกําลังใจและมี ความตั้งใจในการเรียน จึงทําใหนักเรียนสามารถเรียนรูได อย า งเต็ ม ที่ สอดคล อ งกั บ ผลการวิ จั ย ของ สิ ริ พ ร ดาวั น (2540:96) ที่ ไ ด ศึ ก ษาตั ว แปรที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ความ ขยันหมั่นเพียรในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลายปการศึกษา 2539 โรงเรียนพิบูลวิท ยาลัย จัง หวัด


70

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ลพบุ รี ผลการวิ จั ย พบว า บรรยากาศในครอบครั ว มี ความสั ม พั น ธ กั บ ความขยั น หมั่ น เพี ย รในการเรี ย นของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2.5 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู มี ความสัมพันธทางลบกับปญหาในการเรียน อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวานักเรียนที่มีสัมพันธภาพที่ดีกับ ครู มี ป ญ หาในการเรี ย นน อ ย ทั้ ง นี้ อ าจเป น เพราะการที่ นักเรียนกับครูมีสัมพันธภาพที่ดีตอกัน โดยที่นักเรียนมีความ เคารพนับถือ เชื่อฟงครูผูสอน ตั้งใจทําในสิ่งที่ครูอบรมสั่ง สอน และซักถามครูเมื่อมีขอสงสัยทั้งในดานการเรียนและ ดานสวนตัว และการที่ครูใหความสนใจตอนักเรียน มีความ เปนกันเอง และใหความรักความเอาใจใส ใหคําปรึกษา และ ขอ ชี้ แ นะแก นั กเรียนทั้ง ดานการเรีย นและดา นส ว นตั ว สิ่ง เหลานี้จะมีสวนชวยใหนักเรียนมีความสนใจและตั้งใจเรียน ดังที่ พรรณี (ชูทัย) เจนจิต (2538:361) กลาววา การที่ครู มีค วามเมตตากรุ ณ าเห็น อกเห็ น ใจนัก เรีย นสนใจนั ก เรี ย น อยางสม่ําเสมอ มีความยุติธรรม ตลอดจนมีความสัมพันธ อันดีกับนักเรียน ทําใหนักเรียนรักที่จะเรียน และสงผลให นักเรียนประสบความสําเร็จในการเรียนดวย 2.6 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อ น มีความสัมพัน ธทางลบกับปญหาในการเรียน อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวานักเรียนที่มี สัมพั นธภาพที่ดี กับเพื่ อ น มี ปญหาในการเรียนนอ ย ทั้ง นี้ อาจเปนเพราะการปฏิบัติตนของนักเรียนและเพื่อนที่มีตอกัน ทั้งในและนอกหองเรียน โดยการชวยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและ กันดานการเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันทางการเรียน มีความหวงใยใกลชิดสนิทสนมซึ่งกันและกัน ทํากิจกรรมตาง ๆ รวมกัน ยอมสงผลใหนักเรียนมีปญหาในการเรียนนอย 3. ปจจัยที่ไมมีความสัมพันธกับปญหาในการเรียน มี 6 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 4 ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 5 ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 6 ฐานะทาง เศรษฐกิ จ ของผู ป กครอง บุ ค ลิ ก ภาพ และลั ก ษณะทาง กายภาพของการเรียน ซึ่งอภิปรายผลไดดังนี้ 3.1 ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 4 ไมมี ความสัมพันธกับปญหาในการเรียน แสดงวา นักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปที่ 4 บางคนมีปญหาในการเรียนนอย ในขณะ ที่นักเรียนบางคนมีปญหาในการเรียนมาก 3.2 ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 5 ไมมี ความสัมพันธกับปญหาในการเรียน แสดงวา นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5 บางคนมีปญหาในการเรียนนอย ในขณะ ที่นักเรียนบางคนมีปญหาในการเรียนมาก 3.3 ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 6 ไมมี ความสัมพัน ธกับ ปญหาในการเรียน แสดงวา นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปท่ี 6 บางคนมีปญหาในการเรียนนอย ในขณะ ที่นักเรียนบางคนมีปญหาในการเรียนมาก 3.4 ฐานะทางเศรษฐกิจของผูปกครอง ไมมี ความสัมพันธกับปญหาในการเรียน แสดงวา นักเรียนบาง คนที่ผูปกครองมีฐานะทางเศรษฐกิจดี มีปญหาในการเรียน น อ ย ในขณะที่ นั ก เรี ย นบางคนที่ ผู ป กครองมี ฐ านะทาง เศรษฐกิจดี มีปญหาในการเรียนมาก อีกดานหนึ่ง นักเรียน บางคนที่ผูปกครองมีฐานะทางเศรษฐกิจไมดี มีปญหาในการ เรียนนอย ในขณะที่นักเรียนบางคนที่ผูปกครองมีฐานะทาง เศรษฐกิจไมดี มีปญหาในการเรียนมาก 3.5 บุคลิกภาพ ไมมีความสัมพันธกับปญหา ในการเรียน แสดงวา นักเรียนบางคนที่มีบุคลิกภาพแบบ เอ มี ป ญ หาในการเรี ย นน อ ย ในขณะที่ นั ก เรี ย นบางคนที่ มี บุคลิกภาพแบบ เอ มีปญหาในการเรียนมาก อีกดานหนึ่ง นักเรียนบางคนที่มีบุคลิกภาพแบบ บี มีปญหาในการเรียน น อ ย ในขณะที่ นั ก เรี ย นบางคนที่ มี บุ ค ลิ ก ภาพแบบ บี มี ปญหาในการเรียนมาก 3.6 ลักษณะทางกายภาพของการเรียน ไมมี ความสัมพันธกับปญหาในการเรียน แสดงวา นักเรียนบาง คนที่ไดรับลักษณะทางกายภาพของการเรียนดี มีปญหาใน การเรียนนอย ในขณะที่นักเรียนบางคนที่ไดรับลักษณะทาง กายภาพของการเรียนดี มีปญหาในการเรียนมาก 4. ปจจัยที่มีสงผลตอปญหาในการเรียน อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 ปจจัย โดยเรียงลําดับ จากป จ จั ย ที่ ส ง ผลมากที่ สุ ด ไปหาป จ จั ย ที่ ส ง ผลน อ ยที่ สุ ด ไดแก นิสัยทางการเรียน สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ เพื่อน การสนับสนุนดานการเรียนของผูปกครอง และฐานะ ทางเศรษฐกิ จ ของผู ป กครอง ซึ่ ง ป จ จั ย ทั้ ง 4 ป จ จั ย นี้


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 สามารถรว มกั น อธิ บ ายความแปรปรวนของป ญ หาในการ เรียนของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เขต ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ไดรอยละ 42.70 ซึ่งอภิปราย ผลไดดังนี้ 4.1 นิ สั ย ทางการเรี ย น ส ง ผลทางลบต อ ปญหาในการเรียน เปนอันดับที่ 1 แสดงวานักเรียนที่มีนิสัย ทางการเรี ย นดี มี ป ญ หาในการเรี ย นน อ ย ทั้ ง นี้ เ พราะ นักเรียนที่มีนิสัยทางการเรียนดี มีความตั้งใจ เอาใจใสตอ การเรียน มีการวางแผนการเรียนของตนเอง รูจักแบงเวลา รูจักแสวงหาขอมูลเกี่ยวกับการเรียนอยูเสมอ ซึ่งสอดคลอง กั บ ผลการวิ จั ย ของ อั จ ฉรา วงศ โ สธร และคนอื่ น ๆ (2525:95-98) ที่ไดศึกษาความสัมพันธระหวางวิธีการเรียนรู และความสํ า เร็ จ ในการเรี ย นภาษาอั ง กฤษของผู เ ริ่ ม เรี ย น โดยศึกษาองคประกอบตาง ๆ ไดแก ความถนัดทางการเรียน ทัศนคติ แรงจูงใจ และนิสัยในการเรียนกลุมตัวอยางที่ใช เปนนักเรียนที่เริ่มเรียนภาษาอังกฤษจากโรงเรียนสามเสน วิทยาลัย จํานวน 97 คน พบวา ทัศนคติ แรงจูงใจ นิสัยใน การเรี ย น มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ ความสํ า เร็ จ ในการเรี ย น ภาษาอังกฤษตามความสามารถของแตละคน 4.2 สั มพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อ น สงผลทางลบตอปญหาในการเรียน เปนอันดับที่ 2 แสดงวา นักเรียนที่มีสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อน มีปญหาในการเรียน นอย ทั้งนี้เพราะการปฏิบัติตนกับเพื่อนไดถูกตองเหมาะสม เชน การชวยเหลือใหคําปรึกษาแกกันและกันดานการเรียน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นดานการเรียน มีความหวงใย ใกลชิดสนิทสนมซึ่งกันและกัน และการทํากิจกรรมตาง ๆ รวมกัน ยอ มสงผลใหนักเรียนมีความสุข กับการเรียนและ ประสบความสําเร็จในการเรียน ดังที่ คองเกอร (Conger and other. 1984:238) กลาววา ประสบการณดานกลุม เพื่ อ นนั บ เป น ประสบการณ ห นึ่ ง ที่ มี ค วามสํ า คั ญ คื อ เชื่ อ มโยงประสบการณ ใ นครอบครั ว กั บ การทํ า งานในโลก กวา ง ชว ยใหนักเรียนผา นพน อุปสรรค และให นั กเรียนมี อิสระจากครอบครัว บางสถานการณเพื่อนชวยเกื้อหนุนใน การศึกษา สามารถเปนกําลังใจในเรื่องทั่ว ๆ ไป 4.3 การสนั บ สนุ น ด า นการเรี ย นของ ผู ป กครอง ส ง ผลต อ ป ญ หาในการเรี ย น เป น อั น ดั บ ที่ 3

71

แสดงว า นั ก เรีย นที่ ไ ด รับ การสนั บ สนุ น ดา นการเรี ย นจาก ผูปกครองมาก มีปญหาในการเรียนมาก ทั้งนี้เพราะการให การสนับสนุนดานการเรียนของผูปกครองโดยการจัดซื้อจัดหา อุปกรณการเรียนใหแก นักเรียน หรือใหทุนทรัพยเพื่อใช จายเปนคาอุปกรณการเรียนหรือเพื่อเปนคาใชจายอื่น ๆ ที่จะ เอื้อประโยชนตอการเรียน แตนักเรียนนําทุนทรัพยนั้นไปใช จายในทางที่ไมเหมาะสม ไมเอื้อประโยชนตอการเรียนของ ตน ก็ จ ะทํ า ใหเ กิ ดป ญ หาในการเรี ย นตามมา นอกจากนี้ การที่ผูปกครองใหการสนับสนุนดานวาจา โดยการชี้แนะให คําปรึกษา แนะนําการเรียน เมื่อนักเรียนมีปญหาทั้งดาน การเรียนและดานสวนตัว คอยใหความชวยเหลือมากเกินไป สิ่งเหลานี้อาจจะทําใหนักเรียนรูสึกวาเปนการบังคับเคี่ยวเข็ญ มากเกิ นไป หรือเกิดความรูสึกไมมั่นใจไมแ นใจที่จะทําสิ่ง ตา ง ๆ คิดวาผู ปกครองไมใ หความเปนอิสระแกตนในการ ตัดสินใจทําสิ่งตาง ๆ การสนับสนุนดานดังกลาวก็กลับจะ เปนตัวกระตุนใหเกิดปญหามากกวา 4.4 ฐานะทางเศรษฐกิจของผูปกครอง สงผลทางลบตอปญหาในการเรียน เปนอันดับที่ 4 ซึ่งเปน อัน ดับ สุด ทา ย แสดงวา นั ก เรีย นที่ ผูป กครองมีฐ านะทาง เศรษฐกิ จ ดี มี ป ญ หาในการเรี ย นน อ ย ทั้ ง นี้ เ พราะ ผูปกครองที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดี สามารถจัดซื้อสื่อหรือ อุปกรณการเรียนที่เอื้อประโยชนตอการเรียนของนักเรียน ทํา ใหนักเรียนมีกําลังใจ เกิดแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ มีความมั่นใจ ในตนเอง กลาแสดงออก ทําใหเปนที่ยอมรับของกลุมเพื่อน สามารถเรียนไดดีและประสบความสําเร็จในการเรียน ขอเสนอแนะ ผลจากการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู มี ส ว นเกี่ ย วข อ ง เช น ผู บ ริ ห าร ครู ผู ส อน อาจารย ที่ ป รึ ก ษา อาจารย แ นะแนว และผู ป กครอง สามารถนํ า ไปเป น ข อ มู ล ประกอบการ วางแผนพัฒนา หรือหาวิธีการในการปองกันไมใหเกิดปญหา ในการเรียนแกนักเรียน ดังนี้ 1. นิสัยทางการเรียน สามารถพยากรณปญหาใน การเรียนไดดีที่สุด ดังนั้น ทั้งผูปกครอง ผูบริหาร ครูผูสอน และผูที่เกี่ยวของกับนักเรียน ควรปลูกฝงนิสัยทางการเรียนที่ ดีใหกับนักเรียน โดยใหนักเรียนไดฝกอบรมหรือฝกปฏิบัติให รูจักหนาที่ของตนเอง เชน รูจักการวางแผนในการเรียน การ


72

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

แบ ง เวลาในการเรี ย น มี ค วามตั้ ง ใจเรี ย นหรื อ ทํ า งานที่ ค รู มอบหมาย และการทบทวนบทเรียนอยางสม่ําเสมอ เปนตน เพื่อใหนักเรียนมีนิสัยทางการเรียนที่ดี อันจะสงผลใหประสบ ความสําเร็จในการเรียน 2. สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ น สามารถพยากรณปญหาในการเรียน ไดดีเปนอันดับที่สอง ดังนั้น ผูบริหารโรงเรียน ครูผูสอน และผูที่เกี่ยวของ ควรจัด กิจกรรมใหนักเรียนไดมีปฏิสัมพันธระหวางกันทั้งในระดับชั้น เดี ย วกั น และต า งระดั บ อย า งสม่ํ า เสมอ เพื่ อ ให เ กิ ด สัมพันธภาพที่ดีตอกันทั้งในและนอกหองเรียน ซึ่งจะทําให เกิดความสนิทสนม ความเขาใจ ชวยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและ กัน ทั้งในดานการเรียนและดานสวนตัว อันจะนําไปสูการ ประสบความสําเร็จดานการเรียนตอไป 3. การสนั บ สนุ น ด า นการเรี ย นของผู ป กครอง สามารถพยากรณปญหาในการเรียน ไดดีเปนอันดับที่สาม ดังนั้น ผูปกครองและผูที่เกี่ยวของกับนักเรียน ควรใหการ สนับ สนุนดานการเรียนแก นักเรียนอยางเพียงพอและ เหมาะสม ทั้งการสนับสนุนดานวัตถุ เชน จัดซื้ออุปกรณการ เรียนใหอยางเพียงพอ เหมาะสมและจําเปนตอการใชงาน

นอกจากนี้ ควรใหความสนใจ เอาใจใสตอ การเรียนของ นักเรียนอยางเต็มที่ คอยสอบถามถึงปญหาที่นักเรียนประสบ จากการเรียน คอยใหคําปรึกษา ชี้แนะ เมื่อนักเรียนประสบ ปญหา และแสดงความยินดีเมื่อนักเรียนประสบความสําเร็จ หรื อ สามารถเรี ย นได ดี สิ่ ง เหล า นี้ จ ะทํ า ให นั ก เรี ย นเกิ ด กํ า ลั ง ใจ มี แ รงจู ง ใจที่ จ ะศึ ก ษาเล า เรี ย นอย า งเต็ ม ความสามารถ 4. ฐานะทางเศรษฐกิจ ของผูปกครอง สามารถ พยากรณปญหาในการเรียน ไดเปนอันดับที่สี่ ซึ่งเปนอันดับ สุดทาย ดังนั้น ผูบริหารโรงเรียน และครู ควรปรึกษาหารือ กับผูปกครองของนักเรียน เพื่อทําความเขาใจรวมกัน ในการ ใหการสนับสนุน ใหความชวยเหลือแกนักเรียนดานคาใชจาย อย า งเหมาะสมพอเพี ย งและจํ า เป น กั บ การเรี ย นและการ ดําเนินชีวิตของนักเรียน นอกจากนี้ควรมีการจัดกิจกรรมที่จะ ทําใหเกิดการเรียนรูดานการใชทรัพยากรเพื่อการเรียนรูใหได ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด อั น จะทํ า ให นั ก เรี ย นรู จั ก ใช จ า ยให พอเพี ย งและจํ า เป น กั บ ชี วิ ต การเรี ย นและจะส ง ผลดี ต อ นักเรียนในอนาคต


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

73

บรรณานุกรม พระมหาภักดี เกตุเรน. (2547). ตัวแปรที่เกี่ยวของกับแรงจูงใจในการเรียนวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียนศูนยศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตยวัดชางไห อําเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปตตานี. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. พรรณี (ชูทัย) เจนจิต. (2538). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : บริษัทตนออ แกรมมี่ จํากัด. วิชัย วงษใหญ. (2526, พฤษภาคม). ความหมายของหลักสูตรและการสอน. วารสารการพัฒนาหลักสูตร. ฉบับที่ 20 : 12 – 13. วิรชาม กุลเพิ่มทวีรัชต. (2547). ปจจัยที่สงผลตอแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนวัดราชโอรส เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. สิริพร ดาวัน. (2540). ตัวแปรที่เกี่ยวของกับความขยันหมั่นเพียรในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. อัจฉรา วงศโสธร และคนอื่น ๆ. (2525). รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาความสัมพันธของวิชาเรียนและความถนัด ในการเรียนภาษาอังกฤษตามความสามารถของแตละบุคคล. กรุงเทพฯ : สถาบันภาษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Bounomo, C.L. (1990, August). “The Successful and Unsuccessful Foreign Language Student : The Affective Domain.” Dissertation Abstracts International. 51 (2) : 437 – A. Conger, J.J. and Anne C. Petuson. (1984). Adolescence and Youth. 3rd ed. Edition. New York : Harper. Koivo, Anne Piblak. (1983, February). “The Reletionship of Student Perceptions of Study Habits and Attitudes Based on Differences in Sex, Grade and Academic Achievement”. Dissertation Abstracts International. 43 (5) : 2624 – A. Lindgren, Henry Clay. (1980). Educational psychology in the classroom. New York : Oxford University Press. Yamane, Taro. (1970). Statistic : An Introductory Analysis. New York : Harper and Row.


74

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

การวิเคราะหคุณภาพของนโยบายการใหบริการ สาธารณะของกรมที่ดิน กรณีศกึ ษาสํานักงานที่ดิน จังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด THE QUALITY ANALYSIS OF PUBLIC SERVICE OF DEPARTMENT OF LANDS ; A CASE STUDY OF DEPARTMENT OF LANDS, PAKKRET BRANCH, NONTHABURI PROVINCE. สนทรรศน แยมรุง 1 รองศาสตราจารย ดร.วรพิทย มีมาก 2 อาจารยชีวินทร ฉายาชวลิต 2 บทคัดยอ การศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู วิ จั ย มุ ง ศึ ก ษาถึ ง การ วิเคราะหคุณภาพของนโยบายการใหบริการสาธารณะของกรม ที่ดิน กรณีศึกษาสํานักงานที่ดิน สาขาปากเกร็ด กลุ ม ตั ว อย า ง คื อ ประชาชนที่ เ ข า รั บ บริ ก าร จํ า นวน 300 คน โดยใช ก ารสุ ม แบบแบ ง ชั้ น ภู มิ (Stratified Random Sampling) และเจาหนาที่ของสํานักงานที่ดิน จังหวัด นนทบุ รี สาขาปากเกร็ ด จํ า นวน 40 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ น การศึกษาคนควา ไดแก แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะห ขอมูลคือ t-Test, one way ANOVA และ Regression ผลการศึกษา พบวา 1. ปจจัยสวนบุคคลของประชาชน ไดแ ก อายุ และรายได ที่ แ ตกต า งกั น ทํ า ให ค วามคิ ด เห็ น ในเรื่ อ งการ ใหบริการสาธารณะของสํานักงานที่ดิน จังหวัดนนทบุรี สาขา ปากเกร็ด แตกตางกัน ขณะที่ปจจัยสวนบุคคลของเจาหนาที่มี เฉพาะอายุ ที่แตกตางกัน เทานั้น ที่ทําใหความคิดเห็นในเรื่อง การให บ ริ ก ารสาธารณะของสํ า นั ก งานที่ ดิ น จั ง หวั ด นนทบุ รี สาขาปากเกร็ด แตกตางกัน

1

นิสิตระดับปริญญาโท สาขาวิชานโยบายสาธารณะ โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชารัฐศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 2. ผลลั พ ธ ข องการเข า รั บ บริ ก ารสาธารณะของ สํ า นั ก งานที่ ดิ น จั ง หวั ด นนทบุ รี สาขา ปากเกร็ ด ของ ประชาชน ในดานระบบมาตรฐานคุณภาพ ดานระบบขอมูล, ระบบการสื่ อ สาร, ระบบการตั ด สิ น ใจ, ระบบการพั ฒ นา บุคลากร, ระบบการมีสวนรวม, ระบบการประเมินผล, ระบบ การ คาดคะเนและแก ไ ขวิ ก ฤต, ระบบวั ฒ นธรรมและ จรรยาวิชาชีพ, เปาหมายและความพึงพอใจของผูบริโภค, การบริหารกระบวนการคุณภาพ และภาวะผูนํา มีอิทธิพลตอ คุณภาพของนโยบายการใหบริการสาธารณะ สวนผลลัพธ ของการให บ ริ ก ารสาธารณะของสํ า นั ก งานที่ ดิ น จั ง หวั ด นนทบุ รี สาขาปากเกร็ ด ของเจ า หน า ที่ ในด า นระบบ มาตรฐานคุณภาพ ดานระบบคาดคะเนและแกไขวิกฤต และ การบริหารกระบวนการคุณภาพมีอิท ธิพลตอคุณภาพของ นโยบายการใหบริการสาธารณะ 3. ประสิทธิผลดานความคุมคามีอิทธิพลตอ คุณภาพของนโยบายการใหบริการสาธารณะ ABSTRACT The research aimed to study quality analysis of public service of department of lands, Pak Kret Branch, Nonthaburi Province. The samples, 300 inhabitants and 40 officers of department of lands, Pak Kret Branch, Nonthaburi Province, were selected through stratified random sampling, Data were collected by reliability – tested questionnaires and analyzed through t-test, one way analysis of variance and multiple regression analysis. The concluded results were as follows. 1. People ‘s personal factor, age and income, illustrated significant difference in public service of department of lands, Pak Kret Branch, Nonthaburi Province, but only age for officers. 2. Regarding people, information system, communication system, decision making system, personal development system – HRM, participation system, evaluation system, risk assessment system, culture and ethics system, customer focus and

75

satisfaction, management of process quality and leadership had affected to quality of public service. For officers, risk assessment system and management of process quality had affected to quality of public service 3. Value effectiveness had affected to quality of public service. บทนํา ก ร ม ที่ ดิ น เ ป น ห น ว ย ง า น ร า ช ก า ร ที่ สั ง กั ด กระทรวงมหาดไทย โดยมีภ ารกิจ ตามประมวลกฎหมาย ที่ดิน และกฎหมายอื่น ซึ่ง ดํา เนิน การออกหนัง สือ แสดง สิท ธิใ นที่ดิน ใหแ กร าษฎร ใหบ ริก ารดา นการจดทะเบียน สิทธิ และนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดิน และอสังหาริมทรัพยอยางอื่น การรัง วัด ออกหนัง สือ สํ า คัญ สํ า หรับ ที ่ห ลวงในที ่ด ิน ส า ธ า ร ณ ป ร ะ โ ย ช น  แ ล ะ ใ น ที ่ร า ช พ ัส ดุ ก า ร ร ัง ว ัด เอกสารสิทธิ การรังวัดแบงแยก การโอนมรดก การออกใบ แทน การสอบเขตที่ดิน การขออนุมัติจัด สรรที่ดิน การจด ทะเบีย นอาคารชุด และจัดสรรที่ดิน ทํา กิน ใหแ กป ระชาชน ตามประมวลกฎหมายที่ ดิ น รวมทั้ ง การจดทะเบี ย นสิ ท ธิ แ ล ะ นิ ต ิ ก ร ร ม เ พื ่ อ คุ  ม ค ร อ ง สิ ท ธิ อ สัง หาริม ทรัพ ยแ ก ประชาชนโดยทั่วไป การดําเนินงานของกรมที่ดินที่ผานมายังไมเปน ที่ นา พึง พอใจแกป ระชาชนผู ใ ชบ ริก าร เทา ที ่ค วร มี ภาพพจนใ นดา นลบเกี ่ย วกับ การบริก ารเสมอมา การไป ติด ตอ เพื ่อ ทํ า ธุร กรรมใน สํ า นัก งานที ่ด ิน จะใชเ วลา คอ นขา งมาก และยัง ไมไ ดร ับ ความสะดวกนัก แมจ ะมี ระเบีย บกํา หนด ขั้น ตอน การดํา เนิน งานแตล ะขั้น ตอน แลว ก็ต าม แตใ นทางปฏิบ ัต ิเ จา หนา ที ่ม ัก จะไมเ อาใจใส เทาที่ควร สิ่งที่ถูกละเลยเสมอ ก็คือ ขาดการสรางความพึง พอใจใหลูกคาซึ่ง คือ ประชาชน ผูใชบริการนั่นเอง คําถามของการวิจัย 1. ลําดับความสําคัญของปญหาของระบบ มาตรฐานคุณ ภาพของเจ า หน า ที่ ป ระจํ า สํ า นั ก งานที่ ดิ น จังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด เปนอยางไร


76

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

2. ลําดับความสําคัญของปญหาของนโยบาย คุ ณ ภาพของเจาหนาที่ประจําสํานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด เปนอยางไร 3. ความสัมพันธระหวางระบบมาตรฐานคุณภาพ กับ นโยบายคุ ณ ภาพที่ มี ต อ การให บ ริ ก ารของเจ า หน า ที่ ประจํ าสํ านั กงานที่ ดิ นจั งหวั ดนนทบุ รี สาขาปากเกร็ ด เป น อยางไร 4. สาเหตุของการทําใหการปฏิบัติงานของ เจาหนาที่ประจําสํานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด ที่ไมมีประสิทธิผล เนื่องมาจากสาเหตุใด 5. ประสิทธิผลของเจาหนาที่มีมากนอยเพียงใด วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อ ศึก ษาระบบมาตรฐานคุณ ภาพของการ ใหบ ริก ารของเจา หนา ที่ป ระจํา สํา นัก งาน ที่ดิน จัง หวัด นนทบุรี สาขาปากเกร็ด 2 . เ พื ่อ ศึก ษ า คุณ ภ า พ ข อ ง น โ ย บ า ย ก า ร ใหบ ริก ารของเจา หนา ที ่ป ระจํ า สํ า นัก งานที ่ด ิน จัง หวัด นนทบุรี สาขาปากเกร็ด 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางระบบมาตรฐาน คุณ ภาพกับ นโยบายคุณ ภาพของ การใหบริการของ เจาหนาที่ประจําสํานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาปาก เกร็ด 4. เพื่อ ศึก ษาประสิท ธิผ ลของการปฏิบัติง าน ของเจา หนา ที่ประจําสํา นักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขา ปากเกร็ด ความสําคัญของการวิจัย เพื่อนําผลที่ไดจากการวิจัยไปเปนแนวทางในการ ปรับปรุงแกไขการใหบ ริการของเจาหนาที่ประจําสํานักงาน ที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชศึกษาในครั้งนี้ คือ ประชาชนที่มาใช บริการดานจดทะเบียน และดานแบงแยก รวม เปลี่ยน สอบ เขต ตรวจสอบพื้ น ที่ และออกใบแทนของสํ า นั ก งานที่ ดิ น จังหวัดนนทบุรี สาขา ปากเกร็ ด จํา นวน 300 คน โดย ห นว ย วิเ ค ร า ะ หใ น ก า ร วิ จ ั ย ค รั ้ง นี ้ คือ ขอ มูล ข อ ง

ประชาชนที่ ม าใช บ ริ ก ารสํา นั ก งานที่ ดิ น จั ง หวั ด นนทบุ รี สาขาปากเกร็ ด ตั้ ง แต เ ดื อ นมกราคม - มิถุนายน 2549 และเจา หนา ที่ป ระจํา สํา นัก งานที่ดิน จัง หวัด นนทบุรี สาขา ปากเกร็ด จํานวน 40 คน 2. ศึกษาคุณภาพของนโยบายการใหบริการ สาธารณะของเจา หนา ที ่ป ระจํ า สํ า นัก งานที ่ด ิน จัง หวัด นนทบุรี สาขาปากเกร็ด ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ ตัวแปรอิสระที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย 1.1 ระบบขอมูล (Information System) 1.2 ระบบการสื่อสาร (Communication System) 1.3 ระบบการตัดสิน ใจ (Decision Making System) 1.4 ระบบการพั ฒ นาบุ ค ลากร (Personal Development System-HRM) 1.5 ระบบตรวจสอบถวงดุล (Balance and Checking System) 1.6 ระบบการมีสวนรวม (Participation System) 1.7 ระบบการบริ ก ารภาคเอกชน ประชาชน (Service System) 1.8 ระบบการประเมินผล (Evaluation System) 1.9 ระบบการคาดคะเน และแกไขวิกฤต (Risk Assessment System) 1.10 ระบบวัฒนธรรมและจรรยาวิชาชีพ (Culture and Ethics System) 1.11 เปาหมายและความพึงพอใจของ ผูบริโภค (Customer Focus and Satisfaction) 1.12 การบริหารกระบวนการคุณภาพ (Management of Process Quality) 1.13 ภาวะผูนํา (Leadership)


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 2. ตัวแปรตาม ตัวแปรตามที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ คุณภาพของนโยบายการใหบริการของสํานักงานที่ดิน จังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด ตัวแปรตาม ที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย 2.1 ระยะเวลา (Time) 2.2 ความตรงตอเวลา (Timeliness) 2.3 ค ว า ม ส ม บู ร ณ ไ ม บ ก พ ร อ ง (Completeness) 2.4 ความสุภาพ ออนนอม (Courtesy) 2.5 ค ว า ม แ น น อ น ค ว า ม ค ง เ ส น ค ง ว า (Consistency) 2.6 ความสามารถที่ จ ะเข า ถึ ง และความ สะดวกสบาย (Accessibility and Convenience) 2.7 ความถูกตอง เที่ยงตรง (Accuracy) 2.8 การตอบสนองความต อ งการ ความ เรงดวน (Responsiveness) สมมติฐานในการวิจัย 1. ปจจัยสวนบุคคลของประชาชน ไดแก เพศ, อายุ , การศึก ษา, รายได และอาชีพ และปจจัยสว นบุคคลของ เจา หนา ที่ ได แ ก เพศ, อายุ, การศึก ษา, รายได , ตํา แหน ง และอายุ ง าน ทํ า ให ทั ศ นคติต อ ระบบมาตรฐานคุ ณ ภาพที่ ไดรับบริการการดําเนินงาน รูปแบบใหมแตกตางกัน 2. ปจจัยสวนบุคคลของประชาชน ไดแก เพศ, อายุ , การศึก ษา, รายได และอาชีพ และปจจัยสว นบุคคลของ เจา หนา ที่ ไดแ ก เพศ, อายุ, การศึก ษา, รายได , ตํา แหน ง และอายุ ง าน ทํ า ให ทั ศ นคติ ต อ นโยบายคุ ณ ภาพที่ ไ ด รั บ บริการการดําเนินงานรูปแบบใหมแตกตางกัน 3. ระบบมาตรฐานคุณภาพมีอิทธิพลตอนโยบาย คุณภาพ 4. ประสิทธิผลของการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ มีอิทธิพลตอนโยบายคุณภาพ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาเรื่อง การวิเคราะหคุณภาพของนโยบาย การใหบริการสาธารณะของกรมที่ดิน กรณีศึกษา สํานักงาน ที่ดิน จังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ดนั้น เปนการศึกษาจาก

77

เอกสารและงานวิจัยในเนื้อหาที่เกี่ยวของกับบริการสาธารณะ และนโยบายคุณภาพ ซึ่งไดนําเสนอตามลําดับ ดังนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับบริการสาธารณะ การใหบริการสาธารณะ เปนการบริการในฐานะที่เปน หนาที่ของหนวยงานที่มีอํานาจกระทําเพื่อตอบสนองตอความ ตองการเพื่อใหเกิดความพอใจ จากความหมายนี้จึงเปนการ พิ จ ารณาการ ใหบ ริก าร ประกอบดว ย ผู ใ หบ ริก าร (Providers) และผูรับบริการ (Recipients) โดยฝายแรก ถือปฏิบัติเปนหนาที่ตองใหบริการเพื่อใหฝายหลังเกิดความ พึงพอใจ 1. การใหบริการอยางเทาเทียมกัน 2. การใหบริการอยางรวดเร็วทันเวลา 3. การใหบริการอยางตอเนื่อง 4. การใหบริการอยางกาวหนา 2. แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายคุณภาพ การใหองคการมีเปาหมายที่แนนอนในการปรับปรุง คุณภาพ และใชเทคนิคการควบคุมทางสถิติ โดยมีผูบริหาร ระดั บ สู ง เป น ผู นํ า และต อ งมี ก ารจั ด การศึ ก ษา และการ ฝกอบรมอยางจริงจัง คุณภาพที่สูงขึ้นจะชวยลดตนทุนเพิ่มกําไรจากผล การปฏิบัติการเสมอ องคการสามารถใชตนทุนคุณภาพเปน เครื่องมือที่จะทําใหบรรลุเปาหมายในการปรับปรุงคุณภาพได การจั ด ทํ า โครงการปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ โดยการ วิเคราะหปญหา และหาทางแกไขตามลําดับกอนหลัง เทคนิค คือ เทคนิคการวิเคราะหของ พาเรโต ซึ่งมีหลักการสําคัญวา ปญหาสวนใหญมาจากสาเหตุเพียงไมกี่อยาง ถาแกที่สาเหตุ หลั ก ๆ ได ก็ จ ะเกิ ด การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพไปเรื่ อ ย ๆ จนกระทั่งปญหาหมดไป และเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น การบริ ห ารเป น กุ ญ แจสํ า คั ญ ในการพั ฒ นานิ สั ย คุณภาพ ใหความสําคัญกับคนทั้งหมดใน องคการ 3. แนวคิดเกี่ยวกับเรื่องการประเมินประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) เปนการวัดตนทุนของ ทรัพยากร โดยเปรียบเทียบกับผลงานที่ทําไดเปนสัดสวนของ ผลงานที่ทําได / ตนทุนทรัพยากร (output / input) โดยถา สามารถทํางานไดตามเปาหมายที่วางไว แสดงวาการทํางาน นั้นมีประสิทธิภาพสูง


78

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

วิธีดําเนินการวิจัย ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การวิเคราะหคุณภาพของ นโยบายการใหบ ริก ารสาธารณะของ กรมที ่ด ิน กรณีศึกษาสํานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด ซึ่ง ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. การกําหนดประชากร และการสุมกลุมตัวอยาง 1.1 ประชากร ประชากรที่ใชศึกษาในครั้งนี้ คือ ประชาชนที่มาใช บริ ก ารสํ า นั ก งานที่ ดิ น จั ง หวั ด นนทบุ รี สาขาปากเกร็ ด จํ า นวน 10,557 คน (ข อ มู ล ประจํ า เดื อ นมกราคม มิ ถุ น ายน 2549) และเจา หนา ที ่ป ระจํ า สํ า นัก งานที ่ด ิน จังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด จํานวน 40 คน 1.2 การสุมกลุมตัวอยาง กลุ ม ตัว อยา ง ไดแ ก ประชาชนที ่ม าใชบ ริก าร สํา นัก งานที่ดิน จัง หวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด ในดานการ บริการหลัก 2 ดาน ไดแก 1. จดทะเบียน 2. แบงแยก รวม เปลี่ยน สอบเขต ตรวจสอบพื้นที่ และออกใบแทน 2. การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 3.1 นําแบบสอบถามมาตรวจสอบความสมบูรณของ คํ า ตอบ และแบบสอบถามทุ ก ฉบั บ พบว า มีค วามสมบู ร ณ แลวนํามาวิเคราะหขอมูลโดยโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows โดยจําแนกขอมูลตามลักษณะของขอคําถาม ดังนี้ 1. แบบสอบถามตอนที่ 1 ซึ่งเปนแบบสอบถาม ตรวจสอบรายการ นํามาแจกแจงความถี่ของแตละขอ แลว หาคารอยละของผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด แลวนําเสนอใน รูปตาราง 2. แบบสอบถามตอนที่ 2 และตอนที่ 3 ซึ่งเปน แบบสอบถามแบบมาตรฐานส ว นประมาณค า (Rating Scale) ตรวจใหน้ําหนักคะแนนเปน 5 ระดับ ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 102) มีความคิดเห็นตอการพัฒนาการใหบริการ ระดับ มากที่สุด ใหน้ําหนักคะแนนเปน 5

มีความคิดเห็นตอการพัฒนาการใหบริการ ระดับ มาก ใหน้ําหนักคะแนนเปน 4 มีความคิดเห็นตอการพัฒนาการใหบริการ ระดับ ปานกลาง ใหน้ําหนักคะแนนเปน 3 มีความคิดเห็นตอการพัฒนาการใหบริการ ระดับ นอย ใหน้ําหนักคะแนนเปน 2 มีความคิดเห็นตอการพัฒนาการใหบริการ ระดับ นอยที่สุด ใหน้ําหนักคะแนนเปน 1 3.2 วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows ในแบบสอบถามตอนที่ 2 และตอนที่ 3 ซึ่ ง ผู ศึ ก ษาได กํ า หนดเกณฑ ใ นการแปลความหมายของ คาเฉลี่ยกลุม ดังนี้ คาเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความคิดเห็นตอ การพัฒนาการใหบริการ ระดับมากที่สุด คาเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความคิดเห็นตอ การพัฒนาการใหบริการ ระดับมาก คาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความคิดเห็นตอ การพัฒนาการใหบริการ ระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความคิดเห็นตอ การพัฒนาการใหบริการ ระดับนอย คาเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความคิดเห็นตอ การพัฒนาการใหบริการ ระดับนอยที่สุด 3.3 ตรวจเช็คความถูกตองของขอมูลดวย แบบสอบถามตอนที่ 4 3.4 นําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลในรูปแบบ ตาราง และสรุปผลการวิเคราะห ขอมูลใน เชิงพรรณนา 4. การจัดกระทําขอมูล และการวิเคราะหขอมูล 4.1 สถิติพื้นฐาน ไดแก 1. รอยละ (Percentage) 2. คาเฉลี่ย (Mean) 3. สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 4.2 สถิติทดสอบ ไดแก 1. เปรียบเทียบคาเฉลี่ย 2 กลุม โดยใช T-test แบบ Independent Samples 2. เปรียบเทียบคาเฉลี่ยตั้งแต 3 กลุมขึ้นไป โดยใช F-test 3. การวิเคราะหถดถอยพหุแบบขั้นตอน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล 1. ป จ จั ย สว นบุ ค คลของประชาชน ได แ ก อายุ และรายได ที่ แ ตกต า งกั น ทํ า ให ค วามคิ ด เห็ น ในเรื่ อ งการ ใหบริการสาธารณะของสํานักงานที่ดิน จังหวัดนนทบุรี สาขา ปากเกร็ด แตกตางกัน ขณะที่ปจจัยสวนบุคคลของเจาหนาที่ มีเฉพาะอายุ ที่แตกตางกัน เทานั้น ที่ทําใหความคิดเห็นใน เรื่ อ งการให บ ริ ก ารสาธารณะของสํ า นั ก งานที่ ดิ น จั ง หวั ด นนทบุรี สาขาปากเกร็ด แตกตางกัน 2. ผลลัพธของการเขารับบริการสาธารณะของ สํ า นั ก งานที่ ดิ น จั ง หวั ด นนทบุ รี สาขา ปากเกร็ ด ของ ประชาชน ในดานระบบมาตรฐานคุณภาพ ดานระบบขอมูล, ระบบการสื่ อ สาร, ระบบการตั ด สิ น ใจ, ระบบการพั ฒ นา บุคลากร, ระบบการมีสวนรวม, ระบบการประเมินผล, ระบบ การ คาดคะเนและแก ไ ขวิ ก ฤต, ระบบวั ฒ นธรรมและ จรรย าวิ ชา ชี พ , เป า ห ม า ย แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ผูบริโภค, การบริหารกระบวนการคุณภาพ และภาวะผูนํา มี อิ ท ธิ พ ลต อ คุ ณ ภาพของนโยบายการให บ ริ ก ารสาธารณะ สวนผลลัพธของการใหบริการสาธารณะของสํานักงานที่ดิน จังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ดของเจาหนา ที่ ในดา น ระบบมาตรฐานคุ ณ ภาพ ด า นระบบคาดคะเนและแก ไ ข วิ ก ฤต และการบริ ห ารกระบวนการคุ ณ ภาพมี อิ ท ธิ พ ลต อ คุณภาพของนโยบายการใหบริการสาธารณะ 3. ประสิ ท ธิ ผ ลด า นความคุ ม ค า มี อิ ท ธิ พ ลต อ คุณภาพของนโยบายการใหบริการสาธารณะ ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป เพื่ อ ให การปรั บ ปรุ ง องค ก ารอย า งต อ เนื่ อ ง สอดคลองกับการแปรเปลี่ยนทางสังคมนั้นเปนสิ่งที่จําเปน อยางยิ่งที่จะทําใหองคการสามารถอยูรอดในสภาพแวดลอม ที่เต็มไปดวยการแขงขันเชนในปจจุบัน การบริการของภาครัฐ ซึ่งอยูในความรับผิดชอบของสวนราชการตาง ๆ นั้น ก็จําเปน จะต อ งมี ก ารปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ให ส ามารถตอบสนองความ ตองการของประชาชนไดเชนเดียวกัน การปรับปรุงบริการ ภาครั ฐ นอกจากจะถื อ ว า เป น ผลงานของรั ฐ บาลแล ว ประชาชนผูรับบริการในสวนตาง ๆ ก็จะไดรับประโยชนจาก การปรับปรุงดวย กลาวคือ ไดรับความสะดวกรวดเร็ว

79

เสียเวลานอยลง เสียคาใชจายนอยลง และ มีความพึงพอใจ ในการบริการของภาครัฐมากขึ้น การนํ า ระบบมาตรฐานคุ ณ ภาพและนโยบาย คุณภาพมาใชในการปรับปรุงการบริการภาครัฐ จะเปน แนวทางหนึ่งที่เอื้ออํานวยใหสวนราชการสามารถนําไปปฏิบัติ เพื่อใหบังเกิดผลที่ พึงประสงคไดโดยไมยากนัก อยางไรก็ ตามการนําระบบมาตรฐานคุณภาพและนโยบายคุณภาพไป ปฏิบัติก็หมายถึง การนําการเปลี่ยนแปลงเขาไปในองคการ ซึ่งเปนธรรมดาที่จะตองไดรับการตอตานจากขาราชการบาง ไมมากก็นอย สิ่งที่สําคัญที่สุดที่พึงกระทําก็คือ การจัดการ ฝก อบรมหรื อ สัม มนา ผูบ ริห ารระดั บ สู ง ของหนว ยงาน ภาครัฐที่ ใหบริการประชาชน เพื่อขอ ทราบความคิดเห็นและ ใหได ขอสรุปกวาง ๆ ในการนําระบบมาตรฐานคุณภาพ และนโยบายคุณภาพไปปฏิบัติในองคการ กับการสราง ขอตกลงรวมกันระหวางขาราชการในสังกัดในการปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาคุณภาพในการทํางานคุณภาพของผลงาน และ การใหบริการตอประชาชน การนํ า ระบบมาตรฐานคุ ณ ภาพและนโยบาย คุณภาพไปปฏิบัติใน การปรับปรุงการบริการภาครัฐนั้น สอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลใน การปฏิรูประบบราชการ กลาวคือ มีเปาหมายของการเพิ่มคุณภาพของการใหบริการ และความพึงพอใจของประชาชนเชนเดียวกัน ดังนั้น อาจไม เปนการยากที่ผูบริหารระดับ สูงจะใหการยอมรับในการนํา ระบบมาตรฐานคุณภาพและนโยบายคุณภาพไปปฏิบัติ แนวทางและขั้นตอนในการนํา ระบบมาตรฐาน คุณภาพและนโยบายคุณภาพไปปฏิบัติในการปรับปรุงการ บริการภาครัฐ 1. การสํารวจหนวยงานภาครัฐที่มีหนาที่ในการ ใหบริการแกประชาชน 2. การคนหาจุดบกพรองที่ควรแกไข 3. การวางแผนการปรับปรุงการปฏิบัติงาน 4. การสรางการยอมรับใหเกิดขึ้นในวัฒนธรรมองคการ 5. การนําระบบมาตรฐานคุณภาพและนโยบาย คุ ณ ภ า พ ไ ป ป ฏิ บั ติ ใ น ห น ว ย ง า น บ ริ ก า ร ภ า ค รั ฐ


80

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

6. การติดตามและประเมินผล เงื่อนไขของการสรางความสําเร็จในการทําระบบ มาตรฐานคุ ณ ภาพและนโยบายคุ ณ ภาพไปปฏิ บั ติ ใ นการ ปรับปรุงการบริการภาครัฐนั้นประกอบไดดวย 6 ประการคือ 1. การสํารวจวาหนวยงานที่ควรไดรับการ ปรับปรุงใหนําระบบการพัฒนาคุณภาพมาใช 2. การคนหาจุดบกพรองที่ควรแกไข 3. การวางแผนการปรับปรุงการปฏิบัติงาน โดยใชระบบมาตรฐานคุณภาพและนโยบาย คุณภาพ 4. การเปลี่ยนวัฒนธรรมองคกร โดย ปลูกฝงคานิยมและการยอมรับในเรื่องคุณภาพ 5. การฝ ก อบรมเพื่ อ ให ค วามรู ใ นการปรั บ ปรุ ง กระบวนการทํางานเพื่อใหมีคุณภาพ 6. การติดตามและประเมินผลการนําระบบมาตรฐาน คุณภาพและนโยบายคุณภาพ ไปปฏิบัติอยางตอเนื่องและ เปนระบบโดยใชวิธีทางสถิติ

ป จ จั ย แห ง ความสํ า เร็ จ ของระบบมาตรฐานคุ ณ ภาพและ นโยบายคุณภาพ 7 ประการ 1. การยึดมั่นผูกพันอยางจริงจังจากผูบริหารทุก ระดับ 2. การใหการศึกษาและฝกอบรมในเรื่อง ระบบ มาตรฐานคุณภาพและนโยบายคุณภาพแกเจาหนาที่ทุกคน 3.โครงสร า งขององค ก รที่ ส นั บ สนุ น และเกื้ อ หนุ น ระบบมาตรฐานคุณภาพและนโยบาย คุณภาพ 4. การติดตอสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ 5. การใหรางวัลและการยอมรับแกทีมงานหรือ เจาหนาที่ที่มีผลงานปรากฏ 6. การวัดผลงานอยางเหมาะสมโดยมีเกณฑการ วัดผลงานที่ชัดเจน 7. การทํางานเปนทีมอยางมีประสิทธิภาพ

บรรณานุกรม กรมที่ดิน.(2541). ขอกําหนดวาดวยมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของขาราชการ กรมที่ดิน. กรมที่ดิน. (2548). โครงการคัดเลือกขาราชการกรมที่ดินผูมีคุณธรรมและจริยธรรม ประจําป พ.ศ.2547. กรมที่ดิน.(2547). ยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบพ.ศ. 2548-2551 กรมที่ดิน. (2548) หัวใจสําคัญของการใหบริการประชาชน คูมือสําหรับเจาหนาที่สํานักงาน ที่ดิน. กองการเจาหนาที่ กรมที่ดิน.(2545). โครงสรางการแบงงาน อัตรากําลัง และการกําหนดตําแหนงตามแผนการปรับ บทบาท ภารกิจและโครงสรางสวนราชการ. เกริ ก เกี ย รติ พิ พั ฒ น เ สรี ธ รรม. (2543). การคลั ง ว า ด ว ยการจั ด สรรและการกระจาย. กรุ ง เทพฯ : สํ า นั ก พิ ม พ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ไกรยุทธ ธีรตยาคีนันท. (2525). ทฤษฎีเศรษฐศาสตรวาดวยการแทรกแซงของรัฐ. ถวนหนา “ โครงการ 30 จันทนา ธรรมาธร. (2545). การประเมินประสิทธิภาพของโครงการหลักประกันสุขภาพ บาท รักษาทุกโรค” : กรณีศึกษาโรงพยาบาลเวชธานี. จอหน ซี แมกซเวล. ผูนําคุณก็เปนได (Developing the Leader Within You). แปลโดยเครือวัลย เที่ยงธรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพน้ําฝน จํากัด. นันทวัฒน บรมานันท. หลักกฎหมายปกครองเกี่ยวกับบริการสาธารณะ.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

81

ป เ ตอร เอฟ ดรั ค เกอร . (2544). การบริ ห ารจั ด การในศตวรรษที่ 21. แปลโดย ผศ.ชื่ น จิ ต ต แจ ง เจนกิ จ . พิ ม พ ค รั้ ง ที่ 2 กรุงเทพฯ : บริษัทเอ อาร บิซิเนส เพรส จํากัด. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต). (2547). หลักการทํางาน งานก็ไดผล คนก็เปนสุข เมื่อใจ เบิกบานคนก็สําราญ งาน ก็มีประสิทธิภาพ. พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สํานักพิมพอมรินทร. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2539). เอกสารการสอนชุดวิชา จิตวิทยาการบริการ รหัส 71111 หนวยที่ 1-15. ยุทธชัย สธนเสาวภาคย. (2538). คุณคือผูชนะ. กรุงเทพฯ : บริษัทยูไนเต็ด แฟมมิลี่ จํากัด. ภัทริยา พัฒนางกูร. (2539). สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน สํานักงาน ก.พ. ชุดการเรียนดวยตนเองหลักสูตร ความรูพื้นฐานในการปฏิบัติงาน. ธุรการวิชา บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของเจาหนาที่ธุรการ. วิทยา ดานธํารงกูล.(2547). หัวใจการบริการสูความสําเร็จ (The Heart of Service). กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด(มหาชน). วรเดช จันทรศร. ระบบมาตรฐานสากลของไทย ดานการจัดการและสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ. วีรพงษ เฉลิมจิระรัตน. (2538). คุณภาพในงานบริการ. กรุงเทพฯ : สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน). สุภาภรณ พรพิศณุกิจจา. (2537). การวิเคราะหการดําเนินงานของสถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุเมธ แสงนิ่มนวล. (2540). ขอคิดนักบริหารจากประสบการณนักปกครอง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพบุคแบงก สุเมธ แสงนิ่มนวล. (2540) หลายลีลา เทคนิคการทํางานเพื่อความสําเร็จของคนทํางาน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพบุคแบงก สํานักงาน ก.พ. (2542). ตามรอยพระยุคลบาท บุญของคนไทยที่มีในหลวง.


82

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ผลลัพธการปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร : ศึก ษาเปรี ย บเที ย บการบริ ห ารรั ฐ กิจ แบบเดิ มกั บ การบริหารรัฐกิจแนวใหม PERFORMANCE OUTCOME OF BANGKOK METROPOLITAN ADMINISTRATION : A COMPARATIVE STUDY BETWEEN CLASSIC PUBLIC ADMINISTRATION AND NEW PUBLIC MANAGEMENT พงศธร ชั้นไพศาลศิลป 1 รองศาสตราจารย ดร.วรพิทย มีมาก 2 อาจารยชีวินทร ฉายาชวลิต 2 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อเปรียบเทียบการ ใหบริการของกรุงเทพมหานครเพื่อตอบสนองความตองการของ ประชาชนภายใตการบริหารราชการแบบเดิมกับการใหบริการ ของกรุงเทพมหานครเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชน ในปจจุบันที่มีการนํา New Public Management มาใชปฏิรูป ระบบการบริหารราชการของกรุงเทพมหานครแลว กลุ ม ตั ว อย า ง คื อ ประชาชนที่ อ าศั ย อยู ภ ายใน พื้นที่ของกรุงเทพมหานครและมีอายุตั้งแต 25 ปขึ้นไป จํานวน 400 คน ไดมาจากการสุมแบบชั้นภูมิสัดสวน เครื่องมือที่ใชใน การศึกษาคนควา ไดแก แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะห ขอมูลคือ t-Test, one way ANOVA และ Chi-square

1

นิสิตระดับปริญญาโท สาขาวิชานโยบายสาธารณะ โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชารัฐศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ผลการศึกษา พบวา 1. ปจจัย สว นบุ คคลส ว นใหญ ได แ ก เพศ, อายุ , รายได และบริการที่ใชไมมีผลตอทัศนคติของประชาชนที่มี ต อ การพั ฒ นาการบริ ห ารงานของกรุ ง เทพมหานคร ส ว น ระดับการศึกษา และสถานที่ที่ใชบริการมีผลตอทัศนคติของ ประชาชนที่มีตอการพัฒนาการบริหารงานของกรุงเทพมหานคร 2. ผลลัพธการพัฒนาการบริหารงานของ กรุงเทพมหานคร ในดานการพัฒนาองคกร สูงที่สุด รองลงมา คือ ดานคุณภาพการใหบริการ และในดาน ประสิทธิผลตามพันธกิจ ต่ําที่สุด 3. ขอมูลทุติยภูมิ พบวา ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และการ พัฒนาองคกรของกรุงเทพมหานครมีแนวโนมลดลง สวน ประสิทธิผลตามพันธกิจ และคุณภาพการใหบริการของ กรุงเทพมหานครมีแนวโนมเพิ่มขึ้น 4. การเปรียบเทียบขอมูลที่เก็บจากแบบสอบถาม กับขอมูลทุติยภูมิ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และการ พัฒนาองคกร นั้นไมสามารถจะสรุปไดวาเพิ่มขึ้นหรือลดลง สวนประสิทธิผลตามพันธกิจ และคุณภาพการใหบริการนั้น สามารถจะสรุปไดวาเพิ่มขึ้น ABSTRACT The research aimed to study performance outcome of Bangkok Metropolitan Administration (BMA) through comparing between Classic Public Administration and New Public Management. The samples, 400 persons residing in BMA area, were selected through proportionally stratified random sampling method. Data were collected by reliability – tested questionnaires and analyzed through t-test, one way analysis of variance and Chisquare. The concluded results were as follows: 1. Educational level and servicing place illustrate significant difference in management

83

development of BMA but sex, age, income and service provided. 2. The most success of performance outcome of BMA was organization development, the second is quality of service, and mission effectiveness the least. 3. From secondary data analysis, performance efficiency and organization development tended to be reduced but mission effectiveness and quality of service. 4. In comparing between questionnaire and secondary data, mission effectiveness and quality of service showed increasing consistently, while performance efficiency and organization development couldn’ t be concluded. บทนํา จากแผนบริหารราชการของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2548 – 2551 แสดงใหเห็นวากรุงเทพมหานครไดตระหนักถึง ความสําคัญของการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการ ของประชาชนเป น อยา งดี จึ ง ไดกํ า หนดยุท ธศาสตร ตา ง ๆ ขึ้นมาเพื่อพัฒนาการบริหารราชการของกรุงเทพมหานครและ ตอบสนองความตองการใหแกประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่ ของกรุ ง เทพมหานครอย า งเต็ ม ประสิ ท ธิ ภ า พ โ ด ย กรุงเทพมหานครก็ไดมีการนําแนวความคิดของ New Public Management มาใช ใ นการปรั บ ปรุ ง การให บ ริ ก ารเพื่ อ ตอบสนองความต อ งการของประชาชน ณ สํ า นั ก งานเขต มาแลว คือ One Stop Service เนื่องจากกรุงเทพมหานครได เล็งเห็นถึงความสําคัญของการใหบริการของสํานักงานเขต ซึ่งเปนหนวยปฏิบัติการของกรุงเทพมหานครที่มีความใกลชิด กับประชาชนมากที่สุด และถือเปนจุดกระทบ “(Point of Contract)” ระหวางกรุงเทพมหานครกับประชาชนโดยตรง ดั ง นั้ น ในการที่ จ ะประเมิ น ผลว า การพั ฒ นาการ บริหารราชการของกรุงเทพมหานครประสบความสําเร็จมาก น อ ยเพี ย งไรนั้ น จะต อ งทํ า การประเมิ น จากประชาชน ผู รั บ บริ ก ารที่ ก รุ ง เทพมหานครได จั ด ทํ า ขึ้ น เพื่ อ ให บ ริ ก าร ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยผูวิจัยจะทําการศึกษา


84

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

เปรี ย บเที ย บการให บ ริ ก ารของกรุ ง เทพมหานครเพื่ อ ตอบสนองความตองการของประชาชนภายใตการบริห าร ราชการแบบเดิมกับการใหบริการของกรุงเทพมหานครเพื่อ ตอบสนองความตองการของประชาชนในปจจุบันที่มีการนํา New Public Management มาใชปฏิรูประบบการบริหาร ราชการของกรุงเทพมหานครแลว เพื่อดูความแตกตางของ การให บ ริก ารประชาชนภายใตก ารบริห ารราชการทั้ง สอง แบบแลวนําผลจากการศึกษาที่ไดมาปรับปรุงการดําเนินการ ของกรุงเทพมหานครใหดีขึ้นตอไป ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่ อ เปรียบเทีย บการให บ ริก ารของ กรุงเทพมหานครเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชน ภายใต ก ารบริ ห ารราชการแบบเดิ ม กั บ การให บ ริ ก ารของ กรุงเทพมหานครเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชน ในปจจุบันที่มีการนํา New Public Management มาใช ปฏิรูประบบการบริหารราชการของกรุงเทพมหานครแลว 2. เพื่อ ศึ ก ษาทัศ นคติข องประชาชนที่มี ตอ การ บริหารราชการของกรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ผูวิจัยใชวิธีการเลือก สุมแบบชั้นภูมิสัดสวนจากประชาชนที่อาศัยอยูภายในพื้นที่ ของกรุงเทพมหานครที่มีอายุตั้งแต 25 ป ขึ้นไป โดยได คํานวณจากสูตรของ ยามาเนที่มีความคลาดเคลื่อนของ การสุมตัวอยางรอยละ 5 จึงทําใหไดจํานวนตัวอยางที่จะใช เปนตัวอยางในการวิจัยจํานวน 400 ตัวอยาง สมมติฐานการวิจัย 1. เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา, รายได, บริการที่ ใช และสถานที่ที่ ใ ชบริการที่แตกตางกัน มีทัศนคติตอ การ พัฒนาการบริหารงานของกรุงเทพมหานครแตกตางกัน 2. ผลลั พ ธ ก ารพั ฒ นาการบริ ห ารงานของ กรุงเทพมหานครตามแนวทางการบริหารภาครัฐแนวใหมใน ทัศนคติของประชาชนดีกวาการพัฒนาการบริหารงานของ กรุงเทพมหานครตามแนวทางการบริหารภาครัฐแบบเดิมอยู ในระดับมาก แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารราชการแบบเดิม แนวคิดของ Max Weber (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. 2548)

Max Weber ซึ่งเปนบุคคลแรก ๆ ที่ศึกษาระบบ ราชการที่มี โ ครงสร า งการจั ดองค การขนาดใหญ รวมทั้ ง มี ความซับซอนและเปนทางการ ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด ผลงานของ Max Weber ตีพิมพในสหรัฐอเมริกาในป ค.ศ. 1947 โครงสร า งการจั ด องค ก ารดั ง กล า วของ Max Weber นั้น เรียกวา ระบบราชการตามอุดมคติ (an idealtype bureaucracy) หรือตามแนวคิดของ Max Weber นั้น สามารถสรุปได 9 หลักการที่สําคัญ ดังนี้ 1. กํา หนดหนา ที่แ ละแบง งานกัน ทําตามความ ชํานาญเฉพาะดาน (specialized division of labor) 2. มี ส ายการบั ง คั บ บั ญ ชาอย า งเป น ทางการ (hierarchy of authority) 3. ยึดหลักประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน (efficiency) 4. ยึดโครงสรางตามอํานาจหนาที่ (authority structure) 5. ใชหลักความสามารถในการเลื่อนตําแหนง (promotion base on achievement) 6. ยึดกฎระเบียบที่เปนลายลักษณอักษร (written rules of conduct) 7. ยึดหลักการอยางเปนทางการมากกวา ความสัมพันธสวนบุคคล (impersonality) 8. มีขอผูกมัดดานอาชีพระยะยาว (lifelong career commitment) 9. ยึดความมีเหตุมีผล (rationality) พรอมกันนั้น Max Weber ยังไดจําแนกรูปแบบ ของโครงสรางตามอํานาจหนาที่ออกเปน 3 รูปแบบ คือ 1. อํานาจหนาที่แบบดั้งเดิม (traditional authority) 2. อํานาจ หนาที่ที่มีมาแตกําเนิด หรืออํานาจหนาที่จากความสามารถ พิเศษ (charismatic authority) 3. อํานาจหนาที่ตาม กฎหมาย (rational-legal authority) แนวคิดการบริหารรัฐกิจแนวใหม ตั ว แบบการบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ ใหม หรื อ โปรแกรมการบริหารจัดการ (The Managerial Programme) OECD (จุมพล หนิมพานิช. 2548: 118 120) ไดเรียกรองใหบรรดาประเทศสมาชิกดําเนินการตาม


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 แนวทางตอไปนี้ คือ แนวทางแรก ใหมีการปรับปรุงการผลิต ให สู ง ขึ้ น และแนวทางที่ ส อง ให มี ก ารส ง มอบสิ น ค า และ บริการที่ดีขึ้นแทนที่การมุงเนนการทําใหถูกตองตามระเบียบ โดยใชกฎระเบียบและอํานาจหนาที่ตามสายการบังคับบัญชา ตามแนวทางแรก การปรับ ปรุง การผลิต ใหดีขึ้ น OECD ไดเสนอใหมีการดําเนินการดังนี้ 1. ยกระดั บ การดํ า เนิ น การผลิต ของหนว ยงาน ภาครัฐใหสูงขึ้น โดยการปรับปรุงการบริหารจัดการทรัพยากร มนุษยใหดีขึ้น เริ่มตั้งแตการจัดหา พัฒนา และสรรหาบุคคล ที่มีความรู ความสามารถ ใหมาสมัครและควรจะไดมีก าร จายคาตอบแทนตามผลงานหรือตามเนื้องาน นอกจากนี้ควรใหพนักงานหรือบุคลากรมีสวนรวม ในการตัดสินใจรวมทั้งการมีสวนรวมในการบริหารจัดการ มี การใชมาตรการควบคุมที่ผอนคลาย ขณะที่มีการเรียกรอง หรือบังคับใหมีการปฏิบัติตามเปาหมายที่เขมงวดกวดขัน มี การใชเทคโนโลยีสารสนเทศตลอดจนมีการปรับปรุงขอมูล ย อ นกลั บ จากลู ก ค า รวมทั้ ง มี ก ารเน น การให บ ริ ก ารที่ มี คุณภาพเปนตน 2. มีการใชประโยชนจากภาคเอกชนมากขึ้น โดย การส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให มี ร ะบบการจั ด หาที่ เ ป ด ให มี ก าร แขงขันที่มีประสิทธิภาพวางใจได ทั้งนี้เพื่อการมอบงานให เอกชนดําเนินการในการผลิตสินคาและบริการ รวมทั้งการ มอบงานใหเอกชนดําเนินการในสินคาและบริการระหวาง กลางและเพื่อการยุติการผูกขาด ในประเด็ น นี้ จุ ด เน น จะอยู ที่ ก ารบริ ห ารจั ด การ ขณะเดียวกันมีการพิจารณากันดวยวาขอบขายของรัฐบาล จะตองลดลง ซึ่ง OECD เองก็เห็นดวยในเรื่องนี้ นอกจากนี้การนําการเปลี่ยนแปลงไปสูการปฏิบัติ ยังเปนไปเพื่อที่จะปรับปรุงคุณภาพของการกําหนดนโยบาย รวมทั้งความสัมพันธกับนักการเมืองใหดขี ึ้น ความโปรงใสและความคงเสนคงวาจะชวยปรับปรุง การดําเนินงานหรือการปฏิบัติงานของภาครัฐใหดีขึ้น ทั้งนี้ เพื่อเปนหลักประกันในการทํางานอยางมีหลักการและเหตุผล สําหรับผูที่มีหนาที่ในการตัดสินใจ รวมทั้งสําหรับสาธารณชน การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญที่เกิดขึ้นเกี่ยวของกับ ตัว แบบการบริหารจัดการ (a managerial model) หรือ “ตัว

85

แบบการบริหารจัดการภาครัฐใหม” ที่มีองคประกอบที่สําคัญ ตามทัศนะของ OECD จะมีลักษณะ ดังนี้ 1. ปรั บ ปรุ ง ทรั พ ยากรมนุ ษ ย ร วมทั้ ง การจ า ย คาตอบแทนตามผลงานใหดีขึ้น 2. มี ค วามเกี่ ย วข อ งของบุ ค ลากรในการวิ นิ จ ฉั ย ตัดสินใจ 3. มี ก ารผ อ นคลายการควบคุ ม แต มุ ง เน น การ ดําเนินงานตามเปาหมายใหมากขึ้น 4. มีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. มุงเนนการใหบริการตอลูกคาหรือผูรับบริการ 6. ผูใชเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย 7. มีการมอบงานใหเอกชนดําเนินการ 8. มีการผอนคลายกฎระเบียบเกี่ยวกับการผูกขาด แตสําหรับ C. Hood (จุมพล หนิมพานิช. 2548: 120 - 122) เห็นวา “ตัวแบบการบริหารจัดการ” หรือที่เขา เรี ย กว า “การบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ ใหม ” จะมี ลั ก ษณะที่ ประกอบดวยประเด็นตาง ๆ ดังนี้ 1. ใหการบริหารจัดการอยูในมือของนักบริหาร จัดการมืออาชีพ ประเด็นนี้หมายความวา “การบริหารจัดการ ภาครัฐ” ควรจะเปนเรื่องของนักบริหารจัดการมืออาชีพที่จะ เป น คนคอยบริ ห ารจั ด การ เพราะเป น บุ ค คลที่ มี ค วาม กระตือรือรน มีวิสัยทัศน มีการควบคุมองคการในลักษณะที่มี ความสุขุมรอบคอบ มีการทํางานตามหลักเหตุผล 2. ควรมี ก ารวัด และมี เ กณฑม าตรฐานสํ า หรั บ การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านที่ ชั ด เจน ในประเด็ น นี้ หมายความวา จะตองมีการกําหนดเปาหมาย ขณะเดียวกันมี การใหคํานิยามเปาหมาย รวมทั้งมีการกําหนดจุดมุงหมาย ของการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านหรื อ ผลงานที่ ชั ด เจนที่ สามารถวัดผลเปนรูปธรรมได 3. ให ค วามสํ า คั ญ ต อ การควบคุ ม ผลผลิ ต ขณะเดี ย วกั น มี ก ารให น้ํ า หนั ก กั บ “ผลลั พ ธ ” มากกว า “ระเบียบวิธีการ” 4. มี ก ารแตกหรื อ แยกหน ว ยงานต า ง ๆ ใน ภาครั ฐ ให มี ข นาดที่ เ ล็ ก ลง เกิ ด ความเหมาะสมต อ การ ปฏิบัติงาน ในประเด็นนี้หมายความวา แตเดิมมาหนวยงาน ภาครั ฐ จะมี ข นาดใหญ ผลก็ คื อ ทํ า ให เ กิ ด ความไม มี


86

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ประสิ ท ธิ ภ าพ จึ ง ทํ า ให มี แ นวคิ ด ในการแตกหรื อ แยก หน ว ยงานของภาครั ฐ อาทิ ให มี ข นาดเล็ ก ลง เกิ ด ความ เหมาะสมตอการปฏิบัติงาน 5. จั ด ให มี ก ารแข ง ขั น ใน “การบริ ห ารจั ด การ ภาครั ฐ ” โดยเฉพาะในประเด็ น ของการแข ง ขั น ในการ ใหบ ริก ารสาธารณะมากขึ้น ซึ่งการดํา เนินการในลัก ษณะ ดั ง กล า วโดยทั่ ว ไปมี ส ว นในการช ว ยทํ า ให ต น ทุ น หรื อ คาใชจายลดลง ขณะเดียวกันมีคุณภาพมาตรฐานดีขึ้น 6. เนนสไตลหรือลีลา “การบริหารจัดการแบบ ภาคเอกชน” ในประเด็น นี้ จะทํา ไดจ ะตอ งมีก ารขจัด “การ บริหารจัดการแบบทหาร” “แบบราชการพลเรือน” มาเปนวิธี “การบริหารจัดการแบบภาคเอกชน” มาใชใน “การบริหาร จัดการภาครัฐ” ซึ่งจะทําไดจะตองมีการปรับเปลี่ยนวิธีการ บริหารงานใหทันสมัย เลียนแบบวิธีการของภาคเอกชน 7. เนนหรือใหความสําคัญกับเรื่ องของวินัยใน การใชเงินแผนดิน ในประเด็นนี้หมายถึงมีการสรางเสริมวินัย ในการใชจายเงินแผนดิน รวมทั้งเนนเรื่องของความประหยัด ในการใชทรัพยากร ความคุมคาในการใชทรัพยากร ตามประเด็น นี้ในทรรศนะของ C. Hood หมายความวา ควรจะมีการตัด ทอนตนทุนหรือคาใชจายโดยตรง ขณะเดียวกันพยายามให แรงงานเห็นความสําคัญของวินัยในการใชทรัพยากร การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูลเพื่อนํามาวิเคราะห เปนแบบสอบถาม แบงเปน 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 ขอมูลเบื้องตนผูตอบแบบสอบถาม เปน แบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) กับแบบ เติมคําในชองวาง ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของกลุมเปาหมายตอการ ใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนภายใต การบริหารราชการแบบเดิมของกรุงเทพมหานครเปรียบเทียบ กับการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชน ภายใตการบริหารราชการแนวใหม ตอนที่ 3 ป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ การเปลี่ ย นแปลงการ บริหารราชการของกรุงเทพมหานคร ตอนที่ 4 การเปรียบเทียบการดําเนินการตามการ บริหารราชการแบบเดิมกับการบริหารราชการแนวใหม

จ า ก ก า ร คํ า น ว ณ ไ ด ค า ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ข อ ง แบบสอบถามรวมเทากับ 0.9483 สําหรับขอคําถามที่ไดคา สหสั ม พั น ธ ต่ํ า ผู วิ จั ย จึ ง ทํ า การเปลี่ ย นแปลงลั ก ษณะของ คําถามใหสามารถเขาใจไดงายขึ้น สรุปผลการวิจัย ผลที่ ไ ดจ ากการศึก ษา สามารถสรุป ผลการวิจั ย ออกเปน 9 ตอน ตอนที่ 1 สภาพทั่วไปของขอมูลสวนบุคคล ผลการศึกษาขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง พบวา ประชาชนสวนใหญเปนเพศหญิง คิดเปนรอยละ 50.25 มีอายุ นอยกวา 40 ป คิดเปนรอยละ 54 มีระดับการศึกษาต่ํากวา ปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 52.75 มีรายไดระหวาง 10,001 – 15,000 บาท คิดเปนรอยละ 28 ใชบริการดานงานทะเบียน คิดเปนรอยละ 77.25 ใชบริการบริเวณพื้นที่ฝงพระนครรอบ ใน คิดเปนรอยละ 44.25 ตอนที่ 2 ระดับคาเฉลี่ยของปจจัยดานประสิทธิผลตามพันธ กิจ ปจจัยดานประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ปจจัย ดานคุณภาพการใหบริการ และปจจัยดานการพัฒนาองคกร ปรากฏผลตามรายละเอียด ดังนี้ 1. ปจจัยดานประสิทธิผลตามพันธกิจ มีคาเฉลี่ย อยูในระดับปานกลาง 2. ปจจัยดานประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มีคาเฉลี่ยอยูในระดับปานกลาง 3. ปจจัยดานคุณภาพการใหบริการ มีคาเฉลี่ยอยู ในระดับมาก 4. ปจจัยดานการพัฒนาองคกร มีคาเฉลี่ยอยูใน ระดับมาก ตอนที่ 3 การวิ เ คราะห ค วามแตกต า งของความคิ ด เห็ น เกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคลกับกลุมตัวแปรแตละตัว 1. ผลการเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ป จ จั ย ด า นประสิ ท ธิ ผ ลตามพั น ธกิ จ กั บ ป จ จั ย ส ว นบุ ค คล จําแนกตามเพศ, อายุ, ระดับการศึกษา, รายได, บริการที่ใช และสถานที่ที่ใชบริการ ผลการวิจัยพบวา ประชาชนที่มีอายุ, รายได และ การใชบริการที่แตกตางกัน มีทัศนคติในดานประสิทธิผลตาม พั น ธกิ จ ไม แ ตกต า งกั น ส ว นประชาชนที่ มี เ พศ, ระดั บ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 การศึกษา และสถานที่ที่ใชบริการแตกตางกันมีทัศนคติใน ดานประสิทธิผลตามพันธกิจแตกตางกัน 2. ผลการเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ปจจัยดานประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการกับปจจัยสวน บุ ค คล จํ า แนกตามเพศ, อายุ , ระดั บ การศึ ก ษา, รายได , บริการที่ใช และสถานที่ที่ใชบริการ ผลการวิจัยพบวา ประชาชนที่มีเพศ, อายุ, รายได แ ล ะ ก า ร ใ ช บ ริ ก า ร ที่ แ ต ก ต า ง กั น มี ทั ศ น ค ติ ใ น ด า น ประสิ ท ธิ ภ าพของการปฏิ บั ติ ร าชการไม แ ตกต า งกั น ส ว น ประชาชนที่ มี ร ะดั บ การศึ ก ษา และสถานที่ ที่ ใ ช บ ริ ก าร แตกตา งกัน มีทัศ นคติใ นดา นประสิท ธิภ าพของการปฏิบั ติ ราชการแตกตางกัน 3. ผลการเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ปจจัยดานคุณภาพการใหบริการกับปจจัยสวนบุคคล จําแนก ตามเพศ, อายุ, ระดับการศึกษา, รายได, บริการที่ใช และ สถานที่ที่ใชบริการ ผลการวิจัยพบวา ประชาชนที่มีเพศ, อายุ, ระดับ การศึกษา, รายได และการใชบริการที่แตกตางกันมีทัศนคติ ในดานคุณภาพการใหบริการไมแตกตางกัน สวนสถานที่ที่ใช บริการที่แตกตางกันมีทัศนคติในดานคุณภาพการใหบริการ แตกตางกัน 4. ผลการเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ปจจัย ดา นการพั ฒ นาองค กรกับ ปจจั ยสว นบุ ค คล จํ า แนก ตามเพศ, อายุ, ระดับการศึกษา, รายได, บริการที่ใช และ สถานที่ที่ใชบริการ ผลการวิจัยพบวา ประชาชนที่มีเพศ, อายุ, รายได และการใชบริการที่แตกตางกันมีทัศนคติในดานการพัฒนา องคกรไมแตกตางกัน สวนประชาชนที่มีระดับการศึกษา และ สถานที่ที่ใชบริการแตกตางกันมีทัศนคติในดานการพัฒนา องคกรแตกตางกัน ตอนที่ 4 ระดับคาเฉลี่ยของปจจัยที่สงผลตอ การเปลี่ยนแปลงการบริหารราชการของกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาปจจัยที่สง ผลตอการเปลี่ ยนแปลง การบริหารราชการของกรุงเทพมหานคร พบวา ปจจัยที่สงผล ตอการเปลี่ยนแปลงการบริหารราชการของกรุงเทพมหานคร ในดานความกาวหนาของเทคโนโลยี สูงที่สุด มีคาเฉลี่ย 3.98

87

รองลงมา คือ ดานกระแสโลกาภิวัตน มีคาเฉลี่ย 3.84 และใน ด า นการลดอั ต รากํ า ลั ง ข า ราชการของ กทม. ต่ํ า ที่ สุ ด มี คาเฉลี่ย 3.19 ตอนที่ 5 ร ะ ดั บ ค า เ ฉ ลี่ ย ก า ร ตั ด สิ น ใ จ เปรียบเทียบการดําเนินการตามการบริหารราชการแบบเดิม กับการบริหารราชการแนวใหม ผลการศึ ก ษาการตั ด สิ น ใจเปรี ย บเที ย บการ ดํา เนินการตามการบริ หารราชการแบบเดิมกั บการบริห าร ราชการแนวใหม พบวา กลุมประชาชนที่เปนเพศหญิงเลือก รูปแบบการดําเนินการของกรุงเทพมหานครเปนแบบใหมรอย ละ 93.5 สูงที่สุด กลุมประชาชนที่มีอายุมากกวา 50 ป เลือก รูปแบบการดําเนินการของกรุงเทพมหานครเปนแบบใหมรอย ละ 98.4 สูงที่สุด กลุมประชาชนที่ใชบ ริการงานคลัง เลือ ก รูป แบบการดํา เนิน การของกรุง เทพมหานครเปน แบบใหม รอ ยละ 95.6 สูงที่สุด กลุมประชาชนที่ใชบริการในพื้นที่ฝง พ ร ะ น ค ร ร อ บ ใ น เ ลื อ ก รู ป แ บ บ ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ข อ ง กรุ ง เทพมหานครเป น แบบใหม ร อ ยละ 95.5 สู ง ที่ สุ ด กลุ ม ประชาชนที่มีระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี เลือกรูปแบบ การดําเนินการของกรุงเทพมหานครเปนแบบใหมรอยละ 97.3 สูงที่สุด กลุมประชาชนที่มีรายไดระหวาง 15,001 – 20,000 บาท เลือกรูปแบบการดําเนินการของกรุงเทพมหานครเปนแบบ ใหม ร อ ยละ 97.3 สู ง ที่ สุ ด และป จ จั ย ส ว นบุ ค คลไม มี ความสั ม พั น ธ กั บ การตั ด สิ น ใจของประชาชนในการเลื อ ก รูปแบบการดําเนินการของกรุงเทพมหานคร ตอนที่ 6ผลการทดสอบสมมติฐานของการวิจัย สมมติฐานที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลสวนใหญ ไดแก เพศ, อายุ , รายได และบริ ก ารที่ ใ ช ไ ม มี ผ ลต อ ทั ศ นคติ ข อง ป ร ะ ช า ช น ที่ มี ต อ ก า ร พั ฒ น า ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ข อ ง กรุงเทพมหานคร สวนระดับการศึกษา และสถานที่ที่ใช บริการมีผลตอทัศนคติของประชาชนที่มีตอการพัฒนาการ บริหารงานของกรุงเทพมหานคร จึงไมเปนไปตามสมมติฐาน สมมติฐานที่ 2 ผลลัพธการพัฒนาการบริหารงาน ของกรุงเทพมหานคร ในดานการพัฒนาองคกร สูงที่สุด มี คาเฉลี่ย 3.5525 รองลงมา คือ ดานคุณภาพการใหบริการ มี คาเฉลี่ย 3.5360 และในดานประสิทธิผลตามพันธกิจ ต่ําที่สุด มีคาเฉลี่ย 3.2228 และคาเฉลี่ยโดยรวม 3.3852 แสดงวา


88

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ใหบ ริการ คิดเปนรอยละ 31.40 และดานประสิท ธิผลตาม พันธกิจต่ําที่สุด คิดเปนรอยละ 1.16 ตอนที่ 8 ขอมูลทุติยภูมิ จ า ก ส ถิ ติ ข อ ง ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร ตอนที่ 7 ขอมูลความคิดเห็นเพิ่มเติม ผลการวิ จั ย พบว า ประชาชนมี ค วามคิ ด เห็ น (http://www.bma.go.th/info) ตั้ งแต ป พ.ศ. 2542 – 2548 เมื่ อ เพิ่มเติมในดานประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการสูงที่สุด นํามาคํานวณหาคาประสิทธิผลตามพันธกิจ, ประสิทธิภาพ คิ ด เป น ร อ ยละ 58.14 รองลงมาคื อ ด า นคุ ณ ภาพการ ของการปฏิ บั ติ ร าชการ, คุ ณ ภาพการให บ ริ ก าร และการ พัฒนาองคกรของกรุงเทพมหานครแลวไดผลดังตารางตอไปนี้ ป พ.ศ. 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 ประสิทธิผลตามพันธกิจ 685827.4 678351.0 662116.6 716243.8 939184.5 965995.3 955809.5 1. รายรับตอจํานวน 8 4 0 8 5 4 4 ขาราชการ 2. ปริมาณขยะตอ 0.60 0.54 0.57 0.58 0.58 0.60 0.58 ประชากร 3. จํานวนหาบเร-แผง 28.58 42.63 37.53 39.55 32.54 42.79 42.99 ลอยตอจํานวนจุด ผอนผัน ประสิทธิภาพของการ ปฏิบัติราชการ 1.037 1.023 1.038 1.043 1.235 1.663 1.471 1. รายรับตอรายจาย 2. จํานวนขยะตอจํานวน 1,801.68 1,828.46 1,379.54 1,477.57 1,435.00 1,443.36 1,364.95 เที่ยวเก็บขนมูลฝอย 3. จํานวนครูตอนักเรียน 0.043 0.039 0.038 0.038 0.038 0.037 0.037 คุณภาพการใหบริการ 1. จํานวนโรงพยาบาลตอ 0.000001 0.000001 0.000001 0.000001 0.000001 0.000001 0.000001 2 4 4 4 5 6 6 ประชากร 2. จํานวนหองสมุดตอ 0.000005 0.000003 0.000003 0.000005 0.000005 0.000005 0.000005 ประชากร 1 5 5 2 0 1 5 3. จํานวนศูนยเยาวชนตอ 0.000004 0.000004 0.000004 0.000004 0.000005 0.000005 0.000005 ประชากร 6 6 5 5 3 1 7 4. จํานวนสวนสาธารณะ ตอประชากร

ประชาชนมีทัศนคติวาผลลัพธการพัฒนาการบริหารงานของ กรุงเทพมหานครโดยสวนรวมอยูในระดับปานกลาง จึงไม เปนไปตามสมมติฐาน

0.00012

0.000002 6

0.000003

0.000002 4

0.000002 4

0.00033

0.00039


89

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

คุณภาพการใหบริการ 5. จํานวนโรงเรียนตอ นักเรียน 6. จํานวนโรงเรียนฝก อาชีพตอจํานวน นักเรียนฝกอาชีพ การพัฒนาองคกร 1. หลักสูตรการฝกอบรม ตอจํานวนขาราชการ 2. งบประมาณการ ฝกอบรมตอจํานวน ผูเขารับการฝกอบรม 3. รายรับตองบประมาณ การฝกอบรม

2542

2543

2544

ป พ.ศ. 2545

0.0014

0.0013

0.0013

0.0013

0.0012

0.0012

0.0012

0.0018

0.0022

0.00047

0.000045

0.00042

0.00052

0.00045

0.0026

0.0021

0.0025

0.0020

0.0024

0.0017

0.0020

3,537.92

4,096.85

5,526.58

3,557.93

4,243.16

2,813.54

2,739.51

441.49

265.52

228.91

207.04

223.73

202.36

176.46

ผลการวิจัย พบวา 1. ประสิทธิผลตามพันธกิจของกรุงเทพมหานคร เมื่อเปรียบเทียบกันระหวางการบริหารรัฐกิจแบบเดิม (2542 – 2544) กับ การบริหารรัฐกิจแนวใหม (2545 – 2548) แลว ปรากฏวาประสิทธิผลตามพันธกิจของกรุงเทพมหานครนั้น เพิ่มขึ้นจากแตกอน ซึ่งแสดงใหเห็นวาการนําการบริหารรัฐกิจ แ น ว ใ ห ม ม า ใ ช ทํ า ใ ห ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ต า ม พั น ธ กิ จ ข อ ง กรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้น 2. ประสิ ท ธิ ภ าพของการปฏิ บั ติ ร าชการของ กรุงเทพมหานครเมื่อเปรียบเทียบกันระหวางการบริหารรัฐกิจ แบบเดิม (2542 – 2544) กับ การบริหารรัฐกิจแนวใหม (2545 – 2548) แลวปรากฏวาประสิทธิภาพของการปฏิบัติ ราชการของกรุงเทพมหานครนั้นมีแนวโนมที่จะลดลงจากแต กอน ซึ่งแสดงใหเห็นวาการนําการบริหารรัฐกิจแนวใหมมาใช ทํ า ใ ห ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ข อ ง กรุงเทพมหานครมีแนวโนมลดลง 3. คุณภาพการใหบริการของกรุงเทพมหานครเมื่อ เปรียบเทียบกันระหวางการบริหารรัฐกิจแบบเดิม(2542 – 2544) กับ การบริหารรัฐกิจแนวใหม (2545 – 2548) แลวปรากฏวา คุณภาพการใหบริการนั้นมีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นจากแตกอน ซึ่งแสดงใหเห็นวาการนําการบริหารรัฐกิจแนวใหมมาใชทําให คุณภาพการใหบริการของกรุงเทพมหานครมีแนวโนมเพิ่มขึ้น

2546

2547

2548

4. ก า ร พั ฒ น า อ ง ค ก ร ใ ห บ ริ ก า ร ข อ ง กรุงเทพมหานครเมื่อเปรียบเทียบกันระหวางการบริหารรัฐ กิจแบบเดิม (2542 – 2544) กับ การบริหารรัฐกิจแนวใหม (2545 – 2548) แลวปรากฏวาการพัฒนาองคกรนั้นลดลงจาก แตกอน ซึ่งแสดงใหเห็นวาการนําการบริหารรัฐกิจแนวใหม มาใชทําใหการพัฒนาองคกรของกรุงเทพมหานครลดลง ตอนที่ 9 การเปรียบเทียบขอมูลที่เก็บจากแบบสอบถาม กับขอมูลทุติยภูมิ 1. ประสิทธิผลตามพันธกิจ ขอมูลที่เก็บจากแบบสอบถามแสดงใหเห็นวา กรุงเทพมหานครมีประสิทธิผลตามพันธกิจเพิ่มขึ้นหลังจาก การนําเอาการบริหารรัฐกิจแนวใหมมาใชอยูในระดับปาน กลาง และขอมูลทุติยภูมิของกรุงเทพมหานครก็แสดงให เห็ น ว า ประสิ ท ธิ ผ ลตามพั น ธกิ จ ของกรุ ง เทพมหานคร เพิ่มขึ้น จากแตกอน ดังนั้นจึงสามารถจะสรุปไดวาการที่ กรุงเทพมหานครนําเอาการบริหารรัฐกิจแบบใหมมาใชทํา ใหประสิทธิผลตามพันธกิจเพิ่มขึ้น 2. ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ขอมูล ที่เก็บจากแบบสอบถามแสดงใหเห็นวากรุงเทพมหานครมี ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการเพิ่มขึ้นหลังจากการ นําเอาการบริหารรัฐกิจแนวใหมมาใชอยูในระดับปานกลาง


90

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

แตข อ มู ลทุ ติย ภูมิข องกรุ ง เทพมหานครนั้ น แสดงให เห็ น ว า ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานครมี แนวโนมที่จะลดลงจากแตกอน จึงไมสามารถจะสรุปไดวา การที่กรุงเทพมหานครนําเอาการบริหารรัฐกิจแบบใหมมาใช ทําใหประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการเพิ่มขึ้นหรือลดลง การที่ขอ มูลปฐมภูมิและขอ มูลทุติยภูมิแ ตกตางกันอาจจะ เป น เพราะข อ มู ล ปฐมภู มิ นั้ น วั ด มาจากความรู สึ ก ของ ประชาชนที่ คิ ด ว า การมาใช บ ริ ก ารของกรุ ง เทพมหานคร สะดวกสบายขึ้นแตขอมูลทุติยภูมินั้นวัดจากขอมูลจริงที่เปน การรวมเอาการปฏิบัติงานดานอื่น ๆ ของ กทม. เขามาไวดวย จึงทําใหผลออกมาแตกตางกัน 3. คุณภาพการใหบริการ ข อ มู ล ที่ เ ก็ บ จ า ก แบบสอบถามแสดงใหเห็นวากรุงเทพมหานครมีคุณภาพการ ใหบริการเพิ่มขึ้นหลังจากการนําเอาการบริหารรัฐกิจแนวใหม ม า ใ ช อ ยู ใ น ร ะ ดั บ ม า ก แ ล ะ ข อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ ข อ ง กรุงเทพมหานครก็แสดงใหเห็นวาคุณภาพการใหบริการของ กรุงเทพมหานครมีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นจากแตกอน ดังนั้นจึง สามารถจะสรุปไดวาการที่กรุงเทพมหานครนําเอาการบริหาร รัฐกิจแบบใหมมาใชทําใหคุณภาพการใหบริการเพิ่มขึ้น 4. การพัฒนาองคกร ข อ มู ล ที่ เ ก็ บ จ า ก แบบสอบถามแสดงใหเห็นวากรุงเทพมหานครมีการพัฒนา องคกรเพิ่มขึ้นหลังจากการนําเอาการบริหารรัฐกิจแนวใหม มาใชอยูในระดับมาก แตขอมูลทุติยภูมิของกรุงเทพมหานคร นั้นแสดงใหเห็นวาการพัฒนาองคกรของกรุงเทพมหานคร ลดลงจากแต ก อ น จึ ง ไม ส ามารถจะสรุ ป ได ว า การที่ กรุงเทพมหานครนําเอาการบริหารรัฐกิจแบบใหมมาใชทําให การพัฒนาองคกรเพิ่มขึ้นหรือลดลง การที่ขอมูลปฐมภูมิและ ขอมูลทุติยภูมิแตกตางกันอาจจะเปนเพราะขอมูลปฐมภูมิน้ัน วัดมาจากความรูสึกของประชาชนที่เห็นวาสถานที่ที่มาใช บริการทันสมัยมากขึ้น และมีความรวดเร็วในการใหบริการ มากขึ้น แตขอมูลทุติยภูมินั้นวัดจากขอมูลจริงที่รวมเอาการ พัฒ นาบุค ลากรของกรุง เทพมหานครเข า มาไวด ว ย จึง ทํ า ใหผลออกมาแตกตางกัน อภิปรายผล ตอนที่ 1 ป จ จั ย ส ว นบุ ค คลส ว นใหญ ได แ ก เพศ, อายุ , รายได และบริก ารที่ ใ ช ไ ม มีผ ลตอ ทั ศนคติ ข อง

ป ร ะ ช า ช น ที่ มี ต อ ก า ร พั ฒ น า ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ข อ ง กรุ ง เทพมหานคร โดยสอดคล อ งกั บ ผลการศึ ก ษาของ อภิชาต สุทธิสอาด (2543 : บทคัดยอ) ที่พบวาไมวาจะเปน เพศชายหรือเพศหญิง ไมมีความแตกตางในการมีทัศนคติ ในการสนับสนุนการบริหารงานของคณะกรรมการเลือกตั้ง ทั้งนี้ที่ปจจัยสวนบุคคลไมมีผลตอทัศนคติของประชาชนที่ มีตอการพัฒนาการบริหารงานของกรุงเทพมหานครอาจจะ เปนเพราะกรุงเทพมหานครไดใหบริการที่มีความเสมอภาค กับทุก ๆ คน ใหความสําคัญกับสองเพศเทากัน ดังที่ มิล เลท (Millet. 1954. pp. 397 – 400) ไดใหทัศนะวา ความ พึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบริการของหนวยงาน ของรัฐนั้น ควรจะพิจารณาจากสิ่งตาง ๆ เหลานี้ คือ การ ใหบริการอยางเสมอภาค (Equitable Service) การ ใหบริการอยางทันเวลา (Timely Service) การใหบริการ อยางเพียงพอ (Ample Service) การใหบริการอยาง ตอเนื่อง (Continuous Service) การใหบริการอยาง กาวหนา (Progressive Service) สวนระดับการศึกษา และสถานที่ที่ใชบริการมีผลตอทัศนคติของประชาชนที่มี ต อ การพั ฒ นาการบริ ห ารงานของกรุ ง เทพมหานคร ดั ง งานวิจัยของ สมยศ สืบจากดี (2548 : 117) ที่พบวา ระดับ การศึ ก ษา ที่ มี ค วามแตกต า งกั น นั้ น ส ง ผลในการมอง ลักษณะคุณภาพในบางประเด็นที่ตางกันออกไป และ งานวิจัยของ Duangjai Rattanathanya (2001 : บทคัดยอ) ที่พบวา ปจจัยที่มีผลการนําศูนยบริการสุขภาพ มาใชคือ สถานภาพสมรส, พื้นที่อยูอาศัย, ภาพลักษณของ ศูนยสุขภาพ, สถานะสุขภาพที่รับรู และการมีแหลงดูแล สุขภาพอื่น ๆ อีก ผูใชศูนยบริการสุขภาพใหจัดอยูในความ ทันสมัยถึงความพึงพอใจและการรับรูคุณภาพของการดูแล ป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ ความพึ ง พอใจคื อ สถานะสมรส ระดั บ การศึกษาของผูใช และการรับรูคุณภาพของการดูแล การ ประกันคุณภาพเปนสิ่งที่จําเปน ตอนที่ 2 กรุงเทพมหานครจะไดนําเอาแนว ทางการบริ ห ารภาครั ฐ แนวใหม ม าใช เ พื่ อ พั ฒ นาการ บริหารงานของกรุงเทพมหานคร โดยสังเกตไดจากหนังสือ ราชการที่ สํ า นั ก งาน ก.พ. ที่ นร 0708.1/ว5 ได ส ง มายั ง กรุงเทพมหานครเพื่อทําการปรับเปลี่ยนการประเมินผลการ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ปฏิบัติงานของขาราชการพลเรือนสามัญไปสูการประเมิน ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลการปฏิ บั ติ ง าน ซึ่ ง ตรงกั บ แนวคิดรีเอ็นจิเนียริ่งของแฮมเมอร และแชมป (Hammer and Champy. 1993) ที่วาจุดเนนของการวัดผลการ ปฏิ บั ติ ง านและค า ตอบแทนจะเปลี่ ย นไป จากกิ จ กรรมสู ผลลั พ ธ , เกณฑ ใ นความก า วหน า เปลี่ ย นไป จากผลการ ปฏิบัติงานเปนความสามารถ และคานิยมเปลี่ยนไปจากการ ปองกันเปนการเพิ่มผลผลิต นอกจากนี้เมื่อพิจารณาในรายละเอียดของการ เปรี ย บเที ย บผลลั พ ธ ก ารพั ฒ นาการบริ ห ารงานของ กรุงเทพมหานครระหวางการบริหารรัฐกิจแบบเดิมกับการ บริหารรัฐกิจแนวใหมเปนรายดานแลว พบวา ในด า นประสิท ธิผลตามพัน ธกิจ หลัง จากที่ กรุงเทพมหานครไดนําแนวทางการบริหารรัฐกิจแนวใหมมา ใชแลวนั้นทําใหกรุงเทพมหานครมีประสิทธิผลตามพันธกิจ เพิ่ ม ขึ้ น อย า งชั ด เจนตามข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากแบบสอบถามกั บ ขอมูลทุติยภูมิของกรุงเทพมหานคร แตระดับการเพิ่มขึ้นของ ประสิท ธิผลตามพัน ธกิ จ จากแบบสอบถามนั้น อยู แ คเพีย ง ระดับปานกลาง ฉะนั้นกรุงเทพมหานครจึงควรมีการปรับปรุง แกไขใหดีขึ้น ดังที่ เฟรเดอริคสัน (ชุมพร สังขปรีชา. 2529 : 27 – 28; อางอิงจาก Frederickson. 1976: 149 - 174) ได ทํ า การศึ ก ษาวิ เ คราะห โ ดยเปรี ย บเที ย บพั ฒ นาการของ แนวความคิดยุคคลาสสิกหรือยุคดั้งเดิม กับแนวความคิดยุค ป จ จุ บั น และแนวความคิ ด ในอนาคต ในประเด็ น ความมี เหตุ ผ ลทางการบริ ห าร (Rationality) ว า ในอนาคตนั้ น การ วางแผนเปนกิจกรรมเชิงปฏิบัติการพยายามพัฒนาความมี พันธกรณีตอกิจกรรมอันเหมาะสม แตตองตระหนักวาการ วางแผนไมใชสูตรสําเร็จของสังคมที่รูผลในทางปฏิบัติทั้งที่ไม มีทางทราบได มีแตตองปรับปรุงแกไขตนเองตลอดเวลาเพื่อ บรรลุเปาหมายอันเหมาะสมของสวนรวม ในด า นประสิ ท ธิ ภ าพของการปฏิ บั ติ ร าชการ หลังจากที่กรุงเทพมหานครไดนําแนวทางการบริหารรัฐกิจ แนวใหมมาใชแลวนั้นไมสามารถสรุปไดวาการบริหารรัฐกิจ แนวใหม ทํ า ให ก รุ ง เทพมหานครมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของการ ปฏิ บั ติ ร า ชก ารเพิ่ ม ขึ้ น ห รื อ ลดล ง เ พ รา ะ ข อมู ล จ า ก แ บ บ ส อ บ ถ า ม กั บ ข อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ ขั ด แ ย ง กั น ดั ง นั้ น

91

กรุงเทพมหานครจึงควรปรับปรุงองคกรใหอยูในลักษณะที่ แสดงให เ ห็ น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพในการทํ า งาน ดั ง ที่ วั ล ภา ชายหาด (2536 : 65) ไดกลาววาองคกรตองสามารถ ใหบริการอยางเทาเทียมกัน รวดเร็ว ทันเวลา ตอเนื่องและ กาวหนา ขณะเดียวกันผูใหบริการควรมีทัศนคติที่ดีตอการ จัดบริการใหแกประชาชนตามสิทธิประโยชนที่ควรจะไดรับ โดยต อ งมี ก ารพั ฒ นาบุ ค ลากรให มี ทั ศ นคติ ความรู ความสามารถเพื่ อ ให เ กิ ด ความชํ า นาญ มี ค วา ม กระตือรือรน และกลาตัดสินใจในเรื่องที่อยูในอํานาจการ ตัดสินใจ รวมทั้งกระจายอํานาจหรือมอบอํานาจใหมากขึ้น ตลอดจนปรับปรุงระเบียบวิธีการทํางานใหมีขั้นตอนและใช เวลาในการใหบ ริการใหนอยที่สุด (รัชนีกร แกวดีพรอม. 2547 : 180; อางอิงจาก ชูวงศ ฉายะบุตร. 2536 : 11 – 14) ในด า นคุ ณ ภาพการให บ ริ ก ารหลั ง จากที่ กรุงเทพมหานครไดนําแนวทางการบริหารรัฐกิจแนวใหม มาใช แ ล ว นั้ น ทํ า ให ก รุ ง เทพมหานครมี คุ ณ ภาพการ ให บ ริ ก ารเพิ่ ม ขึ้ น อย า งชั ด เจนตามข อ มู ล ที่ ไ ด จ าก แบบสอบถามกับขอมูลทุติยภูมิของกรุงเทพมหานคร แต จากขอมูลความคิดเห็นเพิ่มเติมของประชาชนนั้นแสดงให เห็นวาคุณภาพการใหบริการตองมีการปรับปรุงเพราะสวน ใหญจะเปนขอเสนอแนะที่ตองการใหกรุงเทพมหานครได ปรับปรุงการใหบริการซึ่งคิดเปนรอยละ 31.40 ของทั้งหมด โดยการปรับปรุงนั้นควรจะใหประชาชนมีสวนรวมในการ ดํ า เนิ น การด ว ย ดั ง ที่ เฟรเดอริ ค สั น (ชุ ม พร สั ง ขปรี ช า. 2529 : 27 – 28; อางอิงจาก Frederickson. 1976: 149 174) ไดทําการศึกษาวิเคราะหโดยเปรียบเทียบพัฒนาการ ของแนวความคิ ด ยุ ค คลาสสิ ก หรื อ ยุ ค ดั้ ง เดิ ม กั บ แนวความคิดยุคปจจุบัน และแนวความคิดในอนาคต ใน ประเด็ น การเปลี่ ย นแปลงในสภาพแวดล อ มกั บ การ ตอบสนองขององค ก ารสาธารณะ (Change and Responsiveness) วาในอนาคตนั้น “การตอบสนอง” ของ องค ก ารจํ า เป น ต อ งมี ก ารเข า ร ว มอย า งกว า งขวางโดย ประชาชนผูรับบริการ ทั้งนี้เพื่อสรางความรวมแรงรวมใจ หรือขยายความเปนสมาชิก


92

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ใ น ด า น ก า ร พั ฒ น า อ ง ค ก ร ห ลั ง จ า ก ที่ กรุงเทพมหานครไดนําแนวทางการบริหารรัฐกิจแนวใหม มาใชแลวนั้นไมสามารถสรุปไดวาการบริหารรัฐกิจแนวใหม ทํ า ให ก รุ ง เทพมหานครมี ก ารพั ฒ นาองค ก รเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ ลดลงเพราะข อ มู ล จากแบบสอบถามกั บ ข อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ ขั ด แ ย ง กั น แ ต ข อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ แ ส ด ง ใ ห เ ห็ น ว า กรุง เทพมหานครขาดการพัฒนาองคกรดานบุคลากรซึ่ง เปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุดขององคกร ซึ่งอาจจะสงผลทํา ให การพั ฒ นาส ว นต า ง ๆ ไม สํา เร็ จ ดัง นั้ น ในการพัฒ นา องคกรจึงควรจะพัฒนาใหบุคลากรของกรุงเทพมหานครมี ศีลธรรมในการปฏิบัติหนาที่ดวย ดังที่ เฮนรี่ (ชุมพร สังข ปรีชา. 2529 : 20 – 21; อางอิงจาก Henry. 1975 : 28) ได กลาวไววา ถาชี้ชัดลงไปถึงจุดยืนอันเดนชัดของบริหารรัฐ กิจใหม ก็ตอบไดวาสิ่งนั้น คือ “จุดยืนทางศีลธรรม” ซึ่งมี ลักษณะเดนชัดอยางนอย 2 ประการ คือ

1. เน น จริ ย ธรรมภายในองค ก าร (internal ethics) กลาวคือ จริยธรรมอันเกี่ยวของกับบทบาทของ เจาหนาที่ที่เปนสมาชิกขององคการบริหาร เชน เจาหนาที่ หรือนักบริหารผูนั้นควรไดรับการปฏิบัติอยางไร ควรปฏิบัติ ตอผูอื่นอยางไร บุคคลเหลานี้มีคุณคาอยางไรตอองคการ เปนตน 2. เน น จริ ย ธรรมภายนอกองคการ (external ethics) กลาวคือ จริยธรรมอันเกี่ยวของกับบทบาทของ ประชาชนผูอยูภายนอกองคการ เชน ประชาชนผูติดตอ เกี่ยวของหรือรับบริการของหนวยงานควรไดรับการปฏิบัติ อยา งไร มีวัตถุ ป ระสงค มีความตอ งการ มีป ญ หาความ เดือดรอนอยางไร ทําอยางไรประชาชนจึงจะไดรับ “ความ เปนธรรม” หรือ “การปฏิบัติดวยดี” “เสมอภาค” จากการ ดํา เนิ น โครงการและนโยบายของหนว ยงานและรั ฐ บาล เปนตน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

93

บรรณานุกรม กรุงเทพมหานคร. (2550). สถิติของกรุงเทพมหานคร. สืบคนเมื่อ 1 มกราคม 2550, จาก http://www.bma.go.th/info จุมพล หนิมพานิช. (2548). การบริหารจัดการภาครัฐใหม: หลักการ แนวคิด และกรณีตัวอยางของไทย. นนทบุรี: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ชุมพร สังขปรีชา. (2529). บริหารรัฐกิจใหม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร. รัชนีกร แกวดีพรอม. (2547). การประเมินผลโครงการประกันสุขภาพถวนหนา (30 บาทรักษาทุกโรค) ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 : ศึกษาเฉพาะกรณี โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกริก. วัลภา ชายหาด. (2536). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอบริการสาธารณะดานการรักษาความสะอาดของ กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2548). แนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร การประยุกต และการพัฒนา. สืบคนเมื่อ 25 สิงหาคม 2549 ไมเคิล แฮมเมอร; และ เจมส แชมป. (2537). รีเอ็นจิเนียริ่ง เดอะ คอรเปอเรชั่น คัมภีรเพื่อการ ปฏิวัติธุรกิจ. แปลโดย ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก. คูแขงบุคส. สมยศ สืบจากดี. (2548). รูปแบบการดําเนินการขนสงมวลชนที่เหมาะสมในการแกปญหาคุณภาพใน การบริการ : กรณีศึกษาการประกอบการขนสงมวลชนดวยรถประจําทางในเขต กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อภิชาต สุทธิสอาด. (2543). ทัศนคติของขาราชการกรมการปกครองที่มีตอบทบาทของคณะกรรมการการเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. Millet, John D. (1954). Management in the Public Service. New York : McGraw – Hill Book. Rattanathanya, Duangjai. (2001). Health Needs Assessment for Reinventing Health Centers in Bangkok Metropolis. Nation Institute of Development Administration.


94

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

องคประกอบที่มีอิทธิพลตอสัมพันธภาพระหวาง นัก เรี ย นกับ เพื่ อนของนั ก เรีย นชว งชั้น ที่ 3 โรงเรีย นอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี ACTORS AFFECTING ON INTERPERSONAL RELATIONSHIP BETWEEN STUDENTS AND THEIR PEER GROUPS OF THE THIRD LEVEL, SECONDARY GRADES 1-3 STUDENTS OF INBURI SCHOOL IN INBURI DISTRICT, SINGBURI PROVINCE อาจารีย ชางประดับ 1 รองศาสตราจารยเวธนี กรีทอง 2 อาจารย ดร.พาสนา จุลรัตน 2 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาองคประกอบ ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ นของ นักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัด สิงหบุรี องคประกอบที่ศึกษาแบงเปน 3 องคประกอบ คือ องคประกอบดานสวนตัว ไดแก เพศ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บุคลิกภาพ อัตมโนทัศน ทัศนคติตอการคบเพื่อน และ สุ ข ภาพจิ ต องค ป ระกอบด า นครอบครั ว ได แ ก ฐานะทาง เศรษฐกิ จ ของครอบครั ว สภาพครอบครั ว และสั ม พั น ธภาพ ระหวางนักเรียนกับผูปกครอง และองคประกอบดานสิ่งแวดลอม ในโรงเรี ย น ได แ ก สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ครู และ ลักษณะทางกายภาพดานการเรียน กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนนักเรียน ชว งชั้น ที่ 3 ปก ารศึกษา 2549 ซึ่ ง กํ า ลั ง ศึ ก ษาอยู ใ นโรงเรีย น อินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี จํานวนทั้งสิ้น 267 คน เปนนักเรียนชาย 127 คน และ นักเรียนหญิง 140 คน เครื่องมือ

1

นิสิตปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ที่ใชในการศึกษาคนควา ไดแก แบบสอบถามองคประกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ น ของ นักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัด สิงหบุรี สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ การวิเคราะหคา สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธของเพียรสัน และการวิเคราะหการ ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา 1. องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี มีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวก กับสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ของนักเรียนชวง ชั้ น ที่ 3 โรงเรี ย นอิ น ทร บุ รี อํ า เภออิ น ทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 มี 2 องค ป ระกอบ ไดแก ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว ( X4) และสภาพ ครอบครัว : บิดามารดาอยูดวยกัน (X5) 1.2 องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวกกับ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี อยางมี นัยสํา คั ญ ทางสถิติ ที่ระดั บ .01 มี 8 องคป ระกอบ ไดแ ก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ( X3) เพศ : หญิง( X2) บุคลิกภาพ ( X8) อัตมโนทัศน ( X9) ทัศนคติตอการคบ เพื่อน ( X10) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครอง ( X12) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู ( X13) และลักษณะทาง กายภาพดานการเรียน ( X14) 2. องค ป ระกอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรี ย นอิ น ทร บุ รี อํ า เภออิ น ทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี มี รายละเอียดดังนี้ 2.1 องคป ระกอบที่ มีความสั มพั น ธท างลบ กับสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้น ที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี อยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 2 องคประกอบ ไดแก สภาพครอบครัว : บิดามารดาหยารางกัน ( X6) และ สุขภาพจิต( X11)

95

2.2 องคประกอบที่มีความสัมพันธทางลบกับ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอิน ทรบุรี อํา เภออิน ทรบุ รี จังหวั ดสิ ง หบุรี อยา งมี นัยสํ า คัญ ทางสถิ ติที่ร ะดั บ .01 มี 1 องค ป ระกอบ ไดแ ก เพศ : ชาย ( X1) 3. อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ที่ ไ ม มี ค ว า ม สั ม พั น ธ กั บ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรี ย นอิ น ทร บุ รี อํ า เภออิ น ทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี มี 1 องคประกอบ ไดแก สภาพครอบครัว : บิดาหรือมารดาถึงแก กรรม ( X7) 4. องคประกอบที่มีอิทธิพลตอสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดั บ .01 มี 5 องค ป ระกอบ โดยเรี ย งลํ า ดั บ จาก องค ป ระกอบที่มีอิ ท ธิ พ ลมากที่สุ ด ไปหาองคป ระกอบที่ มี อิทธิพลนอยที่สุด ไดแก ทัศนคติตอการคบเพื่อน (X10) อัต มโนทัศน (X9) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครอง (X12) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู (X13) และ ลักษณะทางกายภาพดานการเรียน (X14) ซึ่งองคประกอบ ทั้ง 5 องคประกอบ สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวน สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี ไดรอยละ 51.40 5. สมการพยากรณสัมพันธภาพระหวางนักเรียน กับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้น ที่ 3 โรงเรียนอิ นทรบุรี อําเภอ อินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี มีดังนี้ 5.1 สมการพยากรณสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = .369 + .397 X10 + .257 X9 + .204X12+ .153X13+ .090X14 5.2 สมการพยากรณสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อํ า เภออิ น ทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี ในรู ป คะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .319 X10 + .224 X9 + .215X12 + .149X13 + .114X14


96

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ABSTRACT The purpose of this research was to study the factors affecting on interpersonal relationship between students and their peer groups of the third level, secondary grades 1- 3 students of Inburi School in Inburi District , Singburi Province. The factors were divided into 3 dimensions , first of them was personal factors : gender, learning achievement, personality,self-concept,attitude towards friends and mental health, second of them was family factors : guardians’ economic level, guardians’ marital status and interpersonal relationship between students and their guardians and third of them was learning environment factors : interpersonal relationship between students and their teachers and physical learning environment. The samples were 267 students of the third level, secondary grades 1-3 of Inburi school in Inburi District, Singburi Province. They were 127 males and 140 females in academic year of 2006. The instrument was a questionnaires of interpersonal relationship between students and their peer groups. The data was analyzed by using the Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1. There were significantly positive correlation among interpersonal relationship between students and their peer groups of the Third Level, Secondary Grades 1- 3 Students at Inburi School in Inburi District , Singburi Province and 2 factors : guardians’ economic level (X4) and guardians’ marital status : couple (X5) at .05 level. There were significantly positive correlation among interpersonal relationship between students and their peer groups of the Third Level, Secondary Grades

1- 3 Students at Inburi School in Inburi District , Singburi Province and 8 factors : gender : female (X2), learning achievement (X3), personality (X8), selfconcept (X9), attitude towards friends (X10), interpersonal relationship between students and their guardians (X12), interpersonal relationship between students and their teachers (X13), and physical learning environment (X14) at .01 level . 2. There were significantly negative correlation among interpersonal relationship between students and their peer groups of the third level, secondary grades 1- 3 students of Inburi School in Inburi District , Singburi Province. and 2 factors : guardians’ marital status : divorce (X6) and mental health (X11) at .05 level. There was significantly negative correlation between interpersonal relationship between students and their peer groups of students in Inburi School in Inburi District , Singburi Province. and 1 factors : gender : male (X1) at .01 level . 3. There was no significantly correlation between Interpersonal Relationship between students and their peer groups of students of Inburi School in Inburi District , Singburi Province and 1 factors : guardians’ marital status: parents pass away (X7). 4. There were 5 factors significantly affecting on interpersonal relationship between students and their peer groups of the third level, secondary grades 1- 3 students of Inburi School in Inburi District , Singburi Province, ranking from the most affecter to the least affecter were attitude towards friends (X10), self-concept (X9), interpersonal relationship between students and their guardians (X12), interpersonal relationship between students and and physical learning their teachers (X13) environment (X14) at .01 level . These 5 factors


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 could predict interpersonal relationship between students and their peer groups of students about percentage of 51.40. 5. The predicted equation of interpersonal relationship between students and their peer groups of the third level, secondary grades 1- 3 Students of Inburi School in Inburi District , Singburi Province at .01 level were as follows : 5.1 In terms of raw scores was : Ŷ = .369 + .397 X10 + .257 X9 + .204X12+ .153X13 + .090X14 5.2 In terms of standard scores was : Z = .319 X10 + .224 X9 + .215X12 + .149X13 + .114X14 ความสําคัญของการวิจัย นักเรียนในชวงชั้นที่ 3 มีอายุระหวาง 12 – 15 ป เปนวัยแรกรุน ทําใหนักเรียนในชวงชั้นนี้ เกิดความวิตกกังวล จากการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย และการเปลี่ยนแปลง ทางดานอื่นๆ (ศรีเรือน แกวกังวาล. 2540:330) และการเรียน ในระดับ ชวงชั้น นี้เริ่มยากขึ้น ตองใชความรูความสามารถ มากขึ้น ถานักเรียนมีผลการเรียนไมดี จะสงผลใหนักเรียนมี ความรู สึ ก ไม ช อบโรงเรี ย น และอาจก อ ให เ กิ ด ป ญ หาอื่ น ๆ ตามมา (อุมาพร ตรังคสมบัติ. 2543:42 ) เนื่ อ งจากบุ ค คลส ว นมากเชื่ อ ว า ผู ที่ ส ามารถ ประสบความสําเร็จทั้งทางดานการเรียนและทางดานการ งานจะตองมีเชาวปญญาสูง มีความสามารถทางสมองดี มี ความคิดที่ปราดเปรื่องและประสบความสําเร็จทางการเรียน สามารถผานการทดสอบคัดเลือกเขาทํางานในตําแหนงที่ดีๆ ในองค ก รได แตก็ ไ ม ไ ด เ ป น หลั ก ประกัน ว า คนที่ I.Q. สู ง ๆ เหล า นี้ จ ะประสบความสํ า เร็ จ ในอาชี พ เสมอไป บางคน ลมเหลวในการทํางานไมอาจกาวไปสูตําแหนงที่สูงขึ้นไปได เนื่ อ งจากมี ป ญ หาทางด า นการควบคุ ม อารมณ แ ละด า น มนุษยสัมพันธ (วีระวัฒนะ ปนนิตามัย. 2542:31) การสรางสัมพันธภาพจึง เปนปจจัยสําคัญอยางหนึ่งในการดําเนินชีวิตใหราบรื่น และ การคบหาสมาคมมีความจําเปนสําหรับบุคคลที่ตองการมี ชี วิ ต อยู ใ นสั ง คมอย า งมี ค วามสุ ข (พิ ไ ลรั ต น ทองอุ ไ ร. 2529:96)

97

ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางองคประกอบ ดานสวนตัว ดานครอบครัว และดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียน กับสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้น ที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี 2. เพื่ อ ศึ ก ษาองค ป ระกอบด า นส ว นตั ว ด า น ครอบครั ว และดา นสิ่งแวดลอมในโรงเรี ยน ที่มีอิท ธิพลตอ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี 3. เพื่อสรางสมการพยากรณสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี สมมติฐานในการศึกษาคนควา 1.องคป ระกอบด า นสว นตัว ด า นครอบครัว และ ดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียน มีความสัมพันธกับสัมพันธภาพ ระหวา งนักเรียนกับ เพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียน อินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี 2.องค ป ระกอบดา นส ว นตั ว ดา นครอบครัว และ ดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียน มีอิทธิพลตอสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี อภิปรายผลการวิจัย ผลการศึกษาครั้งนี้ อภิปรายผลไดดังนี้ 1. องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวกกับ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี มีดังนี้ 1.1ฐานะทางเศรษฐกิ จ ของครอบครั ว มี ความสัมพัน ธทางบวกกับสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ เพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 แสดงวา นัก เรี ยนที่มี ฐ านะทางเศรษฐกิจ ของครอบครัว ดี มี สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้เพราะครอบครัว ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดี ยอมมีโอกาสและเวลาที่จะเอาใจใส อบรมสั่งสอนลูกและอยูใกลชิดสนิทสนมกับลูกไดมากกวา ครอบครั ว ที่ มี ฐ านะทางเศรษฐกิ จ ไม ดี ทํ า ให นั ก เรี ย นเกิ ด ความรู สึ ก อบอุ น มี ค วามสุ ข เกิ ด ความสบายใจ กล า ที่ จ ะ


98

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

พู ด คุ ย ป ญ หาต า งๆหรื อ เล า สิ่ ง ต า งๆที่ เ กิ ด ขึ้ น ให บุ ค คลใน ครอบครัวฟง ทําใหนักเรียนกลาที่จะสรางสัมพันธภาพกับ เพื่อนขึ้นมา ซึ่งสอดคลองกับ พันทิพา อุทัยสุข (2525 : 201 – 202) ไดศึกษาเรื่องสภาพเศรษฐกิจของครอบครัวที่มีตอ พฤติ ก รรมของนั ก เรี ย น คื อ นั ก เรี ย นที่ ค รอบครั ว มี ฐ านะ ยากจนจะรูสึกต่ําตอย รูสึกทอถอย นักเรียนมักจะเปนคนไม จริ ง ใจ รู สึ ก อั บ อายเพื่ อ นฝู ง และไม มี ค วามภาคภู มิ ใ จใน ครอบครัวของตนเอง ซึ่งสงผลทําใหนักเรียนมีสัมพันธภาพ กับบุคคลอื่นไมดี 1.2สภาพครอบครัว : บิดามารดาอยูดวยกัน มีความสัมพันธทางบวกกับสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ เพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 แสดงวานักเรียนที่มีสภาพครอบครัวที่บิดามารดาอยูดวยกัน มีสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้เพราะสภาพ ครอบครัวที่บิดามารดาอยูดวยกัน จะทําใหนักเรียนไดรับการ ดูแลเอาใจใสจากทั้งบิดามารดาในทุกเรื่อง ทําใหนักเรียนรูสึก ไดรับความรัก ความอบอุนและความไววางใจจากบิดาและ มารดาทั้งสองฝาย และเมื่อนักเรียนเกิดปญหาตางๆขึ้นมา นักเรียนก็กลาที่จะมาปรึกษาปญหาตางๆเหลานั้นกับทั้งบิดา และมารดาทําใหนักเรียนคลายความกังวลและความกดดันที่ เกิ ด จากป ญ หาต า งๆ ทํ า ให นั ก เรี ย นมี ค วามมั่ น คงทาง อารมณ มองโลกในแงดี และพรอมที่จะสรางสัมพันธภาพกับ บุคคลอื่น ดังที่จรรจา สุวรรณทัต (2510 : 19) กลาววา ผลอัน เกิดจากการหยารางในครอบครัวจะกระทบกระเทือนตอการ เกิ ดเจตคติ การมองดูโ ลก และชีวิตของนักเรียนเปน อยา ง มาก เด็กที่ประสบปญหาจากการหยารางของบิดามารดา มัก มี ป ญ หามากกว า เด็ ก ที่ ม าจากครอบครั ว ที่ บิ ด ามารดาอยู ดวยกันอยางปกติสุข 1.3 เพศ : นักเรี ยนหญิงมีความสัมพัน ธ ทางบวกกั บ สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ นของ นักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัด สิ ง ห บุ รี อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงว า นักเรียนหญิงมีสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้ เพราะเพศหญิงเปนผูที่พรอมจะปรับตัวเขากับทุกคนอยูแลว และเพศหญิ ง เปน เพศที่มี ค วามละเอีย ดออ นและสามารถ

สรางสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นไดงาย เนื่องจากเพศหญิงมี ความสุภาพ ออนโยน มีบุคลิกภาพทาทีที่เปนมิตร ยิ้มแยม แจมใส ดังที่จิราภรณ สุทธิสานนท (2529 : 81) ศึกษาการ พัฒนาการปรับตัวดานสัมพันธภาพกับเพื่อนของนักเรียนชั้น ประถมศึก ษาปที่ 5 พบวา สั ง คมไดมี คา นิย มในการอบรม เลี้ยงดูเด็กหญิงใหมีกิริยามารยาทเรียบรอย มีความประพฤติ ดี และอยู ใ นกรอบของขนบธรรมเนี ย มประเพณี ม ากกว า เด็กชายและมีการแสดงออกอยางเหมาะสมจึงทําใหเพศหญิง มีสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี 1.4ผลสัม ฤทธิ์ท างการเรี ยนมีค วามสั มพัน ธ ทางบวกกั บ สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ นของ นักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัด สิ ง ห บุ รี อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงว า นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี มีสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนดี จะมีความภาคภูมิใจในตนเอง และมีความมั่นใจใน ตนเอง และนัก เรี ยนที่มีผ ลสั มฤทธิ์ท างการเรี ยนดี จ ะตั้ ง ใจ เรียนและเอาใจใสในการเรียน มีความกระตือรือรน ขยันอาน หนั ง สื อ และทบทวนบทเรี ย น พยายามปรั บ ปรุ ง แก ไ ขการ ทํางานใหดีขึ้น ปรึกษาครูเมื่อมีปญหาหรือไมเขาใจบทเรียน หรือปรึกษาพอแมหรือเพื่อนเพื่อทําความเขาใจในบทเรียน ทํ า ให นั ก เรี ย นที่ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นดี มี ก ารสร า ง สัมพันธภาพกับบุคคลอื่นอยูเสมอๆ และบุคคลที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนดีจะไมมีความกดดันในเรื่องการเรียน และพรอม ที่จะแสดงใหบุคคลตางๆไดเห็นวาตนมีความรูในเรื่องใดบาง และจะมีการขวนขวายหาความรูอยูเสมอๆ ทําใหไดติดตอ สัมพันธกับบุคคลอื่นอยูเปนประจํา ทําใหพัฒนาสัมพันธภาพ กับบุคคลอื่นๆไปในทางที่ดีขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งสอดคลองกับที่พวง รอย วรกุล (2522 : 19) อางอิงจาก Onoda ( 1975 : 7729 – A) วา เด็กที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงจะเปนคนที่มีความ รับผิดชอบ ขยันหมั่นเพียร ควบคุมตนเองได มีความสัมพันธ ที่ดีกับคนอื่น มีความสัมพันธที่ดีกับครู สวนคนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่ํา เปนคนขี้เกียจ มีความสัมพันธกับคนอื่นไมดี มีความสับสนวุนวายใจ 1.5 บุคลิกภาพมีความสัมพันธทางบวกกับ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ของนักเรียนชวงชั้นที่


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่มี บุคลิกภาพแบบเอมีสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้ ง นี้ เ พราะนั ก เรี ย นที่ มี บุ ค ลิ ก ภาพแบบเอจะเป น คนที่ รั ก ความกาวหนาและเปนที่สนใจของบุคคลทั่วไป และเปนที่นา คบหามากกว า บุ ค คลที่ มี บุ ค ลิ ก ภาพแบบอื่ น ๆ และ บุคลิกภาพแบบเอไดแกลักษณะบุคลิกภาพของนักเรียนที่รัก ความกาวหนา ชอบฝาฟนอุปสรรค มีความกาวหนา ชอบ ทํางานใหประสบผลสําเร็จและสัมฤทธิ์ผล และชอบทํางาน ดวยความรวดเร็ว จะมีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นไดดี ซึ่ง การมีบุคลิกภาพแบบเอนั้น ทําใหเปนที่ชื่นชอบและยอมรับ กับบุคคลอื่นๆทั่วไป ดังที่ รัชนี ลาชโรจน (2527 : 293 – 294) ไดกลาวไววา บุคลิกภาพที่ดีนั้น จะตองสามารถปรับตัว เขากับบุคคลอื่นไดดวย 1.6 อัตมโนทัศนมีความสัมพันธทางบวกกับ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่มีอัตมโน ทัศนดี มีสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้เพราะ นักเรียนที่มีอัตมโนทัศนตอตนเองดีมักจะเปนที่ชื่นชอบของ บุคคลอื่น เพราะนักเรียนที่มีอัตมโนทัศนตอตนเองดี จะมอง โลกในแงดี ไมมีความกดดันหรือคิดวาตนเองดอยกวาบุคคล อื่ น ทํ า ให ช อบเข า สั ง คม และพบปะกั บ บุ ค คลอื่ น ๆเสมอ สงผลใหมีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นดี 1.7 ทัศนคติตอการคบเพื่อนมีความสัมพันธ ทางบวกกั บ สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ นของ นักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัด สิ ง ห บุ รี อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงว า นักเรียนที่มีทัศนคติทางบวกตอการคบเพื่อน มีสัมพันธภาพ ระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่มีทัศนคติ ทางบวกตอการคบเพื่ อน คื อ นักเรียนที่มีความคิดวา การ พูดคุยกับเพื่อนดวยถอยคําไพเราะ การแสดงออกถึงความ หวงใย และการใหความชวยเหลือแกเพื่อน ในดานการเรียน และดานการทํางานเปนสิ่งที่ดี ก็จะมีความรูสึกพอใจ และให ความสนใจต อ การคบหาเพื่ อ น ดั ง นั้ น นั ก เรี ย นจึ ง มี ก าร

99

แสดงออกกับเพื่อนดี และปฏิบัติตนกับเพื่อนดี ซึ่งเปนผลให นักเรียนมีสัมพันธภาพกับเพื่อนดี 1 . 8 สั ม พั น ธ ภ า พ ร ะ ห ว า ง นั ก เ รี ย น กั บ ผูปกครองมีความสัมพันธทางบวกกับสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 แสดงวานักเรียนที่มีสัมพันธภาพกับผูปกครองดี มี สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้ เพราะการที่ ผูปกครองใหความเห็นและคําปรึกษาทางดานการเรียนแก นักเรี ยน ความหว งใยใกลชิดสนิ ทสนมซึ่ ง กั น และกัน ทํา ให สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครองแนนแฟนขึ้นก็ยอม สงผลใหนักเรียนมีความสุข นักเรียนมีความมั่นใจในตนเอง เปนการเสริมสรางมิตรภาพใหเกิดขึ้นในบาน ซึ่งจะสงผลให นักเรียนเห็นแบบอยางการมีสัมพันธภาพที่ดี สงผลใหนักเรียน สามารถสรางสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนได 1.9 สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ครู มี ความสัมพัน ธทางบวกกับสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ เพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี สั ม พั น ธภาพกั บ ครู ดี มี สั ม พั น ธภาพ ระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้เพราะการที่ครูกับนักเรียนมี สัมพันธภาพที่ดีตอกัน ก็ยอมสงผลใหบรรยากาศการจัดการ เรียนการสอนในหองเรียนเปนไปดวยดี เปนการสงเสริมให นักเรียนเกิดการเรียนรู และนักเรียนสามารถปรับตัวทางการ เรี ย นได ดี ส ง ผลให ล ดความกดดั น ความตึ ง เครี ย ดที่ จ ะ เกิดขึ้นในหองเรียน ลดความเปนอคติของครูที่มีตอนักเรียน และครูใหความสนใจนักเรียนอยางสม่ําเสมอ ไมเลือกที่รัก มักที่ชัง สิ่งเหลานี้จะมีสวนชวยใหนักเรียนเกิดความสบายใจ มีความตั้งใจและสนใจเรียน การสอนก็จะเปนไปอยางราบรื่น ทํ า ให นั ก เรี ย นรั ก ที่ จ ะเรี ย น ส ง ผลให นั ก เรี ย นประสบ ความสําเร็จในการเรียน และสงผลใหนักเรียนมีสัมพันธภาพ ระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี เนื่องมาจากเมื่อสภาพบรรยากาศ ภายในหองเรียนไมมีความกดดัน นักเรียนก็เกิดความสบาย ใจ กลา คิดกลา พูด และมีสัมพัน ธภาพระหวา งนักเรียนกับ เพื่อนดี


100

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

1.10ลั ก ษณะทางกายภาพด า นการเรี ย นมี ความสัมพันธทางบวกกับสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ เพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงวานักเรียนที่ไดรับลักษณะทางกายภาพดานการเรียนดี มีสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดีทั้งนี้เพราะลักษณะ ทางกายภาพดานการเรียนดีเปนตัวแปรที่สําคัญที่ทําใหการ จั ด การเรี ย นการสอนเป น ไปได ด ว ยดี แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นักเรี ยนไม มีความกดดัน และเกิดความสบายใจ สงผลให นักเรียนมีจิตใจที่แจมใส ร า เริ ง มี สั ม พั น ธภาพกั บ เพื่ อ นดี ดั ง นั้ น การที่ โ รงเรี ย นมี ลักษณะทางกายภาพที่ดี จึงสงผลใหนักเรียนมีสัมพันธภาพ กับเพื่อนดี 2. องคประกอบที่มีความสัมพันธทางลบกับ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี ไดแก 2.1 สภาพครอบครัว : บิดามารดาหยา ร า งกั น มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ สั ม พั น ธภาพระหว า ง นักเรียนกับเพื่อน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 แสดงวานักเรียนที่มีสภาพครอบครัวที่บิดามารดา หยารางกันมีสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้ เพราะนักเรียนที่มีสภาพครอบครัวที่ผูปกครองหยา รางกัน เปนนักเรียนที่ไมมีความมั่นใจในตนเองและมีความวาเหว เป น พื้นฐาน จึง พรอ มที่จะสร างสั มพัน ธภาพกับบุคคลอื่น เพื่อสรางความมั่นใจ และเพื่อหาบุคคลอื่นมาเปนที่พึ่งแทนที่ ผูปกครองที่หยารางกัน 2.2 สุขภาพจิตมีความสัมพันธทางลบกับ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี อยางมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี สุขภาพจิตดี มีสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้ เพราะนั ก เรี ยนที่มี สุ ข ภาพจิ ตดี ( มี คะแนนสุข ภาพจิต นอ ย) เปนผูที่มองโลกในแงดี พึ่งตนเองได รวมทั้งเปนที่พึ่งของผูอื่น ได สามารถปรับตัวเขากับปญหาและอุปสรรคของชีวิตได มี การแสดงออกและการควบคุมอารมณของตนเองดี ซึ่งผูที่มี

สุ ข ภาพจิ ต ดี ย อ มจะมี สั ม พั น ธภาพกั บ บุ ค คลอื่ น ดี ด ว ย เนื่องจากสัมพันธภาพระหวางบุคคลคือความอดทนที่จะอยู รวมกับบุคคลอื่น และสามารถยอมรับความแตกตางระหวาง บุ ค คลได และให ค วามสนั บ สนุ น ช ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น (สมพงษ รังสีพราหมณกุล. 2525 : 1) 2.3 เพศ : นักเรียนชาย ( X1) มี ความสั ม พั น ธ ท างลบกั บ สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่อน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงวา นักเรียนชายมีสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ไมดี ทั้งนี้เพราะในชวงพัฒนาการที่เปนวัยรุน นักเรียนชายมี บุ ค ลิ ก ภาพท า ที ที่ แ ข็ ง กร า ว ไม อ อ นหวานนุ ม นวลเหมื อ น นักเรียนหญิง ชอบเลนรุนแรง ชอบแกลงเพื่อน ขาดมนุษย สั ม พั น ธ กั บ บุ ค คลรอบข า ง เพราะนั ก เรี ย นชายติ ด การเล น เกมสคอมพิวเตอรมากกวานักเรียนหญิง จึงสงผลใหมีการ แสดงออกอยางไมเหมาะสม จึงทําใหมีสัมพันธภาพที่ไมดีกับ เพื่อน ซึ่งสอดคลองกับที่กาญจนา ควรสุภา (2516 : 19) อางอิงมาจาก Jones (1954 : 781) วา สังคมมักจะเขมงวด กับความประพฤติของเด็กหญิงมากกวาเด็กชาย ดวยเหตุนี้ อาจทําใหเด็กชายมีความประพฤติที่ไมเหมาะสมหรือกระทํา ผิดมากกวาเด็กหญิง 3. อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ที่ ไ ม มี ค ว า ม สั ม พั น ธ กั บ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรี ย นอิ น ทร บุ รี อํ า เภออิ น ทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี มี 1 องคประกอบ ไดแก สภาพครอบครัว : บิดาหรือมารดาถึง แกกรรม ( X7) แสดงวา นักเรียนบางคนที่มีสภาพครอบครัวที่ บิดาหรือมารดาถึงแกกรรม มีสัมพันธภาพระหวางนักเรียน กับเพื่อนไมดี ทั้ง นี้เพราะ นักเรียนไมมีผูปกครองที่จะให ความรั ก และความอบอุ น แก นั ก เรี ย น ทํ า ให นั ก เรี ย นขาด ความมั่นใจ และไมกลาคุยกับบุคคลอื่น ซึ่งสงผลใหนักเรียนที่ มี ส ภาพครอบครั ว ที่ บิ ด าหรื อ มารดาถึ ง แก ก รรม จะมี สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนไมดี นั ก เรี ย นบางคนที่ มี ส ภาพครอบครั ว ที่ บิ ด าหรื อ มารดาถึ ง แก ก รรมบางครอบครั ว มี สั ม พั น ธภาพระหว า ง นักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่บิดาหรือมารดาถึง แกกรรมอาจเกิดความรูสึกวาเหว ไมมั่นคง เลยทําใหนักเรียน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 พยายามสรา งสัมพัน ธภาพกับ บุคคลอื่นเพื่อ ใหต นเองเกิด ความรู สึ ก ดี มั่ น คง และความสบายใจ ทํ า ให นั ก เรี ย นมี สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี 4. องคประกอบที่มีอิทธิพ ลตอ สัมพันธภาพ ระหวางนักเรียนกับเพื่อน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียน อินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 องคประกอบโดยเรียงลําดับจาก องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลมากที่ สุ ด ไปหาองค ป ระกอบที่ มี อิทธิพลนอยที่สุด ไดแก ทัศนคติตอการคบเพื่อน (X10) อัต มโนทัศน (X9) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครอง (X12) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู (X13) และ ลักษณะทางกายภาพดานการเรียน (X14) ซึ่งองคประกอบ ทั้ง 5 องคประกอบนี้ สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวน สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี ไดรอยละ 51.4 ซึ่งอภิปรายไดดังนี้ 4.1 ทัศนคติตอการคบเพื่อน (X10) มีอิทธิพล ตอสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ของนักเรียนชวง ชั้ น ที่ 3 โรงเรี ย นอิ น ทร บุ รี อํ า เภออิ น ทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับหนึ่ง แสดง วานักเรียนที่มีทัศนคติทางบวกตอการคบเพื่อน ทําใหมี สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้เพราะ นักเรียน ที่มีทัศนคติทางบวกตอการคบเพื่อน ไดแก ความคิด เกี่ยวกับการพูดคุยกับเพื่อน การแสดงความหวงใย และให ความช ว ยเหลื อ กั บ เพื่ อ นในด า นการเรี ย นและการทํ า งาน ความพอใจ และความสนใจตอการคบเพื่อน ทําใหมีการ พูดคุยกับ เพื่อ น และการแสดงออกเพื่อ ใหเพื่อ นทราบวา ตนเองชื่นชมเพื่อน จึงทําใหเพื่อนก็มีความคิด ความรูสึก และมีการแสดงออกตอนักเรียนเชนเดียวกันจึงทําใหนักเรียน มีสัมพันธภาพกับเพื่อนดี มีอิทธิพลตอ 4.2 อัตมโนทัศน (X9) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี อยางมี นัย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ร ะดับ .01 เป น อั น ดั บ ที่ 2 แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี อั ต มโนทั ศ น ดี ทํ า ให มี สั ม พั น ธภาพระหว า ง นัก เรี ยนกับ เพื่ อ นดี ทั้ง นี้ เ พราะ การที่นั ก เรี ย นมี ค วามรู สึ ก

101

เกี่ยวกับตนเองในทางที่ดี สงผลใหนักเรียนมีความสัมพันธกับ ผูอื่นในดานดี เนื่องจากนักเรียนมีความมั่นใจในตนเอง และมี ความสุข สงผลใหเปนคนราเริง มองโลกในแงดี บุคคลตาง ๆ จึงอยากเขาใกลทําใหนักเรียนที่มีอัตมโนทัศนดี มีการสราง สัมพันธภาพกับเพื่อนดีดวย 4.3 สั ม พั น ธ ภ า พ ร ะ ห ว า ง นั ก เ รี ย น กั บ ผูปกครอง (X12) มีอิทธิพลตอสัมพันธภาพระหวางนักเรียน กับเพื่อนของนักเรียนชวงชั้น ที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภอ อิ น ทร บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห บุ รี อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดั บ .01 เป น อั น ดั บ ที่ 3 แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี สัมพันธภาพดีกับผูปกครอง ทําใหนักเรียนมีสัมพันธภาพ ระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ นดี ทั้ ง นี้ เ พราะการปฏิ บั ติ ต นกั บ ผูปกครองนับไดวาเปนสิ่งสําคัญ เปนอยางมาก เพราะการ ปฏิบั ติตนกับ ผูป กครองได ถู กตอ งเหมาะสมจะทํา ให เ กิด มี สั ม พั น ธภาพที่ ดี ดํ า เนิ น ชี วิ ต อย า งมี ค วามสุ ข ดั ง นั้ น การ ปฏิบัติตนของนักเรียนและผูปกครองที่มีตอกันทั้งในและนอก หองเรียนเพื่อใหเกิดความสัมพันธที่ดีตอกันก็ยอมสงผลให นั ก เรี ย นมี ค วามสุ ข การที่ นั ก เรี ย นสามารถที่ จ ะปรึ ก ษา ปญหาตาง ๆ กับผูปกครองได เปนการเสริมสรางมิตรภาพ ใหเกิดขึ้น การประพฤติปฏิบัติที่เหมาะสมของนักเรียนตอ ผูป กครองคือ มี กิริ ย ายิ้ มแยม แจม ใส มองโลกในแงดี รู จั ก ระงับอารมณ วางตัวอยูในฐานะที่เหมาะสม มีความจริงใจ รูจักชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน มีความคิดและความรูสึกที่ ดีใหแกกัน มีความเปนอิสระในการเสนอความคิดเห็น แตถา นักเรียนปฏิบัติตอผูปกครองอยางไมเหมาะสม ก็จะทําใหเกิด ปญหาขึ้นกับตนเองเชน มีความรูสึกตอตนเองในทางที่ไมดี เขากับผูปกครองไมได ไมสามารถดําเนินชีวิตอยางมีความสุข ดังนั้นการที่นักเรียนมีสัมพันธภาพดีกับผูปกครอง ทําให นักเรียนมีสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี 4.4 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู (X13) มี อิทธิพลตอสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ของ นักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัด สิงหบุรี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่ 4 แสดงวา นักเรียนที่มีสัมพันธภาพกับครูดี ทําใหมีสัมพันธภาพ ระหวางนักเรียนกับเพื่อนดี ทั้งนี้เพราะ สัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับครูเปนการปฏิบัติตนของนักเรียนตอครู และการ


102

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ปฏิบัติตนของครูตอนักเรียน เพื่อใหเกิดความสัมพันธที่ดีตอ กัน การปฏิบัติตนของนักเรียนตอครู ไดแก การใหความ เคารพ เชื่อฟงคําสั่งสอน ปฏิบัติตามคําสั่งสอนของครู และ การตั้งใจเรียน และการปฏิบัติตนของครูตอนักเรียน ไดแก การใหการอบรมสั่งสอน ทั้งในเรื่องการเรียน และเรื่องสวนตัว ความเมตตาปราณีตอนักเรียน รวมทั้งการใหคําปรึกษาและ ชวยเหลือนักเรียนทั้งเรื่องการเรียนและเรื่องสวนตัว การให ความรั ก ความอบอุ น การเอาใจใส ตั้ ง ใจอบรมสั่ ง สอน นั ก เรี ย น ยอมรั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น และให ค วามเป น กั น เอง การกระทํ า ดั ง กล า วทํ า ให นั ก เรี ย นมี ค วามสุ ข และมี ค วาม พรอมที่จะปฏิบัติตนดีกับเพื่อนดวย 4.5 ลักษณะทางกายภาพดานการเรียน (X14) มี อิ ท ธิ พ ลต อ สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ น ของ นักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัด สิงหบุรี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่ 5 ซึ่งเปนอันดับสุดทาย แสดงวา นักเรียนที่ไดรับลักษณะทาง กายภาพดานการเรียนดี ทําใหมีสัมพันธภาพระหวางนักเรียน กั บ เพื่ อ นดี ทั้ ง นี้เ พราะลัก ษณะทางกายภาพทางด า นการ เรียนที่ดี ประกอบดวย สถานที่เรียน ไดแก สภาพหองเรียน มี ขนาดหองเรียนเพียงพอกับจํานวนนักเรียน มีความสะอาด มีความเปนระเบียบของหองเรียน มีการถายเทอากาศ มี แสงสวาง ปราศจากเสียงและกลิ่นรบกวน และมีสื่อและ อุปกรณการเรียน ไดแก มีความพรอมของสื่อและอุปกรณ การเรียน มีความทันสมัยและมีคุณภาพการใชงาน ทําให นักเรียนสนุกกับการเรียน ดังที่ สุพิชญา ธีระกุล และคน

อื่นๆ (2524 : 182 – 187 ) ไดกลาวถึงลักษณะทางกายภาพ ด า น ก า ร เ รี ย น อ า ทิ เ ช น สื่ อ อุ ป ก ร ณ ก า ร เ รี ย น หองปฏิบัติการการเรียน และปจจัยอื่นๆ ที่ดีมีความพรอมจะ เปนตัวแปรที่สําคัญที่ทําใหการจัดการเรียนการสอนเปนไปได ดวยดีและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการที่นักเรียนไดรับลักษณะ ทางกายภาพดี จึงสงผลใหนักเรียนมีสัมพันธภาพกับเพื่อนดี ดวย ขอเสนอแนะ 1.1 ควรมีการศึกษาองคประกอบที่มีอิทธิพล ตอสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ของนักเรียนใน ระดับอื่น ๆ เชน นักเรียนชวงชั้นที่ 4 และนักเรียนหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เปนตน 1.2 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบสัมพันธภาพ ระหวางนักเรียนกับเพื่อนของนักเรียน ระหวางนักเรียนใน โรงเรียนสังกัดภาครัฐกับนักเรียนในโรงเรียนสังกัดภาคเอกชน 1.3 ควรพัฒนาองคประกอบที่มีอิทธิพลตอ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ไดแก ทัศนคติตอการ คบเพื่อน อัตมโนทัศน สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ ผูปกครอง และสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู โดย นําไปทําการทดลองเพื่อพัฒนาองคประกอบดังกลาวซึ่งจะ ชวยแกปญหา สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน โดยใช เทคนิค ทางจิต วิทยา เชน การปรับ พฤติก รรม และกลุ ม สัมพันธ เปนตน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

103

บรรณานุกรม กาญจนา ควรสุภา. (2516).ความสัมพันธระหวางบุคลิกภาพแสดงตัว – เก็บตัว ความรูสึกผิดชอบและคุณธรรม แหงพลเมืองดี. ปริญญานิพนธ กศ.ม. วิทยาลัยวิชาการศึกษา. ประสานมิตร. จิราภรณ สุทธิสานนท. (2529). การรับรูเกี่ยวกับยาเสพติดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนสังกัด กรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 9. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (สุขศึกษา).กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พิไลรัตน ทองอุไร. (2529). สัมพันธภาพระหวางบุคคลทางการพยาบาลจิตเวช. กรุงเทพฯ :ศูนยสงเสริม. รสชรินทร ฉายแกว.(2536). การศึกษาความสัมพันธระหวางบุคลิกภาพหาองคประกอบที่สําคัญแบบ การเรียนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนิสิตนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร เขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การวัดผลการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วีระวัฒนะ ปนนิตามัย.(2542, มกราคม–มิถุนายน.). “เชาวนอารมณดัชนีวัดความสําเร็จในชีวิต” วารสารแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา. 1(2) :11 ศรีเรือน แกวกังวาล. (2539). “ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ รูเขา รูเรา,” หมอชาวบาน. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ. สุพิชญา ธีระกุล และคนอื่นๆ . (2524).การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ : พิมพวิทยาคาร. สุรสิทธิ์ บุญสกุลณะ.(2531).ผลของการใชกลุมสัมพันธที่มีตอการปรับตัวดานสัมพันธภาพกับเพื่อน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุรางค โควตระกูล.(2548). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อุมาพร ตรังคสมบัติ.(2543). ปญหาการเรียนและเทคนิคชวยใหลูกเรียนดี. กรุงเทพฯ : ศูนยวิจัยและพัฒนาครอบครัว. Ahmad, Raza Riahincjed and Albert B. Hood. (1984, November) “ The Development of Interpersonal Relationship in Collage,” Journal of Collage Student Personal. 25(6) : 498 – 502 Watson, R. L. and Henry Clay Lindgren.(1973). Psychology of the Child. 3rd ed, pp.326 – 327. New York : John Willing & Son. Yamane, Taro. (1970). Statistic : An Introductory Analysis. New York : Harper and Row.


104

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความสามารถในการ เรียนรูว ิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนพิบลู มังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี. FACTORS AFFECTING ON MATHEMATICAL LEARNIG ABILITY OF THE FOURTH LEVEL, SECONDARY GRADES 4-6 STUDENTS AT PHIBUNMUANGSAHARN SCHOOL IN PHIBUNMUANGSAHARN DISTRICT, UBONRATCHATANI PROVINCE นพรัตน สําเภา 1 อาจารยวิไลลักษณ พงษโสภา 2 อาจารยนันทวิทย เผามหานาคะ 2 ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง ห ม า ย เ พื่ อ ศึ ก ษ า องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ ความสามารถในการเรี ย นรู วิ ช า คณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อํา เภอพิบู ลมัง สาหาร จัง หวั ดอุบ ลราชธานี องคป ระกอบที่ ศึกษาแบงเปน 3 องคประกอบ คือ องคประกอบดานสวนตัว ไดแก ไดแก เพศ ระดับชั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แรงจูงใจ ใฝ สั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร นิ สั ย ทางการเรี ย น ความวิตกกังวลตอการเรียนวิชาคณิตศาสตร บุคลิกภาพ และ สุขภาพจิต องคประกอบดานครอบครัว ไดแก สภาพครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว แ ล ะ ก า ร ส นั บ ส นุ น ข อ ง ผูปกครองดานการเรียน และองคประกอบดานสิ่งแวดลอมใน โรงเรี ย นเรี ย น ได แ ก ลั ก ษณะทางกายภาพด า นการเรี ย น สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู และสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับเพื่อน กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ปการศึกษา 2549 ซึ่งกําลังศึกษาอยูในโรงเรียนพิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร

1

นิสิตปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 จังหวัดอุบลราชธานี จํานวนทั้งสิ้น 423 คน เปนนักเรียนชาย 156 คน และนั ก เรี ย นหญิ ง 267 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ น การศึกษาคนควา เปนแบบสอบถามองคประกอบที่มีอทิธิพล ต อ ความสามารถในการเรี ย นรู วิ ช าคณิ ต ศาสตร และ แบบทดสอบความความสามารถในการเรี ย นรู วิ ช า คณิตศาสตร ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี สถิติที่ใชในการ วิเคราะหขอมูล คือ การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบวา 1.องค ป ระกอบที่มี อิ ท ธิ พ ลต อ ความสามารถใน การเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรี ย นพิ บู ล มั ง สาหาร อํ า เภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุบ ลราชธานี อ ย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 มี 4 องคประกอบโดยเรียงลําดับจากองคประกอบที่มีอิทธิพลมาก ที่สุดไปหาองคประกอบที่มีอิทธิพลนอยที่สุด ไดแก ลักษณะ ทางกายภาพดานการเรียนวิชาคณิตศาสตร (X17) แรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร (X11) สุขภาพจิต (X15) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (X6) ซึ่งองคประกอบทั้ง 4 องค ป ระกอบ สามารถร ว มกั น อธิ บ ายความแปรปรวน ความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสา หาร จังหวัดอุบลราชธานี ไดรอยละ 50.70 จึงนําคา สัมประสิทธิ์ของตัวพยากรณมาเขียนสมการไดดังนี้ สมการพยากรณความสามารถในการเรียนรูวิชา คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 4 โรงเรี ย น พิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ1 = 18.922 - 5.768 X17 + 3.004 X11 - 2.01 X15 + 3.216 X6 สมการพยากรณความสามารถในการเรียนรูวิชา คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 4 โรงเรี ย น พิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ในรูปคะแนนมาตรฐาน ไดแก Z1 = -.542 X17 + .299 X11 - .196 X15 + .182 X6 2. องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความสามารถใน การเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรี ย นพิ บู ล มั ง สาหาร อํ า เภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด

105

อุ บ ลราชธานี อ ย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 มี 2 องคประกอบโดยเรียงลําดับจากองคประกอบที่มีอิทธิพลมาก ที่ สุ ด ไปหาองค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลน อ ยที่ สุ ด ได แ ก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(X6) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ เพื่อน (X19) ซึ่งองคประกอบทั้ง 2 องคประกอบ สามารถ รวมกันอธิบายความแปรปรวนความสามารถในการเรียนรู วิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียน พิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ไดรอยละ 12.90 จึงนําคาสัมประสิทธิ์ของตัวพยากรณมา เขียนสมการไดดงั นี้ สมการพยากรณความสามารถในการเรียนรูวิชา คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 5 โรงเรี ย น พิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ2 = 16.882 + 1.995 X6 -1.787 X19 สมการพยากรณความสามารถในการเรียนรูวิชา คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 5 โรงเรี ย น พิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ในรูปคะแนนมาตรฐาน ไดแก Z 2 = .295 X6 -.244 X19 3. องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความสามารถใน การเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรี ย นพิ บู ล มั ง สาหาร อํ า เภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี อ ย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 มี 3 องคประกอบโดยเรียงลําดับจากองคประกอบที่มีอิทธิพลมาก ที่สุดไปหาองคประกอบที่มีอิทธิพลนอยที่สุด ไดแก แรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร (X11) การสนับสนุน ของผูปกครองดานการเรียน(X16) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (X6) ซึ่งองคประกอบทั้ง 3 องคประกอบ สามารถรวมกัน อธิ บ ายความแปรปรวนความสามารถในการเรี ย นรู วิ ช า คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6 โรงเรี ย น พิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ไดรอยละ 12.50 จึงนําคาสัมประสิทธิ์ของตัวพยากรณมา เขียนสมการไดดังนี้ สมการพยากรณความสามารถในการเรียนรูวิชา คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6 โรงเรี ย น


106

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

พิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ3 = .182 + 3.315 X11 -1.664 X16 + 4.027 X6 สมการพยากรณความสามารถในการเรียนรูวิชา คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มัธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6 โรงเรี ย น พิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ในรูปคะแนนมาตรฐาน ไดแก Z3 = .230 X11 -.181 X 16 +.174 X 6 ABSTRACT The purposes of this research were to study the factors affecting on mathematical learning ability of the fourth level, secondary grades 4-6 students at Phibunmuangsaharn School in Phibunmuangsaharn District , Ubonratchatani Province. The factors were devided into 3 dimensions , first of them was personal factor : gender, class level, learning achievement , mathematical learning achievement motive, learning habit, mathematical learning anxiety, personality and mental health, second of them was family factor : guardians’ marital status , : guardians’ economic level and guardian’s learning supportive and third of them was learning environment factor: mathematic physical learning environment, interpersonal relationship between students and their teachers and interpersonal relationship between students and their peer groups. The 423 samples : 156 males and 267 females were the fourth level, secondary grades 4-6 students at Phibunmuangsaharn School in Phibunmuangsaharn District , Ubonratchatani Province. in academic year 2006. The instrument was a questionnaires of mathematical learning ability. The data was analysed by The Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1. There were significantly 4 factors affecting on mathematical learning ability of the

fourth level, secondary grades 4 students : matthayom suksa IV students at Phibunmuangsaharn School in Phibunmuangsaharn District , Ubonratchatani Province at. 01 level ranking from the most affecter to the least affecter factors were mathematic physical learning environment (X17), mathematical learning achievement motive (X11), mental health (X15) and learning achievement (X6) . These 4 factors could predicted mathematical learning ability about percentage of 50.70. So their coefficient could show the predicted equation of mathematical learning ability were as follows : The predicted equation of mathematical learning ability of the fourth level, secondary grades 4 students matthayom suksa IV students at Phibunmuangsaharn School in Phibunmuangsaharn District , Ubonratchatani Province in terms of raw scores were : Ŷ1 = 18.922 - 5.768 X17 + 3.004 X11 - 2.01 X15 + 3.216 X6 The predicted equation of mathematical learning ability of the fourth level, secondary grades 4 students : matthayom suksa IV students at Phibunmuangsaharn School in Phibunmuangsaharn District , Ubonratchatani Province in terms of standard scores were : Z1 = -.542 X17 + .299 X11 - .196 X15 + .182 X6 2. There were significantly 2 factors affecting on mathematical learning ability of the fourth level, secondary grades 5 students : matthayom suksa V students at Phibunmuangsaharn School in Phibunmuangsaharn District , Ubonratchatani Province at. 01 level ranking from the most affecter to the least affecter factors were learning achievement (X6), and interpersonal relationship between students and their peer groups (X19) . These 2 factors could predicted mathematical learning ability about


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 percentage of 12.90. So their coefficient could show the predicted equation of mathematical learning ability were as follows : The predicted equation of mathematical learning ability of the fourth level, secondary grades 5 students : matthayom suksa V at Phibunmuangsaharn School in Phibunmuangsaharn District , Ubonratchatani Province in terms of raw scores were : Ŷ2 = 16.882 + 1.995 X6 -1.787 X19 The predicted equation of mathematical learning ability of the fourth level, secondary grades 5 students : matthayom suksa V at Phibunmuangsaharn School in Phibunmuangsaharn District , Ubonratchatani Province in terms of standard scores were Z 2 = .295 X6 -.244 X19 3. There were significantly 3 factors affecting on mathematical learning ability of the fourth level, secondary grades 6 students : matthayom suksa VI students at Phibunmuangsaharn School in Phibunmuangsaharn District , Ubonratchatani Province at. 01 level ranking from the most affecter to the least affecter factors were Mathematical learning achievement motive (X11), guardians learning supportive (X16) and learning achievement (X6) . These 3 factors could predicted mathematical learning ability about percentage of 12.50. So their coefficient could show the predicted equation of mathematical learning ability were as follows : The predicted equation of mathematical learning ability of the fourth level, secondary grades 6 students : matthayom suksa VI students at Phibunmuangsaharn School in Phibunmuangsaharn District , Ubonratchatani Province in terms of raw scores were : Ŷ3 = .182 + 3.315 X11 -1.664 X16 + 4.027 X6

107

The predicted equation of mathematical learning ability of the fourth level, secondary grades 6 students : matthayom suksa VI students at Phibunmuangsaharn School in Phibunmuangsaharn District , Ubonratchatani Province in terms of standard scores were : Z3 = .230 X11 -.181 X 16 +.174 X 6 ความเปนมาและความสําคัญของการวิจัย การจั ด การศึ ก ษาของไทยตั้ ง แต อ ดี ต จนถึ ง ปจจุบัน พบวา คณิตศาสตรเปนวิชาที่มีความสําคัญวิชา หนึ่ ง ที่ ช ว ยพั ฒ นาคนให เ กิ ด ศั ก ยภาพในตนเอง เนื่ อ งจาก ธรรมชาติ ข องวิ ช าคณิ ต ศาสตร จ ะเกี่ ย วข อ งกั บ ความคิ ด กระบวนการ และเหตุผล ฝกใหคนคิดอยางมีระบบระเบียบ และเป น รากฐานของวิ ท ยาการหลายสาขา ความ เ จ ริ ญ ก า ว ห น า ท า ง ด า น เ ท ค โ น โ ล ยี วิ ท ย า ศ า ส ต ร วิศวกรรมศาสตร คอมพิวเตอรและดานอื่นๆ ก็ลวนแตอาศัย คณิตศาสตรทั้งนั้น ปจจุบันนักเรียนมัธยมศึกษายังมีปญหา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูใน ระดับต่ํา โดยคาคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของแต ละวิชา สวนใหญอยูในเกณฑที่ต่ํากวา โดยเฉพาะอยางยิ่ง วิช าที่ มี ค ะแนนเฉลี่ ย ต่ํ า มาก ได แ ก วิ ช าคณิ ต ศาสตร (กรม วิชาการ. 2541 : 1) สาเหตุที่ทําใหนักเรียนมีคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูในเกณฑต่ํา อาจมีสาเหตุมาจาก ตัว ผู ส อน ตั ว เนื้ อ หาหลั กสู ต ร วิ ธี ก ารจั ด การเรีย นการสอน เอกสารสื่อการเรียนการสอน ตัวผูปกครอง รวมทั้งตัวผูเรียน เองดวย ดวยเหตุผลดังกลาวขางตนทําใหเห็นวา ตองมีการ พัฒนาศักยภาพทางคณิตศาสตรของนักเรียนใหพรอมที่จะ เขาสูการเปลี่ยนแปลงตางๆ ของสังคม คณะผูวิจัยจึงมีความ สนใจที่จะศึกษาความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตร ของนั ก เรี ย น เพื่ อ พั ฒ นาความรู แ ละความสามารถในการ เรียนรูคณิตศาสตรของนักเรียนโรงเรียนพิบูลมังสาหารใหถึง ขีดสุดของผูเรียน วิธีวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้ง นี้ เปนนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ปการศึกษา 2549 ซึ่งกําลังศึกษา อยูในโรงเรียนพิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด


108

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

อุบลราชธานี จํานวนทั้งสิ้น 1,695 คน โดยสุมกลุมตัวอยาง จํ า น ว น 423 ค น ซึ่ ง เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช ใ น ก า ร วิ จั ย เ ป น แบบสอบถามแบบมาตราสวนประมานคา (Rating Scale) 5 ระดับ และแบบทดสอบแบบเลือกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือก ที่ คณะผูวิจัยสรางขึ้น โดยสถิติที่ใชในการวิจัยคือ คาความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย ( X) สวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) t – test คาความยากงาย (p) คา อํานาจจําแนก (r) วิเคราะหองคประกอบที่มีอิทธิพลความสามารถ ในการเรียนรูของของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนพิบูลมังสา หาร อํ า เภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ด ว ยวิ ธี Stepwise Multiple Regression Analysis แบบ Stepwise ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ.05 สรุปผลการวิจัย องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความสามารถในการ เรี ย นรู วิ ช าคณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 4 โรงเรี ย นพิ บู ล มั ง สาหาร อํ า เภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี มี 4 องค ป ระกอบโดยเรี ย งลํ า ดั บ จาก องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลมากที่ สุ ด ไปหาองค ป ระกอบที่ มี อิทธิพลนอยที่สุด ไดแก ลักษณะทางกายภาพดานการเรียน วิ ช าคณิ ต ศาสตร แรงจู ง ใจใฝ สั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช า คณิ ต ศาสตร สุ ข ภาพจิ ต ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความสามารถในการเรียนรูวิชา คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 5 มี 2 องคประกอบ ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสัมพันธภาพ ระหวางนักเรียนกับเพื่อน องคประกอบที่มีอิทธิพลตอ ความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6 มี 3 องค ป ระกอบ ได แ ก แรงจู ง ใจใฝ สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร การสนับสนุนของ ผูปกครองดานการเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อภิปรายผลการวิจัย 1. ลั ก ษณะทางกายภาพด า นการเรี ย นวิ ช า คณิ ต ศาสตร มี อิ ท ธิ พ ลทางบวกต อ ความสามารถในการ เรี ยนรู วิช าคณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ยนชั้ น มั ธ ยมศึ กษาปที่ 4 โรงเรี ย นพิ บู ล มั ง สาหาร อํ า เภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด แสดงวา นักเรียนที่ไดรับลักษณะทาง อุบลราชธานี กายภาพดานการเรียนวิชาคณิตศาสตรที่เหมาะสม ทําให

มีความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรอยูในระดับ คอนขางสูง ทั้งนี้เพราะ ลักษณะทางกายภาพทางดานการ เรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ประกอบด ว ย สถานที่ เ รี ย น ได แ ก ห อ งเรี ย นมี อ ากาศถ า ยเท ห อ งเรี ย นมี ค วามเป น ระเบี ย บ เรี ย บร อ ย ห อ งเรี ย นมี ค วามสะอาด ห อ งเรี ย นมี ก ารติ ด แผนสูตรทางคณิตศาสตร บริเวณหองเรียนวิชาคณิตศาสตร ปราศจากกลิ่นและเสียงรบกวน ขนาดของหองเรียนของวิชา คณิ ต ศาสตร ไ ม แ ออั ด คั บ แคบ เมื่ อ เที ย บกั บ ปริ ม าณของ นักเรียนที่เรียนวิชาคณิตศาสตร สื่อ อุปกรณการเรียนการ สอน ไดแก มีเอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตรอ ยา ง เพี ย งพอ มี อุ ป กรณ ก ารเรี ย นที่ มี ค วามทั น สมั ย และมี ประสิทธิภาพในการใชงาน มีปริมาณเพียงพอเมื่อเทียบกับ จํานวนนักเรียนที่เรียนวิชาคณิตศาสตร ทําใหนักเรียนสนุก กับการเรียน สื่อการสอนที่มีความทันสมัยจะทําใหนักเรียน ไดรับประโยชนสูงสุดในการเรียน การสรางบรรยากาศที่ดีใน การเรียนทําใหจิตใจและอารมณของนักเรียนนั้นสดชื่นขึ้น ทํา ใหเกิด แรงจูงใจในการเรียนคณิตศาสตร ตลอดจนดํา เนิน กิจกรรมตางๆที่สงเสริมใหเกิดการเรียนรูที่ดีใหเกิดขึ้นดังนั้น หากโรงเรี ย นมี ลั ก ษณะทางกายภาพที่ เ หมาะสม ย อ มส ง อิทธิพลตอความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของ นั ก เรี ย น ซึ่ ง มี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ การจั ด การศึ ก ษาใน ภาพรวมของโรงเรีย นใหมีป ระสิท ธิภ าพยิ่ง ขึ้น ดว ย ดัง นั้น ลักษณะทางกายภาพดานการเรียนวิชาคณิตศาสตร จึงเปน ตั ว แปรที่ สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให ค วามสามารถในการเรี ย นรู วิ ช า คณิตศาสตรของนักเรียนสูง 2. แรงจู ง ใจใฝ สั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตร มีอิทธิพลตอความสามารถในการเรียนรูวิชา คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 4 และ 6 โรงเรี ย นพิ บู ล มั ง สาหาร อํ า เภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี แ รงจู ง ใจใฝ สั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนสูง ทําใหมีความสามารถในการเรียนรูวิชา คณิตศาสตรคอนขางสูง ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่มีแรงจูงใจใฝ สัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง มีความพยายาม ในการเรียน ให ประสบความสํ า เร็ จ โดยไม ย อ ท อ ต อ อุ ป สรรค และความ ล ม เหลว รู จั ก กํ า หนดเป า หมาย ที่ เ หมาะสมกั บ ความสามารถของตน สามารถคิดแกปญ หา และอุปสรรค


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ตาง ๆ ในการทํางาน และใหเวลาสวนมากแกการเรียน จึงมี ความสามารถในการเรี ย นรู วิ ช าคณิ ต ศาสตร สู ง ดั ง นั้ น นักเรียนที่มีแรงจูงใฝสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรจึง เปนองคประกอบที่มีอิทธิพลทางบวกตอความสามารถในการ เรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 3. สุ ข ภาพจิ ต มี อิ ท ธิ พ ลทางบวกต อ ความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสา หาร จังหวัดอุบลราชธานี แสดงวา นักเรียนที่มีสุขภาพจิตดี ทําใหมีความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรสูง ทั้งนี้ เพราะ นักเรียนที่มีสุขภาพจิตดี เปนผูมีภาวะความสมบูรณ ทางจิตใจของนักเรียนที่มีตอตนเองและผูอื่น โดยสามารถ ปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอม และสถานการณที่เปลี่ยนแปลง มี ค วามสามารถในการดํ า รงชี วิ ต อยู ใ นสั ง คมได อ ย า งมี ความสุ ข ตามสภาพความเป น จริ ง ของตนเอง และการ แก ปญ หาในชีวิ ต ประจํ า วัน ได ดั ง นั้ น นัก เรีย นที่ มี ความ สมบูรณท างดา นจิต ใจ สามารถเรี ยนรูสิ่ง ตา งๆ ไดอ ยา งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง หากเกิ ด ความวิ ต กกั ง วล หรื อ ภาวะ ความเครียดทางดานการเรียน ไมสามารถควบคุมอารมณใน บางชวงเวลาในขณะนั้นได ทําใหนักเรียนมีศักยภาพและขีด ความสามรถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรต่ํา 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีอิทธิพลทางบวกตอ ความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 ,5 และ 6 โรงเรียนพิบูลมังสาหาร อําเภอ พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี แสดงวา นักเรียนที่มี ผลสัม ฤทธิ์ท างการเรีย นสู ง ทํา ให มีค วามสามารถในการ เรียนรูวิชาคณิตศาสตรคอนขางสูง ทั้ง นี้เพราะนักเรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงเปนนักเรียนที่มีความพรอมและ ตั้งใจในการเรียนอยูเปนพื้นฐาน นักเรียนจะมีความตั้งใจ เรียน และเอาใจใสในการเรียน มีความกระตือรือรน ขยัน อานหนังสือและทบทวนบทเรียน สงงานที่ไดรับมอบหมาย ตรงตามเวลาที่กําหนด พยายามปรับปรุงแกไขการทํางานให ดีขึ้น การปรึกษาครูเมื่อมีปญหาหรือไมเขาใจบทเรียน และ ศึ ก ษาค น คว า หาความรู เ พิ่ ม เติ ม อยู เ สมอ จึ ง ทํ า ให มี ความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรสูง

109

นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปานกลางหรือ ต่ํา ทําใหมีความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรปาน กลางและคอนขางต่ํา ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่มีผลผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนปานกลาง เปนนักเรียนที่มีไมคอยมีความพรอม และไมตั้งใจในการเรียนอยูเปนพื้นฐาน นักเรียนขาดความ ตั้ง ใจเรีย น และขาดการเอาใจใส ใ นการเรี ยน ขาดความ กระตือรือรน ไมขยันอานหนังสือและทบทวนบทเรียน ไมสง งานที่ ไ ด รั บ มอบหมายตรงตามเวลาที่ กํ า หนด ขาดความ พยายามปรับปรุงแกไขการทํางานใหดีขึ้น ไมปรึกษาครูเมื่อมี ป ญ หาหรื อ ไม เ ข า ใจบทเรี ย น และไม ศึ ก ษาค น คว า หา ความรูเพิ่มเติมอยูเสมอ 5. สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน มี อิ ท ธิ พ ลทางลบต อ ความสามารถในการเรี ย นรู วิ ช า คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 5 โรงเรี ย น พิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี แสดงวา นักเรียนที่มีสัมพันธภาพไมดีกับเพื่อน ทําใหมี ความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรคอนขางต่ํา ทั้งนี้ เพราะการปฏิบัติตนของนักเรียนและเพื่อนที่มีตอ กันทั้งใน และนอกห อ งเรี ย นอย า งไม ถู ก ต อ งเหมาะสมทํ า ให เ กิ ด ความสัมพันธที่ไมดีตอกัน ไดแก การไมชวยเหลือพึ่งพาซึ่งกัน และกั น ด า นการเรี ย น การไม แ ลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น กั น ทางการเรียน นักเรียนไมมีความหวงใยใกลชิดสนิทสนมซึ่งกัน และกัน การไมรวมทํา กิจกรรมตา ง ๆ ในกลุมเพื่อ น ก็ยอ ม สงผลใหนักเรียนไมสามารถดําเนินชีวิตอยางมีความสุข ไมมี ความสามั ค คี ไม ใ ห ค วามช ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล กั น ตาม ความสามารถ และโอกาส ไมสามารถที่จะปรึกษาปญหา ตาง ๆ กับเพื่อนได เปนการขาดการเสริมสรางมิตรภาพให เกิ ด ขึ้ น ในหมู ค ณะ ทํ า ให เ กิ ด ป ญ หาขึ้ น กั บ ตนเอง เช น มี ความรูสึกกับตนเองในทางที่ไมดี เขากับกลุมเพื่อนไมได ซึ่ง จะสงผลใหมีความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรต่ํา ดังนั้นสัมพันธภาพที่ดีระหวางนักเรียนกับเพื่อน ทําใหนักเรียน มีความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรสูง 6. การสนับสนุนของผูปกครองดานการเรียน มี อิ ท ธิ พ ลทางลบต อ ความสามารถในการเรี ย นรู วิ ช า คณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6 โรงเรี ย น พิบูลมังสาหาร อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี


110

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

แสดงวา นักเรียนที่ไดรับการสนับสนุนจากผูปกครองดาน การเรียนปานกลาง ทําใหนักเรียนมีความสามารถในการ เรียนรูวิชาคณิตศาสตรต่ํา ทั้งนี้เพราะ การที่ผูปกครองไมให การสนับสนุนทางการเรียนดานการเรียนแกนักเรียน โดยการ ไมใหความสนใจ ซักถาม แนะนํา ไมใหความชวยเหลือและ รวมมือในการทํากิจกรรมการเรียน ไมใหเวลาและโอกาส ทางการเรียน ไมใหการสนับสนุนดานทุนทรัพยในการใชจาย และไม ใ ห กํ า ลั ง ใจแก เด็ กนัก เรี ยน ทํ า ใหนัก เรี ยนไมส นใจ และเอาใจใส ต อ การเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร จึ ง ทํ า ให มี ความสามารถในการเรี ย นรู วิ ช าคณิ ต ศาสตร ต่ํ า ดั ง นั้ น นั ก เรี ย นที่ ไ ด รั บ การสนั บ สนุ น จากผู ป กครองมากจะมี ความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตร ไดดีกวานักเรียนที่ ไดรับการสนับสนุนดานการเรียนของผูปกครองนอย ขอเสนอแนะ ผลจากการวิจัยครั้งนี้ สามารถใชเปนแนวทางให ผูบริหาร ครูผูสอน อาจารยที่ปรึกษา อาจารยแนะแนว และผูปกครองไดทราบขอมูลเพื่อพิจารณา สามารถนําไปเปน ขอมูลประกอบวางแผนพัฒนา หรือหาวิธีการในการสงเสริม ใหนักเรียนมีความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของ นั ก เรี ย นให สู ง ขึ้ น โดยนํ า องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ ความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตร รวมทุกระดับชั้น มี 6 องคประกอบ ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แรงจูงใจใฝ สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร สัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับเพื่อน การสนับสนุนของผูปกครองดานการเรียน ลักษณะทางกายภาพดานการเรียนวิชาคณิตศาสตร และ สุ ข ภาพจิ ต ดั ง นั้ น ผลจากการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู วิ จั ย เสนอ แนวทางดังตอไปนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปนองคประกอบที่มี อิทธิพลตอความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ,5และ 6 ดังนั้น ผูปกครอง ผูบริหาร ครูผูสอนตลอดจนผูที่เกี่ยวของกับนักเรียน ควรมี กิจกรรมและแนวทางการปฏิบัติการสงเสริมใหนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 ,5และ 6 ไดศึกษาคนควาหาความรู เพิ่มเติมนอกจากการเรียนการสอนภายในหองเรียนโดยมอบหมาย ใหนักเรียนไปคนหาความรูจากแหลงความรูอื่นๆ เชนหองสมุด อินเตอรเน็ตเพื่อใหนักเรียนมีผลการเรียนคณิตศาสตรที่สูงยิ่งขึ้น

2. แ ร ง จู ง ใ จ ใ ฝ สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น วิ ช า คณิตศาสตรเปนองคประกอบที่มีอิทธิพลตอความสามารถใน การเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 และ 6 ดังนั้น ผูปกครอง ผูบริหาร ครูผูสอนตลอดจนผูที่ เกี่ยวของกับนักเรียน ควรมีกิจกรรมสงเสริมใหนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 และ 6 ใหมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตร เชน การจัดกรรมดานวิชาการทางดาน วิชาคณิตศาสตร หรือกิจกรรมการแขงขันตอบโจทยปญหา ทางคณิ ต ศาสตร เพื่ อ เป น การฝ ก ให นั ก เรี ย นมี ก ารพั ฒ นา ทักษะทางดานความคิดและสติปญญา และมีความพยายาม ตอการเรียนใหประสบความสําเร็จโดยไมยอทอตออุปสรรค และความล ม เหลว รู จั ก กํ า หนดเป า หมายที่ เ หมาะสมกั บ ความสามารถของตน รูจักวาตนเองเดนหรือดอยในดานไหน สามารถคิดแกปญหา และอุปสรรคตาง ๆ ในการทํางานได ดว ยตนเอง และเพื่อ ใหนัก เรียนมีค วามสนใจและใหเ วลา สวนมากแกการเรียนวิชาคณิตศาสตรมากขึ้น เปนตน 3. สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ เพื่ อ นเป น องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความสามารถในการเรียนรูวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ดังนั้น ครู และผูบริหารโรงเรียน ควรมีการจัดกิจกรรมใหนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5 ไดมีการปฏิสัมพันธระหวางกันเพื่อใหเกิด สัมพันธภาพที่ดีตอกันทั้งใน และนอกหองเรียน เกิดความ สนิทสนม เขาใจ ชวยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและกัน และการทํา กิจกรรมตาง ๆ รวมกันในกลุมเพื่อน เพื่อใหเกิดความสําเร็จ ดานการเรียน เปนตน 4. การสนับสนุนของผูปกครองดานการเรียนเปน องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความสามารถในการเรียนรูวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ดังนั้น บิดา มารดาและผูปกครองควรใหการสนับสนุนดานการเรียนแก นั ก เรี ย น โดยให ค วามสนใจ ซั ก ถาม แนะนํ า ให ค วาม ชวยเหลือและรวมมือในการทํากิจกรรมการเรียน ใหเงินและ ทุนทรัพยในการใชจาย ใหเวลาและใหโอกาสนักเรียนในการ ทํากิจกรรมการเรียน ดวยการชวยเหลือนักเรียนในดานตางๆ ไมวาจะเปนการสนับสนุนทางดานวัตถุ ซึ่งไดแก การจัดหา อุปกรณสื่อประกอบการเรียน ใหแกนักเรียนอยางเพียงพอ ตามความจําเปนทางดานการเรียนของนักเรียน และการสนับสนุน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ทางดานจิตใจ ซึ่งไดแก การใหความสนใจ กําลังใจ และเอา ใจใส ใหคําปรึกษาและชี้แนะทางดานการเรียนแกนักเรียน เปนตน 5. ลักษณะทางกายภาพดานการเรียนวิชา คณิตศาสตรเปนองคประกอบที่มีอิทธิพลตอความสามารถใน การเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ดั ง นั้ น ครู และผู บ ริ ห ารโรงเรี ย น ควรจั ด ห อ งเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรใหมีความเหมาะสมกับบรรยากาศดานการเรียน การสอนวิ ช าคณิ ต ศาสตร โดยห อ งเรี ย นควรจะมี อ ากาศ ถายเท หองเรียนจะตองมีความสะอาดเปนระเบียบเรียบรอย หองเรียนควรมีการติดแผนสูตรทางคณิตศาสตร ขนาดของ ห อ งเรี ย นของวิ ช าคณิ ต ศาสตร ต อ งไม แ ออั ด คั บ แคบ สื่ อ อุปกรณการเรียนการสอน ควรมีเอกสารประกอบการเรียน

111

คณิ ต ศาสตร อ ย า งเพี ย งพอ มี อุ ป กรณ ก ารเรี ย นที่ มี ค วาม ทันสมัยและมีประสิทธิภาพในการใชงาน มีปริมาณเพียงพอ เมื่อเทียบกับจํานวนนักเรียนที่เรียนวิชาคณิตศาสตร ซึ่งจะ สงผลตอการจัดการเรียนการสอนในภาพรวมของโรงเรียนให มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นดวย 6. สุขภาพจิตเปนองคประกอบที่มีอิทธิพล ตอความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ดังนั้น ผูปกครอง ผูบริหาร ครูผูสอน ตลอดจนผูที่เกี่ยวของกับนักเรียน ควรจัดทําโครงการพัฒนา จิตใจ สงเสริมสุขภาพจิต เพื่อลดภาวะความเครียดและความ วิตกกังวลทางดานการเรียนวิชาคณิตศาสตร เพื่อใหนักเรียน ที่มีความสมบูรณทางดานจิตใจ สามารถเรียนรูสิ่งตางๆ ได อยางมีประสิทธิภาพ

บรรณานุกรม กรมวิชาการ. . (2541).เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2531 คูมือ การแนะแนว. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. ถายเอกสาร ______.(2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว. ______.(2545). กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ชวงชั้นที่ 4 (ม.4-6). พิมพครั้งที่ 1 . กรุงเทพฯ : ประสานมิตร. ดี บางกระ. (2538) การศึกษาความสามารถของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในการเรียนเรื่องฟงกชัน กอกําเนิด. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (วิชาคณิตศาสตร) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. รุงรัก รุงรัตนเสถียร. (2543). การศึกษาความสามารถในการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่ไดรับการสอนดวยการจัดกิจกรรมมุมคณิตศาสตร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. Zung ,W.W. ;& J.O Covernar. (1980). Assessment Scales and Techniques : Handbook on Stress and Anxiety. San Francisco : Jossey Bass Publishers.


112

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ปจจัยทีส่ งผลตอพฤติกรรมการเรียนวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุ ราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี FACTORS AFFECTING ON MATHEMATICS LEARNING BEHAVIOR OF THE THIRD LEVEL, SECONDARY GRADES 1-3 STUDENTS AT SURATPITTHAYA SCHOOL IN SURATTHANI PROVINCE สุพัตรา ผลรัตนไพบูลย 1 อาจารยวิไลลักษณ พงษโสภา 2 รองศาสตราจารยเวธนี กรีทอง 2 บทคัดยอ การวิจัยเรื่องปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอ พฤติ ก รรมการเรีย นวิ ช าคณิต ศาสตรข องนั ก เรีย นช ว งชั้น ที่ 3 โรงเรียนสุร าษฎรพิทยา จัง หวัดสุร าษฎรธ านี ปจจัยที่ศึกษา แบงเปน 3 ปจจัย คือ ปจจัยดานสวนตัว ไดแก เพศ ระดับชั้น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร บุ ค ลิ ก ภาพ และ ทั ศ นคติ ต อ การเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ป จ จั ย ด า นครอบครั ว ได แ ก ฐานะทางเศรษฐกิ จ ของครอบครั ว และสั ม พั น ธภาพ ระหวางนักเรียนกับผูปกครอง และปจจัยดานสิ่งแวดลอมใน โรงเรี ย น ได แ ก ลั ก ษณะทางกายภาพทางการเรี ย นวิ ช า คณิ ต ศาสตร สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ครู และ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย เปนนักเรียนระดับ ชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี ป การศึกษา 2549 จํานวน 337 คน เปนนักเรียนชาย 125 คน และนักเรียนหญิง 212 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา 1

นิสิตปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ไดแก แบบสอบถามปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตร สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ การ วิ เ คราะหค า สั ม ประสิ ท ธิ์ ส หสั มพั น ธข องเพีย รสั น และการ วิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบวา 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรม การเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุ ราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัย ไดแก บุคลิกภาพ ( X8) ทัศนคติตอการเรียนวิชาคณิตศาสตร (X9) สัมพันธภาพ ระหวางนักเรียนกับผูปกครอง (X10) ลักษณะทางกายภาพ และสัมพันธภาพ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร (X11) ระหวางนักเรียนกับครู ( X12) 2. ป จจัย ที่ไ ม มีค วามสัม พัน ธกับ พฤติ ก รรมการ เรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 3 โรงเรี ย นสุ ราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี มี 8 ปจจัย ไดแก เพศ : ชาย (X1) เพศ : หญิง (X2) ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 1 (X3) ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 2 (X4) ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 3 (X5) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (X6) ฐานะ ทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X7) และสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับเพื่อน (X13) 3. ปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการเรียนวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียน สุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ป จจัยโดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่ สุด ไปหา ป จ จั ย ที่ ส ง ผลน อ ยที่ สุ ด ได แ ก ทั ศ นคติ ต อ การเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตร (X9) ลักษณะทางกายภาพในโรงเรียน (X11) บุคลิกภาพ (X8) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน (X13) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (X6) ซึ่งปจจัยทั้ง 5 ปจจัย สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวนพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดรอยละ 47.90 4. สมการพยากรณพฤติกรรมการเรียนวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี มีดังนี้

113

4.1 สมการพยากรณพฤติกรรมการเรียนวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = -.183 + .699 X9 + .310 X11 + .238 X8 - .160 X13- .089 X6 Ŷ = -.183 + .699 X9 (ทัศนคติตอการ เรียนวิชาคณิตศาสตร ) + .310 X11 (ลักษณะทางกายภาพ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร ) + .238 X8 (บุคลิกภาพ ) .160 X13 (สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ) - .089 X6 ( ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ) 4.2 สมการพยากรณพฤติกรรมการเรียนวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี ในรูปคะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .512 X9 + .237 X11 + .193 X8 - .147 X13 - .091 X6 Z = .512 X9 (ทัศนคติตอการเรียนวิชา คณิตศาสตร )+ .237 X11 (ลักษณะทางกายภาพทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตร ) + .193 X8 (บุคลิกภาพ ) - .147 X13 (สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ) - .091 X6 ( ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ) ABSTRACT The purposes of this research were to study the factors affecting on mathematics learning behavior of the third level, secondary grades 1-3 students at Suratpitthaya School in Suratthani Province. The factors were divided into 3 dimensions, first of them was personal factors : gender, class level, learning achievement, personality and attitude towards mathematics learning, second of them was family factors : guardian’s economic level and interpersonal relationship between students and their guardian and third of them was school environment factors : physical mathematics learning environment, interpersonal relationship between students and their teachers and interpersonal relationship between students and their peer groups.


114

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

The 337 samples : 125 males and 212 females were the mathematics learning behavior of the third level, secondary grades 1-3 students at Suratpitthaya School in Suratthani Province in academic year 2006. The instrument was a questionnaires of factors affecting mathematics learning behavior of the third level, secondary grades 1-3 students at Suratpitthaya School in Suratthani Province. The data was analyzed by The Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1. There were significantly positive correlation between mathematics learning behavior of the third Level, secondary grades 1-3 students at Suratpitthaya School in Suratthani province and 5 factors : personality (X8), attitude towards mathematics learning (X9), interpersonal relationship between students their guardians (X10), physical mathematics learning environment (X11), interpersonal relationship between students and their teachers (X12) at .01 level . 2. There were no significantly correlation among mathematics learning behavior of the third level, secondary grades 1-3 students at Suratpitthaya School in Suratthani Province and 8 factors : gender : male (X1), gender : female (X2), class level : matthayom suksa I (X3), class level : matthayom suksa II (X4), class level : matthayom suksa III (X5), learning achievement (X6), guardians’ economic level (X7), interpersonal relationship between student and their peer groups (X13). 3. There were 5 factors got significantly affecting on mathematics learning behavior of the third level, secondary grades 1-3 students at

Suratpitthaya School in Suratthani Province ranking from the most affecter to the least affecter were attitude towards mathematics learning (X9), physical mathematics learning environment (X11), personality (X8), interpersonal relationship between student and their peer groups (X13) and learning achievement (X6) at .01 level. These 5 factors could predicted mathematics learning behavior of the third level, secondary grades 1-3 students at Suratpitthaya School In Suratthani province about percentage of 47.90. 4. The predicted equation of mathematics learning behavior of the third level, secondary grades 1-3 students at Suratpitthaya School in Suratthani Province at .01 level were as follows : 4.1 In terms of raw scores were : Ŷ = -.183 + .699 X9 + .310 X11 + .238 X8 - .160 X13- .089 X6 Ŷ = -.183 + .699 X9 (attitude towards mathematics learning ) + .310 X11 (physical mathematics learning environment ) + .238 X8 (personality ) - .160 X13 (interpersonal relationship between student and their peer group ) - .089 X6 (learning achievement) 4.2 In terms of standard scores were : Z = .512 X9 + .237 X11 + .193 X8 - .147 X13 - .091 X6 Z = .512 X9 (attitude towards mathematics learning ) + .237 X11 (physical mathematics learning environment ) + .193 X8 (personality ) – .147 X13 (interpersonal relationship between student and their peer group ) - .091 X6 (learning achievement ) ความเปนมาและความสําคัญของการศึกษาคนควา ในการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาผู เ รี ย นให มี คุณภาพทัดเทียมกับนานาประเทศนั้น ควรคํานึงถึงปจจัยที่ เอื้ออํานวยใหการเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้น หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 (ฉบับ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ปรับปรุง พ.ศ. 2533) จึงมุงปลูกฝงใหนักเรียนมีความรูและ ทักษะในวิชาสามัญทันตอความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ ตางๆ มีความคิดสรางสรรค ปรับปรุงแนวทางปฏิบัติที่จะทํา ใหเกิดความเจริญแกตนเองและชุมชน (กรมวิชาการ. 2545 : 1-5) คณิตศาสตรเปน วิชาที่ มีค วามสํา คัญและสัมพัน ธกับ ชีวิตประจําวัน เปนรากฐานของวิทยาการทุกแขนง รวมทั้ง การเรียนการสอนวิชาตางๆก็จําเปนตองอาศัยคณิตศาสตร เปนพื้นฐานในการศึกษา (นิพนธ สินพูน. 2545: 2 ; อางอิง จากยุพิน พิพิธกุล. 2530: 1) เนื่องจากผูวิจัยเปนศิษยเกาและมีนองเรียนอยูที่ โรงเรียนสุร าษฎร พิ ทยา ไดสัง เกตพฤติก รรมการเรีย นของ นักเรียนในวิชาตางๆ พบวา นักเรียนจะสนใจ และตั้งใจเรียน ในบางวิชาเทานั้น และมีปญหาเรื่องการเรียนไมเขาใจ เรียน ไม ทั น เพื่ อ น ซึ่ ง ป ญ หาเหล า นี้ เ กิ ด จากการที่ นั ก เรี ย นมี พฤติ ก รรมการเรี ย นที่ เ หมาะสมน อ ย จึ ง ได ทํ า การสํ า รวจ ปญหาเบื้องตน พบวานักเรียนโรงเรียน สุราษฎรพิทยา นาจะมีปญหาดานพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรมาก ที่สุด ซึ่ ง การเรี ยนวิชาคณิ ต ศาสตร ใ ห ป ระสบผลสํา เร็ จนั้ น นักเรียนตองมีพฤติกรรมในการเรียนคณิตศาสตรที่เหมาะสม โสภา ชูพิกุลชัย (2528 : 111) ไดใหความหมายของ พฤติ ก รรมการเรี ย น หมายถึ ง การกระทํ า หรื อ กิ จ กรรมที่ นักเรียนแสดงออกในการเรียน การตอบสนองหรือปฏิกิริยาที่ นักเรียนมีตอประสบการณ สิ่งแวดลอมในขณะที่เรียนตอดวย ดั ง นั้ น พฤติ ก รรมการเรี ย นของนั ก เรี ย นนั้ น ขึ้ น อยู กั บ ประสบการณของนักเรียนเปนสําคัญ ดว ยเหตุ นี้ ผูวิ จั ย จึ ง มี ค วามสนใจศึก ษาป จ จั ย ที่ สงผลตอพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรข องนักเรียน ระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียนกับพฤติกรรม การเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎร พิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี 2. เพื่อศึกษาป จจัยดานสวนตั ว ดานครอบครัว และดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียนที่สงผลตอพฤติกรรมการเรียน

115

วิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี 3. เพื่อสรางสมการพยากรณพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎร พิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี สมมติฐานในการศึกษาคนควา 1. ปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และดาน สิ่งแวดลอมในโรงเรียน มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตร ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎร พิทยา จังหวัด สุราษฎรธานี 2. ป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และด า น สิ่ ง แวดล อ มในโรงเรี ย น ส ง ผลต อ พฤติ ก รรมการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตร ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี วิธีดําเนินการศึกษาคนควา ประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนนักเรียนชวง ชั้ น ที่ 3 ป ก ารศึ ก ษา 2549 ซึ่ ง กํา ลั ง ศึ ก ษาอยู ใ นโรงเรี ย น สุ ราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี จํานวนทั้งสิ้น 1,700 คน เปนนักเรียนชาย 633 คน และเปนนักเรียนหญิง 1,067 คน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนนักเรียน ชวงชั้นที่ 3 ปการศึกษา 2549 ซึ่งกําลังศึกษาอยูในโรงเรียนสุ ราษฎรพิ ท ยา จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี จํ า นวนทั้ ง สิ้น 337 คน เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 114 คน ซึ่งเปน นั ก เรี ย นชาย 42 คน และนั ก เรี ย นหญิ ง 72 คน ชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 2 จํานวน 113 คน ซึ่งเปนนักเรียนชาย 40 คน และนักเรียนหญิง 73 คน และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จํานวน 110 คน ซึ่งเปนนักเรียนชาย 43 คน และนักเรียน หญิง 67 คน ซึ่งไดมาจากการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) จากประชากรที่ระดับความเชื่อมั่นรอย ละ 95 ของยามาเน (Yamane. 1967:88-886 ) โดยใช ระดับชั้นและเพศเปนชั้น (Strata) เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา เปน แบบสอบถามปจ จัย ที่ส ง ผลตอ พฤติ ก รรม การเรีย นวิช าคณิต ศาสตรข องนั ก เรีย นช ว งชั ้น ที ่ 3


116

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

โรงเรีย นสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งแบงออกเปน 8 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลสวนตัว ไดแก เพศ ระดับชั้นที่กําลังศึกษา และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว ตอนที่ 2 แบบสอบถามบุคลิกภาพ จํานวน 16 ขอ มีคา t อยู ระหวาง 3.112– 8.741 มีคาความเชื่อมั่นเทากับ .6321 ตอน ที่ 3 แบบสอบถามทัศนคติตอการเรียนวิชาคณิตศาสตร แบงเปน 3 ดาน ไดแก ดานความคิด ดานความรูสึก และดาน แนวโนมในการแสดงพฤติกรรม จํานวน 34 ขอ มีคา t อยู ระหวาง 2.562 – 11.299 มีคาความเชื่อมั่นเทากับ .907 ตอนที่ 4 แบบสอบถามสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ จํานวน 18 ขอ มีคา t อยูระหวาง 3.122 – 8.959 มีคาความ เชื่อมั่นเทากับ .9305 ตอนที่ 5 แบบสอบถามลักษณะทาง กายภาพทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 14 ขอ มีคา t อยูร ะหวา ง 3.186 – 13.042 มีคา ความเชื่อ มั่น เทากับ .9335 ตอนที่ 6 แบบสอบถามสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับครู จํานวน 15 ขอ มีคา t อยูระหวาง 2.858 8.204 มี ค า ความเชื่ อ มั่ น เท า กั บ .9149 ตอนที่ 7 แบบสอบถามสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน จํานวน 15 ขอ มีคา t อยูระหวาง 2.804 - 9.625 มีคาความเชื่อมั่น เทากับ .9066 ตอนที่ 8 แบบสอบถามพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตร จํานวน 24 ขอ มีคา t อยูระหวาง 2.620 10.507 มีคาความเชื่อมั่นเทากับ .9613 ตอนที่ 2 - 8 เปน แบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มี 5 ระดับ สรุปผลและอภิปรายผลการศึกษาคนควา 1. ป จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ พฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัย ซึ่งอภิปรายผลได ดังนี้ 1.1 บุคลิกภาพ (X8) แสดงวานักเรียนกลุม ตัวอยา ง ที่มีบุคลิกภาพแบบ เอ มีพฤติกรรมการเรียนวิชา คณิ ต ศาสตรเ หมาะสม ทั้ ง นี้ เ พราะนัก เรี ยนที่ มี บุค ลิก ภาพ แบบเอ เปนคนที่รักความกาวหนา มีความกระตือรือรน ชอบ การแขงขัน ทํางานดวยความรวดเร็ว ทนไมไดกับงานที่ลาชา

ไมชอบการรอคอย มีความมานะพยายามในการทํางานใน การทํางานใหประสบความสํา เร็จ ซึ่งปจจัยดังกลาว ทําให นักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตรเหมาะสมมาก 1.2 ทัศนคติตอการเรียนวิชาคณิตศาสตร (X9) แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี ทั ศ นคติ ท างบวกต อ การเรี ย นวิ ช า คณิ ต ศาสตร มี พ ฤติ ก รรมการเรีย นคณิ ต ศาสตร เ หมาะสม ทั้งนี้เพราะนักเรียนเห็นความสําคัญ และประโยชนของการ เรียนวิชาคณิตศาสตร 1.3 สัมพั น ธภาพระหว า งนัก เรีย นกับ ผูป กครอง (X10) แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี สั ม พั น ธภาพดี กั บ ผู ป กครองมี พฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรเหมาะสม ทั้งนี้เพราะ สัมพันธภาพที่แนนแฟนใน ครอบครัว จะชวยใหความเปนอยู ในครอบครั ว ราบรื่ น และทุ ก คนมี ค วามสุ ข กายสบายใจ นั ก เรี ย นก็ เ กิ ด ความอบอุ น เห็ น ความสํ า คั ญ ของการเรี ย น จัดระบบการเรียน พรอมที่จะศึกษาหาความรู 1.4 ลั ก ษณะทางกายภาพทางการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตร (X11) แสดงวานักเรียนที่ไดรับลักษณะทาง กายภาพทางการเรี ยนวิชาคณิตศาสตรดี มีพ ฤติกรรมการ เรียนวิชาคณิตศาสตรเหมาะสม ทั้งนี้เพราะสภาพแวดลอม ทางการเรียนการสอนที่ดีมีผลตอนักเรียน ไดแก หองเรียนมี ความเปนระเบียบเรียบรอย อากาศถายเทไดสะดวก ขนาด ของห อ งเหมาะสมกั บ จํ า นวนนั ก เรี ย น บริ เ วณห อ งเรี ย น ปราศจากสิ่งรบกวนตางๆ ไดแก เสียงและกลิ่น อุปกรณการ เรียนการสอนมีความทันสมัย มีเพียงพอกับจํานวนนักเรียน และมีคุณภาพการใชงานดี 1.5 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู (X12) แสดงวานักเรียนที่มีสัมพันธภาพดีกับครูมีพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตรเหมาะสม ทั้งนี้เพราะการที่ครูมีความเมตตา กรุณา เห็นอกเห็นใจนักเรียน สนใจนักเรียนอยางสม่ําเสมอ มี ความยุ ติ ธ รรม ไม มี ค วามลํ า เอี ย ง หรื อ เลื อ กที่ รั ก มั ก ที่ ชั ง ตลอดจนมีความสัมพัน ธอัน ดีกับ นักเรียน ดัง ที่พรรณี ชูชัย (2532 : 361) กลาววาการที่ครูมีความเมตตากรุณาเห็นอก เห็นใจนักเรียน สนใจนักเรียนอยางสม่ําเสมอ มีความยุติธรรม ตลอดจนมีความสัมพันธอันดีกับนักเรียน ทําใหนักเรียนรักที่ จะเรีย น และส ง ผลใหนัก เรีย นประสบความสํา เร็จ ในการ เรี ยนดวย


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 2. ปจ จัยที่ไ มมีความสัม พัน ธกับพฤติก รรม การเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียน สุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี มี 8 ปจจัย ซึ่งอภิปราย ผลไดดังนี้ 2.1 เพศ : ชาย (X1) แสดงวานักเรียนชายบางคน มีพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรเหมาะสม ทั้งนี้เพราะ นักเรียนชายบางคน มีความคิด ความรูสึกชอบ และสนใจ วิ ช า ค ณิ ต ศ า ส ต ร ใ ห ค ว า มส น ใ จ ใ น เ รื่ อ ง ก า ร เ รี ย น กระตือรือรนและเอาใจใสตอการเรียน ไดแก ตั้งใจเรียน มี การทบทวนบทเรี ย น หมั่ น ฝ ก ฝนทํ า โจทย แ ละท อ งสู ต ร คณิตศาสตรเสมอ นัก เรีย นชายบางคน มีพ ฤติก รรมการเรียนวิช า คณิตศาสตรไมเหมาะสม ทั้งนี้เพราะนักเรียนในชวงชั้นที่ 3 อยูในชวงของวัยรุน ซึ่งธรรมชาติของวัยรุนเพศชาย ตองการ ความเปนอิสระ เปนตัวของตัวเอง ไมตองการอยูใตอํานาจ ของใคร ตองการแสวงหาประสบการณแปลกๆใหมๆ รวมทั้ง มีทัศนคติทางลบตอการเรียนวิชาคณิตศาสตร 2.2 เพศ : หญิง (X2) แสดงวานักเรียนหญิงบาง คน มีพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรเหมาะสม ทั้งนี้ เพราะ นักเรียนหญิงบางคน มีความคิด ความรูสึกชอบ และ สนใจวิ ช าคณิ ต ศาสตร ให ค วามสนใจในเรื่ อ งการเรี ย น กระตือรือรนและเอาใจใสตอการเรียน ไดแก ตั้งใจเรียน มี การทบทวนบทเรี ย น หมั่ น ฝ ก ฝนทํ า โจทย แ ละท อ งสู ต ร คณิตศาสตรเสมอ นักเรียนหญิงบางคน มีพฤติกรรมการเรียนวิชา คณิตศาสตรไมเหมาะสม ทั้งนี้เพราะนักเรียนหญิงบางคนมี ความคิด ความรูสึกไมชอบ ไมสนใจวิชาคณิตศาสตร 2.3 ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 1 (X3) แสดงวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 บางคนมีพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตรเหมาะสม ทั้งนี้เพราะนักเรียนเพิ่งเปลี่ยน ระดับการศึกษาจากระดับประถมศึกษามาเปนมัธยมศึกษา จึงมีความตั้งใจ และมีความมุงมั่นในการเรียน โดยเฉพาะ วิชาคณิตศาสตรเพราะเปนวิชาที่คอนขางยาก ถาไมสนใจ เรียนจะไมเขาใจบทเรียนและไมสามารถทําแบบฝกหัดและ การบานได

117

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 บางคนมีพฤติกรรม การเรียนวิชาคณิตศาสตรไมเหมาะสม ทั้งนี้เพราะนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 บางคนไมไดศึกษาและทําความเขาใจใน การเรียนวิชาคณิตศาสตรดีเทาที่ควร ประกอบกับที่นักเรียน ขาดความมั่น ใจในตนเอง และไมมี ค วามถนั ดในวิ ช า คณิ ต ศาสตร จึ ง ไม อ ยากเรี ย น ไม ซั ก ถามเมื่ อ ไม เ ข า ใจ บทเรียน 2.4 ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 2 (X4) แสดงวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 บางคนมีพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตรเหมาะสม ทั้งนี้เพราะนักเรียนมีความตั้งใจ มี ค วามมุ ง มั่ น ในการเรี ย น มี ก ารศึ ก ษาหาความรู อ ย า ง สม่ําเสมอ ปฏิบัติตามคําแนะนําของครูผูสอน เขาเรียนอยาง สม่ําเสมอ นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ป ที่ 2 บ า ง ค น มี พฤติ ก รรมการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ไ ม เ หมาะสม ทั้ ง นี้ เพราะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 บางคนไมไดศึกษา และ ไม ทํ า ความเข า ใจในการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร เ ท า ที่ ค วร ประกอบกับ นักเรียนไมสนใจศึกษาหาความรู ไมใหความ รวมมือในการเรียนการสอน ขาดความอดทนตออุปสรรคใน การเรียน 2.5 ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 3 (X5) แสดงวา นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 บางคนมี พ ฤติ ก รรมในการ เรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร เ หมาะสม ทั้ ง นี้ เ พราะนั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 3 บางคนมีความกระตือรือรนที่จะพัฒนา ตนเอง และมี ค วามทะเยอทะยานด า นการเรี ย นสู ง มี จุดมุงหมายในการเรียน สามารถที่จะเผชิญหนากับปญหา ดานตาง ๆ นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ป ที่ 3 บ า ง ค น มี พฤติกรรมในการเรียนวิชาคณิตศาสตรไ มเ หมาะสม ทั้ง นี้ เพราะนักเรียนขาดความกระตือรือรนที่จะพัฒนาตนเอง ไมมี จุดมุงหมายในการเรียน ไมสามารถคนพบความถนัด ความ สนใจ และความสามารถของตนเอง และมีทัศนคติทางลบ ตอวิชาคณิตศาสตรและตอครูผูสอน 2.6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (X6) แสดงวา นักเรียนบางคนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา มีพฤติกรรมใน การเรียนวิชาคณิตศาสตรเหมาะสม ทั้งนี้เพราะนักเรียน


118

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ตองการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหสูงขึ้น จึงตั้งใจเรียน ในหองเรียน หมั่นทบทวน ฝกหัดทําโจทยคณิตศาสตร และ หมั่ น ท อ งสู ต รที่ ใ ช ใ นการคิ ด คํา นวณทางคณิ ต ศาสตร เพิ่ ม มากขึ้น นักเรียนบางคนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา มี พฤติกรรมในการเรียนวิชาคณิตศาสตรไมเหมาะสม ทั้งนี้ เพราะนักเรียนบางคนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา ไมตั้งใจ เรียน ไมขยันเรียน มีการทบทวนบทเรียนและฝกทําโจทยทาง คณิตศาสตรนอย ทําใหไมเขาใจบทเรียน มีทัศนคติทางลบ ตอวิชาคณิตศาสตร และไมเห็นความสําคัญของการเรียน วิชาคณิตศาสตร 2.7 ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X7) แสดง วา นักเรียนบางคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวต่ํา มี พ ฤติ ก รรมในการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร เ หมาะสม ทั้ ง นี้ เพราะผูปกครองปรารถนาใหนักเรียนมีอาชีพที่มั่นคง เมื่อ เรียนจบแลวสามารถหางานทําไดงาย มีเงินเดือนมากพอใน การดํ า เนิ น ชี วิ ต จึ ง ให ก ารสนั บ สนุ น แก นั ก เรี ย นอย า งเต็ ม ความสามารถ นั ก เรี ย นบางคนมี ฐ านะทางเศรษฐกิ จ ของ ครอบครัว ต่ํา มี พ ฤติก รรมในการเรีย นวิชาคณิต ศาสตร ไ ม เหมาะสม ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองไมมีเวลาในการอบรมเลี้ยง ดู เพราะตองทํางานหนัก ไมมีความพรอมในการจัดอุปกรณ การเรียนของนักเรียน นอกจากนี้ผูปกครองบางคนไมเห็น ความสําคัญของการเรียนของบุตรหลาน 2.8 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน (X13) แสดงว า นั ก เรี ย นบางคนที่ มี สั ม พั น ธภาพดี กั บ เพื่ อ น มี พฤติกรรมในการเรียนวิชาคณิตศาสตรเหมาะสม ทั้งนี้เพราะ การที่นักเรียนบางคนมีสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่ อนทํ าใหเกิด ความสบายใจ อบอุนใจ มีการชวยเหลือซึ่งกันและกัน หวงใย และไว ว างใจกั น เมื่ อ มี ป ญ หาทั้ ง ด า นการเรี ย นและด า น สวนตัวก็สามารถปรึกษาเพื่อนในหองได นั ก เรี ย นบางคนที่ มี สั ม พั น ธภาพดี กั บ เพื่ อ น มี พฤติกรรมในการเรียนวิชาคณิตศาสตรไมเหมาะสม ทั้ง นี้ เพราะการมีสัมพันธภาพที่ดีระหวางนักเรียนกับเพื่อน มีความ สนิทสนมกันจึงชวนกันพูดคุยเรื่องตางในหองเรียน ไมฟงที่ อาจารยสอน

3. ปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการเรียนวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่สุด ไปหา ปจจัยที่สงผลนอยที่สุด ซึ่งปจจัยทั้ง 5 ปจจัยนี้ สามารถ ร ว มกั น อธิ บ ายความแปรปรวนพฤติ ก รรมการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี ไดรอยละ 47.90 ซึ่งอภิปรายผลไดดังนี้ 3.1 ทัศนคติตอการเรียนวิชาคณิตศาสตร (X9) สงผลตอพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวง ชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา แสดงวา นักเรียนที่มีทัศนคติ ทางบวกต อ การเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ทํ า ให นั ก เรี ย นมี พฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรเหมาะสม ทั้งนี้เพราะ นักเรียนเห็นความสําคัญ และประโยชนของวิชาคณิตศาสตร มี ค วามชอบ ความสนใจ และความสนุ ก ในการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตร ความพอใจตอการเรียนการสอน ครูผูสอน และ บรรยากาศการสอน ตั้งใจเรียน ปฏิบัติตามครูผูสอนกําหนด เตรียมอุปกรณการเรียน เตรียมตัวใหพรอมกอนการเรียน มา เรีย นสม่ํา เสมอ ทบทวนบทเรี ยน ฝ กทํ า โจทยค ณิ ต ศาสตร เพิ่มเติม กระตือ รือ รน หมั่น ทองสูตรทางคณิตศาสตร และ ซักถามเมื่อมีขอสงสัย 3.2 ลักษณะทางกายภาพทางการเรียนวิชา ส ง ผลต อ พฤติ ก รรมการเรี ย นวิ ช า คณิ ต ศาสตร (X11) คณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา แสดงวานักเรียนที่ไดรับลักษณะทางกายภาพทางการเรียน วิ ช าคณิ ต ศาสตร ที่ ดี ทํ า ให มี พ ฤติ ก รรมการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรเหมาะสม ทั้ง นี้เพราะสภาพแวดลอ มทางการ เรียนการสอนที่ดีมีผลตอนักเรียน ไดแก หองเรียนมีความเปน ระเบียบเรียบรอย อากาศถายเทไดสะดวก ขนาดของหอ ง เหมาะสมกั บ จํ า นวนนั ก เรี ย น บริ เ วณห อ งเรี ย นปราศจาก สิ่งรบกวนตางๆ ไดแก เสียงและกลิ่น อุปกรณการเรียนการ สอนมี ค วามทั น สมั ย มี เ พี ย งพอกั บ จํ า นวนนั ก เรี ย น และมี คุณภาพการใชงานดี ซึ่งสอดคลองกับ ลอรเรนซ (ชัชลินี จุงพิวัฒน. 2547: 82 ; อางอิงจาก Lawrence.1976) ที่กลาววา บรรยากาศในการเรียนการสอนเปนสภาพแวดลอมทางจิตวิทยา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ที่มีผลตอสภาพจิตใจ อารมณ ความรูสึกที่จะทําใหนักเรียน สนใจการเรียนการสอน 3.3 บุคลิกภาพ (X8) สงผลตอพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎร พิทยา แสดงวานักเรียนชวงชั้นที่ 3 ที่มีบุคลิกภาพแบบ เอ ทํา ใหนักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรเหมาะสม ทั้ ง นี้ เ พราะ นั ก เรี ย นที่ มี บุ ค ลิ ก ภาพแบบเอ เป น คนที่ รั ก ความกาวหนา มีความกระตือรือรน ชอบการแขงขัน ทํางาน ดวยความรวดเร็ว ทนไมไดกับงานที่ลาชา ไมชอบการรอคอย มีความมานะพยายามในการทํางานในการทํางานใหประสบ ความสําเร็จ ซึ่งปจจัยดังกลาว ทําใหนักเรียนมีพฤติกรรมการ เรียนคณิตศาสตรเหมาะสม ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับ ผลการวิจัยของ ไควรเวอรและไวดเนอร ( Kleiwer and Weidner. 1987 : 204 ) ที่ศึกษาเรื่องลักษณะบุคลิกภาพ แบบ เอ และระดั บ ความมุ ง หวั ง โดยศึ ก ษาจากการ ตั้งเปาหมายของความสําเร็จของผูปกครอง พบวา เด็กที่มี บุคลิก ภาพแบบ เอ จะทํา งานสํ า เร็ จและมีค วามพยายาม เพื่อใหประสบความสําเร็จมากกวาเด็กที่มีบุคลิกภาพแบบ บี 3.4 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน (X13) สง ผลทางลบต อ พฤติ ก รรมการเรี ย นวิ ช าคณิต ศาสตร ข อง นักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนสุราษฎรพิทยา แสดงวา นักเรียน ที่มีสัมพันธภาพดีกับเพื่อน ทําใหนักเรียนมีพฤติกรรมในการ เรียนวิชาคณิตศาสตรไมเหมาะสม ทั้งนี้เพราะการปฏิบัติตน กับเพื่อนไดเหมาะสมจะทําใหเกิดสัมพันธภาพที่ดี แตถามี สัมพันธภาพในทางที่ดีแตไมเอื้อตอการเรียนวิชาคณิตศาสตร เชน คุยกัน อยา งสนุ ก สนานไมส นใจฟงครู สอน พากัน หนี เรียนวิชาคณิตศาสตรโดยเฉพาะวันที่ไมไดทําการบานวิชา

119

คณิ ต ศาสตร เ พราะยาก ไม เ ข า ใจ ทํ า ไม ไ ด ก ลั บ จะทํ า ให มี พฤติกรรมในการเรียนวิชาคณิตศาสตรไมเหมาะสมได 3.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (X6) สงผลทางลบ ตอพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรี ย นสุ ร าษฎร พิ ท ยา แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นต่ํ า ทํ า ให มี พ ฤติ ก รรมในการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรเหมาะสม ทั้งนี้เพราะเมื่อนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นต่ํ า ย อ มกลั ว ว า จะไม ส ามารถเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรได เพราะเปนวิชาที่เขาใจยาก และตองมีความ ถนัดทางคณิ ต ศาสตรดว ย จึง ตอ งตั้ ง ใจเรียน ไม เล น ไมคุ ย ระหวา งเรียน กลาตอบคําถามครูใ นขณะที่ครูสอน ซึ่ง เปน พฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตรที่เหมาะสม เพื่อทําใหมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรสูงขึ้น ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1 ควรศึกษาพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตร โดยศึ ก ษาป จ จั ย อื่ น ๆ เพิ่ ม เติ ม เช น ความคาดหวั ง ของ ผูปกครอง ลักษณะมุงอนาคต เปนตน 2 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตร เชน สภาพปญหาของการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร เปนตน 3 ควรมีการศึกษาปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการ เรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนในระดับอื่นๆ เชน ระดับชวงชั้น ที่ 4 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับอุดมศึกษา เปนตน 4 ควรพัฒนาปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการเรียน วิชาคณิตศาสตร โดยนําไปทําการทดลองเพื่อพัฒนาปจจัย ดั ง กล า ว ซึ่ ง จะช ว ยแก ป ญ หาพฤติ ก รรมการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตร โดยใชเทคนิคทางจิตวิทยา เชน การปรับพฤติกรรม กลุมสัมพันธ เปนตน


120

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

บรรณานุกรม กรมวิชาการ. ( 2545 ). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพองคการ รับสงสินคาและพัสดุภัณฑ ( ร.ส.พ. ). กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ( 2535 ). หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ). กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กันยา สุวรรณแสง. ( 2532 ). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : โรงพิมพบํารุงสาสน. เฉลียว บุตรเนียร. ( 2531 ). ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการเรียน พฤติกรรมการสอน พื้นฐานความรูทางคณิตศาสตร เจตคติตอคณิตศาสตรกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 5 เขตการศึกษา 8. วิทยานิพนธ คบ. กรุงเทพ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ชัชลินี จุงพิวัฒน. ( 2547 ). ตัวแปรที่เกี่ยวของกับความขยันหมั่นเพียรในการเรียนการสอนขอนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนเวียงสระ จังหวัดสุราษฎรธานี. ปริญญานิพนธ กศ.ม. ( จิตวิทยาการศึกษา ) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ชูชม ออนโคกสูง. ( 2522 ). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. นิพนธ สินพูน. ( 2545 ). ความสัมพันธระหวางความถนัดทางการเรียน ความรูพื้นฐานเดิม แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เจตคติตอ วิชาคณิตศาสตร พฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร และพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตรกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 3 ในจังหวัดมุกดาหาร. วิทยานิพนธ.กศ.ม. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พรรณี ชูชัย. ( 2532 ). จิตวิทยาการสอน.กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. พรรณี ชูทัย เจนจิต. ( 2523 ). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : บริษัทตนออ แกรมมี่ จํากัด. วิเชียร เกตุสิงห. ( 2538 ,กุมภาพันธ – มีนาคม ). คาเฉลี่ยกับการแปลความหมาย: เรื่องงายๆ ที่ บางครั้งก็พลาดได” ขาวสารการวิจัยการศึกษา. 18 ( 3 ) : 9. โสภา ชูพิชัยกุล. ( 2529 ). ความรูเบื้องตนทางจิตวิทยา. กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด ศ.ส. เสริมศักดิ์ สรวัลลภ. ( 2540 ). คณิตศาสตรในโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพ : ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Kleiwer, Wendy and Gerdi. Weidner. ( 1987 ). Type A Behavior and Aspiration : A Study of Parent’s and Children’ s Goal Setting. Developmental Psychology.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

121

ปจจัยทีส่ งผลตอการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัด สมุทรปราการ FACTORS AFFECTING ON THE SELECTION OF MINI ENGLISH PROGRAMME LEARNING OF THE THIRD LEVEL, SECONDARY GRADE 1-3 STUDENTS AT RATWINIT BANGKAEO SCHOOL IN BANGPLEE DISTRICT, SAMUTPRAKARN PROVINCE สุภา ซูกูล 1 รองศาสตราจารยเวธนี กรีทอง 2 อาจารย ดร. พาสนา จุลรัตน 2 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาปจจัยที่สงผล ตอการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของ นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว อําเภอบาง พลี จังหวัดสมุทรปราการ ปจจัยที่ศึกษาแบงเปน 3 ปจจัย คือ ปจจัยดานสวนตัว ไดแก เพศ ระดับชั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทัศนคติตอวิชาภาษาอังกฤษ ปจจัยดานครอบครัว ไดแก ฐานะทาง เศรษฐกิจของครอบครัว ความคาดหวังของผูปกครอง ที่มีตอนักเรียน และการสนับสนุนของผูปกครอง ที่มีตอนักเรียน และป จ จั ย ด า นสิ่ ง แวดล อ มในโรงเรี ย น ได แ ก ลั ก ษณะทาง กายภาพของโรงเรียน กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้ง นี้ เปนนักเรียน ชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว ปการศึกษา 2549 จํานวนทั้งสิ้น 180 คน ครื่องมือที่ใชในการศึกษา ไดแก แบบสอบถามปจจัยที่ สงผลตอการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME สถิติที่ใช วิเคราะหขอมูล ไดแก การวิเคราะหคาสหสัมพันธของเพียรสัน 1

นิสิตปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


122

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

(The Pearson Product Moment Correlation Coefficient) และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบวา 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรี ย นรา ชวิ นิ ต บางแก ว อํ า เภอบางพลี จั ง หวั ด สมุทรปราการ มีดังนี้ 1.1 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการเลือก เรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับ ชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัด สมุทรปราการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05มี 1 ปจจัย ไดแก การสนับสนุนของผูปกครองที่มีตอนักเรียน ( X10) 1.2ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการเลือก เรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับ ชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัด สมุท รปราการ อยา งมีนัยสํ า คัญทางสถิ ติที่ ร ะดับ .01 มี 4 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 3 ( X3) ทัศนคติตอ วิชาภาษาอังกฤษ ( X8) ความคาดหวังของผูปกครองที่มีตอ นักเรียน ( X9) และ ลักษณะทางกายภาพของโรงเรียน ( X11) 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของของนักเรียนระดับชวง ชั้ น ที่ 3 โรงเรี ย นราชวิ นิ ต บางแก ว อํ า เภอบางพลี จั ง หวั ด สมุทรปราการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปจจัย ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 1 ( X3) 3. ปจจัยที่ไมมีความสัมพันธกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรี ย นราชวิ นิ ต บางแก ว อํ า เภอบางพลี จั ง หวั ด สมุทรปราการ มี 5 ปจจัย ไดแก เพศ : ชาย ( X1) เพศ : หญิง ( X2) ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 2 ( X4) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ( X6) และ ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว ( X7) 4. ปจจัยที่สงตอการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราช วินิตบางแกว อําเภอ บางพลี จังหวัด สมุทรปราการ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 2 ปจจัย โดยเรียงลําดับ

จากป จ จั ย ที่ ส ง ผลมากที่ สุ ด ไปหาป จ จั ย ที่ ส ง ผลน อ ยที่ สุ ด ไดแก ทัศนคติตอวิชาภาษาอังกฤษ (X8) และ ความคาดหวัง ของผูปกครองที่มีตอตัวนักเรียน (X9) ซึ่งปจจัยทั้ง 2 ปจจัยนี้ สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวนของการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของของนักเรียนระดับชวง ชั้ น ที่ 3 โรงเรี ย นราชวิ นิ ต บางแก ว อํ า เภอบางพลี จั ง หวั ด สมุทรปราการ ไดรอยละ 28.80 5 . ส ม ก า ร พ ย า ก ร ณ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โ ร ง เ รี ย น ร า ช วิ นิ ต บ า ง แ ก ว อํ า เ ภ อ บ า ง พ ลี จั ง ห วั ด สมุทรปราการ ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = .735 + .621 X8 + .197X9 สมการพยากรณการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราช วินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ในรูป คะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .481X8 + .140 X9 Abstract The purpose of this research was to study the factors affecting on the selection of Mini English Programme Learning of the third level, secondary grades 1- 3 students of Ratwinit Bangkaeo School in Bangplee District , Samutprakarn Province. The factors were divided into 3 dimensions , first of them was personal factor : gender, class level, learning achievement and attitude towards English, second of them was family factor : guardians’ economic level, guardians’ expectation towards student and supporting towards student and third of them was learning environment factors : physical learning environment of Mini English Programme Learning . The samples were 180 students of the third level, secondary grades 1-3 of Ratwinit Bangkaeo School in Bangplee District , Samutprakarn Province. They were 58 males and 122 females in academic year of 2006. The instrument was a


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 questionnaires of factors affecting on the selection of Mini English Programme Learning . The data was analyzed by using the Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1. There was significantly positive correlation between the selection of Mini English Programme Learning of the Third Level, Secondary Grades 1- 3 Students at Ratwinit Bangkaeo School in Bangplee District , Samutprakarn Province and 1 factors : guardians’ supporting towards student (X10) at .05 level. There were significantly positive correlation between the selection of Mini English Programme Learning of the Third Level, Secondary Grades 1- 3 Students at Ratwinit Bangkaeo School in Bangplee District , Samutprakarn Province and 4 factors : class level : matthayom suksa III (X5), attitude towards english (X8), guardians’ expectation towards student (X9), and physical learning environment of Mini English Programme Learning (X11) at .01 level . 2. There was significantly negative correlation between the selection of Mini English Programme Learning of the Third Level, Secondary Grades 13 Students at Ratwinit Bangkaeo School in Bangplee District , Samutprakarn Province and 1 factor : class level : matthayom suksa I (X3) at .05 level . 3. There were no significantly correlation among the selection of Mini English Programme Learning of the Third Level, Secondary Grades 13 Students at Ratwinit Bangkaeo School in Bangplee District , Samutprakarn Province and 5 factors ; gender : male (X1), gender : female (X2) ,

123

class level : matthayom suksa II (X4), learning achievement (X6) and guardians’ economic level (X7). 4. There were 2 factors significantly affecting on the selection of Mini English Programme Learning of the Third Level, Secondary Grades 1- 3 Students at Ratwinit Bangkaeo School in Bangplee District , Samutprakarn Province ranking from the most affecter to the least affecter were attitude towards English (X8) and guardians’ expectation towards student (X9) at .01 level . These 2 factors could predicted the selection of Mini English Programme Learning of the Third Level, Secondary Grades 1- 3 Students at Ratwinit Bangkaeo School in Bangplee District , Samutprakarn Province about percentage of 28.80. 5. The predicted equation of the selection of Mini English Programme Learning of the Third Level, Secondary Grades 1- 3 Students at Ratwinit Bangkaeo School in Bangplee District , Samutprakarn Province at .01 level were as follows : 5.3 In terms of raw scores were : Ŷ = .735 + .621 X8 + .197X9 5.2 In terms of standard scores were : Z = .481X8 + .140 X9 ความเปนมาและความสําคัญของการวิจัย ปจจุบันนี้ ประเทศไทยมีความเจริญกาวหนา และ มีการติดตอสื่อสารกับประเทศตางๆทั่วโลกอยางแพรหลาย ทั้ ง ในเรื่ อ งระบบ เศรษฐกิ จ สั ง คม การเมื อ ง และชี วิ ต สว นตัว สามารถสื่อ ถึง กัน ไดงายมาก และในปจจุบัน นี้ใ น กระแสโลกาภิวัฒน (GLOBALIZATION) ทําใหทุกประเทศ ทั่วทั้งโลกสามารถเชื่อมโยงกันและติดตอสื่อสารกันไดงาย มากขึ้ น เพราะเปรี ย บเสมื อ นโลกที่ ไ ร พ รมแดน การ ติดตอสื่อสารกัน จึงตองใชภาษากลางที่ทุกคนเขาใจนั้นก็คือ ภาษาอังกฤษ ในอดีตชนชั้นกลางมักจะสงลูกเขาโรงเรียน คาทอลิก หรือโรงเรียนในเครือคริสเตียนที่จัดการศึกษาอยู


124

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

เมืองไทยนานนับรอยป เปนจังหวะหรือโอกาสสรางให เขาเหลานั้นไดเรียนรูภาษาอังกฤษ และวัฒนธรรมตะวันตก (สุธิดา หอวัฒนกุล. 2548 : 5 ) โรงเรียนสองภาษา (ENGLISH PROGRAMME) เปนโรงเรียนที่เนนการเรียน การสอนตามหลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2544 โดยใชภาษาอังกฤษ เปนสื่อเพื่อพัฒนาศักยภาพ ดานความรูความสามารถและทักษะทางภาษาของผูเรียน และในการจั ด การเรี ย นการสอนในโรงเรี ย นต อ งคํ า นึ ง ถึ ง ความสามารถพื้ น ฐานในการใช ภ าษาของผู เ รี ย น การ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมอันดีงามตลอดจน การเรียนการสอนในระบบของความเปนไทย ผสมผสานกับ ความเปนสากล สําหรับรูปแบบ การจัดสามารถทําได 2 แบบ คือ ENGLISH PROGRAMME (EP) และ MINI ENGLISH PROGRAMME (MEP) ซึ่งมีความแตกตางกันคือ EP จัดการ เรี ย นการสอนเป น ภาษาอั ง กฤษได ทุ ก วิ ช า ยกเว น วิ ช า ภาษาไทยและสังคมศึกษาในสวนที่เกี่ยวของกับความเปน ไทย กฎหมายไทย ประเพณีและวัฒนธรรมไทย สวน MEP สอนไดไมเกิน 50 % ของชั่วโมงสอนทั้งหมดตอสัปดาห (สุ ธิดา หอวัฒนกุล. 2548 : 8 ) โรงเรียนราชวินิตบางแกว มี โครงการ การเรียนการสอนโดยใช ภ าษาอังกฤษเปน สื่อ ตามที่ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได กํ า หนดไว นั้ น ก็ คื อ MINI ENGLISH PROGRAMME (MEP) ทุกๆปมี นักเรียนจํานวน มากที่ ต อ งการอยากที่ จ ะเข า มาเรี ย นโปรแกรม MINI ENGLISH PROGRAMME (MEP) จึงเปนสาเหตุสําคัญที่ทํา ใหผูวิจัย สนใจที่จะศึกษา ปจจัยที่สงผลตอการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรี ย นราชวิ นิ ต บางแก ว อํ า เภอบางพลี จั ง หวั ด สมุทรปราการ วิธีวิจัย ประชากร และ กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา คือ เปนนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิต บางแกว ปการศึกษา 2549 จํานวนทั้งสิ้น 180 คน ซึ่งครื่องมือที่ใช ในการศึกษา เปนแบบสอบถามปจจัยที่สงผลตอการเลือก เรียน MINI ENGLISH PROGRAMME สถิติที่ใช วิเคราะหขอมูล ไดแก การวิเคราะหคาสหสัมพันธของเพียร สัน (The Pearson Product Moment Correlation

Coefficient) และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ(Stepwise Multiple Regression Analysis) แบบสอบถามแบบมาตรา สวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ ที่ผูวิจัยสรางขึ้น โดยสถิติที่ใชในการวิจัยคือ คาความถี่ (Frequency) คารอย ละ (Percentage) ค า เฉลี่ ย ( x ) ส ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบความสั ม พั น ธ ด ว ยวิ ธี ก ารวิ เ คราะห ค า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน(The Pearson Product Moment Correlation Coefficient) และคนหาตัวพยากรณ สัมพันธภาพระหวางปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และ ดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียนที่สงผลตอ การเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME โดยใชวิ ธีการวิเ คราะหการ ถดถอยพหุคูณ(Stepwise Multiple Regression Analysis) สมมติฐานการวิจัย 1. ป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และด า น สิ่ง แวดล อ มในโรงเรี ย น มี ค วามสั มพั น ธ กั บ การเลื อ กเรี ย น MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับ ชวงชั้นที่ 3 โรงเรี ย นราชวิ นิ ต บางแก ว อํ า เภอบางพลี จั ว หวั ด สมุทรปราการ 2. ป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ด า นครอบครั ว และด า น สิ่ ง แวดล อ มในโรงเรี ย น ส ง ผลต อ การเลื อ กเรี ย น MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โ ร ง เ รี ย น ร า ช วิ นิ ต บ า ง แ ก ว อํ า เ ภ อ บ า ง พ ลี จั ง ห วั ด สมุทรปราการ ผลการวิจัย 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โ ร ง เ รี ย น ร า ช วิ นิ ต บ า ง แ ก ว อํ า เ ภ อ บ า ง พ ลี จั ง ห วั ด สมุทรปราการ มีดังนี้ 1.1 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการเลือก เรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับ ชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัด สมุทรปราการ สมุทรปราการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05มี 1 ปจจัย ไดแก การสนับสนุนของผูปกครองที่มี ตอนักเรียน ( X10) 1.2 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการเลือก เรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัด สมุท รปราการ อยา งมี นัยสํา คัญทางสถิ ติที่ร ะดับ .01 มี 4 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 3 ( X3) ทัศนคติตอ วิชาภาษาอังกฤษ ( X8) ความคาดหวังของผูปกครองที่มีตอ นักเรียน ( X9) และ ลักษณะทางกายภาพของโรงเรียน ( X11) 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรี ย นราชวิ นิ ต บางแก ว อํ า เภอบางพลี จั ง หวั ด สมุทรปราการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปจจัย ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 1 ( X3) 3. ปจจัยที่ไมมีความสัมพันธกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรี ย นราชวิ นิ ต บางแก ว อํ า เภอบางพลี จั ง หวั ด สมุทรปราการ มี 5 ปจจัย ไดแก เพศ : ชาย ( X1) เพศ : หญิง ( X2) ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 2 ( X4) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ( X6) และ ฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว ( X7) 4. ปจจัยที่สงตอการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียน ราชวินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ อยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 2 ปจจัย โดยเรียงลําดับ จากป จ จั ย ที่ ส ง ผลมากที่ สุ ด ไปหาป จ จั ย ที่ ส ง ผลน อ ยที่ สุ ด และ ความ ไดแก ทัศนคติตอวิชาภาษาอังกฤษ (X8) คาดหวังของผูปกครองที่มีตอตัวนักเรียน (X9) ซึ่งปจจัยทั้ง 2 ปจจัยนี้ สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวนของการเลือก เรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของของนักเรียนชวง ชั้ น ที่ 3 โรงเรี ย นราชวิ นิ ต บางแก ว อํ า เภอบางพลี จั ง หวั ด สมุทรปราการ ไดรอยละ 28.80 5 . ส ม ก า ร พ ย า ก ร ณ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น MINI ENGLISH PROGRAMME ของของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรี ย นรา ชวิ นิ ต บางแก ว อํ า เภอบางพลี จั ง หวั ด สมุทรปราการ ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = .735 + .621 X8 + .197X9 สมการพยากรณการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราช วินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ในรูป คะแนนมาตรฐาน ไดแก

125

Z = .481X8 + .140 X9 อภิปรายผล ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โ ร ง เ รี ย น ร า ช วิ นิ ต บ า ง แ ก ว อํ า เ ภ อ บ า ง พ ลี จั ง ห วั ด สมุทรปราการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปจจัย ไดแก การสนับสนุนของผูปกครองที่มีตอ นักเรียน (X10) และปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียน ชวงชั้นที่ 3 โรงเรียน ราชวินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ อยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 3 ( X3) ทัศนคติตอวิชาภาษาอังกฤษ ( X8) ความคาดหวังของผูปกครองที่มีตอนักเรียน ( X9) และ ลักษณะทางกายภาพของโรงเรียน ( X11) อภิปรายผลได ดังนี้ 1.1 การสนับสนุนของผูปกครองที่มีตอนักเรียน มี ความสัมพันธทางบวกกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบาง แกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวานักเรียนที่ไดรับการสนับสนุน ของผู ป กครองมาก มี ก ารเลื อ กเรีย น MINI ENGLISH PROGRAMME มาก ทั้งนี้เพราะการสนับสนุนของ ผูปกครองที่มีตอนักเรียน เปนพฤติกรรมที่บิดามารดา หรือ ผูปกครอง ปฏิบัติตอนักเรียนในดานการเรียน ไดแก การเอา ใจใส ต อ การเรี ย นของนั ก เรี ย น ให ค วามร ว มมื อ ในการทํ า กิจ กรรมทางการเรี ยนที่โ รงเรียนจั ดขึ้น ไวว างใจในการทํ า กิจกรรมของนักเรียนกับเพื่อน ใหคําปรึกษาแนะนําเกี่ยวกับ การเรียน การใหกําลังใจของบิดามารดา หรือผูปกครองเพื่อ กระตุนใหนักเรียนประสบความสําเร็จทางการเรียน ใหความ รั ก ความห ว งใยใกล ชิ ด ต อ นั ก เรี ย น พยายามส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ในด า นการเรี ย นของนั ก เรี ย น เพื่ อ ต อ งการให นักเรียนประสบผลสําเร็จในดานการเรียน ซึ่งเปนผลให นักเรียนมีการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME มากตามไปดวย ดังที่ เชื้อ สาริมาน (2524 : 21) ที่ได กลาวถึงบทบาทการสนับสนุนการเรียนของผูปกครองไววา


126

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ผู ป กครองควรจั ด ให นั ก เรี ย นได มี เ วลาดู ห นั ง สื อ การทํ า การบา น การเตรียมตัวสอบ ควรมีอุปกรณการเรียนครบ คอยดู แ ลให นั ก เรี ย นเดิ น ทางไปเรี ย นได ทั น เวลา สอนให นักเรียนใชเวลาวางใหเปนประโยชน มีการใหรางวัลในการ เรียน ผลการวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับผลการวิจัยของสิริพร ดาวัน (2540 : 95) ที่ไดศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวของกับความ ขยันหมั่นเพียรในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย ปการศึกษา 2539 โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัด ลพบุ รี ผลการศึ ก ษาพบว า บรรยากาศในครอบครั ว มี ความสั ม พั น ธ กั บ ความขยั น หมั่ น เพี ย รในการเรี ย นของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลาวคือ ถานักเรียนอยู ในครอบครัวที่บิดามารดาใหการดูแลเอาใจใส พรอมที่จะให การสนับสนุนดานการเรียน นักเรียนจะเกิดความอุนใจ และ เห็นความสําคัญของการเรียน ดังนั้นจะเห็นไดวา การสนับสนุนของผูปกครองมี ความสัมพันธทางบวกกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราช วินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 1.2 ระดับชั้น: มัธยมศึกษาปที่ 3มีความสัมพันธทางบวก กับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของ นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว อําเภอ บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ.01 แสดงวานักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 มี ความสนใจในการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME มาก ทั้งนี้เพราะนักเรียนในระดับชั้นมัธ ยมศึกษาปที่ 3 เห็นถึง ความสําคัญของ MINI ENGLISH PROGRAMME นี้วาจะ เป น ประโยชน ตอ ตนเอง สามารถฝ ก ทัก ษะทั้ ง ด า นการฟ ง ภาษาอังกฤษ การพูดภาษาอังกฤษ การอานภาษาอังกฤษ และการเขียนภาษาอังกฤษ ไดอยางเต็มความสามารถของ ตนเอง ประกอบกับ นักเรียนในระดับ ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 เปนชวงวัยรุน และสามารถที่จะคิดเปนนามธรรมได สอดคลอง กับทฤษฎี พัฒนาการทางเชาวนปญญาของเด็กวัยรุน ของพีอา เจท (สุ ร างค โค ว ตระกู ล 2545 :88) ได ก ล า วไว ว า วั ย รุ น สามารถที่จะคิดเปนนามธรรมได เด็กวัยนี้จึงมีความสนใจใน ปรัชญาชีวิตและศาสนา สามารถที่จะใชเหตุผลเปนหลักใน

การตัดสินใจได สามารถคิดเหตุผลไดทั้งหลักอนุมาน และ อุปมาน และจะมีหลักการเหตุผลของตนเอง ดัง นั้ น จะเห็น ได วา ระดับ ชั้น มัธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 มี ความสัมพันธทางบวกกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราช วินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 1.3 ทั ศ นคติ ต อ วิ ช าภาษาอั ง กฤษมีค วามสั ม พั น ธ ทางบวกกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 แสดงวา นักเรียนที่มีทัศนคติทางบวกตอ วิ ช าภาษาอั ง กฤษ มี ก ารเลื อ กเรี ย น MINI ENGLISH PROGRAMME มาก ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่มีทัศนคติ ทางบวกตอการเลือกเรียน คือ นักเรียนที่มีความคิดวา การ เรียน MINI ENGLISH PROGRAMMEมีความสําคัญ มี คุณคา และมีประโยชนตอการดํารงชีวิตประจําวันและการ ทํางานรวมกับผูอื่น นักเรียนมีความรูสึกชอบ พอใจ ตองการ ENGLISH เรี ย นรู เนื้ อ หาและวิ ช าต า งๆในMINI PROGRAMME นักเรียนจึงกระตือรือรนในเวลาเรียน หมั่น ศึกษาหาความรูเพิ่มเติม สนใจรับฟงเรื่องราวเกี่ยวกับวิชาที่ เรียนตามสื่อตาง ๆ และอยากที่จะพูดคุย ติดตอสื่อสาร สามารถ ฟ ง พู ด อ า น และเขี ย น ภาษาอั ง กฤษได อ ย า ง คลอ งแคลว และมีความเขาใจในการสือ สาร ก็จ ะทํา ใหมี ความรู สึ ก พอใจ ซึ่ ง ทํ า ให มี ผ ลต อ การเรี ย นวิ ช า ภาษาอังกฤษ ดังนั้นจึงเปนผลใหนักเรียนจึงมีการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME มาก ซึ่งสอดคลองกับ ผลการวิจัยของ สุดฤทัย มุขยวงศา (2533 : 7) ไดอธิบาย ทัศ นคติต อ การเรี ย น ว า เป น สภาพทางอารมณ ความรู สึ ก ความคิด ความเชื่อ และพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออก เพื่อ ตอบสนองตอครู โรงเรียน ระบบการศึกษา เกิดขึ้นจากการ เรียนรู ซึ่งอาจแสดงออกเปน 2 ดาน 1. ทัศนคติในทางที่ดีตอการเรียน นักเรียนจะ แสดงออกในลักษณะของความพึงพอใจสนใจมาเรียนอยาง สม่ําเสมอยอมรับความสามารถและวิธีการสอนของครู และ เห็นคุณคาของการศึกษา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

2. ทัศนคติที่ไมดีตอการเรียน นักเรียนจะแสดงออกใน ลักษณะไมพึงพอใจ ไมเห็นดวย ไมตั้งใจเรียน ขาดเรียนบอย ๆ และไมเห็นคุณคาของการศึกษา ดังนั้นจะเห็นไดวาทัศนคติตอวิชาภาษาอังกฤษมี ความสัมพันธทางบวกกับ การเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราช วินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 1.4 ความคาดหวังของผูปกครองที่มีตอนักเรียน มีความสัมพันธทางบวกกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิต บางแก ว อํ า เภอบางพลี จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวานักเรียนที่มี ผู ป กครองความคาดหวั ง มาก มี ก ารเลื อ ก เรี ย น MINI ENGLISH PROGRAMME มาก ทั้งนี้เพราะการที่นักเรียน รั บ รู ค วามคิ ด ของผู ป กครองที่ ต อ งการให นั ก เรี ย นประสบ ผลสําเร็จในการเรียน และสามารถเรียนตอไดในระดับที่สูงขึ้น ก็ยอ มส งผลใหนักเรียนมีค วามตั้ งใจในการเรียนเพื่อ ไมใ ห ผูปกครองผิดหวังในตัวนักเรียน ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัย ของ แอนเดอรสัน (วิรชาม กุลเพิ่มทวีรัชต. 2547:37; อางอิง จาก Anderson. 1995) ไดศึกษาผลกระทบของบรรยากาศ ทางสัง คมในหอ งเรียนตอ การเรียนรายบุคคล ผลการวิจั ย พบวา ความคาดหวังของบิดามารดามีอิทธิพลตอการปลูกฝง และการอบรมเลี้ยงดู โดยจะทําใหลูกเกิดความพยายามที่จะ ประสบผลสําเร็จตามที่บิดามารดาคาดหวัง ดังนั้นจะเห็นไดวาความคาดหวังของผูปกครองใน ด า นการเรี ย นมี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ การเลื อ กเรี ย น MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 1.5 ลั ก ษณะทางกายภาพของโรงเรี ย น มี ความสัมพันธทางบวกกับการเลือกเรียน MINI ENGLISH

127

PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนราช วินิตบางแกว อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่ไดรับ ลักษณะทางกายภาพของโรงเรียนดี มีการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME มาก ทั้งนี้เพราะลักษณะทาง กายภาพของการเรี ย นโปรแกรมภาษาอั ง กฤษ เป น สภาพแวดล อ ม ทางการเรี ย นการสอนของโครงการ MINI ENGLISH PROGRAMME ที่ มี ผ ลต อ ตั ว นั ก เรี ย น ประกอบดวย สถานที่เรียน ไดแก ภายในหองเรียนของ โปรแกรมภาษาอังกฤษมีที่เนื้อที่กวางและเหมาะ ในการจัด กิจกรรมแขงขันการพูด การเขียน และการเลนเกมแขงขัน ภาษาอังกฤษ หองเรียนของโปรแกรมภาษาอังกฤษมีความ สะอาด ปราศจากกลิ่นและเสียงรบกวน และในหองเรียนมี ภาพและอักษรเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ รวมทั้งสื่อ อุปกรณการ เรียนการสอน ไดแก ปริมาณของสื่อ โปรแกรมภาษาอังกฤษ และอุ ป กรณ ก ารเรี ย นการสอนที่ เ กี่ ย วกั บ โปรแกรม ภาษาอังกฤษ มีความเพียงพอในการใชง าน เมื่อ เทียบกับ จํ า นวนนั ก เรี ย น และสื่ อ อุ ป กรณ ที่ เ กี่ ย วกั บ โปรแกรม ภาษาอังกฤษมีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพในการใช งาน ซึ่งสภาพแวดลอ ม ทางการเรี ยนการสอนนี้เปนผลให นักเรียนมีการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME มากดวย ดังที่ วิจิตร วรุตบางกูร (2535 : 145) กลาววา สภาพแวดล อ มที่ ดี แ ละสวยงาม มี ผ ลต อ จิ ต ใจของผู เ รี ย น ทําใหมีทัศนคติทางบวกตอการเรียน ดั ง นั้ น จะเห็ น ได ว า ลั ก ษณะทางกายภาพของ โรงเรียน มีความสัมพัน ธ ทางบวกกับ การเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 3 โ ร ง เ รี ย น ร า ช วิ นิ ต บ า ง แ ก ว อํ า เ ภ อ บ า ง พ ลี จั ง ห วั ด สมุทรปราการ


128

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

บรรณานุกรม กมลรัตน หลาสุวงศ. (2528). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: โรงพิมพศรีเดชา. กรกช มีมงคล. (2548). การศึกษาสภาพปญหาและอุปสรรคในการเรียนการสอนโดยใช ภาษาอังกฤษ เปนสื่อ ของโครงการโรงเรียนสองภาษา ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ. สารนิพนธ กศ.ม.(การสอนภาษาอังกฤษ) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ถายเอกสาร. กรมวิชาการ. (2539) การพัฒนาโรงเรียนเขาสูมาตรฐานการศึกษา: การจัดสิ่งแวดลอมในการเรียนการสอน. พิมพครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ______. (2539). หลักสูตรภาษาอังกฤษ พุธศักราช 2539. กรุงเทพฯ ละเมียด ลิมอักษร. (2519, กุมภาพันธ) “สิ่งแวดลอมที่ใหผลทางการศึกษา” ประชาศึกษา 27: 23-28. สมพงษ เกษมสิน. (2521). การบริหาร. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนพานิช. สายพิณ อิณสม. (2548). การศึกษาระบบประกันคุณภาพภายในโรงเรียนของโรงเรียนนานาชาติในกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (บริหารการศึกษา) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ถายเอกสาร. สุชาดา เปลี่ยนสุภาพ. (2004). ทําเนียบโรงเรียนนานานชาติ และสองภาษา. Vol 2. สุธิดา หอวัฒนกุล. (2548). โรงเรียนสองภาษา:เกมลาแหงยุคสมัย. วารสารสวนดุสิต Allport, Gardon W. (1969). Attitude in C. Machison ed. Handbook of Serial Psychology. Massachusetts: Clark University Press. Wobreestor. Anastasia. (1958) Differential Psychology. 3rd ed New York : The Macmillan Company. Cheng Liying. (1998) Impact of PublicEnglish examination change on students’ perceptions and attitudes toward their English learning. Studies in Educational Evaluation V.24 No.3 Garison, Karl C., Albert J. Kingston and Arthurs Mcdonold. (1966) Education Psychology. Bombay : Valkis. Goussia-Rizou, Maria; Abeliotis, Konstan Dinos. (2004)Environmental Educationin Secondary Schools in Greece :The overview of the District Heads of Environment Education. The Journal of Environmental Education. V.35 No.3 (Spring 2004) Lawrence, Frances. (1976). “Student Perception of the classroom Learning Environment in Biology, Chemistry and Physics” Journal of Research in Science Teaching. 13 : 315 – 323


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

129

ปจจัยทีส่ งผลตอการประหยัด ของนักเรียนชวงชัน้ ที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร FACTORS AFFECTING ON ECONOMY OF THE FOURTH LEVEL, SECONDARY GRADES 4-6 STUDENTS AT SUANKULARB WITTAYALAI SCHOOL IN PHRANAKORN DISTRICT, BANGKOK. เอริสา มโนธรรม 1 ผูชวยศาสตราจารยพรหมธิดา แสนคําเครือ 2 รองศาสตราจารยเวธนี กรีทอง 2 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอ การประหยั ด ของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยมีปจจัยที่ศึกษา ประกอบไปด ว ย ป จ จั ย ด า นส ว นตั ว ได แ ก ระดั บ ชั้ น บุคลิกภาพ และความมีวินัย ปจจัยดานครอบครัว ไดแก สภาพ ครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว และการเลียนแบบ ผูปกครองในการประหยัด ปจจัยดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ไดแก การเลียนแบบครูในการประหยัด และการเลียนแบบเพื่อน ในการประหยัด และปจจัยดานสิ่งแวดลอมในสังคม ไดแก การ เลียนแบบสื่อในการประหยัด กลุมตัวอยางเปนนักเรียนระดับ ชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปการศึกษา 2549 ประกอบดวยนักเรียน ชายระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จํานวน 100 คน นักเรียนชาย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 จํานวน 100 คน และนักเรียนชาย

1

นิสิตปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


130

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6 จํ า นวน 106 คน รวมทั้ ง สิ้ น จํานวน 306 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา ไดแก แบบสอบถามปจจัยที่สงผลตอการประหยัด สถิติที่ใชในการ วิเคราะหขอมูล คือ การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ของเพียรสัน (The Pearson Product Moment Correlation Coefficient) แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ก า ร ถ ด ถ อ ย พ หุ คู ณ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบวา 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการ ประหยั ด ของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีดังนี้ 1.1 )ปจจัยที่ มีความสัมพันธทางบวกกับการประหยัดของนักเรียนชวงชั้น ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย เ ข ต พ ร ะ น ค ร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 2 และ ป จ จั ย ได แ ก ระดั บ ชั้ น : มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6 (X3) บุคลิกภาพ (X8) 1.2) ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับ การประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัย ไดแก ความมีวินัย (X9), การเลี ย นแบบผู ป กครองในการประหยั ด (X10), การ เลียนแบบครูในการประหยัด(X11), การเลียนแบบเพื่อนในการ ประหยัด (X12) และการเลียนแบบสื่อในการประหยัด (X13) 2. ป จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ การใช เ งิ น อยางประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น: มัธยมศึกษา ปที่ 4 (X1) 3. ป จ จั ย ที่ ไ ม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การประหยั ด ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขต พระนคร กรุ ง เทพมหานคร มี 5 ป จ จั ย ได แ ก ระดั บ ชั้ น : มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 5 (X2), สภาพครอบครั ว : บิ ด ามารดาอยู รวมกัน (X4), สภาพครอบครัว: บิดาหรือมารดาหยารางกัน (X5), สภาพครอบครัว: บิดาหรือมารดาถึงแกกรรม(X6) และ ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว(X7) 4. ปจจัยที่สงตอการประหยัดของนักเรียนชวงชั้น ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย เ ข ต พ ร ะ น ค ร

กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่สุดไปหาปจจัย ที่สงผลนอ ยที่สุด ไดแก การเลียนแบบสื่ อในการประหยัด (X13), ความมีวินัย (X9), การเลียนแบบเพื่อนในการประหยัด (X12), ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X7) และการ เลียนแบบผูปกครองในการประหยัด (X11) ซึ่งปจจัยทั้ง 5 ปจจัยนี้ สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวนการประหยัด ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขต พระนคร กรุงเทพมหานคร ไดรอยละ 26.50 5. สมการพยากรณการประหยัดของนักเรียนชวง ชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีดังนี้ 5.1) สมการพยากรณการประหยัด ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย Ŷ = 1.351 + .165 X13 + .165 X9 + .115 X12+ .095 X7+ .082 X11 5.2) สมการพยากรณการประหยัดของนักเรียน ชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ในรูปคะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .237 X13 + .223 X9 + .133 X12 + .117 X7+ .113 X11 Abstract The purposes of this research were to study the factors affecting on economy of the fourth level, secondary grades 4-6 students at Suankularb Wittayalai School in Phranakorn District, Bangkok. The factors were divided into 4 dimensions , first of them were personal factors : class level, personality and discipline , second of them were family factors : guardians’ marital status, guardians’ economic level, and modeling of economy upon guardians’, third of them were learning environmental factors : modeling of economy upon teachers and modeling of economy upon peer groups and fourth of them was social environmental factor : modeling of economy upon mass media. The 306 samples were the secondary grades 4-6 students at Suankularb Wittayalai School in Phranakorn District, Bangkok in academic year 2006.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 The instrument was a questionaires of factors affecting on economy of the fourth level, secondary grades 4-6 students at Suankularb Wittayalai School in Phranakorn District, Bangkok. The data was analyzed by the Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1.There were significantly positive correlation among economy of the fourth level, secondary grades 4-6 students at Suankularb Wittayalai School in Phranakorn District, Bangkok as follow :1.1)There were significantly positive correlation among economy of the fourth level, secondary grades 4-6 students at Suankularb Wittayalai School in Phranakorn District , Bangkok and 2 factors : class level : matthayom suksa VI (X3) and personality (X8) at .05 level. 1.2) There were significantly positive correlation among economy of the fourth level, secondary grades 4-6 students at Suankularb Wittayalai School in Phranakorn District, Bangkok and 5 factors : discipline(X9), modeling of economy upon modeling of economy upon guardian(X10), teachers(X11), modeling of economy upon peer groups(X12) and modeling of economy upon mass media(X13) at .01 level. 2.There were significantly negative correlation between economy of the fourth level, secondary grades 4-6 students at Suankularb Wittayalai School in Phranakorn District , Bangkok and 1 factor : class level : matthayom suksa IV (X1) at .01 level . 3.There were no significantly correlation among economy of the fourth level, secondary grades 4-6 students at Suankularb Wittayalai School in Phranakorn District , Bangkok and 5 factors: class level : matthayom suksa V (X2), guardians’ marital status : couple (X4), guardians’ marital status : divorce

131

(X5), guardians’ marital status : parents pass away (X6), and guardians’ economic level (X7). 4. There were 5 factors significantly affecting on economy of the fourth level, secondary grades 4-6 students at Suankularb Wittayalai School in Phranakorn District , Bangkok ranking from the most affecter to the least affecter were modeling of economy upon mass media(X13),discipline(X9), modeling of economy upon peer groups(X12), guardians’ economic level(X7) and modeling of economy upon guardians’ (X11) at .01 level.These 5 factors could predicted economy of the fourth level, secondary grades 4-6 students at Suankularb Wittayalai School in Phranakorn District,Bangkok about percentage of 26.50. 5. The predicted equation of factors affecting on economy of the fourth level, secondary grades 4-6 students at Suankularb Wittayalai School in Phranakorn District , Bangkok at .01 level were as follows : 5.4 In terms of raw scores were : Ŷ = 1.351 + .165 X13 + .165 X9 + .115 X12+ .095 X7+ .082 X11 5.2 In terms of standard scores were : Z = .237 X13 + .223 X9 + .133 X12 + .117 X7+ .113 X11 ความเปนมาและความสําคัญของการวิจัย ในสภาวการณปจจุบัน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสั ง คมมี ก ารแข ง ขั น กั น สู ง มากขึ้ น ท า มกลางภาวะ เศรษฐกิ จ ตกต่ํ า ข า วของเครื่ อ งใช พ ากั น ปรั บ ราคาสู ง ขึ้ น หนทางแกไขเพื่อชวยใหเราใชชีวิตอยูอยางมีความสุข ผานพน วิ ก ฤติ ก ารณ เ หล า นี้ ไ ปได ก็ เ ห็ น จะเป น การกิ น อยู อ ย า ง ประหยัด ไมฟุมเฟอย ไมฟุงเฟอ สมดังพระปณิธานแหงองค พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ทรงสอนสั่งลูกหลานไทยเสมอ ใหรูซึ้งถึงความหมายของคําวา “พอเพียง” (เดลินิวส. 2544 : 5) เยาวชนไทยใหความสําคัญกับวัตถุ สิ่งตอบแทนทาง วัตถุ ความสะดวกสบายหรูหรา โดยปจจัยสําคัญที่สงผลให วัยรุนและสังคมมีคานิยมดานวัตถุมาจากการที่สื่อมวลชนได


132

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

เผยแพรภาพ และขาวสารที่สะทอนใหเห็นเกี่ยวกับคานิยมใน เรื่องความหรูหราฟุมเฟอย มากกวาการสงเสริมพฤติกรรม ความประหยั ด แ ละการอดออม นั ก เรี ย นในระดั บ มัธยมศึกษาเปนชวงที่อยูในวัยรุน (12-18 ป) มีความตองการ ที่จะทําอะไรทุกอยางเหมือนเพื่อนรวมวัย ตั้งแตการแตงตัว ความประพฤติ การใชภาษา รวมทั้งความเชื่อและคานิยม การคบเพื่อนวัยนี้จึงมีความสําคัญมาก (สุรางค โควตระกูล. 2541 : 90) นักเรียนเรียนรูผานการเลียนแบบ โดยเฉพาะกับ คนใกลชิดอยางพอแมนั้น มีอิทธิพลตอพฤติกรรมของลูกมาก ที่สุด รองลงมาก็เปนสื่อ และผูคนในสังคมแวดลอม ซึ่งอยาง หลังนี้เปนปจจัยภายนอกที่ตามไปควบคุมยาก ดังนั้น คุณพอ คุณแมและผูใหญในบานตองทําตัวเปนแบบอยางที่ดีกอน (life&family. 2547 : Online) โรงเรียนเปนแหลงที่สองรอง จากบ า นที่ มี ส ว นในการปลู ก ฝ ง คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม สื่อมวลชน และสถาบันทางการเมืองก็เปนอีกสวนหนึ่งดวย เชนกัน นักเรียนที่มีคานิยมฟุงเฟอ ไมประหยัดอดออม จะ เปนในชวงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เพราะเปนวัยที่ พอแมเริ่มใหอิสระ อีกทั้งเปนชวงที่เพื่อน และสื่อมวลชนมี อิ ท ธิ พ ลอย า งมากต อ วั ย รุ น และยั ง เป น ช ว งที่ วั ย รุ น เริ่ ม ตัดสินใจเลือก และยอมรับคานิยมที่เหมาะแกตนเอง (วัชรี ธุวธรรม. 2525 : 2 - 3) ดังนั้น วัยรุนควรพัฒนาคุณลักษณะ สําคัญไดแก พฤติกรรมประหยัด เพื่อใหมีพฤติกรรมการใช จายที่เหมาะสมกับการดําเนินชีวิต รวมทั้งตระหนักถึงความ จําเปนและวัตถุประสงคที่แทจริงในการบริโภค เพื่อใหเกิดผล ที่ดีตอตนเอง ครอบครัว รวมทั้งลดปญหาทางดานเศรษฐกิจ และสังคมของชาติได (ภัทราพันธ หรุนรักวิทย. 2545 : 2) จากประเด็นตางๆ ดังกลาวขางตนทําใหผูวิจัยมี ความสนใจที่ จ ะศึก ษาปจ จัย ที่ สง ผลตอ การประหยัด ของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระ นคร กรุงเทพมหานคร ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยดานสวนตัว ปจจัยดานครอบครัว ปจจัยดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียน และ ปจจัยดานสิ่งแวดลอมในสังคม กับการประหยัดของนักเรียน ช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

2. เพื่อศึกษาปจจัยดานสวนตัว ปจจัยดานครอบครัว ปจจัยดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียนและปจจัยดานสิ่งแวดลอม ในสั ง คมที่ ส ง ผลต อ การประหยั ด ของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อสรางสมการพยากรณการประหยัดของนักเรียน ช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วิธีวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควา คือ นักเรียนชวงชั้นที่4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ประจําป การศึ ก ษา 2549 จํ า นวน 1,841 คน โดยสุ ม กลุ ม ตั ว อย า ง จํานวน 306 คน ซึ่งเครื่ องมือที่ใ ชในการศึกษาคน ควา เปน แบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ ที่ผูวิจัยสรางขึ้น โดยสถิติที่ใชในการวิจัยคือ คาความถี่ (Frequency) คา รอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย ( x ) สว น เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบความสัมพัน ธดว ย วิธีการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน(The Pearson Product Moment Correlation Coefficient) และ คนหาตัวพยากรณการประหยัดของนักเรียนระหวางปจจัย ดานสวนตัว ปจจัยดานครอบครัว ปจจัยดานสิ่งแวดลอมใน โรงเรียน และปจจัยดานสิ่งแวดลอมในสังคม โดยใชวิธีการ วิ เ คราะห ก ารถดถอยพหุ คู ณ (Stepwise Multiple Regression Analysis) สมมติฐานการวิจัย 1. ปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว ดาน สิ่งแวดลอมในโรงเรียน และดานสิ่งแวดลอมในสังคม มี ความสัมพันธกับการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 2. ป จ จั ย ด า น ส ว น ตั ว ด านครอบครั ว ด า น สิ่งแวดลอมในโรงเรียน และดานสิ่งแวดลอมในสังคม สงผล ตอการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัย 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการประหยัด ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขต


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 พระนคร กรุ ง เทพมหานคร มี ดั ง นี้ 1.1) ป จ จั ย ที่ มี ความสัมพันธทางบวกกับการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย เ ข ต พ ร ะ น ค ร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 2 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 6 ( X3) และ บุคลิกภาพ ( X8) 1.2)ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการ ประหยั ด ของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 ปจจัย ไดแก ความมีวินัย (X9), การเลียนแบบผูปกครองในการประหยัด (X10), การเลียนแบบครู ในการประหยัด(X11) , การเลียนแบบเพื่อนในการประหยัด (X12) และการเลียนแบบสื่อในการประหยัด (X13) 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับการประหยัดของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระ นคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น: มัธยมศึกษาปที่ 4 (X1) 3. ป จ จั ย ที่ ไ ม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การประหยั ด ของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระ นคร กรุ ง เทพมหานคร มี 5 ป จ จั ย ได แ ก ระดั บ ชั้ น : มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 5 (X2), สภาพครอบครั ว : บิ ด ามารดาอยู รวมกัน (X4), สภาพครอบครัว: บิดาหรือมารดาหยารางกัน (X5), สภาพครอบครัว: บิดาหรือมารดาถึงแกกรรม(X6) และ ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X7) 4. ปจจัยที่สงตอการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 มี 5 ป จ จั ย โดย เรียงลํา ดั บจากปจจั ยที่สงผลมากที่สุดไปหาปจจัยที่สงผล น อ ยที่ สุ ด ได แ ก การเลี ย นแบบสื่ อ ในการประหยั ด (X13), ความมีวินัย (X9), การเลียนแบบเพื่อนในการประหยัด (X12), ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X7) และการเลียนแบบ ผูปกครองในการประหยัด (X11) ซึ่งปจจัยทั้ง 5 ปจจัยนี้ สามารถร ว มกั น อธิ บ ายความแปรปรวนการประหยั ด ของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระ นคร กรุงเทพมหานคร ไดรอยละ 26.50 5. สมการพยากรณการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

133

มีดังนี้ 5.1) สมการพยากรณการประหยัดของนักเรียนชวงชั้น ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น ส ว น กุ ห ล า บ วิ ท ย า ลั ย เ ข ต พ ร ะ น ค ร กรุงเทพมหานคร ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = 1.351 + .165 X13 + .165 X9 + .115 X12 + .095 X7+ .082 X11 5.2) สมการพยากรณการประหยัดของนักเรียน ชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ในรูปคะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .237 X13 + .223 X9 + .133 X12 + .117 X7+ .113 X11 อภิปรายผล 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการประหยัด ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขต พระนคร กรุ ง เทพมหานคร มี ดั ง นี้ 1.1) ป จ จั ย ที่ มี ความสัมพันธทางบวกกับการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 2 และ ปจจัยไดแก ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 6 (X3) บุคลิกภาพ (X8) ซึ่งอภิปรายผลไดดังนี้ 1.1.1) ระดับชั้น : มีความสัมพันธทางบวกกับการ มัธยมศึกษาปที่ 6 (X3) ประหยัดของนักเรียนชวงชั้น ที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวานักเรียนที่เรียนอยูระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 มีการประหยัดมาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียน เรียนอยูในระดับชั้นสุดทายของการเรียนขั้นพื้นฐาน และตอง เตรียมตัวที่จะสอบคัดเลือกเขามหาวิทยาลัย ตองใชจายเงิน มากทั้ ง การเตรี ย มตั ว สอบและการเก็ บ เงิ น ออมไว ใ ช ใ น การศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ตองใชเงินเปนจํานวนมากขึ้น กว า เดิ ม จึ ง ทํ า ให นั ก เรี ย นมี ก ารประหยั ด มาก 1.1.2) บุคลิกภาพ (X8)มีความสัมพันธทางบวกกับการประหยัดของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวานักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบแสดงตัว มีการประหยัด มาก ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบแสดงตัว ไดแก นักเรียนที่ชอบเขาสังคม ชอบงานสังสรรครื่นเริง มีเพื่อนมาก ชางพูดชางคุย ไมชอบการเรียน หรือการทํางานตามลําพัง


134

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ชอบความสนุ ก สนาน มองโลกในแง ดี จึ ง มองเห็ น วา การ ประหยัดเปนสิ่งที่ดี รูจักเก็บออมเงินไวเพื่อจะไดเขาสังคม และเปนที่ยอมรับของเพื่อน 1.2) ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการประหยัด ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขต อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ พระนคร กรุงเทพมหานคร ระดั บ .01 มี 5 ป จ จั ย ได แ ก ความมี วิ นั ย (X9), การ เลียนแบบผูปกครองในการประหยัด(X10), การเลียนแบบครู ในการประหยัด (X11), การเลียนแบบเพื่อนในการประหยัด (X12) และการเลียนแบบสื่อในการประหยัด(X13) ซึ่ง อภิปรายผลไดดังนี้ 1.2.1) ความมีวินัย (X9) มีความสัมพันธ ทางบวกกับการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวานักเรียนที่มีวินัยมาก มี ก ารประหยั ด มาก ทั้ ง นี้ เ พราะ นั ก เรี ย นสามารถที่ จ ะ ประพฤติป ฏิบัติ แ ละควบคุมตนเองตามขอ บัง คับ ระเบียบ แบบแผน รวมทั้งในดานของการประหยัด การใชเงินใหอยูใน ความพอดี เพื่ อ ความสุ ข ในชี วิ ต ของตน และความเป น ระเบียบเรียบรอยของสังคม ดังที่ วสัน ปุนผล (2542:10) กลา ววา ความมี วินัย เปน ความสามารถของบุ คคลในการ ควบคุมอารมณ และพฤติกรรมของตนเองใหเปนไปตามที่ตน มุงหวัง ซึ่งจะตองเปนไปตามกฎระเบียบของสังคม เกิดจาก ความรูสึกมองเห็นคุณคาในการปฏิบัติ มิไดเกิดจากขอบังคับ จากภายนอกเทานั้น แมจะมีอุปสรรคก็ยังไมเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมนั้น ซึ่งสอดคลองกับ สุขใจ น้ําผุด (Online) กลาว วา การกําหนดเปาหมายการเงินจะฝกวินัยใหเด็กมีการใชเงิน อยางเปนระบบ และเมื่อเวลาผานพนไปเราจะสามารถสราง ทรัพยสินบางอยางขึ้นมาได หากการใชเงินเปนไปอยางไมมี เปาหมาย เชน ใชเงินสะเปะสะปะไรจุดหมายแลว เมื่อเวลา ผานพนไปเราจะรูสึกเสียดายวาเงินตั้งมากมายที่จายไปนั้น ไมไ ดเกิ ดผล เกิ ด ประโยชนอ ะไรเปน ชิ้น เปน อั น เลย 1.2.2) การเลียนแบบผูปกครองในการประหยัด(X10) มีความสัมพันธ ทางบวกกับการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวานักเรียนมีการ เลียนแบบผูปกครองในการประหยัดมาก มีการประหยัดมาก

ทั้ ง นี้ เ พราะ นั ก เรี ย นสามารถประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต ามอย า ง ผูปกครองในเรื่องของการใชเงินอยางรูคุณคาของเงิน การ รูจักใชเงินไดอยางเหมาะสมกับเงินที่ตนเองไดรับ เพื่อใหเกิด ประโยชน ม ากที่ สุ ด ทั้ ง ต อ ตนเอง และครอบครั ว ได แ ก ผูปกครองซื้อของที่มีประโยชน ไมซื้อของตามผูอื่น หรือตาม อยางในสื่อโฆษณา และรูจักจัดสรรเงินสวนหนึ่งในการอด ออม ดังนั้นการที่ผูปกครองเปนแบบอยางที่ดีงามและสําคัญ ในการปลูกฝงคานิยมดานการประหยัดที่ดี การใชจายอยางรู คุณคาของเงิน และการประหยัดอดออม จึงทําใหนักเรียนมี การประหยัดมาก ดังที่ วิกนิกานต (2547 : Online) กลาววา พอแมนั้นมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของลูกมากที่สุด คุณพอคุณ แมและผูใหญในบานตองทําตัวเปนแบบอยางที่ดีกอน การ ประหยัดเปนเรื่องของทักษะ ตองอาศัยการปฏิบัติแบบย้ําคิด ย้ําทําจะเกิดผล ซึ่งและบานก็จะมีเทคนิคแตกตางกันไป แตที่ สําคัญตองฝกลูกใหมีความยับยั้งชั่งใจ รูจักระงับความอยาก ไดอยากมี ฝกการคิดวิเคราะหหาความสมเหตุสมผล 1.2.3) การเลี ย นแบบครู ใ นการประหยั ด (X12)มี ค วามสั ม พั น ธ ทางบวกกับการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 แสดงว า นั ก เรี ย นที่ มี ก าร เลียนแบบครูในการประหยัดมาก มีการประหยัดมาก ทั้งนี้ เพราะ นักเรียนสามารถประพฤติปฏิบัติตามอยางครูในเรื่อง ของการใชเงินอยางรูคุณคาของเงิน การรูจักใชเงินไดอยาง เหมาะสมกับเงินที่ตนเองไดรับ เพื่อใหเกิดประโยชนมากที่สุด ทั้งตอตนเอง และครอบครัว ไดแก ครูซื้อของที่มีประโยชน ไม ซื้อของตามผูอื่น หรือตามอยางในสื่อโฆษณา และรูจักจัดสรร เงิน สว นหนึ่ง ในการอดออม ดัง ที่ วิไ ล ตั้งสมจิตสมคิ ด (come.to : Online) กลาววา ครูอาจารย มีบทบาทมากใน การปลูกฝงคานิยมเชิงจริยธรรม ปฏิบัติตัวเปนตัวอยางใหแก นักเรียนในเรื่องการรักษาสัญญาในดา นการประหยัด เด็ก และเยาวชนจะเลียนแบบครูอาจารย โดยที่เด็กคิดวาเปนสิ่งที่ ดีสําหรับพวกเขาที่จะตองปฏิบัติ 1.2.4) การเลียนแบบเพื่อน ในการประหยัด (X12) มีความสัมพันธทางบวกกับการ ประหยัดของนักเรียนชวงชั้น ที่ 4 โรงเรี ยนสวนกุหลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวานักเรียนที่มีการเลียนแบบเพื่อน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ในการประหยัดมาก มีการประหยัดมาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียน สามารถประพฤติปฏิบัติตามอยางเพื่อนในเรื่องของการใช เงินอยางรูคุณคาของเงิน การรูจักใชเงินไดอยางเหมาะสมกับ เงินที่ตนเองไดรับ เพี่อใหเกิดประโยชนมากที่สุดทั้งตอตนเอง และครอบครัว ไดแก เพื่อนซื้อของที่มีประโยชน ไมซื้อของ ตามผูอื่น หรือตามอยางในสื่อโฆษณา และรูจัดจัดสรรเงิน สวนหนึ่งในการอดออม ดังที่ ฉวีวรรณ สุขพันธโพธาราม (2527 : 112 – 113) กลาวถึงเพื่อนของวัยรุนวา เพื่อนชวยให วัยรุนลดความเพอฝน การปรับตัวเพื่อใหพนจากความกังวล ในปญหาตาง ๆ ทําใหวัยรุนหาทางออกดวยการสรางความ ฝนตาง ๆ ที่ตนเห็นวาตองการความสุขและความสําเร็จ การ ปรับตัวเขากับเพื่อนได มีเพื่อนคุย ไมมีเวลาวางที่จะเพอฝน และก็จะมีการใชจายที่นอยลง ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัย ของกรอนลันด (สุรชัย โกศิยะกุล.2526 : 106 ; อางอิงจาก Gronlund.1956) ที่ศึกษาการปรับตัวของวัยรุน ผลการวิจัย พบว า วั ย รุ น ที่ มี ผ ลการเรี ย นดี เป น กลุ ม วั ย รุ น ที่ ส ามารถ ปรับตัวเขากับเพื่อนได 1.2.5) การเลียนแบบสื่อในการ ประหยัด (X13) มีความสัมพันธทางบวกกับการประหยัดของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระ นคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวานักเรียนมีการเลียนแบบสื่อในการประหยัดมาก มี การประหยัดมาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียนสามารถประพฤติ ปฏิบัติตามอยางสื่อในเรื่องของการใชเงินอยางรูคุณคาของ เงิน การรูจักใชเงินไดอยางเหมาะสมกับเงิน ที่ตนเองไดรับ เพื่อใหเกิดประโยชนมากที่สุดทั้ง ตอตนเอง และครอบครัว จากการอานหนังสือ บทความ นิตยสาร การรับฟงรายการ วิทยุ การรับชมรายการโทรทัศน และการรับชมภาพยนตร เกี่ยวกับ การใชเงินอยางประหยัดในการซื้อเสื้อ ผา การซื้อ โทรศั พ ท และการซื้ อ ของใช ส ว นตั ว ดั ง ที่ สาวิ ต รี สุ ต รา (2539 : 70)กล า วว า การเป ด รั บ สื่ อ จากสื่ อ มวลชนมี ความสัมพันธกับความรูเกี่ยวกับการออม ทัศนคติเกี่ยวกับ การออม และพฤติกรรมการออมของประชาชน ดังนั้น จึง กลาวไดวาสื่อเปนสวนหนึ่งที่นําเสนอใหนักเรียนรูจักการอด ออมเงิน การใชจายเงินอยางประหยัดได 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับการประหยัดของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระ

135

นคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 4 (X3) โดย พบวาระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 4 (X3) มีความสัมพันธทาง ลบกับการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวน กุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย เขตพระนคร กรุ ง เทพมหานคร อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวา นักเรียนในระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 มีการประหยัดนอย ทั้งนี้ เพราะ นักเรียน ชายในระดับนี้เริ่มเขาสูวัยรุนที่รักความสนุกสนาน ติดเพื่อน กลัวเพื่อนจะไมยอมรับเขากลุม เพราะฉะนั้น การใชจายสวน ใหญของนักเรียนชายในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 สวน ใหญ จะอยูในลักษณะการไปเที่ยวกับกลุมเพื่อนฝูง การซื้อ ของตามอยางกัน ซึ่งกอใหเกิดความฟุมเฟอยและไมรูจักการ ประหยัด นําเงินไปใชจายในทางที่ผิด ที่ไมกอใหเกิดประโยชน 3. ป จ จั ย ที่ ไ ม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การประหยั ด ของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระ นคร กรุง เทพมหานคร มี 5 ป จจั ย ได แ ก ระดั บ ชั้ น : มัธยมศึกษาปที่ 5 (X2), สภาพครอบครัว : บิดามารดาอยู รวมกัน(X4 ), สภาพครอบครัว : บิดามารดาหยารางกัน (X5 ), สภาพครอบครัว :บิดาหรือมารดาถึงแกกรรม(X6 ) และฐานะ ทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X7) ซึ่งอภิปรายผลไดดังนี้ 3.1) ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 5 (X2) ไมมีความสัมพันธกับการ ประหยัดของนักเรียนชวงชั้น ที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร แสดงวานักเรียนบาง คน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 มีการประหยัดมาก ทั้งนี้ เพราะ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 บางคนมีความเอาใจใส ในเรื่องของการประหยัด รูจักการเก็บออมเงิน ดูแลคาใชจาย ของตนเอง ซึ่งอาจไดรับความดูแลเอาใจใสจากทางบานใน เรื่องของการประหยัดเปนอยางดี นักเรียนบางคน ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5 มีการประหยัดนอย ทั้งนี้เพราะ นักเรียนใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 บางคนมีรายไดครอบครัวอยูใน เกณฑดี และตางมีกลุมเพื่อนที่ชอบใชเงินในการซื้อของ การ ไปเที่ยวสังสรรค 3.2) สภาพครอบครัว : บิดามารดาอยู รวมกัน (X4 )ไมมีความสัมพันธกับการประหยัดของนักเรียน ชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร แสดงวานักเรียนบางคนที่มีบิดามารดาอยู รวมกัน มีการประหยัดมาก ทั้งนี้เพราะบิดามารดามีความเอา


136

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ใจใสตอตัวนักเรียนในเรื่องของการใชเงินอยางประหยัด สอน ใหรูจักคุณคาของเงิน รูจักการวางแผนการใชเงิน นักเรียน ไดรับการฝกจากครอบครัวในเรื่องการประหยัด การอดออม เงิน ไดรับความสุขจากครอบครัวอยางเต็มที่ และไดรับการ เอาใจใสดูแลเปนอยางดี นักเรียนบางคนที่มีบิดามารดาอยู ร ว มกั น มี ก ารประหยั ด น อ ย ทั้ ง นี้ เ พราะบิ ด ามารดาบาง ครอบครัวอาจไมคอยมีเวลาในการอบรมสั่งสอน และดูแล นักเรียนมากเทาที่ควร หรือบางครอบครัวอาจมีการทะเลาะ เบาะแวงกันบอย ทําใหครอบครัวไมมีความสุข ไดแตเพียงให เงินกับนักเรียนโดยขาดการดูแลเอาใจใสในเรื่องการประหยัด จากครอบครัว 3.3) สภาพครอบครัว : บิดามารดาหยารางกัน (X5 )ไมมีความสัมพันธกับการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร แสดงวานักเรียนบางคน ที่มีบิดามารดา หยารางกัน มีการประหยัดมาก ทั้งนี้เพราะนักเรียนบางคนที่ มีบิดาหรือมารดาหยารางกัน อาจจะไดรับการดูแลเอาใจใส และสั่งสอนอบรมในเรื่องของการประหยัด การใชเงินอยาง คุมคา บางครั้งบิดาหรือมารดาที่เลี้ยงดูนักเรียนตองการที่จะ เติมเต็มนักเรียนใหรูสึกวามีทั้งพอและแม มีการเอาใจใสใน เรื่องของการประหยัด ในเรื่องสวนตัว และในเรื่องการเรียน เพิ่มมากยิ่งขึ้น นักเรียนบางคน ที่มีบิดามารดาหยารางกัน มี การประหยั ด น อ ย ทั้ ง นี้ เ พราะ เมื่ อ นั ก เรี ย นบางคนมี บิ ด า มารดาหยารางกัน อาจทําใหบิดาหรือมารดาใหความสําคัญ และเอาใจใสมากเกินควร เมื่อนักเรียนอยากไดสิ่งของอะไรก็ จะตามใจ และบิดาหรือมารดาที่เลี้ยงดูอาจยังทําใจมิไดที่ ต อ งเลิ ก ราหรื อ แยกทางกั น เพื่ อ จะเติ ม เต็ ม ให นั ก เรี ย นจึ ง ตามใจทุกอยาง เมื่ออยากไดอะไรก็จะใหเงินไปซื้อโดยไมมี การซักถาม การอบรมในเรื่องของการประหยัด หรือบิดาหรือ มารดาตองรับภาระในการเลี้ยงดูจึงตองทํางานอยางมากเพื่อ หารายไดมาจุนเจือครอบครัว ทําใหไมมีเวลาอบรมเลี้ยงดู ขาดการปลูกฝงการรูจักคุณคาของการใชเงิน การประหยัด อดออม 3.4) สภาพครอบครัว : บิดาหรือมารดาถึงแกกรรม (X6 ) ไมมีความสัมพันธกับการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร แสดงวานักเรียนบางคน ที่มาจากสภาพ ครอบครัวที่บิดาหรือมารดาถึงแกกรรม มีการประหยัดมาก

ทั้งนี้เพราะ บิดาหรือมารดาเขาใจถึงสถานภาพในครอบครัว ของตนเองจึงมีการสอนใหนักเรียนนั้นรูจักคุณคาของการใช เงิ น รู จั ก การอดออมเงิน รู จั ก การประหยั ด ในการเลื อ กซื้ อ สินคาอุปโภคและบริโภค พรอมกับใหความอบอุนกับนักเรียน มากขึ้นเพื่อชดเชยในสวนที่ขาดหายไป นักเรียนบางคนที่มี สภาพครอบครั ว ที่ บิ ด าหรื อ มารดาถึ ง แก ก รรม มี ก าร ประหยัดนอย ทั้งนี้เพราะ บิดาหรือมารดานั้นตองการชดเชย ในสวนที่ขาดหายไปใหกับนักเรียนจึงทุมเทกําลังแรงกายและ แรงเงิน โดยการซื้อของใหนักเรียนทุกอยางที่ตองการ ไมคอย มีเวลาอบรมเลี้ยงดู หรือบิดาหรือมารดาตองแบกรับภาระใน การเลี้ยงดูนักเรียนทําใหตองทํางานเพื่อหารายไดใหเพิ่มมาก ขึ้น จึงขาดการเอาใจใสนักเรียนในเรื่องสวนตัว ในเรื่องการ ประหยัด การรูจักคุณคาของการใชเงิน 3.5) ฐานะทาง ไมมีความสัมพันธกับการ เศรษฐกิจของครอบครัว (X7) ประหยัดของนักเรียนชวงชั้น ที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร แสดงวานักเรียนบาง คนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวสูง มีการประหยัด มาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียนรูจักในคุณคาของการใชเงิน รูจักการ ประหยัดอดออม ทางครอบครัวของนักเรียนที่มีฐานะทาง เศรษฐกิจของครอบครัวสูงนั้นไดรับการอบรมเลี้ยงดูในเรื่อง ของการประหยัดอดออมเงิน มาตั้งแตรุนอดี ตถายทอดมา จนถึงรุนปจจุบันใหรูจักคุณคาของเงิน การใชจายเงินเทาที่ จําเปน มีการประหยัดอดออมเงินเพื่อสงผลตอไปยังลูกหลาน ในภายภาคหนา ดังที่จรรจา สุวรรณทัต (2535 : 48-52) กล า วถึ ง ครอบครั ว ที่ มี ค วามมั่ น คงทางเศรษฐกิ จ ไม ขั ด สน ย อ มนํ า มาซึ่ ง ความสงบสุ ข ของครอบครั ว เกิ ด ความกลม เกลี ย วสมั ค รสมานกั น ในครอบครั ว ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ ธี ร ะ ประพฤติกิจ (Online) กลาววา เศรษฐีที่มีฐานะร่ํารวยอยูแลว เพราะทํางานหรือมีมรดกตกทอด ถารักษาคุณธรรมไวดวย การสอนลู ก สอนหลานและตนเองให ซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต ขยั น ประหยัด อดออม ถอมตน อดทน อดกลั้น ไมโลภ ไมโกงเขา ก็ จ ะมี ท รั พ ย สิ น เหลื อ และล น จนได ชื่ อ ว า เป น ผู มี บ ารมี มี ทรัพยสินมากมาย พอที่จะแผเมตตาบารมี แบงปนใหผูอื่นที่ เดือดรอน หรือแกประเทศชาติได นักเรียนบางคนที่มีฐานะ ทางเศรษฐกิ จ ของครอบครั ว สู ง มี ก ารประหยั ด น อ ย ทั้ ง นี้ เพราะ ไม รู จั ก คุ ณ ค า ของการใช เ งิ น มี ก ารได รั บ เงิ น จาก


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ครอบครัวมามาก ก็จะใชจายโดยไมรูจักการอดออม ไมรูจัก การประหยั ด เงิ น ไม เ ห็ น คุ ณ ค า ของการประหยั ด ซึ่ ง สอดคลองกับประดินันท อุปรมัย (2532 : 263) ไดกลาววา บิดามารดาที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสูงจํานวนไมนอยที่เลี้ยง ลูกแบบตามใจทุกอยาง และปกปองลูกเกินไป ทําใหเด็กขาด ความเขาใจในสิ่งที่ควรและไมควร 4. ปจจัยที่สงตอการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 มี 5 ป จ จั ย โดย เรียงลํ า ดั บจากปจจัยที่ สงผลมากที่สุดไปหาปจจัยที่สงผล น อ ยที่ สุ ด ได แ ก การเลี ย นแบบสื่ อ ในการประหยั ด (X13), ความมีวินัย (X9), การเลียนแบบเพื่อนในการประหยัด (X12), ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X7) และการเลียนแบบ ผูปกครองในการประหยัด (X11) ซึ่งปจจัยทั้ง 5 ปจจัยนี้ สามารถร ว มกั น อธิ บ ายความแปรปรวนการประหยั ด ของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระ นคร กรุงเทพมหานคร ไดรอยละ 26.50 ซึ่งอภิปรายผลได ดังนี้ 4.1) การเลียนแบบสื่อในการประหยัด (X13) สงผลตอ การประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่หนึ่ง แสดงวานักเรียนมี การเลียนแบบสื่อในการประหยัดมาก ทําใหมีการประหยัด มาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียนสามารถประพฤติปฏิบัติตามอยาง สื่อในเรื่องของการใชเงินอยางรูคุณคาของเงิน การรูจักใชเงิน ไดอยางเหมาะสมกับเงินที่ตนเองไดรับ เพื่อใหเกิดประโยชน มากที่สุดทั้งตอตนเอง และครอบครัว จากการอานหนังสือ บทความ นิตยสาร การรับฟงรายการวิทยุ การรับชมรายการ โทรทัศน และการรับชมภาพยนตร เกี่ยวกับการใชเงินอยาง ประหยัดในการซื้อเสื้อผา การใชโทรศัพท และการซื้อของใช สวนตัว ซึ่งสอดคลองกับยุวดี เฑียรประสิทธิ์ (2536: 123) ได กลาววา วัยรุนเปนวัยแหงการเรียนรู มีความพรอมที่จะรับ ขาวสารตาง ๆ ทุกรูปแบบ โทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพ เปนสิ่ง ที่ ข าดไม ไ ด ใ นสภาพสั ง คมป จ จุ บั น และอิ ท ธิ พ ลของ สื่อ มวลชนจะครอบคลุมและเปลี่ ยนแปลงเจตคติ คา นิย ม ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของวัยรุน ซึ่งสอดคลองกับ งานวิจัยของสาวิตรี สุตรา (2539 : 70)กลาวถึง การเปดรับ

137

สื่อจากสื่อมวลชนมีความสัมพันธกับความรูเกี่ยวกับการออม ทั ศ นคติ เ กี่ ย วกั บ การออม และพฤติ ก รรมการออมของ ประชาชน 4.2) ความมีวินัย (X9) สงผลตอการประหยัดของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระ นคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่สอง แสดงวา นักเรียนที่มีวินัยมาก ทําใหมีการ ประหยั ด มาก ทั้ ง นี้ เ พราะนั ก เรี ย นมี ค วามสามารถที่ จ ะ ประพฤติปฏิบัติและควบคุมตนเองไดตามขอบังคับ ระเบียบ แบบแผน และในดานของการประหยัด การใชเงินใหอยูใน ความพอดี เพื่ อ ความสุ ข ในชี วิ ต ของตน และความเป น ระเบียบเรียบรอยของสังคม ซึ่งสอดคลองกับอุมาพร ตรังค สมบัติ (2542 : 28) ไดกลาววา การสอนเด็กใหรูจักควบคุม พฤติ กรรมของตนเอง เมื่ อ ยั ง เล็ ก ผู ใ หญ โ ดยเฉพาะพ อ แม จะตองเปนผูชวยเด็กควบคุมพฤติกรรมของเขา และดวยการ อบรมอยางเสมอตนเสมอปลายตั้งแตเล็ก เมื่อโตขึ้นเด็กจะ ควบคุมตนเองไดในที่สุด และนั่นคือ เปาหมายสูงสุดของการ ฝกวินัย คือ การที่บุคคลจะดํารงตนอยูในความถูกตอง รูดวย ตนเองวาสิ่งใดควรทํา และสิ่งใดไมควรทํา มีความสามารถที่ จะบัง คับตนเอง และควบคุมตนเองไดดี โดยไมตอ งมีผูอื่น หรือกฎเกณฑอื่นมาคอยควบคุม ซึ่งสอดคลองกับสุขใจ น้ํา ผุด (Online) กลาววา การกําหนดเปาหมายการเงินจะฝก วินัยใหเด็กมีการใชเงินอยางเปนระบบ และเมื่อเวลาผานพน ไปเราจะสามารถสรางทรัพยสินบางอยางขึ้นมาได หากการ ใชเงินเปนไปอยางไมมีเปาหมาย เชน ใชเงินสะเปะสะปะไร จุดหมายแลว เมื่อเวลาผานพนไปเราจะรูสึกเสียดายวาเงินตั้ง มากมายที่จายไปนั้นไมไดเกิดผล เกิดประโยชนอะไรเปนชิ้น เปนอันเลย 4.3) การเลียนแบบเพื่อนในการประหยัด(X12) สงผลตอการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 เป น อั น ดั บ ที่ ส าม แสดงว า นักเรียนที่มีการเลียนแบบเพื่อนในการประหยัดมาก ทําใหมี การประหยัดมาก ทั้งนี้เพราะ การเลียนแบบเพื่อนในการ ประหยัด หมายถึง พฤติกรรมที่นักเรียนประพฤติปฏิบัติตาม อยางเพื่อนในเรื่องของการใชเงินอยางรูคุณคาของเงิน การ รูจักใชเงินไดอยางเหมาะสมกับเงินที่ตนเองไดรับ เพี่อใหเกิด ประโยชนมากที่สุดทั้งตอตนเอง และครอบครัว ไดแก เพื่อน


138

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ซื้อของที่มีประโยชน ไมซื้อของตามผูอื่น หรือตามอยางในสื่อ โฆษณา และรูจัดจั ดสรรเงิน สวนหนึ่ง ในการอดออม ดัง ที่ ฉวีวรรณ สุขพันธโพธาราม(2527 : 112 – 113) กลาวถึง เพื่อนของวัยรุนวา เพื่อนชวยใหวัยรุนลดความเพอฝน การ ปรับตัวเพื่อใหพนจากความกังวลในปญหาตาง ๆ ทําใหวัยรุน หาทางออกดวยการสรางความฝนตาง ๆ ที่ตนเห็นวาตองการ ความสุขและความสําเร็จ การปรับตัวเขากับเพื่อนได มีเพื่อน คุย ไมมีเวลาวางที่จะเพอฝน และก็จะมีการใชจายที่นอยลง ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของกรอนลัน ด (สุรชัย โกศิยะ กุล.2526 ; อางอิงจาก Gronlund. 1956) ที่ศึกษาการปรับตัว ของวัยรุน ผลการวิจั ย พบว า วัยรุน ที่มีผลการเรียนดี เปน กลุมวัยรุนที่สามารถปรับตัวเขากับเพื่อนได 4.4) ฐานะทาง เศรษฐกิ จ ของครอบครั ว (X7)ส ง ผลต อ การประหยั ด ของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระ นคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่สี่ แสดงวานักเรียนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจของ ครอบครั ว สู ง ทํ า ให มี ก ารประหยั ด มาก ทั้ ง นี้ เ พราะ ทาง ครอบครัวของนักเรียนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว สูงนั้นไดรับการอบรมเลี้ยงดูในเรื่องของการประหยัดอดออม เงิ น มาตั้ ง แต รุ น อดี ต ถ า ยทอดมาจนถึ ง รุ น ป จ จุ บั น ให รู จั ก คุณคาของเงิน การใชจายเงินเทาที่จําเปน มีการประหยัดอด ออมเงินเพื่อสงผลตอไปยังลูกหลานในภายภาคหนา ดังที่ จรรจา สุวรรณทัต (2535 : 48-52) กลาวถึงครอบครัวที่มี ความมั่นคงทางเศรษฐกิจไมขัดสน ยอมนํามาซึ่งความสงบ สุ ข ของครอบครั ว เกิดความกลมเกลี ยวสมั ค รสมานกัน ใน ครอบครัว ซึ่งสอดคลองกับธีระ ประพฤติกิจ (Online) กลาว วา เศรษฐีที่มีฐานะร่ํารวยอยูแลว เพราะทํางานหรือมีมรดก ตกทอด ถารักษาคุณธรรมไวดวยการสอนลูกสอนหลานและ ตนเองให ซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต ขยั น ประหยั ด อดออม ถ อ มตน อดทน อดกลั้น ไมโลภ ไมโกงเขา ก็จะมีทรัพยสินเหลือและ ลน จนไดชื่อวาเปนผูมีบารมี มีทรัพยสินมากมาย พอที่จะแผ เมตตาบารมี แบงปนใหผูอื่นที่เดือดรอน หรือแกประเทศชาติ ได 4.5) การเลียนแบบผูปกครองในการประหยัด (X10) สงผล ตอการประหยัดของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 เปนอันดับที่หาซึ่งเปนอันดับสุดทาย

แสดงวานักเรียนมีการเลียนแบบผูปกครองในการประหยัดมาก ทําใหมีการประหยัดมาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียนมีการประพฤติ ปฏิบัติตามแบบอยางผูปกครองในเรื่องของการใชเงินอยางรู คุ ณ ค า ของเงิ น การรู จั ก ใช เ งิ น ได อ ย า งเหมาะสมกั บ เงิ น ที่ ตนเองไดรับ เพื่อใหเกิดประโยชนมากที่สุดทั้งตอตนเอง และ ครอบครัว ดังนั้นการที่ผูปกครองเปนแบบอยางที่ดีงามและ สําคัญในการปลูกฝงคานิยมดานการประหยัดที่ดี การใชจาย อยางรูคุณคาของเงิน และการประหยัดอดออม ซึ่ง สอดคลองกับผลการวิจัยของพันคํา มีโพนทอง (2533 : 109) กลาวถึงนักเรียนที่มีปริมาณการไดรับการถายทอดคานิยม พื้นฐานจากผูปกครองสูง จะมีคานิยมพื้นฐานทั้งดานความรัก ชาติ ดานการประหยัดอดออม ดานการมีระเบียบวินัย ดาน ความขยันหมั่นเพียร ดานการพึ่งพาตนเอง สูงกวานักเรียนที่ ไดรับการถายทอดคานิยมพื้นฐานจากผูปกครองในปริมาณต่ํา ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะทั่วไป ผลจากการวิจัยครั้งนี้ สามารถใชเปนแนวทางให ผูบริหาร ครูผูสอน อาจารยที่ปรึกษา อาจารยแนะแนว และผูปกครองไดทราบขอมูลเพื่อพิจารณา สามารถนําไปเปน ขอมูลประกอบวางแผนพัฒนา หรือหาวิธีการในการสงเสริม ให นั ก เรี ย นในโรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย เขตพระนคร กรุ ง เทพมหานคร มี ก ารประหยั ด และเหมาะสม โดยนํ า ป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ การประหยั ด ของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่สุดไปหาปจจัยที่สงผล นอยที่สุด ไดแก การเลียนแบบสื่อในการประหยัด, ความมี วินัย, การเลียนแบบเพื่อนในการประหยัด, ฐานะทาง เศรษฐกิจของครอบครัว และการเลียนแบบผูปกครองในการ ประหยัด ไปเปนขอมูลประกอบการวางแผนพัฒนาการ ประหยั ด ของนั ก เรี ย น หรื อ หาวิ ธี ก ารในการส ง เสริ ม ให นั ก เรี ย นในโรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย เขตพระนคร กรุ ง เทพมหานคร มี ก ารประหยั ด และเหมาะสม ดั ง นี้


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

1. การเลียนแบบสื่อในการประหยัด ทั้งผูปกครอง ผูบริหาร ครูผูสอนตลอดจนผูที่เกี่ยวของกับนักเรียน ควรมี การส ง เสริ ม ให นั ก เรี ย นมี ก ารการเลี ย นแบบสื่ อ ในการ ประหยัด ตั้งแตเล็ก ๆ โดย นําสื่อที่มีการประหยัด หรือสื่อที่ แสดงถึงการประหยัดมาสอนใหนักเรียนไดรูและเขาใจ 2. ความมีวินัย ทั้งผูปกครอง ผูบริหาร ครูผูสอน ตลอดจนผู ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ นั ก เรี ย น ควรมี ก ารส ง เสริ ม ให นั ก เรี ย นฝ ก ความมี วิ นั ย ตั้ ง แต เ ล็ ก ๆ ให นั ก เรี ย นมี ค วาม พยายาม ในการเตรียมตัวนักเรียนสําหรับการดําเนินชีวิตใน อนาคต เมื่อนักเรียนเติบโตเปนผูใหญ รูจักใชสิทธิเสรีภาพ และความรับผิดชอบอยางถูกตอง หากนักเรียนรักษาระเบียบ วินัยดี เมื่อขณะศึกษาอยูในระเบียบยอมมีผลหรือสงผลตาม ไป เมื่อนักเรียนเติบโตเปนผูใหญในภายหนา และดําเนินชีวิต อยูในสังคมอยางมีความสุข 3. การเลียนแบบเพื่อนในการประหยัด ทั้ง ผู ป กครอง ผู บ ริ ห าร ครู ผู ส อน ต อ งมี ค วามเข า ใจในตั ว นักเรียน มีการปลูกฝงใหนักเรียนรูจักการประหยัด รูจักการ วางแผนการใช เ งิ น อย า งประหยั ด ร ว มกั บ เพื่ อ น มี ก ารจั ด กิจกรรมกลุมรวมกันกับเพื่อนในเรื่องที่เกี่ยวกับการประหยัด มีการใหความรู ความเขาใจในเรื่องการรูคุณคาของเงิน การ ปฏิบัติตนตามแบบอยางที่ดีงามของเพื่อนในการประหยัด 4. ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว ทั้งผูปกครอง ผูบริหารครูผูสอนตลอดจนผูที่เกี่ยวของกับนักเรียนควรมีการสงเสริม ใหนักเรียนรูจักใชจายใหเหมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกิจ ของครอบครัว มีนอยใชนอย และมีมากก็รูจักเก็บออม

139

5. การเลี ย นแบบผู ป กครองในการประหยั ด ทั้ ง ผู ป กครอง ผู บ ริ ห าร ครู ผู ส อน ควรมี ก ารจั ด กิ จ กรรม จั ด นิทรรศการที่เกี่ยวกับการประหยัดเพื่อเปดโอกาสใหผูปกครอง และนั ก เรี ย นเข า มามี ส ว นร ว มในโรงเรี ย น พร อ มทั้ ง มี ก าร สั ม ภาษณ ผู ป กครองในเรื่ อ งของการรู คุ ณ ค า ของเงิ น การ วางแผนการใชเงินใหเกิดประโยชน การประหยัดอดออม เพื่อให นักเรียนทราบถึงสิ่งที่ผูปกครองของตนเองนั้นไดประพฤติปฏิบัติ ในเรื่ อ งของการประหยั ด และเป น ต น แบบที่ ดี ใ ห นั ก เรี ย นได ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต าม เพื่ อ ประโยชน แ ก ต นเอง ครอบครั ว โรงเรียน และสังคมตอไป ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการประหยัด ของผู เ รี ย นในระดั บ อื่ น ๆ เช น ผู เ รี ย นช ว งชั้ น ที่ 3 ผู เ รี ย นใน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และผูเรียนระดับอุดมศึกษา เปนตน 2. ควรมี ก ารศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บการประหยั ด ของ นักเรียน โดยจําแนกตามขอมูลสวนตัวของนักเรียน และปจจัย ในส ว นอื่ น ๆ เช น อาชี พ ของบิ ด ามารดา เป น ต น และศึ ก ษา สภาพปญหาและความตองการในการใชจายเงินของนักเรียน 3. ควรพัฒนาปจจัยที่สงผลตอการประหยัด ไดแก การเลียนแบบสื่อในการประหยัด ความมีวินัย การเลียนแบบ เพื่อนในการประหยัด และการเลียนแบบผูปกครองในการ ประหยัด โดยนําไปทําการทดลองเพื่อพัฒนาปจจัยดังกลาวซึ่ง จะชวยพัฒนาการประหยัด โดยใชเทคนิคทางจิตวิทยา เชน การ ปรับพฤติกรรม กลุมสัมพันธ การใชเทคนิคแมแบบ เปนตน


140

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

บรรณานุกรม กษวรรณ ขจรเสรี. (2539). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอรูปแบบและพฤติกรรมการบริโภคในโลกยุคไรพรมแดน. รมไทรทอง ปที่ 5, ฉบับที่ 6 (เม.ย. – พ.ค. 2539) หนา 8 – 11. ถายเอกสาร. จรรจา สุวรรณทัต. (2535). “แนวทางการพัฒนาการสื่อสารในครอบครัว เพื่อเสริมสรางเด็กและเยาวชน,” ประมวลบทความ วิชาการฉบับพิเศษ พ.ศ. 2525-2535. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. จีระพรรณ นิลสภา. (2541). ความสัมพันธระหวางปจจัยลักษณะสวนบุคคลของผูปกครองและพฤติกรรมการดู โทรทัศนกับพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยในเขตการศึกษา 6. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ถายเอกสาร. ฉวีวรรณ สุขพันธโพธาราม. (2527). พัฒนาวัยรุนและบทบาทครู. กรุงเทพฯ : มิตรนราการพิมพ. พันคํา มีโพนทอง. (2533). การศึกษาคานิยมพื้นฐาน 5 ประการของครู ผูปกครอง และนักเรียนชั้นประถมศึกษา สังกัด สํานักการประถมศึกษาจังหวัดขอนแกน. ปริญญานิพนธ วท.ม. (วิจัยพฤติกรรมศาสตรประยุกต). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ ประสานมิตร. ถายเอกสาร. พฤติพล นิ่มพราว. (2547). ปจจัยที่สงผลตอการประหยัดของนักเรียน ชวงชัน้ ที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินทู ิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ กศ.ม.จิตวิทยาการศึกษา กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. พระจริยวัตร “ประหยัด” สื่อสอนสั่งลูกหลานไทย. หนังสือพิมพเดลินิวส ฉบับวันพุธที่ 18 เมษายน พ.ศ.2544 หนา 5. ภัทราพันธ หรุนรักวิทย. (2545). ผลของการใชการเรียนรูแบบสตอรีไลนที่มีพฤติกรรมการประหยัดของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนมัธยมสาธิตสถาบันราชภัฎสวนสุนันทา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ถายเอกสาร. ยุวดี เฑียรประสิทธ. (2536). เอกสารประกอบการสอนจิตวิทยาวัยรุน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยา การศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วัชรี ธุวธรรม. (2525). ยุทธวิธีในการพิจารณาสรางเสริมคานิยม. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ. วสันต ปุนผล. (2542). การพัฒนาความมีวินัยในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนบางไทรวิทยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วิเชียร เกตุสิงห. (2538). คาเฉลี่ยการแปลความหมาย : เรื่องงาย ๆ ที่บางครั้งก็พลาดได. ขาวสาร การวิจัยศึกษา. 18 (3) : 8 – 11. พฤษภาคม 2550. แหล ง ที่ ม า วิ ก นิ ก านต . (2547). (ออนไลน ) . บอกลู ก เรื่ อ งคุ ณ ประหยั ด . สื บ ค น เมื่ อ 9 http://brainbank.nesdb.go.th. วิไล ตั้งสมจิตสมคิด. (ออนไลน). ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมควรเปนหนาที่ใคร. สืบคนเมื่อ 18/พฤษภาคม/2550 จาก http://come.to/wilai.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

141

สาวิตรี สุตรา. (2539). การเปดรับสื่อ ความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมการออมของ ชาวชนบทในจังหวัดสุรินทร. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. นิเทศศาสตร (นิเทศศาสตรพัฒนาการ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. สุขใจ น้ําผุด. (ออนไลน). เด็ก : ควรปรับตัวเรื่องการเงินอยางไรในยุค ไอ เอ็ม เอฟ. สืบคนเมื่อ 12/พฤษภาคม/2550. แหลงที่มา www.childthai.org. สุรชัย โกศิยะกุล. (2526). การสรางแบบทดสอบวัดความสามารถทางการปรับตัวสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 3 ใน จังหวัดกําแพงเพชร. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ. ถายเอกสาร. สุรางค โควตระกูล. (2541). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 4. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2542). จิตบําบัดและการใหคําปรึกษาครอบครัว. กรุงเทพฯ : ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Bandura, Albert. Jean E. Grusec and France L. Menlove. (1966, September). “Observational Learning as a Function of Symbolization and Incentive Set,” Child Development. Stinnett, Nicholas. (1985). “Strong Families,” Marriage and Family In a changing Society. New York : Free Press. Yamane, Taro. (1970). Statistic : An Introductory Analysis. New York : Harper and Row.


142

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ ความสามารถในการรั บ รู วิ ช า วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนราชดําริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร. FACTORS AFFECTING ON PHYSICAL AND BIOLOGICAL SCIENCE PERCEPTUAL ABILITY OF THE FOURTH LEVEL SECONDARY GRADES 4-6 STUDENTS AT RATCHADAMRI SCHOOL IN PRAVATE DISTRICT, BANGKOK. อารยา สนโต 1 รองศาสตราจารยเวธนี กรีทอง 2 อาจารย ดร.พาสนา จุลรัตน 2 การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาปจจัยที่สงผล ตอความสามารถในการรับรูวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ ของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นราชดํ า ริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร ปจจัยที่ศึกษาแบงออกเปน 3 ปจจัย คือ ปจจัย ดานสวนตัว ไดแก เพศ อายุ ระดับชั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ และนิสัยทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตรกายภาพชีวภาพ ปจจัยดานครอบครัว ไดแก การ สนับสนุนการสนับสนุนดานการเรียนของผูปกครอง และ ฐานะ ทางเศรษฐกิจของครอบครัว ปจจัยดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ได แ ก ลั ก ษณะทางกายภาพด า นการเรี ย นวิ ช าวิ ท ยาศาสตร กายภาพ ชี ว ภาพ สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ครู และ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน

1

นิสิตปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปน นักเรียนชวง ชั้นที่ 4 ยกเวนแผนวิทย-คณิตปการศึกษา 2549 โรงเรียนราช ดําริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร รวมทั้งสิ้นจํานวน 250 คน เป น นั ก เรี ย นชาย 111 คน และนั ก เรี ย นหญิ ง 139 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก แบบสอบถามปจจัยที่ สงผลตอความสามารถในการรับรูวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนราชดําริ เขตประเวศ กรุง เทพมหานคร สถิติที่ใช ในการวิเคราะหขอ มู ล คือ การ วิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษา พบวา 1. ปจจัยที่สงผลตอความสามารถในการรับรู วิ ช าวิ ท ยาศาสตร ก ายภาพ ชี ว ภาพ ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 4 โรงเรี ย นราชดํ า ริ เขต ประเวศ กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01 มี 2 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่สุดไปหาปจจัย ที่ ส ง ผลน อ ยที่ สุ ด ได แ ก การสนั บ สนุ น ด า นการเรี ย นของ ผูปกครอง(X5) และสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู( X7) ซึ่งปจจัยทั้ง 2 ปจจัยนี้สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวน ของความสามารถในการรั บ รู วิ ช า วิ ท ยาศาสตร ก ายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนราชดําริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร ไดรอยละ 22 จึงนําคา สัมประสิทธิ์ของตัวพยากรณมาเขียนสมการไดดังนี้ สมการพยากรณความสามารถในการรับรูวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 4 โรงเรียนราชดําริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร ในรูป คะแนนดิบ ไดแก Ŷ = 1.756 + .300 X5+ .159 X7 สมการพยากรณความสามารถในการรับรูวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 4 โรงเรียนราชดํา ริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานครในรูป คะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .400 X5 + .189 X7 2. ป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ ความสามารถในการ รั บ รู วิ ช าวิ ท ยาศาสตร ก ายภาพ ชี ว ภาพ ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 5 โรงเรี ย น ราชดํ า ริ เขตประเวศ

143

กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 2 ป จ จั ย โดยเรี ย งลํ า ดั บ จากป จ จั ย ที่ ส ง ผลมากที่ สุ ด ไปหา ปจจัยที่สงผลนอยที่สุด ไดแก ลักษณะทางกายภาพดาน การเรียนวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ (X6) และการ สนับสนุนดานการเรียนของผูปกครอง(X5) ซึ่งปจจัยทั้ง 2 ปจจั ยนี้ สามารถร ว มกั น อธิบ าย ความแปรปรวนของ ความสามารถในการรับรูวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 5 โรงเรี ย นราชดํ า ริ เขต ประเวศ กรุงเทพมหานคร ไดรอยละ 23.6 จึงนําคา สัมประสิทธิ์ของตัวพยากรณมาเขียนสมการไดดังนี้ สมการพยากรณความสามารถในการรับรูวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนราชดําริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร ในรูป คะแนนดิบ ไดแก Ŷ = 1.632+.288 X6 +.214 X5 สมการพยากรณความสามารถในการรับรูวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรี ย นราชดํ า ริ เขตประเวศ กรุ ง เทพมหานครในรู ป คะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .341X6 +.326X5 3. ปจจัยที่สงผลตอความสามารถในการรับรู วิ ช าวิ ท ยาศาสตร ก ายภาพ ชี ว ภาพ ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ป ที่ 6 โ ร ง เ รี ย น ร า ช ดํ า ริ เ ข ต ป ร ะ เ ว ศ กรุงเทพมหานคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 3 ปจจัยโดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่สุดไปหาปจจัยที่ สงผลนอยที่สุด ไดแก ลักษณะทางกายภาพดานการเรียน วิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ(X6) สัมพันธภาพระหวาง นั ก เรี ย นกั บ ครู ( X7) และผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช า วิท ยาศาสตร ก ายภาพ ชีว ภาพ(X2) ซึ่ง ป จ จัย ทั้ ง 3 ปจ จั ย นี้ สามารถรว มกันอธิบ าย ความสามารถในการรับ รูวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนราชดําริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร ไดรอยละ 52.60 จึงนําคาสัมประสิทธิ์ของตัวพยากรณมาเขียนสมการ ไดดังนี้ สมการพยากรณความสามารถในการรับรูวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่


144

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

6 โรงเรียนราชดําริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร ในรูป คะแนนดิบ ไดแก Ŷ = .115 +.502 X6 +.323 X7 +.192 X2 สมการพยากรณความสามารถในการรับรูวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 6 โรงเรียนราชดํา ริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานครในรูป คะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .402 X 6+.349 X7+.193 X2 ABSTRACT The purposes of this research were to study the factors affecting on physical and biological science perceptual ability of the fourth level, secondary grades 4 – 6 students at Ratchadamri School in Pravate District, Bangkok. The factors were devided into 3 dimensions , first of them was personal factor : gender, age , class level , learning achievement of physical and biological science and studying habits of physical and biological science , second of them was family factor : guardian’s learning supportive and : guardian’s economic level and third of them was learning environment factor: physical learning environment of physical and biological science , interpersonal relationship between students and their teachers and interpersonal relationship between students and their peer groups. The 250 samples : 111 males and 139 females were the fourth level, secondary grades 4 – 6 students except science-maths program at Ratchadamri School in Pravate District, Bangkok in academic year 2006. The instrument was a questionnaires of factors affecting on physical and biological science perceptual ability. The data was analysed by The Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows :

1. There were 2 factors got significantly affecting on physical and biological science perceptual ability of the fourth level, secondary grades 4 students at Ratchadamri School in Pravate District, Bangkok ranking from the most affecters to the least affecters were guardian’s learning supportive (X5) and interpersonal relationship between students and their teachers(X7) at .01 level .These 2 factors could predicted physical and biological science perceptual ability of the fourth level, secondary grades 4 students about percentage of 22 . 2. The predicted equation of factors affecting on physical and biological science perceptual ability of the fourth level, secondary grades 4 students at Ratchadamri School in Pravate District, Bangkok at .01 level were as follows : 2.1 In terms of raw scores were : Ŷ = 1.756 + .300 X5+ .159 X7 2.2 In terms of standard scores were : Z = .400 X5 + .189 X7 3. There were 2 factors got significantly affecting on physical and biological science perceptual ability of the fourth level, secondary grades 5 students at Ratchadamri School in Pravate District, Bangkok ranking from the most affecters to the least affecters were physical learning environment of physical and biological science(X6) and guardian’s learning supportive (X5) at .01 level .These 2 factors could predicted physical and biological science perceptual ability of the fourth level, secondary grades 5 students about percentage of 23.60. 4. The predicted equation of factors affecting on physical and biological science perceptual ability of the fourth level, secondary


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 grades 5 students at Ratchadamri School in Pravate District, Bangkok at .01 level were as follows : 4.1 In terms of raw scores were : Ŷ = 1.632+.288 X6 +.214 X5 4.2 In terms of standard scores were : Z = .341X6 +.326X5 5. There were 3 factors got significantly affecting on physical and biological science perceptual ability of the fourth level, secondary grades 6 students at Ratchadamri School in Pravate District, Bangkok ranking from the most affecters to the least affecters were physical learning environment of physical and biological science(X6) , interpersonal relationship between students(X7) and learning achievement of physical and biological science(X2) at .01 level .These 3 factors could predicted physical and biological science perceptual ability of the fourth level, secondary grades 6 students about percentage of 52.60. 6. The predicted equation of factors affecting on physical and biological science perceptual ability of the fourth level, secondary grades 6 students at Ratchadamri School in Pravate District, Bangkok at .01 level were as follows : 6.1 In terms of raw scores were : Ŷ = .115 +.502 X6 +.323 X7 +.192 X2 6.2 In terms of standard scores were : Z = .402 X 6+.349 X7+.193 X2 ความเปนมาและความสําคัญของงานวิจัย วิทยาศาสตรเปนศาสตรแขนงหนึ่งที่มีความสําคัญ ตอการพัฒนาประเทศผูวิจัยเล็งเห็นวามีความจําเปนสําหรับ เด็กทุกคน และจากการที่ผูวิจัยมีนองชายซึ่งกําลังศึกษาอยู ในชวงชั้นที่ 4 และไดสังเกตกลุมเพื่อนของนองชาย ซึ่งเปน

145

เด็กนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนราชดําริ พบวา น อ งชายและกลุ ม เพื่ อ นมี ป ญ หาในเรื่ อ งการเรี ย น วิ ช า วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ ไดแก ไมเขาใจ ไมรูเรื่อง ไม สามารถคิ ด หรื อ แก ป ญ หาในการเรี ย นวิ ช าวิ ท ยาศาสตร กายภาพ ชี ว ภาพได ด ว ยตนเอง มี ก ารทํ า การทดลองที่ ผิ ด พลาด จากป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ผู วิ จั ย จึ ง ได ทํ า การสํ า รวจ ปญหาเบื้องตนของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ยกเวนแผนวิทย-คณิต จากผลการสํารวจปญหาเบื้องตนพบวา นักเรียนชวงชั้นที่ 4 ยกเว น แผนวิ ท ย -คณิ ต โรงเรี ย นราชดํ า ริ เขตประเวศ ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร น า จ ะ มี ป ญ ห า ด า น ก า ร รั บ รู วิ ช า วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพมากที่สุดดวยเหตุนี้ ผูวิจัยจึงมี ความสนใจศึกษาปจจัยที่สงผลตอความสามารถในการรับรู วิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ยกเว น แผนวิ ท ย -คณิ ต โรงเรี ย นราชดํ า ริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร ความมุงหมายของงานวิจัย 1.เพื่อศึกษาปจจัยดานสวนตัว ปจจัยดานครอบครัว แ ล ะ ป จ จั ย ด า น สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ใ น โ ร ง เ รี ย น ที่ ส ง ผ ล ต อ ความสามารถในการรับรูวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ ของนัก เรีย นชว งชั้น ที่ 4 ยกเวน แผนวิท ย- คณิต โรงเรีย น ราชดําริ เขต ประเวศ กรุงเทพมหานคร 2.เพื่อสรางสมการพยากรณ ความสามารถในการ รับรูวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ยกเว น แผน วิ ท ย -คณิ ต โรงเรี ย นราชดํ า ริ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร สมมติฐานในงานวิจัย ปจจัยดานสวนตัว ปจจัยดานครอบครัว และปจจัย ดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียนสงผลตอความสามารถในการรับรู วิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ยกเว น แผนวิ ท ย - คณิ ต โรงเรี ย นราชดํ า ริ เขต ประเวศ กรุงเทพมหานคร วิธีดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปน นักเรียนชวงชั้นที่ 4 ยกเวน แผนวิท ย-คณิตปการศึกษา 2549 โรงเรียนราชดํา ริ เขตประเวศ กรุง เทพมหานคร จํ า นวน 250 คน เปน


146

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

นัก เรี ย นชาย 111 คน และเปนนักเรียนหญิง 139 คน ซึ่งใช เปนกลุมตัวอยางทั้งหมด เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาค น คว า ครั้ ง นี้ เป น แบบสอบถาม เรื่องปจจัยที่สงผลตอความสามารถในการรับรู วิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยนําหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัยไปขออนุญาต โรงเรียนราชดําริ เพื่อขอความอนุเคราะหในการเก็บขอมูล จากลุมตัวอยาง ตอจากนั้นผูวิจัยนําแบบสอบถามปจจัยที่ สงผลตอความสามารถในการรับรูวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ ไปเก็บรวบรวมขอมูลของนักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 4 โรงเรียน ราชดําริ ระหวางวันที่ 20 ธันวาคม 2549 ถึงวันที่ 5 มกราคม 2550 จํานวน 250 ฉบับ ไดรับคืนมา 226 ฉบับ คิด เปนรอยละ 90.4 สรุปผลการวิจัย ป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ ความสามารถในการรั บ รู วิ ช า วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ ของนักเรียนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 มี 2 ปจจัย ไดแก การสนับสนุนดานการ เรียนของผูปกครอง และ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู ปจจัยที่สงผลตอความสามารถในการรับรู วิชาวิทยาศาสตร กายภาพ ชี ว ภาพ ของนั ก เรี ยนชั้น มัธ ยมศึก ษาป ที่ 5 มี 2 ปจจัย ไดแก ลักษณะทางกายภาพดานการเรียนวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ และการสนับสนุนดานการ เรียนของผูปกครอง และปจจัยที่สงผลตอความสามารถใน การรับรูวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 มี 3 ปจจัย ไดแก ลักษณะทางกายภาพ ด า น ก า ร เ รี ย น วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร ก า ย ภ า พ ชี ว ภ า พ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู และผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ อภิปรายผลการวิจัย 1 การสนั บ สนุ น ด า น การเรี ย นขอ ง ผูปกครองเปนปจจัยที่สงผลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 4 และ 5 ทั้ง นี้เพราะ การเอาใสใจในเรื่องการเรียนของ ผู ป กครองที่ มี ต อ บุ ต ร ย อ มเป น แรงผลั ก ดั น ทํ า ให บุ ต รมี กระตือรือรน สนใจในการเรียนมากขึ้น มีกําลังใจในการเรียน หรือการทํากิจกรรมตางๆถึงแมวาจะมีอุปสรรคแบบใด เด็กจะทราบ

วามีผูปกครองคอยดูแล สงเสริมชวยเหลือเขาอยู บิดามารดา หรือผูปกครองมีบทบาทสําคัญที่ตองสงเสริมการสนับสนุน การศึกษาของลูก โดยการเอาใจใสในการเรียนของลูก จัดหา วัสดุอุปกรณที่เกี่ยวกับการเรียน เปนแบบอยางที่ดีใหกับลูก สง เสริ ม การเรีย นรู ใ ห ลู ก สิ่ ง เหล า นี้เ ป น แรงกระตุน ใหลู ก มี ความตั้งใจเรียน เอาใจใสตอการเรียน และขยันหมั่นเพียรใน การเรียนแสดงใหเห็นวาการสนับสนุนดานการเรียนของผูปกครอง เปนแรงผลักดันใหเด็กมีความกระตือรือรนในการเรียนมากขึ้น การจะทําใหนักเรียนมีความสามารถในการรับรูมากขึ้นดวย 2. สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครูเปน ปจจัยที่สง ผลสํา หรั บ นักเรียนชั้น มัธ ยมศึก ษาปที่ 4 และ 6 ทั้งนี้เพราะ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู หมายถึง การ ปฏิ บั ติต นของนั ก เรี ย นตอ ครู และการปฏิ บั ติ ต นของครู ต อ นั ก เรี ย น ทั้ ง ภายในและภายนอกห อ งเรี ย นเพื่ อ ให เ กิ ด ความสัมพันธที่ดีตอกัน การที่นักเรียนปฏิบัติตอครู ไดแก เคารพเชื่อฟงในครูผูสอน ตั้งใจและสนใจในสิ่งที่ครูอบรมสั่งสอน และซักถามครูเมื่อมีขอสงสัยดานการเรียนและดานสวนตัว และการที่ ค รู ป ฏิ บั ติ ต อ นั ก เรี ย นได แ ก ให ค วามสนใจต อ นักเรียนสรางความสัมพันธที่ดีที่ทําใหนักเรียนเกิดความรูสึก เปนกันเอง ใหความรัก ความเอาใจใส ใหคําปรึกษาและขอชี้แนะ แกนักเรียนทั้งในดานการเรียน และดานสวนตัวที่นักเรียนมา ขอคําปรึกษา ดังนั้นเมื่อนักเรียนไมเขาใจเนื้อหาในวิชา วิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพก็กลาซักถามหรือปรึกษาครู 3. ลักษณะทางกายภาพทางการเรียนวิชา วิ ท ยาศาสตร ก ายภาพ ชี ว ภาพเป น ป จ จั ย ที่ ส ง ผลสํ า หรั บ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 และ 6 ทั้งนี้เพราะ ลักษณะทาง กายภาพทางการเรียนเปนตัวสงเสริมใหนักเรียนมีการรับรูในวิชา ที่เรียนใหมีความสนใจ มีสมาธิในการเรียน การบํารุง ดูแ ล สถานที่ เรี ยนให อยู ในสภาพที่ สมบู รณ มี ความพร อมในเรื่ องของ อุปกรณ สื่อการสอนที่มีความทันสมัยจะทําใหนักเรียนไดรับ ประโยชนสูงสุดในการเรียน การสรางบรรยากาศที่ดีในการ เรียนทําใหจิตใจและอารมณของนักเรียนนั้นสดชื่นขึ้น ทําใหเกิด แรงจูงใจในการเรียน ตลอดจนดําเนินกิจกรรมตางๆที่สงเสริม ใหเกิดการรับรู การเรียนรูที่ดีใหเกิดขึ้น 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร กายภาพ ชี ว ภาพเป น ป จ จั ย ที่ ส ง ผลสํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6 ทั้ ง นี้ เ พราะ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นที่ แตกต า งกั น จะเป น ตั ว บ ง ชี้ ถึ ง ความสามารถและคุ ณ ภาพ ทางการศึกษา เพื่อที่จะดูพัฒนาการของการเรียนรูและการ รับรูตางๆในวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ ดังนั้นการที่ นั ก เรี ย นจะมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าวิ ท ยาศาสตร กายภาพ ชีวภาพสูงนั้น จะตองมีการจัดการเรียนการสอนที่ เหมาะสม จึงจะชวยสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ไดตามประสงค และกระตุนใหผูเรียนพัฒนาศักยภาพตนเอง ดานการคิดและการทํางานรวมกับผูอื่นไดดี

147

ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป ค ว ร มี ก า ร ศึ ก ษ า ป จ จั ย ที่ ส ง ผ ล ต อ ความสามารถในการรั บ รู ใ นวิ ช าอื่ น ๆด ว ย เช น วิ ช า คณิตศาสตร เปนตน และควรมีการศึกษาปจจัยที่สงผลตอ ความสามารถในการรับ รู ข องนัก เรีย นชว งชั้น อื่ น ๆ หรื อ ไป ทําการศึกษาวิจัยเชิงทดลอง โดยใชเทคนิคทางจิตวิทยา เชน การใชบทบาทสมมติ การใชสถานการณจําลอง และการใช กรณีตัวอยาง เพิ่มเติม

บรรณานุกรม พงษธร ผาสุขมูล.(2544). การศึกษาการรับรูสภาพแวดลอมในการเรียนวิชาวิทยาศาสตรกายภาพของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษาและโรงเรียนสังกัดสํานักงานการศึกษาเทศบาลเขต การศึกษา 9. รายงานการศึกษาคนควาอิสระ กศ.ม.(วิทยาศาสตรศึกษา) มหาสารคาม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วัชรี ทรัพยมี.(2544).จิตวิทยาการศึกษา.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ. วิเชียร เกตุสิงห.(2538).คาเฉลี่ยกับการแปลความหมาย เรื่องงายๆที่บางครั้งก็พลาดได.ขาวสารการวิจัยศึกษา. กรุงเทพฯ. สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี,สถาบัน.(2540).เอกสารสําหรับนักเรียนวิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว. สุรางค โควตระกูล.(2537).จิตวิทยาการศึกษา.กรุงเทพฯ:สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พิมพครั้งที่ 5. หทัยรัช รั ง สุ ว รรณ.(2539).ผลของการสอนโดยใชแ ผนที่ม โนมติที่มีต อผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนวิช าวิท ยาศาสตร กายภาพชีวภาพดานมโนมติ และความสามารถในการคิด แกปญหา ทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5.ปริญญานิพนธ กศ.ม.(วิทยาศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. อภิญญา สุวรรณสิทธิ์.(2540). เจตคติตอวิทยาศาสตร และการรับรูสภาพแวดลอมในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร ของ นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น สั ง กั ด กรมสามั ญ ศึ ก ษา และสั ง กั ด สํ า นั ก งานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแหงชาติ.วิทยานิพนธ กศ.ม.(วิทยาศาสตรศึกษา).มหาสารคาม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ถายเอกสาร. Conbrach,L.J.(1978).Essentials of Psychologgical Testing.3rd ed .New York:Harper and Row. Gallagher,J.J.(1991,January)” Prospecticing Secondary School Science Teachers’Knowledge and Beliefs about the Philosophy of Science,”Science Education.75(1) :121-133.


148

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

องคประกอบที่มีอิทธิพลตอ พฤติกรรมการทะเลาะ วิวาท ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช. FACTORS AFFECTING CONDUCT BEHAVIOR OF THE FOURTH LEVEL, SECONDARY GRADES 4-6 STUDENTS AT KHANOMPITTAYA SCHOOL IN KHANOM DISTRICT, NAKHONSITHAMMARAT PROVINCE. พิชญา สมทรง 1 อาจารยวิไลลักษณ พงษโสภา 2 รองศาสตราจารยเวธนี กรีทอง 2 บทคัดยอ ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง ห ม า ย เ พื่ อ ศึ ก ษ า องค ป ระกอบที่มีอิ ท ธิพ ลตอ พฤติก รรมการทะเลาะวิ ว าทของ นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัด นครศรี ธ รรมราช. องค ป ระกอบที่ ศึ ก ษาแบ ง เป น 3 องคประกอบคือ องคประกอบดานสวนตัว ไดแก เพศ อายุ ระดับชั้น บุคลิกภาพ สุขภาพจิต และความฉลาดทางอารมณ องค ป ระกอบด า นครอบครั ว ได แ ก อาชี พ ของผู ป กครอง สถานภาพสมรสของผู ป กครอง ฐานะทางเศรษฐกิ จ ของ ครอบครั ว และสั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ผู ป กครอง องคประกอบดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ไดแก ลักษณะทาง กายภาพทางการเรียน สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู และ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน

1

นิสิตปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชวง ชั้นที่4 ซึ่งกําลังศึกษาอยูในโรงเรียน ขนอมพิทยา อําเภอ ขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ปการศึกษา 2549 จํานวน 188 คน เปนนักเรียนชาย 68 คน และนักเรียนหญิง 120 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการศึ กษาค น คว า ได แ ก แบบสอบถาม องคประกอบที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของ นั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นขนอมพิ ท ยา อํ า เภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน และการ วิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบวา 1. องคประกอบที่มีความสัมพันธทางบวกกับ พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียน ขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช อยางมี นัยสํา คัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 องคป ระกอบ ไดแ ก สุขภาพจิต ( X16) 2. องคประกอบที่มีความสัมพันธทางลบกับ พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียน ขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช อยางมี นัยสํา คัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 มี 5 องคป ระกอบ ไดแ ก ความฉลาดทางอารมณ ( X17) สัมพันธภาพระหวางนักเรียน ลักษณะทางกายภาพทางการเรียน กับผูปกครอง (X18) ( X19) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู( X20) และ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน( X21) 3.องคประกอบที่ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรม การทะเลาะวิ ว าทของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นขนอม มี 15 พิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช องคประกอบ ไดแก เพศชาย ( X1) เพศหญิง ( X2) อายุ ( X3) ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 4 ( X4) ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 5 ( X5) ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่6(X6) อาชีพ ของผูปกครอง: ขา ราชการพนัก งานรัฐวิ สาหกิจ(X7 ) อาชีพของ อาชีพของผูปกครอง: เกษตรกรรม( X8) อาชีพของ ผูปกครอง: คาขาย หรือธุรกิจสวนตัว( X9) ผูปกครอง: รับจาง ( X10) สถานภาพสมรสของบิดามารดา: บิดามารดาอยูดวยกัน ( X11) สถานภาพสมรสของบิดา มารดา: บิดามารดาแยกกันอยู ( X12) สถานภาพสมรสของ

149

บิดามารดา: บิดามารดาถึงแกกรรม ( X13) ฐานะทาง เศรษฐกิจของครอบครัว ( X14) และ บุคลิกภาพ ( X15) 4. องคประกอบที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการ ทะเลาะวิวาทของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 มี 3 องคประกอบโดยเรียงลําดับจาก องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลมากที่ สุ ด ไปหาองค ป ระกอบที่ มี อิทธิพลนอยที่สุด ไดแก สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ เพื่อน (X21) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู(X20) และ ซึ่งองคประกอบทั้ง 3 องคประกอบ บุคลิกภาพ (X15) สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวนพฤติกรรมการทะเลาะ วิวาทของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอ ขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ไดรอยละ 39.10 5. สมการพยากรณพฤติกรรมการทะเลาะ วิ ว าทของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นขนอมพิ ท ยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช มีดังนี้ 5.1 สมการพยากรณพฤติกรรมการ ทะเลาะวิ ว าทของนั ก เรีย นช ว งชั้น ที่ 4 โรงเรี ย น ขนอม พิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ในรูปคะแนน ดิบ ไดแก Ŷ = 4.772 - .569 X21 - .336 X20 + .244 X15 5.2 สมการพยากรณพฤติกรรมการ ทะเลาะวิวาทของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียน ขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ในรูปคะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = -.498 X21 - .205 X20 + .147 X15 The purposes of this research were to study factors affecting conduct behavior of a fourth level, secondary grades 4 – 6 students at Khanompittaya School in Khanom District, Nakhonsrithammarat Province. The factors were divided into 3 dimensions , the first factor was personal factor : gender, age, class level , personality , mental health and emotional intelligence , the second factor was family factor : guardian’s career guardian’s marital status , guardian’s


150

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

economic level and interpersonal relationship between students and their guardian and the third factors was learning environment factor : physical learning environment, interpersonal relationship between students and their teachers and interpersonal relationship between students and their peer groups. The samples 188 in leveled: 68 males and 120 females of the fourth level, secondary grades 4 – 6 students at Khanompittaya School in Khanom District, Nakhonsrithammarat Province in academic year 2006. The instrument was a questionnaire of factors affecting conduct behavior . The data analyzed by The Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results of the study were as follows : 1. There was significantly positive correlation between conduct behavior and 1 factor : mental health (X16) at .05 level.of the fourth level, secondary grades 4 – 6 students at Khanompittaya School in Khanom District, Nakhonsrithammarat Province. 2. There were significantly negative correlation among conduct behavior and 5 factors : emotional intelligence ( X17 ), interpersonal relationship between students and their guardian (X18) , physical learning environment ( X19) , interpersonal relationship between students and their teachers ( X20) and interpersonal relationship between students and their peer groups ( X21) at .01 level .of the fourth level, secondary grades 4 – 6 students at Khanompittaya School in Khanom District, Nakhonsrithammarat Province. 3. There were no significantly correlation among conduct behavior and 15

factors : male ( X1) , female ( X2) ,age ( X3) ,class level : matthayom suksa IV ( X4), class level : matthayom suksa V ( X5), class level : matthayom suksa VI( X6), : guardian’s career ; officer (X7), guardian’s career ; agriculturer ( X8), guardian’s career ; personal business ( X9) , guardian’s career ; employee ( X10), guardian’s marital status : couple ( X11) , guardian’s marital status : seperated ( X12), guardian’s marital status : dead ( X13) , guardian’s of economic level ( X14) and personality ( X15) the fourth level, secondary grades 4 – 6 students at Khanompittaya School in Khanom District, Nakhonsrithammarat Province. 4. There were 3 factors significantly affected conduct behavior of the fourth level, secondary grades 4 – 6 students at Khanompittaya School in Khanom District, Nakhonsrithammarat Province at .01 level, ranking from the most affecters to the least affecters were as follows : interpersonal relationship between students and their peer groups ( X21) , interpersonal relationship between students and their teachers ( X20) and personality (X15).These 3 factors could predicted conduct behavior of The Fourth Level, Secondary Grades 4 – 6 Students at Khanompittaya School in Khanom District, Nakhonsrithammarat Province about percentage of 39.10. 5. The predicted equation of conduct behavior of the fourth level, secondary grades 4 – 6 students at Khanompittaya School in Khanom District, Nakhonsrithammarat Province at .01 level were as follows : 5.1 In terms of raw scores were : Ŷ = 4.772 - .569 X21 - .336 X20 + .244 X15 5.2 In terms of standard scores were : Z = -.498 X21 - .205 X20 + .147 X15


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ความสําคัญ ในศตวรรษที่ 20 โลกไดเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น อย า งรวดเร็ ว ทั้ ง ทางด า นเศรษฐกิ จ สั ง คม การเมื อ ง สภาพแวดลอมตลอดจนเทคโนโลยีตาง ๆ ซึ่งรวมถึงประเทศ ไทยดวยที่มีการเปลี่ยนแปลงไปสูความทันสมัยทําใหสภาพ สังคมในปจจุบัน มี แตความแกงแยงแข็งขันเพื่อความเปน หนึ่ ง และจากการเปลี่ ย นแปลงดั ง กล า วจึ ง ก อ ให เ กิ ด ผลกระทบตอวิถีชีวิตของบุคคลเยาวชนในสังคมโดยเฉพาะ อยางยิ่งปญหา ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่ถือ ได ว า เปน ทรัพ ยากรบุ ค คลที่ มีค า ต อ การพัฒ นาประเทศ ที่ กําลังอยูในชวงวัยรุน ซึ่งพบแนวโนมวาจะปฏิบัติตนขัดตอ ระเบี ย บข อ บั ง คั บ ต า งๆ ของโรงเรี ย นและขั ด ต อ ประเพณี วั ฒ นธรรมอั น ดี ง ามของสั ง คมไทย ดั ง จะเห็ น ได จ ากสื่ อ โทรทัศน วิทยุ และหนังสือพิมพ พบวาเด็กวัยรุนมีพฤติกรรม กอการทะเลาะวิวาท ทํารายรางกาย ใชภาษาถอยคําที่รุนแรง ใช ภ าษาท า ทางที่ ไ ม เ หมาะสม ทํ า ผิ ด กฎหมาย ป ญ หา ดังกลาวที่เกิดขึ้นจึงเปนปญหาที่ควรศึกษาเปนอยางยิ่ง พฤติ ก รรมการทะเลาะวิ ว าทเป น ป ญ หาสั ง คม ป ญ หาหนึ่ ง ที่ กํ า ลั ง ขยายตั ว อย า งรวดเร็ ว ทั้ ง ใน กรุงเทพมหานครและตางจังหวัด พฤติกรรมการทะเลาะวิวาท ของนักเรียนเปนพฤติกรรมที่รุนแรงมาก (ออมเดือน สดมณี. 2547 :48 )กอใหเกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคม กลาวคือ พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของนักเรียน ยอมทํา ใหเกิดความสูญเสียทรัพยสิน ตลอดจนชีวิตและรางกาย ฝ า ฝ น กฎระเบี ย บบ า นเมื อ ง เป น ภาระของสั ง คม บิ ด า มารดาตองเสียเวลาในการประกอบอาชีพ ครู อาจารยตอง เสี ย เวลาในการสอน สิ้ น เปลื อ งกํ า ลั ง เจ า หน า ที่ แ ละ งบประมาณ สําหรับนักเรียนที่มีพฤติกรรมทะเลาะวิวาทเองก็ ถู ก ลงโทษตั้ ง แต ตั ด คะแนนความประพฤติ พั ก การเรี ย น จนถึ ง ขั้ น ไล อ อก ถึ ง แม ว า แต ล ะสถาบั น จะมี บ ทลงโทษ นักเรียนที่มีพฤติกรรมทะเลาะวิวาทถึงขั้นไลออกแลวก็ตาม แตก็ยังคงมีนักเรียนกอการทะเลาะวิวาทอยูเสมอ ซึ่งความ รุ น แรงของการทะเลาะวิ ว าทก็ มี ตั้ ง แต ก ารพู ด จาโต เ ถี ย ง ทะเลาะกัน จนถึงใชอาวุธทํารายรางกายกันทําใหทรัพยสิน ของสถาบันและบุคคลเสียหายมีผูบาดเจ็บเล็กนอยบาดเจ็บ สาหัสและเสียชีวิต (จิราภรณ อํานาจเถลิงศักดิ์.2540:1)

151

ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาองคประกอบที่มีอิทธิพลตอ พฤติ ก รรมการทะเลาะวิว าทของนัก เรี ยนระดั บ ช ว งชั้น ที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1.เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางองคประกอบ ดานสวนตัว ดานครอบครัว และดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียน กั บ พฤติ ก รรมการทะเลาะวิ ว าทของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 2.เพื่ อ ศึ ก ษาองค ป ระกอบด า นส ว นตั ว ด า น ครอบครัว และดา นสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ที่มีอิท ธิพลตอ พฤติ ก รรมการทะเลาะวิ ว าทของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 ใน โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.เพื่อสรางสมการพยากรณพฤติกรรมการทะเลาะ วิวาทของนักเรียนชวงชั้น ที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ขอบเขตของการศึกษาคนควา ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาชวงชั้นที่ 4 ซึ่งกําลังศึกษาอยูในโรงเรียนขนอม พิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ปการศึกษา 2549 จํานวน 188 คน เปนนักเรียนชาย 68 คน และเปน นักเรียนหญิง 120 คน ซึ่งใชเปนกลุมตัวอยางทั้งหมด วิธีการดําเนินการวิจัย ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาชวงชั้นที่ 4 ซึ่งกําลังศึกษาอยูในโรงเรียนขน อมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ปการศึกษา พ.ศ. 2549 จํานวน 188 คน เปนนักเรียนชาย 68 คน และ เปนนักเรียนหญิง 120 คน ซึ่งใชเปนกลุมตัวอยางทั้งหมด เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาค น คว า ได แ ก แบบสอบถาม องคประกอบที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของ นั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นขนอมพิ ท ยา อํ า เภอ ขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน และการ วิเคราะหการถดถอยพหุคูณ โ ด ย ก า ร ใ ช แ บ บ ส อ บ ถ า ม แ บ บ ส อ บ ถ า ม องคประกอบที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการทะเลาะวิวาท ของ นั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นขนอมพิ ท ยา อํ า เภอขนอม


152

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งแบงออกเปน 9 ตอน ไดแก แบบสอบถามขอมูลสวนตัว แบบสอบถามบุคลิกภาพ มีคา ความเชื่อมั่น .8937 แบบคัดกรองสุขภาพจิต Thai GHQ แบบประเมิ น ความฉลาดทางอารมณ แบบสอบถาม สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับผูปกครองมีคาความเชื่อมั่น.9400 แบบสอบถามลั ก ษณะกายภาพทางการเรี ย นมี ค า ความ เชื่อมั่น.8592 แบบสอบถามสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ ครูมีคาความเชื่อมั่น .9154 แบบสอบถามสัมพันธภาพ ระหวางนักเรียนกับเพื่อน มีคาความเชื่อมั่น.7813 แบบสอบถาม พฤติกรรมการทะเลาะวิวาท มีคาความเชื่อมั่น.9575 สมมติฐานในการศึกษาคนควา 1.องคประกอบดานสวนตัว องคประกอบดาน ครอบครัว และองคประกอบดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียนขน อมพิทยา มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของ นั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นขนอมพิ ท ยา อํ า เภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. องค ป ระกอบด า นส ว นตั ว องค ป ระกอบด า น ครอบครัว และองคประกอบดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียนขน อมพิ ท ยามี อิ ท ธิ พ ลต อ พฤติ ก รรมการทะเลาะวิ ว าทของ นั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นขนอมพิ ท ยา อํ า เภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัย 1. องค ป ระกอบที่ มีความสัม พัน ธ ท างบวกกั บ พฤติ ก รรมการทะเลาะวิ ว าท ของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา ไดแก สุขภาพจิต ( X16) นักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียน ขนอมพิทยา มีสุขภาพจิตดี ทําให มีพฤติกรรมการทะเลาะ วิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ นักเรียนที่มีสุขภาพจิตดี จะมีรางกาย ที่สมบรูณแข็งแรง ราเริง ปฏิบัติตนไดอยางถูกตองตามกาลเทศะ สามารถแกปญหา สามารถปรับตัวและปรับจิตใจไดอยาง เหมาะสมกับสังคม และสภาพแวดลอมที่เปนจริง ยอมรับผล ที่เกิดขึ้นสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางมีความสุข 2. องคประกอบที่มีความสัมพันธทางลบกับพฤติกรรมการ ทะเลาะวิว าท ของนัก เรี ยนชว งชั้ น ที่ 4 โรงเรี ย นขนอม พิทยา มี 5 องคประกอบ ไดแก

ความฉลาดทางอารมณ ( X17) นักเรียนที่มี ความฉลาดทางอารมณเหมาะสม มีพฤติกรรมการทะเลาะ วิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ ความฉลาดทางอารมณ ชวยใหคน มองโลกในแง ดี มี ค วามสุ ข สามารถควบคุ ม ตนเองและ แสดงออกไดอยา งเหมาะสม มีสติที่สามารถรั บ รูวา ขณะนี้ กําลังทําอะไรอยู สามารถอดทนอดกลั้นตอสภาพตางๆ ที่ เกิดขึ้น สัม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ผู ป กครอง (X18) นักเรียนที่มีสัมพันธภาพกับผูปกครองดี มีพฤติกรรม การทะเลาะวิ ว าทน อ ย ทั้ ง นี้ เ พราะ การที่ นั ก เรี ย นมี สัมพันธภาพที่ดีในครอบครัวเกิดจากการที่บุคคลในครอบครัว ให ค วามรั ก ความห ว งใย ความเข า ใจซึ่ ง กั น และกั น เมื่ อ ประสบปญหาก็หันหนาเขาปรึกษากัน บิดามารดา เปนบุคคล สํา คัญ ที่เ ด็ก รัก และเคารพเชื่ อ ฟ ง ดั ง นั้ น ถ า บิ ด ามารดามี เวลาในการอบรมขัดเกลานิสัยเด็ก ใหความรักความอบอุน คอยดูแลและใหความชวยเหลือ เด็กก็จะประพฤติตนในทางที่ ดี ดังนั้น ถานักเรียนที่มีสัมพันธภาพกับผูปกครองดี นักเรียน ก็จะมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ลักษณะกายภาพทางการเรียน( X19) นักเรียน มี พ ฤติ ก รรมการทะเลาะวิ ว าทน อ ย ทั้ ง นี้ เ พราะ อาคาร สถานที่ รวมทั้ ง ตั ว อาคาร สื่ อ อุ ป กรณ ก ารเรี ย น สนาม ตลอดจนสิ่ ง ก อ สร า งต า งๆ ทางโรงเรี ย นจะต อ ง ดู แ ล บํ า รุ ง รั ก ษา ให ส ามารถอยู ใ นสภาพที่ ดี ใ ช ง านได อ ยู เ สมอ นอกจากนี้ ยั ง ต อ งรั ก ษาความสะอาด ตกแต ง สร า ง บรรยากาศที่ ดี มี สื่ อ อุ ป กรณ ที่ ทั น สมั ย ห อ งเรี ย นมี อ ากาศ ถ า ยเท มี แ สงสว า งเพี ย งพอ ทํ า ให จิ ต ใจและอารมณ ข อง นักเรียน สดชื่นพรอมที่จะเรียนรู เปนการสรางบรรยากาศที่ดี ในการเรียนรูอยางหนึ่ง จึงสงเสริมใหนักเรียนเกิดการเรียนรูที่ดี สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู( X20) นั ก เรี ย นที่ มี สั ม พั น ธภาพกั บ ครู ดี มี พ ฤติ ก รรมการทะเลาะ วิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครูดี ชว ยสง เสริม ใหบรรยากาศการเรียนการสอนดีขึ้น ทํา ใหมี ความเข า ใจซึ่ ง กั น และกั น ครู ส ามารถเข า ใจป ญ หาและ สภาพแวดลอมของนักเรียนดีขึ้น มีผลใหเกิดความเห็น ใจ ความหวงใย และความผูกพันอันแนนแฟน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน( X21) นักเรียนที่มีสัมพันธภาพกับเพื่อนดี มีพฤติกรรมการทะเลาะ วิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ การที่นักเรียนมีสัมพันธภาพที่ดีกับ เพื่อนทําใหเกิดความสัมพันธที่ดีตอ กัน ดวยการชวยเหลือ พึ่งพาซึ่งกันและกัน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน การ หวงใยใกลชิดสนิทสนมซึ่งกันและกัน การทํากิจกรรมตาง ๆ รวมกันในกลุมเพื่อนเพื่อใหเกิดความสําเร็จ ทําใหนักเรียน และเพื่ อ นมี ก ารอนุ เ คราะห ช ว ยเหลื อ กั น เมื่ อ มี ป ญ หาก็ ปรึกษา หาทางแกไข ทําใหมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทต่ํา 3.องค ป ระกอบที่ ไ ม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ พฤติ ก รรมการ ทะเลาะวิวาทของนักเรียนชวงชั้นที่4 โรงเรียนขนอมพิทยา มี 15 องคประกอบ ไดแก เพศชาย ( X1) นักเรียนชายบางคน มีพฤติกรรม การทะเลาะวิวาทมาก ทั้งนี้เพราะจากวัฒนธรรมที่สืบทอดกัน มาสอนใหเพศชายตองเขมแข็งและมีความหนักแนน เปนเพศ ที่ ก ล า คิ ด กล า ทํ า โลดโผนและชอบความท า ทาย เมื่ อ นักเรียนมีปญหา หรือไมสนใจในการเรียน ก็จะทําใหนักเรียน ชายบางคน ไมตั้งใจเรียน ไมมีสมาธิในการเรียน ไมสามารถ ควบคุมตนเองไดเมื่อมีสิ่งเรามากระทบ ทําใหนักเรียนชาย บางคนแกปญหาโดยการ ใชแรงกายหรือกําลังอาวุธเขาทํา รายรางกาย หรือใชถอยคําที่ทําใหผูอื่นไดรับความเจ็บปวด ทางใจการพูดหยาบคาย พูดลอเลียน ลักษณะดังกลาวจึงทํา ใหนักเรียนชายบางคนมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทมาก นัก เรี ย นชายบางคน มี พ ฤติ ก รรมการทะเลาะ วิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ นักเรียนชายบางคน ไดรับการอบรม เลี้ยงดู ไดรับความรักความอบอุนจากผูปกครอง มีแบบอยาง ที่ดีในการประพฤติตน นักเรียนจึงตั้งใจเรียนมีสมาธิในการ เรียน สามารถควบคุมตนเองไดเมื่อมีสิ่งเรามากระทบ จึงทํา ใหนักเรียนชายบางคนมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย เพศหญิง ( X2) นักเรียนหญิงบางคน มีพฤติกรรม การทะเลาะวิวาทมาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียนหญิงบางคน มี อารมณรุนแรง ตองการเปนที่ยอมรับ ตองการเปนผูนําของ กลุม กาวราว มองโลกในแงราย ไมมีเหตุผล ขาดการอบรม เลี้ยงดู ไมไดรับการดูแลเอาใจใสจากผูปกครอง พอแม ผู ป กครองทะเลาะวิ ว าทกั น ให นั ก เรี ย นเห็ น บ อ ยๆ จาก

153

ลักษณะและเหตุการณดังกลาวจึงทําใหนักเรียนหญิงบางคน มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทมาก นั ก เรี ย นหญิ ง บางคน มี พ ฤติ ก รรมการทะเลาะ วิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ นักเรียนหญิงบางคนมองโลกในแงดี มีเหตุผล มีมนุษยสัมพันธดี มีวินยั ไมกาวราว มีสุขภาพจิตดี รูจักการแกปญหาที่ถูกตอง มีความรับผิดชอบ พึงพอใจใน ชีวิต ไดรับการดูแลเอาใจใสจากผูปกครอง จึงทําใหนักเรียน หญิงบางคนมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 4 ( X4) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 บางคนมีพฤติกรรมการ ทะเลาะวิวาทมาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 บางคน ยายมาจากโรงเรียนอื่นจึงยังไมสามารถปรับตัวเขา กับโรงเรียนใหมเพื่อนใหมได มีอารมณรุนแรง ตองการเปน ที่ยอมรับ ตองการเปนผูนําของกลุม กาวราว มองโลกในแง ราย ไมมีเหตุผล ไมยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ขาด การอบรมเลี้ยงดู ไมไดรับการดูแลเอาใจใสจากผูปกครอง จึงทําใหนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 บางคนมีพฤติกรรมการ ทะเลาะวิวาทมาก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ( X4) บางคนมี พ ฤติ ก รรมการทะเลาะวิ ว าทน อ ย ทั้ ง นี้ เ พราะ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 บางคนมองโลกในแงดี มี เหตุผล มีมนุษยสัมพันธดีสามารถปรับตัวไดดี ยอมรับฟง ความคิดเห็นของผูอื่น ไดรับการดูแลเอาใจใสจากผูปกครอง จึงทําใหนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 บางคนมีพฤติกรรมการ ทะเลาะวิวาทนอย ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่ 5 ( X5) นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ( X5) บางคนมีพฤติกรรมการ ทะเลาะวิวาทมาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 บางคนเบื่อหนายการเรียน รูจักเพื่อนเยอะมากขึ้นรักสนุก ตองการความทาทายจึงอาจจะชวนกันหนีเรียนบาง ไมสนใจ การเรียน รังแกรุนนองบาง มีอารมณรุนแรง ตองการเปนที่ ยอมรับ ตองการเปนผูนําของกลุม กาวราว มองโลกในแง ราย ไมมีเหตุผล ไมยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ขาด การอบรมเลี้ยงดูไมไดรับการดูแลเอาใจใสจากผูปกครอง จึง ทําใหนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 บางคนมีพฤติกรรมการ ทะเลาะวิวาทมาก


154

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ( X5) บางคนมี พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5 บางคนสนใจในการเรียนตั้งใจเรียน มอง โลกในแงดี มีเหตุผล มีมนุษยสัมพันธดี ยอมรับ ฟงความ คิดเห็นของผูอื่น ไดรับการดูแลเอาใจใสจากผูปกครอง ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปที่6(X6)นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 ( X6) บางคนมีพฤติกรรมการทะเลาะ วิวาทมาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 บาง คน ตองการเปนที่ยอมรับ ตองการเปนผูนําของกลุม ถือวา ตัวเองเปนรุนพี่มีอํานาจที่ใหญที่สุด ทุกคนตองเชื่อฟงจึงใช อํานาจในทางที่ผิดในการประพฤติปฎิบัติตนกับรุนนองหรือ เพื่อนๆ มีอารมณรุนแรง กาวราว มองโลกในแงราย ไม มีเหตุผล ไมยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ขาดการอบรม เลี้ยงดู จึงทําใหนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 บางคนมี พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทมาก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ( X6) บางคนมี พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 บางคน สนใจในการเรียนมุงมั่นในการ เรียนเพื่อที่จะเตรียมตัวสอบเอ็นทรานซ มองโลกในแงดี มี เหตุผล มีมนุษยสัมพันธดี มีวินัยไมกาวราว มีสุขภาพจิตดี รูจักการแกปญหาที่ถูกตอง มีความรับผิดชอบ พึงพอใจใน ชี วิ ต ได รั บ การดู แ ลเอาใจใส จ ากผู ป กครอง และเริ่ ม เป น ผูใหญมากขึ้น จึงทําใหนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 บางคน มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย อาชี พ ของผู ป กครอง : ข า ราชการพนั ก งาน รัฐวิสาหกิจ (X7) นักเรียนบางคนที่ผูปกครองรับขาราชการ พนักงานรั ฐวิส าหกิ จ มีพ ฤติก รรมการทะเลาะวิว าทมาก ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองไมรูจักแบงเวลาใหเหมาะสมระหวาง การทํางานและครอบครัว ไมเอาใจใสอบรมดูแลลูก เลี้ยงดู ลูกแบบปลอยปละละเลย หรือเลี้ยงลูกแบบเขมงวด ทําให นักเรียนและครอบครัวไมมีความสุข จึงเห็นวาการใชกําลัง เปนการแกปญหาที่ดีที่สุด ทําใหเกิดพฤติกรรมการทะเลาะ วิวาทมาก นั ก เ รี ยน บา ง คน ที่ อ า ชี พ ข อ ง ผู ป ก ค ร อ ง :รั บ มีพฤติกรรมการ ขาราชการ : พนักงานรัฐวิสาหกิจ (X7) ทะเลาะวิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองรูจักแบงเวลาให

เหมาะสมระหวางการทํางานและครอบครัว เอาใจใสอบรม ดูแลลูกใหความรักความอบอุน รับฟงความคิดเห็นและให คําปรึกษาแกลูกเมื่อลูกขอคําปรึกษา และเปนแบบอยางที่ดี ในการปฎิ บั ติ ต น นั ก เรี ย นจึ ง เห็ น ว า การใช กํ า ลั ง เป น การ แก ป ญ หาที่ ไ ม ถู ก ต อ ง ดั ง นั้ น จึ ง ทํ า ให เ กิ ด พฤติ ก รรมการ ทะเลาะวิวาทนอย อาชีพของผูปกครอง : เกษตรกรรม( X8) นักเรียนบางคนที่ผูปกครองประกอบอาชีพ เกษตรกรรม มี พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทมาก ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองที่ ประกอบอาชีพ เกษตรกรรมบางคน ไมมีเวลาคอยอบรมสั่ง สอน ไมรูจักแบงเวลาใหเหมาะสมระหวางการทํางานและ ครอบครัว ไมเอาใจใสอบรมดูแลลูก เลี้ยงดูลูกแบบปลอย ปละละเลย หรือ เลี้ย งลู ก แบบเข ม งวด ทํา ใหนั ก เรีย นและ ครอบครัวไมมีความสุข เด็กใชเวลาสวนใหญกับเพื่อน ไมมี ใครคอยตั ก เตื อ นชี้ แ นะ จึ ง เห็ น ว า การใช กํ า ลั ง เป น การ แกปญหาที่ดีที่สุด จึงทําใหเกิดพฤติกรรมการทะเลาะวิวาท มาก นั ก เรี ย นบางคนที่ ผู ป กครองประกอบอาชี พ เกษตรกรรม ( X8) มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ทั้งนี้ เพราะ ผูปกครองที่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม บางคน มี เวลาคอยวากลาวตักเตือน คอยชี้แนะวาสิ่งใดควรทําสิ่งใดไม ควรทํา และผูปกครองก็เปนแบบอยางที่ดีในการปฎิบัติตน อีกทั้ง นัก เรี ย นเองก็ ตอ งชว ยเหลือ ผูป กครองในการทํา งาน ดังนั้นจึงทําใหนักเรียน บางคนมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาท นอย อาชี พ ของผู ป กครอง :ค า ขาย หรื อ ธุ ร กิ จ สวนตัว( X9) นักเรียนบางคนที่ผูปกครองประกอบอาชีพ คาขาย หรือธุรกิจสวนตัว มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทมาก ทั้ ง นี้ เ พราะ ผู ป กครองประกอบอาชี พ ค า ขาย หรื อ ธุ ร กิ จ สวนตัวนั้น ผูปกครองไมรูจักแบงเวลาใหเหมาะสมระหวาง การทํางานและครอบครัว ไมมีเวลาเอาใจใสอบรมดูแลลูก เลี้ยงดูลูกแบบปลอยปละละเลย หรือเลี้ยงลูกแบบเขมงวด ทําใหนักเรียนและครอบครัวไมมีความสุข เด็กใชเวลาสวน ใหญกับเพื่อน ไมมีใครคอยตักเตือนชี้แนะ จึงเห็นวาการใช กํ า ลั ง เป น การแก ป ญ หาที่ ดี ที่ สุ ด ทํ า ให เ กิ ด พฤติ ก รรมการ ทะเลาะวิวาทมาก


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 นักเรีย นบางคนที่ผูป กครองประกอบอาชี พ คาขาย หรือธุรกิจสวนตัว ( X9) มีพฤติกรรมการทะเลาะ วิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองรูจักแบงเวลาใหเหมาะสม ระหวางการทํางานและครอบครัว มีเวลาใหลูกหลาน เอา ใจใส อ บรมดู แ ลลู ก ให ค วามรั ก ความอบอุ น รั บ ฟ ง ความ คิดเห็นและใหคําปรึกษาแกลูกเมื่อลูกขอคําปรึกษา จึงเห็น ว า การใช กํ า ลั ง เป น การแก ป ญ หาที่ ไ ม ถู ก ต อ ง ทํ า ให เ กิ ด พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย อาชีพของผูปกครอง :รับจาง ( X10) ) ไมมี ความสัมพันธกับพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของนักเรียน ชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัด แสดงวา นักเรียนบางคนที่ผูปกครอง นครศรีธรรมราช ประกอบ อาชีพรับจาง มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทมาก ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองที่ประกอบอาชีพรับจางตองใชแรงงาน ในการทํางานหาเงิน จึงทําใหไมมีเวลาใหกับบุตรหลาน ไมมี เวลาคอยวากลาวตักเตือน อบรมสั่งสอน หรือไมเอาใจใส ดูแลบุตรหลาน ปลอยปละละเลย ไมสนใจในความเปนอยู นักเรียนจึงไมรูวาสิ่งใดควรทําสิ่งใดไมควรทํา ทําใหนักเรียน เป น เด็ ก มี ป ญ หา ใช กํ า ลั ง ในการแก ไ ขป ญ หา จึ ง ทํ า ให มี พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทมาก นักเรีย นบางคนที่ผูป กครองประกอบอาชี พ รับจาง( X10) มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองที่ประกอบอาชีพรับจาง แบงเวลาใหกับลูก เอาใจ ใสอบรมดูแลบุตรหลาน ใหความรักความอบอุน รับฟงความ คิดเห็นและใหคําปรึกษาแกบุตรหลานเมื่อขอคําปรึกษา ได ใกล ชิ ด กั บ บุ ต รหลาน ทํ า ให เ กิ ด สั ม พั น ธภาพที่ ดี ต อ กั น ใน ครอบครัว ทําใหนักเรียนมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย สถานภาพสมรสของบิ ดามารดา:บิดามารดา อยูดวยกัน ( X11) นักเรียนที่มีสถานภาพสมรสของบิดา มารดา:บิ ด ามารดาอยู ด ว ยกั น มี พ ฤติ ก รรมการทะเลาะ วิ ว าทมาก ทั้ง นี้เ พราะ บางครอบครัว ไม มีค วามอบอุ น บิดามารดามีการทะเลาะกันบอยครั้ง นักเรียนเห็นเปนแบบอยาง ทําใหนักเรียนเกิดความเครียด ไมมีความสุข และนักเรียนทํา ตัวเปนเด็กมีปญหา ทําใหมีพฤติกรรมการทะเลาะมาก นักเรียนบางคนที่มีสถานภาพสมรสของบิดา มารดา:บิดามารดาอยูดวย (X11) มีพฤติกรรมการทะเลาะ

155

วิวาทนอย ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่มีสถานถาพของครอบครัว: บิดามารดาอยูดวย นักเรียนจะมีครอบครัวที่มีความรักความ อบอุน มีสมาชิกในครอบครัวพรอมหนาพรอมตา สมาชิกใน ครอบครัวมีความสัมพันธที่ดีตอกัน มีความผูกพันใกลชิดจาก สมาชิกในครอบครัว มีการอบรมเลี้ยงดูบุตรหลานที่ถูกตองก็ จะทําใหมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย สถานภาพสมรสของบิดามารดา: บิดามารดา แยกกันอยู ( X12) นักเรียนที่มีสถานภาพสมรสของบิดา มารดา: บิดามารดาแยกกันอยู มีพฤติกรรมการทะเลาะ วิวาทมาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียนที่มีสถานภาพสมรสของบิดา มารดา:บิดามารดาแยกกันอยู ทําใหนักเรียนรูสึกมีปมดอย ขาดความรั ก ความอบอุ น ในครอบครั ว และไม มี ใ ครคอย แนะนํา แนวทางที่ถู กตอ งในการแก ปญ หา จึง คิ ดวา การใช กําลังเปนการแกปญหาที่ดีที่สุด ทําใหนักเรียนมีพฤติกรรม การทะเลาะวิวาทมาก นักเรียนบางคนที่มี บิดามารดาแยกกันอยู ( X12) มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่ มีส ถานภาพสมรสของบิ ด ามารดา:บิ ด ามารดาแยกกั น อยู ถึงแมจะเปนครอบครัวที่ไมสมบรูณแตเมื่อบิดาหรือมารดา เอาใจใสดูแล อบรม สั่งสอน ชี้แนะบุตรหลานไปในทางที่ ถู ก ต อ งนั ก เรี ย นก็ จ ะสามารถประพฤติ ต นไปในทางที่ ดี ที่ ถูกตอง ทําใหมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย สถานภาพสมรสของบิดามารดา: บิดา มารดาถึงแกกรรม ( X13) นักเรียนที่มีสถานภาพสมรสของ บิดามารดา: บิดามารดาถึงแกกรรม มีพฤติกรรมการทะเลาะ วิวาทมาก ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่มีสถานภาพสมรสของบิดา มารดา:บิดามารดาถึงแกกรรมบางครอบครัว นักเรียนจะขาด ความรักความอบอุนไมมีใครคอยชี้แนะหรืออบรมสั่งสอน ไม มีตัวแบบในการที่จะแสดงพฤติกรรม มี ป มด อ ยจากการ สู ญ เสี ย บิ ด าหรื อ มารดาทํ า ให นั ก เรี ย นรู สึ ก ไม มี ค วามสุ ข ตองการการยอมรับของกลุมเพื่อน จึงแสดงออกมาโดยการ กาวราว นักเรียนบางคนที่บิดามารดาถึงแกกรรม ( X13) มี พฤติ ก รรมการทะเลาะวิ ว าทน อ ย ทั้ ง นี้ เ พราะนั ก เรี ย นที่ มี สถานภาพสมรสของบิดามารดา:บิดามารดาถึงแกกรรมบาง ครอบครัว บิดามารดาที่เหลืออยูสามารถทําหนาที่ไดอยาง


156

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

สมบรู ณ ไม ทํ า ให นั ก เรี ย นเกิ ด ความรู สึ ก เป น ปมด อ ย สามารถเลี้ยงดูบุตรไดอยางมีคุณภาพ นักเรียนจึงมีความสุข และรูวาสิ่งใดควรทําสิ่งใดไมควรทํา จึงทําใหมีพฤติกรรมการ ทะเลาะวิวาทนอย ฐานะทางเศรษฐกิจในครอบครัว ( X14)นักเรียน บางคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวสูง อาจจะเลี้ยง ลูกดวยการตามใจ ผูปกครองไมมีเวลาในการอบรมสั่งสอน ชี้แนะสิ่งที่ถูกที่ควร สนใจแตการทํางานหาเงินใหแกนักเรียน เพียงอยางเดียว นักเรียนขาดความรักความอบอุน นักเรียนบางคนที่ผูปกครองมีฐานะทางเศรษฐกิจ ของครอบครัว สูง มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ทั้งนี้ เพราะ นักเรียนบางคนที่ผูปกครองมีฐานะทางเศรษฐกิจของ ครอบครัวสูง มีฐานะความเปนอยูที่ดี ผูปกครองมีเวลาใน การอบรมสั่งสอนชี้แนะสิ่งที่ถูกที่ควร นักเรียนมีความสุข ก็ ทําใหนักเรียนมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย นั ก เรี ย นบางคนที่ ผู ป กครองที่ มี ฐ านะทาง เศรษฐกิจของครอบครัวต่ํา มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาท มาก ทั้งนี้เพราะ ผูปกครองที่มีฐานะทางเศรษฐกิจของ ครอบครัวต่ําสวนใหญไดรับการศึกษาไมสูงมากนัก สนใจใน การทํางานเพื่อหาเงินมาเลี้ยงครอบครัวและตองทํางานอยาง หนัก จึงไมมีเวลาในการอบรมเลี้ยงดูบุตรหลานใหประพฤติ ตนไปในทางที่ ถู ก ต อ ง และส ว นใหญ จ ะอาศั ย อยู ใ น สภาพแวดล อ มที่ ไ ม ดี เห็ น ตั ว อย า งที่ ไ ม เ หมาะสม ซึ่ ง สิ่ ง เหลานี้จะเปนองคประกอบที่สงผลตอพฤติกรรมการกรรม ทะเลาะวิวาทของเด็กมากขึ้น นั ก เรี ย นบางคนที่ ผู ป กครองที่ มี ฐ านะทาง เศรษฐกิจของครอบครัวต่ํามีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ นักเรียนที่มีผูปกครองที่มีฐานะทางเศรษฐกิจของ ครอบครั ว ต่ํ า บางคน เป น นั ก เรี ย นที่ มี ค วามประพฤติ ดี มี จิตสํานึก รูและเขาใจวามีฐานะความเปนอยูที่ลําบากอยูแลว เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจของครอบครัว นักเรียนที่มีความรัก ดี รักครอบครัวจึงไมอยากที่จะหาเรื่องหนักอกหนักใจ เขามา เปนปญหาในครอบครัวอีก ซึ่งสิ่งเหลานี้จะเปนองคประกอบ ที่มีอิทธิพลใหเกิดพฤติกรรมการกรรมทะเลาะวิวาทนอย นักเรียนบางคนที่มี บุคลิกภาพ ( X15) บุคลิกภาพแบบแสดงตัว มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทมาก

ทั้งนี้เพราะ นักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบแสดงตัว เปนบุคคล ที่สนใจโลกภายนอก เปนบุคลิกภาพที่ชอบเขาสังคม เปดเผย ชอบกิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหว ชอบเป น ผูนํ า อารมณไ ม คงที่เปลี่ยนแปลงไดบอย ไมคอยมีเหตุผล ซึ่งสิ่งเหลานี้จะเปน องคประกอบที่อิทธิพลใหมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทมาก นักเรียนบางคนที่มีบุคลิกภาพแบบแสดงตัวบาง คน มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ นักเรียน ที่มีบุคลิกภาพแบบแสดงตัวบางคนแมจะมีความเชื่ออยูบน รากฐานของความจริง มีอุปนิสัยที่อาจจะเปลี่ยนแปลงไปได ตามความเหมาะสม พรอมที่จะเปลี่ยนไปตามสถานการณ ใหม ๆ อยู เ สมอแต ก็ ส ามารถปรั บ ตั ว ให เ ข า ได กั บ ทุ ก สถานการณได ก็จะทําใหมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย นักเรียนบางคนที่มีบุคลิกภาพแบบเก็บตัวบางคน มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทมาก ทั้งนี้เพราะ นักเรียนที่มี บุ ค ลิ ก ภาพแบบเก็ บ ตั ว จะไม มี ก ารยื ด หยุ น อะลุ ม อล ว ย ตั ด สิ น ใจโดยใช ต นเองเป น หลั ก ซึ่ ง สิ่ ง เหล า นี้ จ ะเป น องคประกอบที่อิทธิพลใหมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทมาก นักเรียนบางคนที่มีบุคลิกภาพแบบเก็บตัวบางคน มีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ สนใจแตเรื่อง ของตนเองเปนสําคัญ เก็บความรูสึกไมคอยแสดงออก มีการ วางแผนในการทํางาน อารมณคอนขางคงที่ สิ่งเหลานี้จะเปน องคประกอบที่มีอิทธิพลใหมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย 4. องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ พฤติ ก รรมการ ทะเลาะวิวาทของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียน ขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช อยางมีนัยสําคัญทาง สถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 มี 3 องค ป ระกอบโดยเรี ย งลํ า ดั บ จาก องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลมากที่ สุ ด ไปหาองค ป ระกอบที่ มี อิทธิพลนอยที่สุด ไดแก สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน (X21) มีอิทธิพลทางลบตอพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของนักเรียน ชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช เ ป น อั น ดั บ แ ร ก อ ย า ง มี น ั ย สํ า คั ญ ท า ง ส ถิ ต ิ ที่ ร ะ ดั บ . 0 1 แ ส ด ง ว า นั ก เ รี ย น ที่ มี สัมพันธภาพกับ เพื่อนดี ทําใหมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย ทั้งนี้เพราะ การที่ น ัก เ ร ีย น ม ีส ัม พ ั น ธ ภ า พ ที ่ด ีก ับ เ พื ่อ น เ พื ่อ ใ ห เ ก ิด ความสัม พัน ธที่ดีตอกัน ดวยการชวยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและ


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 กัน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน การหวงใยใกลชิดสนิท สนมซึ่ ง กั นและกั น การทํ า กิ จ กรรมตา ง ๆ รว มกั น ในกลุ ม เพื่ อ นเพื่ อ ให เ กิ ด ความสํ าเร็ จ ทํ าให นั กเรี ยนและเพื่ อนมี การ อนุเคราะหชวยเหลือกัน เมื่อมีปญหาก็ปรึกษา หาทางแกไข ทําใหมี พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอย สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู(X20) มี อิทธิพลทางลบตอพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของนักเรียน ชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัด เปนอันดับที่ 2 อยางมีนัยสําคัญทาง นครศรีธรรมราช สถิติที่ระดับ .01 แสดงวา นักเรียนที่มีสัมพันธภาพกับครูดี ทํ า ให มี พ ฤติ ก รรมการทะเลาะวิ ว าทน อ ย ทั้ ง นี้ เ พราะ สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ครู ดี จะช ว ยส ง เสริ ม ให บรรยากาศการเรียนการสอนดีขึ้น ทําใหมีความเขาใจซึ่งกัน และกั น ครู ส ามารถเข า ใจป ญ หาและสภาพแวดล อ มของ นั ก เรี ย นดี ขึ้ น มี ผ ลให เ กิ ด ความเห็ น ใจ ความห ว งใย และความผูกพันอันแนนแฟน บุคลิกภาพ (X15) มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการ ทะเลาะวิวาทของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนขนอมพิทยา อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช เปนอันดับที่ 3 ซึ่งเปน อันดับสุดทาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดง วา นักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบแสดงตัวทําใหมีพฤติกรรม การทะเลาะวิ วาทมาก ทั้ง นี้เพราะนั กเรียนที่มีบุคลิก ภาพ แบบแสดงตั ว มีลั ก ษณะที่ ช อบเข า สั ง คม มีบุ ค ลิ ก ลั ก ษณะ สนใจสิ่งแวดลอมรอบตัว มีเพื่อนมาก ชางพูดชางคุย ไมชอบ การเรียนหรือการทํางานโดยลําพังชอบความสนุกสนาน ตลก ขบขัน มองโลกในแงดี ชอบการเคลื่อนไหวและชอบทําสิ่ง

157

ตา งๆ โดยไม ตอ งมีก ารวางแผนล ว งหนา อาจมีพ ฤติก รรม กาวราว และอารมณเสียงาย ทําใหมีพฤติกรรมการทะเลาะ วิวาทมาก ซึ่งตรงกันขามกับนักเรียนที่มีบุคลิกภาพแบบเก็บ ตัวมีลักษณะที่ เงียบขรึม เชื่อมั่นในความนึกคิดของตนเอง ไม ช อบพบปะพู ด คุ ย กั บ คนอื่ น ยกเวน คนใกล ชิด หรื อ เพื่ อ น สนิ ท ไม ช อบเข า สั ง คม ไม ช อบความตื่ น เต น ใช ชี วิ ต อย า ง เคร ง เครี ย ด มี ร ะเบี ย บแบบแผน ควบคุ ม อารมณ แ ละ ความรู สึ ก ได ดี มี อ ารมณ มั่ น คง โดยปกติ ไม มี พ ฤติ ก รรม ในทางกาวราว ทําใหมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทนอยกวา บุคลิกภาพแบบแสดงตัว ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมี ก ารศึ ก ษาตั ว แปรเพิ่ ม เติ ม ที่ เกี่ย วขอ งกับ พฤติก รรมการทะเลาะวิว าท เชน การอบรม เลี้ยงดู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การเลียนแบบจากตัวแบบ ที่กาวราว เปนตน 2.2 ควรมีการศึกษาองคประกอบที่มีอิทธิพล ตอพฤติกรรมการทะเลาะวิวาท กับนักเรียนในชวงชั้นอื่น ๆ เชน ชวงชั้นที่ 1 ชวงชั้นที่ 2 และชวงชั้นที่ 3 เปนตน 2.3 ควรพัฒ นาองคป ระกอบที่ มี อิท ธิ พ ลต อ พฤติ ก รรมการทะเลาะวิ ว าท ได แ ก สั ม พั น ธภาพระหว า ง นักเรียนกับเพื่อน สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู และ บุคลิกภาพ โดยนําไปทําการทดลองเพื่อพัฒนาองคประกอบ ดังกลา ว ซึ่งจะชวยแกปญ หาพฤติกรรมการทะเลาะวิวาท โดยใชเทคนิคทางจิตวิทยา เชน การปรับพฤติกรรมโดยการ ควบคุมตนเอง การปรับสินไหม กลุมสัมพันธ เปนตน


158

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

บรรณานุกรม การแพทย,กรม.สุขภาพจิต.กรุงเทพฯ : กองสุขภาพจิต กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข, กาญจนา คําสุวรรณ. (2530). จิตวิทยาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : ทวีการพิมพ. คมเพชร ฉัตรศุภกุล และผองพรรณเกิดพิทักษ. 2544.รายงานการวิจัยเรื่องการสรางมาตรา ประเมิ น และปกติ วิ สั ย ของความฉลาดทางอารมณ สํ า หรั บ วั ย รุ น ไทย.ภาควิ ช าการแนะแนวและจิ ต วิ ท ยา การศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จิราภรณ ฐิตะโภคา. (2540). การศึกษาปจจัยบางประการที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมทะเลาะวิวาทของนักเรียนระดับ อาชีวศึกษา ราชบุรี. ปริญญานิพนธ กศ.ม.(จิตวิทยาพัฒนาการ). กรุงเทพฯ: บัณทิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ.ถายเอกสาร. จิราภรณ อํานาจเถลิงศักดิ์. (2540). การศึกษาปจจัยบางประการที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของ นักเรียนระดับอาชีวศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ดวงเดื อน พัน ธุ มนาวิน และเพ็ญแข ประจนปจจนึก. (2535). จริยธรรมของเยาวชนไทย รายงานการวิจัย ฉบับ ที่ 21. กรุงเทพฯ : กรมการศาสนา. ประดินันท อุปรมัย. (2527). จิตวิทยาการสอน. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : วิคตอรี่ เพาเวอรพอยท. วีระ ไชยศรีสุข. (2533). สุขภาพจิต.กรุงเทพฯ :โรงพิมพแสงศิลปการพิมพ. Allman, Lawrence R. and other.(1978) Abnormal – psychology in the Life Eyelet. New York: Harper and Row Pubishers. Bandura,A. (1970). Principles of Behavioral Modification. New York : Holt, Rinehart and Winston. Berkowitz,L. (1965). Advance in Experimental Social Psychology. New York : Academic Press. Bernard, Chester I. (1977). The Function of Executive. Cambridge : Harward University Press. Symond,p.m. (1973). Psychology of Parent – Child Relationship. New York : Appleton Centery Crofts. Inc.


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

159

ปจจัยทีส่ งผลตอแรงจูงใจในการมาเรียนของ นักเรียนชวงชัน้ ที่ 1 โรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย FACTORS AFFECTING LEARNING MOTIVATION OF THE FIRST LEVEL, PRIMARY GRADES 1-3 STUDENTS AT TANAKONSONGKROA SCHOOL IN NONGKHAI PROVINCE ปยะรัตน ดีกลาง 1 ผูชวยศาสตราจารยพรรณรัตน พลอยเลื่อมแสง 2 รองศาสตราจารยเวธนี กรีทอง 2 การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ที่ ส ง ผลต อ แรงจู ง ใจในการมาเรี ย นของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 1 โรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย ปจจัยที่ศึก ษา แบงเปน 3 ปจจัย คือ ปจจัยดานสวนตัว ไดแก เพศ อายุ ระดับชั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บุคลิกภาพ สุขภาพจิต และความศรัทธาตอโรงเรียน ปจจัยดานครอบครัว ไดแก ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว ความคาดหวังของผูปกครอง ในดานการเรียน และระดับการศึกษาของผูปกครอง ปจจัย ดา นสิ่ง แวดลอมทางการเรียน ไดแ ก ลักษณะทางกายภาพ ทางดานการเรียน สัมพันธภาพระหวางครูกับ นักเรียน และ สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน กลุ ม ตั ว อย า งเป น นั ก เรี ย นระดั บ ช ว งชั้ น ที่ 1 โรงเรี ย นธนากรสงเคราะห จั ง หวั ด หนองคาย ป ก ารศึ ก ษา 2549 จํานวน 140 คน เปนนักเรียนชาย 71 คน และ นักเรียนหญิง 69 คน ซึ่งใชเปนตัวอยางทั้งหมด เครื่องมือที่ใช ในการศึก ษาคน ควา ได แ ก แบบสอบถามปจจัย ที่สง ผลต อ แรงจูงใจในการมาเรียนของนักเรียน สถิติที่ใชในการวิเคราะห ขอมูล คือ การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ 1

นิสิตปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2

อาจารยประจําภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


160

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

ผลการศึกษา พบวา 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับแรงจูงใจ ใ น ก า ร ม า เ รีย น ข อ ง นัก เ รีย น ใ น ร ะ ดับ ชว ง ชั ้น ที ่ 1 โรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย มีดังนี้ 1.1 ป จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ แรงจู ง ใจในการมาเรี ย นของนั ก เรี ย นในระดั บ ช ว งชั้ น ที่ 1 โรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปจจัย ไดแก เพศ : ชาย ( X1) 1.2 ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับการ มาเรีย นของนัก เรีย นในระดับ ชว งชั้น ที่ 1 โรงเรีย นธนากร สงเคราะห จังหวัดหนองคาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 มี 5 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น : ประถมศึกษาปที่ 1 ( X4) ความศรัทธาตอโรงเรียน ( X14) ลักษณะทางกายภาพ ทางดานการเรียน ( X16) สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับครู (X17) และสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน ( X18) 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับแรงจูงใจใน การมาเรียนของนักเรียนในระดับชวงชั้น ที่ 1 โรงเรียนธนากร สงเคราะห จังหวัดหนองคาย มีดังนี้ 2.1 ป จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ แรงจู ง ใจในการมาเรี ย นของนั ก เรี ย นในระดั บ ช ว งชั้ น ที่ 1 โรงเรียนธนากรสงเคราะห จัง หวัดหนองคาย อยา งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 2 ปจจัย ไดแก ระดับชั้น : ประถมศึกษาปที่ 2 ( X5) และระดับการศึกษาผูปกครอง : ปริญญาตรีหรือเทียบเทา ( X10) 2.2 ป จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ แรงจู ง ใจในการมาเรี ย นของนั ก เรี ย นในระดั บ ช ว งชั้ น ที่ 1 โรงเรี ย นธนากรสงเคราะห จั ง หวั ด หนองคาย อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 2 ปจจัย ไดแก อายุ ( X3) และระดับชั้น : ประถมศึกษาปที่ 3 ( X6) 3. ปจจัยที่ไมมีความสัมพันธกับแรงจูงใจในการ มาเรียนของนักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 1 โรงเรียนธนากรสง เคราะห จังหวัดหนองคาย มี 7 ปจจัย ไดแก เพศ : หญิง ( X2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน( X7) ฐานะทางเศรษฐกิจของ ครอบครัว( X8) ระดับการศึกษาผูปกครอง : ต่ํากวาปริญญา ตรี( X11) บุคลิกภาพ( X12) สุขภาพจิต( X13) และความ คาดหวังของผูปกครองตอการเรียนของนักเรียน( X15)

4. ปจจัยที่สงผลตอการแรงจูงในการมาเรียนของ นักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 1 โรงเรียน ธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่สุดไปหา น อ ยที่ สุด ไดแ ก ลัก ษณะทางกายภาพทางดา นการเรีย น ( X16) ความศรัทธาตอโรงเรียน ( X14) สัมพันธภาพระหวาง และฐานะทางเศรษฐกิจ ของ นัก เรีย นกับ ครู( X17 ) ครอบครัว ( X8) ซึ่งปจจัยทั้ง 4 ปจจัยนี้ สามารถรวมกัน อธิ บ ายความแปรปรวนการแรงจู ง ใจในการมาเรี ย นของ นักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 1 โรงเรียน ธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย ไดรอยละ 50.90 5. สมการพยากรณแรงจูงใจในการมาเรียนของ นัก เรีย นในระดับ ชว งชั้น ที่ 1 โรงเรี ย น ธนากรสงเคราะห จัง หวัดหนองคาย มีดังนี้ 5.1 สมการพยากรณแรงจูงใจในการมาเรียน ของนั ก เรี ย นในระดั บ ช ว งชั้ น ที่ 1 โรงเรี ย น ธนากรสง เคราะห จังหวัดหนองคาย ในรูปคะแนนดิบ ไดแก Ŷ = .398 + .358X16 + .301X14 + .270X17+.046 X8 5.2 สมการพยากรณแรงจูงใจในการมาเรียน ของนักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 1 โรงเรียน ธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย ในรูปคะแนนมาตรฐาน ไดแก Z = .359X16 + .342 X14 + .255X17+.129 X8 ABSTRACT The purposes of this research were to study the factors affecting learning Motivation of The First level, Primary Grades 1 – 3 Students at Tanakonsongkroa School in Nongkhai Province. The factors were devided into 3 dimensions , first of them was personal factors : gender,age, class level, learning achievement, personality, mental health, and faith of school, second of them was family factors : guardian’s economic level, guardian’s educational expectation and guardian’s educational level and third of them was learning environment factors: physical learning environment, interpersonal relationship between students and their teachers and


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 interpersonal relationship between students and their peer groups. The 140 samples : 71 males and 69 females were the first level, primary grades 1 – 3 students at Tanakonsongkroa School in Nongkhai Province in academic year 2006. The instrument was a questionnaires of factors affecting on the learning motivation of the first level, primary grades 1 – 3 students. The data was analysed by The Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows : 1. There were significantly positive correlation between learning motivation and 18 factor of The First level, Primary Grades 1 – 3 Students at Tanakonsongkroa School in Nongkhai Province were as follows: 1.1 There were significantly positive correlation between learning motivation and 1 factor : males (X1) of The First level, Primary Grades 1 – 3 Students at Tanakonsongkroa School in Nongkhai Province at .05 level. 1.2 There were significantly positive correlation among learning motivation and 5 factors : class level : prathom suksa I (X4), faith of school (X14), physical learning environment (X16), guardian’s educational expectation (X14), physical learning environment (X16), interpersonal relationship between students and their teachers (X17), and interpersonal relationship between students and their peer groups (X18) of The First level, Primary Grades 1 – 3 Students at .01 level . 2. There were significantly negative correlation between learning motivation and 18 factor of The First level, Primary Grades 1 – 3

161

Students at Tanakonsongkroa School in Nongkhai Province were as follows: 2.1 There were significantly negative correlation between learning motivation and 2 factors : class level : prathom suksa II (X5) and guardian’s educational level : bachelor degree (X10) of The First level, Primary Grades 1 – 3 Students at Tanakonsongkroa School in Nongkhai Province at .05 leve.l 2.2 There were significantly negative correlation among learning motivation and 2 factors : age (X3) and class level : prathom suksa III (X6) of The First level, Primary Grades 1 – 3 Students at .01 level . 3. There were no significantly correlation among learning motivation and 7 factors : female (X2), learning achievement (X7), guardian’s economic level (X8), guardian’s educational level : lower bachelor degree (X11), personality (X12) , mental health (X13), and guardian’s educational expectation (X15) of The First level, Primary Grades 1 – 3 Students at Tanakonsongkroa School in Nongkhai Province. 4. There were 4 factors significantly affected learning motivation of The First level, Primary Grades 1 – 3 Students at Tanakonsongkroa School in Nongkhai Province raking from the most affecters to the least affecters were : physical learning environment (X16) , faith of school (X14), interpersonal relationship between students and their teachers (X17) and guardian’s economic level (X8) at .01 level . These 2 factors could predicted learning Motivation of The First level, Primary Grades 1 – 3 Students about percentage of 50.90. 5. The predicted equation of affecting on learning motivation of The First level, Primary


162

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

Grades 1 – 3 Students at Tanakonsongkroa School in Nongkhai Province at .01 level were as follows : 5.5 In terms of raw scores were : Ŷ = .398 + .358X16 + .301X14 + .270X17+.046 X8 5.6 In terms of standard scores were : Z = .359X16 + .342 X14 + .255X17+.129 X8 ความเปนมาและความสําคัญของการวิจัย การศึกษาเปนกระบวนการสําคัญในการพัฒนา คนใหมีคุณภาพ ซึ่งหากคนมีคุณภาพแลวยอมทําใหสังคมมี ความเจริ ญ ก า วหน า การจั ด การศึ ก ษาให ค นมี คุ ณ ภาพ สอดคล อ งกั บ แผนพั ฒ นาแห ง ชาติ ฉบั บ ที่ 8 ที่ ว า การศึกษาเปนพื้นฐานที่สําคัญที่สุดประการหนึ่งในการสราง ใหเกิดความเจริญกาวหนาและสามารถแกไขปญหาตางๆ ใน สังคม ใหการศึกษามีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองและสราง ความกาวหนา (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2539 : 56-57) ในการพัฒนาคนตองพัฒนาอยางรอบดาน และสมดุลเพื่อเปนรากฐานหลักของการพัฒนาอยางยั่งยืน แมวาในสังคมปจจุบันจะเจริญกาวหนา สามารถ เชื่อมโยงกันไดอยางไรพรมแดนและขีดความสามารถของ เทคโนโลยีในอดีตจะไดยกระดับใหดียิ่งก็ตาม แตปรากฏวา ยังคงหลงเหลือความยากจนอยู การกระจายผลประโยชน ยั ง คงมี ค วามเหลื อ มล้ํ า กั น อย า งมาก เช น เดี ย วกั น กั บ การศึ กษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 จัดใหมีการศึกษาภาคบังคับ 9 ป และการศึกษาขั้น พื้นฐาน 12 ป ซึ่งรัฐเปนผูอุดหนุนคาใชจายโดยการใหเรียน ฟรีและมีโครงการอาหารกลางวันให แตอยางไรก็ตามในการ มาโรงเรียนตองประกอบดวยปจจัยอื่นๆ อีกจํานวนมาก เชน คาใชจายในการเดินทาง คาใชจายเกี่ยวกับอุปกรณการเรียน เครื่องแตงกาย เปนตน ปจจัยเหลานี้ในบางคนอาจจะถือ เปนเงินจํานวนนอยนิด แตในบุคคลอีกระดับหนึ่งซึ่งเปนคน สว นใหญ ใ นสังคม เชน คนที่ห าเชา กิ น ค่ํ า ไดคา แรงขั้น ต่ํ า คนเหลานั้นจะเห็นเงินจํานวนนี้เปนเงินจํานวนมาก ดวยเหตุ นี้ เ ด็ ก ที่ อ ยู ใ นครอบครั ว เช น นี้ จึ ง ขาดแรงกระตุ น ให อ ยากรู อยากเห็นและสนใจในการมาโรงเรียนเพื่อศึกษาหาความรู เนื่ อ งมาจากความไม พ ร อ มในหลายๆ ด า น (มาลี จุ ฑ า. 2544 : 151) ดังนั้น การที่โรงเรียนจะไดรับการตอบสนอง

จากนักเรียนจําเปนตองดําเนินการสรางแรงจูงใจตอนักเรียน ใหเกิดความคิดวาตนเองเปนสวนหนึ่งของโรงเรียนและไมคิด วาการมีรายไดนอยของผูปกครองจะเปนปมดอยในการเรียน จนนําไปสูการไมอยากมาโรงเรียนในที่สุด ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยดาน สวนตัว ครอบครัวและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนกับแรงจูงใจใน การมาเรี ย นของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 1 โรงเรี ย นธนากรสง เคราะห จังหวัดหนองคาย 2. เพื่อศึกษาปจจัยดานสวนตัว ครอบครัวและ สิ่งแวดลอมในโรงเรียนที่สงผลตอแรงจูงใจใน การมาเรียน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 1 โรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัด หนองคาย 3. เพื่อสรางสมการพยากรณข องแรงจูง ใจใน การมาเรียนของนักเรียนชวงชั้นที่ 1 โรงเรียน ธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย สมมติฐานในการศึกษาคนควา 1. ปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และดาน สิ่งแวดลอมในโรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ แรงจู ง ใจในการมาเรี ย นของนั ก เรี ย น โรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย 2. ปจจัยดานสวนตัว ดานครอบครัว และดาน สิ่งแวดลอมในโรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย สงผลตอแรงจูงใจในการมาเรียนของนักเรียนโรงเรียนธนากร สงเคราะห จังหวัดหนองคาย วิธีวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาค น คว า เป น นักเรียนชายและนักเรียนหญิงชวงชั้นที่ 1 ของโรงเรียนธนาก รสงเคราะห จังหวัดหนองคาย ปการศึกษา 2549 รวม ทั้งสิ้นจํานวน 141 คน เปนนักเรียนชาย 71 คน และ นักเรียนหญิง 70 คน ซึ่งใชเปนกลุมตัวอยางทั้งหมด สถิติที่ ใชใ นการวิเ คราะห ขอ มูล คือ การวิเ คราะหคา สั ม ประสิท ธิ์ สหสัมพันธของเพียรสัน และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ การหาคุณภาพเครื่องมือ 1.หาความเที่ยงตรงเชิงประจักษ (Face Validity) โดยนําแบบสอบถามที่สรางขึ้นไปใหผูทรงคุณวุฒิ 3 คน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ตรวจสอบหาความเหมาะสมทั้งทางดานเนื้อหา ขอคําถาม และภาษาที่ใชใหสอดคลองกับนิยามศัพทเฉพาะ แลวนํามา ปรับปรุงแกไขกอนนําไปทดลองใช 2. หาคาความเชื่อมั่น ดังนี้ 2.1 หาคาอํานาจจําแนก (Item Discrimination) รายขอ ของแบบสอบถาม โดยผูวิจัยนําแบบสอบถามที่ได ปรับปรุงแกไขแลวไปทดลองใช (Try out) กับนักเรียนชวงชั้น ที่ 1 โรงเรียนบานพราวเหนือ จังหวัดหนองคาย ที่มีลักษณะ ใกลเคียงกับกลุมตัวอยาง จากนั้นจึงนํามาตรวจใหคะแนน ตามเกณฑที่กําหนดเพื่อหาคาอํานาจจําแนกเปนรายขอ โดย ใชเทคนิค 25% กลุมสูง – กลุมต่ํา แลวทดสอบดวย t – test จากนั้นคัดเลือกเฉพาะขอที่คา t ที่มีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 มาเปนแบบสอบถามในการวิจัย 2.2 หาคาความเชื่อมั่น (Reliability) ของ แบบสอบถาม โดยใชเฉพาะขอที่คัดเลือกแลวในขอ 2.1 ไปหา คาความเชื่อมั่น โดยหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (α - Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) สรุปผลการวิเคราะหขอมูล ผลการวิเคราะหขอมูลพบวา 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับแรงจูงใจ ใ น ก า ร ม า เ รี ย น ข อ ง นั ก เ รีย น ใ น ร ะ ดับ ชว ง ชั ้น ที ่ 1 โรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย ไดแก เพศชาย ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ความศรัทธาตอโรงเรียน ลักษณะทางกายภาพทางดานการเรียน สัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับครู และสัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับแรงจูงใจใน การมาเรียนของนักเรียนในระดับชวงชั้น ที่ 1 โรงเรียนธนาก รสงเคราะห จังหวัดหนองคาย ไดแก ระดับชั้นประถมศึกษา ปที่ 2 และระดับ การศึก ษาผู ป กครองปริ ญ ญาตรีห รื อ เทียบเทา อายุ และระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 3. ปจจัยที่ไมมีความสัมพันธกับแรงจูงใจในการ มาเรียนของนักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 1 โรงเรียนธนากรสง เคราะห จั ง หวั ด หนองคาย มี 7 ป จ จั ย ได แ ก เพศหญิ ง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว ระดับการศึกษาผูปกครองต่ํากวาปริญญาตรี บุคลิกภาพ

163

สุขภาพจิต และความคาดหวังของผูปกครองตอการเรียนของ นักเรียน 4. ปจจัยที่สงผลตอการแรงจูงในการมาเรียนของ นักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 1 โรงเรียน ธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่สุดไปหา น อ ยที่ สุ ด ได แ ก ลั ก ษณะทางกายภาพทางด า นการเรี ย น ความศรัทธาตอโรงเรียน สัมพันธภาพระหวางนักเรียนกับ ครู และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว ซึ่งปจจัยทั้ง 4 ประการ สามารถรวมกันอธิบายความแปรปรวนการแรงจูงใจ ในการมาเรียนของนักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 1 โรงเรียนธนากร สงเคราะห จังหวัดหนองคาย ไดรอยละ 50.90 อภิปรายผลการวิจัย 1. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางบวกกับแรงจูงใจใน การมาเรียนของนักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 1 โรงเรียนธนาก รสงเคราะห จังหวัดหนองคาย มีดังนี้ เพศ : ชาย นักเรียนชายมีแรงจูงใจในการ มาเรี ย นมาก ทั้ ง นี้ เ พราะตามธรรมชาติ ข องเพศชายจะมี ความสนุกในการเรียนรูสิ่งใหมๆ อยูเสมอ เพราะถือวาการ เรียนรูสิ่งใหมๆ เปนความทาทายที่เกิดขึ้น ทําใหอยากลอง และมี่ความสนใจในการเรียนรูสิ่งเหลานั้น ระดับชั้น : ประถมศึกษาปที่ 1 มีแรงจูงใจ ในการมาเรียนมาก ทั้งนี้เพราะนักเรียนเห็นความสําคัญของ การเรียน ขยันอานหนังสือและทบทวนบทเรียน วางแผนการ เรี ย น ส ง การบ า นและงานที่ ไ ด รั บ มอบหมายตามเวลาที่ กําหนด เมื่อไมเขาใจบทเรียนกลาที่จะถามครู มีเพื่อนที่ให ความเปนกันเอง มีครูที่เอาใจใสดูแล จึงสงผลใหนักเรียนมี แรงจูงใจในการมาเรียน ความศรัทธาตอโรงเรียน นักเรียนที่มีความ ศรัทธาตอโรงเรียนมาก มีแรงจูงใจในการมาเรียนมาก ทั้งนี้ เพราะความรูสึกที่ดีของนักเรียนที่มีตอโรงเรียน ตออาจารย ผูสอน และตอสภาพแวดลอมของโรงเรียน ยอ มสงผลให นักเรียนปฏิบัติตนไปในแนวโนมที่ถูกตองเหมาะสม ตาม เปาหมายของความคิดและจุดมุงหมาย ลั ก ษณะทางกายภาพทางการเรี ย น นั ก เรี ย นที่ ไ ด รั บ ลั ก ษณะกายภาพทางด า นการเรี ย นดี มี


164

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

แรงจูงใจในการมาเรียนมาก ทั้งนี้เพราะลักษณะกายภาพ ทางด า นการเรี ย นดี หมายถึ ง สิ่ ง ที่ ทํ า ให ก ารเรี ย นของ นักเรี ยนมีป ระสิท ธิภาพในการวิจัยครั้งนี้แ บง เปน 2 ดา น คือ สถานที่เรียน สื่อและวัสดุอุปกรณในการเรียน สถานที่ เรียน ไดแก ขนาดหองเรียนพอเหมาะกับจํานวนนักเรียน ความสะอาดของหองเรียน ความเปนระเบียบของหองเรียน การถ า ยเทอากาศดี มี แ สงสว า งเพียงพอ และปราศจาก เสียงและกลิ่นรบกวน สื่อและวัสดุอุปกรณในการเรียน ได แ ก สื่ อ และอุ ป กรณ ก ารเรี ย น มี ค วามทั น สมั ย และมี คุณภาพในการใชงาน ดังนั้นนักเรียนจึงมีความรูสึกพอใจ สนุกที่จะเรียน สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ครู นักเรียนที่มีสัมพันธภาพดีกับครู มีแรงจูงใจในการมาเรียน มาก ทั้ ง นี้ เ พราะสั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ครู หมายถึง การปฏิบัติของครูตอนักเรียน และการปฏิบัติของ นักเรียนตอครู ทั้งภายในและภายนอกหองเรียน เพื่อใหเกิด ความสัมพันธที่ดี ดังนั้น นักเรียนจึงเกิดแรงจูงใจในการมา เรียน สัมพั นธภาพระหวางนักเรียนกับเพื่อน นั ก เรี ย นที่ มี สั ม พั น ธภาพดี กั บ เพื่ อ น มี แ รงจู ง ใจในการมา เรียนมาก ทั้งนี้เพราะนักเรียนที่มีสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อน มี การเอาใจใสดูแลกันชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน แสดง ความสนใจตอเพื่อน ชวยเหลือแนะนําในดานการเรียน มี การใหเกียรติซึ่งกันและกัน และชวยเหลือกันเมื่อเกิดปญหา 2. ปจจัยที่มีความสัมพันธทางลบกับแรงจูงใจใน การมาเรียนของนักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 1 โรงเรียนธนาก รสงเคราะห จังหวัดหนองคาย ไดแก ระดับชั้น : ประถมศึกษาปที่ 2 นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 มีแรงจูงใจในการมา เรียนนอย ทั้งนี้เพราะ เนื้อหาวิชาเรียน และกิจกรรมภายใน ชั้นเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 มีความยากและ ซับซอนขึ้นเปนลําดับ ซึ่งทําใหนักเรียนไมสามารถทําความ เขาใจในบทเรียนได จนเกิดความทอแท และขาดแรงจูงใจ ในการมาเรียนในที่สุด ระดับการศึกษาผูปกครอง : ปริญญาตรี หรือเทียบเทา นักเรียนที่ผูปกครองจบการศึกษาระดับ ปริญ ญาตรี ห รื อ เที ยบเท า มี แ รงจูง ใจในการมาเรี ยนนอ ย

ทั้ ง นี้ เ พราะในป จ จุ บั น ผู ป กครองที่ มี ก ารศึ ก ษาในระดั บ ปริญญาตรี ตองทํางานเพื่อนําเงินมาเปนคาใชจาย ทําให ผูปกครองไมมีเวลาในการดูแล สนใจบุตรเทาที่ควร ดังนั้น นักเรียนจึงไมไดรับการสนับสนุนและใหกําลังใจอยางเต็มที่ จึงสงผลใหนักเรียนขาดแรงจูงใจในการมาเรียน อายุ นักเรียนที่มีอายุนอย มีแรงจูงใจในการ มาเรี ย นมาก ทั้ ง นี้ เ พราะนั ก เรี ย นที่ มี อ ายุ น อ ยจะมี ค วาม กระตือรือรน สนใจ อยากเรียนรูสิ่งใหมๆ ที่เกิดขึ้นมาก อายุ เป น ส ว นสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให นั ก เรี ย นมี ลั ก ษณะบางประการ แตกตางกัน เชน ดานแรงจูงใจ การเรียนรู ระดับชั้น : ประถมศึกษาปที่ 3 นักเรียน ระดับประถมศึกษาปที่ 3 มีแรงจูงใจในการมาเรียนนอย ทั้งนี้ เพราะ เนื้ อ หาวิ ช าเรี ย น และกิ จ กรรมภายในชั้ น เรี ย นใน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มีความยากและซับซอนขึ้นเปน ลําดับ ซึ่งทําใหนักเรียนไมสามารถทําความเขาใจในบทเรียนได จนเกิดความทอแท และขาดแรงจูงใจในการมาเรียนในที่สุด 3. ปจจัยที่ไมมีความสัมพันธกับแรงจูงใจใน การมาเรียนของนักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 1 โรงเรียนธนาก รสงเคราะห จังหวัดหนองคาย มี 7 ปจจัย ไดแก เพศ : ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ฐานะทางเศรษฐกิจของ หญิง ครอบครัว ระดับการศึกษาผูปกครองต่ํากวาปริญญาตรี บุคลิกภาพ สุขภาพจิต และความคาดหวังของผูปกครอง ตอการเรียนของนักเรียน 4. ปจจัยที่สงผลตอการแรงจูงในการมาเรียนของ นักเรียนในระดับชวงชั้นที่ 1 โรงเรียน ธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากปจจัยที่สงผลมากที่สุดไปหา น อ ยที่ สุ ด สามารถร ว มกั น อธิ บ ายความแปรปรวนการ แรงจู ง ใจในการมาเรี ย นของนั ก เรี ย นในระดั บ ช ว งชั้ น ที่ 1 โรงเรี ย นธนากรสงเคราะห จั ง หวั ด หนองคาย ได ร อ ยละ 50.90 ซึ่งอภิปรายไดดังนี้ ลั ก ษณะทางกายภาพทางการเรี ย น ส ง ผลต อ แรงจู ง ใจในการมาเรี ย นของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 1 โรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย เปนอันดับแรก แสดงวา ลักษณะกายภาพทางดาน การเรียนดี ทําใหนักเรียน


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 มี แ รงจู ง ใจในการมาเรี ย นมาก ทั้ ง นี้ เ พราะโรงเรี ย นมี บรรยากาศดี อากาศถายเทไดสะดวก แสงสวางเพียงพอ ปราศจากเสียงรบกวน บริเ วณรมรื่น สวยงาม มีสื่อ การ สอนที่ทันสมัย ครบครันเพียงพอตอจํานวนนักเรียน ความศรัทธาตอโรงเรียน สงผลตอ แรงจูงใจในการมาเรียนของนักเรียนชวงชั้นที่ 1 โรงเรียนธ นากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย เปนอันดับที่ 2 แสดงวา นักเรียนที่มีความศรัทธาตอโรงเรียน ทําใหมีแรงจูงใจในการ มาเรียนมาก ทั้งนี้เพราะความศรัทธาตอโรงเรียน หมายถึง ความรูสึกที่ดีของนักเรียนที่มีตอโรงเรียน อาจารยผูสอนที่ ทรงคุณวุฒิ และสภาพแวดลอมในโรงเรียน ไดแก ชอบ ชื่ อ เสี ย งของโรงเรี ย น ภู มิ ใ จในการสอนของครู ชอบ ห อ งเรี ย น สถานที่ พั ก ผ อ นนอกห อ งเรี ย น และสวั ส ดิ ก าร ตางๆ ในโรงเรียน จะสงผลใหนักเรียนปฏิบัติตนไปใน แนวโนมที่ถูกตองเหมาะสม ตามเปาหมายของความคิดและ จุดมุงหมาย สั ม พั น ธภาพระหว า งนั ก เรี ย นกั บ ครู สงผลต อ แรงจูง ใจในการมาเรีย นของนัก เรี ยนชว งชั้ น ที่ 1 โรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย เปนอันดับที่ 3 แสดงวา นักเรียนมีสัมพันธภาพที่ดีกับครู ทําใหมีแรงจูงใจ ในการมาเรียนมาก ทั้งนี้เพราะสัมพันธภาพระหวางนักเรียน กับ ครู หมายถึ ง การปฏิ บั ติ ข องครู ต อ นั ก เรี ย น และการ ปฏิบัติของนักเรียนตอครู ทั้งภายในและภายนอกหองเรียน เพื่อใหเกิดความสัมพันธที่ดี ดังนั้น นักเรียนจึงเกิดแรงจูงใจ ในการมาเรียน ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว สงผล ต อ แรงจู ง ใจในการมาเรี ย นของนั ก เรี ย นช ว งชั้ น ที่ 1 โรงเรียนธนากรสงเคราะห จังหวัดหนองคาย เปนอันดับที่สี่ ซึ่งเปนอันดับสุดทาย แสดงวานักเรียนที่มีฐานะทาง เศรษฐกิจของครอบครัวดี ทําใหมีแรงจูงใจในการมาเรียน

165

มาก เพราะ ไดรับการอบรมเลี้ยงดูอยางดี จากพอแมและ ผูปกครองโดยใหนักเรียนแสดงพฤติกรรมและคาใชจายตางๆ ที่เหมาะสมกับฐานะของตนเอง ไมฟุงเฟอใชจายมากจนเกิน ฐานะของตนเอง และสอนใหนักเรียนมีความตั้งใจที่จะเรียน ใหสูงขึ้นเพื่อเปนเกียรติแกวงศตระกูล แตอยางไรก็ตามมีนักเรียนบางคนที่ฐานะทาง เศรษฐกิจของครอบครัวไมดี ครอบครัวไมสามารถสนับสนุน คาใชจา ยตางๆ เกี่ยวกับ การเดินทาง อุปกรณการเรี ยน เครื่ อ งแต ง กาย อี ก ทั้ ง ผู ป กครองไม ไ ด ใ ห ค วามรั ก ความ หวงใย เอาใจใส อยางเพียงพอ จากความไมเทาเทียมกันนี้ นักเรียนถูกนําไปเปรียบเทียบกับเพื่อน จึงทําใหนักเรียนเกิด ความคิดวาตนเองมีปมดอย สงผลใหนักเรียนขาดแรงจูงใจ ในการมาเรียน ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1 ควรมีการศึกษาปจจัยเพิ่มเติมที่เกี่ยวของ กับแรงจูงใจในการมาเรียนนอกเหนือจากตัวแปรที่ศึกษา มาแลว เชน อัตมโนทัศน ความฉลาดทางอารมณ (EQ) สภาพครอบครัว เปนตน 2 ควรมีการศึกษาปจจัยที่สงผลตอแรงจูงใจ ในการมาเรียนกับนักเรียน ในชวงชั้นอื่น เชน ชวงชั้นที่ 2 ชวงชั้นที่ 3 และชวงชั้นที่ 4 เปนตน 3 ควรพัฒนาปจจัยที่สงผลตอแรงจูงใจในการ มาเรียนของนักเรียน ไดแก ลักษณะทางกายภาพทางดาน การเรียน ความศรัทธาตอโรงเรียน และสัมพันธภาพระหวาง นักเรียนกับครู โดยนําไปทําการทดลองเพื่อพัฒนาปจจัย ดังกลาวซึ่งจะชวยแกปญหาการมาเรียนของนักเรียน โดยใช เทคนิคทางจิตวิทยา เชน การปรับพฤติกรรม กลุมสัมพันธ เปนตน

บรรณานุกรม สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. (2539). แผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544). กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. มาลี จุฑา. (2544). การประยุกตจิตวิทยาเพื่อการเรียนรู. กรุงเทพฯ : อักษราพิพัฒนจํากัด.


166

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

การพัฒนาโปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตรสาํ หรับ เด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู MATHEMATICS REMEDIAL PROGRAM DEVELOPMENT FOR CHILDREN WITH LEARNING DISABILITIES อาจารยสิริลักษณ โปรงสันเทียะ บทคัดยอ การศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ พั ฒ นา โปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตรสําหรับ เด็กที่มีปญหาทางการ เรียนรู ดวยการดําเนินการวิจัยและพัฒนาเปน 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 สรางโปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตรสําหรับเด็กที่มี ปญหาทางการเรียนรู ขั้นตอนที่ 2 ศึกษา ประสิทธิผลของ โปรแกรมซ อมเสริ มคณิ ตศาสตร สํ าหรั บเด็ กที่ มี ป ญหาทางการ เรียนรู ขั้นตอนที่ 3 ประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมซอม เสริ ม คณิ ต ศาสตร สํ า หรั บ เด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู แ ละ ปรับปรุงโปรแกรม กลุมตัวอยางที่ใชในการสรางเครื่องมือคัด แยกเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดานคณิตศาสตร เปนนักเรียน ระดับประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 ที่ไดจากการคัดกรองเด็กที่มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู โ ดยแบบสํ า รวจป ญ หาทางการเรี ย นรู จํานวน 199 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการจัดกิจกรรมซอมเสริม คณิตศาสตร การประเมินความสามารถทางคณิตศาสตร และ การทดสอบการ รับรูความสามารถตนเองดานคณิตศาสตร เปน นักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรูระดับประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 เลือกมาโดยวิธีเจาะจง จํานวน 23 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ครั้งนี้มี 4 ชนิด คือ แบบคัดแยกเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู ดานคณิตศาสตร แบบประเมินความสามารถทางคณิตศาสตร แบบวัดการรั บ รูค วามสามารถของตนดานคณิตศาสตร และ แผนการจัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตร การวิเคราะหขอมูล ใชสถิติคํานวณ คามัธยฐาน คาพิสัยควอไทล สถิติทดสอบ The Wilcoxon Matched – Pairs Signed – Rank Test และ สถิติวิเคราะหคุณภาพของเครื่องมือวัด อาจารยประจําโปรแกรมวิชาการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ผลการศึกษา 1. โปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตรสําหรับเด็กที่มี ปญหาทางการเรียนรู ประกอบดวย (1) แบบคั ด แยกเด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู ด า น คณิตศาสตร ที่มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.98 (2) แผนการ จัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตร สําหรับนักเรียนชั้นประถม ปที่ 2 และ 3 ดานการจําแนกทางสายตา การนับ การแทนคา ประจําหลัก การบวก การลบ และการแกโจทยปญหา (3) แบบประเมิ น ความสามารถทางคณิ ต ศาสตร ที่ มี ค า ความ เชื่อมั่นเทากับ 0.92 คาความเชื่อมั่นของแบบประเมินราย ดาน อยูระหวาง 0.54 ถึง 0.86 มีคาความยากงายอยูระหวาง 0.34 – 0.80 และคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.22 ถึง 0.88 และ (4) แบบวัด การรับ รูค วามสามารถของตนด า น คณิตศาสตร ที่มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.92 โปรแกรมซอม เสริ ม คณิ ต ศาสตร สํ า หรั บ เด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู มี ความเหมาะสมในระดับดีมาก 2. ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข อ ง โ ป ร แ ก ร ม ซ อ ม เ ส ริ ม คณิตศาสตรสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู ดาน (1) ความสามารถทางคณิตศาสตรของเด็ กที่มีปญหาทางการ เรียนรูหลังการจัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตร อยูในระดับ ดี ม าก และ (2) การรั บ รู ค วามสามารถของตนด า น คณิตศาสตรข องเด็กที่ทีปญ หาทางการเรียนรู หลังการจัด กิ จ กรรมซ อ มเสริ ม คณิ ต ศาสตร สู ง ขึ้ น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ที่ ระดับ .01 Abstract The main purpose of this research was to develop mathematics remedial program for children with learning disabilities. Three phases of the research were conducted. The first phase was the development of mathematics remedial program for children with learning disabilities. The second phase was the study of mathematics remedial program effectiveness. The final phase was the evaluation of math remedial program for children with learning disabilities and the improvement of this program. One hundred and ninety – nine prathom 2 and 3 students that were

167

subjects in the first phase were screened by Learning Disabilities Survey. The 23 subjects with learning disabilities were received math remedial activities, assessed math competency and self – efficacy. These subjects were selected from purposive sampling. Four instrumentation were used in this research that were math disabilities screening test, math competency assessment, self – efficacy assessment and math remedial activities. The data were analyzed by using Median, Interquartile Range, Wilcoxon Matched - Pairs Signed - Rank Test and statistic for instrumentation quality analysis. The results of this research revealed that 1. Mathematics remedial program for children with learning disabilities consisted (1) math disabilities screening test that had reliability as 0.98 (2) math remedial activities for prathom 2 and 3 students that had 6 units. They were visual discrimination, counting, place values, addition, subtraction and word problem solving (3) math competency assessment that had reliability as 0.92. The reliability of 6 subtests ranged from 0.54 – 0.86. The item difficulty was between 0.34 – 0.80. The test discrimination was between 0.22 – 0.88. (4) self – efficacy assessment that had reliability as 0.92. 2. The effectiveness of math remedial program for children with learning disabilities revealed that (1) the subjects showed excellent level from math competency assessment after finished math remedial program and (2) the subjects achieved higher scores in self – efficacy assessment during the post test .01 statistical significance. ความเปนมาของปญหาการวิจัย เด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู เ ป น เด็ ก ที่ มี ค วาม ต อ งการพิ เ ศษกลุ ม หนึ่ ง ที่ ไ ด รั บ โอกาสทางการศึ ก ษา ตาม


168

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 10 วรรคสองระบุวา “การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความ บกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา และอารมณ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู หรือมีรางกายพิการหรือทุพลภาพ หรือบุคคลซึ่งไมสามารถพึ่งตนเองได หรือ ไมมีผูดูแ ล หรือ ดอยโอกาส ตองจัดใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิและโอกาสไดรับ การศึกษาขั้นพื้นฐานเปนพิเศษ” (คณะกรรมการการศึกษา แหงชาติ, สํานักงาน. 2542) เด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูเปน เด็ ก ที่ มี ป ญ หาในการเรี ย นต า งๆ เช น การอ า น การเขี ย น คณิตศาสตร ซึ่งเด็กจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา ทั้งๆ ที่มี ระดับ สติ ป ญ ญาปกติ ห รื อ สูง กวา ปกติ (ศรีย า นิ ย มธรรม; ดารณี ศักดิ์ศิริผล. 2545: 68 – 71) โดยความบกพรอง ดังกลาวเกิดจากกระบวนการพื้นฐานทางจิตวิทยา ทั้งนี้ไม รวมเด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู อั น เนื่ อ งจากสภาพของ รางกาย ประสาทสัมผัส หรือการดอยโอกาสทางเศรษฐกิจ และสั ง คม (คณะอนุ ก รรมการคั ด เลื อ กและจํ า แนกความ พิการเพื่อการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. 2543: 27 – 31) โดย แนวโนมของประชากรของเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูจะ เพิ่มมากขึ้น การที่จํานวนเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูมีจํานวน มากขึ้น สวนใหญคือเด็กที่เรียนในโรงเรียนทั่วไป โดยสภาพ ความบกพร อ งของเด็ ก กลุ ม นี้ คื อ การเรี ย นรู ที่ ต่ํ า กว า ความสามารถที่แทจริง ในขณะที่พระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 ระบุวา “การจัดการศึกษาตองยึด หลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเอง ได ถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สดุ กระบวนการจัดการศึกษา ตอ งส ง เสริ ม ให ผูเ รีย นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็ ม ศักยภาพ” ดังนั้นการจัดการศึกษาสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการ เรียนรู ซึ่งเปนกลุมที่มีลักษณะการเรียนรูในรูปแบบเฉพาะอีกทั้ง ยังมีความแตกตางในขอจํากัดของแตละคนถึงแมจะเปนกลุม ที่มีป ญหาทางการเรียนรูเหมือนกันก็ตาม จึ งต องการการจัด การศึ กษาที่ ต อบสนองลั ก ษณะเฉพาะดั ง กล า ว โดยการ ประเมินเพื่อการชวยเหลือเด็กเปนรายบุคคล การศึกษาเกี่ยวกับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู ด า นคณิ ต ศาสตร ใ นประเทศไทยส ว นใหญ เ ป น การศึ ก ษา เกี่ยวกับวิธีการชวยเหลือหรือแกไขเด็กที่มีปญหาการเรียน คณิตศาสตร หรือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชานี้ต่ํา จึงมีการ

วิจัย เกี่ ยวกั บ การซอ มเสริ ม เด็ก ตามเนื้ อ หาที่นั ก เรีย นยั ง ไม เข า ใจดี นั ก การวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการ เรี ย นรู จ ะเป น เรื่ อ งการเพิ่ ม ทั ก ษะทางคณิ ต ศาสตร โ ดยใช วิธีการสอนแบบตางๆ (สายพิณ โคกทอง. 2542; สันติ เบา พูนทอง. 2544; ลออ เอี่ยมออน. 2546) การพัฒนาองค ความรูที่เปนรูปแบบจึงยังไมเกิดขึ้น ผูวิจัยจึงเล็งเห็นความ จําเปนในการพัฒนาองคความรูจากการวิจัยเรื่องการประเมิน เด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู ด า นคณิ ต ศาสตร เ พื่ อ พั ฒ นา โปรแกรมการชวยเหลือหรือการแกไขที่เหมาะสมสอดคลอง มีประสิทธิภาพกับบริบทของไทย วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อสรางโปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตรสําหรับ เด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู ดังนี้ 1.1 เพื่อสรางแบบคัดแยกเด็กที่มีปญหาทางการ เรียนรูดานคณิตศาสตรระดับประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 1.2 เพื่อสรางแผนการจัดกิจกรรมการซอมเสริม คณิ ต ศาสตร สํ า หรั บ เด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู ร ะดั บ ประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 1.3 เพื่ อ สร า งแบบประเมิ น ความสามารถทาง คณิ ต ศาสตร สํ า หรั บ เด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู ร ะดั บ ประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 1.4 เพื่อสรางแบบวัดการรับรูความสามารถของ ตนดานคณิตศาสตร 2. เพื่อประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมซอมเสริม คณิตศาสตรสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู 2.1 ประเมินความสามารถทางคณิตศาสตร ดานการจําแนกทางสายตา การนับ การแทนคาประจําหลัก การบวก การลบ และการแกโจทยปญหา หลังการจัดกิจกรรม ซอมเสริมคณิตศาสตร 2.2 ป ร ะ เ มิ น โ ป ร แ ก ร ม ซ อ ม เ ส ริ ม คณิตศาสตรสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู 3. เพื่ อ ประเมิ น ความเหมาะสมของโปรแกรม ซอมเสริมคณิตศาสตรสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู สมมุติฐาน 1. แบบคั ด แยกเด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู ดานคณิตศาสตรที่สรางขึ้น มีคาความเชื่อมั่นไมต่ํากวา 0.80


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 2. แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง คณิตศาสตรที่สรางขึ้น มีคาความเชื่อมั่นไมต่ํากวา 0.80 3. แบบวัดการรับรูความสามารถของตนดาน คณิตศาสตรที่สรางขึ้น มีคาความเชื่อมั่นไมต่ํากวา 0.80 4. ประสิ ท ธิ ผ ลของโปรแกรมซ อ มเสริ ม คณิตศาสตรสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูอยูในระดับ เหมาะสมดี 4.1 ความสามารถทางคณิตศาสตรดานการ จําแนกทางสายตาของเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูหลังการ จัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตร อยูในระดับดี 4.2 ความสามารถทางคณิตศาสตรดานการ นับของเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูหลังการจัดกิจกรรมซอม เสริมคณิตศาสตร อยูในระดับดี 4.3 ความสามารถทางคณิตศาสตรดานการ แทนคาประจําหลักของเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูหลังการ จัดแผนการจัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตร อยูในระดับดี 4.4 ความสามารถทางคณิตศาสตรดานดาน การบวกของเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูหลังการจัดกิจกรรม ซอมเสริมคณิตศาสตร อยูในระดับดี 4.5 ความสามารถทางคณิตศาสตรดานดาน การลบของเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูหลังการจัดกิจกรรม ซอมเสริมคณิตศาสตร อยูในระดับดี 4.6 ความสามารถทางคณิตศาสตรดานการ แกโจทยปญหาของเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูหลังการจัด กิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตร อยูในระดับดี 4.7 การรั บ รู ค วามสามารถของตนด า น คณิตศาสตรของเด็กที่มีปญหาทางการ เรียนรูห ลังการจัด แผนการจัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตรสูงขึ้น 5. ความเหมาะสมของโปรแกรมซ อ มเสริ ม คณิตศาสตรสําหรับเด็กที่มีปญหาทาง การเรียนรู อยูใน ระดับ เหมาะสมดี วิธีดําเนินการวิจัย การดําเนินการวิจัยในครั้งนี้ มีการดําเนินการเปน 6 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การคัดกรองเด็กที่มีปญหาเด็กที่ มีปญหาทางการเรียนรูดานคณิตศาสตร กับเด็กที่ไมมี ปญหาทางการเรียนรู

169

กลุมตัวอยางเปนนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 จํานวน 389 คน จาก ประชากร 10,429 คน กํา หนดขนาดกลุมตัวอยา งโดยใชต าราง Krejcie และ Morgan กลุม ตัวอยางไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง และให นั ก เรี ย น ทุ ก คนเป น หน ว ยการสุ ม ได ก ลุ ม ตั ว อย า ง จํานวน 5 โรงเรียน คือ โรงเรียนเทศบาล 2 (สมอราย) จํานวน 75 คน โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดปาจิตตสามัคคี) จํานวน 40 คน โรงเรี ย นเมื อ ง คน โรงเรี ย นอั ส สั มชั ญ จํ า นวน 40 นครราชสีมา จํานวน 85 คน และโรงเรียนวัดสระแกว จํานวน 149 คน รวมเปน 389 คน การเก็ บ รวบรวมข อ มู ล ใช แ บบสํ า รวจทางการ เรียนรูเฉพาะดาน ของ ศาสตราจารย ดร.ผดุง อารยะวิญู เปนแบบสํารวจปญหาการเรียน 3 ดาน คือ ดานการอาน การ เขียนและการสะกดคํา และคณิตศาสตร ทําโดยใหครูผูสอนที่ รูจักเด็กเปนอยางดีประเมินเด็กตามแบบสํารวจปญหาการ เรียนรูเ ฉพาะด า น แลว แปลผลตามเกณฑ ข องแบบสํ า รวจ ปญหาทางการเรียนรูเฉพาะดาน ขั้นตอนที่ 2 การสรางแบบคัดแยกเด็กที่มี ปญหาทางการเรียนรูดานคณิตศาสตร กลุมตัวอยางเปนนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 ซึ่งผานการคัดกรองมาจากการดําเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 จากนักเรียนจํานวน 389 คน ไดคัดกรองนักเรียน ออกเปน 3 กลุม คือ นักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรูดาน คณิตศาสตร จํานวน 89 คน นักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรู ดานอื่น จํานวน 190 คน และนักเรียนที่ไมมีปญหาทางการ เรียนรู จํานวน 110 คน นํานักเรียนเฉพาะนักเรียนที่มีปญหา ทางการเรียนรูดานคณิตศาสตร และนักเรียนที่ไมมีปญหา ทางการเรียนรูไปใชในการหาคะแนนจุดตัดของแบบคัดแยก เด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดานคณิตศาสตร การเก็บรวบรวมขอมูล ทําโดยใชแบบคัดแยกเด็ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู ด า นคณิ ต ศาสตร ที่ ส ร า งขึ้ น เป น แบบทดสอบที่มีแบบทดสอบยอย จํานวน 6 ดาน คือ ดาน การจํ า แนกตั ว เลข ด า นกระบวนการนั บ ด า นการแทนค า ประจําหลัก ดานกระบวนการบวก ดานโจทยปญหา และ ดานการบวกและการลบตามแนวตั้งและแนวนอน ไปทดสอบ กับนักเรียน ที่เปนกลุม ตัวอยาง จํานวน 199 คน เพื่อ


170

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

กําหนดเกณฑการตัดสิน และทดสอบเพื่อหาคาความเชื่อมั่น ของแบบคั ด แยกกั บ นั ก เรี ย นที่ เ ป น กลุ ม ตั ว อย า ง โรงเรี ย น เทศบาล 2 (สมอราย) จํานวน 39 คน ทําการวิเคราะหขอมูล โดยหาคาสถิติ ไดแก คาดัชนีความสอดคลอง คาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธโดยวิธีสอบซ้ํา (Test – Retest Method) และ คะแนนจุดตัดและสัมประสิทธิ์ความแมนตรง ขั้ น ตอนที่ 3 การสร า งแบบประเมิ น ความสามารถทางคณิตศาสตร กลุมตัวอยางเปนนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 โรงเรียนสวนหมอน จํานวน 50 คน เพื่อใชในการ วิเคราะหคุณภาพของแบบวัดในเรื่องความยากงาย อํานาจ จําแนก และคาความเชื่อมั่นของแบบประเมินความสามารถ ทางคณิตศาสตร การเก็บรวบรวมขอ มูล ทํ าโดยใชแบบประเมิน ความสามารถทางคณิตศาสตรที่สรางขึ้น เปนแบบทดสอบ จํานวน 6 ดาน คือ ดานการจําแนกทางสายตา ดานการนับ ดานการแทนคาประจําหลัก ดานการบวก ดานการลบ และ ดานการแกโจทยปญหา ไปทดสอบกับนักเรียน ที่เปนกลุม ตัวอยาง เพื่อหาคาความยากงาย คาอํานาจจําแนก และคา ความเชื่อมั่น ทําการวิเคราะห ขอมูลโดยหาคาสถิติ ไดแก คาดัชนีความสอดคลอง คาความยากงาย คาอํานาจจําแนก และค า ความเชื่ อ มั่ น โดยวิ ธี ห าค า สั ม ประสิ ท ธิ์ แ อลฟา ของครอนบัค ( Cronbach α - Coefficient ) และวิธี คูเดอร – ริชารดสัน (Kuder – Richardson) ขั้นตอนที่ 4 การสรางแบบวัดการรับรู ความสามารถของตนดานคณิตศาสตร กลุมตัวอยางเปนนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดปาจิตตสามัคคี) จํานวน 50 คน ซึ่งเปนนักเรียนคนละกลุมกับการวิจัยขั้นตอนที่ 1 เพื่อใช ในการวิ เ คราะห ค า ความเชื่ อ มั่ น ของแบบวั ด การรั บ รู ความสามารถของตนดานคณิตศาสตร การเก็บรวบรวมขอมูล ทําโดยใชแบบวัดการรับรู ความสามารถทางคณิตศาสตร ที่สรางขึ้น เปนแบบวัดที่เปน สิ่งเราที่เปนโจทยการบวกและการลบ 20 ขอ ขอละ 2 ปญหา (คู) แตละคูมีลักษณะคลายคลึงกันทั้งรูปแบบและวิธี คํานวณ นักเรียนประเมินการรับรูความสามารถของตนเอง

โดยการเลือกภาพที่ตรงกับความมั่นใจในการแกปญหาของ นั ก เรี ย นมากที่ สุ ด ไปทดสอบกั บ นั ก เรี ย นที่ เ ป น กลุ ม ตัวอยาง เพื่อหาคาความเชื่อมั่น ทําการวิเคราะหขอมูลโดย หาคาสถิติ ไดแก คาดัชนีความสอดคลอง และคาความ เชื่ อ มั่ น โดยวิ ธี ห าค า สั ม ประสิ ท ธิ์ แ อลฟาของครอนบั ค (Cronbach α - Coefficient ) ขั้ น ตอนที่ 5 การสอนซ อ มเสริ ม ตาม โปรแกรมการสอนซอมเสริมคณิตศาสตรสําหรับเด็กที่มี ปญหาทางการเรียนรู กลุมตัวอยางเปนนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 3 (ยม ราชสามัคคี) ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 ซึ่งเปนนักเรียนที่มี คะแนนความสามารถต่ําที่สุดในหอง หองเรียนละ 5 คน จาก 8 หองเรียน จํานวน 40 คน ดําเนินการคัดแยกโดยแบบคัด แยกเด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู ด า นคณิ ต ศาสตร ที่ ห า คุณภาพของแบบวัดแลว เลือกเด็กที่มีคะแนนต่ํากวาเกณฑที่ กําหนด ดานการบวก จํานวน 8 คน ดานการลบ จํานวน 7 คน และดานโจทยปญหา จํานวน 8 คน รวมเปน 23 คน เลือกโดยวิธีเจาะจง (Purposive Sampling) การเก็ บ รวบรวมข อ มู ล ทํ า โดยการทดสอบ นักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง โดยใชเครื่องมือคัดแยกเด็กที่มี ปญหาทางการเรียนรูดานคณิตศาสตรที่สรางขึ้น และทดสอบ ระดับสติ-ปญญา โดยใชแบบทดสอบสติปญญา Coloured Progressive Matrices (CPM) เพื่อใหไดกลุมตัวอยางที่มี ระดับสติปญญาปานกลางขึ้นไป แลวทําการทดสอบการรับรู ความสามารถของตนดานคณิตศาสตร โดยใชแบบวัดการ รั บ รูค วามสามารถของตนดา นคณิต ศาสตร ที่สร า งขึ้น เริ่ ม ดําเนินการจัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตร โดยนักเรียนที่ เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 23 คน ที่มีคะแนนไมผานเกณฑใน ดานการจําแนกตัวเลข และดานการแทนคาประจําหลัก เขา รั บ การสอนซ อ มเสริ ม ด า นการเตรี ย มความพร อ มทาง คณิตศาสตร จํานวน 5 ครั้ง แลวจึงจัดกิจกรรมซอมเสริม คณิ ต ศาสตร ด า นการบวก การลบ และด า นการแก โ จทย ปญหา ดานละ 22 ครั้ง เมื่อสิ้นสุดการจัด กิจกรรมซอมเสริม แลว ทําการประเมินความสามารถทางคณิตศาสตร ดานการ จําแนกทางสายตา ดานการแทนคาประจําหลัก ดานการบวก ด า นการลบ และด า นการแก โ จทย ป ญ หา และการรั บ รู


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 ความสามารถของตนด า นคณิ ต ศาสตร ทํ า การวิ เ คราะห ขอมูลโดยวิธีทดสอบแบบ Wilcoxon Matched – Pairs Signed - Rank Test ขั้ น ตอนที่ 6 การตรวจสอบคุ ณ ภาพของ โปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตรสําหรับเด็กที่มีปญหา ทางการเรียนรู เมื่อดําเนินการจัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตร เรียบรอยแลว รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับปญหาอุปสรรคในขณะ ดํ า เนิ น การ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง โปรแกรมซ อ มเสริ ม ก อ นส ง ให ผู เ ชี่ ย วชาญด า นการศึ ก ษาพิ เ ศษ ด า นการจั ด การศึ ก ษา สํ า หรั บ เด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู ด า นหลั ก สู ต รและ รูปแบบการสอน ดานการวัดและประเมินผล และดานการ สอนคณิตศาสตร จํานวน 5 คน ตรวจสอบคุณภาพของ โปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตร โดยหาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence: IOC) เพื่อแกไขให ไดโปรแกรมที่เหมาะสม สรุปผลการวิจัย 1. โปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตรสําหรับเด็ก ที่มีปญหาทางการเรียนรูระดับประถมศึกษาปที่ 2 และ 3 ประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การคัดแยกเด็กที่มี ปญหาทางการเรียนรู ดานคณิตศาสตร โดยใชเครื่องมือคัด แยกที่สรา งขึ้ น ขั้น ตอนที่ 2 การจั ดกิจ กรรมซอมเสริ ม คณิ ต ศาสตร โดยใช แ ผนการจั ด กิ จ กรรมซ อ มเสริ ม คณิ ต ศาสตร ที่ ส ร า งขึ้ น ขั้ น ตอนที่ 3 การประเมิ น ความสามารถทางคณิ ต ศาสตร โดยใช แ บบประเมิ น ความสามารถทางคณิ ต ศาสตร ที่ ส ร า งขึ้ น ขั้ น ตอนที่ 4 การประเมินการรับรูความสามารถของตนดานคณิตศาสตร โดยใช แ บบวั ด การรั บ รู ความสามารถของตนด า น คณิตศาสตร ที่สรางขึ้นมีรายละเอียดดังนี้ 1.1 แบบคั ด แยกเด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการ เรียนรูดานคณิตศาสตร เปนแบบทดสอบ ใชทดสอบเด็กเปน รายบุคคล ประกอบดวยแบบคัดแยกยอย จํานวน 6 ดาน คือ ดานการจําแนก ตัวเลข ดานการนับ ดานการแทนคาประจํา หลัก ดานการบวก ดานการลบ และดานการแกโจทยปญหา จากการวิเคราะหโดยการหาความเชื่อมั่นของแบบคัดแยก จากการวิจัยนี้ มีคาเทากับ 0.98

171

1.2 แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง คณิ ต ศาสตร เป น แบบทดสอบ ใช ท ดสอบเป น กลุ ม ประกอบดวยแบบประเมิน จํานวน 6 ดาน คือ ดานการ จําแนกทางสายตา ดานการนับ ดานการแทนคาประจําหลัก ดานการบวก ดานการลบ และดานการแกโจทยปญหา จาก การวิเคราะหโดยการหาคาความเชื่อมั่นของแบบประเมินเปน รายดาน แบบประเมินความสามารถทางคณิตศาสตรทั้ง 6 ดาน มีคาความเชื่อมั่นตางกัน โดยมีคาความเชื่อมั่นระหวาง 0.54 ถึง 0.86 โดยดานการแทนคาประจําหลัก และดานโจทย ปญหา มีคาความเชื่อมั่นสูงที่สุด เทากับ 0.86 รองลงมาคือ ดานการบวก ดานการลบ และดานการนับ ดานการจําแนก ทางสายตา มีคาความเชื่อมั่นต่ําที่สุด เทากับ 0.54 จากผล การวิเคราะหจากการวิจัยนี้ แบบประเมินความสามารถดาน การแทนคาประจําหลัก ดานการบวก ดานการลบ และดาน โจทยปญหา 1.3 แผนการจัดกิจกรรมซอ มเสริม คณิตศาสตร เปนกิจกรรมที่ใชในการชวยเหลือ นักเรียนที่มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู ประกอบด ว ยการจั ด กิ จ กรรมด ว ย หนวยการเรียนรูความพรอมทางคณิตศาสตร ไดแก ดานการ จําแนกทางสายตา ดานการนับ และการแทนคาประจําหลัก หนวยการเรียนรูจํานวนและการดําเนินการ ไดแก ดานการ บวก และการลบ และ หนวยการเรียนรูทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร คือดานการแกโจทยปญหา 1.4 แบบวัดการรับรูความสามารถของตน ดานคณิตศาสตร เปนแบบวัดประกอบดวยสิ่งเราโจทยการ บวก และการลบ จํานวน 20 ขอ ขอละ 2 ปญหา ลักษณะของ แบบวัดมี 4 มาตรวัด มีระยะหาง 1 – 4 จากการ วิเคราะหโดยการหาความเชื่อมั่น มีคาความเชื่อมั่น เทากับ 0.92 2. ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข อ ง โ ป ร แ ก ร ม ซ อ ม เ ส ริ ม คณิ ต ศาสตร สํ า หรั บ เด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู จ าก การศึ ก ษา ความสามารถทางคณิ ต ศาสตร แ ละการรั บ รู ความสามารถของตนดานคณิตศาสตร มีผลคะแนนดังนี้ 2.1 ความสามารถทางคณิ ต ศาสตร ด า น การจําแนกทางสายตาของนักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรู หลังจากการจัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตรแลว มีคะแนน


172

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

อยูระหวาง 105 – 150 คะแนน คามัธยฐาน เทากับ 145 มี คาพิสัยควอไทล เทากับ 42 มีความสามารถทางคณิตศาสตร ดานการจําแนกทางสายตา อยูในระดับ ดีมาก 2.2 ความสามารถทางคณิ ต ศาสตร ด า น การนับ นักเรียนที่เปนกลุมตัวอยางไมมีผู ที่มีคะแนนที่ไม ผ า นเกณฑ ด า นการนั บ จากแบบคั ด แยกเด็ ก ที่ มี ป ญ หา ท า ง ก า ร เ รี ย น รู ด า น ค ณิ ต ศ า ส ต ร จึ ง ไ ม มี ร า ย ง า น ความสามารถทางคณิตศาสตรดานการนับของนักเรียนที่มี ปญหาทางการเรียนรู 2.3 ความสามารถทางคณิตศาสตรดานการ แทนคาประจําหลักของนักเรียนที่มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู หลั ง จากการจั ด กิ จ กรรมซ อ มเสริ ม คณิตศาสตรแลว มีคะแนนอยูระหวาง 7 - 8 คะแนน คามัธยฐานเทากับ 7.5 และมีคาพิสัย ควอไทล เทากับ 1 มี ความสามารถดานการแทนคาประจําหลัก อยูในระดับดีมาก 2.4 ความสามารถทางคณิ ต ศาสตร ด า น การบวก ของนักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรู หลังจากการ จัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตรแลว มีคะแนนอยูระหวาง 8 – 10 คะแนน คามัธยฐาน เทากับ 9 มีคาพิสัยควอไทล เทากับ 1 มีความสามารถทางคณิตศาสตรดานการบวก อยู ในระดับ ดีมาก 2.5 ความสามารถทางคณิ ต ศาสตร ด า น การลบของนักเรียนที่มีปญหาทางการ เรียนรู หลังจากการ จัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตรแลว มีคะแนนอยูระหวาง 8 – 10 คะแนน คามัธยฐาน เทากับ 10 มีคาพิสัยควอไทล เทากับ 1 มีความสามารถทางคณิตศาสตรดานการลบ อยู ในระดับ ดีมาก 2.6 ความสามารถทางคณิ ต ศาสตร ด า น การแก โ จทย ป ญ หาของนั ก เรี ย นที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู หลังจากการจัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตรแลว มีคะแนน อยูระหวาง 8 – 14 คะแนน คามัธยฐาน เทากับ 12.5 มีคา พิสัยควอไทล เทากับ 2 มีความสามารถทางคณิตศาสตรดาน การแกโจทยปญหา อยูในระดับ ดีมาก 2.7 การรั บรูความสามารถของตนดา น คณิตศาสตรของนักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการ บวก ดานการลบ และดานโจทยปญหา กอนและหลังการจัด

กิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตรแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 3. คาดัชนีความสอดคลองของความเหมาะสม ของโปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตร อยูในระดับ เหมาะสมดีมาก อภิปรายผล จากการวิจัยพบวา เครื่องมือ ที่สรางขึ้น สําหรับ โปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตรสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการ เรียนรู ไดแก แบบคัดแยกเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดาน คณิตศาสตร แบบประเมินความสามารถทางคณิตศาสตร และแบบวัดการรับรูความสามารถของตนดานคณิตศาสตร เปนเครื่องมือที่มีคุณภาพ แบบคั ด แยกเด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู ด า น คณิ ต ศาสตร มี ค า ความเที่ ย งตรงเชิ ง พิ นิ จ และมี ค า ความ เชื่อมั่นรวมทั้งชุด เทากับ 0.98 ซึ่งอยูในระดับที่มีคุณภาพ กิจกรรมที่ใชในการประเมินเด็กเปนไปตามลําดับขั้นตอนของ พัฒนาการ จึงเปนการตรวจสอบแบบอิงเกณฑ (Witt. et al. 1998 : 20-21) การใชคะแนนจุดตัดเปนเกณฑการตัดสินจึงมี ความเหมาะสม โดยนําคะแนนที่ไดจากการปฏิบัติกิจกรรมใน การประเมิ น นํ า มาใช ใ นการประมาณค า สั ด ส ว นของการ ปฏิบัติ โดยกําหนดจุดตัดจากการทดสอบนักเรียนสองกลุม คือ กลุม รอบรู และ ไมร อบรู (บุญ เชิ ด ภิญ โญอนั น ตพงษ . 2527 : 113 – 114) ในการวิจัยครั้งนี้ กลุมรอบรู คือ นักเรียน ที่ไมมีปญหาทางการเรียนรู และกลุมไมรอบรู คือ นักเรียนที่มี ปญหาทางการเรียนรูดานคณิตศาสตร ซึ่งประเมินจากแบบ สํ า รวจการเรี ย นรู เ ฉพาะด า นเมื่ อ นํ า แบบคั ด แยกเด็ ก ที่ มี ปญหาทางการเรียนรูดานคณิตศาสตรทดสอบกับนักเรียนทั้ง สองกลุมเพื่อกําหนดคะแนนจุดตัดที่เปนเกณฑการตัดสิน จึง เปนดัชนีชี้วัดที่ใชคัดแยกนักเรียนไดตามลักษณะของแบบวัด แบบอิงเกณฑ นอกจากนี้ แ บบคั ด แยกเด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการ เรียนรูดานคณิตศาสตร สําหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาป ที่ 2 และ 3 ซึ่งมีอายุตั้งแต 7 ปขึ้นไป ซึ่งเปนชวงพัฒนาการ ของทั ก ษะคณิ ต ศาสตร ขั้ น ความคิ ด ก อ นเกิ ด ปฏิ บั ติ ก าร (Preoperational thought) ตามทฤษฎีพัฒนาการของเพียร เจต (Piaget’s Development Theory) เด็กจะมีความพรอม ในเรื่องของจํานวนและปริมาณ หากดําเนินการคัดแยกเด็ก


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550 กอนชวงอายุนี้ ความบกพรองที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากความไม พรอมมากกวาเกิดจากปญหาทางการเรียนรู แบบคัดแยกนี้ เปนแบบทดสอบรายบุคคล ประกอบดวยแบบคัดแยกยอย จํา นวน 6 ด า น คื อ ด า นการจํ า แนกทางสายตา ด า น กระบวนการนั บ ด า นการแทนค า ประจํ า หลั ก ด า น กระบวนการบวก ดานโจทยปญหา และ ดานการบวกและ การลบตามแนวตั้งและแนวนอน ทําใหไดขอมูลของนักเรียน เปนรายทักษะ และรายบุคคล ซึ่งเหมาะสมกับการประเมิน ทางการศึก ษาพิ เ ศษ ที่ มีจุ ดประสงค เพื่ อ ใชข อ มูล เพื่ อ การ ตัดสินใจ (Decision Making) และเชื่อมโยงกับ การ ชวยเหลือ (Intervention) ที่มีประสิทธิภาพ ขั้นตอนการ ดํา เนิน การทดสอบไมซับ ซ อ น ครูผู ส อนสามารถนํา ไปใช เพื ่ อ การประเมิ น เพื่ อ การจั ด กิ จ กรรมซ อ มเสริ ม เพื่ อ การ แกไขขอบกพรองได แบบประเมินความสามารถทางคณิตศาสตร มี คาความเที่ยงตรงเชิงพินิจ คาความ ยากงาย อยูระหวาง 0.34 ถึง 0.80 คาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.22 ถึง 0.88 คา ความเชื่อมั่น อยูระหวาง 0.54 ถึง 0.86 ซึ่งเปนชวงของคา ความยากงาย และคาอํานาจจําแนก ที่เหมาะสม เปนขอ ทดสอบ ที่มีคุณภาพรายขอดี ตรงตามเกณฑที่กําหนด เปน เครื่ อ งมื อ ที่ มี คุ ณ ภาพดี โดย มี ลั ก ษณะที่ ดี ข อง แบบทดสอบ 4 คุณลักษณะที่สามารถดําเนินการวิเคราะห คุณภาพโดยใชวิธีการทางสถิติได (ธนวัฒน ธิติธนานันท. 2548: 103 – 105) คือ มีความเที่ยงตรง (Validity) ความ เชื่อมั่น (Reliability) ความยากงาย (Difficulty) และอํานาจ จําแนก (Discrimination) เหมาะสมกับการนําไปใชในการ ประเมินความสามารถทางคณิตศาสตร แบบวั ด การรั บ รู ค วามสามารถของตนด า น คณิตศาสตร เปนแบบวัดที่ความเที่ยงตรงเชิงพินิจ และมีคา ความเชื่อมั่น เทากับ 0.92 เปนแบบวัดที่สามารถวัดการรับรู ความสามารถของตนเองดานคณิตศาสตรและเหมาะสมกับ นักเรียนระดับประถมศึกษา เนื่องจากการรับรูความสามารถ ของตนเองเป น การประมวลทั้ ง ความคิ ด และอารมณ ข อง ตนเองที่มีตอประสบการณ (จิตติมา จูมทอง. 2538: 15) แบบวัดนี้จึงใชการนําเสนอสิ่งเราในรูปของโจทยปญหาการ บวกลบ และเสนอสิ่ ง เร า ในเวลาที่ จํ า กั ด เพื่ อ ให เ กิ ด การ

173

ตัดสินใจตอการรับรูความสามารถของตนเอง สวนผลของการ ตัดสินใจกําหนดในรูปของใบหนาแสดงอารมณซึ่งนักเรียน ระดับประถมศึกษาเขาใจไดงายกวาการกําหนดเปนคาของตัวเลข การจัดกิจกรรมซอมเสริมตามแผนการจัดกิจกรรม ซอมเสริมคณิตศาสตรที่สรางขึ้น เพื่อชวยเหลือนักเรียนที่ มีปญหาทางการเรียนรูดานการจําแนกทางสายตา ดานการ แทนคา ประจําหลัก ดานการบวก ดานการลบ และดาน การแกโจทยปญหา พบวา ความสามารถทางคณิต ศาสตร ทั้ง 6 ดาน หลังจากการจัดกิจกรรมซอมเสริมอยูในระดับ ดี มาก ทั้งนี้เนื่องจากการ จัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตร เปนการจัด กิจ กรรมกลุม เล็ก รูป แบบการดึง นัก เรีย นออก จากชั้น เรียนเพื่อการแกไข (Pull – Out Program) กับ นักเรียนไมเกิน 8 คน ในระยะเวลาการจัด กิจกรรมประมาณ 20 – 40 นาที (Cegelka; & Berdine. 1995 : 4) ซึ่ง สอดคลองกับรูปแบบการสอนที่มีประสิทธิภาพสําหรับเด็กที่มี ปญหาทางการเรียนรู ที่ขนาดของกลุมมีผลตอประสิท ธิภ าพ ของกิจ กรรมการเรีย นรูแ ละผลสัม ฤทธิ์ข องเด็ก ที่มีปญหา ทางการเรียนรูในกลุมเล็ก การรับรูความสามารถของตนดานคณิตศาสตรของ นั ก เรี ย นที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู สู ง ขึ้ น หลั ง จากการจั ด กิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตรอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 ทั้งนี้เนื่องจากการที่นักเรียนไดรับการชวยเหลือเปน กลุมเล็กและเปนรายบุคคล ทําใหครูมีโอกาสในการชี้แนะเพื่อ การแกไขทักษะที่นักเรียนมีความบกพรอง และการสังเกต และบัน ทึกความถูกตอ งในการทํ า แบบฝกจากขั้น กิจกรรม เดี่ยว (Seat Work) ในคาบกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตร ลง ในแบบบัน ทึก คะแนนและความถูก ตอ งของการทํา แบบ ฝก ด ว ยตนเอง ซึ่ ง การที่ นั ก เรี ย นสั ง เกตและบั น ทึ ก คะแนน ความ ถูก ตอ งในการทํ า แบบฝก ของตนนั ้น จะทํ า ให นักเรียนรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความ ถูกตองของการทําแบบ ฝกของตนเอง ขอมูลที่ไดนี้จะทําหนาที่เปนขอมูลปอนกลับ (Feedbback) และขอมูลพื้นฐานสําหรับการทําแบบฝกใน ครั้ง ตอ ไปใหเ หมาะสมกับ ความสามารถของตนเองให มากยิ่งขึ้น ทําให นักเรียนทําแบบฝกไดถูกตองมากยิ่งขึ้น และเมื่อนักเรียนทําแบบฝกถูกตองมากยิ่งขึ้นแลว ก็จะทําให นัก เรีย นมีก ารรั บ รู ความสามารถของตนเองสู งขึ้ น (Bandura.


174

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

1997: 101 - 104) ทําซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ฐิติพัฒน สงบกาย (2533) ที่พบวานักเรียนที่ใชการบันทึกคะแนน ความถู ก ต อ งของแบบฝ ก หั ด เป น ข อ มู ล ป อ นกลั บ ทํ า ให นักเรียนมีการรับรูความสามารถของตนเองสูงขึ้น ประสิทธิผลของโปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตร สํ า หรั บ เด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการเรี ย นรู ที่ เ กิ ด จากการจั ด กิจ กรรมซ อ มเสริ ม ตามแผนการจั ด กิจ กรรมซ อ มเสริ ม การ เรี ย นรู เริ่ ม จากการคั ด เลื อ กนั ก เรี ย นเข า กลุ ม เพื่ อ การจั ด กิจกรรมตามรายดานไดแก ดานการบวก ดานการลบ และ ดานการแกโจทยปญหา โดยใชคะแนนจากแบบคัดแยกเด็กที่ มีปญหาทางการเรียนรูดานคณิตศาสตร ที่สรางขึ้น จากผล การประเมินพบวา นักเรียนมีแนวโนมที่จะมีปญหาทางการ เรียนรูดานคณิตศาสตรมากกวาหนึ่งดาน กลาวคือ นักเรียนที่ มีปญ หาดา นการบวก ก็ จ ะมี ปญ หาดา นการลบ และการ แกโจทยปญหาดวย สวนนักเรียนที่มีปญหาดานการลบ อาจ มีปญหาดานการแกโจทยปญหาสวนนักเรียน ที่มีปญหาดาน การแกโจทยปญหา นักเรียนที่เปนกลุมตัวอยางไมมีปญหา ดานการบวกและการลบ เนื่องจากระยะเวลาที่ใชในการจัด กิ จ กรรมแต ล ะด า นมี จํ า กั ด จึ ง จั ด กิ จ กรรมซ อ มเสริ ม คณิ ต ศาสตร ให เ ฉพาะด า นที่ มี ป ญ หาเพื่ อ เป น การแก ไ ข ทั ก ษะที่ เ ป น ทั ก ษะ เบื้ อ งต น ของการเรี ย นคณิ ต ศาสตร กล า วคื อ นั ก เรี ย นที่ ไ ด รั บ การช ว ยเหลื อ ด า นการบวก ยั ง ตองการการชวยเหลือตอไปในดานการลบ สวนนักเรียนที่มี ปญหาดานการลบบางคน ตองการการชวยเหลือดานการแก โจทยปญหาตอไป จากการศึกษาครั้ง นี้ พบวาความเหมาะสมของ โปรแกรมซ อ มเสริ ม คณิ ต ศาสตร สํ า หรั บ เด็ ก ที่ มี ป ญ หา ทางการเรียนรู มีคุณภาพเหมาะสมอยูในระดับ ดีมาก ทั้งนี้ เนื่ อ งมาจากเครื่ อ งมื อ แต ล ะชุ ด ผ า นการตรวจสอบหาค า ความเที่ย งตรงเชิง พินิจ จากผูเ ชี่ย วชาญ และหาค า ความ เชื่อมั่น โดยวิธีการทางสถิติ และการดําเนินการตามขั้นตอน ของโปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตร ตั้งแต การคัดแยกเด็กที่ มีปญหาทางการเรียนรูดานคณิตศาสตร การจัดกิจกรรมซอม

เสริม เพื่อชวยเหลือนักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรูเปนราย ด า น สามารถพั ฒ นานั ก เรี ย นให มี ค วามสามารถทาง คณิตศาสตรสูงขึ้น พรอมทั้งมีการปรับปรุงตามคําแนะนําของ ผูเชี่ยวชาญเพื่อใหเหมาะสมกับ การดําเนินการตอไป เพื่อ เป น รู ป แบบหนึ่ ง ของการช ว ยเหลื อ เด็ ก ที่ มี ป ญ หาทางการ เรียนรูดานคณิตศาสตร ขอเสนอแนะของการนําไปใช การนําโปรแกรมซอมเสริมคณิตศาสตรไปใชใน ระดับโรงเรียน ควรมีการจัดการฝกอบรมครูเพื่อใหมีความ เขาใจเกี่ยวกับลักษณะของเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู และ การดํ า เนิ น การประเมิ น และคั ด แยกนั ก เรี ย นที่ มี ป ญ หา ทางการเรียนรูดานคณิตศาสตร การจัดกิจกรรมซอมเสริม คณิตศาสตรตามรายดานตองมีความตอเนื่อง เพื่อสามารถ ชวยเหลือนักเรียนใหเกิดทักษะการเรียนรูคณิตศาสตรไดทั้ง ด า นการบวก ด า นการลบ และด า นการแก โ จทย ป ญ หา รวมทั้งการบริหารเวลาในการดําเนินการตามโปรแกรมซอม เสริมคณิตศาสตร เนื่องจากเปนรูปแบบที่ตองแยกนักเรียน ออกจากหองเรียนเพื่อการแกไข จึงควรคํานึงถึงผลกระทบตอ การเรียนรายวิชาอื่นๆ ดวย ขอเสนอแนะในการทําการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ รู ป แบบและ วิธีการจัดกิจกรรมซอมเสริมคณิตศาสตร โดยครูผูสอนเปนผู จัดกิจกรรมซอมเสริม 2. ค ว ร มี ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย ป ร ะ สิ ท ธิ ผลข อ ง โปรแกรมซ อ มเสริ ม คณิ ต ศาสตร สํ า หรั บ เด็ ก ที่ มี ป ญ หา ทางการเรียนรู เมื่อนําไปใชกับประชากรและกลุมตัวอยางที่ ใหญขึ้น เพื่อทําใหโปรแกรม ซอมเสริมคณิตศาสตรสามารถ นําไปใชไดอยางกวางขวางยิ่งขึ้น 3. ควรมีการศึกษาประสิทธิผลของแผนการจัด กิจกรรมซอ มเสริมคณิต ศาสตร สํา หรับ นัก เรียนที่มีปญ หา ทางการเรียนรูที่มีปญหาคณิตศาสตรมากกวา 1 ดาน โดยการ จัดกิจกรรมซอมเสริมแบบตอเนื่องทั้ง 3 ดาน คือ ดานการบวก ดาน การลบ และการแกโจทยปญหา


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

175

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2543). คูมือการคัดแยกและสงตอคนพิการเพื่อการศึกษา คณะอนุกรรมการการคัดเลือกและ จําแนกความพิการเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ. พริกหวานกราฟฟค. จิตติมา จูมทอง. (2538). ผลของการสอนตนเองตอการรับรูความสามารถของตนเองและผลสัมฤทธิ์ในวิชา คณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. วิทยานิพนธ ค.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. ธนวัฒน ธิติธนานันท. (2548). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ฐิติพัฒน สงบกาย. (2533). ผลของการกํากับตนเองตอความคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของตนเองและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 5. วิทยานิพนธ ค.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ. (2527). การทดสอบอิงเกณฑ : แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. ลออ เอี่ยมออน. (2546). การศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กทีม่ ีปญหาทางการเรียนรูร ะดับอนุบาล ที่ ไดรับการจัดประสบการณละเลนพื้นบาน. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ศรียา นิยมธรรม และ ดารณี ศักดิ์ศิริผล. (2545). รายงานการวิจัยการสํารวจเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู ของโรงเรียน ในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สายพิณ โคกทอง. (2542).การศึกษาทักษะพื้นฐานคณิตศาสตรของเด็กที่มปี ญหาทางการเรียนรูระดับชั้นประถมศึกษา ปที่ 1 จากการจัดกิจกรรมบูรณาการเกมคณิตศาสตร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.. สันติ เบาพูนทอง. (2544). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเศษสวนของนักเรียนที่มีปญหาในการเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 จากการสอนโดยใช บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน. ปริ ญ ญานิ พ นธ กศ.ม. กรุ ง เทพฯ : มหาวิ ท ยาลั ย ศรี นครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2546). คูมือแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล. กรุงเทพฯ: สํานัก บริหารงานการศึกษาพิเศษ. Bandura, Albert. (1997). Self –Efficacy The Exercise of Control. New York : W.H. and Company Cegelka, Patricia T;& Berdine, William H. (1995). Effective Instruction for Students with Learning Difficulties. London : Allyn and Bacon. Witt, Joseph.; et al. (1998). Assessment of At – Risk and Special Needs Children. Boston: McGraw Hill.


176

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือน กันยายน - ธันวาคม 2550

หลักสูตรที่เปดสอนในคณะศึกษาศาสตร หลักสูตรปริญญาตรี ปริญ ญาการศึก ษาบัณ ฑิต (กศ.บ.) Bachelor Degree Program of Education หลักสูตรระดับปริญญาตรี มี 3 หลักสูตร ดังนี้ 1. การประถมศึกษา 2. การแนะแนว 3. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู เปน โครงการรวมมือระหวาง คณะศึกษาศาสตร กับ สสวท. หลักสูตรปริญญาโท ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) Master Degree Program of Education หลักสูตรระดับปริญญาโท มี 13 หลักสูตร ดังนี้ 1. การศึกษาปฐมวัย 8. อุตสาหกรรมศึกษา 2. การประถมศึกษา 9. การวัดผลการศึกษา 3. การมัธยมศึกษา 10. การวิจัยและสถิติทางการศึกษา 4. การอุดมศึกษา 11. เทคโนโลยีการศึกษา 5. การบริหารการศึกษา 12. การศึกษาพิเศษ 6. จิตวิทยาการศึกษา 13. การศึกษาผูใหญ 7. จิตวิทยาการแนะแนว นอกจากนี้คณะศึกษาศาสตรไดเปดโปรแกรมปริญญาโท ภาคพิเศษ ในสาขาวิชาเอก ดังนี้ 1. การศึกษาพิเศษ 2. การศึกษาผูใหญ 3. จิตวิทยาการศึกษา 4. จิตวิทยาการแนะแนว 5. การบริหารการศึกษา 6. การวัดผลการศึกษา 7. การวิจัยและสถิติทางการศึกษา 8. เทคโนโลยีการศึกษา 9. การศึกษาปฐมวัย 10. การประถมศึกษา

11. การมัธยมศึกษา - การสอนคณิตศาสตร - การสอนวิทยาศาสตร - การสอนสิ่งแวดลอมศึกษา - การสอนภาษาไทย - การสอนภาษาอังกฤษ - การสอนสังคมศึกษา 12. การอุดมศึกษา 13. อุตสาหกรรมศึกษา หลักสูตรปริญญาเอก ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) Doctor Degree Program of Education หลักสูตรระดับ ปริญญาเอก มี 8 หลักสูตร ดังนี้ 1. จิตวิทยาการใหคําปรึกษา 2. การบริหารการศึกษา 3. การทดสอบและวัดผลการศึกษา 4. เทคโนโลยีการศึกษา 5. การศึกษาปฐมวัย 6. การอุดมศึกษา 7. การศึกษาพิเศษ 8. การศึกษาผูใหญ การคัดเลือกผูเขาศึกษา 1. คัดเลือกผ านสํา นั กงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 2. คัดเลือกโดยวิธีการสอบตรงผานฝายรับนิสิตใหม ของมหาวิทยาลัยโดยมีกําหนดการรับสมัคร ดังนี้ ตุล าคม – พฤศจิก ายน ระดั บ ปริญ ญาตรี เปด สอบตรง (ชั้นปที่ 1) พฤศจิกายน – ธันวาคม ระดับ ประกาศนี ย บั ต ร ปริ ญ ญาโท และ ปริญญาเอก ติดตอสอบถาม สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับการสมัครไดที่ งานรับนิสิตใหม โทร. 0-2664-1000 ตอ 5716 หรือ 0-2261-0531 เว็บไซต http://admission.swu.ac.th


วารสารวิชาการศึกษาศาสตร ปที่ 8 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2550

รายชื่อกรรมการกลั่นกรอง (Peer reviews) วารสารวิชาการศึกษาศาสตร คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรรมการภายนอก 1. ศาสตราจารย ดร.ผองพรรณ เกิดพิทักษ 2. ศาสตราจารยศรียา นิยมธรรม 3. รองศาสตราจารย ดร.วิชัย วงษใหญ 4. รองศาสตราจารย ดร.ส.วาสนา ประวาลพฤกษ 5. รองศาสตราจารย ดร.วินัย วรีระวัฒนานนท 6. รองศาสตราจารย ดร.สุรชัย สิกขาบัณฑิต 7. รองศาสตราจารย ดร.อารี พันธมณี 8. รองศาสตราจารยชม ภูมิภาค 9. รองศาสตราจารยเมตตา วิวัฒนานุกุล 10. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วชิราญา บัวศรี 11. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรทิพา สองศิริ 12. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชูศรี เลิศรัตนเดชากุล 13. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุวรรณา อนุสันติ 14. รองศาสตราจารย ดร.อัมพร สุขเกษม 15. ผูชวยศาสตราจารย ดร. ปรีชา ธรรมา 16 ผูชวยศาสตราจารยประจิตต อภินัยนุรักต 17. ผูชวยศาสตราจารยจิราภรณ บุญสง 18. คุณธีรภาพ โลหิตกุล

คณะกรรมการภายใน 1. รองศาสตราจารย ดร.ฉวีวรรณ เศวตมาลย 2. รองศาสตราจารย ดร.เยาวพา เดชะคุปต 3. รองศาสตราจารย ดร.เสาวนีย เลวัลย 4. รองศาสตราจารย ดร.สนอง โลหิตวิเศษ 5. รองศาสตราจารยสาลี่ สุภาภรณ 6. รองศาสตราจารยกฤตกรณ ประทุมวงษ 7. รองศาสตาจารยลัดดาวัลย เกษมเนตร 8. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพโรจน กลิ่นกุหลาบ 9. ดร.สมปรารถนา วงศบุญหนัก 10. ดร.อัจฉรียา กะสิยะพัท 11. ดร.อรรณพ โพธิสุข 12. ดร.อุปวิทย สุวคันธกุล

177


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.